Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_16

tripitaka_16

Published by sadudees, 2017-01-10 01:16:29

Description: tripitaka_16

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 1 ๗. ลักขณสูตร เรือ่ ง มหาปุริสพยากรณ [๑๓๐] ขาพเจา (พระอานนทเถระเจา ) ไดสดบั มาแลว อยา งนี้ :- สมยั หนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา ประทับอยู ณ พระวิหารเชตวนัอารามของทา นอนาถบณิ ฑิกเศรษฐี ในพระนครสาวัตถ.ี ณ ทีน่ น้ั แลพระผมู พี ระภาคเจา ตรสั เรียกภกิ ษทุ ง้ั หลายวา ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย ภิกษุเหลา นนั้ ทูลรับพระผูม พี ระภาคเจา วา ขาแตพ ระองคผูเจริญดังนี้ พระผูมีพระภาคเจา ไดตรสั วา ดูกอนภิกษุทัง้ หลาย พระมหาบรุ ษุ ผปู ระกอบดว ยมหาปรุ ิสลกั ษณะ ๓๒ ประการ เหลา น้ี ยอ มมีคตเิ ปนสองเทา น้นั ไมเปนอยางอ่นื คือ ถาครองเรอื น จะไดเ ปน พระเจา จกั รพรรดผิ ทู รงธรรม เปนธรรมราชามีมหาสมทุ ร ๔ เปน ขอบเขต ทรงชนะแลว มีอาณาจักรม่ันคงประกอบดว ย รตั นะ ๗ ประการ. คอื จักรแกว ชา งแกว มาแกว แกว มณีนางแกว คฤหบดีแกว ปริณายกเเกว เปน ท่ี ๗. พระราชบุตรของพระองคมีกวา หนึง่ พัน ลว นกลาหาญ มรี ูปทรงเปนวีรกษตั ริย สามารถยํา่ ยีเสนาของขา ศึกได. พระองคท รงชนะโดยธรรม โดยเสมอ มติ อ งใชอาชญามติ องใชศ ัสตรา ครอบครองแผน ดิน มีสาครเปนขอบเขต มิไดม ีเสา.เขื่อน ไมมนี มิ ติ ไมม ีเส้ียนหนาม มงั่ คง่ั แพรห ลาย มคี วามเกษมสําราญไมมีเสนียด ถาเสดจ็ ออกบวชเปนพรรพชติ จะไดเ ปนพระอรหันตสมั มา-ไมมีพทุ ธเจา มหี ลังคา คอื กิเลสอนั เปดแลวในโลก. ดกู อ นภิกษุทงั้ หลายมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการนน้ั เปนไฉน ซงึ่ พระมหาบรุ ุษประกอบแลวยอมมคี ติเปน สองเทานั้น ไมเ ปน อยางอืน่ คอื ถา ครองเรือนจะไดเ ปน

พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 2พระเจา จกั รพรรด.ิ อนึง่ ถา พระมหาบุรษุ นัน้ เสดจ็ ออกผนวช จะไดเปนพระอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจา มหี ลังคา คือกเิ ลสอนั เปด แลวในโลก. ดกู อ นภิกษุทัง้ หลาย มหาบรุ ุษในโลกนี้ ๑. มพี ระบาทประดิษฐานเปนอันดี การที่พระมหาบรุ ุษมี พระบาทประดษิ ฐานเปนอนั ดนี ้ี เปน มหาปุริสลกั ษณะ ของมหาบุรุษ ๒. พ้นื ภายใตฝา พระบาทของพระมหาบรุ ุษ มจี กั รเกิดข้ึนมี ซก่ี าํ ขา งละพนั มกี ง มีดมุ บรบิ ูรณดว ยอาการทง้ั ปวง แมการทพ่ี ้นื ภายใตฝ าพระบาท ของพระมหาบุรษุ มจี กั ร เกิดข้นึ มซี ีก่ าํ ขา งละพนั มีกง มีดุม บรบิ รู ณด ว ยอาการ ทงั้ ปวงน้กี เ็ ปน มหาปรุ ิสลักษณะของพระมหาบรุ ุษ ๓. มสี น พระบาทยาว ๔ . มีพระองคลุ ยี าว ๕. มีฝา พระหัตถและฝายพระบาทออน นมุ ๖. มฝี าพระหัตถฝาพระบาทมลี ายประหนงึ่ ตาขา ย ๗. มขี อพระบาทลอยอยูเบอ้ื งบน ๘. มีพระชงฆเ รียวดจุ แขง็ เน้อื ทราย ๙. เสดจ็ ยนื มไิ ดน อ มพระวรกายลงเอาฝาพระหตั ถทั้งสอง ลบู คลําไดถ งึ พระชานทุ ัง้ สอง ๑๐. มีพระคุยหะเรน อยใู นฝก ๑๑. มีพระฉวีวรรณดจุ ทองคํา คอื มพี ระตจะประดจุ หมุ

พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 3 ดว ยทอง๑๒. มพี ระฉวลี ะเอียด เพราะพระฉวลี ะเอยี ดธลุ ีละอองจงึ มไิ ดตดิ อยใู นพระวรกาย๑๓. มพี ระโลมาขุมละเสน ฯ เสมอไปทุกขุมขน๑๔. มีพระโลมามปี ลายชอ ยข้ึนขางบน มสี เี ขยี วเหมอื นสี ดอกอัญชญั ขดเปน กุณฑลทักษิณาวัฏ๑๕. มพี ระวรกายตรงเหมอื นกายพรหม๑๖. มพี ระมงั สะเต็มในที่ ๗ สถาน คอื หลงั พระหตั ถท ง้ั สอง หลังพระบาททั้งสอง จงอยพระองั สาทัง้ สอง และ พระศอ๑๗. มกี ่งึ พระกายทอ นบนเหมอื นกึง่ กายทอนหนา ของสีหะ๑๘. มีระหวา งพระอังสาเต็ม๑๙. มีปริมณฑลดจุ ไมนโิ ครธ วาของพระองคเทา กบั พระ วรกายของพระองค พระวรกายของพระองคเทากับ วาของพระองค๒๐. มีลําพระศอกลมเทากนั๒๑. มีปลายเสน ประสาทสาํ หรบั นาํ รสอาหารอนั ดี๒๒. มพี ระหนดุ จุ คางราชสหี ๒๓. มีพระทนต ๔๐ ซ่ี๒๔. มีพระทนตเ รียบเสมอกัน๒๕. มีพระทนตไมห าง

พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 4 ๒๖. มีพระทาฐะขาวงาม ๒๗. มีพระชิวหาใหญ ๒๘. มีพระสรุ เสยี งดจุ เสยี งแหงพรหม ตรสั มนี าํ เนียงดงั นกการะเวก ๒๙. มพี ระเนตรดาํ สนิท ๓๐. มีดวงพระเนตรดุจตาโค ๓๑. มพี ระอุณาโลมบงั เกดิ ณ ระหวางพระโขนง มีสขี าว ออนควรเปรียบดวยนุน ๓๒. มีพระเศยี รดจุ ประดับดวยกรอบพระพักตร ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย มหาปรุ สิ ลักษณะ ๓๒ ประการน้ีแล ที่พระมหาบรุ ษุ ประกอบแลว ยอมเปนเหตุใหมีคตเิ ปนสองเทานน้ั ไมเปนอยางอื่น คือถาครองเรอื นจะไดเปน พระเจา จกั รพรรดิ . . . อนึง่ ถาพระ-มหาบุรุษเสด็จออกผนวชจะเปนพระอรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจามีหลังคาคือกเิ ลสอันเปด แลว ในโลก. ภิกษุท้งั หลาย พวกฤษแี มเปนภายนอก ยอมทรงจาํ มหาปรุ สิ ลักษณะของพระมหาบุรุษ ๓๒ เหลา นีไ้ ด แตฤ ษเี หลานนั้ ยอมไมท ราบวา เบอ้ื งหนาแตต าย เพราะกายแตก ยอ มเขาถึงสคุ ติโลกสวรรคเพราะกรรมท่ีตนทาํ ส่ังสม พอกพนู ไพบลู ยไว สัตวท บ่ี าํ เพ็ญกศุ ลกรรมนัน้ยอ มครอบงําเทวดาทั้งหลายอนื่ ในโลกสวรรคโ ดยสถาน ๑๐ คือ อายุทพิ ยวรรณทิพย ความสุขทิพย ยศทิพย ความเปนอธิบดที ิพย รูปทพิ ยเสียงทิพย กล่ินทพิ ย รสทพิ ย และโผฏฐพั พทพิ ย ครัน้ จุตจิ ากโลกสวรรคนน้ั แลวมาสูความเปนอยา งน้ี ยอมไดม หาปุริสลักษณะน้ี.

พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 5 วา ดว ยบรุ พาธกิ ารของพระตถาคต [ ๑๓๐ ] ดูกอนภกิ ษทุ ั้งหลาย ตถาคตเคยเปน มนษุ ยใ นชาตกิ อ นภพกอ น กําเนดิ กอนเปนผยู ดึ มนั่ ในกศุ ลธรรม ยึดมั่นไมถ อยหลงั ในกายสจุ รติ วจีสจุ ริต มโนสจุ ริต การบาํ เพญ็ ทาน ในการสมาทานศีล ในการรักษาอุโบสถ ในการปฏิบตั ิดใี นมารดา บิดา สมณพราหมณ ในความเปนผเู คารพตอ ผใู หญใ นตระกูล และในธรรม เปนอธิกุศลอนื่ ๆ ตถาคตยอมเขา ถงึ สคุ ติโลกสวรรคเบอ้ื งหนาแตตายเพราะกายแตก เพราะกรรมนั้นอันตนทาํ ส่งั สม พอกพูน ไพบลู ย ตถาคตยอ มครอบงํา เทวดาท้ังหลายในโลกสวรรคโ ดยสถาน ๑๐ คอื อายทุ ิพย วรรณทพิ ย ความสุขทิพยยศทพิ ย ความเปนอธบิ ดีทพิ ย รปู ทพิ ย เสยี งทพิ ย. กล่นิ ทพิ ย รสทิพยและโผฏฐพั พทพิ ย. ครั้นจุตจิ ากโลกสวรรคน้ันแลว มาถึงความเปน อยางน้ียอ มไดม หาปุรสิ ลักษณะน้.ี ทรงเหยยี บพระบาทเสมอกนั [ ๑๓๒ ] พระมหาบรุ ษุ นน้ั มีพระบาทตั้งอยเู ปนอันดี คอื ทรงเหยยี บพระบาทเสมอกนั บนฟน ทรงยกพระบาทขึ้นกเ็ สมอกนั ทรงจรดพ้ืนดว ยฝาพระบาททุกสวนเสมอกนั พระมหาบุรษุ ทรงถึงพรอมดว ยลกั ษณะนัน้ หากอยูครองเรือน จะเปน พระราชาจักรพรรดิ เปน ผทู รงธรรมเปนธรรมราชา มมี หาสมุทร ๔ เปน ขอบเขต ทรงชนะแลว มอี าณาจักรมัน่ คงถึงพรอมดว ยรัตนะ ๗ ประการ คอื จักรแกว ชา งแกว มา แกว แกว มณีนางแกว คฤหดแี กว ปรณิ ายกแกว เปน ที่ ๗. และมีพระราชโอรสมากกวาพนั ลวนเปน ผูแ กลว กลา พระรปู สมเปนวรี กษัตรยิ  สามารถยา่ํ ยีเสนา.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 6ของขา ศกึ ได. และพระมหาบุรษุ นัน้ ทรงชนะโดยธรรมเสมอ มิตอ งใชอาชญามติ อ งใชศ ัสตราทรงครองแผน ดินมีสาครเปน ขอบเขตมิไดม ีเสาเขอื่ นมิไดม ีนิมิต ไมม ีเสย้ี นหนาม ม่งั คั่งแพรห ลาย มีความเกษมสาํ ราญ ไมม ีหมูโ จร เมอ่ื เปน พระราชาจะไดอ ะไร เมอ่ื เปนพระราชาจะไดผ ลขอ น้คี อืไมม ีใคร ๆ ทีเ่ ปนมนุษยทเี่ ปน ขาศกึ ศตั รู จะขมได. อน่ึง ถาพระมหาบรุ ษุออกทรงผนวชจะเปนพระอรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจา มหี ลังคา คือกิเลสอนัเปดแลวในโลก เม่อื เปน พระพุทธเจา จะไดอ ะไร เม่อื เปน พระพุทธเจา จะไดผลขอนี้ คอื ไมม เี หลา ขาศกึ ศัตรูภายใน หรือภายนอกคอื ราคะ โทสะหรอื โมหะ หรือสมณพราหมณ เทวดา มาร พรหม ใคร ๆ ในโลกนี้จะขม ได. พระผมู พี ระภาคเจา ไดตรสั เน้ือความน้ีไว. พระโบราณาจารยทั้งหลายจึงกลาว คาถาประพนั ธใ นพระลักษณะเหลา นน้ั วา [๑๓๓ ] พระมหาบรุ ษุ ยนิ ดแี ลวในสัจจะ ในธรรม ในการฝก ตน ในความสาํ รวม ในความสะอาด ในศลี ในอุโบสถกรรม ในความไมเ บียดเบียน สัตวท ้ังหลาย ทรงยดึ ถือม่ันคง ทรงประพฤติ อยา งรอบคอบ. เพราะกรรมน้นั พระมหาบรุ ุษจึงหลีกไปสู เพลินยนิ ดี จุติจากไตรทพิ ยแลวเวยี นมาใน โลกนี้ เหยยี บปฐพีดวยพระบาทอนั เรยี บ พวกพราหมณผูทํานายพระลักษณะมา ประชุมกนั แลว ทาํ นายวา พระราชกุมารนี้

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 7 มีฝา พระบาทต่ังประดิษฐานเรยี บ เปนคฤหัสถ หรือบรรพชิตกไ็ มม ีใครขม ได พระลกั ษณะ นน้ั ยอมเปนนมิ ิตสองความนัน้ พระราชกุมารนเ้ี มื่ออยคู รองเรือนไมมีใคร ขม ได มแี ตครอบงาํ พวกปรปก ษ เหลาศตั รู มิอาจย่าํ ยไี ด ใคร ๆ ทเ่ี ปนมนษุ ยใ นโลกนี้ หากพระราชกุมารนอี้ อกทรงผนวช ทรง ยินดีในเนกขมั มะ จะมพี ระปรีชาเหน็ แจง เปน อัครบคุ คลไมถึงความเปนผูอนั ใครๆ ขม ได ยอมเปน ผูสูงสุดกวา นรชน อนั นเ้ี ปน ธรรมดาของพระกุมารน้ัน. วา ดว ยการบรรเทาความสะดุงกลัว [ ๑๓๔ ] ดูกอ นภิกษุทง้ั หลาย ตถาคตเคยเปนมนุษยในกาลกอ นในภพกอ น ในกาํ เนิดกอ น ไดน ําความสุขมาใหแกช นเปน อันมาก บรรเทาความหวาดกลวั และความสะดงุ จดั การรกั ษาปองกนั คุมครองอยางเปนธรรมไดใหท านพรอ มดว ยวัตถอุ นั เปน บริวาร. ตถาคตน้ันเบ้อื งหนาแตตายเพราะ.กายแตก ยอ มเขาถึงโลกสวรรค เพราะธรรมน้นั อันตนทาํ สั่งสม พอกพนูไพบูลยไวแ ลว . ตถาคตไดครอบงําเทวดาทงั้ หลายอน่ื ในเทวโลกโดยฐานะ๑๐ คือ อายทุ ิพย ฯ ล ฯ ครัน้ จตุ จิ ากโลกสวรรคน ัน้ แลว มาถงึ ความเปน

พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 8อยา งน้ี ยอ มไดม หาปุริสลกั ษณะนี้ คือ ใตฝา เทาท้ังสองมีจกั รเกดิ มีซ่ีกาํ พันหนึ่ง มีกงมีดุมบริบรู ณด ว ยอาการทง้ั ปวง มีระหวา งอันกุศลกรรมแบงเปนอันด.ี พระมหาบุรุษถงึ พรอมดว ยลักษณะนน้ั ถา อยคู รองเรือนจะเปน พระเจา จักรพรรดิ ฯ ล ฯ เม่อื เปนพระราชาจะไดอ ะไร เมื่อเปนพระราชาจะไดผ ลขอ น้ี คอื มีบรวิ ารมาก คอื มบี ริวารเปน พราหมณ เปนคฤหบดี เปนชาวนิคม เปน ชาวชนบท เปนโหราจารย เปน มหาอํามาตยเปน กองทหาร เปน นายประตู เปน อํามาตย เปนบริษัท เปนเจา เปนเศรษฐี เปน กุมาร. ถาพระมหาบุรษุ นน้ั ออกทรงผนวช จะเปน พระอรหนั ต-สมั มาสัมพุทธเจา มีหลังคาคอื กิเลสอนั เปดแลว ในโลก เมอ่ื เปนพระพทุ ธเจาจะไดอะไร เม่อื เปน พระพุทธเจาจะไดผ ลคอื มบี รวิ ารมาก มบี รวิ ารเปนภิกษุเปนภิกษณุ ี เปน อุบาสก เปน อุบาสกิ า เปนเทวดา เปน มนษุ ย เปนอสรูเปนนาค เปนคนธรรพ. พระผูมีพระภาคเจาตรสั ความน้ีไว. พระโบราณา-จารยท ้งั หลาย จงึ กลาวคาถาประพนั ธน ้ีในพระลักษณะเหลาน้นั วา [๑๓๕] พระมหาบุรษุ เคยเปนมนษุ ยใ นชาติกอน ๆ นาํ ความสุขมาใหแกช นเปนอนั มาก บรรเทาภัย คือความหวาดกลวั และความหวาดสะดุง ขวน ขวายในการคุม ครองรกั ษาปองกัน เพราะกรรมนนั้ พระมหาบรุ ษุ จึงหลีกไปสู ไตรทิพย เสวยความสขุ และสมบัติเปนที่ เพลิเพลนิ ยินดี ครัน้ จตุ ิจากทพิ ยแ ลว เวยี น มาในโลกน้ี ยอมไดล ายจกั รทงั้ หลาย มีซีก่ ํา พนั หนึง่ มกี ง มีดมุ โดยรอบ ที่ฝา พระบาททงั้ สอง

พระสุตตันตปฎก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 9 พวกพราหมณผทู าํ นายลกั ษณะมาประชุม กันแลว เห็นพระราชกมุ ารมีบญุ ลกั ษณะเปน รอ ย ๆ แลว ทํานายวา พระราชกมุ ารนี้จกั มี บรวิ ารยํา่ ยี ศัตรู เพราะจักรท้งั หลายมีกงโดย รอบอยา งน้นั ถา พระราชกมุ ารนน้ั ไมออกทรงผนวชจะ ยงั จกั รใหเปน ไป และปกครองแผน ดนิ มี กษตั รยิ ท ีม่ ยี ศมากตดิ ตามแวดลอ มพระองค หากทรงผนวชทรงยินดใี นเนกขมั มะ จะมี พระปรชี าเห็นแจง พวกเทวดา มนุษย อสรู ทา วสักกะ ยกั ษ คนธรรพ นาค นก และสัตว ๔ เทาที่มยี ศมาก จะแวดลอมพระองค ผูไม มีใครย่ิงกวา อันเทวดาและมนุษยบ ชู าแลว . [๑๓๖] ดกู อนภกิ ษทุ ง้ั หลาย ตถาคตเคยเปน มนุษยใ นชาตกิ อ นในภพกอ น ในกําเนดิ กอ น ละปาณาตบิ าตแลว เวนขาดจากปาณาตบิ าตแลววางอาชญา วางศสั ตรา มีความละอาย มคี วามกรณุ า หวังประโยชนแกสตั วทัง้ ปวงอย.ู ตถาคตยอ มเขา ถึงสุคตโิ ลกสวรรคเบ้อื งหนา แตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมน้ันอันตนทาํ สงั่ สม พอกพูน ไพบูลย ตถาคตยอ มครอบงํา เทวดาทงั้ หลายอนื่ ในโลก โดยฐานะ ๑๐ คอื อายทุ ิพย วรรณทิพยความสุขทิพย ยศทพิ ย ความเปนอธิบดีทพิ ย รปู ทิพย เสียงทิพย กลนิ่ ทพิ ยรสทิพย และโผฏฐัพพทพิ ย ครัน้ จุติจากโลกสวรรคน้ันแลว มาสคู วาม

พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 10เปนอยางนี้ ยอ มไดซ ึ่งมหาปุรสิ ลกั ษณะ ๓ ประการคอื สนพระบาทยาว ๑มพี ระองคุลียาว ๑ พระวรกายตรงดังกายพรหม ๑. พระมหาบุรษุ นนั้ ถงึพรอ มดว ยลักษณะทงั้ หลายเหลาน้ัน หากครองเรอื นจะเปนพระราชาจักร-พรรดิ ฯ ล ฯ เมื่อเปนพระราชาจะไดอะไร เมอ่ื เปนพระราชาจะไดผ ลขอนี้คอื มพี ระชนมายุต้ังอยูย ืนยาว ทรงรักษาพระขนมายุยนื ยาว ไมม ีใคร ๆที่เปน มนุษย เปนขา ศกึ ศัตรู จะสามารถปลงพระชนมช พี ในระหวา งได ฯลฯเมอ่ื เปนพระพทุ ธเจาจะไดอะไร เม่อื เปน พระพุทธเจาจะไดผ ลขอนี้คือ มพี ระชนมายยุ ืนต้งั อยูนาน ทรงรกั ษาพระชนมายุยนื ยาวไมม ขี า ศกึ ศตั รจู ะเปนสมณพราหมณ เทวดา มารพรหม ใคร ๆ ในโลกสามารถปลงพระชนมช ีพในระหวา งได. พระผมู พี ระภาคเจาตรสั เนอ้ื ความนีไ้ ว. พระโบราณาจารยทง้ั หลายจึงกลาวคาถาประพันธน ีใ้ นพระลกั ษณะเหลาน้ันวา . [๑๓๗] พระมหาบรุ ษุ ทรงทราบการฆาสัตวใ หต าย เปนภยั แกต น ไดเ วนจากการฆาสตั วอืน่ แลว เบื้องหนาแตม รณะไดไ ปสสู วรรค เพราะกรรม ที่ทรงประพฤตดิ ีแลว น้นั เสวยวบิ ากอันเปน ผลแหงกรรมทท่ี รงทําดแี ลว จตุ ิ ( จากสวรรค ) แลว เวียนมาในโลก น้ยี อมไดพ ระลกั ษณะ ๓ ประการ คือ มีสน พระบาทยาว ๑ พระกายเกดิ ดตี รงสวยงามดุจ

พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 11 กายพรหม มพี ระพาหางาม มีความเปน หนมุ ทรวดทรงงามเปน สชุ าต ๑ มนี วิ้ พระหัตถ นว้ิ พระบาทยาวออนดงั ปุยฝา ย ๑ พระชนก เปนตน ทรงบํารุงพระราชกุมาร เพ่ือใหม ี พระชนมายุยินยาว เพราะพระองคสมบรู ณ - ดวยมหาปรุ ิสลักษณะ ๓ ประการ ถา พระราชกมุ ารทรงครองเรือน ก็จะให พระชนมช ีพยืนยาว ถา ออกทรงผนวชก็ จะใหพ ระชนมชพี ยืนยาวกวา นน้ั เพอื่ ใหเ จริญ ดวยอํานาจ และความสาํ เรจ็ พระลักษณะ นนั้ เปนนิมิต เพ่ือความเปนผมู ีพระชนมายยุ ืน ดว ยประการดงั น.ี้ [ ๑๓๘ ] ดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ตถาคตเคยเปน มนุษยใ นชาติกอนในภพกอ น ในกาํ เนดิ กอน เปน ผใู หของทค่ี วรเคย้ี ว และของทีค่ วรบรโิ ภคของทค่ี วรลิ้ม น้ําที่ควรดม่ื อนั ประณีต และมรี สอรอ ย. ตถาคตยอ มเขาถึงโลกสวรรค เบอ้ื งหนา แตตายเพราะกายแตก เพราะกรรมนน้ั อนั ตนทาํสั่งสม พอกพูนไพบูลย ฯลฯ คร้ันจตุ ิจากโลกสวรรคนั้นแลว มาสคู วามเปนอยา งน้ี ยอมไดมหาปรุ สิ ลักษณะนี้ คอื มีมงั สะอูมในท่ี ๗ สถาน คอื ทห่ี ลงัพระหตั ถท้ังสอง กม็ ีมงั สะอมู ที่หลังพระบาททงั้ สอง ก็มีมังสะอมู ทพ่ี ระ

พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 12อังสาท้ังสอง กม็ มี ังสะอมู ทลี่ าํ พระศอ ก็มีมังสะอมู พระมหาบรุ ษุ ทรงสมบรู ณดว ยพระลกั ษณะน้นั หากครองเรอื นจะเปน พระเจาจกั รพรรดิ ฯลฯเมอื่ เปนพระราชาจะไดอะไร เมือ่ เปน พระราชาจะไดรับผลขอน้ี คอื ยอมไดของท่ีควรเคย้ี ว ของทค่ี วรบรโิ ภค ของที่ควรล้มิ นํ้าทค่ี วรดม่ื อันประณีตมรี สอรอย. ถาพระมหาบุรษุ ออกทรงผนวช ฯลฯ เม่ือเปน พระพุทธเจา จะไดอะไร เมอื่ เปน พระพุทธเจา จะไดผลขอ น้ี คือ ทรงไดของที่ควรเคย้ี วของทคี่ วรบริโภค ของทค่ี วรล้มิ น้ําทีค่ วรด่ืม อนั ประณีต มรี สอรอย.พระผูมีพระภาคเจาตรสั เนื้อความน้ไี ว. พระโบราณาจารยท ั้งหลายจึงกลา วคาถาประพันธใ นลกั ษณะเหลา นน้ั วา. [๑๓๙] พระมหาบรุ ุษเปน ผใู หข องที่ควรเคย้ี ว ของทค่ี วรบริโภค ของท่ีควรล้มิ และนา้ํ ทีค่ วร ด่ืม มีรสอนั สูงสุด และเลศิ เพราะกรรมท่ี ทรงประพฤตดิ แี ลวนน้ั พระมหาบุรุษน้ันจึง บนั เทงิ ย่งิ นานในสวนนนั ทวัน มาในโลกนี้ ยอ มไดมงั สะอมู ใน ๗ แหง ไดฝา พระหัตถแ ละพระบาทออ นนมุ บณั ฑิต ผฉู ลาดในพยัญชนะ และนมิ ติ กลาวไว เพอื่ ความเปนผไู ดข องเคี้ยว และของบริโภค อันมรี ส ลกั ษณะนน้ั ใชวา จะสองความแมแกพระ-

พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 13 มหาบุรษุ ผเู ปนคฤหัสถเ ทา นัน้ ถงึ พระมหาบรุ ษุ ออกทรงผนวชก็ยอมไดของควรเคีย้ ว และ ของควรบรโิ ภคนัน้ เหมือนกัน พระองคไ ด ของควรเคี้ยว และควรบรโิ ภคมรี สอันสูงสดุ บณั ฑิตทง้ั หลายกลา วแลววา พระองคเ ปน ผู ตัดกิเลสเปน เครอ่ื งผกู พันของคฤหสั ถท ้ังปวง เสีย. [๑๔๐] ดกู อนภกิ ษทุ ้งั หลาย ตถาคตเคยเปน มนษุ ยใ นชาตกิ อนภพกอ น กาํ เนิดกอ น เปน ผสู งเคราะหป ระชาชนดว ยสังคหวัตถุ ๔ คือดวยการให ดวยการกลาวคําเปนทร่ี กั ดวยการประพฤตติ นใหเ ปน ประโยชนดว ยความเปน ผมู ีตนเสมอ. ตถาคตยอ มเขาถึงสุคติโลกสวรรค เบื้องหนาแตต ายเพราะกายแตกเพราะกรรมนั้นอันตนทํา สง่ั สม พอกพูน ไพบลู ย.ครน้ั จตุ จิ ากโลกสวรรคน น้ั เแลว มาสูค วามเปน อยางน้ยี อ มไดซงึ่ มหาปรุ สิ -ลกั ษณะ ๒ ประการเหลานี้ คือ ฝา พระหัตถและฝา พระบาทออนนุม ๑พระหัตถแ ละพระบาทมลี ายดงั ตาขาย ๑. พระมหาบรุ ษุ สมบูรณด ว ยพระลกั ษณะท้งั สองน้ัน ถา อยคู รองเรือนจะไดเ ปน พระเจา จักรพรรดิ ฯลฯ เม่ือเปน พระราชาจะไดอะไร เมือ่ เปน พระราชาจะไดผ ลขอ น้ี คือ มบี ริวารชนอนั พระองคสงเคราะหแลวเปน อยางดี บรวิ ารชนที่พระองคสงเคราะหแ ลวเปนอยางดนี ัน้ เปน พราหมณ เปน คฤหบดี เปน ชาวนคิ ม เปน ชาวชนบทเปน โหราจารย เปน มหาอํามาตย เปนกองทหาร เปนนายประตู เปนอํามาตย เปน บริษัท เปน เจา เปน เศรษฐี เปนกุมาร ฯลฯ เมอ่ื พระ

พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 14มหาบรุ ุษนน้ั ออกทรงผนวชเปนพระพทุ ธเจา จะไดอ ะไร เมือ่ พระมหาบรุ ษุทรงผนวชเปนพระพทุ ธเจาจะไดผ ล คือ มีบรวิ ารชนอนั พระองคสงเคราะหแลว เปน อยา งดี บรวิ ารชนทพ่ี ระองคส งเคราะหเปนอยา งดนี ั้น เปน ภกิ ษุเปน ภิกษณุ ี เปน อบุ าสก เปน อุบาสกิ า เปนเทวดา เปนมนษุ ย เปนอสรูเปน นาค เปน คนธรรพ พระผูม พี ระภาคเจาตรัสเนื้อความน้ีไว. พระโบรา-ณาจารยทง้ั หลาย จงึ กลาวคาถาประพนั ธใ นพระลักษณะเหลาน้ันวา [๑๔๑] พระมหาบรุ ุษทรงทาํ แลว ทรงประพฤติ แลว ซงึ่ การให ๑ ซงึ่ ความเปน ผปู ระพฤตใิ ห เปนประโยชน ๑ ซ่งึ ความเปน ผกู ลา วคาํ เปน ท่ีรกั ๑ ซง่ึ ความเปนผูมฉี ันทะเสมอกนั ๑ ใหเ ปนความสงเคราะหอยางดแี กช นเปนอัน มาก. ยอมไปสูสวรรคด ว ยคุณอนั ตนมิไดด ู หม่ิน จุติจากสวรรคแลวเวยี นมาในโลกนี้ กเ็ ปน พระกมุ ารยังหนุมแนนงดงาม ยอมไดความ เปน ผมู ฝี า พระหตั ถแ ละฝาพระบาทออนนมุ ความเปนผมู ีฝาพระหัตถและฝา พระบาทมี ลายเปนตาขา ยงามอยา งยง่ิ และมีสว นสวย นา ชมดว ย พระองคมาสูแผนดินนี้ มีบรวิ ารชนอนั พระองคตรวจตราและสงเคราะหด ี ตรัสดวย

พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 15 คาํ เปน ท่นี า รัก แสวงหาผลประโยชนเ ก้อื กูล และความสุขให ทรงประพฤตคิ ุณงามความดี ทีพ่ ระองคชอบเปน อยางยิง่ ถาพระองคทรงละ การบรโิ ภคกามท้ังปวง เปนพระชนิ ะตรัสธรรมกถา แกประชุมชน ชนทงั้ หลายกจ็ ะสนองคําของพระองค เลอื่ มใส ยง่ิ นัก ครัน้ ฟง ธรรมแลว ยอ มจะพากันประพฤติ ธรรมสมควรแกธ รรม. [๑๔๒] ดูกอนภกิ ษทุ ง้ั หลาย ตถาคตเคยเปน มนุษยใ นชาตกิ อนในภพกอน ในกําเนดิ กอน เปน ผกู ลา ววาจาประกอบดว ยอรรถ ประกอบดว ยธรรม แนะนาํ ประชาชนเปน อันมาก เปน ผูนําประโยชน และความสขุ มาใหแกส ตั วทั้งหลาย เปน ผบู ูชาธรรมเปนปรกติ. ตถาคตยอมเขา ถงึสคุ ตโิ ลกสวรรค เบ้อื งหนา แตตายเพราะกายแตก เพราะกรรมน้ันอันตนทําสง่ั สม พอกพูน ไพบลู ย ฯลฯ จุติจากโลกสวรรคนัน้ แลวมาสูความเปนอยา งน้ี ยอมไดซงึ่ มหาปุรสิ ลักษณะ ๒ ประการ นี้คอื มีพระบาทดจุ สงั ขควํา่ ๑ มีพระโลมาลวนมีปลายชอยขนึ้ ขางบนทุก ๆ เสน ๑. พระมหาบุรุษสมบรู ณด วยพระลกั ษณะท้งั สองน้นั ถา อยคู รองเรือนจะเปนพระเจา-จกั รพรรดิ ฯลฯ เมอ่ื เปนพระเจาจกั รพรรดจิ ะไดอะไร เม่ือเปน พระเจา -จักรพรรดิจะไดรับผลขอนี้ คอื เปนผูเลศิ เปน ผูประเสริฐ เปน ประมขุ สงูสดุ ดีกวาหมูชนบริโภคกาม. ถาพระมหาบรุ ุษออกทรงผนวชจะไดเปนพระอรหนั ตสัมมาสมั พุทธเจา มหี ลงั คา คอื กเิ ลสอันเปดแลวในโลก เม่ือ

พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 16เปน พระพทุ ธเจา จะไดอะไร เมื่อเปนพระพทุ ธเจา จะไดรับผลขอ นีค้ อื เปนผูเลศิ เปนผปู ระเสริฐ เปน ประมุขสูงสดุ ดีกวา สรรพสัตว. พระผูม ีพระ-ภาคเจาตรสั เนื้อความนไ้ี ว. พระโบราณาจารยท งั้ หลาย จงึ กลา วคาถาประพนั ธนใ้ี นพระลักษณะเหลา นีว้ า [๑๔๓] พระมหาบุรษุ พจิ ารณากอ นจงึ กลาวคาํ อนั ประกอบดว ยอรรถ ประกอบดวยธรรม แสดงกะประชาชนเปน อนั มาก เปนผูนํา ประโยชนและความสุขมาใหแกส ตั วทัง้ หลาย เปนผูไมตระหนี่ ไดเ สยี สละบูชาธรรมแลว พระองคย อ มไปสูสุคติ บันเทงิ อยูในสคุ ติ น้นั เพราะกรรมอนั พระองคป ระพฤติดแี ลว มาในโลกน้ยี อมไดพระลกั ษณะ ๒ ประการ เพอื่ ความเปนผูมคี วามสขุ อนั อดุ ม พระมหาบรุ ษุ นน้ั มีพระโลมามีปลายชอ ย ขึ้นขางบนและโลหติ ปด บัง อันหนงั หมุ หอ มังสะและพระโลหิตปดบงั อันหนงั หุมหอ แลว และมพี ระเพลาเบ้ืองบนงาม พระมหาบรุ ษุ เชน น้ัน หากครองเรอื น จะ ถงึ ความเปน ผูเลศิ กวาพวกท่บี ริโภคกาม ไมม ี ใคร ๆ ยิ่งกวา พระองคทรงครอบงาํ ชมพทู วีป เสยี ส้ิน

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 17 อนงึ่ หากพระองคอ อกทรงผนวช กจ็ ะ ทรงพระวริ ยิ ะอยางประเสริฐ ถงึ ความเปน ผู เลศิ กวา สตั วท้ังปวง ไมมีใคร ๆ ย่งิ กวา พระองคได ทรงครอบงาํ โลกท้งั ปวงอย.ู [๑๔๔] ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย ตถาคตเคยเปน มนุษยในชาติกอนในภพกอน ในกําเนิดกอ น เปน ผตู ั้งใจสอนศิลปะ วชิ า จรณะ หรอื กรรมโดยความตง้ั ใจวา ทําอยา งไรชนทงั้ หลายน้ี พงึ รเู ร็ว พงึ สาํ เร็จเรว็ ไมพ ึงลําบากนาน. ตถาคตยอมเขา ถึงสุคติโลกสวรรคเ บื้องหนาแตตายเพราะกายแตก เพราะกรรมนน้ั อันตนทาํ ส่ังสม พอกพูน ไพบลู ย ฯลฯ คร้ันจุติจากโลกสวรรคน ้ันแลว มาสูความเปน อยางน้ี ยอมไดฟ ง มหาปรุ สิ ลักษณะนีค้ ือมพี ระชงฆเ รียวดงั แขงเน้ือทราย. พระมหาบุรษุ สมบรู ณดว ยพระลักษณะนั้นถา อยคู รองเรอื น จะเปน พระเจาจกั รพรรดิ ฯลฯ เม่ือเปนพระราชาจะไดอะไร เมื่อเปนพระราชา จะไดรบั ผลขอน้ี คือ จะทรงไดพ าหนะอันคูควรแกพ ระราชา ซงึ่ เปน องคเสนาแหงพระราชา และเครือ่ งราชูปโภค อนัสมควรแกพระราชาโดยพลนั ฯลฯ ถาพระมหาบุรษุ ออกทรงผนวชจะไดเปน พระอรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจา มหี ลงั คา คอื กิเลสเปด แลว ในโลกเมื่อเปนพระพทุ ธเจา จะไดอะไร เมอื่ เปนพระพทุ ธเจา จะไดผ ลขอนี้ คอืจะทรงได ปจจัยยอ นควรแกสมณะ และบริษัท อนั เปนองคข องสมณะ และเคร่อื งสมณูปโภค อนั ควรแกส มณะโดยพลัน. พระผมู พี ระภาคเจาตรสัเนือ้ ความนไี้ ว. พระโบราณาจารยทั้งหลายจึงกลาวคาถาประพนั ธน ใ้ี นพระลักษณะเหลานัน้ วา [๑๔๕] พระมหาบุรุษทรงปรารภอยูวา ทาํ ไฉน พวกชนทั้งหลายพงึ รูแจมแจงเร็วในศลิ ปะ ใน

พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 18 วิชา ในจรณะ และในกรรม และกอนบอก ศลิ ปะทไี่ มเปนไปเพอ่ื เบียดเบียนใคร ๆ ดว ย ความต้งั ใจวา ผูศึกษาจะไมล าํ บากนาน ครนั้ ทาํ กุศลกรรมมีความสุขเปน กําไรน้นั แลว ยอ มไดพ ระชงฆท้ังคเู ปนท่ชี อบใจ มี ทรวดทรงดี กลมกลอ ม เปนสุชาต เรียวไป โดยลาํ ดับ มพี ระโลมามปี ลายชอยขนึ้ ขางบน มหี นงั อันละเอียดหุมหอ แลว บัณฑติ ทง้ั หลาย ชมพระมหาบรุ ษุ นนั้ วา พระองคม ีพระชงฆด จุ แขง เนอ้ื ทราย และชม พระลักษณะ และพระโลมาเสน หนง่ึ ๆ อัน ประกอบตวั สมบตั ิท่ีใคร ๆ ปรารถนารวมเขา ไวใ นทนี่ ้ี พระมหาบรุ ุษเมอ่ื ยังไมท รงผนวชก็ ไดล ักษณะนั้นในท่ีนเี้ รว็ พลัน ถาออกทรงผนวช ทรงยินดดี ว ยความพอ พระทัยในเนกขมั มะ มีพระปรชี าเห็นแจง ทรงพระวริ ยิ ะยอดเย่ยี ม จะทรงไดพ ระ- ลกั ษณะเปนอนโุ ลมแกพ ระลกั ษณะที่สมควร เรว็ พลัน. [๑๔๖] ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย ตถาคตเคยเปน มนุษยในชาตกิ อ นในภพกอ น ในกําเนิดกอน ไดเขา ไปหาสมณะหรือพราหมณ แลวซกั ถาม

พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 19วา ขา แตท า นผูเ จรญิ กรรมสวนกศุ ลเปน อยา งไร กรรมสวนอกุศลเปนอยา งไร กรรมสว นที่มโี ทษเปนอยา งไร กรรมสว นที่ไมม โี ทษเปน อยางไรกรรมสวนที่ควรเสพเปนอยางไร กรรมท่ไี มควรเสพเปน อยางไร กรรมอะไรที่ขาพเจา ทาํ อยู พึงเปน ไปเพื่อไมเปนประโยชน เพอ่ื ทุกขตลอดกาลนานอนง่ึ กรรมอะไรที่ขา พเจา ทาํ อยู พงึ เปน ไปเพอื่ เปน ประโยชน เพ่อื สขุตลอดกาลนาน. ตถาคตยอมเขาถงึ สคุ ติโลกสวรรคเบ้อื งหนา แตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมน้นั อันตนทาํ สง่ั สม พอกพูน ไพบลู ย คร้นัจุติจากสวรรคนน้ั แลว มาสูความเปนอยางนี้ ยอมไดซ ึ่งมหาปุรสิ ลกั ษณะน้ีคอืมีพระฉวีสุขมุ ละเอยี ด เพราะพระฉวีสุขมุ ละเอียด ธลุ ลี ะอองมิติดพระ-วรกายได. พระมหาบรุ ษุ ทรงสมบรู ณด ว ยพระลักษณะน้ัน ถาอยูครองเรือนจะไดเปน พระเจาจกั รพรรดิ ฯลฯ เมื่อเปน พระราชาจะไดอะไร เมื่อเปนพระราชาจะไดผลขอ น้ี คือ มปี ญ ญามาก ไมม บี รรดากามโภคีชนผใู ดผูหนงึ่มีปญญาเสมอ หรือมีปญ ญาประเสริฐ กวาพระองค. ถาออกทรงผนวชจะไดเปน พระอรหนั ตสัมมาสมั พุทธเจา มีหลังคาคือกิเลสอันเปด แลว ในโลกเมอ่ื เปน พระพทุ ธเจา จะไดอ ะไร เมอ่ื เปนพระพุทธเจา จะไดรบั ผลขอนี้ คือมีพระปรชี ามาก มพี ระปรีชากวา งขวาง มพี ระปรีชาราเรงิ มีพระปรีชาวองไว มพี ระปรชี าเฉยี บแหลม มพี ระปรีชาทําลายกเิ ลส ไมมสี รรพสตั วผูใดผูหน่งึ มีปญญาเสมอ หรอื มีปญญาประเสรฐิ กวาพระองค. พระผูม-ีพระภาคเจา ตรัสเนือ้ ความนไี้ ว. พระโบราณาจารยท้งั หลายจงึ กลา วคาถาประพนั ธนใ้ี นพระลกั ษณะเหลานน้ั วา [๑๔๗] พระมหาบรุ ษุ เคยเปน มนุษยในชาตกิ อ น ๆ

พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 20 ประสงคจ ะรูท่ัวถึงเขา หาบรรพชติ สอบถาม ต้งั ใจฟงดวยดี มุงความเจริญ อยภู ายใน ไตรต รองอรรถกถา มาอุบัติเปนมนษุ ย มพี ระฉวีละเอยี ด เพราะกรรมท่ไี ดปญ ญา บณั ฑิตผฉู ลาดใน ลกั ษณะ และนิมติ ทานายวา พระราชกมุ าร เชนน้ี จะทรงหย่งั ทราบอรรถ อันสขุ มุ แลว เหน็ อยู ถา ไมเขาถงึ บรรพชาก็จะยงั จกั รใหเปนไป ปกครองแผนดนิ ในการสั่งสอนส่ิงท่ีเปน ประโยชน และในการกาํ หนด ไมมีใคร ประเสริฐหรือเสมอเทาพระองค ถาพระราชกมุ ารเชนนัน้ ออกทรงผนวช ยนิ ดีดวยความพอพระทยั ในเนกขมั มะ มีพระ ปรชี าเหน็ แจมแจง ทรงไดพระปรีชาอนั พเิ ศษ อนั ยอดเยีย่ ม บรรลุโพธญิ าณ ทรงพระปรีชา ประเสริฐกวา งขวางดงั แผนดิน. [๑๔๘] ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย ตถาคตเคยเปน มนษุ ยใ นชาตกิ อ นในภพกอ น ในกาํ เนดิ กอน เปน ผไู มมีความโกรธ ไมม คี วามแคน ใจแมคนหมมู ากวาเอากไ็ มขัดใจ ไมโกรธ ไมพ ยาบาท ไมจองผลาญ ไมท าํ ความ

พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 21โกรธ ความเคือง และความเสยี ใจใหปรากฏ และเปน ผใู หเคร่ืองลาดมีเน้ือละเอียดออน และใหผาสาํ หรับนงุ หม คือผา โขมพัสตรม ีเนื้อละเอยี ดผา ฝา ยมีเนอ้ื ละเอยี ด ผา ใหมีเนือ้ ละเอียด ผากัมพลมเี น้ือละเอยี ด. ตถาคตยอมเขาถึงสุตโิ ลกสวรรค เบ้อื งหนาแตตายเพราะกายแตก เพราะกรรมนั้นอนั ตนทาํ สง่ั สม พอกพูน ไพบลู ย ฯลฯ ครนั้ จตุ ิจากสวรรคน ัน้ แลวมาสูความเปนอยา งน้ี ยอ มไดซง่ึ มหาปุริสลักษณะนค้ี อื มีฉวีวรรณดงั ทองคํามีผวิ หนังคลา ยทองคํา. พระมหาบุรษุ สมบูรณด วยลกั ษณะนน้ั ถา อยคู รองเรอื นจะไดเ ปน พระเจาจักรพรรดิ. ฯลฯ เมื่อเปนพระราชาจะไดอ ะไร เม่อืเปน พระราชาจะไดร ับผลขอน้ีคอื จะไดเ ครอ่ื งลาดมเี น้อื ละเอยี ด ท้งั ไดผ าสาํ หรบั นงุ หม คอื ผาโขมพัสตรมเี น้อื ละเอยี ด ผาฝา ยมีเนอื้ ละเอยี ด ผาไหมมเี นอื้ ละเอยี ด ผากัมพลมีเน้ือละเอียด ถาพระมหาบรุ ษุ ออกทรงผนวชจะไดเปนพระสัมมาสมั พทุ ธเจา มหี ลงั คาคอื กเิ ลสอันเปด แลวในโลก เมอ่ื เปนพระพทุ ธเจา จะไดอะไร เม่อื เปนพระพทุ ธเจาจะไดรบั ผลขอนี้คือ ทรงไดเครอื่ งลาดมีเนื้อละเอียดออน ทรงไดผ าสาํ หรบั นุงหม คือผาโขมพสั ตรม ีเนอื้ ละเอียด ผาฝายมเี น้อื ละเอยี ด ผาไหมมเี นอ้ื ละเอยี ด ผา กมั พลมีเนอ้ืละเอียด. พระผูมีพระภาคเจาตรัสเน้อื ความนีไ้ ว. พระโบราณาจารยท ้งั หลายจึงกลาวคาถาประพนั ธในพระลกั ษณะนน้ั วา [๑๔๙] พระมหาบุรษุ ของอธิษฐานความไมโกรธ และไดใ หท านคือ ผาเปน อนั มากลวั แตม ี เน้ือละเอียดมีสี ดาํ รงอยใู นภพกอน ๆ ทรง เสยี สละ เหมอื นฝนตกทัว่ แผน ดนิ .

พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 22 คร้นั ทรงทาํ กศุ ลกรรมนน้ั แลว จุตจิ ากโลก มนุษยโลก เขา ถึงเทวโลก เสวยวบิ ากอนั เปน ผลกรรมทีท่ รงทําไวด ี มพี ระฉวเี ปรยี บดว ย ทอง ดุจพระอินทรีผปู ระเสรฐิ กวาเทวดา ยอม ครอบงาํ ในเทวโลก ถาเสดจ็ ครองเรือน ไมปรารถนาทจ่ี ะทรง ผนวช ก็จะทรงปกครองแผน ดนิ ใหญ ทรงได รัตนะ ๗ ประการ และความเปน ผมู ีพระฉวี สะอาดละเอียดงาม ครอบงําประชุมชนใน โลกนี้ ถาทรงผนวชก็จะไดผ าสําหรบั ทรงครอง เปน เครือ่ งนุงหม อยางดี และเสวยผลกรรมที่ เปน ประโยชนดีทท่ี รงทาํ ไวใ นภพกอน ความ หมดสนิ้ แหงผลกรรมทพี่ ระองคทาํ ไวห ามีไม. [๑๕๐] ดกู อนภกิ ษทุ ้งั หลาย ตถาคตเคยเปน มนษุ ยใ นชาตกิ อ นในภพกอน ในกาํ เนดิ กอ น เปน ผนู ําพวกญาติมิตร สหายผูมใี จดีทส่ี ูญหายพลดั พรากไปนาน ใหกลับมาพบกนั นาํ มารดาใหพบกบั บตุ ร นําบุตรใหพบกบั มารดา นําบตุ รใหพ บกบั บิดา นาํ บดิ าใหพบกับบุตร นําบดิ ากับพี่นอ งใหพบกนั นําพ่ีชายกบั นองสาวใหพ บกัน นาํ นองสาวกบั พีช่ ายใหพ บกนัคร้ันนําเขาใหพ บพรอมเพรียงกนั แลว กช็ ่ืนชม. ตถาคตยอ มเขาถึงสุคตโิ ลก

พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 23สวรรค เบือ้ งหนาแตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมนัน้ อนั ตนทํา สัง่ สมพอกพนู ไพบูลย ฯลฯ คร้นั จุติจากสวรรคแ ลว มาสคู วามเปน อยางน้ี ยอมไดซึง่ มหาปุรสิ ลกั ษณะนี้ คอื มีพระคยุ หะเรน อยูในฝก. พระมหาบรุ ุษสมบรู ณดว ยพระลักษณะนัน้ ถา อยคู รองเรือนจะไดเ ปน พระเจาจักรพรรดิ ฯ ล ฯเมอื่ เปนพระราชาจะไดอ ะไร เมื่อเปนพระราชาจะไดร บั ผลขอนคี้ อื มีพระโอรสมาก พระราชบุตรของพระองคมีกวาพัน ลว นกลา หาญ มีรูปทรงสมเปน วีรกษัตริย สามารถยํา่ ยเี สนาของขาศกึ ได. ถาทรงออกผนวชจะไดเปนพระอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจา มหี ลงั คา คือกเิ ลสอันเปดแลวในโลกเม่อื เปนพระพทุ ธเจาจะไดอ ะไร เมอ่ื เปน พระพุทธเจา จะไดร ับผลขอ นีค้ อืมพี ระโอรสมาก พระโอรสของพระองคม ีจํานวนหลายพนั ลวนเปนผูแกลวกลา มคี วามเพยี รเปนองคสมบัต.ิ กําจัดเสนาอนั เสียได. พระผูมี-พระภาคเจาตรัสเนื้อความน้ีไว. พระโบราณาจารยทัง้ หลายจึงกลาวคาถาประพนั ธน ใ้ี นพระลกั ษณะนน้ั วา [๑๕๑] พระมหาบรุ ุษเปนมนุษยใ นชาติกอนๆ ได ทรงนําพวกญาตมิ ติ รทส่ี ญู หายพลัดพรากไป นานใหม าพบกนั ครั้นทาํ ใหเ ขาพรอ มเพรียง กันแลวก็ชนื่ ชม เพราะกศุ ลกรรมนน้ั พระองคจงหลกี ไปสู ไตรทพิ ย เสวยความสขุ และสมบตั เิ ปน ท่ี เพลดิ เพลนิ และยินดี จตุ จิ ากเทวโลกแลว

พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 24 เวียนมาเกดิ ในโลกนี้ ยอมไดอ งั คาพยพทป่ี ด บงั ตงั้ อยูใ นฝก พระมหาบุรษุ เชน นน้ั มีพระโอรสมาก พระ โอรสของพระองคม ากกวาพนั ลว นแกลว กลา เปน วรี บรุ ษุ สามารถใหศตั รพู า ยไป ใหป ติ เกดิ และทลู ถอยคํานารกั แกพระมหาบุรุษ ท่ยี ังทรงเปน คฤหสั ถ เม่ือพระมหาบุรษุ ทรงผนวชบําเพญ็ พรต มี พระโอรสมากกวานนั้ ลว นแตด าํ เนินตาม พระพทุ ธพจน พระลกั ษณะนนั้ ยอมเปนนมิ ิต สอ งความนนั้ สําหรับพระมหาบรุ ุษทเ่ี ปน คฤหสั ถห รอื บรรพชิต. [๑๕๒] ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลาย ตถาคตเคยเปนมนษุ ยในชาติกอนในภพกอ น ในกําเนิดกอ น เม่ือตรวจดูมหาชนท่ีควรสงเคราะห ยอมรจู ักชนท่เี สมอกันรจู กั กันเอง รจู ักบุรษุ รจู กั บุรษุ พเิ ศษ หย่งั ทราบวาบคุ คลน้ีควรแกสกั การะน้ี บคุ คลนคี้ วรแกส ักการะนี้ ดงั นี้ แลวทําประโยชนพิเศษในบุคคลน้ัน ๆ ในกาลกอ น ๆ. ตถาคตยอ มเขาถึงสุคติโลกสวรรค เบ้ืองหนาแตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมน้นั อันตนทาํ สัง่ สม พอกพูน ไพบลู ยฯลฯ ครั้นจุตจิ ากสวรรคน ้ันแลว มาสูความเปน อยางน้ี ยอมไดซ งึ่ มหา-ปรุ ิสลักษณะ ๒ ประการน้ี คอื มพี ระวรกายเปนปริมณฑลดงั ตน นโิ ครธ ๑เมือ่ ทรงยนื อยูไมต อ งทรงนอมพระวรกายลง ยอมลูบคลาํ พระชานุทั้งสอง

พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 25ดว ยฝาพระหัตถท ัง้ สองได ๑. พระมหาบรุ ุษสมบูรณดวยพระลกั ษณะทัง้ สองนั้น ถาอยูครองเรือนจะไดเ ปนพระเจาจักรพรรดิ ฯ ล ฯ เมอื่ เปน พระราชาจะไดอะไร เมอื่ เปน พระราชาจะไดรบั ผลขอน้ีคือ เปนผมู ั่งคงั่ มีทรพั ยมากมโี ภคะมาก มที องและเงนิ มาก มเี ครือ่ งอปุ กรณน า ปลื้มใจมาก มีทรพั ยและขาวเปลือกมาก มคี ลงั เตม็ บรบิ ูรณ ถา ทรงออกผนวชจะไดเปนพระ-อรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจา มหี ลงั คาคอื กเิ ลสอันเปดแลว ในโลก เม่อื เปนพระพุทธเจา จะไดอะไร เม่ือเปน พระพทุ ธเจา จะไดร บั ผล คอื เปนผมู ่ังคัง่มที รพั ยม าก มีโภคะมาก ทรพั ยข องพระองคน้นั คือ ศรทั ธา ศลี หิริ-โอตตัปปะ สุตะ จาคะ ปญ ญา เปนทรพั ยอยา งหนึ่ง ๆ. พระผูมพี ระภาคเจาตรสั เนือ้ ความน้ีไว. พระโบราณาจารยท้ังหลาย จึงกลาวคาถาประพนั ธนี้ในพระลักษณะน้นั วา [๑๕๓] พระมหาบรุ ุษเมอ่ื ตรวจดูมหาชนทคี่ วร สงเคราะหพ ิจารณาแลว สอดสอง แลว คดิ หยง่ั ทราบวา บคุ คลนีค้ วรแกส กั ภาระนี้ดงั นแ้ี ลว ทาํ กจิ พเิ ศษของบุรษุ รนบคุ คลนนั้ ๆ ในกาล กอ น. กแ็ ละพระมหาบุรุษทรงยืนตรงไมตอ ง นอ มพระวรกายลงกถ็ กู ตองพระชานทุ ัง้ สอง ดว ยพระกรทง้ั สองได และมพี ระกายเปน

พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 26 ปริมณฑลดจุ ตน นโิ ครธท่งี อกงามบนแผน ดนิ ดว ยผลกรรมท่ปี ระพฤติมาดีแลว ยังเปน สว น เหลอื . มนษุ ยท้งั หลายทม่ี ีปญญาอันละเอยี ดรูจัก นมิ ติ และลกั ษณะมากอยางทาํ นายวา พระ โอรสนี้เปนพระดรณุ กมุ าร ยงั ทรงพระเยาว ยอมไดพระลักษณะอนั คูค วรแกคฤหสั ถม าก อยา ง. กามโภคะอนั ควรแกคฤหสั ถเปนอันมาก ยอมมแี กพระราชกุมารผูเปน ใหญใ นแผนดิน ในมรดกวิสัยน้ี ถาพระราชกมุ ารนท้ี รงละกาม โภคะทัง้ ปวง จะทรงไดอนตุ ตรธรรม อันเปน ทรพั ยส ูงสดุ . [ ๑๕๔ ] ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย ตถาคตเคยเปน มนุษยใ นชาตกิ อนภพกอน กําเนดิ กอน เปนผูหวังประโยชน หวังความเกอ้ื กลู หวังความผาสกุ หวงั ความเกษมจากโยคะ แกชนเปน อนั มาก ดวยมนสกิ ารวาทําไฉน ? ชนเหลาน้พี งึ เจริญดว ยศรทั ธา เจริญดว ยศลี เจริญดว ยสุตะเจรญิ ดวยพุทธิ เจรญิ ดว ยจาคะ เจรญิ ดวยธรรม เจรญิ ดวยปญ ญา เจรญิดว ยทรพั ยและขา วเปลอื ก เจรญิ ดว ยนาและสวน เจรญิ ดว ยสตั วส องเทาและสัตวสีเ่ ทา เจรญิ ดว ยบตุ รและภรรยา เจริญดวยทาสและกรรมกร เจริญ

พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 27ดวยญาติ เจรญิ ดวยมติ ร เจริญดว ยพวกพอง ดงั น.้ี ตถาคตยอมเขาถึงสคุ ติโลกสวรรค เบอื้ งหนา แตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมนัน้ อนั ตนทาํ ส่ังสม พอกพนู ไพบลู ย ฯลฯ คร้ันจุติจากสวรรคนน้ั แลว มาสูค วามเปนอยางน้ี ยอ มไดเฉพาะซงึ่ มหาปุริสลกั ษณะ ๓ ประการนี้ คอื มีสว นพระกายขา งหนา ดงั วากึง่ กายขางหนา ราชสีห มีระหวา งพระปฤษฎางคเตม็ ดี ๑ มลี ําพระศอกลมเสมอกัน ๑. พระมหาบุรุษสมบรู ณดว ยลกั ษณะ ๓ประการน้นั ถาอยูค รองเรอื นจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิ ฯ ล ฯ เมอ่ื เปนพระราชาจะไดอะไร ? เม่ือเปนพระราชาจะไดร บั ผลขอน้ี คือมคี วามไมเส่ือมเปนธรรมดา คือไมเสอื่ มจากทรพั ยแ ละขาวเปลือก ไมเ ส่ือมจากนาและสวนไมเ สือ่ มจากสัตวส องเทา และสัตวสีเ่ ทา ไมเ ส่อื มจากบุตรและภรรยา ไมเ ส่ือมจากทาสและกรรมกร ไมเสอ่ื มจากญาติ ไมเ ส่ือมจากมติ ร ไมเ ส่อื มจากพวกพอง ไมเส่ือมจากสรรพสมบัติ ถา พระมหาบุรษุ นัน้ ออกจากเรือนผนวชเปนบรรพชติ จะไดเปน พระอรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจา มหี ลังคาคอื กิเลสอนั เปดแลวในโลก เมอ่ื เปนพระพทุ ธเจา จะไดอ ะไร ? เมอ่ื เปน พระพุทธเจาจะไดรับผลขอ น้ี คอื มคี วามไมเ ส่ือมเปนธรรมดา คอื ไมเ สอ่ื มจากศรัทธา ไมเ สอื่ มจากศลี ไมเ สอ่ื มจากสตุ ะ ไมเ ส่ือมจากจาคะ ไมเ สอ่ื มจากปญ ญา ไมเสื่อมจากสมบตั ิท้งั ปวง. พระผูมีพระภาคเจา ตรสั เน้ือความน้ไี ว. พระโบราณา-จารยท้งั หลายจงึ กลาวคาถาประพนั ธน ี้ในพระลักษณะเหลาน้นั วา [ ๑๕๕] พระมหาบรุ ษุ ยอ มปรารถนาความเจรญิ กบั ดวยประชาชนเหลา อ่นื วา ทาํ ไฉน พหุชน พึงไมเส่ือมศรทั ธา ศีล สุตะ พทุ ธิ จาคะ ธรรม คณุ อนั ใหป ระโยชนสําเร็จมาก ทรพั ย

พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 28 ขาวเปลอื ก นา สวน บุตร ภรรยา สตั วท ้ัง สองเทาและสตั วท้ังส่ีเทา ญาติ มติ ร พวกพอง. และพละ วรรณะ สขุ ท้งั ๒ ประการดงั น้ี ทงั้ หวังความม่ังมเี เละความสาํ เร็จ. พระมหาบรุ ษุ นั้นมสี ว นพระกายขา งหนา ดาํ รงอยูเปนอนั ดี ดงั วาก่ึงกายขา งหนา แหง ราชสีห และมพี ระศอกลมเสมอกัน ทั้งมี ระหวางพระปฤษฎางคเต็มดี ลกั ษณะทง้ั ๓ น้ี เปน บุพนมิ ิต ไมเสือ่ มปรากฏอยู เพราะ กรรมทพ่ี ระมหาบุรษุ ประพฤติดแี ลว ทาํ แลว ในกาลกอ น. พระมหาบรุ ษุ แมด ํารงอยใู นคิหิวิสยั ยอม ทรงเจรญิ ดว ย ขาวเปลือก ทรพั ย บุตร ภรรยา สตั วสองเทาและสตั วสเี่ ทา ถาทรงตัดกงั วล เสยี ทรงผนวช ยอ มทรงบรรลุพระสมั โพธิ- ญาณอันประเสรฐิ มคี วามไมเสอ่ื มเปน ธรรมดา. [๑๕๖] ดูกอ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ตถาคตเคยเปนมนุษยในชาติกอ นในภพกอ น ในกาํ เนดิ กอ น เปนผูไมเบียดเบยี นสัตวท้งั หลาย ดว ยฝา มือดว ยกอนหนิ ดวยทอนไมห รือดว ยศัสตรา. ตถาคตยอ มเขาถึงสคุ ติโลกสวรรคเบ่อื หนา แตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมนัน้ อันตนทาํ สั่งสม พอกพนู

พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 29ไพบูลย ฯลฯ ครัน้ จุตจิ ากสวรรคนั้นแลว มาสคู วามเปน อยา งนี้ ยอ มไดซ่ึงมหาปุริสลักษณะน้ี คอื มเี สนประสาทสาํ หรบั นํารสอาหารอันเลิศ กลา วคอืพระมหาบุรุษน้ันมเี สนประสาทมปี ลายขางบนประชมุ อยทู ่ีพระศอ สําหรบันํารสอาหารแผซ านไปสมํ่าเสมอทั่วพระวรกาย. พระองคสมบรู ณดวยพระลกั ษณะนนั้ ถา อยคู รองเรอื นจะไดเปนพระเจา จกั รพรรดิ ฯลฯ เมื่อเปนพระราชาจะไดอ ะไร เมื่อเปนพระราชาจะไดร ับผลขอ น้คี ือ มพี ระโรคาพาธนอ ย มีความลําบากนอย สมบรู ณดว ยพระเตโชธาตุ อนั ทาํ อาหารใหยอ ยดีไมเ ย็นนกั ไมร อนนกั ถาออกทรงผนวชจะไดเปนพระอรหันตสัมมาสมั -พทุ ธเจา มหี ลังคาคอื กเิ ลสอนั เปดแลว ในโลก เม่ือเปนพระพทุ ธเจา จะไดอะไร เมื่อเปนพระพุทธเจาจะไดร ับผลขอนค้ี อื มีพระโรคาพาธนอ ย มีความลําบากนอย สมบรู ณดวยพระเตโชธาตุ อันทําอาหารใหยอ ยดี ไมเยน็ นัก ไมร อนนัก อันควรแกปธานะ เปนปานกลาง. พระผมู ีพระภาคเจาตรสั เน้อื ความน้ีไว. พระโบราณาจารยทง้ั หลายจงึ กลาวคาถาประพนั ธน ้ใี นพระลักษณะเหลานั้นวา [๑๔๗] พระมาบรุ ษุ ไมเบียดเบียน ไมยํ่ายสี ตั ว ดว ยฝามอื ดว ยทอ นไม ดวยกอ นดิน ดวย ศัสตรา ดว ยใหตายเอง ดวยบังคบั ใหผ ูอ ื่นฆา ดวยจาํ จอง หรือดวยใหหวาดกลวั . เพราะกรรมน้นั นน่ั แหละ พระมหาบรุ ษุ ไป จากมนุษยโ ลกจงึ บนั เทิงใจในสคุ ตแิ ละเพราะ ทาํ กรรมมีผลเปน สุข จึงไดส ุขมากและมีเสน

พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 30 ประสาทสําหรับรบั นาํ รสอาหารอนั ดี เสดจ็ มา ในโลกน้แี ลว จงึ ทรงไดรสอาหารดเี ลศิ เพราะฉะน้ัน พวกพราหมณผ ูฉลาดมี ปญ ญาเห็นแจม แจง จึงทาํ นายวา พระราชกมุ าร น้ีจกั มีความสขุ มาก ลักษณะนั้นยอมสอ ง อรรถนั้น สาํ หรับพระราชกมุ ารผยู ังดํารงอยใู น คฤหสั ถ หรอื บรรพชติ . [๕๑๘] ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย ตถาคตเคยเปนมนษุ ยใ นชาตกิ อนในภพกอ น ในกาํ เนดิ กอ น ไมถ ลึงตาดู ไมค อนตาดู ไมชาํ เลอื งตาดูเปน ผตู รง มใี จตรงเปน ปกติ แลดตู รง ๆ และแลดูพหชุ นดวยตานารัก.ตถาคตยอ มเขาถงึ สุคติโลกสวรรคเบอ้ื งหนา แตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมนัน้ อนั ตนทาํ สั่งสม พอกพนู ไพบลู ย ฯลฯ ครั้นจุตจิ ากสวรรคนน้ัแลว มาสคู วามเปน อยางนี้ ยอมไดซ ่ึงมหาปรุ สิ ลักษณะ ๒ ประการ เหลา นีค้ อืมพี ระเนตรสดี าํ สนทิ ๑ มดี วงพระเนตรดุจตาโค. พระมหาบรุ ษุ สมบูรณดว ยพระลักษณะ ๒ ประการนั้น ถา อยคู รองเรอื นจะไดเ ปนพระเจาจกั รพรรดิ ฯ ล ฯ เมอ่ื เปนพระราชาจะไดอ ะไร เมื่อเปน พระราชาจะไดรับผลขอนคี้ อื เปนผูทชี่ นทั้งหลายเห็นแลวนา รักใคร พอใจของพราหมณแ ละคฤหบดี ของชาวนคิ ม และกองชาวชนบท ของโหราจารย และมหาอาํ มาตยของกองทหาร ของนายประตู ของอํามาตย ของบรษิ ทั ของพวกเจาของเศรษฐี ของพระราชกุมาร ถา พระมหาบุรษุ ออกทรงผนวชจะไดเ ปน พระอรหันตสมั มาสัมพุทธเจา มีหลงั คาคอื กิเลสอันเปด แลว ในโลก เมื่อเปน

พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 31พระพทุ ธเจา จะไดอ ะไร เม่อื เปน พระพุทธเจา จะไดรับผลขอนี้คอื เปน ผทู ่ีชนทงั้ หลายเหน็ แลวรัก เปนทร่ี กั ใครพอใจของ ภิกษุ ภิกษุณี อบุ าสกอุบาสกิ า เทวดา มนษุ ย อสูร นาค และคนธรรพ. พระผมู ีพระภาคเจาตรสั เน้ือความนีไ้ ว. พระโบราณาจารยท ัง้ หลายจึงกลา วคาถาประพนั ธนใ้ี นพระลกั ษณะนน้ั วา [๑๕๙] พระมหาบุรุษไมถ ลึงตาดู ไมค อนตาดู ไม ชําเลอื งดู เปนผตู รง มีใจตรง เปนปรกติ แลดพู หุชนดว ยปยจักษุ พระองคเสวยวบิ าก อันเปนผลบนั เทงิ อยู ในสคุ ตทิ ้ังหลาย มาในโลกน้มี ดี วงพระเนตร ดจุ ตาโค และมพี ระนัยนต าดําสนิท มกี ารเห็น แจม ใส พวกมนุษยผ ูป ระกอบ ในลักษณศาสตร มคี วามละเอยี ด ผฉู ลาดในนิมติ มีบทมาก ฉลาดในการตรวจ เหน็ นัยนต ามีสีดําสนิท และดวงตาเปนดุจตาโค จะชมเชยพระราช กมุ ารนน้ั วา พระองคเปน ทน่ี า รกั พระมหาบรุ ษุ ดาํ รงอยใู นคฤหัสถเปน ที่ เหน็ นา รัก เปนทร่ี กั ของชนมาก กถ็ าพระองค ทรงละเพศคฤหัสถเ ปน พระสมณะแลว ยอ ม เปน ท่ีรกั ของพหุชน และยงั ชนเปน อนั มากให สรางโศก.

พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 32 [๑๖๐] ดูกอนภิกษทุ ้งั หลาย ตถาคตเคยเปน มนษุ ยในชาติกอ นในภพกอน ในกาํ เนิดกอน เปน หัวหนา ของชนเปน อนั มาก ในธรรมทง้ั หลาย ฝา ยกุศล เปน ประธานของชนเปน อันมากดวยกายสุจริต ดว ยวจสี ุจรติ ดว ยมโนสุจริต ในการบําเพญ็ ทาน ในการสมาทานศลี ในการรกั ษาอโุ บสถ ในการปฏิบตั ิดใี นมารดา ในการปฏบิ ัติดีในบดิ า ในการปฏบิ ัตดิ ใี นสมณะ ในการปฏิบัตดิ ีในพราหมณ ในความเคารพตอ ผูใ หญในตระกลู และในธรรมเปน อธกิ ศุ ลอนื่ ๆ ตถาคตยอ มเขา ถงึ สคุ ติโลกสวรรคเบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก เพราะกรรมน้ันอันตนทํา สัง่ สม พอกพูนไพบลู ย ฯลฯ ครนั้ จตุ ิจากสวรรคน ้ันแลวมาสูความเปนอยา งนี้ ยอ มไดซง่ึมหาปรุ สิ ลักษณะนี้คอื มพี ระเศียรไดปรมิ ณฑลดุจประดับดว ยอณุ หสิ . พระ-มหาบรุ ษุ สมบูรณด วยลักษณะนัน้ ถาอยคู รองเรอื นจะไดเ ปน พระเจา -จกั รพรรดิ ฯลฯ เมือ่ เปน พระราชาจะไดอ ะไร เม่อื เปน พระราชาจะไดร ับผลขอนีค้ ือ เปนที่คลอยตามของมหาชนทเ่ี ปน พราหมณ เปนคฤหบดีเปน ชาวนิคม เปน ชาวชนบท เปน โหราจารย เปนมหาอาํ มาตย เปนกองทหาร เปน นายประตู เปนอาํ มาตย เปนบรษิ ทั เปน เจา เปนเศรษฐีเปนราชกุมาร ถา พระมหาบุรษุ ออกทรงผนวชจะไดเ ปน พระอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจา มีหลังคาคอื กเิ ลสอันเปดแลว ในโลก เมื่อเปนพระพุทธเจาจะไดอะไร เมอ่ื เปนพระพทุ ธเจาจะไดรบั ผลขอน้ีคือ เปน ที่คลอยตามแหงมหาชน ท่ีเปนภกิ ษุ เปน ภิกษุณี เปน อบุ าสก เปนอบุ าสิกา เปนเทวดาเปน มนษุ ย เปน อสรู เปนนาค เปนคนธรรพ. พระผมู ีพระภาคเจาตรสั เนื้อความนีไ้ ว. พระโบราณาจารยท งั้ หลายจึงกลา วคาถาประพันธในพระลกั ษณะนีว้ า.

พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 33 [๑๖๑] พระมหาบุรษุ เปน หัวหนาในธรรมทั้งหลาย ทเี่ ปน สุจริต ทรงยินดใี นธรรมจริยาเปนท่ีคลอ ย ตามชนเปน อนั มาก เสวยผลบญุ ในสวรรค ครั้นเสวยผลแหงสุจริตแลวมาในโลกมิได ถงึ ความเปนผูม พี ระเศียรดจุ ประดบั ดวยอณุ - หิส พวกท่ที รงจาํ พยัญชนะและนมิ ิตอยูทาํ นาย วาพระราชกุมารนี้ จักเปนหวั หนา หมชู นมาก หมูชนท่ีชว ยเหลือพระองคในหมูมนุษย ในโลกนจ้ี กั มมี าก แมใ นเบ้อื งตนคร้งั นัน้ พวกพราหมณก็พยากรณพ ระองคว า พระราช- กุมารนี้ ถา เปนกษัตริยจะเปนใหญใ นแผน ดิน จะไดรับความชวยเหลือในชนมากโดยแท ถา พระองคอ อกทรงผนวชจะปราดเปรอ่ื ง มคี วามชาํ นาญพเิ ศษ ในธรรมท้งั หลาย และ ชนเปนอันมาก จะเปน ผูย ินดยี งิ่ ในคณุ คือ ความสงั่ สอนของพระองค และจะคลอยตาม. [๑๖๒] ดูกอนภกิ ษทุ ้งั หลาย ตถาคตเคยเปนมนษุ ยใ นชาตกิ อนในภพกอ น ในกําเนดิ กอน ละการพูดเท็จ เวนขาดจากการพดู เทจ็ พดูแตคําจริง ดาํ รงคําสัตย มีถอยคําเปน หลกั ฐาน ควรเช่อื ถือ ไมพ ดู ลวงโลก.ตถาคตยอมเขาถึงสคุ ติโลกสวรรคเ บอื้ งหนาแตตายเพราะกายแตก เพราะ

พระสุตตันตปฎก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 34กรรมน้ันอันตนทาํ สง่ั สม พอกพนู ไพบูลย ฯลฯ ครั้นจตุ จิ ากสวรรคนัน้ แลว มาสคู วามเปนอยางนี้ ยอมไดซึง่ มหาปรุ ิสลักษณะ ๒ ประการ คือมโี ลมาขมุ ละเสน ๑ และมอี ณุ าโลมในระหวา งค้ิวมีสีขาวออ นเหมือนปยุฝา ย ๑. พระมหาบรุ ษุ สมบรู ณดวยพระลกั ษณะ ๒ ประการนนั้ ถา อยูครองเรือนจะไดเ ปน พระเจาจักรพรรดิ ฯลฯ เม่อื เปนพระราชาจะไดอะไรเม่อื เปน พระราชาจะไดรับผลขอน้คี อื เปน ท่ีประพฤตติ ามของมหาชน ท่ีเปนพราหมณ เปนคฤหบดี เปน ชาวนคิ ม เปน ชาวชนบท เปนโหราจารยเปน มหาอาํ มาตย เปนกองทหาร เปน นายประตู เปน อํามาตย เปนบรษิ ัทเปน เจา เปนเศรษฐี เปน ราชกมุ าร ถา ออกทรงผนวชจะเปน พระอรหันต-สมั มาสมั พทุ ธเจา มีหลงั คาคือ กเิ ลสอันเปดแลว ในโลก เม่อื เปนพระพุทธเจา จะไดอ ะไร เมอ่ื เปน พระพุทธเจาจะไดร ับผลขอ นคี้ อื เปนที่ประพฤตติ ามของมหาชนทีเ่ ปน ภิกษุ เปนภิกษณุ ี เปน อุบาสก เปน อบุ าสกิ าเปนเทวดา เปนมนษุ ย เปน อสรู เปนนาค เปนคนธรรพ. พระผูม ี-พระภาคเจาตรัสเนื้อความนไ้ี ว. พระโบราณาจารยท้งั หลายจึงกลา วคาถาประพนั ธน้ีในพระลกั ษณะเหลาน้นั วา [๑๖๓] ในชาติกอน ๆ พระมหาบุรมุ ปี ฏญิ ญา เปน สจั จะมพี ระวาจาไมเ ปนสอง เวนคาํ เหลว ไหล ไมพดู ใหเ คล่อื นคลาดจากใคร ๆ ตรสั โดยคําจรงิ คาํ แท คาํ คงที่ มีพระอณุ าโลมสีขาวสะอาดออ นดดี งั ปุย นนุ เกดิ ในระหวางพระขนง และในขมุ พระ โลมา ทวั่ ไป ไมม ีพระโลมาเกดิ เปน สองเสน มีพระสรรี ะอันพระโลมาเสนหนึง่ ๆ ข้นึ สะพร่ัง

พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนกิ าย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 35 พวกผรู พู ระลักษณะ ฉลาดในนิมิต ที่ ปราภฏ เปนจํานวนมากมาประชุมกนั แลว ทาํ นายพระมหาบุรษุ วา พระอุณาโลมต้งั อยดู ี โดยนมิ ิต บงวา ชนเปน อนั มากยอ มประพฤติ ตาม พระมหาบุรุษแมดํารงอยใู นคิหวิ สิ ัย มหา- ชนกป็ ระพฤติตาม เพราะกรรมทท่ี รงทาํ ไวมาก ในชาติกอ น หมชู นยอมประพฤตติ าม พระ- มหาบรุ ุษผูต ดั กังวลทรงผนวชเปนพระพทุ ธเจา ผปู ระเสริฐ เปนผสู งบ. [๑๖๔] ดูกอนภิกษทุ ้งั หลาย ตถาคตเคยเปน มนุษยใ นชาติกอนในภพกอน ในกําเนดิ กอน ละคาํ สอ เสยี ด เวน ขาดจากคําสอ เสยี ด ฟง จากขา งนแี้ ลว ไมไปบอกขางโนน เพอ่ื ใหค นหมูน ้ีแตกราวกัน หรือฟง จากขา งโนนแลวไมไ ปบอกขางน้ี เพ่อื ใหคนหมโู นนแตกรา วกนั สมานคนที่แตกราวกันแลวบา ง สงเสริมคนท่พี รอ มเพรียงกนั แลว บาง ชอบคนผูพรอ มเพรียงกัน ยนิ ดใี นคนผูพรอ มเพรยี งกนั เพลดิ เพลนิ ในคนผูร ูพรอมเพรียงกนั กลา วแตคาํ ที่ทาํ คนใหพ รอ มเพรยี งกนั . ตถาคตยอมเขา ถึงสุคติโลกสวรรคเบอ้ื งหนา แตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมน้นั อันตนทาํส่งั สม พอกพนู ไพบูลย ฯลฯ คร้นั จุติจากสวรรคน นั้ แลว มาสคู วามเปน อยางน้ี ยอ มไดซ ่ึงมหาปุริสลกั ษณะ ๒ ประการคือ มีพระทนต ๔๐ ซี่๑ มพี ระทนตไมหา ง ๑. พระมหาบุรุษสมบูรณดวยพระลกั ษณะ ๒ ประการ

พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 36น้ัน ถา อยูครองเรอื นจะไดเปนพระเจา จกั รพรรดิ ฯลฯ เมอ่ื เปนพระราชาจะไดอะไร เมือ่ เปนพระราชาจะไดรบั ผลขอน้ี มบี รษิ ัทไมแตกกนับริษัทของพระองคทีไ่ มแ ตกกนั เปน พราหมณ เปนคฤหบดี เปนชาวนคิ มเปน ชาวชนบท เปนโหราจารย เปนมหาอํามาตย เปนกองทหาร เปนนายประตู เปน อาํ มาตย เปนบรษิ ัท เปนเจา เปน เศรษฐี เปนราชกุมารถาออกทรงผนวชจะไดเ ปนพระอรหนั ตสัมมาสมั พุทธเจา มหี ลงั คาคอื กิเลสอนั เปดแลวในโลก เม่ือเปน พระพทุ ธเจา จะไดอะไร เมื่อเปน พระพทุ ธเจาจะไดรบั ผลขอ น้คี อื บริษทั ไมแตกกัน บรษิ ัทของพระองคทีไ่ มแ ตกกนั เปนภิกษุ เปน ภิกษณุ ี เปน อบุ าสก เปน อบุ าสกิ า เปนเทวดา เปนมนษุ ยเปน อสูร เปนนาค เปน คนธรรพ พระผมู พี ระภาคเจา ตรัสเนือ้ ความน้ีไว.พระโบราณาจารยท้ังหลายจงึ กลาวคาถาประพนั ธน้ใี นลกั ษณะเหลา นนั้ วา [๑๖๕] พระมหาบรุ ุษไมไดกลาววาจาอนั สอ เสยี ด ทําความแตกแกพ วกท่ีดกี นั ทาํ ความวิวาท เปนเหตใุ หแ ตกกันมากไป ทําการที่ไมควร เปน เหตุใหท ะเลาะกันมา ไป ทาํ ความแตก กนั ใหเ กิดแกพ วกท่ีดกี ัน ไดก ลา ววาจาดี อนั ทําความไมววิ าทให เจรญิ อนั ยงั ความตดิ ตอกันใหเ กดิ แกพ วกท่ี แตกกัน บรรเทาความทะเลาะของชน มี ความสามคั คกี ับหมชู น ยินดีเบกิ บานอยูกบั

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 37 ประชาชน ยอ มเสวยวบิ ากอนั เปนผลเบกิ บานอยูใน สุคติ มาในโลกนย้ี อมมีพระทนตไ มห า ง เรยี บดี และมีพระทนต ๔๐ ซ่เี กดิ อยูในพระ โอษฐตงั้ อยูเปนอยา งดี ถา พระองคเ ปนกษตั ริย เปนใหญใน แผนดิน จะมีบรษิ ทั ไมแตกกัน หากพระองค เปนสมณะจะปราศจากกิเลส ปราศจากมลทนิ บรษิ ทั ของพระองคจ ะดําเนนิ ตาม ไมม คี วาม หวั่นไหว. [๑๖๖] ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย ตถาคตเคยเปน มนุษยในชาตกิ อ นภพกอ น กําเนดิ กอน ละคําหยาบ เวนขาดจากคําหยาบ กลาวแตคําทไี่ มม โี ทษเพราะหชู วนใหร ักจับใจ ชนสว นมากรกั ใครช อบใจ. ตถาคตยอ มเขา ถึงสุคติโลกสวรรคเบ้อื งหนาแตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมนนั้ อันตนทําส่งั สม พอกพูน ไพบลู ย ฯลฯ ครั้นจตุ ิจากสวรรคนน้ั แลว มาสคู วามเปนอยา งนี้ ยอ มไดซึ่งมหาปรุ สิ ลักษณะ ๒ ประการคอื มพี ระชวิ หาใหญ ๑มีพระสรุ เสยี งดุจเสยี งพรหม เม่ือตรัสมีกระแสดจุ เสยี งนกการะเวก ๑.พระมหาบุรุษสมบรู ณด วยพระลกั ษณะ ๒ ประการนั้น ถา อยคู รองเรอื นจะไดเปนพระเจา จกั รพรรดิ ฯลฯ เมอ่ื เปนพระราชาจะไดอะไร เม่อื เปนพระราชาจะไดรบั ผลขอ นคี้ อื มีพระวาจาอันชนเปน อนั มากเชือ่ ถอื ชนเปนอนั มากท่ีเชื่อถือถอ ยคําของพระองค เปน พราหมณ เปนคฤหบดี เปน ชาว

พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 38นคิ ม เปนชาวชนบท เปนโหราจารย เปนมหาอาํ มาตย เปน กองทหารเปน นายประตู เปน อาํ มาตย เปนบริษัท เปนเจา เปนเศรษฐี เปนราชกมุ ารถาออกทรงผนวชจะไดเปน พระอรหันตสัมมาสมั พทุ ธเจา มีหลงั คาคือกิเลสอันเปด แลวในโลก เมือ่ เปน พระพทุ ธเจา จะไดอะไร เม่ือเปนพระ-พุทธเจาจะไดร บั ผลขอ นีค้ อื มพี ระวาจาอันมหาชนเชอ่ื ถือ มหาชนท่เี ธอถอื พระวาจาของพระองคเปนภิกษุ เปนภิกษณุ ี เปน อุบาสก เปน อบุ าสิกาเปนเทวดา เปน มนษุ ย เปนอสูร เปน นาค เปน คนธรรพ. พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสเนื้อความน้ไี ว. พระโบราณาจารยท ้ังหลายจึงกลาวคาถาประพนั ธน ใ้ี นพระลักษณะเหลา นน้ั วา [๑๖๗] พระมหาบุรษุ ไมไ ดก ลา ววาจาหยาบ ทํา ความดาความบาดหมาง ความลําบากใจ ทํา ความเจ็บใจ อนั ยาํ่ ยีมหาชน เปนคาํ ช่วั รา ย ไดกลา ววาจาออ นหวาน ไพเราะมปี ระโยชนดี กลา ววาจา เปนทรี่ ักแหงใจอนั ไปสูหทยั สะดวกหู เสวยผลแหง วาจาท่ปี ระพฤติดี และเสวยผล บุญในสวรรค ครั้นเสวยผลแหง กรรมที่ ประพฤติดแี ลว มาในโลกน้ี ไดถ งึ ความเปน ผูมเี สยี งดจุ เสียงพรหม และมีพระชวิ หา ไพบลู ยกวา ง มคี ําท่ีตรสั อนั มหาชนเช่อื ถือ ผลนีย้ อมสาํ เร็จแกพระองค แมเ ปน คฤหัสถต รัสอยฉู ันใด ถา ออกทรงผนวช

พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 39 เมื่อตรสั คําที่ตรสั ดมี ากแกมหาชน คาํ นัน้ มหาชนกเ็ ชื่อถอื ฉนั น้นั โดยแท. [๑๖๘] ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย ตถาคตเคยเปนมนษุ ยใ นชาตกิ อนภพกอ น กําเนิดกอ น ละคาํ เพอ เจอ เวนขาดจากคาํ เพอเจอ พดู ถูกกาลพูดแตค าํ ท่ีเปน จริง พูดองิ อรรถ อิงธรรม อิงวินัย พดู แตค ํามีหลักฐาน มที ี่อางมที ีก่ ําหนด ประกอบดวยประโยชนโดยกาลอันควร. ตถาคตยอ มถึงสคุ ติโลกสวรรค เบอื้ งหนาแตต ายเพราะกายแตก เพราะกรรมนั้นอนั ตนทาํ ส่งั สมพอกพูน ไพบลู ย ฯลฯ คร้ันจุติจากสวรรคนั้นแลวมาสูค วามเปนอยา งนี้ยอ มไดซ ง่ึ มหาปรุ ิสลักษณะน้คี อื มีพระหนดุ จุ คางราชสหี . พระมหาบรุ ษุสมบรู ณดว ยพระลกั ษณะนัน้ ถา อยคู รองเรอื นจะไดเปนพระเจา จกั รพรรดิฯลฯ เมือ่ เปนพระเจา จกั รพรรดจิ ะไดอะไร เมือ่ เปน พระเจาจักรพรรดจิ ะไดร บั ผลขอ นคี้ ือ ไมมใี คร ๆ ทเี่ ปน มนษุ ย เปน ขาศึกศตั รูกาํ จัดได ถา ออกทรงผนวชจะไดเ ปนพระอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา มีหลงั คาคือ กเิ ลสอันเปดแลว ในโลก เมื่อเปนพระพทุ ธเจา จะไดอะไร เมอ่ื เปนพระพทุ ธเจาจะไดรบั ผลขอ นคี้ อื ไมม ขี า ศึกศตั รู ภายในภายนอก คือ ราคะ โทสะ โมหะหรอื สมณพราหมณ เทวดา มาร พรหม ใครๆ ในโลกกําจัดได. พระผูมี-พระภาคเจาตรสั คํานไี้ ว. พระโบราณาจารยท้งั หลายจึงกลา วคาถาประพนั ธนี้ในพระลกั ษณะเหลา นน้ั วา [๑๖๙] พระมหาบุรุษไมก ลาวคาํ เพอเจอ ไมกลา ว คาํ ปราศจากหลกั ฐาน มคี ลองพระวาจาไม เหลวไหล ทรงบรรเทาเสียซึง่ คาํ ไมเปน

พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 40 ประโยชน ตรสั แตคาํ ทเี่ ปน ประโยชน และ คําทเ่ี ปน สุขแกม หาชน ครนั้ ทาํ กรรมน้ันแลว จุติจากมนุษยโลก เขาสเู ทวโลกเสวยวิบากอันเปนผลแหงกรรม ท่ที ําดีแลวจุติแลวเวียนมาในโลกน้ี ไดค วาม เปน ผมู ีพระหนดุ ุจคางราชสีห ทปี่ ระเสริฐกวา สตั วส เ่ี ทา เปน พระราชาทเี่ ปน ใหญก วามนษุ ยย ากนัก ทใ่ี ครจะกาํ จัดพระองคไ ด พระองคเ ปนผใู หญ ย่งิ ของมวลมนุษย มีอานุภาพมาก เปนผูเ สมอ ดวยเทวดา ผปู ระเสรฐิ ในไตรทพิ ย เปน เหมอื นพระอนิ ทรผปู ระเสริฐกวาเทวดา เปน ผูม่ันคง อันคนธรรพ อสูร ทา วสกั กะ และยกั ษ ผกู ลา ไมกาํ จดั ไดโดยงา ยเลย พระมหาบุรุษเชน น้ัน ยอ มเปน ใหญท ุกทิศ ในโลกนโี้ ดยแท. [๑๗๐] ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ตถาคตเคยเปน มนษุ ยใ นชาติกอ นภพกอน กาํ เนิดกอ น ละมิจฉาอาชวี ะแลว สําเรจ็ ความเปนผอู ยดู ว ยสมั มา-อาชีวะ เวน ขาดจากการโกงดว ยตาชั่ง การโกงดวยของปลอม และการโกงดวยเครอื่ งตวงวดั และการโกงดวยการรบั สินบน การหลอกลวง และตลบตะแลง เวนขาดจากการตัด การฆา การจองจาํ การตชี ิง การปลน

พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 41และการกรรโชก. ตถาคตยอมเขา ถึงสุคติโลกสวรรค เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก เพราะกรรมนั้นอันตนทํา สง่ั สม พอกพนู ไพบูลย. พระมหาบรุ ุษนนั้ ยอมครอบงาํ เทวดาท้ังหลายอื่นในโลกสวรรค โดยฐานะ ๑๐คือ อายุทพิ ย วรรณทพิ ย สุขทิพย ยศทิพย อธิปไตยทิพย รูปทพิ ยเสียงทพิ ย กล่นิ ทิพย รสทิพย และโผฏฐพั พทพิ ย. ครัน้ จตุ ิจากสวรรคนน้ั แลวมาสคู วามเปน อยางนี้ ยอ มไดซึ่งมหาปรุ ิสลักษณะ ๒ ประการ คือมีพระทนตเสมอกัน มพี ระทาฐะสีขาวงาม ๑. พระองคทรงสมบูรณดว ยพระลกั ษณะทัง้ ๒ น้นั ถาอยูค รองเรือนจะไดเ ปน พระเจา จกั รพรรดิ เปนผทู รงธรรมเปน ธรรมราชา มมี หาสมทุ ร ๔ เปนขอบเขต ทรงชาํ นะแลวมอี าณาจกั รมน่ั คง ถงึ พรอมดวยรัตนะ ๗ ประการ คือ จกั รแกว ชางแกวมา แกว แกว มณี นางแกว คฤหบดแี กว ปริณายกแกว เปนที่ ๗. และมีพระราชโอรสมากกวา พัน ลว นเปน ผูแกลวกลา พระรปู สมเปนวีรกษตั รยิ สามารถยํ่ายเี สนาของขาศกึ ได. และพระมหาบุรษุ นั้นทรงชนะโดยธรรมเสมอ มติ อ งใชอ าชญา มิตองใชศ ัสตรา ทรงครองแผน ดนิ นม้ี สี าครเปน ขอบเขต มิไดม เี สาเขอ่ื น มไิ ดม นี มิ ติ ไมม เี ส้ียนหนาม มัน่ คงแพรห ลาย มีความเกษมสําราญ ไมม ีหมูโจร เมื่อเปนพระราชาจะไดอ ะไร เมอ่ื เปน พระราชาจะไดผลขอน้ี คือ มวี ารสะอาดไดแกมบี ริวารเปนพราหมณ เปน คฤหบดีเปนชาวนคิ ม เปน ชาวชนบท เปนโหราจารย เปน มหาอํามาตย เปนกองทหาร เปน นายประตู เปนอาํ มาตย เปน บรษิ ัท เปนเจา เปน เศรษฐีเปน กมุ าร. ถาพระมหาบุรษุ ออกทรงผนวชจะไดเ ปนพระอรหนั ตสัมมาสมั -พุทธเจา มีหลังคาคอื กเิ ลสอนั เปดแลว ในโลก เมอื่ เปน พระพทุ ธเจา จะไดอะไร เมือ่ เปน พระพุทธเจาจะไดร บั ผลขอน้ี คอื มบี รวิ ารสะอาด บริวารของพระองคท ่ี สะอาดน้นั ไดแก ภิกษุ ภกิ ษณุ ี อุบาสก อุบาสกิ า เทวดา

พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 42มนษุ ย อสรู นาค คนธรรพ. พระผมู พี ระภาคเจา ตรสั เน้ือความนีไ้ วพระโบราณาจารยทงั้ หลายจึงกลาวคาถาน้ี ในพระลกั ษณะเหลา นนั้ วา [๑๗๑] พระมหาบุรษุ ละมิจฉาอาชีวะเสีย ยังความ ประพฤติใหเ กดิ แลว ดว ยสัมมาอาชวี ะอัน สะอาด อันเปนไปโดยธรรม ละกรรมอันไม เปนประโยชน ประพฤติแตก รรมที่เปน ประโยชน และเปน สุขแกม หาชน. ทํากรรมมีผลดที ่หี มสู ตั บุรษุ ผูม ปี ญ ญาอัน ละเอยี ด ผฉู ลาดสรรเสริญแลว เสวยสุขอยู ในสวรรคเ ปน ผูพ ร่งั พรอมดวยสมบัติ เปน ทีย่ ินดเี พลดิ เพลนิ อภิรมยอ ยเู สมอดวยทา ว สักกะผปู ระเสริฐในช้ันไตรทพิ ย. จุตจิ ากสวรรคแ ลว ไดภพทีเ่ ปนมนษุ ย ยงั ซํา้ ไดซ่ึงพระทนตทเี่ กิดในพระโอฐสาํ หรบั ตรัสเรียบเสมอ และพระทาฐะสขี าวหมด จดสะอาด เพราะวิบากอนั เปน ผลแหง กรรม ทที่ ําด.ี พวกมนษุ ยผ ูทาํ นายลกั ษณะท่ีมีปญ ญาอนั ละเอยี ด ทมี่ หาชนยกยอ งเปน จาํ นวนมาก ประชุมกันแลว พยากรณว า พระราชกุมารน้ี

พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 43 จะมหี มูช นทส่ี ะอาดเปนบริวาร มีพระทนตที่ เกิดสองหนเสมอ และมีพระทาฐะมีสขี าว สะอาดงาม. ชนเปนอนั มากทสี่ ะอาดเปน บริวารของ พระมหาบรุ ษุ ผเู ปนพระราชาปกครองแผน ดิน ใหญน ี้ ไมก ดข่เี บียดเบยี นชาวชนบท ชน ท้งั หลายตางประพฤติกจิ เปน ประโยชนและ เปนสุขแกม หาชน. ถาพระองคอ อกทรงผนวชจะเปนสมณะ ปราศจากบาปธรรม มีกิเลสดังธุลรี ะงบั ไป มหี ลังคาคอื กเิ ลสอันเปดแลว ปราศจากความ กระวนกระวาย และความลําบาก จะทรงเหน็ โลกน้ี โลกอนื่ และบรมธรรมโดยแท. คฤหัสถเปน จาํ นวนมาก และพวกบรรพ- ชติ ที่ยังไมส ะอาด จะทาํ ตามพระโอวาทของ พระองค ผูกาํ จดั บาปธรรมทบี่ ัณฑติ ติเตยี น เสยี แลว พระองคจ ะเปน ผูอันบริวารที่สะอาด ผูก าํ จัดกิเลสเปนมลทนิ เปนดงั วา ตออนั ให โทษหอ มลอมแลว. พระผูมีพระภาคเจาตรัสพระพทุ ธพจนน ี้ แลว. ภิกษทุ ้งั หลายชน่ื ชมยนิ ดี พระภาษิตของพระผมู พี ระภาคเจา ดงั น้แี ล. จบลักขณสตู รที่ ๗

พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 44 อรรถกถาลกั ขณสูตร ลกั ขณสูตรมคี าํ เริม่ ตนวา ขา พเจาไดฟ งมาแลว อยา งน้.ี ตอไปนี้จะพรรณนาบทที่ยากในลักขณสตู รนน้ั บทวา ทวตฺตสึ ีมานิตัดบทเปน ทวตฺตสึ อมิ านิ บทวา มหาปุรสิ ลกขฺ ณานิ ความวา ความปรากฏแหง มหาบุรุษนมิ ติ แหงมหาบรุ ุษ เปน เหตใุ หร ูวา นีค้ อื มหาบุรุษ. บทเปน อาทวิ า พระมหาบุรษุ ประกอบดว ยมหาปรุ สิ ลักษณะ เหลา ใด ดังน้ีพึงทราบโดยนัยที่พิสดารแลวในมหาปทาน เพราะเหตุไร ทานจึงกลาววาพวกฤษแี มในภายนอกกย็ งั ทรงจาํ มหาปุรสิ ลักษณะของพระมหาบรุ ุษ ๓๒เหลาน้ี ได แตพ วกฤษเี หลา นั้นยอ มไมร วู า เบอื้ งหนาแตตายเพราะกายแตกยอมเขาถึงสุคตโิ ลกสวรรค เพราะกรรมท่ีตนทาํ ส่ังสมพอกพนู ไพบูลยไ ว...คร้ันจตุ จิ ากโลกสวรรคนั้นแลว มาสคู วามเปน อยางนี้ ยอมไดม หาปรุ ิส-ลักษณะนี้ดงั น้ี เพราะอนรุ ูปแกเ รอื่ งน้ีเกดิ ข้นึ ดว ยวา สตู รน้ี มเี ร่อื งเกดิ ข้ึนของสูตรนัน้ ตง้ั ขึน้ ท่ไี หน ตัง้ ข้นึ ในระหวางพวกมนุษยภายในบาน. ไดยนิ วา ในคร้ังน้นั ชาวเมอื งสาวัตถี น่ังประชุมสนทนากนั ในบา นทีป่ ระตบู านและที่หอน่ังเปน ตน ของตนของตนวา พระวรกายของพระผมู ีพระภาคเจาสมบรู ณด ว ยอนุพยญั ชนะ ๘๐ มพี ระรศั มแี ผอ อกจากพระวรกายวาหนึ่ง มหาปรุ สิ ลกั ษณะ ๓๒ เมือ่ เปลงพระรศั มีมสี ี ๖ ประการฉายแสงจากขางน้ี ขา งนี้ ยอ มงามเหลอื เกนิ ประดจุ ดอกไมสวรรคแ ยมบานท้งั หมด ประดุจสวนดอกบัวทีแ่ ยม กลบี ประดุจเสาระเนยี ดวิจิตรดวยแกว ตา ง ๆ ประดุจทองฟา ซง่ึ สะพรัง่ ดวยดาวและพะยบั แดด มิไดบอกวากล็ ักษณะน้ี ของพระผมู ีพระภาคเจา เกิดข้ึนดวยกรรมนี้ พระผูมีพระภาค-

พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 45เจาตรสั วา ลกั ษณะนี้ เกดิ ข้นึ อยางนี้ เพราะพระองคใ หท านแมเ พยี งขา วยาคกู ระบวยหนึง่ หรือเพยี งขา วทัพพหี นึ่งเปนปจ จัยลกั ษณะเหลานี้ ยอมเกิดข้นึ เเกพ ระผมู พี ระภาคเจา นัน้ โดยท่ีพระศาสดาไดท รงทํากรรมอะไรไวหนอ. ลําดับนนั้ พระอานนทเถระ จารกิ ไปภายในหมบู านไดส ดบั การสนทนานี้ ทําภตั ตกจิ เสรจ็ แลว มาสูวิหาร กระทําวัตรปฏิบัติแดพระศาสดาแลว ถวายบังคมกราบทูลวา ขา แตพระองคผ ูเจรญิ ขาพระองคไ ดก ถาขอหน่ึงภายในหมูบา น เม่อื พระผูมีพระภาคเจา ตรัสถามวา เธอฟงมาอยา งไรอานนท ไดกราบทูลใหทรงทราบทงั้ หมด. พระศาสดาสดบั ถอยคาํ ของพระเถระแลว ตรสั เรยี กภกิ ษุทั้งหลายทนี่ ง่ั แวดลอมอยทู รงแสดงลกั ษณะทัง้ หลายโดยลาํ ดับวา ดกู อนภิกษุท้ังหลาย มหาปรุ ิสลักษณะของมหาบรุ ุษเหลา นม้ี ีอยู ๓๒ ประการ ตรัสอยางนนั้ เพอ่ื แสดงถงึ ลักษณะที่เกิดขนึ้ เพราะกรรม.ในบทท้งั หลายวา ชาติ เปนตน กอน ความวา ขนั ธท ี่ เคยอาศยั อยู พระผมู -ีพระภาคเจา ตรัสวา ชาติ ดว ยสามารถเกดิ แลว ตรัสวา ภพ ดว ยสามารถเกิดอยางน้นั ตรัสวา กําเนดิ ดวยสามารถอาศยั อยู หรอื ดว ยอรรถวาเปนที่อยู บทแมท ้ัง ๓ น้นั มีอธิบายวา ในขันธสนั ดานท่เี คยอาศยั อยู ดงั นี้ . บดั นี้ เพราะขนั ธสันดานน้นั ยอ มเปน ไปแมในเทวโลกเปนตน แตกุศลกรรมอนั สามารถจะยงั ลักษณะใหเ กิด ทาํ ไมง ายนกั ในเทวโลกนนั้ เม่อืเปนมนษุ ยนนั้ แหละ ลักษณะนัน้ จงึ ทาํ ไดง าย ฉะนัน้ พระผมู พี ระภาคเจาเม่ือจะทรงแสดงถึงกรรมทีพ่ ระองคทรงกระทําแลว ตามความเปนจรงิ จึง

พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 46ตรัสวา ตถาคตเคยเปนมนุษย ดังน้ี หรือวา น้ันไมใ ชเ หตุ จรงิ อยูพระมหาบุรุษแมเ ปนชา ง มา โค กระบอื วานร เปน ตน ก็ทรงบาํ เพญ็ บารมีไดเหมือนกัน แตเ พราะพระองคดํารงอยใู นอตั ภาพเหน็ ปานนนั้ ไมส ามารถแสดงกรรมที่ทรงกระทาํ แลวโดยงาย แตพ ระองคด าํ รงอยใู นความเปนมนุษยจ งึ สามารถแสดงกรรมท่พี ระองคทรงกระทําแลว โดยงา ย ฉะนัน้ จึงตรัสวา ตถาคตเคยเปน มนษุ ยดงั นี้. ทฬฺหสมาทาโน แปลวา ถือมนั่ .บทวา ในธรรมอนั เปนกุศลทง้ั หลาย หมายถงึ กุศลกรรมบถ ๑๐. บทวายดึ ม่ันไมถ อยหลัง ไดแ กยดึ แนน เปน นิจคือยึดม่ันไมถ อยหลัง จรงิ อยูจติ ของพระมหาสตั วยอ มมว นกลบั จากอกศุ ลกรรมดจุ ปก ไกตอ งไฟฉะนั้น จติของพระมหาบุรษุ บรรลกุ ศุ ลยอมเหยียดดุจเพดาน เพราะฉะนัน้ พระตถาคตเปน ผูยดึ ม่นั เปน ผมู นั่ ไมถอยหลงั อันใครๆ จะเปนสมณะ พราหมณ เทวดามารหรอื พรหม กไ็ มส ามารถจะใหพระองคสละความยืดมน่ั ในกุศลได. มีเร่อื งเลาวา ครง้ั กอ นพระมหาบุรุษอุบัติในกําเนดิ กระแต คราวนั้น เมอื่ ฝนตกหว งน้ําไหลมาพดั เอารังของกระแตเขา ไปในมหาสมุทร มหาบรุ ุษคิดวา เราจักนําลกู นอ ยออกใหได จงึ จมุ หางแลวสลดั นา้ํ จากมหาสมุทรไปขางนอกในวันท่ี ๗ ทาวสักกะทรงราํ พึงแลว เสด็จมาในทีน่ นั้ ถามวา ทานทาํ อะไรมหาบรุ ุษบอกเรอ่ื งราวแกทา วสักกะน้นั . ทาวสักกะทรงบอกถึงความทน่ี ํ้าจะนาํ ออกจากมหาสมทุ รไดยาก. พระโพธสิ ตั วรุกรานวา ไมค วรพูดกับคนเกยี จครา นเชนน้นั ทา นอยา ยืนตรงนเี้ ลย ทา วสกั กะคดิ วา เราไมส ามารถจะใหผ ูมใี จประเสรฐิ เลกิ ละสงิ่ ทีต่ นถอื มนั่ ได จึงนาํ ลูกนอยมา สงให

พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 47 แมในกาลทพ่ี ระโพธิสตั วถ ือกําเนดิ เปนมหาชนก พระโพธิสัตวทรงวา ยขา มมหาสมุทร เทวดาถามวา เพราะเหตุไร ทานจงึ วายขามมหาสมทุ ร. ทรงกลา ววา เราวายขามเพ่อื ไปถงึ ฝง แลว จะครองราชสมบตั ิ ในแควนอนั เปน ของตระกลู แลว บรจิ าคทาน เมื่อเทวดากลาววา มหาสมุทรนลี้ ึกและกวางขวางมาก เมอื่ ไรจกั ขามถงึ ได ตรัสวา มหาสมทุ รนก้ี ็เชนเดยี วกบั มหาสมุทรของทาน แตอาศยั ความตัง้ ใจของเราปรากฏเหมอื นเหมืองนอย ๆ ทา นน่ันแหละจกั เห็นเราผวู า ยขามมหาสมทุ รแลว นําทรัพยจากฝง มหาสมุทรมาครองราชสมบตั ใิ นแควน อนั เปน ของตระกูลแลวบริจาคทานดงั น้ี. เทวดาคิดวา เราไมอาจจะใหบ รุ ษุ ผูมีใจประเสรฐิ เลิกละสง่ิ ทตี่ นยึดมน่ั ได จึงอมุ พระโพธิสตั วนําไปใหบรรทม ณ อทุ ยาน พระมหาสัตวนน้ัยงั มหาชนใหยกข้นึ ซึ่งเศวตฉตั รแลว ทรงทําการบริจาคทานวันละ ๑๐ แสนตอมาเสดจ็ ออกทรงผนวช. พระมหาสตั วอ นั ใครๆ จะเปน สมณะ พราหมณเทวดา มาร หรือพรหมกไ็ มอ าจใหเ ลิกละกุศลสมาทานได. เพราะฉะนั้นพระผูมีพระภาคเจาจึงตรสั วา ตถาคตเปนผยู ดึ ม่ัน ไมถ อยกลบั ในธรรมอนัเปนกศุ ลทง้ั หลาย ดงั นี.้ บัดนี้ พระผูม ีพระภาคเจา เพ่อื จะทรงแสดงความยึดมัน่ ไมถอยหลงัในธรรมอันเปนกุศลจงึ ตรัสคําเปนอาทิวา ในกายสจุ รติ ดงั น.้ี ในบทน้ี วาในการบริจาคทาน คือ การใหด ว ยสามารถการใหทานน่ันเอง การบริจาคดว ยสามารถทําการบริจาค. บทวา ในกาลสมาทานศลี คือในกาลบําเพ็ญศลี ๕ ศีล ๘ ศลี ๑๐ และจตุปารสิ ุทธิศีล. บทวา ในการรักษาอโุ บสถ






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook