Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอนการพยาบาลพื้นฐาน E-Book

เอกสารประกอบการสอนการพยาบาลพื้นฐาน E-Book

Published by jitrada.sin, 2022-07-10 06:30:15

Description: เอกสารประกอบการสอนการพยาบาลพื้นฐาน E-Book

Keywords: การพยาบาล หลักการ เทคนิคพยาบาล พื้นฐานการพยาบาล

Search

Read the Text Version

8.1.2 การเตรียมยา เชนเดียวกันกับการเตรียมยาฉีดเขาใตผิวหนัง การเตรียมยาฉีดแตละ ชนิดดูตามรายละเอียดในคูมือยา โดยการฉีดยาเขาหลอดเลอื ดำควรผสมในสารทำละลายไมนอยกวา 10 มลิ ลิลิตร 8.1.3 วิธีปฏบิ ัติ 1) ภายหลังเตรียมยาแลว ใหไลอากาศออกจากกระบอกฉีดยาใหหมดจึงนำยาพรอมใบ MAR ไปท่เี ตียงผปู วย 2) ทักทายผูปวย พรอมแจง วตั ถุประสงคของงการฉดี ยา 3) ตรวจสอบความถูกตองของการระบุตัวผปู วย โดยการถามชอื่ ผูปวย ซึง่ ตองตรงกันทั้ง ในใบ MAR ปายขอมือผูปวย สติ๊กเกอรขวดยา และคำบอกกลาวชื่อตนเองที่ผูปวยตอบ โดย จำเปนตองตรงกนั อยางนอย 2 ตัวบง ช้ี เชน ชือ่ สกลุ เลขประจำตวั โรงพยาบาล (Hospital number: HN) 4) จดั ใหผปู ว ยนง่ั หรอื นอนหงายในทา ท่สี บาย 5) ลา งมอื ใหส ะอาด 6) ฉีดยาตามชอ งทางตา ง ๆ ดงั นี้ (1) กรณี injection plug ใชเข็มที่ตอกระบอกฉีดยา บรรจุ normal saline เปลี่ยน เข็มขนาดเบอร 23 – 24 แทงที่ปลายจกุ ดงึ ลูกสูบขึ้นมาเลก็ นอย หากมเี ลอื ดตามมาแสดงวาเข็มอยูใน หลอดเลือด ใหฉีด normal saline เขาไปประมาณ 2 มิลลิลิตร แลวนำเข็มออก นำยามาฉีด (เปลี่ยน เข็มขนาดเบอร 23 – 24) ดันยาชาๆ อัตรา 1 มิลลิลิตร / 10 วินาที จากนั้น normal saline มาฉีด จำนวนประมาณ 2-3 มิลลลิ ิตร (2) กรณี normal saline lock ใหเปดจุกปดออกพรอมๆ กบั หมนุ เขม็ ออก นำปลาย กระบอกฉีดยาตอเขากับ normal saline lock แลวคอยเปด clamp ดึงลูกสูบขึ้นมาเล็กนอย หากมี เลือดตามมาแสดงวาเข็มอยูในหลอดเลือด ใหฉีด normal saline เขาไปประมาณ 2 มิลลิลิตร นำยา มาฉีด ชาๆ อัตรา 1 มิลลิลิตร / 10 วินาที จากนั้นนำ normal saline มาฉีดจำนวนประมาณ 2-3 มิลลลิ ิตร (3) กรณี 3 way ใหหมุนจุกปดออกพรอมๆ กับหมุนเข็มออก นำปลายกระบอกฉีด ยาตอเขากับ 3 way ปด 3 way ฝงที่ใหสารน้ำไว ฉีดยาชาๆ อัตรา 1 มิลลิลิตร / 10 วินาที จากน้ัน เปด ใหส ารน้ำหยดตามปกติ 7) ปลดหัวเข็มที่ใชแลวทิ้งใน Safety box หรือหากไมมี Safety box สวมปลอดเข็ม ดว ยวธิ ี one hand technique แลวนำไปท้งิ 8) เซ็นชื่อในใบ MAR ถูกตอง (ชื่อชัดเจน ตำแหนง ลงเวลาที่ฉีดจริง) บันทึกการใชยา และอาการผดิ ปกติในแบบบนั ทกึ ทางการพยาบาล 501

8.2 วธิ ีการฉีดยาเขาหลอดเลือดดำแบบหยด (intravenous injection drip) การฉีดเขาหลอดเลือดดำโดยวิธีหยด (Intravenous infusion, Intravenous drip) เปน การฉดี ยาท่ตี องเจือจางเขากบั สารละลายแลว หยดเขาทางหลอดเลือดดำชา ๆ นานประมาณ 30 – 60 นาที ขนึ้ อยกู บั ชนิดของยา 8.2.1 อุปกรณเครอ่ื งใช 1) แผนการรกั ษาและ ใบ MAR 2) ยาปลอดเชอ้ื ตามแผนการรกั ษาที่ไมหมดอายุ 3) เข็มเบอร 25-27 ความยาว 1 – 1½ นิ้ว กรณีฉีดทาง injection plug และเข็มเบอร 18-20 สำหรับผสมยา 4) กระบอกฉีดยาขนาด 10 มิลลิลิตร สำหรับผสมยา กระบอกฉีดยาขนาด 5 มิลลิลิตร สำหรับเตรียม normal saline 4-5 ml ใชในกรณีฉดี ทาง injection plug หรือ Normal saline lock 5) ตัวทำละลายสำหรับผสมยา (กรณียาผง) เชน sterile water, 0.9% NSS (เลือกตัว ทำละลายตามคำแนะนำในฉลากยาหรือตำรายา) 6) 0.9% NSS หรือ 5% Dextrose in water ปริมาณ 50 -100 มิลลิลิตร สำหรับเจือ จางยา (เลือกตามคำแนะนำในฉลากยาหรอื ตำรายา) 7) ชุดใหสารน้ำ (intravenous set) 8) 70% alcohol 9) สำลปี ลอดเชอ้ื บรรจุในภาชนะปลอดเชือ้ 10) Transfer forceps ปลอดเช้อื พรอมกระปกุ 11) ใบเลอื่ ยสำหรับเปด ขวดยาหรอื ตดั หลอดยา 12) ชามรปู ไต 1 ใบ สำหรบั ใสของท่ีใชแลว 12) ถาดใสเคร่อื งใชห รือรถเตรยี มยา 13) safety box หรือภาชนะปลดและเก็บหัวเข็ม 8.2.2 การเตรียมยา ภายหลังผสมยาตามวิธีการเตรียมยาที่เปนผง (vial) จนยาละลาย หมดแลว นำยาไปเจอื จางในสารละลายทเ่ี ขากนั ไดจำนวน 50 - 100 มลิ ลลิ ติ รตามความถูกตองของยา ชนิดนั้นๆ เขียนใบปดขวดยา ตรวจสอบชอ่ื ยา ครบ 3 คร้ัง (กอ น ขณะ หลัง) เซ็นช่อื ในใบปดขวดยา 502

8.2.3 วิธปี ฏบิ ตั ิ 1) สอบถามชื่อ สกุล ผูปวย ตรวจสอบกบั ปายขอมือและใบ MAR 2) จัดทา ใหส ุขสบาย 3) ตรวจสอบตำแหนง ฉีด 4) ลา งมือใหสะอาด 5) ทำความสะอาดตำแหนง ฉีดยา ปลอยใหน ำ้ ยาทำความสะอาดแหง 6) ทดสอบการอยูในหลอดเลือดของปลายเข็มโดย กรณี injection plug ใชเข็มที่ตอ กระบอกฉีดยา บรรจุ normal saline แทงทป่ี ลายจกุ กรณี normal saline lock ใหห มุนจุกปดออก พรอมๆ กับหมุนเข็มออก นำปลายกระบอกฉีดยาตอเขากับ normal saline lock แลวคอยปด clamp กรณี 3 way ใหห มุนจุกปด ออกพรอมๆ กบั หมุนเข็มออก นำปลายกระบอกฉดี ยาตอเขากับ 3 way แลวคอยหมุนเปด ดึงลูกสูบขึ้นมาเล็กนอย หากมีเลือดตามมาแสดงวาเข็มอยูในหลอดเลือด ให ฉดี normal saline เขา ไปประมาณ 2 มิลลิลิตร แลว นำเข็มออก (กรณีเปน Normal saline lock, 3- way ใหป ด clamp กอ น) 7) นำชดุ ใหยามาตอ เขา กบั injection plug, Normal saline lock, 3-way 8) เปด clamp ปรับหยดตามที่คำนวณไว 9) เมอ่ื ยาหมดปด clamp นำชุดใหย าออก นำ normal saline มาไลสายปริมาณ 2 – 3 มลิ ลิลติ ร 10) เซน็ ช่อื ในใบ MAR ถกู ตอง (ช่อื ชดั เจน ตำแหนง ลงเวลาท่ีฉีดจริง) 11) บันทึกการใชยาและอาการผดิ ปกติในแบบบนั ทกึ ทางการพยาบาล 8.3 บทสรปุ การฉีดยาเขาหลอดเลอื ดดำ เปนหัตถการที่มีความเสี่ยง พยาบาลตองปฏิบัติอยางรอบคอบ ถูกตองตามหลักการ 10 R และบรหิ ารยาดวยเทคนคิ ปลอดเช้อื 503

8.4 แบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน แบบประเมินทักษะการฉดี ยาเขาหลอดเลอื ดดำในระยะสั้น (Intravenous injection: push, bolus) ชอื่ .....................................................สกุล.....................................รหสั นกั ศกึ ษา............................................ คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในชอ งท่ตี รงกบั ผลการปฏบิ ตั ิ ลำดบั ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย เหตุ วธิ กี าร ปฏิบตั ิ ไมป ฏิบตั ิ (1) (0) ขน้ั เตรียม 1 ตรวจสอบใบ MAR กับแผนการรักษา 2 ตรวจสอบประวัติการแพยา 3 ทักทายผูปวยและแนะนำตนเอง 4 อธิบายวัตถปุ ระสงคการฉดี ยาใหผ ปู วยทราบ 5 ประเมินตำแหนง ทจ่ี ะฉดี ยา - injection plug, Normal saline lock, 3 way ขัน้ ปฏบิ ตั ิ (กอนฉีดยา ใชหลักปลอดเช้ือ) 6 หยบิ ยาและตรวจสอบใหต รงกบั ใบ MAR* ตรวจสอบช่ือยา ขนาดยาและวนั หมดอายุ 7 เตรียมอุปกรณด งั นี้ - ยา -ใบ Medication Administration Record -Needle No 25-27 ความยาว 1 – 1½ นิว้ กรณีฉีดทาง injection plug และ Needle No 18-20 สำหรบั ผสมยา และฉดี ยาทาง Normal saline lock หรอื 3 way -Syringe 5 -10 มลิ ลลิ ติ ร เหมาะสมกบั ปริมาณยาทจ่ี ะฉีด Syringe 5 มิลลิลติ ร สำหรับเตรยี ม normal saline 4-5 ml กรณีฉีดทาง injection plug หรือ Normal saline lock -ตวั ทำละลายสำหรับผสมยา -70% alcohol 504

ลำดบั ผลการปฏิบตั ิ หมาย วิธกี าร เหตุ ปฏิบัติ ไมปฏบิ ตั ิ -สำลปี ลอดเช้อื บรรจุในภาชนะปลอดเช้ือ (1) (0) -Transfer forceps ปลอดเช้ือพรอมกระปุก -ใบเลอื่ ยสำหรบั เปด ขวดยาหรือตดั หลอดยา -ชามรูปไต 1 ใบ สำหรบั ใสของทใี่ ชแ ลว -ถาดใสเ ครื่องใชห รือรถเตรยี มยา -safety box หรือภาชนะปลดและเก็บหวั เข็ม 8 ลางมือ 7 ข้นั ตอน 9 เตรียมยาถูกตอ ง ไมป นเปอน 10 คำนวณยาถูกตอ ง ตามแผนการรกั ษา 11 ดูดยาครบจำนวน 12 ตรวจสอบชื่อยา ครบ 3 คร้งั (กอน ขณะ หลงั ) 13 กรณฉี ดี ทาง injection plug เปลีย่ น Needle เปน No23 – 25 ใหปลายตดั อยูดานบนตรงกบั Scale ข้นั ปฏบิ ัติ (ขณะฉดี ยา ใชหลักปลอดเชื้อ) 14 สอบถามชื่อ สกุล ผูปว ย ตรวจสอบกบั ปา ยขอมือและใบ MAR 15 จัดทาใหส ุขสบาย 16 ตรวจสอบตำแหนง ฉดี 17 ลา งมือดว ย alcohol gel 18 ทำความสะอาดตำแหนงฉดี ยา ปลอยใหนำ้ ยาทำความสะอาด 19 การฉดี ยา - กรณี injection plug ใชเ ข็มทีต่ อกระบอกฉีดยา บรรจุ normal saline แทงทปี่ ลายจกุ - กรณี normal saline lock ใหเ ปด จกุ ปด ออกพรอมๆ กบั หมนุ เข็มออก นำปลายกระบอกฉดี ยาตอเขา กับ normal saline lock แลว คอยเปด clamp - กรณี 3-way ใหหมนุ จกุ ปดออกพรอมๆ กับหมุนเข็มออก นำปลายกระบอกฉดี ยาตอเขากับ 3way แลวคอยหมุนเปด 505

ลำดับ ผลการปฏิบตั ิ หมาย เหตุ วิธีการ ปฏิบตั ิ ไมปฏบิ ตั ิ (1) (0) 20 ดงึ ลกู สบู ขึ้นมาเล็กนอ ย หากมีเลือดตามมาแสดงวาเข็มอยู ในหลอดเลือด ใหฉดี normal saline เขาไปประมาณ 2 มลิ ลิลิตร แลว นำเขม็ ออก (กรณเี ปน Normal saline lock, 3-way ใหปด clamp กอนนำ syringe ออก) 21 นำยามาฉีด ดนั ยาชา ๆ (อัตรา 1 มิลลลิ ิตร / 10 วนิ าท)ี 22 ดงึ เข็มออกตามแนวทแ่ี ทงเขาอยา งถูกวธิ ี ( ปด clamp Normal saline lock, ปด clamp 3-way ปรับหยดสารนำ้ ตามแผนการรกั ษา) ขนั้ ปฏิบัติ (หลังฉีดยา) 23 ปลดหวั เขม็ ทใ่ี ชแลวท้งิ ใน Safety box หรอื หากไมมี Safety สวมปลอดเข็มดว ยวิธี one hand technique แลวนำไปทิ้ง 24 เก็บอุปกรณแ ละลา งมือ ขัน้ นประเมนิ ผล 25 ประเมนิ อาการไมพึงประสงคของยา 26 สังเกตผิวหนงั ตำแหนงที่ฉีดยา ข้นั บันทึกผล 27 เซน็ ชือ่ ในใบ MAR ถูกตอ ง (ช่ือชัดเจน ตำแหนง ลงเวลาทีฉ่ ีดจริง) 28 บันทึกการใชยาและอาการผิดปกตใิ นแบบบนั ทึกทางการ บอก พยาบาล ขอ ความ ท่ีจะ บนั ทกึ รวม (28 คะแนน) 506

แบบประเมินทักษะการฉีดยาเขา หลอดเลอื ดดำโดยวิธกี ารหยด (intravenous injection: infusion, drip) ชอื่ .....................................................สกุล........................................รหสั นักศึกษา............................................ คำชีแ้ จง โปรดทำเคร่ืองหมาย  ลงในชอ งทต่ี รงกับผลการปฏบิ ัติ ลำดับ ผลการปฏิบตั ิ หมายเหตุ วธิ กี าร ปฏบิ ัติ ไมป ฏบิ ตั ิ ข้ันเตรียม (1) (0) 1 ตรวจสอบใบ MAR กบั แผนการรักษา 2 ตรวจสอบประวตั กิ ารแพยา 3 ทกั ทายผูปว ยและแนะนำตนเอง 4 อธบิ ายวัตถุประสงคก ารฉดี ยาใหผปู วยทราบ 5 ประเมนิ ตำแหนงท่จี ะฉดี ยา - injection plug, Normal saline lock, 3 way ขั้นปฏิบตั ิ (กอนฉดี ยา ใชหลักปลอดเช้ือ) 6 หยบิ ยาและตรวจสอบใหต รงกับใบ MAR* ตรวจสอบชอื่ ยา ขนาดยาและวนั หมดอายุ 7 เตรยี มอปุ กรณดังนี้ -ยา -ใบ Medication Administration Record -Needle No 25-27 ความยาว 1 – 1½ นิ้ว กรณฉี ีดทาง injection plug และ Needle No 18-20 สำหรบั ผสมยา -Syringe 10 มิลลิลิตร สำหรบั ผสมยา Syringe 5 มิลลิลติ ร สำหรับเตรยี ม normal saline 4-5 ml กรณฉี ดี ทาง injection plug หรอื Normal saline lock - ตวั ทำละลายสำหรับผสมยา (กรณียาผง) เชน sterile water, 0.9% NSS (เลอื กตวั ทำละลายตามคำแนะนำใน ฉลากยาหรือตำรายา) - 0.9% NSS หรือ 5% Dextrose in water ปริมาณ 50 507

ลำดับ วธิ กี าร ผลการปฏิบตั ิ หมายเหตุ มลิ ลลิ ิตร ปฏิบัติ ไมป ฏบิ ตั ิ (1) (0) -100 มลิ ลิลติ ร สำหรับเจือจางยา (เลือกตามคำแนะนำใน ฉลากยาหรือตำรายา) -ชดุ ใหส ารนำ้ (intravenous set) - 70% alcohol - สำลปี ลอดเช้ือบรรจใุ นภาชนะปลอดเช้ือ -Transfer forceps ปลอดเช้ือพรอมกระปุก -ใบเล่ือยสำหรับเปดขวดยาหรือตดั หลอดยา -ชามรปู ไต 1 ใบ สำหรับใสของทใี่ ชแลว -ถาดใสเคร่ืองใชหรอื รถเตรยี มยา - safety box หรอื ภาชนะปลดและเก็บหวั เข็ม 8 ลา งมือ 7 ข้ันตอน 9 เตรียมยาถูกตอ ง ไมป นเปอน ผสมยาลงในสารละลายท่เี ขา กนั ไดจำนวน 50 - 100 มลิ ลิลิตรตามความถูกตองของยา ชนดิ นัน้ ๆ 10 เขยี นใบปด ขวดยา คำนวณหยดถกู ตอง 11 ตรวจสอบชอ่ื ยา ครบ 3 ครงั้ (กอ น ขณะ หลัง) 12 เซ็นชอ่ื ในใบปด ขวดยา 13 กรณีฉดี ทาง injection plug เปลยี่ นเขม็ ฉีดยาเปน No23 – 25 ใหปลายตดั อยดู านบนตรงกับ Scale 14 ตรวจสอบไมใ หมฟี องอากาศในสายชดุ ใหสารน้ำ ข้นั ปฏบิ ตั ิ (ขณะฉีดยา ใชหลักปลอดเชื้อ) 15 สอบถามช่ือ สกุล ผปู ว ย ตรวจสอบกับปายขอมอื และใบ MAR 16 จัดทาใหส ขุ สบาย 17 ตรวจสอบตำแหนง ฉดี 508

ลำดับ ผลการปฏิบตั ิ หมายเหตุ วิธีการ ปฏบิ ัติ ไมป ฏิบตั ิ (1) (0) 18 ลางมอื ดวย alcohol gel 7 ข้ันตอน 19 ทำความสะอาดตำแหนงฉดี ยา ปลอ ยใหน ้ำยาทำความ สะอาดแหง 20 การฉดี ยา - กรณี injection plug ใชเขม็ ท่ีตอกระบอกฉดี ยา บรรจุ normal saline แทงทีป่ ลายจกุ - กรณี normal saline lock ใหหมุนจุกปดออกพรอมๆ กบั หมุนเข็มออก นำปลายกระบอกฉดี ยาตอเขากบั normal saline lock แลว คอ ยปด clamp - กรณี 3 way ใหหมนุ จกุ ปดออกพรอมๆ กับหมนุ เข็ม ออก นำปลายกระบอกฉดี ยาตอเขากบั 3way แลวคอย หมุนเปด 21 ดงึ ลูกสบู ขึ้นมาเล็กนอย หากมีเลือดตามมาแสดงวาเข็มอยู ในหลอดเลือด ใหฉดี normal saline เขา ไปประมาณ 2 มิลลลิ ติ ร แลวนำเขม็ ออก (กรณเี ปน Normal saline lock, 3-way ใหป ด clamp กอน) 22 นำชดุ ใหย ามาตอเขา กบั injection plug, Normal saline 3-way 23 เปด clamp ปรับหยดตามที่คำนวณไว ขัน้ ปฏิบัติ (หลังฉีดยา) 24 เมื่อยาหมดปด clamp นำชุดใหยาออกนำ normal saline มาไลส ายปริมาณ 2 – 3 มลิ ลลิ ติ ร 25 เกบ็ อปุ กรณท ้ิงชดุ ใหส ารน้ำอยา งถูกวธิ ี ข้นั ประเมินผล 26 ประเมินอาการไมพงึ ประสงคของยา 27 สังเกตผิวหนงั ตำแหนง ท่ีฉีดยา ขน้ั บนั ทึกผล 28 เซ็นชอ่ื ในใบ MAR ถูกตอง 509

ลำดบั ผลการปฏบิ ัติ หมายเหตุ วธิ ีการ ปฏิบตั ิ ไมปฏบิ ัติ (1) (0) (ช่อื ชดั เจน ตำแหนง ลงเวลาทฉ่ี ีดจรงิ ) 29 บันทึกการใชยาและอาการผิดปกติในแบบบนั ทึกทางการ บอก ขอ พยาบาล ความ ท่จี ะ รวม (29 คะแนน) บันทึก 8.5 เอกสารอางอิง ณัฐสุรางค บุญจันทร และอรุณรัตน เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอ็นพเี พรส. สัมพันธ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พื้นฐาน II. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท บพธิ การพมิ พ จำกัด. สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พน้ื ฐาน I.กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท บพิธการพมิ พ จำกัด. อัจฉรา พุมดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลยั . อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัท ธนาเพรส จำกัด. อภิญญา เพียรพิจารณ (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ทั จรัลสนิทวงศการพมิ พ จำกัด. Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. 510

Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 511

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9 วิธปี ฎบิ ตั ิการพยาบาลพื้นฐานในการบริหารยาพน หวั ขอ เน้อื หาประจำบท 1. วิธกี ารบริหารยาพน จำนวนช่วั โมงทส่ี อน: ภาคทดลอง 2 ชว่ั โมง วตั ถุประสงคเ ชิงพฤติกรรม 1. ปฏบิ ตั กิ ารบรหิ ารยาพนตามโจทยส ถานการณไดถูกตอ ง วธิ สี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 สอนสาธติ และสาธติ ยอนกลบั 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 สอนสาธิตการบริหารยาพนตามโจทยสถานการณ 2.2 ผูเรียนฝกปฏบิ ัตแิ ละสาธิตยอนกลบั 2.3 สะทอนคดิ การฝก ปฏิบัตแิ ละสรุปผลการเรยี นรู 2.4 ผเู รยี นยืมวัสุด อปุ กรณไปฝก ปฏบิ ัตติ อ นอกเวลาเพอ่ื ใหเกดิ ทกั ษะ สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ยาจำลอง วสั ดุ อปุ กรณทางการแพทยใ นหอ งปฏบิ ตั ิการ 3. โจทยส ถานการณ และใบบันทกึ การบรหิ ารยา (medication administration record) 4. VDO ส่อื การสอนใน YouTube channel: nursing practice การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลการสาธติ ยอ นกลบั ตามแบบประเมนิ ทักษะ 2. การสอบทักษะปฏบิ ัตแิ บบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 512

บทท่ี 9 วธิ ีปฎิบตั กิ ารพยาบาลพืน้ ฐานในการบริหารยาพน ยาพนเปนการบริหารยากลุมที่ชวยในการขยายหลอดลม โดยหลักการทำใหยากลายเปล ละอองฝอยเล็ก ๆ (aerosol) ที่สามารถเขาสูระบบทางเดินหายใจไดมากที่สุด รายละเอียดวิธีการ บรหิ ารยาพน ดังน้ี 9.1 วิธีการบรหิ ารยาพน 9.1.1 อปุ กรณเ ครอื่ งใช 1) แผนการรักษาและ ใบ MAR 2) ยาปลอดเชื้อตามแผนการรกั ษาทไ่ี มห มดอายุ 3) เข็มเบอร 25-27 ความยาว 1 – 1½ นิ้ว กรณีฉีดทาง injection plug และเข็มเบอร 18-20 สำหรับผสมยา 4) กระบอกฉีดยาขนาด 10 มิลลิลิตร สำหรับผสมยา กระบอกฉีดยาขนาด 5 มิลลิลิตร สำหรบั เตรียม normal saline 4-5 ml ใชในกรณีฉีดทาง injection plug หรือ Normal saline lock 5) ตัวทำละลายสำหรับผสมยา (กรณียาผง) เชน sterile water, 0.9% NSS (เลือกตัว ทำละลายตามคำแนะนำในฉลากยาหรือตำรายา) 6) 0.9% NSS หรือ 5% Dextrose in water ปริมาณ 50 -100 มิลลิลิตร สำหรับเจือ จางยา (เลอื กตามคำแนะนำในฉลากยาหรือตำรายา) 7) ชุดใหสารน้ำ (intravenous set) 8) 70% alcohol 9) สำลีปลอดเชอ้ื บรรจใุ นภาชนะปลอดเช้ือ 10) Transfer forceps ปลอดเช้ือพรอมกระปกุ 11) ใบเล่ือยสำหรับเปดขวดยาหรือตัดหลอดยา 12) ชามรูปไต 1 ใบ สำหรบั ใสข องท่ีใชแ ลว 12) ถาดใสเ ครอ่ื งใชหรอื รถเตรยี มยา 13) safety box หรือภาชนะปลดและเกบ็ หัวเขม็ 513

9.1.2 การเตรยี มยา การผสมยาตามหลักการเจือจางยา โดยใช 0.9 % NSS ตามดวยยาตามแผนการรกั ษา ตัวอยางการเตรียมยา Berodual (2:2) ตัวเลขดานหนาหมายถึง ยา ตัวเลยดานหลัง หมายถึง 0.9 % NSS ใหดูด 0.9 % NSS ปริมาณ 2 มิลลิลิตร ตามดวย Berodual ปริมาณ 2 มิลลิลติ ร 9.1.3 วิธปิ ฏบิ ัติ 1) สอบถามชื่อ สกลุ ผูปว ย ตรวจสอบกับปา ยขอมือและใบ MAR 2) จัดทา ใหส ขุ สบาย นอนศรีษะสูง 3) สวม Flow meter กับแหลงออกซเิ จนท่ีผนงั (Pipe-line) / ถงั (Tank) 4) ตอ ชุดสำหรับพนยา (Nebulizer set) โดยไมตองผานกระบอกทำความชน้ื 5) นำยาพน ที่เตรียมไวใสในกระเปาะของชดุ สำหรับพน ยา (Nebulizer set) ปรบั อตั รา การไหลของ ออกซเิ จน 6 – 8 ลติ ร/นาที 6) ครอบหนากากบรเิ วณสนั จมูกและปากใหแนบสนทิ ปรับสายคลองทดั เหนือใบหูรอบ ศีรษะ จดั ใหพอดี 7) เม่อื ยาหมดนำชดุ สำหรบั พนยา (Nebulizer set) ออกจากใบหนา ผูปว ย 8) ปดอตั ราการไหลของออกซเิ จน 9) การประเมนิ ผล ประเมินอาการไมพ ึงประสงคของยา ประเมนิ การหายใจ อตั ราการ หายใจอยใู นเกณฑปกติ oxygen saturation ≥ 95% 10) เซน็ ชอื่ ใหย าในใบ MAR (ชื่อชัดเจน ตำแหนง ลงเวลาทฉ่ี ดี จริง) 9.2 บทสรปุ การบรหิ ารยาพนเปนหัตถการท่ีมีความเส่ียงพยาบาลตองปฏิบัติอยางรอบคอบ ถูกตองตาม หลกั การ 10 R 514

9.3 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลพนื้ ฐาน แบบประเมินทักษะการพนยา (Nebulizer) ชอื่ .....................................................สกุล..........................................รหสั นักศึกษา...................................... คำช้แี จง โปรดทำเคร่ืองหมาย  ลงในชองทตี่ รงกับผลการปฏบิ ัติ ลำดับ วธิ กี าร ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย เหตุ ขนั้ เตรยี ม ปฏบิ ตั ิ ไมป ฏิบัติ 1 ตรวจสอบใบ MAR กับแผนการรักษา (1) (0) 2 ตรวจสอบประวัตกิ ารแพย า 3 ทกั ทายผูปว ยและแนะนำตนเอง 4 อธิบายวัตถปุ ระสงคก ารพนยาใหผ ูปวยทราบ 5 ประเมินอัตราการหายใจ SpO2 ขน้ั ปฏบิ ัติ (การเตรียมยาพน ) 6 หยบิ ยาและตรวจสอบใหตรงกับใบ MAR* ตรวจสอบชอ่ื ยา ขนาดยาและวันหมดอายุ 7 เตรียมอปุ กรณดังนี้ 1) ยา 2) ใบ Medication Administration Record 3) Needle No. 20, 21 4) Syringe 5 มิลลิลติ ร 5) ตวั ทำละลายสำหรับผสมยา 0.9% NSS 6) 70% alcohol 7) สำลีปลอดเชือ้ บรรจุในภาชนะปลอดเชอื้ 8) Transfer forceps ปลอดเชอื้ พรอ มกระปุก 9) ชามรูปไต 1 ใบ สำหรับใสของที่ใชแ ลว 10) ถาดใสเคร่ืองใชห รือรถเตรยี มยา 11) safety box หรอื ภาชนะปลดและเก็บหวั เข็ม 12) ชุดสำหรบั พนยา(Nebulizer set) 13) Flow meter 515

ผลการปฏบิ ัติ หมาย ลำดบั วิธกี าร ปฏบิ ัติ ไมป ฏบิ ตั ิ เหตุ (1) (0) 8 ลางมือ 7 ข้ันตอน 9 เตรียมยาพนตามแผนการรกั ษา โดยดดู 0.9% NSS กอ น แลวจึงดูดยาปริมาณตามแผนการรักษา ขนั้ ปฏิบัติ (การพน ยา) 10 สอบถามช่ือ สกลุ ผปู วย ตรวจสอบกบั ปายขอ มือและใบ MAR 11 จัดทาใหสุขสบาย นอนศรีษะสงู 12 สวม Flow meter กบั แหลงออกซิเจนท่ีผนัง (Pipe-line) / ถงั (Tank) 13 ตอชดุ สำหรับพน ยา (Nebulizer set) โดยไมต อ งผาน กระบอกทำความชน้ื 14 นำยาพนที่เตรยี มไวใ สในกระเปาะของชุดสำหรบั พน ยา (Nebulizer set) 15 ปรบั อัตราการไหลของ ออกซิเจน 6 – 8 ลิตร/นาที 16 ครอบหนากากบรเิ วณสนั จมูกและปากใหแนบสนิท ปรับ สายคลอ งทดั เหนือใบหรู อบศีรษะ จดั ใหพอดี ข้ันปฏบิ ตั ิ (เม่ือยาหมด) 17 เมอื่ ยาหมดนำชุดสำหรบั พน ยา (Nebulizer set) ออก จากใบหนา ผูปวย 18 ปด อตั ราการไหลของออกซเิ จน 19 เก็บอปุ กรณ ขัน้ ประเมนิ ผล 20 ประเมินอาการไมพงึ ประสงคของยา 21 ประเมินการหายใจ อัตราการหายใจอยใู นเกณฑป กติ oxygen saturation ≥ 95% ขน้ั บันทึกผล 22 เซ็นชอ่ื ในใบ MAR ถูกตอง ชือ่ ชดั เจน ตำแหนง ลงเวลาที่ ใหยาจริง 516

ผลการปฏบิ ัติ หมาย ลำดับ วิธกี าร ปฏบิ ตั ิ ไมป ฏบิ ัติ เหตุ (1) (0) 23 บันทกึ การใชยาและอาการผดิ ปกติในแบบบันทึกทางการ บอกขอ พยาบาล ความ ทจ่ี ะ บนั ทึก รวม ( 23 คะแนน) 9.4 เอกสารอางองิ ณัฐสุรางค บุญจันทร และอรุณรัตน เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอน็ พเี พรส. สัมพันธ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พื้นฐาน II. กรงุ เทพฯ: บริษัท บพิธการพมิ พ จำกัด. สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พืน้ ฐาน I.กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั บพิธการพมิ พ จำกัด. อัจฉรา พุมดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลยั . อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ัท ธนาเพรส จำกัด. อภิญญา เพียรพิจารณ (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัท จรัลสนิทวงศการพมิ พ จำกดั . Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 517

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 10 วธิ ปี ฎบิ ตั กิ ารพยาบาลพืน้ ฐานในการใหส ารน้ำทางหลอดเลือดดำ หัวขอเนื้อหาประจำบท 1. วิธีการใหส ารน้ำทางหลอดเลือดดำ จำนวนชว่ั โมงทส่ี อน: ภาคทดลอง 2 ช่วั โมง วัตถุประสงคเ ชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบตั ิการใหสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามโจทยส ถานการณไดถูกตอง วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วธิ ีสอน 1.1 สอนสาธิตและสาธิตยอ นกลับ 2. กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1 สอนสาธิตการเตรียมการใหสารน้ำทางหลอดเลือดดำ การเขียนใบปดขวดสารน้ำ การ ตอชุดใหส ารนำ้ วิธกี ารเปดเสน เพ่ือใหสารนำ้ ทางหลอดเลอื ดดำ 2.2 ผูเรียนฝก ปฏิบัตแิ ละสาธิตยอ นกลบั 2.3 สะทอ นคิดการฝก ปฏบิ ตั แิ ละสรุปผลการเรยี นรู 2.4 ผูเ รียนยมื วัสดุ อุปกรณไ ปฝกปฏิบัติตอ นอกเวลาเพอื่ ใหเ กิดทกั ษะ สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สารนำ้ และชดุ ใหส ารน้ำจำลอง วสั ดุ อุปกรณทางการแพทยใ นหอ งปฏิบตั กิ าร 3. โจทยส ถานการณ และใบบนั ทึกการบริหารยา (medication administration record) 4. VDO สอ่ื การสอนใน YouTube channel: nursing practice การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลการสาธิตยอนกลับ ตามแบบประเมินทกั ษะ 2. การสอบทักษะปฏบิ ตั ิแบบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 518

บทที่ 10 วิธีปฎิบัติการพยาบาลพนื้ ฐาน ในการใหสารน้ำทางหลอดเลอื ดดำ การใหสารน้ำทางหลอดเลือดดำเพื่อทดแทนสารน้ำของรางกายที่สูญเสียไป รักษาสมดุล ของสารน้ำและเกลือแรในรางกาย ใหสารอาหารทดแทนในกรณีที่ไมสามารถใหอาหารทางปากได รวมทั้งเปนทางใหยาชนิดตางๆ รวมทั้งเลือดและสวนประกอบของเลือด วิธีการใหสารน้ำทางหลอด เลือดดำดังน้ี 10.1 วธิ ีการใหสารน้ำทางหลอดเลอื ดดำ 10.1.1 เตรยี มอุปกรณ ดงั น้ี 1) สารนำ้ ตามแผนการรกั ษา 2) ชุดใหสารนำ้ 3) สายตอเพ่มิ ความยาวของชดุ ใหส ารนำ้ (extension tube) 4) ขอตอ 3 ทาง (3- way) 5) เขม็ แทงใหสารนำ้ ทางหลอดเลอื ดดำ (iv catheter) 6) วัสดใุ สปราศจากเชื้อ (transparent dressing) 7) ถงุ มือสะอาด 8) พลาสเตอร 10) สำลชี บุ 70 % alcohol 10.1.2 วิธกี ารปฏบิ ตั ิ 1) ตรวจสอบแผนการรกั ษาทแ่ี พทยร ะบุชนิดของสารน้ำ 2) เตรียมผูปวย เตรียมอุปกรณ เตรียมสารน้ำใหถูกตองตามแผนการรักษา ตรวจสอบ วันหมดอายุ ลักษณะความผิดปกติของสารน้ำ ชุดใหสารน้ำ สายตอเพิ่มความยาว (ถาจำเปน) เข็ม สำหรับเปดเสนตามความเหมาะสม วัสดุใสปราศจากเชื้อ (transparent dressing) สำหรับปด ตำแหนง ที่แทงเข็ม พลาสเตอร ถุงมือสะอาด สายยาง (tourniquet) 3) ตอชุดใหสารน้ำ ดังนี้ 519

- ดงึ ฝาครอบสวนที่ปด ขวดสารนำ้ ออก และเชด็ ดว ย 70% alcohol -ฉีกซองชุดใหส ารน้ำออก เลอ่ื นตัวเปด - ปดทีช่ ดุ ใหส ารน้ำ (Roller-clamp) ใหอยูใน ตำแหนงทสี่ ะดวกตอ การปรับอตั ราการไหล โดยควรอยูต่ำกวากระเปาะประมาณ 1 ฟุต -ดงึ ฝาครอบท่เี ปนปลายแหลมแลว แทงเขาทจ่ี ุกขวดสารน้ำ ระมดั ระวงั ไมใ หมือสัมผัส บรเิ วณปลายแหลมและจุกขวดสารนำ้ ทดี่ งึ ออกแลว 4) บีบกระเปาะใหสารน้ำลงมาประมาณครึ่งกระเปาะ แขวนขวดใหสารน้ำไว แลว Roller clamp ใหสารนำ้ คอยๆ ไหลมาจนเต็มสายแลว ปดขวดใหสารนำ้ ไวกอ น 5) ปดปายแสดงชนิดของสารน้ำ ยา หรือเกลือแรที่ผสมลงไป ปริมาณสารน้ำ จำนวน หยดตอนาที เวลาทใี่ ห เวลาท่ีตอ งหมด ช่ือ สกลุ ผปู วยและลายมือช่อื ผูเตรยี มสารนำ้ 6) ติดปายแสดงวัน เวลา ที่ใชชุดใหสารน้ำที่สายใหสารน้ำ และวันที่ชุดใหสารน้ำ หมดอายุ โดยชุดใหสารน้ำควรใชไมเกิน 3 วัน เพราะระยะเวลาที่ใชนานเกินกำหนดอาจทำใหผูปวย ตดิ เชื้อได 7) ตรวจสอบความถูกตองของชุดใหสารน้ำอีกครั้งกับคำสั่งการรักษา หลังจากนั้นนำ อุปกรณทัง้ หมดไปทเี่ ตียงของผปู ว ย 8) แขวนเสาขวดสารน้ำไวทีเ่ สาแขวน ปรับใหสูงกวาผูปวยประมาณ 3 – 4 ฟุต ปองกัน การไหลยอ นของเลอื ดจากตัวผปู วย 9) การแทงเขม็ เพือ่ ใหส ารน้ำ ปฏบิ ตั ดิ ังนี้ (1) สวมถุงมอื สะอาด (2) เลือกตำแหนงหรือบริเวณที่จะแทงเข็มใหสารน้ำ (ตามหลักการเลือกตำแหนง แทงเข็มเพอ่ื ใหสารน้ำ) (3) รัดสายยาง (tourniquet) เหนือตำแหนงที่จะแทงเข็มประมาณ 4-6 นิ้ว จะชวย ใหหลอดเลือดดำโปง ตึง สามารถแทงเข็มเขาไปในหลอดเลือดดำไดงาย การผูกใหผูกเปนเงื่อนกระตุก อยา ผูกแนน เกนิ ไป อาจทำใหเ ลือดแดงไหลไมส ะดวก (4) เชด็ ผิวหนงั บริเวณท่จี ะแทงเขม็ ดวย 2% chlorhexidine ผสมกบั 70% alcohol โดยเริ่มเช็ดที่ตรงกลางกอนแลววนออกไปรอบนอก 1- 2 นิ้ว รอใหน้ำยาแหงไปเอง หามพัดหรือเปา เพราะจะทำใหบรเิ วณที่สะอาดแลว ปนเปอ นได (5) ใชนว้ิ หัวแมม อื ขางทไี่ มถ นัดดงึ ผวิ หนังใตตำแหนง ท่จี ะแทงเขม็ 520

(6) มือท่ีถนัดจับเขม็ แทงเขาตรงดา นขางของหลอดเลือดหรือตรงหลอดเลือด โดยจับ เข็มในลักษณะคว่ำมือ ทำมุม 15 -30 องศากับผิวหนัง เมื่อแทงเขาผิวหนังแลวใหลดระดบั ของเข็มลง เกือบขนานกับหลอดเลือด เมื่อเข็มเขาไปในหลอดเลือดแลว ความเสียดทานขณะดันเข็มไปดานหนา จะลดลงและจะเห็นเลือดไหลเขามาท่ีหัวเข็ม ใหห ยดุ การเคล่ือนเข็มกอน แลว ดงึ แกนเข็ม ออก พรอม กับคอย ๆ ดันเข็มสวนที่เปนพลาสติกดานนอกเขาไปทีละนอยจนสุดเข็ม และแกนเข็มจะคางอยู บริเวณหัวเขม็ กอนเพอื่ ปองกันเลือดไหลออกมาเปอนจากนั้นปลดสายยางที่รัดแขนออก (7) ใชนิ้วกอยขางที่ไมถนัดกดที่หลอดเลือดใหหางจากปลายเข็มเล็กนอย นิ้วชี้และ นิว้ หัวแมมอื จับทโ่ี คนเข็มไว สว นมอื ขางที่ถนดั จบั แกนเขม็ ดึงออกแลวตอชุดใหส ารน้ำที่เตรียมไวกับหัว เข็มแทนทแ่ี กนเขม็ ท่ีถกู ดงึ ออก (8) เปดสารน้ำใหไหลชา เพื่อไลเลือดที่คางอยูในสายเขาไปดานในหลอดเลือด ปด ตำแหนงทแ่ี ทงเข็มดวยวัสดุใสปราศจากเชื้อ (transparent dressing) ตดิ พลาสเตอรเ พ่ือปองกันสาย ใหส ารนำ้ แกวงไปมาจนทำใหเ ข็มหลุด เลอื กติดบรเิ วณผิวหนงั สว นทมี่ ีขนนอย (10) ปรบั อัตราการไหลของสารนำ้ ตามแผนการรกั ษา 10) เซน็ ชื่อในใบ MAR ถูกตอง (ชือ่ ชดั เจน ตำแหนง ลงเวลา ทีใ่ หสารนำ้ จรงิ ) 10.2 บทสรปุ การใหสารน้ำทางหลอดเลือดดำเพื่อทดแทนสารน้ำและเกลือแร พยาบาลตองตรวจสอบ การใหสารนำ้ เปน ระยะ (ทกุ 2 ชว่ั โมง) เพือ่ ใหผูปวยไดร ับสารน้ำอยางครบถวนตามแผนการรักษาและ ตรวจสอบการเกิดภาวะแทรกซอน 521

10.3 แบบประเมินทักษะปฏิบตั กิ ารพยาบาลพนื้ ฐาน แบบประเมินทักษะการใหสารน้ำทางหลอดเลือดดำ (Intravenous infusion) ชอื่ .........................................สกุล...............................รหสั นักศกึ ษา............................................ คำช้แี จง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในชองทตี่ รงกบั ผลการปฏบิ ัติ ลำดับ วิธีการ ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย เหตุ ปฏิบตั ิ ไมปฏิบตั ิ (1) (0) ขัน้ เตรยี ม 1 ตรวจสอบใบ MAR กับแผนการรักษา 2 ประเมนิ ตำแหนงทจ่ี ะเปดเสน 3 เตรียมอปุ กรณ ดังน้ี - สารนำ้ ตามแผนการรักษา - ชดุ ใหส ารนำ้ - สายตอเพม่ิ ความยาวของชุดใหสารน้ำ (extension tube) - ขอ ตอ 3 ทาง (3- way) - เข็มแทงใหส ารนำ้ ทางหลอดเลือดดำ (iv catheter) - วัสดใุ สปราศจากเช้ือ (transparent dressing) - ถุงมือสะอาด - พลาสเตอร - สำลชี บุ 70 % alcohol 4 เขียนปา ยติดขวดสารน้ำตามแผนการรกั ษา คำนวณอัตรา ไหล จำนวนหยดตอนาที เวลาให เวลาหมด และเขียนบน ปา ยขวดสารนำ้ 5 ติดปา ยทขี่ วดใหสารน้ำถูกตอง 6 ตอ ชุดใหส ารน้ำเขา กับขวดสารนำ้ ไลส ายไมใหมีฟองอากาศ ขน้ั ปฏบิ ัติ 7 แนะนำตัวและประเมินความพรอ มผปู วย 8 อธบิ ายวตั ถุประสงค 9 ลางมอื 7 ข้ันตอน 522

ลำดบั วิธกี าร ผลการปฏบิ ัติ หมาย เหตุ ปฏบิ ัติ ไมป ฏบิ ตั ิ (1) (0) 10 นำอปุ กรณทั้งหมดไปทเ่ี ตยี งผปู วย แขวนเสาขวดสารน้ำไวที่ เสาแขวน ปรับใหสูงกวาผูปวยประมาณ 3 – 4 ฟุต ปองกัน การไหลยอ นของเลือดจากตวั ผปู ว ย 11 เปดเสน สำหรับใหสารน้ำ 12 ตอ ชุดใหส ารน้ำเขา ไป iv catheter 13 ปรบั อัตราหยดตามท่ีคำนวณไว 14 แนะนำการปฏิบัตติ ัวแกผูปวย 15 เก็บอปุ กรณ ทิง้ ขยะอยา งถูกวิธี ขนั้ ประเมินผล 16 ประเมินการเกดิ ภาวะแทรกซอน 17 ติดตามประเมนิ ผลการใหสารน้ำตามอตั ราทกี่ ำหนด ข้ันบนั ทึกผล 18 เซน็ ช่ือในใบ MAR ถูกตอ ง (ชื่อชัดเจน ตำแหนง ลงเวลา ทใี่ หส ารนำ้ จริง) 19 บันทึกผลการใหส ารนำ้ และอาการผิดปกติ (ถามี) บอก ในแบบบันทึกทางการพยาบาล ขอ ความ ทจ่ี ะ บนั ทกึ รวม 523

10.4 เอกสารอางองิ ณัฐสุรางค บุญจันทร และอรุณรัตน เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอน็ พเี พรส. สัมพันธ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้ืนฐาน II. กรงุ เทพฯ: บริษทั บพิธการพิมพ จำกดั . สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้นื ฐาน I.กรุงเทพฯ: บรษิ ัท บพธิ การพมิ พ จำกัด. อัจฉรา พุมดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลยั . อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษทั ธนาเพรส จำกดั . อภิญญา เพียรพิจารณ (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัท จรัลสนทิ วงศก ารพมิ พ จำกดั . Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 524

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 11 วิธีปฎิบตั กิ ารพยาบาลพนื้ ฐานในการทำแผล หวั ขอเนื้อหาประจำบท 1. วิธีการทำแผลแบบ Dry dressing 2. วิธกี ารทำแผลแบบ Wet dressing จำนวนชว่ั โมงทีส่ อน: ภาคทดลอง 2 ชว่ั โมง วัตถุประสงคเ ชงิ พฤติกรรม ปฏิบัติการทำแผลตามโจทยส ถานการณไ ดถูกตอง วธิ ีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วธิ ีสอน 1.1 สอนสาธิตและสาธิตยอนกลับ 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 สอนสาธติ วิธกี ารทำแผลแบบ Dry dressing และการทำแผลแบบ Wet dressing 2.2 มอบหมายผูเ รยี นฝก ปฏิบัตแิ ละสาธติ ยอนกลบั 2.3 สะทอ นคิดการฝกปฏบิ ตั ิและสรปุ ผลการเรยี นรู 2.4 ผูเรียนยืมวัสุด อปุ กรณไปฝก ปฏิบตั ิตอนอกเวลาเพือ่ ใหเกิดทักษะ สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. หลอดเกบ็ ตวั อยางเลอื ด วัสดุ อุปกรณท างการแพทยในหองปฏิบัติการ 3. โจทยสถานการณ 4. หนุ ทม่ี แี ผล บาดแผลจำลอง 4. VDO ส่อื การสอนใน YouTube channel: nursing practice การวัดผลและประเมินผล 1. ประเมินผลการสาธติ ยอนกลบั ตามแบบประเมนิ ทกั ษะ 2. การสอบทกั ษะปฏิบัตแิ บบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 525

บทที่ 11 วธิ ปี ฎิบตั กิ ารพยาบาลพ้ืนฐานในการทำแผล การทำแผลเปน หัตถการท่ีมงุ ในการขจัดเซลลท ี่ตายแลว ส่งิ แปลกปลอม หนอง แบคทเี รยี และเชื้อโรคตางๆ ออกจากแผล รวมท้งั ทำใหแผลชุมชน้ื สง เสรมิ การงอกขยายใหมของเน้ือเยือ่ การ เลือกวิธีการทำแผลข้นึ อยูกับลักษณะของผล โดยรายละเอียดของการทำแผลแบบ Dry dressing และ Wet dressing ดงั นี้ 11.1 วธิ กี ารทำแผลแบบ Dry dressing 11.1.1 การเตรยี มอปุ กรณ 1) ชดุ ทำแผล 2) น้ำยาทำความสะอาดแผล เชน 0.9% NSS 3) ถงุ มือ (ถาจำเปน ) 4) ชามรูปไตและถุงขยะใสสำลหี รือกอ ซท่ีใชแ ลว 5) พลาสเตอร 11.1.2 วิธปี ฏบิ ัติ 1) ตรวจสอบคำสั่งการรกั ษาและบันทกึ ทางการพยาบาลเกี่ยวกับการทำแผลเพราะการ ทำแผลไมใชหนาที่โดยตรงของพยาบาล แผนการรักษาจะระบุชนิดการทำแผล น้ำยาที่ใช ชนิดของ การทำแผล บนั ทึกทางการพยาบาลจะใหขอมูลลักษณะแผล สง่ิ ขับหลัง่ ความตองการของผูปวย ของ ใชสำหรับการทำแผล 2) ประเมนิ ระดับความเจ็บปวด ถาจำเปน อาจตอ งใหย าเพื่อระงับอาการปวดกอนการทำ แผล ประมาณ 30 นาที เพอ่ื ใหย าถกู ดดู ซมึ และออกฤทธิ์ 3) บอกผูปวยใหทราบเกี่ยวกับแผลและการทำแผล เพื่อลดความวิตกกังวลของผูปวย และขอความรว มมือ 4) ลางมือใหสะอาด เช็ดมอื ใหแ หง 5) ประเมินแผลตามหลักการประเมินแผลปดและแผลเปด แลว ปดแผลไวเชนเดิม 6) ลางมอื ใหสะอาด (บางสถาบันมขี อกำหนดใหสวม Mask ดวย) 7) เตรียมอปุ กรณในการทำแผล ชดุ ทำแผลปราศจากเชื้อ ตรวจสอบวนั หมดอายุของชุด ทำแผล ถาตองการสำลี กอซ ถามีจำนวนมากกวา ทม่ี ีอยูใ นชุดทำแผลใหนำรถทำแผลไปทีเ่ ตียงผูปวย 526

8) นำอุปกรณทำแผลไปที่เตียงผูปวยวางบนโตะครอมเตียง (Over-bed) ท่ีแหงสะอาด แนะนำผปู วยไมใหสัมผัสชดุ ทำแผล เพือ่ ปอ งกนั การปนเปอ นของเช้ือโรค 9) จัดสิ่งแวดลอมใหเหมาะสม ปดมานเพื่อรักษาความเปนสวนตัวของผูปวย ปดพัดลม ปองกนั การแพรกระจายเชือ้ 10) จัดผูปวยใหอ ยใู นทา สุขสบายและสะดวกตอการทำแผล เปดเฉพาะตำแหนงท่ีมีแผล หากมแี ผลมากกวา 1 ตำแหนง ใหทำแผลสะอาดกอน 11) วางชามรูปไตหรือถุงพลาสติกสะอาดบนเตียงใกลตำแหนงแผล ในกรณีใช ถุงพลาสติกใหเปดปากถุงพลาสติกออก พับปลายบนเอาดานในออกมาดานนอกเพื่อความสะดวกใน การทิ้งของที่ใชแลว การพับปลายบนของถุงพลาสติก เพื่อปองกันไมใหภายนอกถุงพลาสตกิ สัมผัสกับ ของสกปรก ทั้งนจ้ี ะตองระมัดระวังไมใหขา มกรายของใชป ลอดเชื้อ 12) ลางมอื เชด็ มอื ใหแหง สวมถงุ มือสะอาด แกะ dressing เกา ออก โดยใชมือหน่ึงดึง ผวิ หนังลง สว นอีกมือหนึง่ แกะพลาสเตอรโดยดึงเขา หาแผล ในรายทมี่ ขี นบนผิวหนงั มาก การแกะพลา สเตอรออกยาก ใหแกะตามแนวขน ใชแอลกอฮอลหรือน้ำยาอะซีโตนเช็ดพลาสเตอรออกใหหมด แกะ dressing เกาชิ้นบนทิ้งกอ น แลวจึงคอ ยๆแกะ dressing ชิ้นในทีต่ ิดแผลทิ้ง ในกรณีที่ผา ปด แผล ติดกบั แผลใหใ ช NSS หยดลงบนผาปด แผลจนชมุ (ยกเวนมขี อ หา ม) 13) สังเกตลักษณะแผล ปริมาณ สี กลิ่นสิ่งขับหลั่ง เพื่อประเมินภาวะแทรกซอนและ การหายของแผล 14) ทิ้ง dressing ในภาชนะรองรบั เพ่ือปองกนั การแพรกระจายเชอื้ 15) ถอดถงุ มือ ลางมือและเช็ดใหแหง 16) เปดชุดทำแผลดวยวิธีการปลอดเชื้อบรเิ วณโตะครอมเตียงหรือบรเิ วณทีส่ ะดวกตอ การทำแผล เทน้ำยา 0.9% ลงในถวย การเทน้ำยาให ยกขวดน้ำยาใหสูงพอสมควร ระวังปากขวด สมั ผัสกบั ของใช 17) ใช Transfer forceps หยิบ forceps ในชุดทำแผล หรือใชมือจับผาดานนอกของ ชุดทำแผลเพื่อยกดาม forceps ขึ้น แลวใชมือหยิบ forceps ออกจากชุดทำแผล ในกรณีที่ใสถุงมือ ปลอดเช้ือใหใ ชม อื หยบิ forceps ในชุดทำแผล 18) ใช non- tooth forceps เปน forceps สำหรับสง (Transfer forceps) หยิบสำลี ชุบ 0.9 %NSS พอหมาด สงให tooth forceps ซึ่งนำมาเปน forceps สำหรับทำแผล (dressing forceps) แลว เช็ดแผลดงั น้ี (1) สำลีกอนที่ 1 เช็ดตรงกลางแผล จากบนลงลาง แลวทิ้งสำลีลงในชามรูปไต หรือถุงพลาสติกที่เตรียมไว ไมเช็ดยอนกลับ หากแผลยังไมสะอาดสามารถใชส ำลีกอนใหมเช็ดตามวธิ ี 527

เดิมจนกวาแผลจะสะอาด ระวัง forceps สัมผัสกับชามรูปไตหรือถุงพลาสติก ไมให forceps สัมผัส กัน ให forceps ท่ใี ชสงอยูเหนือ forceps ท่ีเชด็ แผลอยเู สมอ (2) เช็ดขอบแผล โดยใหชิดขอบแผลมากที่สุดแลววนออกไปดานนอกเปนรัศมี กวางประมาณ 2 – 3 น้วิ จากขอบแผล โดยไมซ้ำจดุ เดิมแลวทงิ้ สำลลี งในชามรปู ไตหรือถุงพลาสติก (3) ขณะทำแผลหากจะวาง forceps ใหวางดาม forceps ตรงบริเวณที่มือจับ นอกบริเวณปลอดเช้ือ (4 ) การทำความสะอาดแผลเย็บจะทำเมื่อจำเปน เชน มีคราบเลือดหรือสิ่งคัด หล่ังซึม 19) ปดแผล โดยใช forceps หยิบผากอซวางคลุมบนแผล โดยใหผากอซคลุมหางจาก ขอบแผลมากกวา 1 นว้ิ เพอ่ื ปอ งกันการปนเปอนของเช้ือโรค 20) ถอดถุงมือ (กรณีใสถงุ มือ) 21) ยึดผากอซดว ยพลาสเตอรตามแนวขวางลำตัวหรือตามขวางของกลามเนื้อ ใหความ กวางและความยาวของ พลาสเตอรม ีขนาดพอเหมาะ เพือ่ ปองกันไมใ หพลาสเตอรยน และหลุด เม่ือ มีการเคลอื่ นไหวของรา งกาย 22) เก็บอุปกรณท ำแผล ชวยเหลอื ผปู ว ยใหอยูในทา ทส่ี ุขสบาย 11.2 วิธีการทำแผลแบบ Wet dressing 11.2.1 การเตรียมอปุ กรณ 1) ชุดทำแผล 2) น้ำยาทำความสะอาดแผล เชน 0.9% NSS 3) ถงุ มือ (ถาจำเปน) 4) ชามรปู ไตและถุงขยะใสสำลหี รือกอซท่ใี ชแ ลว 5) พลาสเตอร 6) กรรไกร (ตัดเน้ือ, ตัดกอซ, ตดั พลาสเตอร) 7) อปุ กรณท ำแผลเพ่ิมเติมตทมลักษณะของแผล 11.2.2 วิธปี ฏบิ ัติ 1) ขน้ั ตอนท่ี 1-4 เชน เดียวกนั กับแผลชนดิ แหง 5) เตรียมอุปกรณทำแผล ถาตองการเพิ่มสำลี Top gauze, Gamgee เนื่องจากแผลมี ขนาดใหญ ส่ิงขบั หลงั่ มาก ใหน ำรถทำแผลไปทเ่ี ตยี งผปู ว ย 528

6) วางชามรูปไตหรือถุงพลาสติกสะอาดบนเตียงใกลตำแหนง แผลในกรณีใชถ ุงพลาสตกิ ใหเปดปากถุงพลาสติกออกพับปลายบนเอาดานในออกมาดานนอก เพื่อความสะดวกในการทิ้งของที่ ใชแลวการพับปลายบนของถุงพลาสติกเพื่อปองกันภายนอกถุงพลาสติกสัมผัสของสกปรก และให ระมัดระวังการขามกรายของใชป ลอดเชอ้ื 7) ลางมือใหส ะอาด เช็ดใหแหง สวมถุงมอื สะอาด แกะพลาสเตอรท่ีปด แผลออก โดยใช มือหนึ่งดงึ ผิวหนังลง สวนอกี มือหนึ่งแกะพลาสเตอรและดึงเขา หาแผล ในรายที่มขี นผิวหนังมากแกะพ ลาสเตอรออกยาก ใหใชน้ำยาอะซีโตน เช็ดพลาสเตอรใหชุมจะแกะออกไดงายขึ้น เช็ดคราบพลา สเตอรออกใหห มดแกะ dressing เกาชิน้ บนทงิ้ กอน แลวจงึ คอยๆ แกะ dressing ชน้ิ ในที่ติดกบั แผล ทิ้ง กรณีที่ผาปดแผลติดกับแผลแนนใหคอยๆ ดึงผาปดแผลออก โดยไมตองทำใหชุมชื้นกอน เพื่อดึง เอาเนอ้ื เย่ือท่ีตายออกมากับผาปด แผล ควรอธิบายใหผ ปู วยทราบวาการแกะพลาสเตอรเ กาออกอยาง นิ่มนวลเพ่ือปอ งกันความเสียหายตอผิวหนงั dressing ช้ินในท่ตี ิดแผลจะดูดซบั นำ้ และเน้ือตายเอาไว เมอื่ เปดแผลและดึงผากอซขนึ้ มาเนื้อตายจะหลุดติดออกมาดวย ถา ผา กอซไมแ หงประสิทธิภาพในการ กำจัดเน้อื ตายจะดอยลง 8) หยิบมุมดานนอกของผาปดแผลเปดผาปดแผลโดยไมใหผูปวยเห็นดานในของผาปด แผล เพื่อลดความกลัวและความวิตกกังวล สังเกตลักษณะแผลปริมาณ สี กล่ิน และสิ่งขับหลั่ง เพื่อ สำรวจภาวะแทรกซอ นและการหายของแผล ทง้ิ ผากอ ซในภาชนะรองรับ 9) ถอดถุงมอื ลา งมอื และเช็ดใหแ หง 10) เปดชุดทำแผลดวยวิธีการปลอดเชื้อบนโตะครอมเตียงหรือบริเวณที่สะดวกตอการ ทำแผล เท 0.9 % NSS, น้ำยาระงบั เชื้อตามแผนการรักษา 11) ทำความสะอาดภายในแผล โดยใชสำลีหรือผากอซ ชุบ isotonic solution เชน NSS solution ปลอดเชอ้ื เช็ดกน แผลวนออกดานนอก ทิง้ ผา กอ ซในภาชนะรองรับ การใช isotonic solution จะชวยในการเจริญเติบโตของเน้ือเยื่อ หากแผลยังไมสะอาดสามารถเช็ดซ้ำโดยใชสำลีหรือ ผา กอซช้นิ ใหมจ นกวาแผลจะสะอาด 12) กรณีแผลมีสารคัดหลั่งมากอาจใชผากอซทีละชิ้นชุบสารละลาย isotonic บิดน้ำยา ออกพอหมาด คลี่ผากอซออก ใสในแผล (pack) อยางนุมนวล อยาใสแนนจนเกินไปและไมควรใหผา กอซชุมมากเกินไป จะทำใหขอบแผลชุมดวยน้ำยา ทำใหเนื้อเปอยยุย เปนแหลงใหแบคทีเรีย เจริญเตบิ โต การใสผากอ ซ (pack) แผลแนนเกินไป จะทำใหหลอดเลอื ดฝอยถูกกด แผลหายชา 13) ปดแผลดวยผากอซแหงบนผากอซเปยก ถามีสิ่งขับหลั่งมาก ควรใช top dressing หรือ gamgee ปดบนผา กอ ซแหง อกี ช้ันหน่ึงเพื่อดดู ซับส่งิ ขับหลงั่ 529

14) ยึดผาปดแผลดวยพลาสเตอรตามแนวขวางลำตัว เพื่อไมใหผาปดแผลยนและหลุด เมอื่ มีการเคลือ่ นไหว พจิ ารณาขนาดของพลาสเตอรใหก วางและยาวพอเหมาะ 11.3 บทสรปุ การทำแผลจะตองปฏิบัติดวยความรอบคอบ สะอาดปราศจากเชื้อตามแนวปฏิบัติของแตละ โรงพยาบาลหรือตามแผนการรักษาของแพทยโดยยึดหลักการมาตรฐานวิชาการเพื่อความปลอดภัย และการฟน หายของผปู วย 11.4 แบบประเมนิ ทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพ้ืนฐาน แบบประเมินทักษะการทำแผล (Dressing) ชอ่ื ..................................................สกุล...........................................รหัสนกั ศกึ ษา................................. คำช้แี จง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในชอ งทีต่ รงกบั ผลการปฏิบัติ ลำดับ วิธกี าร ผลการปฏบิ ัติ หมาย เหตุ ขน้ั เตรียม ปฏิบตั ิ ไมป ฏบิ ัติ 1. อธบิ ายใหผปู ว ยเขา ใจ (1) (0) 2. ลางมอื กอนเปด แผล ขั้นปฏบิ ัติ 3 จัดทาใหผปู ว ยนอนในทาท่สี ขุ สบาย เปดบริเวณแผลท่ตี อ ง ทำความสะอาด 4 วางชามรปู ไต หรือถุงสำหรับใสข ยะไวบ รเิ วณใกลแผลหรือ ขา งท่ตี องการท้ิงขยะ สวมถงุ มอื สะอาด แกะผาปดแผล เดมิ ออก ประเมินสภาพแผล ปด แผลดวยผาปด แผลเดมิ ที่ อยูชัน้ ในไวหลวมๆ 5 ถอดถุงมือแลว ลางมือใหสะอาด 530

ลำดับ วิธีการ ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย เหตุ 6 เตรียมของใช ดงั นี้ ปฏบิ ตั ิ ไมป ฏบิ ัติ - ชดุ ทำแผล (1) (0) - น้ำยาทำความสะอาดแผล เชน 0.9% NSS - ถงุ มือ (ถาจำเปน) - ชามรปู ไตและถุงขยะใสสำลีหรือกอซท่ีใชแลว - กรรไกร (ตัดเน้ือ, ตัดกอซ, ตัดพลาสเตอร) - พลาสเตอร 7 เปดชุดทำแผล โดยใชหลกั ปราศจากเชอ้ื เติมอุปกรณ เพ่มิ เติมตามลกั ษณะของแผล 8 เทน้ำยาทำความสะอาดแผลลงในภาชนะในชุดทำแผล 9 ใชปากคบี หยิบกอซท่ปี ดปากแผลท้งิ 10 การทำแผลแหง - ใชสำลีชบุ 0.9% NSS บดิ หมาด กอนที่ 1 เช็ดตรงกลาง แผลเยบ็ จากบนลงลาง แลวทิ้ง หากแผลยงั ไมสะอาด ใช สำลกี อ นใหม เชด็ ดว ยวธิ เี ดียวกนั - เช็ดชดิ ขอบแผลวนออกรอบนอกของแผลกวา ง 2-3 นิ้ว โดยไมยอนกลบั ถาขอบแผลยังไมสะอาด เช็ดซ้ำดว ยสำลี กอ นใหม ตามวธิ กี ารเดิม - ปด แผลดว ยผา กอซ ใหคลมุ หางขอบแผลอยา งนอย 1 นิ้ว แลว ปดพลาสเตอรใ นแนวขวางลำตัวผปู วย การทำแผลเปยก - ใชส ำลีชบุ 0.9% NSS เชด็ ในแผลจนสะอาด จากตรง กลางแผลวนออกรอบนอกแผล - ใชกรรไกรตัดเน้ือตาย และ / หรือขดู เนอ้ื ตายออกให หมด (กรณีทีม่ เี น้ือตาย) 531

ลำดับ วิธกี าร ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย เหตุ - ใชสำลีชุบ 0.9 % NSS หรือน้ำยาตามแผนการรกั ษา ปฏิบตั ิ ไมปฏิบตั ิ เช็ดริมขอบแผลวนออกรอบนอกของแผลกวาง 2-3 น้ิว (1) (0) โดยไมซ ้ำจุดเดิม กรณแี ผลที่มีรูสามารถใชก อซ หรือ Gauze drain ชุบนำ้ ยาพอหมาดๆ ปด แผลหรอื สอดให อธบิ าย พอดีกบั ขนาดของแผลตามความเหมาะสม ขอ - ปด แผลดว ยผากอซใหคลุมหางจากขอบแผลมากกวา 1 ความที่ น้ิว และปด จะ พลาสเตอร บันทกึ 11 จัดเสอ้ื ผาและจดั ทา ผูปว ยใหเรียบรอย 12 ใหค ำแนะนำการปฏบิ ตั ิตัวขณะมีบาดแผล 13 นำอุปกรณท่ีใชแ ลวไปแยกทำความสะอาดฆา เช้ือโรคและ เกบ็ เขา ทใ่ี หเ รยี บรอ ย 14 ลางมือใหส ะอาด 15 เขียนรายงานในบนั ทึกทางการพยาบาล รวม (15 คะแนน) 532

11.5 เอกสารอางอิง ณัฐสุรางค บุญจันทร และอรุณรัตน เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอ็นพเี พรส. สัมพันธ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้ืนฐาน II. กรงุ เทพฯ: บริษัท บพธิ การพิมพ จำกดั . สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกัด สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พื้นฐาน I.กรุงเทพฯ: บรษิ ทั บพธิ การพมิ พ จำกดั . อัจฉรา พุมดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษทั ธนาเพรส จำกัด. อภิญญา เพียรพิจารณ (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัท จรัลสนิทวงศก ารพิมพ จำกดั . Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 533

แผนบริหารการสอนประจำบทท่ี 12 วธิ ีปฎิบัติการพยาบาลพ้นื ฐานในการใหอาหารทางสายยางใหอาหาร หัวขอเน้ือหาประจำบท 1. วิธกี ารการใสส ายยางใหอาหารทางจมกู 2. วิธีการใหอาหารทางสายยางใหอ าหาร จำนวนชว่ั โมงที่สอน: ภาคทดลอง 2 ชัว่ โมง วัตถปุ ระสงคเชงิ พฤติกรรม 1. ปฏิบตั กิ ารการใสส ายยางใหอ าหารทางจมกู ไดถูกตอง 2. ปฏบิ ตั กิ ารใหอาหารทางสายยางใหอ าหารไดถ ูกตอ ง วิธีสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. วิธีสอน 1.1 สอนสาธิตและสาธิตยอ นกลบั 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 สอนสาธิตการใสสายยางใหอาหารทางจมูกผูปวยในสถานการณจำลอง ปฏิบัติการให อาหารทางสายยางใหอ าหารไดถ ูกตอง 2.2 ผเู รยี นฝกปฏบิ ตั ิและสาธติ ยอนกลับ 2.3 สะทอ นคดิ การฝก ปฏิบัตแิ ละสรปุ ผลการเรียนรู 2.4 ผเู รยี นยมื วสั ดุ อุปกรณไ ปฝกปฏบิ ตั ติ อ นอกเวลาเพื่อใหเกิดทกั ษะ สือ่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. อปุ กรณใสส ายยางใหอาหาร อาหารจำลอง วัสดุ อปุ กรณทางการแพทยในหอ งปฏบิ ัติการ 3. โจทยส ถานการณ 4. VDO สือ่ การสอนใน YouTube channel: nursing practice 534

การวัดผลและประเมินผล 3. ประเมินผลการสาธิตยอนกลับ ตามแบบประเมนิ ทักษะ 4. การสอบทกั ษะปฏิบัติแบบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 535

บทที่ 12 วธิ ปี ฎบิ ตั กิ ารพยาบาลพ้ืนฐาน ในการใหอาหารทางสายยางใหอาหาร 12.1 วธิ ีการการใสสายยางใหอาหารทางจมกู 12.1.1 อปุ กรณเ ครื่องใช 1) สายใหอาหาร เลือกชนิดและขนาดตามความเหมาะสม โดยสวนใหญในผูใหญจะใช ขนาด ขนาด Fr.12-16 2) กระบอกฉีดยาสะอาด ที่มีหัวตอขนาดใหญสามารถตอเขากับสายยางใหอาหารได ขนาด 50 มลิ ลิลติ ร หรอื เรยี กวา Asepto syringe 3) สารหลอ ล่นื ชนิดละลายนำ้ ได เชน วาสลิน กลเี ซอรนี เค วายเจล 2% ไซโลเคน 4) เครอ่ื งฟงตรวจ (stethoscope) 5) ถุงมอื สะอาด 6) ถาดขนาด 35x50 ซม. ใชส ำหรับใสอ ุปกรณ 7) ผา กันเปอน 8) แกว ใสน้ำสะอาด 50-100 ซีซี 9) ชามรปู ไต 1 ใบ 10) พลาสเตอร กรรไกร 11) ผา กอซจำนวน 2 ชิน้ 12) กระดาษลิตมัส (ถา มี) 12.1.2 วธิ ปี ฎบิ ัติ 1) แนะนำตัวและอธิบายใหผูปวยเขาใจถึงวัตถุประสงคและความสำคัญของการใสสาย ใหอ าหารเพอื่ ใหผ ปู วยเขา ใจ คลายความวติ กกังวล และพรอ มใหความรว มมือ 2) ประเมินสภาพผูป วยเพื่อการวางแผนการพยาบาลท่เี หมาะสม 3) ลางมืออยางถูกวิธีเพื่อชวยลดและปองกันการติดเชื้อที่อาจเกิดขึ้นกับผูปวยและ ปอ งกนั การแพรก ระจายเช้อื ไปยังบุคคลอน่ื 4) เตรียมอุปกรณการใหอาหารทางสายใหอาหารเพื่อจะชวยทำใหผูปวยไดรับการดูแล อยางรวดเรว็ และสะดวกในการปฏบิ ัตงิ าน 536

5) ประเมนิ สภาพผปู วย ตรวจสอบรจู มูกท่ีจะใสสายใหอาหารสะอาด ไมม กี ารอุดตันหรือ มมี ูก เพ่ือความพรอมในการใสส ายใหผปู ว ยและลดความเจ็บปวดที่อาจเกดิ ข้นึ กับผปู วย 6) จัดใหผูปวยนัง่ หรอื นอนศรี ษะสูง อยางนอย 60° ยกเวน กรณมี ขี อหามทางการแพทย เนื่องจากเปนทาที่ทำใหหลอดอาหารตรง ชวยใหการใสสายใหอาหารลงสูกระเพาะอาหารไดสะดวก และปลอดภยั ไมเจ็บปวด 7) จดั วางชามรปู ไตใกลเ ตยี งเพอ่ื รองรบั ส่งิ อาเจียน 8) ลา งมอื ใหส ะอาด และถูกขั้นตอนเพือ่ ลดการติดเชื้อและปองกนั การแพรก ระจายเช้อื 9) สวมถุงมอื สะอาดเพ่ือลดและปองกันการตดิ เช้ือ 10) คลุมผากันเปอนบริเวณหนาอกของผูปวยเพื่อปองกันสิ่งอาเจียนหกเลอะเสื้อผา ผปู ว ยและเพอ่ื ความสุขสบาย 10) บีบสารหลอลื่นลงบนผากอ ซ 11) หยิบสายใหอาหาร วัดความยาวของ N.G. tube โดยเริ่มจากปลายจมูกถึงติ่งหแู ละ จากติ่งหูถึงลิ้นป (xiphoid process) แลวทำเครื่องหมายไวเพื่อการวัดความยาวของสายยางให เหมาะสมกบั ผูปว ยแตละบุคคลสามารถประเมินวาสายยางลงสกู ระเพาะอาหาร 12) หลอ ลืน่ ปลายสายใหอาหาร ยาวประมาณ 3 - 4 นว้ิ เพือ่ ชว ยใหก ารใสส ายใหอาหาร สะดวกและลดการระคายเคืองตอเยื่อบุทางเดินอาหารสวนบน เสร็จแลวขมวดสายไวดวยมือขางที่ไม ถนัด 13) บอกผูปวยแหงนศีรษะเล็กนอย พยาบาลใชมือที่ถนัดจับสายใหอาหารโดยหางจาก ปลายสายประมาณ 3 - 4 นวิ้ แลว คอ ย ๆ ใสสายเขา ไปในรจู มูกขางใดขา งหน่งึ เล่อื นสายอยางนมุ นวล และชา ๆ เมื่อสายผานถึงลำคอ ใหผูปวยกมศีรษะลงและชวยกลืนสาย โดยการกลืนน้ำลายหรือดูด น้ำเปลา เพราะขณะที่ผูปวยกลืนจะทำให epiglottis ปด จึงทำใหสายผาน oropharynxไดงายข้ึน และผูปวยเจ็บนอยที่สุด ใหสายเลื่อนลงไปจนถึงตำแหนงที่กำหนดอยางเบาๆ ถาผูปวยไมรูสึกตัว ทำ ตามคำสัง่ ไมไดใหด ูจงั หวะการหายใจ ใสข ณะที่ผูป วยหยดุ พกั หายใจ 13) สังเกตอาการผูปวยขณะที่ผูปวยกลืนสาย เชน ถาผูปวยไอหรือขยอน หยุดดันสาย หรือดึงสายออกมาเล็กนอย รอสักพักจนอาการดีขึ้นคอยใสสายตอ หากมีน้ำมูก น้ำลายไหล เช็ดให ผูปวย และใหอ า ปาก กดลน้ิ เพ่อื ดดู า นในลำคอ 14) ถาผูปวยมีอาการสำลัก ไอมาก หายใจไมสะดวก รองไมมีเสียง แสดงวาสายให อาหารเขา ไปในหลอดลม ตองรีบดึงสายออกทันที ใหผ ปู ว ยพักจนกวาอาการจะดีขน้ึ จงึ คอยใสสายยาง ใหอ าหารใหม 15) ทดสอบดูวาสายใหอาหารอยูในตำแหนงกระเพาะอาหารหรือไมโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง เพอ่ื ปอ งกนั ภาวะแทรกซอนและสรางความปลอดภัยแกผูปวย ไดแก 537

- ใช Asepto syringe ดูดจะไดน้ำ (gastric content) ถาดูดไมได ใชวิธีการในขอ ถดั ไป - ใช stethoscope ฟง บริเวณหนาทอ งสว นบน ใช Asepto syringe ดนั ลมประมาณ 10 – 20 มลิ ลิลติ ร จงั หวะเดียว เรว็ และแรง จะไดย นิ เสียงดงั 16) หลังทดสอบเม่ือพบวาสายใหอาหารอยูในตำแหนงที่ถูกตองใหปดปลาสเตอรย ดึ สายใหอาหารทจี่ มูกโดยไมตึงหรือหยอนเกนิ ไปเพื่อสายใหอาหารไมเ ลื่อนหลดุ และสรางความสุขสบาย แกผูปว ยอกี ทัง้ ปอ งกันการกดทบั ระหวางสายยางใหอ าหารกบั ผนังจมูก 17) ปดปลายสายใหอาหารดวยปลอกหรือจุกของสายใหอาหารเพื่อปองกันอากาศ เขาไปในกระเพาะอาหาร อาจทำใหผ ูปว ยทองอืดหรอื มสี ิ่งแปลกปลอมเขาไป 18) นำอุปกรณที่ใชแลวลางทำความสะอาดถูกตองตามขั้นตอนและเก็บเขาที่เพ่ือ การทำความสะอาดดวยวิธีการที่ถูกตองเปนการทำลายเชื้อโรค ปองกันการติดเชื้อและพรอมที่จะ นำไปใชในคร้ังตอ ไป 19) ลางมอื ใหสะอาด เชด็ ใหแ หงเพือ่ ลดและปองกนั การแพรกระจายเชือ้ โรค 20) บันทึกรายงานการใสสายใหอาหารในบันทึกทางการพยาบาลอยางถูกตอง การ บันทกึ รายงานกจิ กรรมที่ปฏิบัตอิ ยา งถกู ตองไวเ ปนหลักฐาน เพือ่ ประกอบการวางแผนการพยาบาลแก ผูปวยตอ ไปและเพ่ือการประกนั คุณภาพทางการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล 12.2 วิธีการใหอ าหารทางสายยางใหอ าหาร (Naso-gastric feeding) 12.2.1 อุปกรณเ คร่อื งใช 1) ชนดิ และปรมิ าณอาหารถูกตอ งตามแผนการรกั ษาพรอมเตรียมยา (ถาม)ี 2) น้ำด่มื 50-100 ซซี ี 3) Asepto syringe 50 ซีซี 1 ชดุ 4) สำลีชุบ NSS 0.9% หรือนำ้ ตมสุก จำนวน 2 ช้ิน 5) ชามรูปไต 1 ใบ 6) ผา กันเปอน 1 ผืน 7) ถาดสำหรับอุปกรณใ หอ าหาร ขนาด 35 x 50 ซม. 1.2.2 วธิ ีปฏบิ ตั ิ 1) ตรวจสอบคำสั่งการรกั ษา 2) แนะนำตัวและประเมินสภาพผูปวยเพื่อพิจารณาสภาพผูปวย เพื่อการวางแผนการให อาหารทางสายใหอาหารถกู ตอ งเหมาะสมและสรา งความปลอดภัยแกผ ูปว ย 538

3) อธิบายใหผูปวยเขาใจวัตถุประสงคและความสำคัญของการใหอาหารเปนการเคารพใน สทิ ธขิ องผปู วย ผูปว ยคลายความกงั วล และใหค วามรว มมอื 4) ลางมอื กอนจดั เตรยี มอุปกรณเพื่อชว ยลดและปอ งกนั การตดิ เชือ้ ท่ีอาจเกิดข้นึ 5) เตรียมอุปกรณการใหอาหารทางสายใหอาหาร การเตรียมของใชใหพรอม จะชวยทำให ผูปวยไดรบั การดแู ลอยา งรวดเร็วและสะดวกในการปฏิบัติงาน 6) นำอปุ กรณไปที่เตียง จัดสถานทีแ่ ละส่งิ แวดลอ มใหม ีแสงสวางเพยี งพอ วางของใชต าง ๆ บนโตะขางเตียงแลว เลื่อนมาใกลมือ การมีความสวางที่เหมาะสมชวยใหการปฏิบัติงาน สะดวก สามารถสงั เกตอาการเปลย่ี นแปลงของผปู ว ยได 7) จัดใหผูปวยนั่งทาพิงหรือนอนศีรษะสูงอยางนอย 45 องศา เพื่อเปนทาที่ทำใหหลอด อาหารตรง และใหอ าหารลงสูกระเพาะอาหารไดงา ย 8) ลา งมอื ถูกตองตามขน้ั ตอนเพอื่ ลดจำนวนเชือ้ โรคและปอ งกนั การแพรก ระจายเชอ้ื 9) เปดชุดใหอาหาร จัดวางอาหารและของใชใหสะดวกในการหยิบใชเพื่อสะดวกในการ ปฏิบตั ิการพยาบาล 10) คลุมผารองกันเปอนบริเวณหนาอกผูปวยเพื่อปองกันอาหารหกเลอะผูปวยหรือส่ิง อาเจียนกอ ใหเ กดิ การปนเปอน 11) หกั พบั ปลายสายใหอ าหารและเช็ดดวยสำลชี ุบ NSS 0.9% หรือนำ้ ตม สกุ ใหสะอาดเพื่อ ลดการตดิ เชอ้ื 12) ตอปลายสายใหอาหารเขากับ Asepto syringe คลายสายใหอาหารที่พับไวแลว ทดสอบดวู าสายใหอาหารอยูในกระเพาะอาหารหรือไมพรอมตรวจสอบดูวา มีปริมาณอาหารคางเกาที่ ยังไมถกู ยอ ยมปี รมิ าณเทาใด โดยดงึ แกน Asepto syringe ดูดอาหารในกระเพาะอาหาร (1) ถาพบวามีอาหารคางประมาณ 50 มิลลิลิตร หรือมากกวา ¼ ของอาหารมื้อกอน หนาแสดงวามีอาหารเกาที่ยังไมยอยหรือยอยไมหมดคั่งคางอยู ใหคอยๆ ปลอยอาหารกลับเขาสู กระเพาะอาหาร และควรพักการใหอาหารไวประมาณ 1 ช่ัวโมง จึงมาทดสอบใหม หากอาหารเกา นอยกวา 50 มิลลิลติ รหรือนอ ยกวา ¼ ของอาหารมื้อกอนหนา ใหอาหารได หากยังคงมีเกาตัง้ แต 50 มิลลิลิตร ขึ้นไปอาจบงบอกถึงการมีปญหาระบบยอยอาหาร ใหเลื่อนอาหารมื้อนั้นไปกอน และ รายงานแพทย (2) หากดูดแลวไมมีอาหารคาง ไมมีน้ำยอยใหทดสอบวาสายใหอาหารอยูในกระเพาะ อาหารหรือไม ใหทดสอบดูวาสายใหอาหารอยูในตำแหนงกระเพาะอาหารหรือไม ดวยวิธีการฟงเสียง ลมในทอง โดยใช stethoscope ฟง บรเิ วณหนา ทองสวนบน ใช Asepto syringe ดนั ลมประมาณ 10 – 20 มิลลิลติ ร จังหวะเดยี ว เร็ว และแรง จะไดย นิ เสยี งดัง 539

13) กรณีที่ทดสอบแลวพบวาอาหารไดรับการยอยและมีสภาวะปกติใหหักพับปลายสาย อาหาร ปลดAsepto syringe ออกจากสายใหอาหาร แลว นำแกน asepto syringe ออก 14) ตอ ปลายสายใหอาหารกับกระบอก asepto syringe 15) รินอาหารลงใน asepto Syringe อยางชา ๆ ตอเนื่องพรอมคลายรอยพับปลายสาย อาหาร ยก Asepto Syringe สงู เหนือระดับจมูกผูปวยประมาณ 10-12 นวิ้ ฟตุ อาหารจะไหลผานลง ตามสายเขาสูกระเพาะอาหารตามแรงโนมถวงของโลกอยางชาๆ ไมเกิน 30 มล.ตอนาที จนอาหาร ครบจำนวนตามท่กี ำหนด กรณที ่มี ียาหลงั อาหารรินน้ำลงไปใน syringe ประมาณ 10 มล. ตามดวยยา เม็ดท่บี ดและผสมดว ยน้ำแลว ตามดวยน้ำ 10 มล. แลว ตามดวยยานำ้ (ถาม)ี ระยะความสงู 10-12 น้ิว ฟตุ เปนระยะท่ีอาหารจะไหลลงกระเพาะอาหารชา ๆ ตอเน่อื งกระทั่งอาหารหมด ในกรณีท่ีแพทยส่ัง ใหยาตองใหยาครบตามจำนวนทแี่ พทยส งั่ ตามไปดว ยเพื่อการรักษาบรรลเุ ปาหมาย 16) ใหน้ำตามประมาณ 50 มิลลิลิตรหรือตามแผนการรักษา เมื่อน้ำใกลหมดจากกระบอก Asepto Syringe ใหยก Asepto Syringe ใหสูงเพื่อใหยาและน้ำไหลลงในกระเพาะอาหารใหหมด และรา งกายไดรบั น้ำอยางเพยี งพอ ไมมอี าหารและยาคางอยูในสายใหอาหาร เพราะอาจทำใหอาหาร บดู เนาและมกี ารอดุ ตันของสายใหอ าหาร 17) เช็ดปลายสายใหอาหารดว ยสำลีชุบน้ำตมสุก หรือ 0.9% NSS ปดปลายสายใหอาหาร ดวยปลอกหรือฝาครอบเพื่อปองกนั อากาศและสิ่งแปลกปลอมเขาไปในสายใหอาหาร ซึ่งอาจจะทำให ผปู วยทองอดื ได 18) หลังใหอาหารจัดใหผูปวยนอนตะแคงขวาหรือนอนหงาย ศีรษะสูงประมาณ 45 องศา นาน 30 นาที-1 ชั่วโมงเนื่องจากการจัดทานอนตะแคงขวา ทำใหกระเพาะอาหารยอยอาหารตาม กระบวนการและมกี ารดดู ซึมทีล่ ำไสเ ลก็ 19) ลา งทำความสะอาดอปุ กรณ และเก็บเขา ทเ่ี พือ่ เปน การทำลายเช้ือโรคและเตรียมพรอม ในการหยิบใชค รงั้ ตอ ไป 20) ลางมือใหสะอาด เช็ดใหแ หง เพือ่ เปนการลดการแพรก ระจายเชื้อโรค 21) บันทึกรายงานเกี่ยวกับปริมาณอาหารที่ผูปวยไดรับอยางถูกตอง การบันทึกรายงาน กิจกรรมที่ปฏิบัติอยางถูกตองเพื่อเปนหลักฐาน นำมาประกอบการประเมินผลสภาพทั่วไปของผูปวย และเปนแนวทางในการวางแผนในการดูแลผูป วยตอไป 12.3 สรปุ การใหอ าหารทางสายยางพยาบาลตองมีการปฏิบัติการใหอาหารอยางถูกตองตามหลักการ โดยเฉพาะการทดสอบปลายสายยางกอนการใหอาหารทางสายยางเพื่อปองกันภาวะแทรกซอนที่จะ เกิดข้ึนได 540

12.4 แบบประเมินทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน แบบประเมนิ ทักษะการใหอาหารทางสายใหอาหาร (NG tube Feeding) ชอ่ื ..........................................สกุล...............................................รหัส.......................................................... คำชแ้ี จง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในชอ งท่ีตรงกับผลการปฏบิ ตั ิ ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย ลำดับ รายการประเมิน ปฏบิ ตั ิ ไมปฏบิ ัติ เหตุ (1) (0) ขนั้ เตรยี ม 1 ตรวจสอบคำสัง่ ชนิดและปริมาณของอาหารเหลว 2 ประเมนิ แลว ผูป วยไม NPO 3 ทกั ทายผปู วยและแนะนำตนเอง 4 ถามชอ่ื -สกุล ดูปายขอมือ 5 บอกและอธิบายใหผ ปู ว ยทราบ 6 เตรียมอาหาร ยา (บดยาดวยโกรงบดยาใหเรียบรอย) และอุปกรณเครื่องใชถ ูกตองครบถวน ขน้ั ปฏิบตั ิ (กอนใหอ าหาร) 7 จดั ใหผ ปู วยนอนหงาย/ตะแคงขวาศีรษะสูงอยา งนอย 45 องศา 8 ลา งมือ 7 ข้นั ตอน 9 พบั สาย เปดจกุ และทำความสะอาดปลายสายใหอาหาร 10 พบั สายใหอาหารกอนสวมปลาย syringe 11 -ทดสอบวามอี าหารเหลอื คางเกิน 50 มล. (หรือมากกวา ¼ ของอาหารม้ือกอนหนา) หรือไม -ทดสอบวา ปลายสายอยูในกระเพาะอาหารหรือไม (กรณดี ูดไมได content) โดยฟง เสยี งลมขณะดันลมเขาไป 10 – 20 มล. แลว ดูดลมออก ขน้ั ปฏิบตั ิ (ขณะใหอาหาร) 12 พับสายใหอ าหาร ปลด syringe และดึงลกู สบู ออก 13 พับสาย สวมปลาย syringe ท่ีไมมีลกู สบู เขากับสายให 541

ผลการปฏิบัติ หมาย ลำดับ รายการประเมนิ ปฏบิ ัติ ไมป ฏบิ ตั ิ เหตุ (1) (0) อาหาร 14 มือจับทง้ั syringe และปลายสายใหอ าหาร 15 รินอาหารไมห ก 16 ปลอยสายทีพ่ บั ไว ยก syringe ใหอาหารเหลวไหลลงชาๆ ประมาณ 20 – 30 มลิ ลลิ ิตรตอ นาที 17 รนิ อาหารเตมิ ลงใน syringe อยา งตอเน่อื งไมมีอากาศเขา 18 รนิ นำ้ ลงใน syringe เมื่ออาหารเกอื บหมด 19 กรณมี ยี าหลงั อาหาร ใหน ำ้ ประมาณ 10 มลิ ติ รกอน แลว จึงนำยาใสลงใน syringe แลว ใหนำ้ ตาม ข้ันปฏิบัติ (หลงั ใหอาหาร/ยา) 20 รนิ น้ำลงใน syringe 21 ยก syringe ข้นึ ใหน ำ้ ไหลลงไปตามสายจนหมด 22 พับสายและปลด syringe ออก ยกสายใหอ าหารเขาไปใน กระเพาะอาหาร 23 ทำความสะอาดปลายสายใหอาหารและปดจุก 24 วางสายใหอาหารเหนือศรี ษะไมดงึ ร้งั ขั้นประเมินผล 25 ประเมนิ อาการขณะใหและหลังใหอาหาร 26 ประเมนิ ปรมิ าณอาหารท่ีผูปว ยไดร บั ข้ันบันทกึ ผล 27 บันทึกปรมิ าณอาหารเหลวท่ผี ูปว ยไดรบั 28 บันทกึ ภาวะแทรกซอน (ถา ม)ี ขณะและหลังใหอาหาร บอกขอ ทางสาย ความ ทจ่ี ะ บัน ทกึ รวม (28 คะแนน) 542

12.5 เอกสารอางอิง ณัฐสุรางค บุญจันทร และอรุณรัตน เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอ็นพเี พรส. พรทิพย พรหมแทนสุด สทุ ธีพร มูลศาสตร และดนยั หบี ทา ไม. (2561). ประสทิ ธิผลของโปรแกรมการ จัดการความปวดรวมกับการปรับสิ่งแวดลอมในผูสูงอายุขอเขาเสื่อม. วารสารพยาบาล, 67(4), 34-43. สัมพันธ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้นื ฐาน II. กรงุ เทพฯ: บริษทั บพิธการพมิ พ จำกัด. สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกัด สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พืน้ ฐาน I.กรงุ เทพฯ: บริษทั บพธิ การพมิ พ จำกดั . อัจฉรา พุมดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลัย. อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ัท ธนาเพรส จำกัด. อภิญญา เพียรพิจารณ (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ัท จรลั สนิทวงศการพิมพ จำกัด. Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 543

แผนบริหารการสอนประจำบทท่ี 13 วิธีปฎิบตั กิ ารพยาบาลพนื้ ฐานในการสวนปสสาวะเปน ครั้งคราว หวั ขอเนอื้ หาประจำบท 1. วธิ ีการสวนปส สาวะแบบเปน ปสสาวะเปนครง้ั คราว (intermittent catheter) จำนวนชวั่ โมงที่สอน: ภาคทดลอง 2 ช่วั โมง วตั ถุประสงคเชงิ พฤติกรรม 1. ปฏบิ ัตกิ ารสวนปส สาวะเปนคร้งั คราวไดถูกตอง โดยไมมกี ารปนเปอ น วิธีสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 สอนสาธิตและสาธิตยอ นกลบั 2. กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1 สอนสาธิตการสวนปสสาวะเปนครง้ั คราว 2.2 มอบหมายผูเรยี นฝก ปฏิบัตแิ ละสาธิตยอนกลับ 2.3 สะทอนคดิ การฝกปฏบิ ัติและสรปุ ผลการเรียนรู 2.4 ผูเ รยี นยมื วัสดุ อปุ กรณไปฝก ปฏบิ ัตติ อ นอกเวลาเพ่ือใหเ กิดทักษะ ส่อื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. อุปกรณสวนปสสาวะ วัสดุ อุปกรณท างการแพทยในหอ งปฏิบัตกิ าร 3. โจทยสถานการณ 4. VDO สอ่ื การสอนใน YouTube channel: nursing practice การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. ประเมินผลการสาธิตยอนกลบั ตามแบบประเมินทักษะ 2. การสอบทักษะปฏบิ ัตแิ บบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 544

บทท่ี 13 วธิ ปี ฎบิ ัติการพยาบาลพื้นฐานในการสวนปสสาวะเปนครั้งคราว การสวนปสสาวะเปนครั้งคราว (Straight catheters หรือ Intermittent catheter) เปน การสวนทิ้งหรือการสวนปสสาวะเปนครัง้ คราว เพื่อการระบายปสสาวะออกจากกระเพาะปสสาวะใน รายทไ่ี มส ามารถขับถา ยปสสาวะไดเ องตามปกติหรือมีปส สาวะค่งั คา งในกระเพาะปสสาวะ ทำใหผปู วย รสู กึ สบาย และเพอื่ การเกบ็ ปส สาวะสงตรวจ วนิ ิจฉยั และเตรยี มผา ตดั โดยมีวิธีการดังนี้ 13.1 วิธีการสวนปสสาวะแบบเปนปสสาวะเปนครั้งคราว (intermittent catheter) 13.1.1 การเตรยี มอุปกรณ 1) ชุดสวนปสสาวะปลอดเชื้อ ประกอบดวยชาม 1 ใบขนาด 500-1,000 มิลิลิตร กอซ พบั สเ่ี หลีย่ ม 1 ช้ิน ถวยเล็ก 1 ใบสำลี 7 กอ น ใสในถวยเลก็ ผาสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1 ผืนพบั วางไว 2) สายสวนปสสาวะยางแดง (catheter / rubber tube) สะอาดปราศจากเช้ือ ขนาด ใหเ หมาะสม เดก็ ใชขนาด 6-10 Fr. ผใู หญใชขนาด12-16 Fr. 3) ถงุ มอื ปลอดเชอื้ 2 คู 4) สารหลอลน่ื ปลอดเชื้อ เชน K-Y Jelly 5) Normal Saline 0.9% หรือน้ำยาระงับเช้อื 6) ขวดเก็บปส สาวะ กรณีตอ งการปส สาวะสง ตรวจ 7) ชามรปู ไตพรอมถงุ ขยะเล็ก 1 ใบ 8) ไฟฉายหรือโคมไฟ 13.1.2 วธิ ปี ฏิบตั ิ 1) ตรวจสอบคำสั่งการรักษา สอบถามชอ่ื ผูปว ย นามสกลุ ผปู วย ตรวจสอบความถูกตอง ของปายขอมอื ผปู วยเพ่อื ปอ งกันการใหการพยาบาลผดิ พลาด 2) ลา งมอื ใหส ะอาดดว ยสบูหรือแอลกอฮอล เจล เพ่อื ปอ งกนั การแพรกระจายเช้อื โรค 3) อธิบายเหตุผลของการใสสายสวนปสสาวะ ขั้นตอนวิธีการใสคราว ๆ ใหผูปวย รับทราบเพอ่ื เปน การเคารพในสทิ ธิผปู วยและชว ยลดความวิตกกังวลได 4) เตรียมอุปกรณเครอื่ งใช 545

5) กั้นมานและปดตาผูปวย จัดทาคลุมผาใหผูปวยเปดเฉพาะบริเวณอวัยวะสืบพันธ ปอ งกนั การกระดากอายและเคารพสิทธิผปู วยไมเปดเผยผูปวย 6) นำชุดสวนปส สาวะวางไวระหวา งขาของผูปว ยใกลอวยั วะสบื พันธุภ ายนอก เปดหอผา ออกทั้ง4 มุม และเตรียมอุปกรณตาง ๆดวยเทคนิคปลอดเชื้อเพื่อใหมีพื้นที่สะอาดและไมเกิดการ ปนเปอน 7) เท Normal Saline 0.9% หรือน้ำยาระงับเชื้อโรคลงบนสำลีในชามกลมพอใหสำลี เปยกชมุ เพ่ือใชทำความสะอาดอวยั วะสืบพนั ธ 8) บบี สารหลอลื่นลงบนกอซในชามรูปไต 9) ใสถ ุงมือดวยเทคนคิ ปลอดเชื้อ 10) หยิบถวยเล็กเขาไปวางใกลอวัยวะเพศและทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุภายนอก (flushing) แลวหยิบถวยเลก็ ทเ่ี หลอื สำลี 1 กอ นเลื่อนออกไป 11) เปลยี่ นถงุ มือคูใ หม (ลา งมอื กอนใสถ งุ มอื คใู หม) 12) คลี่ผาสี่เหลี่ยมเจาะกลางคลุมบริเวณอวัยวะสืบพันธุภายนอกใหชองเจาะกลางอยู บรเิ วณอวัยวะสบื พันธุภายนอกดวยเทคนคิ ปราศจากเช้ือ 13) ทาปลายสายสวนปสสาวะดวยสารหลอลื่นในผูหญิงยาว 1-2 นิ้ว ในผูชายยาว 6-8 น้ิว วางไวใ นชามรปู ไต 14) สอดใสส ายสวนปสสาวะ - ในเพศหญิง ใชมือขางที่ไมถนดั แหวกแคมใน (labia minora) มืออกี ขา งหยิบสำลีที่ เหลือเช็ดรูเปดทางเดินปสสาวะ (external urethral orifice) ซึ่งเปนรูขนาดเล็กอยูเหนือปากชอง คลอด (vagina) ประมาณ 1 เซนติเมตร หยิบชามกลมใบใหญ สำหรับใสน้ำปสสาวะวางไวใกลผูปวย สอดใสสายสวนปสสาวะ สอดสายสวนปสสาวะ 2-3 นิ้วหรือมีปสสาวะไหลออกมาเลื่อนมือที่แหวก แคมใน (labia minora) มาจับสายสวนไว - สำหรับเพศชายใชมือขางท่ไี มถนัดจับองคชาตทิ ำมุม90 องศากับรา งกาย และใชมือ ถนดั คบี สำลเี ช็ดบรเิ วณรเู ปด ของทอปสสาวะ (external urethral orifice) บอกใหผ ูปว ยหายใจยาวๆ คอยๆสอดสายสวนปสสาวะเขา ไปในรเู ปดของทอ ปส สาวะ (external urethral orifice) ลึกอยางนอ ย 6-8 นว้ิ หรอื จนมปี สสาวะไหลลงสชู ามรูปไต 15) ถาตองเก็บปสสาวะสงตรวจ ใหใชขวดรองรับจากปลายสายสวนปสสาวะขณะท่ี ปลอ ยใหปส สาวะไหลลงสูชามรูปไต 16) เมือ่ ปส สาวะหยุดไหลแลวใหใ ชมือกดเบาๆบนผา ส่ีเหลี่ยมเจาะกลางบริเวณเหนือหัว เหนาจนแนใ จวา ไมม ปี สสาวะ 546

17) บีบหรือพับสายคอยๆดึงสายสวนปสสาวะออกวางไวในถวยกลม ในเพศชายจับ องคชาติตั้งขึ้นทำมุม 90 องศากับรางกายกอนดึงสายสวนออก ซับบริเวณอวัยวะสืบพันธุภายนอกให แหง 18) เก็บผาสี่เหลี่ยมเจาะกลางวางในชุดสวนปสสาวะ ถอดถุงมือ นำเครื่องใชออกจาก เตียงผปู วย 19) จดั เส้อื ผา และใหผูปว ยนอนในทาทส่ี บาย ซกั ถามอาการผปู วย เปดประตูหรอื มาน 20) เกบ็ เครื่องใชไ ปทำความสะอาด ท้ิงขยะอยางถูกตอ ง 21) สังเกตลกั ษณะของปส สาวะที่ผดิ ปกตแิ ละตวงปสสาวะที่ไดจากการสวน 22) บันทึกส่งิ ท่ีประเมนิ ได ลงบันทึกการสวนปส สาวะ จำนวน สี กลนิ่ 13.2 บทสรปุ การสวนปสสาวะเปนหัตถการที่ตองใชความรอบคอบ พยาบาลตองปฏิบัติอยางถูกตองตาม หลกั การ sterile technique 13.3 แบบประเมินทกั ษะปฏิบตั กิ ารพยาบาลพนื้ ฐาน แบบประเมินทักษะการสวนปส สาวะเปน คร้ังคราว (Intermittent urine catheter) ชอ่ื .....................................................สกลุ .................................................รหสั นกั ศึกษา................................. คำชีแ้ จง โปรดทำเคร่ืองหมาย  ลงในชอ งทีต่ รงกับผลการปฏิบัติ ลำดับ วิธีการ ปฏิบตั ิ ผลการปฏิบัติ หมาย (1) ไมป ฏิบตั ิ เหตุ (0) ข้นั เตรยี ม 1 ตรวจสอบการสวนปสสาวะกับคำสง่ั การรักษา 2 ทักทายผปู วยและแนะนำตนเอง 3 ถามช่อื -สกุลผปู ว ย และตรวจสอบปา ยขอมือกับคำสั่งการ รักษา 4 อธิบายวัตถุประสงคในการสวนปสสาวะใหผูป วยทราบ 5 การถายปส สาวะครง้ั สุดทา ย 6 ประเมินความตึงตัวของกระเพาะปส สาวะ 547

ลำดับ วิธกี าร ปฏิบัติ ผลการปฏิบัติ หมาย (1) ไมป ฏิบัติ เหตุ (0) 7 เตรียมของใชครบถว น ถูกตอง ดังนี้ - ชุดสวนปสสาวะปลอดเชื้อ ประกอบดวยชาม 1 ใบ ขนาด 500-1,000 มิลิลิตร กอซพับสี่เหลี่ยม 1 ชิ้น ถวย เล็ก 1 ใบสำลี 7 กอน ใสในถวยเล็ก ผาสี่เหลี่ยมเจาะ กลาง 1 ผืนพบั วางไว -สายสวนปสสาวะยางแดง สะอาดปราศจากเชอ้ื ขนาด ใหเหมาะสม เด็กใชขนาด 6-10 Fr. ผูใหญใชขนาด12- 16 Fr. -ถงุ มอื ปลอดเช้อื 2 คู -สารหลอ ลน่ื ปลอดเชื้อ เชน K-Y Jelly -Normal Saline 0.9% หรอื นำ้ ยาระงบั เชอ้ื -ขวดเกบ็ ปสสาวะ กรณีตองการปส สาวะสงตรวจ -ชามรปู ไตพรอมถงุ ขยะเลก็ 1 ใบ -ไฟฉายหรือโคมไฟ ขนั้ ปฏบิ ัติ 8 ปดตา จดั ทา นอนและ drape ผา ปด มาน 9 ลา งมือ 10 นำชุดสวนปสสาวะวางไวระหวางขาของผูปวยใกล อวัยวะสืบพันธุภายนอก เปดหอผาออกทั้ง 4 มุมและ เตรียมอุปกรณตา งๆดวยเทคนคิ ปลอดเช้ือ 11 เท Normal Saline 0.9% หรือน้ำยาระงับเช้ือโรคลงบน สำลใี นชามกลมพอใหสำลีเปย กชมุ 12 บีบสารหลอลื่นลงบนกอซในชามรปู ไต 13 ใสถงุ มือดว ยเทคนิคปลอดเช้อื 548

ลำดบั วิธีการ ปฏิบัติ ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย (1) ไมปฏบิ ัติ เหตุ (0) 14 หยิบถวยเล็กเขาไปวางใกลอวัยวะเพศและทำความ สะอาดอวัยวะเพศแลวหยิบถวยเล็กที่เหลือสำลี 1 กอน เลื่อนออกไป 15 เปล่ยี นถุงมอื คูใหม (ลา งมือกอ นใสถงุ มือคใู หม) 16 คลี่ผาสี่เหลี่ยมเจาะกลางคลุมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ ภายนอก ใหชองเจาะกลางอยูบริเวณอวัยวะสืบพันธุ ภายนอกดว ยเทคนคิ ปราศจากเชื้อ 17 ทาปลายสายสวนปสสาวะดวยสารหลอลื่นในผูหญิงยาว 1-2 น้วิ ในผูช ายยาว 6-8 นว้ิ วางไวในชามรปู ไต 18 ใสส ายสวนปส สาวะ -เพศหญิง ใชมือขางที่ไมถนัด แหวก labia minora มือ อีกขางหยิบสำลีที่เหลือเช็ด urethral orifice สอดใส สายสวนปสสาวะ 2-3 นิ้วหรือมีปสสาวะไหลออกมา เล่อื นมือท่แี หวกแคมในมาจับสายสวนไว - เพศชายใชกอซจับองคชาติดวยมือขางที่ไมถนัด กรณี ไมไ ดข ลบิ หนังหุมปลายองคชาติ ใหรูดหนังหุมปลายลง มา จับองคชาติทำมุม 90 องศากับรางกาย บอกให ผูปวยหายใจยาวๆคอยๆสอดสายสวนปสสาวะเขาไปในรู เปดของทอปสสาวะลึกอยางนอย6-8 นิ้วหรือจนมี ปส สาวะไหลลงสชู ามรปู ไต 19 ใชมือขางที่ถนัดจับสายสวนปสสาวะ ปลายสายอีกขาง หน่งึ วางไวใ นชามรปู ไต 20 เมื่อปสสาวะหยุดไหลแลวใหใชมือกดเบาๆบนผา สี่เหลี่ยมเจาะกลางบริเวณเหนือหัวเหนาจนแนใจวาไมมี ปส สาวะ 549

ลำดับ วิธกี าร ปฏิบัติ ผลการปฏบิ ัติ หมาย (1) ไมป ฏบิ ตั ิ เหตุ (0) 21 บีบหรือพับสายคอยๆดึงสายสวนปสสาวะออกวางไวใน ถวยกลม ในเพศชายจับองคชาติตั้งขึ้นทำมุม 90 องศา กับรางกายกอ นดงึ สายสวนออก 22 ซับบรเิ วณอวัยวะสบื พนั ธภุ ายนอกใหแ หง 23 ถอดถงุ มือ และเก็บเครื่องใชถ ูกตอง 24 เปด ผาปด ตาผปู วยและจดั ทา นอนสขุ สบาย ข้นั ประเมิน 25 ประเมนิ จำนวน สี กลน่ิ และลกั ษณะของปสสาวะ 26 ประเมินความสุขสบายของผูปวยภายหลงั สวนปส สาวะ 27 บันทกึ วันเวลาของการสวนปสสาวะ รวม (27 คะแนน) 13.4 เอกสารอางอิง ณัฐสุรางค บุญจันทร และอรุณรัตน เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอน็ พเี พรส. สัมพันธ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พนื้ ฐาน II. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท บพิธการพมิ พ จำกัด. สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พื้นฐาน I.กรงุ เทพฯ: บริษัท บพธิ การพิมพ จำกดั . อัจฉรา พุมดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลยั . อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ธนาเพรส จำกดั . อภิญญา เพียรพิจารณ (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ทั จรัลสนทิ วงศการพมิ พ จำกดั . 550


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook