Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอนการพยาบาลพื้นฐาน E-Book

เอกสารประกอบการสอนการพยาบาลพื้นฐาน E-Book

Published by jitrada.sin, 2022-07-10 06:30:15

Description: เอกสารประกอบการสอนการพยาบาลพื้นฐาน E-Book

Keywords: การพยาบาล หลักการ เทคนิคพยาบาล พื้นฐานการพยาบาล

Search

Read the Text Version

ดังนั้นจึงกลาวไดวาพยาบาลในอนาคตจะตองเปนผูที่มีความรูในการดูแลสุขภาพของ ประชาชนอยางครบวงจร พัฒนาตนเองอยางตอเนื่องทั้งดานวิชาการ มีทักษะในการบริการ ความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาเพื่อนบานของสมาชิกประชาคมอาเซียนเปนอยาง ดี มีความรูดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหารจัดการ มีภาวะผูนำมีสวนรวมในการพัฒนา ประชาธปิ ไตย ปรับตัวใหท นั โลกทันสมยั ทจ่ี ะกาวสปู ระชาคมอาเซียน 1.4 หลกั การพยาบาลแบบองครวม (Holistic care) การพยาบาลแบบองครวม (Holistic care) หมายถงึ การพยาบาลทคี่ ำนึงถงึ ความสมดุล ของรางกาย จติ ใจ สังคมและจิตวญิ ญาณของบคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน ซึง่ มีความสอดคลองกลมกลนื กนั ดงั แสดงในรปู ภาพที่ 1.4.1 รูปภาพที่ 1-1 แสดงลกั ษณะการพยาบาลแบบองครวม 1.4.1 หลกั การพยาบาลแบบองคร วม หลกั การพยาบาลแบบองคร วมตามที่ ยุทธชยั ไชยสิทธ ไดกลาวไวประกอบ 8 หลักการ (ยุทธชยั ไชยสิทธ, 2556) ดังน้ี 1) ตระหนกั ถึงความเปน องครวมของบุคคล 2) สรางสภาพแวดลอมตอการมีปฏสิ มั พันธระหวางพยาบาลกับผรู ับบรกิ าร 3) ผรู บั บริการมีสว นรวมในการดูแลสขุ ภาพตนเอง 51

4) สรางสัมพนั ธภาพเชิงบำบดั กับผูรบั บรกิ าร 5) การใหขอมูลและความรูแกผ รู ับบริการ 6) การสรางเสรมิ พลงั อำนาจใหกับผรู บั บรกิ ารและครอบครวั 7) สนบั สนนุ กระบวนการฟน หายของผปู ว ยหรือผูรบั บริการดวยความเอ้อื อาทร 8) การสง เสริมและสนับสนุนใชวีพนื้ บานทีเ่ ปน ประโยชนในการสง เสริมสขุ ภาพ 1.4.2 การประยกุ ตใ ชการพยาบาลแบบองครวม 1) การพยาบาลดานรา งกาย เปนการดูแลความสุขสบายของผปู ว ยดา นรางกาย การ ดูแลความเจบ็ ปวยตามระบบตาง ๆ ของรางกาย เชน ปญ หาการหายใจ การรบั ประทานอาหาร ความ ปวด (อมรรัตน แสงใสแกว และพัชนี สมกำลงั , 2561) 2) การพยาบาลทางดานจติ ใจ การดูแลปญ หาทเ่ี กิดจากความกลวั ความวิตกกังวล ความเครยี ด สภาวะทางอารมณต า ง ๆ ทเ่ี กิดกับผปู วย (อมรรัตน แสงใสแกว และพชั นี สมกำลัง, 2561) 3) การพยาบาลดา นสงั คม การดูแลปญหาทางดานสังคมซึ่งเปน ผลกระทบจากความ เจ็บปวย การสูญเสียบทบาทในครอบครัว ความเจ็บปวยท่ีสงผลกระทบตออาชพี การขาดรายได (อมรรัตน แสงใสแกว และพัชนี สมกำลงั , 2561) 4) การพยาบาลดา นจิตวญิ ญาณ การพยาบาลเพื่อสง เสริมการตระหนักในคณุ คาของ ตนเอง การเจบ็ ปว ยมาสามารถลดทอนคุณคาศักดิศ์ รีความเปนมนุษย สงเสริมการมีศรัทธาตอสิง่ ที่ ตนเองเคารพนบั ถอื การมสี ิ่งยดึ เหน่ยี วจิตใจ (สุรยี  ธรรมกิ บวร, 2554) 1.5 หลักการพยาบาลบนพื้นฐานความปลอดภยั ของผปู วย (patient safety goal) การพยาบาลเพือ่ ใหเ กดิ ความปลอดภัยในผูปว ย (Patient Safety Goal: PSGs) ใชเ คร่อื งมือ ที่สำคัญคือการบริหารความเสี่ยงทางคลินิก (clinical risk management) เปนมาตรฐานที่ทุก โรงพยาบาลตองใหความสำคัญ เพื่อปองกันเหตุการณไ มพึงประสงคท ี่จะเกิดกบั ผูปว ย ญาติ รวมทั้งผู ใหบริการดานสุขภาพ (Personal Safety Goals) ตามหลักการขององคการอนามัยโลก (world health organization: WHO) ที่ไดกำหนดเปาหมายความปลอดภัยในการดแู ลผูปว ย เพ่ือใหบุคลากร ทางสุขภาพเห็นความสำคัญและรวมปฏิบัติใหตรงกัน “Patient Safety Goals and Personnel 52

safety Goals หรือ 2P safety Goals” ซ่งึ เปน ตัวยอ ท่เี รยี กวา “SIMPLE” รายละเอยี ดดังน้ี (สถาบัน รับรองคุณภาพสถานพยาบาล, 2561) 1.5.1 Safe surgery: S คือ ผูปวยไดรับการผาตัดอยางปลอดภัย ซึ่งประกอบดวยความ ปลอดยอ ย 3 ขอ ดงั น้ี 1) Safe Surgery and Invasive Procedure เปนเครื่องมือในการตรวจสอบและ ประเมนิ ความพรอมในการผาตดั ปอ งกันการผา ตดั ผดิ คน ผดิ ขาง การติดเชอื้ ท่ีแผลผา ตัด การปองกัน การเกิด Venous Thromboembolism รวมท้ังการสง เสรมิ การฟน ตัวภายหลังการผา ตดั 2) Safe Anesthesia ความปลอดภัยในการใหยาระงับความรูสึกแกผูปวย ครอบคลุม ตั้งแตการประเมินผูปวย ณ. หอผูปวยกอนการใหยาระงับความรูสึก ระหวางใหยาระงับความรูสึก และการดูแลผูปวยภายหลงั ใหย าระงับความรสู กึ ท่ี Post Anesthesia Care Unit (PACU) 3) Safe Operating Room หองผาตัดมีความปลอดภัย เครื่องมือที่เกี่ยวของปลอดเช้ือ ตามหลกั การมาตรฐาน 1.5.2 Infection Prevention and Control: I คอื การความคุมการติดเช้ือในโรงพยาบาล ประกอบดว ยเปาหมายยอ ย ดงั น้ี 1) Hand Hygiene การลางมืออยางถูกตอง 7 ขั้นตอนและถูกตองตามโอกาส 5 moment 2) Prevention of healthcare – Associated Infection ไดแก การปองกันการติด เชื้อในระบบทางเดินปสสาวะจากการคาสายสวนปสสาวะ (Catheter- Associated Urinary tract infection: CAUTI) การปองกันภาวะปอดอักเสบจากเครื่องชวยหายใจ (Ventilator- Associated Pneumonia: VAP) การปองกันการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการใสสายสวนหลอดเลือด (Peripheral and Central Line – Associated Blood stream Infection: CLABSI) 3) Isolation Precaution การแยกผูปวยที่ถูกตองตามหลักการ Standard Transmission Based Precaution. 4) Prevention and Control Spread of Multidrug Resistant Organisms (MDRO) เปนการปองกันการแพรกระจายของเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล ซึ่งมักเปนการดื้อตอยาปฏิชีวนะหลาย ชนิด ตอ งการปฏบิ ตั ิการตามหลกั การ Contact Precaution อยางเครงครัด 53

1.5.3 Medication & Blood safety: M คือ ความปลอดภยั ของผูปวยในการไดร ับยาและ เลอื ด ประกอบดว ยเปาหมายยอย ดังน้ี 1) Safe from Adverse drug Events เปนการบริหารยาท่ีถูกตองตามหลักการในกลมุ ยา High alert drug การปองกันเหตุการณไมพึงประสงคจากการใชยา และความปลอดภัยในการใช ยาทีอ่ าจมีปฏกิ ิรยิ าตอกัน (fatal drug interaction) 2) Safe from medication Error เปนความปลอดภัยจากความคลาดเคลื่อนทางยา ตั้งแตกระบวนการสั่งจายยา การตรวจสอบยา การบริหารยาสูตัวผูปวยตามชองทางตาง ๆ อยาง ถกู ตอ ง รวมทัง้ การปอ งกนั ความคลาดเคลื่อนทางยาท่มี ีสะกดคลา ยกนั หรอื ออกเสยี งคลา ยกัน 3) Medication Reconciliation เปนกระบวนการเพ่ือใหไดข อมูลรายการยาทีผ่ ปู วยใช อยูท้ังหมดเพื่อใหเกิดการสง ตอผปู ว ยอยางมีประสทิ ธภิ าพ 4) Rational Drug Use (RDU) การใชยาอยางสมเหตุผลตามขอบงชี้ มีประโยชนจาก การใชยามากกวาความเส่ียงทีเ่ กิดจากยา รวมท้งั การสรา งความตระหนักรูการใชยาอยางสมเหตุผลใน บคุ ลากรสาธารณสขุ และประชาชน 5) Blood Transfusion ลดความเสีย่ งและเพิ่มความปลอดภัยแกผูปว ยในการรกั ษาดวย เลือดและสว นประกอบของเลอื ด 1.5.4 Patient Care process: P เปนกระบวนการเพอื่ ใหเกิดความปลอดภยั ประกอบดว ย เปาหมายยอ ย ดงั นี้ 1) Patient Identification การบงชี้ตัวผูปวยอยางถูกตอง โดยตองระบุอยางนอย 2 ชนดิ เชน ชอ่ื ผูปวยและ Hospital number 2) Communication การสื่อสารและการประสานอยางมีประสิทธิภาพโดยหลักการ ISBAR คำนึงถึงการรักษาความลับของผูปวย การสื่อสารอยางชัดเจน ทันตอสถานการณฉุกเฉิน การ สอื่ สารทางโทรศพั ทอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ หลีกเลี่ยงการใชตวั ยอ ทไ่ี มเปนสากล 3) Reduction of Diagnosis Errors การทำงานของสหสาขาวชิ าชีพเพือ่ ใหผูปว ยไดรับ การตรวจวินิจฉัยอยางถูกตองและรวดเร็ว รวมถึงการรายงานผลคาวิกฤตของผลการตรวจทาง หอ งปฏบิ ัตกิ าร 54

4) Preventing common complications การดูแลผูปวยและการใหบริการที่มีความ เสี่ยงสูงอยางทันทวงที ปลอดภัย เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพและการปองกันการเกิดแผลกดทบั การพลัดตกหกลม 5) Pain Management การบริหารความปวดอยางเหมาะสมตามคะแนนความปวดของ ผูปวย ความปลอดภัยในการบริหารยาแกปวดกลุม Opioids รวมทั้งการบริหารยาแกปวดในผูปวย มะเรง็ และผปู ว ยระยะสุดทาย 6) Refer and Transfer Safety กระบวนการการสงตอผูปวยวิกฤตระหวาง สถานพยาบาลและภายในโรงพยาบาลอยางปลอดภัย การเตรียมความพรอมของหนวยงานที่ตองรับ ผปู ว ยตอ 1.5.5 Line, Tube, Catheter and Laboratory: L ประกอบดวย 2 เปา หมายยอย ดงั น้ี 1) การดแู ลผปู ว ยท่มี สี ายสวนหรืออุปกรณต า งๆ ที่ใชกบั ผูปวยอยา งมีมาตรฐาน 2) การรายงานผลการตรวจทางหองปฏบิ ตั กิ ารอยางถกู ตอง เปน มาตรฐาน 1.5.6 Emergency Response: E คือ การปฏิบัติตามแนวทางในการดูแลผูปวยที่มีอาการ ทรดุ ลงหรือการเปลีย่ นแปลงเขา สภู าวะวกิ ฤติประกอบดวยเปาหมายยอย ดงั น้ี 1) Response to the Deteriorating Patient การระบุผูปวยที่มีอาการทรุดลงหรือมี อาการแยลงไดอ ยางมีประสิทธิภาพและมีแนวทางการดูแลอยางเหมาะสม 2) Medication Emergency การบริหารยาในสถานการณฉุกเฉินหรือภาวะวิกฤตของ ผูปวย ไดแก Sepsis, Acute Coronary Syndrome, Acute ischemic stroke รวมทั้งการชวยฟน คืนชีพอยางถกู ตองตามหลักการ มปี ระสทิ ธิภาพ 3) Maternal and Neonatal Morbidity ความปลอดภัยของผูคลอด กระบวนการ ปลอดภัยจากการตกเลือด ตัง้ แตก ารประเมินผูปว ยจนกระท่งั การคลอด รวมท้ังการปอ งกันภาวะพรอง ออกซิเจนของทารกแรกเกดิ 4) ER safety การคดั แยกผปู วยอยางมปี ระสิทธิภาพ การอธิบายปญ หาสขุ ภาพแกผูปวย อยางถูกตอง ทันทวงที การปองกันการวินิจฉัยโรคผิดพลาดรวมทั้งการสื่อสารในทีม การทำงานเปน ทมี อยา งเหมาะสม 55

1.6 บทสรุป พยาบาลจึงเปนผูที่มีบทบาทสำคัญในระบบสุขภาพเนื่องจากมีบุคคลากรจำนวนมากที่ทำ หนา ที่อยูและทำหนาท่หี ลักท้ังในและนอกสถาบนั สุขภาพ พยาบาลจึงมีโอกาสแสดงความเปนวิชาชีพ ดวยความรับผิดชอบอยางเต็มความสามารถ โดยเฉพาะนอกสถาบันบริการเชน ในชุมชน พยาบาล สามารถปฏิบัติบทบาทอิสระในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของบุคคลครอบครัวและ สังคมไดดวยความคิดริเริ่ม สรางสรรค สามารถคิดวิเคราะหแกปญหาเฉพาะหนาและวางแผนการ ดแู ลตอ เนื่องไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพซง่ึ ประกอบดวยการพยาบาลเปนองคร วมดวยความเอ้ืออาทรและ และจติ วญิ าณของความเปนมนษุ ยเปน ผูมีธรรมะประจำใจคำนึงถึงสทิ ธิและจรรยาบรรณวชิ าชพี 1.7 คำถามทายบท ขอ 1. ขอใดคอื ภาวะสขุ ภาพดี (well being) 1. หญงิ วยั ทำงาน รูสกึ เครียดกบั รูปรางตนเอง พยายามงดอาหาร ดมื่ แตก าแฟดำ 2. หญิงวัยรุน รสู ึกหดหูตอนเย็นทกุ วัน จงึ พยายามนอนตอนเย็นจะไดล ืมอาการหดหู 3. ผสู ูงอายเุ ปน โรคความดนั โลหติ สูง รำไทเกกทุกเยน็ เพราะอา นหนังสอื พบวาชวยลดความ ดันได 4. ชายไทยตรวจเลือดพบไขมันในเลอื ดสงู ทำงานได ใชชีวิตปกติ ตั้งใจวาปหนา จะไปตรวจ เลือดใหม ขอ 2. ขอใดเปน การสวมบทบาทของพยาบาลผพู ิทักษสิทธิ (Advocator) 1. เกบ็ รายงานของผูปว ยไวใ นคอมพิวเตอรทเี่ ขา ถงึ ไดยาก 2. ชวยเหลือกิจวตั รประจำวนั ในผปู ว ยที่ชว ยเหลอื ตวั เองไมได 3. อธิบายเหตุผลของการไดรบั ขอมลู กอนเซ็นยนิ ยอมรับการรักษา 4. สอบถามสิทธิการรักษาของผูปวยกอนการเบิกยาหรือวสั ดทุ างการแพทยตา ง ๆ 56

ขอ 3. ขอใดคือตวั ยอ ของหลกั การความปลอดภยั ของผูปวย (Patient safety) 1. SINGLE 2. SIMPLE 3. SUCCESS 4. SUPPORT ขอ 4. พยาบาลสอบถามผูปว ยวา “ผูปวยมานอนโรงพยาบาลมีใครชวยดูแลลูกไหมคะ” บงบอก ถงึ ความตระหนักถงึ ปญ หาดา นใดของผูปว ย 1. จติ ใจ 2. อารมณ 3. สงั คม 4. จิตวิญญาณ 1.8 เอกสารอา งองิ ถนอมขวัญ ทวีบูรณ. (2553). การพยาบาล ใน สิริรัตน ฉตั รชยั สุชา ปรางคทิพย อจุ ะรตั น ณัฐสุรางค บุญจันทร. ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ; หางหุนสวนจำกัด เอ็น พี เพรส; หนา 4. ณฐั สรุ างค บุญจนั ทร และคณะ. (2559). ทกั ษะพืน้ ฐานทางการพยาบาล 1. กรุงเทพฯ: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. ยุทธชัย ไชยสิทธ. (2556). การประยุกตใชแบบแผนสุขภาพในการพยาบาลผูติดเชื้อเอชไอวีแบบองค รวมตามหลักฐานเชิงประจกั ษ. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 31(2), 100-110 สุปราณี เสนาดิสัย และวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: บริษัทจุด ทอง จำกดั . ประกอบ สุขบุญสง. (2546). ประสบการณ 50 ป วิชาชีพพยาบาลที่ฉันรัก. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักงานพิมพ Creative corner สภาการพยาบาล. (2540). พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. 2528 และ แกไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั วิ ิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540. 57

สรุ ีย ธรรมกิ บวร. (2554). การพยาบาลองคร วม : กรณศี ึกษา. กรุงเทพฯ : ธนาเพลส จำกัด. วิจิตรา กุสุมภ อรุณี เฮงยศมาก รวีวรรณ ศรีเพ็ญ สัมพันธ สันทนาคณิต ธัญญลักษณ วจนะวิศิษฐ ภัทพร ขำวชิ า รตั นา จารวุ รรโน. (2555). ประเด็นและแนวโนมวิชาชพี การพยาบาล. พิมพ ครงั้ ท2่ี ฉบบั ปรับปรุง, กรุงเทพฯ; หา งหุน สว นสามัญนติ ิบคุ คล สหประชาพาณชิ ย. อมรรตั น แสงใสแกว และพัชนี สมกำลัง. (2561). การประยุกตใ ชแนวคิดการพยาบาลแบบองครวมใน ผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอว. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. ฉบับการประชุม วชิ าการครบรอบ 25 ป. 203 – 208. Christensen BL, Kockrow EO. (2011). Fundations and Adult Health Nursing.6th ed, St Louis: Mosby Elsevier. Selander LC. (2010). The power of environmental adaptation; Florence Nightingale’s original theory for nursing practice. J Holistic Nursing; 81(3): 133-4. Potter PA, Perry AG, Stockert, PA, Hall AM. (2013). Fundamentals of nursing. 8thed St. Louis: ElsevierMosby; 2013. 58

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 2 การพยาบาลพ้ืนฐาน ในการปอ งกันและควบคุมการแพรกระจายเชอื้ หัวขอ เน้ือหาประจำบท 1. ความหมายของการตดิ เชือ้ 2. วงจรการตดิ เชอ้ื กลไกและการติดเช้อื ของรางกายมนุษย 3. มาตรฐานในการควบคมุ การติดเชอ้ื และปองกนั การแพรกระจายเชือ้ 4. การพยาบาลเพอ่ื ควบคมุ การตดิ เชือ้ และปองกนั การแพรก ระจายเชือ้ จำนวนช่ัวโมงทีส่ อน: ภาคทฤษฎี 2 ช่ัวโมง วตั ถุประสงคเ ชงิ พฤติกรรม 1. บอกความสำคญั ของการปอ งกนั และควบคมุ การแพรก ระจายเช้อื ได 2. อธิบายวงจรของการติดเชื้อได จำแนกการแพรกระจายเชื้อตามชองทางตาง ๆ ของ เชอ้ื จลุ ินทรียแตล ะชนดิ ได 3. อธบิ ายความหมายและหลกั ปฏิบตั ขิ องการควบคมุ การแพรก ระจายตามหลักสากลได 4. อธิบายหลักการพยาบาลในการปอ งกนั การติดเช้อื และแพรกระจายเช้ือได 5. วางแผนการพยาบาลเพื่อปองกันการติดเชื้อและแพรกระจายเชื้อ การแยกผูปวยได ถูกตองตามสถานการณ 6. ระบุการทิ้งมูลฝอยติดเช้อื ไดถ ูกตอ ง วธิ ีสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. วิธีสอน 1.1 บรรยายแบบมสี วนรว ม 1.2 อภปิ รายกลุม 1.3 มอบหมายงานกรณีศึกษา 59

2. กิจกรรมการเรียนการสอน 2.1 บรรยายเรื่อง การติดเชื้อ วงจรการติดเชื้อ มาตรฐานในการควบคุมการติดเชื้อและ ปองกันการแพรกระจายเชื้อ หลักการเก็บรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อที่เกี่ยวของกับการรักษาพยาบาล กระตุนผูเรยี นรว มอภปิ รายและยกตวั อยางในแตละหัวขอ และสุมผเู รยี นตอบคำถาม 2.2 ยกตัวอยางกรณีศึกษาและมอบหมายงานกลุมยอย ใหวิเคราะหกรณีศึกษาและวาง แผนการพยาบาลเพื่อควบคุมการติดเชื้อและปองกันการแพรกระจายเชื้อตามชองทางของการพร กระจายเช้ือ (mode of transmission) นำเสนองานและรว มกนั แสดงความคิดเห็น 2.3 สรปุ การเรยี นรูและใหผเู รียนสะทอ นคิด สอ่ื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. โปรแกรมสำเร็จรูป Power Point Presentation 3. ใบงานกรณศี กึ ษา การวัดผลและประเมนิ ผล 1. การเขาช้นั เรียนรวมกบั การสังเกตพฤติกรรมการเรยี น 2. การสงั เกตการมสี วนรวมในอภปิ ราย การตอบคำถามและการนำเสนองาน 3. ตรวจความถกู ตอ งของใบงาน 4. การทำแบบฝก หัดทายบท 4. การสอบกลางภาค 60

บทท่ี 2 การพยาบาลพืน้ ฐาน ในการปอ งกันและควบคุมการแพรก ระจายเชือ้ การติดเชื้อเปนปญหาสาธารณสุขที่สำคัญในทุกประเทศทั่วโลก โดยสาเหตุของการติดเช้ือ เกิดจากเชื้อโรคที่อยูทั่วไปทั้งในรางกายมนุษยและสิ่งแวดลอม การควบคุมและปองกันการ แพรกระจายเชื้อ จึงเปนบทบาทสำคัญของพยาบาลในการใหการพยาบาลแกผูปวยที่เขามารับการ รักษาในโรงพยาบาล ซึ่งมีความตานทานตอโรคตางๆ ต่ำลง และมีโอกาสรับเชื้อโรคเพิ่มขึ้นจากการ รักษาที่ไมถูกเทคนิค หรือไมมีการควบคุมการติดเชื้อที่ดีพอ ดังนั้นพยาบาลจึงควรมีความรูเกี่ยวกับ วิธีการปฏิบัติเพื่อปองกันการติดเชื้อ และวิธีการทำลายเชื้อโรควิธีตางๆ ทั้งในสถาบันและชุมชน เพื่อที่จะไดใหคำแนะนำแกผูรับบริการไดถูกตอง อันจะชวยปองกันการแพรกระจายเชื้อโรคไปสู บคุ คลอื่น ๆ 2.1 ความหมายของการติดเชอื้ (Infection) การตดิ เช้ือ หมายถงึ การท่รี า งกายไดรับเชอื้ กอโรคเขา ไป เช้ือนัน้ มีการแบง ตัวเจริญเติบโตใน รา งกาย จนทำใหรางกายไมส ามารถทำหนาท่ีไดตามปกติ การตดิ เช้อื จนทำใหเ กิดโรคหรือเรียกวา โรค ติดเชื้อ เปนปญหาที่มีความสำคัญของประเทศไทย โดยเฉพาะการติดเชื้อในผูที่มีรางกายออนแออยู แลว เชน เดก็ เลก็ ผูสงู อายุ ผปู วย การตดิ เชื้อในโรงพยาบาล (health-care associated infection(HAI) /nosocromial infection) หมายถงึ การติดเชื้อท่ผี ูป วยไดรับเช้อื ขณะรบั การตรวจ/รกั ษาในสถานพยาบาล ไมร วมถึง การติดเชื้อที่ผูปวยไดรับเชื้อมากอนและเขาโรงพยาบาลในระยะฟกตัวของโรคและ การติดเชื้อของ บคุ ลากรทางการแพทย อนั เนอ่ื งมาจากการปฏบิ ัติงาน และ แพทยผูใหการรักษาวินจิ ฉัยวา เปนการติด เชื้อในโรงพยาบาล (ยงค รงครุงเรือง และ จริยา แสงสัจจา, 2556) การติดเชื้อในโรงพยาบาล สงผล ใหผูปวยมีอาการเจบ็ ปว ยท่รี ุนแรงมากขึ้น ตอ งใชย าปฏิชวี นะมากขน้ึ ซงึ่ เปนสาเหตุของการเกิดเช้ือดื้อ ยาในโรงพยาบาล สงผลตอการสูญเสียคาใชจายมากขึ้น การนอนโรงพยาบาลของผูปวยนานขึ้น อาจ สง ผลตอ ความพกิ ารและอาจทำใหถ ึงชีวิตได นอกจากนีห้ ากการควบคมุ การแพรกระจายเชื้อไมถูกตอง 61

อาจมีการแพรกระจายเชื้อไปสูผูปวยรายอื่น ญาติผูปวย บุคลากรและอาจมีการแพรกระจายไปสู ชุมชนได คำศพั ท ความหมาย คำศพั ท ความหมาย Aerobic ตองใชอ อกซเิ จน exogenous เกิดข้นึ จากภายนอก anaerobic ไมต อ งใชออกซิเจน endogenous เกิดขึ้นจากภายใน Agent เชือ้ กอ โรค Infection การตดิ เชอื้ Pathogens ส่ิงกอ โรค Health care associated การตดิ เช้อื ใน virus เช้ือไวรสั / Nosocromial infection โรงพยาบาล Bacterial เชอ้ื แบคทีเรยี disinfection การฆาเช้ือ parasite ปรสิต Asepsis ทำใหป ลอดเชอื้ fungi เชือ้ รา sterilization ทำใหป ลอดเช้อื Host เจาบาน contamination การปนเปอ น Colonization การเพ่ิมจำนวน Reservoir แหลง ของเชอ้ื โรค ตารางท่ี 2-1 แสดงคำศัพทส ำคญั ทเ่ี ก่ยี วของปองกันและควบคมุ การแพรกระจายเชื้อ 2.2 วงจรการตดิ เช้อื กลไกและการตดิ เชื้อของรางกายมนษุ ย 2.2.1 วงจรการติดเช้อื (chain of infection) วงจรของขบวนการตดิ เชอ้ื การติดเชอ้ื ท่ีเกิดข้ึนจำเปน ตองอาศยั ปจจัยหลายอยา งทเ่ี กย่ี วของ ดังมีวงจรกระบวนการติดเชื้อ 6 ประการ 1) เชอื้ กอโรค (infectious agent) โดยเชอ้ื กอโรคนม้ี หี ลายชนดิ ไดแ ก เชื้อไวรัส เชอื้ แบคทีเรยี เช้ือรา และปรสิต ซ่งึ ความรุนแรงในการกอโรคขึ้นอยูกบั ความสามารถในการเจรญิ เติบโต ของเชื้อโรค (virulence) ความสามารถในการเขาสรู า งกาย(invasive) และความสามารถในการกอ โรค (pathogenicity) เช้อื กอโรคสว นใหญเ ปน เชือ้ แบคทเี รีย 2) แหลงของเชื้อโรค (Reservoir) คอื แหลง ทเ่ี ชื้อโรคอาศัยอยแู ลวมีการเจรญิ เตบิ โต แบง ตวั ขยายพนั ธุได เชน เชื้อราท่ีมีอยใู นส่งิ แวดลอ ม อาหาร เช้อื ไขเลือดออก (dengue virus) ท่ี อาศัยอยใู นยงุ ลาย เปนตน โดยสง่ิ มชี วี ิตท่ีเปน แหลง ท่ีอยูอาศยั ของเช้ือโรค โดยที่สง่ิ มชี วี ติ นัน้ ไมเ กิด โรคหรือไมแสดงอาการ เรยี กวา พาหะ (carrier) โดยเชอื้ ท่ีกอโรคในคน แบง เปน 2 แหลง คอื 62

(1) เชื้อที่มาจากรางกายของผูปวยเอง (endogenous pathogen) โดยปกติใน รา งกายคนจะมีเชื้อโรคอาศัยอยู เรยี กวา เชอ้ื ประจำถน่ิ (normal flora) โดยเชอ้ื เหลา น้จี ะอาศัยอยูใน ลักษณะพึ่งพากัน มีสวนในการปองกันการเกิดโรคในรางกายสวนนั้น หรือมีสวนชวยใหระบบของ รา งกายทำงานไดมีประสิทธภิ าพมากขึ้น เชน เชอ้ื แบคทเี รียชนดิ E. coli ทอ่ี าศยั อยูในลำไสเล็กมีสวน ชวยในการสรางสารยบั ย้ังการทำงานของแบคทีเรียหรือเช้ือราชนิดอื่น ๆ ซึง่ ชว ยปองกันเช้ือโรคใหกับ ลำไสได แตหากรางกายออนแอ เชน ผูปวยโรคภูมิคุมกันบกพรอง เชื้อเหลานี้จะสามารถกอโรคได หรือเมื่อเช้อื เหลานีไ้ ปอยใู นอวยั วะอืน่ กจ็ ะกอ โรคไดเ ชนกนั (2) เชื้อที่มาจากภายนอกรางกาย (exogenous pathogen) คือ เชื้อโรคที่มีอยูใน สงิ่ แวดลอมรอบตวั ในสตั วท่เี ปน พาหะตาง ๆ รวมถงึ เชอ้ื โรคท่อี ยูในรา งกายของบคุ คลอื่น 3) ทางออกของเชื้อโรคจากแหลงแพรเชื้อโรค (portal of exit) คือ ทางที่เชื้อโรค ออกแหลง ทีอ่ ยูอาศัย ซ่งึ เชอ้ื โรคแตละชนดิ จะมาทางออกท่ีแตกตางกัน เชน ระบบทางเดินหายใจ เช้ือ โรคออกมาทางน้ำมูก น้ำลาย การไอ การจาม ระบบทางเดินอาหาร โดยเชื้อโรคออกมากับปสสาวะ อุจจาระ ระบบเลือด โดยการเกิดโรคมาจากการสัมผัสเลือด นอกจากนี้ยังเกิดในระบบการไหลเวียน เลือดของหญิงตั้งครรภที่สามารถถายทอดไปยังทารกในครรภได ระบบอวัยวะสืบพันธ ซึ่งเปนการ แพรก ระจายเชื้อจากการมีเพศสัมพนั ธ 4) สิ่งนำเชื้อหรือวิธีการแพรกระจายเชื้อ (mode of transmission) เชื้อโรค สามารถแพรก ระจายแหลง เก็บกักเช้อื ไปสผู ูร บั เชอ้ื โดยมีวิธกี ารแพรกระจาย 3 ทางหลกั ดงั นี้ (1) การแพรกระจายจากการสมั ผสั เชือ้ (contact transmission) อาจเปนการสมั ผัส โดยตรง เชน การสัมผัสเลือด สารคัดหลังโดยตรง การสัมผัสเชื้อที่อยูบ ริเวณขางเตียง หรือการสัมผสั โดยออม เชน การสมั ผัสผูที่ติดเช้ือแลว ไปสมั ผัสบุคคลอน่ื อีกโดยไมไดลางมือ การใชของรวมกันกับผูท่ี ตดิ เช้ือ การเลนของเลน รว มกับผทู ่ีติดเชื้อ (2) การแพรกระจายทางละออง (droplet transmission) เปนการสัมผัสเชื้อใน รูปแบบของละอองน้ำ ขนาดใหญมากกวา 5 ไมครอน ท่ีลองลอยอยใู นอากาศไดระยะเวลาหน่ึง ไมไ กล เกินกวา 3 ฟุต จากแหลงของเชื้อโรค เชน การไอ จาม รดกัน การทำหัตถการตาง ๆ เชน การดูด เสมหะ เน่ืองจากการแพรกระจายเช้ือทางละอองน้ี จะอยูในอากาศไดไมน านกจ็ ะตกสูพน้ื หรือเกาะติด กับส่ิงของตาง ๆ ซึง่ จะแพรก ระจายไดห ากมีการสัมผัสเชอื้ (contact transmission) (3) การแพรก ระจายเช้ือทางอากาศ (airborne transmission) เปน การแพรกระจาย เชื้อผานละอองน้ำมูก น้ำลาย สปอรของเชื้อโรคตาง ๆ ที่มีอนุภาคเล็กมากกวา 5 ไมครอน เชน เชื้อ โรค SARS, ไขหวัดนก ซึ่งสามารถแพรกระจายไปไดไกลและลองลอยอยูในอากาศไดนานกวาเชื้อที่ แพรก ระจายทางละอองน้ำ 63

5) ทางเขาของเชื้อที่ทำใหเกิดโรค (Portal of entry) เชื้อโรคสามารถเขาสูรางกาย ไดตามทางระบบตาง ๆ เชน ผิวหนัง บาดแผล ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ทางเดินปสสาวะ นอกจากนี้การใสสายสวนตา ง ๆ เขาไปในรางกายผูป วยจะเปนทางใหเชือ้ โรคเขาสูรางกายไดงา ยมาก ขน้ึ เชน การใหสารนำ้ ทางหลอดเลอื ดดำ การคาสายสวนปสสาวะ 6) ความไวของแตล ะบคุ คลในการรับการติดเช้ือ (Susceptible host) เมือ่ ไดรับเช้ือ เขาสรู างกายแลวการท่ีเช้ือจะกอโรคข้นึ อยูกับความไวในการรับเช้ือของผูปว ย โดยปกติรางกายคนจะ มีระบบภูมิคุมกันที่ชวยทำลายเชื้อได แตหากผูที่มีภูมิตานทานต่ำไดรับเชื้อโรคจะทำใหมีความไวใน การเกิดโรคได นอกจากน้ีผูท่ีมคี วามไวในการรับเช้อื เชน เด็กเล็ก ผสู ูงอายุ เปน ตน รูปภาพท่ี 2-1 แสดงวงจรการตดิ เชอ้ื (chain of infection) ทมี่ า: http://www.ottawapublichealth 2.2.2 กลไกการปอ งกนั การติดเช้อื ของรางกาย (Body defense mechanism) รางกายจะมีกลไกปองกันการติดเช้ือโดยธรรมชาติอยูแลวแตถาอวัยวะหรือกลไกเสียไปหรือ ถูกทำลายจะทำใหมีโอกาสเส่ียงตอการตดิ เชื้อไดงา ย และจะรุนแรงขึน้ จนเสียชีวิตได กลไกการปองกัน การติดเชอ้ื ดงั นี้ 1) ผิวหนัง ปองกนั และลดเชื้อจลุ ชีพท่ตี ิดอยกู บั ผิวหนังช้นั นอกใหห ลดุ ไป 2) ปาก เปน ตัวปองกนั เชื้อจลุ ินทรีย กำจดั เชื้อโรคดว ยการบว นทิ้งทางน้ำลาย 64

3) ระบบทางเดินหายใจ จบั สงิ่ แปลกปลอมเล็กๆ การพดั โบกใหออกไปและทำใหไอ จาม ออกไป 4) ระบบทางเดินปสสาวะ เปน การไลเ ช้อื จลุ ินทรยี ใ นกระเพาะปสสาวะและทอ ปสสาวะ 5) ระบบทางเดินอาหาร ในภาวะเปน กรดจะสามารถทำลายเชือ้ จลุ ินทรียไ ด และปองกัน การคั่งของแบคทเี รยี 2.2.3 ปจจยั ที่มีผลตอการติดเชอ้ื (Infection factor) 1) ความเครียด (stress) เน่ืองจากเม่ือเกิดความเครยี ดขึ้น สมองจะหลังสารส่ือประสาท ที่สงผลยับยั้งการทำหนาที่ของตอมน้ำเหลือง ทำใหระบบภูมิคุมกันทำงานไดนอยกวาปกติ สงผลให เช้อื โรคสามารถกอ เชอ้ื ทีร่ นุ แรงได 2) ภาวะทุพโภชนาการ (malnutrition) เนื่องจากสารอาหารมีสวนในการทำงานของ ระบบภมู คิ ุมกนั โดยเฉพาะโปรตีนซ่ึงเปนสว นประกอบของภมู ิคุมกนั 3) ความออนเพลีย การพักผอนไมเพียงพอ หรือการทำงานหนักเกินไป ซึ่งทำใหระบบ ภูมคิ มุ กันทำงานไดไมเต็มที่ 4) ความรอนหรือความเย็นที่มากเกินไป เนื่องจากรางกายตองทำหนาที่ในการปรับตัว เพอ่ื ใหร า งกายสามารถคงอยูไ ด จึงลดการทำหนา ทข่ี องระบบภูมิคุมกนั ลง 5) โรคประจำตัวเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกัน เชน โรคภูมิแพ โรคภูมิคุมกันบกพรองท่ี ถา ยทอดทางพนั ธกุ รรม หรอื ผทู ่ีมกี ารเจบ็ ปว ยเรื้อรงั ทกุ ชนิดท่มี ผี ลตอการทำงานของระบบภูมคิ ุมกัน 6) เพศ เปนปจจัยที่มีผลตอการติดเชื้อที่แตกตางกัน จากการมีโครงสรางรางกายท่ี แตกตา งกัน เชน ในเพศหญงิ จะมีการติดเชื้อในระบบทางเดินปส สาวะไดม ากกวาเพศชายเน่ืองจากทอ ปสสาวะทสี่ น้ั มากกวาเพศชาย 8) ผลขางเคียงของการรักษา การรักษาโรคที่มผี ลทำใหภูมคิ ุมกันทำหนาที่ไดลดลง เชน การรกั ษาดว ยเคมีบำบดั 9) อาชีพ การประกอบอาชีพทมี่ คี วามเสีย่ งตอการสัมผสั กับเช้ือโรค 65

2.3 มาตรฐานในการควบคมุ การติดเชือ้ และปอ งกนั การแพรก ระจายเช้อื การปองกนั การติดเชอื้ และแพรก ระจายเช้ือคอื การตดั วงจรของการตดิ เช้อื และลดปจจัยทม่ี ี ผลตอการติดเชื้อ โดยมีหลักการทส่ี ำคญั ดงั น้ี 2.3.1 ภาวะปลอดเชือ้ ภาวะปลอดเชอื้ (Asepsis) หมายถงึ การปฏิบตั ิเพอ่ื ลดความเส่ยี งตอการตดิ เชื้อที่จะเกิดกับ เครื่องมือเครื่องใชทางการแพทยและสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนการตัดวงจรของการติดเชื้อ (ณัฐสุรางค บุญ จนั ทร, 2559) การลดแหลง ของเชือ้ โรคและการแพรก ระจายเช้อื แบง ออกเปน 2 ชนิด ดงั น้ี 1) medical asepsis หรือ clean technique หมายถึง การปฏิบัติเพื่อลดจำนวนเช้ือ โรคหรือปองกันการแพรกระจายเชื้อโรค ดวยการทำใหเครื่องมือเครื่องใช สิ่งแวดลอมสะอาด ซ่ึง เกี่ยวของกับกิจกรรมการพยาบาลเปนสวนใหญ กิจกรรมการพยาบาลประกอบไปดวย การลางมือ กอนและหลังสัมผัสผูปวย การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใชที่ผานการใชงาน การเปลี่ยนผาปูที่ นอน การทำความสะอาดผูปวย การทำความสะอาดส่ิงแวดลอ มขา งเตยี งและภายในหอผปู ว ย 2) เทคนิคการปลอดเชื้อ (surgical asepsis หรือ sterile technique) หมายถึง การ ปฏิบัติเพื่อใหเครื่องมือเครื่องใชปลอดเชื้อและคงภาวะปลอดเชื้อ หลีกเลี่ยงการปนเปอน (contamination) ใชในการปฏบิ ัติการพยาบาลภายใตส่ิงแวดลอมทีป่ ลอดเชือ้ ไดแก หองผาตัด หอง คลอด และกจิ กรรมการพยาบาลทตี่ องใชเ ทคนิคปลอดเชอ้ื (aseptic technique) เชน การฉดี ยา การ สวนปส สาวะ การดดู เสมหะ 2.3.2 เทคนิคการทำลายเช้ือและการทำใหป ราศจากเชอ้ื 1) การลาง (Cleansing) เปนการกำจัดสิ่งสกปรกออกจากวัสดุอุปกรณดวยการลา ง การ แปรง การเช็ด โดยใชสบู ผงซักฟอก หรือสารเคมีสำหรับลา ง เปน ข้นั ตอนแรกของการทำความสะอาด อุปกรณซึ่งตองลางใหสะอาดมากที่สุดที่สามารถมองเห็นได การลางใชกับวัสดุอุปกรณประเภท เครื่องมือเครื่องใชธรรมดา (non-critical items) เปนเครื่องมือที่สัมผัสผิวหนังที่ปกติได เชน แกวยา โตะขางเตยี ง ราวกั้นเตียง เครื่องวัดความดันโลหิต กระบอกปสสาวะ หมอนอน ผาตางๆ การลางมี 2 ประเภท ไดแก (1) การลางดวยมือ กอนลางตองแชอุปกรณดวยน้ำยาฆาเชื้อ (disinfectant) ผู ปฏิบัติตองใชถ ุงหนาชนดิ หนา และเครอื่ งปอ งกนั รางกาย ปอ งกันการสัมผัสเช้อื โดยตรง (2) การลางดวยเครื่องลางอัตโนมัติ โดยโรงพยาบาลอาจจะติดเครื่องไวที่หนวยจาย กลาง (central supply unit) จะมกี ารลา งและจดั อปุ กรณเ ขา ไปในเครื่อง 66

2) การทำลายเชือ้ (disinfection) เปนการทำลายเชื้อจุลินทรยี จนไมสามารถกอโรค ได แตไมสามารถกำจัดสปอรไดหมด ซึ่งสปอรอาจมีการแบงตัว จนสามารถกอโรคไดในอนาคต การ เลือกวิธที ำลายเชอ้ื ขึน้ อยกู บั ประเภทของวสั ดุ อุปกรณนน้ั ๆ การทำลายเชื้อใชในวัสดอุ ุปกรณประเภท กึ่งสำคัญ (semi-critical items) ซึ่งเปนเครื่องมือที่สัมผัสเยื่อบุรางกายหรือบาดแผล ซึ่งเยื่อบุเหลานี้ รางกายสามารถปองกันการกอโรคจากสปอรได การทำลายเชื้อสามารถทำไดทั้งวิธีทางกายภาพและ การใชสารเคมี ดงั น้ี (1) การตม เปนวิธีการทำลายเชื้อที่ดี งาย ประหยัด ซึ่งการตมจะตองใสน้ำให ทวมอุปกรณที่ตองการตม ตมในน้ำเดือด 100 c0 นานอยางนอย 20 นาทีจึงจะสามารถฆาเชื้อไวรัส เช้อื รา แบคทเี รียได อปุ กรณทน่ี ิยมใชวิธีตมไดแ ก อปุ กรณท ที่ ำดว ยโลหะ เคร่อื งแกว (2) การใชสารเคมี สารเคมีที่ใชใ นการทำความสะอาดอปุ กรณมี 2 ประเภท ดังนี้ - น้ำยาระงับเชื้อ (antiseptic) หมายถึง สารเคมีที่ใชยับยั้งการเจริญเติบโต ของเชอ้ื แบคทีเรยี เชือ้ รา เชื้อไวรัส ไดแตมาสมารถกำจดั สปอรของแบคทีเรยี ได ใชท ำลายเชื้ออุปกรณ ที่อยูภายนอกรางกาย ไมเปนอันตรายตอผิวหนัง ไดแก 70 % alcohol, 2% chlorhexidine in 70 % alcohol, Hibiscrub (4% chlorhexidine gluconate in surfactant solution) น้ำยาระงับเชื้อ เหลา น้ีสว นใหญใ ชใ นการทำความสะอาดผวิ หนังกอนทำหตั ถการ หรือใชใ นการลา งมอื - น้ำยาฆาเชื้อ(disinfection) หมายถึง สารเคมีที่ใชทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อ รา แตไมสามารถทำลายเชื้อไวรัสและสปอรของแบคทีเรียได และเปนอันตรายตอ ผิวหนังจึงใชใ นการ ทำลายเชื้อในอุปกรณเครื่องใชและพื้นที่ผิว ผนังตาง ๆ เชน อุปกรณชวยหายใจ เทอรโมมิเตอรวัด อุณหภูมิรางกาย ใชเวลาในการแชนาน 30 นาที น้ำยาทำลายเชื้อระดับสูง ไดแก 2% glutaraldehyde, 0.5 % hypochlorite ใชสำหรับแชเ ครอ่ื งมือท่ีไมใชโ ลหะ เนอื่ งจากมฤี ทธ์ิเปนกรด ซ่งึ ทำใหโ ลหะกรอ นได สำหรับนำ้ ยาทำลายเชือ้ ขนาดต่ำไดแ ก 2-5 % Lysol solution 3) การทำใหปราศจากเชื้อ (Sterilization) หมายถึง การกำจัดเชื้อจุลินทรียอยาง สมบูรณจนถึงระดับสปอร การทำใหปราศจากเช้ือมีทั้งวิธีทางกายภาพและการใชสารเคมี โดยวิธีที่ นิยมใช เชน การอบไอน้ำภายใตแรงดัน การใชกาซเอธิลีนออกไซด โดยวัสดุอุปกรณที่ตองทำให ปราศจากเชอ้ื เปนเครื่องมือท่ีตองสอดเขาไปในรางกายซึ่งมีสภาวะปราศจากเช้ือ อุปกรณเหลานี้อยูใน ประเภทสำคญั (critical item) โดยวิธกี ารทำใหป ราศจากเชื้อท่ใี ชในโรงพยาบาลมี 2 วธิ ีหลัก ดงั นี้ 67

(1) วธิ กี ารทางกายภาพ ไดแ ก - การใชรังสี (Radiation) เปนการใชรัวสีอัลตราไวโอเลต สามารถฆาเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัสบางชนิดได แตไมสามารถฆาเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสเอดส ได นิยมใชในการลด จำนวนเชอ้ื โรคในอากาศ เชน หองผาตัด หองปฏิบตั กิ ารทำหตั ถการทสี่ ำคัญ ใชเวลาในการทำลายเช้ือ 6- 8 ชั่วโมง - การใชความรอ นแหง (Dry or hot air sterilization) สามารถทำลายเช้ือได ท่ีอุณหภมู ิ 165 -170 C0 ใชร ะยะเวลาอยางนอ ย 3 ช่ัวโมง ใชส ำหรับสิง่ ของมคี มเพราะไมทำใหเสียคม เคร่อื งแกว และใชป องกนั สนมิ ในเครื่องมอื ที่ไมไดทำมาจากสแตนเลสได ไมเ หมาะกับผาและยาง - การอบไอน้ำภายใตความดัน (steam under pressure) เปนวิธีการที่มี ประสิทธิภาพที่สุด ประหยัด เหมาะกับเครื่องมือที่เปนผิวเรียบ แข็ง ทนความรอนและความชื้อสูงได เชน เครื่องมือผาตัด เครื่องมือเครื่องใชที่ทำดวยสแตนเลส transfer forceps ชุดทำแผล ชุดสวน ปสสาวะ เคร่ืองอบไอนำ้ ทน่ี ิยมใชในทางการแพทย เชน Autoclave เปนหมอ อัดความอันไอน้ำแรงสูง ใชอุณหภูมิ 121 – 123 c0 ภายใตความดัน 15 -17 ปอนดตอตารางนิ้ว ระยะเวลานาน 15 -45 นาที การนำหอ ชุดอุปกรณเ ขาเคร่ือง autoclave ตองจดบันทกึ รายละเอียดของอปุ กรณ วันที่เขาเคร่ืองอบ วันหมดอายุ และใชกระดาษกาวที่เรียกวา autoclave tape ติดกับหอชุดอุปกรณ เมื่อนำเขาเครื่อง แลวกระดาษกาวนี้จะเปลี่ยนเปนลายเสนสีดำ แปลวา อุปกรณนั้นผานกระบวนการทำใหปลอดเช้ือ แลว (2) วิธกี ารทางเคมี ใชสำหรับอปุ กรณทไ่ี มสามารถใชวธิ ีทางกายภาพได ดงั น้ี - การใชแกสเอธิลีนออกไซด (ethylene oxide gas) เปนแกสที่มี ประสทิ ธิภาพสูงใชสำหรับอุปกรณท เี่ ปน พลาสตกิ โพลีเอธิลนี กลองสอ งตรวจภายในรา งกาย ภายหลัง อบแกสแลว ตองเก็บไวที่อุณหภูมิหอง 5 วัน หรือไวในอุณหภูมิ 120 c0 นาน 8 ชั่วโมงเพื่อใหกาซ ระเหยออกไปกอนจงึ จะใชได เพราะกา ซนเ้ี ปน พษิ และกอมะเร็งได - การใช 2 % glutaraldehyde ใชแชเครื่องมือนาน 3 – 10 ชั่วโมง เพื่อทำ ใหปราศจากเชื้อ ใชในเครื่องมอื ท่ีมเี ลนส เคร่ืองมือทางทันตกรรม เครอ่ื งชว ยหายใจ เคร่อื งมอื ท่ีมคี ม - การใช Peracetic acid มีคุณสมบัติกดั กรอนเม่อื อยูในน้ำอุน ใชแชป ระมาณ 35 -40 นาที ที่อุณหภูมิ 50 -55 c0 ใชในการทำใหปราศจากเชื้ออุปกรณทอสงระบบน้ำทำไตเทียม และสองกลอ งตรวจภายในตาง ๆ 68

2.4 การพยาบาลเพ่อื ควบคมุ การตดิ เช้ือและปองกันการแพรก ระจายเชอ้ื หลักปฎิบัติการพยาบาลเพื่อควบคุมการติดเชื้อและปองกันการแพรกระจายเชื้อคำนึงถึง วงจรการติดเขื้อเปนสำคัญ โดยเฉพาะชองทางการแพรกระจายเชื้อและการรับเชื้อเขาสูรางกาย หลักการสำคัญคือ การตัดวงจรระหวางผูแพรเชื้อและผูรับเชื้อ โดยพยาบาลตองมีความรูที่เกี่ยวของ ดงั นี้ 2.4.1 หลักปฏิบัติสำคัญในการลดจำนวนเชื้อหรือปองกันการแพรกระจายเช้ือ (medical asepsis) 1) คำนึงถึงวา เชอื้ โรคมอี ยทู ุกหนทกุ แหง ยกเวน เคร่ืองมือเคร่ืองใชป ลอดเช้อื 2) การลา งมอื บอยๆ เปน วธิ กี ารที่ดีทส่ี ุดในการปอ งกันการติดเชือ้ และแพรกระจายเชอ้ื 3) เลอื ด สารน้ำ สารคดั หล่งั เน้ือเยอื่ ทีอ่ อกจากรางกายใหตระหนักวา เปนแหลงของเช้ือ โรคสามารถแพรก ระจายเชอ้ื ไปสผู อู ่ืนได 4) ใชเครื่องปองกันรางกาย เชน ถุงมือ เสื้อคลุม ผาปดปากและจมูก และอื่นๆเมื่อมี โอกาสเสย่ี งตอ การตดิ เชอ้ื 5) เครือ่ งมือเคร่อื งใชท่ใี ชแลว หรือสกปรกตองไมใชสมั ผสั กับเสอ้ื ผา ท่พี ยาบาลสวมใส 6) ไมวางเคร่ืองมือ เสอ้ื ผา หรอื สิง่ ของที่ใชแลวไวบนพ้ืนเพราะทำใหพ้ืนสกปรกและเพิ่ม โอกาสในการแพรกระจายเชือ้ 7) หลีกเลี่ยงการทำใหเกิดฝุนฟุงกระจาย ไมสะบัดผาแลวทำความสะอาดพื้นดวยผา หมาด ๆ 8) ควรดูแลสขุ อนามยั ตนเองใหสะอาด เชน ผมยาวควรรวบเกบ็ ใหเรียบรอย เลบ็ ควรตัด สั้น และหลีกเลี่ยงการใสแหวน ซึ่งเปนแหลงสะสมของเชือ้ โรค 9) ทำความสะอาดสงิ่ แวดลอ มใหสะอาดโดยเฉพาะบริเวณพื้น อา งลางมอื หอ งสขุ า 10) มูลฝอยที่สัมผัสกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือสงสัยวามีการติดเชื้อใหทิ้งลงถังขยะติด เช้ือ เพอ่ื การกำจดั ขยะอยางถูกตอ ง 11) ปฏิบัติตามมาตรฐานการควบคุมการติดเชื้อและปองกันการแพรกระจายเชื้ออยาง เครง ครดั 69

2.4.2 หลกั สำคญั ในการคงสภาวะปลอดเช้อื (surgical asepsis) 1) ดูแลเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช สงิ่ ของปลอดเชือ้ น้ันคงความปลอดเช้ือตลอดเวลา ดงั นี้ (1) สงิ่ ของปลอดเชอ้ื ตองหยิบจับดว ยปากคีบปลอดเชื้อ (transfer forceps) หรือ ถงุ มือปลอดเชื้อ(sterile gloves) เทา นัน้ (2) การเปดผาหอสิ่งของปลอดเชื้อ ใหเริ่มจากการเปดมุมบนสุดของผาไปดาน ตรงขามกับผูทำ มุมผาดานในสดุ ของหอผาเปดเขาหาตัวผูทำ ไมขามกรายของปลอดเช้ือ หากเปนหอ สำเรจ็ รูปใชมอื ทง้ั สองขางฉกี หอสำเร็จรูปออกจากกนั โดยไมสมั ผสั ดา นในของหอปลอดเชอื้ (3) หลีกเลี่ยงการทำน้ำยาหกเปอนผาหอของปลอดเชื้อ ความชื้นจะเปนตัวพา เชื้อโรคทำใหเครื่องมือทอ่ี ยใู นหอผาเกิดการปนเปอน (4) หลกี เล่ยี งการพูดคยุ ไอ จามขา มกรายของปลอดเช้ือ (5) เครื่องมือเครื่องใชทางการแพทยทุกชนิดที่จะสอดใสผานผิวหนังเขาไปใน รา งกายผปู ว ยจะตอ งปลอดเชื้อ (6) การเติมของปลอดเชื้อลงในภาชนะหรือผาหอปลอดเชื้อหามวางชิดขอบนอก โดยใหว างหางจากขอบนอกประมาณ 2 ตารางนิ้ว เนอ่ื งจากบรเิ วณนั้นมคี วามเส่ียงตอการตดิ เช้ือได 2) เครอื่ งมือ เคร่อื งใช สง่ิ ของปลอดเช้ือตองอยูส งู กวา ระดับเอวและอยูในสายตา (1) การถือสิ่งของปลอดเชื้อหรือบริเวณที่วางสิ่งของปลอดเชื้อตองอยูสูงกวา ระดับเอว เพ่ือใหข องปลอดเชื้ออยใู นระดับสายตา (2) เมือ่ เปด สง่ิ ของปลอดเชอ้ื แลว ไมล ะท้งิ หรอื หนั หลงั ใหของปลอดเช้ือ (3) เมื่อสงสัยหรือไมมั่นใจเกี่ยวกับความปลอดเชื้อของสิ่งของตองเปลี่ยนสิ่งของ ใหมทันที 3) เครื่องมือ เครื่องใช สิ่งของปลอดเชื้อสัมผัสกบั สิ่งไมป ลอดเชื้อ ใหถือวาสิ่งของนัน้ ปนเปอน (contamination) ตองเปล่ียนใหม (1) ใชปากคีบปลอดเชื้อ (transfer forceps) แบบแหงหยิบจับของปลอดเช้ือ เทา ทจี่ ำเปน โดยไมค วรใชป ากคีบทีแ่ ชน้ำยาฆาเช้อื ซ่งึ ถือวา ไมป ลอดภัย (2) หามหยบิ จบั สิง่ ของปลอดเช้ือดว ยเครือ่ งมอื ท่ีไมป ลอดเชือ้ (3) ไมควรใชปากคีบหยิบขอบของภาชนะหรือใชปากคีบเปด หอผา ปลอดเช้ือ (4) ของปลอดเชื้อที่มีรอยฉีกขาดถือวามีการสัมผัสอากาศ ซึ่งถือวาไมปลอดเช้ือ แลว (4) ดแู ลใหข องปลอดเช้ือสัมผสั กับอากาศนอยท่ีสดุ หากเปด ใชต องรบี ปดทนั ที (5) หอของปลอดเชื้อที่เปดใชแ ลว แสดงวา เกิดการปนเปอนหามนำไปรวมกับของ ปลอดเช้ือ 70

2.4.3 การพยาบาลตามมาตรฐานในการควบคุมการติดเชื้อและการปองกันการ แพรก ระจายเช้ือ การกำหนดมาตรฐานในการควบคุมการติดเชื้อและการปองกันการแพรกระจายเชื้อตาม แนวปฏิบัติของคณะกรรมการดานการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล (hospital infection control practices advisory committee: HICPAC) รวมถึงศูนยควบคุมและปองกันโรคแหงชาติ ของอเมริกา (Center for disease control and prevention : CDC) ไดกำหนดมาตรฐานการ ควบคมุ การติดเชอื้ และการปอ งกนั การแพรกระจายเช้ือ ดงั น้ี 1) Standard precaution หมายถึง มาตรฐานการปองกันการติดเชื้อและการ ปองกันการแพรกระจายเชื้อตามมาตรการพื้นฐานในผูปวยทุกราย (standard precaution) คือ มาตรการที่บุคลากรทางการแพทยทุกคนตองปฏิบัติในการดูแลผูปวยทุกราย โดยถือวาผูปวยทุกราย เปนพาหะของโรค มาตรการนี้ใชเมื่อบุคคลากรสัมผัสกับเลือด สิ่งคัดหลั่งทุกชนิดที่ออกจากรางกาย ยกเวน เหงอ่ื การสมั ผสั ผิวหนงั ที่เปนแผล เย่อื บุผวิ ตา ง มแี นวปฏบิ ตั ิดังน้ี (1) ปฏบิ ตั ิตามเทคนิคการลา งมอื อยางเครง ครดั (2) ใสถุงมือสะอาดเมื่อมีโอกาสสัมผัสเลือด สารคัดหลั่งจากรางกายผูปวย เครื่องมือที่มีโอกาสสัมผัสเยื่อบุตาง ๆ ผิวหนังที่มีบาดแผล เมื่อปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลเสร็จสิ้น แลวตอ งถอดถุงมอื ทนั ที (3) ใสเครื่องปองกันรางกาย เชน ผาปดปาก ปดจมูก แวนปองกันตา ชุดกระ บังหนา เมื่อปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลที่มีโอกาสเกิดการกระเด็นของเลือดสารคัดหลั่ง และใสเสื้อ คลุมเพอ่ื ปองกันการกระเด็นถูกผิวหนังหรือเส้ือผาทสี่ วมใส (4) ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยทางเดินหายใจและมารยาทการไอ (Respiratory hygiene and cough etiquette) หมายถึง การใหคำแนะนำผปู วย ญาติทมี่ าเย่ียม ใช กระดาษทิชชูปดปาก ปดจมูกเมื่อมีการไอ การจาม มีน้ำมูก หลีกเลี่ยงการอยูใกลผูที่มีอาการติดเช้ือ ทางเดินหายใจ หรือแยกผูปวยที่มีอาการติดเชื้อทางเดินหายใจที่รุนแรงใหหางจากผูอื่นอยางนอย 3 ฟตุ (5) การปองกันการถูกเข็มหรือของมีคมทิ่มตำ (Prevention of needle stick and injuries from other sharp instruments) โดยหลีกเลย่ี งการสวมปลอกเข็มที่ผานการใช งานกับผูปวยมาแลว โดยใหปลดเขมลงในภาชนะทิ้งเข็มทันที หามสวมปลอกเขมดวยมือทั้งสองขาง หากจำเปนตองสวมปลอกเข็มตองใชมือเดียว (one handed scoop technique) เพื่อนำไปทิ้งใน ภาชนะทิ้งเขม็ ตอไป หากไดร บั อบุ ัติเหตุถูกเข็มหรือของมีคมทิม่ ตำ ตอ งรีบลางบาดแผลดวยน้ำและสบู 71

ไมบีบเคนแผล แลวเช็ดตามดวยน้ำยาฆาเชื้อ เชน 70% alcohol, betadine, 5% chlorhexidine gluconate และรายงานทีมพยาบาลเพอื่ ปฏิบัตติ ามแนวปฏิบตั ขิ องแตล ะโรงพยาบาลตอไป รูปภาพท่ี 2-2 แสดง การทิ้งเขม็ ในภาชนะท้ิงเข็ม ท่มี า: https://www.youtube.com/watch?v=5A0oGAizWQI รูปภาพท่ี 2-3 แสดงการสวมปลอกเข็มดวยเทคนิคมือเดียว ที่มา: https://www.vumc.org/safety/bio/using-sharps-in-lab (6) การฉีดยาอยางปลอดภยั ควรยาฉดี ควรเปน ชนิดใชค ร้ังเดยี ว (7) การปองกนั การตดิ เช้อื จากการเจาะไขสนั หลัง การใสส ายสวนทางหลอด เลอื ดดำ และการเจาะไขสันหลังตองสวมผา ปด ปากและจมูก (8) อุปกรณเคร่ืองใชท างการแพทยท่ตี อ งนำมาใชใหม ตองทำความสะอาด อยา งถูกตองตามหลักการกอนนำไปใชกับผูป ว ยรายอืน่ (9) ทำความสะอาดสิง่ แวดลอมขางเตียงผูปว ยใหส ะอาดอยูเ สมอ 2) Transmission- based precaution Transmission- based precaution หมายถึงการปองกันการแพรกระจายเชื้อ ในผปู ว ยที่สงสัยหรือทราบวาเปนโรคติดเช้ือดว ยการแยกผปู วย (isolation) เพอ่ื จำกัดขอบเขตของเชื้อ ใหอ ยูเฉพาะทีแ่ ละใชเครือ่ งปอ งกนั รางกายตามลกั ษณะการแพรกระจายเชอ้ื การแยกผูปว ยใหทำทันที 72

ที่ทราบวาผูปวยมีโอกาสแพรกระจายเชื้อไปยังผูอื่น โดยการแยกใหอยูในหองที่มีแรงดันลบตาม มาตรฐานสากล หากไมมีหองแรงดนั ลบอาจแยกใหอยูในหองที่ไมมีผูป วยอื่นหรอื ใหหางจากผูปวยอื่น มากกวา 3 ฟุต และมีการถายเทอากาศที่สะดวก การแยกผูปวยอาจจำแนกออกเปน 7 แบบ คือ การ แยกผูปวยในรายท่ีเปนโรคติดตอทางระบบทางเดินหายใจ (respiratory isolation) โรคติดตอทาง ร ะ บ บ ท า ง เ ด ิ น อ า ห า ร ( enteric precaution) โ ร ค ต ิ ด ต  อ ท า ง บ า ด แ ผ ล แ ล ะ ผ ิ ว ห นั ง (drainage/secretion precaution) โรคติดตอรายแรงและติดตองาย (strict isolation) โรคติดตอ ทางเลือด และน้ำเหลือง (blood/body fluid precaution) การแยกผูปวยในรายที่สงสัยวาจะเปน โรคติดตอ (contact isolation) เสี่ยงตอการติดเชื้อสูง หรือการแยกผูปวยที่มีภูมิตานทานต่ำ (protective or reverse isolation) การปองกันการแพรกระจายเชื้อตามวิธีการแพรกระจายเชื้อ มี ดงั นี้ (1) contact precaution (CP) เปนการปองกันการแพรกระจายเชื้อที่เกิด จากการสัมผัสโดยตรงและการสัมผัสโดยออม เชน ผูปวยติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร ผิวหนัง ผูปวย มาบาดแผล ผปู ว ยติดเชอ้ื ด้ือยาหลายกลุม เชน MRSA, VRE อปุ กรณปองกนั รางกายที่ตองใชไดแ ก ถุง มอื เส้อื คลุม (2) Droplet precaution (DP) เปนการปองกันการแพรกระจายเชื้อที่เกิด จากการติดเชื้อที่สามารถแพรกระจายไดทางละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย เชน ผูปวยที่มีการติดเช้ือ ระบบทางเดินหายใจ เชื้อไวรัสไขหวัดใหญ โรคปอดบวม ควรอยูหางจากผูปวยมากกวา 3 ฟุตหรือ 1 เมตร ใชผาปดปากและจมูกที่ไดมาตรฐาน หรือใสชุดปองกันรางกายแบบมาตรฐาน (standard personal protective equipment) (3) Airborne precaution (AP) เปนการปองกันการแพรกระจายเชื้อที่มี ขนาดเล็กมากกวา 5 ไมครอน และลองลอยอยูในอากาศไดนานพอสมควร เชน ผูปวยวัณโรคระยะ แพรกระจาย โรคไขหวัดนก SARS, COVID-19 ที่มีการทำใหเกิดละอองฝอย เชน ใสทอชวยหายใจ พนยา หรือตารวจคัดกรองหาเชื้อดวยวิธี Nasal swab กรณีการปองกันการแพรกระจายเชื้อแบบน้ี ผปู ว ยควรอยใู นหองแยก ใสผา ปดปากและจมูก โดยบคุ ลากรตองใสหนา กากปดจมูกที่มีประสิทธิภาพ สูง เชน Mask N95 ซึ่งสามารถกรองเชื้อโรคได 95 % ใสชุดปองกันรางกายแบบ full personal protective equipment 73

2.4.4 วิธีปฏิบตั ิในการปองกันการติดเช้อื และการแพรก ระจายเช้ือ 1) การลา งมือ การลา งมอื เปนมาตรการทส่ี ำคญั ในการปองกันการติดเช้อื และ แพรก ระจายเชอ้ื โดยการลา งมอื มี 4 ประเภท ดงั น้ี (1) การลางมือทั่วไป (normal hand washing) เปนการลางมือเผื่อกำจัดสิ่ง สกปรก ลดจำนวนเชือ้ โรคที่อาศัยอยูบนมือ โดยตองลางมือดวยน้ำและสบู ถูไปมาทั้งหมด 7 ขั้นตอน ตั้งแต ฝามือ หลังมือ ซอกนิ้วมือ ปลายนิ้วมือ นิ้วหัวแมมือ นิ้วมือทั้ง 4 และขอมือ ใชเวลาในการ ฟอกนานอยางนอย 15 วินาที ลางใหสะอาดดวยน้ำที่ไหลผานตลอดและเช็ดมือใหแหง โดยตองลาง มือใน 5 โอกาส (5 moment) คือ กอนสัมผัสผูปวย กอนทำหัตถการ หลังสัมผัสสารคัดหลั่ง เลือด หรือสง่ิ ที่สงสัยวาปนเปอ นเช้อื โรค หลังสมั ผัสผูปว ยและหลังสมั ผสั สิง่ แวดลอ มรอบเตียงผูปว ย รปู ภาพท่ี 2-4 แสดงการลางมือ 7 ข้นั ตอน ทมี่ า: Manila water foundation รปู ภาพที่ 2-5 แสดง ลางมือใน 5 โอกาส (5 moment) ท่ีมา: http://www.who.int 74

(2) การลางมือดวยแอลกอฮอลเจล (alcohol gel or alcohol based hand rub) เปน น้ำยาท่ใี ชส ำหรับทำความสะอาดมือ สามารถกำจดั เชอ้ื แบคทเี รยี แกรมบวก แกรมลบ เชอื้ รา เชื้อดื้อยา เชื้อไวรัส ใชในกรณีรีบดวนไมสะดวกในการลางมือดวยน้ำและมือไมปนเปอนสิ่งสกปรก อยางชัดเจน โดยใชแอลกอฮอลเจลประมาณ 3 มิลลิลิตร แลวลางมือ 7 ขั้นตอนเชนเดียวกันกับการ ลา งมือดว ยน้ำ แลว รอจนแอลกอฮอลเจลแหงจึงจะมปี ระสทิ ธิภาพในการกำจดั เชือ้ โรค (3) การลา งมอื ดวยน้ำยาฆา เชื้อ (hygienic hand washing) เปน การลางมือกอน ทำกิจกรรมการพยาบาลท่ีใชเทคนิคปลอดเชื้อและภายหลังสัมผัสผูป ว ยหรอื ส่ิงทีป่ นเปอนเช้ือโรคดวย สบูเหลวที่มีสวนผสมของน้ำยาฆาเชื้อ เชน hibiscrub โดยลางมือ 7 ขั้นตอน นานประมาณ 20 -30 วินาที (4) การลางมือกอนทำผาตัดหรือกอนทำหัตถการ (surgical hand washing) เปนการลางมอื กอนทำหัตถการในหองผา ตัด หอ งคลอด โดยการฟอกมือดวยสบูผ สมน้ำยาฆา เช้ือ เชน 4 % Chlorhexidine ตั้งแตมือ แขน ถงึ ขอศอกใหท ัว่ ถึงเปน เวลา 2- 5 นาที แลว ลางน้ำใหส ะอาดและ เชด็ ดว ยผาแหงปราศจากเช้ือ 2) การใชถ ุงมอื (gloves) ควรเลอื กใชถ งุ มือใหเหมาะสมกับการใชงาน โดยพึงระลึก เสมอวาการใสถุงมือไมสามารถปองกันของมีคมได และประสิทธิภาพของถุงมือจะลดลงหากใชนาน เกิน 30 นาที ถงุ มือมที ง้ั หมด 2 ประเภท การเลอื กใชถ ุงมอื มีหลกั การ ดังนี้ (1) ถงุ มือสะอาด (clean or disposable gloves) เปน ชนิดใชค รง้ั เดยี วทิ้ง ใชใน กรณีปอ งกนั สิง่ สกปรกสัมผัสมอื หรอื กรณดี แู ลผูปว ยที่มีความตานทานต่ำ (2) ถงุ มอื ปลอดเชื้อ (sterile gloves) ใชในกรณตี อ งการความปลอดเชื้อ เชน การ ทำหตั ถการตา ง ๆ ในหอ งผา ตัด การใสส ายสวนปสสาวะ การดดู เสมหะ การใสส ายสวนหลอดเลือดดำ สวนกลาง หลักการใสถ ุงมือมดี งั นี้ - เลือกขนาดถุงมือใหพอเหมาะกับมือ ใสถุงมือเมื่อปฏิบัติกิจกรรม ไมควรใส ไวล วงหนา ควรใสถ ุงมอื ในกรณีที่บุคคลากรมบี าดแผลท่มี ือเพ่ือปองกันการตดิ เชือ้ เขาสูรา งกาย - ลางมือใหสะอาดกอนใสถุงมอื - เปลี่ยนถุงมือทุกคร้ังเมื่อจะปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลผูปวยรายใหม หรือ ภายหลงั สมั ผัสส่ิงปนเปอน เปลีย่ นถุงมือทกุ ครั้งท่พี บวา ถงุ มอื ร่วั 75

- ขณะใสถุงมือปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลหามทำกิจกรรมที่มีโอกาส แพรกระจายเชื้อ เชน จับมา น ออกไปนอกเตียงผูป ว ย หยับแฟมประวตั ิ หรอื รับโทรศัพท - ถอดถงุ มอื ทนั ทีภายหลังเสร็จสิน้ กิจกรรมการพยาบาล - ลางมอื ทันทีภายหลังถอดถุงมือ - ไมลางถุงมือเพอ่ื นำกลับมาใชใ หม - ถงุ มอื ใชกับผปู วยเฉพาะราย หา มใสถ ุงมอื ดแู ลผูปวยหลายคนตอ เนื่อง - ไมจำเปนตองใสถุงมือในกิจกรรมการพยาบาลที่ไมไดสัมผัสสิ่งสกปรกหรือ สารคัดหลัง่ 2.4.5 หลกั การเกบ็ รวบรวมมลู ฝอยตดิ เชือ้ ทีเ่ กี่ยวขอ งกับการรกั ษาพยาบาล 1) ตองแยกเกบ็ มลู ฝอยตดิ เชอ้ื หามปะปนกับมลู ฝอยอนื่ ๆ ฃ 2) ภาชนะทีบ่ รรจุมลู ฝอยตดิ เช้ือ ตองมลี กั ษณะเปนถงุ สีแดง ทึบแสง ทำจากวัสดุที่มี ความเหนียว ทนทานตอสารเคมี รับน้ำหนัก กันน้ำได ไมรั่วซึม มีขอความสีดำอานไดชัดเจนวา อยู ภายใตร ปู หัวกะโหลกไขวคู และใหใสซอ นถุง 2 ชั้น ใสม ลู ฝอยติดเชื้อไมเกนิ สองในสามสว นปดฝา มูล ฝอยตดิ เช้อื หรือผูกปากถุงใหแนนกอ นนำไปท้งิ 3) ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อประเภทวัสดุมีคม เชน เข็ม มีด หลอดแกว ตองมี ลักษณะเปน กลอ งหรือถัง ทำดว ยวสั ดุทแ่ี ข็งแรง มนตอการแทงทะลุ และทนตอสารเคมี มีฝาปดมิดชิด มีของภาชนะตองเดนชัด โดยสวนใหญใชสีแดง มีขอความสีดำอานไดชัดเจนวา มูลฝอยติดเชื้อ หรือ หามนำกลับมาใชอีก หรือ หามเปด การบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ ประเภทของมีคม หามใสเกินสามในส่ี สวนของกลอง 4) ผาติดเชื้อ เชน ผาเปอนเลือดหรือสารคัดหลั่งจากผูปวยใหแยกใสถุงสำหรับมูล ฝอยติดเชือ้ 5) การเคลื่อนยายมูลฝอยติดเชื้อตองใชรถเข็นที่สามารถทำความสะอาดไดงาย มี ผนังปดมิดชิด เปนรถที่ใชเฉพาะขนมูลฝอยติดเชื้อเทานั้น พิมพขอความ “มูลฝอยติดเชื้อ หามใชใน กิจการอน่ื ” 6) ผูปฏิบัติงานเคลื่อนยายมูลฝอยตองมีความรูเกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อ สวมเครื่อง ปองกันรางกายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือยางหนา ผากันเปอน ผาปดปาก ปดจมูก และรองเทายางหุม แขง 7) การกำจัดมูลฝอยติดเช้ือในปจจบุ ันมีหลายวิธี สวนใหญใชเ ปน การเผา ในหองเผา ทีใ่ ชอุณหภูมิ 760 -1,000 c0 76

2.5 บทสรปุ การปฏิบัติเพื่อปองกันการติดเชื้อ และควบคุมการแพรกระจายเชื้อนั้นตองพยาบาลจะตอง ตระหนักและใหความสำคัญตอการปฏิบัติเพือ่ ปองกันและควบคุมการแพรกระจายเช้ือในขณะปฏิบัติ กจิ กรรมการพยาบาลอยูเสมอ เพ่ือชวยใหผ ูปวยไดป ลอดภัยจากเช้ือโรคตางๆ ที่อาจเขาสูรา งกาย และ ชวยลดปญ หาการติดเชอ้ื ในโรงพยาบาลตามมาได 2.6 คำถามทา ยบท กรณศี ึกษาท่ี 1 ผปู ว ยชายไทย ไดรับการวนิ ิจฉยั เปน Precaution (HIV) ผปู วยมีอาการ ออ นเพลยี มาก หายใจเหนอื่ ย มีเสมหะ ผลการตรวจเสมหะพบเช้ือวณั โรค ในระยะแพรกระจาย จง ตอบคำถามและวางแผนการพยาบาลเพื่อปองกันการติดเชื้อทำและปองกันการแพรก ระจายเชอ้ื โรค 1. จงระบุ Mode of transmission ……………........………………………………………………………………………………………… 2. จงระบุ Transmission- based precaution ………………………………………………………………………………………… 3. จงวางแผนการพยาบาลโดยใชค วามรูท่ีเกีย่ วของกับ Standard precaution และ Transmission- based precaution กรณีศึกษาที่ 2 ผูปวยหญิงไทย มีประวัติเลี้ยงสัมผัสไกปวยตาย ไดรับการวินิจฉัยเปน ไขหวัดนก ผูปวยมีอาการออนเพลียมาก หายใจเหนื่อย จงตอบคำถามและวางแผนการพยาบาลเพอ่ื ปอ งกันการแพรก ระจายเช้ือโรค 1. จงบอกชนิดและช่ือของเช้ือไขหวัดนก………………………………………………………………………… 2. จงระบุ Mode of transmission………………………………………………………………………………. 3. จงระบุ Transmission- based precaution……………………………………………………………… 4. จงวางแผนการพยาบาลโดยใชความรูที่เกี่ยวของกับ Standard precaution และ Transmission- based precaution 77

กรณีศึกษาที่ 3 ผูปวยหญิงไทย ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคปอดบวม ผลเสมหะพบเชื้อ K. Pneumoniae ผูปวยมีอาการไอมีเสมหะสีเขียวขน จงตอบคำถามและวางแผนการพยาบาลเพื่อ ปอ งกนั การแพรกระจายเชื้อโรค 1. จงระบุ Mode of transmission…………………………………………………………………………… 2. จงระบุ Transmission- based precaution…………………………………………………………. 3. จงวางแผนการพยาบาลโดยใชค วามรทู ่เี กยี่ วของกบั Standard precaution และ Transmission- based precaution กรณีศึกษาท่ี 4 จากงานวจิ ยั จงตอบคำถาม ดงั น้ี 1. สาเหตขุ องการแพรกระจายเชือ้ ทต่ี ิดในโทรศัพทข องบุคลากร 2. ทานมีความคดิ เห็นอยางไรเก่ียวกับเหตุการณท เี่ กิดขึ้น 3. จงบอกหลักการปองกันการแพรกระจายเชื้อและวางแผนปองกันการแพรกระจายเช้ือ ดังกลา ว 2.7 เอกสารอางองิ ณัฐสุรางค บญุ จันทร และคณะ. (2559). ทักษะพ้นื ฐานทางการพยาบาล 1. กรุงเทพฯ: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน : หลักการและแนวคิด. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย. ยงค รงครุงเรือง และ จริยา แสงสัจจา. (2556). เกณฑการวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาล. สืบคน จาก www.bamras.or.th สัมพันธ สันทนา คณิต สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พน้ื ฐาน II. กรุงเทพฯ : บริษทั บพธิ การพิมพจ ำกดั . สุปราณี เสนาดิสัย และวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: บริษัทจุด ทอง จำกดั . สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พน้ื ฐาน 1. กรงุ เทพฯ : บริษัท บพิธการพิมพ จำกดั . อัจฉรา พุมดวง. (2555). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลยั . 78

อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพรส จำกัด. อภิญญา เพียรพิจารณ. (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั จรัลสนิทวงศการพมิ พ จำกัด. Anne GP. (2016). Nursing Interventions & Clinical Skills. St. Louis : Mosby Elsevier. Barbara KT. (2017). Fundamental Nursing Skills and Concepts. Philadelphia : Walters Kluwer. Jeanette I.Webster Marketon and Ronald Glaserac. ( 2008) . Stress hormones and immune function. Cellular immunology: 252(1-2); 16-26. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing . 8th ed. Philadelphia : Walters Kluwer. Patricia AP. (2017). Fundamentals of Nursing. St. Louis : Mosby Elsevier. Potter PA, Perry AG, Stockert PA and HALL AM. ( 2012). Nursing Interventions & Clinical skills. 5thed. St. Louis : Mosby Elsevier. 79

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3 หลักการพยาบาลพ้ืนฐานในการรับใหม การจำหนายและการสง ตอ ผูปวย หัวขอเนอ้ื หาประจำบท 1. การพยาบาลเพือ่ การรบั ใหมในโรงพยาบาล 2. การพยาบาลเพ่ือการจำหนายผูป ว ย 3. การพยาบาลเพื่อการสงตอผูป ว ย จำนวนชัว่ โมงท่สี อน: ภาคทฤษฎี 2 ชวั่ โมง วัตถุประสงคเชงิ พฤติกรรม 1. บอกหลักการซักประวัติผูปวยรับใหม การสงตอผูปวย และการจำหนายออกจาก โรงพยาบาลไดถูกตอง 2. บนั ทกึ ประวตั ผิ ูปวยตัวอยางลงใบเอกสารทางการพยาบาลได วธิ สี อนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. วิธสี อน 1.1 บรรยายแบบมสี วนรว ม 1.2 อภิปรายกลมุ ยอ ย 1.3 ยกตวั อยางกรณศี กึ ษาเพอื่ การอภิปราย 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 บรรยายเรื่อง การรับใหม การซักประวัติผูปวย การรวบรวมขอมูลผูปวยดวยแบบ ประเมิน 11 แบบแผนของกอรดอน การวางแผนจำหนายและกระบวนการการสงตอผูปวยอยาง ปลอดภัยและมีประสิทภิ าพ 2.2 ยกตัวอยางกรณีศึกษาและมอบหมายใบงานใหผูเรียนรวมกันเขียนเอกสารที่เกี่ยวของ กบั การรับใหม การจำหนายและการสง ตอผปู วย 2.3 สรุปการเรียนรูและใหผูเรียนเลมเกมสตอบคำถามแบบฝกหัดทายบทดวยโปรแกรม สำเร็จรูปสมารท โฟน 80

สื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. โปรแกรมสำเร็จรปู Power Point Presentation 3. โปรแกรมสำเรจ็ รปู Quizziz.com / kahoot การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. การเขา ชน้ั เรยี นรว มกบั การสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น 2. การสงั เกตการมสี วนรวมในอภปิ รายและตอบคำถาม 3. ผลการทำใบงาน 4. การทำแบบฝก หดั ทา ยบท 5. การสอบกลางภาค 81

บทที่ 3 หลักการพยาบาลพื้นฐานในการรับใหม การจำหนายและการสง ตอผูป วย การรับใหม การจำหนายและการสงตอผูปวยเปนกระบวนการที่เริ่มตนจากการรับใหม (admit) ซ่ึงการรบั ผูปว ยเขารักษาในโรงพยาบาลใชในกรณีทผ่ี ูปว ยมอี าการเจ็บปว ยที่จำเปนตองไดรับ การรักษาทางยาหรือการรักษาทางศัลยกรรม ในที่นี้ยังรวมถึงการคลอดดวย การซักประวัติผูปวยท่ี ครอบคลุมปญหาทางสุขภาพจะชวยใหการวางแผนการรักษาประสบความสำเร็จได เมื่ออาการ เจ็บปวยทุเลาลงผูปวยจะไดรับการจำหนาย (discharge) ออกจากโรงพยาบาล หรือในกรณีที่ตองสง ตอ (refer) ไปรักษายังหนวยงานอื่นที่มีความเชี่ยวชาญรวมทั้งการสงตอไปยังโรงพยาบาลในชุมชน เพ่ือใหการดูแลตอ เนือ่ ง 3.1 การพยาบาลเพื่อการรบั ใหมในโรงพยาบาล 3.1.1 ประเภทการรับใหมใ นโรงพยาบาล การรบั ใหมผ ปู ว ยในโรงพยาบาลมกี ารรบั ใหม 2 ประเภท (ณฐั สรุ างค บุญจันทร และคณะ, 2559) ดังน้ี 1) ไมรุนแรง ในกรณีผูปวยมาโรงพยาบาลตามปกติ ไมมีอาการที่เปนอันตรายรุนแรง ตวั อยางของการรบั ใหมประเภทนี้ ไดแก (1) มีการวางแผนลวงหนา เชน แพทยนดั มาผาตดั อวยั วะบางสว นท่ีไมร นุ แรง (2) นัดมารับยาบำบดั ทางการรกั ษา เชน นดั มาใหย าเคมบี ำบดั (3) ขอมานอนเนื่องจากรูสึกไมสบายใจ เชน มีภาวะเครียดจากการปรับตัวและ แพทยลงความเหน็ สมควรใหพ ักเพ่อื รบั การดแู ลอยางใกลช ดิ 2) รุนแรงและเรง ดว น ผปู ว ยมกี ารบาดเจ็บรนุ แรง ตอ งไดรับการดแู ลรักษาอยางเรงดวน ตวั อยางการรบั ใหมป ระเภทน้ี ไดแ ก (1) ผูป วยทไ่ี ดร บั อุบัติเหตุ หรือตอ งรบั การเขาผาตดั ทันที (2) ผูปวยที่มีภาวะเจ็บปวยที่ตองเขารับการรักษาอยางรวดเร็ว มิฉะนั้นอาจจะ อนั ตรายถึงขน้ั เสียชีวิตได 82

3.1.2 บทบาทของพยาบาลในการรบั ใหมผ ปู ว ย พยาบาลแผนกรบั ใหมผ ูปว ยมีบทบาทในการรบั ผูปวยใหมดงั นี้ 1) สรา งสัมพนั ธภาพกบั ผูปว ยและญาติ (ครอบครัว) 2) ซักประวัติเพอื่ รวบรวมขอมูลผปู วย 3) สง ตอขอ มลู สำคัญไปยงั หอผูปวยท่ีรับผูปว ยไวใ นความดูแล 4) ใหข อ มูลท่ผี ูป วยควรทราบเมือ่ ตอ งเขา รบั การรักษาตวั อยูในโรงพยาบาล พยาบาลประจำหอผปู ว ยท่ีรบั ใหม 1) รับสง ตอขอมูลของผปู ว ย วางแผนกับทมี พยาบาล เพอื่ แยกประเภทผปู วย 2) บรหิ ารจัดการในทมี พยาบาล เพอื่ เตรยี มเตียงและเคร่ืองมือที่จำเปนสำหรบั ผปู วย 3) ซักประวตั ิ ตรวจรา งกาย ผลตรวจทางหอ งปฏบิ ัตกิ ารตาง ๆ 4) ใหค ำแนะนำขอ ปฏบิ ัติตา ง ๆ ท่เี กีย่ วกบั หอผูปวย ขัน้ ตอนการรับใหมผูปว ย การรับใหมผปู วยโดยใชก ระบวนการพยาบาล มดี ังน้ี 1) การประเมนิ สภาพผปู วยแรกรบั และการรวบรวมขอมลู โดยคำนงึ ถงึ การพยาบาลดวย จิตใจเอื้ออาทรและจิตใจความเปนมนุษยอยางเปนองครวม ครอบคลุมดานรางกาย จิตใจ สังคม และ จติ วิญญาณ 2) การวินจิ ฉัยทางการพยาบาล ไดจ ากการรวบรวมขอมลู ถึงสาเหตทุ ี่เขามารับการรักษา ในโรงพยาบาล เพื่อวางแผนการใหการพยาบาล เชน ผูปวยวิตกกังวลเกี่ยวกับการเขารับการรักษา ผูปวยมคี วามเสยี่ งในการเกิดภาวะตา ง ๆ ขณะรบั การรักษาตวั อยูในโรงพยาบาล 3) การวางแผนการพยาบาลตามขอวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล เลอื กกจิ กรรมการพยาบาล ที่เหมาะสมกับขอวินิจฉัยทางการพยาบาลเพือ่ ใหการพยาบาลนัน้ เกิดผลลัพธในการบรรเทาอาการไม สขุ สบายของผูปวย หลังจากนนั้ ประเมนิ ผลการพยาบาลตอไป การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลในการรับใหม 1) ทักทายผูปวยดวยทาทีที่เปนมิตร สีหนายิ้มแยมเพื่อสรางความประทับใจและลด ความวิตกกงั วล 2) แนะนำตวั กับผูปวยและญาติ 3) ตรวจสอบช่อื นามสกุลกบั บัตรประจำตวั ประชาชน 4) ประเมนิ อาการและอาการแสดงของผปู วย และตรวจสอบแผนการรกั ษาของเเพทย 83

5) จดั สง่ิ แวดลอมใหก บั ผปู วยอยา งเปนสดั สวนและดูแลชว ยทำความสะอาดใหกบั ผูปว 6) ซักประวัตเิ ก่ยี วกบั การเจบ็ ปว ยและตรวจรางกาย ประเมินสัญญาณชพี และอ่นื ๆ 7) แนะนำขน้ั ตอนการปฏิบตั ิตนขณะเขารับการรักษาในหอผปู วย แนะนำเจาหนาที่และ บุคลากรทางสขุ ภาพในหอผูป ว ย 8) แนะนำการใชอุปกรณตาง ๆ เชน การปรับระดับเตียง การใชกริ่งหรือออดสัญญาณ เรียกพยาบาล เปนตน 9) แนะนำกฎระเบยี บท่จี ำเปน สำหรบั ผปู วย เชน เวลาเเพทย พยาบาลตรวจเย่ียม เวลา เยีย่ ม และเหตผุ ลของการกำหนดเวลาตา ง ๆ เปน ตน 10) จัดอุปกรณใ หส ะดวกตอ การหยบิ ใช และจัดใหผปู ว ยอยูในทา สุขสบาย 11) เปด โอกาสใหผ ปู วยและญาติซักถามขอ สงสัย 12) แจงขอมูลเกี่ยวกับสิทธิการรักษา และเซ็นใบยินยอมการรักษา (Informed consent) 13) ดูแลเส้อื ผา และสง่ิ ของมีคาของผปู วย โดยเซน็ รับไวเ ปน หลกั ฐานอยา งชัดเจน 14) ลา งมอื ใหสะอาดและเชด็ ใหแ หง 15) บันทึกทางการพยาบาล วางแผนใหการพยาบาลตั้งแตรับใหมจนถึงวางแผน จำหนาย 16) การประเมินผลการพยาบาล ผูปวยเขาใจในวิธีการและขั้นตอน ขณะเขารับการ รกั ษาในโรงพยาบาลอยางปลอดภยั คำศพั ท ความหมาย Admit รบั ใหม Chief complain (CC) อาการสำคัญทที่ ำใหผ ปู ว ยมาโรงพยาบาล Present illness (PI) ประวตั กิ ารเจ็บปว ยปจ จบุ นั Past illness ประวตั ิการเจบ็ ปว ยในอดตี Family illness ประวัตกิ ารเจบ็ ปวยในครอบครัว Allergy history ประวตั ิการแพยา อาหาร สารเคมีตาง ๆ Medication Reconciliation (MR) ใบบนั ทึกยาท่ีผูปวยใชเ ปนประจำ Discharge จำหนาย 84

คำศัพท ความหมาย Refer สงตอ ตารางท่ี 3-1 แสดงคำศัพททเ่ี กี่ยวของกบั การรับใหมผ ปู วยในโรงพยาบาล 3.1.3 การซักประวตั ิผปู ว ยรับใหม การซกั ประวัตผิ ปู ว ยรบั ใหมม ีขอมลู ที่เกีย่ วขอ งในการซักประวัตดิ ังน้ี Chief complain (CC) คือ อาการสำคัญที่ทำใหผูปวยมาโรงพยาบาล / อาการนำสง “เปน ขอ ความสำคัญ 1 – 3 อาการ + ระยะเวลา” ตัวอยา ง : อาเจียน ถา ยเหลว 6 ชั่วโมงกอ นมาโรงพยาบาล ปส สาวะเปน สีแดงเขม 3 ชวั่ โมงกอ นมาโรงพยาบาล Present illness (PI) คือ ประวัติการเจ็บปวยปจจุบัน ซักประวัติตั้งแตเริ่มมีอาการ การแกไขปญหาของผปู ว ย จนกระท่ังผูป วยมาโรงพยาบาล เรียงตามลำดับเวลา ตวั อยาง - 1 สัปดาหกอนมาโรงพยาบาล เดินเหยียบเศษไม นิ้วหัวแมเทาเปนแผล ทำแผลเองที่ บาน - 3 วันกอ นมาโรงพยาบาล แผลทน่ี ้ิวหวั แมเ ทา บวม แดง มีหนองไหล ผูป วยทำแผลเอง และซื้อยาแกอ ักเสบท่ีรา นขายยาใกลบา นมารบั ประทาน - 6 ช่ัวโมงกอนมาโรงพยาบาล แผลท่นี ้ิวหวั แมเ ทา เปนสีคลำ้ มีหนองไหลมาก มีไข ญาติ จงึ นำสงโงพยาบาล *เทคนคิ ซักประวัตปิ จ จุบัน แลวนำอาการสดุ ทา ยทผ่ี ูปว ยมาโรงพยาบาลไวเ ปน อาการสำคัญ นำสง * Past illness คือ ประวัติโรคประจำตัว / การผา ตดั ท่เี คยไดร ับ ตัวอยาง - เปน เบาหวานมา 10 ป รกั ษาที่โรงพยาบาล……….. ....รับประทานยาดงั น้ี ........................... การเขียนยาที่ผูปวยใชเปนประจำตองเขียนใหถูกตอง รวมทั้งตรวจสอบความถูกตองของยาเดิมท่ี ผปู วยรบั ประทานตามใบ Medication Reconciliation (MR) ตัวอยางการเขียนรายการยาทผ่ี ูปวยรบั ประทาน Metformin (500) sig 1 tab  b.i.d pc. 85

Family illness คือ ประวัติการเจ็บปวยในครอบครัว โดยเฉพาะโรคถายทอดทาง พันธุกรรมหรือโรคที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการเจ็บปวยในครอบครัว เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคมะเรง็ Allergy history คือ การซักประวัติเกี่ยวกับการแพยา อาหาร สารเคมีตาง ๆ รวมท้ัง อาการท่ีเกดิ จากการแพ เชน ผ่นื คนั คล่นื ไส อาเจยี น ช็อก การรวบรวมประวัตผิ ูปว ย การรวบรวมประวัติผูปวยสามารถใชแบบประเมินของทฤษฎีการพยาบาลตาง ๆ ซึ่งใน การรวบรวมขอมูลครั้งนี้ รวบรวมประวัติผูปวยดวยแบบประเมินแบบแผนสุขภาพของกอรดอน (11 pattern Gordon) ดงั นี้ การซกั ประวัติ การสังเกต/การตรวจรา งกาย 1. แบบแผนการรับรูและการดูแลสุขภาพ 1. การรบั รสู ขุ ภาพและการดแู ลสุขภาพ 1.1 การรับรูสขุ ภาพโดยทวั่ ไปในปจจบุ ัน 1.1 ลกั ษณะทั่วไปและความพกิ าร -กอ นปว ย..................................................... ……………................................................................. -ขณะปวย..................................................... .........……………………………………………………............ 1.2 ประวตั ิการตรวจรา งกาย 1.2 สภาพจติ ใจโดยท่วั ไป ........................................................................ ................................................................................ 1.3 การดูแลความสะอาดของรางกาย 1.3 ความสะอาดรา งกาย, เคร่อื งแตงกาย ตามปกติ อาบน้ำวันละ ........... ครงั้ ................................................................................ แปรงฟน วันละ .......... คร้งั ................................................................................ ขณะเจบ็ ปว ยอาบนำ้ วันละ .......... ครง้ั แปรงฟน วนั ละ ........... ครงั้ 1.4 พฤตกิ รรมเสยี่ ง 1.4 ความรว มมือในการรกั ษาพยาบาล สบู บรุ ี.่ ...........(ปรมิ าณ/วัน)ระยะเวลา ................................................................................ ดืม่ เหลา...........(ปริมาณ/วนั )ระยะเวลา ................................................................................ สง่ิ เสพติดอืน่ ๆ(ระบ)ุ ........................................................................ ยาที่รับประทานเปน ประจำ ........................................................................ ........................................................................ 86

การซกั ประวัติ การสังเกต/การตรวจรา งกาย 1.5 การแพสารตางๆ (อาหาร, ยา, สารเคมฯี ) ………………………………….........................……… อาการและการแกไ ข …………………........…………………………………… 1.6 การดูแลสุขภาพตนเอง -กอนปวย ........................................................................ - ขณะปวย ........................................................................ 1.7 ความรเู ก่ยี วกบั โรคและการรกั ษา ........................................................................ สรุปผลการประเมิน พฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพท้ังในภาวะปกตแิ ละการแกปญหาการเจ็บปวยภายใตสภาพชีวิต ความเปนอยู ขอจำกัด เงื่อนไขและปจจยั ท่ีมีผลตอการรบั รูและการดูแลสุขภาพ เชน ขอจำกัดทาง กาย ฐานะความเปน อยู ชองทางและความสามารถในการเรยี นรู หรอื ปรับตัวเพอ่ื หาวิธีการแกป ญหา การปรบั ตัวเหมาะสมหรือไม 2. อาหารและการเผาผลาญสารอาหาร ประเมนิ การทำหนา ทข่ี องระบบยอ ยอาหาร 2.1 พฤตกิ รรมการรับประทานอาหารท่สี ังเกตได 2.1 ชนดิ และปริมาณอาหารทร่ี ับประทาน ................................................................................ ……………………………………………………………… ปรมิ าณนำ้ ที่ไดรับตอวนั ………………………………………………………………. .................................................………………………… 2.2 ชนิดและปรมิ าณน้ำที่ไดร ับ ………………......................…………….. ……………………………………………………………… ………………………………………………………………. 2.3 อาหารท่ไี มรบั ประทาน และเหตุผล 2.2 อาหารเฉพาะโรค ........................................................................ ................................................................................ ........................................................................ ................................................................................ 87

การซกั ประวัติ การสังเกต/การตรวจรางกาย 2.4 อาการผิดปกติ เชน ทองอืดเฟอ เบ่ือ 2.3 การตรวจรางกาย (นำขอมูลจากการตรวจ อาหาร คลื่นไสอาเจียน ปญหาเกี่ยวกับการ รางกายตามระบบ) เค้ยี ว กลืน และการแกไข 1) นำ้ หนัก........... สวนสูง...............BMI .......... ........................................................................ index (คาปกติผูหญิง 18 – 24 kg/m2, ผูชาย 20 ........................................................................ – 27 kg/m2) 2.5 การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัวในระยะ 2) ผวิ หนงั ความยดื หยุน ความชนื้ บวม 1 ป ................................................................................ ........................................................................ ................................................................................ ........................................................................ - ผม................................................................... - เล็บ ................................................................ 3) ตา................................................................... 4) ชอ งปาก คอ ฟน ................................................................................ 5) ทอ ง ลักษณะทอง................................................... Bowel sound …………………………………….. กอ นในทอง..................................................... 6) ตอ มน้ำเหลือง................................................. ................................................................................ 7) ตอ มธยั รอยด. .................................................. ................................................................................ 2.4 ผลการตรวจทางหองปฏิบตั กิ ารที่เก่ยี วของ ( เชน CBC, Electrolytes ,BS, LFT, lipid profile และอ่ืนๆ) ............................................................................... ผลการตรวจทเ่ี ก่ียวขอ งกับภาวะโภชนาการ การตรวจพเิ ศษทเี่ กย่ี วของอื่นๆ (เชน Ultrasound, gastroscope และอื่นๆ ) ตรวจระบบทางเดิน อาหาร ............................................................................. 88

การซักประวัติ การสังเกต/การตรวจรางกาย สรปุ ผลการประเมิน Body mass index เหมาะสมหรือไม ปริมาณพลังงานที่ควรไดรับในแตละวันเพียงพอกับ ความตองการของรา งกายหรอื ไม มีสาเหตอุ ะไรบา งท่ที ำใหไดร บั อาหารไมเ พยี งพอ *สูตร BMR สำหรบั ผชู าย = 66 + (13.8 x น้ำหนกั (กโิ ลกรัม) + (5 x สวนสูง(เซนติเมตร)) - (6.8 x อาย(ุ ป) หนวยเปนกโิ ลแคลอรตี อ วัน * BMR = 655 + (9.6 x น้ำหนัก (กิโลกรัม)) + (1.8 x สวนสูง (เซนติเมตร)) - (4.7 x อายุ (ป)) 3. การขับถาย ประเมินการทำหนาที่ของระบบทางเดิน 3.1 การตรวจลกั ษณะทอง ปสสาวะและการขับถา ยอจุ าระ ................................................................................ 3.1 ปสสาวะ ................................................................................ ……………………………………………………….......... 3.2 การใชสายสวนปสสาวะ(ระบุ) ……………………………………………………………… ................................................................................ 3.2 อุจจาระ 3.3 Colostomy, Ileostomy, Jejunostomy ……………………………………………………….……… ………………………………………………………. ……………………..……………………………………… 3.4 การขับถา ยปสสาวะ/อุจจาระขณะปวย ................................................................................ จำนวนของเหลวทีอ่ อกจากรา งกาย (ปส สาวะ, ทอ ระบายและอืน่ ๆ)…………………….............……………. ปญหาการขับถายปสสาวะ/อุจจาระ ................................................................................ 3.5 ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการและการตรวจ พเิ ศษ (เชน U/A, U/C, Stool exam และอืน่ ๆ) ……………………………………………......................…….. สรุปผลการประเมิน การขับถายปส สาวะ ลักษณะ สี จำนวนครั้ง ปริมาณ มากหรือนอยเกินไปหรือไม (0.5-1 มิลลิตร/ กโิ ลกรัม/ช่ัวโมง) ผลการตรวจ U/A ผดิ ปกติหรอื ไม มีปญหาทอ งผกู หรอื ไม ปจจัยใดบา งทที่ ำใหเ กิดปญ หาความผดิ ปกตขิ องการขบั ถายอุจจาระ / ปส สาวะ 89

การซักประวัติ การสังเกต/การตรวจรา งกาย 4. กจิ กรรมและการออกกำลงั กาย - ระบบทางเดนิ หายใจ - ระบบหวั ใจและการไหลเวียนเลอื ด - ระบบกระดกู และกลามเนือ้ 4.1 การชวยเหลือตนเองในกอนปวย/ ขณะ 4.1 การชวยเหลือตนเอง ปวย (ADL)...................................................................... - อาบนำ้ 4.2 ระบบกลามเนอ้ื และกระดกู กอ นปว ย……….........……………….. - ความแข็งแรงของกลามเนือ้ (Muscle power) ขณะปว ย...................................... ............................................................................... - แตงตัว - การเคลื่อนไหวของขอ/อาการบวม (Range of กอนปวย...................................... motion/ edema) ขณะปวย....................................... ………………………………………………........................... - รบั ประทานอาหาร ................................................................................ กอนปว ย...................................... 4.3 ระบบหายใจ ขณะปวย........................................ - อตั ราการหายใจ.............ครัง้ /นาที - ขบั ถาย - จังหวะ……………………………………….... กอนปวย....................................... - ลักษณะ (เชน tachypnea, bradypnea การ ขณะปว ย ....................................... เคลอื่ นไหวของทรวงอก) 4.2 การดแู ลท่ีพักอาศัย ................................................................................ ……………………………………………………………… ................................................................................ 4.3 กิจกรรมในงานอาชีพ/ ลักษณะงานที่ทำ - การตรวจรางกายทางเดินหายใจ อยูในปจ จุบนั ................................................................................ ….............................................................. - เสยี งปอด 4.4 การออกกำลงั กาย กฬี า งานอดเิ รกใน ............................................................................. ภาวะปกติ/ ขณะเจบ็ ปวย - หตั ถการทีเ่ กี่ยวขอ ง ( เชน ICD) ........................................................................ ................................................................................ 4.5 ประวัติการเปนลม หายใจขดั เจ็บหนาอก - ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการที่เกี่ยวของ (เชน หอบเหนอ่ื ย ความดันโลหติ สงู blood gas, sputum AFB) ........................................................................ ................................................................................ ........................................................................ ............................................................................... 90

การซักประวัติ การสังเกต/การตรวจรา งกาย - ชนดิ /ประเภทของการไดรบั ออกซิเจน ....................……………………………………………… 4.4 ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด - ชพี จร อตั รา .........ครั้งตอนาที / จังหวะการเตน (regular, irregular)………………. / ความแรงของ ชพี จร...................................................................... - หัวใจ อตั ราการเตน ของหัวใจ .........ครง้ั ตอ นาที เสยี งหวั ใจ............................................................... - ความดนั โลหิต ...................................................... - ผ ล ก า ร ต ร ว จ พ ิ เ ศ ษ อ ื ่ น ๆ เ ช  น EKG, Echocardiogram.................................................. สรุปผลการประเมิน -ระบบหายใจ (อัตราการหายใจ จังหวะ เสียงปอด) ผิดปกติหรือไม การซกั ประวตั ิสาเหตุใดบางที่ทำ ใหเกิดความผิดปกติ เชน stridor at…… -ระบบหัวใจและหลอดเลือด (ชีพจรกี่คร้ัง/นาที จังหวะ เสียงหัวใจ ความดันโลหิตเทาไหร สีผิวและ ปลายมือปลายเทามีภาวะซีด/เขียวหรือไม) การซักประวัติสาเหตุใดบางที่ทำใหเกิดความผิดปกติ การตรวจทางหอ งปฏบิ ตั กิ าร เชน Hb -ระบบกระดูกและกลามเนื้อ เชน ความแข็งแรงของกลามเนื้อ การเคลื่อนไหวการทรงตัว การซัก ประวัติสาเหตใุ ดบา งทที่ ำใหเ กดิ ความผิดปกติ -ความสามารถในการทำกิจกรรม เชน ADL กค่ี ะแนน การทำกิจกรรมใดท่ีไมส ามารถทำไดบาง 5. การพักผอน นอนหลบั 5.1 กอ นปวย 5.1 พฤติกรรมกอนการนอน (เชน อา นหนังสือ, - นอนกลางวัน วนั ละ....................ชว่ั โมง สวดมนต ดทู วี )ี - นอนกลางคืน คนื ละ ...................ชัว่ โมง ……………………………………………………………………. ปญหาเกีย่ วกบั การนอน สาเหตุ และการแกไข 5.2 พฤติกรรมการนอน ........................................................................ ……………………………………………………………………… ........................................................................ ……..……………………………………………………………… 5.2 ขณะปว ย 5.3 พฤติกรรมการผอนคลาย - นอนกลางวัน วันละ......................ช่วั โมง ................................................................................ - นอนกลางคืน คืนละ....................ชวั่ โมง 91

การซกั ประวัติ การสังเกต/การตรวจรา งกาย ปญหาเกี่ยวกบั การนอน สาเหตุ และการแกไ ข 5.4 การตรวจทางหองปฏิบตั ิการและการตรวจ ........................................................................ พเิ ศษ (เชน sleep apnea) ........................................................................ ................................................................................ 5.3 การผอ นคลาย/การปฏิบัตติ นใหรสู ึกผอน ................................................................................ คลาย 5.5 อาการทีแ่ สดงถึงการพักผอนไมเพียงพอ ……………………………………………………………… ................................................................................ ………….…………………………………………………. 5.4 การพักผอนในปจจุบันรูสึกวาเพียงพอ หรือไม ........................................................................ ....................................................................... 5.5 การผอ นคลาย/การปฏบิ ัติตนใหร สู กึ ผอน คลาย ........................................................................ ........................................................................ สรุปผลการประเมนิ นอนไดกี่ชั่วโมงตอคืน เพียงพอหรือไม ( 6-8 ชั่วโมง ) มีอาการแสดงของอาการงวง สาเหตุของการ พกั ผอนไมเ พยี งพอมีอะไรบา ง 6. สตปิ ญญาและการรบั รู - ระบบประสาทสว นกลาง การรับรคู วามปวด 6.1 Neurological signs - ระบบประสามสัมผสั - ระดับความ 6.1 ความผิดปกติของสายตา/ การแกไข รูสึกตวั …………………………………………………… ………………………………………………………………. - Glasgow coma score : 6.2 ความผดิ ปกติของการไดยิน/ การแกไข Eye opening …..Verbal………..Motor ………………………………………………................... response………… ........................................................................ การรบั รูบุคคล เวลา สถานที่ 6.3 ความผดิ ปกติของการไดกล่ิน/การแกไข ……………………………………………………………………... ........................................................................ Reflex……………………………………………………………. 92

การซกั ประวัติ การสังเกต/การตรวจรางกาย 6.4 ความผิดปกตใิ นการรบั รส/ การแกไข - Signs of Meningeal Irritation ………………………………………………................... …………………………………………………………………… 6.5 ความผดิ ปกตใิ นการสัมผัส/ การแกไ ข 6.2 ตรวจการมองเหน็ (V/A) ………………………………………………................... …………………………………………………........................ ........................................................................ 6.3 ตรวจการไดยิน 6.6 มีอาการปวดท/ี่ การแกไ ข ………....................................................................... ………………………………………………................... 6.4 ตรวจการรับรส ........................................................................ ……………….............................................................. 6.7 มอี าการเหนบ็ ชาท่ี/การแกไข 6.5 ตรวจการสมั ผสั การตรวจผวิ หนงั บาดแผล ………………………………………………................... ................……………………………………………………… ........................................................................ 6.6 ตรวจอาการเจ็บปวด, ชา ................................................................................ Pain score ……………………………………………………………………. 6.7 การประเมนิ ความจำ …………………………………………………………………… 6.8 ลักษณะการโตต อบ/การใชภาษา ……………………………………………………………………… …………………………………………………………………….. 6.9 การตรวจพเิ ศษอื่นๆ เชน CSF, IICP ……………………………………………………………............ สรปุ ผลการประเมิน - ความผิดปกติของการไดยิน การมองเห็น การไดกลิ่น การรับรส และการสัมผัส อาการเหน็บชา เจบ็ ปวด pain score - ความสามารถในการจำ การแกปญหา ตลอดจนการตัดสินใจเมื่อตองเผชิญกับปญหาทั้งในยาม ปกตแิ ละยามเจบ็ ปว ย ท้ังนเ้ี พอ่ื ประเมนิ ศกั ยภาพในการดูแลตนเองและการแกปญหาดานสขุ ภาพ - ความผดิ ปกติของการรบั รตู อบคุ คล สถานที่ และเวลา/ลกั ษณะการตอบโต/กระดับความรูส ึกตัว/ - Neurological signs ไดก่ีคะแนน ปกติหรอื ไม /Reflex ผิดปกติหรือไม 93

การซักประวัติ การสังเกต/การตรวจรา งกาย 7. การรบั รตู นเองและอตั มโนทัศน 7.1 ความรูส ึกตอรปู รา งหนา ตาตนเองอยางไร 7.1 พฤติกรรมที่แสดงถึงความสนใจในรูปราง - กอ นปว ย หนาตาของตนเอง .…………………………….............……….…………… ………………………………………...........………….………… - ขณะปว ย ……………………………………..............…………………… ........................................................................ 7.2 การปดบังอวัยวะบางสวน 7.2 ความรูส ึกตอ ความสามารถตนเอง …………..…………………………………………............…… - กอ นปว ย.......………………..........………………. ……………………………………………………………………… - ขณะปวย…………………………..............……….. 7.3 การเปรียบเทียบตนเองกอนและหลังเจ็บปวย 7.3 ความรูสึกผิดปกติที่เกี่ยวของกับความ หรอื กบั ผูอืน่ เจบ็ ปวย ……………………………...........……………………………… ………………………………….....................………… ……………………………............…………………………….. ……….……………………………….....................…… 7.4 การยอมรบั ความเจ็บปวยของตนเอง 7.4 ความรูสึกวาตนเองมีความหมายและ ……………………………...........………………………..…… ความสำคญั ตอผอู ื่น ……………………...........……………………………............. - กอนปวย ........................................................................ - ขณะปว ย ........................................................................ 7.5 ค ิ ด ว  า ต น เ อ ง ม ี อ ุ ป น ิ ส ั ย อ ย  า ง ไ ร ........................................................................ ........................................................................ สรุปผลการประเมิน การรบั คุณคา ความภาคภมู ิใจ ความม่ันใจในตนเอง ภาพลกั ษณ สงผลตอ การเจ็บปวย สง ผลตอการ ดูแลสุขภาพและการรับรูความเจ็บปวยของตนเอง ความสนใจในรูปรางหนาตาตนเอง การปดบัง อวัยวะบางสวน การเปรยี บเทยี บตนเองกบั ผูอื่น สีหนาทาทางท่ีแสดงความภาคภูมิใจ/การทอแทส้ิน หวงั 94

การซักประวัติ การสังเกต/การตรวจรา งกาย 8. บทบาทและสัมพันธภาพ 8.1 จำนวนสมาชกิ ในครอบครัว 8.1 การมาเยี่ยมของบคุ คลในครอบครวั / บุคคลอ่นื ....................................................................... ……………………………………………………..……………… 8.2 บทบาทและสัมพันธภาพกับสมาชิกใน ……………………………………………………………………… ครอบครวั 8.2 ปฏิสัมพนั ธก บั ผมู าเย่ียม ……………………………………………………………… …………………………………………………….……………… 8.3 บทบาทและสมั พันธภาพในสังคม ……………………………………………………………………… ...................……………………………………………… 8.3 อุปสรรคของการสื่อสาร เชน การใสทอชวย 8.4 การเปลี่ยนแปลงของบทบาทหนาท่ี หายใจ การผา ตัดกลอ งเสียง สมั พนั ธภาพกับคนในครอบครัวขณะปว ย ………………………………….………………………………… …………………….………………………………………… …………………….………………………………….…………… ……………………………………………………………… 8.4 สมั พันธภาพของผูปวยและบุคลากรในทมี 8.5 การเปลี่ยนแปลงของบทบาท หนา ที่ สุขภาพ สัมพันธภาพในอาชพี ขณะปวย ................................................................................ ........................................................................ ................................................................................ ........................................................................ 8.6 มใี ครมาเย่ยี มบา ง ........................................................................ สรุปผลการประเมิน การเจ็บปวยสงผลตอการเปลี่ยนแปลงบทบาทหนาที่ สัมพันธภาพกับคนในครอบครัวขณะปวย ขณะปว ยนก้ี ระทบตอ อาชพี การงานหรือไม อยา งไร 9. เพศและการสืบพนั ธุ 9.1 การพัฒนาการตามเพศและการเจริญ 9.1 พฤตกิ รรมตามเพศชาย/ หญิง พันธุ (เฉพาะรายทีม่ ีขอบง ชี้วา อาจผิดปกต)ิ การแตงกาย เพศหญงิ ………………………………………..…………………………… - มปี ระจำเดอื นครง้ั แรกอาย…ุ ………. ป การแสดงออกทางสีหนา ทา ทางคำพดู -จำนวนวนั ที่มปี ระจำเดือน …………….วนั …………………………………………………………. - อาการผิดปกติ …………………………………. ปฏิสัมพนั ธก ับบคุ คลเพศเดยี วกนั และตา งเพศ - ประจำเดือนครั้งสดุ ทา ย (LMP/ ……………………………………………………….…………… Menopause) ………………………………………… ……………………………………………………………………… 95

การซกั ประวัติ การสังเกต/การตรวจรางกาย 9.2 การรับรใู นบทบาททางเพศ 9.2 การตรวจรางกาย (เฉพาะรายที่มีขอบงชี้วา ........................................................................ อาจมคี วามผิดปกต)ิ ........................................................................ - เตา นม (เฉพาะเพศหญิง) 9.3 เพศสัมพันธ ………………………….………………………………………… - จำนวนบตุ ร …………………คน ……….............………………………………………………….. - วิธีการคมุ กำเนดิ .............………………........... -อวยั วะเพศ (ท้งั เพศหญงิ และเพศชาย) ลกั ษณะ สี - อาการขางเคียง……………………………………... กลน่ิ จำนวนของ สง่ิ คัดหลั่งทอ่ี อกมา (Discharge) - ความถ่ขี องการมีเพศสมั พันธ. ....……………… ………….………………………………………………………… - ปญหาเร่อื งเพศสัมพนั ธขณะปวย ……………………………………………….…………………… ........................................................................ 9.3 การตรวจทางหองปฏิบัติการและการตรวจ - การปองกนั โรคทางเพศสมั พันธ พ ิ เ ศ ษ (เ ช  น Mammogram, Tumor marker) …………............………………………………………… ………………….………………………………………………… สรุปผลการประเมิน - การมีเพศสมั พนั ธมีปญ หาหรือไม การคุมกำเนิดอยา งไร การปอ งกันโรคทางเพศสัมพันธุเหมาะสม หรอื ไม - เพศหญงิ ความผดิ ปกตขิ ณะมปี ระจำเดือน ตกขาว ตกเลือด เปน หนอง คัน มกี อ น ตมุ หรอื ไม - เพศชาย ปญ หาเก่ยี วกบั อวัยวะสบื พนั ธ หนอง คนั ตอ มลกู หมากโต ไสเ ล่อื น มกี อ น/ตมุ หรือไม - พฤติกรรมทแี่ สดงออกเหมาะสมกับเพศหรอื ไม 10. การปรับตัวและความทนทานกับ ความเครียด 10.1 ลกั ษณะทัว่ ไป/สหี นา ทาทาง 10.1 ลักษณะพน้ื ฐานของอารมณ ................................................................................ ……………………………………………………………… ................................................................................ ……………………………………………………………… 10.2 ปฏกิ ิริยาของรา งกายเม่ือเกดิ ความเครยี ด 10.2 สิ่งที่ทำใหไมสบายใจ กังวล กลัวใน ................................................................................ ปจ จุบัน ................................................................................ ……………………………………………………………… 1 0 . 3 ก า ร ต ร ว จ พ ิ เ ศ ษ / ก า ร ต ร ว จ ท า ง 10. 3 ผ ูใหคำปรึกษา ช ว ยเหลือ ให หอ งปฏบิ ัตกิ าร กำลังใจ…………………………………………………… ................................................................................ ……………………………………………………………… ................................................................................ 96

การซักประวัติ การสังเกต/การตรวจรางกาย 10.4 ผลกระทบของการเจ็บปวยในปจจุบัน ตอตนเอง ครอบครัว และ สังคม (งาน เพื่อน รวมงาน) ……………………………………………………………… ………………………………………………………………. 10.5 วธิ ีการระบายความเครยี ด ……………………………………………………………… ………………………………………………………………. สรปุ ผลการประเมนิ มคี วามเครียด วิตกกงั วลหรือไม มีสาเหตุมาจากอะไร 11. คณุ คาและความเชอื่ 11.1 ความตองการปฏิบัติกิจกรรมทาง 11.1 สิ่งทน่ี ับถอื บูชา/ สิ่งทย่ี ึดเหนย่ี ว ศาสนา/ความเช่อื ขณะอยูในโรงพยาบาล ................................................................................ ……………………………………………………………… ................................................................................ …………………………………………………………… ................................................................................ 11.2 สง่ิ ยดึ เหนยี่ วขณะปว ย 11.2 การปฏิบตั ิกิจกรรมทางศาสนาหรือพฤติกรรม ……………………………………………………………… ที่ปฏิบตั ติ ามความเชอ่ื 11.3 ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพและการ ................................................................................ เจบ็ ปวย ................................................................................ ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… 11.4 ความขัดแยงระหวางความเชื่อเกี่ยวกับ การเจบ็ ปว ยและการรกั ษาพยาบาล ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… สรปุ ผลการประเมนิ มคี วามมน่ั คงเขม แข็งทางจติ ใจหรอื ไม ความเช่ือที่ขัดกับการดูแลสุขภาพหรือไม ตารางที่ 3-2 แสดงแบบประเมนิ แบบแผนสขุ ภาพของกอรดอน (11 pattern Gordon) 97

3.2 การพยาบาลเพือ่ การจำหนายผปู วย การจำหนายผูปวย หมายถึง “การใหผูปวยออกจากโรงพยาบาลเมื่อแพทยเห็นวาผูปวยหาย หรือมีอาการดีขึ้น โดยใชกระบวนการติดตอประสานงานกับสหสาขาวิชาชีพ เพื่อการดูแลอยาง ตอ เนอื่ งภายหลงั ออกจากโรงพยาบาล” (ณฐั สุรางค บญุ จนั ทร และคณะ, 2559) 3.2.1 ประเภทการจำหนา ยผปู วย ประเภทการจำหนายผปู ว ย ดังน้ี 1) ผปู ว ยทเุ ลา โดยแพทยอนญุ าตเปน ลายลักษณอ กั ษร 2) ผูปวยไมสมัครใจรักษาตอในโรงพยาบาล ทั้งนี้ทีมพยาบาลตองอธบิ ายใหผูป วยทราบ เบือ้ งตนเก่ียวกับความไมป ลอดภัยที่อาจจะเกดิ ขึน้ โดยทมี แพทยแ ละโรงพยาบาลจะไมร ับผดิ ชอบใด ๆ ทั้งสิ้นและผปู ว ยจะตอ งเซ็นชือ่ ในใบไมสมคั รใจรบั การรักษาดวย 3) ผูปวยหนีกลับ พยาบาลจะตองลงบันทึกหลักฐาน เหตุการณที่เกิดขึ้นไวในบันทึก ทางการพยาบาลและแบบฟอรมของโรงพยาบาล เพือ่ ปองกนั ความผิดพลาดหรือการฟองรองท่ีอาจจะ เกดิ ขนึ้ 4) ผูปว ยถงึ แกกรรม พยาบาลจะตองบันทึกทางการพยาบาลต้ังแตแรกรบั จนถึงอาการท่ี รุนแรง การชวยเหลือของแพทยและการใหการพยาบาล และผานการลงความเห็นของแพทย ผรู บั ผิดชอบวาไมมสี ัญญาณชพี (vital signs) ท่ีแสดงถงึ การมชี ีวติ อยูข องผปู ว ย 3.2.2 ขัน้ ตอนการจำหนา ยผูปวย การจำหนา ยผูปวยโดยใชก ระบวนการพยาบาล โดย ณัฐสรุ างค บุญจนั ทร และคณะ (2559) อธบิ ายไวด ังนี้ 1) การประเมินผูปวยและการรวบรวมขอมูลดานสภาพรางกาย จิตใจ สังคม และจิต วิญญาณ รวมถึงแหลงประโยชนภายหลังการจำหนาย เริ่มวางแผนตั้งแตแรกรับ เพื่อติดตามประเมิน อยา งตอ เนื่องโดยทำไปควบคกู ับการใหการพยาบาล 2) การวินิจฉยั ทางการพยาบาล 3) การวางแผนการพยาบาล เพื่อกำหนดเปาหมายระยะสั้น ระยะยาวและวิธีการ ประเมินผล รวมทั้งเนื้อหาในการวางแผนจำหนายที่สื่อความหมายในทางปฏิบัติตามเฉพาะผูปวยแต ละราย ซึ่งปรับเปลี่ยนไดตลอดตามความเหมาะสม โดยใชรูปแบบการจำหนายตามหลัก METHOD เปน แนวทางปฏบิ ัตใิ นการใหค ำแนะนำกับผูปวย ดังนี้ 98

M = Medication ผูปว ยมีความรเู ก่ียวกบั ยาทร่ี บั ประทาน การสังเกตอาการผิดปกตริ ะหวาง รับประทานยา ตัวอยาง รับประทานยา ASA gr.1 sig 1 tab O.D. pc. สังเกตภาวะ เลือดออดงาย หยดุ ยาก E = Environment ผูปวยมีความรูเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดลอม การแนะนำแหลง and Economic ประโยชนใ นชมุ ชน รวมทงั้ ขอมูลเกยี่ วกับการจัดการปญหาดา นเศรษฐกิจ และสงั คม T = Treatment ผูปวยมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับทักษะที่จำเปนในการปฏิบัติตามการ รักษาของแพทย การเฝาสังเกตอาการตนเอง และความสามารถในการ จดั การกับภาวะฉกุ เฉนิ ของตนเองได ตวั อยาง หากมอี าการเหนอื่ ย นอนราบไมได รบี พบแพทย H = Health ผูปวยมีความรูเกี่ยวกับขอจำกัดทางดานรางกายที่สงผลกระทบตอการ ดำเนินชีวิตประจำวัน ใหสามารถปรับวิถีการดำเนินชีวิตใหเหมาะสมกับ ขอจำกัดดานสุขภาพ และสามารถปองกันภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดขึ้น ได ตัวอยา ง ออกกำลังกายกลามเน้อื แขนขา ขอ ตอ ปอ งกนั ขอตดิ แข็ง O = Outpatient ผูปวยเห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนดั และชอ งทางการขอความ referral ชว ยเหลอื กรณีเกดิ ภาวะฉกุ เฉิน D = Diet ผูปวยเขาใจและสามารถเลือกรับประทานอาหารไดเหมาะสมกับโรค หลกี เล่ยี งหรอื งดอาหารท่เี ปนอันตรายตอสขุ ภาพได ตารางท่ี 3-3 แสดงรปู แบบการจำหนา ยตามหลัก METHOD 3.2.3 การปฏบิ ัติการพยาบาลในการจำหนาย เม่อื มีการจำหนา ยผปู วยออกจากโรงพยาบาล ขัน้ ตอนการปฏิบัตกิ ารพยาบาล ดังนี้ 1) ตรวจสอบคำสง่ั การรักษาของเเพทย 2) ทบทวนแผนการจำหนา ยตามหลัก METHOD 99

3) อธบิ ายผปู วยและญาติเกีย่ วกับข้นั ตอนการจำหนา ย 4) คืนส่ิงของมีคา โดยตรวจสอบและเซน็ รับเพอื่ ปองกนั การผิดพลาด 5) อธบิ ายแผนการจำหนา ยกบั ผปู ว ย 6) ประเมินความรูความเขาใจและเปดโอกาสใหซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับการปฏิบัติตน เม่ือจำหนายออกจากโรงพยาบาล 7) ชวยเหลือผูปวยใหพรอมที่จะกลับบาน เชน เปลี่ยนเสื้อผา ทำแผล เก็บรวบรวม สิ่งของ เปน ตน 8) ดำเนินการเกี่ยวกับเอกสารการจำหนายตามนโยบายของโรงพยาบาล และติดตอกับ แผนกการเงินเก่ียวกบั คาใชจา ย 9) ตรวจสอบสญั ญาณชพี สังเกตและประเมนิ ความรสู กึ ของผูปว ย 10) เคล่ือนยายผปู วยพรอมสิ่งของ โดยมพี ยาบาลตดิ ตามไปสง ดวย 11) นำรถเข็นไปทำความสะอาดเพอื่ ลดจำนวนเชอ้ื จลุ ินทรียแ ละเกบ็ เขาท่ี 12) ทำความสะอาดเตยี งและสิ่งเเวดลอม ลางมือใหสะอาดและเช็ดใหแหง 13) บันทึกทางการพยาบาลเกี่ยวกับอาการผูปวยกอนจำหนาย สัญญาณชีพ วิธีการ เคลื่อนยาย คำแนะนำที่ใหกับผูปวย และเวลาที่จำหนายออกจากหอผูปวยใหสมบูรณเพื่อเก็บเปน หลักฐานตามกฎหมาย 3.3 การพยาบาลเพ่ือการสง ตอผูปว ย การสงตอ ผูป ว ย หมายถึง การยา ยผปู ว ยระหวางหอผปู วยในโรงพยาบาลเดียวกัน หรือการสง ตอ ผปู วยจากโรงพยาบาลหน่ึงไปยงั อีกโรงพยาบาลหนงึ่ เพื่อเขารบั การรกั ษาทเี่ หมาะสม 3.3.1 ข้นั ตอนการสง ตอ ผปู ว ย 1) การประเมินผูปวยและการรวบรวมขอมูล ดานสภาพรางกาย จิตใจ สังคม และจิต วิญญาณใหครอบคลุมกอนการสงตอผูปวย รวมทั้งประสานงานกับหอผูปวยหรือโรงพยาบาลที่รับ ผูปวยตอเกี่ยวกับ เหตุผลวัตถุประสงคในการสงตอ การประเมินวิธีการเคลื่อนยายผูปวยใหมีความ เหมาะสมและปลอดภยั 2) การวินจิ ฉยั ทางการพยาบาล โดยคำนงึ ถึงความวิตกกงั วลของผูปว ยในการปรับตัวกับหอ ผปู ว ยหรอื โรงพยาบาลใหม และความเสยี่ งระหวางการสงตอ ผูป ว ย 3) การวางแผนการพยาบาลเพื่อปองกันไมใหเกิดความผิดปกติในระหวางการเคลื่อนยาย ผูปวยสุขสบาย ไมมีความวิตกกังวลหรือมีความวิตกกังวลลดลงเกี่ยวกับการยายหอผูปวยหรือ โรงพยาบาลและไมเ กิดอุบัตเิ หตใุ ด ๆ ระหวา งการเคลอื่ นยาย 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook