Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอนการพยาบาลพื้นฐาน E-Book

เอกสารประกอบการสอนการพยาบาลพื้นฐาน E-Book

Published by jitrada.sin, 2022-07-10 06:30:15

Description: เอกสารประกอบการสอนการพยาบาลพื้นฐาน E-Book

Keywords: การพยาบาล หลักการ เทคนิคพยาบาล พื้นฐานการพยาบาล

Search

Read the Text Version

Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 551

แผนบรหิ ารการสอนประจำบทท่ี 14 วิธีปฎิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐานในการใหอ อกซิเจน หัวขอ เนื้อหาประจำบท 1. วิธีการใหอ อกซิเจนดว ย Nasal cannula 2. วิธีการใหอ อกซเิ จนดว ย Mask with bag 3. วิธกี ารใหออกซเิ จนดวย Collar mask จำนวนชวั่ โมงท่ีสอน: ภาคทดลอง 2 ช่วั โมง วัตถปุ ระสงคเ ชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบตั ิการใหอ อกซเิ จนดวยวิฑกี ารตา ง ๆ ไดถกู ตอง วิธีสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. วิธสี อน 1.1 สอนสาธิตและสาธิตยอ นกลับ 2. กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1 สอนสาธิตวิธีการใหออกซิเจนดวย Nasal cannula การใหออกซิเจนดวย Mask with bag การใหออกซเิ จนดวย Collar mask 2.2 ผเู รยี นฝกปฏิบตั แิ ละสาธิตยอ นกลับ 2.3 สะทอ นคดิ การฝกปฏิบัตแิ ละสรุปผลการเรยี นรู 2.4 ผเู รยี นยมื วัสุด อปุ กรณไ ปฝก ปฏบิ ตั ติ อนอกเวลาเพอ่ื ใหเ กดิ ทักษะ ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. อปุ กรณใ หอ อกซเิ จน วสั ดุ อุปกรณท างการแพทยในหองปฏิบตั กิ าร 3. โจทยสถานการณ การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลการสาธิตยอ นกลบั ตามแบบประเมินทักษะ 2. การสอบทกั ษะปฏบิ ตั แิ บบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 552

บทท่ี 14 วธิ ีปฎบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐานในการใหอ อกซิเจน การใหอ อกซิเจนสำหรับการปองกันหรือแกปญหาภาวะพรองออกซิเจน มีหลายวธิ ีข้นึ อยู กับระดับของภาวะพรองออกซิเจนของผูป วย โดยรายละเอียดของการใหออกซิเจนดวย Nasal cannula, Mask with bag, Collar mask มรี ายละเอียดดงั นี้ 14.1 วิธีการใหอ อกซเิ จนดว ย Nasal cannula 14.1.1 เตรยี มอปุ กรณ 1) ถงั ออกซเิ จน (Cylinder / Tanks) หรอื ออกซเิ จนจากหนว ยจายกลาง (central piped line) 2) อุปกรณค วบคุมอัตราการไหลของออกซเิ จน (flow meter) 3) กระบอกใหความช้ืนและฝอยละออง (Humidifier and nebulizer) 4) Nasal cannula 5) นำ้ กลน่ั ปลอดเชอื้ (Sterile water) 14.1.2 วธิ ปี ฏบิ ัติ 1) ลา งมอื ใหส ะอาด เพื่อลดการปนเปอนเชอ้ื โรค เตรยี มอปุ กรณใ หพ รอม 2) แจงผูปวยใหท ราบวัตถปุ ระสงคการใหออกซิเจน และวิธีการใหอ อกซิเจนโดยยอ เพื่อ ชวยคลายความวิตกกังวลของผปู วย 3) ตรวจสอบสัญญาณชีพและระดับความรูสึกตัว เพื่อประเมินอาการผูปวย ประเมิน ระดับความตองการออกซเิ จน 4) ทำความสะอาดชองจมูกทั้งสองขางกอนใหออกซิเจนและควรทำความสะอาดทุก 8 ช่วั โมง เพื่อใหชองจมกู โลง ลดการติดเชอ้ื 5) สวม Flow meter กับแหลงออกซิเจนที่ผนัง / ถัง ใหถูกตองและแนนพอดี เพ่ือ ปอ งกันไมใหออกซเิ จนไมร ั่ว ปริมาณออกซิเจนทไ่ี ดร ับไมเพียงพอ 6) ตอกระบอกความชื้นที่ใสน้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) ระดับที่ถูกตองคือไม มากกวาขีดสูงสดุ เพอื่ ปอ งกนั ไมให Flow meter เสยี และไมนอ ยนอ ยกวา ขีดต่ำสดุ เพ่ือปองกันระคาย เคืองเยอ่ื เมือกในชอ งจมูกและคอ 553

7) เปด การทำความช้นื แบบละอองโต (bubble) เพอ่ื ทำใหเ ยือ่ บุทางเดินหายใจชุมชื้นไม เกดิ การระคาย เคืองตอ หลอดลม 8) สวมสายออกซิเจน กับทอของเครื่องปรับความชื้น เตรียมการใหออกซิเจนพรอม ความชนื้ เพอ่ื ใหเกดิ ความช้ืนกอนใหผูป วย 9) หมุนปุมเปด Flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไวประมาณ 1 – 2 นาทกี อนสวมอุปกรณทุกชนิดให ผูปว ยตามแผนการรักษา เพือ่ ทดสอบวาออกซิเจนไหลผานไดดี และ ใหไ ดปรมิ าณตามแผนการรกั ษา 10) จดั ทา ใหผ ูป วยนอนศรี ษะสูง 15 – 30 องศา (Semi – Fowler, s position) หากไม มีขอ จำกดั 11) ใสสายออกซิแจน Nasal cannula สวมเขี้ยว (nasal prong) เขาในชองจมูกทั้ง 2 ขางโดยใหส วนโคง แนบไปกับโพรงจมูก เพอื่ ใหออกซิเจนผา นเขาไปในหลอดลมใหส ะดวก ปองกันการ ระคายเคือง- คลองสายกับใบหู 2 ขาง ปรับสายใหพอดกี ับใตคางเพื่อใหอยูในตำแหนงถูกตองปองกัน เลอื่ นหลุด- ปรบั ออกซิเจนตามแผนการรักษา 12) ลางมือใหสะอาด ลงบันทึกเกี่ยวกับการพยาบาลที่ใหกาซออกซิเจน ไดแก อาการ สัญญาณชีพผูปวย ปริมาณกาซออกซิเจนที่ให อุปกรณที่ให ปฏิกิริยาผูปวยเมื่อไดรับกาซออกซิเจน รวมทงั้ การประเมนิ ผล 14.2 วิธีการใหอ อกซิเจนดว ย Mask with bag 14.2.1 เตรียมอปุ กรณ 1) ถงั ออกซเิ จน (Cylinder / Tanks) หรือออกซเิ จนจากหนว ยจา ยกลาง (central piped line) 2) อุปกรณควบคุมอัตราการไหลของออกซเิ จน (flow meter) 3) กระบอกใหค วามชน้ื และฝอยละออง (Humidifier and nebulizer) 4) Mask with bag 5) น้ำกลัน่ ปลอดเช้อื (Sterile water) 14.2.2 วธิ ีปฏิบตั ิ 1) ลา งมือใหส ะอาด เพือ่ ลดการปนเปอนเชอื้ โรค เตรียมอปุ กรณใหพ รอ ม 2) แจง ผูปว ยใหทราบวัตถุประสงคการใหออกซิเจน และวิธกี ารใหออกซิเจนโดยยอ เพ่ือ ชวยคลายความวิตกกังวลของผปู ว ย 3) ตรวจสอบสัญญาณชีพและระดับความรูสึกตัว เพื่อประเมินอาการผูปวย ประเมิน ระดบั ความตองการออกซเิ จน 554

4) ทำความสะอาดชองจมูกทั้งสองขางกอนใหออกซิเจนและควรทำความสะอาดทุก 8 ช่วั โมง เพ่อื ใหชองจมูกโลง ลดการติดเชือ้ 5) สวม Flow meter กับแหลงออกซิเจนที่ผนัง / ถัง ใหถูกตองและแนนพอดี เพื่อ ปอ งกนั ไมใ หออกซิเจนไมรั่ว ปริมาณออกซเิ จนท่ีไดรับไมเ พยี งพอ 6) ตอกระบอกความชื้นที่ใสน้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) ระดับที่ถูกตองคือไม มากกวาขีดสูงสุด เพือ่ ปอ งกนั ไมให Flow meter เสียและไมนอยนอยกวา ขีดต่ำสดุ เพื่อปองกันระคาย เคอื งเยือ่ เมือกในชอ งจมูกและคอ 7) เปดการทำความชืน้ แบบละอองโต (bubble) เพ่อื ทำใหเยื่อบุทางเดนิ หายใจชุมชื้นไม เกิดการระคาย เคืองตอ หลอดลม 8) สวมสายออกซิเจน กับทอของเครื่องปรับความชื้น เตรียมการใหออกซิเจนพรอม ความชื้น เพ่ือใหเ กดิ ความชน้ื กอนใหผ ปู ว ย 9) หมุนปุมเปด Flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไวประมาณ 1 – 2 นาทีกอนสวมอุปกรณทุกชนดิ ให ผูปวยตามแผนการรักษา เพอ่ื ทดสอบวาออกซิเจนไหลผานไดดี และ ใหไ ดป รมิ าณตามแผนการรกั ษา 10) จดั ทาใหผ ปู ว ยนอนศรี ษะสูง 15 – 30 องศา (Semi – Fowler, s position) หากไม มีขอจำกดั 11) ใสสายออกซิแจน ใหเปดออกซิเจนไหลผานถุง 10 -20 ลิตร/นาที จนถุงโปงเต็มที่ เพื่อไลกาซอื่นที่คางใจถุงออก รวมทั้งทดสอบถุงไมรั่ว แลวจึงปรับออกซิเจน 6 -10 ลิตรตอนาทีตาม แผนการรักษา ครอบหนากากบริเวณสันจมูกและปากใหแนบสนิท ปรับสายคลองทัดเหนือใบหูรอบ ศรี ษะ 12) ลางมือใหสะอาด ลงบันทึกเกี่ยวกับการพยาบาลที่ใหกาซออกซิเจน ไดแก อาการ สัญญาณชีพผูปวย ปริมาณกาซออกซิเจนที่ให อุปกรณที่ให ปฏิกิริยาผูปวยเมื่อไดรับกาซออกซิเจน รวมทั้งการประเมินผล 14.3 วิธีการใหอ อกซเิ จนดว ย Collar mask 14.3.1 เตรียมอปุ กรณ 1) ถังออกซิเจน (Cylinder / Tanks) หรอื ออกซิเจนจากหนว ยจายกลาง (central piped line) 2) อปุ กรณค วบคุมอัตราการไหลของออกซเิ จน (flow meter) 3) กระบอกใหความช้นื และฝอยละออง (Humidifier and nebulizer) 4) Collar mask 555

5) นำ้ กลั่นปลอดเชือ้ (Sterile water) 14.3.2 วธิ ปี ฏบิ ัติ 1) ลา งมือใหส ะอาด เพือ่ ลดการปนเปอนเชื้อโรค เตรียมอุปกรณใ หพรอ ม 2) แจงผูป วยใหทราบวัตถปุ ระสงคการใหออกซเิ จน และวธิ กี ารใหอ อกซิเจนโดยยอ เพื่อ ชวยคลายความวติ กกังวลของผปู วย 3) ตรวจสอบสัญญาณชีพและระดับความรูสึกตัว เพื่อประเมินอาการผูปวย ประเมิน ระดบั ความตอ งการออกซิเจน 4) ทำความสะอาดชองจมูกทั้งสองขางกอนใหออกซิเจนและควรทำความสะอาดทุก 8 ช่ัวโมง เพอื่ ใหช องจมูกโลง ลดการตดิ เช้ือ 5) สวม Flow meter กับแหลงออกซิเจนที่ผนัง / ถัง ใหถูกตองและแนนพอดี เพ่ือ ปอ งกันไมใ หอ อกซเิ จนไมรวั่ ปรมิ าณออกซเิ จนที่ไดร ับไมเพยี งพอ 6) ตอกระบอกความชื้นที่ใสน้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) ระดับที่ถูกตองคือไม มากกวา ขดี สงู สุด เพอ่ื ปองกันไมใ ห Flow meter เสยี และไมนอยนอ ยกวา ขีดต่ำสุดเพ่ือปองกันระคาย เคอื งเยือ่ เมือกในชอ งจมกู และคอ 7) เปดการทำความชน้ื แบบละอองฝอย (jet) เพอ่ื ทำใหเยอ่ื บุทางเดนิ หายใจชมุ ช้ืนไมเกิด การระคาย เคืองตอหลอดลม 8) สวมสายออกซิเจน กับทอของเครื่องปรับความชื้น เตรียมการใหออกซิเจนพรอม ความชื้น เพอ่ื ใหเกดิ ความช้ืนกอนใหผ ปู ว ย 9) หมุนปุมเปด Flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไวประมาณ 1 – 2 นาทีกอ นสวมอุปกรณทุกชนดิ ให ผูปวยตามแผนการรักษา เพื่อทดสอบวาออกซิเจนไหลผานไดดี และ ใหไ ดปริมาณตามแผนการรกั ษา 10) จดั ทา ใหผ ูป วยนอนศีรษะสงู 15 – 30 องศา (Semi – Fowler, s position) หากไม มีขอจำกดั 11) ครอบหนากากบรเิ วณทอ หลอดลมคอ ปรบั สายใหพ อดี 12) ลางมือใหสะอาด ลงบันทึกเกี่ยวกับการพยาบาลที่ใหกาซออกซิเจน ไดแก อาการ สัญญาณชีพผูปวย ปริมาณกาซออกซิเจนที่ให อุปกรณที่ให ปฏิกิริยาผูปวยเมื่อไดรับกาซออกซิเจน รวมทัง้ การประเมินผล 14.4 บทสรปุ การใหออกซิเจนวิธีตาง ๆอยางถูกตองตามเทคนิคสามารถชวยดูแล แกปญหาพรอง ออกซิเจนไดเ ปนอยา งดรี วมท้งั สามารถลดภาวะแทรกซอนท่ีอาจเกดิ ขึ้นได 556

14.5 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน แบบประเมินทักษะการใหออกซิเจน (Oxygenation) ชอ่ื ................................................สกุล................................รหสั นักศึกษา...................................................... คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในชองท่ตี รงกับผลการปฏิบตั ิ ผลการปฏิบตั ิ หมาย วิธกี าร ปฏิบัติ ไมปฏิบตั ิ เหตุ (1) (0) ลำดบั ขนั้ เตรียม 1 ประเมินลักษณะการหายใจ (ลกึ /ตืน้ เร็ว/ชา เสยี งการหายใจ 2 วัดคา Oxygen saturation (SpO2) 3 ทักทายผปู ว ยและแนะนำตนเอง 4 อธิบายวตั ถปุ ระสงคข องการใหออกซิเจนใหผูปวยทราบ 5 เตรยี มอุปกรณถ ูกตอง ครบถว น พรอ มใช 6 จดั ทา ศีรษะสงู ประมาณ 15- 30 องศา หากไมมีขอจำกัด ขนั้ ปฏบิ ตั ิ 7 ลางมือถูกวิธี 7 ขั้นตอน 8 สวม Flow meter กบั แหลง ออกซเิ จนท่ีผนัง (Pipe-line)/ ถงั (Tank) 9 ตอกระบอกความชน้ื ท่ีใสน ้ำกล่นั ปลอดเช้อื (Sterile water) ใหระดบั นำ้ กล่ันอยู 2/3 ของกระบอกความชน้ื 10 เปดการทำความช้ืน -แบบละอองโต (bubble) สำหรับการให Nasal cannula, Mask -ละอองฝอย(jet) สำหรับ Collar mask, Oxygen Hood 11 สวมสายออกซิเจนกบั ทอ ของเครอ่ื งปรบั ความช้ืน 12 หมุนปุม เปด Flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซเิ จน ตามแผนการรักษา ทดสอบการไหลของออกซเิ จน 557

วธิ กี าร ผลการปฏิบัติ หมาย ลำดับ ปฏิบัติ ไมป ฏิบัติ เหตุ (1) (0) 13 ใสส ายออกซิแจนชนิดตาง ๆ ตามแผนการรักษา -Nasal cannula สวมเข้ียว (nasal prong) เขาในชองจมูก ทั้ง 2 ขาง โดยใหสวนโคงลง แนบไปกับโพรงจมูก คลองสาย 2 ขาง ปรบั สายใหพ อดกี ับใตคาง -Simple mask เลอื กขนาดใหพ อเหมาะโดยสามารถครอบ จมูกและปากของผปู ว ยพอดี ครอบหนากากบริเวณสนั จมกู และปากใหแนบสนิท ปรับสายคลองทัดเหนือใบหูรอบศีรษะ พอดี -Mask with reservoir bag ใหเ ปดออกซิเจนไหลผานถงุ 15 ลิตร/นาที จนถุงโปงเตม็ ท่ี เพือ่ ไลกา ซอื่นทค่ี างใจถงุ ออกและทดสอบการรว่ั ของถงุ แลว จงึ ปรบั การไหลตาม แผนการรกั ษา ครอบหนากากบรเิ วณสนั จมูกและปากให แนบสนิท ปรับสายคลอ งทดั เหนือใบหูรอบศรี ษะ จดั ใหพ อดี -Collar mask ครอบที่ทอหลอดลมคอ ปรบั สายรัดใหพ อดี ข้ันประเมนิ ผล 14 ประเมนิ ลักษณะการหายใจ อัตราการหายใจ oxygen saturation (≥ 95%) ข้ันบนั ทกึ ผล 15 บนั ทึกสภาวะของผปู ว ยและลักษณะการหายใจ 16 บันทกึ คา oxygen saturation จาก pulse oximeter รวม (16 คะแนน) 558

14.6 เอกสารอางองิ ณัฐสุรางค บุญจันทร และอรุณรัตน เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอน็ พเี พรส. ธนรัตน พรศิริรัตน และ สุรัตน ทองอยู. (2563). การพยาบาลผูปวยผูใหญที่มีภาวะพรองออกซิเจน และไดรับการรกั ษาดว ย High Flow Nasal Cannula. เวชบนั ทกึ ศิรริ าช, 13(1), 60-68. สัมพันธ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พืน้ ฐาน II. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท บพธิ การพมิ พ จำกดั . สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พืน้ ฐาน I.กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท บพิธการพมิ พ จำกดั . อัจฉรา พุมดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลัย. อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ัท ธนาเพรส จำกดั . อภิญญา เพียรพิจารณ (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัท จรัลสนิทวงศก ารพมิ พ จำกัด. Michael A Matthay, B Taylor Thompson, Lorraine B Ware. (2021). The Berlin definition of acute respiratory distress syndrome: should patients receiving high-flow nasal oxygen be included?. The Lancet, 9, 933-936. Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 559

แผนบรหิ ารการสอนประจำบทท่ี 15 วิธีปฎิบัตกิ ารพยาบาลพ้นื ฐานในการดดู เสมหะทางทอ หลอดลมคอ หัวขอเนอื้ หาประจำบท 1. วธิ ีการดดู เสมหะทางทอหลอดลมคอ จำนวนช่ัวโมงทส่ี อน: ภาคทดลอง 2 ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงคเ ชิงพฤติกรรม 2. ปฏบิ ัติการดูดเสมหะทางทอ หลอดลมคอของผปู วยในโจทยสถานการณไ ดถกู ตอง วิธสี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 สอนสาธิตและสาธิตยอนกลับ 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.1 สอนสาธิตการดดู เสมหะทางทอ หลอดลมคอ 2.2 ผเู รียนฝกปฏบิ ตั ิและสาธิตยอ นกลับ 2.3 สะทอ นคิดการฝก ปฏบิ ตั ิและสรปุ ผลการเรยี นรู 2.4 ผูเ รยี นยืมวสั ุด อุปกรณไ ปฝกปฏบิ ตั ิตอนอกเวลาเพอ่ื ใหเ กดิ ทักษะ สื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. อุปกรณใหออกซิเจน การดูดเสมหะ วสั ดุ อุปกรณท างการแพทยในหอ งปฏบิ ตั กิ าร 3. โจทยส ถานการณ อปุ กรณท างการแพทยใ นหองปฏิบตั ิการ การวัดผลและประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลการสาธติ ยอ นกลับ ตามแบบประเมินทักษะ 2. การสอบทกั ษะปฏิบัติแบบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 560

บทที่ 15 วธิ ปี ฎิบัตกิ ารพยาบาลพืน้ ฐานในการดดู เสมหะทางทอ หลอดลมคอ การดดู เสมหะจะชว ยขจัดเสมหะออกจากทางเดินหายใจ ทำใหผ ปู วยมีทางเดนิ หายใจโลง 2) ปองกันทางเดินหายใจอุดกั้น ภาวะปอดอักเสบ ถุงลมปอดแฟบ และการติดเชื้อในระบบทางเดิน หายใจจากการมีเสมหะค่งั คางได โดยวิธีการดดู เสมหะทางทอหลอดลมคอมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 15.1 วธิ ีการดูดเสมหะทางทอหลอดลมคอ 15.1.1 การเตรียมอุปกรณ 1) เครื่องดูดเสมหะชนิดติดฝาผนัง (Wall suction) หรือรถเคลื่อนที่ไฟฟา (Portable suction machine) 2) ขอตอควบคุมแรงดัน (vacuum control fingertip) 3) หฟู ง (Stethoscope) ใชฟ ง เสียงเสมหะในปอด 4) สายดูดเสมหะปลอดเชื้อ (suction catheter) การเลือกสายดูดเสมหะ คือ เสน ผาศูนยกลางของสายดูดเสมหะตองมีขนาดไมเกนิ ½ ของเสน ผาศนู ยกลางของทอเจาะคอหรือทอ หลอดลมคอ ผใู หญใชเ บอร 14-16 Fr. เด็กใชเ บอร 8-12 Fr. ทารกใชเบอร 4 – 8 Fr. 5) ถงุ มือปลอดเชอื้ 7) ผา ปด จมกู (Mask) 8) สำลีปลอดเชือ้ และ 70% แอลกอฮอล 9) ปากคีบ (Forceps) 10.) ขวดน้ำสะอาด 1 ขวดสำหรบั ลา งสายยางที่ใชดูดเสมหะแลว 11) ถังขยะตดิ เช้อื 12) เสื้อกาวน สำหรับผูปวยกรณีติดเชื้อที่สามารถติดตอไดทางเสมหะ หรือทางเดิน หายใจ 15.1.2 วธิ ีการปฏบิ ัติ 1) ลา งมอื ใหสะอาด เพ่ือลดการติดเชือ้ และการแพรกระจายเชือ้ 2) สวมผาปดปากและจมูก เพื่อปองกันการแพรกระจายเชื้อของละอองเสมหะ หาก ผูป ว ยมีการติดเชือ้ ทส่ี ามารถติดตอ ไดท างเสมหะหรือทางเดนิ หายใจใหสวมเส้อื กาวน 561

3) ใชสำลีชุบแอลกอฮอล 70% เช็ดทำความสะอาดบริเวณปลายขอตอของสายดูด เสมหะทีต่ อ กับเครอ่ื งดดู เสมหะ 4) ฉีกซองสายดูดเสมหะ สวมถุงมือปลอดเชื้อขางที่ถนัดและหยิบสายดูดเสมหะดวย เทคนิคปลอดเช้ือ 5) ตอสายดูดเสมหะเขากับขอตอของสายเครื่องดูดเสมหะ ระมัดระวังไมใหถุงมือและ สายดดู เสมหะปนเปอ น (Contaminate) 6) เปดเครื่องดูดเสมหะดวยมือขางที่ไมใสถุงมือ ปรับแรงดันใหเหมาะสม เพื่อปองกัน ไมใหเ กิดการระคายเคืองหรือการบาดเจบ็ ของเซลลบทุ างเดนิ หายใจ ดงั นี้ เดก็ เล็ก 60-90 มม.ปรอท เดก็ โต 80-100 มม.ปรอท ผใู หญ 100-120 มม.ปรอท 7) ใสสายดูดเสมหะโดยไมอุดรูเปดของขอตอควบคุมความดัน ผานทอหลอดลมคอ (Tracheostomy tube) ใหใสสายดูดเสมหะถึงระดับ Carina หรือรูสึกวามีสิ่งกีดขวาง แลวดึงสาย ขึ้นมา 1 เซนติเมตร เพื่อใหปลายสายดูดเสมหะอยูในตำแหนงที่เหมาะสมและสามารถดูดเอาเสมหะ ออกมาได 8) เริ่มดูดเสมหะ โดยใชนิ้วหัวแมมือขางที่ไมถนัดปดรูขอตอควบคุมความดัน ขณะเดียวกันใชนิ้วมือขางท่ีสวมถุงมือคอยๆดึงสายดดู เสมหะขึ้นอยา งนุมนวล ใชระยะเวลาในการดดู เสมหะแตล ะครั้ง ไมเกิน 10-15 และในการดูดเสมหะแตละคร้ัง ควรเวน ระยะ 20-30 วนิ าที ใหผูปวย พกั หรอื ใหผ ูปว ยหายใจ 3 – 5 ครงั้ เพอื่ ปองกันภาวะพรอ งออกซิเจน 9) การดูดเสมหะไมควรเกิน 3 ครั้งตอรอบของการดูดเสมหะ เพราะอาจทำใหผูปวยไม สุขสบาย และเกิดการบาดเจ็บของเยื่อบทุ างเดินหายใจ โดยเฉพาะในผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บทางศีรษะ อาจสง ผลใหการไหลเวยี นโลหิตเปลีย่ นแปลง และอัตราการเตน ของหัวใจเพ่มิ ขึ้น 10) กรณีที่ยังมีเสียงเสมหะใหดูดซ้ำได โดยเวนระยะใหผูปวยพักหายใจอยางนอย 2-3 นาที เพอื่ ปอ งกนั ภาวะพรอ งออกซิเจน 11) ในผปู วยท่ตี องการเก็บเสมหะสง ตรวจ ใหตอ สายดดู เสมหะเขากบั สายยางของหลอด เก็บเสมหะ เมอื่ ดูดเสมหะแลว ใหปลดสายดูดเสมหะออกจากหลอดเก็บเสมหะ แลว นำเสมหะสง ตรวจ 12) ขณะดูดเสมหะ ใหสังเกตลักษณะสี ปริมาณเสมหะ และอาการแสดงของผูป วยดว ย เชน อาการหายใจลำบาก กระสับกระสาย ปลายมือปลายเทาเขียว เปนตน เพื่อสังเกตภาวะพรอง ออกซเิ จน 562

13) ในกรณีที่มีเสมหะหรือน้ำลายในปากใหใชสายดูดเสมหะเสนใหม หามใชสายดูด เสมหะที่ดูดน้ำลายในปากแลวมาดูดเสมหะทางทอทางเดินหายใจ เนื่องจากอาจทำใหเกิดการติดเช้ือ ได 14) หลังการดูดเสมหะใหลางสายดูดเสมหะ โดยการดูดน้ำสะอาดจากขวดที่เตรียมไว เพอ่ื ปอ งกนั ไมใหเ สมหะอุดตนั สายยาง และปอ งกนั การแพรก ระจายเชอื้ โรค 15) ปดเครื่องดูดเสมหะ ปลดสายดูดเสมหะ และถอดถุงมืออยางถูกวิธีแลวทิ้งลงในถัง ขยะติดเชือ้ เพ่ือปอ งกันการแพรก ระจายเชื้อโรค 16) เช็ดขอตอของเครื่องดูดเสมหะดวยสำลีชุบแอลกอฮอล 70% เพื่อทำความสะอาด และลดการแพรกระจายเชอ้ื โรค 17) ถอดผาปดปากและจมูกแลวลางมือใหสะอาดและเช็ดใหแหง เพื่อปองกันการ แพรกระจายเช้อื โรค ภายหลังการปฏิบตั กิ จิ กรรมการพยาบาล 18) จัดใหผูปวยนอนในทาที่สุขสบาย เพื่อใหผูปวยไดพักผอนหลังการปฏิบัติกิจกรรม การพยาบาล 19) การประเมินผลภายหลังการดูดเสมหะ ลักษณะการหายใจ เสียงเสมหะในปอด คา ความอ่มิ ตวั ของออกซิเจน (Oxygen saturation) 20) บนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิการพยาบาล 15.2 สรปุ การดูดเสมหะมีความสำคัญอยางมากในผูปวยที่มีความผิดปกติในระบบทางเดินหายใจ ที่ ไดร บั การใสทอทางเดินหายใจชนิดตา งๆ และผปู วยที่ไมส ามารถไอขบั เสมหะไดดว ยตนเอง ระมดั ระวัง ในทุกขนั้ ตอนของการดดู เสมหะเพอื่ ลดภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดขน้ึ ได 563

15.3 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพืน้ ฐาน แบบประเมินทักษะการดูดเสมหะ (Suction) ชอ่ื .....................................สกุล...........................................รหสั ...................................... คำช้ีแจง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในชอ งทต่ี รงกบั ผลการปฏิบตั ิ วิธีการ ผลการปฏิบตั ิ หมาย ลำดบั ปฏบิ ัติ ไมปฏิบตั ิ เหตุ (1) (0) ขัน้ เตรียม 1 ลักษณะการหายใจ (ลึก/ตืน้ เร็ว/ชา เสียงการหายใจ) 2 ฟง เสียงปอด ประเมินเสยี งเสมหะในทางเดนิ หายใจ 3 ทักทายผูป ว ยและแนะนำตนเอง 4 อธบิ ายวตั ถุประสงคของการดูดเสมหะใหผปู ว ยทราบ 5 เตรยี มอุปกรณถูกตอง ครบถวน พรอมใช 6 จดั ทา ศรี ษะสงู ประมาณ 30 องศา(semi- fowler position) 7 ลา งมือถูกวิธี 7 ข้นั ตอน 8 สวม Mask ข้ันปฏบิ ัติ (กอนดูดเสมหะ ใชห ลักปลอดเชื้อ) 9 เชด็ ขอ ตอ (fingertip) ดว ยแอลกอฮอล 70% 10 ฉีกซองสายดดู เสมหะ แลววางไวโ ดยที่ไมมกี ารปนเปอน 11 สวมถงุ มอื ปลอดเช้อื มือขา งท่ีถนดั 12 หยบิ สายดดู เสมหะปลอดเชอื้ ดวยมอื ขา งที่สวมถุงมอื 13 ตอสายดูดเสมหะปลอดเช้ือกับขอ ตอโดยไมปนเปอ น 14 เปดเคร่ืองดูดเสมหะดว ยมอื ขางท่ีไมส วมถุงมือ โดยไมใหส าย ปนเปอน 15 เลอื กแรงดันถูกตอง เด็กเล็ก 60-90 mmHg เดก็ โต 80-100 mmHg ผใู หญ 100-120 mmHg 564

วธิ กี าร ผลการปฏิบัติ หมาย ลำดับ ปฏิบตั ิ ไมป ฏิบตั ิ เหตุ (1) (0) ข้ันปฏบิ ตั ิ (ขณะดดู เสมหะ ใชหลกั ปลอดเชื้อ) 16 สอดสายดดู เสมหะเขา ไปในทอหลอดลมอยางรวดเร็วและ นมุ นวล โดยไมปด รขู อตอควบคุมแรงดนั (fingertip) 17 สอดสายจนถึงบรเิ วณ carina หรือผูปว ยไอ ดงึ สายขึ้นมา ประมาณ 1 ซ.ม. 18 ปดรูขอ ตอควบคุมแรงดนั (fingertip) เพื่อดดู เสมหะ ดึงออกชา ๆ ใชเวลาประมาณ 10 – 15 วนิ าที 19 เวน ระยะ 20-30 วนิ าที ใหผูปวยพักหรอื ใหผ ปู ว ยหายใจ 3 – 5 ครั้ง กอ นการดดู ครั้งตอไป 20 การดดู เสมหะไมควรเกิน 3 ครง้ั ตอรอบของการดูดเสมหะ 21 กรณที ่ยี ังมเี สียงเสมหะใหดดู ซ้ำได โดยเวนระยะใหผ ปู วยพกั หายใจอยางนอย 2-3 นาที ขน้ั ปฏิบตั ิ (หลงั ดูดเสมหะ) 22 ดดู นำ้ เพ่ือลางสายดูดเสมหะใหส ะอาด 23 ปดเครอ่ื งและปลดสายดูดเสมหะออก 24 ถอดถงุ มือและท้งิ สายดูดเสมหะลงถังขยะติดเช้ือ 25 เช็ดขอ ตอดวยแอลกอฮอล 70% 26 ถอด mask ทงิ้ ลงถังขยะติดเช้อื 27 ลา งมอื ใหสะอาด ขน้ั ประเมินผล 28 ประเมนิ การหายใจ ผูป วยหายใจสะดวก ไมกระสับกระสา ย เ เสมหะลดลง คา oxygen saturation 29 ขน้ั บนั ทกึ ผล 30 บันทึกสภาวะของผูปว ยและลักษณะการหายใจ 31 ลักษณะของเสมหะ สี กลน่ิ ปรมิ าณ 32 บันทกึ คา oxygen saturation จาก pulse oximeter รวม (32 คะแนน) 565

15.4 เอกสารอางองิ ณัฐสุรางค บุญจันทร และอรุณรัตน เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอ็นพเี พรส. สัมพันธ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พืน้ ฐาน II. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั บพิธการพิมพ จำกดั . สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้ืนฐาน I.กรุงเทพฯ: บรษิ ทั บพิธการพิมพ จำกัด. อัจฉรา พุมดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัท ธนาเพรส จำกดั . อภิญญา เพียรพิจารณ (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัท จรัลสนทิ วงศก ารพมิ พ จำกดั . Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 566

บรรณานกุ รม ณัฐสรุ างค บญุ จันทร และคณะ. (2559). ทักษะพน้ื ฐานทางการพยาบาล 1. กรงุ เทพฯ: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. ถนอมขวญั ทวบี รู ณ. (2553). การพยาบาล ใน สิริรัตน ฉตั รชัยสชุ า ปรางคทพิ ย อุจะรัตน ณัฐสุรางค บุญจันทร. ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ; หางหุนสวนจำกัด เอ็น พี เพรส; หนา 4. ธนรัตน พรศิริรัตน และ สุรัตน ทองอยู. (2563). การพยาบาลผูปวยผูใหญที่มีภาวะพรองออกซิเจน และไดร ับการรกั ษาดว ย High Flow Nasal Cannula. เวชบนั ทกึ ศิริราช, 13(1), 60-68. นารรี ัตน จติ รมนตร.ี การแจงขาวรา ยและการดูแลครอบครัวผูปวยในภาวะฉุกเฉิน. ใน : วรี ศักดิ์ เมือง ไพศาล, บรรณาธิการ. การจัดการภาวะฉุกเฉินสำหรับผูสูงอายุ. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี: หางหนุ สว นจำกัด ภาพพมิ พ; 2560. หนา 221-224. นภา หลิมรตั น และ ศรเี วียง ไพโรจนกุล. การดูแลผูป ว ยระยะทายสำหรับผูใ หการดูแล. ขอนแกน : โรง พมิ พคลงั นานาวิทยา. 2559. ประเสริฐ เลิศสงวนสินชัย, อิศรางค นุชประยูร, พรเลิศ ฉัตรแกว, ฉันชาย สิทธิพันธุ (บรรณาธิการ)., การดแู ลผปู ว ยระยะสดุ ทา ย.กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ กั ษรสัมพันธ, 2550. ประกอบ สุขบุญสง. (2546). ประสบการณ 50 ป วิชาชีพพยาบาลที่ฉันรัก. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักงานพมิ พ Creative corner. พรทพิ ย พรหมแทนสุด สุทธพี ร มูลศาสตร และดนยั หีบทาไม. (2561). ประสิทธผิ ลของโปรแกรมการ จัดการความปวดรวมกับการปรับสิ่งแวดลอมในผูสูงอายุขอเขาเสื่อม. วารสารพยาบาล, 67(4), 34-43. ยงค รงครุงเรือง และ จริยา แสงสัจจา. (2556). เกณฑการวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาล. สืบคน จาก www.bamras.or.th ยุทธชัย ไชยสิทธ. (2556). การประยุกตใชแบบแผนสุขภาพในการพยาบาลผูติดเชื้อเอชไอวีแบบองค รวมตามหลักฐานเชิงประจักษ. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 31(2), 100-110 ราชวิทยาลัยวิสัญญีแหงประเทศไทยและสมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแหงประเทศไทย. (2562). แนวทางการพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันหลังผาตัด ฉบับที่ 2. สืบคนจาก http://www.anesthai.org 567

วิจิตรา กุสุมภ อรุณี เฮงยศมาก รวีวรรณ ศรีเพ็ญ สัมพันธ สันทนาคณิต ธัญญลักษณ วจนะวิศิษฐ ภทั พร ขำวิชา รตั นา จารุวรรโน. (2555). ประเดน็ และแนวโนม วชิ าชพี การพยาบาล. พิมพ ครงั้ ท่2ี ฉบบั ปรบั ปรงุ , กรงุ เทพฯ; หางหุนสว นสามญั นติ ิบุคคล สหประชาพาณชิ ย. วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน : หลักการและแนวคิด. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย. สมจินต เพชรพันธศุ รี ถนอมขวัญ ทวบี ูรณ เบญจพร สุขประเสริฐ โสพสั ศริ ไิ สย ณจั นา สนุ ัยพันธ และ จรรยา เจริญสุข. (2557). รูปแบบการดูแลผูปวยระยะสุดทายของชีวิตในชุมชนของ กรงุ เทพมหานคร. 12(1) : 76-89. สัมพันธ สันทนา คณิต สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศธีรทรัพย. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พน้ื ฐาน II. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั บพิธการพมิ พจ ำกัด. สภาการพยาบาล. (2540). พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. 2528 และ แกไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิวิชาชพี การพยาบาลและผดงุ ครรภ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2540. สุปราณี เสนาดิสัย และวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: บริษัทจุด ทอง จำกัด. สุภวรรณ วงศธีรทรัพย สุมาลี โพธิ์ทอง และสัมพันธ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พน้ื ฐาน 1. กรงุ เทพฯ : บริษทั บพิธการพมิ พ จำกัด. สรุ ยี  ธรรมกิ บวร. (2554). การพยาบาลองครวม : กรณีศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : ธนาเพลส จำกดั . อติภัทร พรมสมบัติ สุพร ดนัยดุษฎีกุล อรพรรณ โตสิงห และ จตุพร ศิริกุล. (2563). ปจจัยทํานาย ความปวดในผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บกอนจําหนายจากโรงพยาบาล. Nursing Science Journal of Thailand. 38(2), 59-73. อภิญญา เพียรพิจารณ (2556). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพรส จำกดั . อภิญญา เพียรพิจารณ. (2558). คูมือปฏิบัติการพยาบาลเลม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท จรัลสนทิ วงศก ารพมิ พ จำกดั . อมรรัตน แสงใสแกว และพชั นี สมกำลงั . (2561). การประยุกตใ ชแ นวคดิ การพยาบาลแบบองครวมใน ผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอว. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. ฉบับการประชุม วชิ าการครบรอบ 25 ป. 203 – 208. 568

อัจฉรา พุมดวง. (2555). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลยั . Anne GP. (2016). Nursing Interventions & Clinical Skills. St. Louis: Mosby Elsevier. Barbara KT. (2017). Fundamental Nursing Skills and Concepts. Philadelphia: Walters Kluwer. Christensen BL, Kockrow EO. (2011). Fundations and Adult Health Nursing.6th ed, St Louis: Mosby Elsevier. Jeanette I.Webster Marketon and Ronald Glaserac. ( 2008) . Stress hormones and immune function. Cellular immunology: 252(1-2); 16-26. Michael A Matthay, B Taylor Thompson, Lorraine B Ware. (2021). The Berlin definition of acute respiratory distress syndrome: should patients receiving high-flow nasal oxygen be included? The Lancet, 9, 933-936. Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia AP. (2017). Fundamentals of Nursing. St. Louis: Mosby Elsevier. Potter PA, Perry AG, Stockert, PA, Hall AM. (2013). Fundamentals of nursing. 8thed St. Louis: Elsevier Mosby; 2013. Selander LC. (2010). The power of environmental adaptation; Florence Nightingale’s original theory for nursing practice. J Holistic Nursing; 81(3): 133-4. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing. 8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 569

คำถามทา ยบทที่ 1 เฉลยคำถามทา ยบท ขอ 1. ขอ ใดคอื ภาวะสุขภาพดี (well being) เฉลย ผูสูงอายุเปนโรคความดันโลหิตสูง รำไทเกกทุกเย็น เพราะอานหนังสือพบวาชวยลด ความดนั ได ขอ 2. ขอ ใดเปนการสวมบทบาทของพยาบาลผพู ทิ ักษสิทธิ (Advocator) เฉลย อธิบายเหตผุ ลของการไดร บั ขอ มลู กอนเซ็นยนิ ยอมรบั การรักษา ขอ 3. ขอใดคือตวั ยอของหลกั การความปลอดภัยของผูปว ย (Patient safety) เฉลย SIMPLE ขอ 4. พยาบาลสอบถามผูปวยวา “ผูปวยมานอนโรงพยาบาลมีใครชวยดูแลลูกไหมคะ” บงบอก ถงึ ความตระหนกั ถงึ ปญหาดานใดของผปู วย เฉลย สังคม คำถามทายบทที่ 2 กรณีศกึ ษาที่ 1 ผูปว ยชายไทย ไดร บั การวินิจฉัยเปน Precaution (HIV) ผูปวยมีอาการ ออนเพลียมาก หายใจเหนือ่ ย มีเสมหะ ผลการตรวจเสมหะพบเชือ้ วัณโรค ในระยะแพรกระจาย จง ตอบคำถามและวางแผนการพยาบาลเพื่อปองกันการตดิ เช้ือทำและปองกนั การแพรก ระจายเชอ้ื โรค 1. จงระบุ Mode of transmission ………Airborne transmission ……………………………… 2. จงระบุ Transmission- based precaution ………… Airborne precaution (AP)……………………………………………… 3. จงวางแผนการพยาบาลโดยใชค วามรูทเี่ กย่ี วของกบั Standard precaution และ Transmission- based precaution - จัดผูปว ยอยูหอ งแยก - สวมชุดปองกัน Full PPE 570

กรณีศึกษาที่ 2 ผูปวยหญิงไทย มีประวัติเลี้ยงสัมผัสไกปวยตาย ไดรับการวินิจฉัยเปน ไขหวัดนก ผูปวยมีอาการออนเพลียมาก หายใจเหนื่อย จงตอบคำถามและวางแผนการพยาบาลเพือ่ ปองกนั การแพรกระจายเชือ้ โรค 1. จงบอกชนิดและชื่อของเชื้อไขหวัดนก……… Influenza A virus H5N1…………………………………………… 2. จงระบุ Mode of transmission……………… Airborne transmission ……………………………. 3. จงระบุ Transmission- based precaution…… Airborne precaution (AP)………………… 4. จงวางแผนการพยาบาลโดยใชความรูที่เกี่ยวของกับ Standard precaution และ Transmission- based precaution - จดั ผปู ว ยอยูหอ งแยก (negative pressure) - สวมชุดปอ งกนั Full PPE กรณีศึกษาที่ 3 ผูปวยหญิงไทย ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคปอดบวม ผลเสมหะพบเชื้อ K. Pneumoniae ผูปวยมีอาการไอมีเสมหะสีเขียวขน จงตอบคำถามและวางแผนการพยาบาลเพื่อ ปองกนั การแพรกระจายเช้ือโรค 1. จงระบุ Mode of transmission………………Contact transmission…………………………… 2. จงระบุ Transmission- based precaution………… Contact precaution………………………. 3. จงวางแผนการพยาบาลโดยใชความรูทเ่ี ก่ยี วของกับ Standard precaution และ Transmission- based precaution คำถามทายบทท่ี 3 ขอ 1 ประวตั กิ ารเจ็บปวยปจจบุ นั คอื ขอใด เฉลย Present illness (PI) ขอ 2 “อาเจียน ถา ยเหลว 6 ชัว่ โมงกอ นมาโรงพยาบาล” ประโยคนหี้ มายถึงขอใด เฉลย Chief complain (CC) ขอ 3 “เคยผา ตัดไสต ่ิง เมอื่ 1 ปกอน” ประโยคน้หี มายถึงขอใด เฉลย Past illness 571

ขอ 4 ประวตั ยิ าเดิมทีผ่ ูปวยเคยรบั ประทาน หมายถงึ ขอ ใด เฉลย Medication Reconciliation (MR) ขอ 5 การซกั ประวตั ปิ จจบุ ัน หมายถึงใหผ ูปวยบอกเลาเรื่องใด เฉลย การเจบ็ ปว ยตง้ั แตเ ริม่ มอี าการ ขอ 6 การซกั ประวตั เิ ก่ียวกับการหายใจ อยูแ บบประเมิน 11 pattern Gordon แบบแผนใด เฉลย กจิ กรรมและการออกกำลงั กาย ขอ 7 การจำหนายผปู วยใชห ลกั การในขอใด เฉลย METHOD ขอ 8 คำสั่งการรักษา ใหรับประทานยา Brufen ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง คำแนะนำเรื่องยา เมือ่ จำหนา ยผปู ว ยขอใดถกู ตอง เฉลย รับประทานยาใหครบทุกมื้อ หลังอาหารทนั ที ระวังอาการปวดทอง คำถามทายบทท่ี 4 ขอ 1 Fever หมายถึง อณุ ภมู ริ างกายในขอ ใด เฉลย 37.7 0C ขอ 2 Pulse = 110 bpm หมายถึงขอ ใด เฉลย Tachycardia ขอ 3 วิธีการนบั Respiration rate ขอ ใดถูกตอง เฉลย หายใจเขา หายใจออก นับ 1 คร้ัง ขอ 4 BP = 80/50 mmHg หมายถงึ ขอ ใด เฉลย ความดันโลหิตต่ำมาก มภี าวะชอ็ ก ขอ 5 BP = 120/80 mmHg ตวั เลข 80 หมายถึงขอใด เฉลย Diastolic BP ขอ 6 ผูปวยหลังทำผา ตัดเตา นมขวาและเลาะตอมน้ำเหลือง ควรวดั ความดนั โลหติ ท่ีตำแหนงใด เฉลย แขนซาย ขอ 7 คา ความดันโลหติ ในขอ ใด หมายถงึ Hypertension stage 2 เฉลย 144/98 mmHg ขอ 8 ผปู ว ยเดก็ อายุ 10 ป เรียนหนังสืออยูช นั้ ป. 4 ควรใชแบบประเมินความปวดในขอใด เฉลย Number rating scale 572

ขอ 9 การบันทกึ ชีพจรในฟอรม ปรอท ตอ งใชห มึกสใี ด เฉลย สีแดง ขอ การบนั ทกึ คะแนนความปวดในฟอรมปรอท ตอ งบันทึกอยา งไร 10 เฉลย ใชเครอ่ื งหมาย สีเขยี วหรอื ตามทห่ี นวยงานกำหนด คำถามทายบทท่ี 5 ขอ 1 เทคนิคการนวดหลัง (Back rub) ทช่ี วยขบั เสมหะออกจากปอดไดคอื ขอ ใด เฉลย Percussion ขอ 2 ขอ ใดคือ ทาจบของการนวดหลัง เฉลย Stroking ขอ 3 การทำความสะอาดฟน ปลอมขอใด ไมถูกตอง เฉลย ลวกนำ้ อนุ ขอ 4 การทำเตียงผปู ว ยที่แพทยไ มอนญุ าตใหลงจากเตยี งคือขอใด เฉลย Occupied bed ขอ 5 การทำความสะอาดอวัยวะสบื พนั ธภ ายนอก ตองเตรยี มสำลีอยางนอยกี่กอน เฉลย 6 กอน ขอ 6 การทำความสะอาดอวัยวะสบื พันธภ ายนอกผปู วยเพศหญงิ สำลีกอนท่ี 1 เช็ดบริเวณใด เฉลย Mons pubis ขอ 7 การจัดทาสำหรับการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธภายนอกผูปวยเพศชาย ขอใด ถูกตอง เฉลย นอนหงาย กางขา ขอ 8 ผปู วยชวยเหลอื ตัวเองไดพอควร ลงจากเตียงไมได ควรเลือกการทำความสะอาดรางกาย แบบใด เฉลย Partial bed bath ขอ 9 ขอใดถกู ตอ งเกี่ยวกบั น้ำยาสำหรับลา งตา เฉลย 0.9 % NSS ขอ 10 การจดั ทาสำหรับ mouth care ผปู วยทไ่ี มร สู กึ ตวั ขอ ใดถูกตอง เฉลย นอนหงายเอยี งหนา ไปดา นใดหา นหนงึ่ 573

คำถามทายบทที่ 6 ขอ 1 ทานีช้ ื่อวาอะไร เฉลย Semi Fowler’s Position ขอ 2 การจดั ทาในผปู วยหลังตัดขาทร่ี ะดบั เหนอื เขา ขอ ใดเหมาะสม เฉลย ขอ 1 ขอ 3 การจดั ทา Fowler’ s Position ควรไขปลายเทาสงู กอี่ งศา เฉลย 15 ขอ 4 ผูปว ยหลังผาตดั ภายใตยาระงับความรสู ึกแบบทั่วรางกาย (general anesthesia) รูส ึกตัวดี ควรจัดทา หลังผาตัดอยา งไร เฉลย Semi – Fowler’ s position ขอ 5 ผูปว ยชอ็ คจากการเสยี เลือดควรจดั ทานอนทา ใด เฉลย Supine's position ขอ 6 การพลกิ ตะแคงตวั ผูปว ยท่ผี า ตดั หลัง ชอ่ื วาอะไร เฉลย Log rolling ขอ 7 การออกกำลังกายทา งอ-เหยียดเขา พรอมๆ กับกระดกปลายเทา เปนการออกกำลงั กาย ชนิดใด เฉลย Isokinetic ขอ 8. คะแนนการประเมนิ ความเส่ียงตอการพลัดตกหกลม (Henrich Fall Risk Score) ผูปวย รายใดยงั ไมควรลงเดนิ เฉลย 5 คะแนน ขอ 9 ผปู วยสงู อายุ หลงั ผาตัดเปล่ียนขอ เขาควรเลอื กอุปกรณช วยพยุงเดนิ ในขอใด เฉลย Pick up walker 574

ขอ 10 ผูปวยหลังผาตัด แผนการรักษาใหลงเดินแบบ Axillary crutch partial weight bearing ควรเดนิ แบบใด เฉลย 3 point gait คำถามทา ยบทท่ี 7 ขอ 1 คำสั่งการรักษาให Paracetamol syrup sig 250 mg  p.r.n for fever. (ฉลากขางขวด เขียนวา 250 mg / 5 ml) ตองใหยานปี้ รมิ าณก่มี ิลลลิ ติ ร เฉลย 5.0 ขอ 2 หลกั 10 R: Right patient หมายถงึ ขอ ใด เฉลย ถามชอื่ ผปู วยกอ นใหย า ขอ 3 คำสั่งการใหยา p.r.n. หมายถึงขอ ใด เฉลย เมือ่ จำเปน ขอ 4 ยา 1 ชอ นโตะเทากับกีม่ ลิ ลิลิตร เฉลย 15 มิลลิลิตร ขอ 5 การบรหิ ารยาทางตา ขอใดเปนอนั ดบั แรก เฉลย ยานำ้ ใส ขอ 6 คำสงั่ การรักษา Regular insulin กบั mixtard ตอ งดูดยาใดกอน เฉลย Regular Insulin ขอ 7 การฉดี ยาเขากลา มเนอ้ื จำนวน 2 มลิ ลิลติ ร ตอ งเตรียมอุปกรณอ ยางไร เฉลย Syringe 3 cc. ; needle gauge 23-24 575

ขอ 8 การเตรยี มยาฉดี Tienam 250 mg v drip in 3 hr. ขอ ใดถกู ตอ ง เฉลย ละลายดวย sterile water 10 ml. ดดู ยา 5 ml เจอื จางใน 0.9 % NSS 100 ml. ขอ 9 ยาในขอ ใดตอ งใหดวยการหยดเขาหลอดเลอื ดดำเทานั้น แลย Tazobactam 2.25 g ขอ 10 ระหวา งการฉีดยา Cefazolin sig 1 g v q 6 hr. ผปู วยบอกเจ็บ มรี อยแดงตามแนวที่ฉีด ยา การปฏบิ ัตขิ อ ใดถกู ตอ ง เฉลย หยุดฉดี ยา เปด เสน ใหม คำถามทา ยบทที่ 8 ขอ 1. สารน้ำ 0.9 % NaCl 1,000 ml iv 100 ml/hr. ถา ใช Intravenous set 15 drops/ml ตอ ง ใหสารนำ้ ..25..หยดตอ นาที ขอ 2. สารน้ำ 5% D/NSS 1,000 ml. iv 80 ml/hr. หากเรม่ิ ใหสารนำ้ เวลา 10.00 น. เวลาทีส่ ารนำ้ ขวดน้ีจะหมดคือ…………22.30… น. ขอ 3. ถา เปด เสน ใหส ารน้ำวนั พฤหสั บดี ตองตดิ สตกิ๊ เกอรบ นตำแหนง Transparent dressing สี อะไร เฉลย เหลอื ง ขอ 4. อปุ กรณช ้นิ น้ชี อื่ วา อะไร เฉลย Transparent dressing 576

ขอ 5. สารนำ้ 5% D/NSS/2 หมายถึงขอใด เฉลย Dextrose 5 % ใน 0.45 % NaCl ขอ 6. อุปกรณชิน้ นช้ี อื่ วาอะไร เฉลย Extension with T ขอ 7. ระหวางใหส ารนำ้ ผปู วยบนวา เจบ็ บรเิ วณเข็ม เมื่อไปประเมินพบวา บรเิ วณตำแหนง ทใี่ หสาร น้ำเปน รอยแดง กวา งประมาณ 2 น้ิว การประเมินขอใดถูกตอง เฉลย Phlebitis grade 2 ขอ 8. จากโจทยขอ 7 การพยาบาลขอ ใดถูกตองขอ ใดเหมาะสม เฉลย เปลยี่ นตำแหนงใหม ขอ 9. ผปู ว ย on 5 % D/NSS/2 1,000 ml iv drip 80 ml/hr. แพทยม คี ำส่ังการรกั ษา pack red cell จำนวน 2 unit iv drip 4 hr. / unit ขอใดปฏิบัตถิ กู ตอง เฉลย หยดุ 5 % D/NSS/2 ไวก อ นแลว ให pack red cell ขอ 10. Pack red cell 1 unit (250 ml) iv drip 4 hr. / unit ตอ งใหเลอื ดกี่หยดตอนาที เฉลย 15 คำถามทา ยบทที่ 9 ขอ 1 ขอใดกลา วถูกตอ งเก่ยี วกับการหายของแผล เฉลย แผลท่ีมปี นเปอนจะหายชา ขอ 2 ขอใดกลา วถกู ตอ งเก่ียวกบั การทำแผล เฉลย เท 0.9% NSS ลงบนผากอซกอนเปด ดูแผลถลอก ขอ 3 การทำแผลในขอ ใดมีโอกาสเกดิ contaminate นอยทสี่ ุด เฉลย ใชมือหยิบผากอซที่เหลือชุบแอลกอฮอลเช็ดคราบเลือดบริเวณนอกแผล หลงั ปด แผลแลว 577

ขอ 4 ใชอ ุปกรณใ ดในการคบี สำลีทำแผล เฉลย Tooth forceps ขอ 5 การปดแผล ขอใดถูกตอง เฉลย ติดพลาสเตอรขวางแนวลำตวั ขอ 6 แผลในขอ ใดใชว ธิ ีการทำแผลแหง (dry dressing) เฉลย แผลผาตัดไสตง่ิ มีเลอื ดซึมเลก็ นอย ขอ 7 ขอใดเรียงลำดับการทำแผลไดถูกตอง เฉลย แผลผาตัดเตานม แผลเจาะคอ แผลกดทับที่กน ขอ 8 การทำแผลดวยวิธกี ารทำแผลเปย ก (wet dressing) ควรเลือกนำ้ ยาในขอใดใสไวใ นแผล (pack) เฉลย 0.9% NSS ขอ 9 การเตรียมอุปกรณเ พิ่มเตมิ สำหรับตัดไหม (total stitches off) ขอ ใดถกู ตอ ง เฉลย Scissor ขอ 10 วธิ กี ารใชอุปกรณด ึงลวดเยบ็ แผลออก (off staple) ขอ ใดถกู ตอ ง เฉลย สอดอปุ กรณใตลวด ตรงกลางแลวกด เมอ่ื ลวดงางออก ดงึ ออกเบาๆ คำถามทายบทท่ี 10 ขอ 1 ผูป วยรายใดมีลกั ษณะของการขาดโปรตีน เฉลย เล็บมจี ดุ ดางขาว ขอ 2 Blenderized diet หมายถึงขอ ใด เฉลย อาหารปน แบบครบสว น ขอ 3 Blenderized diet (1:1) 300 ml ไดเพลังงานเทาใด เฉลย 300 Kcal ขอ 4 การวดั ตำแหนง เพอ่ื ใสส ายยางใหอาหารทางจมกู ขอใดถูกตอง เฉลย ปลายจมกู , ติ่งหู, ลิ้นป ขอ 5 ระหวางใสสายยางใหอาหาร ผปู วยมีอาการไอ หนา แดง พูดไมมีเสียง ตองทำอยา งไร เฉลย นำสายยางใหอ าหารออก 578

ขอ 6 ขอใดเปน นำ้ ยาที่เหมาะสมในการใชเ ชด็ ปลายจุกของสายยางใหอาหาร เฉลย นำ้ ตมสุก ขอ 7 หากดูด content แลว พบวามีอาหารเหลอื คางเกิน 50 มลิ ลลิ ติ ร การปฏบิ ตั ิขอใดถูกตอง เฉลย เลือ่ นม้อื อาหารออกไป 1 ชว่ั โมง ขอ 8 อาหารจำนวน 250 มิลลิลิตร ควรใชเ วลาในการใหอาหารไมนอ ยกวาก่นี าที เฉลย 8 นาที ขอ 9 ขน้ั ตอนการใหย าทางสายยางใหอ าหารขอ ใดถูกตอง A. ยาตามแผนการรกั ษา B. น้ำประมาณ 10 มิลลิลิตร C. ยกสายยางใหส ูงเหนอื ศีรษะ เฉลย B, A, B, C ขอ 10 การจดั ทา ปองกันการสำลกั อาหารขอ ใดถูกตอง เฉลย ศรี ษะสงู 60 องศา คำถามทา ยบทท่ี 11 ขอ 1 การสวนปส สาวะแบบ Intermittent catheter ตอ งเลือกอปุ กรณในขอใด ขอ 2 การจดั ทาเพ่ือสวนปส สาวะผูปว ยหญิงขอ ใดถกู ตอง เฉลย Dorsal Recumbent position ขอ 3 การสวนปสสาวะแบบ Retain Foley’s catheter ตอ งเลอื กอุปกรณใ นขอ ใด 579

ขอ 4 การพยาบาลผูป วยทค่ี าสายสวนปสสาวะขอใดถูกตอ ง เฉลย ไมใ หสายสวนปส สาวะหักพบั งอหรือดงึ รัง้ ทอปสสาวะ ขอ 5 ระหวางการสวนอุจจาระ หากผปู วยรูสึกปวดอุจจาระ ควรปฏิบตั ิอยางไร เฉลย ใหผูปวยอา ปาก หายใจชา ๆ ขอ 6 ผปู วยคาสายสวนปสสาวะ ปส สาวะเปนตะกอนขนุ กจิ กรรมการพยาบาลขอ ใดถูกตอง เฉลย บีบรดู สายสวนปส สาวะ ขอ 7 การสวนลางกระเพาะปส สาวะ (Bladder irrigation) การเตรียมอปุ กรณข อ ใดถกู ตอง เฉลย Syringe 50 มิลลิลิตร NaCl for irrigation ขอ 8 ผปู ว ยอาเจียนเปนเลอื ดตองลงบันทกึ ในชองใด เฉลย Output / อาเจยี น ขอ 9 ผูปว ยไดรับสารน้ำ 500 มิลลิลิตร ด่มื น้ำ 8 แกว สายระบายเลือด 180 มลิ ลิลติ ร ปสสาวะ 2,000 มิลลิลติ ร การบันทึก Intake/Out put ขอ ใดถกู ตอง เฉลย 2,500/2,180 มิลลิลิตร ขอ 10 ผูปว ยมสี ารน้ำยกยอดมาจากเวรกอนหนา 800 มิลลิลิตร เมอื่ สนิ้ สุดเวรสารนำ้ ขวดนี้เหลือ 100 มิลลลิ ิตร ตอ งบนั ทกึ สารนำ้ เทา ใด เฉลย 700 มิลลลิ ติ ร คำถามทา ยบทที่ 12 ขอ 1 อปุ กรณในขอใดใชสำหรับวัดคา ความเขมขน ออกซเิ จนในเลือด เฉลย Pulse Oximeter ขอ 2 on Oxygen mask with bag 8 Lit/min ตอ งเตรียมอุปกรณใดบาง เฉลย 2,3,4,5 ขอ 3 การทำความชื้นในการใหออกซิเจน ขอ ใดถกู ตอง เฉลย เติม Sterile water 2/3 ของกระบอกทำความชืน้ ขอ 4 การพยาบาลผปู วยทไ่ี ดรับ Oxygen cannula ทีข่ อ ใดถกู ตอง เฉลย ทำความสะอาดจมกู อยา งนอ ยทกุ 8 ช่ัวโมง ขอ 5 การเลือกวธิ กี ารใหออกซิเจน 20 LPM ขอใดเหมาะสม เฉลย High flow nasal cannula 580

คำถามทา ยบทที่ 13 ขอ 1 ขอใดถูกตองเกี่ยวกับระยะเวลาในการดูดเสมหะแตละครัง้ เฉลย 10 -15 วินาที ต้ังแตเร่มิ ใสส ายดดู เสมหะ ขอ 2 การสายดดู เสมหะปลอดเชือ้ (suction catheter) สำหรบั ผูป วยในภาพ ขอใดถกู ตอง เฉลย 10 Fr. ขอ 3 การดดู เสมหะผูใ หญต องเปด Pressure เทาใด เฉลย 80-100 mmHg ขอ 4 ระหวา งดดู เสมหะมีเสมหะเหนยี วขน มาก การปฏิบัติขอ ใดเหมาะสม เฉลย เคาะปอดและใหความชน้ื กอนดดู เสมหะครั้งตอ ไป ขอ 5 การปอ งกนั ภาวะพรอ งออกซเิ จนระหวา งดดู เสมหะ ขอ ใดถกู ตอง เฉลย บบี Manual resuscitating bag กอนและระหวา งดูดเสมหะ คำถามทา ยบทที่ 14 ขอ 1 การเก็บสิง่ สง ตรวจตองตรวจสอบชอื่ ผปู วยทตี่ ำแหนง ใดบาง (ตอบไดม ากกวา 1 ขอ ) เฉลย ปายขอมือ คำสั่งการรักษา หลอดบรรจุสิ่งสงตรวจ ใบขอตรวจทาง หอ งปฏิบตั กิ าร 581

ขอ 2 การเก็บตัวอยางเลือดสงตรวจ Complete blood count ตองใชหลอดบรรจุเลือดในขอ ใด ขอ 3 คำสั่งการรกั ษา blood for Hemoculture, CBC, BUN, Cr, E, lyte. ตองเรียงลำดบั การ นำเลือดใสห ลอดเลือดอยางไร เฉลย clot blood tube, E.D.T.A tube, Hemoculture ขอ 4 การเกบ็ mid steam urine culture (MUC) ขอใดถกู ตอง เฉลย พับสาย urine ไวประมาณ 15 นาที แลวใชเข็มดูดจากกระเปาะสาย Foley, s catheter ขอ 5 การเกบ็ เสมหะสงตรวจชวงเวลาใดเหมาะสมที่สดุ เฉลย หลังต่ืนนอน คำถามทายบทที่ 15 ขอ 1 ขอใดคอื ลักษณะของผปู วยระยะสดุ ทา ย (end of life) เฉลย เปนมะเร็งตบั ตวั ตาเหลือง ทองโต หายใจ Air hunger ขอ 2 ขอ ใดถูกตอง เกี่ยวกบั living will เฉลย เปน การดูแลผูปว ยระยะสุดทายท่ีคำนึงถงึ ศักดศ์ิ รคี วามเปน มนษุ ย ขอ 3 ขอ ใดคอื หลักการสำคญั ในการพยาบาลผูป ว ยระยะสุดทา ย เฉลย ดูแลความสุขสบาย ลดความทกุ ขทรมานของผูปวย ขอ 4 ขอใดคือสิง่ ทตี่ องปฏิบตั ิ เปนอนั ดับแรก เมอ่ื ผปู ว ยระยะสุดทา ย หยดุ หายใจ เฉลย ประเมินสัญญาณชพี ตรวจสอบ pupil 582

ขอ 5 การทำความสะอาดรางกายภายหลงั ผูป ว ยผูท ี่ถงึ แกก รรม ไมเ กินกี่ชั่วโมง เฉลย 2 ชวั่ โมง 583

584


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook