3.8 เอกสารอ้างองิ ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ และอรุณรัตน์ เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอน็ พีเพรส. สัมพันธ์ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พน้ื ฐาน II. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั บพิธการพิมพ์ จำกัด. สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์ สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ์ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้ืนฐาน I.กรงุ เทพฯ: บริษทั บพธิ การพมิ พ์ จำกดั . อัจฉรา พุ่มดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2556). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษทั ธนาเพรส จำกดั . อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2558). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ัท จรลั สนิทวงศก์ ารพมิ พ์ จำกดั . Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 451
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4 วิธปี ฎิบตั ิการพยาบาลพ้นื ฐานในการทำความสะอาดเตียงผปู้ ่วย หัวข้อเนอื้ หาประจำบท 1. วธิ ีการทำเตยี งว่าง (empty bed) 2. วธิ ีการทำเตยี งทมี่ ผี ู้ปว่ ย (Occupied bed) 3. วธิ ีการทำเตียงผูป้ ่วยหลงั จากการผา่ ตดั (Anesthetic bed) จำนวนช่ัวโมงที่สอน: ภาคทดลอง 2 ชวั่ โมง วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. ปฏิบัตกิ ารทำความสะอาดเตียงผูป้ ว่ ยประเภทต่าง ๆ ได้ถกู ตอ้ ง วธิ ีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วิธสี อน 1.1 สอนสาธติ และสาธติ ย้อนกลับ 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.1 สอนสาธิตการทำความสะอาดเตียงผู้ปว่ ยประเภทตา่ ง ๆ 2.2 ผเู้ รยี นฝกึ ปฏบิ ตั แิ ละสาธิตยอ้ นกลับ 2.3 สะท้อนคดิ การฝกึ ปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ผลการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 3. หนุ่ เตยี งผปู้ ว่ ย อปุ กรณท์ ำความสะอาดเตยี ง การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลการสาธติ ย้อนกลับ ตามแบบประเมินทกั ษะ 2. การสอบทกั ษะปฏบิ ัติแบบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 452
บทท่ี 4 วธิ ีปฎิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐานในการทำความสะอาดเตียงผ้ปู ่วย การทำความสะอาดเตยี งผูป้ ่วย การทำเตยี งแบบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสะอาด ความสุข สบายของผปู้ ว่ ย ลดโอกาสการแพร่กระจายเชือ้ มวี ธิ กี ารปฏบิ ตั ิดังตอ่ ไปน้ี 4.1 วธิ กี ารทำเตียงวา่ ง (empty bed) การทำเตียงธรรมดาหรอื การทำเตียงวา่ งและเตยี งเปิด (Closed bed, empty bed, ordinary bed) 4.1.1 อปุ กรณเ์ ครื่องใช้ 1) ผ้าปเู ตียง ปลอกหมอน 2) ถังน้ำสำหรบั ทำความสะอาด 3) สบหู่ รอื ผงซกั ฟอก 4) ผ้าข้รี ว้ิ อย่างนอ้ ย 2 ผนื 4.1.2 วธิ กี ารปฏิบตั ิ 1) ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดก่อนจดั เตรยี มอปุ กรณ์ 2) ถอื ผ้าและอุปกรณ์เคร่อื งใช้หา่ งจากเคร่ืองแตง่ กายท่สี วมใส่ 3) นำผา้ ท่เี ตรียมไว้ เรียงลำดับการใชม้ าวางบนเก้าอท้ี ส่ี ะอาด 4) จดั บรเิ วณเตยี งให้มีทีว่ ่างพอสมควร 5) ลอ็ คลอ้ เตยี ง 6) ตรวจดูท่ีนอนใหอ้ ยใู่ นสภาพแขง็ แรง 7) ตรวจดูความสะอาดของหมอน ความอ่อนแขง็ การฉกี ขาด มีขนาดพอดี 8) ทำเตียงทลี ะข้างเพอ่ื การประหยัดแรงงาน 9) ปูผา้ ปทู ่นี อนโดยใหจ้ ดุ กง่ึ กลางของผ้าวางทบั ลงบนจดุ กงึ่ กลางของที่นอน 10) คลี่ผ้าปอู อกไปทางหัวและปลายเตยี ง ตลบผ้าปคู รงึ่ หนง่ึ กลับไปดา้ นตรงข้าม 453
11) เหนบ็ ชายผ้าปูทนี่ อนดา้ นขา้ งเตยี งก่อน แล้วจึงเหนบ็ ชาผา้ ด้านหวั เตียงแล้วตามด้วย ด้านปลายเตยี งและทำมมุ ดา้ นขา้ งทง้ั สองข้าง โดยทำมุมด้านหัวเตยี งกอ่ นเพราะดึงผา้ ได้สะดวกและทำ ดา้ นปลายเตียง กรณที น่ี อนเบา ผา้ ปแู คบ ผู้ปว่ ยดิ้น อาจตอ้ งใชว้ ิธผี กู การทำมุมด้านข้างเตียง - ดึงผ้าปู (ผ้าห่มหรือผ้าคลุมเตียง) ให้ตึงและแบมือสอดเข้าใต้ที่นอน ด้านข้าง และดา้ นหัวเตยี งและปลายเตยี ง - จับผ้าปูที่มุม ทำเป็นรูปสามเหลี่ยม (ชายธง) ให้ชายผ้าขนานกับที่นอนด้านหัว เตยี ง - เหน็บมมุ ชายธงดา้ นลา่ งเขา้ ใตท้ ่นี อน - ใชม้ อื สอดทำมุมชายธงด้านบน - เหน็บมุมชายธงด้านล่าง เก็บชายผ้าด้านข้างดึงให้ตึง พับเหน็บชายธงด้านบน เขา้ ใต้เตียงใหเ้ รียบรอ้ ย 12) ปูผ้ายางขวางเตียงบริเวณที่ต้องการ คลี่ผ้ายางให้อยู่ตรงกลางที่นอน พับผ้ายางที่ เหลอื ไปดา้ นตรงขา้ มเหน็บชายผา้ ยางเข้าใตท้ ีน่ อน 13) ปูผ้าขวางเตียงใหค้ ลมุ ปดิ ผ้ายาง เหน็บชายผ้าเข้าใต้ท่ีนอน โดยแบมือสอดผ้าเข้าไป ให้สดุ ชายผ้า 14) สวมปลอกหมอน โดยสอดมือท้ังสองข้างเข้าไปในปลอกหมอนทีต่ ลบกลบั เอาด้านใน ออก จบั ตรงมมุ ทง้ั สองข้างแล้วตลบปลอกหมอนกลับไปที่ตัวหมอน ใชม้ ือข้างหนึ่งจับตรงกลางด้านตัว หมอนที่มีปลอกหุ้มแล้ว อีกมือหนึ่งดึงปลอกหมอนโดยรอบลงมาคลุมตัวหมอน จับหมุนปลอกหมอน ให้เรยี บร้อยแลว้ วางทห่ี วั เตียง 15) พบั ผา้ ห่มตามยาวไวป้ ลายเตยี ง 16) แขวนผ้าเชด็ ตวั ท่พี นกั หวั เตยี ง 17) เดินไปหวั เตยี งอีกด้านหนึง่ ปูผา้ ทเ่ี หลือ 18) จัดเตียงให้เข้าที่ ดูแลความสะอาดของตู้ข้างเตียง เลื่อนเข้ามาใกล้เตียง กรณีทำ เตียงเพ่ือรบั ผปู้ ว่ ยใหม่ นำผา้ คลมุ เตียงมาปทู บั ผา้ ปู ชายผา้ ดา้ นหัวเตียงเสมอกับขอบท่ีนอนคลุมหมอน ให้มิด ทำชายธงดา้ นลา่ ง ปลอ่ ยปลายบนลงมาคลุม ไมเ่ หน็บเข้าใตเ้ ตยี งเพ่อื ความสะดวกขณะรบั ผู้ป่วย ใหม่ 454
4.2 การทำเตยี งทีม่ ผี ู้ป่วย (Occupied bed) 4.2.1 อปุ กรณเ์ คร่อื งใช้ 1) ผา้ ปเู ตยี ง ปลอกหมอน 2) ถังนำ้ สำหรับทำความสะอาด 3) สบ่หู รอื ผงซักฟอก 4) ผ้าขี้ริ้วอย่างนอ้ ย 2 ผนื 1.2.2 วิธีการปฏิบตั ิ 1) แจง้ ให้ผปู้ ว่ ยทราบ 2) เคลอื่ นยา้ ยอุปกรณท์ ี่ไม่จำเปน็ ออกจากบรเิ วณรอบๆ เตยี ง 3) ปรับเตียงให้อยู่ในแนวราบ ถ้าไมข่ ดั กับความเจบ็ ปว่ ย 4) เดินไปด้านตรงขา้ มตู้ข้างเตียง รื้อชายผ้าออกจากใต้ท่ีนอน พลิกตะแคงตัวผู้ปว่ ยโดย พลิกเข้าหาตัวพยาบาล ให้ผู้ป่วยนอนในท่านอนตะแคง เพื่อสะดวกในการปูเตียง ถ้าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ให้ยกราวก้นั เตียงขึ้น 5) เดนิ กลบั มาทางด้านตู้ขา้ งเตยี ง รื้อผ้าตอ่ 6) ตลบผ้าขวางเตยี งโดยเอาดา้ นนอกมว้ นไวภ้ ายในไปชดิ ตวั ผู้ปว่ ยมากทส่ี ดุ 7) เช็ดผ้ายางขวางเตียงแล้วมว้ นสอดไว้แนบชดิ ผ้ปู ่วยมากทส่ี ดุ 8) ตลบผา้ ปูท่ีนอนเช่นเดยี วกนั โดยให้ชิดตวั ผูป้ ว่ ยมากทสี่ ุด 9) เชด็ ทน่ี อน 10) ปูผ้าปูทน่ี อนทลี ะคร่งึ เตียง โดยใหก้ ึ่งกลางผ้าปูตรงกับกึ่งกลางทีน่ อน ตลบผ้าไปทาง หัวเตียงและปลายเตยี ง เหน็บผ้าข้างเตยี ง หัวเตียงทำมุมให้เรียบร้อย ดึงผ้ายางออกมาปูและเหนบ็ ใต้ เตียง ปูผ้าขวางและเหนบ็ ผ้ายางและผา้ ขวางเขา้ ใต้ท่ีนอน 11) ยกศีรษะผู้ป่วยนำหมอนออก เปลี่ยนปลอกหมอน โดยพลิกด้านในออกภายนอก เอาด้านที่สกปรกเข้าด้านใน ใช้ปลอกหมอนเก่าเช็ดผมออกจากตัวหมอน แล้วม้วนทิ้งในตะกร้าผ้า สวมปลอกหมอนใหม่วางหมอนไว้ท่ีหวั เตียงดา้ นสะอาด 12) พลิกผู้ป่วยให้นอนหงายก่อนแล้วพลิกกลับมานอนตะแคงด้านที่เปลี่ยนผ้าแล้ว ให้ หนุนหมอน จัดทา่ นอนตะแคง ยกราวกัน้ เตียงขึน้ 455
13) ยกถังน้ำเดินไปด้านตรงข้ามตู้ข้างเตียง รื้อผ้าออกพับทีละชิ้นให้บริเวณสกปรกอยู่ ด้านใน ตลบหวั ท้าย ทิง้ ลงในตะกร้าผา้ เปอื้ นทลี ะช้นิ 14) ปูที่นอนทีละช้ินตามลำดับ ดึงให้เรยี บตึง ล้างมือให้สะอาด จัดให้ผูป้ ว่ ยนอนในท่าท่ี สบาย 15) หม่ ผา้ ห่มให้ผู้ปว่ ย หรอื พับพาดไว้หัวเตยี ง 16) เช็ดและทำความสะอาดเตียง ข้างเตียง จัดสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ตู้ข้างเตียง โต๊ะทค่ี ร่อมเตียงให้ใกล้ผูป้ ่วย วางกร่งิ หรอื เคร่ืองเรียกไว้ใกลต้ ัวผูป้ ่วย 17) นำเหยือกน้ำ ถ้วยน้ำ ไปล้างทำความสะอาด แต่ถ้าเป็นขวดตวงน้ำ ๒๔ ชั่วโมง ไม่ ตอ้ งนำไปลา้ ง 18) ล้างและทำความสะอาดถังเชด็ เตยี ง ซกั ทำความสะอาดผา้ เชด็ เตียงผึ่งตากให้แห้ง 4.3 การทำเตียงผู้ปว่ ยหลังจากการผ่าตดั (Anesthetic bed) 4.1.3 อุปกรณเ์ คร่ืองใช้ 1) ผา้ ปูเตียง ปลอกหมอน 2) ถังน้ำสำหรบั ทำความสะอาด 3) สบหู่ รอื ผงซักฟอก 4) ผ้าขี้ร้วิ อยา่ งนอ้ ย 2 ผืน 4.1.4 วิธกี ารปฏิบัติ 1) ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดก่อนจดั เตรยี มอุปกรณ์ 2) ถอื ผา้ และอุปกรณเ์ ครอื่ งใชห้ ่างจากเครือ่ งแตง่ กายที่สวมใส่ 3) นำผ้าท่ีเตรยี มไว้ เรยี งลำดับการใชม้ าวางบนเก้าอที้ สี่ ะอาด 4) จัดบริเวณเตยี งใหม้ ที ่วี า่ งพอสมควร 5) ล็อคล้อเตยี ง 6) ตรวจดทู น่ี อนให้อยู่ในสภาพแข็งแรง 7) ตรวจดูความสะอาดของหมอน ความออ่ นแขง็ การฉีกขาด มีขนาดพอดี 8) ทำเตยี งทีละขา้ งเพือ่ การประหยดั แรงงาน 9) ปูผา้ ปทู นี่ อนโดยใหจ้ ดุ ก่งึ กลางของผา้ วางทบั ลงบนจดุ ก่ึงกลางของทีน่ อน 456
10) คล่ีผ้าปูออกไปทางหัวและปลายเตียง ตลบผ้าปคู รึง่ หน่ึงกลับไปด้านตรงขา้ ม 11) เหน็บชายผา้ ปทู ีน่ อนดา้ นขา้ งเตยี งก่อน แล้วจงึ เหนบ็ ชาผา้ ดา้ นหัวเตยี งแล้วตามด้วย ด้านปลายเตียงและทำมุมด้านข้างทงั้ สองขา้ ง โดยทำมมุ ดา้ นหวั เตยี งกอ่ นเพราะดงึ ผา้ ได้สะดวกและทำ ด้านปลายเตยี ง กรณที ีน่ อนเบา ผ้าปูแคบ ผ้ปู ่วยดิน้ อาจต้องใชว้ ิธีผูก การทำมมุ ดา้ นขา้ งเตยี ง - ดึงผ้าปู (ผ้าห่มหรือผ้าคลุมเตียง) ให้ตึงและแบมือสอดเข้าใต้ที่นอน ด้านข้าง และด้านหวั เตียงและปลายเตยี ง - จับผ้าปูที่มุม ทำเป็นรูปสามเหลี่ยม (ชายธง) ให้ชายผ้าขนานกับที่นอนด้านหัว เตยี ง - เหนบ็ มุมชายธงดา้ นล่างเขา้ ใตท้ น่ี อน - ใช้มือสอดทำมุมชายธงด้านบน - เหน็บมุมชายธงด้านล่าง เก็บชายผ้าด้านข้างดึงให้ตึง พับเหน็บชายธงด้านบน เข้าใตเ้ ตยี งใหเ้ รียบรอ้ ย 12) ปูผ้ายางขวางเตียงบริเวณที่ต้องการ คลี่ผ้ายางให้อยู่ตรงกลางที่นอน พับผ้ายางท่ี เหลือไปด้านตรงข้ามเหนบ็ ชายผา้ ยางเขา้ ใต้ท่ีนอน 13) ปูผ้าขวางเตียงให้คลุมปดิ ผ้ายาง เหน็บชายผ้าเข้าใต้ที่นอน โดยแบมือสอดผา้ เข้าไป ให้สดุ ชายผ้า 14) สวมปลอกหมอน โดยสอดมอื ทั้งสองข้างเข้าไปในปลอกหมอนท่ีตลบกลบั เอาด้านใน ออก จบั ตรงมมุ ทง้ั สองข้างแล้วตลบปลอกหมอนกลับไปท่ีตวั หมอน ใช้มือขา้ งหนง่ึ จบั ตรงกลางด้านตัว หมอนที่มีปลอกหุ้มแล้ว อีกมือหนึ่งดึงปลอกหมอนโดยรอบลงมาคลุมตัวหมอน จับหมุนปลอกหมอน ให้เรียบร้อยแล้ววางทห่ี วั เตยี ง 15) เดนิ ไปหัวเตยี งอกี ด้านหน่งึ ปูผ้าทเ่ี หลอื 17) จดั เตียงใหเ้ ขา้ ที่ พับผ้าหม่ ไว้ขา้ งเตียง 457
18) ดูแลความสะอาดของตขู้ า้ งเตียง 4.4 บทสรปุ การทำความสะอาดเตียงผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมรอบเตียงเป็นสิ่งสำคัญที่พยาบาลต้องใส่ใจ เพ่อื ให้เกดิ ความสุขสบายของผปู้ ว่ ย เตยี งมีความพร้อมใช้ในการรบั ผูป้ ่วยใหม่และผปู้ ่วยท่กี ลบั จากห้อง ผ่าตัด 4.5 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน แบบประเมนิ ทักษะการทำเตยี งที่มผี ปู้ ่วย (Occupied bed) ชอ่ื ...........................................สกลุ .......................................รหัสนกั ศึกษา.............................. คำช้ีแจง โปรดทำเคร่ืองหมาย ลงท่ตี รงกับผลการปฏิบัติ ลำดบั รายการประเมิน ผลการปฏิบตั ิ หมาย ปฏิบัติ ไม่ปฏิบตั ิ เหตุ (1) (0) ข้ันเตรยี มการ 1. ประเมนิ สภาพผปู้ ่วย 2. อธิบายให้ผปู้ ว่ ยเข้าใจ 3. ล้างมอื ก่อนจัดเตรยี มของใช้ 4. เตรียมของใช้ - พบั ผา้ ทุกผนื ถูกต้อง โดยเรยี งลำดับผา้ เพ่ือสะดวกในการ ใช้ ไดแ้ ก่ ผ้าปทู ่นี อน ผา้ ยางขวางเตียง ผา้ ขวางเตียง ปลอกหมอน ผา้ ห่ม - ถงั ใสน่ ้ำผสมผงซกั ฟอก - ผา้ ทำความสะอาดเตียง 2 ผืน 5. ปิดพัดลม ไขเตยี งราบ เก็บของใช้ออกจากเตยี ง วางไวใ้ ห้ เหมาะสม 6. ขั้นปฏิบัติ บอกใหผ้ ปู้ ว่ ยทราบ 7. นำผ้าทเ่ี ตรยี มวางท่ีโต๊ะคร่อมเตียง เรียงลำดบั ตามการ หยบิ ใช้กอ่ นหลังได้ถูกตอ้ ง 458
ลำดบั รายการประเมิน ผลการปฏิบัติ หมาย ปฏิบัติ ไม่ปฏบิ ตั ิ เหตุ (1) (0) 8. บอกผู้ป่วยและเลื่อนหมอนมาไว้ด้านใกล้ตัวพยาบาล 9. พลกิ ตวั ผู้ปว่ ย โดยจดั ทา่ ใหถ้ ูกต้อง เชน่ แขนข้างท่ีใกลต้ ัว พยาบาลเหยยี ดออก แขนด้านตรงขา้ มงอวางบนหน้าอก ขาด้านตรงกนั ข้ามวางด้านบน จบั ไหล่ สะโพกพลกิ เขา้ หา ตวั พยาบาลเลอ่ื นเหลก็ ก้ันเตียงขึ้นในรายทผ่ี ูป้ ่วยไมร่ ้สู กึ ตัว 10. เดินออ้ มไปด้านตรงข้าม มว้ นผา้ ปทู ี่นอนชดิ ลำตัวผปู้ ว่ ย ทำความสะอาดเตยี งและที่นอน 11. วางผา้ ปูท่ีนอนชดิ หลังผู้ป่วย โดยวางรอยพับกลางผ้าปูให้ ตรงเส้นกลางเตียงเหนบ็ ทางด้านหวั เตยี งทำมมุ แล้วเหนบ็ ปลายเตียงทำมุม 12. ปผู ้ายางและผา้ ขวางเตียงตรงกง่ึ กลางท่นี อน เหนบ็ ให้ เรียบร้อย 13. พลิกตัวผูป้ ่วยกลบั มายงั ด้านที่ปผู ้าแล้ว 14. ทำอีกด้านหน่งึ โดยรื้อผา้ เกา่ ออกให้หมด 15. ทำความสะอาดเตียงและท่นี อน 16. ปูผ้าใหต้ ึง เหนบ็ รมิ และทำมุมให้เรยี บรอ้ ย 17. ดงึ ผ้ายาง ผา้ ขวางเตียงทอี่ ยูใ่ กล้หลังผปู้ ่วยเหน็บชายให้ เรียบร้อย 18. ใสป่ ลอกหมอนให้ผู้ปว่ ยหนุนหมอน จดั ท่าผ้ปู ว่ ย 19. ห่มผา้ ใหผ้ ้ปู ว่ ย อย่าห่มดา้ นปลายเท้าผูป้ ว่ ยตงึ เกินไป 20. ทำความสะอาดตู้ขา้ งเตียง และสิ่งแวดลอ้ ม 21. เกบ็ อปุ กรณต์ ่าง ๆ ใหเ้ รยี บรอ้ ย 22. ล้างมือให้สะอาด รวมคะแนน (22 คะแนน) 459
4.6 เอกสารอ้างอิง ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ และอรุณรัตน์ เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอน็ พีเพรส. สัมพันธ์ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พน้ื ฐาน II. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั บพิธการพิมพ์ จำกัด. สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์ สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ์ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้ืนฐาน I.กรุงเทพฯ: บริษทั บพธิ การพมิ พ์ จำกดั . อัจฉรา พุ่มดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2556). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษทั ธนาเพรส จำกัด. อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2558). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ัท จรลั สนทิ วงศ์การพมิ พ์ จำกัด. Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 460
แผนบรหิ ารการสอนประจำบทท่ี 5 วธิ ปี ฎิบัติการพยาบาลพืน้ ฐานในการจดั ท่าและเคล่อื นย้ายผปู้ ่วย หวั ขอ้ เน้อื หาประจำบท 1. วธิ ีการจัดท่านอนผปู้ ว่ ย 2. วธิ กี ารเคลอ่ื นยา้ ยผู้ปว่ ย จำนวนชวั่ โมงท่ีสอน: ภาคทดลอง 2 ชวั่ โมง วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. ปฏิบัติการจัดท่านอนผปู้ ่วยเพือ่ ป้องกนั ภาวะแทรกซ้อนในสถานการณ์จำลองได้ถูกต้อง 2. ปฏบิ ัตกิ ารเคลื่อนย้ายผปู้ ว่ ยในสถานการณ์จำลองได้อย่างปลอดภัย วธิ สี อนและกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. วธิ ีสอน 1.1 สอนสาธิตและสาธติ ยอ้ นกลับ 2. กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1 สอนสาธิตจัดท่านอนผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและวิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย อย่างปลอดภัยในสถานการณจ์ ำลองเสมือนจริง 2.2 ผเู้ รียนฝึกปฏิบตั แิ ละสาธิตย้อนกลับ 2.3 สะทอ้ นคดิ การฝึกปฏิบตั ิและสรปุ ผลการเรยี นรู้ สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. วสั ดุ อุปกรณท์ างการแพทย์ในห้องปฏบิ ตั ิการ การวัดผลและประเมนิ ผล 1. ประเมินผลการสาธิตยอ้ นกลบั ตามแบบประเมนิ ทกั ษะ 2. การสอบทักษะปฏบิ ัตแิ บบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 461
บทท่ี 5 วธิ ีปฎิบัตกิ ารพยาบาลพ้ืนฐานในการจดั ท่าและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การจดั ท่าผปู้ ว่ ยเพ่ือชว่ ยป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น การเกิดแผลกดทับ ปลายเทา้ ตก มี วิธกี ารจดั ท่าทเี่ หมาะสมได้ นอกจากนี้ในกรณีท่ผี ้ปู ่วยไมส่ ามารถเคล่ือนไหวรา่ งกายได้ พยาบาลมี ความต้องให้การช่วยเหลอื เคลื่อนไหวรา่ งกาย ดังรายละเอียด ตอ่ ไปนี้ 5.1 วิธีการจัดท่านอนผู้ป่วย 5.1.1 วธิ ีการจัดทา่ นอนหงาย (protective dorsal or supine position) 1) ใช้หมอนเล็ก ๆ รองรับบริเวณส่วนโค้งเอว ไม่ให้หลังโค้งงอ และลดความเจ็บปวด ป้องกันการการงอและการเหยียดออกของกระดูกสันหลัง ส่วนเอวมากเกินไป 2) ใช้หมอนเล็ก ๆ รองไว้ใต้ข้อพับเข่า และข้อเท้า ยกส้นเท้าให้สูงลอยจากพื้นเพ่ือ ปอ้ งกนั การกดทับกบั ท่ีนอน 3) ใช้หมอนหรือผ้าห่มหรือหมอนทรายหนุนดันฝ่าเท้าให้ปลายเท้าตั้งตรง ข้อเท้าอยู่ใน ลกั ษณะ เหมือนท่ายืนเพ่อื ป้องกนั ปลายเท้าตก (foot drop) 4) วางหมอนหรือผ้าห่มที่ม้วนกลมขนานกับต้นขาทั้ง 2 ข้างของผู้ป่วย จัดให้อยู่ในท่า ปกติ ไม่แบะออกดา้ นนอก จะช่วยป้องกันข้อตะโพกหมุนออก (external rotation) 5.1.2 วธิ ีการจดั ท่านอนตะแคง (protective side-lying or lateral position) 1) จับขาผู้ป่วยไขว่กัน หรืองอขาชันเข้าด้านตรงข้ามกับทิศทางที่ต้องการต้องแคง แล้ว ชว่ ยผปู้ ่วยตะแคงไปดา้ นทีต่ ้องการ 2) หนุนหมอนใตศ้ ีรษะจนถงึ คอและหวั ไหล่ 3) วางหมอนทล่ี ำตวั ดา้ นหนา้ รองรับแขนบนไว้ จัดใหแ้ ขนงอเลก็ นอ้ ย 4) แขนขา้ งท่ีอยดู่ ้านล่างใหง้ อวางขา้ งศรี ษะ 5) วางหมอนรองรับขาท่ีอยู่ดา้ นบน จดั ให้เขา่ งอเล็กนอ้ ย 5.1.3 วธิ ีการจดั ท่านอนควำ่ (protective prone position) 1) จับขาผู้ป่วยไขว่กัน หรืองอขาชันเข้าด้านตรงข้ามกับทิศทางที่ต้องการต้องแคง แล้ว ช่วยผ้ปู ่วยตะแคงไปดา้ นทต่ี อ้ งการ 2) ค่อยๆ ชว่ ยผปู้ ว่ ยคว่ำ ตะแคงศรี ษะไปดา้ นใดดา้ นหนึ่ง 3) หนุนหมอนนุ่มๆ ใตศ้ ีรษะ ใบหน้า บรเิ วณท้องนอ้ ย และปลายขา เพ่อื ปอ้ งกันแรงกด 462
4) จดั แขนทง้ั 2 ข้างใหง้ อขน้ึ ข้างศรี ษะ 5.1.4 วธิ ีการจัดกง่ึ ท่าน่ังบนเตยี ง (Fowler’s position) 1) เล่อื นตัวผ้ปู ่วยไปด้านหัวเตยี ง 2) ไขเตยี งฝั่งปลายเทา้ ใหท้ ำมมุ 15 องศา เพื่อปอ้ งกันการเล่ือนไหลของผปู้ ว่ ย 3) ไขเตยี งฝ่ังศรี ษะ โดยมีการจัดท่าศีรษะสงู 3 ลักษณะ ดังน้ี (1) High Fowler’s position จัดทา่ ใหห้ วั เตยี งสูงทำมมุ 60-90 º กับพ้นื เตียง (2) Fowler’s position จัดทา่ ใหห้ วั เตียงสูงทำมมุ 45 – 60 º กับพ้นื เตียง (3) Semi Fowler’s position จัดท่าใหห้ ัวเตยี งสูงทำมุม 30-45 º กบั พน้ื เตยี ง 5.1.5 วิธีการจัดท่านอนศีรษะตำ่ ปลายเท้าสูง (Trendelenburg position) 1) จดั ใหผ้ ู้ปว่ ยอยู่ในท่านอนหงายราบ 2) ไขเตียงยกปลายเตียงให้ปลายเท้าสงู 45 องศา 5.2 วธิ ีการเคลอื่ นย้ายผู้ป่วย 5.2.1 วธิ กี ารพลิกตวั ตะแคงตวั 1) อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ เพื่อคลายความวิตกกังวล เพื่อความร่วมมือและส่งเสริมความ เป็นบคุ คล 2) จับแขนผูป้ ว่ ยพาดบนหน้าอกหรือให้ผู้ป่วยกอดออก เพ่ือความปลอดภยั ขณะพลกิ ตัว 3) ใช้ผ้ารองยกเพื่อยกเลื่อนตัวผู้ป่วยให้อยู่ขอบเตียงด้านตรงกันข้ามกับด้านที่พลิกตัว เพอื่ เพ่ิมพนื้ ท่ใี นการพลิกตัว 4) ใชผ้ ้ารองยกพลิกตะแคงตัวผ้ปู ่วยไปดา้ นที่ต้องการ 5) จัดท่าผู้ป่วยให้สุขสบาย วางขาบนหมอนในท่างอเข่าเล็กน้อย ใช้หมอนรองรับขา ด้านบนและหลงั 6) ยกขา้ งเตยี งขึ้นแล้ว เดินกลบั ไปด้านทจี่ ะตะแคงตวั เพือ่ ปอ้ งกนั ผู้ปว่ ยพลิกตกเตยี ง 5.2.2 การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในทา่ นอนไปทางหัวเตียง 1) แจ้งผู้ป่วยถึงวัตถุประสงค์และขั้นตอน เพื่อคลายความวิตกกังวล เพื่อความร่วมมือ และสง่ เสรมิ ความเป็นบคุ คล (Autonomy) 2) ไขหวั เตยี งในแนวราบ เพอื่ ลดแรงตา้ นจากแรงโนม้ ถ่วง เลื่อนหมอนจากศีรษะ 3) จบั ผา้ รองยกใหช้ ิดตัวผปู้ ว่ ยมากท่ีสดุ 4) บอกผูป้ ว่ ยให้ชันเข่า 463
5) ส่งสัญญาณให้ผู้ป่วยดันตัวขึ้น โดยพยาบาลออกแรงยกพร้อมกัน เพื่อผ่อนแรงของ พยาบาลหรือผ้ชู ว่ ยเหลือ 6) ในกรณที ีม่ บี ารโ์ หนและผปู้ ่วยพอมแี รงใหจ้ ับบาร์โหนยกตัวขึน้ ขณะเดียวกันให้ผู้ป่วย ออกแรงดันตัวขนึ้ 5.2.3 การเคลื่อนย้ายผู้ปว่ ยโดยใช้กระดานสำหรับเคล่ือนย้ายผู้ป่วย (transfer board/ pad-slide) 1) อธิบายให้ผูป้ ่วยทราบ เพื่อคลายความวิตกกังวล ความร่วมมือและส่งเสริมความเป็น บคุ คล (Autonomy) 2) พยาบาลคนที่ 1 ยืนอยู่ด้านศีรษะของผู้ป่วยใช้แขนข้างหนึ่งวางไว้ที่คอใต้ไหล่ของ ผปู้ ว่ ยโดยให้ส่วนคอของผูป้ ว่ ยอยู่บนแขนของพยาบาลและแขนอีกขา้ งหนึ่งรองอยูใ่ ตห้ ลังบริเวณเหนือ เอว หรอื ใชผ้ ้ารองยก 3) พยาบาลคนที่ 2 รองแขนข้างหนึ่งเข้า ใต้เอวให้ชิดกับแขนพยาบาลคนท่ี 1 และแขน อีกดา้ นหนึง่ รองเขา้ ใตโ้ คนขาหรอื สะโพกของผ้ปู ว่ ยหรือใช้ผ้ารองยก 4) พยาบาลคนที่ 3 สอดแขนข้างหนึ่งเข้าใต้สะโพกให้ชิดกับแขนของพยาบาลคนที่ 2 และแขนอกี ขา้ งหนง่ึ สอดรองเข้าใต้ข้อเทา้ ของผูป้ ่วยหรือใชผ้ ้ารองยก 5) ใหส้ ัญญาณยกตัวผู้ป่วยข้นึ พรอ้ มๆ กับอมุ้ ผปู้ ว่ ยให้ชดิ ตัวพยาบาลมากท่สี ุดหรือยกผ้า รองยก ข้ามกระดานสำหรบั เคลื่อนยา้ ยผู้ป่วย (transfer board/ pad-slide) ไปยงั เปลนอน 6) จัดทา่ ใหผ้ ู้ปว่ ยสบาย ผอ่ นคลาย เล่ือนตัวผู้ป่วยใหอ้ ย่กู ลางเตยี ง 7) คลมุ ผา้ ใหผ้ ู้ปว่ ยระดับหนา้ อก 5.2.4 การพยุงผปู้ ่วยเดิน 1) การพยงุ ผู้ปว่ ยเดินโดยผู้ชว่ ยเหลอื 1 คน สามารถปฏิบตั ิดงั น้ี (1) อธบิ ายใหผ้ ู้ป่วยทราบเพื่อคลายความวติ กกงั วล ความรว่ มมอื และส่งเสรมิ ความ เป็นบคุ คล (Autonomy) และพยุงผ้ปู ่วยลงจากเตยี ง (2) พยาบาลยืนขา้ งซ้ายหรือข้างที่อ่อนแรงของผปู้ ว่ ย หนั หน้าไปทศิ เดยี วกันเพ่อื ประคองผู้ปว่ ย (3) ใช้มือขวาจับเข็มขัดทีร่ ดั เอวผูป้ ว่ ย เพือ่ ใหผ้ ู้ป่วยใชแ้ ขนไดอ้ ยา่ งอิสระ อีกมืออาจ ประคองปลายตน้ แขนผูป้ ว่ ยหรอื ประคองด้านหลังเพื่อความมนั่ คง 464
(4) พยุงเดนิ โดยก้าวเทา้ ขา้ งเดียวกับผปู้ ว่ ยเดนิ ไปพร้อมกนั ถ้าผูป้ ่วยหนา้ มดื เป็นลม พยาบาลเลอ่ื นมือทีพ่ ยงุ ต้นแขนผ้ปู ่วยไปข้างหน้า สอดแขนท้ังสองข้างใต้รักแร้ รับน้ำหนักตวั ผู้ปว่ ยไว้ พรอ้ มกบั ใชส้ ะโพกยันสะโพกของผู้ป่วยและค่อยๆ พยงุ ผูป้ ่วยลงน่งั กับพนื้ 2) การพยงุ ผูป้ ่วยเดนิ โดยผ้ชู ว่ ยเหลือ 2 คน มีวิธกี ารปฏิบตั ดิ ังน้ี (1) อธิบายผู้ป่วยถึงวัตถุประสงค์และการปฏิบัติ เพื่อคลายความวิตกกังวล ความ ร่วมมอื และสง่ เสรมิ ความเป็นบุคคล (Autonomy) (2) พยาบาลทั้ง 2 คน ยืนคนละข้างของผู้ป่วยและหันหน้าไปทิศทางเดียวกัน พยาบาลแต่ละคนใชม้ อื พยงุ ใตร้ ักแก้ผปู้ ่วยหรอื จบั เข็มขัด อีกมือหนง่ึ จบั ประคองต้นแขนผู้ป่วยไว้ (3) เดินกา้ วเท้าข้างเดยี วกนั เดนิ ไป พรอ้ มๆ กนั (4) ถ้าผู้ป่วยเวียนศีรษะ หน้ามืด พยาบาลทั้ง 2 คน จะเลื่อนมือข้างที่พยุงตัวไป ข้างหน้าใช้แขนสอดอยู่ใต้รักแร้ รับน้ำหนักตัวผู้ป่วยไว้ พร้อมกับใช้สะโพกยันสะโพกผู้ป่วยไว้ แล้ว คอ่ ยๆ พยงุ ตวั ผู้ปว่ ยไปนงั่ เก้าอ้ี 5.3 บทสรปุ การจัดท่า การเคลื่อนย้ายเป็นบทบาทที่สำคัญอย่างหนึ่งของพยาบาล เนื่องจากสามารถช่วย ป้องกนั ภาวะแทรกซอ้ น จำเป็นต้องปฏบิ ตั ิใหเ้ ป็นประจำอย่างต่อเนอ่ื งจะชว่ ยป้องกันภาวะแรกซอ้ นได้ 465
5.4 แบบประเมินทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพ้นื ฐาน แบบประเมินทักษะการจัดท่าและเคลื่อนย้าย (Transferring) ชอื่ ........................................สกุล.............................................รหสั นกั ศึกษา................................. คำชีแ้ จง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ผลการปฏบิ ัติ ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย ลำดับ รายการประเมนิ ปฏิบัติ ไมป่ ฏบิ ตั ิ เหตุ (1) (0) ท่านอนหงายราบ ( protective supine position) 1. บอกใหผ้ ปู้ ่วยทราบ 2. จดั ทา่ ให้ผปู้ ่วยนอนหงายราบ หนนุ หมอนรองรบั ศรี ษะ 3. จัดขาท้ังสองขา้ งของผู้ป่วยเหยยี ดตรง วางราบกบั พนื้ 4. จัดแขนวางข้างลำตวั หรอื วางบนหน้าท้อง 5. ใช้หมอนนุ่มๆ วางรองให้สน้ เทา้ ลอยเหนือท่ีนอนเล็กนอ้ ย และใช้หมอนทราย หรือ foot board หนุนกน้ั ปลายเทา้ (ในกรณผี ้ปู ่วยไมร่ สู้ ึกตวั ) รวมคะแนน (4 คะแนน) ทา่ นอนควำ่ (protective prone position) 1. บอกใหผ้ ูป้ ว่ ยทราบ 2. จัดใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนคว่ำ ตะแคงศีรษะไปดา้ นใดดา้ นหนง่ึ 3. หนุนหมอนน่มุ ๆ ใตศ้ รี ษะ ใบหน้า บริเวณท้องน้อย และ ปลายขา เพ่ือป้องกนั แรงกด 4. จดั แขนทง้ั 2 ข้างใหง้ อขน้ึ ขา้ งศีรษะ รวมคะแนน (4 คะแนน) ทา่ นอนตะแคง (protective lateral position) 1. บอกให้ผู้ปว่ ยทราบ 2. จัดใหผ้ ปู้ ่วยนอนตะแคง 3. หนนุ หมอนใต้ศรี ษะจนถงึ คอและหวั ไหล่ 4. วางหมอนท่ีลำตวั ดา้ นหน้ารองรับแขนบนไว้ จัดให้แขนงอ เลก็ นอ้ ย 466
ลำดับ รายการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิ หมาย ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ เหตุ (1) (0) 5. แขนขา้ งทอ่ี ยดู่ ้านลา่ งใหง้ อวางข้างศรี ษะ 6. วางหมอนรองรับขาท่อี ยู่ดา้ นบน จัดให้เขา่ งอเล็กน้อย รวมคะแนน (6 คะแนน) การจดั ทา่ นอนศีรษะสงู 1 เลอ่ื นตัวผู้ปว่ ยไปดา้ นหัวเตยี ง 2 ไขเตยี งฝั่งปลายเท้าให้ทำมมุ 15 องศา เพื่อป้องกันการ เล่อื นไหลของผปู้ ว่ ย ไขเตยี งฝั่งศีรษะ โดยมกี ารจัดทา่ ศรี ษะสงู 3 ลกั ษณะ ดังน้ี 3 - High Fowler’s position จดั ทา่ ใหห้ วั เตยี งสูงทำ มุม 60-90 º กบั พ้ืนเตยี ง - Fowler’s position จัดท่าใหห้ ัวเตียงสงู ทำมุม 45 – 60 º กับพืน้ เตียง - Semi Fowler’s position จดั ทา่ ให้หัวเตียงสงู ทำมมุ 30-45 º กับพื้นเตยี ง รวมคะแนน (3 คะแนน) การเคล่อื นยา้ ยผู้ป่วยโดยใช้กระดานสำหรบั เคลอื่ นย้ายผู้ป่วย (transfer board/ pad-slide) 1 อธิบายให้ผปู้ ่วยทราบ เพ่ือคลายความวิตกกังวล ความ ร่วมมือและสง่ เสริมความเปน็ บคุ คล (Autonomy) 2 - พยาบาลคนที่ 1 ยนื อยู่ด้านศรี ษะของผปู้ ว่ ย จับผ้ารอง ยกทใ่ี ต้คอใตข้ องผู้ปว่ ยโดยและแขนอีกข้างหน่งึ อยู่ใต้หลงั บริเวณเหนือเอว - พยาบาลคนท่ี 2 ยนื ดา้ นลำตัวของผู้ป่วยจับผ้ารองยกใต้ เอวให้แขนชดิ กับแขนพยาบาลคนที่ 1 และแขนอีกด้าน หนึง่ จบั ผ้ารองยกบริเวณใตโ้ คนขาหรอื สะโพกของผ้ปู ่วย - พยาบาลคนที่ 3 ยืนตรงขา้ มและปฏิบัติเชน่ เดยี วกับ พยาบาลคนท่ี 1 - พยาบาลคนท่ี 4 ยืนตรงข้ามและปฏิบตั ิเชน่ เดยี วกบั พยาบาลคนท่ี 2 467
ลำดับ รายการประเมนิ ผลการปฏิบัติ หมาย ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ เหตุ (1) (0) 3 ใหส้ ัญญาณยกตัวผปู้ ว่ ยขน้ึ พร้อมๆ กบั อ้มุ ผู้ป่วยให้ชิดตัว พยาบาลมากทีส่ ดุ หรอื ยกผ้ารองยก ข้ามกระดานสำหรบั เคลือ่ นยา้ ยผู้ปว่ ย (transfer board/ pad-slide) ไปยงั เปลนอน 4 จดั ทา่ ใหผ้ ูป้ ่วยสบาย ผ่อนคลาย เล่ือนตัวผูป้ ่วยให้อยู่กลาง เตียง รวมคะแนน (4 คะแนน) 5.5 เอกสารอ้างองิ ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ และอรุณรัตน์ เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอ็นพีเพรส. สัมพันธ์ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พนื้ ฐาน II. กรุงเทพฯ: บริษัท บพิธการพิมพ์ จำกดั . สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์ สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ์ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้ืนฐาน I.กรุงเทพฯ: บริษัท บพธิ การพมิ พ์ จำกดั . อัจฉรา พุ่มดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2556). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษทั ธนาเพรส จำกัด. อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2558). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษทั จรลั สนทิ วงศ์การพิมพ์ จำกดั . Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. 468
Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 469
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 วธิ ปี ฎบิ ัตกิ ารพยาบาลพน้ื ฐาน ในการบริหารยาทางปาก ทางตาและทางหู หวั ขอ้ เน้อื หาประจำบท 1. วธิ กี ารบริหารยาทางปาก 2. วิธีการบรหิ ารยาทางตา 3. วธิ กี ารบรหิ ารยาทางหู จำนวนชั่วโมงที่สอน: ภาคทดลอง 2 ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม 1. ปฏบิ ตั ิบรหิ ารยาทางปาก ทางผิวหนังและเยอื่ บุตามโจทยส์ ถานการณจ์ ำลองได้ถูกต้อง วธิ สี อนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. วิธีสอน 1.1 สอนสาธิตและสาธติ ย้อนกลับ 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.1 สอนสาธิตบรหิ ารยาทางปาก ทางผวิ หนงั และเยื่อบุ ตามโจทย์สถานการณจ์ ำลอง 2.2 ผู้เรยี นฝกึ ปฏิบตั ิและสาธิตย้อนกลบั 2.3 สะท้อนคิดการฝึกปฏบิ ตั แิ ละสรุปผลการเรยี นรู้ 2.4 ผเู้ รยี นยืมวัสุด อปุ กรณไ์ ปฝึกปฏิบัติต่อนอกเวลาเพือ่ ให้เกดิ ทักษะ สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ยาจำลอง วสั ดุ อปุ กรณ์ทางการแพทย์ในห้องปฏิบัติการ 3. โจทยส์ ถานการณ์ และใบบนั ทึกการบริหารยา (medication administration record) 4. VDO สอ่ื การสอนใน YouTube channel: nursing practice การวัดผลและประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลการสาธิตยอ้ นกลับ ตามแบบประเมินทกั ษะ 2. การสอบทกั ษะปฏบิ ัติแบบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 470
บทท่ี 6 วิธปี ฎิบตั กิ ารพยาบาลพนื้ ฐาน ในการบริหารยาทางปาก ทางตาและทางหู การบริหารยาทางปาก ทางผิวหนังและเยื่อบุเป็นการให้ยาโดยการรับประทานผ่านระบบ ทางเดินอาหาร ออกฤทธิ์มีผลตามระบบหรือเฉพาะที่ สำหรับการบริหารยาทางผิวหนังและเยื่อบุทีใ่ ช้ บ่อย ได้แก่ การให้ยาทางหู ทางตา รายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปนี้ 6.1 วิธีการบรหิ ารยาทางปาก 6.1.1 อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใช้ 1) คำส่งั การรักษาและใบบันทึกการบริหารยา (Medication Administration Record, MAR) 2) ถ้วยยาเม็ด ถว้ ยยาน้ำ ถาดใสถ่ ้วยยา 3) ยา 4) นำ้ และยาบางชนดิ อาจใชห้ ลอดดดู หลอดหยดยา ชอ้ นตวง 6.1.2 วธิ ปี ฏิบตั ิ 1) ตรวจสอบใบบนั ทึกการให้ยาของผ้ปู ่วยกบั หรือคำสัง่ การรักษา 2) ล้างมือใหส้ ะอาดเพอื่ ลดการปนเปื้อน 3) เตรยี มถว้ ยยาท่ีจะใช้ 4) หยบิ ยาทตี่ รงกบั ใบบันทกึ การให้ยา (MAR) โดยมวี ธิ ีในการหยิบยาดงั น้ี - จัดยาใส่ถ้วยยาตามขนาดที่ต้องการ โดยอ่านฉลากยาอย่างน้อย 3 ครั้ง คือ ก่อน หยบิ ยา กอ่ นเทยา และก่อนเก็บยาเขา้ ทีเ่ ดิม - การจัดยาเม็ด เทเมด็ ยาใสฝ่ าขวดตามจำนวนทีต่ ้องการ กอ่ นเทลงถว้ ยยา - ยาน้ำ เขย่าขวดยา จนยาที่ตกตะกอนละลายกลายเป็นเนื้อเดียวกัน หันฉลากไว้ ด้านบนหรือฉลากอยู่ในอุ้งมือ อีกมือหนึ่งถือถ้วยยาสูงระดับสายตา ใช้นิ้วหัวแม่มือกะขนาดของยาท่ี ต้องการข้างถ้วยยา - ยาผง เทลงถว้ ยยา เตมิ นำ้ สะอาดคนดว้ ยชอ้ นให้ยาละลายเขา้ กัน 471
- ยาหยด ถ้าขวดยาไม่มีท่ีสำหรับหยดยา ให้ใช้หลอดหยด (medicine dropper) 5) วางถ้วยยาลงในถาด 6) ตรวจสอบความถูกต้องด้วยพยาบาลผู้รับผิดชอบอีกคนหนึ่ง เพื่อป้องกันความ ผิดพลาด 7) ยกถาดยาไปทเี่ ตยี งผู้ป่วย ถ้ายาจำนวนมากใหใ้ ช้รถเขน็ หรอื รถจดั ยา 8) ตรวจสอบชื่อผู้ป่วยให้ตรงกับใบบันทึกการให้ยา โดยการถามให้ผู้ป่วยเป็นผู้บอกช่ือ และนามสกุลของตนเองและเปรยี บเทียบชอ่ื ในใบ MAR เทียบกบั ปา้ ยขอ้ มอื 9) สง่ ยาใหผ้ ู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้า พรอ้ มทงั้ จดั หานำ้ ให้ผู้ปว่ ยดว้ ย ใหผ้ ้ปู ่วยกลืนยา น้ำหรือยาเม็ดพร้อมกับนำ้ ขณะท่ีศีรษะและคออยู่ในลกั ษณะต้ังตรงหรอื ก้มคอลงเล็กน้อย จะป้องกัน การสำลักได้ดีกว่าการแหงนคอขึ้น รอจนผู้ป่วยกลนื ยาหรือดื่มน้ำตามจนหมด ยกเว้นยาบางชนิดที่ไม่ ต้องดม่ื นำ้ ตาม เชน่ ยาแก้ไอ หรือยาท่ีต้องการใหล้ ะลายในปาก 10) บนั ทึกการให้ยาลงใบบนั ทึกการให้ยา (MAR) และใบบันทึกการพยาบาล เรือ่ งขนาด ของยา เวลาใหย้ า อาการผดิ ปกติ (ถ้ามี) 11) เก็บใบบนั ทึกการใหย้ าเข้าที่ 12) ล้างถว้ ยยาให้สะอาด เช็ดใหแ้ ห้งเกบ็ เขา้ ที่ 13) ประเมนิ ผลผู้ปว่ ยภายหลงั การใหย้ าแล้ว 30 นาทีเพือ่ ป้องกันอาการข้างเคียงจากยา 6.2 วธิ กี ารบรหิ ารยาทางตา (Instilling eye medication) 6.2.1 อปุ กรณ์เครือ่ งใช้ 1) ใบแผนการรักษาและใบ MAR 2) ยา พร้อมหลอดหยดปลอดเช้ือ 3) อับใสส่ ำลีปลอดเช้อื พรอ้ มปากคีบปลอดเชอ้ื 4) น้ำยาปลอดเชอ้ื สำหรับเช็ดตา อาจเปน็ นำ้ ตม้ สุก หรอื น้ำเกลือนอรม์ ัล (0.9 N.S.S) 5) ผา้ ปิดตาปลอดเชื้อ 6) ปลาสเตอร์ 7) ชามรูปไต 8) ถาดใส่ยาและเครอ่ื งใช้ 472
6.2.2 วิธปี ฏบิ ตั ิ 1) ตรวจสอบใบบันทึกการให้ยาให้ตรงกับแผนการรักษา ชื่อยา ขนาดยา ตาข้างที่จะ หยอด 2) ตรวจสอบยาใหต้ รงกบั ใบ MAR และตรวจสอบยายงั ไม่หมดอายุ โดยพยาบาล 2 คน 3) นำเครอ่ื งใช้ใสถ่ าดไปทีเ่ ตียงผูป้ ่วย บอกผู้ป่วยให้ทราบ 4) จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่สบาย ในท่านอนหงายศีรษะเหยียดตรงหรือนั่งบนเก้าอี้ แหงนศีรษะไปทางดา้ นหลงั 5) ถ้าผปู้ ว่ ยปิดตาไว้ ลอกปลาสเตอร์ออก แตย่ ังไม่ต้องเอาผ้าปิดตาออก 6) ลา้ งมือใหส้ ะอาด 7) หยบิ ผา้ ปิดตาออก ทงิ้ ในชามรปู ไต 8) เช็ดตาผู้ป่วยให้สะอาดด้วยสำลี และน้ำยาเช็ดตาปลอดเชื้อหรือน้ำเกลือนอร์มัล โดย เช็ดจากหวั ตาไปหางตา ไม่เช็ดย้อนไปมา ถ้ายงั ไมส่ ะอาดใหใ้ ชส้ ำลีชบุ นำ้ เกลือนอรม์ ัล ใหม่อีก 1 ก้อน เพอื่ เช็ดใหม่อีกคร้งั แล้วทิ้งสำลีที่ใชแ้ ลว้ ลงในชามรปู ไต 9) หยบิ สำลีแหง้ ใสอ่ ้งุ มอื ตรวจดูชอ่ื ยาอกี ครั้งหนึ่ง ดขู นาดยา และตาขา้ งท่ีจะหยอด 10) ดดู ยาจากขวดเข้าหลอดหยดตา ถา้ ขวดยาไมม่ ที ่ีหยด 11) บอกให้ผู้ปว่ ยลืมตา เหลือบตามองขน้ึ ข้างบน 12) วางสำลแี ห้งใต้หนงั ตาล่างใชน้ ว้ิ ชี้กดทับสำลี ดึงหนงั ตาลา่ งลง 13) กรณียาหยอด ให้หยอดยาลงบนเยื่อบุเปลือกตาล่างด้านหางตา 1 หยด ให้ปลาย หลอดหยดหา่ งจากตา 1-2 ซม. หรือ ¾ นวิ้ ใหผ้ ปู้ ่วยกลอกตาไปมาและหลบั ตา ใช้สำลเี ชด็ นำ้ ยาที่ไหล ออกทางด้านหางตา ทิ้งสำลีลงในชามรูปไต หยิบสำลีก่อนใหม่กดท่ีหัวตา 30 วินาที เพื่อป้องกันน้ำยา ไหลลงท่อนำ้ ตา 14) กรณียาป้าย ให้ป้ายยาบนเยื่อบุเปลือกตาล่าง จากหัวตาไปหางตา ให้ปลายหลอด ยาห่างจากตาประมาณ 1 – 2 เซนติเมตร หรือ ¾ นิ้ว จากนั้นให้ผู้ป่วยหลับตา ดึงหนังตาบนลงมา คลมุ หนังตาลา่ ง ใชส้ ำลีคลงึ ตาเบา ๆ เพอื่ ใหย้ ากระจายตวั 15) กรณที ่มี กี ารให้ยาทางตาตงั้ แต่ 2 ชนิดข้นึ ไป ให้ใชย้ าแต่ละชนิดห่างหนั อย่างน้อย 5 -10 นาที เพอ่ื ให้ยาสามารถออกฤทธ์ไิ ด้เต็มท่ี การเรียงลำดบั การใชย้ า ดังนี้ 1) ยาหยอดชนิดใส 2) ยา ทีแ่ ขวนตะกอน เป็นนำขนุ่ 3) ยาป้ายชนิดใส 4) ยาปา้ ยครมี เหนียว 473
16) กรณีที่เป็นยาน้ำใสเช่นเดียวกันให้เลือกหยอดยาที่ค่า pH ต่ำก่อน เนื่องจากยาที่ กรดกรดดดู ซีมไดดกี ว่ายาท่เี ป็นดา่ ง 17) ปิดฝาขวดยา และตรวจดชู ือ่ ยาอกี ครง้ั หน่งึ 18) ถ้าต้องปิดตา ใช้ผ้าปิดตาปลอดเชื้อ (eye pad) ปิดให้เรียบร้อย และยึดติดด้วย ปลาสเตอร์ 19) เก็บยาเข้าที่ ทำความสะอาดเครอ่ื งใชแ้ ละลา้ งมอื 20) บันทึกการให้ยาลงในใบ MAR 6.3 วธิ กี ารบรหิ ารยาทางหู (Instilling ear medication) 6.3.1 อุปกรณเ์ ครอื่ งใช้ 1) แผนการรกั ษาของแพทย์และใบบันทึกการให้ยา 2) ยาหยอดหูพรอ้ มหลอดหยอด 3) สำลแี ละสำลพี ันปลายไม้ 4) ถาดใสอ่ ุปกรณ์ 6.3.2 วิธีปฏิบัติ 1) ตรวจสอบใบ MAR ใหต้ รงกบั แผนการรกั ษาของแพทย์ ตรวจสอบยายังไม่หมดอายุ 2) บอกใหผ้ ปู้ ่วยทราบ 3) จดั ทา่ ผปู้ ่วยตะแคงด้านตรงกันขา้ มกบั หูขา้ งท่จี ะหยอด 4) ลา้ งมือให้สะอาด 5) ตรวจดใู นชอ่ งหูวา่ มีหนอง เลือด หรอื ไม่ ถา้ มใี ชส้ ำลพี ันปลายไม้เชด็ ใหส้ ะอาด 6) ดึงใบหูให้นิ้วหัวแมม่ ืออยู่ดา้ นหน้า นิ้วชี้และนิ้วกลางอยู่ด้านหลัง ในผู้ใหญ่ดึงไปข้างหลงั และขึน้ ข้างบน สว่ นในเด็กดึงไปขา้ งหลงั และลงข้างลา่ ง เพือ่ ให้ชอ่ งหูตรง 7) หยอดยาลงในหู ให้หลอดหยดห่างจากช่องหู 1 ซม. 8) กดบริเวณติ่งหน้าหู (tragus) เพื่อเพิ่มแรงกดดันให้ยาไหลไปลึกๆ ใช้สำลีปิดช่องหูด้าน นอกไว้ ระวังอยา่ ใหส้ ำลดี ูดซบั นำ้ ยา 9) ใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนท่าเดมิ ตอ่ อกี 5-10 นาที 10) เก็บยาเขา้ ท่ี และทำความสะอาดเครือ่ งใช้ 11) บนั ทึกการใชย้ าลงในใบบนั ทกึ การให้ยาและใบบันทึกการพยาบาล 474
6.4 บทสรุป การบริหารยาทางปาก การหยอดตา การหยอดหู เป็นหัตถการทางการพยาบาลที่พบได้ บอ่ ย พยาบาลต้องให้ความสำคัญของการบรหิ ารยาอยา่ งถกู ต้อง 6.5 แบบประเมินทกั ษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน แบบประเมินทักษะการบริหารยารับประทาน (oral medication administration) ชอ่ื ..................................สกลุ .....................................................รหัสนักศึกษา ............................................ คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในชอ่ งทีต่ รงกบั ผลการปฏบิ ตั ิ ลำดบั รายการประเมิน ผลการประเมิน หมาย ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบัติ เหตุ (1) (0) ขน้ั เตรียม 1 เตรยี มอปุ กรณ์ดงั น้ี - คำสัง่ การรกั ษา - ใบบนั ทึกการบริหารยา(Medication Administration Record, MAR) - ถ้วยยาเมด็ ถว้ ยยานำ้ ถาดใสถ่ ว้ ยยา ยาน้ำและยาบาง ชนิด อาจใชห้ ลอดดดู หลอดหยดยา ชอ้ นตวง 2 ตรวจสอบใบบันทึกการให้ยาของผ้ปู ่วยกบั หรือคำสง่ั การ รกั ษา 3 ลา้ งมือให้สะอาดเพ่ือลดการปนเปื้อน 4 เตรยี มถ้วยยาท่ีจะใช้ 5 หยบิ ยาทต่ี รงกับใบบนั ทึกการให้ยา (MAR) โดยมีวธิ ใี น การหยบิ ยาดงั นี้ - จัดยาใสถ่ ว้ ยยาตามขนาดที่ต้องการ โดยอา่ นฉลากยา อยา่ งน้อย 3 ครั้ง คือ ก่อนหยิบยา กอ่ นเทยา และกอ่ น เกบ็ ยาเขา้ ทีเ่ ดมิ 475
ลำดับ รายการประเมนิ ผลการประเมนิ หมาย ปฏิบัติ ไม่ปฏบิ ตั ิ เหตุ (1) (0) - การจัดยาเม็ด เทเม็ดยาใส่ฝาขวดตามจำนวนทต่ี ้องการ ก่อนเทลงถว้ ยยา - ยาน้ำ เขยา่ ขวดยา จนยาท่ีตกตะกอนละลายกลายเปน็ เนอื้ เดยี วกัน หันฉลากไว้ด้านบนหรือฉลากอยใู่ นอุ้งมือ อีกมือหนึง่ ถอื ถว้ ยยาสูงระดับสายตา ใช้นว้ิ หัวแม่มือกะ ขนาดของยาที่ต้องการข้างถ้วยยา - ยาผง เทลงถ้วยยา เติมน้ำสะอาดคนดว้ ยชอ้ นให้ยา ละลายเขา้ กนั - ยาหยด ถา้ ขวดยาไม่มที ่สี ำหรับหยดยา ให้ใช้หลอด หยด (medicine dropper) 6 วางถว้ ยยาลงในถาด 7 ตรวจสอบความถูกต้องด้วยพยาบาลผู้รบั ผดิ ชอบอกี คน หนึง่ เพื่อป้องกนั ความผิดพลาด ข้ันปฏิบตั ิ 8. ยกถาดยาไปที่เตยี งผูป้ ่วย ถ้ายาจำนวนมากให้ใช้รถเขน็ หรอื รถจดั ยา 9. ตรวจสอบชือ่ ผูป้ ่วยให้ตรงกับใบบนั ทึกการให้ยา โดยการ ถามใหผ้ ปู้ ว่ ยเปน็ ผบู้ อกช่ือ และนามสกุลของตนเองและ เปรยี บเทยี บชอ่ื ในใบ MAR เทียบกบั ปา้ ยข้อมือ 10. ส่งยาใหผ้ ู้ป่วยรบั ประทานยาต่อหนา้ พร้อมทั้งจัดหานำ้ ให้ผู้ป่วยด้วย ใหผ้ ู้ป่วยกลนื ยานำ้ หรอื ยาเมด็ พร้อมกบั นำ้ ขณะทศี่ รี ษะและคออยู่ในลักษณะตัง้ ตรงหรือกม้ คอลง เล็กนอ้ ย จะป้องกันการสำลักไดด้ กี ว่าการแหงนคอขน้ึ รอจนผู้ปว่ ยกลืนยาหรอื ด่ืมน้ำตามจนหมด ยกเว้นยาบาง ชนิดทไี่ ม่ต้องดมื่ น้ำตาม เช่น ยาแกไ้ อ หรอื ยาทีต่ ้องการ ใหล้ ะลายในปาก 476
ลำดับ รายการประเมนิ ผลการประเมนิ หมาย ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ัติ เหตุ (1) (0) 11. บนั ทกึ การให้ยาลงใบบนั ทกึ การให้ยา (MAR) และใบ บนั ทึกการพยาบาล เร่ืองขนาดของยา เวลาใหย้ า อาการ ผิดปกติ (ถ้าม)ี 12. เก็บใบบันทึกการใหย้ าเขา้ ท่ี 13. ลา้ งถว้ ยยาใหส้ ะอาด เช็ดให้แห้งเกบ็ เขา้ ท่ี ข้ันประเมินผล 14. ประเมินผลผปู้ ่วยภายหลงั การให้ยาแลว้ 30 นาทเี พื่อ ป้องกันอาการขา้ งเคยี งจากยา รวมคะแนน (14 คะแนน) 477
แบบประเมนิ ทักษะการบริหารยาหยอดตา (Instilling eye medication) ช่อื ..................................................สกุล................................รหสั นกั ศึกษา................................... คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่องทีต่ รงกับผลการปฏบิ ัติ ลำดบั รายการประเมิน ผลการปฏบิ ัติ หมาย ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบัติ เหตุ ขน้ั เตรียม (1) (0) 1. เตรยี มอุปกรณ์ดังน้ี - ใบแผนการรกั ษาและใบ MAR - ยา พรอ้ มหลอดหยดปลอดเชอ้ื - อับใสส่ ำลีปลอดเชือ้ พรอ้ มปากคบี ปลอดเช้อื - น้ำยาปลอดเช้ือสำหรบั เชด็ ตา อาจเป็นนำ้ ตม้ สุก หรือ 0.9 % N.S.S - ผา้ ปดิ ตาปลอดเชื้อ (กรณตี ้องปิดตา) - ปลาสเตอร์ - ชามรูปไต - ถาดใส่ยาและเคร่อื งใช้ ขน้ั ปฏบิ ัติ 2. ตรวจสอบใบบนั ทึกการให้ยาใหต้ รงกบั แผนการรักษา ช่ือ ยา ขนาดยา ตาขา้ งท่ีจะหยอด 3. ตรวจสอบยาใหต้ รงกบั ใบ MAR และตรวจสอบยายังไม่ หมดอายุ โดยพยาบาล 2 คน 4. นำเคร่อื งใชใ้ ส่ถาดไปท่ีเตียงผู้ปว่ ย บอกผู้ป่วยใหท้ ราบ 5. จดั ให้ผปู้ ว่ ยนอนในท่าทีส่ บาย ในท่านอนหงายศรี ษะ เหยียดตรงหรอื นงั่ บนเก้าอ้ี แหงนศรี ษะไปทางดา้ นหลัง 6. ถา้ ผปู้ ่วยปดิ ตาไว้ ลอกปลาสเตอร์ออก แตย่ ังไมต่ ้องเอาผา้ ปดิ ตาออก 7. ลา้ งมอื ให้สะอาด 478
ลำดับ รายการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติ หมาย ปฏิบตั ิ ไม่ปฏิบตั ิ เหตุ (1) (0) 8. หยบิ ผ้าปดิ ตาออก ทง้ิ ในชามรูปไต 9. เช็ดตาผู้ป่วยให้สะอาดด้วยสำลี และน้ำยาเช็ดตาปลอด เชื้อหรอื 0.9 % N.S.S โดยเชด็ จากหวั ตาไปหางตา ไม่เช็ด ย้อนไปมา ถ้ายังไมส่ ะอาดใหใ้ ช้สำลีชบุ 0.9 % N.S.S ใหม่ อีก 1 ก้อน เพื่อเช็ดใหม่อีกครั้ง แล้วทิ้งสำลีที่ใช้แล้วลงใน ชามรูปไต 10. หยบิ สำลีแห้งใส่อุ้งมือ ตรวจดูชือ่ ยาอกี คร้งั หน่งึ ดูขนาดยา และตาขา้ งทจ่ี ะหยอด 11. ดูดยาจากขวดเขา้ หลอดหยดตา ถา้ ขวดยาไม่มีทหี่ ยด 12. บอกใหผ้ ปู้ ่วยลมื ตา เหลือบตามองข้นึ ข้างบน 13. วางสำลีแห้งใตห้ นงั ตาลา่ งใช้น้ิวชีก้ ดทบั สำลี ดงึ หนงั ตาล่าง ลง 14. - กรณยี าหยอด ให้หยอดยาลงบนเยอื่ บุเปลือกตาล่างดา้ น หางตา 1 หยด ให้ปลายหลอดหยดห่างจากตา 1-2 ซม. หรือ ¾ น้ิว ให้ผู้ป่วยกลอกตาไปมาและหลับตา ใชส้ ำลี เชด็ นำ้ ยาท่ีไหลออกทางดา้ นหางตา ท้งิ สำลลี งในชามรูปไต หยิบสำลีก่อนใหม่กดทีห่ วั ตา 30 วนิ าที เพ่อื ป้องกันนำ้ ยา ไหลลงท่อนำ้ ตา - กรณียาปา้ ย ใหป้ า้ ยยาบนเยื่อบุเปลือกตาลา่ ง จากหัวตา ไปหางตา ให้ปลายหลอดยาห่างจากตาประมาณ 1 – 2 เซนติเมตร หรอื ¾ นว้ิ จากน้ันใหผ้ ้ปู ่วยหลบั ตา ดงึ หนังตา บนลงมาคลมุ หนังตาล่าง ใช้สำลคี ลงึ ตาเบา ๆ เพื่อใหย้ า กระจายตัว 479
ลำดบั รายการประเมิน ผลการปฏิบตั ิ หมาย ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ เหตุ (1) (0) กรณีที่มีการให้ยาทางตาต้ังแต่ 2 ชนิดข้นึ ไป ให้ใชย้ าแต่ละ ตอบ ชนดิ หา่ งหนั อย่างน้อย 5 -10 นาที เพื่อใหย้ าสามารถออก คำถาม ฤทธิ์ได้เต็มที่ การเรียงลำดับการใช้ยา ดังน้ี 1) ยาหยอด ชนดิ ใส 2) ยาท่ีแขวนตะกอน เปน็ นำขุ่น 3) ยาปา้ ยชนดิ ใส 4 ) ยาปา้ ยครีมเหนยี ว 15. ปดิ ฝาขวดยา และตรวจดชู ่อื ยาอีกคร้ังหนึง่ 16. ถา้ ต้องปิดตา ใช้ผ้าปิดตาปลอดเชือ้ (eye pad) ปดิ ให้ เรยี บร้อย และยดึ ติดด้วยปลาสเตอร์ 17. บันทกึ การให้ยาลงใบบนั ทกึ การให้ยา (MAR) และใบ บันทึกการพยาบาล เร่ืองขนาดของยา เวลาใหย้ า อาการ ผดิ ปกติ (ถา้ มี) 18. เกบ็ ยาเข้าที่ ทำความสะอาดเคร่ืองใชแ้ ละล้างมือ ขั้นประเมินผล 19. ประเมนิ ผลผู้ป่วยภายหลังการให้ยาแลว้ 30 นาทเี พ่ือ ป้องกันอาการขา้ งเคยี งจากยา รวมคะแนน (18 คะแนน) 480
แบบประเมนิ ทักษะการบริหารยาหยอดหู (Instilling ear medication) ช่ือ......................................สกุล.........................................รหัสนกั ศกึ ษา..................................... คำชีแ้ จง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่องท่ตี รงกบั ผลการปฏิบัติ ลำดบั รายการประเมิน ผลการปฏิบตั ิ หมาย ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิ เหตุ (1) (0) ขน้ั เตรียม 1. เตรยี มอปุ กรณ์ดงั น้ี -ใบแผนการรักษาของแพทย์และใบบนั ทึกการใหย้ า MAR -ยาหยอดหพู ร้อมหลอดหยอด -สำลแี ละสำลีพนั ปลายไม้ -ถาดใส่อุปกรณ์ ขนั้ ปฏิบตั ิ 2. ตรวจสอบใบ MAR ใหต้ รงกับแผนการรกั ษาของ แพทย์ ตรวจสอบยายังไมห่ มดอายุ 3. บอกให้ผปู้ ่วยทราบ 4. จดั ท่าผู้ป่วยตะแคงด้านตรงกันขา้ มกับหูข้างทจี่ ะ หยอด 5. ล้างมือใหส้ ะอาด 6. ตรวจดใู นชอ่ งหูวา่ มหี นอง เลือด หรือไม่ ถา้ มใี ชส้ ำลี พนั ปลายไม้เช็ดใหส้ ะอาด 7. ดงึ ใบหูใหน้ วิ้ หัวแมม่ ืออยู่ด้านหนา้ น้วิ ชีแ้ ละน้วิ กลาง ให้ อยู่ด้านหลงั วิธกี ารดึงดังน้ี ตอบ - ผูใ้ หญ่ดึงไปข้างหลงั และขนึ้ ขา้ งบน คำถาม - เดก็ ดึงไปขา้ งหลงั และลงข้างล่าง 8. หยอดยาลงในหู ใหห้ ลอดหยดห่างจากชอ่ งหู 1 ซม. 9. กดบริเวณตง่ิ หนา้ หู (tragus) เพือ่ เพมิ่ แรงกดดนั ใหย้ า ไหลไปลึกๆ ใชส้ ำลปี ดิ ชอ่ งหดู ้านนอกไว้ ระวงั อย่าให้ สำลดี ดู ซับนำ้ ยา 481
ลำดบั รายการประเมิน ผลการปฏิบตั ิ หมาย ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏบิ ัติ เหตุ 10. ให้ผ้ปู ว่ ยนอนทา่ เดมิ ตอ่ อกี 5-10 นาที (1) (0) 11. บนั ทึกการให้ยาลงใบบนั ทึกการใหย้ า (MAR) และใบ บนั ทึกการพยาบาล เรื่องขนาดของยา เวลาใหย้ า อาการผิดปกติ (ถ้าม)ี 12. เกบ็ ยาเขา้ ท่ี ทำความสะอาดเครื่องใช้และลา้ งมือ ข้นั ประเมนิ ผล 13. ประเมนิ ผลผูป้ ว่ ยภายหลังการให้ยาแล้ว 30 นาทเี พ่ือ ปอ้ งกนั อาการขา้ งเคยี งจากยา รวมคะแนน (13 คะแนน) 6.6 เอกสารอ้างองิ ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ และอรุณรัตน์ เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอ็นพเี พรส. สัมพันธ์ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้ืนฐาน II. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั บพิธการพมิ พ์ จำกัด. สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกัด สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์ สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ์ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พน้ื ฐาน I.กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท บพิธการพมิ พ์ จำกดั . อัจฉรา พุ่มดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2556). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ธนาเพรส จำกดั . อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2558). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ทั จรัลสนิทวงศก์ ารพมิ พ์ จำกดั . 482
Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 483
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7 วิธปี ฎิบตั กิ ารพยาบาลพน้ื ฐาน ในการฉดี ยาเข้าช้ันผิวหนัง ชัน้ ใต้ผวิ หนงั และช้นั กล้ามเนือ้ หวั ขอ้ เนือ้ หาประจำบท 1. วธิ ีการยาฉดี เข้าชัน้ ผิวหนงั (intradermal injection) 2. วิธีการฉดี ยาเขา้ ใต้ผิวหนัง (subcutaneous injection) 3. วิธีการฉดี ยาเข้าช้นั กล้ามเน้ือ (intramuscular injection) จำนวนชั่วโมงท่ีสอน: ภาคทดลอง 2 ชั่วโมง วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. ปฏิบัติการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง ชั้นใต้ผิวหนังและชั้นกล้ามเนื้อตามโจทย์สถานการณ์ได้ อย่างถูกตอ้ ง วิธีสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. วิธีสอน 1.1 สอนสาธิตและสาธติ ยอ้ นกลับ 2. กิจกรรมการเรียนการสอน 2.1 สอนสาธิตการฉดี ยาเข้าชั้นผวิ หนงั ชัน้ ใตผ้ วิ หนงั และชนั้ กล้ามเนอ้ื ตามโจทย์สถานการณ์ 2.2 ผู้เรยี นฝกึ ปฏิบัตแิ ละสาธติ ยอ้ นกลบั 2.3 สะท้อนคดิ การฝึกปฏิบตั แิ ละสรปุ ผลการเรยี นรู้ 2.4 ผูเ้ รียนยืมวัสดุ อุปกรณ์ไปฝกึ ปฏบิ ตั ติ ่อนอกเวลาเพอ่ื ใหเ้ กิดทกั ษะ สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ยาจำลอง วสั ดุ อุปกรณท์ างการแพทยใ์ นห้องปฏบิ ตั ิการ 3. โจทย์สถานการณ์ และใบบนั ทึกการบรหิ ารยา (medication administration record) 4. VDO สอื่ การสอนใน YouTube channel: nursing practice การวัดผลและประเมินผล 3. ประเมินผลการสาธติ ย้อนกลับ ตามแบบประเมินทกั ษะ 4. การสอบทักษะปฏบิ ตั ิแบบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 484
บทท่ี 7 วิธปี ฎบิ ตั กิ ารพยาบาลพื้นฐาน ในการฉดี ยาเข้าช้ันผวิ หนัง ช้นั ใต้ผิวหนงั และชนั้ กล้ามเนอ้ื การฉีดยาเป็นการให้ยาเข้าสู่ร่างกายโดยใช้กระบอกฉีดยา (syringe) และเข็มฉีดยา (needle) โดยการฉดี ยาเขา้ ชน้ั ผิวหนงั ช้นั ใตผ้ วิ หนังและช้นั กล้ามเนื้อมวี ธิ ีการดังนี้ 7.1 วธิ กี ารยาฉดี เข้าช้ันผวิ หนงั (intradermal injection) 7.1.1 อปุ กรณ์เครอ่ื งใช้ 1) ใบคำสั่งการรักษาของแพทย์และใบบันทึกการให้ยา (Medication Administration Record: MAR) 2) ยาตามแผนการรกั ษา 3) เข็มปลอดเชื้อเบอร์ 25-27 ความยาว 1 – 1½ นิ้ว สำหรับฉีดและเบอร์ 18-20 สำหรบั ผสมและ/หรอื ดูดยา 4) กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ มักใช้ขนาด 1 มิลลิลิตร หรือ กระบอกฉีดยาสำหรับฉีด tuberculin 5) นำ้ ยาฆา่ เชอ้ื เชน่ แอลกอฮอล์ 70% 6) สำลีปลอดเช้ือบรรจุในภาชนะปลอดเชือ้ 7) ปากคบี ปลอดเช้ือพร้อมกระปุก 8) ชามรปู ไต 1 ใบ 9) ถาดใสเ่ ครื่องใชห้ รือรถเข็น 10) ภาชนะใส่เขม็ ท่ีใชแ้ ล้ว (safety box) 7.1.2 วิธปี ฏบิ ัติ 1) ตรวจสอบใบ MAR กับคำสั่งการรกั ษาของแพทย์ 2) หยบิ ยาให้ตรงกับบนั ทกึ การให้ยาและตรวจสอบยายงั ไม่หมดอายุ 3) แจง้ ใหผ้ ปู้ ว่ ยทราบ 4) ล้างมอื ใหส้ ะอาด 485
5) เตรยี มยาฉีดตามหลักการปลอดเชอ้ื 6) เลือกตำแหน่งที่ฉีดยา หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีรอยถลอก อักเสบ ช้ำ บวมหรือรอย แผลเปน็ 7) เช็ดบริเวณที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% เช็ดเป็นวงกลมจากตรงกลาง ออกมาด้านนอกไปกวา้ งประมาร 5 เซนตเิ มตร หรือ 2 น้วิ (Potter& Perry, 2017) 8) ถอดปลอกเข็มออก 9) ขณะที่รอให้แอลกอฮอล์แห้ง ไล่อากาศในกระบอกฉีดยาโดยจับกระบอกฉีดยาให้ต้ัง ตรง ค่อยๆ ดนั ลกู สูบจนกระท่งั เหน็ ยาเขา้ ไปอยใู่ นหวั เขม็ ตรวจสอบจำนวนยาให้ถกู ต้อง 10) ใชม้ ือข้างท่ไี มถ่ นัดดึงผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาใหต้ ึง 11) หงายปลายตัดของเข็มขึ้นทำมุม 5-15 องศา กับผิวหนังแทงเขม็ เข้าไปในผิวหนงั ถงึ ชั้นหนังแท้ (dermis) ลึกประมาณ 3 มิลลิเมตร หรือ 1/8 นิ้ว ซึ่งจะสังเกตเห็นปลายเข็มที่อยู่ใต้ชั้น ผวิ หนงั ได้ 12) ดันยาเข้าไปในผิวหนังผูป้ ว่ ย ถ้ายาซึมออกมา แทงเข็มลึกเข้าไปอีกเลก็ น้อย เมื่อดัน ยาเข้าไปจะเห็นตุ่มนูน (bleb) ขึ้น ขนาดประมาณ 6 มม. (1/4 นิ้ว ) ถ้าไม่มีตุ่มนูนขึ้น ถอนเข็มออก เล็กนอ้ ยแลว้ จึงดันยาใหม่จะมแี รงตา้ น 13) ถอนเขม็ ฉีดยาออก ห้ามกดหรือนวดบรเิ วณที่ฉดี เพราะจะทำใหย้ ากระจายเข้าไปใน เนอ้ื เยือ่ 14) อยู่กับผู้ป่วยประมาณ 3-5 นาที สังเกตอาการของผู้ป่วยที่อาจมีปฏิกิริยาต่อยา อาการแพ้ เชน่ ไอ หอบ เหน่อื ย ชพี จรเบาเร็ว หรอื หมดสติ 15) เกบ็ เคร่ืองใชแ้ ละทำความสะอาดใหถ้ กู วิธี 16) บันทึกลงในใบบันทึกการให้ยาและใบบันทึกการพยาบาลเกี่ยวกับ ยา ขนาด เวลา วิถีทางและบริเวณที่ให้ประเมินสภาพผู้ป่วยบริเวณที่ฉีดยาภายใน 48-72 ชั่วโมง โดยวัดและบันทึก เสน้ ผ่าศูนย์กลางเป็นมลิ ลเิ มตรบรเิ วณทีม่ รี อยแดงและแขง็ 486
7.2 วิธกี ารฉดี ยาเข้าใตผ้ วิ หนงั (subcutaneous injection) 7.2.1 อุปกรณเ์ คร่อื งใช้ 1) แผนการรกั ษาและใบบนั ทกึ การให้ยา 2) ยาปลอดเชอื้ ที่ไม่หมดอายุ 3) ตัวทำละลาย เชน่ นำ้ กลน่ั สำหรบั ผสมยา (ถา้ เปน็ ยาผง) 4) เขม็ ปลอดเช้ือ ขนาดเบอร์ 24-26 ความยาว 3/8-5/8 นวิ้ สำหรับฉดี และขนาดเบอร์ 18-20 สำหรบั ผสมและ/หรือดดู ยา 5) กระบอกฉดี ยาปลอดเชอื้ ขนาดบรรจุ 1-3 มิลลลิ ติ ร 6) น้ำยาฆ่าเชือ้ เชน่ แอลกอฮอล์ 70% 7) สำลีปลอดเชื้อบรรจุในภาชนะปลอดเชื้อ 8) ปากคบี ปลอดเชอื้ พร้อมกระปกุ 9) ใบเลอื่ ยสำหรับเปิดขวดยาหรอื ตัดหลอดยา 10) ชามรปู ไต 1 ใบ สำหรับใสข่ องท่ใี ช้แล้ว 11) ถาดใสเ่ คร่อื งใช้หรือรถเตรียมยา 12) ภาชนะปลดและเก็บหวั เขม็ 7.2.2 ตำแหนง่ ทฉี่ ีดยา 1) ต้นแขนใกล้ไหล่ (deltoid muscle) 2) ดา้ นหลงั ต้นแขน (triceps brachii muscle) 3) หน้าขาดา้ นขา้ ง (vastus lateralis muscle) 4) หนา้ ทอ้ ง (rectus abdominis muscle) 5) เอวดา้ นหลัง (flank region) 7.2.3 วิธีปฏิบัติ 1) ตรวจสอบใบ MAR ใหต้ รงกบั แผนการรักษาของแพทย์เพื่อป้องกนั ความผิดพลาด 2) ตรวจสอบยาให้ตรงกับใบบันทกึ การใหย้ า 3) ตรวจสอบยายงั ไม่หมดอายเุ พ่ือความปลอดภยั ของผ้ปู ่วย 4) ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดเพ่ือป้องกันการนำเชื้อโรคสผู่ ้ปู ว่ ย 5) เตรยี มยาฉีดตามจำนวนทต่ี ้องการ 487
(1) วิธกี ารเตรยี มยาฉดี ที่อยูใ่ นหลอดแก้ว (ampule) - ตั้งหลอดยาขึ้น ถ้ามียาค้างอยู่ที่ปลายหลอด ใช้นิ้วเคาะให้ยาไหลลงมาที่ก้น หลอดให้หมด - เช็ดคอหลอดยาและใบเลื่อยด้วยแอลกอฮอล์ 70% เลื่อยรอบๆ คอหลอดยาให้ เป็นรอย - ยาบางชนิดมีรอยเส้นสีเข้มคาดอยู่รอบๆ คอหลด ให้หักคอหลอดยาได้เลยโดย ไม่ต้องเลื่อย แต่ก่อนหักให้เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยแอลกอฮอล์ 70 % วิธีหักให้ใช้สำลีแห้งหรือก๊อซ ปลอดเชอื้ วางระหว่างนิ้วช้ีกบั คอหลอดยา หกั คอหลอดยาออกนอกตวั ลงไปทีส่ ำลีหรือก๊อซทรี่ องรบั - เตรียมกระบอกฉีดยา ต่อหัวเข็มเบอร์ 18 หรือ 20 ที่กระบอกฉีดยาจับหัวเข็ม หมุนและดันเข้า ให้ดา้ นปลายตัดเขม็ หงายข้นึ อย่ดู ้านเดียวกบั สเกลของกระบอกฉีดยา - ใช้มือข้างถนัดถือกระบอกฉีดยา ใช้นิ้วชี้ประคองที่หัวเข็ม นิ้วก้อยประกอบ ลูกสูบให้อยู่ตรงกับที่ นิ้วที่เหลือจับกระบอกฉีดยา ส่วนมืออีกข้างหนึ่งคีบหลอดยาด้วยนิ้วชี้และ นว้ิ กลาง - สอดปลายเขม็ เข้าไปในหลอดยา ดูดยาออกมาตามจำนวนที่ต้องการ - อ่านชือ่ ยาที่ขา้ งหลอดยา ตรวจสอบกบั การด์ อีกคร้งั หน่ึงกอ่ นท้งิ หลอดยา - เปลี่ยนเข็มอันใหม่ตามขนาดที่จะใช้ฉีดให้ผู้ป่วย โดยไม่ต้องดึงปลอกเข็มออก หมุนเขม็ ให้ยึดแน่นกับกระบอกฉีดยา ให้ปลายตดั อย่ดู า้ นเดียวกับสเกลและหันเขา้ หาตัวผ้ฉู ดี (2) วธิ ีการเตรยี มยาฉีดทีอ่ ย่ใู นขวด (vial) - ตรวจสอบใบบันทกึ การให้ยากบั แผนการักษาของแพทย์ - หยิบยาใหต้ รงกับใบบนั ทกึ การใหย้ าและตรวจสอบยายงั ไมห่ มดอายุ - ลา้ งมือใหส้ ะอาด - เช็ดจกุ ยางของขวดยาผง ขวดนำ้ กลัน่ หรือตัวทำละลายดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% - เตรยี มกระบอกฉดี ยา ตอ่ หวั เขม็ เบอร์ 18 หรือ 20 - ดูดอากาศเข้าในกระบอกฉีดยาเท่ากับจำนวนน้ำกลั่น (sterile water) หรือตัว ทำละลายตามตอ้ งการ - แทงเข็มตรงจุกยางของขวดน้ำกลั่นหรือตัวทำละลาย ดันอากาศเข้าไปดูดน้ำ กลัน่ ออกมาเทา่ จำนวนทจี่ ะผสม 488
- แทงเข็มตรงจุกยางของขวดยา ดันลูกสูบให้น้ำกลั่นหรือตัวทำละลายเข้าไปใน ขวดยา - ถือขวดยาในอุ้งมือ หมุนขวดยาให้ยาละลายเข้ากันจนหมด อย่าเขย่าเพราะจะ ทำใหเ้ กดิ ฟอง - ดูดอากาศเขา้ ในกระบอกฉดี ยาเทา่ จำนวนยาท่ตี ้องการ - แทงเข็มตรงจุกยางของขวดยา ดันอากาศเข้าไป ดูดยาออกมาแทนให้ครบตาม ขนาดทตี่ อ้ งการ - อ่านช่ือยาท่ีข้างขวด ตรวจสอบกบั การ์ดยาอกี ครง้ั หน่งึ กอ่ นเกบ็ ขวดยา - หลงั จากนี้ ทำเช่นเดยี วกับการฉีดยา ampule 6) ถามชื่อและนามสกุล โดยให้ผู้ป่วยเป็นผู้บอกชื่อและนามสกุลของตัวเองในรายที่ไม่ สามารถส่ือสารไดใ้ ห้ดทู ป่ี ้ายขอ้ มือ 7) เลือกตำแหน่งที่ฉีดยาที่ไม่มีการอักเสบ บวม แดง คัน มีแผลเป็นไตแข็งหรือลักษณะ เนื้อเยือ่ ถูกทำลาย เน่อื งจากฉดี ยาซำ้ ที่บอ่ ยๆ 8) เช็ดบริเวณที่ฉีดยาด้วยแอลกอฮอล์ 70% เช็ดจุดที่จะแทงเข็มหมุนออกเป็นวงกลม กวา้ ง 2 นว้ิ รอใหแ้ ห้ง 9) ถอื กระบอกฉดี ยาใหต้ งั้ ฉากกบั พนื้ ในระดบั สายตา ถอดปลอกเขม็ ออก 10) ไล่อากาศในกระบอกฉีดยา โดยถือกระบอกฉีดยาให้ตั้งตรงและค่อยๆ ดันลูกสูบ จนกระทงั่ เหน็ หยดยาทปี่ ลายเข็ม ตรวจสอบจำนวนยาใหถ้ กู ตอ้ ง จับกระบอกฉดี ยาให้ถนัด 11) จบั ผวิ หนงั ให้ตงึ โดยยกขน้ึ หรือดึงลง จับกระบอกฉดี ยาให้ปลายตัดของเขม็ หงายขึ้น แทงเขม็ ฉดี ยาทำมุม 45 องศากบั ผิวหนงั ให้เข็มลึก 5/8 นว้ิ ในผใู้ หญ่ สำหรับในเดก็ ให้เข็มลึก 3/8 นิ้ว ในคนอว้ นอาจแทงเขม็ ลกึ ถงึ 1 น้วิ ถ้าใช้เขม็ ขนาด 1/2 น้ิว แทงเข็มทำมุม 90 องศา 12) ดงึ ลกู สบู ออก เพ่อื ทดสอบวา่ ปลายเข็มแทงถกู หลอดเลือดหรือไม่ 13) ถา้ ไมพ่ บเลอื ดในกระบอกฉีดยา ให้ดนั ยาเขา้ ไปข้าๆ จนหมด 14) ใช้สำลีแห้งวางเหนือจุดแทงเข็ม ดึงเข็มออกโดยเร็วตามทิศทางเดียวกับที่แทงเข็ม เลอื่ นสำลีกดรอยเขม็ 15) ถ้ามเี ลือดออกให้ใช้สำลีแหง้ หรือผ้ากอซกดไว้สกั ระยะจนกว่าเลือดจะหยุดแล้วปิดพ ลาสเตอร์ 489
16) เก็บเครอื่ งใชแ้ ละทำความสะอาดให้ถกู วิธี 17) บันทึกลงในใบแผ่นบันทึกการให้ยาและใบบันทึกการพยาบาลเกี่ยวกับ ยา เวลา ขนาด วถิ ีทางและตำแหนง่ ทฉ่ี ีดยา รวมท้งั อาการท่ผี ดิ ปกตภิ ายหลังฉีดยาแล้ว 7.3 วธิ กี ารฉดี ยาเขา้ ช้นั กล้ามเนอ้ื (intramuscular injection) 7.3.1 อุปกรณเ์ คร่ืองใช้ 1) เช่นเดยี วกับการฉีดยาเข้าใตผ้ วิ หนงั ยกเวน้ ขนาดของกระบอกฉดี ยาและเขม็ ฉีดยา 2) กระบอกฉดี ยาใช้ขนาด 2-5 มล. ขน้ึ อยูก่ ับขนาดของยา 3) Needle No2 3-25 ความยาว 1 – 1½ นิ้ว สำหรับฉีด และ Needle No18 - 20 สำหรับผสมและ/หรอื ดดู ยา 7.3.2 ตำแหนง่ ท่ีฉดี 1) ตะโพกดา้ นขา้ ง (ventrogluteal site) 2) ตะโพกดา้ นหลัง (dorsogluteal site) 3) ต้นขาดา้ นขา้ ง (vastus lateralis site) 4) ตน้ ขาด้านหน้า (rectus femoris site) 5) ต้นแขนใกล้ไหล่ (deltoid site) 7.3.3 วิธปี ฏิบัติ 1) เตรียมยาเช่นเดียวกบั การฉีดยาเขา้ ช้นั ใต้ผวิ หนัง 2) การแทงเข็ม การแทงเข็มให้ปลายตัดอยู่ด้านบนได้องศา (45 -90 องศา) และความ ลกึ ทีเ่ หมาะสม ดงั นี้ - Vastus lateralis muscle 5/8 นวิ้ - 1 นิว้ - Deltoid muscle (เด็ก) 5/8 นวิ้ – 1 ¼ นว้ิ - Deltoid muscle (ผู้ใหญ)่ 5/8 นิ้ว – 1 ½ น้วิ - Ventrogluteal (ผูใ้ หญ่) 1 ½ น้ิว 3) การฉีดยา ก่อนฉีดยาต้องตรึงเข็มคงที่ ทดสอบว่าปลายเข็มไม่อยู่ในหลอดเลือดโดย การดดู ลูกสูบข้ึนมา หากมเี ลอื ดแปลว่าปลายเข็มอยใู่ นหลอดเลือดให้ดึงเข็มข้ึนมาเล็กน้อยประมาณ 1 490
มิลลิเมตร แล้วจึงดันยาช้าๆ ในอัตรา 1 มิลลิลิตร / 10 วินาที เมื่อยาหมดดึงเข็มออกตามแนวที่แทง เข้าอยา่ งถกู วธิ ี ใชส้ ำลแี ห้งกดไว้ 7.4 บทสรุป การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนังที่พบบ่อยคือการฉีดอินซูลิน สำหรับการฉีดยาเข้าทางกล้ามเน้ือ อาจพบนอ้ ยในปัจจุบนั อยา่ งไรกต็ ามพยาบาลต้องปฏิบตั อิ ยา่ งถูกต้องตามหลักการ 10 R 7.5 แบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั ิการพยาบาลพนื้ ฐาน แบบประเมินการฉีดยาเข้าชั้นใตผ้ ิวหนัง (Hypodermal, subcutaneous injection) ชือ่ ..................................สกลุ ............................................................รหัสนกั ศกึ ษา............................................ คำชแ้ี จง โปรดทำเคร่ืองหมาย ลงในช่องที่ตรงกบั ผลการปฏิบตั ิ ลำดับ ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย วิธีการ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏิบตั ิ เหตุ (1) (0) ขน้ั เตรยี ม 1 ตรวจสอบใบ MAR กับแผนการรกั ษา 2 ตรวจสอบประวตั ิการแพ้ยา 3 ทกั ทายผูป้ ว่ ยและแนะนำตนเอง 4 อธิบายวัตถุประสงคก์ ารฉดี ยาใหผ้ ้ปู ว่ ยทราบ 5 ประเมินผวิ หนังตรงตำแหน่งท่ีจะฉดี ยา ขนั้ ปฏิบตั ิ (ก่อนฉดี ยา ใช้หลักปลอดเช้ือ) 6 หยิบยาและตรวจสอบใหต้ รงกบั ใบ MAR* ตรวจสอบชือ่ ยา ขนาดยาและวันหมดอายุ 7 เตรยี มอุปกรณ์ดังนี้ -ยา -ใบ Medication Administration Record -Needle No 25-27 ความยาว 1 – 1½ นิว้ สำหรบั ฉีด และ Needle No 18-20 สำหรบั ผสมและ/หรอื ดูดยา 491
ลำดับ ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย วธิ กี าร ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบตั ิ เหตุ (1) (0) -Syringe ขนาดบรรจุ 1 มิลลิลิตร หรอื 3 มิลลลิ ิตร หรอื 5 มิลลลิ ิตร เหมาะสมกับปริมาณยาท่ีจะฉีด -ตัวทำละลายสำหรบั ผสมยา (กรณยี าผง) เชน่ sterile water 0.9% NSS (เลือกตวั ทำละลายตามคำแนะนำในฉลากยาหรือตำรายา) -70% alcohol -สำลีปลอดเชอ้ื บรรจใุ นภาชนะปลอดเชื้อ -Transfer forceps ปลอดเชื้อพร้อมกระปุก -ใบเลอ่ื ยสำหรบั เปิดขวดยาหรือตดั หลอดยา -ชามรูปไต 1 ใบ สำหรบั ใสข่ องท่ใี ช้แลว้ -ถาดใสเ่ คร่ืองใช้หรือรถเตรยี มยา - safety box หรือภาชนะปลดและเก็บหัวเข็ม 8 ลา้ งมือ 7 ข้นั ตอน 9 เตรียมยาถูกตอ้ ง ไม่ปนเปื้อน 10 คำนวณยาถูกตอ้ ง ตามแผนการรกั ษา 11 ดูดยาครบจำนวน 12 ตรวจสอบชอื่ ยา ครบ 3 ครัง้ (ก่อน ขณะ หลัง) 13 เปลยี่ นเข็มฉีดยา (No25 - 27 )ใหป้ ลายตัดอย่ดู ้านบนตรง กบั Scale ขน้ั ปฏบิ ตั ิ (ขณะฉีดยา ใช้หลักปลอดเชื้อ) 14 สอบถามชื่อ สกุล ผู้ปว่ ย ตรวจสอบกับปา้ ยข้อมือและใบ MAR 15 จดั ทา่ ใหถ้ ูกต้อง 16 เลือกตำแหน่งฉีดยาอย่างถกู ต้องตามหลักการทางกาย วภิ าคศาสตร์ 17 ล้างมอื ด้วย alcohol gel 7 ขนั้ ตอน 492
ลำดับ ผลการปฏบิ ัติ หมาย วิธีการ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบัติ เหตุ (1) (0) 18 ทำความสะอาดตำแหน่งฉดี ยา โดยเชด็ วนออกเป็นวงกวา้ ง ประมาณ 2-3 น้ิว ปล่อยให้น้ำยาทำความสะอาดแห้ง 19 หยิบกระบอกฉีดยามาตรวจสอบอีกครงั้ ดึงแกนในกระบอก ฉดี ยาใหม้ ีอากาศประมาณ 0.2 มิลลลิ ิตร (air lock technique) 20 จบั ผวิ หนังให้ตงึ /ยกขน้ึ ขณะแทงเขม็ 21 แทงเข็มให้ปลายตัดอยดู่ า้ นบนได้องศา (45 องศา) และ ความลึกท่เี หมาะสม (3/8 - 5/8 นวิ้ ) 22 ตรึงเข็มคงที่ 23 ดันยาช้าๆ (อตั รา 1 มลิ ลิลิตร / 10 วินาที) 24 ดึงเขม็ ออกตามแนวที่แทงเข้าอย่างถูกวธิ ี ใช้สำลแี ห้งกดไว้ ขั้นปฏบิ ัติ (หลังฉีดยา) 25 ปลดหวั เขม็ ท่ใี ช้แล้วทงิ้ ใน Safety box หรือหากไมม่ ี Safety box สวมปลอดเข็มดว้ ยวิธี one hand technique แล้วนำ ไปทิง้ 26 เกบ็ อุปกรณ์และลา้ งมือ ข้นั ประเมนิ ผล 27 ประเมนิ อาการไม่พงึ ประสงค์ของยา 28 สังเกตผวิ หนังตำแหน่งท่ีฉดี ยา ขัน้ บนั ทกึ ผล 29 เซน็ ช่ือในใบ MAR ถูกตอ้ ง (ชือ่ ชัดเจน ตำแหน่ง ลงเวลาที่ฉดี จริง) 30 บนั ทึกการใชย้ าและอาการผดิ ปกติในแบบบนั ทกึ ทางการ บอกข้อ พยาบาล ความ ทีจ่ ะ บันทกึ รวม (30 คะแนน) 493
แบบประเมินทักษะการฉดี ยาเขา้ กล้ามเน้อื (Intramuscular injection) ช่อื ...........................................สกลุ ...........................................รหัสนักศกึ ษา............................................ คำชี้แจง โปรดทำเคร่ืองหมาย ลงในช่องทตี่ รงกบั ผลการปฏิบตั ิ ลำดับ ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย วธิ ีการ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ เหตุ (1) (0) ขนั้ เตรียม 1 ตรวจสอบใบ MAR กับแผนการรักษา 2 ตรวจสอบประวตั กิ ารแพ้ยา 3 ทกั ทายผ้ปู ่วยและแนะนำตนเอง 4 อธบิ ายวัตถุประสงค์การฉดี ยาใหผ้ ้ปู ว่ ยทราบ 5 ประเมนิ ผิวหนงั ตรงตำแหน่งท่ีจะฉีดยา ขน้ั ปฏบิ ตั ิ (ก่อนฉีดยา ใช้หลักปลอดเชื้อ) 6 หยบิ ยาและตรวจสอบให้ตรงกบั ใบ MAR* ตรวจสอบชือ่ ยา ขนาดยาและวนั หมดอายุ 7 เตรียมอปุ กรณ์ดังนี้ -ยา -ใบ Medication Administration Record -Needle No 23-25 ความยาว 1 – 1½ นิว้ สำหรับฉีด และ Needle No 18-20 สำหรับผสมและ/หรอื ดดู ยา -Syringe ขนาดบรรจุ 1 มิลลิลติ ร หรือ 3 มลิ ลลิ ติ ร หรอื 5 มลิ ลิลิตร เหมาะสมกับปรมิ าณยาทจี่ ะฉดี -ตัวทำละลายสำหรบั ผสมยา (กรณยี าผง) เช่น sterile water, 0.9% NSS (เลอื กตวั ทำละลายตามคำแนะนำในฉลากยาหรอื ตำรายา) -70% alcohol -สำลปี ลอดเชอื้ บรรจุในภาชนะปลอดเชื้อ 494
ลำดบั ผลการปฏบิ ตั ิ หมาย วธิ กี าร ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏิบัติ เหตุ (1) (0) -Transfer forceps ปลอดเช้ือพร้อมกระปุก -ใบเลื่อยสำหรับเปิดขวดยาหรือตดั หลอดยา -ชามรปู ไต 1 ใบ สำหรบั ใส่ของทใ่ี ช้แล้ว -ถาดใสเ่ ครื่องใช้หรอื รถเตรียมยา -safety box หรือภาชนะปลดและเกบ็ หวั เข็ม 8 ลา้ งมือ 9 เตรยี มยาถูกตอ้ ง ไมป่ นเป้ือน 10 คำนวณยาถูกตอ้ ง ตามแผนการรกั ษา 11 ดดู ยาครบจำนวน 12 ตรวจสอบชอ่ื ยา ครบ 3 คร้ัง (กอ่ น ขณะ หลัง) 13 เปลี่ยนเข็มฉีดยา (No 23 - 25 ) ให้ปลายตดั อยู่ด้านบนตรงกับ Scale ขัน้ ปฏิบัติ (ขณะฉีดยา ใช้หลักปลอดเช้ือ) 14 สอบถามชื่อ สกลุ ผู้ป่วย ตรวจสอบกับป้ายข้อมือและ ใบ MAR 15 จัดทา่ ถูกต้อง 16 เลือกตำแหน่งฉีดยาอย่างถกู ต้องตามหลักการทางกาย วิภาคศาสตร์ 17 ล้างมอื ดว้ ย alcohol gel 7 ขั้นตอน 18 ทำความสะอาดตำแหน่งฉีดยา โดยเช็ดวนออกเป็นวงกว้าง ประมาณ 2-3 นิ้ว ปลอ่ ยให้น้ำยาทำความสะอาดแห้ง 19 หยบิ กระบอกฉีดยามาตรวจสอบอีกคร้ัง ดงึ แกนในกระบอกฉีดยา ใหม้ อี ากาศประมาณ 0.2 มลิ ลิลติ ร (air lock technique) 20 จบั ผิวหนังให้ตึง/ยกขึ้นขณะแทงเขม็ 21 แทงเข็มให้ปลายตัดอยู่ดา้ นบนได้องศา (45 -90 องศา) และความลกึ ที่เหมาะสม ดังน้ี - Vastus lateralis muscle 5/8 นวิ้ - 1 น้ิว 495
ลำดบั ผลการปฏิบตั ิ หมาย วธิ ีการ ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบตั ิ เหตุ (1) (0) - Deltoid muscle (เดก็ ) 5/8 นิ้ว – 1 ¼ น้ิว - Deltoid muscle (ผู้ใหญ่) 5/8 น้วิ – 1 ½ นิว้ - Ventrogluteal (ผูใ้ หญ)่ 1 ½ นว้ิ 22 ตรึงเขม็ คงท่ี 23 ทดสอบว่าปลายเข็มไม่อยใู่ นหลอดเลอื ด 24 ดนั ยาชา้ ๆ (อตั รา 1 มิลลลิ ิตร / 10 วินาท)ี 25 ดึงเขม็ ออกตามแนวท่ีแทงเข้าอยา่ งถูกวิธี ใช้สำลีแหง้ กดไว้ ขน้ั ปฏบิ ัติ (หลังฉดี ยา) 26 ปลดหัวเข็มท่ใี ชแ้ ล้วทิง้ ใน Safety box หรอื หากไม่มี Safety box สวมปลอดเขม็ ดว้ ยวธิ ี one hand technique แล้วนำไปทิ้ง 27 เก็บอปุ กรณแ์ ละลา้ งมือ ขน้ั ประเมนิ ผล 28 1. ประเมินอาการไมพ่ ึงประสงคข์ องยา 29 2. สงั เกตผิวหนังตำแหน่งท่ีฉดี ยา ขนั้ บันทกึ ผล 30 เซน็ ชอื่ ในใบ MAR ถูกต้อง (ชือ่ ชัดเจน ตำแหน่ง ลงเวลาท่ฉี ดี จรงิ ) 31 บนั ทึกการใช้ยาและอาการผิดปกตใิ นแบบบนั ทกึ ทางการ บอกขอ้ พยาบาล ความ ทจ่ี ะ บันทกึ รวม (31 คะแนน) 496
7.6 เอกสารอ้างอิง ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ และอรุณรัตน์ เทพนา. (2559). ทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: หจก. เอน็ พีเพรส. สัมพันธ์ สันทนาคณิต, สุมาลี โพธิ์ทอง และสุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พน้ื ฐาน II. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั บพิธการพิมพ์ จำกัด. สุปราณี เสนาดิสัยและวรรณภา ประไพพานิช. (2558). การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัท จุด ทอง จำกดั สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์ สุมาลี โพธิ์ทอง, และสัมพันธ์ สันทนาคณิต. (2558). ปฏิบัติการพยาบาล พ้ืนฐาน I.กรุงเทพฯ: บริษทั บพธิ การพมิ พ์ จำกดั . อัจฉรา พุ่มดวง. (2559). การพยาบาลพื้นฐาน : ปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2556). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 1. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษทั ธนาเพรส จำกัด. อภิญญา เพียรพิจารณ์ (2558). คู่มือปฏิบัติการพยาบาลเล่ม 2. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บรษิ ัท จรลั สนทิ วงศ์การพมิ พ์ จำกัด. Nettina SM. (2 0 1 4 ) . Manual of Nursing Practice. Philadelphia: Williams &Wilkins Lippincott. Patricia A. Potter. (2 0 1 3 ) . Fundamentals of Nursing 8 th ed. St. Louis, Mo : Mosby Elsevier. Taylor ll. (2015). Fundamental of Nursing .8th ed. Philadelphia: Walters Kluwer. 497
แผนบรหิ ารการสอนประจำบทที่ 8 วธิ ีปฎิบตั กิ ารพยาบาลพ้นื ฐาน ในการบริหารยาฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ หวั ขอ้ เนือ้ หาประจำบท 1. วิธกี ารฉดี ยาเข้าหลอดเลือดดำในระยะสั้น (intravenous injection push) 2. วิธีการฉีดยาเขา้ หลอดเลือดดำแบบหยด (intravenous injection drip) จำนวนช่ัวโมงที่สอน: ภาคทดลอง 2 ช่วั โมง วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. ปฏิบตั ิฉดี ยาเข้าหลอดเลือดดำตามโจทยส์ ถานการณไ์ ด้ถูกตอ้ ง วธิ ีสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. วิธสี อน 1.1 สอนสาธติ และสาธิตย้อนกลบั 2. กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1 สอนสาธิตการฉดี ยาเข้าหลอดเลือดดำตามโจทยส์ ถานการณ์ 2.2 ผู้เรียนฝกึ ปฏิบตั ิและสาธติ ยอ้ นกลบั 2.3 สะทอ้ นคิดการฝกึ ปฏิบตั ิและสรุปผลการเรยี นรู้ 2.4 ผ้เู รยี นยืมวัสุด อุปกรณไ์ ปฝกึ ปฏิบตั ิต่อนอกเวลาเพอ่ื ใหเ้ กิดทกั ษะ ส่อื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ยาจำลอง วัสดุ อปุ กรณท์ างการแพทยใ์ นห้องปฏบิ ตั ิการ 3. โจทยส์ ถานการณ์ และใบบันทึกการบรหิ ารยา (medication administration record) 4. VDO ส่อื การสอนใน YouTube channel: nursing practice การวัดผลและประเมนิ ผล 1. ประเมินผลการสาธิตย้อนกลบั ตามแบบประเมนิ ทักษะ 2. การสอบทักษะปฏิบัตแิ บบ Objective Structured Clinical Examination : OSCE 498
บทท่ี 8 วิธปี ฎบิ ตั กิ ารพยาบาลพน้ื ฐาน ในการบริหารยาฉีดยาเขา้ หลอดเลือดดำ การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำเป็นการฉีดยาหรือสารน้ำจำนวนน้อยกว่า 150 มิลลิลิตร เข้า ทางหลอดเลือดดำ ซ่ึงออกฤทธิทันทภี ายใน 30 – 60 วนิ าทหี ลงั การฉีดยา รายวเิ อียดวิธีการฉีดยาเข้า หลอดเลือดดำ ดงั น้ี 8.1 วิธกี ารฉดี ยาเขา้ หลอดเลือดดำในระยะสนั้ (intravenous injection push) 8.1.1 อปุ กรณ์เครื่องใช้ 1) แผนการรักษาและ ใบ MAR 2) ยาปลอดเช้ือตามแผนการรักษาท่ีไมห่ มดอายุ 3) ตัวทำละลาย เช่น นำ้ กล่ันสำหรับผสมยา (ถา้ เป็นยาผง) 4) เข็มปลอดเชื้อขนาดเบอร์ 18-20 สำหรับผสมและ/หรือดูดยา ขนาดเบอร์ 23 - 26 ความยาว 3/8 นิ้ว -5/8 น้วิ สำหรับฉดี ยา 5) กระบอกฉีดยาปลอดเช้อื ขนาด 5 มลิ ลลิ ติ รและ 10 มิลลิลติ ร 6) น้ำยาฆา่ เชื้อ เชน่ 70% แอลกอฮอล์ หรือ 2% chlorhexidine 7) สำลีปลอดเช้อื บรรจใุ นภาชนะปลอดเช้อื 8) ปากคบี ปลอดเชือ้ พร้อมกระปกุ 9) ใบเลอ่ื ยสำหรบั เปดิ ขวดยาหรอื ตัดหลอดยา 10) สายยางรัด (Tourniquet) 10) ชามรปู ไต 1 ใบ สำหรบั ใส่ของทีใ่ ช้แลว้ 11) ถาดใส่เครื่องใช้หรือรถเตรยี มยา 12) ภาชนะปลดและเกบ็ หวั เข็ม 499
8.1.2 การเตรียมยา เช่นเดียวกันกับการเตรียมยาฉีดเข้าใต้ผิวหนัง การเตรียมยาฉีดแต่ละ ชนิดดูตามรายละเอียดในคู่มือยา โดยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดำควรผสมในสารทำละลายไม่น้อยกวา่ 10 มิลลิลิตร 8.1.3 วิธปี ฏบิ ัติ 1) ภายหลังเตรียมยาแล้ว ให้ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาให้หมดจึงนำยาพร้อมใบ MAR ไปท่เี ตยี งผ้ปู ่วย 2) ทกั ทายผูป้ ่วย พรอ้ มแจง้ วัตถุประสงค์ของงการฉดี ยา 3) ตรวจสอบความถูกต้องของการระบุตัวผ้ปู ่วย โดยการถามชอื่ ผูป้ ว่ ย ซึ่งต้องตรงกันท้ัง ในใบ MAR ป้ายข้อมือผู้ป่วย สต๊ิกเกอร์ขวดยา และคำบอกกล่าวชื่อตนเองที่ผู้ป่วยตอบ โดย จำเป็นตอ้ งตรงกันอย่างน้อย 2 ตัวบ่งชี้ เชน่ ช่อื สกลุ เลขประจำตัวโรงพยาบาล (Hospital number: HN) 4) จัดใหผ้ ูป้ ว่ ยนั่งหรือนอนหงายในท่าท่สี บาย 5) ล้างมอื ใหส้ ะอาด 6) ฉีดยาตามช่องทางตา่ ง ๆ ดังน้ี (1) กรณี injection plug ใช้เข็มที่ต่อกระบอกฉีดยา บรรจุ normal saline เปลี่ยน เขม็ ขนาดเบอร์ 23 – 24 แทงท่ีปลายจุก ดึงลกู สูบขึน้ มาเลก็ น้อย หากมเี ลอื ดตามมาแสดงวา่ เข็มอยู่ใน หลอดเลือด ให้ฉีด normal saline เข้าไปประมาณ 2 มิลลิลิตร แล้วนำเข็มออก นำยามาฉีด (เปลี่ยน เข็มขนาดเบอร์ 23 – 24) ดันยาช้าๆ อัตรา 1 มิลลิลิตร / 10 วินาที จากนั้น normal saline มาฉีด จำนวนประมาณ 2-3 มลิ ลิลิตร (2) กรณี normal saline lock ใหเ้ ปดิ จุกปิดออกพร้อมๆ กับหมุนเขม็ ออก นำปลาย กระบอกฉีดยาต่อเข้ากับ normal saline lock แล้วค่อยเปิด clamp ดึงลูกสูบขึ้นมาเล็กน้อย หากมี เลือดตามมาแสดงว่าเข็มอยู่ในหลอดเลือด ให้ฉีด normal saline เข้าไปประมาณ 2 มิลลิลิตร นำยา มาฉีด ช้าๆ อัตรา 1 มิลลิลิตร / 10 วินาที จากนั้นนำ normal saline มาฉีดจำนวนประมาณ 2-3 มลิ ลลิ ิตร (3) กรณี 3 way ให้หมุนจุกปิดออกพร้อมๆ กับหมุนเข็มออก นำปลายกระบอกฉีด ยาต่อเข้ากับ 3 way ปิด 3 way ฝั่งที่ให้สารน้ำไว้ ฉีดยาช้าๆ อัตรา 1 มิลลิลิตร / 10 วินาที จากน้ัน เปิดใหส้ ารนำ้ หยดตามปกติ 7) ปลดหัวเข็มที่ใช้แล้วทิ้งใน Safety box หรือหากไม่มี Safety box สวมปลอดเข็ม ดว้ ยวธิ ี one hand technique แล้วนำไปทิ้ง 8) เซ็นชื่อในใบ MAR ถูกต้อง (ชื่อชัดเจน ตำแหน่ง ลงเวลาที่ฉีดจริง) บันทึกการใช้ยา และอาการผิดปกตใิ นแบบบนั ทกึ ทางการพยาบาล 500
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 582
Pages: