Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข

พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข

Description: พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข

Search

Read the Text Version

ฉพบจับน๑าน๐ุก๐พรมป.ศกก.ารา๒สรส๕าธา๖ธา๑ราณรณสสุขุขไทไทยย กระทรวงสาธารณสุข



อาศริ วาท เฉลมิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสครบ ๑๐๐ ปี การสาธารณสขุ ไทย พระมหากรณุ าธคิ ุณอุ่นปกราษฎร์ ไทยทัง้ ชาตติ ่างจงรักภักดีประสาน พระเมตตาแผ่แผ่นดนิ ถ่ินกันดาร ทั่วถน่ิ ย่านประชาสขุ พ้นทุกข์ภัย สขุ ภาพอนามยั ไทยถ้วนหน้า พระการณุ ย์ดุจมหานทใี ส เยน็ ศิระปกเกล้าผองเหล่าไทย ผู้ยากไร้ได้รกั ษาพยาบาล โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช พระเกียรตคิ ุณก้องประกาศทกุ ถ่นิ ฐาน พสกนิกรท่ัวพาราสาธกุ าร พระราชทานสขุ ปลม้ื ในไทยกมล ทัง้ อุปกรณ์การแพทย์ทันสมยั พร้อมเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ไม่ขัดสน สาธารณสุขคอื พนื้ ฐานเพ่ือผู้คน เท่าเทยี มกันทกุ แห่งหนบนแผ่นดนิ ทรงห่วงใยอาณาประชาราษฎร์ พระปรชี าสามารถทกุ ศาสตร์ศลิ ป์ ทรงพฒั นาการแพทย์ไทยให้ชวี ิน ไทยทว่ั ถ่นิ มีสุขอนามัย ทรงมุ่งหมายให้ประชาได้ผาสกุ หมดส้ินทุกข์เปี่ยมพลังสว่างไสว ความเจ็บป่วยหายรอดและปลอดภัย ทรงเป็นขวญั ก�ำลังใจแห่งประชา พระมหากรุณาธคิ ณุ อุ่นปกเกล้า ทุกหมู่เหล่าถวายบงั คมก้มเกศา สาธารณสขุ ไทยน�ำทางสร้างชวี า พระเมตตาส�ำนกึ ล้นท้นดวงมาลย์ ขอน้อมน�ำความแห่งพระราโชวาท เป็นแนวทางความมุ่งมาดใจประสาน สาธารณสขุ สร้างสงั คมอดุ มการณ์ เพอื่ ชาวไทยสุขสราญนริ ันดร์เทอญ. ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร ข้าราชการ และเจ้าหน้าท่กี ระทรวงสาธารณสขุ นางสาวสุปัญญา ชมจนิ ดา กรรมการจดั ท�ำหลักเกณฑ์การใช้ราชาศัพท์ ส�ำนักงานราชบัณฑติ ยสภา ประพันธ์





สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารงั สิตประยรู ศกั ดิ์ กรมพระยาชยั นาทนเรนทร อธบิ ดกี รมสาธารณสขุ พระองค์แรก

ประกาศ ต้ังกรมสาธารณสขุ และตง้ั อธบิ ดีกรมสาธารณสขุ ---------------------------------- มีพระบรมราชโองการด�ำรัสเหนือเกล้าฯ ส่ังว่า การสุขาภิบาล แผนกป้องกันความป่วยไข้ให้ความสุขแก่ประชาชนคือ Public Health ซึ่งบัดนี้ ยังแยกย้ายกันอยู่ทางกระทรวงนครบาลและกระทรวงมหาดไทยเป็น ๒ ทางนั้น ทรงพระราชด�ำริห์ว่า ควรรวมการอันน้ีท�ำเสียเป็นแผนกเดียว จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ยกการสุขาภิบาลแผนกนี้จากกระทรวงนครบาล มารวมกับ กรมประชาภิบาลในกระทรวงมหาดไทย ตั้งข้ึนเป็นกรมใหญ่กรมหน่ึง เรียกว่า กรมสาธารณสุข ให้ขึ้นอยู่ในกระทรวงมหาดไทย ส่วนการนคราภิบาล (Municipality) ของกรุงเทพฯ เช่น ท�ำสะพานและถนนซึ่งเคยรวมอยู่ใน กรมสุขาภิบาลน้ันให้คงไว้ในกระทรวงนครบาลตามเดิม อนึ่ง ทรงพระราชด�ำริห์ว่า พระเจา้ น้องยาเธอ กรมหม่นื ไชยนาทนเรนทร อธบิ ดกี รมมหาวทิ ยาลยั เป็นผ้ทู รงคณุ ความสามารถในทางการแผนกนี้เป็นอันดี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจา้ น้องยาเธอ กรมหมน่ื ไชยนาทนเรนทร อธิบดีกรมมหาวทิ ยาลัย เป็นอธิบดี กรมสาธารณสุขตงั้ แตบ่ ดั นี้สบื ไป ประกาศมา ณ วันที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๖๑ (คดั จากประชุมกฎหมายประจ�ำศก เล่ม ๓๑ พ.ศ. ๒๔๖๑ หน้า ๓๑๖) (6)

สารรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ เน่ืองในโอกาสที่การสาธารณสุขไทยมีวาระครบ ๑๐๐ ปี ในปีพุทธศักราช ๒๕๖๑ กระทรวงสาธารณสุขได้จัดท�ำโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือเป็นที่ระลึก รวมถึงโครงการจัดท�ำ พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย เพ่ือรวบรวม ความหมายของค�ำศัพท์เก่ียวกับการสาธารณสุขสาขาต่าง ๆ ท่ีส�ำคัญและจ�ำเป็น ซ่ึงมีความหมาย ของค�ำศัพท์ที่เหมาะสม ความถูกต้อง และเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมท้ังเพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ท่ีทรงมคี ุณูปการต่อการแพทย์และการสาธารณสขุ ในประเทศไทย พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย ได้รวบรวมค�ำศพั ท์ ความหมาย ตลอดจนคำ� แปลภาษาอังกฤษ ทใ่ี ช้ในวงการสาธารณสุขสาขาต่าง ๆ อย่างครอบคลุม ตามรูปแบบของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสภา ถือเป็นหนังสืออ้างอิง ท่ีมีคุณค่า เปิดโอกาสให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข นักเรียน นักศึกษา รวมถึงบุคคล ทั่วไปทีส่ นใจ สามารถสืบค้น อ้างอิง อนั จะเปน็ ประโยชนใ์ นการปฏิบัติงาน การศึกษา และการวจิ ยั ต่อยอดสู่การสร้างองค์ความรู้ เป็นส่วนหน่ึงในการร่วมพัฒนาระบบการสาธารณสุขไทย และสังคม แห่งการเรียนรใู้ นยคุ ประเทศไทย ๔.๐ ในโอกาสน้ี ผมขอขอบคุณคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการทุกท่านท่ีมีส่วนร่วม ในการจดั ทำ� พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ และขออาราธนาคุณพระศรรี ตั นตรยั และ ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิในสากลโลก อีกท้ังบารมีแห่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โปรดดลบันดาลให้ทุกท่านประสบแต่ความสุข ความเจริญ มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ แข็งแรง โดยทว่ั กนั (นายปยิ ะสกล สกลสัตยาทร) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ (7)

สารปลดั กระทรวงสาธารณสุข นับตง้ั แต่การก่อตงั้ กรมสาธารณสขุ ในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย เมอื่ วันท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๖๑ ซงึ่ มีสมเดจ็ พระบรมวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ รังสิตประยรู ศกั ดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เป็นอธิบดีพระองค์แรก นับว่าเป็นจุดเร่ิมต้นของการสาธารณสุขยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยเป็น พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ แห่งราชวงศ์จักรี การสาธารณสุขของประเทศไทยก็ได้เจริญก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก พระมหากษัตริย์รัชกาลต่อ ๆ มา จวบจนรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงเอาพระราชหฤทยั ใส่ต่อกจิ การงานสาธารณสขุ อย่างสม�่ำเสมอ เน่ืองในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย ผมมีความช่ืนชมยินดีท่ีหน่วยงาน ต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ได้จัดโครงการและกิจกรรม มากมายเพ่ือเป็นการแสดงผลงานและความก้าวหน้า รวมทั้งการประสบความส�ำเร็จของระบบ สาธารณสขุ ไทย ซึ่งพจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบบั ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย ที่ได้จัดท�ำข้ึนน้ี ก็เป็นส่วนหนึ่ง ในโครงการดังกล่าว โดยการจัดท�ำมีเป้าประสงค์เพื่อให้บุคลากร ทางการแพทย์ การสาธารณสุข และวิทยาศาสตร์การแพทย์และการสาธารณสุขอื่น ๆ รวมถึง นิสิตนักศึกษาและคณาจารย์ของสถาบันการศึกษาแพทยศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขอ่ืน ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนได้ใช้ศึกษา และอ้างอิง ในการปฏิบัติงาน ศึกษา วิจัย เพ่ือพัฒนาด้านวิชาการ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ และการสาธารณสขุ รวมท้งั พฒั นาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลมากยงิ่ ขนึ้ ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดท�ำพจนานุกรมฉบับน้ีท่ีช่วยสร้างคุณูปการต่องาน วิชาการด้านการสาธารณสุขไทย และขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท้ังหลาย ในสากลโลก โปรดดลบันดาลให้ผู้ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาการสาธารณสุขไทยทุกท่าน จงเป็น ผู้มีสุขภาพดี มีความสุข และร่วมกันขับเคลื่อนงานสาธารณสุข เพื่อประชาชนสุขภาพดี และระบบ สขุ ภาพยัง่ ยืน เทอญ (นายสุขมุ กาญจนพมิ าย) ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ (8)

ความส�ำเร็จในรอบ ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย ก่อนการตัง้ กรมสาธารณสุขใน พ.ศ. ๒๔๖๑ การสาธารณสุขของประเทศไทยยังไมไ่ ดม้ ีการ จดั ให้เป็นระบบ ปญั หาสุขภาพหลกั คือ โรคระบาด ท่ที ำ� ใหม้ ผี ู้คนเสียชีวติ ไปครง้ั ละมาก ๆ โดยเฉพาะ ไข้ทรพิษ อหิวาตกโรค และกาฬโรค ในยุคนั้นการปกครองเป็นแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หน้าท่ี ในการดูแลความผาสุกของประชาชนจึงเป็นพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีมีพระมหากรุณาธิคุณในด้านนี้เป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ารึกตำ� รายาทีว่ ดั โพธิ์ หรือความพยายามใหห้ มอฝรั่งปลูกฝปี ้องกันโรคไข้ทรพษิ มาถึงรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพัฒนาให้กิจการด้านการสาธารณสุขและการแพทย์ ก้าวหน้ายิ่งข้ึน มีการจัดต้ังกรมพยาบาลขึ้นเพ่ือดูแลโรงพยาบาลศิริราชและโรงพยาบาลอ่ืน ๆ รวมท้ังจัดการศึกษาวิชาแพทย์และจัดการปลูกฝีเป็นทานแก่ประชาชน นับแต่น้ันเป็นต้นมา การสาธารณสุขไทยได้พัฒนาก้าวหน้าข้ึนมาตามล�ำดับ จนกระทั่งมีการก่อตั้งกรมสาธารณสุขขึ้น เมื่อ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๑ จากวันนั้นจนถึง พ.ศ. ๒๕๖๑ นับเป็นเวลา ๑๐๐ ปีของการ สาธารณสุขไทย ท่ีมีพัฒนาการด้านต่าง ๆ ให้ประชาชนสุขภาพดีมาอย่างต่อเนื่อง ความก้าวหน้า ของการสาธารณสขุ ไดป้ รากฏใหเ้ หน็ ชดั เจนในด้านต่าง ๆ ต่อไปน้ี คนไทยอายุยนื ยาวข้นึ ระยะเวลา ๑๐๐ ปีของการพัฒนาสาธารณสขุ ไทยทำ� ใหป้ ระชากร ไทยมีอายุเฉล่ียยืนยาวข้ึน จากในอดีตท่ีอายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดเพียงประมาณ ๕๐ ปี ปัจจุบัน ผูช้ ายไทยอายุคาดเฉลีย่ เมือ่ แรกเกิดอยทู่ ี่ ๗๒.๒ ปี ผู้หญิงไทยอยูท่ ่ี ๗๘.๙ ปี สาเหตุที่คนไทยอายุเฉลี่ย ยืนยาวขึ้นเป็นเพราะการตายของทารกแรกเกิดน้อยลงมาก และการเสียชีวิตจากโรคระบาดต่าง ๆ ที่เคยชุกชุมในอดีตก็ลดน้อยลง ทั้งน้ี เกิดจากการพัฒนาด้านอนามัยแม่และเด็ก การคลอดที่ปลอดภัย การสาธารณสุขและการสุขาภิบาลก้าวหน้า สามารถควบคุมโรคระบาดที่เคยคร่าชีวิตคนไทย คราวละหลายหมื่นคน รวมทั้งการขยายบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขจนครอบคลุมทั่ว ทง้ั ประเทศ โรคระบาดหลายชนิดถูกก�ำจัดและควบคุมได้ โรคระบาดที่เคยเป็นปัญหาใหญ่ในสังคม ไทยและท�ำให้มีผู้เสียชีวิตคราวละนับพันนับหมื่นราย อย่างเช่น ไข้ทรพิษ กาฬโรค คุดทะราด ถูกก�ำจัดจนหมดไปจากประเทศไทย ในส่วนของอหิวาตกโรคและโรคเร้ือนที่เคยเป็นปัญหาใหญ่ ของการสาธารณสุขไทยได้ถูกกวาดล้างจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขอีกต่อไป การฉีดวัคซีน เพ่อื ปอ้ งกันโรคอน่ื ๆ ก็ประสบความสำ� เรจ็ อยา่ งดีย่งิ รวมถึงการสาธารณสุขไทยสามารถปราบปราม (9)

ก�ำจัดโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก และโปลิโอได้ แม้ว่าปัจจุบันจะมีโรคติดต่ออุบัติซ�้ำเกิดขึ้น ประปรายตามชายแดน แตร่ ะบบการเฝ้าระวงั โรคทวี่ างรากฐานมายาวนานและงานด้านการควบคมุ โรคท่ีเข้มแข็ง ส่งผลให้ประเทศไทยเป็นต้นแบบในการท�ำงานด้านการควบคุมโรค ท้ังโรคระบาด ในอดีตและโรคอบุ ตั ใิ หมแ่ ละโรคอบุ ตั ิซำ�้ ทีเ่ กิดขึ้นในปจั จุบนั คนไทยเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน หลังจากมีการก่อตั้ง โรงพยาบาลศิริราช ใน พ.ศ. ๒๔๓๑ ซึ่งเป็นโรงพยาบาลหลวงแห่งแรก จนมีโรงพยาบาลครบ ทุกจังหวัดใน พ.ศ. ๒๕๐๐ พร้อม ๆ กับมีการก่อตั้งโรงพยาบาลเฉพาะทางในช่วงเวลาเดียวกัน จนถงึ ช่วง พ.ศ. ๒๕๒๐ - พ.ศ. ๒๕๓๐ เปน็ ต้นมา มกี ารขยายโรงพยาบาลอำ� เภอจนครบทกุ อ�ำเภอ รวมท้ังมีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพใกล้บ้าน ท้ังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับต�ำบล และคลนิ กิ หมอครอบครัว ใหบ้ ริการท้ังด้านส่งเสรมิ สขุ ภาพ ป้องกนั โรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค นอกจากการขยายบริการแล้ว ยังมีการพัฒนาด้านสวัสดิการการรักษา พยาบาลและการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อมีโครงการ สงเคราะห์ประชาชนผู้มีรายได้น้อยด้านการรักษาพยาบาลใน พ.ศ. ๒๕๑๘ การเกิดระบบประกัน สังคมใน พ.ศ. ๒๕๓๓ และนโยบายหลกั ประกนั สุขภาพถว้ นหน้าใน พ.ศ. ๒๕๔๕ ท่ีให้สทิ ธิการรกั ษา พยาบาลโดยไม่คดิ มลู คา่ แกป่ ระชาชนไทยทกุ คน งานอนามัยและการส่งเสริมสุขภาพ มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง นับต้ังแต่การมีระบบ ประปาในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอย่หู วั จนมาสกู่ ารตงั้ “องค์การสง่ เสรมิ อาหาร” ใน พ.ศ. ๒๔๘๑ ด้านการอนามัยและการสง่ เสรมิ สุขภาพ รฐั บาลมนี โยบายเพมิ่ พลเมอื งโดยการออก มาตรการต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นใหค้ นมีบตุ รเพิม่ ขึน้ มกี ารตัง้ องคก์ ารส่งเสรมิ การสมรส จัดการสมรสหมู่ ริเริ่มการจัดงานวันมารดา ประกวดสุขภาพของมารดา รวมท้ังการก่อต้ังโรงพยาบาลหญิง ใน พ.ศ. ๒๔๙๔ เพ่ือให้การคลอดบุตรเป็นไปอย่างปลอดภัย ต่อมา ประชากรท่ีเพ่ิมมากข้นึ ถกู มองวา่ เปน็ สาเหตุของความยากจน จงึ มี “นโยบายคมุ กำ� เนิดประชากร” ซ่ึงไดร้ ับการสนับสนนุ จากองคก์ ร ระหว่างประเทศ เป็นผลให้ประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง การมีลูกน้อยลงและการเว้นระยะการ มีบุตรให้ห่างขึ้น ท�ำให้แม่และเด็กมีสุขภาพดีขึ้น ปัจจุบันกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) ให้การยอมรับประเทศไทยว่าเป็นศูนย์ความเป็นเลิศ (Center of Excellence) ด้านวางแผนครอบครัว ในส่วนของด้านโภชนาการ มีโครงการส่งเสริมอาหารของชาติเกิดขึ้น ใน พ.ศ. ๒๔๘๑ จนมีหนว่ ยงานและสถาบนั ทม่ี คี วามเปน็ เลิศทางวิชาการดา้ นนีใ้ นปจั จุบัน การผลติ ยา เวชภัณฑ์ และการแพทย์แผนไทย ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๔๔๕ มกี ารต้ังโอสถศาลา ของรัฐเพื่อจ�ำหน่ายยา ส�ำหรับด้านการผลิตวัคซีน มีการต้ัง “กองท�ำพันธุ์หนองฝีและซีรัม ของรฐั บาล” ขึน้ ทจ่ี ังหวดั นครปฐม จนสามารถผลิตพันธุห์ นองฝสี �ำหรับการป้องกนั ไข้ทรพษิ ได้ส�ำเร็จ ใน พ.ศ. ๒๔๔๙ ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๔๕๕ ไดย้ า้ ยมารวมกับปาสตรุ สภา (สถาบนั ปาสเตอร์) เพ่อื ท�ำหนา้ ท่ี (10)

ผลติ พันธห์ุ นองฝี ปลูกฝี ผลิตเซรมุ่ และทำ� งานด้านการปอ้ งกันโรคพษิ สุนขั บา้ และใน พ.ศ. ๒๔๖๕ ได้สร้างสถานท่ีท�ำการใหม่และเปล่ียนชื่อเป็น “สถานเสาวภา” ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๘๒ มีการ ต้ังโรงงานเภสัชกรรมและต้ังสหกรณ์ยาเพ่ือแก้ปัญหาการขาดแคลนยาในชนบท ใน พ.ศ. ๒๕๒๔ มีการก�ำหนดนโยบายแห่งชาติด้านยาและประกาศใช้บัญชียาหลักแห่งชาติ รวมท้ังมีการประกาศใช้ สิทธิเหนือสิทธิบัตร (Compulsory Licensing หรือ CL) เพ่ือจัดหายาในราคาท่ีเป็นธรรมตาม นโยบายการเข้าถงึ ยาใน พ.ศ. ๒๕๕๐ นอกจากการพึ่งยาแผนปจั จบุ นั แลว้ ยังมคี วามพยายามในการ ใช้ภูมิปัญญาไทยทั้งในด้านการแพทย์ เภสัชกรรม ผดุงครรภ์ และการนวดไทยในการดูแลสุขภาพ ซง่ึ มกี ารตืน่ ตวั มาตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๒๐ เป็นต้นมา น�ำไปสกู่ ารต้ังกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการ แพทยท์ างเลอื กขน้ึ ในกระทรวงสาธารณสุข ใน พ.ศ. ๒๕๔๕ การสร้างกลไกการจัดการใหม่และการส่งเสริมบทบาทของอาสาสมัครและภาค ประชาชน โครงสร้างการบริหารจัดการงานสาธารณสุขมีการเปล่ียนแปลงมาอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะ ๆ มีการปรับสถานะสถาบันสุขภาพจติ เปน็ กรมสุขภาพจิตใน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีการจัดตัง้ องค์กรใหม่ ๆ ขึน้ ได้แก่ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ท่ีก่อต้ังใน พ.ศ. ๒๕๓๕ เพ่ือสนับสนุนการวิจัย เพ่ือพัฒนาระบบการสาธารณสขุ ส�ำนกั งานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) ท่ีกอ่ ต้งั ข้นึ ใน พ.ศ. ๒๕๔๔ เพ่ือเน้นการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีทุกภาคส่วน โดยมีงบประมาณจากภาษีเหล้าและบุหร่ี ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ตงั้ ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๕ เพ่อื สรา้ งหลกั ประกนั การเข้าถงึ ระบบบริการสุขภาพของประชาชนอยา่ งถว้ นหน้า สำ� นกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ (สช.) ต้งั ใน พ.ศ. ๒๕๕๐ เพอื่ สรา้ งกระบวนการมสี ่วนรว่ ม ของสังคมในการก�ำหนดนโยบายสาธารณะท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) ตั้งขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๑ เพ่ือบริหารจัดการและประสานงานด้านบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และสถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) ตั้งข้ึนใน พ.ศ. ๒๕๕๒ เพอื่ ยกระดับมาตรฐานและ รบั รองคุณภาพบรกิ ารของสถานพยาบาล นอกจากองค์กรภาครัฐใหม่ ๆ ที่ต้ังขึ้นเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพของคนไทยให้ดีขึ้นแล้ว ในช่วงเวลาที่ผ่านมายังได้เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการก�ำหนดนโยบายสาธารณะ มากขึน้ ทำ� ให้มีองคก์ รภาคประชาสังคม เชน่ กลมุ่ ชมรม สมาคม องคก์ รชมุ ชน องคก์ รพัฒนาเอกชน มลู นิธิ และองค์การสาธารณประโยชน์ รวมท้งั องค์กรวชิ าชีพดา้ นการแพทย์ การสาธารณสขุ ตา่ ง ๆ ได้เข้ามาท�ำงานร่วมกับภาครัฐอย่างใกล้ชิดเพ่ิมมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นงานด้านการสาธารณสุขมูลฐาน การรณรงค์เพ่ือการไม่สูบบุหร่ี การควบคุมการด่ืมสุรา การคุ้มครองผู้บริโภค การด�ำเนินงาน เรื่องเอดส์ นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ รวมทั้งงาน ด้านมนุษยธรรมและการรับมือภัยพิบัติต่าง ๆ การเปล่ียนแปลงท้ังหมดน้ีล้วนส่งผลให้ประชาชน มสี ุขภาพท่ีดขี นึ้ (11)

ความท้าทายในอนาคต ปัญหาสาธารณสุขมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาและมีความ ท้าทายใหม่ ๆ เกิดข้ึนเสมอ ในปัจจุบันมีปัญหาส�ำคัญ โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่าง ๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลอื ดตา่ ง ๆ รวมทงั้ ปัญหาสขุ ภาพจติ และโรคที่เกิดจากพฤติกรรมทางสังคม เช่น อุบัติเหตุ ยาเสพติด การต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร และ การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุท่ีก�ำลังเป็นปัญหาส�ำคัญในปัจจุบัน นอกจากนั้น ยังมีการเกิดข้ึน ของโรคใหม่ ๆ และการแพร่ระบาดของโรคข้ามพรมแดน ในขณะเดียวกันที่ยาปฏิชีวนะท่ีมีอยู่ ด้อยประสิทธิภาพลงอันเกิดจากภาวะเช้ือโรคด้ือยามากขึ้น รวมท้ังการยกระดับคุณภาพของระบบ บริการสุขภาพให้ดีขึ้น ควบคู่ไปกับการลดความเหล่ือมล้�ำ สร้างความเท่าเทียมและเป็นธรรม ด้านสุขภาพ นอกจากนี้ ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ที่นับวันจะมีราคาแพงขึ้นกลายเป็นความท้าทาย สำ� คญั ในศตวรรษทสี่ องของการสาธารณสุขไทย. หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข กรกฎาคม ๒๕๖๑ (12)

ภาพอดตี ส่ปู จั จบุ ัน งานสุขภาพจิตของไทยได้ถือก�ำเนิดขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๓๒ โดยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ ให้ก่อต้ังโรงพยาบาลคนเสียจริตข้ึน ณ ปากคลองสาน ฝ่ังธนบรุ ี ท�ำใหผ้ ู้ป่วยทางจติ ไดร้ ับการดแู ลตัง้ แต่นั้นเปน็ ต้นมา ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ มีการสถาปนากรมสาธารณสุขข้ึนเป็นกระทรวงสาธารณสุข พร้อมท้ัง มีการรวมกิจการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในหลายหน่วยงานให้มารวมอยู่ภายใต้ การควบคุมของหนว่ ยงานเดยี ว โดยย้ายมาอยู่ทวี่ ังศุโขทยั เมอื่ วันท่ี ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ และต้ังอยู่ ทว่ี งั ศุโขทัย เป็นเวลานานถงึ ๘ ปี จึงย้ายทีท่ �ำการมาที่วงั เทวะเวสม์ (13)

กรมการแพทย์ก่อต้ังขึ้นเมื่อวันท่ี ๑๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๘๕ มหี นา้ ท่ีหลักเก่ยี วกับ การบ�ำบัดโรค การจัดต้ัง และการควบคุม โรงพยาบาล ด�ำเนินกิจการของโรงพยาบาล ท้ังหมด ทั้งโรงพยาบาลบ�ำบัดโรคทั่วไปและ โรงพยาบาลเฉพาะโรค ตลอดจนการจัดต้ัง โรงเรียนผดุงครรภ์และโรงเรียนผู้ช่วยพยาบาล มพี ันโทหลวงนติ ย์ เวชชวศิ ิษฏ์ เปน็ อธิบดคี นแรก ท่ีทำ� การแหง่ แรกของกรมการแพทย์ อาคารในพระตำ� หนักวงั ศโุ ขทยั ในอดีตเกิดโรคติดต่อระบาดใหญ่ขึ้นหลายครั้ง เช่น อหิวาตกโรค มาลาเรีย โปลิโอ คุดทะราด ไข้ทรพิษ กาฬโรค ฯลฯ งานควบคุมโรคติดต่อจึงเกิดข้ึนพร้อม ๆ กับพัฒนาการของกระทรวงสาธารณสุข โดยใน พ.ศ. ๒๔๗๒ ได้ต้งั “กองโรคตดิ ต่อ” รบั ผิดชอบป้องกันควบคมุ โรคติดตอ่ ในสังกดั กรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย เม่อื ต้งั กระทรวงสาธารณสุขใน พ.ศ. ๒๔๘๕ จึงเปลี่ยนช่ือเป็น “กองควบคุมโรคติดต่อ” จนเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๗ มีการกอ่ ต้งั กรมควบคมุ โรคติดต่อขึ้น จึงเปล่ียนช่ืออีกครั้ง เป็น “กองโรคติดต่อทวั่ ไป” ใน พ.ศ. ๒๕๐๔ อหวิ าตกโรคระบาด โรงงาน เภสัชกรรมได้รับพระมหากรุณาธิคุณของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ โดยมีพระราชประสงค์ให้โรงงานเภสัชกรรม สามารถผลิตน�้ำเกลือฉีดได้มากขึ้น จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องกล่ันน้�ำ ได้ยังประโยชน์แก่ ประชาชนชาวไทยในการผลิตน้�ำกล่ันช่วยเหลือ คนไทยให้รอดตายจากอหิวาตกโรคตลอดมา ตามพระราชประสงค์ และเป็นพระมหากรุณาธิคุณ ล้นเกล้าฯ (14)

พ.ศ. ๒๕๕๓ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก (ชื่อเดิมในขณะนั้น) จัดต้ัง สถาบันวิจัยการแพทย์แผนไทย เพือ่ ทำ� งานวิจยั ของประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๕ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลอื ก (ชือ่ เดิมในขณะน้ัน) จดั ตงั้ โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทย และการแพทย์ผสมผสานเพ่ือเป็นโรงพยาบาลต้นแบบในการด�ำเนินงาน ด้านการแพทย์แผนไทย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ลงพื้นท่ีตรวจเยี่ยมการด�ำเนิน งานสุขศาลาพระราชทาน ด้าน ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่ ถ่ินทุรกันดารเพื่อให้ประชาชนมี สขุ ภาพที่ดีอย่างทวั่ ถึง (15)

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพจัดงานวัน อาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติเป็นประจ�ำทุกปี เพ่ือเชิดชูเกียรติอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำ หมู่บ้าน (อสม.) ทีอ่ ุทิศตนและเสยี สละดูแลประชาชน ในชุมชนให้มีสขุ ภาพที่ดไี ดอ้ ยา่ งครอบคลมุ และทัว่ ถงึ งานประชุมวชิ าการและมหกรรมแสดงผลงาน ๑๐๐ ป ี การสาธารณสขุ ไทย (พ.ศ. ๒๔๖๑-๒๕๖๑) “เพื่อประชาชนสขุ ภาพด ี ๑๐๐ ปแี หง่ การพฒั นา” สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ (16)

คำ� น�ำ พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย จัดทำ� ขึ้นเพ่ือเฉลิมพระเกียรติและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณุ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีทรงมีคุณูปการต่อกระทรวงสาธารณสุขและระบบ การสาธารณสขุ ไทย ทรงประกอบพระราชกรณียกจิ นานาประการด้านการแพทย์ และการสาธารณสุข ด้วยทรงตระหนักว่าสุขภาพพลานามัยอันดีของประชาชน เป็นปัจจัยส�ำคัญของการสร้างสรรค์ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพไว้เป็นพลัง ในการพัฒนาประเทศ และเน่ืองในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย สำ� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ โดยสำ� นักวิชาการสาธารณสขุ รว่ มกบั มลู นิธิ อุทัย สุดสุข และมูลนิธิไพจิตร ปวะบุตร และภาคีเครือข่ายท้ังในสังกัดและ นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขได้ร่วมกันจัดท�ำพจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย เพื่อรวบรวมค�ำศัพท์ด้าน การสาธารณสุขในสาขาตา่ ง ๆ และให้ความหมายเพอื่ เปน็ ประโยชน์ต่อการนำ� ไป ศึกษาอ้างอิงได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเป็นมาตรฐานเดียวกัน และเป็น การสร้างความร่วมมือของหน่วยงานทั้งในสังกัดและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดท�ำพจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบบั ๑๐๐ ปี การสาธารณสขุ ไทย การจัดท�ำพจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทยฉบับนี้ ถือเป็นผลงานทางวิชาการท่ีส�ำคัญชิ้นหนึ่งของวงการ สาธารณสุข อีกท้ังยังเป็นผลงานส่วนหนึ่งในโอกาส ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย ทีจ่ ะครบรอบในวันที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑ คณะผู้จัดทำ� ได้รับความรว่ มมือ เป็นอย่างดีจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการจัดส่งค�ำศัพท์และอธิบายความหมาย คำ� ศพั ท์ โดยมีสำ� นกั งานราชบณั ฑติ ยสภาใหค้ ำ� ปรกึ ษาอยา่ งใกลช้ ดิ (๑๗)

ขอขอบคุณคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการทุกท่าน รวมท้ัง ผู้เกยี่ วขอ้ งทมี่ ีความมุง่ ม่นั ต้ังใจ ไดอ้ ทุ ศิ เวลาอนั มีค่า ทุม่ เทความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ร่วมกันจัดท�ำหนังสือพจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบบั ๑๐๐ ปี การสาธารณสขุ ไทยให้สำ� เรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี และหวงั เป็นอย่างย่ิงว่าจะอ�ำนวยประโยชน์เพ่ือใช้อ้างอิงในการปฏิบัติงาน ศึกษา วิจัย เพื่อพัฒนาด้านวิชาการ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพและ การสาธารณสุข รวมทั้งพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ลมากยิง่ ขนึ้ ทั้งน้ี หากผูใ้ ชพ้ บเหน็ ข้อผดิ พลาดประการใดในพจนานุกรม ฉบับน้ี คณะผู้จัดท�ำยินดีรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ือจักไดน้ �ำไปปรับปรุง แก้ไขในการจดั ท�ำพจนานุกรมฉบับตอ่ ไปใหส้ มบรู ณ์ยิ่ง ๆ ขึน้ ไป. นายอทุ ัย สดุ สขุ ทป่ี รึกษาการจดั ทำ� พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ และประธานคณะอนกุ รรมการด�ำเนนิ งานเพือ่ การออกแบบและจดั ท�ำรูปเลม่ พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปี การสาธารณสขุ ไทย นายไพจติ ร ปวะบตุ ร ท่ปี รกึ ษาการจดั ท�ำพจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ นายโอภาส การยก์ วนิ พงศ์ ประธานคณะกรรมการอำ� นวยการจดั ทำ� พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ นายสมควร หาญพัฒนชัยกูร หวั หนา้ ส�ำนกั วิชาการสาธารณสขุ ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข (๑๘)

ค�ำช้แี จงและหลกั เกณฑ์ ในการจัดท�ำพจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบบั ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย ๑. ขอบเขต พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบบั ๑๐๐ ปี การสาธารณสขุ ไทย เกิดข้ึนจากความร่วมมือของส่วนราชการ หน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข และ เครือข่าย ร่วมกันรวบรวมค�ำศัพท์ท่ีใช้อยู่ใน พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยด�ำเนินการรวบรวม ค�ำศัพท์ช่วงระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ถึงสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ น�ำมาจัดท�ำ ค�ำอธิบายความหมายเฉพาะและอธิบายความในมุมมองของหน่วยงานด้านสาธารณสุข รวมจ�ำนวนค�ำศัพท์ท้ังหมดมากกว่า ๕,๐๐๐ ค�ำ โดยครอบคลุมเน้ือหาทั้งด้านวิชาการ สาธารณสขุ ดา้ นการบริการและบรหิ าร อยา่ งไรก็ตาม พบวา่ มคี ำ� ซำ้� ซอ้ นกันบา้ งจากการท่ี แต่ละหน่วยงานใช้ค�ำศัพท์ที่แตกต่างกันออกไป ซ่ึงภายหลังจากการรวบรวมค�ำศัพท์ ในเบ้ืองต้น คณะกรรมการฯ และคณะผู้ทรงคุณวุฒิได้มีการประชุมเพื่อพิจารณาตัดลด ค�ำซ�้ำซ้อนและค�ำศพั ทท์ ไี่ ม่เกีย่ วขอ้ งกบั การสาธารณสขุ ไทยออก เหลอื เพียง ๕,๐๐๐ คำ� รวมทัง้ สอบทานความถกู ตอ้ งของการนยิ ามค�ำศพั ทด์ ังปรากฏอยู่ในพจนานุกรมฉบับน้ี ๒. การเรียงลำ� ดับคำ� ๒.๑ เรยี งคำ� ศัพท์ตามลำ� ดับอักษร ก-ฮ ตามหลักพจนานกุ รมของราชบัณฑติ ยสภา ๒.๒ ค�ำที่มีความหมายเหมือนกันและในค�ำอธิบายได้ระบุไว้ จะแยกค�ำศัพท์ ไว้ตามล�ำดบั อกั ษรของค�ำน้นั ๆ และอ้างองิ ถึงกันโดยใชค้ ำ� วา่ “ดู ...” ๒.๓ ค�ำศัพท์ที่เป็นส่วนย่อยอยู่ในค�ำอธิบายหลัก หรือค�ำศัพท์ที่ให้ดูเพื่อ ความเข้าใจเพมิ่ เติม จะใช้ค�ำว่า “ดูท่ี ...” โดยไม่จัดท�ำคำ� อธิบายซำ้� ๓. ค�ำทบั ศพั ท์ ค�ำท่ีเขียนจากภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย ใช้วิธีถ่ายเสียงและถอดตัว อักษรตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของส�ำนักงานราชบัณฑิตยสภา โดยยึดส�ำเนียงการ ออกเสยี งตาม The Chambers Dictionary และพจนานุกรมเลม่ อ่ืน ๆ เพอ่ื ให้ออกเสยี ง ไดถ้ กู ต้อง (๑๙)

๔. เคร่ืองหมายวรรคตอน จะใช้เทา่ ท่จี ำ� เปน็ เทา่ นัน้ โดย ๔.๑ เคร่ืองหมายจุลภาค (,) ใช้ค่ันเพื่อมิให้เข้าใจคลาดเคล่ือน และค่ันท้าย นยิ ามก่อนเป็นค�ำอธิบายเพิม่ เตมิ ๔.๒ เครอื่ งหมายมหพั ภาค (.) ใชห้ ลังอักษรยอ่ และเมือ่ จบคำ� นิยาม ๔.๓ เคร่อื งหมายอฒั ภาค (;) ใช้ค่นั กรณที ศ่ี ัพทน์ ้ันเขียนไดม้ ากกว่า ๑ รูปแบบ เช่น paediatrics; pediatrics ๕. คำ� ศัพท์ภาษาอังกฤษ จะเก็บในรูปเอกพจน์ ใชอ้ กั ษรตวั เลก็ เชน่ magnetic resonance imaging (MRI) ยกเวน้ วสิ ามานยนามหรือช่ือเฉพาะ เช่น World Health Organization (WHO) ๖. วงเล็บหน้าคำ� นยิ ามศพั ท์ (กฎ) หมายถึง เก็บความมาจากกฎหมายในเรอ่ื งนน้ั (พท.) หมายถงึ การแพทยแ์ ผนไทย (พบ.) หมายถงึ การแพทยพ์ ื้นบ้าน (พล.) หมายถึง การแพทยท์ างเลือก (เคม)ี หมายถึง สาขาวิชาเคมี และวงเล็บระบทุ ี่มาจากภาษาถิน่ ๗. อักษรยอ่ หน้าคำ� นยิ ามศัพท์ เป็นการระบปุ ระเภทของค�ำศัพท์ น. หมายถงึ ค�ำนาม ก. หมายถงึ ค�ำกริยา ว. หมายถงึ คำ� วิเศษณ์ การจัดท�ำพจนานุกรมการสาธารณสุขไทยฉบับน้ีเป็นการให้ข้อมูลทางวิชาการ เก่ียวกับค�ำศัพท์พอสังเขปตามแบบพจนานุกรมเท่าน้ัน ผู้ท่ีต้องการข้อมูลเชิงลึก ให้ศึกษาจากพจนานุกรมเฉพาะสาขาวิชา หรือศึกษาค้นคว้าอ้างอิงจากกฎหมาย ที่เกีย่ วขอ้ งต่อไป. (๒๐)

สารบญั อาศิรวาท (๒) ธ ๒๕๒ ประกาศต้งั กรมสาธารณสขุ น ๒๕๕ และตั้งอธิบดีกรมสาธารณสุข (๖) บ ๒๗๒ สารรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข (๗) ป ๒๘๓ สารปลัดกระทรวงสาธารณสุข (๘) ผ ๒๙๗ ความส�ำเรจ็ ในรอบ ๑๐๐ ปี ฝ ๓๑๙ การสาธารณสุขไทย (๙) พ ๓๒๑ ภาพอดีตส่ปู ัจจุบนั (๑๓) ฟ ๓๓๙ คำ� นำ� (๑๗) ภ ๓๔๓ ค�ำช้แี จงและหลักเกณฑ์ในการจัดทำ� ม ๓๕๓ พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ย ๓๖๔ ฉบับ ๑๐๐ ปกี ารสาธารณสุขไทย (๑๙) ร ๓๗๖ สารบัญ (๒๑) ฤ ๔๑๑ ก ๑ ล ๔๑๒ ข ๑๓๑ ว ๔๑๗ ค ๑๔๔ ศ ๔๓๐ ฆ ๑๙๔ ส ๔๓๖ ง ๑๙๕ ห ๔๖๘ จ ๒๐๐ อ ๔๘๖ ฉ ๒๐๗ ฮ ๕๑๔ ช ๒๐๘ ซ ๒๑๗ ภาคผนวก ๕๑๗ ฐ ๒๒๑ ดัชนี ๕๑๘ ด ๒๒๒ คำ� สง่ั กระทรวงสาธารณสขุ ต ๒๒๙ เรือ่ ง แต่งตง้ั คณะกรรมการ ถ ๒๔๐ การจัดท�ำพจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย ท ๒๔๒ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๕๕๖ (๒๑)



พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปี การสาธารณสขุ ไทย



กรด ก กคทพ. ดู คณะกรรมการคุ้มครองเด็กทเี่ กดิ โดย กดจุดสะท้อนเท้า น. วิธีการรักษาตนเอง อาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการ แบบแผนโบราณ เป็นการแพทย์ทางเลือก แพทย์. ประเภทหน่งึ ใช้หลักการแบ่งสว่ นต่าง ๆ ของ ร่างกายจากเท้า บริเวณส่วนท่ีสัมพันธ์กัน กฎบตั รการตรวจสอบภายใน (กฎ) น. เอกสาร และความสัมพันธ์ของจุดบนฝ่าเท้ากับอวัยวะ ทางการที่เป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือก�ำหนด ตา่ ง ๆ ในร่างกาย. (อ. foot reflexology). วัตถุประสงค์ อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิด ชอบของงานตรวจสอบภายใน ประกอบด้วย กผะ น. พลังงานพ้นื ฐานตามศาสตรแ์ หง่ อนิ เดยี สถานภาพของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ประกอบด้วย “ธาตุดิน” และ “ธาตุน้�ำ” สายการรายงาน ซ่ึงรวมถึงความสมั พนั ธ์ของ ซึ่งมีหน้าท่ีเป็นโครงสร้างของร่างกาย เช่น หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในกับ กระดูก กล้ามเน้ือ เส้นเอ็น ให้ความชุ่มชื้น หัวหน้าส่วนราชการและคณะกรรมการ รวมทั้งช่วยหล่อลื่นส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย ตรวจสอบ (ถ้ามี) และทรัพย์สินต่าง ๆ ที่ ช ่ ว ย ใ ห ้ ก า ร ป ร ะ ส า น ข อ ง ธ า ตุ ส ม บู ร ณ ์ เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานตรวจสอบสิทธิใน ท�ำความชุ่มชื้นให้กับผิวหนัง ช่วยสมาน การเข้าถึงข้อมูล บุคลากรภายใน ขอบเขต บาดแผล เติมพื้นที่ว่างของร่างกาย ให้ก�ำลัง การปฏิบัตงิ านตรวจสอบภายใน. (อ. charter). ทางชีววิทยาของรา่ งกายแข็งแกรง่ เกดิ ก�ำลงั และเสถียรภาพ. (อ. kapha). กฎอนามัยระหว่างประเทศ น. กรอบทาง กฎหมายส�ำหรับความมั่นคงทางสุขภาพ กพฉ. ดู คณะกรรมการการแพทยฉ์ ุกเฉิน. ท่ีลงสัตยาบันโดยประเทศสมาชิกองค์การ กรณีความผดิ ท่ปี รากฏชัดแจ้ง (กฎ) น. กรณี อนามัยโลก เพ่ือป้องกันควบคุมโรคภัยทาง สุขภาพและภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข. ความผิดทางวนิ ัยของขา้ ราชการ ที่กำ� หนดไว้ (อ. International Health Regulation). กฎ ก.พ. ซ่ึงผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอ�ำนาจส่ัง บรรจุอาจใช้ดุลพินิจด�ำเนินการทางวินัยโดย กดจุด ก. ใช้นิ้วมือกดตามต�ำแหน่งส�ำคัญ ไม่ต้องสอบสวน หรือหากอยู่ในระหว่างการ รวมทั้งใช้อุ้งมือ ฝ่ามือ ถูคลึงตามร่างกาย สอบสวนอาจงดการสอบสวนกไ็ ด้. เป็นการรักษาด้วยมือให้หายจากอาการบาง กรด น. ๑. สารที่แตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน อยา่ ง เชน่ ปวดเม่ือย.  (H+) ในสารละลาย. ๒. โมเลกลุ หรอื ไอออนที่ สามารถให้โปรตอนได้. ๓. สารท่ีละลายน้�ำ กดจดุ บ�ำบัด น. การใชน้ ิ้วมอื กดตามจุดฝงั เข็ม แล้วได้สารละลายท่ีมีความเข้มข้นของไฮโดร- เพ่ือรักษาอาการเจ็บป่วยและปรับสมดุลท�ำให้ เนียมไอออน (H3O+) มากกว่าไฮดรอกไซด์ รา่ งกายกลับสสู่ ภาพปรกติ. (อ. acupressure). กระทรวงสาธารณสขุ 1

กรดไขมัน ไอออน (OH-). (อ. acid). acid (DNA)]. กรดไขมัน น. กรดอินทรีย์ชนิดหน่ึง เป็นองค์ กรดนิวคลอิ ิก น. สารอนิ ทรีย์ท่มี อี ยู่ในเซลลข์ อง ประกอบส�ำคญั ในอาหารพวกน้ำ� มนั หรือไขมัน สง่ิ มีชีวิตทกุ ชนดิ ประกอบด้วยหน่วยย่อยคอื ถ้ามีพันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอน นิวคลีโอไทด์ต่อกันเป็นสาย  กรดนิวคลิอิก ในโมเลกุลเป็นพันธะเดี่ยวทั้งหมดเรียกว่า มี ๒ ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบนิวคลิอิก กรดไขมนั อิ่มตัว  ถา้ มีพันธะค่หู รอื พันธะสาม [deoxyribonucleic acid (DNA)] และกรด ระหว่างอะตอมของคาร์บอนเรียกว่า กรด ไรโบนิวคลิอิก [ribonucleic acid (RNA)]. ไขมนั ไมอ่ ่ิมตัว. (อ. fatty acid). (อ. nucleic acid). กรดไขมันไมอ่ ม่ิ ตัว น. กรดไขมนั ชนิดทมี่ พี ันธะ กรดเบนโซอิก น. กรดอินทรีย์ชนิดหน่ึง มี ระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอนในโมเลกุลเป็น สจุดูตหรเลคอมมี เหCล6Hว5C๑O๒๒OHองเศปา็นเซขลอเซงีแยสข็งกสรีขดานว้ี พันธะคอู่ ยา่ งน้อย ๑ พันธะ เชน่ กรดโอเลอิก หรือเกลือของกรดนี้ใช้เป็นสารกันบูด. (อ. (aCc1id7H).33COOH). (อ. unsaturated fatty benzoic acid). กรดไขมันอิ่มตัว น. กรดไขมันชนิดที่พันธะ กรดแพลมติ ิก น. กรดไขมนั ชนิดหนงึ่  มสี ูตรเคมี ระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอนในโมเลกุลเป็น แCอ15ลHก3อ1CฮอOลO์แHละอผีเลทึ กอรส์ ี ขมาีอวยู่ใลนะนล�้ำมาันยปไ ดาล้ ใ น์ม พนั ธะเดี่ยวเช่น กรดสเตียริก (C17H35COOH). ไขของวาฬ เปน็ ต้น. (อ. palmitic acid). (อ. saturated fatty acid). กรดมมซีีสจูตุาดรลหเิไคลซมอลี มิCกเ6 หH ล4นOว.H๑.กC๕รOด๙OอHินอทงเปรศี็นยาผ์เชซลนลึกิดเสซหีขียนาสึ่วง กรดโพรพิออนิก น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง  มี ใช้เป็นยาระงับเช้ือและใช้เตรียมแอสไพริน. สเกตู ลรือเคแมคี ลCเHซ3ียCมHห2CรือOเOกHลือเโปซน็ เดขียอมงเขหอลงวกไมรดม่ นสี ี้ี (อ. salicylic acid). ใช้เปน็ สารกันบดู . (อ. propionic acid). กรดดีออกซไี รโบนวิ คลิอิก น. สารพันธุกรรมท่ี กรดโฟลกิ น. วิตามินชนิดหน่ึงในกลุ่มของวติ ามิน ประกอบด้วยหนว่ ยย่อยนิวคลโี อไทด์ ๒ สาย บีรวม  มีสูตรเคมี นC้�ำ19ไHด1้เ9ลN็ก7Oน6้อ เป็นผลึกสี ท่ีเชื่อมต่อด้วยพันธะไฮโดรเจน โดยเป็น เหลือง ละลายใน ย ถ้าขาด น้�ำตาลชนิดดีออกซีไรโบส (deoxyribose) วิตามินชนิดน้ีจะท�ำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงไม่ และไนโตรเจนเบส (nitrogen-based) ชนิด เจริญเต็มที่ เป็นโรคโลหิตจางชนิดหนึ่ง, พิวรีน (purine) คือ แอดินีน (adenine) วิตามนิ บี ๙ ก็ว่า. (อ. folic acid). และกัวนีน (guanine) หรือไพริมิดีน (pyrimidine) คือ ไซโทซนี (cytosine) และ กรดยูริก น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตรเคมี ไทมนี (thymine). [อ. deoxyribonucleic C5H4O3N4 พบในเลือดและน้�ำปัสสาวะของ 2 พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

กรม สัตว์ที่กินเน้ือ  ส�ำหรับคนถ้ามีกรดน้ีเกิดข้ึน เทา่ นั้น มี ๑๐ ชนิด ไดแ้ ก่ อาร์จนิ นี (arginine), มากและขับถ่ายไม่ทันจะสะสมตามข้อ เกิด ฮสิ ทดิ นี (histidine), ไอโซลิวซนี (isoleucine), อาการปวดซึ่งเรยี กว่า โรคเกาต์. (อ. uric acid). ลิวซนี (leucine), ไลซนี (lysine), เมไทโอนนี (methionine), ฟนี ลิ แอละนีน (phenylalanine), กรดไรโบนิวคลอิ ิก น. สารพนั ธกุ รรมทปี่ ระกอบ ทรโี อนนี (threonine), ทริปโทเฟน (trypto- ด้วยหน่วยย่อยนิวคลีโอไทด์สายเด่ียว โดย phan) และแวลนี (valine) แตม่ ี ๒ ชนดิ คอื เป็นน้�ำตาลชนิดไรโบส (ribose) และ ฮิสทดิ นี และอาร์จินนี มคี วามจำ� เปน็ เมอ่ื ตอน ไนโตรเจนเบส ชนิดพิวรีน คือ แอดินีน เป็นเด็กเท่าน้ัน เมื่อโตเต็มท่ีแล้วร่างกาย และกัวนีน หรือไพริมิดีน คือ ไซโทซีน และ สามารถสังเคราะห์เองได้. (อ. essential ยูราซิล (uracil). [อ. ribonucleic acid amino acid). (RNA)]. กรดแอมโิ นไม่จำ� เป็น น. กรดแอมโิ นที่ร่างกาย สามารถสร้างเองได้ ได้แก่ แอละนีน (alanine), กรดสเตยี รกิ น. กรดไขมันชนิดหนึ่ง มีสตู รเคมี โพรลีน (proline), ไกลซนี (glycine), เซรีน Cแต17่ลHะ35ลCาOยไOดH้ใน  แเอปล็นกผอลฮึกอสลีข์แาลวะไอมีเท่ละอลรา์  ยพนบ้�ำ (serine), ซีสเทอีน (cysteine), ไทโรซีน ในไขมันพืชและสัตว์ ใช้เป็นส่วนประกอบใน (tyrosine), แอสพาราจีน (asparagine), การท�ำยา เครอื่ งส�ำอาง เปน็ ตน้ . (อ. stearic กลูแทมีน (glutamine), กรดแอสพาร์ติก acid). (aspartic acid) และกรดกลูแทมกิ (glutamic acid). (อ. non-essential amino acid). กรดแอซตี ิก น. กรดอนิ ทรียช์ นดิ หนง่ึ มสี ูตรเคมี กรดแอลฟา-ไลโพอิก น. สารตา้ นอนุมลู อิสระ CอาHห3CารO O เปH็นมตีชวั ่อืทสำ� าลมะัญลาวยา่ กรดน�้ำส้ม ใช้ปรงุ ภายในร่างกายและปกป้องเซลล์จากการถูก ใช้ในอุตสาหกรรม ทำ� ลาย. (อ. alpha-lipoic). ตา่ ง ๆ เช่น พลาสตกิ สี การถา่ ยรปู . (อ. acetic กรดแอสคอร์บิก น. วิตามินท่ลี ะลายน้�ำไดช้ นดิ acid). หวิตนา่ึงมินมชีสนูติดรนเค้ีจะมที �Cำใ6หH้เ8หOง6ือกถบ้าวรม่า งเลกือาดยอขอากด ตามไรฟัน ฟันไม่แข็งแรง กระดูกอ่อน และ กรดแอมิโน น. สารประกอบท่ีเป็นหน่วยย่อย เสน้ เลอื ดเปราะ, วิตามนิ ซี กเ็ รียก. (อ. ascorbic เล็กท่ีสุดที่ประกอบข้ึนเป็นโปรตีน โมเลกุล acid). ของกรดแอมิโนทุกชนิดจะประกอบด้วยหมู่ กรม น. ๑. สว่ นราชการในสงั กัดกระทรวง และ คาร์บอกซิล (-COOH) และหมู่แอมิโน ทบวง มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีอธิบดีเป็น (ไ-มN่ไHด1้ม2ี)อยกู่ปรรดะแมอามณิโนท๑่ีจ๐�ำเชปน็นิดซ.ึ่งร(่อาง. กaาmยขinาoด หวั หน้า เช่น กรมอนามัย ๒. คำ� น�ำหนา้ แสดง acid). อิสริยศักดิ์เจ้านาย เช่น กรมหมื่น กรมขุน กรดแอมิโนจ�ำเป็น น. กรดแอมิโนท่ีร่างกาย สร้างขึ้นเองไม่ได้ ต้องได้รับจากอาหาร กระทรวงสาธารณสขุ 3

กรมการแพทย์ กรมหลวง กรมพระกรมพระยา. วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และ กรมการแพทย์ น. ส่วนราชการในสังกัด เทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ สนับสนุนการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของ กระทรวงสาธารณสุข มีภารกิจเก่ียวกับการ ประเทศ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ พัฒนาวิชาการด้านการบ�ำบัดรักษาและ เพื่อสนับสนุนกระบวนการคุ้มครองผู้บริโภค ฟน้ื ฟสู มรรถภาพทางการแพทย์ฝ่ายกาย โดย สำ� หรบั ประชาชน. มีหนา้ ท่ีศกึ ษา วิจยั ประเมิน พัฒนา เผยแพร่ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ น. กรมที่จัดต้ัง องค์ความรู้และเทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาการ ใหม่ภายหลังจากการปรับบทบาทภารกิจ แพทยท์ ี่สมคุณค่าของประเทศ. และโครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข ตาม กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทาง พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง เลือก น. ส่วนราชการสังกัดกระทรวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งประกาศ เมื่อวันท่ี ๒ สาธารณสุข มีภารกิจเกี่ยวกับการก�ำหนด ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ โครงสร้างใหม่ในส่วน ทิศทางจัดการองค์ความรู้และสร้างความเชื่อ ของกระทรวงสาธารณสุข ก�ำหนดให้มีการ ม่ันประชาชนในการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์ จัดกลุ่มภารกิจ (cluster) ในการสนับสนุน การแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พน้ื บ้าน และ ห น ่ ว ย บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ใ น ทุ ก ร ะ ดั บ ใ ห ้ มี การแพทย์ทางเลือก โดยพัฒนารูปแบบ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ข อ ง บริการ ส่งเสริมการวิจัย คุ้มครอง อนุรักษ์ ประชาชน โดยส่งเสริม สนบั สนนุ และพัฒนา และส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ระบบบริหารจัดการ ระบบบริการสุขภาพ และการแพทยท์ างเลือก และสรา้ งมาตรฐาน และระบบคุ้มครองประชาชนด้านบริการ ด ้ า น คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง สุขภาพ ท�ำให้ประชาชนมีสุขภาพท่ีดี ผลิตภัณฑ์สมุนไพร. สามารถพิทักษ์สิทธิ และเข้าถึงบริการ กรมควบคุมโรค น. สว่ นราชการสังกัดกระทรวง สุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐานกระทรวง สาธารณสุข มีภารกิจเก่ียวกับการพัฒนา สาธารณสขุ . วิชาการเพื่อการควบคุมโรคและภัยท่ีคุกคาม กรมสขุ ภาพจติ น. สว่ นราชการสังกัดกระทรวง สขุ ภาพ โดยมกี ารศึกษาวจิ ัย พฒั นา รวมทัง้ สาธารณสุข มีภารกิจเก่ียวกับการพัฒนา การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพ่ือ วิชาการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี การเฝา้ ระวัง ป้องกนั ควบคมุ วินิจฉัย และ และบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพจิต รกั ษาโรคและภยั ทค่ี ุกคามสุขภาพ. ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตแก่ประชาชนรวม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย ์ น. ส่วนราชการ ทั้งบ�ำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย สังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีภารกิจเกี่ยว จติ เวช. กั บ ก า ร วิ จั ย แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ชั น สู ต ร ด ้ า น กรมอนามัย น. ส่วนราชการสังกัดกระทรวง วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยมีการศึกษา สาธารณสุข มีภารกิจเก่ียวกับการส่งเสริมให้ 4 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

กระชายด�ำ ประชาชนมีสุขภาพดี โดยการศึกษาวิเคราะห์ พัฒนาระบบบริหารจัดการโรคไม่ติดต่อ วิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้และ เร้ือรัง ประกอบด้วยโครงสร้างการท�ำงาน เทคโนโลยีด้านการส่งเสริมสุขภาพ การ (structure) ข้อมูลสารสนเทศ (information) จดั การปัจจยั เสี่ยงต่อสขุ ภาพ และการจัดการ กระบวนการด�ำเนินงานและนวัตกรรม อนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมีสุขภาพดี (intervention and innovation) รวมท้ังการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ การบูรณาการการด�ำเนินงาน (integration) เพ่ือมุ่งเน้นให้ประชาชนมีความรู้และทักษะ และการติดตามประเมินผล (monitoring ในการดแู ลตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน. and evaluation) เรยี กย่อว่า SI3M. กรรไกรตัดไหม น. อุปกรณก์ ารแพทยช์ นิดหนึง่ กรอบยุทธศาสตร์สุขภาพโลกของประเทศไทย ใช้ส�ำหรับตัดด้าย ไหม ตอนเย็บแผลหรือ พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓ น. กรอบยุทธศาสตร์ ตัดตอ่ อวยั วะ. (อ. metzenbaum). ๕ ปีในการด�ำเนินงานด้านสุขภาพโลก กรรมวิธกี ารแพทย์แผนไทย (พท.) น. กรรมวิธี ๕ ประเดน็ คอื ส่งเสรมิ ความมั่นคงดา้ นสขุ ภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทยท่ีสภา เสริมสร้างระบบสุขภาพให้เข้มแข็ง ยุติธรรม การแพทย์แผนไทยก�ำหนดหรือรับรอง แล้ว และเป็นธรรม ส่งเสริมบทบาทน�ำและ แต่กรณี. ความรับผิดชอบของไทยในประชาคมโลก กรวยไตอักเสบ น. การอักเสบของกรวยไต เสริมสร้างความสอดคล้องระหว่างนโยบาย เกิดจากติดเชื้ออีโคไล แบคทีเรียอ่ืน เช้ือรา สุขภาพภายในประเทศและระหว่างประเทศ เป็นต้น พบได้ในผู้หญิงบ่อยกว่าในผู้ชาย และเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากร ๔-๕ เท่า. (อ. pyelonephritis). องค์กร และพัฒนาข้อมูลด้านสุขภาพโลก. (อ. Thailand Global Health Strategic Framework 2016-2020). กรอบข้อริเร่ิมลุ่มน�้ำโขงตอนล่าง น. กรอบ กรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ น. ความร่วมมือเพ่ือลดช่องว่างระดับการ สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสุขภาพ พัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ๕ ฉบับแรกขององค์การอนามัยโลก เพื่อ ประเทศ และสหรัฐอเมริกา ได้แก่ กัมพูชา คุ้มครองประชากรโลกให้ปลอดภัยจากการ ลาว เมียนมา ไทย เวียดนาม มีสาขา บรโิ ภคยาสูบและสดู ดมควนั ยาสูบ. [อ. WHO ความร่วมมือ ๖ สาขา คือ สาธารณสุข Framework Convention on Tobacco ความเช่ือมโยง การศึกษา ส่ิงแวดล้อมและ Control (FCTC)]. น้�ำ การเกษตรและความมั่นคงทางอาหาร และความมั่นคงทางพลังงาน. [อ. Lower กระชายด�ำ น. พืชท่ีมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mekong Initiative (LMI)]. Kaempferia parviflora Wall. ex Baker ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ล้มลุก สูง กรอบแนวคิดซิมสาม น. กรอบแนวคิดการ ๓๐-๙๐ เซนตเิ มตร ลำ� ต้นเป็นเหงา้ อวบกลม กระทรวงสาธารณสขุ 5

กระดาษขมนิ้ อยู่ใตด้ ิน ใบเป็นใบเด่ียว รปู ไข่หรือรูปรี เรยี ง กระดูกทับเส้น น. ส่วนหน่ึงของไขสันหลังไป สลบั ขอบใบมกั มีสนี ้�ำตาลแดง กา้ นใบสแี ดง สมั ผสั กบั สว่ นหน่งึ ของเสน้ ประสาท ส่งผลให้ อมม่วง ใบแทงม้วนเป็นกรวยขึ้นมาจาก เกิดอาการปวดหลัง ปวดเอว ต้นขา และ ล�ำต้นเทียม ช่อดอกออกจากยอดของล�ำต้น อาจจะลามไปจนถึงส่วนของเท้าและบริเวณ เทียม ดอกสีชมพูอ่อนหรือสีม่วง กลีบดอก น้ิวเท้า ในรายที่อาการหนักจะมีอาการ เช่ือมติดกันเป็นหลอด ลักษณะเนื้อในเหง้ามี อ่อนแรงของเท้าเข้ามาประกอบด้วยเพราะว่า สีม่วงจนถึงม่วงด�ำ เปลือกเหง้าสีน�้ำตาลเข้ม กล้ามเน้ือที่ได้รับการดูแลจากเส้นประสาท มีรากสะสมอาหารที่มีลักษณะเป็นปุ่มอวบ นนั้ ถูกกดทับ. (อ. herniated disc). ไม่ยาวเหมือนกับกระชาย ขณะต้นเล็กจะมี แต่ราก เมอื่ โตขึน้ จะเปล่ียนเปน็ เหง้าคล้ายขิง กระดกู สันหลังคด น. ภาวะทกี่ ระดูกสนั หลังมี สรรพคุณบ�ำรุงร่างกาย ขับลม เป็นสมุนไพร ความโค้งในแนวซ้ายหรือขวาผิดปรกติ สู่ความเป็นเลิศ (product champion) นอกจากน้ี อาจบิดหรือหมุนออกไปจาก ในแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนา แนวเดิมของกระดูกสันหลัง. (อ. scoliosis). สมุนไพรไทย ฉบบั ท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔). กระดาษขม้ิน น. กระดาษขาวที่น�ำมาจุ่มลง กระดกู สันหลังคดตง้ั แตก่ �ำเนดิ น. ภาวะกระดูก ในน�้ำขม้ิน ซ่ึงได้จากการละลายขมิ้นผง สันหลังคดที่เกิดมาจากความผิดปรกติ ๑ ช้อนชา ในแอลกอฮอล์หรือเหลา้ ขาว ๑๐ ระหว่างการเจริญ ความผิดปรกติของผนัง ชอ้ นชา แล้วน�ำมาตากให้แห้ง ใช้เปน็ อุปกรณ์ ช่องอก หัวใจ รวมทั้งระบบขับถ่ายและ ในการน�ำมาตรวจหาสารบอแรกซ์ ถ้ามีสาร ระบบสืบพนั ธ์.ุ (อ. congenital scoliosis). บอแรกซ์ปลอมปนกระดาษขมิ้นจะเปล่ียน เปน็ สนี ำ้� ตาลทันท.ี กระดูกสันหลังคดเน่ืองจากความผิดปรกติของ กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน น. หัวกระดูกของ กลา้ มเนื้อ น. ภาวะกระดกู สันหลังคดทเ่ี กดิ กระดูกต้นขาหลุดออกมาจากเบ้าสะโพก จากโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เน่ืองจากกล้าม ซึ่งลกั ษณะการหลุดมี ๒ แบบ คือ ขอ้ สะโพก เน้ือบริเวณหลังไม่สามารถยึดกระดูกสันหลัง หลุดไปด้านหน้า (anterior dislocation) ไว้ได้ กระดกู สนั หลงั จึงคด หรือเกดิ จากโรคอ่นื ๆ และข้อสะโพกหลุดไปด้านหลัง (posterior เช่น เนื้องอกของกระดูก เนื้องอกของ dislocation). ไขสันหลัง อาการหมอนรองกระดูกสันหลัง กระดกู แขง้ โกง่ แตก่ �ำเนิด น. โรคของขาและเขา่ เคล่อื น ฯลฯ. ในเดก็ แบง่ ออกเปน็ การโกง่ ดา้ นหนา้ ออกนอก และการโก่งด้านหลังเขา้ ใน. (อ. congenital กระดูกสันหลังเส่ือม น. โรคกระดูกสันหลัง bowing of tibia). ทกุ สว่ น คอื ส่วนคอ หลงั อก หรือเอว จะมี อาการปวดหลัง สาเหตุเกิดจากการเส่ือม สภาพตามอายุขัย การเล่นกีฬา อุบัติเหตุ ภาวะกระดูกคดงอผิดรูปแต่ก�ำเนิด หรือจาก กระดกู สันหลังตดิ เชอ้ื . (อ. spondylosis). 6 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

กระบวนการงบประมาณแผน่ ดิน กระต่ายนวดตัว น. เครื่องมือนวดชนิดหนึ่ง หรือการบังคับ การใช้อ�ำนาจครอบง�ำผิด ใช้ส�ำหรับใช้นวดหลัง นวดตัว ท�ำจากไม้ ท�ำนองคลองธรรมให้บุคคลต้องกระท�ำ/ กลึงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ไม่กระท�ำหรือยอมรับการกระท�ำอย่างหนึ่ง ๖ เซนติเมตร จำ� นวน ๔ ลกู เชื่อมด้วยแกน อย่างใดโดยมิชอบ. เหล็ก แยกเป็น ๒ คู่ ยาวประมาณ ๑๘ กระท�ำรนุ แรงทางร่างกาย ก. ใช้ก�ำลัง และ/หรือ เซนติเมตร ตรงกลางเจาะเป็นช่องไว้ส�ำหรับ อุปกรณ์ใด ๆ เป็นอาวุธท�ำร้ายร่างกายอย่าง มือจบั . รุนแรง. กระทุ้งพษิ ไข ้ (พท.) ก. ท�ำให้พษิ ไขแ้ สดงออกมา กระติกวัคซีน น. อุปกรณ์ท่ีใช้ในการขนส่ง ภายนอกร่างกายโดยใชย้ า เช่น ยาเบญจโลก- วัคซีนได้ช่ัวคราวเหมือนหีบเย็น แต่มีขนาด วเิ ชียร ยาเขียว. เล็กกว่า และเก็บความเย็นได้อย่างน้อย ๒๔ ชว่ั โมง. (อ. vaccine carrier). กระตุน้ พัฒนาการ ก. ประเมินเดก็ ทมี่ พี ัฒนาการ กระบวนการ น. ข้นั ตอนโดยลำ� ดบั มีจุดเริ่มต้น ไม่สมวัยและกระตุ้นด้วยคู่มือประเมิน และจดุ ส้นิ สดุ เกิดได้ ๒ รูปแบบ คอื เป็นขน้ั พัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง ๕ ปี TDSI/DSI ตอนการเปลี่ยนแปลงท่ีเป็นไปตามล�ำดับ ตามกรอบแนวคิดการส่งเสริมพัฒนาเด็ก ตามธรรมชาติ หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติ แรกเกิดถงึ ๕ ป.ี ที่ส่ิงใดส่ิงหน่ึงค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงอย่าง เป็นระบบ และเป็นกิจกรรมข้ันตอนการ กระทรวง น. ส่วนราชการเหนือทบวง กรม ด�ำเนินงาน หรอื แนวทางปฏบิ ัตงิ านที่ก�ำหนด ท่มี หี วั หนา้ เป็นรฐั มนตรีวา่ การ เช่น กระทรวง ไว้แน่นอน และมีความต่อเน่ืองกันอันก่อให้ สาธารณสุข ระบบราชการอังกฤษเรียกว่า เกิดผลลพั ธต์ ามเปา้ หมาย. (อ. process). ministry ระบบราชการอเมริกาเรียกว่า department มีหัวหน้าเป็นรัฐมนตรีว่าการ กระบวนการของการรับรู้ น. กระบวนการที่ ระบบราชการอังกฤษเรียกว่า minister คาบเกย่ี วกนั ระหวา่ งเร่อื งความเขา้ ใจ การคดิ ระบบราชการอเมริกาเรียกว่า secretary. การร้สู กึ ความจ�ำ การเรียนรู้ และการตัดสนิ ใจ. ส่วนราชการหนึ่งในราชการบริหารส่วนกลาง (อ. process of recognition). ซ่งึ มปี ลดั กระทรวงเป็นหวั หน้าส่วนราชการ. กระบวนการงบประมาณแผ่นดิน น. กระทำ� รุนแรง ก. กระท�ำหรือละเวน้ ไม่กระท�ำ กระบวนการท่ีเป็นล�ำดับข้ันตอนเกี่ยวกับ โดยเจตนาด้วยประการใด ๆ จนเป็นเหตุให้ การก�ำหนดแผนความต้องการในการจัดท�ำ บุคคลเส่ือมเสียเสรีภาพหรือเกิดอันตรายแก่ งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี เริ่มตั้งแต่การ ร่างกาย จิตใจหรอื การกระทำ� ความผดิ ทางเพศ ทบทวนผลการด�ำเนินงานของหน่วยงาน นอกจากน้ี ยังรวมถึงการกระทำ� ท่ีมุ่งประสงค์ ท่ีผ่านมา การจัดท�ำกรอบวงเงินในระดับ ใหเ้ กิดอนั ตรายแกร่ า่ งกาย จติ ใจ และสุขภาพ มหภาค การเสนอของบประมาณรายจ่าย กระทรวงสาธารณสขุ 7

กระบวนการตกผลึก ของหน่วยงานต่าง ๆ ไปจนถึงข้ันท่ีรัฐบาล ออกแบบและปฏิบัติการ ทดสอบ ปรับปรุง แถลงรายงานการรับจ่ายเงินประจ�ำปีต่อ แก้ไข และประเมินผล. (อ. technological รัฐสภาเพ่ือเสนอรัฐสภาพิจารณาอนุมัติและ process). ตราเป็นพระราชบัญญัติประกาศเป็นกฎหมาย กระบวนการนโยบายสาธารณะ น. กระบวนการ ใช้เป็นกรอบในการบริหารและติดตาม ท่ีบุคคล กลุ่มคน เครือข่าย และหน่วยงาน ประเมนิ ผลงบประมาณรายจา่ ยประจ�ำปี, วธิ ี ท่ีเก่ียวข้องในสังคมร่วมกันทบทวน ก�ำหนด การงบประมาณ กว็ า่ . (อ. budget process นโยบาย และร่วมผลักดันไปสู่การปฏบิ ัติเพ่อื หรือ budget procedure). ให้สังคมโดยรวมได้รับประโยชน์มากที่สุด กระบวนการตกผลึก น. กระบวนการแยกสาร และน�ำไปสู่สังคมสุขภาวะท่ีก�ำหนดร่วมกัน. ออกจากของผสมท่ีเป็นของเหลว เป็นวิธีหนึ่ง (อ. public policy process). ทใี่ ช้แยกสารและท�ำสารให้บริสุทธิ์ โดยสารท่ี กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน น. แยกได้จะอยู่ในรูปผลึกของแข็งแบบต่าง ๆ ข้ันตอนเพ่ือให้ผู้ตรวจสอบภายในสามารถ ข้ึนอยู่กับสภาวะท่ีใช้ในการตกผลึก เช่น ปฏิบัติงานตรวจสอบได้อย่างม่ันใจและได้ ตัวท�ำละลาย อุณหภูมิ ความเข้มข้นของ ผลงานท่ีมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน ของเหลว อัตราการลดของอุณหภูมิ. การตรวจสอบภายใน. (อ. internal audit (อ. crystallization). process). กระบวนการตรวจวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ กระบวนการแปรรูปสมนุ ไพร น. กระบวนการ น. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เตรียมตัวอย่างสมุนไพรเพื่อให้เกิดการ และการรวบรวมวัตถุตัวอย่างตามความ เปล่ียนแปลงทางกายภาพและทางเคมี จ�ำเป็นในการตรวจ ตรวจซ้�ำ ตรวจยืนยัน ท�ำให้เกิดผลการรักษาตรงตามความต้องการ ตรวจวิเคราะห์เพิ่มเติม เพ่ือประโยชน์ ซึ่งครอบคลุมต้ังแต่กระบวนการแปรรูป ในการสอบสวนโรคทางการแพทย์และการ สมุนไพรเบ้ืองต้น เช่น การท�ำความสะอาด สาธารณสขุ หรอื เพ่อื ประโยชน์ทางอรรถคด.ี การหั่น การท�ำให้แห้ง และการแปรรูป กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ น. กระบวนการ สมุนไพรโดยวิธีเฉพาะ เช่น การค่ัว การน่ึง พื้นฐานที่น�ำไปใช้เพ่ือให้ได้มาซึ่งความรู้ทาง การใช้น้�ำกระสายยา การสะตุ การประสะ วิทยาศาสตร์ โดยมีการท�ำงานเป็นระบบ การเคี่ยว การต้ม การสกดั . อย่างมขี น้ั ตอน. (อ. scientific process). กระบวนการพยาบาล น. กระบวนการแก้ไข กระบวนการเทคโนโลยี น. การแกป้ ญั หาหรอื ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยอาศัยหลักการ ความต้องการของมนุษย์อย่างเป็นขั้นตอน และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และเป็น ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย ก า ร ก� ำ ห น ด ป ั ญ ห า ห รื อ องค์ประกอบสำ� คญั ของระบบทจี่ ะจัดการกบั ความต้องการ รวบรวมข้อมูล เลือกวิธีการ ปัจจัยน�ำเขา้ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์ทีด่ คี ือคณุ ภาพ 8 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

กระบวนการเอโอ การพยาบาลท่ีพึงปรารถนา กระบวนการ และให้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ พยาบาลจึงเป็นพื้นฐานส�ำคัญ ซึ่งหลักการ เป็นไปอย่างครบถ้วนรอบด้านให้มากท่ีสุด. ของกระบวนการพยาบาลประกอบด้วย (อ. public scoping). ๕ ข้ันตอนคือ ๑) การประเมินปัญหาและ กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ความตอ้ งการ ๒) การวนิ จิ ฉยั ทางการพยาบาล และผู้มีส่วนได้เสียในการทบทวนร่าง ๓) การวางแผนการพยาบาล ๔) การปฏบิ ตั ิ รายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม การพยาบาล ๕) การประเมินผลการปฏิบัติ และสุขภาพ น. การทบทวนร่างรายงาน การพยาบาล. การศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้าน กระบวนการพัฒนาอนามัยชุมชน น. การน�ำ ส่ิงแวดล้อมและสุขภาพโดยสาธารณะ กระบวนการพยาบาลและกระบวนการ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเปิดโอกาสให้ประชาชน พัฒนาชุมชนมาประยุกต์เป็นกระบวนการ ผู้มีส่วนได้เสีย และหน่วยงานที่เก่ียวข้องจะ ปฏิบัติงานของพยาบาลอนามัยชุมชนเพ่ือ ไดม้ ารว่ มกันตรวจสอบ “ความถูกต้อง” และ การพัฒนาอนามัยชุมชน มี ๕ ขั้นตอน คือ “ความครบถว้ น” ของ “ข้อมลู และข้อสรปุ ” ๑) การประเมินชุมชน (community ในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม assessment) ๒) การวนิ ิจฉัยปัญหาอนามยั และสุขภาพ รวมถงึ นำ� เสนอขอ้ มลู ข้อเทจ็ จริง ชุมชน (community diagnosis) ๓) การ และขอ้ คิดเหน็ . (อ. public review). วางแผนแก้ปัญหาอนามัยชมุ ชน (community กระบวนการสร้างเซลล์ไข่ น. กระบวนการ planning) ๔) การปฏิบัติตามแผนงาน เปล่ียนแปลงภายในรังไข่ของสัตว์เพื่อสร้าง (community implementation) ๕) การ เ ซ ล ล ์ ไ ข ่ ซ่ึ ง เ ป ็ น เ ซ ล ล ์ สื บ พั น ธุ ์ เ พ ศ เ มี ย . ประเมินผลแผนงานโครงการ (community (อ. oogenesis). evaluation). กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน กระบวนการสรา้ งและสลาย ดู เมแทบอลิซึม. และผู้มีส่วนได้เสียในการก�ำหนดขอบเขต กระบวนการสร้างอสุจิ น. กระบวนการ และแนวทางการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม และสุขภาพ น. การก�ำหนดขอบเขตและ เปล่ียนแปลงภายในอัณฑะของสัตว์เพื่อ แนวทางการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สร้างตัวอสุจิซ่ึงเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้. และสุขภาพโดยสาธารณะ มีวัตถุประสงค์ (อ. spermatogenesis). เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชน ผู้มีส่วนได้เสีย กระบวนการเอโอ น. กระบวนการทางชวี ภาพ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจะได้มาร่วมกัน ท่ีใช้จุลินทรีย์เป็นตัวก�ำจัดสารประกอบ ต้ังประเด็นค�ำถาม ขอ้ สงสยั และข้อห่วงกังวล ฟอสฟอรัสในน�้ำเสีย ประกอบด้วยข้ันตอน เกี่ยวกับผลกระทบทางสุขภาพท่ีอาจจะเกิด ขาดอากาศ (anoxic) สลับกับการใช้อากาศ ข้ึนจากการด�ำเนินโครงการ เพอ่ื เปน็ ประเดน็ (oxic). (อ. Ao Process). สำ� คญั ในการวเิ คราะห์และจัดทำ� รายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 9

กระบวนทัศน์ กระบวนทัศน ์ น. กรอบความคิดหรือแนวทาง กระเพาะปัสสาวะอักเสบ น. โรคที่เกิดจาก ทัว่ ไปท่ใี ชร้ ับรู้ ท�ำความเข้าใจ และสรปุ ส่ิงใด กระเพาะปัสสาวะติดเชือ้ แบคทเี รยี โดยร้อยละ ส่ิงหน่ึง เมื่อใดก็ตามท่ีมีการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ๗๕-๙๕ เกิดจากเชื้ออีโคไล พบในผู้หญิง ก็จะเกิดการเปล่ียนแปลงครั้งย่ิงใหญ่. (อ. มากกว่าผู้ชายเพราะท่อปัสสาวะของผู้หญิง paradigm). ส้ันกว่าของผู้ชายมาก. (อ. cystitis หรือ lower urinary tract infection). กระบวนทัศน์ทางสุขภาพ น. กรอบความคิด หรือแนวทางทั่วไปท่ีใช้ในการมองเร่ืองสุขภาพ กระเพาะอาหารอักเสบ น. การอักเสบ บวม แดง เป็นทัศนะแม่บทที่ก�ำหนดวิธีคิด วิธีปฏิบัติ ของเยอื่ เมือกบภุ ายในกระเพาะอาหาร พบได้ การให้ความหมายและให้คุณค่าต่อเรื่อง ในทุกเพศทุกวยั . (อ. gastritis). สุขภาพของบุคคลหรือสงั คมนนั้ . (อ. health paradigm). กระษยั , กระไษย,์ กระไสย, ไกษย ดู กษัย. กระบอกฉีดยาผ่านผิวหนังปราศจากเช้ือ น. กระษริ , กระเษียร, ดู เกษยี ร. เคร่ืองมือแพทย์ที่ต้องมีใบอนุญาตชนิดหน่ึง กระสาย, กระสายยา (พท.) น. เคร่อื งแทรกยา ท่ีผ่านกรรมวิธีทําให้ปราศจากเชื้อแล้ว ใช้ ส�ำหรับฉีดสารหรือยาเข้าร่างกาย, เข็มฉีดยา เช่น น�้ำ เหล้า น้�ำผึ้ง น�้ำดอกไม้ ในทาง กว็ ่า. (อ. hypodermic syringe). เภสัชกรรมแผนไทยใช้แทรกยาเพ่ือช่วยให้ กินยาง่ายขึ้น เสริมฤทธิ์ของยาให้มีสรรพคุณ กระบอกฉีดอินซูลินปราศจากเช้ือชนิดใช้ ดีข้ึน หรือเพ่ือช่วยให้ปรุงเป็นรูปแบบยา คร้ังเดียว น. อุปกรณ์สําหรับใช้ฉีดอินซูลิน ท่ีต้องการ หากเป็นของเหลวมักเรียก เข้าสู่ร่างกาย ผ่านกรรมวิธีทําให้ปราศจาก นำ้� กระสาย หรอื นำ�้ กระสายยา. เชอ้ื แล้ว และให้ใชง้ านเพียงครง้ั เดยี ว. กระแสประสาท น. ปฏกิ ิรยิ าที่เกดิ ต่อเนอื่ งเป็น ล�ำดับกันไปตามความยาวของใยประสาท กระบอกปัสสาวะ น. อุปกรณ์ทางการแพทย์ เม่ือมีส่ิงเร้ามากระตุ้นจะมีผลท�ำให้ร่างกาย ประเภทหนง่ึ ใชส้ �ำหรบั ใสป่ ัสสาวะเพื่อตรวจ สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้อย่างถูกต้อง. โรค มีทงั้ แบบนอนและแบบตัง้ . (อ. nerve impulse). กราโนลา น. อาหารสุขภาพของชาวตะวันตก กระผู้สูงอายุ น. รอยสีน้�ำตาลเข้มท่ีผิวหนัง ชนิดหนึ่ง จัดเป็นได้ทั้งอาหารเช้าหรือขนม จากการโดนแสงแดดมาเป็นเวลายาวนาน กินเล่น ประกอบไปด้วยข้าวโอ๊ต ถ่ัว น�้ำผ้ึง พบได้มากในผู้สูงอายุ ปริมาณจะมากขึ้น ผสมเขา้ ด้วยกันและอบจนกรอบ บางคร้งั ก็มี ตามอายุ และมักไม่จางหายไป. (อ. senile การเพิม่ ผลไมแ้ ห้งลงไปด้วย. (อ. granola). lentigo, lentigo senilis, solar lentigo หรือ sun-induced freckle). 10 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

กลยทุ ธ์ระดบั องค์กร กรนี บุคกรมวิทยาศาสตร์การแพทย ์ น. หนงั สือ เป็นรูปธรรม มีการประเมินประสิทธิภาพ ท่ีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จัดท�ำข้ึน ในด้านตา่ ง ๆ A: Activity คือ สรา้ งกิจกรรม เพื่อรวบรวมรายชื่อผลิตภัณฑ์ยาคุณภาพ เพื่อสร้างจิตส�ำนึกอย่างมีส่วนร่วม และ N: และผู้ผลิต โดยคัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาที่มี Network คือ ความร่วมมอื กับภาคีเครอื ข่าย คุณภาพผ่านเกณฑ์ตามมาตรฐานสากล ชุมชน และท้องถ่ิน มีการขยายผลการ ที่ระบใุ นตำ� รายาฉบบั ปัจจุบนั และด�ำเนนิ การ ด�ำเนินงานสู่สถานบริการสาธารณสุขและ ตรวจวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ยาหลัง หน่วยงานอื่น ๆ ตอ่ ไป. ออกสู่ท้องตลาดภายใต้ช่ือโครงการประกัน กลยุทธ์มองจากนอกสู่ใน น. กลยุทธ์ที่มอง คณุ ภาพยา. (อ. Green book). เครือข่ายภาคีเป็นตัวต้ัง คือองค์กรจะไม่ใช่ ผู้ก�ำหนดเป้าหมายหรือโครงการขึ้นมาเอง กลไก น. ส่งิ ทีท่ �ำให้ระบบขับเคลื่อน หรอื ด�ำเนิน แตจ่ ะให้ความสำ� คญั กับการพูดคุย ค้นหาปัญหา อยู่ได.้ (อ. mechanism). หรือความต้องการที่แท้จริงของเครือข่ายก่อน แล้วจึงพิจารณาว่าจะช่วยเหลือ สนับสนุน กลยุทธ์ น. การวางแผนงานสู่การปฏิบัติ หรือประสานความร่วมมือกับเครือข่าย เพ่ือบรรลุเป้าหมาย ภายใต้การวิเคราะห์ อย่างไร, กลยุทธ์มองจากมุมเครือข่ายภาคี สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมหรอื การวิเคราะห์ กว็ ่า. (อ. outside-in). เชิงกลยุทธ์ (SWOT analysis) กล่าวคือ กลยุทธ์มองจากในสู่นอก, กลยุทธ์มองจาก การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และ มุมขององคก์ รเปน็ ตัวต้ัง น. กลยทุ ธท์ ่มี อง ภัยคุกคาม (อุปสรรค) ในกรอบระยะเวลา องค์กรเป็นศูนย์กลาง คือให้ความส�ำคัญกับ ท่ีต้องการ ท้ังน้ี เพื่อประกอบการวางแผน เป้าหมายขององค์กรเป็นหลัก โดยพิจารณา ในการใช้วิธีการและทรัพยากร เพื่อให้บรรลุ จากภารกิจขององค์กรว่ามีอะไรบ้าง แต่ละ เปา้ หมายสงู สุด. (อ. strategy). ภารกิจมเี ป้าหมายเพอ่ื อะไร อาจมีการวิเคราะห์ จุดออ่ น จดุ แข็ง ขององค์กร ทบทวนบทเรียน กลยทุ ธ์คลนี น. หลักในการด�ำเนนิ การอย่างมี ที่ผ่านมา โดยเน้นสถานการณ์และบริบท ส่วนร่วม ประกอบด้วย C: Communication ภายในองค์กรเป็นส�ำคัญ จากน้ันจึงก�ำหนด คอื การส่ือสารสาธารณะเพื่อสร้างความเขา้ ใจ แผนงาน โครงการ วิธีการ และตัวชี้วัด สร้างกระแสความรู้ เกิดความตระหนักและ เพ่อื บรรลเุ ปา้ หมายอย่างชดั เจน. (อ. inside เกดิ ความร่วมมอื ในการด�ำเนนิ การ L: Leader out). คือ สร้างบทบาทน�ำเพื่อเป็นตัวอย่างในการ กลยุทธ์มองจากมุมเครือข่ายภาคี ดู กลยุทธ์ ด�ำเนินงาน โดยผู้บริหาร หรือหัวหน้างาน มองจากนอกสใู่ น. หรือผู้ที่เป็นแกนหลักในการด�ำเนินงาน และ กลยุทธ์ระดับองค์กร น. การก�ำหนดขอบเขต ขยายผลสู่องคก์ รในภาพรวม E: Effectiveness คือ ด�ำเนินงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในโรงพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพด้วย กิจกรรม GREEN อย่างต่อเน่ืองและเกิดผล กระทรวงสาธารณสขุ 11

กล้องจลุ ทรรศน์ และแนวทางขององค์กรในระยะยาวเพื่อที่จะ กลับเป็นซ�้ำของวัณโรค น. ผู้ป่วยที่เคยรักษา บรรลุวัตถุประสงค์สูงสุด มีความเก่ียวเน่ือง วัณโรคด้วยสูตรยาแนวที่ ๑ และได้รับ และสอดคล้องของความพยายามในการ การประเมินในคร้ังล่าสุดว่ารักษาหาย หรือ ปรับปรุงคุณภาพกับเป้าหมายทางกลยุทธ์ รักษาครบแล้ว และกลับมารักษาอีกครั้ง และแผนกลยุทธ์ขององค์กร ตลอดจนการ โดยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นวัณโรคดื้อยา. ปรบั พนั ธกจิ และกลยทุ ธ์ใหเ้ หมาะสม หวังผล (อ. relapse). ในระยะยาวและเสริมสร้างภาวะผู้น�ำใน องค์กร. (อ. organization strategy). กล้ามเน้ือเสื่อมสภาพ น. โรคกล้ามเน้ือชนิด กล้องจุลทรรศน์ น. อุปกรณ์ท่ีใช้ส่องดูวัตถุ หนึ่งเกิดจากเซลล์กล้ามเนื้อเสื่อมโดยท่ีไม่ ขนาดเล็กซึ่งมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นหรือเห็น เกี่ยวข้องกับระบบประสาทและไขสันหลัง ไม่ชดั   โดยขยายภาพของวตั ถุให้มขี นาดใหญ่ ปจั จุบันยงั ไมม่ กี ารรักษาใหห้ ายขาด แตใ่ ห้การ ข้ึนและช่วยให้เห็นรายละเอียดเพิ่มข้ึน. รักษาตามอาการ เชน่ ใสอ่ ุปกรณช์ ว่ ยพยุงเดนิ . (อ. microscope). กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์เดี่ยว น. กล้ามเนอื้ ออ่ นแรงเอ็มจ ี น. โรคภมู ติ า้ นตนเอง กล้องจุลทรรศน์ท่ีประกอบด้วยเลนส์อัน แบบเรอ้ื รังชนิดหน่งึ ท่สี ง่ ผลให้กล้ามเน้อื ลาย เดียวส่องดูวัตถุ  แต่มีก�ำลังขยายสูงกว่าแว่น ซึ่งคือ กล้ามเนื้อภายนอกร่างกายที่ใช้ในการ ขยายธรรมดา. (อ. single lens microscope). เคลอ่ื นไหวต่าง ๆ เกดิ ออ่ นแรงจนไมส่ ามารถ กลอ้ งยานตั ถ์ุ (พท.) น. อปุ กรณ์นดั ยาเขา้ จมกู ท�ำงานหดตัวได้ตามปรกติ ทั้งน้ีอาการมัก โดยทั่วไปมักท�ำเป็นหลอดโลหะโค้งรูปตัวยู เกิดหลังจากที่กล้ามเนื้อมัดน้ันท�ำงานซ�้ำๆ ดา้ นสั้นใชอ้ มเพ่อื เปา่ ดา้ นยาวใช้สอดเขา้ รูจมกู . แตห่ ากพกั การใช้งาน อาการกลา้ มเน้อื อ่อนแรง จะดีข้ึน และกล้ามเนื้อจะฟื้นตัวกลับมา ท�ำงานได้เป็นปรกติ. [อ. myasthenia gravis (MG)]. กลอบุลิน น. โปรตีนชนิดหน่ึง ไม่ละลายน้�ำ กล้ามเน้ืออักเสบ น. ภาวะหรือกลุ่มโรคของ แต่ละลายในสารละลายของเกลือท่ีเจือจาง กล้ามเน้ือลายเกิดการอักเสบ ในระยะแรก โปรตีนชนิดน้ีเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญของ กล้ามเนื้อจะอักเสบ บวม ปวด ถ้ามีอาการ นำ�้ เลอื ดและไข่แดง. (อ. globulin). อยู่นานกล้ามเนื้อมัดนั้นจะลีบลงจนท�ำงาน ไม่ได้ โรคน้ียังไม่ทราบสาเหตุ อาจเกิดจาก กล่อมทอ้ ง (พท.) น. วธิ กี ารนวดอย่างหนง่ึ ใช้ ความผิดปรกตทิ างพนั ธุกรรม. (อ. myositis). กับผู้หญิงในระหว่างต้ังครรภ์ไตรมาสสุดท้าย โดยผู้นวดใช้ฝ่ามือนวดบริเวณท้องช่วยใน กลิ่นบำ� บดั ดู สคุ นธบำ� บดั . การดูแลครรภ์และช่วยให้คลอดง่าย, นวด กลีเซอรอล น. สารประกอบอินทรีย์พวก กล่อมท้อง ก็เรยี ก. แอลกอฮอล์ชนิดหน่ึง มีสูตรเคมี C3H8O3 12 พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

กลุ่มบ้านหรือหม่บู ้านท่หี ยุดการแพรเ่ ช้ือ เป็นของเหลวข้น ไม่มีสี มีจุดเดือด ๒,๙๐o สขุ ภาพแหง่ ชาต.ิ (อ. constituency). องศาเซลเซียส ละลายน�ำ้ ได้  เปน็ องค์ประกอบ กลุ่มช่วยเหลือตนเอง น. กลุ่มบคุ คลทม่ี ารวมกนั ส�ำคัญของไขมนั หรือนำ�้ มัน เรยี กอีกชอื่ หนึง่ วา่ กลีเซอริน ใช้ในอุตสาหกรรมท�ำยา เครื่อง ด้วยความสมัครใจ มีความสนใจเพื่อแลกเปลี่ยน ส�ำอาง สบู่ เปน็ ตน้ . (อ. glycerol). เรียนรู้การดูแลตนเองและให้ความช่วยเหลือ กลีเซอไรด์ น. เอสเตอร์ชนิดหน่ึง เกิดจาก ซ่ึงกันและกัน ร่วมกันแก้ไขปัญหาสุขภาพ ปฏิกิริยาระหว่างกลีเซอรอลกับกรดอินทรีย์. ความพิการ หรอื ปัญหาชวี ติ ที่มรี ว่ มกัน. (อ. self (อ. glyceride). help group). กลมุ่ คนท่มี คี วามหลากหลายทางเพศ น. กลุ่มคน กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย น. ผู้ชาย ท่ไี ม่ใช่กลุ่มรักตา่ งเพศ ประกอบด้วย เลสเบยี น ท่ีมีเพศสัมพันธ์กับผู้ชายด้วยกัน รวมถึง เกย์ ไบเซ็กชวล และคนข้ามเพศ. [อ. lesbian, สาวประเภทสอง. [อ. men who have sex gay, bisexual, transgender หรอื transsexual with men (MSM)]. (LGBT, GLBT)]. กลุ่มดัชนีสุขภาพดี ดูท่ี ดัชนีความคาดหวัง กลุ่มควบคุมเชิงบวก น. กลุ่มท่ีคาดหวังว่า ดา้ นสขุ ภาพ ปรากฏการณ์ท่ีเป็นผลจะเกิดขึ้น ซ่ึงท�ำให้ กลุ่มนโยบายต่างประเทศและสุขภาพโลก น. มั่นใจได้ว่า จะมีผลต่างเมื่อควรจะมีผลต่าง ความร่วมมือของประเทศที่ให้ความส�ำคัญ เช่น ท�ำการทดสอบโดยเติมเชื้อจุลินทรีย์ลง ต่อการทูตเพื่อสาธารณสุข ก่อต้ังเม่ือ พ.ศ. ไปแล้วพบว่าจุลินทรีย์ท่ีเติมลงไปสามารถ ๒๕๔๙ มสี มาชิกจ�ำนวน ๗ ประเทศจากทุก เจรญิ เติบโตได้ เพื่อใชเ้ ปรยี บเทียบกบั ผลทไ่ี ด้ ภูมิภาค ได้แก่ นอร์เวย์ ฝรั่งเศส บราซิล ในกลมุ่ ทดลอง. (อ. positive control). อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เซเนกัล และไทย กลุ่มควบคุมเชิงลบ น. กลุ่มท่ีคาดหวังว่า จะ ด�ำเนินการเสนอร่างข้อมติในการประชุม ไม่มีปรากฏการณ์ที่เป็นผลเกิดขึ้น ซ่ึงท�ำให้ สมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญ และผลัก มน่ั ใจไดว้ า่ ไม่มผี ลต่างเม่ือไม่ควรจะมีผลตา่ ง ดันแนวทางแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่ส�ำคัญ ในการทดสอบ เช่น ท�ำการทดสอบแล้วต้อง ผ่านเวทีการประชุมระดับโลก. [อ. Foreign ไม่พบการเจริญเติบโตของเช้ือจุลินทรีย์ใน Policy and Global Health (FPGH)]. อาหารเล้ยี งเช้ือ. (อ. negative control). กลุ่มบ้านหรือหมู่บ้านท่ีหยุดการแพร่เช้ือ น. กลุ่มเครือข่าย น. กลุ่มคน กลุ่มองค์กร กลุ่ม กลุ่มบ้านหรือหมู่บ้านท่ีไม่มีผู้ป่วยติดเชื้อ หน่วยงาน หรือกลุ่มเครือข่าย ที่ได้จัดรวม ในหมู่บ้านแล้ว แต่ยังไม่ครบ ๓ ปีติดต่อกัน เป็นกลุ่มประเภทเดียวกัน หรือในพ้ืนท่ี หรือเรียกแทนว่าพ้ืนท่ีเอ ๒ (A2 area). เดียวกัน เพ่ือการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสมัชชา (อ. residual non active foci). กระทรวงสาธารณสุข 13

กลมุ่ บ้านหรอื หมู่บ้านแพรเ่ ชื้อ กลุ่มบ้านหรือหมู่บ้านแพร่เชื้อ น. กลุ่มบ้าน กลุ่มสมองพิการ น. สภาวะความผิดปรกติ หรือหมู่บ้านท่ีมีผู้ป่วยติดเช้ือในหมู่บ้านในปี ของท่าทางและการเคล่ือนไหว ซึ่งเกิดจาก ปัจจุบัน หรือเรียกแทนว่า พื้นท่ีเอ ๑ (A1 พยาธิสภาพในสมอง ในช่วงท่ีสมองก�ำลัง area). (อ. active foci). เจรญิ เติบโต ภายใน ๘ ปีแรกเทา่ นัน้ เด็กจะมี ความผิดปรกติทางการเคลื่อนไหวของกล้าม กลมุ่ บา้ นหรอื หมบู่ า้ นไมม่ กี ารแพรเ่ ชอื้ -เสยี่ งตำ�่ เน้ือปาก แก้ม ลิ้น ใบหน้า แขน ขา มีการ น. กลมุ่ บ้านหรือหม่บู ้านทไี่ ม่มีผปู้ ว่ ยตดิ เชื้อใน พัฒนาของปฏิกริยาตอบสนองต่าง ๆ ของ หมบู่ า้ นอยา่ งน้อย ๓ ปีตดิ ต่อกัน และไมพ่ บ ร่างกายผิดปรกติ ไม่เป็นไปตามวัย และมี ยุงพาหะ หรือมีสภาพภูมิประเทศไม่เหมาะ ปฏิกิริยาตอบสนองต่อการกระตุ้นเอ็นหรือ สมต่อการแพร่พันธุ์ของยุงพาหะหลักหรือยุง กล้ามเนื้อผิดปรกติ ท�ำให้มีกล้ามเน้ือหดส้ัน พาหะรอง โดยพืน้ ท่ีน้จี ะนบั รวมพ้ืนท่ีท่ีมกี าร และดึงให้ข้ออยู่ในลักษณะงอหรือผิดรูป. ผสมผสานงานเข้าสู่ระบบสาธารณสุขทั่วไป (อ. cerebral palsy). แลว้ หรอื เรียกแทนว่า พืน้ ที่บี ๒ (B2 area). (อ. cleared foci but not receptive). กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม น. หน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเป็นการภายในของ กลุ่มบ้านหรือหมู่บ้านไม่มีการแพร่เชื้อ-เส่ียง ส�ำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข มหี น้าท่ี สูง น. กลุ่มบ้านหรือหมู่บ้านที่ไม่มีผู้ป่วย รับผิดชอบในการด�ำเนินการทางวินัย การ ติดเช้ือในหมู่บ้านอย่างน้อย ๓ ปีติดต่อกัน อุทธรณ์ การร้องทุกข์ และการเสริมสร้าง และส�ำรวจพบยุงพาหะหลักหรือยุงพาหะรอง และพัฒนาให้เจ้าหน้าทม่ี ีวนิ ยั คณุ ธรรม และ ตวั เต็มวยั หรอื ลูกนำ�้ หรือมีสภาพภมู ิประเทศ จรยิ ธรรม. เหมาะสมต่อการแพร่พันธุ์ของยุงพาหะหลัก หรือยุงพาหะรอง หรอื เรยี กแทนวา่ พ้นื ทบ่ี ี ๑ กลุ่มเส่ียงต่อภาวะมลพิษ น. ประชาชนท่ีอยู่ (B1 area). (อ. cleared foci but receptive). ในพ้ืนที่มลพิษแพร่กระจายไปถึง พื้นท่ีเส้น ทางการขนส่ง และพ้ืนที่กิจกรรมโครงการ กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม น. การจัดกลุ่มโรคตาม โดยค�ำนึงถึงกลุ่มเด็ก ๐-๕ ปี หญิงตั้งครรภ์ ชนิดโรคและรูปแบบการรักษาท่ีสอดคล้อง ผู้พิการ ผู้สงู อายุ และกลุ่มไวตอ่ การรบั สัมผัส. กับทรัพยากรที่สถานพยาบาลใช้ไปในการให้ บริการแต่ละคร้ัง ประกอบด้วยการวินิจฉัย กลุ่มอาการของทารกท่ีเกิดจากมารดาท่ีด่ืม โรคหลัก โรคร่วม โรคแทรกซ้อน การท�ำ แอลกอฮอล์ น. ทารกในครรภ์มารดาท่ีดื่ม หัตถการในห้องผ่าตัด อายุ ประเภทการ แอลกอฮอล์ปริมาณมากระหว่างตั้งครรภ์ จ�ำหน่ายผู้ป่วย จ�ำนวนวันนอนโรงพยาบาล แอลกอฮอลส์ ามารถผ่านรกไปถงึ ทารก ท�ำให้ โดยมีการค�ำนวณเป็นค่าน้�ำหนักสัมพัทธ์ การเจริญเติบโตช้าลง น�้ำหนักน้อย มลี กั ษณะ ใช้เป็นข้อมูลส�ำหรับการจ่ายเงินชดเชยให้แก่ เฉพาะ เห็นได้จากใบหน้า สมองและเซลล์ หนว่ ยบรกิ ารตามระบบประกันสุขภาพต่าง ๆ. ประสาทถูกท�ำลาย ซ่ึงอาจทำ� ให้มีปญั หาทาง [อ. diagnosis related groups (DRGs)]. พฤติกรรมและทางจิตได้ รวมทั้งอาจท�ำให้ 14 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

กษัย เกดิ ความผดิ ปรกติอ่ืน ๆ ทางรา่ งกาย ผลกระทบ (อ. glucose). ส�ำคัญท่ีสุดของกลุ่มอาการน้ีคือความเสียหาย กลูเทน น. โปรตีนชนดิ หนงึ่ พบมากในแป้งสาลี อย่างถาวรต่อระบบประสาทส่วนกลาง โดย เฉพาะสมอง เซลลส์ มอง และโครงสร้างของ และข้าวบาร์เลย์ กลูเทนเป็นโปรตีนที่สร้าง สมองที่ก�ำลังพัฒนาอาจมีการเจริญผิดรูป ความเหนียวให้กับก้อนแป้ง เกิดมาจากการ หรือหยุดชะงักลงเมื่อได้รับแอลกอฮอล์ รวมตัวของกลูเทนิน และไกลอะดิน โดย ขณะอยู่ในครรภ์ ซึ่งท�ำให้มีความพิการ พันธะไดซัลไฟด์มีลักษณะเหนียว ยืดหยุ่น ทางการนึกคิดและการท�ำงานของสมองได้ และไมล่ ะลายน้ำ� . (อ. gluten). เช่น ความจ�ำไม่ดี สมาธิส้ัน ก้าวร้าว ขาด กลูแทมนี น. กรดแอมโิ นทจี่ ำ� เปน็ และเปน็ กรด เหตุผล และอาจน�ำไปสู่ปัญหาต่อเนื่อง เช่น แอมิโนที่มีมากที่สุดในร่างกาย จุดเด่นคือ เพิ่มความเส่ียงของโรคทางจิต ติดยา การได้ ช่วยลดอาการอ่อนล้าของกล้ามเน้ือ. (อ. รับแอลกอฮอล์ไม่ว่าระยะใดของการตั้งครรภ์ glutamine). ล้วนมีความเสี่ยงต่อพัฒนาการทางสมอง กวาดยา (พท.) ก. เอายาป้ายในปาก คอ ล้ิน ท้ังสิ้น เพราะสมองมีการพัฒนาตลอดการ ของทารกและเด็ก โดยใช้น้ิวหมุนโดยรอบ ตั้งครรภไ์ ม่วา่ ระยะใด ๆ. [อ. fetal alcohol มกั ใช้นวิ้ ชี้. syndrome (FAS)]. กวาวเครือ น. ชอื่ สมุนไพรควบคมุ ตามประกาศ กล่มุ อาการไข้เลอื ดออก น. กล่มุ อาการไข้เลอื ดออก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้แก่ ๑) ส่วนใหญ่จะเกิดจากเช้ือไวรัส แต่ละชนิดมัก กวาวเครือขาว ชอ่ื วทิ ยาศาสตรว์ ่า Pueraria จะพบในภูมิภาคแตกต่างกันไป การติดต่อ candollei Graham & Benth. var. mirifica มักจะมีพาหะน�ำโรคเป็นสัตว์ เช่น แมลง. (Airy Shaw & Suvatabhandhu) Niyomdham (อ. hemorrhagic fever syndrome). และ Pueraria candollei Graham & กลุม่ อาการดาวน ์ ดู ดาวนซ์ นิ โดรม. Benth. var. candollei วงศ์ Leguminosae- กลูคากอน น. ฮอร์โมนท่สี ร้างจากเซลล์แอลฟา Papilionoideae ๒) กวาวเครือแดง ของไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์  มีหน้าท่ี ชือ่ วิทยาศาสตรวา Butea superba Roxb. กระตุ้นไกลโคเจนในตับให้สลายตัวเปน็ กลโู คส. วงศ Leguminosae-Papilionoideae (อ. glucagon). และ ๓) กวาวเครือดํา ช่ือวิทยาศาสตรวา กลูโคซามีน น. สารซง่ึ ปรากฏเป็นปรกตใิ นเนือ้ เยือ่ Mucuna macrocarpa Wall. วงศ์ เกอื บทกุ ชนิดในร่างกาย. (อ. glucosamine). Leguminosae-Papilionoideae. กลูโคส น. น�้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว มีสูตรเคมี กษัย (พท.) น. โรคกลมุ่ หนงึ่ เกดิ จากความเสอ่ื ม C6H12O6 พบในผลไม้ น้�ำผึ้ง และเลือด. หรือความผิดปรกติของร่างกายจากความ เจ็บป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาหรือรักษาแล้ว กระทรวงสาธารณสุข 15

กษีร ไม่หาย ทำ� ให้ร่างกายซบู ผอม กล้ามเนือ้ และ การแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.) สนับสนุนและ เส้นเอ็นรัดตึง โลหิตจาง ผิวหนังซีดเหลือง ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ไม่มีแรง มือเท้าชา เป็นต้น ต�ำราการแพทย์ เพ่ือก�ำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรดังกล่าว แผนไทยแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ๆ ตาม เป็นผู้ด�ำเนินงานและบริหารจัดการระบบ สาเหตุของการเกิดโรค คือ กษัยที่เกิดจาก การแพทยฉ์ ุกเฉิน ในระดับท้องถน่ิ หรือพนื้ ท.่ี ธาตสุ มุฏฐาน (มี ๘ ชนิด ไดแ้ ก่ กษัยกล่อน (อ. emergency medical fund). ๕ ชนิด กบั กษยั น�้ำ กษยั ลม และกษยั เพลงิ ) กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ น. กบั กษัยที่เกดิ จากอปุ ปาตกิ ะโรค (มี ๑๘ ชนดิ หน่วยงานภายใต้สหประชาชาติ ที่ให้ความ ได้แก่ กษัยล้น กษัยราก กษัยเหล็ก กษัยปู ช่วยเหลือในการแกป้ ัญหาด้านประชากรของ กษัยจุก กษัยปลาไหล กษัยปลาหมอ กษัย โลก. [อ. United Nations Population ปลาดกุ กษัยปลวก กษัยลิ้นกระบือ กษัยเต่า Fund (UNFPA)]. กษัยดาน กษยั ทน้ กษยั เสยี ด กษัยเพลิง กษยั กองทนุ ฟ้นื ฟสู มรรถภาพ (กฎ) น. กองทุนฟืน้ ฟู น้ำ� กษัยเชือก และกษัยลม), เขียนวา่ กระษัย สมรรถภาพท่ีจ�ำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด กระไษย์ กระไสย หรือ ไกษย ก็ม.ี ท่ีองค์การบริหารส่วนจังหวัดร่วมกับส�ำนักงาน กษีร, กษีรรส, กษีรามพู ดู เกษียร. ห ลั ก ป ร ะ กั น สุ ข ภ า พ แ ห ่ ง ช า ติ จั ด ตั้ ง ข้ึ น กสค. ดูท่ี แกนนำ� สุขภาพประจ�ำครอบครัว. เพ่ือเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุนส่งเสริม และ กอง (พท.) น. สมุหนามและลกั ษณนามท่ใี ช้กับ พัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพท่ีจ�ำเป็น ธาตุสมุฏฐานหรือโรค เช่น กองปถวีธาตุ ต่อสุขภาพของหน่วยบริการ สถานบริการ กองหทัย กองปิตตะ กองโรค กองไข้ ไฟ องคก์ ร และชุมชน. ๔ กอง ลม ๖ กอง ฯลฯ. กองทุนยาประจ�ำหมู่บ้าน น. หน่วยบริการใน กองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน (กฎ) น. กองทุน หมู่บ้าน จัดต้ังโดยประชาชนในพื้นท่ีภายใต้ ท่ีจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการแพทย์ การสนับสนุนของกระทรวงสาธารณสุข เพ่ือ ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๓๓ ให้บริการยาสามัญประจ�ำบ้านกับประชาชน มีวัตถุประสงค์เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ในพน้ื ท่ี ตามหลักการสาธารณสขุ มูลฐาน. ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ท้ังนี้ โดยค�ำนึงถึง กองทุนโลกเพ่ือต่อสู้โรคเอดส์ วัณโรค และ ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร ฉุ ก เ ฉิ น ใ น เ ข ต พื้ น ท่ี ห รื อ มาลาเรีย น. กองทุนพิเศษจัดตั้งโดย ภูมิประเทศท่ีไม่มีผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติ สหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อช่วย การ หรือสถานพยาบาลเพียงพอ และ การด�ำเนินงานป้องกันและควบคุมเอดส์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการมีบทบาทตาม วัณโรค และมาลาเรีย ท่ีด�ำเนินการในแต่ละ ความพรอ้ ม ความเหมาะสม และความจำ� เปน็ ประเทศให้มปี ระสทิ ธิภาพ. [อ. The Global ของประชาชนในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการ Fund to Fight AIDS, Tuberculosis and 16 พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

กะเทย Malaria (GFATM)]. กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น ท้องถ่ินแห่งพ้ืนที่ น. องค์กรปฏิบัติในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต หรือพื้นท่ี (กฎ) น. กองทุนหลักประกัน องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบล/เทศบาล และเปน็ สุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อการ หน่วยเผชิญเหตุเมื่อเกิดสาธารณภัยข้ึน สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกนั โรค การฟ้นื ฟู ในพืน้ ท.ี่ สมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับ ปฐมภูมิเชิงรุก ที่จ�ำเป็นต่อสุขภาพและการ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ด�ำรงชีวิต โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อำ� เภอ น. องค์กรปฏิบัติในการปอ้ งกันและ ท่ีได้รับการสนับสนุนให้ด�ำเนินงานและ บรรเทาสาธารณภัยในเขตอ�ำเภอ และท�ำ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพใน หน้าที่ช่วยเหลือจังหวัดในการป้องกันและ ระดับทอ้ งถ่ินหรือพ้ืนที.่ บรรเทาสาธารณภัย. กองทุนหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาต ิ (กฎ) น. กอ้ นเสา้ (พท.) น. กอ้ นดิน ก้อนอฐิ หรือกอ้ นหิน กองทุนท่ีจัดต้ังข้ึนในส�ำนักงานหลักประกัน เป็นต้น ท่ีเอามาต้ังต่างเตาในการอยู่ไฟของ สุขภาพแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น ชาวบ้าน บางถ่ินใช้ก้อนเส้าเผาไฟให้พออุ่น ค่าใช้จ่าย สนับสนนุ และส่งเสริมการจดั บริการ ห่อผ้า ประคบบริเวณหน้าท้องและหัวหน่าว สาธารณสุขของหน่วยบริการ เพื่อให้บุคคล ของมารดาหลงั คลอดเพ่ือใหม้ ดลูกเข้าอ.ู่ สามารถเข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้ อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ การจ่ายเงิน กอบ, กอบมือ (พท.) ๑. ก. เอามือ ๒ ข้างรวบ ก อ ง ทุ น โ ด ย ค� ำ นึ ง ถึ ง ก า ร พั ฒ น า บ ริ ก า ร ส่ิงของเข้ามาจนนิ้วก้อยของมือชิดกันแล้ว สาธารณสุขในเขตพ้ืนที่ท่ีไม่มีหน่วยบริการ ยกขึน้ . ๒. น. เรยี กของทีก่ อบขนึ้ ครง้ั หน่ึง ๆ เพียงพอหรือมีการกระจายของหน่วยบริการ ว่า กอบหนึ่ง. ๓. ลักษณนามเรียกปริมาณ อย่างไม่เหมาะสม ประกอบด้วย แหล่งท่ีมา ของของท่ีกอบขึ้นมาเชน่ นน้ั เช่น ๒ กอบ. ของเงนิ กองทนุ ๘ แหล่ง คือ ๑) เงนิ ท่ไี ดร้ ับ จากงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ๒) เงินที่ กะเทย น. ๑. คนที่เกิดเป็นชายโดยก�ำเนิด ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่มีลักษณะภายนอกหรือการแสดงออก ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ ๓) เงินที่ได้รับจาก พฤติกรรมเหมือนผู้หญิง. ๒. คนท่ีมีอวัยวะเพศ การด�ำเนินการให้บริการสาธารณสุขตาม ทั้งเพศชายและเพศหญิงอยู่ในคนเดียวกัน พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ห รื อ มี อ วั ย ว ะ เ พ ศ สั ง เ ก ต จ า ก ภ า ย น อ ก ๔) เงินค่าปรบั ทางปกครองตามพระราชบัญญัตนิ ้ี แบบก�้ำก่ึง บอกไม่ได้แน่ชัดว่าชายหรือหญิง ๕) เงินหรือทรัพย์สินท่ีมีผู้บริจาคหรือมอบ (hermaphrodite). ๓. แต่เดิมใช้เรียกผู้ที่มี ให้แก่กองทุน ๖) ดอกผลหรือผลประโยชน์ จิตใจเป็นเพศตรงข้าม (transsexual) ที่เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน ทั้งจากชายเป็นหญิง และจากหญิงเป็นชาย ๗) เงินหรอื ทรัพยส์ นิ ใด ๆ ท่กี องทุนได้รบั มา แต่ในปัจจุบันใช้เรียกเฉพาะคนข้ามเพศ ในกจิ การของกองทนุ ๘) เงนิ สมทบอ่ืนตามที่ จากชายเปน็ หญิงเท่าน้ัน. กฎหมายบญั ญัต.ิ กระทรวงสาธารณสุข 17

กักกนั กกั กัน ก. จำ� กัดกิจกรรมของคนหรือสัตวท์ ไี่ มม่ ี มีรสเผ็ดร้อนตากแห้งแล้วใช้เป็นเครื่องเทศ อาการ แตส่ ัมผัสกับผูต้ ดิ เชอ้ื ในระยะแพรเ่ ช้ือ และทํายา.  เพื่อป้องกันการแพร่เช้ือในช่วงท่ียังไม่มีอาการ หรือในระยะฟักตัว หากมีการติดเช้ือของคน กาเฟอีน น. สารประกอบอินทรีย์ประเภท หรอื สัตว์. พิวรีน มีสูตรเค มี ใCน8ใHบ1ช0Oา 2 Nเ ม4 ลักษณะ เป็นผลึกสีขาว มี ล็ดกาแฟ กัญชา (พท.) น. พืชที่มีช่ือวิทยาศาสตร์ว่า เป็นยาเสพติดอย่างอ่อน มีฤทธ์ิอย่างแรง Cannabis sativa L. ในวงศ์ Cannabaceae ต่อหัวใจ ใชใ้ นการแพทย์. (อ. caffeine). เป็นไม้ล้มลุก ใบมนแฉกลึกเข้าไปทางก้าน หลายแฉก ดอกสีเขียว ช่อดอกเพศผู้และ กามโรค น. โรคทต่ี ิดตอ่ กันไดโ้ ดยการประกอบ ช่อดอกเพศเมยี อย่ตู ่างต้นกนั ใบและช่อดอก กามกจิ . เพศเมยี ท่แี ห้งเรยี ก กะหลี่กัญชา ใชส้ ูบปนกบั ยาสบู มสี รรพคุณทำ� ใหม้ นึ เมา เปลือกลำ� ต้น กายภาพบำ� บัด (กฎ) น. การกระทำ� ต่อมนุษย์ ใชท้ �ำเชอื กปา่ น และทอผ้า. เก่ยี วกับการตรวจประเมิน การวินิจฉยั และ การบ�ำบัดความบกพร่องของร่างกายซึ่งเกิด กัวนีน น. เบสที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ  เนื่องจากภาวะของโรคหรือการเคล่ือนไหวท่ี มีสูตรเคมี (Cอ5.Hg5uNa5nOineม)ีอ. ยู่ในดี เ อ็นเอแ ละ ไม่ปรกติ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน อาร์เอ็นเอ. การแก้ไข และการฟื้นฟูความเส่ือมสภาพ ความพิการของร่างกายและจิตใจด้วยวิธีการ กากกมั มันตรงั สี (กฎ) น. สงิ่ หนง่ึ สงิ่ ใดที่ประกอบ ทางกายภาพบำ� บดั หรอื การใช้เคร่อื งมอื หรือ หรือปนเปื้อนด้วยสารกัมมันตรังสีและไม่เป็น อุปกรณ์ที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็นเคร่ืองมือ ประโยชน์ในการใช้งาน. (อ. radioactive อุปกรณก์ ายภาพบำ� บดั . (อ. physical therapy waste). หรือ physiotherapy). กากน�้ำตาล น. ของเหลวข้นคล้ายน�้ำเชื่อม กายอุปกรณ์ (กฎ) น. การกระท�ำต่อร่างกาย มีสีน�้ำตาลเข้ม  เป็นของเหลือจากการ มนุษย์เก่ียวกับการตรวจประเมินความพิการ ตกผลึกแยกเอาน�้ำตาลบางส่วนออกแล้วใน การผลิตอุปกรณ์เสริมหรืออุปกรณ์เทียม กระบวนการผลิตน้�ำตาลทรายจากอ้อย ภายนอกร่างกายส�ำหรับใช้ทดแทนส่วนของ ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอล ผงชูรส ร่างกายที่สูญหายหรือบกพร่องด้านระบบ เปน็ ต้น. (อ. molass). ประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก ตามท่ี ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้วินิจฉัยสั่งการ กานพล ู น. พชื ท่มี ีชือ่ วิทยาศาสตรว์ ่า Syzygium รกั ษา. aromaticum (L.) Merr. & L.M. Perry ในวงศ์ Myrtaceae เป็นไม้ต้น ดอกตูม การกรอง น. วิธีที่ใช้แยกของแข็งออกจาก 18 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

การกล่ัน ของเหลวโดยที่ของแข็งไม่ละลายอยู่ใน ๒. เครื่องมือส�ำคัญของการปฏิรูประบบ ของเหลว หรือแยกของแข็งท่ีละลายน�้ำและ สุขภาพไปสู่ระบบใหม่ท่ีประชาชนพึ่งตนเอง ไม่ละลายน้ำ� ซึ่งปนอยดู่ ว้ ยกัน. ได้ มคี วามเข้มแขง็ มีระบบทเ่ี นน้ การป้องกัน การกระจายความเส่ยี ง ดู การโอนความเสยี่ ง. โรคและปัจจัยกระทบสุขภาพอย่างรอบด้าน การกระจายเช้ือบนจานเพาะเชื้อ น. วิธีการ มีนโยบายสาธารณะที่ประชาชนมีส่วนร่วม แยกเชื้อจุลินทรีย์ให้บริสุทธ์ิเพ่ือการนับจ�ำนวน มีระบบหลักประกันสุขภาพท่ีคุ้มครอง โคโลนีหรือกลุ่มของแบคทีเรีย โดยการใช้ ประชาชนอย่างท่ัวถึง เกิดความเป็นธรรม แท่งแก้วงอที่ฆ่าเช้ือด้วยวิธีเผาไฟแล้ว เกลี่ย ในการได้ใช้ประโยชน์จากบริการสาธารณะ เช้ือที่ท�ำเป็นสารละลายไว้ใส่ลงบนอาหาร โดยท่ีระบบบริหารจัดการมีคุณภาพและ เลี้ยงเชื้อ ท�ำให้เช้ือกระจายบนอาหารเลี้ยง ประสทิ ธภิ าพ. เช้ือและเป็นการท�ำให้เซลล์แยกออกจากกัน การกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้า น. การปล่อย หลังจากน�ำไปบ่ม เช้ือจะแยกเป็นโคโลนี กระแสไฟฟ้าผ่านผนังทรวงอกเข้าสู่กล้าม เดี่ยว ๆ. (อ. spread plate). เน้ือหัวใจด้วยเคร่ืองกระตุกหัวใจในกรณีท่ี หวั ใจหยดุ เตน้ . (อ. defibrillating). การกระจายอายุ น. การกระจายประชากร การกระตุ้นให้ก�ำลังใจ น. การให้ความม่ันใจ จ�ำแนกตามปีเกดิ หรือกลมุ่ อายุ เช่น ๐-๔ ปี หรือความหวังตอ่ บุคคล. (อ. encouraging). ๕-๙ ปี ๑๐-๑๔ ป.ี (อ. age distribution). การกระท�ำการพยาบาล น. พฤติกรรม การกระจายอายุเสถียรภาพ น. การกระจาย ของพยาบาลในการปฏิบัติ. (อ. nursing อายุของประชากรท่ีมีอัตราเพิ่มคงที่และ action). สัดส่วนของประชากรในแต่ละกลุ่มอายุคงท่ี. (อ. stable age distribution). การกระท�ำรุนแรง น. ปฏิกิริยาของพฤติกรรม ก้าวร้าวท่ีแสดงออกด้วยการท�ำร้ายหรือ การกระจายอายุเม่ือแรกเริ่ม น. การกระจาย ทำ� ลายโดยตรง ซ่ึงเป็นอันตรายต่อตนเอง ผูอ้ ืน่ อายุนับจากจุดเร่ิมต้นก่อนจะเข้าสู่การกระจาย หรือทรัพย์สินได้ เช่น การท�ำลายข้าวของ อายุทอี่ ยู่คงท่ไี ม่เปล่ยี นแปลง. (อ. initial age การทำ� รา้ ยรา่ งกาย. (อ. violence). distribution). การกลั่น น. การแยกของเหลวผสมของสาร การกระจายอ�ำนาจด้านสุขภาพ น. ๑. วิธีการ ๒ ชนิด หรือมากกว่า โดยอาศัยจุดเดือดของ ของการปฏิรูประบบสุขภาพของหลายประเทศ สารที่ต่างกัน เม่ือให้ความร้อนจนของเหลว ด้วยฐานความเช่ือที่ว่าอาจชักน�ำให้เกิด ผสมกลายเปน็ ไอบางสว่ น แลว้ ทำ� ใหอ้ ณุ หภมู ิ การเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพท่ีดีข้ึนในด้าน ต่�ำลง ไอของสารนั้นจะควบแน่นกลับมาเป็น คุณภาพ ประสิทธภิ าพ และความเป็นธรรม. ของเหลวอีกคร้ัง โดยสารที่มีจุดเดือดต�่ำจะ กระทรวงสาธารณสขุ 19

การกลาย เดอื ดเป็นไอออกมาก่อน. ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีความโปร่งใส การกลาย, การกลายพันธ์ ุ น. การเปล่ยี นแปลง และเปน็ ธรรม. (อ. governance). การก�ำกับดูแลการวิจัยทางคลินิก น. การ ทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต เกิดจากการ ด� ำ เ นิ น ก า ร เ พ่ื อ ติ ด ต า ม ค ว า ม ก ้ า ว ห น ้ า เปลี่ยนแปลงโครโมโซม หรือเกิดจากการ ของการวิจัยทางคลินิก เพ่ือให้ม่ันใจว่า เปล่ียนแปลงของเบสในสายอาร์เอ็นเอหรือ การด�ำเนินการวิจัย การบันทึก และ ดีเอ็นเอ, มิวเทชนั ก็เรียก. (อ. mutation). การรายงาน เป็นไปตามโครงร่างการวจิ ัย วธิ ี การกวาดลา้ งโรค น. การลดอบุ ัตกิ ารณ์การตดิ เชอ้ื ดำ� เนินการมาตรฐาน การปฏบิ ตั ิการวิจยั ทาง ของโรคใดโรคหนึ่งให้หมดไปอย่างถาวรทั่วโลก คลินิกท่ีดี และข้อก�ำหนดของระเบียบ โดยไม่จ�ำเป็นต้องอาศัยกระบวนการใด ๆ กฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ ง. อีก. (อ. eradication). การก�ำจดั โรค น. การลดอุบัตกิ ารณก์ ารติดเชอื้ การก่อให้เกิดการเจ็บครรภ์ น. การชักน�ำให้ ของโรคใดโรคหนึ่งให้หมดไปในพื้นที่ โดย เกิดการเจ็บครรภ์คลอดในขณะท่ียังไม่มีการ อาศัยความพยายามต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง. เจ็บครรภ์คลอดจริงเกิดข้ึน ไม่ว่าถุงน้�ำคร่�ำ (อ. elimination). จะแตกหรอื ไมก่ ต็ าม. การก�ำจัดโรคไข้มาลาเรีย น. การด�ำเนินงาน การกักกันผู้ติดเชื้อ น. การจ�ำกัดการเดินทาง ก�ำจัดการแพร่เช้ือมาลาเรียไม่ให้เกิดขึ้น ของผู้สัมผัสโรคจนกว่าจะแน่ใจว่าไม่มีการ ในท้องท่ี แต่ไมไ่ ด้หมายความวา่ ไมใ่ ห้มผี ู้ป่วย ป่วยเกิดขึ้น การกักกันต้องระมัดระวัง มาลาเรีย หรือต้องก�ำจัดยุงพาหะน�ำเช้ือ ไม่กระท�ำมากจนเกินเหตุด้านมนุษยธรรม มาลาเรียให้หมดไปจากท้องที่นั้น แต่หากมี หรือกระทบต่อเศรษฐกิจ. (อ. quarantine ผู้ป่วยมาลาเรียเข้ามา ต้องมีมาตรการค้นหา of exposed person). สกัดกั้น และป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่เชื้อ การกํากับดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศ น. อย่างตอ่ เนือ่ ง. กระบวนการที่สร้างความมั่นใจว่าระบบ การก�ำหนดประเด็นการตรวจสอบ น. การ เทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน ได้มี ก�ำหนดความเสี่ยงในเรื่องท่ีมีนัยส�ำคัญต่อ ส่วนสนับสนุนวัตถุประสงค์และยุทธศาสตร์ ผลการด�ำเนินงานของส่วนราชการ ที่อาจ ของหน่วยงานน้ัน. (อ. information ท�ำให้ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย technology governance). ของแผนงาน/โครงการ. การกำ� กับดแู ล (กฎ) น. กระบวนการดำ� เนนิ งาน การกนิ อาหารสมดุล น. การกนิ อาหารใหค้ รบ เพ่ือก�ำกับดูแลและควบคุมให้การปฏิบัติงาน ทุกประเภทและให้ได้ปริมาณสารอาหาร ของหน่วยงานต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างมี ครบถ้วนตามสัดส่วนท่ีร่างกายต้องการ. (อ. 20 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

การเกย่ี วข้องของชุมชน balanced diet). สายงานและระดบั ตำ� แหน่ง จากสว่ นราชการ การเก็บรักษาเชื้อจุลินทรีย์โดยวิธีไลโอฟิไลเซชัน หนงึ่ ไปยงั อกี สว่ นราชการหนง่ึ ภายในกระทรวง ในกรณีทั้งพร้อมตัวผู้ครองต�ำแหน่ง หรือ น. การเก็บรักษาจุลินทรีย์ในระยะเวลานาน ต�ำแหน่งท่ีไม่มีตัวผู้ครองต�ำแหน่ง, การตัด นบั ๑๐ ปี โดยการน�ำเช้อื มาเล้ียงในอาหารวุ้น โอนตำ� แหนง่ กว็ า่ . เมื่อเชื้อเจริญดีแล้วจึงผสมของเหลวตัวกลาง การเกิดพอลเิ มอร ์ ดู พอลเิ มอไรเซชนั . เช่น ซีรัมม้า นมขาดมันเนย จากน้ันถ่าย การเกิดมคี ณุ ภาพ น. การเกดิ ท่มี กี ารวางแผน สารแขวนลอยของเชื้อเล็กน้อยใส่ในหลอด มีความต้ังใจ และครอบครัวมีความพร้อม แอมพูลท่ีมีฉลากเช้ืออยู่ภายใน น�ำเข้าเคร่ือง ในทุกด้าน น�ำไปสู่การคลอดท่ีปลอดภัย ท�ำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง (lyophilizer) ทารกแรกเกิดมีสุขภาพแข็งแรง พร้อมท่ีจะ ซ่ึงจะท�ำให้เช้ืออยู่ในสภาพเย็นจัด (-๓๐ เจรญิ เตบิ โตอยา่ งมีคณุ ภาพ. องศาเซลเซียส) และแข็งตัวในสภาพสุญญากาศ การเกิดมีชีพ น. การท่ีทารกคลอดออกมา การปฏิบัติต้องท�ำภายใต้สภาพปลอดเชื้อ มีการหายใจหรือแสดงอาการที่บ่งช้ีว่ามีชีวิต ทุกข้นั ตอน. เช่น การเต้นของหวั ใจ การเตน้ ของเสน้ โลหิต การเก็บรักษาเช้ือจุลินทรีย์ในหลอดอาหาร การเต้นของสายสะดือหรือการเคลื่อนไหว เลีย้ งเชือ้ น. การเกบ็ รกั ษาจลุ นิ ทรียใ์ นระยะ ของร่างกาย ไมว่ า่ จะเปน็ การคลอดโดยวิธีใด เวลาอันสั้น โดยการน�ำเชื้อมาเลี้ยงใน ก็ตาม และไม่ค�ำนึงถึงระยะเวลาของการ หลอดอาหาร เม่ือเชื้อเจริญสูงสุดและเข้าสู่ ตั้งครรภ.์ (อ. live birth). ระยะท่ีจะตายลง ก็จะต้องถ่ายเชื้อสู่ การเกิดไร้ชพี น. การท่ีทารกคลอดออกมาหลงั หลอดอาหารหลอดใหม่ ซึ่งระยะท่ีจะต้อง จากการตั้งครรภ์ไม่ต่�ำกว่า ๒๘ สัปดาห์ ถ่ายเชื้อแต่ละครั้งจะแตกต่างกันออกไป แล้วไม่แสดงอาการของการมีชีวิต, การตาย แล้วแต่ชนิดของจุลินทรีย์และชนิดของ คลอด หรือ การตายปริก�ำเนิด ก็เรียก. อาหารท่ีใช้ ซ่ึงอาจแตกต่างกันต้ังแต่ ๑ (อ. still birth). สปั ดาห์ ถงึ ๖ เดือน. (อ. subculture). การเกี่ยวขอ้ งของชุมชน น. การมสี ่วนร่วมของ การเก็บอาหาร น. การเก็บอาหารทุกชนิด ประชาชนในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอ ท้ังก่อนการบริโภคและอาหารที่เหลือหลัง แนะแนวทางท่ีนำ� ไปส่กู ารตัดสินใจ เช่น การ บริโภค เพ่ือเก็บไว้บริโภคม้ือต่อไป โดยไม่ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือพิจารณาประเด็น ท�ำให้อาหารเน่าเสียหรือถูกปนเปื้อนด้วย นโยบาย มาตรการสาธารณะ ประชาพิจารณ์ ฝุ่นละออง สารเคมี เช้ือโรค และป้องกัน การจดั ตง้ั คณะทำ� งาน เพ่อื เสนอแนะประเด็น การถกู รบกวนจากสัตว์และแมลงน�ำโรค. นโยบายหรือมาตรการตา่ ง ๆ. (อ. involve). การเกล่ียอัตราก�ำลัง น. การตัดโอนต�ำแหน่ง และอัตราเงินเดือน โดยไม่เปล่ียนประเภท กระทรวงสาธารณสขุ 21

การเกี่ยวเน่ืองกบั เพศ การเกี่ยวเน่ืองกับเพศ น. การถ่ายทอดลกั ษณะ ค่าตอบแทนที่ก�ำหนดขึ้นส�ำหรับข้าราชการ ทางพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนที่อยู่บน ที่ได้รับการแต่งตั้งและปฏิบัติหน้าที่หลัก โครโมโซมเพศเท่านัน้ . (อ. sex-linkage). ในต�ำแหนง่ ที่ ก.พ. กำ� หนด. การแก้ไขความผิดปรกติของการสื่อความหมาย การขัดกันแห่งผลประโยชน์ น. การท่ีนักวิจัย (กฎ) น. การแก้ไขการพูดและการแก้ไขการ หรือกรรมการมีส่วนได้เสียกับโครงการวิจัย ได้ยิน เป็นการกระท�ำต่อมนุษย์เก่ียวกับการ ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบ ๑) ที่เป็นตัวเงิน ตรวจประเมิน การวินิจฉัยและการบ�ำบัด เชน่ การเปน็ ผูร้ ว่ มทนุ ถือครองห้นุ การได้รับ ความผิดปรกติของการพูดและการสื่อภาษา ประโยชนต์ อบแทน หรอื ๒) ความเกี่ยวข้อง การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน การแก้ไข ทีเ่ ปน็ รปู แบบท่ีไมใ่ ช่ตวั เงนิ เช่น ความเกีย่ วข้อง และการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการพูดและ ทางสายเลือด การสมรส ความสมั พันธแ์ ละ/ ความสามารถทางการส่ือภาษา ด้วยวิธีการ หรืออคติส่วนตัว เช่น เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษา แก้ไขการพูดหรือการใช้เครื่องมือหรือ หรือกรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือ อุปกรณ์ทางการแก้ไขการพูด รวมทั้ง ผู้ทรงคุณวุฒิในการพัฒนาเครื่องมือวิจัย. การติดตามผล. (อ. conflict of interest). การขจดั เชื้อโรค น. การทำ� ให้บางสิ่งบางอย่าง การขับถ่าย น. การก�ำจัดสารพิษหรือของเสีย ปราศจากจุลชีพท่ีก่อโรค. (อ. disinfecting). ที่เกิดจากการเมแทบอลิซึมออกจากเซลล์ หรอื ร่างกายของสง่ิ มชี ีวิต. (อ. excretion). การขยายเวลาพ�ำนกั ในราชอาณาจกั รไทย น. การขยายระยะเวลาพ�ำนักในราชอาณาจักรไทย การขาดอาหารชนิดแสดงอาการ น. การขาด แก่กลุ่มพ�ำนักในระยะยาว ตามมาตรการ สารอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียว โดยมีอาการจ�ำเพาะแสดงให้เห็น เช่น เกล็ด เชิงส่งเสริมสุขภาพ (Medical Wellness กระดี่จากการขาดวิตามินเอ ปากกระจอก Tourism) จากเดิม ๑ ปี ขยายเปน็ ๑๐ ปี. จากการขาดวิตามนิ บี ๒ เลอื ดออกตามไรฟัน จากการขาดวติ ามนิ ซ.ี (อ. clinical nutritional การขริบหนังหุ้มปลาย น. การผ่าตัดเพื่อเอา deficiency). หนังหุ้มปลายของอวัยวะสืบพันธุ์ชายออกไป โดยมีจุดประสงค์เพื่อการรักษาความสะอาด การขดี เชื้อในจานเพาะเชอื้ น. วิธีการแยกเชือ้ ท่ีง่ายขึ้น หรือการผ่าตัดเพื่อผู้ท่ีมีหนังหุ้ม จุลินทรีย์ให้บริสุทธ์ิ เป็นเทคนิคพ้ืนฐานทาง หนาเกินไปจนไม่สามารถเปิดออกเองได้และ จุลชีววิทยาที่นิยมท�ำกันมากท่ีสุดวิธีหน่ึง เกิดความเจ็บปวดเวลาอวัยวะเพศแข็งตัว. โดยการน�ำเชื้อผสมมาลากบนผิวอาหารด้วย (อ. circumcision). ลวดเข่ียเชื้อ โดยลากวนไปวนมาให้ยาวที่สุด เท่าที่จะท�ำได้ เพือ่ ให้ในตอนท้าย ๆ เช้ือหลดุ การขอรับเงินประจำ� ตำ� แหน่ง น. การขอรับเงิน แยกออกจากกันและเรียงตัวอยู่ห่าง ๆ กัน 22 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

การคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล ซึ่งเชื้อเหล่านี้จะเจริญเป็นโคโลนีท่ีมาจาก ความส�ำคัญต่อการวัดผลการวิจัยทางคลินิก เซลล์เดยี ว กลายเปน็ เช้ือบรสิ ุทธิ.์ (อ. streak ได้ ผู้ใดกต็ าม (เชน่ หนว่ ยงานควบคุมระเบยี บ plate). กฎหมายจากทั้งภายในและภายนอกประเทศ, การข้ึนของฟัน น. การงอกของฟันตามอายุ ผู้ก�ำกับดูแลการวิจัยของผู้ให้ทุนวิจัย, และ เริ่มจากฟันน�้ำนมซ่ีแรกขึ้นเมื่อเด็กมีอายุ ผู้ตรวจสอบการวิจัย) ที่ได้รับอนุญาตให้เข้า เฉลีย่ ๖ เดือน และทยอยข้ึนจนครบเม่อื เดก็ ถึงข้อมูลโดยตรง ควรระมัดระวังอย่างเต็มที่ อายุ ๒๘-๓๒ เดอื น หลังจากน้นั ฟันน้ำ� นมจะ ภ า ย ใ ต ้ ก ร อ บ ข ้ อ ก� ำ ห น ด ข อ ง ร ะ เ บี ย บ เริ่มหลุดร่วงไปเพ่ือให้ฟันแท้ขึ้นมาแทนท่ีเมื่อ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือรักษาความลับเร่ือง เด็กมีอายุประมาณ ๖ ปี และถูกแทนที่ด้วย เ อ ก ลั ก ษ ณ ์ ข อ ง อ า ส า ส มั ค ร แ ล ะ ข ้ อ มู ล ฟันแท้ท้ังหมดเมื่อเด็กอายุประมาณ ๑๒ ปี ผลิตภัณฑข์ องผ้ใู ห้ทนุ วจิ ยั โดยเคร่งครัด. และฟันกรามซ่ีที่ ๓ ซึ่งเป็นซ่ีท้ายสุดมีช่วง การเขา้ ถึงบริการสขุ ภาพท่ีเปน็ มิตร น. การเขา้ ระยะเวลาการขึ้นตั้งแต่อายุ ๑๘-๒๕ ปี. ถึงบริการส่งเสริม ป้องกัน รักษาพยาบาล (อ. eruption). และฟ้ืนฟู ท้งั ทางร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และ การข้ึนทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเช้ือ สังคมที่ครอบคลุมประเด็นส�ำคัญ โดยค�ำนึง รายใหม่ น. การตรวจผู้ป่วยวัณโรคเสมหะ ถงึ การรกั ษาความลับ ความเป็นสว่ นตวั และ ที่พบเชื้อรายใหม่และบันทึกผลการตรวจ ความครบวงจร ผา่ นชอ่ งทางต่าง ๆ เชน่ การ ในทะเบียนห้องปฏิบัติการชันสูตรหรือระบบ เข้ารับบริการที่คลินิก สายดว่ น ไลน์ เฟสบ๊คุ คอมพวิ เตอร์ของหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร. โทรศัพทผ์ ้ใู หก้ ารปรกึ ษา. การข้ึนทะเบียนหน่วยบริการ (กฎ) น. การ การเข้าสู่ระบบบริการ น. การเข้ารับบริการ บริหารจัดการเพื่อให้สถานบริการมีสถานะ ตรวจรักษา โดยอาจได้รับการตรวจหรือยัง เป็นหน่วยบริการ ตามพระราชบัญญัติหลัก ไมต่ รวจกไ็ ด.้ (อ. recruit). ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยมี การแข็งตัวของเลือด น. กระบวนการสร้าง กระบวนการต่าง ๆ ได้แก่ การรับสมัคร ไฟบรินอุดรอยฉีกขาดของหลอดเลือดบริเวณ เพ่ือขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการ การตรวจ บาดแผล ท�ำให้เลือดหยุดไหล. (อ. blood ประเมินสถานบริการหรือหน่วยบริการ clotting). การจัดประเภทหน่วยบริการตามผลการ การคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล น. การท่ี ตรวจประเมิน และการประกาศข้ึนทะเบียน พยาบาลมีความพึงพอใจและเต็มใจในการ เปน็ หนว่ ยบริการแต่ละประเภท. ปฏิบัติงานการพยาบาล มีความต้องการอยู่ การเข้าถึงข้อมูลโดยตรง น. การได้รับอนุญาต ในหน่วยงานเดิม โดยไม่คิดท่ีจะลาออกจาก ให้สามารถตรวจสอบ วิเคราะห์ พิสูจน์ หน่วยงานหรือวิชาชีพที่ตนเองท�ำ และ และคัดข้อมูลในบันทึกและรายงานซ่ึงมี วางแผนทจ่ี ะทำ� งานอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดไป. กระทรวงสาธารณสุข 23

การคงอยูใ่ นระบบของผู้ตดิ เช้ือ การคงอยใู่ นระบบของผ้ตู ดิ เชื้อ น. กลุ่มเป้าหมาย การคลอดคณุ ภาพ น. การคลอดท่เี ป็นไปดงั น้ี ท่ีติดเช้ือเอชไอวี ท้ังที่รับการรักษาด้วยยา ๑) การจัดบริการได้ตรงตามมาตรฐาน ต้านไวรัสแล้วและท่ียังไม่ได้เริ่มรักษา คงอยู่ วิชาชีพที่ก�ำหนดของแพทย์และพยาบาล ในระบบการดูแลรักษา ขาดการติดตามการ ๒) มีกระบวนการป้องกันและควบคุมความ รกั ษานอ้ ยกว่า ๙๐ วัน ในแตล่ ะปี ส�ำหรบั ผูท้ ่ี เส่ียงในสตรีตั้งครรภ์และทารกแรกเกิดที่ ไดเ้ รม่ิ รกั ษาดว้ ยยาตา้ นไวรสั ยงั คงรกั ษาด้วย สามารถป้องกันอุบัติการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ยาต้านไวรสั ท่ี ๑๒, ๒๔, ๓๖ และ ๖๐ เดือน ส�ำคัญได้เป็นอย่างดี มารดาเสียชีวิตในห้อง หลังเร่ิมรักษาด้วยยาต้านไวรัส. (อ. retain คลอดน้อยกว่า ๑๘ คน ต่อการเกิดมีชีพ positive). ๑๐๐,๐๐๐ คน มารดาตกเลือดหลังคลอด ไมเ่ กิน ๒๕ คน ต่อการเกดิ มีชีพ ๑,๐๐๐ คน การคงอยู่ในระบบของผู้ที่มีผลเลือดลบ น. ๓) มีกระบวนการคัดกรองการตั้งครรภ์ท่ีมี กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าถึงบริการป้องกัน ได้ ความเส่ียงสูงต้ังแต่จุดแรกรับ และจัดส่งต่อ ตรวจเอชไอวี และได้รับแจ้งผลการตรวจซ้�ำ โรงพยาบาลท่ีมีสูติแพทย์ประจ�ำทันที ๔) มี เป็นครั้งที่ ๒ ในปีนั้น กรณีตรวจครั้งแรก กระบวนการประเมินระยะรอคลอดโดยใช้ ในชีวิตในปีนั้น หรือเป็นครั้งแรกในปีนั้น กราฟดูแลการคลอด และให้พิจารณาส่งต่อ โดยตรวจคร้ังท่ีแลว้ ในปที ี่ผ่านมา. (อ. retain เม่ือกราฟผ่านเส้นเตือน (alert line) โดย negative). ต้องพิจารณาถึงความเร็วในการส่งต่อถึงมือ สูติแพทย์ก่อนเวลาที่กราฟจะถึง action การค้นหาผู้ป่วยมาลาเรียเชิงรับ น. การเจาะ line ๕) มีกระบวนการเสริมสร้างสุขภาพ โลหิตเพื่อค้นหาผู้มีเชื้อมาลาเรียในกลุ่มผู้มา ท้ังมารดาและทารกตามแนวทางมาตรฐาน รบั บรกิ ารตรวจรกั ษา ณ สถานบริการตา่ ง ๆ อนามัยแม่และเด็กคุณภาพ ของกระทรวง และรักษาทนั ท.ี สาธารณสขุ . การคน้ หาผปู้ ว่ ยมาลาเรยี เชิงรกุ น. การเขา้ ไป การคลอดยาก น. การคลอดท่ีไมด่ �ำเนนิ ไปตาม เจาะโลหิตในหมู่บ้านเพ่ือค้นหาผู้มีเชื้อมาลาเรีย ปรกติ หรือกระบวนการคลอดผดิ ปรกติ จาก ซึ่งอาจด�ำเนินการอย่างสม่�ำเสมอหรือเป็น สาเหตุการเปิดขยายของปากมดลูก ความ กิจกรรมเฉพาะกจิ . บางของปากมดลกู การเคล่อื นต�่ำของสว่ นนำ� เป็นตน้ . (อ. dystocia). การครอบกระปุก น. การท�ำใหเ้ กิดสุญญากาศ ภายในกระปุก แลว้ ครอบลงบนผิวหนงั ทำ� ให้ การคลังสาธารณะ น. เงินรายได้หรือรายจ่าย เกิดการบวมและการค่ังเลือดภายในกระปุก ท่ีมาจากภาครัฐซ่ึงได้ความชอบธรรมด้วย ใชเ้ พือ่ ป้องกนั และรักษาโรค. (อ. cupping). กระบวนการทางกฎหมายท่ีจะหาเงินมา ใช้จ่ายในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ภาษีอากรท้ัง การครนั ช ์ น. ท่าบริหารกล้ามเนอื้ ท้องท่าหนงึ่ . ทางตรงและทางออ้ ม ภาษีเพ่อื กจิ การเฉพาะ (อ. crunch). การประกันสุขภาพภาคบังคับ การกู้เงิน ของรฐั การออกสลาก. (อ. public finance). 24 พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

การควบคุมเชงิ รปู ธรรม การคลังเอกชน น. เงินรายได้หรือรายจ่าย กับสาเหตุการเกิดระบาดตามแนวทางท่ีได้ ท่ีไม่เก่ียวข้องกับภาครัฐและมาจากภาคเอกชน จากการสอบสวน. เพื่อการดูแลสุขภาพ ซึ่งครอบคลุมถึงเงิน การควบคุมการระบาดจากแหล่งโรคร่วม น. ท่ีประชาชนจา่ ยเมอื่ มารบั บริการ การประกัน การใช้กลวิธีเฉพาะตามชนิดของแหล่งโรคร่วม สุขภาพโดยสมัครใจ สวัสดิการนายจ้าง เช่น อาหาร น้�ำ สัตว์ฟันแทะ ฯลฯ เพื่อให้ การคลังชุมชน การออมภาคบังคับ และ ควบคมุ โรคไดถ้ กู ต้อง. เงินบริจาค เป็นตน้ . (อ. private finance). การคลำ� น. การตรวจสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย การควบคุมความเส่ียง ดู การปอ้ งกันความเส่ียง. โดยการสัมผสั และการใชม้ ือคล�ำ. (อ. palpating). การควบคุมคุณภาพ น. การปฏิบัติงานและ การควบคมุ (กฎ) น. ๑. การกระท�ำใด ๆ ก็ตาม กิจกรรมที่เก่ียวข้องตามระเบียบปฏิบัติและ ที่หัวหน้าส่วนราชการ ฝ่ายบริหาร และ แนวทางท่ีก�ำหนดไว้ ซ่ึงได้มีการออกแบบ กลุ่มบุคคลก�ำหนดให้มีข้ึนในการจัดการ และทดสอบเพื่อให้ตรงความต้องการและ ความเสี่ยง โดยการวางแผน จัดองค์กร ความคาดหวัง และได้คุณภาพตามเกณฑ์ และก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนินงานที่มี ท่ีกำ� หนด. [อ. quality control (QC)]. ประสิทธิผลเพียงพอที่จะท�ำให้เกิดความเชื่อม่ัน การควบคุมจ�ำนวนประชากร น. การจ�ำกัด อย่างสมเหตุสมผลว่าการด�ำเนินงานสามารถ จ�ำนวนประชากรให้เพ่ิมในอัตราที่สัมพันธ์ บรรลุผลส�ำเร็จได้ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ กับปริมาณอาหารและพื้นท่ีอยู่อาศัย ซ่ึงอาจ ทก่ี ำ� หนดไว้. ๒. วธิ กี ารทีน่ �ำมาใชเ้ พ่อื ให้มน่ั ใจ เป็นไปโดยธรรมชาติ หรือถูกควบคุมโดยวิธี ว่าการปฏิบัติงานจะบรรลุผลส�ำเร็จตาม การต่าง ๆ เช่น การท�ำหมนั . วตั ถปุ ระสงค์. (อ. control). การควบคุมกระบวนการ น. การกระท�ำที่จะ การควบคมุ เชงิ นามธรรม (กฎ) น. การควบคมุ ท�ำการควบคุม ปรับแต่ง การท�ำงานของ ที่เกิดข้ึนจากจิตส�ำนึก การกระท�ำ ทักษะ กระบวนการหรือระบบที่สนใจให้มีค่าเป็นไป ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ทุ ก ร ะ ดั บ ท่ี ตามเป้าหมายที่ต้องการ. (อ. process แสดงออกให้เห็นว่าเป็นสิ่งท่ีดีและเป็น control). ประโยชน์ต่อหน่วยรับตรวจ ซ่ึงไม่สามารถ จับต้องได้ ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานประสบ การควบคุมการระบาด น. ความสามารถใน ผ ล ส� ำ เ ร็ จ ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ์ ข อ ง ห น ่ ว ย การควบคุมโรคไดถ้ กู ตอ้ ง โดยใชก้ ลวิธีเฉพาะ รับตรวจ เช่น ความซ่ือสัตย์ ความโปร่งใส ตามชนิดของแหล่งโรคร่วม เช่น อาหาร น้�ำ ความมีคุณธรรม และจริยธรรม ความขยัน สัตวฟ์ นั แทะ ฯลฯ. ขันแข็ง ความรับผิดชอบ, การควบคุมแบบ ไมเ่ ปน็ ทางการ ก็วา่ . (อ. soft control). การควบคุมการระบาดไข้มาลาเรีย น. การ ด�ำเนินมาตรการควบคุมโรคมาลาเรียให้ตรง การควบคุมเชิงรปู ธรรม (กฎ) น. การควบคุมท่ี กระทรวงสาธารณสขุ 25