Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เหมวตสูตร พระสูตรว่าด้วยพระพุทธเจ้าโดยละเอียด พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) _ รจนา, สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) _ ตรวจชำระ,พระคันธสารราภิวงศ์ แปลและเรียบเรียง

เหมวตสูตร พระสูตรว่าด้วยพระพุทธเจ้าโดยละเอียด พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) _ รจนา, สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) _ ตรวจชำระ,พระคันธสารราภิวงศ์ แปลและเรียบเรียง

Description: ✍️☸️✅ แบ่งปันโดย ❝ ศร-ศิษฏ์❞ เหมวตสูตร พระสูตรว่าด้วยพระพุทธเจ้าโดยละเอียด พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) _ รจนา, สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) _ ตรวจชำระ,พระคันธสารราภิวงศ์ แปลและเรียบเรียง

Search

Read the Text Version

àËÁǵÊٵà การเชอ้ื เชญิ ของเทพสาตาคิระ เทพสาตาคิระกลา ววา ทพิ พฺ า รตฺติ อปุ ฏ ติ า อชชฺ ปณฺณรโส อุโปสโถ หนทฺ ปสสฺ าม โคตมํ.๑๐ อโนมนามํ สตฺถารํ “วนั นเ้ี ปนวนั อโุ บสถ ๑๕ คํา่ ราตรีท่ีเปนทิพยป รากฏแลว เรา ทง้ั สองไปเฝาพระโคดมผเู ปน ศาสดา ทรงพระนามสงู สงกันเถิด” ความหมายของคาถานี้ คอื วันน้ีเปนวันเพญ็ เดอื น ๘ เปน วนั ที่ พระพุทธเจาทรงแสดงปฐมเทศนา มวลรุกขชาติจงึ ออกดอกบานสะพรั่ง ไมเฉพาะแตในยานภูเขาหิมาลัยเทาน้ัน แตรวมท้ังแถบภูเขาสาตะและ รวมทุกบริเวณทั่วโลกอีกดวย บุปผชาติที่บานสะพรั่งเหลานี้เปนไปเพ่ือ บูชาพระพุทธเจาในโอกาสอันเปนอุดมฤกษน้ี ทวยเทพและพรหมท่ีได เขารวมฟงพระธรรมนั้นมีมากจนกระท่ังโลกสวางไสวดวยรัศมีที่แผซาน จากสรรี ะของเทพและพรหมเหลานั้น ทางทิศตะวนั ออกพระจนั ทรเ พ็ญ กาํ ลังสองแสงสดใสพรอมดวยดาวอาสาฬหี ฉะนั้นในคนื นีจ้ งึ เต็มไปดว ย แสงจากแหลงเหลา นี้ เปนคืนทีศ่ กั ดิส์ ิทธิค์ นื หนง่ึ ทเี ดยี ว โลกคงสวยงามมากดวยดอกไมบาน ปรากฏในสายตาของ เหลาเทพ แมกระท่ังในสายตามนุษยโลกก็ตองสวยงามเชนกัน ฉะน้ัน เทพสาตาคิระจึงมาเชิญเทพเหมวตะใหเขาเฝาองคสมเด็จพระสัมมา- สัมพทุ ธเจาดวยกัน ๑๖

àËÁǵÊٵà เทพสาตาคิระกลาวตอไปวา ตอนน้ีขอใหพวกเราไปเขาเฝา พระบรมครูที่ยิ่งใหญของเรา พระองคเปนเช้ือพระวงศแหงโคตมโคตร ไดปฏบิ ัติธรรมในปา อุรุเวละเปนเวลา ๖ ป และทรงพระนามสูงสงดว ย คุณธรรม ๙ ประการที่หาท่ีเปรียบมิไดมีความเปนพระอรหันตเ ปน เบือ้ งตน คุณธรรม ๙ ประการของพระพทุ ธองค กลา วโดยยอ ดงั นี้ ๑๗

àËÁǵÊٵà พระอรหันต คําวา อรหัง หมายความวา “สมควรไดรับ” คือ พระพุทธเจา สมควรไดรับการเคารพบูชาเปนพิเศษ ผูคนทั่วโลกเคารพส่ิงตางๆ หลากหลาย บางคนเคารพตนไม บางก็เคารพปาไม ภูเขา มหาสมุทร ทองฟา ดวงจันทร ดาวเคราะห บา งกเ็ คารพเทวดาหลายประเภท เชน บางคนเคารพสกั การะเทพในสวรรค บา งสกั การะพระพรหม ในระหวา ง มนุษยดวยกันก็มีผูเคารพสักการะ เชน บางคนสักการะเจาลัทธิและ นิกายตางๆ คราวนี้ลองดูวาทําไมคนจึงเคารพสักการะส่ิงที่กลาวมานั้น ท่ีเปนเชนนั้นก็เพราะเหตุวาพวกเขาตองการความปลอดภัยจากอันตราย และภัยพิบัติน่ันเอง ทุกคนตองการความปลอดภัยจากอันตรายและภัย พิบตั ิตา งๆ และตอ งการจะเจรญิ ม่งั คั่งรํ่ารวย มีอายยุ ืน สุขภาพดี รํ่ารวย ไมเฉพาะมนุษยเทาน้ัน เหลาเทวดาตางก็ตองการจะเจริญมั่งคั่ง เชนเดียวกัน คนทั้งหลายตองการสรางความสําเร็จที่ยิ่งใหญมากกวา ความสามารถท่ีตนเองจะทําได ดังน้ัน พวกเขาจึงตองอาศัยเทวดาทุก ประเภท เชน เทวดารกั ษาตน ไม เทวดารกั ษาภเู ขา คนเหลา นน้ั จงึ เคารพ สักการะและนําส่ิงของตางๆ ไปบูชาบวงสรวงเทพดังกลาว บางคน จินตนาการวามีผมู อี ํานาจย่ิงใหญเหนอื มนุษย สามารถสรางโลก สรา งคน และสรางสิ่งตางๆ ได อยางไรก็ดีไมมีผูใดไดพบเห็นผูยิ่งใหญดังวาเลย และยังไมสามารถจะบรรยายถึงรูปรางหนาตาของผูน้ันไดอีกดวย คน ๑๘

àËÁǵÊٵà เหลาน้ีสักการะสิ่งท่ีวาน้ีก็เพราะวาบางคนในอดีตไดกลาววาเขาไดเห็น ผยู ่งิ ใหญน ัน้ ท่ีจรงิ คนทเ่ี ลาเรือ่ งด่งั น้นั คงฝน ไปมากกวา ผูคนท่ีนับถือแตละศาสนาสักการะสิ่งตางๆ น้ันเปนไปตาม ความเชื่อจากรุนสูรุนโดยไมมีการพินิจพิเคราะห แมกระท่ังในยุคแหง การคน ควา ทางวทิ ยาศาสตรก ต็ าม ความเชอ่ื ตามจารตี ประเพณกี ย็ งั ดาํ รง อยู ตามความเปนจริงแลว ไมม หี ลักฐานใดท่วี า ผทู ่ีสวดออ นวอนแลวจะ ปลอดภัยจากความวิบัติท้ังหลาย และจะปลอดภัยหากสวดออนวอน โดยลําพังอยางเดียว หากเทพหรือพระเจาสามารถชวยผูที่สวดออน ดงั กลา วได พวกเขาทกุ คนคงจะร่ํารวย เปน สุข และเจรญิ รงุ เรอื งมัง่ คง่ั ไปแลว แตไมเห็นเปนไปตามน้ันเลย สวนผูที่ไมไดสวดออนวอนอาจจะ รํา่ รวยกไ็ ด ตามความเปน จรงิ แลว ผทู ที่ าํ งานโดยมิไดส วดออ นวอนเพ่ือ หวังการคาขายและอาชีพใหมีกําไรก็ร่ํารวยและเจริญรุงเรืองได ทุกคน ไดรับรางวัลเพราะการทํางานของตนเองตามคุณคาของงานน้ันๆ เปน ทีแ่ นชดั วา คนเกียจครา นไมอาจร่ํารวยได การไดร บั รางวัลน้ันเปนเพราะ ผลของการเพยี รพยายามของตน ความเจรญิ รงุ เรอื งมงั่ คง่ั ไมใ ชไ ดม าจาก การกราบไหวส ักการะเทวดาเปน ตน พระพทุ ธเจามเิ คยตรสั เลยวา “จงนบั ถอื เลื่อมใสตถาคต แลว ตถาคตจะชว ยเธอ” แตพ ระองคตรสั วา “บุคคลยอ มไดร บั ผลทีด่ ีหรอื ไมดีตามกรรมของตนเอง” หากเขาเล่ือมใสศรัทธาถวายทานแกผูทรง ศีลเปนตน ยอมไดรับผลบุญอันย่ิงใหญ หากผลบุญท่ีไดทําไวมีโอกาส อาํ นวยผลใหแ ลว เขายอ มไดร บั ผลดแี นน อนในภพนแี้ ละภพตอ ไปตลอด ๑๙

àËÁǵÊٵà สงั สารวฏั อนั ยาวนาน หากบคุ คลเลอื่ มใสบชู าผไู มบ รบิ รู ณด ว ยศลี เปน ตน เขายอ มไมอ าจไดร บั ผลบญุ อนั ใหญห ลวงสมปรารถนา อปุ มาเหมอื นการ เก็บสะสมอิฐกับกรวดทรายแทนท่ีจะเก็บเพชรนิลจินดาโดยคิดวาอิฐ และกรวดทรายน้ันมีคุณคา เราจะคาดหวังไดอยางไรวาจะไดราคาดี เหมือนขายเพชรนลิ จนิ ดา หากเก็บรกั ษาเคร่ืองเพชรแทๆ เมื่อขายไปก็ จะไดราคาท่ีเหมาะสม ในทํานองเดียวกัน ถาบุคคลเล่ือมใสบูชาผู ประเสริฐ ก็จะไดผลบุญตามที่คาดหวังไว สําหรับพระพุทธเจาแลว พระองคท รงเปน ผปู ระเสรฐิ สดุ ในบรรดาผทู รงศลี และคณุ งามความดอี น่ื ๆ คอื สมาธิ และปญญา ฉะน้ัน ถาเทวดา พรหม และมนุษยเคารพเลื่อมใส ศรัทธาในพระพทุ ธเจา แลว พวกเขาจะสง่ั สมผลบุญและไดรบั ผลดีตางๆ นับต้ังแตประโยชนสุขในชีวิตของมนุษย เทวดา และพรหม จนถึงการ รูแจงพระนิพพาน ประโยชนสุขท่ีชาวโลกไดรับเชนนั้นไมใชเปนเพราะ พระพทุ ธเจา ทรงประทานใหแกพวกเขา แตเ ปน เพราะผลบุญท่ีไดสง่ั สม จากการเคารพเล่ือมใสในพระพุทธเจาตางหาก ดังน้ัน พระพุทธองค สมควรไดรับสมญานามวา อรหัง คือ ผูควรไดรับการเคารพบูชาจาก มนุษยและเทวดา น้ีเปนพระนามอันประเสริฐ ฉะนั้น เทพสาตาคิระ จงึ ไดยกยอ งสรรเสริญพระพุทธเจา วาพระองคทรงพระนามสูงสง ๒๐

àËÁǵÊٵà อีกความหมายหนึง่ ของคาํ วา อรหงั คอื “ทรง หา งไกลจากกเิ ลส” ความหมายคอื พระพทุ ธเจา ทรง หางไกลจากกิเลสของจิต สรรพชีวิตทั้งหลายใน ทกุ ภพภมู เิ พลดิ เพลนิ ยนิ ดกี บั สงิ่ ทนี่ า ปรารถนา กลา ว อกี นยั หนงึ่ คอื พวกเขามคี วามโลภนนั่ เอง พวกเขามกั โกรธหากพบกับส่ิงที่ทําใหโกรธ และตกอยูภายใต ความหลงในทกุ ขณะทเ่ี หน็ หรอื ไดย นิ ฯลฯ เพราะไม อาจรูเห็นสภาวธรรมตามความเปนจริง ในทางตรง กันขาม พระพุทธเจาทรงหางไกลและหมดจดจาก ความโลภ โกรธ หลง พระองคแ มก บั สง่ิ ทน่ี า ปรารถนา กไ็ มร ูสึกยนิ ดี แมพ บกับสิ่งทไ่ี มนาปรารถนากไ็ มร สู ึก ยินราย อีกท้ังรเู ทาทนั สภาวธรรมตามความเปนจริง นีค้ อื เหตุทพ่ี ระพุทธเจาไดร บั พระนามวา อรหงั และ ทรงพระนามสงู สงดว ยพระนามนี้ ๒๑

àËÁǵÊٵà ผูตรสั รชู อบดวยพระองคเอง คณุ ความดถี ดั มาคอื สมั มาสมั พทุ ธะ คาํ วา สมั มา คอื “โดยชอบ, อยา งถกู ตอ ง” คาํ วา สมั หมายถงึ “ดว ยตนเอง” คาํ วา พทุ ธะ หมายความ วา “ตรสั ร”ู ดงั นนั้ คาํ วา สมั มาสมั พทุ ธะ จงึ หมายความวา “ผตู รสั รชู อบ ดวยพระองคเอง” คือ ผูรูความจริงโดยครบถวนบริบูรณดวยตนเอง กอ นหนา นพ้ี ระพทุ ธเจา ทรงรบั การอบรมสงั่ สอนจากทา นอาฬาระกบั ทา น อทุ กะซง่ึ เปน นกั บวชในดา นสมถะ แตเ มอ่ื พระองคบ รรลเุ ปน พระพทุ ธเจา แลว พระองคมิใชเปนพทุ ธะเพราะความรูท ี่ไดจ ากนกั บวชทงั้ สองนน้ั แต อยา งใด แตด ว ยวธิ ที ไ่ี ดว วิ ฒั นข น้ึ ดว ยความรแู จง เหน็ จรงิ ของพระองคเ อง พระองคท รงบาํ เพญ็ เพยี รเพอ่ื ใหไ ดฌ านในการกาํ หนดลมหายใจเขา ออก ทรงรูแจงปฏิจจสมุปบาทดวยความรูแจงเห็นจริงดวยพระองคเอง ทรง หยั่งเห็นความเกิดดับของรูปนามดวยสยัมภูญาณแลวเห็นประจักษ อรยิ สจั ๔ ดว ยพระองคเอง ในท่สี ุดพระองคกบ็ รรลุเปนพระพทุ ธเจา ท่ี กลาวมานี้เปนการสรุปยอๆ ของการหย่ังเห็นสัจธรรมอยางแทจริงของ พระพทุ ธเจา เทา นนั้ ฉะนนั้ พระพทุ ธองคจ งึ ควรไดร บั การยกยอ งสรรเสรญิ วา ทรงพระนามสงู สง วา เปน สมั มาสมั พทุ ธะ คอื ผตู รสั รชู อบดว ยพระองค เอง ๒๒

àËÁǵÊٵà พระพุทธเจา เมอ่ื บรรลเุ ปน พระพทุ ธเจา แลว พระองคท รงหยงั่ รธู รรมทกุ อยา ง ทั้งอดีต ปจจุบัน และอนาคต หมายความวา พระองคทรงรูโดยทันที ถึงทุกส่ิงท่ีใครครวญ ไมมีส่ิงใดที่พระองคมิทรงทราบ ดวยเหตุผลท่ีวา พระองคท รงรธู รรมทกุ สงิ่ ทกุ อยา งครบถว นบรบิ รู ณ ฉะนนั้ พระพทุ ธองค จงึ ควรไดรับการยกยองสรรเสรญิ วา ทรงพระนามสูงสง วา เปนพุทธะ คอื ผูห ย่ังรธู รรมทั้งมวล หลงั จากไดย นิ เพอ่ื นกลา วดงั นนั้ เทพเหมวตะจงึ ไดพ จิ ารณาเรอื่ ง ราวอยางรอบคอบเพื่อตัดสินวาบุคคลท่ีเพ่ือนของเขาอางถึงน้ันเปน พระพุทธเจาจริงหรือไม ดังนั้น เทพเหมวตะจึงต้ังคําถามหลายคําถาม ใหส หายของเขาตอบดงั นี้ ในขณะนนั้ มเี จา ลัทธิ ๖ คนตงั้ ตวั เปน ศาสดา คอื ปูรณกัสสปะ และมักขลโิ คสาล เปน ตน พวกเขาอวดอา งตนเองวา เปน พระพุทธเจา ฉะน้นั จงึ จาํ เปนตองตรวจสอบเร่ืองนี้ ๒๓

àËÁǵÊٵà คําถามที่ ๑ ของเทพเหมวตะ กจฺจิ มโน สุปณหิ โิ ต สพพฺ ภูเตสุ ตาทโิ น กจจฺ ิ อิฏเ อนฏิ เ  จ สงฺกปปฺ สสฺ วสกี ตา.๑๑ “พระโคดมเปนผคู งท่ี มีพระทัยสม่าํ เสมอในสัตวโ ลกทุกจําพวก จรงิ หรือ พระองคท รงทาํ ความดาํ ริในอิฏฐารมณและอนฏิ ฐารมณใหอยู ในอํานาจไดจริงหรือ” สหายสาตาคิระ ในโลกนี้มีคนจํานวนมากอางตัวเองวาเปน พระพุทธเจา ขอถามทานวา พระพุทธเจาของทานมพี ระทยั ทัดเทียมกัน ในสัตวโลกทุกจําพวกจริงหรือ พระองคไมลําเอียงตอศิษยของพระองค และศิษยของผูอื่นหรือ คือ ทรงมีเมตตากรุณาตอทุกคน ปรารถนาให พวกเขามคี วามสขุ โดยมพี ระทัยสม่าํ เสมอไมแ บงเขาแบงเราจริงหรอื น้ีเปนคําถามที่ควรถาม เพราะบางคนอางวาเปนพระพุทธเจา แตลําเอียงใหความเมตตากรุณาเฉพาะคนที่เคารพนับถือตนเองเทาน้ัน ถา เขาชว ยเหลอื เฉพาะคนทนี่ บั ถอื บชู าตนและลงโทษคนทไี่ มเ ชอ่ื ฟง รวม ไปถึงใหตกนรกตลอดกาลนิรันดร บุคคลเชนนั้นยอมมีจิตไมสม่ําเสมอ ในสรรพสตั ว ผทู อ่ี วดอา งตนวา เปน พระพทุ ธเจา เชน นไี้ มส มควรจะนบั วา เปนพระพุทธเจาจริงๆ เพราะพระพุทธเจาจริงๆ น้ันตองมีพระทัย ทดั เทียมกันดวยเมตตากรุณาในสตั วโ ลกทกุ จาํ พวก ดงั น้นั เทพเหมวตะ ๒๔

àËÁǵÊٵà จงึ ถามวา “พระโคดมเปน ผคู งที่ มพี ระทยั สมาํ่ เสมอในสตั วโ ลกทกุ จาํ พวก จรงิ หรือ” เทพเหมวตะกลาวถามตอดังน้ี “พระองคทรงทําความดําริใน อิฏฐารมณและอนิฏฐารมณใหอยูในอํานาจไดจริงหรือ” หมายความวา พระพทุ ธเจา ทรงควบคมุ จติ ใหเ ปน กลางในการตอบสนองตอ สงิ่ ทนี่ า พอใจ และสง่ิ ทไ่ี มนาพอใจไดหรือ กลา วคอื ในโลกนผ้ี ูค นพอใจเม่อื พวกเขาพบ กบั ส่งิ ทนี่ าพอใจ และชนื่ ชมกบั สงิ่ นนั้ จนไมอาจหกั หามความพอใจได ใน ทางกลบั กนั เขามกั ไมพ อใจและไมอ าจควบคมุ ความไมช อบนนั้ ไดเ มอ่ื พบ กับสิ่งที่ไมนาพอใจ เขาปลอยใหจิตของเขาเปนไปตามการกระทบของ อารมณนั้นจึงไมอาจควบคุมจิตได แตพระพุทธเจาที่แทจริงสามารถ ควบคุมจิตไดโดยไมตกไปในความพอใจหรือไมพอใจจริงหรือ คําถาม ของเทพเหมวตะนี้ถือวาสําคญั มาก คราวนีข้ อกลา วถึงคนท่วั ไป พวกเขาปลอ ยใหจติ ของเขาเปน ไป ตามความรสู กึ กบั การกระทบอารมณ พวกเขายม้ิ ถา มสี ง่ิ กระตนุ ใหเ ขายมิ้ จะแสยะยม้ิ แสดงการดูถกู เหยียดหยามเมอ่ื ส่ิงนัน้ นาดหู ม่นิ จะหัวเราะ กับสิ่งที่นาตลกและรองไหกับสิ่งท่ีทําใหตองหล่ังน้ําตาหรือส่ิงท่ีทําให เสียใจ แมจะตอตานตอการที่ตองไปยังสถานที่ท่ีไมนาพึงพอใจใน ตอนแรก แตหลังจากน้นั เมอ่ื มีสิง่ เยายวนใจและเรง เรา พวกเขาก็จะไป ยังท่ีน้ันอีก ในทํานองเดียวกัน พวกเขาอาจถูกหลอกลอใหพูดหรือทํา ส่งิ ตางๆ ท่ไี มควรพูดหรือทําตอ มา นคี้ อื สิง่ ที่เรยี กวาการปลอ ยใจใหเปน ไปตามความรสู กึ ในขณะที่ใจกระทบอารมณต างๆ ๒๕

àËÁǵÊٵà ลองพิจารณาเรือ่ งอื่นๆ บา ง เชน ผูป ฏบิ ัตบิ างคนผดิ หวังเพราะ การเจรญิ กรรมฐานไมกา วหนา จงึ คดิ จะเลกิ ปฏบิ ตั ิ เตรียมเก็บขา วของ จะกลบั เมอ่ื วปิ ส สนาจารยแ นะนาํ เพมิ่ เตมิ แลว หา มไว เขาเรม่ิ ปฏบิ ตั ใิ หม จนเกดิ ความกา วหนา ก็จะพอใจ แตม ีผูปฏบิ ัตบิ างคนกลบั บา นไปแมจะ ถูกหา มไวก็ตาม น้ถี อื วาเปนอกี กรณีหนึง่ ของการปลอยใหใ จไหลไปตาม อารมณความรูสึกทั้งหลาย แตยังมีกรณีอ่ืนๆ อีกของผูปฏิบัติบางคนท่ี เขาถึงนิพพิทาญาณ (การหยั่งเห็นความเบ่ือหนาย) จึงรูสึกเบ่ือหนาย เพราะพบกับสิ่งท่นี าเบ่ือหนาย หากผปู ฏบิ ัตทิ กี่ ลา วถึงน้เี จรญิ กรรมฐาน ตอ เขาอาจเขา ถงึ วปิ ส สนาญาณทพี่ ัฒนาตอไป แตเ ขากลบั ควบคุมจิตใจ ไมได จึงลมเลกิ เสยี ถือเปน สงิ่ ที่สญู เสยี มาก อยางไรกต็ าม ผปู ฏิบัติสวน ใหญมักเช่ือฟงคําสอนของวิปสสนาจารยและสามารถควบคุมจิตของ ตนได ในชีวิตฆราวาสก็เชนเดียวกัน มีหลายสิ่งหลายอยางที่ชาวพุทธ สามารถควบคมุ จิตของตนได คาํ สอนของพระพุทธเจา มีจดุ มุงหมายเพอื่ การควบคุมจิต สวนมากผูเขาฟงพระธรรมสามารถควบคุมจิตใจไดเปน อยางดี แตผูท่ีไมฟงพระธรรมและไมมีธรรมะอยูในใจ มักขาดความ ละอายหรอื หวนั่ เกรง มกั ทาํ และพดู ในสง่ิ ทต่ี นเองชอบ เหตนุ เี้ ทพเหมวตะ จึงถามสหายวา พระพุทธเจาของทานสามารถควบคุมจิตของพระองค ไดจริงหรอื นเี้ ปน คําถามท่สี มควรยิง่ ๒๖

àËÁǵÊٵà ตกตะลงึ เม่อื ถูกถาม นับเปนส่ิงสําคัญท่ีจะตองต้ังคําถามท่ีตรงประเด็นเพื่อคนควา หาคาํ ตอบ ครง้ั หนง่ึ ผบู รรยายไดร บั นมิ นตไ ปฉนั ภตั ตาหารทบ่ี า นหลงั หนง่ึ พระเถระรปู หนงึ่ พดู วา ทา นถกู ชาวอเมรกิ นั คนหนงึ่ ถามคาํ ถามทเ่ี จาะลกึ ทาํ ใหล าํ บากใจทจ่ี ะตอบ เขาถามวา ทา นใชเ วลาฝก ปฏบิ ตั นิ านเทา ไร และ พบเห็นนิมิตอะไรบาง ทานสยาดอกลาววาคําถามเชนน้ันนาตกตะลึง แตข า พเจา เหน็ วา คาํ ถามนนั้ สมควรแลว เพราะผถู ามมคี วามรเู รอื่ งธรรมะ จึงถามคําถามเชนน้ันกับคนที่ควรรูเร่ืองนี้ สําหรับพระภิกษุท่ีอายุ ๗๐ กวาซึ่งมีชื่อเสียงวาเปนผูทรงปริยัติ ผูถามจึงถามคําถามที่เก่ียวกับ ประสบการณสวนตัวในการปฏิบัติ ส่ิงสําคัญคือตองอาจหาญและตอบ อยางแจม แจง ชดั เจนโดยไมต อ งตกตะลงึ แตอยา งใด เทพเหมวตะไมใ ชบ คุ คลธรรมดา ในอดตี สมยั พระพทุ ธเจา กสั สปะ ทานเคยเปนพระเถระสอนปริยัติแกศิษย ๕๐๐ รูป น่ีคือสาเหตุที่ทาน ถามคําถามเกี่ยวกับคุณธรรมของพระพุทธเจา เทพสาตาคิระก็เปน พระเถระในตอนนนั้ และสอนศิษย ๕๐๐ รูปเชนเดยี วกนั สาํ หรับคําถาม ทเ่ี ทพเหมวตะตัง้ นั้น เทพสาตาคิระไดใ หคาํ ตอบดังตอ ไปนี้ ๒๗

àËÁǵÊٵà คําตอบท่ี ๑ ของเทพสาตาคริ ะ มโน จสฺส สุปณหิ โิ ต สพพฺ ภเู ตสุ ตาทิโน อโถ อิฏเ อนฏิ เ  จ สงฺกปฺปสสฺ วสีกตา.๑๒ “พระโคดมเปนผคู งท่ี มพี ระทยั สมํ่าเสมอในสัตวโลกทกุ จําพวก จรงิ และทรงทาํ ความดาํ รใิ นอฏิ ฐารมณแ ละอนฏิ ฐารมณใ หอ ยใู นอาํ นาจ ไดจริง” นค่ี อื คาํ ตอบของเทพสาตาคริ ะ ซง่ึ มหี มายความวา พระพทุ ธองค มีพระทัยทดั เทียมกันในสตั วโ ลกทุกจาํ พวก ไมวา เขาเหลานน้ั จะเปนผูท่ี นบั ถอื พระองคห รอื ไมน บั ถอื กต็ าม มศี ษิ ยท ใี่ กลช ดิ พระองคไ ดเ ขา ถงึ ธรรม เนื่องจากไดฟงเทศนาเรื่องธรรมจักร ท้ังยังมีผูท่ีเขาถึงพระองควาเปน สรณะบาง ผูท ี่มิไดเ ขาถึงพระองคว าเปนสรณะบาง ตลอดจนผูท่ีไมเชื่อ คาํ สอนของพระองคซ งึ่ เปน พวกพญามารบา ง พระองคม พี ระทยั ทดั เทยี ม กันในบุคคลเหลา นน้ั ในขณะแสดงธรรมจกั ร ทรงมเี มตตากรณุ าตองการ ใหพวกเขาไดรบั ความสุข นี้คอื เหตกุ ารณในระยะแรกๆ หลงั จากตรัสรู ถัดจากน้ันมาอาจกลาวไดวาพระพุทธองคทรงมีเมตตากรุณา อยา งเทา เทยี มกนั ระหวา งสาวกผถู วายปจ จยั ๔ กบั พราหมณห รอื เดยี รถยี  ผูตอตานพระองคอยางเอาเปนเอาตาย ทรงมีเมตตากรุณาเทาเทียมกัน ระหวา งพระโอรสราหลุ และพระเทวทตั ผคู ดิ ปองรา ย พระองคแ ผเ มตตา ๒๘

àËÁǵÊٵà และกรุณาตอทุกชีวิต ไมเคยปฏิบัติอยางลําเอียงตอบุคคลใด ดังนั้น เทพสาตาคริ ะจงึ ตอบคาํ ถามดวยประโยคขางตน พระพทุ ธเจา มพี ระทยั สมาํ่ เสมอ ในสตั วโ ลกทกุ จาํ พวก เมื่อนําเร่ืองการลําเอียงเขามาพิจารณาแลวจะเห็นไดวา ความ ลาํ เอยี งมอี ยใู นทกุ ดา นของกจิ กรรมมนษุ ย คนในโลกนม้ี กั แบง เขาแบง เรา สําหรับคนท่ีเราชอบ เราจะหาหนทางทุกทางท่ีจะใหแกเขาเทาท่ีเราจะ ชวยเหลือได แมจะมิไดชวยเหลือก็มีใจเมตตาใหเขาไดรับความสุข แต สําหรับคนท่ีตอตาน เราไมอยากใหความชวยเหลือใดๆ หรืออาจจะคิด มุงรายอีกดวย แมกระท่ังกับคนที่ไมเคยชวยเหลืออะไรเราเลย เราก็ อาจใหความชวยเหลืออยางเสียมิได ความเมตตากรุณาท่ีมีตอบุคคลใด บคุ คลหนงึ่ หรอื ทง้ั หมดนนั้ เปน เรอ่ื งยากยง่ิ ไมต อ งกลา วถงึ บคุ คลภายนอก เลย แมกระทั่งการวางใจใหทัดเทียมกันตอสมาชิกในครอบครัวของเรา กอ็ าจไมใชเ รือ่ งงา ยสาํ หรบั บางคน มิตองกลาวถึงมนุษยทั่วไป แมกระทั่งศาสดาในศาสนาอ่ืนที่ได รับการเคารพสักการะในฐานะเปนพระเจายังยากท่ีจะยอมรับทัศนะ แหงความเทาเทียมกันของทุกชีวิต ทานอาจเคยไดยินพระเจากลาววา ๒๙

àËÁǵÊٵà “ฉันจะชวยเฉพาะสาวกของฉนั เทา นนั้ และไลพวกอื่นไปนรกตลอดกาล นิรันดร” หากเปรียบเทียบพระพุทธเจาแลว พระพุทธองคสมควรที่จะ ไดร ับความเคารพนบั ถอื เลอื่ มใสมากกวายิง่ นัก พระพุทธเจาทรงปรารถนาใหทุกชีวิตเปนสุขเชนเดียวกับท่ีทรง ปรารถนาใหร าหลุ พระโอรสของพระองคเ ปน สขุ ทรงปรารถนาใหท กุ ชวี ติ บรรลุนิพพาน เชนเดียวกับท่ีทรงปรารถนาใหราหุลบรรลุนิพพาน พระองคท รงสงสารและเหน็ ใจทกุ ชีวติ เหมือนกบั ราหลุ นับเปนเรอ่ื งยาก สําหรับคนท่ัวไปท่ีจะใหความเมตตากรุณาแกทุกชีวิตอยางเสมอภาคได แตในกรณีของพระพุทธเจานั้น เมื่อพระองคทรงใหความเมตตากรุณา ก็จะทรงแผใหแกทุกชีวิตในทุกภพภูมิโดยเทาเทียมกัน ๓๐

àËÁǵÊٵà พระมหากรณุ าคุณของพระพุทธองค พหุเกหิ อากาเรหิ ปสฺสนฺตานํ พุทฺธานํ ภควนฺตานํ สตฺเตสุ มหากรุณา โอกฺกมติ.๑๓ “พระมหากรุณายอมหยั่งลงในสัตวท ง้ั หลายแกพระผูม-ี พระภาคผูตรัสรดู ว ยลักษณะเปน อนั มาก” อปุ นยี ติ โลโก อทธฺ โุ วติ ปสฺสนตฺ านํ พุทธฺ านํ ภควนฺตานํ สตเฺ ตสุ มหากรณุ า โอกฺกมต.ิ ๑๔ “พระมหากรุณายอมหยั่งลงในสัตวทง้ั หลายแกพระผูมี- พระภาคผูตรัสรูทรงเห็นวา ชาวโลกถูกชรานําไปแลว ไม ยัง่ ยืน” ขอนี้หมายความวา พระพุทธองคทรงตรวจดูภพภูมิท้ังปวง ดว ยปญ ญาจักษแุ ลว ทรงเห็นเหลา สัตวท ีน่ าสงสาร ฉะน้นั ความกรุณาท่ี ยิ่งใหญจึงบังเกิดขึ้นในพระหฤทัยของพระองค เหมือนกับคนท่ีสงสาร บคุ คลทต่ี กอยใู นความทกุ ขอ ยา งใหญห ลวง ความสงสารของบคุ คลธรรม ดาๆ น้นั เปน เรือ่ งธรรมดาๆ เทา นน้ั มไิ ดล ึกซึง้ มากนกั แตค วามสงสาร ของพระพุทธเจานั้นลึกซ้ึงและขยายไปกวางไกลมากท่ีสุดเชนเดียวกัน พระองคทรงเห็นบุคคลที่ไดรับความทุกขในปจจุบันแลวทรงเกิดความ กรุณา อีกทั้งเล็งเห็นผูที่อยูเปนสุขในปจจุบันแลวตองไปเกิดในนรก ๓๑

àËÁǵÊٵà สตั วด ริ จั ฉาน หรอื เปรต กท็ รงเกดิ ความกรณุ า หรอื การทพ่ี ระองคร บั รวู า เหลา สตั วต อ งไปเกดิ ในภพชาติตา งๆ ไดร บั ทกุ ขจากความแก ความเจบ็ และความตายในทกุ ภพท่ีจะตามมาซํา้ แลวซํา้ เลา กท็ รงเกดิ ความกรุณา อนั ย่งิ ใหญเชนเดียวกัน คราวน้ีลองหันมาดชู ีวติ ของมนษุ ย หลงั จากเกิดมาสูภพภมู ิเปน มนุษยแ ลว เขาตอ งขวนขวายหาความรูเ พอ่ื หาเลีย้ งชีพของตน หลังจาก เขาสูอายุยี่สิบป เขาก็จําเปนตองแสวงหางานและทํางานตอไปเร่ือยๆ จนกระทง่ั เร่ิมแก และออ นแอไมแข็งแรง ถดั มาเขาก็ตกทุกขท รมานจาก การเจบ็ ปวยจากโรคหลายชนิด และตายไปในทสี่ ดุ เมื่อไมสามารถรักษา โรคได มนุษยมีชีวิตอยูโดยไมตระหนักรูจริงๆ ถึงความเส่ือมถอยของ รา งกายทเ่ี ปน ไปอยา งชา ๆ ทลี ะเลก็ ทลี ะนอ ย แลว เชอื้ โรคกบ็ กุ รกุ รา งกาย จนถงึ วาระสุดทา ย ทจ่ี รงิ แลว ความเยาวว ยั นาํ ไปสคู วามแก ความแกน าํ ไปสูความเจ็บปวย ความเจ็บปวยนําไปสูความตาย เมื่อไมมีส่ิงใดที่จะ เยียวยารักษาโรคน้ันได ความตายก็อยูแคเอื้อม ถึงตอนนั้นพวกเขาจึง จะรูแจงถึงความจริงอันนาเศรานี้ สมาชิกในครอบครัวของคนที่กําลัง จะตายพยายามอยางสุดความสามารถที่จะรักษาพยาบาลและบรรเทา ความทกุ ขข องเขา แตไ มม สี ง่ิ ใดจรงิ ๆ ทจ่ี ะสามารถชว ยได เขาจงึ ตอ งจาก ไป เปน เวลาเพียงสองสามเดือนเทาน้ันที่บรรดาญาตๆิ จะคิดถงึ เขาและ รสู กึ เศรา โศก แตต อ มากเ็ รมิ่ ลมื เลอื น กลา วอยา งสรปุ กค็ อื ชวี ติ ของมนษุ ย เปน เพยี งข้ันตอนหนงึ่ ในสายธารแหง การเกิดท่ีไมส นิ้ สุด ๓๒

àËÁǵÊٵà รูปแบบท่ีเหมือนกันน้ีมีไดในภพหนาของเขาเชนกัน โดยความ เยาววัยนําไปสูความแก ความแกนําไปสูความเจ็บปวย ความเจ็บปวย นําไปสูความตาย พระพุทธเจาทรงเล็งเห็นเร่ืองน้ี จึงเกิดความกรุณา พระองคทรงเห็นเหลาสัตวจํานวนมากท่ีกําลังเจ็บปวยและกําลังจะตาย รวมทงั้ ความเศราโศกเสียใจของผูทอ่ี ยใู กลและเปน ที่รักของพวกเขา จึง เกิดความกรุณาในจิตของพระองค หากประวัติความเปนมาของภพ ของสัตวฉายออกมาเปนภาพแลว ภาพท่ีนํามาแสดงน้ันอาจไมเพียงพอ ท่ีจะวางไวในโลก นอกจากนั้น พระพุทธองคยังเห็นเหลาสัตวถูกนําไป สูความแก ความเจ็บปวย และความตายในภพใหมท่ีเกิดขึ้นเร่ือยไป จึงรสู กึ สลดใจเกิดความกรณุ าอนั ใหญห ลวง พระพทุ ธองคทรงเล็งเห็นวา ถาพระองคไ มท รงชวยสัตวเ หลาน้ี ใหพ น ไปจากภยั ของความแก การเจบ็ ปวย และความตาย กจ็ ะไมม ผี ใู ด มาชว ยได สตั วเ หลา นน้ั ตอ งปฏบิ ตั ติ ามคาํ สอนของพระองคจ งึ จะถงึ ความ พนทุกขไ ด ถา มิไดปฏบิ ัตติ ามกต็ อ งไดรับทุกขเชน นนั้ ย่งิ ถาบาปสง ผลให ไปตกนรก ก็ยิ่งไดร บั ทกุ ขทรมานไมมีที่เปรยี บ ถึงเกดิ เปน เปรตหรือสัตว ดิรัจฉาน ก็ไดรับทุกขทรมานไมนอย ฉะนั้น พระพุทธองคจึงทรงรูสึก สงสารสรรพสตั วใ นทกุ ภพภมู เิ หมอื นกบั ทพี่ ระองคร สู กึ กบั พระราหลุ โอรส ของพระองค ดวยเหตุน้ี เทพสาตาคิระจึงกลาวตอบคําถามที่ ๑ ของ เทพเหมวตะวา “พระโคดมเปนผูคงท่ี มีพระทัยสมํ่าเสมอในสัตวโลก ทุกจาํ พวกจริง” ๓๓

àËÁǵÊٵà ชาวโลกไมมที พ่ี ึ่ง อตาโณ โลโก อนภิสฺสโรติ ปสฺสนฺตานํ พุทธานํ ภค- วนฺตานํ สตเฺ ตสุ มหากรณุ า โอกฺกมติ.๑๕ “พระมหากรุณายอมหย่ังลงในสัตวทั้งหลายแกพระผูมี พระภาคผตู รสั รูทรงเหน็ วา ชาวโลกไมมผี ูคุมครอง ไมมที ี่พึง่ ” สรรพสัตวทั้งปวงทุกภพภูมิไมมีใครเฝาคอยปกปองคุมครอง และดูแลชวยเหลือได ฉะนั้นพระพุทธองคจึงทรงมีพระมหากรุณาตอ สรรพสัตวท้ังมวล อยางไรก็ดี ในชีวิตปจจุบันของมนุษยน้ันมีคนที่พวก เขาพอมองหาความชวยเหลือและเก้ือหนุนไดบาง เชน บิดามารดาให ความชวยเหลือแกบุตรธิดา บุตรธิดาใหความชวยเหลือบิดามารดาใน ยามชรา ครูใหความชวยเหลือศิษย ศิษยใหความชวยเหลือครู รวมทั้ง ญาตพิ นี่ องชว ยเหลอื เก้อื หนุนซงึ่ กนั และกัน ทวา การชวยเหลือเกือ้ หนุน เชนน้ันเพียงเรื่องธรรมดาเทานั้น เพราะความชวยเหลือเก้ือหนุนจริงจัง นั้นไมมีบุคคลใดจะใหได ตัวอยางเชน บุตรธิดาไมสามารถชวยเหลือ บิดามารดาไมใหแกชรา บิดามารดาก็ไมสามารถชวยเหลือบุตรธิดา ไมใหแกชราเชน กนั ในทํานองเดยี วกัน ไมมใี ครชว ยใครไมใหเจบ็ ปว ยได แพทยเ พยี งชว ยใหอ าการเจบ็ ปว ยทเุ ลาลงเทา นนั้ แตถ า เปน กรณขี องโรค ภัยที่ไมอาจรักษาได แพทยเหลาน้ันก็ไมสามารถทําอะไรอยางไดผลนัก ๓๔

àËÁǵÊٵà ไมสามารถหันเหความตายที่กําลังคืบคลานเขามาได ท้ังบุตรธิดา ญาติ พนี่ อ ง และเพอื่ นสนทิ มติ รสหายของผทู ก่ี าํ ลงั จะตายกไ็ มส ามารถจะหนั เห ความตายใหเ ปลีย่ นไปได ทุกอยางท่พี วกเขาสามารถทําไดกค็ อื เพยี งแต มองดผู ูท่ีกําลงั จะตายนนั้ เทา นัน้ ในทาํ นองเดยี วกนั นี้ ทุกคนไมอ าจชวย ใหผ นู ้นั ใหพน ไปจากความแกชรา การเจบ็ ปว ย และความตาย หรอื หลงั จากเขาตายแลวคนอืน่ ก็ไมอ าจชวยเหลือเพ่อื ไมใหต กนรก เกิดเปนสัตว ดิรจั ฉาน เกิดเปน เปรต หรือเกิดเปนคนยากจนได พระพทุ ธเจา เทา นนั้ ทจี่ ะชว ยเหลอื สตั วท ง้ั หลายจากหายนะดว ย การช้ีแนะใหปฏิบัติตามคําสอนของพระองค ผูดําเนินไปตามหนทางนี้ ยอมพน ไปจากความแก ความเจ็บ ความตาย ทุกขใ นอบายภูมิ และทกุ ข ในสังสารวัฏได วิธีที่ชวยน้ันเหมือนกับวิธีท่ีแพทยใชในการบําบัดรักษา คนไขเ พอ่ื รกั ษาโรค นนั่ คอื ดว ยการสง่ั ยาทเี่ หมาะสม หา มกนิ อาหาร และ กระทาํ การตา งๆ ทไ่ี มเ หมาะสม ไมมีวธิ ีการใดท่เี ปน ปาฏิหารยิ ด วยการ สง่ั ใหโ รคหายไปได หากผปู ว ยไมป ฏบิ ตั ติ ามคาํ สงั่ ของแพทย โรคกไ็ มอ าจ หายได ในทาํ นองเดียวกัน พระพุทธเจาเพยี งแตชท้ี างและใหค ําแนะนาํ ที่ถูกตองใหเทาน้ัน ผูที่ปฏิบัติตามคําแนะนําของพระองคก็จะปลอดภัย จากนรก ความแกชรา ความเจ็บปวย และความตายได อีกท้ังยัง ปลอดภัยจากวฏั ฏสงสารอนั เปนวงจรที่ไมมีที่สนิ้ สดุ ของภพชาติ พระพทุ ธเจา ทรงอบุ ตั ขิ นึ้ เพยี งบางคราวหลงั จากผา นไปหลายกปั แตละพระองคดํารงพระชนมชีพอยูระยะเวลาหนึ่งตามอายุขัยของชีวิต ในสมัยน้ันแลว ปรินิพพานไป ฉะน้ัน การจะมโี อกาสไดร ับฟงคําสอนของ ๓๕

àËÁǵÊٵà พระพุทธเจาจึงเปนโอกาสท่ียากยิ่ง แมวาพระพุทธเจาไดปรินิพพานไป แลว บุคคลยังไดฟงคําสอนของพระองคท่ีถายทอดโดยพระภิกษุและ ฆราวาสที่มีความรู และสามารถปฏิบัติตามคําสอนของพระพุทธองค เพื่อชวยตนเองใหพนจากนรกและไมตกอยูในวังวนของสังสารวัฏตอไป อีก แตโอกาสท่ีวาน้ันไมอาจจะไดรับในทุกภพชาติ ในโลกน้ีมีความเช่ือ หลากหลาย หากใครกต็ ามปฏบิ ตั ติ ามความเชอื่ ทผ่ี ดิ นนั้ กจ็ ะเปน การเสยี่ ง อนั ตราย เนื่องจากหากคนน้นั ปฏิบัติตามคําสอนที่ผิดเพื่อไปสปู ลายทาง ท่ีผิด เขาก็จะจมลึกลงไปสูวังวนของสังสารวัฏไมรูจบ แตพระพุทธเจา ทรงสงสารสรรพสตั วไ มวา สัตวเ หลาน้นั ปฏิบัติตามความเชอื่ อะไร ความ สงสารของพระองคนั้นใหญหลวงมากเพราะทรงเขาใจวาสรรพสัตวใน หลากหลายภพภูมิกําลังปฏิบัติตามทางที่ผิดอยู ดังท่ีไดทรงพิจารณา ใครครวญวา กมุ ฺมคฺคํ ปฏปิ นฺโน โลกสนฺนวิ าโสติ ปสฺสนฺตานํ พทุ ฺธานํ ภควนฺตานํ สตเฺ ตสุ มหากรุณา โอกกฺ มติ .๑๖ “พระมหากรุณายอมหยั่งลงในสัตวทั้งหลายแกพระผูมี- พระภาคผูตรัสรูท รงเหน็ วา ชาวโลกดําเนนิ ไปสูท างผดิ ” ๓๖

àËÁǵÊٵà คนเดนิ ทางผิดที่นา สงสาร ผูปฏิบัติตามความเช่ือผิดนาสงสารมากกวาคนอื่นจริงๆ แมวา เขาไดพยายามแสวงหาทางที่ถูกตองเพ่ือความสุขและความเปนอยูที่ ดีแลว ก็ตาม เขาเขาใจวา ทางที่ผดิ นั้นเปน ทางถูก แลว ปฏิบัติไปตามทาง ผิดซ่ึงจะชักนําเขาไปสูหายนะมากย่ิงขึ้น สวนผูปฏิบัติตามคําสอนของ พระพุทธเจาก็ไมควรเห็นวาปลอดภัยที่ไดพบทางที่ถูกตองแลว แตควร ปฏิบัติเพื่อใหบรรลุถึงมรรคผลข้ันใดข้ันหนึ่งเปนอยางนอย เน่ืองจาก เปนทางเดยี วทที่ ําใหม น่ั ใจวาปลอดภยั จากภยั พิบัติท้ังปวง แมในปจจุบันเราจะเปนชาวพุทธ ในภพหนาอาจไมอยูกับบิดา มารดาและครูบาอาจารยในปจจุบัน อาจกลับไปเกิดกับบิดามารดาท่ี นบั ถอื ศาสนาอ่นื ก็อาจทาํ ใหเดนิ ทางผิดได ดว ยเหตุน้ี พระพุทธองคจงึ ทรงสงสารสัตวทั้งหลายท่ีไมมีใครชวยใหพนจากภัยพิบัติแหงความชรา การเจบ็ ปวย และความตาย หรือพน ไปจากนรกรวมทัง้ ความเชือ่ ท่ผี ิดๆ น้ันดวย และความสงสารน้ีก็เทาเทียมกันในสรรพสัตวท้ังมวล ไมมีการ แบงฝา ยใดๆ วาเปน สาวกของตนหรือผูอน่ื ๓๗

àËÁǵÊٵà คาํ ถามตอบระหวางพระเจาโกรพั ยะ กบั พระรฏั ฐปาละ ในโลกน้ีมีกษัตริยหลายพระองคท่ีมีกองทัพอันยิ่งใหญพอ จะคุมครองพระองคได สําหรับกษัตริยเหลาน้ันอาจกลาววาพระองค ปลอดภยั ทางโลกวิสยั แตก ษัตรยิ เหลานน้ั กต็ อ งแกไ ปตามกาลเวลา ไมม ี กองรักษาพระองคท ีจ่ ะสามารถปกปองใหพนจากความแก การเจบ็ ปวย และความตายมิใหคืบคลานเขา มาได ในสมัยพุทธกาลมีพระอรหันตรูปหนึ่งช่ือพระรัฏฐปาละ เปน บตุ รเศรษฐีและพระสหายของพระเจาโกรพั ยะ วนั หนง่ึ พระเจา โกรพั ยะ ตรัสถามทา นวาเหตุใดจึงออกบวช ทานตอบเรอ่ื งทอี่ อกบวชหลังจากได ฟงเทศนาของพระพุทธเจาเกี่ยวกับหลักธรรม ๔ ประการ เชน การท่ี สตั วท้งั ปวงไมม ผี คู มุ ครองปอ งกันและไมมที ่พี ่งึ พิง เปน ตน ดังทจ่ี ะกลาว ตอ ไป พระเจาโกรัพยะไมเขาพระทัยความหมายของขอความนี้ จึง ตรัสถามพระรัฏฐปาละวา “ทานรัฏฐปาละ เรามีกองทัพมากมายที่ จะปองกันเรา กองทัพของเราพึ่งพาอาศัยได คําท่ีทานกลาววา ‘ไมมี ผูค ุมครองปองกนั และไมมีท่พี ึง่ นี’้ หมายความวา กระไร” ๓๘

àËÁǵÊٵà พระรัฏฐปาละวสิ ัชนาวา “มหาบพติ ร พระองคไมเ คยประชวร หนักเลยหรอื ถา พระองคตอ งประชวรหนักจะรสู ึกอยางไร” พระเจา โกรพั ยะตรสั ตอบวา “ทา นอาจารย ขา พเจา เคยเจบ็ หนกั บางครงั้ กเ็ กอื บตาย บรรดาอาํ มาตยแ ละญาตมิ ติ รไดเ ขา มาหอ มลอ มแลว รองไหส ะอกึ สะอื้นเพราะคดิ วา ขาพเจากําลังจะตาย” พระรัฏฐปาละถามตอวา “มหาบพิตร เมอ่ื พระองคเ สวยเวทนา กลาอยูน้ัน พระองคแบงความเจ็บปวดน้ันใหแกญาติและสหายไดบาง หรือไมเ ลา หรือวาพระองคตอ งเสวยเวทนาแตผูเดยี ว” พระเจาโกรัพยะตรัสตอบวา “ขาพเจาไมสามารถแบงความ เจ็บปวดใหไ ด ขา พเจาตอ งเสวยเวทนาแตผ เู ดยี ว” พระรัฏฐปาลถวายพระพรวา “ถูกแลว มหาบพิตร ไมมีใคร จะสามารถคุมครองปองกันหรือเปนที่พ่ึงพาอาศัยในยามตกทุกขไดยาก เชนน้ี เหตุน้ัน พระพุทธองคจึงตรัสวา สัตวโลกไมมีผูคุมครองและไมมี ทพี่ ่งึ ” ฉะน้ัน เปนท่ีแนชัดวา แมวาบุคคลน้ันจะมีคนมากมายคอย ปกปอ งคุม ครองเขาในเร่ืองทางโลกกต็ าม แตอ าจกลา วไดวา เขาไรความ ชว ยเหลอื เก่ยี วกับความแกชรา การเจ็บปวย และความตาย ๓๙

àËÁǵÊٵà ชาวโลกไมม ีอะไรเปนของตน อสสฺ โก โลโก สพพฺ ํ ปหาย คมนยี นตฺ ิ ปสสฺ นฺตานํ พทุ ธฺ านํ ภควนตฺ านํ สตฺเตสุ มหากรุณา โอกฺกมติ.๑๗ “พระมหากรุณายอมหย่ังลงในสัตวท้งั หลายแกพระผูม-ี พระภาคผูตรัสรูทรงเห็นวา ชาวโลกไมมีอะไรเปนของตน จําตอ งละท้ิงสง่ิ ทั้งปวงไป” ชาวโลกไมม ที รัพยสินใดท่อี าจเรยี กวา เปน ของตนเอง เนอื่ งจาก วาบุคคลนั้นตองละทิ้งทุกส่ิงทุกอยางไวเม่ือเขาเสียชีวิตแลวไปสูภพใหม พระพุทธองคทรงรูแจงความจริงขอนี้ ความกรุณาของพระองคท่ีมีตอ สรรพสัตวจึงยิ่งใหญ หรืออาจกลาวอีกอยางหน่ึงวา พระมหากรุณาได บงั เกิดขึ้นในพระหฤทยั ของพระองค โดยทั่วไปคนทั้งหลายมีส่ิงท่ีพวกเขาเรียกวาทรัพยสินสวนตน เชน เงนิ ทอง ขาวเปลือก วัว ควาย ชาง มา พาหนะ นา สวน ฯลฯ แต เมอ่ื เขาเสยี ชวี ติ แลว กต็ อ งละทง้ิ สง่ิ ของเหลา นน้ั ทง้ั หมดไวข า งหลงั แมแ ต รางกายของตนเองก็ตองถูกละทิ้งไวเชนกัน ความตายอาจจะมาถึงใน วนั นห้ี รอื พรงุ นก้ี ไ็ ด ฉะนนั้ เราไมอ าจกลา วไดว า เวลาเชน นน้ั ยงั อยหู า งไกล แมกระท่ังในชว งอายขุ องบางคน สิ่งของทางโลกเหลาน้ีอาจถกู ลักขโมย และยดึ เอาไปดว ยการใชก าํ ลงั กไ็ ด เพราะวา ทจ่ี รงิ แลว ทรพั ยส นิ เหลา นน้ั ไมใ ชข องตนเอง ๔๐

àËÁǵÊٵà ส่ิงท่ีเราครอบครองไดจริงๆ ก็คือความดีหรือบุญกุศลของตนท่ี เปนการใหทาน การรกั ษาศลี และการเจรญิ ภาวนา สิ่งเหลานมี้ อิ าจถูก ขโมยหรือปลนเอาไปได แลวเรายังสามารถนําไปยังภพหนาไดอีก ผูที่ กระทําความดีไวม ากจะอยดู มี สี ุขในภพตอๆ ไป เพราะฉะน้ัน จึงจําเปน ทจี่ ะตอ งสง่ั สมคณุ งามความดดี ว ยการใหท าน รกั ษาศลี และเจรญิ ภาวนา อยา งจรงิ จงั แมเ ราจะจนทรพั ยก อ็ ยา เปน คนจนทาน จนศลี จนภาวนา โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ประการสดุ ทา ยคอื ภาวนา เปน สงิ่ สาํ คญั ทสี่ ดุ เราตอ งพยายามจนสดุ ความสามารถ ถา มโี อกาสปฏบิ ตั ธิ รรมเพยี งวนั หรอื สองวัน ก็ควรพยายามอยาละเลย ถารูวิธีปฏิบัติธรรมอยางถูกตองดวย เวลาเพยี งสองสามวนั แลว เรากอ็ าจนาํ ไปปฏบิ ตั ติ อ ไดท บี่ า นเทา ทม่ี เี วลา การปฏิบัติเชนน้ันทรงคามากและไมตองเสยี คาใชจ ายแตอ ยางใด คนท่ีส่ังสมอริยทรัพยเหลานี้ไวยอมสามารถพึ่งพาบุญกุศลของ ตนไดในเวลาเสียชีวิต ในตอนนั้นเขาจะส้ินใจอยางสงบดวยการปฏิบัติ วิปสสนาจนกระท่ังลมหายใจสุดทาย หลังจากเสียชีวิตแลวเปนที่เชื่อได วาเขาจะไปเกดิ ในสวรรค ดังนนั้ ทกุ คนจงึ ควรหมัน่ สั่งสมทาน ศีล และ ภาวนาเพอ่ื เปนเสบียงทิพยใ นภพตอ ไป ทรัพยสินทางโลกนั้นไมใชของตนเอง แตเปนทรัพยสินท่ัวไปที่ ตองละทิง้ ไวใ หคนท่อี ยูเบ้อื งหลังไวช่นื ชม ฉะน้นั ถาเรามใี จยดึ ติดผูกพัน กับทรัพยสินทางโลกแลว บางทีอาจไปเกิดเปนเปรตที่ตองรับทุกขแสน สาหัส พระพุทธองคทรงรูเห็นวาชาวโลกสะสมทรัพยสินแลวตองละทิ้ง ไวใ นยามสิน้ ชีวติ จงึ เกิดพระมหากรณุ าอนั ใหญหลวงแกสรรพสตั ว ๔๑

àËÁǵÊٵà ตณั หาไมรจู กั อิม่ อูโน โลโก อติตฺโต ตณฺหาทาโสติ ปสฺสนฺตานํ พุทฺธานํ ภควนฺตานํ สตฺเตสุ มหากรุณา โอกกฺ มติ.๑๘ “พระมหากรุณายอมหย่ังลงในสัตวทงั้ หลายแกพระผูม-ี พระภาคผตู รสั รทู รงเหน็ วา ชาวโลกพรอ ง ไมร จู กั อม่ิ เปน ทาส ของตัณหา” พระพทุ ธเจา ทรงเลง็ เหน็ วา เหลา สตั วถ กู ครอบงาํ ดว ยความอยาก ไดที่ไมรูจักพอ จึงเปนเหตุใหตกเปนทาสของตัณหา สรรพสัตวนั้นถูก ตัณหาทําใหหิวกระหายตลอดเวลา ตัณหาน้ันเปรียบไดกับการหิวขาว หรือกระหายนํ้า มันกระหายใครไดสง่ิ ทด่ี แี ละนา พอใจอยเู สมอ ถึงไดร ับ รปู ทส่ี วยงาม เสยี งทไี่ พเราะออ นหวาน กลน่ิ ทห่ี อมหวน รสทอ่ี รอ ย สมั ผสั ท่ีนุมน่ิมถูกใจ ก็ไมรูจักอิ่มหรือเพียงพอ แมจะเกิดในภพที่อุดมสมบูรณ หรอื มีอายยุ ืนยาวนานเพยี งใด ก็ไมเพยี งพอตอ ความตองการ หรอื แมจะ ไดรับช่ือเสยี งมากเพียงใด กย็ งั ไมรูสึกเพียงพอ ความตอ งการของพวกเขาทวีคูณขนึ้ เร่อื ยๆ ไมรูจ บ ความอยาก เหลา นี้เองทบี่ งการใหพวกเขาไมร จู ักพอ แมม ขี องส่งิ หนงึ่ แลว ก็อยากได เพม่ิ เปน หลายอยา ง แมม บี รวิ ารหนง่ึ คนแลว กอ็ ยากไดเ พมิ่ มากขน้ึ ทกุ คน หวิ กระหายอยากไดม ากขนึ้ เรอ่ื ยไป ในปจ จบุ นั นม้ี เี ศรษฐมี ากมายในบาง ๔๒

àËÁǵÊٵà ประเทศที่มเี งนิ นบั แสนลา น แตความตองการทะยานอยากก็ไมม เี พดาน อยูดี เพราะพวกเขาไมเคยพอใจ กษัตริยไมเคยหยุดแผนการขยาย อาณาจักรเพราะตองการดนิ แดนใหมาอยูใตอ าํ นาจของตนมากขน้ึ ๆ เหลา เทวดายิ่งมีความกระหายอยากมากกวา มนษุ ย เทวดาบาง ตนทมี่ อี าํ นาจยง่ิ ใหญม กั มนี างฟา ราว ๕๐๐ หรอื ๑,๐๐๐ นางเปน บรวิ าร ในวิมานของตน เทวดาเหลาน้ีสนุกสนานรื่นรมยกับส่ิงท่ีช่ืนชอบในชีวิต บนสวรรค แลวยงั ตอ งการเพม่ิ ข้นึ อกี ไมรูจกั อ่ิม ดังท่ีทา วสักกะจอมเทพ ไดก ลา ววา “เทวดาคลา ยกบั เปรตทห่ี วิ อยตู ลอดเวลาเพราะไมร จู กั พอ”๑๙ เปน ความจรงิ ทวี่ า สรรพสตั วเ ปน ทาสของความโลภ ตอ งทาํ ตาม ท่ตี ณั หาส่ังทุกอยาง ถาตัณหาตองการสิง่ นี้ ก็ตอ งแสวงหาใหไ ดม าแมจ ะ ตอ งเสยี่ งภยั ตอ ชวี ติ บางคนออกไปแสวงหาตามทต่ี ณั หาเรง เรา กต็ อ งภยั พิบัติถึงแกชีวิต พวกเขาตองทํางานทุกวันและตลอดชีวิตของเขาเพ่ือ สนองตณั หา หลงั จากเสยี ชวี ติ แลว ไปสภู พหนา พวกเขากย็ งั เปน ทาสของ เจานายคนเดมิ อีกดวย นน้ั คอื ตณั หาน่นั เอง พวกเขาจึงไมมเี วลาพกั ผอ น เลย ในโลกน้ี ทาสคนหนึ่งอาจยังคงเปนทาสอยูเฉพาะชวงชีวิตของ เขาเทานัน้ แตว า ทาสของตณั หานนั้ มชี วงเวลาทไ่ี มรูจบส้ิน จนกวาเวลา แหง ความหลดุ พน จะมาถงึ เมอ่ื เขาไดบ รรลธุ รรมเปน พระอรหนั ตน นั่ แหละ กอนจะเปนพระอรหันตนั้น อวิชชาทําหนาท่ีปดบังใหชาวโลกไมเห็น โทษของตณั หา จงึ เพลดิ เพลนิ ยนิ ดยี อมตกเปน ทาสดว ยความเตม็ ใจ๒๐ ตณั หาทําใหส ่งิ เหลา นน้ั นารื่นรมย จงึ ชวยเรง ใหสรรพสัตวด น้ิ รนไขวควา ๔๓

àËÁǵÊٵà เพื่อใหไดสิ่งเหลานั้นมาครอบครอง พวกเขาด้ินรนตลอดชีวิต ไมเคย พอใจกับสิ่งที่ไดมาแลว และหิวกระหายอยูเสมอไมมีชวงเวลาใดที่จะ พอใจเลย จงึ ทาํ ใหพ วกเขาตกอยใู นสภาพทกุ ขท รมานตลอดไป สง่ิ ทกี่ ลา ว มาน้ีพระพุทธเจาทรงรับทราบ จึงทําใหพระองคมีความกรุณาอันใหญ หลวงแกส รรพสัตวในทกุ ภพภมู ิ สรุปความวา ประเด็นในคําสนทนาระหวางพระรัฏฐปาละกับ พระเจาโกรัพยะ เรียกวา ธัมมุทเทส คือ หัวขอธรรมท่ีสําคัญ๒๑ มี ๔ ประการ คือ ๑. ชาวโลกถกู ชรานําไปแลว ไมยั่งยนื (อปุ นยี ติ โลโก อทธฺ ุโว) ๒. ชาวโลกไมม ีผคู ุมครอง ไมมที ีพ่ ึง่ (อตาโณ โลโก อนภิสสฺ โร) ๓. ชาวโลกไมมีอะไรเปนของตน จําตองละท้ิงส่ิงท้ังปวงไป (อสฺสโก โลโก, สพพฺ ํ ปหาย คมนีย)ํ ๔. ชาวโลกพรอง ไมรูจักอิ่ม เปนทาสของตัณหา (อูโน โลโก อตติ โฺ ต ตณหฺ าทาโส) พระรฏั ฐปาละกลา ววา พระพทุ ธองคท รงเหน็ สภาพทนี่ า เศรา สลด ของสรรพสตั วน้ี จึงเปน เหตใุ หพระองคเกดิ ความกรณุ าอยางยง่ิ ไดท รง รําพึงกับพระองคเองวา ไมมีใครนอกจากพระองคเทาน้ันที่จะชวยสัตว เหลานี้ได ฉะนนั้ เทพสาตาคริ ะจึงกลา วถึงพระมหากรณุ าอนั ยิ่งใหญข อง พระพุทธเจาวาทรงมีตอสรรพสัตวทั้งปวงอยางเสมอภาค ไมแบงแยก ลาํ เอยี งเปนฝก ฝา ย ๔๔

àËÁǵÊٵà พระพุทธเจา ทรงควบคุมจติ ได เทพสาตาคริ ะกลาวตอ ไปวา “พระพุทธเจา ทรงทําความดาํ รใิ น อิฏฐารมณและอนิฏฐารมณใหอยูในอํานาจได” นี่คือคําตอบตอคําถาม ของเทพเหมวตะที่ถามวา พระพุทธเจาทรงเวนจากความพอใจเมื่อพบ กับส่ิงท่ีนา พอใจ และความโกรธเมอื่ พบกับสง่ิ ท่ไี มน าปรารถนาหรือ อัน ตางจากบุคคลอื่นท่ีหวั่นไหวกวัดแกวงไปมาเม่ือเผชิญกับอารมณตางๆ คาํ ถามนี้จงึ ตรงประเด็นมากๆ และคําตอบก็เหมาะสมชดั เจน ครง้ั หนงึ่ มชี ายคนหนง่ึ เชญิ เพอื่ นผทู ดี่ เู หมอื นไมส นใจเรอ่ื งศาสนา โดยตองการใหเ ขามารับศลี ฟง ธรรมจากภิกษุทท่ี รงความรู เพือ่ นที่ไดรับ เชญิ นนั้ ตงั้ คาํ ถามวา “พระอาจารยข องทา นทาํ อะไรเปน บา ง ดดู วงไดไ หม หรือเลนแรแปรธาตุ ชวยใหร่ํารวย ชวยคูครองที่แตกแยกใหปรองดอง กัน ชวยใหเลื่อนตําแหนงสูง ชวยใหอยูในตําแหนงอยางมั่นคงไดไหม” ดังนเ้ี ปนตน คาํ ถามเหลา นจ้ี ดั วา เปน คาํ ถามทอ่ี วดดี ผบู รรยายมไิ ดพ ดู เรอื่ งน้ี ข้ึนเองจากจนิ ตนาการ แตฟง มาจากผูที่เชอื่ ถอื ได คําถามเชนนีม้ สี าเหตุ มาจากความโงเขลาไรศรัทธา แตคําถามในเรื่องน้ีของเทพเหมวตะตรง ประเดน็ และสมควรถาม จัดวาเปนคําถามของผูม ีปญ ญา เพราะในสมยั พุทธกาลมีเจาลทั ธิหลายคนอางวาตนเปน พระพทุ ธเจา มี ๖ คน๒๒ ไดแก ๔๕

àËÁǵÊٵà ๑. ปรู ณกสั สปะ ครปู ูรณะผเู กิดในตระกูลกัสสปะ ๒. มกั ขลโิ คสาล ครูโคสาล (คนเกิดที่คอกวัว) ซึง่ เจา นายพูดวา อยา ลน่ื ลม ๓. อชิตเกสกัมพล ครูอชติ ะผูนุงหมผา ทท่ี อดวยผมมนุษย ๔. ปกธุ กัจจายนะ ครูปกุธะผูเ กิดในตระกูลกัจจายนะ ๕. นิครนถนาฏบตุ ร ครูนคิ รนถบ ุตรนักฟอน๒๓ ๖. สัญชยั เพลัฏฐบตุ ร ครูสญั ชัยบุตรนายเพลฏั ฐะ ศาสดาจอมปลอมเหลานี้มีสาวกจํานวนมากเช่ือถือกันวาเปน พระสพั พญั ผู รู ูแ จง อดีต ปจจบุ ัน และอนาคต เปน ทีเ่ ลอื่ มใสนับถือของ คนจํานวนมาก อยางไรก็ดี เทพเหมวตะรูดีวาศาสดาเหลานี้ไมอาจ ทาํ ความดาํ รใิ นอฏิ ฐารมณแ ละอนฏิ ฐารมณใ หอ ยใู นอาํ นาจได พวกเขายงั เปน ไปตามอาํ นาจของจติ โดยรสู กึ รกั ใครห รอื โกรธเคอื งอยู ทา นตอ งการ ทราบวาพระบรมครูของสหายสาตาคิระนั้นเปนเหมือนศาสดาทั้ง ๖ หรือไม จึงถามคําถามเชนนี้ สาตาคิระไดตอบคําถามนั้นโดยรับรองวา พระพุทธองคทรงทําความดําริในอิฏฐารมณและอนิฏฐารมณใหอยูใน อาํ นาจไดจ รงิ ๔๖

àËÁǵÊٵà พระพทุ ธเจามีพระทัยคงที่ พระพทุ ธเจา ทรงเหน็ อฏิ ฐารมณใ หเ ปน อนฏิ ฐารมณ เหน็ อนฏิ ฐา- รมณใ หเ ปน อฏิ ฐารมณ และวางเฉยตอ อฏิ ฐารมณแ ละอนฏิ ฐารมณท ง้ั สอง อยางได โดยปฏิเสธท้ังอิฎฐารมณและอนิฏฐารมณดวยทัศนะแหงจิตที่ เทาเทียมกัน จะเห็นไดวา พระพุทธองคทรงดําริส่ิงที่สวยงามนารักให เปนสิ่งปฏิกูลนารังเกียจได ดังท่ีทรงเห็นวาหญิงงามชื่อนางมาคัณฑิยา เต็มไปดว ยอวัยวะ ๓๒ มี ผม ขน ฯลฯ ท่ีนารังเกียจขยะแขยง ไมมสี วน ใดเลยท่ีถือวานาปรารถนาชื่นชม๒๔ ในทํานองเดียวกัน ทรงมองเห็น ลกู สาวสวยสามนางของพญามารวา เปน เพยี งกองรปู ทเ่ี กดิ ดบั อยทู กุ ขณะ รวมกนั เปนองคประกอบทางกายภาพที่นารังเกยี จโดยแท๒ ๕ ไมเฉพาะแตพระพุทธองคเทานั้น แมพระอรหันตสาวกของ พระองคก เ็ หน็ สงิ่ ทงั้ หลายในทาํ นองเดยี วกนั ทา นสามารถควบคมุ จติ ของ ตนใหอ ยใู นอาํ นาจไดโ ดยเหน็ อฏิ ฐารมณใ หเ ปน อนฏิ ฐารมณ แมผ ทู ไี่ มเ ปน พระอรหันตแตฝกปฏิบัติกรรมฐานพิจารณาความไมสวยงาม (อสุภ- กรรมฐาน) กย็ งั เหน็ องคป ระกอบทางกายภาพเหลา นน้ั ตามอาการทเี่ ปน จริงเหมอื นกัน ๔๗

àËÁǵÊٵà สมัยหน่งึ ในประเทศลงั กา ทา นพระมหาติสสะเดนิ บณิ ฑบาตมา จากภูเขาเจติยบรรพต ไดเห็นหญิงสาวนางหน่ึงกําลังหัวเราะ ทาน พจิ ารณาฟนของนางแลวเกดิ อสุภนิมิตไดบรรลุฌาน ครนั้ ออกจากฌาน เจริญวิปสสนาตอก็ไดบรรลุธรรมเปนพระอรหันต๒๖ ผูท่ีกําลังปฏิบัติ วปิ ส สนากรรมฐานจนบรรลภุ งั คญาณมกั รเู หน็ สงิ่ ตา งๆ วา ดบั ไปอยเู สมอ ในทุกขณะ จัดวาเปล่ียนส่ิงสวยงามท่ีเห็นใหเปนอนิฏฐารมณไดเชน เดียวกนั ๔๘

àËÁǵÊٵà เหน็ อฏิ ฐารมณใ หเปน อนฏิ ฐารมณ พระพุทธเจาทรงควบคุมความคิดใหอยูในอํานาจของพระองค ได จึงสามารถเห็นอิฏฐารมณใหเปนอนิฏฐารมณได ไมวารูปท่ีเห็นนั้น จะสวยงาม เสียงจะไพเราะ กล่ินจะหอมหวน รสจะอรอย หรือสมั ผสั ดี เลิศเพียงใด ก็เห็นวาเปนอารมณท่ีไมนาปรารถนาโดยรับรูวาเปนอสุภะ ทีน่ ารังเกยี จ หรอื รวู า เปน สิง่ ทเ่ี กิดดับอยูในทุกขณะ นอกจากนั้น ผูที่เจริญกรรมฐานท่ีพิจารณาวาอาหารเปนสิ่ง ปฏกิ ูล (อาหาเรปฏกิ ลู สัญญา) ก็อาจมองอาหารที่เปน อิฏฐารมณใหเปน อนิฏฐารมณได แมผูปฏิบัติที่ไดบรรลุภังคญาณแลวยอมรูเห็นความดับ ไปอยา งรวดเรว็ ในขณะบรโิ ภคอาหาร จงึ ปราศจากความรสู กึ ยนิ ดีพอใจ ตอ สงิ่ ทบ่ี รโิ ภค เขาบริโภคโดยคดิ วาอาหารจาํ เปน ตอ รางกาย ไมใ ชส ิ่งท่ี นา ยนิ ดีพอใจ คนท่ัวไปบริโภคอาหารดวยความพอใจในรสชาติ จึงยากที่จะ พจิ ารณาใหเ หน็ ความนา รงั เกยี จของอาหาร บางคนถงึ กบั พดู วา “อาหาร เปนสิ่งที่ทําใหนากิน การพิจารณาอาหารท่ีนากินใหไมนากิน ไมมี ประโยชนอันใด” คําพูดน้ันเปนไปดวยความหลงไมรูจริงและตัณหาที่ พอใจรสชาตินน่ั เอง ๔๙

àËÁǵÊٵà แมกระท่ังสมั ผสั ท่ีดีเลิศคือทนี่ ั่ง ท่ีนอน เปนตน พระพทุ ธเจา ก็ ทรงรูเห็นความเกิดดับของส่ิงเหลาน้ันแลวเห็นวาเปนอนิฏฐารมณเชน เดยี วกัน เหน็ อนิฏฐารมณใหเ ปน อฏิ ฐารมณ ในการเห็นอนิฏฐารมณใหเปนอิฏฐารมณน้ัน พระพุทธเจาทรง เปลี่ยนสัตวท่นี า รงั เกียจใหเ ปน ท่รี กั ไดด ว ยเมตตาของพระองค พระองค ทรงเห็นสัตวเหลาน้ันวานาสงสารดวยกรุณา เม่ือพระองคทรงเห็นสัตว เหลา น้ันวา นารกั นาสงสารเสมือนของราหุลโอรสของพระองค ดังนน้ั จงึ ทรงเห็นพระเทวทัตผูที่พยายามปลงชีวิตของพระองคดวยการกลิ้งศิลา กอนใหญลงมาจากเขาคิชฌกูฏดวยความเมตตาและกรุณาเทาๆ กับที่ ทรงมองโอรส ทรงมีความปรารถนาดีตอเทวทัตเชนเดียวกับโอรสของ พระองค๒ ๗ จึงทรงเปลี่ยนสิ่งทไี่ มน าพอใจเปนเปน ส่งิ ทพี่ อใจได นอกจากน้ัน พระองคยังเห็นอนิฏฐารมณที่สกปรกนารังเกียจ ขยะแขยงใหเปนอิฏฐารมณดวยการเพงดูวารางกายน้ีเปนเพียงธาตุ ๔ ดงั เชน ทรงหยบิ ผา สา หรจี ากรา งของนางทาสชี อ่ื ปณุ ณาทเี่ สยี ชวี ติ มาเปน ผาบังสุกูลจีวรโดยไมรูสึกขยะแขยงแตอยางใด๒๘ ดวยเหตุผลเดียวกันน้ี พระองคเสวยขนมท่ีตกลงจากชายผานุงของพระนางมัลลิกาโดยไมมี ความขยะแขยง๒๙ อีกท้ังยังรับและเสวยอาหารท่ีเปนเดนของพราหมณ ชือ่ ปญจคั คทายกโดยไมท รงขยะแขยงเลย๓๐ ๕๐

àËÁǵÊٵà พระมหากัสสปะกบั คนโรคเรอื้ น ในเรื่องนี้การไมรูสึกขยะแขยงของทานพระมหากัสสปะเปนสิ่ง ท่ีชัดเจนมาก คร้ังหน่ึง ทานพระมหากัสสปะยืนรออาหารบิณฑบาตใน สถานทซี่ ึ่งคนโรคเร้ือนกนิ อาหารอยู ทา นยนื รออยตู รงนนั้ เพ่อื จะชว ยให ผูปว ยคนนนั้ ไดบ ญุ กุศลซึง่ จะใหผ ลเปน ความสขุ ในภพหนา คนโรคเรอ้ื น ท่ีกําลังกินอาหารอยูก็ถวายอาหารแกทานดวยศรัทธาอยางแรงกลา ใน ขณะใสอาหารลงในบาตร บังเอิญน้ิวขางหนึ่งท่ีติดโรคขาดหลุดลงไป ในบาตร ทานมิไดหยิบน้ิวนั้นออกไป แตกลับฉันอาหารนั้นโดยไมรูสึก ขยะแขยงแตอยา งใด๓๑ ท่ีกลาวมาน้ีเปนตัวอยางของการเห็นส่ิงท่ีเปนอนิฏฐารมณให เทา กบั สง่ิ ทถี่ อื วา เปน อฏิ ฐารมณใ นมมุ มองทเี่ ปน สภาวะของธาตุ ๔ เทา นนั้ พระอรหันตทุกรูปสามารถพิจารณาเชนนี้ไดโดยมิจําเปนตองกลาวถึง พระพทุ ธเจา เลย ๕๑

àËÁǵÊٵà วางเฉยตออิฏฐารมณและอนิฏฐารมณ นอกจากนั้น พระพุทธเจายังทรงวางเฉยตออิฏฐารมณและ อนฏิ ฐารมณท ง้ั สองอยางได โดยปฏเิ สธท้ังฝายดีและไมด ี ทสี่ าํ คญั ที่สุดก็ คือความวางเฉยไมรูสึกทรมานตอความเจ็บปวยทางกาย พระพุทธเจา ทรงรูสึกเจ็บเพราะพระบาทของพระองคถูกสะเก็ดหินจากกอนหินที่ พระเทวทตั กลงิ้ ลงมาจากภเู ขากระทบ แตพ ระองคท รงเหน็ การเจบ็ ปวด นัน้ อยางไมทรมาน สามารถวางเฉยตอทุกขเวทนานน้ั ได ยง่ิ กวานนั้ ใน ชว งพรรษาสุดทายของพระชนมชีพ พระองคท รงไดรับทกุ ขท รมานจาก โรครายอยางแสนสาหัส แตพระองคกลับวางเฉยตอทุกขเวทนาทาง รา งกายได ไมเ พียงพระพทุ ธเจา เทา น้ัน แตพ ระอรหันตท ง้ั หลายก็สามารถ วางเฉยตออารมณฝายดีและไมดีท้ังสองอยางไดเชนกัน คุณลักษณะนี้ เรียกวา ฉฬงคเุ ปกขา คือ อเุ บกขาท่ีมอี งค ๖ คือ วางเฉยตออารมณ ๖ ที่มาปรากฏทางใจนน่ั เอง๓๒ ผูเจริญวิปสสนากรรมฐานท่ีไดบรรลุสังขารุเปกขาญาณแลว ยอมสามารถวางเฉยตออิฏฐารมณและอนิฏฐารมณไดดวยการสักแต รเู ทา ทนั รปู นามปจ จบุ นั ผปู ฏบิ ตั เิ หลา นน้ั อาจกลา วไดว า เพยี บพรอ มดว ย คณุ ธรรมบางสว นของพระพทุ ธเจา และพระอรหนั ตช ว่ั คราว ผทู ไี่ ดบ รรลุ วปิ สสนาญาณข้นั น้ีควรจะดใี จกบั เรื่องน้ี ๕๒

àËÁǵÊٵà นอกจากน้ัน ความดาํ รทิ เี่ ปน อกุศล มี ๓ ประเภท๓๓ คือ ๑. กามสงั กัปปะ ความตรกึ ในทางอยากไดก ามคณุ ๕ ๒. พยาปาทสังกปั ปะ ความตรกึ ในทางโกรธเคอื ง ๓. วหิ งิ สาสงั กัปปะ ความตรึกในทางเบียดเบยี นทาํ ราย สว นความดาํ ริที่เปน กุศล มี ๓ ประเภท๓๔ คือ ๑. เนกขมั มสงั กปั ปะ ความตรกึ ในทางออกจากกาม ๒. อพั ยาปาทสังกัปปะ ความตรึกในทางไมโ กรธเคือง ดว ยเมตตา ๓. อวิหงิ สาสงั กปั ปะ ความตรกึ ในทางไมเ บยี ดเบยี น ดวยกรณุ า ความดําริท่ีเปนอกุศลน้ีตองถูกกําจัดใหหมดสิ้นไปจากจิตของ ทกุ คน สว นความดาํ รทิ เี่ ปน กศุ ลเปน สง่ิ ทค่ี วรสง่ั สมใหเ กดิ ขนึ้ อยา งบรบิ รู ณ อยูเสมอ ชาวโลกสวนใหญมักอยากไดสิ่งท่ีนาพอใจในเวลาพบกับ อิฏฐารมณ อีกทั้งมักโกรธอยากเบียดเบียนทําลายส่ิงที่ตนไมพอใจใน เวลาพบกับอนิฏฐารมณ แตพระพุทธเจาทรงปราศจากความคิดช่ัวราย เหลาน้ัน จิตของพระองคพนไปจากความเพลิดเพลินยินดีในเวลาพบ กบั อิฏฐารมณ มีเพยี งจิตที่ประกอบดวยความดาํ รทิ ่ีดงี ามเทานั้น แมใน เวลาพบกับอนิฏฐารมณ จิตของพระองคก็ประกอบดวยเมตตากรุณา และมลี ักษณะผอ งใสดงี ามและอยใู นการควบคุมอยางดีเสมอ ๕๓

àËÁǵÊٵà พระพทุ ธองคท รงควบคมุ จติ ของพระองคอ ยา งละเอยี ดประณตี ดว ยความดาํ รทิ ด่ี งี ามตามทกี่ ลา วมาน้ี อกี ทงั้ ทรงควบคมุ จติ ใหด เี ลศิ ไมว า จะเปนชั่วขณะหนึ่ง ตลอดวันหน่ึง หรือตลอดเจ็ดวันตามที่พระองค ปรารถนาดว ยการเขา ฌานสมาบัติหรอื ผลสมาบตั ิ ฉะน้นั เทพสาตาคิระ จงึ กลา ววา “พระพทุ ธเจา ทรงทาํ ความดาํ รใิ นอฏิ ฐารมณแ ละอนฏิ ฐารมณ ใหอ ยใู นอาํ นาจไดจ รงิ ” ซงึ่ หมายความวา พระองคท รงมคี วามดาํ รทิ ด่ี งี าม ตอ สงิ่ ทนี่ า พอใจและไมน า พอใจเหมอื นๆ กนั โดยมคี วามดาํ รทิ ปี่ ราศจาก ความปรารถนาพอใจ ความดาํ รทิ ต่ี อ งการใหเ ปน สขุ ดว ยเมตตา และความ ดําริทค่ี ดิ สงสารดวยกรุณา กลา วโดยสรปุ พระพทุ ธองคท รงเปน ผทู นี่ า เคารพบชู า พระองค ไมเคยคิดแบงแยกระหวางคนในกับคนนอก ไมวาจะเกี่ยวดองเปนญาติ หรือไมใชญาติ จะเลอ่ื มใสหรอื ไมเ ลื่อมใส จะนบั ถือหรอื ไมนบั ถอื คดิ เปน ศตั รู กท็ รงกอปรดว ยเมตตาตอ งการใหส ตั วเ หลา นนั้ เปน สขุ เสมอภาคกนั ทรงมีกรุณาตองการใหพวกเขาพนไปจากทุกขอยางเทาเทียมกัน อีกทั้ง ทรงควบคุมจิตใหอยูในอํานาจไดตามตองการดวยความดําริที่ดีงาม ๓ ประการตอ สิ่งที่นา พอใจและไมนา พอใจเหมือนๆ กนั คําถามตอคําตอบแรกท่ีใหแกเทพเหมวตะนั้นเพียงพอที่จะทํา ใหเชื่อม่ันวา พระพุทธเจาทรงเปนพระสัพพัญูอยางแทจริงตามที่ เทพสาตาคริ ะรบั รอง แตเ พอื่ ใหเ ชอื่ มน่ั ยงิ่ ขนึ้ เทพเหมวตะจงึ ไดต ง้ั คาํ ถาม ที่ ๒ ที่จาํ แนกรายละเอยี ดเก่ยี วกบั กายทุจรติ เปน ตน ๕๔

àËÁǵÊٵà คําถามท่ี ๒ ของเทพเหมวตะ กจฺจิ อทนิ ฺนํ นาทิยติ กจฺจิ ปาเณสุ สฺ โต กจจฺ ิ อารา ปมาทมฺหา กจฺจิ ฌานํ น ริจฺ ติ.๓๕ “พระโคดมไมทรงถือเอาส่ิงของท่ีเจาของมิไดใหจริงหรือ ทรง สาํ รวมในสตั วท ง้ั หลายจรงิ หรอื ทรงหา งไกลจากความหลงเพลนิ จรงิ หรอื พระองคไ มทรงละทิง้ ฌานจรงิ หรอื ” ทรงไมลักขโมยจริงหรือ ในขอแรกเทพเหมวตะถามวา “สหายสาตาคิระ ครูของทานไม ปลนหรือลักขโมยทรัพยส ินของผอู ่นื หรือ” หมายความวา การถอื เอาสิ่ง ท่เี จา ของมิไดให คือการลกั ขโมย การลกั ขโมยอาจมีไดด ว ยการแอบถือ เอาหรือใชกําลงั บงั คบั ทงั้ สองอยา งถอื วาเปนการลักขโมยทั้งน้ัน คาํ ถามนด้ี เู หมอื นจะทาํ ใหช าวพทุ ธรสู กึ วา เปน การดหู มน่ิ ประการ หน่งึ การถามเชนนกี้ บั บคุ คลเชนพระพุทธเจาวา “พระองคทรงลักขโมย อยหู รือ” เปนความหยาบคายยง่ิ นัก มจิ าํ เปน ตอ งกลา วถึงพระพุทธเจา เลย ถามีคนถามถึงพระสงฆในปจจุบันวา “พระอาจารยของทานยัง ๕๕

àËÁǵÊٵà ลักขโมยอยูหรือ” ก็ถือวาเปนคําถามที่ดูหม่ินอยางย่ิง แตในสมัยน้ัน คําถามเชน น้ถี อื วาตรงประเด็นและสมควรถาม เนือ่ งจากในสมยั โนนคน จํานวนมากกําลังแสวงหาพระพุทธเจาท่ีแทจริง แตมีพระพุทธเจาจอม ปลอมอยูมากมาย พระพุทธเจาจอมปลอมท่ีเห็นไดชัดๆ ก็คือศาสดา ๖ คนมี ปูรณกัสสปะเปนตนท่ีกลาวไวเมื่อวันกอน พวกเขาอวดอางวาตนเปน พระพุทธเจา สาวกของพวกเขาใหค วามเคารพบชู าเล่ือมใส และถอื เอา เปนท่ีพ่ึงเพราะเช่ือวาพวกเขาเปนพระพุทธเจาท่ีแทจริง พระพุทธเจา จอมปลอมเหลานีแ้ สดงธรรมสงั่ สอนโดยไมรปู ฏเิ สธบาปบญุ คุณโทษ จึง เปน ไปไมไ ดว าพวกเขาจะหลีกเลีย่ งจากการลกั ขโมย นอกจากนี้ ทั้งเทพสาตาคิระและเทพเหมวตะไดเปนเทวดามา ชานานนับต้ังแตปลายสมัยของพระพุทธเจากัสสปะ จนถึงการอุบัติขึ้น ของพระพุทธเจาโคดม ระยะเวลาที่ยาวนานเชนนี้ทําใหเทพท้ังสองได พบเห็นผูเสแสรงอางตนเปนพระพุทธเจาในชวงที่มหาชนกําลังรอคอย การอบุ ตั ขิ องพระพทุ ธเจา เชน เดยี วกบั ประชาชนทก่ี าํ ลงั รอการกลบั ของ กษัตริยที่แทจริง ในขณะท่ีผูเสแสรงโผลขึ้นมาเพ่ือแอบอางชิงบัลลังก เทพเหมวตะทราบดีวาพระพุทธเจาจอมปลอมนั้นยังไมพนไปจากการ ลักขโมย จึงต้ังคําถามที่เก่ียวกับทุจริตดังกลาวดวยเกรงวาพระพุทธเจา โคดมจะเหมือนกบั ตวั ปลอมที่ตนเคยพบเห็นมากอ น ๕๖

àËÁǵÊٵà เราอาจเปรียบเทียบเร่ืองนี้กับพวกท่ีเคารพนับถือพระเจาใน ปจ จุบัน จะเหน็ ไดวา ตามคัมภรี ของพวกเขา พระเจานั้นดูเหมือนวา ยัง ไมพ นไปจากทุจรติ เพราะพระเจาหรือพระผสู รางโลกของเขายงั ลงโทษ บางคนถึงตายหรือทําลายทรัพยสิน ในทางพระพุทธศาสนาถือวาการ กระทาํ เชน นนั้ เปน การทาํ ชว่ั ดงั นน้ั คาํ ถามของเทพเหมวตะจงึ ไมเ ปน การ ดูหม่ิน ถอื วา เหมาะสมกับสถานการณใ นสมัยนน้ั ทรงสํารวมในสตั วท ั้งหลายและหางไกล จากความหลงเพลนิ จริงหรอื ถัดจากน้ัน เทพเหมวตะจึงถามตอวา “ครูของทานทรงสํารวม ในสัตวท ง้ั หลายจริงหรือ ทรงหางไกลจากความหลงเพลินจริงหรอื ” ซึง่ หมายความวา พระพทุ ธเจา โคดมทรงเวน ขาดจากการทาํ รา ยฆา ฟน และ เวนขาดจากความหลงเพลินคือการปลอยจิตตามตองการเพ่ือใหเสวย กามคณุ (เครื่องผูก) ๕ ประการมรี ูป เสียง เปน ตน จรงิ หรอื ความหลงเพลนิ ในเรอ่ื งนกี้ ค็ อื การรว มประเวณตี ามสกิ ขาบทขอ ๓ วา กาเมสุมิจฉาจาร (ความประพฤติผดิ ในกาม) หรอื อพรหั มจริยะ (การไมป ระพฤติพรหมจรรย) จดั เปน คําสภุ าพทใ่ี ชท างศาสนา โดยระบุ ถงึ การรวมประเวณีท่วั ไปท่เี รยี กวา อพรัหมจรยิ ะ และการรวมประเวณี ท่ีผิดศีลธรรมที่เรียกวา กาเมสุมิจฉาจาร เหมือนการใชคําสุภาพที่เรียก อจุ จาระและปสสาวะนั่นเอง ๕๗

àËÁǵÊٵà คําหยาบของอเจลกช่อื กัสสปะ ภายหลงั พุทธปรนิ ิพพานราว ๔๐ ป อเจลก (ชีเปลอื ย) คนหนึง่ ช่ือกสั สปะไดเขา ไปหาทานพระพากุละ อเจลกคนน้เี ปนสาวกท่ีสืบทอด ลทั ธขิ องนคิ รนถน าฏบตุ รในสมยั พทุ ธกาล ลทั ธนิ ภี้ ายหลงั เรยี กวา ศาสนา เชน เม่ือคร้ังที่ผูบรรยายไปเย่ียมชมวัดมิคทายวัน เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย ไดเขาไปเยี่ยมชมวัดเชนแหงหนึ่ง ในวัดน้ันมีภาพวาด และรปู ถา ยจาํ นวนมากของพระนกิ ายเชนซง่ึ ไดร บั ยกยอ งอยา งสงู วา เปน พระอรหนั ตต ามความเชือ่ ของพวกเขา อีกทง้ั มขี อ ความเขียนวา มนุ ี มุนี คําวา มุนี หมายถงึ พระ ผบู รรยายใครครวญวา พระในพระพทุ ธศาสนา หมจีวรปดกายมิดชิด แตพระของพวกเขาเปลือยกายลอนจอนเปนท่ี อุจาด ผูบรรยายยังพบพวกชีเปลือยตามฝงแมนํ้าคงคาดวย ชีเปลือย เหลา นี้เรียกวา ทิคมั พร คอื นุงลมหม ฟา (ทิสา= ทศิ , อมฺพร = ทองฟา แปลง ส เปน ค) วธิ บี วชของพวกนงี้ า ยมาก เพยี งถอดเสอ้ื ผา ออกแลว โกน หัว ก็เปน พระชเี ปลอื ยไดแ ลว อเจลกชอ่ื กสั สปะนเี้ คยเปน สหายของทา นพระพากลุ ะเมอื่ ครง้ั ที่ ทานยังเปนฆราวาส เขาถามทานวา “สหาย ทานบวชอยูในพระพุทธ- ศาสนานานเทา ไร” ทา นตอบวา “๘๐ ป” เขาถามตอวา “ทา นไดร วม ๕๘

àËÁǵÊٵà ประเวณกี ่ีครั้งในระยะ ๘๐ ปน”้ี คาํ ถามดงั กลา วจดั วาหยาบคายเพราะ ถามโดยนกั บวชจากศาสนาทม่ี ิไดฝ กตนใหสุภาพ ทา นพระพากลุ ะตอบวา “สหายกสั สปะ ทา นไมค วรถามคาํ ถาม ทหี่ ยาบคายเชน น้ี ทา นควรถามคาํ ถามทสี่ ภุ าพวา ไดค ดิ ถงึ กามคณุ (กาม- สัญญา) ก่ีครั้งมากกวา” กัสสปะจงึ แกไขคําถามของตนแลว ถามเชน นน้ั ทา นพระพากลุ ะตอบวา “เราไดเ ปน พระอรหนั ตท ดี่ บั กเิ ลสโดยสนิ้ เชงิ ใน วนั ท่ี ๘ ของการบวช ตงั้ แตเ วลาทอี่ อกบวช เรามไิ ดค ดิ ถงึ กามคณุ ในระยะ ๘๐ ปน ้เี ลย” คาํ ตอบนี้สรา งความประหลาดใจใหก ัสสปะมาก เขาจงึ เลอื่ มใส พระพุทธศาสนา ไดออกบวชปฏิบัติธรรมจนกระท่ังไดบรรลุธรรมเปน พระอรหนั ต คาํ ถามทห่ี ยาบคายของอเจลกชอ่ื กสั สปะนน้ั เกดิ จากการไม เคยไดยินคําสุภาพทางศาสนา แตเทพเหมวตะมีความรูทางศาสนาเปน อยา งดี จงึ ใชค าํ สภุ าพทก่ี ลา วถงึ การรว มประเวณที งั้ สองอยา งวา เปน ความ หลงเพลนิ ๕๙

àËÁǵÊٵà ไมท รงละทิ้งฌานจรงิ หรือ เทพเหมวตะถามเทพสาตาคิระวา “พระพุทธเจาไมทรงละท้ิง ฌานจริงหรอื ” ฌาน คอื สภาวะทป่ี ราศจากนวิ รณ (เครือ่ งปดกน้ั ความด)ี เริ่มตง้ั แตป ฐมฌานเปนตนไป และความยนิ ดพี อใจกามคุณ (กามฉนั ทะ) ก็เปนพื้นฐานของนิวรณท้ังหมด ดวยเหตุน้ี พระพุทธองคจึงมักตรัสถึง การสงดั จากกามคณุ ดว ยพระดํารสั วา วิวิจฺเจว กาเมหิ (สงดั จากกามคณุ ทง้ั หลาย) ในเวลาแสดงถงึ การบรรลฌุ าน หมายความวา บคุ คลตอ งละเวน จากความยนิ ดพี อใจกามคณุ ทนี่ า ปรารถนาเพลดิ เพลนิ จงึ สามารถบรรลุ ปฐมฌานได ผูท่ีไมละท้ิงฌานอยูเสมอนับวาเปนผูปราศจากความหลงเพลิน อยา งแทจ รงิ ดงั นนั้ เทพเหมวตะจงึ สอบถามเรอ่ื งความหลงเพลนิ ตอ จาก กายทุจริตทั้งสาม คือ การลักทรัพย การฆาสัตว และการไมประพฤติ พรหมจรรย สวนคําตอบของเทพสาตาคริ ะมีดังตอ ไปน้ี ๖๐

àËÁǵÊٵà คําตอบท่ี ๒ ของเทพสาตาคิระ น โส อทนิ นฺ ํ อาทยิ ติ อโถ ปาเณสุ สฺ โต อโถ อารา ปมาทมฺหา พทุ โฺ ธ ฌานํ น ริฺจต.ิ ๓๖ “พระโคดมไมท รงถอื เอาสงิ่ ของทเ่ี จา ของมไิ ดใ หจ รงิ ทรงสาํ รวม ในสัตวท้งั หลายจริง ทรงหา งไกลจากความหลงเพลินจรงิ พระองคต รัสรู แลว ไมทรงละทิ้งฌานจริง” ทรงไมล ักทรัพยจรงิ คาํ ตอบของเทพสาตาคิระ คอื สหายเหมวตะ พระบรมครขู อง เราทรงหมดจดจากมลทินดานการลักทรัพย พระองคไมเคยลักขโมย เหมือนกับศาสดาจอมปลอม ทําไมเราจึงมั่นใจดังน้ัน ท้ังน้ีเพราะวา พระพทุ ธเจาไดตรัสไวในปฐมเทศนาวา พระองคไ ดค นพบทางสายกลาง หรือมัชฌิมาปฏิปทา และยังตรัสวาทรงเจริญมรรคสัจคืออริยมรรคมี องค ๘๓๗ทป่ี ระกอบดว ยสมั มากมั มนั ตะหรอื การกระทาํ ชอบ ซงึ่ หมายถงึ การละเวน จากการฆา สตั ว การลักทรพั ย และการประพฤตผิ ิดในกามที่ รวมถึงการไมประพฤติพรหมจรรยอีกดวย ท้ังหมดน้ีเปนการกระทําที่ บคุ คลตอ งหลกี เลยี่ ง เรียกวา วริ ัติ ๖๑

àËÁǵÊٵà การละเวน จากการกระทาํ ชว่ั ทงั้ ปวงโดยไมต อ งสมาทานศลี ชอ่ื วา สัมปตตวิรัติ คือ การงดเวนส่ิงมาถึงตรงหนา การละเวนจากการ กระทาํ ช่วั หลงั จากสมาทานศีลแลว ช่ือวา สมาทานวิรัติ คอื การงดเวน ดว ยการสมาทานสว นการหลกี เลยี่ งอยา งถาวรดว ยอรยิ มรรคชอื่ วา สมจุ - เฉทวิรัติ คอื การงดเวน โดยเด็ดขาด เทพสาตาคิระรูวาพระพุทธเจาทรงปลอดจากมลทินหรือการ กระทําผิดทางกาย เนือ่ งจากพระองคไ ดป ระกาศวา เราไดเ จรญิ มรรคสัจ โดยสมบรู ณแ ลว ซงึ่ ขอ นไี้ ดร วมถงึ วริ ตั หิ รอื การหลกี เลยี่ งจากการกระทาํ ผดิ ทางกายทง้ั หมด ดงั นนั้ เทพสาตาคริ ะจงึ รบั รองวา พระพทุ ธองคไ มท รง ถือเอาส่งิ ของทเ่ี จา ของมไิ ดใหจริง ๖๒

àËÁǵÊٵà พระพทุ ธเจา ปลอม ผูบรรยายประสงคจะอธิบายเพ่ิมเติมอันเก่ียวกับคําถามเรื่อง การลักทรพั ย กอนที่จะถึงสมัยของพระพทุ ธเจาท่แี ทจรงิ มีพระพทุ ธเจา ปลอมท่อี างตนเอง ๖ คน พระพทุ ธเจา ปลอมเหลา นัน้ มีทัศนะดงั ตอไปนี้ ปูรณกัสสปะกลาววา การฆาและการลักขโมยเปนตนไมใช ความช่ัว ไมอ าจสง ผลทีไ่ มดใี ห ในทํานองเดยี วกนั การใหท านและการ กระทําดีอนื่ ๆ ไมใ ชความดี และไมอ าจสงผลดใี ห๓ ๘ มักขลิโคสาลกลาววา เหลาสัตวไมมีสาเหตุของความสุขหรือ ทุกข เพราะสภาวะเชน นัน้ เปน เรื่องท่ไี ดก ําหนดไวกอนแลว ดงั นน้ั ไมวา คนจะทําความชั่วมากเทาไร เขาก็จะไมเวียนตายเวียนเกิดนานกวาคน อื่น ในทํานองเดียวกัน บุคคลไมพนไปจากการเวียนตายเวียนเกิดดวย การกระทําความดี เหลาสัตวยอมหลุดพนจากสังสารวัฏไดในเวลาที่ เหมาะสมตามทถ่ี กู กาํ หนดไวแลว ๓๙ อชิตเกสกัมพลกลาววา ความดีและความชั่วไมใหผลใดๆ ภพ หนาไมมจี รงิ เปนตน๔๐ ๖๓

àËÁǵÊٵà ปกุธกัจจายนะกลาววา สรรพสัตวประกอบดวยองคประกอบ ๗ อยา ง คือ ธาตุ ๔ ความทกุ ข ความสุข และชีวะ (วิญญาณ, อาตมัน) ถา คนใดจะแทงคนอืน่ ดว ยดาบ ดาบน้ันจะเขาไปในองคประกอบเหลา นี้ ไมนบั วาเปนการฆา สตั ว๔ ๑ สวนนิครนถนาฏบุตรและสญชัยเพลัฏฐบุตรมิไดกลาวถึงความ ประพฤติเกี่ยวกับความดีหรือความช่ัววาใหผลหรือไม จึงไมขอเอยถึง ทัศนะของศาสดาท้งั สองคนน๔ี้ ๒ คําสอนของพระพุทธเจาปลอมเหลานี้ชี้ใหเห็นถึงการสงเสริม ใหค นทาํ ช่ัว ดเู หมอื นพวกเขาจะอนญุ าตใหคนฆากันและลกั ขโมยทรพั ย ของคนอ่ืน ๖๔

àËÁǵÊٵà ไมมีใครตองการถูกฆา และลกั ทรัพย ตามความเปนจริง ทกุ ชีวิตปรารถนาจะมชี ีวิตทีย่ นื ยาว และไม ตองการจะถูกฆา หรือถูกปลนสะดมทรัพยสินท่ีมีอยูซึ่งไดมาอยางยาก ลําบาก ฉะนั้นไมวาใครก็ตามไมควรฆาคนอื่นเพ่ือตนเองหรือเพ่ือใหได บุญจากการบูชายัญเปนตน ในทํานองเดียวกัน ไมควรมีผูใดลักขโมย ทรัพยส นิ ของผูอ่นื ไมว าจะทําเพอื่ ตนเองหรือผอู นื่ ก็ตาม ในสมยั กอ นพทุ ธกาล หวั หนา ลทั ธเิ หลา นยี้ งั ยนื ยนั วา การฆา และ การลักขโมยน้ันไมเปนบาป จึงอาจกลา วไดวา คนท่ีพูดแบบน้กี ็ไมป ลอด จากการทาํ บาปเชน นน้ั แตพ ระพทุ ธเจา ทแ่ี ทจ รงิ ไมค วรกระทาํ บาปเหลา น้ี และควรสอนใหผ อู นื่ หลกี เลย่ี งจากการทาํ บาปดงั กลา วอกี ดว ย นค้ี อื สงิ่ ท่ี ทําใหเทพเหมวตะต้ังคําถามเกี่ยวการลักขโมยโดยเปรียบเทียบกับ พระพทุ ธเจา ปลอมเหลา นนั้ เทพสาตาคริ ะไดต อบวา พระบรมครขู องเรา ทรงปลอดจากบาปแหงการลักขโมย เนื่องจากพระองคไดเจริญสัมมา- กัมมนั ตะอยา งครบถวนบริบรู ณน่ันเอง ๖๕