Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิลินทปัญหา เล่ม ๓

มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Description: มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Search

Read the Text Version

ISBN 978-974-496-728-2 มลิ ินทปญหา เลม ๓ (เลม จบ) มลู นิธปิ ราณี สาํ เรงิ ราชย จัดพิมพเ ผยแผ พมิ พค รัง้ ท่ี ๔ จาํ นวน ๑,๐๐๐ เลม สงวนลิขสิทธิ์

  มูลนิธิปราณี สําเรงิ ราชย สาํ นักงานตั้งอยูท่ี สํานักปฏิบัติธรรมวิวัฏฏะ วัดเขา- สนามชัย ตาํ บลหนองแก อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ โทรศัพท ๐๓๒-๘๒๗๗๘๔. วัตถปุ ระสงคข องมลู นธิ ิ ๑. เพ่ือสงเสริมการปฏิบัติธรรมในดานวิปสสนาธุระ และ ซอมแซมบาํ รุงสํานักปฏิบัติธรรมวิวัฏฏะ. ๒. เพ่ือสงเสริมการศึกษาดานปริยัติ อันเน่ืองกับการ ปฏิบัติวิปสสนาธุระ. ๓. เพ่ือรวมมือกับมูลนิธิแนบ มหานีรานนท ในการบํารุง และเผยแผพระพุทธศาสนา. ๔. ไมดาํ เนินการเกี่ยวของกับการเมืองแตประการใด.                 

คํานาํ หนังสือมิลินทปญหาไดจัดพิมพออกมาใหทานผูมีใจ ศรัทธา ฝกใฝใครรูในธรรมจะไดศึกษา ณ บัดน้ีแลว. เร่ืองมิลินทปญหาน้ี อาจารยไชยวัฒน กปลกาญจน ไดสอนนักศึกษาเปนประจําท่ีสมาคมศูนยคนควาทางพระพุทธ- ศาสนา วัดสระเกศ อาจารยไชยวัฒนแ ละทานนักศึกษาทง้ั หลาย มีความเห็นวาควรจัดพิมพเปนเลมหนังสือ เพื่อเปนประโยชนแก ผูที่ไมมีโอกาสไดไปศึกษาที่วัดสระเกศ. เนื้อหาสาระจากพระคัมภีรนี้นาศึกษาเปนอยางย่ิง ทาน นักปราชญทั้งสองสนทนาโตตอบกันแตละปญหาลวนเปนเคร่ือง เรืองปญญา นารู นาสนใจ. หนังสือเลมนี้สาํ เร็จไดดวยความวิริยะอุตสาหะของ อาจารยไชยวัฒนและผูชวยเหลือหลายทาน รวมทั้งทานผูรวม บริจาคปจจัยมิใชนอย ชวยกันเสียสละทรัพย หนังสือมิลินท- ปญหาจึงสาํ เร็จเปนรูปเลมข้ึนมาได. ดว ยอานสิ งสของกุศลน้ี จงสงผลใหทา นผแู ปล ผชู ว ยเหลอื จัดทํา ทานผูบริจาคทรัพย และทานผูอานทุกทาน ไดบรรลุถึง ธรรมที่สุดแหงทุกขโดยเร็วดวยเถิด. ปราณี สําเรงิ ราชย สํานักววิ ัฏฏะ วดั เขาสนามชยั

  คาํ ช้ีแจง เม่ือพระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช เสด็จพรอมกองทัพ พิชิตแควนปญจาบของอินเดียไดแลว ก็มีกษัตริยกรีกปกครอง แควนนี้ตดิ ตอกนั มาหลายพระองค จนถึงรชั สมยั ของกษัตรยิ กรกี พระองคห นง่ึ ทรงพระนามตามภาษามคธวา มลิ นิ ท พระองคท รง เปน ผมู ีพระทยั ฝก ใฝในศาสตรทง้ั หลาย โดยเฉพาะปรชั ญาในลัทธิ ศาสนาตา ง ๆ ทรงยนิ ดใี นอนั เสดจ็ ไปพบปะสนทนากะนกั ปราชญ ท้ังหลาย ผูมีความรูในลัทธิศาสนาน้ัน ๆ ตอมาพระองคไดทรง สนทนาถามตอบกะพระเถระผูมีชื่อเสียงเล่ืองลือในพระพุทธ- ศาสนารูปหน่ึง คือทาน พระนาคเสนเถระ ในปญหาท่ีลึกซึ้ง ถอยคาํ สนทนาถามตอบกันระหวางทา นทง้ั สองนี้ ปรากฏวา เปนท่ี ชื่นชมยินดีของพวกบัณฑิตท้ังหลายเปนอันมาก ในเวลาตอมา ประมาณ พ.ศ. ๕๐๐ ทานพระติปฎกจุฬาภัยเถระ ผูทรง พระไตรปฎก ถึงฝงแหงปฏิเวธ มีปญญาดุจภูผา มีคําพูดท่ี อาจารยท้ังหลายพึงตระหนัก เล็งเห็นคุณคาในคําสนทนาถาม ตอบกันของทานทั้งสองนี้ วาจะเปนเหตุชวยค้ําจุนพระสัทธรรม ของพระสมั มาสัมพุทธเจา ใหตัง้ อยไู ด จึงอุตสาหะรวบรวมคาํ พูด ทั้งหมด รจนาเรียบเรียงข้ึนมาเปนปกรณทางศาสนาปกรณหนึ่ง ใหชื่อวา “มิลินทปญหา”. กุลบุตรผูใครไดที่พึ่งในพระศาสนา ทั้งหลาย ก็ไดชวยกันรักษาโดยการเรียน การทรงจํา เปนตน สืบตอกันมาจนถึงปจจุบันน้ี.

มิลินทปญหาเปนปกรณที่อาจารยท้ังหลายเล็งเห็นวา สําคัญย่ิง พระอรรถกถาจารยท้ังหลายผูแตงปกรณอ่ืน มักจะ หยิบยกคําพูดในปกรณน้ีมาอางไวในงานเขียนของทานอยูเสมอ ในคราวท่ีมีการวิจารณหมวดธรรมที่มีความลึกซ้ึงน้ัน ๆ. ในสมัย ปจ จุบนั นี้ นักคน ควาศกึ ษาปรัชญาและศาสนาของประเทศทาง ตะวันออกในประเทศทางแถบตะวันตกเห็นพองกันวา มิลินท- ปญหาน้ีเปนปกรณที่ชวยใหเขาใจปรัชญาในพุทธศาสนานิกาย เถรวาทไดเปนอยางดี. ในสมัยปจ จบุ ันนี้ ปกรณมลิ นิ ทปญหานี้ ฉบับทเ่ี ปนภาษา มคธ แมวา เปนภาษาเดยี วกนั คอื ภาษามคธนั่นแหละ กม็ กี ารแตก เปนหลายฉบบั คือฉบบั ของไทยท่ใี ชอ ักษรไทยบันทึก ของพมาที่ ใชอ ักษรพมา ของลังกาทใ่ี ชอ กั ษรลงั กา และของยุโรปท่ีใชอ ักษร โรมนั สําหรบั ฉบับของไทยทใ่ี ชศกึ ษากนั อยใู นประเทศไทยนน้ั มผี ู แปลออกมาเปนภาษาไทยหลายคร้งั หลายสํานวน เปน อยางเตม็ ความบาง อยางถอดเอาแตใ จความมาเรยี บเรยี งบาง สว นฉบับ ของตางประเทศที่ใชกันอยใู นตา งประเทศ ยังไมม ผี ูแปลออกมา เปนภาษาไทยเลย กระผมเมอ่ื ไดอา นท้งั ฉบับของไทย ทงั้ ฉบบั ของ ตางประเทศ โดยเฉพาะฉบับของพมา เปรียบเทยี บกนั รวมทั้ง คําอธบิ ายทเี่ รยี กวา อรรถกถา ในฐานะทเ่ี ปน ผบู รรยายปกรณน อี้ ยูท่ี สมาคมศูนยคนควาทางพระพุทธศาสนาวัดสระเกศ แลวก็ตกลง ใจท่ีจะไมแปลฉบับของไทย แตจะแปลฉบับของพมา ในการจะ จัดทาํ เปนหนังสือครั้งน้ีดวยเหตุผล ๕ ประการ ดังตอไปน้ี :

  ๑. เมื่อฉบับภาษามคธของไทยมีผูแปลเปนภาษาไทย หลายครั้ง หลายสาํ นวนดังวาน้ันแลว หากวากระผมจะใชฉบับ ของไทยเปนตนฉบับการแปลในครั้งนี้อีก แมวาสาํ นวนแปลจะ แปลกไปบา ง ก็คงไมช ว ยใหท า นผูอ านไดอ รรถรส หรอื ความรูอะไร ๆ เพ่ิมเติมข้ึนมา เพราะฉะน้ันก็ไมนาจะคิดแปลฉบับของไทยอีก. ๒. ฉบับของตางประเทศยังไมมีผูแปลออกมาเลย นาจะ เหลียวดูบาง ถึงอยางไรก็เปนปกรณทางศาสนาที่พวกเรานับถือ ดวยกัน. ๓. ถาเปรียบเทียบกับพระไตรปฎ ก พระไตรปฎกฉบับของ ไทยก็ดี ฉบบั ของพมา กด็ ี มีสว นผดิ แผกกนั นอ ยนัก เกยี่ วกบั คําพดู บางบท บางคํา หรอื การใชอ ักขระ ความหมายมไิ ดแ ตกตางกนั เลย แตปกรณมิลินทปญหามิไดเปนอยางนั้น มีสวนผิดแผก แตกตางกันมากมายหลายตอน อยางนาแปลกใจวา ตางฝาย ตางไดรับปกรณน้ีมาจากไหน รักษากันไวอยางไร บางขอความ กเ็ หมือนกบั วา พดู กันคนละเร่อื ง ซง่ึ พอจะรวบรวมขอ ทีแ่ ตกตางกัน ไดดังตอ ไปนี้ : - บางเน้ือความที่มีปรากฏอยูในฉบับของไทย กลับไมมี ปรากฏในฉบบั ของพมา เชน เน้อื ความเกยี่ วกับพระพทุ ธทาํ นาย ความเปนไปของพระเจา มิลินทและพระนาคเสน เปนตน . - เก่ียวกับช่ือของบุคคล ก็มีสวนผิดกัน เชน ชื่อของ อาํ มาตยผูหนึ่ง ในฉบับของไทยเปนอันตกายอํามาตย สวนใน ฉบับของพมาเปนอนันตกายอาํ มาตย เปนตน.

- เกย่ี วกบั ชอ่ื ของปญหา หลายปญ หาทเี ดยี วทมี่ เี นือ้ ความ บอกใหทราบวาปญหานั้นเปนปญหาเดียวกัน ท้ังฉบับของไทย ทั้งฉบับของพมา แตปรากฏวามีชื่อไมเหมือนกันเสียทีเดียว เชน ในฉบับของไทยเปนสีลปติฏฐานลักขณปญหา, สวนในฉบับของ พมาเปนสีลลักขณปญหา เปนตน. - เก่ียวกับจํานวนอุปมาในปญหานนั้ ๆ บางปญหาในฉบบั ของไทยมเี นอื้ ความทเี่ ปน อปุ มามากกวาในฉบับของพมา. - แมเ กีย่ วกบั การกาํ หนดเน้ือความในปญหาบางปญหา ก็ มีสวนผดิ กนั เชน ปญหาท่มี ีการถามถงึ ลักษณะของศรทั ธา ซง่ึ ทานพระนาคเสนไดวิสชั ชนาวา มี ๒ อยา งนน้ั ในฉบบั พมากลาว แยกลักษณะแตละอยาง เปนแตละปญหา สวนในฉบับของไทย รวมเน้อื ความเกยี่ วกับลกั ษณะทั้งสองไวเ ปน ปญหาเดียวกัน เปน เหตใุ หมีจํานวนปญ หาแตกตา งกัน. - หลายปญหาทีเดียวที่มีคาํ พูดในคําถาม หรือคําตอบ แตกตางกัน เชน ในฉบับของไทย คาํ ถามมีวา \"พระคุณเจา นาคเสน ผูใดมีญาณเกิดข้ึนแลว ผูน้ันช่ือวามีญาณเกิดขึ้นแลว ใชไหม?\", สวนในฉบับพมา มีคําถามวา \"พระคุณเจานาคเสน ผูใดมีญาณเกิดข้ึนแลว ผูน้ันชื่อวามีปญญาเกิดข้ึนแลวใชไหม?\", ฉบับของพมานาจะถูกตองกวา เพราะจบั ประเดน็ คาํ ถามไดช ดั เจน วา พระเจามิลินททรงประสงคจะทราบวาญาณกับปญญาเปน ธรรมชาติอยางเดียวกัน หรือคนละอยางกัน.

  - บางปญ หา เชน ปญหาทีม่ ีการถามถึงการอุปสมบทของ พระพุทธเจา ในฉบับพมามีเพียงเน้ือความส้ัน ๆ เกี่ยวกับการ ถามตอบกนั เทานนั้ สว นในฉบบั ของไทยยังมีเน้ือความอ่นื อีก คือ ปรากฏวา เมอื่ พระเถระไดวสิ ชั ชนาแลว พระราชากไ็ มท รงยอมรับ นอกจากจะไมท รงยอมรับแลว ก็ยงั ตรัสเยยหยันพระเถระกะพวก ขาหลวงโยนกท่แี วดลอมอยนู น้ั อกี ดว ย อยางนี้เปน ตน . - เก่ียวกับการยกคําพูดในพระไตรปฎกมาอางในปญหา น้ัน ๆ ในฉบับของพมามักยกมาตรงกับที่มีจริงในพระไตรปฎก เสมอ สวนในฉบับของไทยมักยกมาไมตรง. อน่ึง คําพูดที่ยกมา น้ัน ในฉบับพมามีการระบุไวที่ทายหนานั้น ๆ วา ยกมาจาก พระไตรปฎกเลมไหน นิกายอะไร หนาอะไร ชวยใหสืบสาวถึง ตนตอไดรวดเร็ว สวนในฉบับของไทยมิไดระบุไว. - เก่ียวกับเครื่องหมายตาง ๆ ที่ใชเปนเครื่องกําหนด ประโยค หรือขอความ คือ เคร่ืองหมายมหัพภาค จุลภาค เครอื่ งหมายคาํ พูด เครือ่ งหมายคําถาม เปน ตน ในฉบบั ของพมา ระบุไวช ดั เจนดี ชวยใหผ แู ปลกําหนดประโยคแตล ะประโยคไดง า ย จับใจความในประโยคไดงาย แปลไดสะดวก ในฉบับของไทย ไมพิถีพิถันในเรื่องนี้ เปนเหตุใหผูแปลบางครั้งตองพิจารณาตัด แบงประโยคเอาเอง ซง่ึ บางทกี เ็ ปน เหตุใหสบั สนได ทาํ ใหเกดิ ความ ไมแ นใจวาถูกตอง โดยเฉพาะคําพูดในพระไตรปฎ กท่ียกมาอา งใน ปญ หานัน้ ๆ ตองระมดั ระวงั เปน พเิ ศษ วาคาํ พูดในพระไตรปฎ กท่ี ยกมาในคราวนน้ั มแี คไหน, คาํ พดู ไหนไมใชค ําพดู ในพระไตรปฎ ก

โดยการสืบสาวถงึ ตน ตอใหด เี สยี กอนจะตัดสนิ ใจแปล เพ่ือปอ งกัน ความปะปน อนั จะทาํ ใหแ ปลผิดความ. - การจัดปญหาเขาในวรรคแตละวรรค ก็ไมตรงกันเสีย ทีเดียว เชน โคตมิวัตถทานปญหา ในฉบับของพมาจัดเขาใน พุทธวรรค สวนในฉบับของไทยจัดเขาในพวกนอกวรรค เปน วิเสสปญหา เปนตน. ฯลฯ เพราะฉะน้ัน ถาหากวา ไดแปลฉบบั ของพมาแลว กน็ าจะ เปนการเปดโอกาสใหผูอานไดรับอรรถรสตาง ๆ ที่แปลกออกไป ที่ไมมีในฉบับของไทย. ๔. ฉบับของลังกาก็ดี ของประเทศทางยุโรปก็ดี มีสวน เหมือนกับของพมามากกวาของไทย ราวกะเปนฉบับเดียวกันกับ ของพมา เพราะฉะนั้น หากวาเพียงแตไดแปลฉบับของพมา เทานั้น ก็เหมือนกับวาไดแปลฉบับของลังกาเปนตน ทั้งหมดน้ัน ดวย. ๕. การแปลปกรณมิลินทปญหาซึ่งมีฐานะเทียบเทาชั้น พระบาลี เหมอื นอยา งพระไตรปฎก ใหถกู ตอ ง ไดความสมบูรณ ดีนั้น จาํ เปนตองดูคําอธิบายในอรรถกถา. ก็อรรถกถาท่ีอธิบาย ฉบับของไทยไมมี มีแตท่ีอธิบายฉบับของพมา เพราะฉะน้ันก็ จําเปนตอ งแปลฉบบั ของพมา หากวาประสงคค ําอธิบายน้ันดวย. ก็เพราะเหตทุ ี่ท้ัง ๒ ฉบบั น้ีมีขอท่ีแตกตางกันอยูมากมาย หลายประการดังกลา วนัน่ เอง การทจ่ี ะทําหมายเหตเุ ปรยี บเทียบ

  ถึงขอแตกตางกันระหวาง ๒ ฉบับน้ีไวในทายหนาหนังสือหนา นั้น ๆ ใหเห็นวาพมาวาอยางนั้น สวนไทยวาอยางน้ีนั้น จึงเปน เรอ่ื งสดุ วิสยั จะกระทําได แมวานา จะทําไวเ หลอื เกนิ เพราะบางที คําพดู ในฉบับของไทยนาฟงกวา ไดเหตุผลกระชบั กวากต็ าม. ปกรณมิลินทปญหาท่ีกระผมแปลจากตนฉบับของพมาน้ี กระผมไดผ นวกคําอธิบายปญ หาเขา กบั ปญ หาแตละปญ หาไวดว ย สาํ หรบั คาํ พดู ในปกรณน ้นั กระผมแปลอยา งรกั ษาศพั ท วาไปตาม ศัพทท ม่ี ี ไมใ ชเ พยี งแตถ อดเอาแตใ จความ ทงั้ นี้ เพ่ืออนเุ คราะห นกั ศึกษาภาษาบาลี ท่ตี อ งการจะนําฉบับแปลเปน ภาษาไทยฉบับ นี้ไปเทยี บกบั ตน ฉบบั ภาษาบาลี (ของพมา น่ันแหละ) ใหส ามารถ ทาํ ไดอ ยา งสะดวก สวนพวกคําอธิบายทัง้ หลาย กระผมแปลโดย เปนการถอดเอาแตใจความมาเรียบเรียงโดยคาํ พูดของตนเปน สาํ คัญ จากอรรถกถาแหง ปกรณนแ้ี หละบาง จากทอ่ี ืน่ บาง แต ก็เทาท่ีเห็นวาจะชวยใหทานผูอานไดเกิดความเขาใจเน้ือความ ปญหานั้น ๆ แจมแจงมากขึ้นเทาน้ัน มิไดยกมาหมดส้ินเชิง ถึงกระน้ัน เมื่อไดผนวกคําอธิบายเขาไปดวยอยางน้ี การท่ีจะ จัดพิมพเปน เลม เดียวจบ จะทาํ ใหห นงั สอื มีความหนามากเกนิ ไป ไมสะดวกแกการจับถือเปดอาน ท้ังจะตองเสียคาใชจายในการ จัดพิมพสูงยิ่ง เพราะฉะนั้น ก็จาํ เปนตองแบงทาํ เปน ๓ เลม. เก่ยี วกบั คําพูดในปกรณอ ่นื ๆ มีพระไตรปฎกเปนตน ท่ไี ด ยกมาอางเปนอักษรตัวดาํ ไวในหนาน้ัน ๆ ท่ีกระผมไดกาํ กับ ตัวเลข แลวระบุถึงที่มาไวบรรทัดลางสุดน้ัน ถาเปนคาํ พูดใน

พระไตรปฎก ก็เปนพระไตรปฎกฉบับภาษาบาลีท่ีไดรับการ สังคายนาคร้ังหลังสุดในประเทศไทย เมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๐ ถาเปนคาํ พูดในปกรณอื่น สวนมากเปนฉบับภาษาบาลีของ มหามกุฏราชวิทยาลัย นอกน้ัน ก็ไดระบุไวชัดเจนแลว. ทานทั้งหลาย ความบกพรองผิดพลาดเก่ียวกับคําแปล ก็ดี คาํ อธิบายก็ดี รายช่ือผูบริจาคก็ดี หรือแมเร่ืองอื่น ๆ ก็ดี คงมีอยูเปนแนแท กระผมและทางมูลนิธิฯ ใครกราบขออภัย ทานทั้งหลายดวย ณ โอกาสนี้ และยินดีรับคาํ ทักทวงของทาน เพื่อจะไดนาํ ไปแกไขใหถูกตองในการจัดพิมพคราวตอไป หวัง วาหนังสือเลมนี้จะมีสวนชวยใหทานเกิดความบันเทิงในธรรม ของพระสัมมาสัมพุทธเจา เขาถึงคาํ สอนในพระศาสนาไดทาง หน่ึง ไมมากก็นอย. สุดทายน้ี กระผมและทางมลู นธิ ฯิ ขออนุโมทนาในกุศลจติ ของทุกทาน ท่มี สี ว นชวยใหก ารจัดพมิ พหนังสือเลม นี้สําเรจ็ ขอให บุญครั้งน้ีจงมีอานุภาพปกปองทานทั้งหลาย รวมทั้งทานผูอาน ใหเปนผูปลอดพนจากภัยพิบัติเสนียดจัญไรทั้งปวง ประสบแต ความสุข ความสวัสดี เจริญรุงเรืองอยูใตรมเงาพระพุทธศาสนา ตลอดไปชั่วกาลนานแสนนาน เทอญ. ดวยความปรารถนาดีอยางจริงใจ ไชยวัฒน กปลกาญจน

  ๓๗๗ ร.พ.ราษฎรบูรณะ ถ.ราษฎร- พัฒนา เขตราษฎรบูรณะ กทม. ๑๐๑๔๐ ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ กราบเรยี น ทา นอาจารยปราณี สําเรงิ ราชย เรือ่ ง ขออนญุ าตจัดพมิ พหนังสือมิลนิ ทปญหา เน่ืองจาก ดิฉันเปนศิษยอาจารยวรรณสิทธิ์ ไวทยะเสวี เรยี นพระอภิธรรม ต้งั แต พ.ศ. ๒๕๒๗ ขณะนท้ี าํ หนาทบี่ รรยาย ธรรมะท่ีวิหารลิมปภาภรณ วัดธาตทุ อง เขตวฒั นา ทุก ๒ อาทติ ย ตนเดือน เวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๐.๐๐ น. ขณะนี้ ดฉิ นั บรรยายเรื่อง มลิ นิ ทปญหา เลม ๑ ปญหาที่ ๑๓ สตลิ ักขณปญ หา ซง่ึ เปนท่ี สนใจของนกั ศึกษาดคี ะ (นศ. ท่วี ดั ธาตทุ อง มีประมาณ ๓๐ กวา ทาน). ดิฉันจึงกราบเรียนทานอาจารย เพ่ือขออนุญาตจัดพิมพ จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด (๑ ชุดมีเลม ๑-๓) เพอ่ื เปน ธรรมทานในครัง้ นี้ เพราะถอยคําในหนังสือไพเราะ เขาใจงายดียิ่งขึ้นในการเรียน พระอภิธรรม กราบเรียนดวยความเคารพอยางสูง นางนิตยา ปรชี ายุทธ

คาํ อนุโมทนา เรื่องมิลินทปญหาน้ี มีเนื้อหาสาระที่นาศึกษาเปนอยาง ยิ่ง ทานนักปราชญทั้งสองสนทนาโตตอบกัน แตละปญหาลวน เปนเคร่ืองเรืองปญญา นารู นาสนใจ. ขออนโุ มทนากับ คณุ นติ ยา ปรชี ายทุ ธ และผูรว มบริจาค ทกุ ทาน ท่มี จี ิตศรทั ธาอนั ประกอบดว ยปญญา เหน็ คุณคาในการ พมิ พห นังสือเพือ่ เปนธรรมทานในครัง้ นี้ ดวยอานิสงสของกศุ ลนี้ จงสงผลใหค ุณนติ ยา ปรีชายุทธ ผูชวยเหลือจัดทาํ ทานผูบริจาคทรัพย และทานผูอานทุกทาน ไดบรรลุถึงธรรมท่ีสุดแหงทุกขโดยเร็วดวยเถิด. ปราณี สําเริงราชย สาํ นกั วิวัฏฏะ วัดเขาสนามชัย

  ๓๗๗ ร.พ.ราษฎรบ รู ณะ ถ.ราษฎร- พัฒนา เขตราษฎรบูรณะ กทม. ๑๐๑๔๐ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ กราบเรียน ทา นอาจารยไ ชยวฒั น กปล กาญจน เรอื่ ง ขออนญุ าตจดั พมิ พหนังสือมิลนิ ทปญหา เนื่องจาก ดิฉันเปนศิษยอาจารยวรรณสิทธิ์ ไวทยะเสวี เรยี นพระอภธิ รรม ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๒๗ ขณะนที้ าํ หนาทบี่ รรยาย ธรรมะทีว่ ิหารลิมปภาภรณ วัดธาตุทอง เขตวัฒนา ทุก ๒ อาทติ ย ตนเดอื น เวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๐.๐๐ น. ขณะน้ี ดิฉนั บรรยายเรื่อง มลิ นิ ทปญ หา เลม ๑ ปญหาท่ี ๑๓ สตลิ กั ขณปญ หา ซงึ่ เปน ท่ี สนใจของนักศึกษาดคี ะ (นศ. ท่วี ดั ธาตทุ อง มปี ระมาณ ๓๐ กวา ทา น). ดิฉันจึงกราบเรียนทานอาจารย เพื่อขออนุญาตจัดพิมพ จาํ นวน ๑,๐๐๐ ชุด (๑ ชดุ มเี ลม ๑-๓) เพ่อื เปนธรรมทานในครัง้ นี้ เพราะถอยคาํ ในหนังสือไพเราะ เขาใจงายดีย่ิงขึ้นในการเรียน พระอภิธรรม กราบเรียนดว ยความเคารพอยา งสูง นางนิตยา ปรีชายทุ ธ

คาํ อนุโมทนา มิลินทปญหาเปนปกรณที่อาจารยท้ังหลายเล็งเห็นวา สําคัญยิ่ง พระอรรถกถาจารยท้ังหลายผูแตงปกรณอ่ืน มักจะ หยิบยกคําพูดในปกรณนี้มาอางไวในงานเขียนของทานอยูเสมอ ในคราวที่มีการวิจารณหมวดธรรมท่ีมีความลึกซ้ึงนั้น ๆ ขออนโุ มทนากบั คุณนติ ยา ปรีชายุทธ และผูรว มบริจาค ทุกทาน ท่มี ีจติ ศรัทธาอันประกอบดว ยปญญา เห็นคณุ คาในการ พมิ พห นงั สือเพ่อื เปน ธรรมทานในครง้ั นี้ กระผมและทางมูลนิธิฯ ขออนุโมทนาในกุศลจิตของ คุณนิตยา ปรีชายุทธ และผรู ว มบรจิ าคทุกทา น ขอใหบ ุญครัง้ น้ี จงมีอานุภาพปกปองทานท้ังหลาย รวมทั้งทานผูอาน ใหเปนผู ปลอดพนจากภัยพิบัติเสนียดจัญไรท้ังปวง ประสบแตความสุข ความสวัสดีชั่วกาลนาน เทอญ. ดวยความปรารถนาดอี ยางจริงใจ ไชยวฒั น กปลกาญจน

  คาํ นิยม ขาพเจามีความปลื้มใจ ปติ และโสมนัส ในการท่ี จะพิมพหนังสือมิลินทปญหา เหมือนกับขาพเจามีความรูสึก ท่ีขาพเจาไดบังเกิดแลวดังน้ี ขาพเจามีบานพักในซอย รามคําแหง ๒๑ ถ.รามคาํ แหง แตถนนซอยน้ีขรุขระ เปน หลุมบอ และลูกกระโดดก็เวา ๆ แหวง ๆ ขาพเจาไดขอให ที่เขตวังทองหลางมาชวยซอมถนน คุณเจาหนาท่ีฝายโยธา บอกวา ซอยนี้เปนซอยเอกชน เม่ือวันท่ี ๗ มกราคม ๒๕๕๔ ขาพเจาไดโทรไปเรียก บริษัทคุณปาเฉลียวมาประเมินราคา ครั้งแรกประเมินมา ๙๒๐,๐๐๐ บาท ขาพเจาบอกปาขับรถมารับหนอย จะช้ีใหดู วาตรงไหนตองทําบาง (ปาอายุ ๘๒) วองไวมาก พอขับรถ มาถึงตรงท่ีจะซอม ปาก็ถือกระปอง Spray สีแดง Spray ตามรอยท่ีขาพเจาไดช้ีบอก ขาพเจาก็มีความสุขใจมากทุกครั้ง ท่ีปา Spray รอยสีแดง ขาพเจาโทรไปถามปาบอกราคามาให ลดเหลือ ๔๖๐,๐๐๐ บาท ขาพเจาบอกใหปามาซอมโดย ปูลาดยางแอสฟลต ต้ังแตวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๔, ๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ เสร็จเรียบรอย ขณะขับรถดูผลงาน ก็มีความเบิกบานใจและยินดียิ่งวา ตอไปน้ีทุกคนที่ขับรถยนต ข่ีจักรยานยนตรับจางท่ีขับผานไปมา และทุกคนที่ซอน รถจักรยานยนตรับจางก็จะปลอดภัยและมีความสุข ทําให ขาพเจามีความสุขอยางย่ิง ไมใชแคน้ัน ลูกชายมาจับไหล

และบอกวา แมทาํ ถูกแลว เพ่ือน ๆ ก็ชื่นชมและขอบใจแม และทุกคร้ังที่มีแขกมากด ออดหนาบาน หรือโทรใหขาพเจา ไปรับเงินชวยบริจาค ขาพเจาก็จะยินดี (โสมนัส) และมี ความสุขทุกครั้ง จนอาจารยหมอ นพ.นพดล จิรสันต จาหนา ซอง (จายเช็คลงทะเบียน) มาใหวา Road Nittaya ขาพเจาก็ไดแตย้ิมดวยความชื่นใจวา มีคนเห็นคุณคา ในการซอมถนนคร้ังน้ี และบอกไดเลยทุกคร้ังท่ีมีเพ่ือนบาน นาํ ปจจัยมาชวย ขาพเจาก็มีความสุขและชื่นใจทุกคร้ัง นับ ถึงวันน้ี รวมจํานวนเงินไดเกือบ ๙๐,๐๐๐ บาทแลว ดวย ความยินดีและโสมนัส ขาพเจาก็เก็บรวบรวมไปทอดผาปา ท่ีมูลนิธิอาจารยแนบ ในวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ น้ี ดวย อันการทาํ กุศลครั้งน้ี สงใหขาพเจามีอารมณสดใส ช่ืนบาน และเกิดไดบอย ๆ คิดวาเหมือนกับท่ีขาพเจาจะ จัดพิมพหนังสือมิลินทปญหา ซึ่งทําเปนธรรมทาน และจะ มีความสุขทุกคร้ังที่อาน และไดสอนในธรรมะบรรยายท่ีวัด ธาตุทอง และเปดอานเอง เพราะเปนหนังสือมีคุณคา และ รูซึ้งมากยิ่งขึ้นจากการที่ไดเรียนพระอภิธรรม ขาพเจาคิดวา จะโนมนาวใหขาพเจามีปญญาท่ีจะปฏิบัติวิปสสนาภาวนาได ดียิ่งข้ึน เพราะสาํ นวนอานงาย ไพเราะ ไดเน้ือความชัดเจนย่ิง เชน พระเจามิลินทตรัสถามวา ลักษณะของวิริยะเปนอยางไร? พระนาคเสนถวายพระพรวา วิริยะมีลักษณะเหมือนไมคํ้ายัน ไมใหสติตกจากปจจุบันได และถามคําถามวา ปญญากับ

  โยนิโสมนสิการ เหมือนกันหรือไม? พระนาคเสนถวายพระพร วา โยนิโสเหมือนกับมือซายท่ีกาํ กอขาว (คือใสใจในอารมณ ตรงหนาปจจุบันอารมณ สวนปญญาเหมือนเคียวท่ีตัดตรง ใตขอมือท่ีไดกาํ กอขาวไว และยังมีอีกหลายคาํ ถามท่ีอานแลว ขยายความเขาใจเดิมใหมากยิ่งข้ึนดวย จึงเหมาะกับปญญา ของผูท่ีสนใจใฝรูในพระอภิธรรมและพระไตรปฎก ไดเพิ่ม ความรูใหยิ่งข้ึนดวย สุดทายก็ขอขอบคุณทานอาจารยปราณี สําเริงราชย ทานอาจารยไชยวัฒน กปลกาญจน อาจารยวรรณสิทธ์ิ ไวทยะเสวี อาจารยสุคนธ สุนศิริ โรงพยาบาลราษฎรบูรณะ และพวกเพ่ือน ๆ สหธรรมท่ีไดรวมทาํ หนังสือเลมน้ีดวย ขอ อาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย เปนเกราะปองกันและเสริมสง ใหปญญินทรียแกกลา สําหรับทุกทานท่ีปฏิบัติธรรมและ ประพฤติสุจริตทั้ง ๓ ขอใหปกปองคุมครองประเทศไทยจาก คนใจพาล ขอใหพระราชวงศทุกพระองคทรงพระเกษม- สาํ ราญ และทรงพระเจริญย่ิงยืนนาน  ขอบูชาพระพุทธเจา พระธรรม พระอริยสงฆไวเหนือเศียรเกลา นางนิตยา ปรีชายุทธ ประธานกรรมการ ร.พ.ราษฎรบูรณะ ๑ มีนาคม ๒๕๕๔

สารบญั กณั ฑท ่ี ๕ อนุมานปญหา หนา ๑ วรรคท่ี ๑, พทุ ธวรรค ๑ ปญ หาท่ี ๑, ทวินนังพุทธานังอนุปปชชนปญ หา ๑ ปญ หาที่ ๒, โคตมิวตั ถทานปญ หา ๘ ปญ หาที่ ๓, คิหิปพ พชติ สัมมาปฏิปต ตปิ ญหา ๑๘ ปญ หาท่ี ๔, ปฏปิ ทาโทสปญหา ปญ หาที่ ๕, หนี ายาวัตตนปญหา ๒๓ ปญ หาท่ี ๖, อรหนั ตเวทนาเวทิยนปญหา ๒๘ ปญ หาที่ ๗, อภิสมยันตรายกรปญ หา ๔๓ ปญหาที่ ๘, ทสุ สลี ปญหา ๔๘ ปญ หาที่ ๙, อุทกสัตตชีวปญ หา ๕๖ ๖๔ วรรคท่ี ๒, นิปปปญจวรรค ๗๒ ปญหาท่ี ๑, นิปปปญ จปญ หา ๗๒ ปญหาท่ี ๒, ขณี าสวภาวปญหา ๘๐  ปญหาท่ี ๓, ขีณาสวสติสมั โมสปญหา ๘๓  ปญ หาที่ ๔, โลเก นตั ถภิ าวปญหา ๘๙  ปญหาท่ี ๕, อกมั มชาทปิ ญหา ๙๑  ปญหาที่ ๖, กมั มชาทปิ ญหา ๑๐๐  ปญหาที่ ๗, ยักขปญหา ๑๐๒ 

ปญหาท่ี ๘, อนวเสสสกิ ขาปทปญหา   ปญหาท่ี ๙, สูริยตปนปญ หา ปญ หาท่ี ๑๐, กฐินตปนปญ หา หนา ๑๐๓  วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๐๖  ปญ หาที่ ๑, เวสสนั ตรปญ หา ๑๐๘ ปญหาที่ ๒, ทกุ กรการิกปญ หา ๑๑๐ ปญ หาที่ ๓, กุสลากสุ ลพลวตรปญ หา ๑๑๐ ปญ หาท่ี ๔, ปุพพเปตาทสิ ปญ หา ๑๓๐ ปญหาที่ ๕, สุปน ปญ หา ๑๔๓ ปญ หาที่ ๖, อกาลมรณปญ หา ๑๕๒ ปญหาที่ ๗, เจติยปาฏิหาริยปญหา ๑๖๑ ปญ หาท่ี ๘, ธมั มาภิสมยปญหา ๑๗๑ ปญหาที่ ๙, เอกันตสุขนพิ พานปญหา ๑๘๙ ปญ หาท่ี ๑๐, นพิ พานรปู สณั ฐานปญหา ๑๙๒ ปญหาท่ี ๑๑, นพิ พานสจั ฉกิ รณปญ หา ๑๙๙ ปญ หาท่ี ๑๒, นพิ พานสนั นหิ ิตปญ หา ๒๐๖ ๒๒๒ วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๓๐ ปญหาที่ ๑, อนุมานปญ หา ๒๓๕ ปญหาที่ ๒, ธตุ ังคปญ หา ๒๓๕ ๒๖๙  

  หนา ๓๐๗ กณั ฑท่ี ๖ โอปมมกถาปญ หา, มาตกิ า ๓๑๓ ๓๑๓ วรรคที่ ๑, คทั รภวรรค ๓๑๕ ปญ หาที่ ๑, คัทรภังคปญหา ๓๒๓ ปญหาท่ี ๒, กุกกุฏังคปญหา ๓๒๔ ปญหาท่ี ๓, กลนั ทกังคปญ หา ๓๒๗ ปญ หาท่ี ๔, ทปี นยิ ังคปญ หา ๓๓๑ ปญ หาท่ี ๕, ทีปกงั คปญหา ๓๓๖ ปญ หาท่ี ๖, กุมมงั คปญหา ๓๓๘ ปญ หาท่ี ๗, วงั สังคปญหา ๓๔๐ ปญหาที่ ๘, จาปงคปญ หา ๓๔๒ ปญ หาที่ ๙, วายสงั คปญ หา ๓๔๔ ปญหาที่ ๑๐, มักกฏังคปญ หา ๓๔๔ ๓๔๖ วรรคที่ ๒, สมุททวรรค ๓๔๘ ปญหาท่ี ๑, ลาพลุ ตังคปญ หา ๓๕๑ ปญหาท่ี ๒, ปทุมงั คปญหา ๓๕๓ ปญหาท่ี ๓, พีชังคปญหา ๓๕๗ ปญ หาที่ ๔, สาลกลั ยาณกิ ังคปญหา ๓๖๐ ปญ หาที่ ๕, นาวังคปญหา ปญ หาที่ ๖, นาวาลัคคนกังคปญ หา ปญหาที่ ๗, กูปงคปญหา

ปญหาที่ ๘, นยิ ามกงั คปญ หา   ปญหาท่ี ๙, กมั มการังคปญหา ปญ หาท่ี ๑๐, สมทุ ทังคปญ หา หนา ๓๖๑ วรรคที่ ๓, ปถวีวรรค ๓๖๔ ปญหาท่ี ๑, ปถวอี งั คปญ หา ๓๖๖ ปญ หาท่ี ๒, อาปงคปญ หา ปญหาที่ ๓, เตชังคปญหา ๓๗๑ ปญ หาท่ี ๔, วายงุ คปญหา ๓๗๑ ปญ หาท่ี ๕, ปพ พตงั คปญ หา ๓๗๔ ปญหาท่ี ๖, อากาสงั คปญ หา ๓๘๐ ปญ หาท่ี ๗, จันทงั คปญหา ๓๘๓ ปญหาที่ ๘, สรู ยิ ังคปญหา ๓๘๖ ปญหาท่ี ๙, สักกังคปญหา ๓๙๒ ปญ หาท่ี ๑๐, จกั กวตั ตงิ คปญหา ๓๙๖ ๔๐๐ วรรคที่ ๔, อปุ จกิ าวรรค ๔๐๓ ปญ หาที่ ๑, อุปจิกังคปญ หา ๔๐๕ ปญ หาท่ี ๒, พฬิ ารงั คปญ หา ๔๑๐ ปญ หาท่ี ๓, อุนทูรงั คปญ หา ๔๑๐ ปญหาท่ี ๔, วจิ ฉิกงั คปญ หา ๔๑๑ ปญหาท่ี ๕, นกลุ ังคปญหา ๔๑๔ ๔๑๖ ๔๑๗

ปญ หาท่ี ๖, ชรสิงคาลังคปญ หา หนา ปญ หาที่ ๗, มิคงั คปญหา ๔๑๘ ปญ หาท่ี ๘, โครูปง คปญ หา ๔๒๒ ปญ หาท่ี ๙, วราหงั คปญหา ๔๒๕ ปญ หาที่ ๑๐, หตั ถงิ คปญ หา ๔๒๘ ๔๓๐ วรรคที่ ๕, สีหวรรค ๔๓๗ ปญ หาที่ ๑, สีหังคปญ หา ๔๓๗ ปญหาท่ี ๒, จกั กวากงั คปญ หา ๔๔๒ ปญหาที่ ๓, เปณาหกิ ังคปญ หา ๔๔๕ ปญหาที่ ๔, ฆรกโปตงั คปญหา ๔๔๗ ปญ หาท่ี ๕, อลุ ูกงั คปญ หา ๔๕๐ ปญหาที่ ๖, สตปตตังคปญ หา ๔๕๓ ปญหาที่ ๗, วัคคุลกิ ังคปญ หา ๔๕๕ ปญ หาที่ ๘, ชลูกังคปญ หา ๔๕๗ ปญหาที่ ๙, สปั ปงคปญหา ๔๕๙ ปญหาท่ี ๑๐, อชครังคปญหา ๔๖๓ ๔๖๖ วรรคท่ี ๖, มกั กฏกวรรค ๔๖๖ ปญ หาท่ี ๑, ปน ถมกั กฏกังคปญหา ๔๖๘ ปญ หาที่ ๒, ถนสั สติ ทารกงั คปญหา ๔๗๐ ปญ หาท่ี ๓, จิตตกธรกุมมังคปญหา

ปญหาที่ ๔, ปวนงั คปญหา   ปญหาท่ี ๕, รกุ ขงั คปญ หา ปญ หาที่ ๖, เมฆังคปญหา หนา ปญ หาท่ี ๗, มณิรตนังคปญหา ๔๗๑ ปญหาที่ ๘, มาควิกังคปญหา ๔๗๕ ปญ หาท่ี ๙, พาฬิสกิ งั คปญ หา ๔๗๗ ปญหาที่ ๑๐, ตจั ฉกงั คปญหา ๔๘๐ ๔๘๓ วรรคท่ี ๗, กุมภวรรค ๔๘๖ ปญหาที่ ๑, กมุ ภงั คปญ หา ๔๘๘ ปญ หาท่ี ๒, กาฬายสังคปญ หา ๔๙๒ ปญหาท่ี ๓, ฉตั ตังคปญหา ๔๙๒ ปญหาท่ี ๔, เขตตงั คปญหา ๔๙๓ ปญหาท่ี ๕, อาคทงั คปญ หา ๔๙๖ ปญ หาที่ ๖, โภชนงั คปญหา ๔๙๘ ปญ หาที่ ๗, อิสสาสังคปญ หา ๕๐๐ ๕๐๒  คาํ นคิ มน ๕๐๔  ๕๑๑ 

วรรคท่ี ๑, พทุ ธวรรค ๑ กัณฑท่ี ๕ - อนมุ านปญหา วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ปญหาท่ี ๑, ทวนิ นงั พุทธานังอนุปปช ชนปญหา พระเจามิลินท : “พระผูมีพระภาคทรงภาสิตความขอน้ีไว วา ‘อฏ านเมตํ ภิกขฺ เว อนวกาโส, ยํ เอกิสฺสา โลกธาตยุ า เทวฺ อรหนฺโต สมฺมาสมฺพทุ ฺธา อปพุ ฺพํ อจรมิ ํ อุปฺปชเฺ ชยยฺ ุ, เนตํ านํ วิชฺชติ๑ - ดูกร ภิกษุท้ังหลาย ขอท่ีพระอรหันต- สัมมาสัมพุทธเจา ๒ พระองค จะพึงบังเกิดในโลกธาตุเดียวกัน พรอมกนั ไมกอ นไมหลงั กัน ใด, ขอนี้ไมใชฐานะ ไมใชโ อกาส, ฐานะ น้ีหามีไดไม’ ดังน้ี. พระคุณเจานาคเสน พระตถาคตแมทุก พระองคเมื่อจะทรงแสดงธรรม ก็ทรงแสดงโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ, เม่อื จะตรสั บอกธรรม ก็ตรัสบอกอรยิ สจั ๔, เมอื่ จะ ทรงใหศึกษา ก็ทรงใหศึกษาในสกิ ขา ๓, และเมอ่ื จะทรงอนศุ าสน (พรํ่าสอน) ก็ทรงอนุศาสนในขอปฏิบัติที่เปนไปเพ่ือความไม ประมาท. พระคุณเจานาคเสน ถาหากวาพระตถาคตแมทุก พระองคทรงมีคําเทศนาเปนอยางเดียวกัน มีคาํ บอกกลาวเปน อยางเดียวกัน มีขอท่ีพึงศึกษาเปนอยางเดียวกัน มีคาํ อนุศาสน เปนอยางเดียวกัน ไซร, เพราะเหตุไร พระตถาคต ๒ พระองค จะทรงอบุ ตั ิในขณะเดียวกันมิไดเ ลา . ในโลกนี้ เกดิ ความสวางไสว                                                ๑. ที. ปา. ๑๑/๑๒๘, องฺ. เอกก. ๒๐/๓๗.

๒ กัณฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา แมเพราะพระพุทธเจาองคเดียวทรงอุบัติ. ถาหากวา พระพุทธเจา พระองคท่ี ๒ ก็มีได ไซร, โลกนี้ก็มีอันแตจะเกิดความสวางไสว มีประมาณย่ิงข้ึนไป ดวยแสงสวางแหงพระพุทธเจา ๒ พระองค, อนง่ึ พระตถาคต ๒ พระองค เวลาจะทรงตักเตือนเวไนยสตั ว ก็ จะทรงตักเตอื นไดง า ย (ไมลําบาก) เวลาจะทรงพราํ่ สอน ก็จะทรง พร่ําสอนไดงาย ขอทานจงบอกขาพเจาถึงเหตุผลในขอที่วาน้ัน โดยประการท่ีขาพเจาจะไดหายสงสัย เถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร หมนื่ โลกธาตุ น้ี เปนท่ีรองรับพระพุทธเจาไดเพียงพระองคเดียว, ยอมรองรับ พระคุณของพระตถาคตเจา ไดเ พียงพระองคเ ดยี วเทา น้นั , ถา หาก วาพระพุทธเจาพระองคท่ี ๒ พึงอุบัติไซร, หมื่นโลกธาตุนี้ จะ พึงรองรับไวไมไหว, จะพึงส่ันไหว โอนเอน คลอนแคลน แหลก กระจาย, ไมอ าจถงึ ความทรงตัวอยไู ด. ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา เรือลาํ หนึง่ อาจรองรับบรุ ุษ ไดเ พียงคนเดยี ว, เมือ่ มบี ุรุษเพียงคนเดยี วขน้ึ เรือ เรือลํานน้ั จึงจะ เปนเรือท่ีแลนไปในทะเลได, ตอมา มีบุรุษคนที่ ๒ มาถึง เปนผูที่ เสมอเหมือนบุรุษคนแรกนน้ั ดวยอายุ ดวยวรรณะ ดวยวัย ดวย ขนาดความผอมความอวน ดวยอวัยวะใหญนอยทุกสวน, บุรุษ คนท่ี ๒ น้นั ก็ขน้ึ เรอื ลาํ นน้ั , ขอถวายพระพร เรอื ลาํ นน้ั อาจรองรบั บุรุษทง้ั ๒ ไดห รอื หนอ?” พระเจามลิ ินท : “มไิ ดห รอก พระคุณเจา , เรอื ลาํ นน้ั จะพึงส่ัน ไหว โอนเอน คลอนแคลน แหลกกระจาย, ไมอาจถึงความทรง

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๓ ตวั อยไู ด, ยอ มจมน้าํ ไป.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ัน หมื่นโลกธาตุน้ี เปนท่ีรองรับพระพุทธเจาไดเพียงพระองค เดียว, ยอมรองรับพระคุณของพระตถาคตเจาไดเพียงพระองค เดียวเทาน้ัน, ถาหากวาพระพุทธเจาพระองคที่ ๒ พึงอุบัติได ไซร, หม่ืนโลกธาตุนี้จะพึงรองรับไวไมไหว, จะพึงส่ันไหว โอน เอน คลอนแคลน แหลกกระจาย, ไมอาจถึงความทรงตัวอยูได. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่งึ เปรยี บเหมอื นวา บรุ ุษผูหนง่ึ บริโภคอาหารตราบเทาที่ตองการ ยินดีพอใจเสียจนกระท่ังลน ข้ึนมาถึงคอ, เขาผูอิ่มหนําเต็มท่ี ผูเอาแตเซ่ืองซึมอยูไมขาดระยะ ผูเกิดงอตัวมิได แข็งเหมอื นทอ นไมแลว นัน้ ยงั ขืนบริโภคอาหาร จํานวนเทากันนั้นน่ันแหละอีก, ขอถวายพระพร บุรุษผูนั้นจะ พึงเปนสุขอยูหรือหนอ?” พระเจามิลินท : “หามิได พระคุณเจา, เขาบริโภคอีก คร้ังเทา นน้ั ก็อาจตายได.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัย ก็ฉันน้ันเหมือนกัน หมื่นโลกธาตุน้ี เปนท่ีรองรับพระพุทธเจา ไดเพยี งพระองคเดียว, ยอมรองรับพระคุณของพระตถาคตเจา ไดเพียงพระองคเดียวเทานั้น, ถาหากวาพระพุทธเจาพระองค ท่ี ๒ พึงอุบัติไซร, หม่ืนโลกธาตุนี้จะพึงรองรับไวไมไหว, จะพึง ส่ันไหว โอนเอน คลอนแคลน แหลกกระจาย ไมอาจถึงความ ทรงตัวอยูได”

๔ กัณฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน แผนดินยอม หว่ันไหวเพราะคุณธรรมท่ีหนักย่ิงไดเชียวหรือ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มีเกวียนอยู ๒ เลม ซึ่ง (แตละเลม) บรรทุกรัตนะเต็มจนถึงทางดานหนา, บุคคล ขนเอารัตนะจากเกวียนเลมหน่ึง ไปเทใสเกวียนอีกเลมหนึ่ง, ขอถวายพระพร เกวียนเลมน้ันอาจรับเอารัตนะแหงเกวียน ทั้ง ๒ เลมไดหรือหนอ?” พระเจา มลิ นิ ท : “มไิ ดห รอก พระคุณเจา, ดุมเกวียนเลม น้ันจะตองแตก, แมซี่กาํ เกวียนก็จะตองหักไป, แมกงลอเกวียน จะตองลมพับ, แมเพลาเกวียนก็จะตองหัก.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เกวียนยอมพงั ไปเพราะ รัตนะท่ีหนักย่ิงไดเชียวหรือ?” พระเจา มิลนิ ท : “ได พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ฉันนั้นเหมือนกัน แผนดินยอมหวั่นไหว เพราะคุณธรรม ท่ีหนักยง่ิ ได. ขอถวายพระพร อีกนัยหน่ึง เหตุผลท่ีจะวาตอไปนี้ เปนขอท่ีอาตมภาพขอรวมมา เพื่อแสดงพระพลานุภาพของ พระพุทธเจา, ขอพระองคจงสดับเหตุผลที่งดงามย่ิง แมอีก ขอหน่ึง ในบรรดาเหตุผลท้ังหลายเหลาน้ันวา เพราะเหตุใด พระสัมมาสัมพุทธเจา ๒ พระองค จึงทรงอุบัติในขณะ เดียวกันมิได. ขอถวายพระพร ถาหากวา พระสัมมา-

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๕ สัมพุทธเจา ๒ พระองคทรงอุบัติในขณะเดียวกันไดแลวไซร, บริษัทของพระพุทธเจาทั้ง ๒ พระองคนั้น ก็จะพึงเกิดการ ทะเลาะวิวาทกันวา ‘พระพุทธเจาของพวกทาน, พระพุทธ- เจาของพวกเรา’ ดังนี้ได, ก็จะพึงเกิดแตกเปน ๒ ฝาย, ขอ ถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บริษัทของอาํ มาตยท่ีมีกาํ ลัง (เทา ๆ กัน) ๒ คน พึงเกิดการทะเลาะวิวาทกันวา ‘อาํ มาตย ของพวกทาน, อํามาตยของพวกเรา’ ดังน้ี ก็จะพึงเกิดแตก เปน ๒ ฝาย ฉันใด ขอถวายพระพร ถาหากวา พระ สัมมาสัมพุทธเจา ๒ พระองค ทรงอุบัติในขณะเดียวกันได ไซร, บริษัทของพระพุทธเจาท้ัง ๒ พระองคนั้น ก็จะพึงเกิด การทะเลาะวิวาทกันวา ‘พระพุทธเจาของพวกทาน, พระ- พุทธเจาของพวกเรา’ ดังน้ี, ก็จะพึงเกิดแตกเปน ๒ ฝาย ฉันนั้น, ขอถวายพระพร น้ีก็จัดวาเปนเหตุผลอีกขอหน่ึง วา เพราะเหตุใด พระสัมมาสัมพุทธเจา ๒ พระองค จึงทรง อุบัติในขณะเดียวกันมิได. ขอถวายพระพร มหาบพิตร ขอพระองคจงสดับเหตุผล ท่ยี ิ่งขึน้ ไป แมอ ีกขอ หนึง่ , ท่ีวา เพราะเหตุใด พระสมั มาสัมพุทธเจา ๒ พระองคจึงทรงอุบัติในขณะเดียวกันมิได, ขอถวายพระพร ถาหากวาพระพุทธเจา ๒ พระองค ทรงอุบัติในขณะเดียวกัน ไดไซร, คําท่ีวา ‘พระพุทธเจาทรงเปนยอดบุคคล’ ดังนี้ ก็ยอม ไมถูกตอง, คําที่วา ‘พระพุทธเจาทรงเปนผูยิ่งใหญที่สุด’ ดังน้ี ก็ยอมไมถูกตอง, คําที่วา ‘พระพุทธเจาทรงเปนผูประเสริฐสุด’

๖ กณั ฑที่ ๕, อนุมานปญหา ดังนี้ ก็ยอมไมถูกตอง, คาํ ที่วา ‘พระพุทธเจาทรงเปนผูวิเศษสุด’ ดังน้ี ก็ยอมไมถูกตอง, คาํ ที่วา ‘พระพุทธเจาทรงเปนผูสูงสุด’ ดังน้ี ก็ยอมไมถูกตอง, คําที่วา ‘พระพุทธเจาทรงเปนผูยอดเย่ียม’ ดังน้ี ก็ยอมไมถูกตอง, คาํ ท่ีวา ‘พระพุทธเจาทรงเปนผูที่หาผู เสมอเหมือนมิได’ ดังนี้ ก็ยอมไมถูกตอง, คําที่วา ‘พระพุทธเจา ทรงเปนผูท่ีเสมอดวยบุรุษผูท่ีหาผูเสมอเหมือนมิได’ ดังนี้ ก็ยอมไมถูกตอง, คําท่ีวา ‘พระพุทธเจาทรงเปนผูท่ีใคร ๆ หาสวน เปรียบมิได’ ดังน้ี ก็ยอมไมถูกตอง, คาํ ที่วา ‘พระพุทธเจา ทรงเปนบุคคลผูหาผูอ่ืนเปรียบเทียบกันมิได’ ดังนี้ ก็ยอมไม ถูกตอง. ขอถวายพระพร เหตุผลที่วา เพราะเหตุใดพระ- สัมมาสัมพุทธเจา ๒ พระองค จึงทรงอุบัติในขณะเดียวกันมิได แมขอนี้ ก็ขอพระองคจงทรงยอมรับตามความเปนจริงเถิด. ขอถวายพระพร ก็แล ขอท่ีวา พระพุทธเจาทรงอุบัติ ไดเพียงพระองคเดียวเทาน้ัน น้ีเปนสภาวะปกติแหงพระผูมี พระภาคพุทธเจาท้ังหลาย, เพราะเหตุไรหรือ ตอบวา เพราะ พระคุณท้ังหลายของพระสัพพัญูพุทธเจาเปนของยิ่งใหญ, ขอถวายพระพร ของท่ีย่ิงใหญ แมอยางอ่ืนในทางโลก ก็ยังมีได เพียงอยางเดียวเทาน้ัน. ขอถวายพระพร แผนดินเปนของ ยิ่งใหญ, แผนดินนั้นก็มีเพียงหน่ึงเทานั้น. ทะเลก็เปนของย่ิงใหญ, ทะเลน้ันก็มีเพียงหน่ึงเทานั้น. พญาเขาสิเนรุก็เปนของย่ิงใหญ, พญาเขาสิเนรุนั้นก็มีเพียงหน่ึงเทานั้น. อากาศก็เปนของยิ่งใหญ, อากาศน้ันก็มีเพียงหน่ึงเทาน้ัน. ทาวสักกะก็ทรงเปนผูย่ิงใหญ,

วรรคท่ี ๑, พทุ ธวรรค ๗ ทาวสักกะน้ันก็มีเพียงหน่ึงเทานั้น. พญามารก็เปนผูยิ่งใหญ, พญามารนั้นก็มีเพียงหนึ่งเทาน้ัน. ทาวมหาพรหมก็ทรงเปนผู ยิ่งใหญ, ทาวมหาพรหมนั้นก็มีเพียงหนึ่งเทาน้ัน. พระตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา กท็ รงเปนผูยง่ิ ใหญ, พระตถาคตอรหันต- สัมมาสัมพุทธเจานั้นก็มีเพียงหน่ึงเทาน้ัน ในโลก. พระตถาคต ทั้งหลายเหลานั้น ทรงอุบัติในสถานท่ีใดได ก็ตาม, (เมื่อพระ ตถาคตพระองคห นึง่ ทรงอุบตั แิ ลว ) ณ สถานทน่ี น้ั ยอมหาโอกาส สาํ หรับพระตถาคตพระองคอ ่นื มไิ ด, ขอถวายพระพร เพราะฉะนนั้ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาจึงทรงอุบัติในโลกไดเพียง พระองคเ ดียวเทานั้น.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานตอบปญหา มีอุปมา มีเหตุผลดีแลว, คนที่หาปญญาละเอียดออนมิได ฟง คําตอบน้ีแลวก็ยังเกิดความพอใจได, จะปวยกลาวไปใยถึงคน ท่ีมีปญญามากเชนขาพเจาเลา. ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจาขอยอมรับคําตามที่ทานกลาวมาน้ี.” จบทวินนังพุทธานังอนุปปชชนปญหาที่ ๑ คําอธิบายปญหาที่ ๑ ปญ หาเก่ยี วกบั ความไมเกดิ ข้ึนพรอมกันแหง พระพทุ ธเจา ๒ พระองค ชอื่ วา ทวินนงั พุทธานงั อนปุ ปชชนปญ หา. คําวา จะพึงเกิดการทะเลาะววิ าทกันวา ‘พระพทุ ธเจา ของพวกทาน, พระพุทธเจาของพวกเรา’ เปนตน ความวา

๘ กณั ฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา ถาหากมีพระพุทธเจา ๒ พระองค ทรงอุบัติในโลกธาตุนี้พรอม กันคราวเดียวกันไดไซร พุทธบริษัทก็จะแตกเปน ๒ ฝาย เพราะ แตละฝายยึดถือแตละพระองคเปนพระศาสดาของตน เล็งเห็น อยูแตวาศาสดาของตนดีกวาศาสดาของอีกฝายหนึ่ง แลว ประพฤติจาบจวงลวงเกิน เปนเหตุเกิดการทะเลาะวิวาทกันขึ้น. คําวา พระพุทธเจาทรงเปนผูท่ีหาผูเสมอเหมือนมิได คอื พระพุทธเจาทรงเปนผทู ห่ี าผูเสมอเหมือนมิได ดว ยพระรปู กาย สมบัติท่ีมีพระรัศมีแผไปประมาณ ๑ วาจากพระวรกายเปนตน และดวยพระคุณสมบัติ มีพระญาณที่ไมสาธารณะดวยคน ท้ังหลายเปนตน. คาํ วา พระพุทธเจาทรงเปนผูเสมอดวยบุรุษผูท่ีหา ผูเสมอเหมือนมิได ความวา พระพุทธเจาทรงเปนผูที่เสมอ คือ เทาเทียมกันกับบุรุษผูที่หาผูเสมอเหมือนมิได คือพระพุทธเจา ท้ังหลายท่ีทรงอุบัติแลวในอดีต ดวยพระรูปกายสมบัติ และพระ คุณสมบัต.ิ จบคําอธบิ ายปญ หาที่ ๑ ปญ หาที่ ๒, โคตมวิ ัตถทานปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระผูมีพระภาค รับส่ังความขอน้ี แกพระมาตุจฉา (นา) มหาปชาบดีโคตมี ผู กาํ ลังถวายผาอาบนา้ํ ฝน วา ‘สํเฆ โคตมิ เทหิ, สํเฆ เต ทินฺเน

วรรคท่ี ๑, พทุ ธวรรค ๙ อหฺเจว ปูชิโต ภวิสฺสามิ สํโฆ จ๑ - ดูกร พระนางโคตรมี ขอพระองคจงถวายในพระสงฆเถิด, เม่ือพระองคไดถวายใน พระสงฆแลว กจ็ กั เปน อนั ไดบูชาอาตมภาพดว ย ไดบชู าพระสงฆ ดวย’, พระคุณเจานาคเสน พระตถาคตทรงเปนบุคคลท่ีไมควร ตระหนกั ไมควรเคารพ ไมท รงเปน ทกั ขิไณยบคุ คลย่งิ กวา พระสงฆ- รัตนะหรือไร, พระตถาคตจึงรับส่ังใหพระมาตุจฉาของพระองค ถวายผา อาบน้าํ ฝนท่พี ระนางทรงยอมสเี อง ปอก (ฝา ย) เอง ระบม เอง ปน เอง ทอเอง ทีก่ าํ ลงั ถวายพระองคอ ยูแกพระสงฆ, พระคุณ เจา นาคเสน ถาหากวา พระตถาคตทรงเปน ผสู งู สง กวา หรอื ยงิ่ กวา หรือวเิ ศษกวาพระสงั ฆรตั นะ, พระตถาคตกจ็ ะตรัสวา ‘เมอ่ื ได ถวายในอาตมภาพ ก็จักมีผลมาก’ ดังนี้ จะไมรับส่ังใหพระ มาตุจฉาถวายผาอาบน้ําฝนท่ีทรงยอมสีเอง ปอก (ฝาย) เอง ระบมเอง แกพระสงฆ, เพราะเหตุที่พระตถาคตไมโปรดให ปรารถนาพระองค ไมโปรดใหอิงอาศัยพระองค พระตถาคตจึง รับสั่งใหพระมาตุจฉาถวายผาอาบนํา้ ผืนน้ันแกพระสงฆเสีย.” พระนาคเสน : “พระผูมีพระภาครับสั่งความขอนี้แกพระ มาตุจฉามหาปชาบดีโคตมี ผูกาํ ลังถวายผาอาบน้าํ ฝนวา ‘ดูกร พระนางโคตมี ขอพระองคจงถวายในพระสงฆเถิด, เมื่อพระองค ไดถวายในพระสงฆแลว ก็จักเปนอันไดบูชาอาตมภาพดวย ไดบชู าพระสงฆดวย’ ดงั นจี้ รงิ . ก็คาํ นน้ั ตรสั ไวเพราะความทท่ี าน                                                ๑. ม. อ.ุ ๑๔/๔๑๕.

๑๐ กณั ฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา ของผูนอมถวายเฉพาะพระองคเปนของมีวิบาก (ผลตอบแทน, อานิสงส) นอ ย ก็หาไม เพราะความทพี่ ระองคม ิใชทักขิไณยบคุ คล ก็หาไม, ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงดาํ ริวา ในกาลอนาคต เมื่อเราลวงลับไปแลว พระสงฆจักเปนผูที่ชาวบริษัทกระทําความ ยาํ เกรง ดังน้ี แลวทรงประสงคจะยกยองคุณ (ของพระสงฆ) ท่ีมี อยูจริงนั่นแหละ เพ่ือประโยชนเก้ือกูล เพื่ออนุเคราะห (พระสงฆ เหลานั้น) จึงตรัสอยางน้ีวา ‘ดูกร พระนางโคตมี ขอพระองค ถวายในพระสงฆเถิด, เม่ือพระองคไดถวายในพระสงฆแลว ก็ จักเปนอันไดบูชาอาตมภาพดวย ไดบูชาพระสงฆดวย.’ ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา ผูเ ปน บดิ า ขณะทยี่ งั ทรง ชีพอยูน ่นั เทยี ว กก็ ลาวยกยอ งคุณของบุตรซึ่งก็มีอยูจรงิ นั่นแหละ ในพระราชสาํ นักของพระราชา ทา มกลางพวกอาํ มาตย ขา ราชการ กาํ ลังพล นายประตูเมือง นายทหารรกั ษาพระองค และชาวบริษทั ท้ังหลาย ดว ยคิดวา ‘บตุ รของเราไดร ับการแตงตั้งในทีน่ ้แี ลว ตอ ไป ในอนาคตกาล จักเปนผูที่คนท้ังหลายบูชา’ ดังน้ี ฉันใด, พระตถาคตทรงดําริวา ในกาลอนาคต เมื่อเราลวงลบั ไปแลว สงฆ จักเปนผูท่ีชาวบริษัทกระทําความยําเกรง ดังนี้แลว ทรงประสงค จะยกยอ งคณุ (ของพระสงฆ) ท่ีมีอยจู รงิ นน่ั แหละ เพ่ือเกอื้ กลู เพ่ือ อนุเคราะห (พระสงฆเหลาน้ัน) จึงตรัสอยางนี้วา ‘ดูกร พระนาง โคตมี ขอพระองคถวายในพระสงฆเถิด, เม่ือพระองคไดถวายใน พระสงฆแลว ก็จักเปนอันไดบูชาอาตมภาพดวย ไดบูชาพระสงฆ ดวย’ ดังน้ี ฉันนั้นเหมือนกัน.

วรรคท่ี ๑, พทุ ธวรรค ๑๑ ขอถวายพระพร พระสงฆหาช่ือวาเปนผูยิ่งกวา หรือวิเศษ กวาพระตถาคต เพราะเหตุสักวารับสั่งใหถวายผาอาบน้าํ ฝนให เทานั้นไม. ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา ผเู ปนมารดาหรอื บดิ า ยอ มแตงตัวใหบุตร ถูตัวให อาบนา้ํ ให สระผมให, ขอ ถวายพระพร ก็แตวา ผูเปนบุตรชื่อวา เปนผูยิ่งกวาหรือวิเศษ กวาผูเปนมารดาและบิดา เพราะเหตุสักวาเขาแตงตัวให ถูตัว ให อาบนํ้าให สระผมให เทาน้ันหรือหนอ?” พระเจามิลนิ ท : “หามไิ ด พระคุณเจา , พระคณุ เจา สาํ หรับ มารดาและบิดา บุตรเปนผูที่ไมอาจทาํ กิจ (มีการแตงตัวเปนตน) ตามท่ตี นตอ งการได, เพราะฉะนั้น มารดาและบดิ า (พอเห็นวา เปนกาลทีส่ มควรทํากจิ น้ัน ๆ ให) จงึ ตองทาํ กจิ ทั้งหลายให คอื การ แตง ตวั ให การถตู วั ให การอาบนํา้ ให การสระผมให.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน พระสงฆหาชื่อวาเปนผูยิ่งกวา หรือวิเศษกวา พระตถาคต เพราะเหตุสักวารับส่ังใหถวายผาอาบนา้ํ ฝนให เทาน้ันไม ก็แตวา พระตถาคตเม่ือจะทรงทํากิจท่ีพระสงฆไม อาจทาํ ตามที่ตนตองการได จึงโปรดใหพระมาตุจฉาถวายผา อาบนา้ํ ฝนนั้นแกพระสงฆ. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา บุรุษบาง คนพึงนอ มเกลา ฯ ถวายเครอ่ื งบรรณาการแกพ ระราชา, พระราชา พระราชทานเครอ่ื งบรรณาการน้ันแกคนอ่นื ซ่ึงเปน ขา ราชการบาง กาํ ลังพลบาง เสนาบดีบาง ปุโรหิตบาง. ขอถวายพระพร บุรุษผู

๑๒ กัณฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา (ไดรับเคร่ืองบรรณาการ) น้ัน ชื่อวาเปนผูยิ่งกวา หรือวิเศษกวา พระราชา เพราะเหตสุ กั วา ไดรับเคร่อื งบรรณาการเทาน้ันหรือหนอ?” พระเจามิลินท : “หามิไดพระคุณเจา, พระคุณเจา บุรุษ ผูนั้นเปนผูที่พระราชาทรงชุบเลี้ยง เปนผูที่อาศัยพระราชา เลี้ยงชีพ พระราชาเม่ือทรงดาํ รงอยูในอิสสริยฐานะน้ัน ก็ยอม มีอํานาจพระราชทานเครื่องบรรณาการ (แกคนอื่น) ได.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉนั นั้นเหมอื นกนั พระสงฆ หาชอ่ื วา เปน ผทู ีย่ งิ่ กวา หรือวเิ ศษกวา พระตถาคต เพราะเหตสุ กั วา รับส่งั ใหถ วายผา อาบนาํ้ ฝนใหเ ทา น้ัน ไม, ทวา พระสงฆเปนผูท่ีพระตถาคตทรงชุบเล้ียง เปนผูที่อาศัย พระตถาคตเล้ียงชีพ. พระตถาคตทรงดํารงอยูในฐานะท่ีวาน้ัน ก็ยอม (มีอาํ นาจ) รับสงั่ ใหถวายผาอาบนาํ้ ฝนแกพ ระสงฆได. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง พระตถาคตทรงมีพระดําริ อยางนี้วา ‘สงฆเปนผูท่ีชาวโลกควรบูชาโดยสภาวะ, เราจักให ชาวโลกบูชาพระสงฆในสาํ นักของเรา’ ดังน้ี แลวก็รับส่ังใหถวาย ผาอาบนาํ้ ฝนแกสงฆ, ขอถวายพระพร พระตถาคตหาตรัส สรรเสริญการบูชาพระองคเ องเทา นน้ั ไม, ทวา บุคคลเหลาใดเปน ผู ควรบูชาในโลก, พระตถาคตจะตรัสสรรเสริญการบูชาแม ตอบุคคลเหลา นั้น. ขอถวายพระพร พระผูมพี ระภาคผูทรงเปน เทพย่งิ เหลา เทพ เม่ือจะทรงยกยองขอปฏิบัติมักนอย ในธรรมปริยายเร่ืองธรรม ทายาท (ธรรมทายาทสตู ร) ในมชั ฌิมนิกาย ซ่ึงเปนแนวทางประเสริฐ

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๑๓ วา ‘อสุ เยว เม ปุรโิ ม ภิกขฺ ุ ปชุ ฺชตโร จ ปาสํสตโร จ๑ - ภกิ ษุ รูปแรกน่ันแหละจัดวาเปนผูท่ีนาบูชากวา และนาสรรเสริญกวา สําหรับเรา’ ดังนี้ ขอถวายพระพร ในภพท้ังหลาย สัตวผูเปน ทักขิไณยบุคคลไหน ๆ ที่สูงสงกวาหรือยิ่งกวา หรือวิเศษกวา พระตถาคต หามีไม, พระตถาคตน่ันแหละทรงเปนผูสูงสงกวา ย่ิงกวา วิเศษกวา. ขอถวายพระพร มาณวคามิกเทพบุตร ยืนอยูเบื้องพระ พักตรพระผูมีพระภาค ทามกลางเทวดาและมนุษยท้ังหลาย ได ภาสิตความขอนี้ไวใน สังยุตตนิกาย อันประเสริฐ วา :- ‘วิปุโล ราชคหียานํ, คิริ เสฏโ ปวุจฺจติ. เสโต หิมวตํ เสฏโ, อาทิจฺโจ อฆามินํ. สมุทฺโท อุทธีนํ เสฏโ, นกฺขตฺตานฺจ จนฺทิมา สเทวกสฺส โลกสฺส, พุทฺโธ อคฺโค ปวุจฺจติ๒, แปลวา “ภูเขาวิปุละ กลาวไดวาประเสริฐสุดแหงบรรดา ภูเขาในกรุงราชคฤห ภูเขาเสตะ (เกลาสะ) กลาวไดวาประเสริฐสุดแหงบรรดาภูเขาหิมพานต พระอาทิตย กลาวไดวา ประเสริฐสุดแหงบรรดา ดวงดาวที่โคจรไปในอากาศ, มหาสมุทร กลาว                                                ๑. ม. มู. ๑๒/๒๑. ๒. สํ. ส. ๑๕/๙๒.

๑๔ กัณฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา ไดว า ประเสรฐิ สดุ แหง บรรดาแหลง ขงั นาํ้ ทั้งหลาย, และพระจันทรก็กลาวไดวาประเสริฐสุดแหงหมู ดาวนักษัตรท้ังหลาย ฉันใด, พระพุทธเจาก็ กลาวไดวาทรงเปนบุคคลผูเปนยอดในโลกท่ีมี พรอมพรั่งทั้งเทวดา ฉันนั้นเหมือนกัน.’ ดงั น.้ี ขอถวายพระพร ก็คาถาน้ีน้ัน เปนคาถาท่ีมาณวคามิก- เทพบุตรขับไวดี ไมใชขบั ไวไมด,ี กลาวไวดี ไมใชกลา วไวไมดแี ละ พระผูมีพระภาคก็ทรงเห็นชอบ, ขอถวายพระพร แมทานพระ สารีบุตรเถระก็ไดกลาวไวเหมือนกันมิใชหรือ วา :- ‘เอโก มโนปสาโท. สรณคมนมฺชลิปณาโม วา. อุสฺสหเต ตารยตุ, มารพลนิสูทเน พุทฺเธ’ แปลวา ‘ความเล่ือมใสแหง ใจ ก็ดี การถึงวาเปนสรณะ ก็ดี การนอมอัญชลีไป ก็ดี เพียงอยางเดียว ในพระ พุทธเจาผูทรงทาํ ลายกาํ ลังมารได ยอมสามารถ ยังสัตวใหข ามภพกันดารได’ ดงั น.้ี อน่ึง พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพไดตรัส ไววา ‘เอกปุคฺคโล ภิกฺขเว โลเก อุปฺปชฺชมาโน อุปฺปชฺชติ

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๑๕ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสานํ, กตโม เอกปุคคฺโล, ตถาคโต อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ฯเปฯ เทวมนุสฺสานํ๑ - ดูกร ภิกษุท้ังหลาย บุคคลผูเปนเอกเมื่อเกิดขึ้นมาในโลก ยอมเกิดขึ้นมาเพื่อเก้ือกูล ชนท้ังหลายเปนอันมาก เพ่ือความสุขของชนทั้งหลายเปนอัน มาก เพื่ออนุเคราะหโลก เพ่ือประโยชน เพ่ือความเกื้อกูล เพ่ือ ความสุข แหงเทวดาและมนุษยท้ังหลาย, บุคคลผูเปนเอกคน ไหนเลา, คือพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ฯเปฯ แหง เทวดาและมนุษยทั้งหลาย’ ดังน้ี.’ พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจา ขอยอมรับคําตามท่ีทานเฉลยมากระน้ี น้ี” จบโคตรมิวัตถทานปญหาที่ ๒ คําอธิบายปญ หาท่ี ๒ ปญหาเกี่ยวกับการที่พระนางมหาปชาบดีโคตมีถวายผา ช่ือวา โคตมิวัตถทานปญหา. ชื่อวา จักเปนอันไดบูชาอาตมภาพดวย ไดบูชา พระสงฆดวย เพราะมีจาคเจตนา (ความตั้งใจบริจาค) ดวยจิต คิดบูชา เปนไป ๒ คราวใน ๒ บุคคล คือคราวแรกเม่ือต้ังใจจะ ถวายแกพ ระพุทธเจา, คราวที่ ๒ เมอ่ื ตง้ั ใจจะถวายแกพ ระสงฆ.                                                ๑. อง.ฺ เอกก. ๒๐/๒๘.

๑๖ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา คาํ วา ที่พระนางทรงยอมสีเอง เปนตน ความวา พระ นางทรงคัดเลือกชางหญิงที่มีฝมือเปนเลิศในงานศิลปะเกี่ยวกับ ผาไวเปนจํานวนหลายคน เสด็จนาํ ไปสูโรงทอพรอมท้ังเครื่อง อุปกรณมีฝายเปนตน หญิงเหลานั้นทาํ การปอกฝาย ปนฝาย เปนตน ทอเปนผืนผาพรอมท้ังยอมสีตามรับส่ัง เพ่ือเตรียม ถวายพระตถาคต. อธิบายวา ไมใชผาที่มีอยูแลวตามปกติ. คาํ วา เมื่อจะทรงทาํ กิจท่ีพระสงฆไมอาจทาํ ตามท่ี ตอ งการได คือเมอื่ จะทรงแนะนาํ ทายก (ผูถวาย) ใหถ วายปจ จยั แกพระสงฆ อันเปนกิจที่พระสงฆผูมีศีล ผูสําเหนียกในสิกขาบท ทัง้ หลายที่ทรงบญั ญัตไิ ว แมตอ งการทํา ก็ไมอาจทําเพื่อตนเองได. คําวา สงฆเปนผูท่ีควรบูชาโดยสภาวะ คือสงฆเปนผูท่ี ควรบูชา ควรนับถือ ควรยกยองโดยสภาวะคือคุณธรรมท้ังหลาย มศี ีลเปนตน ตามทม่ี ีอยจู รงิ . พระสงฆชื่อวา เปน ผูทีพ่ ระตถาคต ทรงชุบเล้ียง ก็เพราะเหตุวาปจจัย ๔ มีจีวรเปนตนแมไดจาก ทายกมิใชไดจากพระตถาคตก็ตาม ถึงกระน้ัน คนเหลาน้ันถวาย ใหด วยเห็นวา เปน สาวกของพระตถาคต. คาํ วา ในธรรมปริยายเรื่องธรรมทายาท คือในการ แสดงธรรมเรื่องเกี่ยวกับธรรมทายาท (ผูรับมรดกธรรม) ใน ธรรมทายาทสูตร. ก็ในธรรมทายาทสูตรนั้น มีเน้ือความปรากฏอยูตอนหนึ่ง วา :-

วรรคที่ ๑, พทุ ธวรรค ๑๗ ในคราวที่พระตถาคตเสวยพระกระยาหารเสร็จแลว เพียงพอเทาที่ทรงประสงคแลว แตยังมีอาหารเหลือเปนเดนอยู ซ่ึงอาจจะตองเทท้ิงไปเปนธรรมดา ถาหากวาในเวลานั้น เกิดมี ภิกษุ ๒ รูป ผูถูกความออนเพลียเพราะความหิวครอบงาํ เขามา เฝา ทรงอนุญาตใหภิกษุ ๒ รูปนั้น ฉันอาหารที่เหลือเดนน้ันได ภิกษุรูปแรกคิดวา “นี้เปนบิณฑบาตเหลือเดนท่ีจะตองเททิ้งไป เปนธรรมดา ถาหากวาเราไมฉัน พระผูมีพระภาคก็จะทรงเททิ้ง ไปในที่ไมมีของเขียว หรือทรงโปรยลงไปในนํ้าท่ีไมมีสัตว. ก็แต วา พระผูมีพระภาคตรัสไววา ‘ดูกร ภิกษุท้ังหลาย พวกเธอ จงเปนธรรมทายาทเถิด, อยาเปนอามิสทายาทเลย’, แตวา บิณฑบาตนี้ ก็จัดเปนอามิสอยางหนึ่ง, ถากระไร เราจะไมฉัน บิณฑบาตนี้ จะทําตลอดคืนและวันน้ีใหลวงไป พรอมกับ ความออนเพลียเพราะความหิวนี้แหละ” คิดอยางนี้แลวก็ไมฉัน บิณฑบาตนั้น ทาํ ตลอดคืนและวันน้ันใหลวงไป โดยประการท่ีมี ความออนเพลียเพราะความหิวน้ันน่ันเอง. สวนภิกษุรูปที่ ๒ ฉัน บิณฑบาตน้ัน บรรเทาความหิว ทาํ ตลอดคืนและวันนั้นใหลวง ไป โดยประการที่ไมมีความออนเพลียเพราะความหิว. ในภิกษุ ๒ รูปนั้น พระองคจักตรัสสรรเสริญยกยองภิกษุรูปแรกน่ันเทียว วา ‘ภิกษุรูปแรกน่ันแหละ จัดวาเปนผูท่ีนาบูชากวา และ นาสรรเสริญกวา สําหรับเรา’ ดังน้ี. จบคําอธบิ ายปญ หาที่ ๒

๑๘ กณั ฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา ปญ หาท่ี ๓, คหิ ิปพ พชติ สมั มาปฏปิ ต ติปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระผูมีพระภาค ทรงภาสิตความขอนี้ไว วา :- ‘คิหิโน วาหํ ภิกฺขเว ปพฺพชิตสฺส วา สมฺมาปฏิปตฺตึ วณฺเณมิ ฯเปฯ อาราธโก โหติ ายํ ธมฺมํ กุสลํ๑ - ดูกร ภิกษุทั้งหลาย เราขอกลาวถึงสัมมาปฏิบัติ ของผูเปนคฤหัสถ และของผูเปนบรรพชิต. ดูกร ภิกษุท้ังหลาย ผูเปนคฤหัสถก็ดี ผูเปนบรรพชิตก็ดี ซึ่งเปนผูปฏิบัติชอบ ยอม เปนผูทาํ ญายธรรมที่เปนกุศลใหสําเร็จได เพราะเหตุที่ไดกอ สัมมาปฏิบัติไว’ ดังนี้. พระคุณเจานาคเสน ถาหากวาพวก คฤหัสถครองผาขาว บริโภคกาม ครองที่อยูท่ีแออัดดวยบุตร และภรรยา เสวยจันทนหอมจากแควนกาสี ทัดทรงพวงดอกไม ของหอมเครื่องลูบไล ยินดีทองและเงิน ประดับตางหูและมุน มวยผมแปลก ๆ กัน ก็เปนผูปฏิบัติชอบ ทําญายธรรมที่เปน กุศลใหสําเร็จได, แมผูเปนบรรพชิตครองผากาสาวะ อาศัยกอน ขาวของผูอ่ืน ผูทาํ ใหบริบูรณโดยชอบในกองศีล ๔ ประพฤติ สมาทานสิกขาบท ๑๕๐ ประพฤติในธุดงคคุณ ๑๓ ไมมีเหลือ ก็ช่ือวาเปนผูปฏิบัติชอบ ทาํ ญายธรรมท่ีเปนกุศลใหสาํ เร็จได ไซร. พระคุณเจา (เม่ือเปนเชนนั้น) ในบุคคล ๒ จําพวกน้ัน, ผู เปนคฤหัสถก็ดี ผูเปนบรรพชิตก็ดี จะมีอะไรเปนขอที่แตกตาง กันเลา, การบาํ เพ็ญตบะก็เปนอันวาไรผล, การบวชก็เปนอันวา                                                ๑. องฺ. ทกุ . ๒๐/๘๘.

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๑๙ หาประโยชนมิได, การรักษาสิกขาบทก็เปนอันวาเปนหมัน, การสมาทานธุดงคก็เปนอันวาเหลวเปลา, ประโยชนอะไรดวย การส่ังสมแตความทุกขยากในความเปนบรรพชิตน้ันเลา, เพราะวามีความสุขสบายน่ันแหละ ก็อาจบรรลุสุขไดมิใช หรือ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระผูมี พระภาคทรงภาสิตความขอน้ีไว วา ‘ดูกร ภิกษุท้ังหลาย เราขอ กลาวถึงสัมมาปฏิบัติของผูเปนคฤหัสถและของผูเปนบรรพชิต. ดูกร ภิกษุท้ังหลาย ผูเปนคฤหัสถก็ดี ผูเปนบรรพชิตก็ดี ซ่ึง เปนผูปฏิบัติชอบ ยอมเปนผูทาํ ญายธรรมที่เปนกุศลใหสําเร็จ ได เพราะเหตุท่ีไดกอสัมมาปฏิบัติไว’ ดังน้ีจริง. ขอถวาย พระพร ขอที่วานี้ เปนอยางที่ตรัสมาน้ี บุคคลผูปฏิบัติชอบนั่น เทียว ช่ือวาเปนผูประเสริฐสุด. ขอถวายพระพร แมวาเปน บรรพชิต แตถาคิดวาเราบวชแลว แลวไมปฏิบัติชอบ, เม่ือ เปนเชนน้ัน เขาน้ันก็จัดวาอยูหางไกลจากสมัญญา (วา บรรพชิตน้ัน), อยูหางไกลจากความเปนผูประเสริฐ, จะปวย กลาวไปใยถึงผูเปนคฤหัสถครองผาขาวเลา. ขอถวายพระพร ท้ังคฤหัสถผูปฏิบัติชอบ ก็เปนผูทาํ ญายธรรมที่เปนกุศลให สาํ เร็จได, ทั้งบรรพชิตผูปฏิบัติชอบ ก็เปนผูทาํ ญายธรรมที่ เปนกุศลใหสาํ เร็จได. ขอถวายพระพร ก็แตวา ผูเปนบรรพชิตเทานั้น ยอมเปน อิสระ เปน ใหญแหง สามญั ญผล, ขอถวายพระพร การบวชมีคุณ

๒๐ กณั ฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา มากมาย มคี ุณหลายอยา ง มีคณุ หาประมาณมไิ ด, บุคคลไมอ าจ ทําการนบั คณุ ของการบวชได. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุคคลไมอาจใชทรัพย ทําการนบั คาของแกว มณี (ของพระเจา จกั รพรรด)ิ ทีบ่ นั ดาลแตส ่ิง ท่ตี อ งการ วาแกวมณีมคี าเทา น้นั เทาน้ไี ด ฉันใด, ขอถวายพระพร การบวชมคี ณุ มากมาย มคี ุณหลายอยาง มีคณุ หาประมาณมิได, บุคคลไมอาจทาํ การนับคุณของการบวชได ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร บุคคลไมอาจทําการนับลูกคลื่นใน มหาสมุทรได วาในมหาสมุทรมีลูกคลื่นอยูเทานั้นเทาน้ีได ฉันใด, ขอถวายพระพร การบวชมีคุณมากมาย มีคุณหลาย อยาง มีคุณหาประมาณมิได, บุคคลไมอาจทําการนับคุณของ การบวชได ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร กิจท่ีควรทําอยางใดอยางหนึ่ง, กิจ ทั้งหมดน้ัน ยอมสําเร็จไดโดยพลันทีเดียว แกผูเปนบรรพชิต, หาสาํ เร็จไดโดยพลันแกผูเปนคฤหัสถไม. เพราะเหตุไรหรือ, ขอถวายพระพร ผูเปนบรรพชิตเปนผูมักนอย สันโดษ สงัดวิเวก ไมคลุกคลีดวยหมู ปรารภความเพียร ไมมีที่อยู ไมมีบาน มีศีล บริบูรณ มีความประพฤติขูดเกลากิเลส ฉลาดในขอปฏิบัติท่ีเปน องคคุณกําจัดกิเลส, เพราะเหตุน้ัน กิจท่ีพึงทาํ อยางใดอยางหน่ึง มีอยู, กิจท้ังหมดน้ัน ยอมสาํ เร็จไดโดยพลันทีเดียวแกผูเปน บรรพชิต. หาสําเร็จโดยพลันแกผูเปนคฤหัสถไม. ขอถวายพระ พร มหาบพิตร เปรียบเหมือนวา ลูกศรท่ีปราศจากปม ขัดเรียบดี

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๒๑ ตรงดี ไมมีสนิม เวลานายขมังธนูยิงไป ก็ยอมไปไดดวยดี ฉันใด, ขอถวายพระพร กิจท่ีพึงทาํ อยางใดอยางหนึ่ง มีอยู, กิจท้ังหมด นั้น ยอมสาํ เร็จไดโดยพลันทีเดียว แกผูเปนบรรพชิต, หาสาํ เร็จ โดยพลันแกผูเปนคฤหัสถไม ฉันน้ันเหมือนกันแล.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจาขอ ยอมรับคาํ ตามที่ทานกลาวมานี้.” จบคิหิปพพชติ สมั มาปฏิปต ติปญหาท่ี ๓ คาํ อธิบายปญ หาท่ี ๓ ปญหาเกยี่ วกบั การปฏิบตั ิชอบแหงผเู ปนคฤหัสถแ ละผเู ปน บรรพชิต ชอ่ื วา คหิ ิปพ พชิตสมั มาปฏปิ ตติปญ หา. คําวา ญายธรรมที่เปนกุศล ความวา พระอริยมรรค ท้ังหลาย ทานเรียกวา “ญายธรรม” เพราะเปนธรรมที่ควรรูหรือ ควรแทงตลอด พระอริยมรรคนี้ ช่ือวา เปน กศุ ล กลา วคือวิวฏั ฏ- คามิกุศล (กศุ ลท่เี ปน เหตถุ งึ วิวฏั ฏะคอื พระนพิ พาน, หรอื ทเ่ี ปน ไป เพ่ือคลายวฏั ฏะ) เพราะเหตุนั้นจึงชอื่ วา ญายธรรมทเี่ ปน กศุ ล. คําวา เพราะเหตุท่ีไดกอสัมมาปฏิบัติไว ความวา เพราะเหตุที่ไดกอคือไดส่ังสม ไดเจริญสติปฏฐาน ๔ ซ่ึงช่ือวา สมั มาปฏิบตั ิ (ขอ ปฏิบตั ิชอบ) เพราะเปนขอ ปฏบิ ตั ชิ อบ ในสวน เบ้อื งตน ไว. คําวา ในกองศีล ๔ คือในหมวดศีล ๔ อยางที่เรียกวา “จตุปาริสุทธิศีล” (ศีลบริสุทธ์ิ ๔ อยาง) มีปาติโมกขสังวรศีล เปนตน.

๒๒ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา คาํ วา ประพฤติสมาทานสิกขาบท ๑๕๐ คือ ประพฤติ ดวยอํานาจความต้ังใจจะถือเอาไวดวยดี ซึ่งสิกขาบทบัญญัติ ๑๕๐ ขอ อนั มาแลว ในปาตโิ มกขอุเทส. คําวา ประพฤติในธุดงคคุณ ๑๓ คอื ประพฤตปิ ฏิบตั ใิ น คุณคือธุดงค ๑๓ อยาง มีปงสุกูลิกังคะ - องคแหงภิกษุผูทรงผา บงั สุกุลเปน ปกตเิ ปนตน. บัณฑติ พงึ ทราบความเกีย่ วกบั ธดุ งคใน ธตุ ังคปญ หาขางหนา เถิด. คําวา เพราะวามีความสุขสบายน่ันแหละ ก็อาจบรรลุ สุขไดมิใชหรือ ความวา เพราะวามีความสุขสบายดวยกามสุข ในเพศฆราวาสน่ันแหละ ก็อาจบรรลุพระนิพพานอันเปนสันติสุข โดยการท่ีสามารถสําเร็จญายธรรมนั้นได มิใชหรือ. อธิบายวา ประโยชนอะไรดวยการบวชที่มีแตความทุกขยากดวยขอวัตร ปฏิบตั ิทีเ่ หลวเปลาเหลานัน้ เลา . คําวา ยอมเปนอิสระ เปนใหญแหงสามัญญผล คือ ยอมเปนผูมีอํานาจ มีความเปนใหญแหงการปฏิบัติเพ่ืออันบรรลุ สามัญญผล (ผลแหงความเปนสมณะ) ๔ ประการ มี โสดาปตติ- ผล เปนตน . ช่ือวา กิจที่พึงทาํ ไดแกกิจมีการสมาทานศีลเปนตน, หรือกิจท่ีพึงทําในอริยสัจ ๔ มีการกาํ หนดรูทุกขเปนตน ซึ่งเปน กิจท่ีเมื่อทาํ ไดบริบูรณแลว ก็เปนเหตุใหสาํ เร็จญายธรรมท่ีเปน กุศล.

วรรคที่ ๑, พทุ ธวรรค ๒๓ คาํ วา ยอมสําเร็จไดโดยพลัน คือยอมสําเร็จไดโดย งา ยดาย. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๓ ปญ หาที่ ๔, ปฏปิ ทาโทสปญ หา พระเจา มิลนิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน ตง้ั แตพระโพธิสัตว ไดบาํ เพ็ญทุกกรกริยาแลว, การปรารภความเพียร การทาํ ความ เพียรกาวออกไป (จากความเกียจคราน) การรบกับกิเลส การ กาํ จัดพลมาร การกําหนดอาหาร การบาํ เพ็ญทุกกรกิริยาท่ีเปน เชนน้ี ก็มิไดมีในคราวอ่ืนอีก, เมอ่ื ทรงมคี วามบากบั่นเหน็ ปานฉะน้ี ก็มิทรงไดร บั คุณวิเศษอะไร ๆ จงึ ทรงเลกิ ลมพระทยั ตรัสอยา งน้วี า ‘เราไมบรรลุอุตริมนุสสธรรมซ่ึงเปนความรคู วามเหน็ พเิ ศษของพระ อริยเจา ดวยการบําเพ็ญทุกกรกริยาที่เผ็ดรอนน้ีได, ทางไปสูการ ตรัสรทู างอ่ืนพงึ มหี รือหนอ’ ดังน,ี้ ทรงเบือ่ หนา ยคลายจากทางน้นั แลว ก็ทรงบรรลุพระสัพพัญุตญาณโดยทางอื่น, แตกลับทรง อนศุ าสนช ักชวนสาวกทง้ั หลายดว ยปฏิปทานั้นอกี วา :- ‘อารมฺภถ นิกฺขมถ ยุฺชถ พุทฺธสาสเน ธุนาถ มจฺจุโน เสนํ, นฬาคารํว กุฺชโร๑ พวกเธอจงปรารภความเพียร จงเพียรกาวออก ไป ประกอบในพระพุทธศาสนา จงกาํ จัดกอง                                                ๑. สํ. สคาถ. ๑๕/๒๑๖.

๒๔ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา ทัพแหงพญามัจจุเสีย ดุจชางทําลายเรือนไมออ ฉะนั้น เถิด.’ ดังน้ี. พระคุณเจานาคเสน เพราะเหตุไร พระตถาคตพระองคเอง ทรงเบ่ือหนาย ไมทรงยินดี ปฏิปทาใด, แตกลับทรงอนุศาสน ชักชวนสาวกทง้ั หลายดว ยปฏปิ ทานนั้ เลา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ปฏิปทา ท้ังในคราวน้ัน ทั้งในคราวน้ีนั้น ก็เปนอันเดียวกันนั่นแหละ พระโพธิสัตวทรงไดบรรลุพระสัพพัญุตญาณเพราะไดปฏิบัติ ปฏิปทานั้นนั่นแหละ ขอถวายพระพร ก็แตวา พระโพธิสัตวทรง กระทําความเพียรเกินไป ทรงหามขาดอาหารโดยสิ้นเชิงจึงเกิด พระทัยออนกําลังไป เพราะมีพระทัยออนกําลังไป จึงไมทรง สามารถบรรลุพระสัพพัญุตญาณได, พระโพธิสัตวนั้นเม่ือ (ทรงหวนกลับมา) เสวยพระกพฬิงการาหารอยางเพียงพอก็ได ทรงบรรลุพระสัพพัญุตญาณตอกาลไมนานเลย ดวยปฏิปทา น้ันนั่นแหละ. ขอถวายพระพร พระตถาคตเจาทุกพระองค ลวน ทรงมีปฏิปทาเพ่ือบรรลุพระสัพพัญุตญาณเปนอยางเดียวกัน นั้นนั่นเทียว. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา สัตวท้ังหลายท้ังปวง ลวนมีอาหารเปน ส่ิงอปุ ถมั ภค้าํ จุน สตั วท ้งั หลายท้ังปวงผอู งิ อาศยั อาหารยอมเสวยสุข ฉันใด, ขอถวายพระพร พระตถาคตเจา ทุกพระองค ลวนทรงมีปฏปิ ทาเพ่อื การบรรลพุ ระสพั พญั ุตญาณ เปนอยางเดียวกันนั้นน่ันเทียว ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร

วรรคที่ ๑, พทุ ธวรรค ๒๕ เหตุท่ีทาํ ใหพระตถาคตไมทรงบรรลุพระสัพพัญุตญาณในสมัย นั้นไดน้ี ไมใชโทษของการปรารภความเพียร ไมใชโทษของการ ทําความเพียรกาวออกไป ไมใชโทษของการรบกับกิเลส, ทวา นี้เปนโทษของการหามขาดอาหาร, ปฏิปทาน้ี เปนอันตองมี ประจําตลอดกาลทุกเมื่อเทียว. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษคนหน่ึงเดินทาง ไกล วิ่งไปดวยความเร็วย่ิง, เพราะเหตุน้ัน เขาจึงบาดเจ็บบาง งอยเปล้ียเพลียไปบาง สัญจรไปบนพ้ืนแผนดินมิไดอีก. ขอ ถวายพระพร โทษของแผนดินใหญที่เปนเหตุใหบุรุษผูน้ันเปน คนบาดเจ็บมีอยูหรือ?” พระเจามิลินท : “ไมมีหรอก พระคุณเจา, แผนดินใหญ มีเปนประจําตลอดกาลทุกเมื่อพระคุณเจา, แผนดินใหญน้ันจะมี โทษไดแตไหนเลา, เหตุท่ีทาํ ใหบุรุษผูนั้นเปนคนบาดเจ็บไปน้ีคือ โทษของความพยายามนั่นเอง.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัย ก็ฉันนั้นเหมือนกัน เหตุท่ีทาํ ใหพระตถาคตไมทรงบรรลุพระ สัพพัญุตญาณในสมัยน้ันไดน้ี ไมใชโทษของการปรารภความ เพียร, ไมใชโทษของการทําความเพียรกาวออกไป, ไมใชโทษ ของการรบกับกิเลส, ทวา นี้เปนโทษของการหามขาดอาหารแล, ปฏิปทานี้ เปนอันตองมีประจําตลอดกาลทุกเมื่อเทียว. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา บุรุษคน หน่ึง นุงผาสาฎกเศราหมอง เขาไมใชนาํ้ ซักผาผืนน้ันใหสะอาด,

๒๖ กณั ฑท่ี ๕, อนุมานปญหา ขอท่ีเขาไมใชน้ําซักผาผืนน้ันใหสะอาดน้ี ไมใชโทษของนํา้ , นํ้า มีประจาํ อยูตลอดกาลทุกเมื่อ, ขอนี้เปนโทษของบุรุษผูนั้นเอง เทียวฉันใด ขอถวายพระพร เหตุท่ีทาํ ใหพระตถาคตไมทรง บรรลุพระสัพพัญุตญาณในสมัยนั้นไดน้ี ไมใชโทษของการ ปรารภความเพียร ไมใชโทษของการทาํ ความเพียรกาวออกไป, ไมใชโทษของการรบกับกิเลส ทวา นี้เปนโทษของการหามขาด อาหารแล, ปฏิปทานี้ เปนอันตองมีเปนประจําตลอดกาล ทุกเมื่อฉันน้ันเหมือนกัน, เพราะฉะน้ัน พระตถาคตจึงทรง อนุศาสนสาวกทั้งหลายดวยปฏิปทาน้ันเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร ปฏิปทานั้นหาโทษมิได เปนอันตองมีประจาํ ตลอดกาล ทุกเมื่อ อยางน้ีแล.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจา ขอยอมรับคาํ ตามท่ีทานกลาวมาน้ี” จบปฏิปทาโทสปญหาที่ ๔ คาํ อธบิ ายปญหาท่ี ๔ ปญ หาเกี่ยวกับโทษแหงปฏิปทา ช่ือวา ปฏิปทาโทสปญ หา. คําวา พวกเธอจงปรารภความเพียร นี้ เปนอันตรัสถึง ความเพียรเริ่มแรก ท่ีเรียกวา “อารัมภธาตุ”, สวนคําวา จงเพยี รกา วออกไป เปน อันตรัสถงึ ความเพียรที่กาวออกไปจาก ความเกียจคราน ครอบงําความเกียจครานไดแลว ที่เรียกวา “นิกกมธาตุ”.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook