Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลังธรรมเล่ม๓

Description: คลังธรรมเล่ม๓

Search

Read the Text Version

และคณะ] หมวด ๗ ๕๕ วินยธรกถา(๓) ว่าด้วยคุณสมบัติของพระวินัยธร ๗ (นัยที่ ฅ) ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ฅ. รู้จักอาบัติเบา ๕. รู้จักอาบัติหนัก ๕. หนักแน่นในพระวินัย ไม่ง่อนแง่น ๖. ได้ฌาน ๔ ๗. บรรลุเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ ที่มา : ตติยวินยธรสูตร วินยวรรค อง..สต.ตก.๒๙๗๗ สตุตหิ ภิกฃท ธมุฌหิ สมนฺนาคโต ภิกชุ วินยธโร โหติ ... อาปตุตึ ชานาติ, อนาปตฺตึ ... ลชุกํ อาปตตึ ... f\\%นํ อาปฅตี ... วินพ โข ปน รโฅ โหติ อสํหืโร ... จชุนุนํ ฌานานํ ... นิกามลาภี ... เจโควิมุตติ ปญณาวิมุตติ ... อุปสมปชุช วิหรติ ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๗ประการ เปันพระวินัยธรได้ ธรรม ๗ ประการคืออะไรบัาง คือ รู้จักอาบัติ ๑ รู้จัก อนาบัติ ๑ รู้จักอาบัติเบา ๑ รู้จักอาบัติหนัก ๑ หนักอยู่ในพระวินัย ไม่ง่อน แง่น ๑ เป็นผู้1ด้ฌาน ๔ ที่ก้าวล่วงกามาพจรจิต เป็นธรรมเครึ่องอยู่ เป็นสุขในปัจจุบันตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก ๑ ทำ ให้แจ้งซึ๋งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะ ทั้งหลายสันไปด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๕๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั วนยธรกถา(๔) ว่าด้วยคุณสมบัติของพระวินัยธร ๗ (นัยที่ ๔) ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ต. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก ๕. ระลึกซาติก่อนได้ ๖. มีทิพยจักษุ ๗. บรรลุเจโตวิมุตติ ป้ญญาวิมุตติ ที่มา : จตุตถวินยธรสูตร วินยวรรค อง..สตฺตก. ๒ต/ฅ)๘ สตตหิ ภิกฃท ธมฺเมหิ สมนุนาคโต ภิกฃ วินยธโร โหติ...อาปตตึ ชานาติ, อนาปตุตึ ... ลหกํ อาปตฺติ ... ครุกํ อาปตุตึ ... อเนกวิหิตํ ปุพฺเพนิวาสํ อนุสสรติ ... ทิพฺเพน จกชุนา ... ยถากมยูปเค สตุเต ปชานาติ ... เจโตวินุตุตึ ปญณาวินุตุติ ... ลุปสมปชช วิหรติ ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๗ประการ เป็นพระวินัยธรได้ ธรรม ๗ ประการคืออะไรบ้าง คือ รู้จักอาบัติ ๑ รู้จัก อนาบัติ ๑ รู้จักอาบัติเบา ๑ รู้จักอาบัติหนัก ๑ ระลึกถึงชาติก่อนได้เป็น อันมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ๋งบ้าง สองชาติบ้าง ... เห็นหมู่ส์'ตว์ที่กำลังจุติ กำ ลังอุบัติ เลว ประณีต ... ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ้ล่วงจักษุวิลัยของมนุษย์ ย่อมรู้ซัดซึ่งหมู่ลัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ๑ ทำ ให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญา วิมุตติอันหาอาสวะมีได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสินไปด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๕๗ อธิกรณสมถกลา ว่าด้วยวิธีระงับอธิกรณ์ ๗ ๑. สัมชุขาวินัย วิธีระงับในที่พร้อมหน้า ๒. สติวินัย วิธีระงับโดยถือสติฟ้นหลัก ฅ. อยูฬหวินัย วิธีระงับสำหรับผู้หายจากน้าแล้ว ๔. ปฏิญญาตกรณะ วิธีระงับโดยทำตามที่รับ ๕. เยฦยยสิกา วิธีระงับโดยตัดสินตามคำของเสียงข้างมาก ๖. ตัสสปาปียสิกา วิธีระงับโดยตัดสินลงโทษแก่ผู้ผิด (ที่ไม่รับ) ๗. ติณวัคถารกะ วิธีระงับดุจกลบไว้ด้วยหญ้า (ประนีประนอม) ที่มา : จตุดถวินยธรสูตร วินยวรรค อง..สตตก. เฅ(ท/๗๘ สตุติเม ภิชุขเว อธิกรณสมถา ธมมา ดุปปนุนุปุปนนานํ อธิกรณานํ สมถาย วูปสมาย ... สมยุขาวินโย ทาฅพฺโพ, สติวินโย ... อยูฬหวินโย ... ปฏิญณาฅกรอร ... เยชุยยสิกา ... ฅชุสปาปียสิกา ... ติณวิตถารโก ... ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมสำหรับระงับอธิกรณ์ ๗ ประการนี้ เพื่อสงบระงับอธิกรณ์ที่เกิดแล้ว ธรรม ๗ ประการคืออะไรน้าง คือ สงฆ์พึงให้ลัมยุขาวินัย ๑ พึงให้สติวินัย ๑ พึงให้อมูฬหวินัย ๑ พึงให้ ปฏิญญาตกรณะ ๑ พึงให้เยภุยยสิกา ๑ พึงให้ตัสสปาป็ยสิกา ๑ พึงให้ ติณวัดถารกะ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๕๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั ยสวัฑฒนธัมมกถา ว่าด้วยธรรมเป็นเครื่องเจริญยศ ๗ 0. มีความหมั่นขยัน ๒. มีฟิติ ฅ. มีการงานบริสุทธิ้ ๔. ใคร่ครวญก่อนแล้วจึงทำ ๕. มีความระมัดระวัง ๖. เป็นอยูโดยธรรม ๗. ไม่ประมาท ที่มา : คุมภโฆสกวัตชุ อัปปมาทวรรค ข.ธ. เอ๕/๒๔ อุฎ«านวโต สตีมโต อ[ุ จิกมมสส นิสมุมการิโน สฌณตฤ[ส จ ธมุมชีวิโน อปุปมตุตสุส ยโสภิวฑฺฒติ ฯ แปล : ยศย่อมเจริญโดยยิ่งแก่บุคคลผู้มีความขยันหมั่น เพียร ๑ มีสติ ๑ มีการงานบริสุทธิ้ ๑ ใคร่ครวญก่อน แล้วจึงทำ ๑ สำ รวมระวัง ๑ เลี้ยงซีพโดยธรรม ๑ ไม่ ประมาท ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๕๙ {[ณฑิตูปนิสสยกฝืา ว่าด้วยอุปนิสัยของบัณฑิต ๗ ๑. ไม่ทำความชั่วเพราะเหตุแห่งตน ๒. ไม่ทำความชั่วเพราะเหตุแห่งคนอื่น ฅ. ไม่ปรารถนาบุตร ๔. ไม่ปรารถนาทรัพย์ ๕. ไม่ปรารถนาแว่นแคว้น ๖. ไม่ปรารถนาความสำเร็จแก่ตนโดยไม่ชอบธรรม ๗. มีสิล มีป้ญญา ตั้งอยูในธรรม ที่มา : ธัมมิกเถรวัตถ ปัณฑิตวรรค ชุ.ธ. ๒๕/๘๔ น อตตเหตุ น ปรสุส เหตุ น ตมิจเฉ น ธนํ น รฎฺรํ น อิจุเฉยย อธมเมน สมิทธิมตุตโน ส สีสวา ปญณวา ธมมิโก สิขา ฯ แปล : ธรรมตาบัณฑิตย่อมไม่ทำความชั่วเพราะเหตุแห่ง ตน ๑ ไม่ทำความชั่วเพราะเหตุแห่งคนอื่น ๑ บัณฑิตไม่ ปรารถนาบุตร ๑ ไม่ปรารถนาทรัพย์ ๑ ไม่ปรารถนา แว่นแคว้น ๑ ไม่ปรารถนาความสำเร็จแก่ตนโดยไม่ ชอบธรรม ๑ บัณฑิตนั้นเป็นผู้มีสืล มีปัญญา ตั้งอย่ใน ธรรม ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๖๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั ฟ้ณฑิตปฏิปทากลา ว่าด้วยข้อปฏิบัติของบัณฑิต ๗ ๑. ละอกุศลธรรม ๒. เจริญกุศลธรรม ฅ. ออกจากอาลัย อาลัยธรรมอันไม่มีอาลัย ๔. ปรารถนาความยินดียิ่งในวิเวก ๕. ละกามทั้งหลาย ๖. ไม่มีกิเลสให้กังวล ๗. ชำ ระตนให้ผ่องแผ้วจากนิวรถ! ๕ ที่มา : อาคันดุกภิกขุวัตลุ ป้ณฑิตวรรค ขุ.อ. ๒๕/๘๗-๘๘ กณหํ ธมมํ วิปปหาย สุกคํ ภาเวถ ปผุฑิโต โอกา อโนกมาคมม วิเวเก ยฅถ ดูรมํ คดราภิรดิมิจเฉยฺย หิตวา กาเม อคิผฺจโน ปริโยทเปยย อฅุตานํ จิฅฺตเคลเสหิ ปณุฑิโต ฯ แปล ะ บัณฑิตพึงละอกุศลธรรม ออกจากอาลัย อาลัยธรรม อันไม่มีอาลัยแล้วเจริญกุศลธรรม บัณฑิตพึงปรารถนา ความยินดียิ่งในวิเวกซึ๋งเรนที่ที่ยินดีได้ยาก ละกาม ทั้งหลายเสิยแล้ว เป็น^ม่มีกิเลสเป็นเหตุให้กังวล พึง ชำ ระตนให้ผ่องแผ้วจากเครื่องเศร้าหมองจิต (นิวรถโ๕)ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๗ ๖๑ ภเชถกถา ว่าพ้fjลักษณะของผู้น่าคบหา ๗ ๑. เป็นนักปราชญ์ ๒. มีปัญญา ฅ. เป็นพหูสูต ๔. เอาธุระเสมอ ๕. มีวัตรปฏิบัติเป็นอารยชน ๖. เป็นลํโตบุรุษ ๗. มีปัญญาดี ที่มา : ส์'กกวัตชุ สุขวรรค ชุ.ธ. ๒๕/๒อ๘ ธีรผจ ปญณญจ พหูสุธุ[ดญจ โธรยหสืลํ วดวนุตมริยํ ตํ ตาทิสํ สปุริสํ หู&มธํ ภเชถ นคุฃตตปอํว จนุทิมา ฯ แปล : เพราะเหตุนั้นแล บุคคลพึงคบคนเซ่นนั้น คือ ท่าน ผู้เป็นนักปราชญ์ ๑ มีปัญญา ๑ เป็นพหูสูต ๑ เอาธุระ เสมอ ๑ มีวัตรปฏิบัติ ๑ เป็นอารยชน ๑ เป็นนัตบุรุษ ๑ มีปัญญาดี ๑ เหมีอนดวงจันทร์คบคลองนักษัตรฉะนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

bls) คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั วสลกถา ว่าด้วยลักษณะคนเลว ๗ ๑. มักโกรธ ๒. เห็นแก่ตัว ต. ปรารถนาชั่ว ๔. ตระหนี่ ๔. โอ้อวด ๖. ไม่ละอายใจ ๗. ไม่กลัวบาป ที่มา ; วสลสูตร อุรควรรค ข.ส.๒๕/๑ตต โรสโก กทริโย จ ปาปีจโฉ มจุฉรี สโ® อหิริโก อโนตตปุปี ตํ ชญฌไ วสโล รติ ฯ แปล : คนมักโกรธ ๑ คนตระหนี่ ๑ คนปรารถนาชั่ว ๑ คนโอ้อวด ๑ คนไม่ละอายใจ ๑ คนไม่กลัวบาป ๑ พึง ร้ว่าเป็นคนเลว ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๖๓ โสรตกลา ว่าด้วยลักษณะของผู้สงบเสงี่ยม ๗ ๑. วางเฉยในอารมณ์ทั้งหมด ๒. มีสดิ ฅ. ไม่เบียดเบียนส์'ตว์ใด 1 ๔. ข้ามฟ้นโอฆะได้ ๕. เป็นผู้สงบ ๖. มีจิตไม่ขุ่นมัว ๗. ไม่มีกิเลสที่ทาให้จิตใ5jขึ้น ที่มา : สภิยสูตร มหาวรรค ชุ.สุ. ๒๕/๕๒๑ สพุพตุถ อุเปกุฃโก สติมา น ใส หึสติ กณจิ สพพโลเล ติณโณ สมโณ อนาวิโล รุสุสทา ยสส น สนติ โสรโต โส ฯ แปล : บุคคลผู้วางเฉยในรูปารมณ์เป็นด้นทั้งหมด ๑ มีสติ ๑ ไม่เบียดเบียนส์'ตว์ใด ๆ ในโลกทั้งปวง ๑ ข้าม พ้นโอฆะได้ ๑ เป็นผู้สงบ ๑ มีจิตไม่ขุ่นมัว ๑ ไม่มี กิเลสที่ทาให้จิดาjjขึ้น ๑ บัณฑิตเรียกว่าผู้สงบเสงี่ยม ฯ www.kalyanamitra.org

๖๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั สุภริยากถา ว่าด้วยลักษณะของภรรยาที่ดี ๗ ๑. มีวัยเสมอกัน ๒. อยู่ร่วมกันด้วยความปรองดอง ฅ. ประพฤติตามใจกัน ๔. เป็นคนชอบธรรมะ ๕. สามารถให้กำเนิดบุตรได้ ๖. มีสืลโดยสมควรแก่ตระกูล V I >^- ^^ ๗. ร้จักปรนนิบัติสามี ที่มา : มหามงคลชาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๕0๘ ยสส ภริยา ชุฤยวยา สมคคา อบุพพตา ธมมกามา ปชาตา โกลินิยา สีลวตี ปติพุพตา ทาเรธุ ท โสตถานํ ตทาทุ ฯ แปล : ผู้ใดมีภรรยาซึ่งมีวัยเสมอกัน ๑ อยู่ร่วมกันด้วย ความปรองดอง ๑ ประพฤติดามใจกัน ๑ เป็นคนชอบ ธรรมะ ๑ ให้กำเนิดบุตรได้ ๑ มีสืลโดยสมควรแก่ ตระกูล ๑ รู้จักปรนนิบัติสามี ๑ บัณฑิตทั้งหลายกล่าว คุณความดีในภรรยาของผู้นั้นว่าเป็นสวัสติมงคลใน ภรรยาทั้งหลาย ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๗ b๕ สัตตปริภัณฑกถา ว่าด้วยภูเขาสัตตบริภัณฑ์ ๗ ๑. ภูเขาสุทัสสนะ ๒. ภูเขากรจิก ฅ. ภูเขาอิสินธร ๕. ภูเขายุคันธร ๕. ภูเขาเนมินธร ๖. ภูเขาจินตกะ ๗. ภูเขาอัสสกรรณ ทมา : เนมิราขชาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๑๕๗๙-๑๕๘0 สุฑสุสโน กรวีโก อิสินุธโร ยุคนธโร ฌมินฺธโร วินฺตโก อสสกลเโณ คิริพรหา ฯ เอเต สิทนฺฅเร นคา อ<ยุ1^พฺพส9^คคฅา มหาราชานมาวสา ยานิ ตุวํ ราช ปรุ[สสิ ฯ แปล : ภูเขาใหญ่ทั้ง ๗ซี่อ สุทัสสนะ กรจิก อิสินธร ยุคันธร เนมินทร จินตกะ และอัสสกรรณ ฯ ข้าแต่พระราชา ภูเขาในระหว่างมหาสมุทรสิทันดร ที่ทรงเห็นอยู่เหล่านี้สูงกว่าคันขึ้นไปเป็นลำคับ ๆ เป็น ทิพยสถานของท้าวจาตุมหาราช พระเจ้าข้า ฯ www.kalyanamitra.org

bb คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั สัตตสตกกถา ว่าด้วยมหาทานส์ตตสดก (ทานอย่างละเจ็ดร้อย) ๗ ๑. ช้าง ๗00 ๒. ฟ้า ๗00 ฅ. รถ ๗00 ๔. หญิง ๗00 ๕. โคนม ๗00 ๖. ทาสชาย ๗00 ๗. ทาสหญิง ๗00 ทีมา ทานกัณฑ์ เวสลันดรชาดก มหานบาด ชุ.ขา. ๒๘/๒๘๑๕-๒๘๒๕ สตุต หตถิสเต ทตฺวา สพุพาลงุการฎสิเต อ[ุ วณณกชุเฉ มาตงุเค เหมกปุปนิวาสเส ... สตต อสสสเต ทตุวา สตต ทาสสตานิ จ สตุต รถสเต ทตุวา สม.หา รฎ«า นิรชุชติ ฯ สตฺต อิตุถีสเต ทตุวา สตุต เธบุสเต ทตุวา สตต ทาสีสเต ทดวา เอส เวสสนฺตโร ราชา แปล ; พระเวสส์นดรพระราชทานช้าง ๗00 ซึ่งประดับด้วย เครื่องอลังการทุกอย่าง อันมีสายรัด มีทั้งกูบและลัปดับ ทอง ... พระราชทานฟ้า ๗00 ... พระราชทานรถ ๗00 ... พระราชทานสตรี ๗00... พระราชทานแม่โคนม ๗00 ... พระราชทานทาสื ๗00 และทาส ๗00 แล้ว เสด็จออก จากแว่นแควนของพระองค์ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๗ ๖๗ ส้ลลกถา ว่าด้วยกิเลสที่เป็นดุจลูกศรเสียดแทงใจ ๗ ๑. ราคะ ความกำหนัดยินดี ๒. โทสะ ความคิดประทุษร้ายผู้อี่น ฅ. โมหะ ความหลง ๔. มานะ ความถือตัว ๕. ทิฎเ ความเห็นผิด ๖. โสกะ ความโศก ๗. กถังกลา ความสงสัย ที่มา : คุหัฏจกสุตตนิทเทส อัฏฐกวรรค ชุ.ม.๒๙/๑๕ สฤสนุติ สดด สฤลานิ : ราคสลลํ โทสสฤลํ โมหสสุสํ มานสฤลํ ทิฎฺฮิสฤลํ โสกสสุลํ กถํกลาสลลํ ฯ แปล : คำ ว่า ลูกศร ได้แก่ ลูกศร ๗ อย่าง คือ ลูกศรคือความ กำ หนัดยินดี ๑ ลูกศรคือความคิดประทุษร้ายผู้อื่น ๑ ลูกศรคือความหลง ๑ ลูกศรคือความถือตัว ๑ ลูกศรคือความเห็นผิด ๑ ลูกศรคือความโศก ๑ ลกศรคือความสงสัย ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

b๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงศ์ มัจเฉรยุดตกถา ว่าด้วยกิเลสที่ประกอบกับความตระหนี่ ๗ ๑. กลหะ ความทะเลาะ ๒. วิวาทะ ความวิวาท ต. ปริเทวะ ความรำพัน ๔. โสกะ ความเศร้าโศก ๕. มานะ ความถือตัว ๖. อดิมานะ ความดูหมิ่น ๗. เปสุ[ญญะ การพูดส่อเสียด ที่มา : กลหวิวาทสุตตนิทเทส อัฏฐกนิบาด ข.ม.๒๙/๙๘/๒๗๘ มจเฉรคูตฺตา กอหา วิวาทาติ ะ กลให จ วิวาโท จ ปริเทโว จ โสโก จ มาโน จ อดิมาโน จ เปชุญผผจ อิเม สดฅ คิเลสา ฯ แปล : คำ ว่า ความทะเลาะ ความวิวาท ที่ประกอบกับความ ตระหนี่ ได้แก่ กิเลส ๗ ประการนี้คือ ความทะเลาะ ๑ ความวิวาท ๑ ความรำพน ๑ ความเศร้าโศก ๑ ความถีอตัว ๑ ความดูหมิ่น ๑ การใฐด ส่อเสียด ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๖g มานกถา ว่าด้วยประเภทของมานะ ๗ ๑. มานะ ความถือตัว ๒. อติมานะ ความดูหมิ่น ต. มานาติมานะ ความดูหมิ่นด้วยอำนาจความถือตัว ๔. โอมานะ ความถือตัวว่าด้อยกว่าเขา ๕. อธิมานะ ความถือตัวว่าเด่นกว่าเขา ๖. อัสมิมานะ ความถือตัวว่าเรามีเราเป็น ๗. มิจฉามานะ ความถือตัวผิด ๆ ทีมา : อัดตทัณฑสุตตนิทเทส อัฏฐกวรรค ชุ.ม. ๒๙/๑๗๘/๔๖๔ สตุตวิเธน มาโน ะ มาโน อติมาโน มานาติมาโน โอมาโน อธิมาโน อสมิมาโน มิจฉามาโน ฯ แปล : ความถือตัว ๗ อย่าง คือ ความถือตัว ๑ ความดูหมิ่น ๑ ความดูหมิ่นด้วยอำนาจความถือตัว ๑ ความถือตัวว่าด้อยกว่าเขา ๑ ความถือตัวว่าเด่นกว่าเขา ๑ ความถือตัวว่าเรามีเราเป็น ๑ ความถือตัว ผิด ร ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๗๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั พุทธสารีริกธาตุกถา ว่าด้วยพระบรมสารีริกธาตุองค์ใหญ่ ๗ ๑. พระอุณหิศ ประดิษฐานอยู่ ณ เกาะสิหล ประดิษฐานอยู่ ณ เกาะสิหล ๒. พระรากขวัญฌืองขวา ^ «9 u ฅ. พระรากขวัญเบื้องซ้าย ประดิษฐานอยู่ ณ พรหมโลก ๔. พระทาฐธาตุซ้างหนึ่ง ป'ร\"ะด\"ิษฐานอยู'่ \"ณ ภพดาวดิงสั ๕. พระทาฐธาตุซ้างหนึ่ง ๖. พระทาฐธาตุข้างหนึ่ง ประดิษฐานอยู่ ณ เมืองคันธารวิสัย ๗. พระทาฐธาตุข้างหนึ่ง ประดิษฐานอยู่ ณ เมืองกาลิงคราซ ประดิษฐานอยู่ ณ นาคพิภพ ที่มา ธาตุภาซนียกถา ข.พุทธ. ฅฅ/๑o-๑๑^o๖ อุณหีส์ สีหเฬ ฑีเป พฺรหมโลเก จ วามกํ สีหเฬ ทกฃิณกขถเจ สพฺพาเปตา ปติฏฮิฅา ฯ เอกา ทาฮา ติทสเร เอกา นาคเร อทุ เอกา คนุธารวิสเย เอกา กาลิงุคราชิโน ฯ แปล พระบรมสารีริกธาตุเหล่านี้แม้ทั้งหมดประดิษฐานอยู่ ในที่ต่าง ๆ กัน คือ พระอุณหิศอยู่ที่เกาะสิหล ๑ พระ รากขวัญเบื้องซ้ายอยู่ที่พรหมโลก ๑ พระรากขวัญเบื้อง ขวาอย่ที่เกาะสิหล ๑ พระทาฐธาตุ {พระเขี้ยวแก้ว) องค์หนึ่งอยู่ที่ภพ ดาวดึงส์ ๑ องค์หนึ่งอยู่ที่นาคบุรี ๑ องค์หนึ่งอยู่ที่เมือง คันธารวิสัย ๑ องค์หนึ่งอยู่ที่เมืองกาลิงคราซ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๗Q วิญญาณฃันธกถา ว่าด้วยวิญญาณขันธ์ ๗ ๑. จักชุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา คือตาเห็นรูป ๒. โสตวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู คือหูได้ยินเสียง ฅ. ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก คือจมูกได้กลิ่น ๔. ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น คือลิ้นรู้รส ๕. กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย คือกายรู้สีกส์มผัส ๖. มโนธาลุ สภาวะที่เป็นตัวรู้ ๗. มโนวิญญาณธาดุ สภาวะที่รู้อารมณ์ทางใจ คือรู้ความนึกคิด ที่มา : วิญญาณขันธ์ ขันธวิภังค์ อภิ.วิ. ฅ๕/๑๒๑/๖๑ สตุตวิเธน วิณณาณกฃนฺโธ ะ จคุชุวิญฌาณํ โสตวิณณาณํ ฆาน- วิญณาณํ ชิวหาวิณุณาณํ กายวิฌณาณํ มโนธาตุ มโนวิญณาณธาตุ ฯ แปล : วิญญาณขันธ์หมวดละ ๗ คือ จักขุวิญญาณ ๑ โสตวิญญาณ ๑ ฆานวิญญาณ ๑ ชิวหาวิญญาณ ๑ กายวิญญาณ ๑ มโนธาตุ ๑ มโนวิญญาณธาตุ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๗๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั อกาลมรณกถา ว่าด้วยความตายในกาลที่ยังไม่สมควร ๗ ๑. ตายเพราะอดข้าว ๒. ตายเพราะอดนํ้า ฅ. ตายเพราะงูขบกัด ๔. ตายเพราะกินยาพิษ ๕. ตายเพราะไฟไหม้ ๖. ตายเพราะตกนํ้า ๗. ตายเพราะถูกส์'สตราๅธ ทีมา : อกาลมรณปัญหา เมณฑกกัณฑ์ มิลินทปัญหา มิลินฺท.๖/ต®๒-ฅ๑ฅ สตฺติเม มหาราช วิชุชมาเนปี อตตรึ อาคูสุมึ อกาเล มรนฺติ ฯ กตเม สตต ฯ ... ชิฆจฉาย ปีปาสาย อหิฑฏฮา วิเสน จ อคุคิอุทกสตุติหิ อกาเล ตต.ถ มียติ ฯ แปล : ดูก่อนมหาบพิตร บุคคล ๗ ประเภทเหล่านี้ย่อมตายใน กาลที่ไม่สมควร แม้จะมีอายุเหลืออยู่ บุคคล ๗ ประเภทไหนบ้าง ... คนที่ตายในกาลทีไม่ควร คือ คนที่ตายเพราะความ หิว ๑ คนที่ตายเพราะความกระหาย ๑ คนที่ถูกงูกัด ตาย ๑ คนที่ถูกวางยาพิษตาย ๑ คนที่ถูกไฟครอกตาย ๑ คนที่ถูกนํ้าท่วมตาย ๑ คนที่ถูกสัตราวุธตาย ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๗๓ ลุ[ริยังคกถา ว่าด้วยลักษณะของดวงอาทิตย์ ๗ ๑. แผดเผานํ้าให้เหือดแห้งไป ๒. กำ จัดความมืดมนอนธการ ฅ. โคจรอยู่ทุกขณะ ๔. มืรัศมืเปีนวงกลม ๕. โคจรแผดเผาฝูงขนให้ร้อน ๖. กลัวภัยคือราทุ ๗. ส่องให้เห็นส์งต่าง ๆ ทั้งดีและชั่วได้ซัดเจน ที่มา : สู^งคปัญหา ปถวีวรรค โอปัมมกถาปัญหากัณฑ์ มิลินฺท.๔©๑-๔0๒ สูริโย สพฺพํ ทุทกํ ปริโสเสติ ... ตมนธการํ วิธมติ ... อภิกฃณํ จรติ ... รํสิมาลี ... มหาชนกายํ สนุตาเปนฺโฅ จรติ ... ราทุภยา ภิโต จรติ ... กลยาณปาปเก ทสฺเสติ ... ฯ แปล {พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่ท่านพระนาคเสน องค์ ๗ ประการที่มือยู่ประจำในดวงอาทิตย์ซี่งพระคุณท่านพูดถึงนั้น องค์ ๗ ประการนั้นคืออะไรบ้าง) (พระนาคเสนะทุลตอบว่า) ขอถวายพระพรมหาบพิตร ธรรมดาดวง อาทิตย์ย่อมแผดเผานํ้าให้เหือดแห้งไป ... กำ จัดความมืดมนอนธการ ... โคจรอยู่ทุกขณะ ... มืรัศมืเปีนวงกลม ... โคจรแผดเผาฝูงชนให้ร้อน ... กลัวภัยคือราทุ ... ส่องให้เห็นส์งต่างๆ ทั้งดีทั้งชั่วได้ซัดเจน ... ฯ www.kalyanamitra.org

๗๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สุริยัง^ปมากลา ว่าด้วยเปรียบลักษณะของพระโยคาวจรกับดวงอาทิตย์ ๗ ๑. เพียรเผากิเลสให้หมดสินเซิง ๒. กำ จัดความมืดมีราคะเป็นต้นทั้งหมด ฅ. ทำ การพิจารณาโดยแยบคายเนือง ๆ ๔. มีอารมณ์กรรมฐานโดยรอบเป็นรัศมี ๕. ยังมนุษย์และเทวดาให้ตั้งอยู่ในกุศลธรรม ๖. เห็นคนประพฤติทุจริตก็สลดจิต กลัวภัยคือกิเลส ๗. แสดงธรรมซัดเจนทั้งที่เป็นโลกิยะและโลกุตดระ ที่มา : สูริยังคปัญหา โอปัมมกถาปัญหากัณฑ์ มิลินทปัญหา มิลินฺท. ๔06)-๔0๒ โยคินา โยคาวจเรน สพพกิเลสา อนวเสสํ ปริโสเสตพุพา ... สพุฟ้ ราคฅมํ ... อภิฤฃณํ โยนิโสมนสิกาโร กาฅพุโพ ... อารมมณมาลินา ภวิฅพุพํ ... สเฑวโก โลโก สนุตาปยิฅพุโพ ... ณํวคภเยน มานส์ สํเวเซตพุพํ ... โลกิยโสฤตฺตรธมมา ทสุเสตพุพา... ฯ แปล : (ขอถวายพระพรมหาบพิตร ฉันนั้นเหมือนกันแล)อันพระ โยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรต้องเพียรเผากิเลสให้หมดสินเซิง ...๑ กำ จัดความมีด คือราคะ ความมีดคือโทสะ ความมีดคือโมหะ ความมีดคือมานะ ความมีด คือทิฐิ ความมีดคือกิเลส ความมีดคือทุจริตทั้งหมด ... ๑ กระทำการพิจารณา โดยแยบคายเนือง ทุ ... ๑ มีอารมณ์กรรมฐานโดยรอบเป็นรัศมี ... ๑ ยังโลก กับทั้งเทวโลกให้แผดเผากิเลสต้วยอาจาระ คืล คุณธรรม วัตรปฏิบัติ ณาน วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ อินทรีย์ พละ โพซฌงค์ สติปัฏฐาน ลัมมัปปธาน อิทธิบาท ... ๑ เห็นเหล่าลัดว์ผ้รกรงรังด้วยข่ายกิเลสคือทจริต ทคติ ทาง www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๗ ๗๕ กันดารที่ขรุฃระ วิบาก และวินิบาต ถูกครอบงำด้วยทางแพร่งคือทิฐิ แล่นไปทางผิด ดำ เนินไปทางผิด แล้วยังใจให้ส์โงเวชเพราะภัยคือความ สังเวชอันใหญ่หลวง ... ๑ แสดงธรรมคืออินทรีย์ พละโพชฌงค์ สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาททั้งที่เป็นโลกิยะและใสกุดตระ ... ๑ ฯ สีหังคกถา ว่าด้วยองค์สมบัติของราซสิห์ ๗ ๑. ขาวบรีสุทธิ้ผุดผ่อง ๒. เที่ยวไปด้วยเท้าทั้งส์ เยื้องกรายอย่างกล้าหาญ ฅ. มีรูปสง่าและสร้อยคอสลวย ๔. แม้ถึงด้องเสิยชีวิต ก็ไม่ยอมอ่อนน้อมต่อสัตว์ใด ๕. หาอาหารไปโดยลำดับ กินจนอิ่มในที่นั้นเอง ไม่เลือกว่าดีหรีอไม่ดี ๖. ไม่มีอาการสะสมอาหารไว้กิน กินอาหารแต่ละคราวเสร็จแล้วก็ไม่เก็บไว้ กินคราวหลังอีก ๗. ไม่ได้อาหารก็ไม่ตกใจ แม้1ด้ก็ไม่ยินดี ไม่มัวเมาติดพันบริโภค ที่มา : สืหังคปัญหา โอปัมมกถาปัญหากัณฑ์ มิลินทปัญหา มิลินฺท. ๔๑ฅ-๔๑๔ สีโห นาม เสตวิมลปริธุ[ทุธปณฑโร ... จดูจรโณ วิฤกนุตจารี ... อภิรูปรุจิรเกสรี ... ชีวิตปริยาทาเนปี น กสุสจิ โอนมติ ... สปฑานภฤโฃ ... อสนุนิธิภกโฃ ... โภชนํ อลทุธา น ปริตสฺสติ ... ฯ แปล : (พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่ท่านพระนาคเสน องค์๗ ประการที่มีอยู่ประจำในราชสิห์ซึ๋งพระคุณท่านพูดถึงนั้น องค์ ๗ ประการ นั้นคืออะไรบ้าง www.kalyanamitra.org

๗๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั (พระนาคเสนะทูลตอบว่า) ขอถวายพระพรมหาบพิตร ธรรมดาว่า ราชสีห์เป็นสัตว์ที่ขาวผ่อง สะโอดสะอง ... เที่ยวไปด้วยเท้าทั้งสี เยื้องกราย อย่างกล้าหาญ ... มีรูปสง่าและสร้อยคอสลวย ... แม้ถึงด้องเสียชีวิตก็ไม่ ยอมอ่อนน้อมต่อใคร ^ ... หาอาหารไปโดยลำดับ พบอาหารโนที่ใดก็กิน จนอิ่มในที่นั้นเอง ไม่เลือกว่าดีหรือไม่ดี ...ไม่มีอาการสะสมอาหารไว้กิน ... ไม่ได้อาหารก็ไม่ตกใจ แม้1ด้ก็ไม่ยินดี ไม่มัวเมาติดฟันกิน ฯ ราชสีหังลูปมากถา ว่าด้วยเปรียบลักษณะของพระโยคาวจรกับราซสืห์ ๗ ๑. มีจิตอันขาวบรืสุทฒุดผ่อง ไม่มีมลทิน ๒. เที่ยวไปด้วยอิทธิบาท ๔ ฅ. มีรูปสวยและมีสร้อยยาวคือดีลรุ่งเรือง ๔. แม้ด้องเสียชีวิต ก็ไม่ยอมอ่อนน้อมใคร ๆ เพราะเหตุแห่งปัจจัย ๔ ๕. เที่ยวบิณฑบาตไปตามลำดับตรอก ๖. ไม่ทาการสะสมปัจจัยไว้บริโภค ๗. ไม่ได้[ภชนะก็ไม่สะดุ้งตกใจ ที่มา : สิหังคปัญหา โอปัมมกทาปัญหากัณฑ์ มิลินทปัญหา มิลินฺท.๔®ฅ-๔๑๔ โยคินา โยคาวจเรน เสตวิมลปริอุ[ทุธปณุฑรจิฅเดน พุยปคฅ- คูฤภูจุเจน ภวิฅพฺฟ ... จตุริทุธิปาทจรเณน ... อภิรูปรูจิรสีหเกสรินา ... จีวร...เภสชุชปริกฃารปริยาทาเนปี น กสสจิ โอนมิฅพพํ ... สปทานภกเขน ... อสนนิธิการปริโภคินา ... โภชนํ อลทุธา น ปริตอุ[สิฅพฺพํ ... ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๗ ๗(^5 แปล : (ขอถวายพระพรมหาบพิตร ฉันนั้นเหมือนกันแล) อัน พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรต้องมืจิตอันขาวบริสุทธื๊ผุดผ่อง ไฝมืมลทิน ... เที่ยวไปต้วยอิทธิบาท ๔ ... มืรูปสวยและมืสร้อยยาวคือสิลรุ่งเรือง ... แม้ถึง ต้องเสิยชีวิต ก็ไม่ยอมอ่อนน้อมใคร^ เพราะเหตุแห่งปัจจัย ๔ ... เที่ยว บิณฑบาตไปตามลำดับตรอก มิไต้เลือกตระกูลและโภชนะ แสว.งหาไต้ที่ใด ก็บรืโภคไต้ในที่นั้น มิไต้เลือกอาหารว่าดีหรือไม่ดี บริโภคพอประทัง ร่างกายให้มิชีวิตลืบไปตามวิดัยของส์โงขารเท่านั้น ... ไม่ทำการสะสมปัจจัย ไว้บริโภค ... ไม่ได[ภชนะก็ไม่สะดุ้งตกใจ แม!ต้มาก็ไม่ไต้ยินดี มัวเมา ติดพันบริโภค พิจารณาให้เห็นโทษแห่งโภชนะก่อนแล้วจึงบริโภคต้วย ปัญญาแบบที่ปลดเปลื้องตนให้หลุดพันจากรสโภชนะนั้น ๆ ไต้ ฯ โมหจริตอักฃณกลา ว่าด้วยลักษณะประจำของคนโมหจริต ๗ ๑. มิจิตหดหู่ ๒. มิจิตเดลืบเคลื้ม ต. มิจิตพิงซ่าน ๔. มิจิตรำคาญ ๕. มิความลังเลใจ ๖. มิความมั่นใจในลืงที่ยึดถึอ ๗. สละลืงที่ยึดถือไต้ยาก www.kalyanamitra.org

๗๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั ที่มา ะ กัมมัฏฐานคคหณนิทเทส ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค วิสุทฺธิ.๑/๔๙๑๑๕ โมหจริตสุส ฉืนํ มิฑธํ รุท.ธชุจํ คูฤรุจุจํ วิจิกิจ.ฉา อาธานค.คาหิตา ชุปฺปฎินิสสคุคิตาติ เอวมาทโย ธม.มา พหุลํ ปวต.ตน.ติ ฯ แปล : ธรรมมีอาทิอย่างนี้ คือ ความที่จิตหดหู่ ๑ ความมีจิต เคลิบเคลิ้ม ๑ ความมีจิตฟ้งซ่าน ๑ ความมีจิตรำคาญ ๑ ความลังเลใจ ๑ ความมั่นใจในลิงที่ยึดถือ ๑ ความสละลิงที่ยึดถือได้ยาก ๑ ย่อมเป็นไปโดย มากแก่คนโมหจริต ฯ สัทธาจริตลักฃณกถา ว่าด้วยลักษณะประจำของคนสัทธาจริต ๗ ๑. ซอบเลิยสละ ๒. ปรารถนาจะเห็นพระอริยเจ้า ฅ. ปรารถนาจะฟ้งพระลัทธรรม ๔. มากด้วยความปราโมทย์ ๕. ไม่โอ้อวด ๖. ไม่มีมายา ๗. เลื่อมใสในฐานะที่ควรเลื่อมใส ที่มา : กัมมัฎฐานัคคหณนิทเทส ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค วิสุทธิ. ๑/๔๙๑๑๕ สทธาจริตสฺส มุต.ตจาคตา, อริยาน ทสฺสนกามตา, สท.ธมุมํ โสดูกามตา, ปาโมชุชพทุลตา, อสจตา, อมายาวิตา, ปสาทนีเยรุ จาเนรุ ปสาโทติ เอวมาทโย ธม.มา พทุลํ ปวต.ตน.ติ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๗ ๗๙ แปล : ธรรมมีอาทิอย่างนี้ คือ ความเป็นผู้มีการบริจาคอยู่เสมอ ๑ ความปรารถนาจะเห็นพระอริยเจ้า ๑ ความปรารถนาจะฟ้งพระส์โทธรรม ๑ ความมากด้วยความปราโมทย์ ๑ ความไม่โอ้อวด ๑ ความไม่มีมายา ๑ ความ เลื่อมใสในฐานะที่ควรเลื่อมใส ๑ ย่อมเป็นไปโดยมากแก่คนส์โทธาจริต ฯ วิตักกจริตลักฃณกถา ว่าด้วยลักษณะประจำของคนวิตกจริต ๗ ๑. แก่คุย ๒. ชอบคลุกคลี ฅ. ไม่ชอบการกุศล ๔. ทำ การงานไม่มั่นคง ๕. กลางคืนเป็นควัน ๖. กลางวันเป็นเปลว ๗. คิดพลุ่งพล่าน ทีมา : กัมมัฏฐานคคหณนิเทฺส ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค วิสุทธิ. ๑/๕๕/®«๕ วิตกกจริตสฺส ภสสพทุลตา, คณารามตา, คูสลานุโยเค อรติ, อนวฎฺจิตกิจจตา, รตตึ รูมายนา, ทิวา ปชุชลนา, ชุราทุรํ ธาวนาติ เอวมาทโย ธมมา พชุลํ ปวฅฺตนุติ ฯ แปล : ธรรมมีอาทิอย่างนี้ คือ ความเป็นผู้มากด้วยการพูดคุย ๑ ความเป็นผู้ยินดีด้วยหมู่คณะ ๑ ความไม่ยินดีในการประกอบเนือง ๆ ซึ่ง กุศลธรรม ๑ ความเป็นผู้มีกิจที่ทำอันไม่ตั้งมั่น ๑ ความปังหวนควันใน เวลากลางคืน ๑ ความลุกโพลงในเวลากลางวัน ๑ ความคิดแล่นไปแล่น มา ๑ ย่อมเป็นไปโดยมากแก่คนวิตกจริต ฯ www.kalyanamitra.org

๘0 คร้งรรรม ['ทรรรรรมกิดติวงสั พทธิจริตลักขณกฝิา ว่าด้วยลักษณะประจำของคนพุทธิจริต ๗ ๑. ว่าง่าย ๒. ซอบคบกัลยาณมิตร ฅ. รู้จักประมาณในการบริโภค ๔. มิสติสัมปชัญญะ ๕. ตื่นตัวอยู่เสมอ ๖. สลดใจในฐานะที่ควรสลดใจ ๗. เมื่อสลดใจแล้วเริ่มความเพียรโดยแยบคาย ที่มา : กัมมัฏฐานคคหณนิทเทส ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค วิสุทฺธิ.๙๔๕/๑๑๕ ทุทุธิจริตสส โสวจสุสตา, กลุยาณมิตุตตา, โภชเน มตฺตณญตา, สติสมุปชฌณํ, ชาคริยานุโยโค, สํทชนีเยนุ จาฌนุ สํเวโค, สํวิคคสส จ โยนิโส ปธานนุติ เอวมาทโย ธมมา พชุลํ ปวตุตนุติ ฯ แปล : ธรรมมิอาทิอย่างนี้ คือ ความเป็นคนว่าง่าย ๑ ความ เป็นผ้มีกัลยาณมิตร ๑ ความเป็นผ้ร้จักประมาณในโภชนะ ๑ การมิ 9J ฃ่ ฃิ สติสัมปชัญญะ ๑ การประกอบความเพียรเป็นเคริ่องตื่นอยู่ ๑ ความ สลดใจในฐานะที่ควรสลดใจ ๑ การเริ่มตั้งความเพียรโดยแยบคายเมื่อ สลดใจแล้ว ๑ ย่อมเป็นไปโดยมากแก่คนพุทธิจริต ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๘๑ สัปปายาสัปปายกลา ว่าด้วยส์'ปปายะและอลํโปปายะ ๗ ๑. อาวาสสัปปายะ มีอาวาสเป็นที่สบาย ๒. โคจรสัปปายะ มีโคจรคามเป็นที่สบาย ฅ. ภัสสสัปปายะ มีการพูดคุยเป็นที่สบาย ๔. ปุคคลสัปปายะ มีบุคคลเป็นที่สบาย ๕. โภชนสัปปายะ มีโภชนะเป็นที่สบาย ๖. รุลุสัปปายะ มีอุตุเป็นที่สบาย ๗. อิริยาปถสัปปายะ มีอิริยาบถเป็นที่สบาย ที่มา : ปถวีกสิณนิทเทส ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค วิสุทฺธิ.๑/๕๙/๑ฅ๘ อาวาโส โคจโร ภสสํ ใ]คคโล โภชนํ อุตุ อิริยาปโถติ สตุเตเต อสปปาเย วิวชชเย ฯ สใ]ปาเย สตุต เสเวถ เอวญหิ ปฎิปชุชโต นจิเรเนว กาเลน โหติ กสฺสจิ อปฺปนา ฯ แปล : ท่านผู้บำเพ็ญเพียรพึงหลีกเว้นอส์'ปปายะ (ส์งที่ ไม่สบาย) ๗ อย่างเหล่านี้ คือ อาวาสอส์ปปายะ ๑ โคจรอสัปปายะ ๑ ภัสสอส์ปปายะ ๑ ปุคคลอสัปปายะ ๑ โภชนอส์ปปายะ ๑ อุตุอส์ปปายะ ๑ อิริยาปถอส์ปปายะ ๑ พึงเสพส์ปปายะ (ส์งที่สบาย) ๗ (ที่มีนัยตรงกันข้าม) เมื่อปฏิบัติอย่างนี้ ไม่นานนักก็จะได้บรรลุอัปปนาสมาธิ ฯ www.kalyanamitra.org

๘๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงศ์ อธิบาย : อาวาสสัปปายะ คือที่อยู่สิงเหมาะสม เซ่นไฝพลุกพล่าน จอแจ ส่วนที่ตรงกันข้ามเรียกว่า อาวาสอสัปปายะ โคจรสัปปายะ คือที่หาอาหารที่เที่ยวบิณฑบาตไปมาสะดวก เซ่น มีหมู่บ้านหรีอชุมซนที่มีอาหารบริบูรณ์อยู่ไมใกล้ไม่ไกล ส่วนที่ตรงกันข้าม เรียกว่า โคจรอสัปปายะ ภัสสสัปปายะ คือการพูดคุยที่เหมาะกัน เซ่น พูดคุยในกถาวัดถุ ๑อ และพูดแต่พอประมาณ ส่วนที่ตรงกันข้ามเรียกว่า ภัสสอสัปปายะ คือการ พูดคุยกันแต่ดิรัจฉานกถา ฅ๒ เรื่อง ปุคคลสัปปายะ คือบุคคลที่ถูกกันเหมาะกัน เซ่น มีท่านผู้ทรงคุณ ธรรมทรงภูมิปัญญาเบินกัลยาณมิตรให้คำปรึกษา ส่วนที่ตรงกันข้ามเรียกว่า ปุคคลอสัปปายะ โภชนสัปปายะ คืออาหารที่เหมาะกัน เซ่น ถูกกับร่างกาย เกื้อกูล ต่อสุขภาพ ส่วนที่ตรงกันข้ามเรียกว่า โภชนอสัปปายะ อุตุสัปปายะ คือดินฟ้าอากาศธรรมซาติแวดล้อมที่เหมาะกัน เซ่น ไม่หนาวเกินไป ไม่ร้อนเกินไป ส่วนที่ตรงกันข้ามเรียกว่า อุตุอสัปปายะ อิริยาปถสัปปายะ คืออิริยาบถที่เหมาะแก่การบำเพ็ญเพียรตามที่ถูก แก่สภาพร่างกาย ส่วนที่ตรงกันข้ามเรียกว่า อิริยาปถอสัปปายะ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๘๓ อปสังหรณกลา ว่าด้วยการระลึกถึงความตายโดยเปรียบกับผู้อื่น ๗ ๑. เปรียบกับผู้มียศสักดิ้ยิ่งใหญ่ ๒. เปรียบกับผู้มีบุญมาก ฅ. เปรียบกับผู้มีกำลังมาก ๔. เปรียบกับผู้มีฤทธิ้มาก ๕. เปรียบกับผู้มีปัญญามาก ๖. เปรียบกับพระปัจเจกพุทธเจ้า ๗. เปรียบกับพระลัมมาลัมพุทธเจ้า ที่มา ะ มรณสติกถา ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค วิสุทฺธิ.๑/๑๗๑/เอ(ะ๔ สตฺตหากาเรหิ อุปสํหรณโต มรเฟ้ อบุสุสริฅพุพํ ยสมหตุฅโต 1Jณณมหตุตโต ถามมหตตโต อิทธิมหตตโต ปญณามหตุตโต ปจเจก- พุทฺธโต สมมาสมพุทุธโต ฯ แปล : ท่านผู้บำเพ็ญเพียรพึงระลึกถึงความตายโดยการเปรียบ เทียบกับ(ความตายของ)ผู้อื่นด้วยอาการ ๗ คือ โดยเปรียบกับผู้มียศสักดี้ ยิ่งใหญ่ ๑ โดยเปรียบกับผู้มีบุญมาก ๑ โดยเปรียบกับผู้มีกำลังมาก ๑ โดย เปรียบกับผู้มีฤทธิ้มาก ๑ โดยเปรียบกับผู้มีปัญญามาก ๑ โดยเปรียบกับ พระปัจเจกพุทธเจ้า ๑ โดยเปรียบกับพระลัมมาลัมพุทธเจ้า ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๘๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั อนัสสาสฟ้สสาสกฝิา ว่าด้วย^ม่มีลมหายใจ ๗ ๑. ผู้อยูในครรภ์มารดา ๒. ผู้ดำ นํ้าอยู่ ฅ. ผู้สลบ ๔. คนตาย ๕. ผู้เข้าจตุตถฌาน ๖. เทวดาผู้อยู่ในรูปภพและอรูปภพ ๗. พระอริยเจ้าผู้เข้านิโรธสมาบัติ ที่มา : อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค วิสุทฺธิ.๑/๒๒๙/ฅ©๙ อิเม อนุโตมาตุกจุฉิยํ นตุถิ, อุทเก นินุคคาฟ้ นตุถิ, ตถา อสญณีดูฅานํ, มดานํ, จตุฅถชุฌานสมาปนนานํ, รูปารูปภวสมงคีนํ, นิโรธสมาปนุนานนุติ ฌตุวา เอวํ อตุตนาว อตุฅา ปฎิโจเทฅพฺโพ ... ฯ แปล ;(ลำดับต่อไปพระโยคาวจรผู้พิจารณาอย่างนี้จนรู้ว่าลมหายใจ เข้าออก) เหล่านี้ย่อมไม่มี(แก่สัตว์)ภายในท้องของมารดา ๑ ย่อมไม่มีแก่ ผู้ดำ อยู่ในนํ้า ๑ ^ม่มีสัญญา(สลบ) ๑ ผู้ตายแล้ว ๑ ผู้เข้าจตุตถฌาน ๑ ผู้เพียบพร้อมอยู่ในรูปภพและอรูปภพ ๑ ผู้เข้านิโรธ ๑ ดังนี้แล้วพึงเตือน ตนด้วยตนเองอย่างนี้ ...ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๘๕ สัตตรตนกถา ว่าด้วยคุณสมบัติของรัตนะ ๗ ๑. จักกรัตนะ จักรแก้ว สามารถนำสมบัติแห่งมหาทวีปทั้ง ๔ มี ทวีปน้อย ๒,000 ฟ็นบริวารมาถวายได้ ๒. หัฅถิรัฅนร ช้างแก้ว สามารถเตินในอากาศเวียนแผ่นดินอันมี ทะเลล้อมอยู่ก่อนอาหารมื้อเช้า ฅ. จัสสรัตนะ ม้าแก้ว สามารถเหมีอนช้างแก้ว ๔. มณีรัตนะ แก้วมณี สามารถส่องแสงทะลุความมีดทึบไปไ^กล โยชน์หนึ่ง ๕. อิตถีรัตนะ นางแก้ว มีนํ้าพระทัยงามพร้อมปราศจากโทษ ไม่ดำนัก ขาวนัก ผอมนัก เตี้ยไป สูงไป ๖. คหปติรัตนะ ขนคลังแก้ว สามารถด้นคว้าหาขุมทรัพย์อันซ่อนอยู่ใน แผ่นดินได้โยชน์หนึ่ง ๗. ปริณายกรัตนะ ขุนพลแก้ว ได้แก่มกุฎราชกุมารรัชทายาทองคใหญ่ สามารถปกครองราชสมบัติได้ทั้งจักรวาล ทึมา : อรรถกถาสุมังคลวิลาสินี ที.ม.อ. ๒/ฅ๙ฅ๘-ฅ๙ ทุวิสหสสฑืปปริวารานํ จดูนนํ มหาทีปานํ สิริวิภวํ คเหตุวา ทาดุ สมตุถํ จๆกรตนํ ปาดุภวติฯ ... อนุปริยายนสมตุถํ เวหาสงคมํ หตุถีรตนํ, ตาทีสเมว อสุสรตนํ ... มณีรตนํ ... อิตุถีรตนํ ... คหปติรตนํ ... ปริณายกรตนํ ปาดุภวนุติ ฯ แปล : จักรรัตนะสามารถนำสิริสมบัติแห่งมหาทวีปทั้ง ๔ ซึ่งมี ทวีปบริวาร ๒,000 มาถวายได้ ... ฯ www.kalyanamitra.org

๘๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั ธัมมวิจย^ปปาทกลา ว่าด้วยเหตุให้๓ดธัมมวิจยสัมโพซฌงค์ ๗ ๑. สอบถาม ๒. ทำ วัตถุให้สละสลวย ต. ปรับอินทรีย์ให้เป็นไปโดยสมํ่าเสมอ ๔. เว้นจากบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๕. คบหาบุคคลผู้มีปัญญา ๖. พิจารณาสอดส่องด้วยญาณอันลึกซึ้ง ๗. น้อมจิตไปในธัมมวิจยส์มโพซฌงค์นั้น ที่มา : อรรถกถาสุมังคลวิลาสินี ที.ม.อ. ๒/ฅ๘๕/๔๐๒ สตต ธมฺมไ ธมมวิจยสมุโพชุฌงคสส อุปปาทาย สํวตุฅนติ : ปริใ ฉกตา วตฺถุวิสทกิริยา อินทุริยสมตุตปฎิปาทนา ชุปปฉเณ- า^คคลปริวชุชนา ปณณวนตใ]คคลเสวนา คมภรณาณจริยปชุจเวฤฃณา ตทธิบุตุตตา ฯ แปล : ธรรม ๗ ประการย่อมเป็นไปเพี่อความเกิดขึ้นแห่งธัมม- วิจยอัมโพซฌงค์ คือ การสอบถาม ๑ การทำวัตถุให้สละสลวย ๑ การปรับ อินทรีย์ให้เป็นไปโดยสมรเสมอ ๑ การเว้นจากบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๑ การ คบหาบุคคลผู้มีปัญญา ๑ การพิจารณาสอดส่องด้วยญาณอันลึกซึ้ง ๑ การ น้อมจิตไปในอัมมวิจยอัมโพซฌงค์นั้น ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ฟ้สสัทธิลุปปาทกถา ว่าด้วยเหตุให้เกิดปัสส์'ทธิส์มโพซฌงค์ (ท) ๑. บริโภคโภซนะที่ประณีต ๒. เสพสภาพอากาศที่สบาย ต. เสพอิริยาบถที่สบาย ๔. วางตนเป็นกลาง ๕. เว้นบุคคลผู้มีกายไม่สงบ ๖. คบหาบุคคลผู้มีกายสงบ ๗. น้อมจิตไปในปีสส์ทธิส์มโพซฌงค์นั้น ทมา : อรรถกถาสุ3Jงคลวิลาสินี ที.ม.อ. ๒/๓๔๕/๔0๘ สฅต ธมฺมา ปสสทุธิสมุโพชฌงฺคสฺส อปฺปาทาย สํวตุตนติ :ปณีต- โภชนเสวนคา ลูดูอ[ุ ฃเสวนตา อิริยาปถธุ[ฃเสวนตา มชุฌตุตปปโยคตา สารทุธกายคุคลปริวชุชนตา ปสฺสพุธกายijคุคลเสวนตา ตทธิมุๆตตา ฯ แปล : ธรรม ๗ ประการย่อมเป็นไปเพื่อความเกิดขึ้นแห่งป้สสัทธิ สํโมโพซฌงค์ คือ การบริโภคโภชนะอันประณีต ๑ การเสพฤดูเป็นที่สบาย ๑ การเสพอิริยาบถเป็นที่สบาย ๑ การวางตนเป็นกลาง ๑ การเว้นจากบุคคล ผู้มีกายไม่สงบ ๑ การคบหาบุคคลผู้มีกายสงบ ๑ การน้อมจิตไปในปัสส์ทธิ อัมโพชฌงค์นั้น ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๘๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั มหาสรกถา ว่าด้วยสระใหญ่ ๗ ๑. สระอโนดาต ๒. สระกัณณมุณฑ์ ฅ. สระรถการ ๔. สระฉัททันต์ ๕. สระกุณาละ ๖. สระมันทากินี ๗. สระสิทัปบาต ทีมา : โปตลิยสุตตวัณณนา อรรถกถาปปัญจสูทนี ม.ม.อ. ๒/ฅ๑/1อฅ1 อโนตตฺตทโห กณฺณชุณฑทโห รถการทโห ฉทุทนตทโห คูณไถทโห มนุทากินีทโห สีหปฺปาตทโหติ สต.ต มหาสรา ปติฏฺรฅา ฯ แปล : สระใหญ่ทั้ง ๗คือ สระอโนดาต๑ สระกัณณมุณฑ์๑ สระ รถการ ๑ สระฉัททันต์ ๑ สระกุณาละ ๑ สระมันทากินี ๑ สระสิทัปบาต ๑ ตั้งอยู่ตามธรรมซาติ ฯ สหชาตกถา ว่าด้วยสหชาต ๗ ๑. พระเทวีมารดาพระราหุล {พระนางยโสธรา) ๒. อานันทราซกุมาร (พระอานนท์) ฅ. ฉันนะอำมาตย์ (พระฉันนะ) ๔. กาตุทายีอำมาตย์(พระกาตุทายีเถระ) ๕. ม้ากัณฐกะ ๖. ต้นพระศรีมหาโพธิ้ที่ตรัสรู้ ๗. ขุมทรัพย์ทั้งส์ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๘๙ ที่มา : โคตมทุทธวงสั อรรถกถามธุรัดถวิลาสินี ชุ.พุV!ธ.อ. ๓๙๖ ยสฺมึ ปน สมเย อมุหากํ โพธิสตุโต ลูมพินิวเน ชาโค ฯ ตสุมึเยว สมเย ราทุลมไฅา เทวื, อานนโท, ฉนโน, กาทุทายี อมชุโจ, กลเฮโก อสุสราชา, มหาโพธิรุกโข, จดสุโส นิธิถูมุภิโย จ ชาตา ... อิเม สตต สหชาตา นาม โหนติ ฯ แปล : ขณะที่พระโพธิสัตว์ของเราทั้งหลายประสูติที่ลุมพินีว้นนั้น บุคคลและสิงเหล่านี้ คือ พระเทวีผู้มารดาพระราหุล ๑ พระอานันทราซ กุมาร ๑ อำมาตย์ซื่อฉันนะ ๑ อำ มาตย์ซื่อกาฬุทายี ๑ ม้ากัณฐกะ ๑ ต้น พระศรีมหาโพธื้ ๑ ชุมทรัพย์ทั้งส์ ๑ ก็ไต้ประสูติและเกิดในขณะนั้น ทั้ง ๗ เหล่านี้จึงซื่อว่าเป็นสหชาต (ผู้เกิดพร้อมกับพระโพธิสัตว์) ฯ หัวใจพระอภิธรรม ๗ สัง, วิ, ธา, ij, ก, ย, ป, ๑. สัง หมายถึง คัมภีร์สังคณี ๒. วิ หมายถึง คัมภีร์วิภังค์ ฅ. ธา หมายถึง คัมภีร์ธาตุกถา ๔. tJ หมายถึง คัมภีร์ปุคคลบัญญัติ ๕. ก หมายถึง คัมภีร์กถาวัตถุ ๖. ย หมายถึง คัมภีร์ยมก ๗. ป หมายถึง คัมภีร์มหาปัฏฐาน www.kalyanamitra.org

๙๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั อธิบาย : พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ ๑. สังคณี คัมภีร์ว่าด้วยการรวบรวมปรมัตถธรรมทั้งหมดเข้าเป็น หมวดหมู่ จัดเป็นคัมภีร์แรกที่สำคัญเพราะได้แสดงหัวข้อธรรมหรือเนื้อหา หลักของพระอภิธรรมปิฎกที่เรืยกว่า มาติกา (แม่บทหรือหัวข้อธรรม) ไว้เป็นเบื้องด้น แล้วนำไปแสดงขยายออกไปเป็นตอนๆ ซึ๋งเรืยกว่า กัณฑ์ ได้ ๔ กัณฑ์ คือ จิตตุปปาทกัณฑ์ รูปกัณฑ์ นิกเขปกัณฑ์ และ อัตลุทธารกัณฑ์ ได้แก่พระไตรปิฎกเล่มที่ ฅ๔ ๒. วิภังค์ คัมภีร์ว่าด้วยการแยกแยะสภาวธรรมให้กว้างขวางลุ่มลึก พิสดารยิ่งขึ้นโดยจำแนกครอบคลุมทั้งนัยพระสูตร นัยพระอภิธรรม และ นัยแห่งการถามปัญหา ซึ่งถือว่าเป็นวิธีการจำแนกที่สมบูรถ!ที่สุด ได้แก่ พระไตรปิฎกเล่มที่ ฅ๕ ฅ. ธาลุกถา กถาหรือคำอธิบายว่าด้วยสภาวธรรมคือธาตุเป็นหลัก เป็นคัมภีร์ที่นำสภาวธรรมแม่บทซึ่งเรืยกว่ามาติกาจำนวน ฅ๗๑ บทมา สงเคราะหั!ดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ ๔. มู่คคลบัญญ้ติ คัมภีร์ซึ่งมีเนื้อหาส่วนใหญ่ว่าด้วยความหมายของ บุคคลที่บัญญัติไว้ในพระพุทธศาสนาจำนวน ฅ๖๕ ประเภท ธาตุกถาและ ปุคคลบัญญัติจัดรวมไว้ในพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๖ ๕. กถาวัตธุ คัมภีร์อันเป็นที่ตั้งของกถา เป็นคัมภีร์ที่ประมวลวาทกถา ที่แสดงลัทธิต่าง ๆ ในสมัยนั้นมารวบรวมประมวลไว้ทั้งหมด แล้วเปรืยบ เทียบให้เห็นความแตกต่างทางความคิดเห็นและความเซึ่อพร้อมทั้งขึ้ข้อผิด ข้อถูกให้ถือปฏิบัติไว้ด้วย ได้แก่พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ ๖. ยมก คัมภีร์ซึ่งมีเนื้อหาที่แสดงสภาวธรรม ๑อ หมวดด้วยวิธีการ ยมก คือวิธีการแสดงเป็นคู่ๆ ด้วยการตั้งคำถามแบบอนุโลม (ตามลำดับ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ g๑ หรือคล้อยตาม) และคำถามแบบปฏิโลม (ทวนลำดับหรือย้อนกล้'บ) ได้แก่ พระไตรปีฎกเล่มที่ ฅ๘-ฅ๙ ๗. ฟ้ฏฐาน เป็นคัมภีร์ที่ประมวลสภาวธรรมที่เป็นฐานหรือจุดตั้งด้น ร่งเรืยกว่าปัจจัย จำ นวน ๒๔ ปัจจัย มาจำแนกแสดงให้เห็นถึงดักยภาพหรือ ความสามารถและการทำหน้าที่ของแต่ละปัจจัยแล้วนำสภาวธรรมที่จัดเป็น มาติกาจำนวน ๑๒๒ หมวดจากคัมภีร์ธัมมดังคณีมาจำแนก ด้วยปัจจัยทั้ง ๒๔ เหล่านี้ เพื่อให้เห็นถึงความดัมพันธ์ที่เป็นเหตุและเป็นผลของกันและกัน โดยจัดเป็นคัมภีร์พระไดรป็ฎกเล่มที่ ๔อ ถึงเล่มที่ ๔๕ ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ ๖ เล่มสุดห้ายของพระไดรปิฎกแห่งคณะสงฆ!ทย ที่มา : สรุปความจากอรรถกถาพระอภิธรรมป็ฎก เสฏฐนารีกถา ว่าด้วยลักษณะนารีที่ประเสริฐ ๗ ๑. ในยามเสพอาหารและยามแต่งกาย ทำ คัวดังมารดา ๒. ในส์งควรปิดบัง ก็เหนียมอายตุจน้องสาว ฅ. ในยามมีงานมาถึงก็ทำงานตุจช้างพัง ๔. ในยามเกิดภัยก็เป็นเพื่อนคู่คิดได้ ๕. ในยามหลับนอนก็ทำคัวให้น่ารื่นรมย์ ๖. ในด้านทรวดทรงก็รู้จักบำรุงรักษา ๗. ในยามโกรธก็รู้จักอดทน www.kalyanamitra.org

๙๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั ที่มา : อิตถิกัณฑ์ โลกนีติ คาถาที่ ๑0๖ ภตุเตธุ[ มณเฑธุ[ ชนนีว กนตินี คูยฌธุ[ ฮาฌอุ[ ภคินีว อาหิรี กมเมธุ[ ปตฺเตธุ[ กรินีว ทาสินี ภพธุ[ มนุดี สยฌธุ[ รามณึ รูเปธุ[ สิกฃี คูปปฌธุ[ ฃมนี สา นาริ เสฎฺเติ วทนุดี ปฉเฑิตา ฯ แปล ; ในยามบริโภคอาหารและยามแต่งตัว ภรรยาทำตัว ดุจมารดา โนสิงที่ควรปีดบังก็มีความเหนียมอายดุจฟ้อง สาว ในยามมีงานก็ทำงานด้วยความขันแข็งดุจช้างพัง ใน ยามมีภัยก็เป็นคู่คิด ในยามหลับนอนก็ทำตัวให้น่ารื่นรมย์ ในด้านทรวดทรงก็รู้จักบำรุงรักษาในยามโกรธก็รู้จักอดทน ภรรยาเซ่นนั้นปราชญ์กล่าวว่าประเสริฐสุด ฯ ชาตรตนกถา ว่าด้วยรัตนชาติ ๗ ๑. ทอง ๒. เงิน ฅ. แก้วมุกดา ๔. แก้วมณี ๕. เแก้วไพฑูรย์ ๖. เพชร ๗. แก้วประพาฬ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๗ &๓ ที่มา ; อภิธานัปปทีป็กา คาถาที่ ๔๙0 มณิ ททุริยานิ จ สตุตาชุ รตนานิเม. ล[ุ วณณํ รชตํ มุตตา วชิรํ จ ปวาฬนติ แปล : เรามีรัตนะ ๗ ประการ คือ ทอง ๑ ... แก้วประพาฬ ๑ ฯ ลักษณะของการคบมิตร ๗ ๑. อุปสังกมนะ การไปมาหาส่ ๒. ปยิรปาสนะ การเข้าตีสนิทชิดชอบ ฅ. สัมปียะ ความจงรักคือรักใคร่กันจริง ๔. ภตติ ความภักดีคือนับถือเลื่อมใสซื่อตรงต่อกัน ๕. สันทิป็ฐะ เป็นเพื่อนร่วมคิดร่วมเห็นด้วยกัน ๖. สัมภัตตะ เป็นเพื่อนร่วมกินร่วมอยู่ด้วยกัน ๗. ทิฏฐามุคติ ดำ เนินตามอย่าง www.kalyanamitra.org

คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั ความไร้ทรัพยเปีนมูลแห่งความวิบ้ต๊ ๗ ๑. ความยากจน ทำ ให้บุคคลถึงความอัปยศ ๒. ได้รับอัปยศแล้ว ก็ถึงความเส์อมเดช ฅ. ความเส์อมเดช ทำ ให้เป็นที่เกลียดซัง ๔. ความถูกเกลียดซัง ทำ ให้ด้องเกาะผู้อื่น ๕. เมื่อเป็นผู้เกาะเขาแล้ว ก็ไปถึงความทุกข์โศก ๖. เสวยทุกข์โศกแล้ว ป้ญญาก็หนีหน่าย ๗. สันปัญญาแล้ว ก็ลงส่ความทำลาย ที่มา : มิตรลาภ หิโตปเทศ ข้อ ๑๔ฅ สัตตมหาสถาน ๗ ๑. มหาโพธิบัลลังก์ บัลลังก์ภายใด้ด้นมหาโพธึ๊ เป็นสถานที่พระพุทธเจ้า ๒. อนิมมิสเจดีย์ ต. รัตนจงกรมเจดีย์ ตรัสรู้พระอนุตดรลัมมาลัมโพธิญาณ ๔. รัตนฆรเจดีย์ สถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จยืนทอดพระเนตรดูมหา โพธิ้ โดยมื่ได้กระพริบพระเนตรตลอด ๗ วัน สถานที่พระพุทธเจ้าทรงนิมิตที่จงกรมขึ้นในระหว่าง กลางแห่งมหาโพธิ้และอนีมมิสเจดีย์แล้วเสด็จจงกรม ณ ที่นั้นตลอด ๗ วัน สถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จนั่งซัดบัลลังก์ทรงพิจารณา พระอภิธรรมปิฎกสัน ๗ วัน ในเรือนแก้วที่เทวดา นิมิตขึ้น ในทิศปัจจิมหรือทิศพายัพแห่งมหาโพธิ้ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๙๕ ๕. อชปาลนิโครธเจดืย์ สถานที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งเสวยวิมุตติสุข ๗วัน ภายใต้ต้นอชปาลนิโครธ (ต้นไทรอันเป็นที่อาสัยของ คนเลี้ยงแพะ) อันตั้งอยู่ในบูรพาทิศแห่งมหาโพธึ๊ ๖. มุจจลินทเจดืย์ สถานที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งเสวยวิมุตติสุข๗วัน และทรงเปล่งพระอุทานต้วย ภายใต้ต้นมุจจลินท์ (ต้นจิก) อันตั้งอยู่ในทิศอาคเณย์แห่งมหาโพธิ้ (พระคันถรจนาจารย์กล่าวว่าฝนตกพรำตลอด ๗ วัน พญานาคซื่อมุจจสินท์เข้ามาวงขนด ๗ รอบและ แฝพังพานปกปิดพระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อป้องกันฝน และลมมิให้ถูกต้องพระวรกาย ครั้นฝนหายแล้ว คลายขนตออกจำแลงเพศเป็นมาณพมายืนเฝืาอยู่ณ ที่เฉพาะพระพักตร์) ๗. ราชายตนเจดีย์ สถานที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งเสวยวิมุตติสุข ๗วัน ภายใต้ต้นราชายตนะ(ต้นเกด) อันตั้งอยู่ในทิศ ทักษิณแห่งต้นมหาโพธิ้ มีพ่อค้า ๒ คนคือตปุสสะ และภัลลิกะนำข้าวอัตตุผงอัดตุก้อนซื่งเป็นเสบียง สำ หรับเดินทางเข้าไปถวาย ที่มา : คลังปริย้ตธรรม www.kalyanamitra.org

ส๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงศ์ คำ นมัสการบูชาสัตตมหาสถาน ๗ ปฮมํ โพธิปลลงคํ ใไติยํ อนิมิสุสกํ จดูตถํ รตนาฆรํ ฯ ฅดิยํ จงฺคมํ เสฎฮํ ปผุจมํ อชปาลผจ ชุจฺจสินฒน ฉฏุปีมํ สตตมํ ราชายตนํ สตตาหํ ร^นิเสวิตํ ฯ ปติฎฺเตา ชมพูทีเป นรเฑเวหิ \\|ชิตา อหํ วนทามิ พูรโต ฯ &อ&ต สตตมหาฮาฌ ที่มา : คลังปริย้ตธรรม ข้อความทื่ไม่ควรกล่าวในที่ประชุม ๗ ๑. การขอพร ๒. การร่ายมนต์ ฅ. การวางยา ๔. การกล่าวคุณความดี ๕. การในเรือน ๖. การกินอาหารที่ห้าม ๗. การกล่าวลบหลเพื่อนบ้าน ที่มา : คลังปริย้ตธรรม www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๙๗ คนห่างตำรา ๗ ๑. คนนอนมาก ๒. คนประมาทเมาม'ว ฅ. คนเอาแต่สบาย ๔. ๕. คนเกียจคร้าน ๗. คนหมกมุ่นการงาน ๖. คนหมดหวัง ท๊มา : คลังปริยัติธรรม จบ หมวด ๗ www.kalyanamitra.org

หมวด ๘ เวรัญชกถา ว่าด้วยเวรัญซพราหมณ์กล่าวหาพระพุทธเจ้า ๘ ๑. อรสรูปะ ผู1ม่มีรส ผู้ใม่มีสมบัติ ๒. นิพโภคะ ผู้สอนการไม่กระทำ ฅ. อกิริยวาทะ ผู้มีวาทะว่าขาดสูญ (&. อุจเฉทวาทะ ผู้ช่างรังเกียจ ผู้ช่างกำจัด ๕. เซอุจฉี ผู้ช่างเผาผลาญ ๖. เวนยิกะ ผู้!ม่ผุดไม่เกิด ๗. ตฟ้สสี ๘. อปคัพภะ ทมา : เวรัญซกัณฑ์ วิ.มหาวิ. ๑/ต-๑อ. เวรัญซสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.อฏจก. ๒ต/๑๑ อรสรูโป ภวํ โคตโมติ ฯ ... นิพุโภโค ... อกิริยวาโท ... รุจเฉทวาโท ... เซคุจฉี ... เวนยิโก ... ตปสสี ... อปคพุโภ ภวํ โคตโมติ ฯ แปล เวรัญซพราหมณ์กราบทูลต่อไปว่า \"ท่านพระโคดมเป็น อรลรูปะ ^ม่มีรส\" ๑ ... \"ท่านพระโคดมเป็นนิพโภคะ ^มมสมบัติ\" ๑ ... \"ท่านพระโคดมเป็นอกิริยวาทะ ผู้สอนการไม่กระทำ\"๑ ... \"ท่านพระโคดม เป็นอุจเฉทวาทะ ผู้มีวาทะว่าขาดสูญ\" ๑ ... \"ท่านพระโคดมเป็นเซคุจฉี ผ้ซ่างรังเกียจ\" ๑ ... \"ท่านพระโคดมเป็นเวนยิกะ ผ้ซ่างกำจัด\" ๑ ... www.kalyanamitra.org

หมวด๘ ๙๙ \"ท่านพระโคดมเป็นตปัสสี ผู้ช่างเผาผลาญ\" ๑ ... \"ท่านพระโคดมเป็น อปคัพภะ ผู้Iม่ผุดไฝเกิด\" ๑ ฯ พุทธปริยายกถา ว่าด้วยพระพุทธองค์ทรงยอมรับข้อกล่าวหาโดยปริยาย ๘ ๑. ผู้ไม่มีรส เพราะทรงละรสแห่งกามคุณ ๕ได้เด็ดขาด ๒. ผู้ไม่มีสมบ้ต เพราะทรงละสมบัติคือกามคุณ ๕ได้เด็ดขาด ฅ. ผู้สอนการไม่กระทำ เพราะทรงสอนการไม่ทำทุจริตและบาปอกุศลต่าง«1 ๔. ผู้มีวาทะว่าขาดสูญ เพราะทรงสอนความขาดสูญแห่งกิเลสทั้งหลาย ๕. ผู้ช่างรังเกียจ เพราะทรงรังเกียจทุจริตและบาปอกุศลต่าง ๆ ๖. ผู้ช่างกำจัด เพราะทรงแสดงธรรมเพื่อกำจัดกีเลสทั้งหลาย ๗. ผู้ช่างเผาผลาญ เพราะทรงกล่าวถึงอกุศลธรรมว่าควรเผาผลาญ ๘. ผู้ไม่ชุดไม่เกิด เพราะทรงละการเกิดในภพใหม่ได้เด็ดขาด ทมา : ทรัญซกัณฑ์ วิ.มหาวิ. ๑/ต-๑0. เวรัญซสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.อฏจก. ๒ต/๑๑ อตุถิ เฃฺวส พราหมณ ปริยาโย, เยน มํ ปริยาเยน สมมา วทมาโน วเทยุย 'อรสรูโป สมโณ โคตโมติ ฯ เย เต พราหุมณ เปรสา ... โผฎฮพพ- รสา, เต ตถาคตสส ปหีนา ..., นิพุโภโค ... เปโภคา ..., อกิริยวาโท ... อกิริยวาทํ วทามิ กายชุชุจริตสูส ..., รุจเฉทวาโท ... รุจเฉทํ วทามิ ราคสูส ..., เซรุจฉี ... เซคูชุฉํ วทามิ กายชุจจริเตน ..., เวนยิโก ... วินยาย ธมมํ เทเสมิ ราคสส ..., ตปสูสื ... ตปนียาหํ พราหมณ ปาปเก อคูสเล ธมฺเม วทามิ กายชุชุจริตํ ... อปคพุโภ ... ตถาคตสฺส โข พุราหมณ อายตี คพุภเสยุยา ใ^นพุพภวาภินิพุพตุติ ปหีนา ...ฯ www.kalyanamitra.org

๑0๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั แปล : มีอยู่จริง ๆ พราหมณ์ สาเหตุที่ทำให้ผู้ที่จะกล่าวหาเรา ให้ถูก พึงกล่าวหาว่า 'พระสมณโคดมเป็น^ม่มีรส' เพราะรสคือรูป เสิยง กลิ่น รส โผฏฐัพพะตถาคตละได้แล้ว ตัตรากขาตแล้ว ทาให้เป็นตุจตาล ยอตด้วนแล้ว ทำ ไมให้มีในภายหลัง ไม่ให้เกิตขึ้นต่อไปเป็นธรรมตา นี้แล คือสาเหตุที่ทำให้ผู้ที่จะกล่าวหาเราให้ถูก พึงกล่าวหาว่า 'พระสมณโคตม เป็น^ม่มีรส' แต่ไม่ใช่สาเหตุที่ท่านมุ่งกล่าวถึง ๑ ... เพราะสมบัติคือรูป เสิยง กลิ่น รส โผฏฐัพพะตถาคตละได้แล้ว ตัตรากขาตแล้ว ทำ ให้เป็น ตุจตาลยอตด้วนแล้ว ทำ ไม่ให้มีในภายหลัง ไม่ให้เกิตขึ้นต่อไปเป็น ธรรมตา ... ๑ ... เพราะเราสอนการไม่กระทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เราสอนการไม่กระทำอกุศลธรรมอันเป็นบาปต่าง ๆ ... ๑ ... เพราะเราสอน ถึงความขาตสูญแห่งราคะ โทสะ โมหะ เราสอนถึงความขาตสูญแห่ง อกุศลธรรมอันเป็นบาปต่าง ๆ เราสอนการไม่กระทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เราสอนการไม่กระทำอกุศลธรรมอันเป็นบาปต่าง ๆ...๑...เพราะ เรารังเกียจ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรารังเกียจอกุศลธรรมอันเป็น บาปต่างกุ...๑ ... เพราะเราแสตงธรรมเพื่อกำจัดราคะโทสะโมหะ แสตง ธรรมเพื่อกำจัดอกุศลธรรมอันเป็นบาปต่าง กุ ... ๑ ... เพราะเรากล่าวถึง อกุศลธรรมอันเป็นบาปทั้งหลายคือกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่าเป็น ธรรมที่ควรเผาผลาญ อกุศลธรรมที่เป็นบาปต่าง กุ อัน^ตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำ ให้เป็นตุจตาลยอดด้วนแล้ว ทำ ไมให้มีในภายหลัง ทำ ไม่ให้เกีตขึ้นต่อไปเป็นธรรมตาเราเรียกผู้นั้นว่า 'เป็นผู้ช่างเผาผลาญ'...๑ ... เพราะการนอนในครรภ์ต่อไป การบังเกิดในภพใหม่อันผู้!ตละได้แล้ว ตัด รากขาดแล้ว ทำ ให้เป็นตุจตาลยอดด้วนแล้ว ทำ ไมให้มีในภายหลัง ทำ ไมให้เกิดขึ้นต่อไปเป็นธรรมดา เราเรียกผู้นั้นว่า 'เป็นผู้โม่ผุดไม่เกิด' ... ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๘ ๑๐๑ อธิคฅธัมมกถา ว่าด้วยลักษณะของธรรมที่ตรัสรู้ ๘ ๑. คัมภีระ ลึกซึ้ง ๒. ทุททสะ เห็นได้ยาก ๓. รู้ตามได้ยาก ๔. สันตะ สงบ ๕. ปณีตะ ประณีต ๖. อตักกาวจร คาดเดาเอาเองไม่ได้ ๗. นิ!Jณะ ละเอียด ๘. ฟ้ณฑิตเวทนียะ คนฉลาดจึงจะรู1ด้ ทีมา พรหมยาจนกถา มหาขันธกะ วิ.มหา. ๔/๗ อธิคโต โข มยไยํ ธมโม คมุภืโร ททุทโส ชุรบุโพโธ สนุโต ปณีโต อตคุกาวจโร นิ!เโณ ปณฑิตเวทนีโย ... ฯ แปล ะ (และเมื่อพระองค์เสด็จไปในที่สงัดหลึกเร้นอยู่ ได้มี พระทัยปริวิตกเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า) ธรรมที่เราได้บรรลุแล้วนี้เป็นธรรมลึกซึ้ง ๑ เห็นได้ยาก ๑ รู้ตามได้ยาก ๑ เป็นธรรมสงบ ๑ ประณีต ๑ หยั่งถึงไม่ได้ ด้วยความตรึก ๑ ละเอียด ๑ รู1ด้แต่บัณฑิต ๑ ...ฯ คิจุเจน เม อธิคตํ หลนทานิ ปกาสิ^ ราคโทสปเรเตหิ นายํ ธมโม ลุ[สมฺทุโธ ปฎิโสตคามึ นิ!]ณํ คมุภีรํ ชุททสํ อชุ๊ ราครตฺตา น ทฤขนฺติ ตโมๆขนุเธน อา^ฎา ฯ www.kalyanamitra.org

๑0๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั แปล ; บัดนี้ เรายังไม่ควรจะประกาศธรรมที่เราไดบรรลุ แล้วโดยยาก เพราะธรรมนี้ยันสัตว์ทั้งหลายผู้ถูกราคะ และโทสะครอบงำแล้วไม่ตรัสรู1^ดยง่าย สัตว์ทั้งหลาย ผู้ยันราคะย้อมแล้ว ถูกกองอวิชชาหุ้มห่อไว้แล้ว จักไม่ เห็นธรรมยันละเอียด ลึกซึ้ง เห็นได้ยาก ละเอียดยิ่ง ยันจะยังสัตว์ให้ถึงธรรมที่ทวนกระแสคือนิพพาน ฯ อัฎฐปานกลา (๑) ว่าด้วยนํ้าปานะ ๘ (นัยที่ ๑) นํ้าผลมะม่วง ๒. ชัมทุปานะ นํ้าผลหว้า ฅ. โจจปานะ นํ้าผลกล้วยมีเมล็ด ๔. โมจปานะ นํ้าผลกล้วยไม่มีเมล็ด ๕. มธุกปานะ นํ้าผลมะชาง ๖. ทิกปานะ นํ้าผลองุ่นหรือนํ้าลูกจันทน์ ๗. สาลูกปานะ นี้าเหง้าบัว ๘. ผาธุสกปานะ นํ้าผลมะปรางหรือผลลิ้นจี่ ที่มา : เกณิยชฏิลวัตลุ ๓ลัซซขันธกะ วิ.มหา.๕/«๙ อบุชานามิ ภิฤฃเว อฎ® ปานานิ อมุพปานํ ชม.ไ'Jปานํ โจฉปานํ โมจปานํ มธุกปานํ บุทุทิกปา'น สาลูกปานํ ผาเสกปานํ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๘ ๑๐๓ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตนํ้าปานะ ๘ ชนิด คือ นํ้า ปานะทำจากผลมะม่วง ๑ นํ้าปานะทำจากผลหว้า ๑ นํ้าปานะทำจากผล กล้วยมีเมล็ด ๑ นํ้าปานะทำจากผลกล้วยไม่มีเมล็ด ๑ นํ้าปานะทำจาก ผลมะซาง ๑ นํ้าปานะทำจากผลองุ่นหรือลูกจันทน์ ๑ นํ้าปานะทำจาก เหง้าบัว ๑ นํ้าปานะทำจากผลมะปรางหรือลิ้นจี่ ๑ ฯ อัฏฐปานกฝืา(๒) ว่าด้วยนํ้าปานะ ๘ (นัยที่ ๒) ๑. โกสัมพปานะ นํ้าผลสะคร้อ ๒. ไกลปานะ นํ้าผลเล็บเหยี่ยว ต. พทรปานะ นํ้าพุทรา ๔. ฆฏปานะ นํ้าเปรืยง ๕. เตลปานะ นํ้ามัน ๖. ยาคูปานะ นํ้าข้าวยาคู ๗. ปโยปานะ นํ้านม ๘. รสปานะ นํ้ามีรส (นํ้าผักดองเป็นต้น) ที่มา : (^วฏกสุตตนิทเทส อัฏฐกวรรค ชุ.ม. ๒๙/๑๕๙ อปรานิรเ อฎฺ« ปานานิ ะ โกสมุพปานํ โกสปานํ พทรปานํ ฆฎปานํ เฅลปานํ ยาคูปานํ ปํโยปานํ รสปานํ ฯ แปล ; นํ้าปานะอีก ๘ อย่าง คือ นํ้าสะคร้อ ๑ นํ้าผลเล็บเหยี่ยว ๑ นํ้าพุทรา ๑ นํ้าเปรืยง ๑ นํ้ามัน ๑ นํ้าข้าวยาคู ๑ นํ้านม ๑ นํ้ามีรส (นํ้าผักดองเป็นต้น) ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๑0๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั วิสาขาวรกถา ว่าด้วยพรที่วิสาขามหาอุบาสิกาทูลขอ ๘ ๑. ขอให1ด้ถวายผ้าอาบนํ้าฝนแด่ภิกษุสงฆ์ตลอดชีพ ๒. ขอใฟ้,ด้ถวายภัตเพื่อภิกษุอาคันตุกะตลอดชีพ ฅ. ขอให1ด้ถวายภัตเพื่อภิกษุที่เตรียมจะเดินทางตลอดชีพ ๔. ขอให1ด้ถวายภัตเพื่อภิกษุอาพาธตลอดชีพ ๕. ขอให1ด้ถวายภัตเพื่อภิกษุพยาบาลภิกษุอาพาธดลอดชีพ ๖. ขอให1ด้ถวายยาสำหรับภิกษุอาพาธตลอดชีพ ๗. ขอให1ด้ถวายข้าวยาคูประจำตลอดชีพ ๘. ขอไห!ด้ถวายผ้านุ่งอาบนํ้าแด่ภิกษุณีสงฆ์ตลอดชีพ ที่มา ; วิสาขาวัตถุ วิ.มหา. ๕/๑0๙ เอกมนุตํ นิสินนา โข วิสาขา มิคารมาตา ภควนุตํ เอฅทโวจ \"อฎฮาหํ ภนุเฅ ภควน.ตํ วรานิ ยาจามิติ ... อิจฉามหํ ภนุเต สงุฆสฺส ยาวชีวํ วสุสกสาฏิกํ ทาตํ, อาคนฺตุกภตุตํ ...คมิกภตุตํ...ติอานภตฺตํ...ติลาษุปฏุจาก กต.ตํ ... ติลานเกสชุชํ ... ธุวยาคํ ... กิฤขุนิสง.ฆสุส อุทกสาฏิกํ ทาตุนุติ ฯ แปล : ครั้นแล้วนางวิสาขามิคารมาตุได้กราบทูลแด่พระผ้มีพระ ภาคเจ้าว่า \"หม่อมฉันทูลขอพร ๘ ประการด่อพระผ้มิพระภาคเจ้า พระ พุทธเจ้าข้า ... สำ หรับพระภิกษุสงฆ์หม่อมฉันปรารถนาที่จะถวายผ้าวัสสํก สาฎก (ผ้าอาบนํ้าฝน) ถวายอาคันตุกภัต (ภัตเพื่อภิกษุอาคันตุกะ) ถวาย คมิกภัต(ภัตเพื่อภิกษุที่เตรียมจะเดินทาง)ถวายคิลานภัต(ภัตเพื่อภิกษุอาพาธ) ถวายคิลานุปัฏฐากภต (ภัตเพื่อภิกษุพยาบาลภิกษุอาพาธ) ถวายคลานเภสํซ (ยาสำหรับภิกษุอาพาธ) ถวายข้าวยาคูประจำ และสำหรับภิกษุณีสงฆ์ หม่อมฉันปรารถนาที่จะถวายผ้าอุทกสาฎก(ผ้านุ่งอาบนํ้า)จนตลอดชีพ\" ฯ www.kalyanamitra.org