Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลังธรรมเล่ม๓

Description: คลังธรรมเล่ม๓

Search

Read the Text Version

และคณะ] หมวด ๘ ๒๐๕ อิฌ โข มงฺคลา พุทธไ สพุm อิธ ปติฎฺเดา วนฺทิคา จ อมุเหหิ สกกาเรหิ จ \\เชิดา 8อเดส์ อาบุภาทน สพุพโสตฺถี ภวบุดู โน ฯ แปล : สมเด็จพระสัมมาส์'มพุทธเจ้าผู้ทรงประเสริฐกว่า นรซนทั้งหลายประทับอยู่ตรงกลาง พระโกณฑัญญะ ประจำอยู่ทางทิศตะวันออก พระมหากัสสปะประจำอยู่ ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พระสาริบุตรประจำอยู่ทางทิศใต้ พระอุบาลีประจำ อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ พระอานนท์ประจำอยู่ทาง ทิศตะวันตก พระควัมปติประจำอยู่ทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือ ฯ พระโมคคัลลาน์ประจำอยู่ทางทิศเหนือ พระราหุล ประจำอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พระพุทธเจ้า และพระพุทธสาวกผู้เ{เนมงคลเหล่านี้แลล้วนประติษฐาน อยู่ ณ ที่นี้ ท่านเหล่านั้น ปวงข้าพเจ้าไต้น้อมไหว้และบูชาแล้ว ต้วยเครื่องสักการะทั้งหลาย ด้วยอานุภาพของท่าน เหล่านั้น ขอสรรพสวัสดีจงเกิดมีแก่ปวงข้าพเจ้าด้วย ฯ www.kalyanamitra.org

๒๐๖ คลังธรรม พระประจำวัน ๘ ๑. วันอาทิตย์ พระอุ้มบาตร พระถวายเนตร ๒. วันจันทร์ พระห้ามญาติ พระห้ามสมุทร ฅ. วันอังคาร พระไสยาสน์ พระห้ามแก่นจันทร์ ๔. วันพุธ (กลางวัน) พระสดุงมาร พระรมบาตร ๕. วันพฤหัสบดี พระนั่งสามาธิ ๖. วันศุกร์ พระรำพึง ๗. วันเสาร์ พระนาคปรก ๘. วันพุธ (กลางคืน) พระราหู พระปาริไลยก์ ทิมา : คสังปริย้ทิรรรม จบ หมาด ๘ www.kalyanamitra.org

หมวด ส พุทธคุณกถา ว่าด้วยพระพุทธคุณ ๙ ๑. อรหัง ผู้ทรงเป็นพระอรหันต์ ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ๒. สัมมาสัมเ^ทใธ ผู้ทรงสมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ผู้เสด็จไปดีแล้ว ฅ. วิชชาจรณสัมฟ้นโน ผู้ทรงรู้แจ้งโลก ๔. ธ[ุ คโต ผู้ทรงเป็นสารถีสิกบุรุษที่ควรสิกที่ไม่มี ๕. โลกวิรุ) ผู้อื่นยิ่งกว่า ๖. อบุฅฅโร ปุริสหัมมสารลิ ผู้ทรงเป็นศาสดาของเทพและมนุษย์ ๗. สัตถา เทวมบุสสาหัง ทั้งหลาย ๘. ทุทโธ ผู้ทรงเบิกบานแล้ว ๙. ภควา ผ้ทรงจำแนกพระธรรม ที่มา เวรัญซกัณฟ้ วิ.มหาร. ๑/® อิติป็ โส ภควา อรหํ สมมาสม.ชุทฺโธ วิช.ชาจรณสม,ปนุโน อ[ุ คโต โลกวิรุ} อนุต.ตโร ใเริสทม.มสารลิ สตุถา เทวมนุสสานํ พฑโธ ภควา ฯ แปล : (ก็แลพระกิดติสัพท์อันงามของท่านพระโคดมพระองต์นั้น ขจรไปแล้วอย่างนี้ว่า) พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นทรงเป็นพระอรหันต์ www.kalyanamitra.org

๒๐๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั แม้เพราะเหตุนี้ ตรัสรู้เองโดยชอบแม้เพราะเหตุนี้ ทรงสมบูรณ์ด้วยวิชชา และจรณะแม้เพราะเหตุนี้ เสด็จไปดีแล้วแม้เพราะเหตุนี้ ทรงรู้แจ้งโลกแม้ เพราะเหตุนี้ทรงเ{เนสารถีผู้ฝืกบุรุษที่ควรแกที่ใม่มีผู้อื่นยิ่งกว่าแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลายแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นผู้เบิก บานแล้วแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นผู้จำแนกแจกธรรมแม้เพราะเหตุนี้ ฯ นวังคสัตถุศาสนกถา ว่าด้วยคำส์งสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ ๑. ธ[ุ ตตะ ข้อความที่เป็นสูดร ๒. เคยยะ ข้อความที่มีร้อยแกวและร้อยกรองผสมกัน ฅ. เวยยากรณะ ข้อความร้อยแก้วล้วนรุ ๔. คาถา ข้อความร้อยกรองล้วนรุ ๕. อุทาน พระคาถาที่ทรงเปล่งด้วยโสมนัสสญาณ ๖. อิสิรุฅฅกะ พระสูดรที่ดรัสโดยนัยว่าข้อนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าดรัส ไว้ว่า ๗. ชาฅกะ ชาดก เรื่องราวในอดีดชาติของพระพุทธองค์ ๘. อัพภูตธรรม พระสูดรที่ว่าด้วยข้ออัศจรรย์ ไม่เคยมีทุกสูดร ๙. เวทัลละ พระสูดรแบบถาม-ดอบ ที่มา : เวรัญซกัณฑ์ วิ.มหาวิ. ๑/๑๙ อปุปกผจ เนสํ อโหสิ อุตุดํ เคยยํ เวยยากรณํ คาถา อุทาฬํ อิสิรุตุตกํ ชาตคํ อพุภูตธมมํ เวทสุลํ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๐๙ แปล : อนึ่ง สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ซาตกะ อัพภูตธรรม เวทัลละของพระผู้มีพระภาคเจ้าทั้งสาม พระองค์นั้นก็มีน้อย ฯ อธิบาย : ล[ุ ตตะ ได้แก่อุภโตวิภังค์ นิทเทส ขันธกะ ปริวาร พระสูตรทั้งหลายในสุตตนิบาต และพระพุทธพจน์อื่นๆ ที่มีซื่อว่าสูตร กล่าวนั้นๆ ก็คือพระวินัยปิฎก คัมภีร์นิทเทสทั้งสองและพระสูตรทั้งหลาย เคยยะ ได้แก่ข้อความที่มีร้อยแก้วและร้อยกรองผสมภัน หมายเอา พระสูตรทีมีคาถาทั้งหมด โดยเฉพาะสคาถวรรคในส์งยุตตนิกาย เวยยากรณะ ได้แก่ความร้อยแก้วลวนๆ หมายเอาพระอภิธรรมปิฎก ทั้งหมด พระสูตรที่ไม่มีคาถา และพระพุทธพจน์อื่นใดที่ไม่จัดเข้าในองค์ ๘ ข้อที่เหลือ คาถา ได้แก่ความร้อยกรองล้วนๆ หมายเอาคัมภีร์ธรรมบท เถร คาถา เถรีคาถา และคาถาล้วนๆ ในสุตตนิบาตที่ไม่มีซื่อว่าเปีนสูตร อุทาน ได้แก่พระอุทานคาถาที่ทรงเปล่งด้วยพระหฤทัยโสมนัสและ ประกอบด้วยพระญาณโดยมีข้อความประกอบอยู่ด้วย รวมได้ ๘ฅ พระสูตร อิติ'Jฅฅกะ ได้แก่พระสูตร ๑๑๐ สูตรที่ตรัสโดยนัยว่า วุเ!ชุตํ เหตํ ภควตา (แปลว่า อันที่จริง ข้อนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไร้ว่า) ชาฅกะ ได้แก่ชาดก ๕๕๐ เรื่อง มีอป้ณณกชาดกเปีนด้น อัพสูตธรรม ได้แก่พระสูตรที่ว่าด้วยข้ออัศจรรย์ ไม่เคยมีมาก่อน ททัลละ ได้แก่พระสูตรแบบถาม-ตอบ ซื่งผู้ถามได้ทั้งความรู้และ ความพอใจ ถามต่อ ๆ ไป เซ่น จูฬเวทัลลสูตร www.kalyanamitra.org

๒๑0 คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั ติฑิวคามีกถา ว่าด้วยธรรมอันนำบุคคลไป^ไตรทิพย์ ๙ ๑. ส์จจะ ๒. กุศลธรรม ฅ. ความ!!กตน ๔. ความสำรวมกาย วาจา ใจ &. ความเป็นฟ้สะอาด ๖. สืลviเป็นอาสํ'ย ๗. อุโบสถกรรม ๘. ความไม่เบียดเบียน ๙. กรรมอันไม่รุนแรง ที่มา : ลักขณสูตร ที.ปา.๑๑/๒0ฅ สจเอ จ ธมเม จ ทเม จ สํยเม ไสเจยยสีลาล^โปสเถ^ จ ปไเณ อหึสาย อสาหเส รโต ทฬฺหํ สมาทาย สมนฺฅมาจริ โส เดน กมุเมน ติทิวํ อปฤกมิ ธ[ุ ฃญจ ฃิฑฑา รติโย จ อใ4ภิ ฯ แปล : (พระโบราณกเถระทั้งหลายกล่าวคาถาประพันฟ้.ว้ว่า) พระมหาบุรุษยินดีแล้วในวจีส์จ โนธรรมคือกุศลกรรมบถ ในความลกตน โนความสำรวม โนความเป็นผู้สะอาด ในอาลัยคือคืล ในอุโบสถกรรม ในความไฝเบียดเบียน เหล่าลัดว์ และในกรรมลันไม่รุนแรง ทรงยึดถีอมั่นคง ทรงประพฤติอย่างรอบคอบ เพราะกรฺรมนั้น พระมหา บุรุษจึงได้เสด็จหลีกไปยังชั้นไดรทิพย์ เสวยสุขและสมบัติ เป็นที่เพลิดเพลินยินดี ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๙ ๒๑๑ อาฆาตวัตถุกถา ว่าด้วยสาเหตุแห่งความอาฆาต ๙ ๑. ผูกอาฆาตว่าเขาได้ทาสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เรา ๒. ผูกอาฆาตว่าเขากำลังทำส์งทึ๋ไม่เป็นประโยชน์แก่เรา ต. ผูกอาฆาตว่าเขาจักทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เรา ๔. ผูกอาฆาตว่าเขาได้ทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้เป็นที่รักของเรา ๕. ผูกอาฆาตว่าเขากำลังทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้เป็นที่รักของเรา ๖. ผูกอาฆาตว่าเขาจักทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้เป็นที่รักของเรา ๗. ผูกอาฆาตว่าเขาได้ทำสิงที่เป็นประโยชน์แก่^ม่เป็นที่รักของเรา ๘. ผูกอาฆาตว่าเขากำลังทำสิงที่เป็นประโยชน์แก่^ม่เป็นที่รักของเรา ๙. ผูกอาฆาตว่าเขาจักทำสิงที่เป็นประโยชน์แก่^ม่เป็นที่รักของเรา ทมา : สังคีติสูตร ที่.ปา. ๑๑/ต๔0, อาฆาตวัตถุสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.นวก. ๒ต/๒๙ นว อาฆาตวตฺถูนิ : 'อนตุถํ เม อจรีต ... จรตืต ... จริสสตีต อาฆาตํพนรติ,'ปียลุ[ส เม มนาปลุ[ส อนตฺลํอจรีต...จรตีต ...จรีลุ[สตีต อาฆาตํ พนุธติ, อป!เยลุ[ส เม อมนาปลุ[ส อตุถํ อจรีต ... จรตีต ... จริสสตี ต อาฆาส์ พนฺธติ ฯ แปล : อาฆาตวัตถุ ๙ คือ ผูกอาฆาตด้วยคืดว่าผู้นี้ได้ประพฤติ สิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เราแล้ว ๑ ... ผูกอาฆาตด้วยคืดว่าผู้นี้จักประพฤติ สิงที่เป็นประโยชน์แก่บุคคล^ม่เป็นที่รักไม่เป็นที่ชอบใจของเรา ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๑๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ อาฆาตปฏิวินยกถา ว่าด้วยวิธีกำจัดความอาฆาต ๙ ๑. คิดเสียว่าการที่เขาได้ทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เรา ก็ห้ามเขาไม่ได้ ๒. คิดเสียว่าการที่เขากำลังทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เรา ก็ห้ามเขาไม่ได้ ต. คิดเสียว่าการที่เขาจักทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เรา ก็ห้ามเขาไม่ได้ ๔. คิดเสียว่าการที่เขาได้ทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้เป็นที่รักของเรา ก็ห้ามเขาไม่ได้ ๕. คิดเสียว่าการที่เขากำลังทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้เป็นที่รักของเรา ก็ห้ามเขาไม่ได้ ๖. คิดเสียว่าการที่เขาจักทำสิงที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้เป็นที่รักของเรา ก็ห้ามเขาไม่ได้ ๗. คิดเสียว่าการที่เขาได้ทำสิงที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ไม่เป็นที่รักของเรา ก็ห้ามเขาไม่ได้ ๘. คิดเสียว่าการที่เขากำลังทำสิงที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ไม่เป็นที่รักของเรา ก็ห้ามเขาไม่ได้ ๙. คิดเสียว่าการที่เขาจักทำสิงที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ไม่เป็นที่รักของเรา ก็ห้ามเขาไม่ได้ ที่มา : ลังคีติสูตร ที่.ปา.«>๑/ต๔0,อาฆาตปฐวินยสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.นวก. 1อฅ/ต0 นว อาฆาตปฎิวินยา ะ 'อนตุถํ เม อจริ, ตํ คูเฅตฺถ ลพภา'ติ อาฆาตํ ปฏิวิเนติ ... จรติ ... จริสฺสติ ... ริเยสส เม มนาปสฺส อนตุถํ อจริ ... จรติ ... จริสุสติ ... อปฺปียสส เม อมนาปสุส อตฺถํ อจริ ... จรติ ... จริสสติ, ตํ ถูเฅฅถ ลพภา'ติ อาฆาตํ ปฎิวิเนติ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๙ ๒๑๓ แปล : เหตุเป็นเครื่องกำจัดความอาฆาต ๙ คือ กำ จัดความ อาฆาตเสียด้วยคิดว่าเขาได้ประพฤติส์งที่ไฝเป็นประโยชน์แก'เราแล้ว เพราะ เหตุนั้น การที่จะไฝให้มีการประพฤติเซ่นนั้นจะหาได้!นบุคคลนั้นแต่ที่ไหน ๑ ... กำ จัดความอาฆาดเสียด้วยคิดว่า เขาจักประพฤติสิงที่เป็นประโยชน์แก่ บุคคล^ฝเป็นที่รักไฝเป็นที่ชอบใจของเรา เพราะเหตุนั้น การที่จะไฝให้มี การประพฤติเซ่นนั้นจะหาได้ในบุคคลนั้นแต่^หน ๑ ฯ สัตตาวาสกถา ว่าด้วยสัตตาวาส ภูมิเป็นที่อยู่ของสัตว์ ๙ ๑. ภูมีที่อยู่ของพวกมนุษย์ เทพบางพวก และวินิปาติกะบางพวก ๒. ภูมีที่อยู่ของพวกพรหมปฐมฌานภูมิ ฅ. ภูมีที่อยู่ของพวกเทพเหล่าอาภัสสระ ๔. ภูมิที่อยู่ของพวกเทพเหล่าสุภกิณหะ ๕. ภูมิที่อยู่ของพวกเทพเหล่าอส์ญญีส์'ตว์ ๖. ภูมิที่อยู่ของผู้ที่เข้าถึงอากาสานัญจายตน; ๗. ภูมิที่อยู่ของผู้ที่เข้าถึงวิญญานัญจายตนะ ๘. ภูมิที่อยู่ของผู้ที่เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ ๙. ภูมิที่อยู่ของผู้ที่เข้าถึงเนวสัญญานาส์'ญญายตนะ ที่มา ส์'งคีติสูตร ที.ปา. ๑๑/ฅ๕๑, สัตตาวาสสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.นวก. 10ฅ/๒๔ นว สตตาวาส : สนุตา'ส สตุตา นานตุตกายา นานตฺตสฌณิโน, เสยฺยสาใเ มนุสฺสา เอกอุเจ เทวา จ เอกอุเจ จ วินิปาดิกา, อยํ ปจใม สตตาวาโส สนุตาๅโส สตุตา สพฺพไส อากิญจณจายตฟ้ สมติคุกมม www.kalyanamitra.org

๒๑๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั ฌวสณณานาสณฌายตยูปคา, อยํ นวโม สตุดาวาโส ฯ แปล : สัตตาวาล ภูมิเป็นที่อยู่ของสัตว์ ๙ คือ ดูก่อนผู้มิอายุ ทั้งหลาย มิสัตว์พวกหนึ่งมีกายต่างกัน ทั้งมิสัญญาต่างกัน เซ่น พวกมนุษย์ เทพบางพวก และพวกวินิปาติกะบางพวก นี้คือสัตตาวาลข้อที่ ๑ มิสัตว์ พวกหนึ่งมิกายต่างกัน แต่มิสัญญาอย่างเดียวกัน เซ่น พวกเทพผู้นับ เนึ่องในพวกพรหมซึ่งเกิดในภูมิปฐมฌาน นี้คือสัตตาวาลข้อที่ ๒ มิสัตว์พวก หนึ่งมิกายอย่างเดียวกัน แต่มิสัญญาต่างกัน เซ่น พวกเทพเหล่าอากัลสระ นี้คือสัตตาวาลข้อที่ ฅ มิสัตว์พวกหนึ่งมิกายอย่างเดียวกัน ทั้งมิสัญญาอย่าง เดียวกัน เซ่นพวกเทพเหล่าลุภกิณหะ นี้คือสัตตาวาลข้อที่๔ มิสัตว์พวกหนึ่ง ไม่มิสัญญา ไม่มิความรู้สิกเลวยอารมณ์ เซ่นพวกเทพเหล่าอสัญญีสัตว์ นี้ เป็นสัตตาวาลข้อที่ ๕ มิสัตว์พวกหนึ่งเพราะล่วงเสิยซึ่งรูปสัญญาโดยประการ ทั้งปวง เพราะดับปฏิฆสัญญา เพราะไม่ใส่ใจถึงนานัตตสัญญา เข้าถึง อากาลานัญจายตนะด้วยมนสิการว่า ซากาศหาที่ลุดมิได้' นี้คือสัตตาวาล ข้อที่ ๖ มิสัตว์พวกหนึ่งเพราะล่วงเสืยซึ่งอากาลานัญจายตนะโดยประการ ทั้งปวงแล้ว เข้าถึงวิญญานัญจายตนะด้วยมนสิการว่า 'วิญญาณไม่มิที่สุด' นี้คือสัตตาวาลข้อที่ ๗ มิสัตว์พวกหนึ่งเพราะล่วงเสียซึ่งวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงแล้ว เข้าถึงอากิญจัญญายตนะด้วยมนสิการว่า'ไม่มิอะไร' นี้คือสัตตาวาลข้อที่ ๔ มิสัตว์พวกหนึ่ง เพราะล่วงเสียซึ่งอากิญจัญญายตนะ โดยประการทั้งปวงแล้ว เข้าถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะ นี้คือสัตตาวาล ข้อที่ ๙ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๑๕ อนุใ]พพวิหารกถา ว่า!!วยธรรมเครื่องอยู่ที่ประณีตขึ้นไปตามลำดับ ๙ ๑. บรรลุปฐมฌานอยู่ ๒. บรรลุทุติยฌานอยู่ ฅ. บรรลุตติยฌานอยู่ ๔. บรรลุจตุตถฌานอยู่ ๕. เข้าถึงอากาสานัญจายตนฌานอยู่ ๖. เข้าถึงวิญญาณัญจายตนฌานอยู่ ๗. เข้าถึงอากิญจัญญายตนฌานอยู่ ๘. เข้าถึงเนวส์'ญญานาสัญญายตนฌานอยู่ ๙. เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ ทืมา : สังคีติสูตร ที.ปา. ๑๑/๓๔ฅ. อนุปุพพวิหารสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.นาก. ๒๓/๓๒ นว อทุใ]พุพวิหารา ะ อิธา^โส ภิกขุ วิวิจุเจว กาเมหิ วิวิจฺจ อภูสเลหิ ธมฌหิ สวิตคุกํ สวิจารํ วิเวกชํ ปีติธุ[ขํ ปฮมํ ฌาใ5 อปสมปชุช วิหรติ... ทุติยํ ผาใร ... ตติยํ ฌาใ4 ... จตุตุถํ ผา'นํ ... อากาสานณจายด'น วิญผาณผุจายต'นํ ... อาภิญจญณายต'มํ ... เนวสณผานาสญเบายต'นํ ... สพฺพใส เนวสณผานาสผผายตนํ สมติฤกมม สผผาเวทยิตนิโรธํ อปสมปชุช วิหรติ ฯ แปล : อนุปุพพวิหาร (ธรรมเครื่องอยู่'กี่ประณีตขึ้นไปตามลำดับ) ๙ คือ ดูก่อนผู้มีอายุ'กั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวิ'นัย'นี้สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน กี่มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดแต่วิเวกอยู่ ๑ บรรลุทุติยฌานกี่มีความผ่องใสโนภายโน มีภาวะกี่จิต www.kalyanamitra.org

๒๑๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั เป็นเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจารเพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุข อันเกิตแต่สมาธิอยู่ ๑... บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า 'ผู้ ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข' ดังนี้อยู่ ๑ ... บรรลุจตุตถฌาน ที่ไม่มีทุกข1ม่มีสุข มีสติบริสุทธึ๊เพราะอุเบกขา เพราะละสุขละทุกฃ1ด้และ เพราะโสมนัสโทมนัสดับไปก่อนแล้วอยู่ ๑ ... เข้าถึงอากาสานัญจายตนะโตย มนสิการว่า 'อากาศหาที่สุตมิได้' ดังนี้อยู่ ๑ ... เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ โตยมนสิการว่า 'วิญญาณไม่มีที่สุต' ดังนี้อยู่ ๑ ... เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ โตยมนสิการว่า 'ไม่มีอะไร' ดังนี้อยู่ ๑ ... เข้าถึงเนาสิ'ญญานาสิ'ญญายตนะ อยู่ ๑ เพราะล่วงเนาสิ'ญญานาสิ'ญญายตนะโตยประการทั้งปวง เข้าถึง สิ'ญญาเวทยิตนิโรธอยู่ ๑ ฯ อนุพพนิโรธกถา ว่าด้วยธรรมที่ดับต่อกันไปตามลำดับ ๙ ๑. บรรลุปฐมฌาน เป็นอันดับกามสิ'ญญา ๒. บรรลุทุติยฌาน เป็นอันดับวิตกวิจาร ต. บรรลุตติยฌาน เป็นอันดับปีติ ๔. บรรลุจตุตถฌาน เป็นอันดับลมอัสสาสป็สสาสะ ๕. เข้าอากาสานัญจายตนฌาน เป็นอันดับรูปสิ'ญญา ๖. เข้าวิญญาณัญจายตฺนฌาน เป็นอันดับอากาสานัญจายตนสิ'ญญา ๗. เข้าอากิญจัญญายตนฌาน เป็นอันดับวิญญาณญจายตนสิ'ญญา ๘. เข้าเนวสิ'ญญานาสิ'ญญายตนฌาน เป็นอันดับอากิญจัญญายตนสิ'ญญา ๙. เข้าสิ'ญญาเวทยิตนิโรธ เป็นอันดับสิ'ญญาและเวทนา www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๑๗ ที่มา : สังคีติสูตร ที.ปา. ๑๑/ฅ๔๔,อนุปุพพนิโรธสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.นาก. ๒ต/ต๑ นว อบุใJพฺพนิโรธา: ปฮมํ ฌานํ สมาปน.นสส กามสณ.ณา นิรุท.ธา โหติ ... ชุติยํ ฌานํ สมาปน.นสุส วิตกกวิจารา ... ฅติยํ ฌานํ สมาปนุนสส ปีติ ... จดูตลํ ฌาฟ้ สมาปน.นสฺส อสุสาสปสสาสา ... อากาสานณ.จายฅนํ สมาปน.นสุส รูปสณ.ณา ... วิณ.ณาณณจายฅนํ สมาปน.นสุส อากาสา- นณ.จายฅนสณ.ณา ... อากิณ.จณฺณายฅนํ สมาปนุนสุส วิณ.ณาณณ.จายฅน- สผณา ... ฌวสณ.ณานาสญณายฅนํ สมาปน.นสุส อากิณจณ.ณายฅนสณ.ณา ... สณ.ณาทฑยิฅนิโรธํ สมาปนฺนสุส สณ.ณา จ เวทนา จ นิรูท.ธา โหนุติ ฯ แปล : อนุปุพพนิโรธ(ธรรมที่นับต่อเนื่องกันไปตามลำดับ)๙ คือ เมื่อเข้าปฐมฌาน กามกัญญาย่อมดับไป ๑ เมื่อเข้าทุติยฌาน วิตกวิจาร ย่อมดับไป ๑ เมื่อเข้าตติยฌาน ปีติย่อมดับไป ๑ เมื่อเข้าจตุตถฌาน ลม อัสสาละและปีสลาสะย่อมดับไป ๑ เมื่อเข้าอากาสานัญจายตนสมาบัติ รูปกัญญาย่อมดับไป ๑ เมื่อเข้าวิญญาณัญจายตนสมาบัติ อากาสานัญ- จายตนกัญญาย่อมดับไป ๑ เมื่อเข้าอากิญจัญญายตนสมาบัติ วิญญาถ!ญ- จายตนกัญญาย่อมดับไป ๑ เมื่อเข้าเนากัญญานากัญญายตนสมาบัติ อากิญจัญญายตนกัญญาย่อมดับไป ๑ เมื่อเข้ากัญญาเวทยิตนิโรธ กัญญา และเวทนาย่อมดับไป ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๑๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั เฑวตาภาสิตวิสัชชนากถา ว่าด้วยพระพุทธเจ้าทรงแก้ภาษิตของเทวดา ๙ หมวด หมวดที่ ๑ ที่มา : นันทติสูตร เทวตาลังยุต สํ.ส. ๑๕/๑๒ เทวภาษิต นนุทติ 1^ตเตหิ ว่ตุติมา โคมิโก โคหิ ตเถว นนุทติ ลูปธีหิ นรชุส นนทนา นหิโส นนุทติ โย นิรูปธิ ฯ แปล : ผู้มีบุตรย่อมเพลิดเพลินเพราะบุตร ผู้มีโคย่อม เพลิดเพลินเพราะโค ผู้คนย่อมเพลิดเพลินเพราะกามคุณ ๕ ผู้ปราศจากกามคุณ ๕ ย่อมไม่เพลิดเพลินเลย ฯ พุทธภาษิต โสจติ ปุต.เตหิ ปุฅ.ติมา โคมิโก โคหิ ตเลว โสจติ ลูปธีหิ นรสุส โสจนา นหิโส โสจติ โย นิรูปธิ ฯ แปล : ผู้มีบุตรย่อมโศกเศร้าเพราะบุตร ผู้มีโคย่อมโศกเศร้า เพราะโคเซ่นเดียวกัน ผู้คนย่อมโศกเศร้าเพราะ กามคุณ ๕ ผู้ปราศจากกามคุณ ๕ ย่อมไมโศกเศร้าเลย ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๙ ๒๑๙ หมวดที่ ๒ ที่มา : ใ4ตถิปุตตสมสูตร เทวดาส์งยุต สํ.ส. ๑๕/๑ต เทวภาษิต : นตุลิ ปุตตสมํ เปมํ นตุร โคสมิกํ ธนํ นตุถิ อุ[ริยสมา อาภา สมุทุทปรมา สรา ฯ แปล : ความรักเสมอด้วยบุตรไม่มี ทรัพย์เสมอด้วยโคไม่มี แสงสว่างเสมอด้วยพระอาทิตย์Iม่มี สระนํ้าทั้งหลายมี มหาสมุทรเป็นเยี่ยม ฯ พุทธภาษิต : นตถิ อตุตสมํ เปมํ นตถิ ธณณสมํ ธาร นตุร ปณณาสมา อาภา ^ฏุร เว ปรมา สรา ฯ แปล : ความรักเสมอด้วยความรักตนไม่มี ทรัพย์เสมอด้วย ข้าวไม่มี แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี สระนํ้า ทั้งหลายมีฝนเป็นเยี่ยม ฯ หมวดที่ ๓ ที่มา : ขัตติยสูตร เทวตาส์เงยุต สํ.ส. ๑๕/๑๔/๙ เทวภาษิต : ฃตติโย ฑิปฑํ เสฎฺโฮ พลิพาไโธ จดูาเปทํ โกมารี เสฏรา ภริยาาร โย จ า]ตตาน า]พุพโช ฯ แปล : พระมหากษัตริย์เป็นยอดแห่งสัตว์สองเท้า โคผู้เป็น ยอดแห่งสัตว์สีเท้า สตรีแต่งงานเมื่อยังเป็นกุมารีเป็น ยอดแห่งภรรยา ลูกที่คลอดทิแรกเป็นยอดของบุตร ฯ www.kalyanamitra.org

๒๒๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั พุทธภาษิต : สมฺพุทุโธ ฑิปฑํ เสฎโ« อาชานิโย จตุปุปทํ อุ[สฺสูสา เสฎุฮา ภริยานํ โย 1^ตตานมุสสโว ฯ แปล : พระส์'มมาส์มพุทธเจ้าเป็นยอดแห่งส์'ตว์สองเท้า ม้า อาชาไนยเป็นยอดแห่งสัตว์ส์เท้า ภรรยาที่อยูในโอวาท เป็นยอดแห่งภรรยา บุตรที่เซี่อฟ้งเป็นยอดแห่งบุตร ฯ หมวดที่ ๔ ทีมา : กึททสูตร เทวตาลังยุต สํ.ส. ๑๕/๕๒ เทวภาษิต : กึทโท พลโท โหติ กึทโท โหติ วณุณโท กึทโท อ[ุ ขโท โหติ กึทโท โหติ จคุชุโท โก จ สพพทโท โหติ ตํ เม อกขาหิ ปุจฉิโต ฯ แปล : บุคคลให้อะไรซื่อว่าไท้กำลัง ให้อะไรซื่อว่าให้วรรณะ ให้อะไรซื่อว่าให้ความสุข ให้อะไรซื่อว่าให้จักษุ และผู้ เซ่นไรซื่อว่าให้ทุกอย่าง พระองค์ถูกถามแล้วขอไดโปรด ตรัสตอบข้าพระองค์ด้วย ฯ พุทธภาษิต : อนนโท พลโท โหติ วตุถโท โหติ วณฺฌโท ยานโท อ[ุ ขโท โหติ ทีปโท โหติ จฤชุโท โส จ สพุพทโท โหติ โย ททาติ อุปสุสยํ อมตนทโท จ โส โหติ โย ธมมมบุสาสติ ฯ แปล : ผู้โห้อาหารซื่อว่าให้กำลัง ผู้ให้ผ้าซื่อว่าให้วรรณะ ผู้ให้ยานพาหนะซื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีปโคมไฟ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๒๑ ซื่อว่าให้จักษุ ^ห้ที่พักอาสัยซื่อว่าให้ทุกอย่าง ส่วนผู้ ส์งสอนธรรมซื่อว่าให้อมตะ {ส์งVIโม่ตาย) ฯ หมวดที่ ๕ ที่มา : วนโรปสูตร เทวดาส์งยุต ฟ้.ส.๑๙๔๗ เทวภาษิต : เกสํ ทิวา จ รตุโต จ สทา 1]ณณํ ปวฑฺฒติ ธมมฎฺฮา สีลสมปนนา เก ชนา สคุคคามิโน ฯ แปล : บุญย่อมเจริญทั้งกลางวันและกลางคืนแก่คนพวกไหน คนพวกไหนตั้งอยู่ในธรรมและสมบูรณ์ด้วยคืลแล้วย่อม ไปส่สวรรค์ ฯ พุทธภาษิต : อารามโรปา วนโรปา เย ชนา เสตุการถา ปปผฺจ อุทปานผจ เย ททนุฅิ อุปสสยํ เตสํ ทิวา จ รตุโต จ สฑา 1]ณณํ ปวฑฺฒติ ธมมฎฺฮา สีลสมุปนนา เต ชนา สคคคามิโน ฯ แปล : คนเหล่าใดสร้างวัดวาอาราม ปลูกปาปลูกสวน ปลูก ด้นไม่ให้ร่มเงา สร้างสะพาน สระนํ้า บ่อนํ้า และ ที่พักอาสัยให้เ{เนทาน บุญย่อมเจริญแก่คนเหล่านั้นทั้ง กลางวันและกลางคืนในกาลทุกเมื่อ ทั้งคนเหล่านั้นยังตั้ง อยู่ในธรรม สมบูรณ์ด้วยคืล ย่อมไปลู่สวรรค์แน่นอน ฯ www.kalyanamitra.org

๒๒๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงศ์ หมวดที่ ๖ ที่มา : อรซสาสูตร เทาตาลังยุต ลั.ส. ๑๕/๕๑ เทวภาษิต : กีธ[ุ ยาว ชรา สาธุ กีอ[ุ สาธุ ปติฎฺริตํ กึธ[ุ นรานํ รตนํ กึอ[ุ โจเรหิ 'คูหรํ ฯ แปล : อะไรยังประโยซ'นใ'ท้สำเร็จตราบเท่าชรา อะไรตั้งมั่น แล้วยังประโยช'นให้สำเร็จ อะไรเป็นรัตนะของคนทั้งหลาย อะไรโจรลักไปไม่ได้ ฯ 'พุทธภาษิต : สีลํ ยาว ชรา สาธุ สทฺธา สาธุ ปติฎจิตา ปณฺณา นรานํ รฅ'น า^ณณํ โจเรหิ คูหรํ ฯ แปล : สืลยังประโยช'น!'ห้สำเร็จตราบเท่าชรา ศรัทธาตั้งมั่น แล้วยังประโยช'นใฟัสำเร็จ ปัญญาเป็นรัตนะของคน ทั้งหลาย บุญยันโจรลักไปไม่ได้ ฯ หมวดที่ ๗ ที่มา : มิตตสูตร เทาตาลังยุต ลั.ส. ๑๕/๕ฅ เทวภาษิต : กึอ[ุ ปสวโต มิตฺตํ กึธุ[ มิต.ติ สเก ฆเร กึ มิต.ติ อต.ถชาตสส กึ มิตุติ สมุปรายิกํ ฯ แปล : อะไรเป็นมิตรของคนเดินทาง อะไรเป็นมิตรในเรือน ของตน อะไรเป็นมิตรของคนที่มีธุระเกิดขึ้น อะไรเป็น มิตรดิดตามตนไปถึงภพหน้า ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๒๓ พุทธภาษิต : สตุโถ ปสวโต มิตุตํ มาตา มิตตํ สเก ฆเร สหาโย อตถชาตสฺส โหติ มิตตํ ปุนปใ]นํ สยํ กตานิ 1]ญผานิ ดํ มิดดํ สมปรายิคํ ฯ แปล ; พวกหมู่เกวียน(พวกโคต่าง) เป็นมิตรของคนเดินทาง มารดาเป็นมิตรในเรือนของตน สหายเป็นมิตรของคนที่ มีธุระเกิดขึ้นเนืองๆ บุญที่ตนทำไว้แล้วเป็นมิตรติดตน ตามไปถึงภพหน้า ฯ หมวดที่ ๘ ที่มา ตัณหาสูตร เทวดาตังยุต ตั.ส. ๑๕A)ต เหวภาษิต ะ เกนชุอุ[ นิยติ โลโก เกนสุอุ[ ใ]ริกิสุสติ กิสุสสุส เอกธมมสุส สพฺเพว วสมนวคู ฯ แปล : โลกอันอะไรนำไป อันอะไรเสิอกไสไป โลกทั้งหมด ย่อมเป็นไปตามอำนาจของธรรมอันหนึ่งคืออะไร ฯ พุทธภาษิต : ตณุหาย นียติ โลโก ตณฺหาย ปริกิสุสติ ตณฺหาย เอกธมมสุส สพฺเพว วสมนวฎ ฯ แปล : โลกอันตัณหานำไป อันตัณหาเสิอกไสไป โลกทั้งหมด ย่อมเป็นไปตามอำนาจของธรรมอันหนึ่งคือตัณหา ฯ www.kalyanamitra.org

๒๒๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั หมวดที่ ๙ ที่มา : นซีรติสูตร ทวดาลังยุต ลั.ส. ๑๕/๗๖/๕๖ เทวภาษิต : กึสุ ชีรติ กึ น ชีรติ กึอ[ุ ยูปุปโถติ ๅจจติ กึสู ธมฺมานํ ปริปนุโถ กีธ[ุ รดตินฺฑิวกฃโย ถี มลํ พรหมจริยสุส ถี สินานมโนทกํ กติ โลกสฺมิ ฉิทุทานิ ยตุถ จิตุตํ น ติฎฮติ ฯ แปล : อะไรหนอย่อมเสือม อะไรหนอไม่เส์อม อะไรหนอที่ ท่านเรียกว่าทางผิด อะไรหนอเป็นอันตรายแห่งธรรม ที่งหลาย อะไรหนอย่อมสินไปตามคืนและวัน อะไร เป็นมลทินของพรหมจรรย์ อะไรมิโซ่นํ้าแต่เป็นเครื่อง ชำ ระล้างโนโลก มีซ่องกี่ซ่องที่จิตตั้งอยู่ไม่ได้ ฯ พุทธภาษิต : รูป ชีรติ มชุจานํ นามโดฅตํ น ชีรติ ราโค อุปุปโถติ รูชุจติ โลโภ ธมมานํ ปริปนุโถ วโย รตุตินุทวกฃโย อิตถี มลํ พรหมจริยลุ[ส เอดถายํ สชชเด ปชา ดโป จ พรหมจริยณจ ตํ สินานมโนทกํ ฉ โลกสมิ ฉิฑทานิ ยตฺถ จิตฺตํ น ติฎฺฮติ ฯ แปล : ร่างกายของอัตว์ทั้งหลายย่อมเส์อม ซี่อและตระกูล ย่อมไม่เสือม ราคะท่านเรียกว่าทางผิด ความโลภเป็น อันตรายแห่งธรรมทั้งหลาย วัยย่อมสินไปตามคืนและวัน หญิงเป็นมลทินของพรหมจรรย์ หมู่สัตว์ย่อมข้องอยู่โน หญิงนี้ ตบะและพรหมจรรย์ทั้งนั้นมิโซ่นํ้า แต่เป็นเครื่อง ชำ ระล้างโนโลกได้ มีซ่องอยู่ ๖ ซ่องที่จิตตั้งอยู่ไม่ได้ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๙ ๒๒)๕ สังฆคุณกถา ว่าด้วยพระสังฆคุณ ๙ ๒. รุชุปฎิฟ้นโน I ฅ. ญายปฏิฟ้นโน ผู้ปฏิบัติเป็นธรรม ๔. สามืจิปฏิฟ้นโน ผู้ปฏิบัติสมควร ๕. อาชุเนยโย ผู้ควรแก่ของบูชา ๖. ปาชุเนยโย ผู้ควรแก่ของต้อนรับ ๗. ทักฃิเณยโย ผู้ควรแก่ของทำบุญ ๘. อัญชลิกรณีโย ผู้ควรแก่การทำอัญชลี น ^ ๙. อชุตตรัง ใเญญักเขตตัง โลกัสสะ ผู้เป็นเนื้อนาบุญของชาวโลกที่ไฝมี นาบุญอีนยิงกว่า ที่มา อุโปสถสูตร ทุติยปัณณาสก์ องฺ.ติก. ๒©/๙๖๙ ธ[ุ ปฎิปนโน ภควโต สาวกสงฺโฆ, อุธุปฏิปนุโน ภควโต สาวกสงุโฆ, ณายปฎิปนุโน ภควโต สาวกสงุโฆ, สามีจิปฎิปนุโน ภควโต สาวกสงุโฆ, อาชุเนยุโย, ปาชุเนยุโย, ทกขิเณยุโย, อณชลิกรณีโย, อนุตตรํ ijqณคุเขตตํ โลกสส ฯ แปล : (ดูก่อนวิสาขา จิตที่เศร้าหมองย่อมทำให้ผ่องแผ้วไต้ต้วย ความพยายาม ก็จิตที่เศร้าหมองจะทำให้ผ่องแผ้วไต้ต้วยความพยายามอย่างไร คือ อริยสาวกในธรรมวินัยนื้ย่อมระลึกถึงพระสงฆ์ว่า) 'พระสงฆ์สาวกของ พระผู้มีพระภาคเจ้าปฏิบัติดีแล้ว ปฏิบัติตรง ปฏิบัติเป็นธรรม ปฏิบัติสมควร คือค่แห้งบรษ ๔ ค่ เป็น ๘ บุรษบคคล พระสงฆ์สาวกของพระผ้มีพระภาคเจ้า www.kalyanamitra.org

๒๒๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั นี้ควรแก่ของบูชา ควรแก่ของต้อนรับ ควรแก่ของทาบุญ ควรแก่การทำ อัญชลี ฟ็นเนี้อนาบุญของชาวโลกที่ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า' ฯ ปุคคลกถา ว่าด้วยบุคคลที่ปรากฏในโลก ๙ ๑. บุคคลผู้ฟ้นพระอรหันต์ ๒. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระอรหันต์ ต. บุคคลผู้เป็นพระอนาคามี ๔. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระอนาคามี ๕. บุคคลผู้เป็นพระสกทาคามี ๖. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระสกทาคามี ๗. บุคคลผู้เป็นพระโสดาบัน ๘. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระโสดาบัน ๙. บุคคลผู้เป็นปุถุชน (ผู้มีกิเลสหนา) ที่มา : ถุคคลสูดร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.นวก.๒๙๙ นวยิเม ภิกขเว ปุคคลา สนฺโต ส์วิชชมานา โลกสมี ... อรหา, อรหตฺตาย ปฏิปนฺโน, อนาคามี, อนาคามิผลสจฉิกิริยาย ปฎิปนโน, สกทาคามี, สกทาคามิผลสจฉิกิริยาย ปฎิปนโน, โสตาปนฺโน, โสตาปตุติ- ผลสจฉิกิริยาย ปฏิปนฺโน, ปุฤชุชโน ฯ แปล ะ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๙ ประ๓ทนี้มีปรากฎอยูโน โลก บุคคล ๙ ประเภทคืออะไรบ้าง คือ พระอรหันต์ ๑ ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อ ความเป็นพระอรหันต์ ๑ พระอนาคามี ๑ ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งที่ง www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๒(^ อนาคามิผล ๑ พระสกทาคามี ๑ ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ๋งสกทาคามิผล ๑ พระโสดาบัน ๑ ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาป้ตติผล ๑ ปุถุชน ๑ ฯ อา เนยยาทิปุคคลกฝืา ว่าด้วยบุคคลที่ควรแก่ของคำใาบเป็นต้น ๙ ๑. บุคคลผู้เปีนพระอรหันต์ ๒. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระอรหันต์ ฅ. บุคคลผู้เป็นพระอนาคามี ๔. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระอนาคามี ๕. บุคคลผู้เป็นพระสกทาคามี ๖. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระสกทาคามี ๗. บุคคลผู้เป็นพระโสดาบัน ๘. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระโสดาบัน ๙. บุคคลผู้เป็นโคตรภู (ผู้จวนจะเป็นพระอริยบุคคล) ที่มา : อาทุเนยยสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.นาก.๒๙๑อ นวยิเม ภิฤขเว ปุคคลา อไชุเนยฺยา ปาชุเฬยุยา ทฤขิเณยุยา อณชลิกรณียา อบุตุตเ ปุณณณฃตุตํ โลกรุ[ส ... อรหา, อรหดตาย ปฎิปนุโน, อนาคามี, อนาคามิผลสจฉิกิริยาย ปฎิปนุโน, สกทาคามี, สกทาคามิผลสจฺฉิกิริยาย ปฎิปนุโน, โสดาปนุโน, โสดาปดฺดิผลสจุฉิกิริยาย ปฏิปนุโน, โคตฺรฎ ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๙ประเภทนี้เป็นผู้ควรแก่ของ คำ นับ เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรแก่ของทำบุญ เป็นผู้ควรทำ www.kalyanamitra.org

๒๒๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั อัญชลี เป็นเนื้อนาบุญของซาวโลกที่ไฝมีนาบุญอื่นยิ่งกว่า บุคคล ๙ประเภท คืออะไรบ้าง คือ พระอรหันต์ ๑ ... โคตรภูบุคคล (ผู้อยู่หัวเลี้ยวหัว ต่อระหว่างความเป็นพระอริยบุคคลกับปุถุชน) ๑ ฯ นาลังกลกถา ว่าด้วยลักษณะตระกูลที่ภิกษุไฝควรเข้าไป ๙ ๑. ต้อนรับด้วยความไม่เต็มใจ ๒. ไหว้ด้วยความไม่เต็มใจ ต. ให้อาสนะด้วยความไม่เต็มใจ ๔. ซ่อนของที่มีอยู่ ๕. มีของมาก แต่ให้น้อย ๖. มีของประณีต แตให้ของปอนๆ ๗. ให้ด้วยความไม่เคารพ ไม่ให้ด้วยความเคารพ ๘. ไม่นั่งใกล้เพื่อฟ้งธรรม ๙. ไม่ยินดีคำใ5jดของภิกษุนั้น ที่มา : กลสูตร ปฐมปัณณาสก์ อง..นวก. เอต/๑๗ นวหิ ภิกขเว องฺเคหิ สมนุนาคตํ ถูลํ อนุปกนุตวา วา นาลํ อุปคนุดู๊, อุปคนุตุวา วา นาลํ นิสีทิตํ ... น มนาเปน ปจจุฎเฮนุติ, น มนาเปน อภิวาเทนุติ, น มนาเปน อาสนํ เทนุติ, สนตมสฺส ปริดูหนุติ, พชุกฝป็ โถกํ เทนุติ, ปณีตมหิ สูฃํ เทนุติ, อสฤกจจํ เทนุติ โน สฤกจจํ,น อุปนิสีทนุติ ธมมสุสวนาย, ภาสิตมสส น รมิสสนุติ ฯ แปล ะ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตระถูลที่ประกอบด้วยองค์๙ประการ ภิกษุอังไม่เข้าไปก็ไม่ควรจะเข้าไป หรือเข้าไปแล้วก็ไม่ควรจะนั่ง องค์ ๙ www.kalyanamitra.org

นละคผะ] หมวด ๙ ๒๒^ ประการคืออะไรบ้าง คือ ต้อนรับด้วยความไม่เต็มใจ ๑ ... ไม่ยินดีภาษิต ของภิกษุนั้น ๑ ฯ อลังกุลกถา ว่าด้วยลักษณะตระกูลที่ภิกษควรเข้าไป ๙ ๑. ต้อนรับด้วยความเต็มใจ ๒. ไหว้ด้วยความเต็มใจ ฅ. ให้อาสนะด้วยความเต็มใจ ๔. ไม่ซ่อนของที่มีอยู่ ๕. มีของมากก็ให้มาก ๖. มีของประณีตก็ให้ของประณีต ๗. ให้ด้วยความเคารพ ไม่ให้ด้วยความไม่เคารพ ๘. นั่งใกล้เพื่อฟ้งธรรม ๙. ยินดีคำพูดของภิกษุนั้น ที่มา : q«สูตร ปฐมปัณณาสก์ อง..นวก. ๒๙๑๗ นวหิ ภิคขท องฺเคหิ สมนุนาคดํ ^ลํ อนุปคนุดุวา วา อลํ ^ปคนุดุ๊ ... มนาเม่น ม่จุธุฎฺเฮนุติ ... อภิวาเฑนุติ ... อาสนํ เทนุติ, สนุตมสส น ม่ริดุหนุติ, พนุคมหิ พนุคํ เทนุติ, ม่ณีฅมหิ ม่ณืดํ เทนุติ, สกคจจํ เทนุติ ... รุม่นิสีทนุติ ธมมสสวนาย, ภาสิตมสุส รมิสสนุติ ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งทลาย ตระกูลที่ประกอบด้วยองค์๙ประการ ภิกษุยังไม่เข้าไปก็ควรจะเข้าไป หรือเข้าไปแล้วก็ควรจะนั่ง องค์ ๙ ประการ คืออะไรบ้าง คือ ต้อนรับด้วยความเต็มใจ ๑ ... ยินดีคำพูดของภิกษุนั้น ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๓0 คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั อรหัตตาภัพพกถา ว่าด้วยลักษณะของ^ม่ควรบรรลุอรหัต ๙ ๑. ยังละความกำหนัดไม่ได้ ๒. ยังละความคิดประทุษร้ายไม่ได้ ต. ยังละความหลงไม่ได้ ๔. ยังละความโกรธไม่ได้ ๕. ยังละความผูกโกรธไม่ได้ ๖. ยังละความลบหลู่คุณท่านไม่ได้ ๗. ยังละความตีเสมอไม่ได้ ๘. ยังละความริษยาไม่ได้ ๙. ยังละความตระหนีไม่ได้ ที่มา : ภัพพสูตร ทุติยปัณณาสก์ องฺ.นวก. ๒ต/๖๒ นวหิ ภิกฃเว ธมุเม อปุปหาย อภพฺโพ อรหตฅํ สชุฉิกาดุ ... ราคํ โฑสํ โมหํ โกธํ คุปนาหํ มกุฃํ ปลาส์ อิสสํ มจฉริยํ ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยังละธรรม ๙ ประการไม่ได้ ก็ เป็น^ม่สามารถที่จะทำให้แจ้งซึ๋งอรหัตได้ ธรรม ๙ ประการคืออะไรบ้าง คือ ราคะ ความกำหนัด ๑ โทสะ ความคิดประทุษร้าย ๑ โมหะ ความ หลง ๑ โกธะ ความโกรธ ๑ อุปนาหะ ความผูกโกรธ ๑ มักขะ ความ ลบหลู่คุณท่าน ๑ ปลาสะ ความตีเสมอ ๑ อิสสา ความริษยา ๑ มัจฉริยะ ความตระหนี่ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๓๑ นทหรมรณกถา ว่าด้วยสาเหตุที่ไม่ตายแต่วัยหนุ่มสาว ๙ ๑. ประพฤติธรรม ไม่กล่าวมุสา งดเว้นกรรมชั่วทั้งปวง ๒. ฟ้งธรรมทั้งของอส์'ตบุรุษและสัตบุรุษ แล้วเลือกคบแต่สัตบุรุษ ฅ. ให้ทาน ก่อนให้ ขณะให้ ให้แล้วก็ยินดี และไม่เดีอตร้อนใจ ๔. เลี้ยงดูลมณพราหมณ์และคนจนขัตลนทุกประเภทให้อิ่มหนำอยู่เลมอ ๕. ไม่ประพฤตินอกใจกันและกันในระหว่างลามีและภรรยา ๖. งตเว้นจากการฆ่าสัตว์ การสักทรัพย์ ไม่พูตเท็จ ไม่ดื่มนํ้าเมา ๗. มีบุตรที่เกิตในหญิงที่ดีเป็นผู้เฉลืยวฉลาด มีปัญญามาก ๘. ประพฤติสุจริตธรรมเพี่อประโยชน์โลกหน้าพร้อมทั้งครอบครัว ๙. ประพฤติสุจริตธรรมเพี่อประโยชน์โลกหน้าพร้อมทั้งบริวาร ที่มา มหาธัมมปาลชาดก ทสกนิบาต ข.ซา. ๒๗/๑๔๔๑-๑๔๔๙ ธมฺมํ จรไม น มุสา ภณาม ปาปานิ กมมานิ วิวชุชยาม อนริยํ ปริวชุเชม สพุพํ ตสมา หิ อมุหํ ทหรา น มิยุยเร ฯ แปล : (พราหมณ์ผู้เป็นบิดาของธัมมปาลกุมารโพธิสัตว์ตอบ ว่า) พวกเราประพฤติธรรม ไม่กล่าวมุลา งดเว้นกรรมชั่ว งดเว้นกรรมอันไม่ประเลริฐทั้งปวง เพราะเหตุนี้แหละ คนในตระกูลของเราจึงไม่ตายแต่ยังหนุ่มลาว (๑) ฯ www.kalyanamitra.org

๒๓๒ คลังธรรม [พระธรรมกิดดิวงสั ส[ุ โณม ธมมํ อสดํ สดญจ ฬ จาปี ธมฺมํ อสดํ โรจยาม แปล : หิดวา อสนเด น ชหาม สนเด ดสฺมา หิ อมฺหํ ทหรา น มิยุยเร ฯ พวกเราได้ฟังธรรมทั้งของอสัตบุรุษและส์'ตบุรุษแส์ว ไม่ซอบใจธรรมของอสัตบุรุษเลย จึงตีจากอสัตบุรุษเสิย แต่ไม่ตีจากสัตบุรุษ เพราะเหตุนี้แหละคนโนตระกูลของเรา จึงไม่ตายแต่ยังหนุ่มสาว (๒) ฯ แปล : นุ่พุเพว ทานา ส[ุ มนา ภวาม ททํปี เว อดดมนา ภวาม ทตุวาปี เว นาบุดปาม ปจฉา ดสุมา หิ อมหํ ทหรา น มิยยเร ฯ ก่อนจะให้ทาน พวกเราก็เป็นผู้ตั้งใจดี แม้กำสังให้ ก็ซี่นชมยินดี ครั้นให้แล้วก็ไม่เดือดร้อนใจในภายหลัง เพราะเหตุนี้แหละ คนในตระกูลของเราจึงไม่ตายแต่ยัง หนุ่มสาว (ฅ) ฯ แปล : สมเณ มยํ พราหมเณ อๆธิเก จ วณิพุพเก ยาจนเก ทลิๆเท อนุเนน ปาเนน อภิดปปยาม ดสุมา หิ อมหํ ทหรา น มิยยเร ฯ พวกเราเลี้ยงดูสมณพราหมณ์ คนเดินทาง วณิพก ยาจก และคนพวกขัดสนให้อิ่มหนำสำราญด้วยข้าวนํ้า เพราะเหตุนี้แหละ คนในตระกูลของเราจึงไม่ตายแต่ยัง หนุ่มสาว (๔) ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๓๓ มยญอ ภริยํ นาดิคกมาม ภริยาปี อมฌ นาดิฤคมนฺติ อญผดร ฅาหิ พรหมจริยํ จราม ฅสฺมา หิ อมฺหํ ทหรา น มิยยเร ฯ แปล ะ พวกเราไฝนอกใจภรรยา ถึงภรรยาก็ไฝนอกใจพวก เรา พวกเราประพฤติพรหมจรรย์ยกเว้นภรรยาของตน เพราะเหตุนี้แหละ คนในตระกูลของเราจึงไฝตายแต่ยัง หนุ่มสาว (๕) ฯ ปาณาติปาคา วิรมาม สพฺเพ โลเก อทินนํ ปริวชุชยาม อมซชปา โนปี ภณาม คสมา หิ อมหํ ทหรา น มิยุยเร ฯ แปล : พวกเราทุกคนงดเว้นจากปาณาติบาต งดเว้นจากการ ลักทรัพย์ ไฝกล่าวมุสา ไฝส์มนํ้าเมา เพราะเหตุนี้แหละ คนในตระกูลของเราจึงไฝตายแต่ยังหนุ่มสาว (๖) ฯ แปล : เอฅาสุ เว ชายเร ฅมาสุ เมธาวิโน โหนฺฅิ พทุฅปณณา พชุสุสุดา เวทตุนา จ โหนติ ดสุมา หิ อมฺหํ ทหรา น มิยฺยเร ฯ บุตรของพวกเราเกิดในหญิงที่ดีเหล่านั้น เป็นผู้เฉลียว ฉลาด มีปัญญามาก เป็นพหูสูต เรียนจบไตรเพท เพราะเหตุนี้แหละ คนในตระกูลของเราจึงไฝตายแต่ยัง หนุ่มสาว (๗) ฯ www.kalyanamitra.org

๒๓๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั มาตาปีตโร ภคินี ภาคโร จ ใ^ตฺตา จ ทารา จ มยญจ สพุเพ ธมฺมํ จราม ปรโลกเหตุ ตสมา หิ อมหํ ทหรา น มิยฺยเร ฯ แปล : มารดาบิดา พี่น้องชายหญิง บุตรภรรยา และ พวกเราทุกคนประพฤติธรรมเพราะมุ่งประโยซน้!นโลกหน้า เพราะเหตุนี้แหละ คนในตระกูลของเราจึงไฝตายแต่ยัง หนุ่มสาว (๘) ฯ ทาสา จ ทาสี อบุชีวิโน จ ปริจารกา กมมกรา จ สพุเพ ธมมํ จรนฅิ ปรโลกเหตุ ตสมา หิ อมุหํ ทหรา น มิยยเร ฯ แปล : ทาส ทาสี คนอาสัยพวกเราเลี้ยงชีพ คนใช้ และ คนงานทั้งหมด ก็ประพฤติธรรมเพราะมุ่งประโยชน์ใน โลกหน้า เพราะเหตุนี้แหละ คนในตระกูลของเราจึงไม่ ตายแต่ยังหนุ่มสาว (๙) ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๓๕ ปโทสาวหิตลีกถา ว่าด้วยพฤติกรรมของหญิงที่ทำใฟ้สามีเส์อมเสืย ๙ ๑. ซอบไปป๋า ๒. ชอบไปสวน ฅ. ขอบไปท่านํ้า ๔. ชอบไปหาตระกูลญาติ ๕. ชอบไปหาตระกูลอื่น ๖. ชอบส่องกระจกและแต่งตัว ๗. ชอบดี่มนํ้าเมา ๘. ชอบเยี่ยมมองหน้าต่าง ๙. ชอบยืนแอบประตู ที่มา : คุฌาลชาดก อสีตินิบาต ชุ.ชา.๒๘/๘0๘ อารามคมนสีลา จ ชุยยานํ นทึ ณาติปรภูลํ ชุสุสมณฑฬมาj^ดฺตา ยา จิดลี มชชปายินี ยา. จ นิฤโลคนสีลา ยา จ ปทุวารฎุรายินี นวฌเตหิ ราฌหิ ปโทสมาหราเติ อิตุถิโย ฯ แปล ; หญิงย่อมนาความเส์อมเสียมาให้สามีด้วยสาเหตุ ๙ ประการนี้ คือ ชอบไปป่า ๑ ชอบไปสวน ๑ ชอบไปท่า นํ้า ๑ ชอบไปหาตระกูลญาติ ๑ ชอบไปหาตระกูลอื่น ๑ ชอบส่องกระจกและแต่งตัว ๑ ชอบดื่มนํ้าเมา ๑ ชอบ เยี่ยมมองหน้าต่าง ๑ ชอบยืนแอบประตู ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๓๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั นโสราชาฑิกถา ว่าด้วยข้อกำหนดบุคคลที่สมและไม่สมซื่อ ๙ ร). พระราชาผู้ชนะคนที่Iม่ควรขนะ ไม่ชี่อว่าเป็นพระราชา ๒. ผู้เอาชนะเพื่อน ไม่ซื่อว่าเป็นเพื่อน ฅ. ภรรยาผู้!ม่เกรงกลัวสามี ไม่ซื่อว่าเป็นภรรยา ๔. บุตรที่ไม่เลี้ยงดูบิดามารดาที่แก่แล้ว ไม่ซื่อว่าเป็นบุตร ๕. ที่ประชุมซื่งไม่มีลัตบุรุษ ไม่ซื่อว่าสภา ๖. ผู้!ม่พูดเป็นธรรม ไม่ซื่อว่าเป็นลัตบุรุษ ๗. ผู้ละราคะ โทสะ โมหะได้แล้วพูดเป็นธรรม ซื่อว่าเป็นลัตบุรุษ ๘. บัณฑิตผู้อยู่ปะปนกับคนพาล เมื่อไม่พูด กั!ม่รู้ว่าเป็นบัณฑิต ๙. บัณฑิตนั้นต่อเมื่อพูดแสดงอมตธรรม จึงจะรู้ว่าเป็นบัณฑิต ที่มา : มหาสุตโสมชาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา.๒๘/๑00๔-๑00๖ น ใส ราชา โย อเชยยํ ชินาติ น ใส สฃา ใย สฃารํ ชินาติ น สา ภริยา ยา ปติใน น วิเภติ น เต ใ^ตุตา เย น ภรนฺติ ชิณณํ ฯ แปล : พระราชาใดชนะคนที่ไม่ควรชนะ พระราชานั้นไม่ ซื่อว่าเป็นพระราชา ผู้ใดเอาชนะเพื่อน ผู้นั้นไม่ซื่อว่า เป็นเพื่อน ภรรยาใดย่อมไม่กลัวเกรงสามี ภรรยานั้นไม่ ซื่อว่าเป็นภรรยา บุตรเหล่าใดไม่เลี้ยงดูบิดามารดาผู้แก่ แล้ว บุตรเหล่านั้นไม่ซื่อว่าเป็นบุตร ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๓๗ น สา สภา ยดุล น สนุดิ สนฺโต ฬ เด สนฺโฅ พ น ภณนุดิ ธมมํ ราคญจ โทสญจ ปหาย โมหํ ธมมํ ภณนฺคาว ภวนดิ สนุโฅ ฯ แปล : ในที่ประชุมใดไม่มีสัตบุรุษ ที่ประชุมนั้นไม่ซื่อว่าสภา ซนเหล่าใดไม่พูดเป็นธรรม ซนเหล่านั้นไม่ซื่อว่าเป็น สัตบุรุษ คนผู้ละราคะ โทสะ โมหะได้แล้ว พูดเป็นธรรม นั่นแลซื่อว่าเป็นสัตบุรุษ ฯ นาภาสมานํ ชานนฺดิ มิสุสํ พาเลหิ ปณฑิดํ ภาสมานณุจ ชานนดิ เท!สนดํ อมดํปทํ ฯ แปล : บัณฑิตผู้อยู่ปะปนกับคนพาล เมื่อไม่พูด ใครก็ไม่รู้ว่า เป็นบัณฑิต ต่อเมื่อพูดแสดงอมตธรรม จึงจะรู้ว่าเป็น บัณฑิต ฯ ฆราวาสธัมมกถา ว่าด้วยธรรมของผู้ครองเรือน ๙ ๑. มีสืล ๒. สมบูรณ์ด้วยธรรมเนียม ต. ไม่ประมาท ๔. มีปัญญา ๕. ประพฤติถ่อมตน ๖. ไม่เป็นคนกระด้าง ๗. สงบเสงี่ยม ๘. กล่าวล้อยคำจับใจ ๙. อ่อนโยน www.kalyanamitra.org

๒๓๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั ที่มา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๙๒๔๖๔ สีลวา วตุตสมปนุโน อปปมฅโต วิจฤฃโณ นิวาตรุตฺติ อตุถทโธ ล[ุ รโต สฃิโล นุชุ ฯ แปล : ผู้ครองเรือนพึงเนินผู้มีสิล ๑ สมบูรณ์ด้วยมารยาท ๑ ไม่ประมาท ๑ มีปัญญาพิจารณาเหตุผล ๑ ประพฤติ ถ่อมตน ๑ ไม่เนินคนกระด้าง ๑ เนินผู้สงบเสงี่ยม ๑ กล่าวถ้อยคำจับใจ ๑ อ่อนโยน ๑ ฯ มานกถา ว่าด้วยความสำคัญตัว ๙ ๑. เนินผู้ดีกว่าเขา สำ คัญตัวว่าดีกว่าเขา ๒. เนินผู้ดีกว่าเขา สำ คัญตัวว่าเสมอเขา ฅ. เนินผู้ดีกว่าเขา สำ คัญตัวว่าด้อยกว่าเขา (a. เนินผู้เสมอเขา สำ คัญตัวว่าดีกว่าเขา ๕. เนินผู้เสมอเขา สำ คัญตัวว่าเสมอเขา ๖. เนินผู้เสมอเขา สำ คัญตัวว่าด้อยกว่าเขา ๗. เนินผู้ด้อยกว่าเขา สำ คัญตัวว่าดีกว่าเขา ๘. เนินผู้ด้อยกว่าเขา สำ คัญตัวว่าเสมอเขา ๙. เนินผู้ด้อยกว่าเขา สำ คัญตัวว่าด้อยกว่าเขา ที่มา อัตตทัณฑสุตตนิเทฝึ ขฺ.มหา. ๒๙/๑๗๙๔๖๙ นววิเธน มาโน ฯ เสยยสส เสยโยหมสมีติ มาโน ... สทิโสหมสมีติ หีโนหมสฺมีติ ... สฑิสสุส เสยุโยหมลุ[มีติ มาโน ... สฑิโสหมสฺมีติ ... www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๓๙ หึโนหมสมีติ ... หึนสส เสยโยหมสุมีติ มาโน ... สฑิโสหมสุมีติ ... หึโนหมสมีติ มาโน ฯ แปล : มานะ ๙ อย่าง คือ เป็นผู้ดีกว่าเขา สำ คัญตัวว่าดีกว่า เขา ๑ ... เป็นผู้ด้อยกว่าเขา สำ คัญตัวว่าด้อยกว่าเขา ๑ ฯ โลอุตตรธัมมกลา ว่าด้วยโลคุตตรธรรม ๙ ๑. โสดาฟ้ตติมรรค มรรคอันให้ถึงกระแสแห่งพระนิพพานทีแรก ๒. โสดาหึตติผล ผลแห่งการเข้าถึงกระแสแห่งพระนิพพาน ฅ. สกทาคามีมรรค มรรคอันให้ถึงความเป็นพระสกทาคามี ๔. สกทาคามีผล ผลอันพระสกทาคามีพึงได้รับ ๕. อนาคามีมรรค มรรคอันให้ถึงความเป็นพระอนาคามี ๖. อนาคามีผล ผลอันพระอนาคามีพึงได้รับ ๗. อรห้ฅฅมรรค มรรคอันให้ถึงความเป็นพระอรหันต์ ๔. อรหัตตผล ผลอันพระอรหันต์พึงได้รับ ๙. นิพพาน ภาวะที่ตับกิเลสและกองทุกข้!ด้สินเข้ง ที่มา : อัตลุทธารกัณฑ์ จูฟ้นตรวรรค อภิ.สง.. ฅ๙๑๖๒๙ กดเม ธมมา โลคูตฺตรา ฯ จตตาโร มคุคา อปริยาปนนา, จตุตาริ จ สามญณผลานิ นิพพานณจ ฯ อิเม ธมมา โลทุตุตรา ฯ แปล : สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นไฉน คือ มรรค๔ ที่ไม่นับ เนื่องในรัฏทุกข์ สามัญญผล ๔ และนิพพาน สภาวธรรมเหล่านี้ซื่อว่า โลกตตรธรรม ฯ www.kalyanamitra.org

๒๔๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั 1]ริสมลคลา ว่าด้วยมลทินของคน ๙ ๑. โกธะ ความโกรธ ๒. มิ'กขะ ๓. อิสสา ความลบหลู่คุณท่าน (ft. มิ'อฉริยะ ความริษยา ๕. มายา ความตระหนี่ ๖. สาเลยยะ ความเจ้าเลห ๗. มุสาวาท d. ปาปีจฉา ความโอ้อวด ๙. มิจฉาทิฎเ การพูดปด ความปรารถนาลามก ความเห็นผิด ที่มา : นวกปีทเทส ชุททกวัตธุวิภังค์ อภ.วิ. ต๕/๙๖๑/๕๕0 นว ใ^ริสมลานิ ฯ โกโธ มกโข อิสุสา มจฉริยํ มายา สาเลยฺยํ มุสาวาโท ปาปีชุฉา มิจฉาทิฎุฮิ ฯ แปล : ปุริสมละ(มลทินของคน)๙ คือ โกธะ ความโกรธ ๑ ... มิจฉาทิฎฐิ ความเห็นผิด ๑ ฯ หมายเหตุ : โนนวโกวาท โซ้คำส์น ๆ ว่า โกรธ ๑ ลบหลู่บุญ คุณฟาน ๑ ริษยา ๑ ตระหนี่ ๑ มายา ๑ มิ'กอวด ๑ พูดปด ๑ มิความ ปรารถนาลามก ๑ เห็นผิด ๑ (นวโกวาท ฟิมพครั้งที่ ๗๙/เอ๕๕๕ หน้า ๕๗) www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๔๑ ส้มifตติคลา ว่าด้วยสมบ้ติของพระผู้มีพระภาคเ?ๆ ๙ ๑. ชาติสมบ้ต ความถึงพร้อมด้วยชาติตระกูล ๒. โภคสมบติ ความถึงพร้อมด้วยโภคะ ฅ. อาคูสมบติ ความถึงพร้อมด้วยอายุ ๔. อาโรคยสมบติ ความถึงพร้อมด้วยการไม่มีโรค ๕. วัณณสมบติ ความถึงพร้อมด้วยวรรณะ ๖. ฟ้ญญาสมบด ความถึงพร้อมด้วยปัญญา ๗. มา'คูเกาสมบัติ ความถึงพร้อมอันเป็นของมนุษย์ ๘. ฑิพพสมบัติ ความถึงพร้อมอันเป็นทิพย์ ๙. นิพพานสมบัติ ความเข้าถึงพระนิพพาน ที่มา ะ อนุมานปัญหา อนุมานปัญหกัณฑ์ มิสินทปัญหา มิลินฺท.๑/ฅ๕๔ สพพาปเณ มหาราช ภควตา ชาติสมปตุติ ปสาริตา, โภคสมปตติ ... อาคูสมปตติ ... อาโรคยสมปฅฺติ ... วฉเณสมปดฺติ ... ปผุผาสมปดติ ... มาคูสิกาสมุปตุติ ... ทิพพสมปตุติ ... นิ'พพานสมปดติ ปสาริดา ฯ แปล : ดูก่อนมหาบพิตร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแผ่(สมบัติทั้ง ๙ ประการ คือ) สมบัติคือพระชาติ ๑ ... สมบัติคือพระนิพพาน ๑ ไร้ทั้ว ตลาดทั้งหมด(ชงเหล่าคนที่ปรารถนาสมบัตินั้นๆย่อมโ'ห้มูลค่ากรรม(ลง'ตุนทา) ซื้อหาสมบัตินั้นได้ตามที่ปรารถนา บางพวกซื้อหาด้วยการสมาทานคืล บางพวกซื้อหาด้วยการรักษาอุโบสถคืล) ฯ www.kalyanamitra.org

๒๔๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั วิฟ้สสนาญาณกถา ว่าสัวยวิปัสสนาญาณ ๙ ๑. รุทยัพพยาบุฟ้สสนาญาณ ณาณอันตามเห็นความเกิดดับ ๒. ภังคาบุฟ้สสนาญาณ ญาณอันตามเห็นความเส์อมสลาย ฅ. ภยดูปัฏฐานญาณ ญาณอันมองเห็นดังขารปรากฏว่าน่ากลัว ๔. อาฑีนวาบุปัสสนาญาณ ญาณอันคำนึงเห็นโทษ ๕. นิพพิทาบุปัสสนาญาณ ญาณอันคำนึงเห็นด้วยความเบื่อหน่าย ๖. 9^ญจิสุคัมยดาญาณ ญาณอันคำนึงด้วยใคร่จะพ้นไปเสีย ๗. ปฎิสังฃาบุปัสสนาญาณ ญาณอันคำนึงพิจารณาหาทาง ๘. สังขา^เปกขาญาณ ญาณอันเป็นไปด้วยความวางเฉยในดังขาร ๙. สัจจาบุโลมิคญาณ ญาณอันเป็นไปโดยอนุโลมแก่การรู้อริยดัจ ที่มา : ปฏิปทาญาณทัสสนวิฝึทรนิทเทส ปกรถรวิเสสวิสทธิมรรค วิสุV!ธิ. ๒/๗ต๗/ต๑๒ อฏจนุนํ ปน ณาณานํ วเสน สิขาปปตุตา วิปสสนา, นวมญจ สจจานุโลมคณาณนติ อยํ ปฏิปทาฌาณทสสนวิธุ[ทธิ นาม ... คูทยพุ- พยานุปสสนาณาณํ ภงุคานุปลุ[สนาณาณํ ภยดุปฎฺจานณาฌํ อาทีนวา- นุปสสนาผาณํ นิพุพิทานุปสุสนาณาณํ นุญจิดูคมยฅาณาณํ ปฏิสงุขา- นุปสฺสนาผาณํ สงฺขาแปฤขาณาณนุติ อิมานิ อฎจ ณาณานิ เวทิฅพุพานิ ฯ แปล : วิปัสสนาที่ถึงขั้นสุดคือญาณ ๘ และดัจจานุโลมิกญาณ รวมเป็น ๙ นี้ซื่อว่าปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ... พิงทราบญาณทั้ง ๘ เหล่านี้ คือ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ๑ กังคานุปัสสนาญาณ ๑ ภยตุปัฏฐาน ญาณ ๑ อาทีนวานุปัสสนาญาณ ๑ นิพพิทานุปัสสนาญาณ ๑ มุญจิตุ กัมยตาญาณ ๑ ปฏิดังขานุปัสสนาญาณ ๑ ดังขารุเปกขาญาณ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๔๓ สมณทูดคถา ว่าด้วยพระสมณทตที่เผยแผ่พระศาสนายุคแรก ๙ ๑. พระมัชฌันติณลระ ไปประเทศกัสมิระและคันธาระ ๒. พระมหาเทวเถระ ไปมหิงสกมณฑล ฅ. พระรักขิตเถระ ไปวนวาสิประเทศ ๔. พระโยนกรัมมรักขิตเถระ ไปอปรันตกประเทศ ๕. พระมหารัมมรักขิตเถระ ไปมหารัฐประเทศ ๖. พระมหารักขิตเถระ ไปโยนกโลกประเทศ ๗. พระมัชฌิมเถระ ไปหิมรันตประเทศ ๘. พระโสณกะกับพระรุตตรเถระ ไปสุวรรณภูมิประเทศ ๙. พระมหินทเถระ ไปลังกาทวีป ที่มา : ตติยส์งคีติกถา พาหิรนิทานกถา อรรถกถาสมันตปาสาทิกา วิ.อ. ๑/๕๘ โมคคลิดุตติสุสตเถโร กิร อิมํ ตติยสงคีฅึ กตฺวา เอวํ จินJตสิ 'กตฺถ โข อนาคเต สาสนํ รุปุปติฏฺขิดํ ภเวยฺยาสึ''ติ... มชุผนติกตฺเถรํ กสมึรคนธารรฏฺฮํ เปเสสิ ... มหาเทวํตุเถรํ ตเถว วตุวา มหิสกมถเฑลํ เปเสสิฯรกขิตตํเถรํ วนวาสิฯ โยนกธมมรคุขิตตฺเถรํ อปราเตกํฯ มหาธมุม- รกขิตตเถรํ มหารฎุธํ ฯ มหารกขิตตุเถรํ โยนกโลกํ ฯ มชุฌิมตุเถร็ หิมวนุตปปเทสฟิาคํ ฯ โสณกดุเถรผจ รุตดรตเถรณจ สุวณณฎมี ฯ อดตโน สทธิวิหาริกํ มหินุทดฺเถรํ อิเ)ฎิยดเถเรน ... ตมพปณณิทีป เปเสสิ ฯ แปล : ทราบมาว่า พระโมคคลีบุตรสิสสเถระครั้นทำตติย ลังคายนานี้แล้วคิดอย่างนี้ว่า \"ในอนาคตพระพุทธศาสนาจะพึงดำรงมั่นอยู่ ณ ประเทศไหนบ้างหนอ\" เมี่อใคร่ครวญพิจารณาอยู่ก็ประจักษ์ซัดว่า www.kalyanamitra.org

๒๔๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั \"พระพุทธศาสนาจักดำรงมั่นคงอยู่ ณ นานาประเทศเขตปลายแดน (ปัจจันสิมชนบท = ภูมิประเทศที่มีอาณาเขตติดหรือใกล้กับประเทศส่วน กลางของอินเดียสมัยนั้น)\" จึงมอบภารกิจ(ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา) ให้แก่ภิกษุเถระ(ที่ทำตติยส์งคายนา)เหล่านั้น โดยจัดส่งไปยังภูมิประเทศนั้น (จำนวน ๙ สาย) คือ ส่งพระมัซฌันติกเถระไปแคว้นกัสมีระและคันธาระ ๑ ส่งพระมหาเทวเถระไปมหิงสกมณฑลประเทศ ๑ ส่งพระรักขิตเถระไป วนวาสืประเทศ ๑ ส่งพระโยนกธัมมรักขิตเถระไปอปรันตกประเทศ ๑ ส่ง พระมหาธัมมรักขิตเถระไปมหารัฐประเทศ ๑ ส่งพระมหารักขิตเถระไป โยนกโลกประเทศ ๑ ส่งพระมัซฌิมเถระไปส่วนที่เป็นหิมรันตประเทศ ๑ ส่งพระโสณกเถระกับพระอุตตรเถระไปสุวรรณภูมิประเทศ ๑ ส่งพระมหินท เถระผู้เป็นส์'ทธิวิหารืกของตนพร้อมกับพระอิฏฎิยเถระ พระอุตติยเถระ พระล้มพลเถระ และพระกัททสาลเถระไปคัมพปัณณิทวีป ๑ ฯ ที่มา : ตติยลังคีติกถา พาหิรนิทานกถา อรรถกถาสมันตปาศาทิกา วิ.อ. ๑/๖0-๖๓ คนฺฅฺวา คสมืรคนฺธารํ อิสิ มชผนฺดิโค คทา พุฎร นาคํ ปสาเทตวา โมเจสิ พนธฬา พพุ ฯ แปล : ในกาลนั้นพระมัซฌันติกเถระไปยังแคว้นกัสมิระและ แคว้นคันธาระ ทำ นาคที่โหดร้ายให้เลื่อมใสแล้ว ปลดเปลื้องคนจำนวนมากให้พ้นจากปวงกิเลส (๑) ฯ คนควาน รฎจํ มหึสํ มหาเทโว มหิทธิโก โจเทตฺวา เทว่ดูเคหิ โมเจสิ พนุธนา พพุ ฯ แปล : พระมหาเทวเถระผู้มิฤทธี้ยิ่งใหญ่ไปยังแคว้นมหิงสะ แล้วเทศนาล้งสอนคักเตือนประซาซนจำนวนมากให้พ้น จากปวงกิเลสด้วยเทวทูตสูตร (๒) ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๔๕ คนฺตุวาน รกฃิตตฺเถโร วนวาสึ มหิทุธิโก อนุตลิคุเข ฮิโต ตตถ เทเสสิ อนมตคุคิยํ ฯ แปล : พระรักขิตเถระผู้มีฤทธิ้ยิ่งใหญ่ไปยังแฬนวนวาสิแล้ว เหาะเหินเดินอากาศเทศนาส์งสอนอนมตัคคคิยสูตรแก่ ประซาซน ณ แคว้นนั้น (ฅ) ฯ อปรนุตํ วิคาหิตุวา โยนโก ธมมรกฃิโต อคุคิกขนุโธปนเมเนตถ ปสาเทสิ ชเน พรุเ ฯ แปล : พระโยนกธัมมรักขิตเถระไปถึงแคว้นอปรันตกะแล้ว ส์งสอนประซาซนจำนวนมากให้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ด้วยการแสดงอัคคิกขันโฮปมสูตร (๔) ฯ มหารฏฮํ อิสิ คนุตุวา โส มหาธมมรกขิโต ชาตกํ กถยิชุวาน ปสาเทสิ มหาชนํ ฯ แปล : พระมหาธัมมรักขิตเถระนั้นไปยังแคว้นมหารัฐแล้วยก เรื่องในซาดกมาอังสอนประซาซนจำนวนมากให้เลื่อมใส ในพระพุทธศาสนา (๕) ฯ โยนกรฏฺฮํ ตทา คนุตวา โส มหารคุขิโต อิสิ กาฬการามธุ[ชุเตน เต ปสาเทสิ โยนเก ฯ แปล : พระมหารักขิตเถระนั้นไปยังแคว้นโยนกในครั้งนั้นยัง ประซาซนซาวโยนกเหล่านั้นให้เลื่อมใสในพระพุทธ ศาสนาด้วยกาฬการามสูตร (๖) ฯ คนุชุวาน มชุฒิมชุเถโร หิมวนุตํ ปสาทยิ ยกขเสนํ ปกาเสนุโต ธนุมจกกปฺปวชุตนํ ฯ www.kalyanamitra.org

1ค)๔b คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั แปล : พระมัซฌิมเถระไปยังทิมวันตประเทศ ประกาศ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรส์งสอนยักษ์พร้อมทั้งบริวารให้เลื่อมใส ในพระพุทธศาสนา (๗)ฯ ธุ[วณฺณฎมึ คนฺตุวาน โสชุตฅรา มหิทธิกา ปีสาเจ นิทธเมตวา พุรหุมชาลมเทสิ^ ฯ แปล : พระโสณเถระและพระอุตตรเถระผู้มีฤทธานุภาพมาก ไปยังดินแดนสุวรรณภูมิแล้วปราบพวกภูตผีปีศาจได้แล้ว เทศนาพรหมซาลสูตรเผยแผ่พระพุทธศาสนา (๘) ฯ ที่มา : ตติยสังคีติกถา พาหิรนิทานกถา อรรถกถาสมันตปาสาทิกา วิ.อ. ๑/๕๖ ตโต มหินฺโท อป็ฎิโย รุตุติโย สมพโล ตถา ภททนาโม จ ปณุฑิโค เอเต นาคา มหาปญฌา ชมฺพุทีปา อิธาคตา วินยํ เต วาจยึสุ ปีฎคํ ตมพปณุผิยา ฯ แปล : จากนั้น พระเถระผู้ประเสริฐมิปัญญามากเหล่านี้ คือ พระมทินทเถระ พร้อมด้วยพระอัฏฎิยะ พระอุตดิยะ พระกัมพละ ... และพระกัททบัณฑิต เดินทางจากซมพู ทวีปมาที่เกาะตัมพปัณณิ (เกาะสิงหลหรือศรีกังกา) นี้ ท่านเหล่านั้นสอนพระวินัยปิฎกที่เกาะตามพปัณณิ(๙) ฯ หมายเหตุ : แคว้นกัสมึระและคันธาระ ปัจจุบันเรียกว่าแคซเมียร์ และอัฟกานิสถาน มหิสมณฑล คืออินเดียตอนใด้แม่นํ้าโคธาวรี ปัจจุบัน เรียกว่าแคว้นไมซอร์ วนวาสีประเทศ เข้าใจว่าเป็นแคว้นกนราเหนือ เขต เมีองบอมเบย์ อปรันตกประเทศ เข้าใจว่าอยู่แถบซายทะเลทางเหนือเมีอง www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๙ ๒๔๗ บอมเบย์ มหารัฐประเทศ คือแคว้นมหารัฐทางเหนือแม่นํ้าโคธาวรี ห่างเมือง มอมเมย!ปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือโยนกโลกประเทศ คือชายแดนอินเดีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ปัจจุบันอยู่ในประเทศแถมอ่าวเปอร์เซีย ทิมรันต ประเทศ คือเมืองที่อยู่ในหมู่เขาทิมาลัย อุ[วรรณภูมิประเทศ คือบริเวณลุ่มนํ้า ในประเทศไทย สัมพฟ้ณณิทวีป คือประเทศศรีลังกา (รางในคลังปริย้ตธรรม) นาฏยรสกถา ว่าด้วยรสวรรณคดี ๙ ๑. บทรัก ๒. บทโศกสลด ฅ. บทแกล้วกล้า ๔. บทแปลกประหลาด ๕. บทร่าเริง ๖. บทขลาดกลัว ๗. บทสงบเสงี่ยม ๘. บทเกลียด ๙. บทโกรธหรือสะบัดสะบิ้ง ที่มา : อภิธานัปปทีปีกาสูจิ คาถา ๑0๒ สิงฺคาโร กรุโณ วีรา- พฺภูตหสุสภยานกา สนฺโต วีภจฉรุททานิ นว นาฎยรสา อิเม ฯ แปล : รสแห่งนาฎย์ ๙ คือ บทรัก ๑ บทโศก(น่าสงสาร) ๑ บทกล้าหาญ ๑ บทอัศจรรย์ (แปลกประหลาด) ๑ บท ร่าเริง (ตลกขบขัน) ๑ บทน่ากลัว (ผจญภัย) ๑ บท สงบเสงี่ยมแซํมช้อย ๑ บทเกลียด ๑ บทโกรธ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๔๘ คลังธรรม พระพทธปฏิมาประจำนพเคราะห์ ๙ ๑. พระอาทิตย์ ๖ พระปางถวายเนตร ๒. พระจันทร์ ๑๕ พระปางห้ามสมุทร ฅ. พระอังคาร ๘ พระปางไสยาสน์ ๔. พระพุธ ๑๗ พระปางอุ้มบาตร ๕. พระเสาร์ ๑0 พระปางนาคปรก ๖. พระพฤหัสบดี ๑๙ พระปางมารวิชัย ๗. พระราหู ๑๒ พระปางปาริไลยก์ ๘. พระศุกร์ ๒๑ พระปางรำพึง ๙. พระเกต ๙ พระปางสมาธิเพชร (มารวิชัย) ที่มา : ตำ ราพระธาตุ (รางในคลังปรํย้ตธรรม) นพรัตน์ แก้ว ๙ ๑. เพชร ๒. หับทิม ฅ. มรกต ๔. บุษราคัม ๕. โกเมน ๖. นิล ๗. มุทกดพาI ๘. เพทาย ๙. ไพฑูรย์ ที่มา 'เฬนา!{กรม 0ปันราชยั(นทิดนรเทน พ.ด. beks พป้า ๔๒๖ จบ หมวด g www.kalyanamitra.org

หมวด ๑๐ วินยฟ้ญญัตติอัตฝืวสกลา ว่า!!วยวัตถุประสงค์ในการบัญญัติพระรนัย ๑0 ๑. เพี่อความยอมรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๒. เพี่อความสำราญแห่งสงฆ์ ฅ. เพี่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๔. เพฺออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีดีลเป็นที่รัก ๕. เพี่อป้องก้นอาสวะอันจะบังเกิดในปัจจุบน ๖. เพี่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดโนอนาคต ๗. เพี่อความเลื่อมใสของปวงซนที่ยังไม่เลื่อมใส ๘. เพี่อความเลื่อมใสยิ่งขึ้นของปวงชนที่เลื่อมใสแล้ว ๙. เพี่อความตั้งมั่นแห่งพระสํทธรรม ๑๐. เพี่อเอื้อเฟ้อพระวินัย ทมา : สุทินนภาณวาร ปฐมปาราชิก ปาราชิกกัณฑ์ วิ.มหาวิ. ๑/ต๙ เตนหิ ภิคุขเว ภิกยูนํ สิคุขาปฑํ ปญณเปสฺสามิ ทส อตฺถวเส ปฎิจจ สงฺฆธุ[ฎชุตาย, สงฆผาอุ[ตาย, ชุมมงฺยูนํ า^คคอานํ นิคคหาย, เปสลานํ ภิกสูนํ ผาอุ[วิหาราย, ทิฎฺฮธมมิกานํ อาสวานํ สํวราย, สมฺปรายิกานํ อาสวาฟ้ ปฎิฆาตาย, อปปํสนุนาฟ้ ปสาทาย, ปสนนาน ภิยุโยภาวาย, สทธมมฎธิติยา, วินยาชุคคหาย ฯ www.kalyanamitra.org

๒๕๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงศ์ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติ สิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาสัยอำนาจประโยชน์ ๑อ ประการ คือ เพื่อ ความยอมรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ ... เพื่อเอื้อเพื่อพระวินัย ๑ ฯ อุตตริมนุสสธัมมกถา ว่าด้วยอตตริมนสสธรรม ๑อ ๑. ฌาน ความเพ่งอารมณ์ ๒. วิโมกข์ ความหลุดพ้น ฅ. สมาธิ ความตั้งใจมั่น ๔. สมาบัติ ความเข้าถึง ๕. ญาณทัสสนะ ความรู้เห็นตามเป็นจริง ๖. มัคคภาวนา ๗. ผลสัอฉิกิริยา การเจริญมรรค ๘. กิเลสปหานะ การทำโห่แจ้งซึ่งผล ๙. วินีวรณตา การละกิเลส ๑๐. อ[ุ ญญาคาเร อภิรติ ความพรากจิตออกจากกิเลส ความยินดียิ่งโนเรือนร้าง ที่มา : จตุตถปาราชิก ปาราชิกกัณฑ์ วิ.มหาวิ.๙๑๙๔-๑๙๙ รุตุตริมษุสสธมฺโม นาม ฌานํ วิโมฤโฃ สมาธิ สมาปตุติ ณาณทสุสนํ มคคภาวนา ผลสจฉิกิริยา กิเลสปปหานํ วินีวรณตา จิตุฅสุส อ[ุ ณฌาคาเร อภิรติ ฯ แปล : คำ ว่า อุตตริมนุสสธรรม ได้แก่ ฌาน ๑ วิโมกข์ ๑ สมาธิ ๑ สมาบัติ ๑ ญาณทัสสนะ ๑ มัคคภาวนา ๑ การทำโห่แจ่มแจ้งข์ง www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๑๐ ๒๕๑ ผล ๑ การละกิเลส ๑ ความพรากจิตออกจากกิเลส ๑ ความยินดียิ่งใน เรือนร้าง ๑ ฯ อธิบาย : ฌาน ได้แก่ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถ ฌาน วิ ก#ได้แก่สุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์ สมาธิ ได้แก่สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ สมาบัติ ได้แก่สุญญต สมาบัติ อนิมิตตสมาบัติ อัปปณิหิตสมาบัติ ญาณทัสสนะ ได้แก่วิชชา ฅ มัคคภาวนา ได้แก่สติปัฏฐาน ๔ ส์'มมัปปราน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรืย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อรืยมรรคมีองค์ ๘ ผลสัจรกิริยา ได้แก่การบรรลุ โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผล กิเลสปหานะ ได้แก่ การละราคะ โทสะ โมหะ ความพรากจิตฮฮกจ'?กกิเลสได้แก่ความที่จิตเปีด โล่งจากราคะ โทสะ โมหะ ความยินดียิ่งโนเรือนร้าง ได้แก่ความยินดี ยิ่งในเรือนร้างด้วยปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน (บทภาซนีย์ วิ.มหาวิ. ๑/๑๙๙) ฯ อนึ่ง รุตตริมทุสสธรรม หมายถึงธรรมที่ข้ามพ้นพวกมนุษย์, ธรรม ที่ล่วงเลยพวกมนุษย์แล้วทาให้ลุถึงความเป็นพรหมหรือภาวะนิพพาน หรือ อีกความหมายหนึ่ง ธรรมของพวกมนุษย์ผู้ยิ่งยวต, ธรรมของพวกคน ประเสรืฐสุดคือ^ด้ฌานและผู้เป็นพระอริยบุคคล (วิ.อ. ๑/๕๒๑) www.kalyanamitra.org

คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงศ์ อิตถีกถา ว่าด้วยสตรี ๑อ ๑. มาตุรักขิตา สตรีที่มารดาปกครอง ๒. ปีตุรักฃิตา สตรีที่บิดาปกครอง ฅ. มาตาปีตุรักฃิฅา สตรีที่มารดาบิดาปกครอง ๔. ภาตุรักขิตา สตรีที่พี่ชายน้องชายปกครอง สตรีที่พี่สาวน้องสาวปกครอง ๕. ภคินีรักฃิตา สตรีที่ญาติปกครอง ๖. ญาติรักฃิตา สตรีที่โคตรปกครอง ๗. โคตตรักฃิตา ๘. ธัมมรักฃิตา สตรีที่มีธรรมคุ้มครอง ๙. สารักขา สตรีที่มีคู่หมั้น ๑อ. สปริทัณฑา สตรีที่มีกฎหมายคุ้มครอง ที่มา ลัญจริตตสิกขาบท ลังฆาทิเสสกัณฑ์ ริ.มหาวิ. ๑/ฅอฅ ทส อิตถิโย: มาตุรคุฃิตา ปีตุรกขิตา มาตาปีตุรฤฃิตา ภาตุรกขิตา ภคินีรกฃิตา ณาติรฤขิตา โคตตรคุขิตา ธมฺมรกขิตา สารกฃา สปริทณฑา ฯ แปล : สตรี ๑อ ประ๓ท คือ สตรีทีมีมารดาปกครอง ๑ สตรีที่มีบิดาปกครอง ๑ สตรีที่มีมารดาบิดาปกครอง ๑ สตรีที่มีพี่ชายน้อง ชายปกครอง ๑ สตรีที่มีพี่สาวน้องสาวปกครอง ๑ สตรีที่มีญาติปกครอง ๑ สตรีที่มีตระกูลปกครอง ๑ สตรีที่มีธรรมคุ้มครอง ๑ สตรีที่มีคู่หมั้น ๑ สตรีที่มีกฎหมายคุ้มครอง ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑๐ ๒๕๓ ภริยากถา ว่าด้วยภรรยา ๑อ ๑. ธนักกีตา ภรรยาที่ซื้อมา ๒. ฉันทวาสินี ฅ. โภควาสินี ภรรยาที่อยู่กับสามีด้วยความเต็มใจ ภรรยาที่อยูเพราะสมบัติ ๔. ปฎวาสินี ภรรยาที่อยู่เพราะผ้า ๕. โอทฟ้ฅฅกินื ภรรยาที่สมรส ๖. โอภฅชุมพฎา ภรรยาที่ถูกปลงเทริดจากสืรษะแล้วเลี้ยงดู ๗. ทาสีภริยา ภรรยาที่เ{เนทั้งคนรับใช้เป็นทั้งภรรยา ๘. กัมมการิภริยา ภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา ๙. ธชาหฎา ภรรยาเชลย ๑0. ยุชุฅติกา ภรรยาชั่วคราว (ใสเภณื) ที่มา ส์ญจริตตสิกขาบท สังฆาทิเสสกัณฑ์ วิ.มหาวิ. ๙ฅ©ฅ ทส ภริยาโย : ธนคุกีตา ฉนฺทวาสีนี โภควาสินี ปฎวาสีนี โอทปตฺตกินึ โอภตชุมพฎา ทาสี จ ภริยา จ กมุมการิ จ ภริยา จ ธชาหฎา มุชุตุติกา ฯ แปล : ภรรยา ๑อ ประเภท คือ ภรรยาที่เขาซื้อมา ๑ ภรรยาที่อยู่กับสามีด้วยความเต็มใจ ๑ ภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ๑ ภรรยา ที่อยู่เพราะผ้า ๑ ภรรยาที่สมรส ๑ ภรรยาที่ถูกปลงเทริดจากคืรษะแล้ว เลี้ยงดู ๑ ภรรยาที่เป็นทั้งคนรับใช้เป็นทั้งภรรยา ๑ ภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้าง เป็นทั้งภรรยา ๑ ภรรยาเชลย ๑ ภรรยาชั่วคราว (โสเภณี)๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๕๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ปาติใมกขุทเทสกฝืา ว่าด้วยเหตุให้สวดพระปาติโมกข์โดยย่อ ๑0 ๑. ราชันตราย พระราชาเสด็จมา ๒. ใจรันตราย โจรมาปล้น ฅ. อัคยันตราย ไฟไหม้ ๔. อุทยันตราย นํ้าหลากมา ๕. มนุสสันตราย คนมามาก ๖. อมนุสสันตราย ผีเข้าภิกษุ ๗. วาพันตราย สัตว์ร้ายเข้ามา ๘. สิริงสฟ้นตราย งูร้ายเลื้อยเข้ามา ๙. รวิตันตราย ภิกษุอาพาธหนักจะถึงเสิยชีวิต ๑อ. พรหมอริยันตราย มีอันตรายแก่พรหมจรรย์ ที่มา : ลังขิตเตนปาติโมกชุทเทศาทิ อุโปสทขันธกะ วิ.มหา.๔/๑๕0 อนุชานามิ ภิคุขท สติ อนุตราเย สงฃิตุเตน ปาติโมชุฃํ อุทฑิสิดู๊ ฯ ตตริเม อนุตรายา ะ ราชนุตราโย โจรนุตราโย อคยนุตราโย อุทกนุตราโย มนุสสนุตราโย อมนุสุสนุตราโย วาฬนุตราโย สิรึสปนตราโย ชีวิตนุตราโย พรหมจริยนุตราโยติ ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อมีอันตราย เราอนุญาตให้สวด ปาติโมกข์ย่อได้ อันตรายในเรื่องนั้นเหล่านี้ คือ ราชันตราย พระราซาเสด็จ มา๑ ... พรหมจริอันตราย มีอันตรายแก่พรหมจรรย์๑ (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สวดปาติโมกข์ย่อได้ในเพราะอันตรายเห็นปานนี้ เมื่อไม่มี อันตราย ให้สวดโดยพิสดาร) ฯ www.kalyanamitra.org