Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:56:40

Description: dictionary_of_buddhism_vocabulary_version พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Search

Read the Text Version

ทิฏฐวิ สิ ุทธิ ๑๓๐ ทิศหกนอกแบบแผน ทําความผิดอยูเสมอ ของมนุษย(ขอ ๓ ในวบิ ัติ ๔) ทพิ ยจักษุ ตาทิพย, ญาณพเิ ศษทที่ าํ ใหดูทฏิ ฐิวสิ ุทธิ ความหมดจดแหง ความเหน็ อะไรเหน็ ไดห มดตามปรารถนา; ดู ทิพพ-คือ เกิดความรูความเขาใจ มองเห็น จกั ขุนามรูปตามสภาวะท่ีเปนจริงคลายความ ทิวงคต ไปสูส วรรค, ตายหลงผดิ วาเปน สัตว บคุ คล ตวั ตน ลงได ทิวาวิหาร การพกั ผอนในเวลากลางวนั ทิศ ดาน, ขา ง, ทาง, แถบ; ทศิ แปด คอื(ขอ ๓ ในวิสทุ ธิ ๗)ทิฏฐิสามัญญตา ความเปนผูมีความ อุดร อีสาน บรู พา อาคเนย ทกั ษิณเสมอกนั โดยทิฏฐ,ิ มีความเหน็ รวมกนั , หรดี ประจิม พายัพ; ทศิ สบิ คือ ทิศมีความคดิ เหน็ ลงกันได (ขอ ๖ ในสาร- แปดนนั้ และทศิ เบอ้ื งบน (อปุ รมิ ทิศ) ทิศเบ้อื งลา ง (เหฏฐมิ ทิศ)ณยี ธรรม ๖)ทิฏุชุกัมม การทําความเห็นใหตรง, ทศิ ทกั ษณิ ทศิ ใต, ทิศเบ้ืองขวาการแกไขปรับปรุงความคิดเห็นใหถูก ทิศบรู ทิศตะวันออก, ทิศเบ้ืองหนาตอง (ขอ ๑๐ ในบญุ กิรยิ าวัตถุ ๑๐) ทิศบูรพา ทศิ ตะวันออกทฏิ ุปาทาน ความถอื ม่นั ในทฏิ ฐิ, ความ ทิศปจ ฉมิ ทศิ ตะวันตก, ทิศเบ้อื งหลังยดึ ติดฝง ใจในลทั ธิ ทฤษฎี และหลัก ทศิ พายัพ ทศิ ตะวันตกเฉยี งเหนอืความเช่ือตา งๆ (ขอ ๒ ในอุปาทาน ๔) ทศิ หก บคุ คลประเภทตา งๆ ท่ีเราตอ งทิพพจกั ขุ จกั ษุทิพย, ตาทิพย, ญาณ เก่ียวของสัมพันธ ดุจทิศท่ีอยูรอบตัวพิเศษของพระพุทธเจา และทานผูได จดั เปน ๖ ทิศ ดงั นี้ ๑. ปรุ ัตถมิ ทสิ ทิศอภญิ ญาท้ังหลาย ทําใหส ามารถเลง็ เหน็ เบอ้ื งหนา ไดแก บดิ ามารดา: บตุ รธดิ าหมสู ัตวท เ่ี ปน ไปตา งๆ กันเพราะอาํ นาจ พงึ บาํ รงุ มารดาบดิ า ดังนี้ ๑. ทา นเลยี้ งกรรม เรยี กอีกอยางวา จุตูปปาตญาณ เรามาแลว เลยี้ งทานตอบ ๒. ชวยทํากิจ (ขอ ๗ ในวชิ ชา ๘, ขอ ๕ ในอภิญญา ๖) ของทาน ๓. ดํารงวงศสกุล ๔.ทิพพจักขุญาณ ญาณคือทิพพจักขุ, ประพฤติตนใหเหมาะสมกับความเปน ความรดู จุ ดวงตาทิพย ทายาท ๕. เมอื่ ทา นลว งลบั ไปแลว ทาํทิพพโสต หทู พิ ย, ญาณพเิ ศษท่ที าํ ใหฟง บญุ อุทิศใหท าน; มารดาบดิ าอนุเคราะห อะไรไดย นิ หมดตามปรารถนา; ดู อภญิ ญา บุตรธดิ า ดังน้ี ๑. หามปรามจากความทิพย เปน ของเทวดา, วิเศษ, เลศิ กวา ชว่ั ๒. ใหต้ังอยูในความดี ๓. ใหศึกษา

ทศิ หก ๑๓๑ ทิศหกศิลปวทิ ยา ๔. หาคูครองท่ีสมควรให ๕. สตั ยจ รงิ ใจตอ กนั ; มติ รสหายอนเุ คราะหมอบทรัพยสมบัติใหในโอกาสอันสม ตอบดังน้ี ๑. เมือ่ เพือ่ นประมาท ชวยควร ๒. ทกั ขิณทิส ทศิ เบอ้ื งขวา ไดแ ก รักษาปองกัน ๒. เม่ือเพื่อนประมาทครอู าจารย: ศษิ ยพงึ บาํ รุงครูอาจารย ดงั ชวยรักษาทรัพยสมบัตขิ องเพ่อื น ๓. ในนี้ ๑. ลุกตอ นรับ แสดงความเคารพ ๒. คราวมภี ยั เปนทพี่ ึง่ ได ๔. ไมละทิง้ ในเขา ไปหา ๓. ใฝใ จเรยี น ๔. ปรนนบิ ตั ิ ๕. ยามทกุ ขย าก ๕. นับถือตลอดถึงวงศเรยี นศลิ ปวทิ ยาโดยเคารพ; ครอู าจารย ญาติของมติ ร ๕. เหฏฐิมทิส ทิศเบ้อื งอนุเคราะหศ ษิ ยดงั นี้ ๑. ฝก ฝนแนะนํา ลาง ไดแก คนรบั ใชและคนงาน: นายใหเปน คนดี ๒. สอนใหเขา ใจแจมแจง พงึ บํารุงคนรับใชแ ละคนงาน ดงั นี้ ๑.๓. สอนศิลปวทิ ยาใหสิ้นเชงิ ๔. ยกยอง จัดการงานใหทาํ ตามกาํ ลังความสามารถใหปรากฏในหมูเพอ่ื น ๕. สรางเครอื่ ง ๒. ใหคาจางรางวัลสมควรแกงานและคุม กนั ภยั ในสารทศิ คือ สอนใหศ ษิ ย ความเปนอยู ๓. จดั สวัสดกิ ารดี มีชวยปฏบิ ตั ิไดจ ริง นําวิชาไปเลย้ี งชีพทาํ การ รักษาพยาบาลในยามเจบ็ ไข เปน ตน ๔.งานได ๓. ปจ ฉมิ ทิส ทิศเบือ้ งหลัง ได ไดของแปลกๆ พเิ ศษมา ก็แบง ปนใหแก บุตรภรรยา: สามพี ึงบาํ รุงภรรยาดัง ๕. ใหมีวันหยุดและพักผอนหยอนใจน้ี ๑. ยกยอ งสมฐานะภรรยา ๒. ไมดู ตามโอกาสอันควร; คนรับใชและคนหม่นิ ๓. ไมนอกใจ ๔. มอบความเปน งาน อนุเคราะหน ายดังนี้ ๑. เร่มิ ทํางานใหญในงานบา นให ๕. หาเคร่ืองประดบั กอ น ๒. เลิกงานทหี ลัง ๓. เอาแตข องท่ีมาใหเปนของขวัญตามโอกาส; ภรรยา นายให ๔. ทําการงานใหเรยี บรอยและดีอนเุ คราะหสามี ดงั นี้ ๑. จดั งานบานให ย่ิงขึน้ ๕. นาํ ความดีของนายไปเผยแพรเรยี บรอ ย ๒. สงเคราะหญ าตมิ ิตรท้ัง ๖. อปุ รมิ ทิส ทศิ เบ้อื งบน ไดแ ก พระสองฝา ยดว ยดี ๓. ไมนอกใจ ๔. รักษา สงฆ สมณพราหมณ: คฤหัสถพ ึงบาํ รงุสมบัตทิ ีห่ ามาได ๕. ขยนั ไมเ กยี จครา น พระสงฆ ดงั นี้ ๑. จะทําสงิ่ ใดกท็ ําดว ยในงานทัง้ ปวง ๔. อตุ ตรทสิ ทศิ เบ้อื ง เมตตา ๒. จะพูดส่ิงใด ก็พูดดวยซาย ไดแก มติ รสหาย: พึงบํารงุ มิตร เมตตา ๓. จะคดิ สิ่งใด ก็คดิ ดวยเมตตาสหาย ดงั นี้ ๑. เผอ่ื แผแ บงปน ๒. พูด ๔. ตอนรับดวยความเต็มใจ ๕.จามนี ํา้ ใจ ๓. ชวยเหลือเกอ้ื กลู กนั ๔. มี อุปถัมภดวยปจจัย ๔; พระสงฆตนเสมอ รว มสขุ รวมทุกขดว ย ๕. ซอื่ อนุเคราะหคฤหัสถ ดังน้ี ๑. หามปราม

ทศิ หรดี ๑๓๒ ทีฆนขสตู รจากความชั่ว ๒. ใหต ั้งอยใู นความดี ๓. กถามกั เรยี กวา เวทนาปรคิ คหสตู ร) พระอนุเคราะหด วยความปรารถนาดี ๔. ให สารีบุตรน่ังถวายงานพดั อยู ณ เบื้องไดฟ งสง่ิ ท่ียงั ไมเ คยฟง ๕. ทาํ ส่ิงทีเ่ คย พระปฤษฎางคข องพระพทุ ธองค ไดฟ งฟง แลว ใหแจม แจง ๖. บอกทางสวรรค เทศนานั้น และไดสําเรจ็ พระอรหตั สวนสอนวิธีดําเนินชีวิตใหประสบความสุข ทีฆนขะ เพียงแตไดดวงตาเห็นธรรมความเจริญ; ดู คิหวิ นิ ัย แสดงตนเปนอบุ าสกทศิ หรดี ทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต ทีฆนขสตู ร พระสูตรท่ีพระพุทธเจา ทรงทศิ อาคเนย ทิศตะวนั ออกเฉียงใต แสดงแกทีฆนขปริพาชก (ม.ม.๑๓/๒๖๙/ทิศอีสาน ทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ๒๖๓; ในอรรถกถามกั เรยี กวา เวทนา-ทิศอดุ ร ทศิ เหนือ, ทศิ เบื้องซา ย ปรคิ คหสตู ร) ทถี่ า้ํ สกุ รขาตา เขาคชิ ฌกฏูทศิ านทุ ิศ ทิศนอ ยทิศใหญ, ทิศท่ัวๆ ไป เมอื งราชคฤห ในวนั ขนึ้ ๑๕ คา่ํ แหงทิศาปาโมกข อาจารยผ เู ปน ประธานใน มาฆมาส หลังตรสั รไู ด ๙ เดือน ซึ่งพระทิศ, อาจารยผูมชี ่อื เสียงโดง ดงั สารีบุตรสดับแลวไดบรรลุอรหัตตผล,ทิสาผรณา “แผไปในทิศ” หมายถึง วาดวยการยึดถือทิฏฐิหรือทฤษฎีตางๆเมตตาที่แผไปตอสัตวท้งั หลายในทิศนนั้ ซง่ึ เปนเหตใุ หทะเลาะววิ าทกัน ทรงสอนทิศน้ี เปน แถบ เปน ภาค หรือเปน สว น วา เม่ือมองเห็นสภาวะของชวี ิตรางกายน้ี เฉพาะซอยลงไป (แมพรหมวหิ ารขออ่นื ที่ไมเที่ยง ไมค งทน เปน ตน ตลอดจน ก็เชนเดียวกัน); เทียบ อโนธิโสผรณา, ไมเปน ตวั ตนจริงแทแ ลว กจ็ ะละความ โอธิโสผรณา; ดู แผเมตตา, วิกุพพนา, ติดใครเยื่อใยและความเปนทาสตาม สมี าสมั เภท สนองรางกายเสียได อีกท้ังเมื่อรูเขาใจทก่ี ลั ปนา [ท-่ี กนั -ละ-ปะ-นา] ทซี่ ง่ึ มผี อู ทุ ศิ เวทนาท้ัง ๓ วาไมเทย่ี ง เปน สิ่งท่ีปจ จยั แตผ ลประโยชนใ หว ดั หรอื พระศาสนา ปรุงแตงขึ้นมา ปรากฏข้ึนเพราะเหตุทฆี ะ (สระ) มเี สยี งยาว ในภาษาบาลี ได ปจจัย จะตองสิ้นสลายไปเปน ธรรมดา แก อา อี อู เอ โอ; คกู ับ รัสสะ ก็จะจางคลายหายติดในเวทนาทั้งสามทฆี นขะ ชอื่ ปรพิ าชกผหู นง่ึ ตระกลู อคั ค-ิ นนั้ หลดุ พนเปน อสิ ระได และผทู ่ีมจี ติเวสสนะ เปนหลานของพระสารีบุตร, หลดุ พนแลว อยา งนี้ กจ็ ะไมเขา ขา งใครขณะที่พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมแก ไมวิวาทกบั ใคร อนั ใดเขาใชพดู จากันในปรพิ าชกผนู ้ี (คอื ทฆี นขสตู ร แตใ นอรรถ- โลก ก็กลา วไปตามนนั้ โดยไมยึดติดถือ

ทีฆนิกาย ๑๓๓ ทุกขนิโรธคามนิ ีปฏิปทามั่น; ดู ทีฆนขะ เปน ความผดิ ถดั รองลงมาจากปาฏเิ ทสนยี ะทีฆนกิ าย นิกายทห่ี น่ึงแหง พระสุตตนั ต- เชน ภิกษุสวมเสือ้ สวมหมวก ใชผ าปฎก; ดู ไตรปฎก โพกศีรษะ ตอ งอาบตั ิทุกกฏ; ดู อาบตั ิทฆี ายุ อายยุ ืน ทกุ ข 1. สภาพทท่ี นอยไู ดย าก, สภาพทค่ี งทีฆาวุ พระราชโอรสของพระเจาทีฆีติ ทนอยไู มไ ด เพราะถกู บบี คน้ั ดว ยความราชาแหงแควนโกศล ซ่ึงถูกพระเจา เกดิ ขนึ้ และความดบั สลาย เนอ่ื งจากตอ งพรหมทัต กษัตริยแหงแควนกาสีชิง เปนไปตามเหตุปจจัยท่ีไมขึ้นตอตัวมันแควน จบั ได และประหารชวี ติ เสยี ทฆี าว-ุ เอง (ขอ ๒ ในไตรลกั ษณ) 2. อาการแหงกุมารดํารงอยูในโอวาทของพระบิดาท่ี ทกุ ขท ปี่ รากฏขนึ้ หรอื อาจปรากฏขน้ึ ไดแ กตรัสกอนจะถูกประหาร ภายหลังได คน (ไดใ นคาํ วา ทกุ ขสจั จะ หรอื ทกุ ข-ครองราชสมบตั ิทง้ั ๒ แควน คอื แควน อรยิ สจั จ ซงึ่ เปน ขอ ที่ ๑ ในอรยิ สจั จ ๔)กาสีกบั แควนโกศล 3. สภาพทที่ นไดย าก, ความรสู กึ ไมส บายที่ธรณีสงฆ [ที่-ทอ-ระ-นี-สง] ท่ีซึ่งเปน ไดแ ก ทกุ ขเวทนา, ถา มาคกู บั โทมนสัสมบตั ขิ องวดั (ในเวทนา ๕) ทุกขหมายถึงความไมท่ลี ับตา ทีม่ วี ตั ถุกําบงั แลเห็นไมได พอ สบายกายคือทุกขกาย (โทมนัสคือไมจะทาํ ความช่วั ได สบายใจ) แตถ า มาลาํ พงั (ในเวทนา ๓)ทล่ี ับหู ท่ีแจง ไมมีอะไรบัง แตอ ยูหาง คน ทุกข หมายถึงความไมสบายกายไมอืน่ ไมไ ดย นิ พอจะพดู เก้ียวกนั ได สบายใจ คอื ทงั้ ทกุ ขก ายและทกุ ขใ จทว่ี ดั ทซี่ ง่ึ ตง้ั วดั ตลอดจนเขตของวดั นนั้ ทกุ ขขันธ กองทกุ ขทส่ี ดุ ๒ อยาง ขอ ปฏบิ ัตทิ ี่ผดิ พลาดไม ทกุ ขขัย สนิ้ ทุกข, หมดทุกขอาจนาํ ไปสูค วามพนทุกขไ ด ๒ อยา งคือ ทกุ ขตา ความเปนทุกข, ภาวะทคี่ งทนอยู๑. การประกอบตนใหพ ัวพันดว ยความ ไมได; ดู ทุกขลักษณะสุขในกามทั้งหลาย เรยี กวา กามสุขลั ล-ิ ทกุ ขนิโรธ ความดับทกุ ข หมายถึง พระกานุโยค ๒. การประกอบความเหนด็ นพิ พาน เรยี กสัน้ ๆ วา นิโรธ เรยี กเต็มเหนอื่ ยแกต นเปลา หรอื การทรมานตนให วา ทกุ ขนิโรธอริยสจั จลาํ บากเปลา เรียกวา อัตตกลิ มถานุโยค ทกุ ขนโิ รธคามนิ ีปฏปิ ทา ขอ ปฏิบตั ใิ หทกุ ะ หมวด ๒ ถึงความดับทุกข หมายถึงมรรคมีองคทุกกฏ “ทําไมด ี” ชือ่ อาบตั เิ บาอยางหน่งึ แปด เรยี กส้นั ๆ วา มรรค เรียกเต็มวา

ทุกขลักษณะ ๑๓๔ ทุคติทุกขนิโรธคามนิ ปี ฏปิ ทาอริยสัจจ ทรงเลิกละเสียเพราะไมสาํ เร็จประโยชนทกุ ขลกั ษณะ เครอ่ื งกาํ หนดวา เปน ทกุ ข, ไดจ รงิ ; เขยี นเตม็ เปน ทุกกรกริ ิยาลักษณะที่จัดวาเปนทุกข, ลักษณะท่ี ทุคติ คติไมด ,ี ทางดาํ เนินทไ่ี มดีมคี วามแสดงใหเหน็ วา เปน ทกุ ข คือ ๑. ถูกการ เดอื ดรอน, ที่ไปเกดิ อนั ชว่ั หรอื ที่ไปเกิดเกิดข้ึนและการดับสลายบีบค้ันอยู ของผูทํากรรมชั่ว, แดนกําเนิดท่ีไมดีตลอดเวลา ๒. ทนไดย ากหรือคงอยูใน มากไปดวยความทกุ ข มี ๓ ไดแก นรกสภาพเดิมไมไ ด ๓. เปน ท่ีต้ังแหง ความ ดิรัจฉาน เปรต; คตทิ ไี่ มดี คือ ทุคติ ๓ ทุกข ๔. แยงตอ สขุ หรอื เปน สภาวะที่ นี้ ตรงขามกับคติทด่ี ี คือ สคุ ติ ๒ ปฏิเสธความสุข; ดู อนิจจลักษณะ, (มนษุ ย และเทพ) รวมทง้ั หมดเปน คติ๕ อนัตตลักษณะทกุ ขเวทนา ความรสู กึ ลาํ บาก, ความรสู กึ ทไ่ี ปเกิดหรอื แดนกําเนดิ ไมดีนี้ บาง ทเี รยี กวา อบาย หรอื อบายภูมิ (แปลวาเจบ็ ปวด, ความรสู กึ เปน ทกุ ข, การเสวย แดนซ่ึงปราศจากความเจรญิ ) แตอ บาย- อารมณท ไี่ มส บาย (ขอ ๒ ในเวทนา ๓) ภมู ิน้นั มี ๔ คอื นรก เปรต อสุรกายทุกขสมทุ ัย เหตุใหเ กิดทุกข หมายถึง ตัณหาสาม คือ กามตณั หา ภวตัณหา ดริ ัจฉาน, เหตุใหจ าํ นวนไมเ ทา กนั น้ัน มี วภิ วตัณหา เรียกสัน้ ๆ วา สมุทยั (ขอ ๒ ในอรยิ สจั จ ๔) เรยี กเตม็ วา ทกุ ขสมทุ ยั - คาํ อธิบาย ดงั ทอี่ รรถกถาบางแหง กลาว อรยิ สจั จทุกขสัญญา ความหมายรูวาเปนทุกข, ไววา (อ.ุ อ.๑๔๕; อิต.ิ อ.๑๔๕) ในกรณนี ี้ รวม อสุรกาย เขาในจาํ พวกเปรตดวย จงึ เปนทคุ ติ ๓; ตรงขามกับ สุคต;ิ ดู คติ, อบาย อน่งึ ในความหมายทล่ี ึกลงไป ถอื วาการกําหนดหมายใหมองเห็นสังขารวา นรก เปรต จนถงึ ตริ ัจฉาน ท่ีเปนทุคติก็เปนทุกข โดยเทียบวามีทุกขเดือดรอนกวาเทวะทกุ รกริ ยิ า กริ ยิ าทที่ าํ ไดโ ดยยาก, การทาํ และมนุษย แตกําเนิดหรือแดนเกิดทั้งความเพยี รอนั ยากทใี่ ครๆ จะทาํ ได ไดแ ก หมดท้ังสิน้ แมแตทีเ่ รยี กวาสคุ ติน้ัน ไมการบําเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ วาจะเปนเทวดา หรือพรหมชนั้ ใดๆ ก็ดว ยวธิ กี ารทรมานตนตา งๆ เชน กลนั้ ลม เปน ทคุ ติ ท้ังนนั้ (เนตตฺ ิ.๖๑/๔๕; ๑๐๖/๑๐๕)อัสสาสะปส สาสะและอดอาหาร เปนตน เมื่อเทียบกับนพิ พาน เพราะคตเิ หลานั้นซึ่งพระพุทธเจาไดทรงปฏิบัติกอนตรัสรู ยงั ประกอบดว ยทกุ ข หรือเปน คตขิ องผูอันเปนฝายอัตตกิลมถานุโยค และได ทย่ี ังมที ุกข

ทุจริต ๑๓๕ ทตู านทุ ตู นิกรทุจริต ความประพฤติช่ัว, ความ กระทบใหอ ปั ยศ ตอ งอาบัติทุกกฏ แตประพฤตไิ มดีมี ๓ คอื ๑. กายทุจรติ ถามุงเพยี งลอเลน ตองอาบัติทุพภาสิต;ประพฤติชั่วดวยกาย ๒. วจีทุจริต ดู อาบตั ิประพฤติช่ัวดวยวาจา ๓. มโนทุจริต ทพุ ภกิ ขภยั ภยั ดว ยหาอาหารไดย าก, ภยัประพฤติชวั่ ดว ยใจ; เทียบ สจุ ริต ขาดแคลนอาหาร, ภยั ขา วยากหมากแพงทุฏุลลวาจา วาจาช่ัวหยาบ เปนช่ือ ทลุ ลภธรรม สงิ่ ทไี่ ดย าก, ความปรารถนาอาบัติสงั ฆาทเิ สสขอท่ี ๓ ที่วา ภกิ ษผุ ูม ี ของคนในโลกท่ีไดสมหมายโดยยาก มีความกําหนัด พูดเคาะมาตุคามดวย ๔ คอื ๑. ขอโภคสมบตั จิ งเกดิ มีแกเ ราวาจาชวั่ หยาบ คอื พดู เก้ยี วหญงิ กลาว โดยทางชอบธรรม ๒. ขอยศจงเกดิ มีวาจาหยาบโลนพาดพงิ เมถนุ แกเรากบั ญาติพวกพอ ง ๓. ขอเราจงทุฏลุ ลาบตั ิ อาบัตชิ ่ัวหยาบ ไดแ กอาบัติ รักษาอายุอยไู ดยืนนาน ๔. เม่อื สิน้ ชีพ ปาราชิก และสงั ฆาทิเสส แตในบางกรณี แลว ขอเราจงไปบังเกิดในสวรรค; ดู ทานหมายเอาเฉพาะอาบัตสิ งั ฆาทเิ สส ธรรมเปนเหตุใหสมหมาย ดวยทตุ ิยฌาน ฌานท่ี ๒ มีองค ๓ ละวติ ก ทศุ ลี “ผูมีศีลชวั่ ”, คํานเ้ี ปน เพยี งสาํ นวนวิจารได คงมีแต ปติและสขุ อันเกิดแต ภาษาที่พูดใหแรง อรรถกถาทั้งหลายสมาธิ กบั เอกัคคตา อธิบายวา ศีลที่ช่ัวยอ มไมม ี แตท ศุ ีลทตุ ยิ สงั คายนา การรอยกรองพระธรรม หมายความวา ไมม ศี ลี หรอื ไรศ ลี นนั่ เอง,วินัยครง้ั ท่ี ๒ ราว ๑๐๐ ปแตพ ุทธ- ภกิ ษทุ ศุ ลี คอื ภกิ ษทุ ต่ี อ งอาบตั ปิ าราชิกปรินพิ พาน; ดู สงั คายนา ครั้งที่ ๒ ขาดจากความเปนภิกษุแลว แตไมละทุติยสังคตี ิ การสงั คายนารอยกรองพระ ภกิ ขปุ ฏญิ ญา (การแสดงตวั หรอื ยนื ยนัธรรมวินยั คร้งั ท่ี ๒ วาตนเปนภิกษุ), ความเปนผูทุศีลนั้นทพุ พฏุ ฐภิ ยั ภยั ฝนแลง , ภยั แลง , ภยั หนักย่ิงกวาความเปนอลัชชี, คฤหัสถดว ยฝนไมต กตอ งตามฤดกู าล ทุศีล คอื ผูท ีล่ ะเมดิ ศีล ๕ ทง้ั หมดทพุ ภาสติ “พูดไมด”ี “คําช่ัว” “คาํ เสยี ทูต ผทู ีไ่ ดร ับมอบหมายใหเปนผแู ทนทางหาย” ชื่ออาบัติเบาทีส่ ดุ ทเี่ ก่ียวกับคําพูด ราชการแผนดิน, ผูท่ไี ดร บั แตง ต้ังใหไ ปเปนความผิดในลําดับถัดรองจากทุกกฏ เจรจาแทนเชน ภิกษุพูดกับภิกษุท่ีมีกําเนิดเปน ทตู านุทตู ทตู นอยใหญ, พวกทตูจัณฑาล วาเปน คนชาติจัณฑาล ถามุงวา ทูตานุทูตนิกร หมูพ วกทูต

ทูเตนปุ สัมปทา ๑๓๖ เทวทัตตทูเตนุปสัมปทา การอปุ สมบทโดยใชท ตู , และชน้ั พรหม) การอปุ สมบทภกิ ษณุ โี ดยผา นทตู , ทเู ตนะ เทวดา หมูเทพ, ชาวสวรรค เปน คํารวมอปุ สมั ปทา หรอื ทเู ตนปู สมั ปทา กเ็ ขยี น; เรยี กชาวสวรรคท งั้ เพศชายและเพศหญงิดูท่ี ปกาสนียกรรม, อสัมมุขากรณีย, เทวตานสุ ติ ระลึกถงึ เทวดา คือระลึกถงึอปุ สัมปทา คุณธรรมท่ีทําบุคคลใหเปนเทวดาตามที่ทเู รนทิ าน “เรอ่ื งหา งไกล” หมายถงึ พทุ ธ- มีอยใู นตน (ขอ ๖ ในอนุสติ ๑๐)ประวัติต้ังแตเริ่มเปนพระโพธิสัตว เทวตาพลี ทาํ บุญอทุ ศิ ใหเทวดา, การจัดบําเพ็ญบารมีเสวยพระชาติในอดีตมา สรรสละรายไดหรือทรัพยสวนหนึ่งเปนโดยลําดับ จนถึงชาติสุดทาย คือ คาใชจายสําหรับทําบุญอุทิศแกเทวดาเวสสันดร และอบุ ัติในสวรรคชน้ั ดุสิต; โดยความเอ้ือเฟอหรือตามความเชื่อถือ,ดู พุทธประวัติ การใชรายไดหรือทรัพยสวนหน่ึงเพ่ือทเู รรปู ดู รปู ๒๘ บําเพ็ญทักขิณาทานแกเทวดาคือผูควรเทพ เทพเจา , ชาวสวรรค, เทวดา; ใน แกทักขิณาที่นับถือกันสืบมา (ขอ ๕ทางพระศาสนา ทานจดั เปน ๓ คอื ๑. แหงพลี ๕ ในโภคอาทยิ ะ ๕)สมมติเทพ เทวดาโดยสมมติ = พระ เทวทหะ ชอื่ นครหลวงของแควน โกลยิ ะราชา, พระเทวี พระราชกมุ าร ๒. อปุ ปต ต-ิ ท่ีกษตั ริยโ กลยิ วงศป กครอง พระนางสิริเทพ เทวดาโดยกาํ เนิด = เทวดาใน มหามายาพุทธมารดา เปนชาวเทวทหะสวรรคแ ละพรหมทงั้ หลาย ๓. วสิ ุทธ-ิ เทวทหนคิ ม คือกรุงเทวทหะ นครหลวงเทพ เทวดาโดยความบริสุทธิ์ = พระ ของแควน โกลยิ ะนั่นเอง แตใ นพระสตู รพทุ ธเจา พระปจ เจกพุทธเจา และพระ บางแหง เรยี ก นคิ ม เทวทตั ต ราชบตุ รของพระเจา สปุ ปพทุ ธะอรหนั ตท้ังหลายเทพเจา พระเจา บนสวรรค ลทั ธพิ ราหมณ เปน เชฏฐภาดา (พี่ชาย) ของพระนางถือวาเปนผูดลบันดาลสุขทุกขใหแก พิมพาผูเปนพระชายาของสิทธัตถกุมาร มนษุ ย เจาชายเทวทัตตออกบวชพรอมกับพระเทพธิดา นางฟา, หญิงชาวสวรรค, อนรุ ุทธะ พระอานนท และ กัลบกอบุ าลีเทวดาผหู ญงิ เปน ตน บาํ เพญ็ ฌานจนไดโ ลกยี อภญิ ญาเทพบตุ ร เทวดาผชู าย, ชาวสวรรคเ พศชาย ตอมามีความมักใหญ ไดยุยงพระเจาเทวะ เทวดา, เทพ, เทพเจา (ช้ันสวรรค อชาตศัตรูและคบคิดกันพยายาม

เทวทูต ๑๓๗ เทโวโรหณะประทุษรา ยพระพทุ ธเจา กอ เร่อื งวนุ วาย ตอความช่วั และ โอตตัปปะ ความกลวั ในสงั ฆมณฑล จนถึงทําสังฆเภท และ บาป คอื เกรงกลวั ตอความชว่ั ถกู แผน ดินสบู ในท่ีสุด; ดู ปกาสนียกรรม เทวบตุ ร เทวดาผชู าย, ชาวสวรรคเ พศชายเทวทูต ทูตของยมเทพ, สือ่ แจง ขาวของ เทวปตุ ตมาร มารคอื เทพบตุ ร, เทวบตุ รมฤตย,ู สญั ญาณที่เตือนใหร ะลกึ ถึงคติ เปนมาร เพราะเทวบุตรบางตนท่ีมุง รา ยธรรมดาของชีวิต มิใหมคี วามประมาท คอยขัดขวางเหนี่ยวร้ังบุคคลไวไมใหจดั เปน ๓ ก็มี ไดแ ก คนแก คนเจ็บ สละความสุขออกไปบําเพ็ญคุณธรรมที่และคนตาย, จัดเปน ๕ ก็มี ไดแก เดก็ ยิ่งใหญ ทาํ ใหบคุ คลน้ันพนิ าศจากความแรกเกิด คนแก คนเจ็บ คนถูกลง ดี, คัมภีรสมัยหลังๆ ออกช่ือวาราชทณั ฑ และคนตาย (เทวทตู ๓ มาใน พญาวสวัตดีมาร (ขอ ๕ ในมาร ๕)องั คตุ ตรนกิ าย ตกิ นบิ าต, เทวทตู ๕ มา เทวรปู รปู เทวดาท่ีนับถอื ตามลัทธทิ ่ีนับในเทวทูตสูตร มัชฌิมนิกาย อุปริ- ถือเทวดาปณณาสก) ; สวน เทวทูต ๔ ที่เจาชาย เทวโลก โลกของเทวดา, ทอี่ ยเู ทวดา ไดสทิ ธตั ถะพบกอ นบรรพชา คือ คนแก แกส วรรคก ามาพจร ๖ ชนั้ คือ ๑. จาตุ-คนเจบ็ คนตาย สมณะนน้ั ๓ อยา งแรก มหาราชกิ า ๒. ดาวดงึ ส ๓. ยามา ๔.เปนเทวทูต สวนสมณะเรียกรวมเปน ดสุ ติ ๕. นมิ มานรดี ๖. ปรนมิ มติ วสวตั ดีเทวทูตไปดวยโดยปริยาย เพราะมาใน เทฺววาจิก “มวี าจาสอง” หมายถงึ ผกู ลา วหมวดเดยี วกัน แตใ นบาลี ทา นเรยี กวา วาจาถงึ สรณะสอง คือ พระพทุ ธและนมิ ติ ๔ หาเรยี กเทวทตู ๔ ไม อรรถกถา พระธรรม ในสมยั ทยี่ งั ไมม พี ระสงฆ ไดแ กบางแหงพูดแยกวา พระสิทธัตถะเห็น พาณชิ สอง คอื ตปสุ สะ และภัลลกิ ะ;เทวทตู ๓ และสมณะ (มีอรรถกถาแหง เทียบ เตวาจกิหนึ่งอธิบายในเชิงวาอาจเรียกทั้งส่ีอยาง เทวสถาน ท่ีประดษิ ฐานเทวรปู , โบสถเปนเทวทูตได โดยความหมายวาเปน พราหมณของท่ีเทวดานริ มิตไว ระหวางทางเสด็จ เทวาธิบาย ความประสงคของเทวดา เทเวศร เทวดาผูใหญ, หัวหนา เทวดาของพระสิทธตั ถะ)เทวธรรม ธรรมของเทวดา, ธรรมที่ทํา เทโวโรหณะ “การลงจากเทวโลก” หมายใหเปนเทวดา หมายถงึ ธรรม ๒ อยา ง ถึงการที่พระพุทธเจาเสด็จลงจากเทว-คอื หริ ิ ความละอายแกใจ คอื ละอาย โลก ตาํ นานเลา วา ในพรรษาที่ ๗ แหง การ

เทศกาล ๑๓๘ โทมนัสบาํ เพญ็ พทุ ธกจิ พระพทุ ธเจา ไดเ สดจ็ ไป สารท เปน ตนประทบั จาํ พรรษาในดาวดงึ สเทวโลกทรง เทศนา การแสดงธรรมส่ังสอนในทางแสดงพระอภธิ รรมโปรดพระพทุ ธมารดา ศาสนา, การชแ้ี จงใหร ูจ กั ดรี จู ักชว่ั , คาํพรอมทง้ั หมูเทพ ณ ท่ีนนั้ เมือ่ ถงึ เวลา สอน; มี ๒ อยา ง คอื ๑. บคุ คลาธษิ ฐานออกพรรษาในวนั มหาปวารณา (วันขนึ้ เทศนา เทศนามีบุคคลเปนท่ีต้ัง ๒.๑๕ คา่ํ เดือน ๑๑) ไดเ สด็จลงมาจาก ธรรมาธษิ ฐาน เทศนา เทศนามธี รรมสวรรคช้นั ดาวดึงส กลับคืนสโู ลกมนุษย เปนทต่ี ง้ัณ ประตูเมืองสังกัสสะ โดยมีเทวดา เทสนาคามินี อาบัติท่ีภิกษุตองเขาแลวและมหาพรหมทั้งหลายแวดลอมลงมา จะพนไดดวยวิธีแสดง, อาบัติที่แสดงสงเสด็จ ฝูงชนจํานวนมากมายก็ไดไป แลวก็พนได, อาบัติที่ปลงตกดวยการคอยรับเสด็จ กระทํามหาบูชาเปนการ แสดงทเ่ี รยี กวา แสดงอาบตั ิ หรือ ปลงเอิกเกริกมโหฬารและพระพุทธเจาได อาบตั ิ ไดแก อาบัติถุลลจั จัย ปาจติ ตยี ทรงแสดงธรรม มีผูบรรลุคุณวิเศษ ปาฏิเทสนยี ะ ทกุ กฏ ทพุ ภาสติ ; ตรงขามกบัจํานวนมาก ชาวพุทธในภายหลังได อเทสนาคามนิ ี ซึง่ เปน อาบัติท่ีไมอ าจพนปรารภเหตกุ ารณพ ิเศษครัง้ นี้ถือเปน กาล ไดดว ยการแสดง ไดแ ก ปาราชิก และกําหนดสาํ หรับบําเพญ็ การกุศล ทาํ บุญ สังฆาทเิ สส; เทียบ วุฏฐานคามนิ ีตักบาตรคราวใหญแดพระสงฆ เปน เทสนาปริสุทธิ ความหมดจดแหงการประเพณีนิยมสืบมา ดังปรากฏใน แสดงธรรมประเทศไทย เรยี กกันวา ตกั บาตรเทโว- เทอื กเถา ตน วงศท นี่ บั สายตรงลงมา, ญาติโรหณะ หรือนยิ มเรียกสั้นๆ วา ตกั โดยตรงต้ังแตบ ดิ ามารดาขนึ้ ไปถงึ ทวดบาตรเทโว บางวัดก็จัดพิธีในวันออก โทณพราหมณ พราหมณผ ใู หญซ งึ่ มฐี านะพรรษา คือวนั มหาปวารณา ข้ึน ๑๕ คา่ํ เปน ครอู าจารย เปน ทเี่ คารพนบั ถอื ของคนเดอื น ๑๑ บางวดั จัดถัดเลยจากน้ัน ๑ จาํ นวนมากในชมพทู วปี เปน ผแู บง พระวัน คือวันแรม ๑ ค่ํา เดอื น ๑๑; ดู ยมก- บรมสารีริกธาตุใหสําเร็จไดโดยสันติวิธีปาฏหิ าริย เปน ผสู รา งตมุ พสตปู บรรจทุ ะนานทองท่ีเทศกาล คราวสมัยที่กําหนดไวเปน ใชต วงแบง พระบรมสารรี กิ ธาตุประเพณี เพื่อทําบุญและการรื่นเริงใน โทมนัส ความเสียใจ, ความเปน ทกุ ขใจ;ทองถิน่ เชน ตรษุ สงกรานต เขาพรรษา ดู เวทนา

โทสะ ๑๓๙ ธมกรกโทสะ ความคดิ ประทษุ รา ย (ขอ ๒ ใน โทสาคติ ลําเอียงเพราะไมชอบกัน,อกุศลมลู ๓) ลาํ เอยี งเพราะชงั (ขอ ๒ ในอคติ ๔)โทสจริต คนมีพื้นนิสัยหนักในโทสะ ไทยธรรม ของควรให, ของทาํ บญุ ตา งๆ,หงดุ หงดิ โกรธงาย แกด ว ยเจริญเมตตา ของถวายพระ(ขอ ๒ ในจริต ๖) ธธงแหงคฤหัสถ เคร่ืองนุงหมของ พยัญชนะทั้งหลายเทียบกัน กลาวคือคฤหัสถ, การนุงหมอยางนิยมกันของ ในวรรคทงั้ ๕ นน้ั เรยี งจากพยญั ชนะท่ี ชาวบา น ๑ ซึง่ มีเสยี งเบาท่สี ดุ ไปจนถึงพยญั ชนะธงแหงเดียรถีย เคร่ืองนุงหมของ ท่ี ๔ ซึง่ มเี สยี งดงั กองที่สดุ (พยญั ชนะท่ีเดียรถยี  เชน หนงั เสือ ผา คากรอง ๕ มเี สียงดังเทากับพยญั ชนะท่ี ๓) ดงั นี้เปน ตน , การนงุ หมอยางที่ช่ืนชมกันของ พยญั ชนะท่ี๑ (ก จ ฏ ต ป) เปน สถิ ลิ อโฆสะนกั บวชนอกพระศาสนา พยัญชนะท่ี๒ (ข ฉ  ถ ผ) เปน ธนิตอโฆสะธชพทั โธ, ธชพทั ธ “ผ[ู ดุจ]ผูกธง”, โจร พยญั ชนะที่๓ (ค ช ฑ ท พ) เปน สิถิลโฆสะผรู า ยทีข่ ึ้นชื่อโดงดงั เหมอื นตดิ ธง ไมพ งึ พยญั ชนะท่ี๔ (ฆ ฌ ฒ ธ ภ) เปน ธนติ โฆสะใหบวช, มหาโจรองคุลิมาล เปนตน พยัญชนะท่ี๕ (ง  ณ น ม) เปน สถิ ลิ โฆสะบญั ญัติขอนี้ ธนิยะ ช่ือพระที่เอาไมหลวงไปทํากุฎีธตรฐ ดู จาตมุ หาราช เปน ตนบัญญัตทิ ตุ ยิ ปาราชิกสิกขาบทธนสมบัติ สมบัติคอื ทรพั ยสนิ เงินทอง ธนู มาตราวัดระยะทางเทากับ ๑ วา คือธนติ พยัญชนะออกเสียงแข็ง (ถูกฐาน ๔ ศอกของตนหนัก บันลือเสียงดัง) ไดแก ธมกรก [ทะ-มะ-กะ-หฺรก] กระบอกพยญั ชนะที่ ๒ ที่ ๔ ในวรรคท้งั ๕ คือ กรองน้ําท่ีเปนบริขารของพระภิกษุ,ข, ฆ; ฉ, ฌ; ฐ, ฒ; ถ, ธ; ผ, ภ; คกู บั สถิ ลิ กระบอกทใี่ ชก รองนาํ้ โดยเอาผา กรองปด เร่ืองเสียงพยัญชนะนี้ พึงเขาใจให คลุมดานปากไว สวนดานกนปดเหลือครบตามหลกั โฆสะ-อโฆสะ และ สถิ ลิ - เพียงเปนรูหรือมีกรวยตรงกลางใหลมธนิต แลวพึงทราบระดับเสียงของ ผา น ซึ่งใชปลายน้ิวปด ได ใหนาํ้ ผานเขา

ธรรม ๑๔๐ ธรรมกายทางปากกระบอกผานผากรอง ขับลม อันมิใชว สิ ัยของโลกไดแ ก มรรค ๔ ผลออกทางรูที่กนจนพอแลวเอาน้ิวปดรูน้ัน ๔ นพิ พาน ๑; อีกหมวดหนึ่ง คือ ๑.ก็จะไดนํ้าในกระบอกท่ีกรองแลว, ธม- สงั ขตธรรม ธรรมท่ีปจ จัยปรงุ แตง ไดแ กกรณ กว็ า (บางแหง เขยี นเปน ธมั มกรก ขนั ธ ๕ ทง้ั หมด ๒. อสงั ขตธรรม ธรรมบา ง ธมั มกรณ บา ง), ถา เปนผากรองนํ้า ที่ปจจยั ไมปรงุ แตง ไดแ ก นพิ พานเรียก ปรสิ สาวนะ; ดู บรขิ าร ธรรมกถา การกลาวธรรม, คํากลาวธรรม สภาพท่ีทรงไว, ธรรมดา, ธรรม- ธรรม, ถอยคําที่กลาวถึงธรรม, คําชาต,ิ สภาวธรรม, สจั จธรรม, ความ บรรยายหรอื อธบิ ายธรรม; ธรรมีกถา ก็จริง; เหต,ุ ตน เหตุ; ส่ิง, ปรากฏการณ, ใชธรรมารมณ, ส่ิงที่ใจคิด; คุณธรรม, ธรรมกถกึ ผกู ลา วสอนธรรม, ผูแสดงความด,ี ความถูกตอ ง, ความประพฤติ ธรรม, นักเทศกชอบ; หลกั การ, แบบแผน, ธรรมเนยี ม, ธรรมกามะ ผูใ ครธรรม, ผูชอบตริตรองหนาท;่ี ความชอบ, ความยุตธิ รรม; พระ สอดสองธรรมธรรม, คาํ ส่ังสอนของพระพทุ ธเจา ซ่ึง ธรรมกาย 1. “ผูมธี รรมเปนกาย” เปนแสดงธรรมใหเ ปด เผยปรากฏขน้ึ พระนามอยางหนึ่งของพระพุทธเจาธรรม ในประโยควา “ใหกลาวธรรมโดย (ตามความในอัคคัญญสูตร แหงทีฆ-บท” บาลีแสดงคําสอนในพระพุทธ- นกิ าย ปาฏกิ วรรค) หมายความวา พระศาสนา ท่ที านเรียงไว จะเปนพุทธภาษิต องคทรงคิดพุทธพจนคําสอนดวยพระก็ตาม สาวกภาษติ ก็ตาม ฤษภี าษิตก็ หทัยแลวทรงนําออกเผยแพรดวยพระตาม เทวดาภาษิตกต็ าม เรยี กวา ธรรม วาจา เปน เหตใุ หพระองคก ค็ ือพระธรรม ในประโยคนี้ เพราะทรงเปนแหลงที่ประมวลหรือท่ีธรรม (ในคําวา “การกรานกฐินเปน ประชุมอยูแหงพระธรรมอันปรากฏเปด ธรรม”) ชอบแลว , ถูกระเบยี บแลว เผยออกมาแกชาวโลก; พรหมกาย หรือธรรม ๒ หมวดหนึง่ คอื ๑. รูปธรรม ได พรหมภตู กเ็ รียก; 2. “กองธรรม” หรอื แกร ปู ขันธท ง้ั หมด ๒. อรปู ธรรม ไดแก “ชุมนุมแหงธรรม” ธรรมกายยอ มเจรญินามขนั ธ ๔ และนิพพาน; อีกหมวด งอกงามเติบขยายขึ้นไดโดยลําดับจนหนึง่ คอื ๑. โลกยี ธรรม ธรรมอนั เปน ไพบลู ย ในบคุ คลผเู มอื่ ไดส ดับคาํ สอนวสิ ยั ของโลก ๒. โลกตุ ตรธรรม ธรรม ของพระองคแลวฝกอบรมตนดวย

ธรรมของฆราวาส ๔ ๑๔๑ ธรรมเจดียไตรสิกขาเจริญมรรคาใหบรรลุภูมิแหง ดว ยตนเอง ๓. อกาลโิ ก ไมป ระกอบดว ยอรยิ ชน ดังตวั อยางดํารัสของพระมหา- กาล ๔. เอหปิ สสฺ โิ ก ควรเรยี กใหมาดูปชาบดีโคตมี เม่ือคร้ังกราบทูลลาพระ ๕. โอปนยโิ ก ควรนอ มเขา มา ๖. ปจจฺ ตตฺ ํพุทธเจาเพื่อปรินิพพานตามความใน เวทิตพฺโพ วิฺูหิ อันวิญูชนพึงรูคัมภีรอปทานตอนหน่ึงวา “ขาแตพระ เฉพาะตนสุคตเจา หมอมฉันเปน มารดาของพระ ธรรมคุมครองโลก ดู โลกบาลธรรมองค, ขา แตพ ระธรี เจา พระองคก ็เปน ธรรมจริยา การประพฤติธรรม, การพระบิดาของหมอมฉนั ... รปู กายของ ประพฤติเปนธรรม, การประพฤติถูกพระองคน ี้ หมอ มฉันไดท าํ ใหเ จริญเตบิ ตามธรรม เปนชื่อหน่ึงของ กุศล-โต สวนธรรมกายอันเปนที่เอิบสุขของ กรรมบถ ๑๐หมอ มฉนั ก็เปนสิง่ อนั พระองคไดทาํ ให ธรรมจักร จักรคอื ธรรม, วงลอธรรมเจริญเติบโต”; สรุปตามนัยอรรถกถา หรืออาณาจักรธรรม หมายถึงเทศนาธรรมกาย ในความหมายนี้ ก็คือ กัณฑแรก ท่ีพระพทุ ธเจา แสดงแกพ ระ ปญจวคั คยี  (ชื่อของปฐมเทศนา เรยี กโลกุตตรธรรม ๙ หรอื อริยสัจจธรรมของฆราวาส ๔ ดู ฆราวาสธรรม ๔ เตม็ วา ธมั มจกั กัปปวัตตนสตู ร)ธรรมขันธ กองธรรม, หมวดธรรม, ธรรมจักษุ ดวงตาเห็นธรรมคอื ปญ ญาประมวลธรรมเขา เปนหมวดใหญ มี ๕ รูเห็นความจริงวา ส่ิงใดก็ตามมีความคอื สีลขันธ สมาธขิ นั ธ ปญ ญาขันธ เกดิ ขนึ้ เปน ธรรมดา สง่ิ นน้ั ทง้ั ปวงลว นมีวิมุตติขันธ วิมุตติญาณทัสสนขันธ; ความดบั ไปเปน ธรรมดา; ธรรมจกั ษโุ ดยกําหนดหมวดธรรมในพระไตรปฎกวามี ท่ัวไป เชน ทเ่ี กิดแกท า นโกณฑัญญะ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ แบงเปน วนิ ัย เม่ือสดับธรรมจักร ไดแกโสดาปตติ-ปฎ ก ๒๑,๐๐๐ สุตตนั ตปฎก ๒๑,๐๐๐ มรรคหรือโสดาปตติมัคคญาณ คือและอภิธรรมปฎก ๔๒,๐๐๐ พระ ญาณทที่ ําใหเ ปนโสดาบัน ธรรมจารี ผปู ระพฤติธรรม, ผูประพฤติธรรมขนั ธธรรมคณุ คณุ ของพระธรรม มี ๖ อยา ง เปน ธรรม, ผปู ระพฤตถิ กู ธรรม คูกับ สม-คอื ๑. สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมฺโม พระ จารีธรรมอันพระผูมีพระภาคเจาตรัสดีแลว ธรรมเจดยี  เจดยี บ รรจพุ ระธรรมคอื จารกึ๒. สนทฺ ิฏ โ ก อันผปู ฏบิ ตั ิจะพงึ เห็นชัด พระพทุ ธพจน เชน อรยิ สจั จ ปฏิจจ-

ธรรมเจตยิ สตู ร ๑๔๒ ธรรมบท สมุปบาท เปน ตน ลงในใบลาน แลวนํา ความมีอัธยาศัยประณีต ไปบรรจใุ นเจดยี  (ขอ ๓ ในเจดยี  ๔) ธรรมทนิ นา ดู ธมั มทนิ นาธรรมเจติยสูตร สูตรหนึ่งในคัมภีร ธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ มชั ฌมิ นกิ าย มชั ฌมิ ปณ ณาสก แหง พระ ๑๐; ดู อภิณหปจจเวกขณ สตุ ตนั ตปฎ ก วา ดว ยขอ ความทพ่ี ระเจา ธรรมเทศนา การแสดงธรรม, การปเสนทิโกศลกราบทูลพระพุทธเจา บรรยายธรรมพรรณนาความเลื่อมใสศรัทธาของพระ ธรรมเทศนาปฏิสงั ยุตต ธรรมเนียมท่ีองคท ่ีมีตอ พระรัตนตรัย เก่ยี วกบั การแสดงธรรม (หมวดที่ ๓ธรรมชาติ ของท่ีเกิดเองตามวิสัยของ แหง เสขิยวัตร มี ๑๖ สิกขาบท)โลก เชน คน สตั ว ตนไม เปนตน ธรรมเทศนาสิกขาบท สิกขาบทปรับธรรมฐิติ ความดํารงคงตัวแหงธรรม, อาบตั ิปาจติ ตีย แกภ ิกษุผูแสดงธรรมแก ความตง้ั อยแู นน อนแหง กฎธรรมดา มาตคุ ามเกินกวา ๕–๖ คาํ เวน แตม ีบุรุษธรรมดา อาการหรือความเปนไปแหง ผรู ูเ ดียงสาอยดู วย (สกิ ขาบทที่ ๗ ในธรรมชาติ; สามญั , ปกติ, พ้ืนๆ มุสาวาทวรรคแหง ปาจิตตีย)ธรรมทาน การใหธรรม, การสั่งสอน ธรรมนยิ าม กาํ หนดแนน อนแหง ธรรมดา,แนะนําเกี่ยวกับธรรม, การใหความรู กฎธรรมชาต,ิ ความจรงิ ทม่ี อี ยหู รอื ดาํ รงความเขา ใจท่ถี ูกตอง; ดู ทาน อยตู ามธรรมดาของมนั ซง่ึ พระพทุ ธเจาธรรมทายาท ทายาทแหง ธรรม, ผูรับ ทรงคนพบแลวทรงนํามาแสดงชี้แจง มรดกธรรม, ผูรับเอาธรรมของพระ อธบิ ายใหค นทง้ั หลายไดร ตู าม มี ๓ อยา ง พุทธเจามาเปนสมบัติดวยการประพฤติ แสดงความตามพระบาลดี งั นี้ ๑. สพเฺ พ ปฏบิ ตั ใิ หเ ขา ถงึ ; โดยตรงหมายถงึ รบั เอา สงขฺ ารา อนิจจฺ า สังขารทง้ั ปวง ไมเทย่ี ง โลกุตตรธรรม ๙ ไวไดด ว ยการบรรลุ ๒. สพฺเพ สงฺขารา ทกุ ฺขา สังขารทงั้ ปวง เอง โดยออมหมายถึง รบั ปฏบิ ตั ิกุศล คงทนอยมู ไิ ด ๓. สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรม จะเปน ทาน ศีล หรอื ภาวนาก็ตาม ธรรมทง้ั ปวง ไมเ ปน ตวั ตน; ดู ไตรลกั ษณ ตลอดจนการบชู า ที่เปน ไปเพ่ือบรรลุซึ่ง ธรรมเนียม ประเพณี, แบบอยางทีเ่ คย โลกตุ ตรธรรมนัน้ ; เทยี บ อามสิ ทายาท ทํากันมา, แบบอยางที่นิยมใชกนัธรรมทําใหงาม ๒ คือ ๑. ขนั ติ ความ ธรรมบท บทแหงธรรม, บทธรรม, ขอ อดทน ๒. โสรจั จะ ความเสงี่ยมหรอื ธรรม; ชื่อคาถาบาลีหมวดหนึ่งจัดเปน

ธรรมบูชา ๑๔๓ ,คัมภีรท่ี ๒ ในขุททกนิกาย พระ ขอ สงสยั ขจดั ปด เปา ขอ ตดิ ขดั ยากลาํ บากสตุ ตนั ตปฎ ก มี ๔๒๓ คาถา เดือดรอนทั้งหลาย ใหเขาลุลวงกิจอันธรรมบชู า 1. “การบูชาดว ยธรรม”, การ เปน กุศล พน ความอึดอัดขดั ของ (ขอ ๒บชู าดว ยการปฏบิ ัตธิ รรม เฉพาะอยางย่งิ ในปฏสิ ันถาร ๒)การบูชาพระพุทธเจาดวยธรรมานุธรรม- ธรรมเปนโลกบาล ๒ คือ ๑. หริ ิ ความปฏบิ ัติ (ขอ ๒ ในบูชา ๒) 2. “การบชู า ละอายแกใจ ๒.โอตตปั ปะ ความกลวัซึ่งธรรม”, การบชู าพระธรรม อนั เปน บาป; ดู โลกบาลธรรมอยา งหนึ่งในพระรตั นตรยั (คอื บชู าพระ ธรรมเปนเหตุใหสมหมาย ธรรมที่จะธรรมรตั นะ) ดว ยดอกไม ธปู เทียน ชว ยใหไ ดท ลุ ลภธรรมสมหมาย มี ๔ คอืของหอม เปนตน หรอื (ที.อ.๓/๙๖) บูชา ๑. สทั ธาสัมปทา ถงึ พรอ มดว ยศรทั ธาทานผูเปนพหูสูต ผูทรงธรรมทรงวินัย ๒. สลี สมั ปทา ถงึ พรอ มดว ยศลี ๓. จาค-ดวยไตรจีวร เปนตน ตลอดจนเคารพ สัมปทา ถงึ พรอ มดวยการบรจิ าค ๔.ธรรม ถือธรรมเปน ใหญ ดงั ท่ีพระพทุ ธ ปญญาสัมปทา ถงึ พรอ มดว ยปญ ญาเจาทรงเคารพธรรม และทรงบําเพ็ญ ธรรมพเิ ศษ ดู ธรรมวเิ ศษพุทธกิจดวยทรงเห็นแกธรรม เพ่ือให ธรรมไพบูลย ความไพบูลยแหง ธรรม,หมูชนเขาถึงธรรม ไดประโยชนจาก ความพร่ังพรอมเต็มเปยมแหงธรรมธรรม (เชน ม.อ.๔/๒๐๘; ม.ฏี.๓/๔๗๐) ดวยการฝกฝนอบรมใหมีในตนจนธรรมปฏิบัติ การปฏิบัติธรรม; การ บริบูรณ หรือดวยการประพฤติปฏิบัติปฏิบัตทิ ถ่ี ูกตองตามธรรม กันในสังคมจนแพรหลายท่ัวไปท้ังหมด;ธรรมปฏริ ูป ธรรมปลอม, ธรรมทีไ่ ม ดู ไพบลู ย, เวปลุ ละ ธรรมภาษติ ถอยคาํ ท่เี ปน ธรรม, ถอ ยคําแท, ธรรมเทียมธรรมปฏิสันถาร การตอ นรบั ดว ยธรรม ทแ่ี สดงธรรม หรอื เก่ียวกบั ธรรมคือกลาวธรรมใหฟงหรือแนะนําในทาง ธรรมมีอุปการะมาก ๒ คือ ๑. สติธรรม อยางนี้เปนธรรมปฏิสันถารโดย ความระลกึ ได ๒.สมั ปชญั ญะ ความรตู วัเอกเทศคือสวนหน่ึงดานหนึ่ง ธรรม- ธรรมยุต, ธรรมยุติกนิกาย ดู คณะปฏิสันถารที่บําเพ็ญอยางบริบูรณ คือ ธรรมยตุการตอนรับโดยธรรม ไดแก เอาใจใส ธรรมรตั นะ,ธรรมรัตน รตั นะคอื ธรรม,ชว ยเหลอื สงเคราะห แกไ ขปญ หาบรรเทา พระธรรมอนั เปน อยา งหนง่ึ ในรตั นะ ๓

ธรรมราชา ๑๔๔ ธรรมสภา ทเี่ รียกวาพระรตั นตรัย; ดู รตั นตรยั ธรรม = คําสอนแสดงหลกั ความจริงธรรมราชา 1. “ผูย งั ชาวโลกใหช ื่นบาน และแนะนาํ ความประพฤต,ิ วินัย = บทดวย(นวโลกตุ ตร)ธรรม”, พระราชาแหง บัญญัติกําหนดระเบียบความเปนอยูธรรม, พระราชาผูเปนเจาแหงธรรม, และกาํ กบั ความประพฤต;ิ ธรรม = เครอื่ งพระราชาโดยธรรม หมายถึงพระพุทธ ควบคมุ ใจ, วินัย = เครอื่ งควบคุมกายเจา 2. “ผูย ังชาวโลกใหช่นื บานดวย(ทศ และวาจากุศลกรรมบถ)ธรรม”, ราชาผทู รงธรรม, ธรรมวภิ าค การจาํ แนกธรรม, การจดัพระเจา จกั รพรรดิ ตามคติแหงพระพทุ ธ หัวขอธรรมจําแนกออกเปนหมวดหมูศาสนา คือ ราชาผูมีชัยชนะและครอง เพื่อสะดวกแกการศึกษาคนควาอธิบายแผน ดนิ โดยธรรม ไมต อ งใชท ณั ฑ ไม และทาํ ความเขาใจตองใชศ ัสตราวธุ ธรรมวิเศษ ธรรมชั้นสูง หมายถึงธรรมวัตร ลักษณะเทศนทาํ นองธรรมดา โลกุตตรธรรมเรยี บๆ ทแี่ สดงอยทู ั่วไป อันตา งไปจาก ธรรมศาลา หอธรรม, โรงฟง ธรรม; เปนทํานองเทศนแบบมหาชาติ, ทํานอง คําท่ีเกิดในยุคหลังมาก และใชกันไมแสดงธรรม ซึ่งมุงอธิบายตามแนวเหตุ มาก มักเปนชื่อวัด พบบางในคัมภีรผล มใิ ชแ บบเรยี กเราอารมณ ประเภท “วงั สะ” คอื ตํานานตา งๆ เชนธรรมวาที “ผูมปี กตกิ ลา วธรรม”, ผพู ูด มหาวงส สาสนวงส (รปู บาลีเปน “ธมมฺ -เปนธรรม, ผพู ูดตามธรรม, ผูพูดตรง สาลา”)ตามธรรมหรอื พูดถูกตองตามหลัก ไม ธรรมสภา ทปี่ ระชมุ ฟง ธรรม, โรงธรรม; พดู ผดิ ธรรม ไมพดู นอกหลักธรรม แตเดิม ในพระไตรปฎ ก “ธรรมสภา”ธรรมวจิ ยั การเฟนธรรม; ดู ธมั มวิจยะ เปนคําท่ีใชนอย (พบในเรื่องอดีตกอนธรรมวจิ ารณ การใครค รวญพจิ ารณาขอ พทุ ธกาลครั้งหนง่ึ คือ ในวิธุรชาดก, ขุ.ชา.ธรรมตา งๆ วา แตล ะขอ มีอรรถคือความ ๒๘/๑๐๔๐/๓๖๒, เปนอาคารหลวงในเมอื งหมายอยา งไร ตน้ื ลกึ เพยี งไร แลว แสดง อินทปตถ หรอื อินทปตต ในกรุ รุ ัฐ, และความคิดเห็นออกมาวาธรรมขอน้ันขอนี้ อกี คร้งั หน่งึ เปน คาถาประพนั ธข องพระ มีอรรถคือความหมายอยางนน้ั อยา งนี้ อบุ าลีมหาสาวก, ข.ุ อป.๓๒/๘/๖๓, กลา วธรรมวินยั ธรรมและวนิ ัย, คําสั่งสอนทัง้ เปนความอุปมาวาพระพุทธเจาทรงเปนหมดของพระพุทธเจา ซึ่งประกอบดวย พระธรรมราชา ไดทรงสรางธรรมนคร

ธรรมสมโภค ๑๔๕ ธรรมสามคั คีขึ้น ในธรรมนครนี้ มีพระสุตตันตะ ไป, บางอยางใหทุกขในปจจบุ นั แตมสี ขุพระอภธิ รรม พระวินัย และพทุ ธพจนม ี เปนวิบากตอไป, บางอยางใหสุขในองค ๙ ทัง้ สิ้น เปนธรรมสภา), ตอ มา ปจจุบัน แตมที กุ ขเ ปนวิบากตอ ไป, บางในชนั้ อรรถกถา “ธรรมสภา” ไดกลาย อยางใหสุขในปจจุบัน และมีสุขเปนเปนคําสามัญอันใชเรียกที่ประชุมฟง วบิ ากตอ ไปพระธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจา เชน ธรรมสวนะ การฟง ธรรม, การหาความในวัดพระเชตวัน เชนเดียวกับคําวา รูความเขาใจในหลักความจริงความถูก“คันธกุฎี” ทีอ่ รรถกถาใชเ รียกพระวิหาร ตองดงี าม ดว ยการเลาเรยี น อา นและท่ีประทับของพระพุทธเจา ดงั ขอ ความ สดับฟง, การศึกษาหาความรูท่ีในอรรถกถา (เชน อง.ฺ อ.๑/๑๐๑/๗๔) วา ปราศจากโทษ; ธมั มสั สวนะ ก็เขียน“พระผูมีพระภาคเจาเสด็จออกจากพระ ธรรมสวามิศร ผเู ปนใหญโดยฐานเปนคันธกุฎี มาประทับน่ังเหนือพระบวร เจา ของธรรม หมายถึงพระพทุ ธเจาพุทธอาสนท่ีเขาปูลาดไวในธรรมสภา”, ธรรมสังคาหกะ พระอรหันต ๕๐๐อาคารที่อรรถกถาเรียกวาธรรมสภานี้ องค ผรู วบรวมรอ ยกรองพระธรรมวินยัตามปกติก็คืออาคารท่ีในพระไตรปฎก ในคราวปฐมสงั คายนาเรียกวา “อุปฏฐานศาลา” (ศาลาที่ภกิ ษุ ธรรมสังคาหกาจารย อาจารยผูรอยทั้งหลายมาเฝาเพ่ือฟงพระพุทธโอวาท กรองธรรม; ดู ธรรมสงั คาหกะและสดับพระธรรมเทศนา) ดังทท่ี านไข ธรรมสงั คีติ การสงั คายนาธรรม, การความวา “คําวา ‘ในอุปฏฐานศาลา’ รอยกรองธรรม, การจัดสรรธรรมเปนหมายความวา ‘ในธรรมสภา’” (อปุ ฏ าน- หมวดหมูสาลายนตฺ ิ ธมมฺ สภาย,ํ วนิ ย.ฏี.๒/๑๓๔/ ธรรมสงั เวช ความสงั เวชโดยธรรมเมอ่ื๒๗๗); ดู คนั ธกุฎี, อุปฏ ฐานศาลา เห็นความแตกดับของสังขาร (เปนธรรมสมโภค คบหากนั ในทางเรยี นธรรม อารมณของพระอรหนั ต) ; ดู สังเวชไดแ ก สอนธรรมให หรอื ขอเรยี นธรรม ธรรมสากจั ฉา การสนทนาธรรม, การธรรมสมาทาน การสมาทานยึดถือ สนทนากนั ในทางธรรมปฏิบัติธรรม, การทํากรรม จดั ไดเปน ๔ ธรรมสามัคคี ความพรอมเพรียงของประเภท คือ การทาํ กรรมบางอยางให องคธรรม, องคธรรมท้ังหลายท่ีเก่ียวทกุ ขในปจจบุ นั และมีทกุ ขเปน วิบากตอ ของทุกอยางทํากิจหนาที่ของแตละ

ธรรมสามสิ ร ๑๔๖ ธญั ชาติอยางๆ พรอมเพรียงและประสานสอด ปฏิบัติธรรมถกู ตองตามหลกั เชน หลักคลองกัน ใหสําเร็จผลท่ีเปนจุดหมาย ยอยสอดคลองกับหลักใหญ และเขาเชน ในการบรรลมุ รรคผล เปนตน แนวกบั ธรรมท่ีเปนจุดมงุ หมาย, ปฏิบตั ิธรรมสามิสร ดู ธรรมสวามศิ ร ถูกตองตามกระบวนธรรม; ดู วุฑฒิธรรมสามี ผเู ปนเจาของธรรม เปนคํา ธรรมาภิสมัย การตรัสรูธรรม, การเรียกพระพุทธเจา สําเรจ็ มรรคผลธรรมเสนา กองทัพธรรม, กองทัพพระ ธรรมารมณ อารมณค อื ธรรม, สง่ิ ทถ่ี กู รบั รูสงฆผปู ระกาศพระศาสนา ทางใจ, สงิ่ ทรี่ ดู ว ยใจ, สง่ิ ทใี่ จรสู กึ นกึ คดิ ; ดูธรรมเสนาบดี แมท พั ธรรม, ผูเปน นาย ธัมมายตนะ, อารมณทพั ธรรม เปน คาํ เรยี กยกยอ งพระสารบี ตุ ร ธรรมาสน ทส่ี าํ หรบั น่งั แสดงธรรมซ่ึงเปนกําลังใหญของพระศาสดาในการ ธรรมิกอุบาย อุบายที่ประกอบดวยประกาศพระศาสนา ธรรม, อุบายทีช่ อบธรรม, วธิ ีท่ถี กู ธรรมธรรมันเตวาสิก อันเตวาสิกผูเรียน ธรรมิศราธิบดี ผูเปนอธิบดีโดยฐานธรรมวินยั , ศษิ ยผ ูเรียนธรรมวินยั ; คกู บั เปนใหญในธรรม หมายถึงพระพุทธเจาอทุ เทศาจารย (คํากวี)ธรรมาธิปไตย ถอื ธรรมเปน ใหญ, ถือ ธรรมกี ถา ถอ ยคําที่ประกอบดวยธรรม,หลักการ ความจริง ความถูกตอง ความ การพูดหรือสนทนาเก่ียวกับธรรม, คาํดีงามและเหตุผลเปนใหญ ทาํ การดว ย บรรยายหรืออธิบายธรรม; นิยมใชวาปญ ญา โดยเคารพหลกั การ กฎ ระเบยี บ ธรรมกถากติกา มุงเพื่อความดีงาม ความจริง ธรรมุเทศ ธรรมท่ีแสดงขึ้นเปนหัวขอ,ความชอบธรรมเปน ประมาณ; ดู อธปิ ไตย หัวขอ ธรรมธรรมาธิษฐาน มีธรรมเปนท่ีตั้ง คือ ธรรมธุ จั จ ดู ธมั มทุ ธจั จะ;วปิ ส สนปู กเิ ลสเทศนายกธรรมข้นึ แสดง เชนวา ศรัทธา ธญั ชาติ ขาวชนิดตา งๆ, พชื จาํ พวกขา ว;ศลี คืออยางน้ี ธรรมทป่ี ระพฤตดิ ีแลว ธญั ชาติ ๗ คอื สาลิ (ขา วสาล)ี , วหี ิ (ขา วยอมนําสุขมาให ดังนี้เปนตน; คูกับ เจา ), ยวะ (ขา วเหนยี ว), โคธมุ ะ (โคธมู ะบคุ คลาธิษฐาน กว็ า ; ขา วละมาน), กงั คุ (ขา วฟา ง), วรกะธรรมานุธรรมปฏิบัติ การประพฤติ (ลกู เดอื ย), กทุ รสู ะ (หญา กบั แก) ; คาํ วาธรรมสมควรแกธรรม หมายถึงการ “ธญั ชาตดิ บิ สด” (อามกธญั ญะ) หมายถงึ

ธมั มกามตา ๑๔๗ ธัมมเทสนามยัธญั ชาติ ๗ นเ้ี อง ทย่ี งั ไมไ ดข ดั สหี รอื ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร “พระสูตรวากะเทาะเปลอื กออก (ยงั ไมเ ปน ตณั ฑลุ ะ) ดวยการยังธรรมจักรใหเปนไป”, พระและยงั ไมไ ดท าํ ใหส กุ (ยงั ไมเ ปน โอทนะ) สูตรวา ดว ยการหมนุ วงลอธรรม เปน ชอื่เชน วหี ิ คอื ขา วเปลอื กของขา วเจา ของ ปฐมเทศนา คือพระธรรมเทศนาอนึ่ง พืชทีเ่ ปนของกนิ คือเปน อาหาร ครั้งแรก ซึ่งพระพุทธเจาทรงแสดงแกท่ีรับประทาน (อันนะ) น้นั แบงเปน ๒ พระปญ จวคั คยี  ทป่ี า อสิ ปิ ตนมฤคทายวนัพวก ไดแ ก บพุ พณั ณะ (แปลสบื กนั มาวา แขวงเมืองพาราณสี ในวันขน้ึ ๑๕ ค่ํา“ของทจ่ี ะพงึ กนิ กอ น” แตต ามคาํ อธิบาย เดือน ๘ หลังจากวนั ตรัสรสู องเดอื น วาในคมั ภรี ห ลายแหง นา จะแปลวา “ของกนิ ดว ยมชั ฌิมาปฏิปทา คอื ทางสายกลางทม่ี เี ปน หลกั ขน้ึ กอ น”) ไดแ ก ธญั ชาติ ๗ ซึ่งเวนท่ีสุด ๒ อยาง และวาดวยนี้ (รวมทั้งพืชท่ีอนุโลมหรือเขาพวกนี้) อรยิ สัจจ ๔ ซ่งึ พระพุทธเจา ไดต รัสรู อันและ อปรณั ณะ (แปลสบื กนั มาวา “ของ ทําใหพระองคสามารถปฏิญาณวาไดท่ีจะพึงกินในภายหลัง” แตตามคํา ตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ (ญาณอธบิ ายในคมั ภรี ห ลายแหง นา จะแปลวา คือความตรัสรูเองโดยชอบอันยอด“ของกนิ ทม่ี เี พม่ิ มาอกี ทหี ลงั ” ทาํ นองของ เย่ยี ม) ทานโกณฑญั ญะ หัวหนาคณะกนิ ประกอบ) ไดแ กพ ชื จาํ พวกถว่ั งาและ ปญจวัคคยี  ฟงพระธรรมเทศนานแ้ี ลวผักท่ีทําเปนกับแกง เชนที่ทานยกตัว ไดด วงตาเหน็ ธรรม (ธรรมจกั ษ)ุ และอยา งบอ ย คอื มคุ คะ (ถว่ั เขยี ว) มาส ขอบวชเปนพระภิกษุรูปแรก เรียกวา(ถวั่ ราชมาส) ตลิ ะ (งา) กลุ ตั ถ (ถวั่ พ)ู เปน ปฐมสาวกอลาพุ (นา้ํ เตา ) กมุ ภณั ฑ (ฟก เขยี ว); ธมั มทินนา พระเถรมี หาสาวิกาองคห น่ึงทั้งน้ี มคี ติโบราณเช่ือวา ครั้งตน กัป เมือ่ เปนกุลธิดาชาวพระนครราชคฤห เปนส่งิ ทง้ั หลายแรกเกิดมีขนึ้ นน้ั บุพพัณณะ ภรรยาของวสิ าขเศรษฐี มคี วามเลื่อมใสเกิดมีกอน อปรณั ณะเกดิ ทีหลัง ในพระพุทธศาสนาบวชในสํานักนางธมั มกามตา ความเปน ผใู ครธ รรม, ความ ภิกษณุ ี บําเพ็ญเพียรไมน านก็ไดสําเร็จพอใจและสนใจในธรรม, ความใฝธ รรม พระอรหัต ไดรับยกยองวาเปนรักความจริง ใฝศึกษาหาความรู และใฝ เอตทัคคะในทางเปนธรรมกถกึ (เขยี นในความดี (ขอ ๖ ในนาถกรณธรรม ๑๐) ธรรมทินนา ก็ม)ีธมั มคารวตา ดู คารวะ ธมั มเทสนามัย บุญสําเร็จดวยการแสดง

ธัมมปฏสิ ันถาร ๑๔๘ ธมั มปั ปมาณิกา ธรรม (ขอ ๙ ในบุญกิริยาวตั ถุ ๑๐) มีแบบแผน ในทีน่ ี้หมายถงึ ภาษาบาลี),ธมั มปฏสิ นั ถาร ดู ธรรมปฏสิ ันถาร ธัมมปทัฏฐกถาน้ี มชี อ่ื เฉพาะรวมอยูในธัมมปฏิสัมภิทา ปญญาแตกฉานใน ชุดทเี่ รียกวา ปรมัตถโชตกิ า; ดู ปรมัตถ- ธรรม, เหน็ คําอธบิ ายพิสดาร ก็สามารถ โชตกิ า, อรรถกถา, โปราณฏั ฐกถา จับใจความมาตัง้ เปน หวั ขอ ได เหน็ ผลก็ ธัมมมัจฉริยะ ตระหนีธ่ รรม ไดแก หวงสืบสาวไปหาเหตุได (ขอ ๒ ใน แหนความรู ไมย อมบอก ไมยอมสอนปฏิสัมภิทา ๔) คนอน่ื เพราะเกรงวาเขาจะรูเ ทาตน (ขอธัมมปทฏั ฐกถา คมั ภรี อรรถกถาอธบิ าย ๕ ในมัจฉริยะ ๕)ความในธรรมบท แหงขทุ ทกนกิ าย ใน ธมั มวจิ ยะ ความเฟนธรรม, ความสอดพระสุตตันตปฎ ก พระพุทธโฆสาจารย สอ ง สืบคนธรรม, การวิจัยหรือคน ควานําเน้ือความในอรรถกถาเกาที่ใชศึกษา ธรรม (ขอ ๒ ในโพชฌงค ๗)และรักษาสบื ตอกนั มาในลงั กาทวปี อนั ธัมมสัมมขุ ตา ความเปน ตอ หนา ธรรม,เปนภาษาสิงหฬ เอามาเรียบเรียงกลับ พรอ มหนาธรรม ในววิ าทาธิกรณ หมายขนึ้ เปนภาษาบาลี เม่ือ พ.ศ. ใกลจ ะถงึ ความวา ปฏิบัติถูกตองตามธรรมวินัย๑๐๐๐ ดังที่ทานเลาไวในปณามคาถา และสัตถุศาสนอันเปนเครื่องระงับของคัมภีรนี้วา พระกุมารกัสสปเถระ อธิกรณน้ัน จึงเทากับวาธรรมมาอยูท่ี(พระเถระรูปหนึ่งในลังกาทวีป ไมใช นน้ั ดว ย; ดู สัมมขุ าวินยัทานท่ีเปนมหาสาวกในพุทธกาล) คิด ธมั มสากจั ฉา ดู ธรรมสากัจฉาหวังวา “อรรถกถาแหงพระธรรมบท ธมั มญั ุตา ความเปนผรู ูจกั เหตุ เชน รูอันละเอียดลึกซ้ึง ที่นําสืบกันมาใน จกั วา สง่ิ นเ้ี ปนเหตแุ หง สุข สง่ิ น้เี ปนเหตุตามพปณณทิ วีป ดาํ รงอยโู ดยภาษาของ แหง ทกุ ข; ตามอธบิ ายในบาลหี มายถงึ รหู ลกัชาวเกาะ ไมชวยใหประโยชนสําเร็จ หรอื รหู ลกั การ เชน ภกิ ษุเปนธัมมญั ูพรอ มบรู ณแกคนพวกอน่ื ทเ่ี หลอื ได ทํา คอื รูห ลกั คาํ สอนของพระพทุ ธเจา ท่จี ดัอยางไรจะใหอรรถกถาแหงพระธรรม- เปนนวังคสตั ถุศาสน; ดู สัปปรุ ิสธรรมบทนั้นยังประโยชนใหสําเร็จแกโลกท้ัง ธมั มปั ปมาณกิ า ถอื ธรรมเปน ประมาณ,ปวงได” จึงไดอ าราธนาทา นใหทาํ งานนี้ ผูเลื่อมใสเพราะพอใจในเนื้อหาธรรมและทานก็ไดนําอรรถกถาน้ันออกจาก และการปฏบิ ตั ดิ ีปฏิบตั ชิ อบ เชน ชอบภาษาสงิ หฬ ยกขึน้ สูต ันตภิ าษา (ภาษาท่ี ฟงธรรม ชอบเห็นภิกษุรักษามารยาท

ธมั มสั สวนะ ๑๔๙ ธาต๑ุเรียบรอ ยสํารวมอินทรีย แลนตามไปดวยธรรม”, พระอริยบคุ คลธัมมสั สวนะ การฟงธรรม, การสดับคํา ผูตั้งอยใู นโสดาปต ตมิ รรค ท่ีมปี ญ ญนิ -แนะนําสั่งสอน; ดู ธรรมสวนะ ทรยี แรงกลา (เมอื่ บรรลผุ ล กลายเปนธัมมัสสวนมัย บุญสําเร็จดวยการฟง ทิฏฐิปปต ตะ); ดู อรยิ บคุ คล ๗ธรรม (ขอ ๘ ในบุญกิริยาวตั ถุ ๑๐) ธัมมายตนะ อายตนะคือธรรม,ธัมมสั สวนานิสงส อานิสงสแหง การฟง ธรรมารมณ, เปนขอ ท่ี ๖ ในอายตนะธรรม, ผลดีของการฟง ธรรม, ประโยชน ภายนอก ๖ (คูกบั มนายตนะ [อายตนะที่จะไดจากการฟงธรรม มี ๕ อยางคอื คือใจ] ในฝา ยอายตนะภายใน ๖), ได๑. ไดฟ ง สง่ิ ทยี่ งั ไมเ คยฟง ๒. สง่ิ ทเ่ี คยฟง แกส ภาวธรรมตอ ไปนี้ คือ นามขนั ธ ๓กเ็ ขา ใจแจม แจง ชดั เจนยง่ิ ขนึ้ ๓. บรรเทา (เวทนา สญั ญา สงั ขาร) และรปู บางอยา ง ความสงสยั เสยี ได ๔. ทําความเหน็ ให ในรปู ขันธ (คอื เฉพาะอนทิ สั สนอปั ปฏฆิ - ถกู ตองได ๕. จิตของเขายอมผองใส รปู อนั ไดแ กส ขุ มุ รปู ๑๖) กบั ทง้ั อสงั ขต-ธัมมาธิปเตยยะ ถือธรรมเปนใหญ คอื ธาตุ คือนพิ พาน ซึ่งเปน ขนั ธวนิ ิมตุ คอืนึกถึงความจริง ความถูกตองสมควร เปนสภาวะพน จากขันธ ๕ (อภิ.วิ.๓๕/๑๐๐/กอนแลว จงึ ทาํ บัดนีน้ ยิ มเขยี น ธรรมา- ๘๖); ดู สขุ ุมรปู , อายตนะธิปไตย; ดู อธปิ เตยยะ ธมั มกี ถา ดู ธรรมีกถาธัมมานุธมั มปฏปิ ตติ ดู ธรรมานธุ รรม- ธัมมุทธจั จะ ความฟงุ ซา นดวยสําคัญผดิปฏิบตั ิ ในธรรม คอื ความฟุงซานเน่ืองจากเกดิธัมมานุปสสนา การตั้งสติกําหนด วิปสสนูปกิเลสอยา งใดอยางหนึ่งข้นึ แลวพิจารณาธรรม, สตพิ จิ ารณาธรรมที่เปน สําคัญผิดวาตนบรรลุธรรมคือมรรคผลกุศลหรืออกุศลที่บังเกิดกับใจเปน นิพพาน จิตก็เลยคลาดเขวออกไปอารมณวา ธรรมน้ีก็สักวาธรรมไมใช เพราะความฟงุ ซานนน้ั ไมเกิดปญ ญาท่ีสัตวบคุ คลตวั ตนเราเขา (ขอ ๔ ในสต-ิ จะเห็นไตรลกั ษณไ ดจรงิ , ธรรมธุ จั จ ก็ปฏฐาน ๔) เขียน; ดู วปิ สสนูปกิเลสธัมมานุสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรม ธาตุ๑ สิ่งท่ีทรงสภาวะของมันอยูเองตาม(ขอ ๒ ในอนสุ ติ ๑๐) เขียนอยา งรปู ธรรมดาของเหตปุ จจยั , ธาตุ ๔ คอื ๑.เดิมในภาษาบาลเี ปน ธมั มานสุ สติ ปฐวีธาตุ สภาวะที่แผไปหรือกินเน้ือที่ธมั มานุสารี “ผแู ลน ไปตามธรรม”, “ผู เรียกสามัญวาธาตุแขนแข็งหรือธาตุดิน

ธาต๒ุ ๑๕๐ ธดุ งค๒. อาโปธาตุ สภาวะทเ่ี อิบอาบดูดซึม ใชต ัวตนของเราเรยี กสามัญวา ธาตเุ หลวหรอื ธาตุนาํ้ ๓. ธาตุเจดีย เจดียบรรจุพระบรม-เตโชธาตุ สภาวะที่ทําใหรอน เรียก สารีรกิ ธาตุ (ขอ ๑ ในเจดีย ๔)สามัญวา ธาตุไฟ ๔. วาโยธาตุ สภาวะท่ี ธิติ 1. ความเพยี ร, ความเขมแขง็ มัน่ คง,ทาํ ใหเคลื่อนไหว เรยี กสามัญวา ธาตุ ความหนักแนน, ความอดทน 2.ลม; ธาตุ ๖ คือ เพ่มิ ๕. อากาสธาตุ ปญ ญาสภาวะที่วาง ๖. วิญญาณธาตุ สภาวะทีร่ ู ธรี ะ นักปราชญ, ผฉู ลาด ธดุ งค องคค ุณเคร่อื งกําจัดกเิ ลส, ช่อื ขอแจง อารมณ หรอื ธาตรุ ูธาต๒ุ สวนสําคญั แหง สรรี ะ ของพระพุทธ ปฏิบัติประเภทวัตร ท่ีผูสมัครใจจะพึงเจา พระปจเจกพทุ ธเจา และพระอรหนั ต สมาทานประพฤตไิ ด เปนอบุ ายขดั เกลาทั้งหลาย ซึ่งคงอยูหรือรักษาไวเปนท่ี กิเลส สงเสริมความมักนอยสันโดษ เคารพบูชา เฉพาะอยางย่ิงอัฐิ รวมท้ัง เปนตน มี ๑๓ ขอคือ หมวดที่ ๑ จีวร- ปฏสิ งั ยตุ ต เกย่ี วกบั จวี ร มี ๑. ปง สกุ ูล-ิ สวนสําคัญอืน่ ๆ เชน เกสา (เกศธาต)ุ , กงั คะ ถอื ใชแตผา บังสุกุล ๒. เตจีวริ- กังคะ ใชผ าเพยี งสามผืน; หมวดท่ี ๒ เรยี กรวมๆ วา พระธาตุ (ถา กลา วถงึ ธาตุ ปณ ฑปาตปฏสิ งั ยตุ ต เกยี่ วกบั บณิ ฑบาต ของพระพุทธเจาโดยเฉพาะ เรียกวา มี ๓. ปณฑปาติกังคะ เทยี่ วบณิ ฑบาต พระบรมธาตุ พระบรมสารรี กิ ธาตุ พระ เปนประจํา ๔. สปทานจารกิ ังคะ บิณฑ- สารีริกธาตุ หรือระบุชื่อพระธาตุสวน บาตตามลําดับบาน ๕. เอกาสนิกังคะ น้ันๆ เชน พระทาฐธาตุ พระอุณหิส- ฉันม้ือเดียว ๖. ปตตปณฑิกังคะ ฉัน ธาต)ุ ; ดู สารีริกธาตุ เฉพาะในบาตร ๗. ขลปุ จ ฉาภัตตกิ ังคะธาตุกถา ช่ือคัมภีรท่ีสามแหงพระ อภิธรรมปฎก วาดวยการสงเคราะหธรรมท้ังหลายเขากับ ขันธ อายตนะ ลงมือฉันแลวไมยอมรับเพ่ิม; หมวดท่ี และธาตุ (พระไตรปฎกเลม ๓๖) ๓ เสนาสนปฏสิ งั ยตุ ต เกย่ี วกบั เสนาสนะธาตุกัมมัฏฐาน กรรมฐานที่พิจารณา มี ๘. อารญั ญกิ งั คะ ถอื อยปู า ๙. รกุ ขมลู -ิ ธาตุเปนอารมณ, กําหนดพิจารณาราง กังคะ อยูโคนไม ๑๐. อัพโภกาสิกงั คะ อยูก ลางแจง ๑๑. โสสานกิ งั คะ อยปู า ชา กายแยกเปนสวนๆ ใหเห็นวาเปนแต ๑๒. ยถาสนั ถตกิ งั คะ อยูในทีแ่ ลวแตเ ขา เพียงธาตุ ๔ คอื ดิน นํา้ ไฟ ลมประชุมกันอยู ไมใชเ รา ไมใ ชข องเรา ไม จัดให; หมวดท่ี ๔ วริ ิยปฏสิ ังยุตต เกีย่ ว

ธรุ ะ ๑๕๑ นกุลบิดากับความเพยี ร มี ๑๓. เนสชั ชกิ ังคะ ถอื ธุวยาคู ยาคูท่ีเขาถวายเปนประจําเชนท่ีนั่งอยางเดียวไมนอน (นีแ้ ปลเอาความ นางวิสาขาถวายเปนประจําหรือที่จัดทําสั้นๆ ความหมายละเอียดพึงดูตาม เปนของวัดแจกกนั เองลําดับอกั ษรของคํานนั้ ๆ) โธตกมาณพ ศิษยคนหน่ึงในจาํ นวน ๑๖ธรุ ะ “สงิ่ ทจี่ ะตอ งแบกไป”, หนา ท,่ี ภารกจิ , คน ของพราหมณพาวรี ท่ีไปทูลถามการงาน, เร่อื งทจี่ ะตอ งรบั ผิดชอบ, กจิ ปญหากะพระศาสดา ท่ีปาสาณเจดียในพระศาสนา แสดงไวในอรรถกถา ๒ โธโตทนะ กษตั ริยศ ากยวงศ เปน พระอยา งคอื คนั ถธรุ ะ และวปิ ส สนาธรุ ะ ราชบุตรองคท่ี ๔ ของพระเจา สีหหนุธลุ ี ฝนุ , ละออง, ผง เปนพระอนุชาของพระเจาสุทโธทนะธุวภตั อาหารท่ถี วายเปนประจาํ , นติ ยภัต เปนพระเจาอาของพระพุทธเจา นนกลุ บดิ า “พอ ของนกลุ ”, คฤหบดชี าว ตอกันอยางบริสุทธิ์และม่ันคงยั่งยืน เมืองสุงสุมารคีรี ในแควนภัคคะ มี ตราบเทาชรา ทั้งยงั ปรารถนาจะพบกนั ภรรยาชอื่ นกลุ มารดา สมยั หนง่ึ พระ ทง้ั ชาตนิ แ้ี ละชาตหิ นา เคยทลู ขอใหพ ระ พุทธเจาเสด็จมายังเมืองสุงสุมารคีรี พุทธเจาแสดงหลักธรรมท่ีจะทําใหสามี ประทับที่ปาเภสกลาวัน ทานคฤหบดี ภรรยาครองรักกันยั่งยนื ตลอดไปท้งั ภพ และภรรยาไปเฝาพรอมกับชาวเมืองคน นแ้ี ละภพหนา เมอื่ ทา นนกลุ บดิ าเจบ็ ปว ย อื่นๆ พอไดเห็นครงั้ แรก ทงั้ สองสามี ออดแอดรา งกายออ นแอ ไมส บายดว ย ภรรยาก็เกิดความรูสึกสนิทหมายใจ โรคชรา ทา นไดฟ ง พระธรรมเทศนาครงั้ เหมือนวาพระพุทธเจาเปนบุตรของตน หนง่ึ ทท่ี า นประทบั ใจมากคอื พระดาํ รสั ไดเขา ไปถงึ พระองคแ ละแสดงความรสู กึ ทแ่ี นะนาํ ใหท าํ ใจวา “ถงึ แมร า งกายของ นนั้ พระพทุ ธเจา ไดแ สดงธรรมโปรด ทง้ั เราจะปว ย แตใ จของเราจะไมป ว ย” ทา น สองทานไดบรรลุธรรมเปนพระโสดาบัน นกุลบิดาไดรับยกยองจากพระพุทธเจา ทานนกุลบิดาและนกุลมารดานี้ เปนคู ใหเ ปน เอตทคั คะในบรรดาอบุ าสกผสู นทิ สามภี รรยาตวั อยา ง ผมู คี วามจงรกั ภกั ดี สนมคุนเคย (วิสสาสิกะ) ทานนกุล-

นขา ๑๕๒ นวรหคณุมารดากเ็ ปน เอตทคั คะในบรรดาอบุ าสกิ า นลาฏ หนาผาก นวกะ 1. หมวด ๙ 2. ภิกษใุ หม, ภิกษมุ ีผสู นทิ สนมคนุ เคยเชน เดยี วกนันขา เล็บ พรรษายงั ไมค รบ ๕; เทยี บ เถระ, มชั ฌมิ ะนคร เมืองใหญ, กรงุ นวกภูมิ ขน้ั ชั้น หรอื ระดบั พระนวกะ,นครโศภนิ ี หญงิ งามเมือง, หญงิ ขายตัว ระดบั อายุ คุณธรรม ความรู ที่นบั วายงั(พจนานุกรมเขียน นครโสภิณ,ี นคร- เปน ผใู หม คอื มพี รรษาตา่ํ กวา ๕ ยงั ตอ งโสเภณี) ถอื นสิ ยั เปน ตน ; เทยี บ เถรภมู ,ิ มชั ฌมิ ภมู ินที แมน า้ํ ในพระวินยั หมายเอาแมน ํ้าท่ี นวกรรม การกอ สรางมีกระแสนํา้ ไหลอยู ไมใ ชแ มน า้ํ ตนั นวกัมมาธิฏฐายี ผอู าํ นวยการกอสรางนทกี สั สป นักบวชชฎลิ แหง กัสสปโคตร เชน ทพี่ ระมหาโมคคัลลานะไดรับมอบนองชายของอุรุเวลกัสสปะ พี่ชายของ หมายจากพระบรมศาสดาใหเปนผูคยากสั สปะ ออกบวชตามพช่ี าย พรอม อํานวยการสรางบุพพารามท่ีนางวิสาขาดว ยชฎิลบรวิ าร ๓๐๐ คน สําเรจ็ อรหตั บริจาคทนุ สรางท่ีกรงุ สาวตั ถีดว ยฟง อาทติ ตปรยิ ายสตู ร เปน มหาสาวก นวกมั มกิ ะ ผดู แู ลนวกรรม, ภกิ ษผุ ไู ดร บัองคหนง่ึ ในอสีติมหาสาวก สมมติ คอื แตงตง้ั จากสงฆ ใหทาํ หนา ที่นทีปารสีมา สีมาฝง นา้ํ คือ สีมาที่สมมติ ดูแลการกอสรางและปฏิสังขรณในครอ มฝงนาํ้ ท้ังสอง เปดแมน ้ําไวก ลาง อาราม, เปน ตาํ แหนง หนงึ่ ในบรรดา เจานพเคราะห ดู ดาวพระเคราะห อธิการแหงอารามนมสั การ “การทาํ ความนอบนอ ม” การ นวโกวาท คาํ สอนสาํ หรับผูบวชใหม, คาํไหว, การเคารพ, การนอบนอ ม; ใชเ ปน สอนสําหรับภิกษุสามเณรผูบวชใหม,คําข้ึนตนและสวนหน่ึงของคําลงทาย ชื่อหนังสือแบบเรียนนักธรรมชั้นตรีจดหมายท่ีคฤหัสถมีไปถึงพระภิกษุ เปนพระนิพนธของสมเด็จพระมหา- สามเณร สมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสนรก เหวแหงความทกุ ข, ท่ีอนั ไมมคี วาม นวนีตะ เนยขน ; ดู เบญจโครส สุขความเจริญ, ภาวะเรารอนกระวน นวรหคุณ คุณของพระอรหนั ต ๙ หมายกระวาย, ที่ไปเกิดและเสวยความทุกข ถึง คุณของพระพุทธเจาผูเปนพระของสตั วผ ูทําบาป (ขอ ๑ ในทุคติ ๓, อรหนั ต ๙ ประการ ไดแกพทุ ธคณุ ๙ขอ ๑ ในอบาย ๔); ดู นริ ยะ, คติ นนั่ เอง เขยี น นวารหคณุ ก็ได แต

นวังคสตั ถุศาสน ๑๕๓ นันทะเพี้ยนไปเปน นวหรคณุ ก็มี แลเห็นกนั ไดในเวลานอนนวังคสัตถุศาสน คําส่ังสอนของพระ นอ ม ในประโยควา “ภิกษนุ อมลาภเชนศาสดา มีองค ๙, พุทธพจนมีองค นัน้ มาเพือ่ ตน” ขอหรอื พูดเลยี บเคยี งชกัประกอบ ๙ อยา ง, สวนประกอบ ๙ จงู เพอ่ื จะใหเ ขาใหอยา งท่ีเปน คาํ สอนของพระพุทธเจา คอื นักบญุ ผูใ ฝบุญ, ผถู อื ศาสนาอยา งเครง๑. สุตตะ (พระสูตรทัง้ หลาย รวมท้ัง ครดั , ผทู าํ ประโยชนแ กพ ระศาสนาพระวินัยปฎกและนิทเทส) ๒. เคยยะ นกั ปราชญ ผรู ู, ผูมีปญ ญา(ความที่มีรอยแกวและรอยกรองผสม นกั พรต คนถอื บวช, ผปู ระพฤติพรตกัน ไดแกพ ระสูตรทีม่ ีคาถาทัง้ หมด) ๓. นกั ษัตรฤกษ ดาวฤกษซ ึ่งอยูบนทองฟาเวยยากรณะ (ไวยากรณ คือความรอ ย มชี ือ่ ตา งๆ กัน เชนดาวมา ดาวลกู ไกแกวลว น ไดแ ก พระอภธิ รรมปฎกทงั้ ดาวคางหมู ดาวจระเข ดาวคันฉัตรหมด และพระสตู รทีไ่ มมคี าถา เปน ตน ) เปนตน ; ดู ดาวนักษัตร๔. คาถา (ความรอยกรองลวนเชน นัตถิกทิฏฐิ ความเห็นวา ไมม ี เชนเหน็ วาธรรมบท เถรคาถา เถรีคาถา เปน ตน) ผลบุญผลบาปไมมี บิดามารดาไมมี๕. อุทาน (ไดแก พระคาถาพทุ ธอทุ าน ความดคี วามช่ัวไมมี เปนมจิ ฉาทิฏฐคิ อื๘๒ สูตร) ๖. อิตวิ ตุ ตกะ (พระสตู รที่ ความเหน็ ผดิ ทรี่ า ยแรงอยา งหนงึ่ ; ดู ทฏิ ฐิเรยี กวา อติ วิ ตุ ตกะ ๑๑๐ สตู ร) ๗. ชาตกะ นันทะ พระอนชุ าของพระพทุ ธเจา แตต าง(ชาดก ๕๕๐ เร่ือง) ๘. อพั ภตู ธรรม พระมารดา คอื ประสูตแิ ตพระนางมหา-(เร่ืองอัศจรรย คอื พระสูตรท่กี ลาวถึงขอ ปชาบดีโคตมี ไดออกบวชในวันมงคลอศั จรรยต า งๆ) ๙. เวทลั ละ (พระสตู ร สมรสกับนางชนปทกัลยาณี เบื้องแรกแบบถามตอบท่ีใหเกิดความรูและความ ประพฤติพรหมจรรยอยูดวยความจําใจพอใจแลวซกั ถามย่ิงๆ ข้นึ ไป เชน จูฬ- แตตอมาพระพุทธเจาทรงสอนดวย เวทัลลสูตร มหาเวทัลลสตู ร เปน ตน); อุบาย จนพระนันทะเปล่ียนมาต้ังใจ เขียนอยา งบาลเี ปน นวงั คสตั ถสุ าสน; ดู ปฏิบัติธรรม และในท่ีสุดก็ไดบรรลุ ไตรปฎ ก อรหัตตผล ไดร ับยกยอ งเปน เอตทคั คะนหารู เอ็น ในบรรดาภิกษุผูสํารวมอินทรีย พระนหตุ ชือ่ มาตรานบั เทา กับหนง่ึ หมืน่ นันทะมีรูปพรรณสัณฐานคลายพระนอนรวม นอนในท่ีมุงท่ีบังอันเดียวกัน พุทธเจา แตตา่ํ กวาพระพทุ ธองค ๔ นิ้ว

นนั ทกะ ๑๕๔ นันทมารดานันทกะ พระเถระมหาสาวกองคหนึ่ง ขชุ ชตุ ตรานน้ั (เชน อง.จตกุ กฺ .๒๑/๑๗๖/๒๒๒) เกิดในตระกูลผูดีมีฐานะในพระนคร ครั้งหนง่ึ ที่วดั พระเชตวัน เวฬกุ ัณฏกี นันทมารดา ถวายทานแดพ ระสงฆม พี ระ สาวัตถี ไดฟง พระธรรมเทศนาของพระ สารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะเปน ประมุข พระพุทธเจาตรัสแกภิกษุทั้ง ศาสดา มีความเลื่อมใส ขอบวช เจริญ หลายวา อุบาสิกาทานน้ันประดิษฐาน วิปส สนากมั มัฏฐาน ไดสําเรจ็ พระอรหัต ทกั ขณิ าท่ีพรอมดว ยองค ๖ คือ ทายกมี องค ๓ ไดแ ก กอนให ก็ดีใจ กาํ ลงั ให ทานมีความสามารถในการแสดงธรรม อยู ก็ทาํ จิตใหผุดผองเลอ่ื มใส คร้ันให แลว ก็ช่นื ชมปลม้ื ใจ และปฏิคาหกมีองค จนเปนที่เล่ืองลือ ครั้งหน่ึงทานแสดง ๓ ไดแ ก เปน ผปู ราศจากราคะหรอื ปฏบิ ตั ิ ธรรมแกน างภกิ ษณุ ี ปรากฏวา นางภกิ ษณุ ี เพื่อบําราศราคะ เปนผูปราศจากโทสะ หรือปฏิบัติเพ่ือบําราศโทสะ เปนผู ไดส ําเรจ็ พระอรหัตถึง ๕๐๐ องค ทา น ปราศจากโมหะหรือปฏิบัติเพื่อบําราศ โมหะ ทักขิณาน้ันเปนบุญย่ิงใหญ มีผล ไดรับยกยองวาเปนเอตทัคคะในทางให มากยากจะประมาณได (อง.ฉกกฺ .๒๒/๓๐๘/ โอวาทแกน างภิกษุณี ๓๗๕) 2. อุตตรานนั ทมารดา เปน ธดิ านันทกุมาร พระราชบุตรของพระเจา ของนายปณุ ณะ หรอื ปณุ ณสหี ะ แหง สุทโธทนะ และพระนางปชาบดีโคตมี เมอื งราชคฤห ซงึ่ ตอ มาพระราชาไดท รง ตอมาออกบวชมีชื่อวาพระนันทะ คือ แตง ตง้ั ใหเ ปนธนเศรษฐี เม่อื ทานเศรษฐี ใหมจัดงานมงคลฉลองและถวายทาน องคท มี่ รี ปู พรรณสณั ฐานคลา ยพระพทุ ธ- อุตตราไดสดับพระดํารัสอนุโมทนาของ พระพทุ ธเจา กไ็ ดบ รรลโุ สดาปต ตผิ ลใน องคนั่นเอง คราวเดยี วกบั บดิ าและมารดา อตุ ตรานนั้นนั ทมาณพ ศษิ ยค นหนงึ่ ในจาํ นวน ๑๖ รกั ษาอโุ บสถเปน ประจาํ เดอื นละ ๘ วนั คน ของพราหมณพ าวรี ท่ไี ปทลู ถาม ตอ มา เมอ่ื แตง งานไปอยกู บั สามี กข็ อ โอกาสรกั ษาอโุ บสถบา ง แตส ามไี มย อม ปญ หากะพระศาสดา ทป่ี าสาณเจดยี  รบั นางจงึ ไมม โี อกาสทาํ การบญุ อยา งท่ีนนั ทมารดา อุบาสกิ าสาํ คญั มีช่ือซ้าํ กัน ๒ ทาน แยกโดยเรียกชอื่ นาํ ท่ีตางกนั คือ 1. เวฬกุ ณั ฏกนี นั ทมารดา (นนั ทมารดา ชาวเมอื งเวฬกุ ณั ฏกะ [เมอื งหนามไผ] ใน แควน อวนั ต)ี ไดฌาน ๔ เปนอนาคามี และเปน อคั รอบุ าสกิ า คกู บั นางขชุ ชตุ ตรา พระพุทธเจาทรงยกยองวาเปน “ตุลา” คอื เปน ตราชู หรอื เปน แบบอยา งสาํ หรับ สาวิกาท้ังหลายทีเ่ ปนอบุ าสกิ า คกู บั นาง

นนั ทมารดา ๑๕๕ นันทมารดาเคยปฏบิ ตั ิ จนกระทง่ั คราวหนง่ึ อตุ ตรา ทุบตีนางสิริมา กวานางอุตตราจะหามตกลงวา จะถอื อโุ บสถครงึ่ เดอื น และใช สําเรจ็ นางสิริมากบ็ อบชํา้ มาก ทาํ ใหนางเวลาในการใหทานและฟงธรรมใหเต็มท่ี สิริมาสํานึกไดถึงฐานะท่ีแทจริงของตนท่ีโดยใชว ิธจี า งโสเภณชี ่ือสริ ิมาใหมาอยูก บั เปนคนขางนอกรับจางเจาของบานมาสามแี ทนตวั ตลอดเวลา ๑๕ วนั นน้ั เมอื่ จึงเขาไปขอขมาตออุตตรา แตอุตตราครบครง่ึ เดอื น ในวนั ทเ่ี ตรยี มจะออกจาก บอกวาตนจะใหอภัยไดตอเมื่อบิดาทางอุโบสถ ไดยุงอยูในโรงครัวจัดเตรียม ธรรมคือพระพทุ ธเจาใหอ ภยั แลว ตอมาอาหาร ตอนนน้ั สามมี องลงมาทางหนา เม่ือพระพุทธเจาเสด็จมาที่บานของตาง เห็นอุตตราในสภาพมอมแมม อุตตรา นางสิรมิ าเขาไปกราบทลู ขอขมาขมีขมัน ก็นึกในใจวานางน้ันอยูครอบ แลว อตุ ตรากใ็ หอ ภยั แกน าง และในวนัครองสมบตั อิ ยแู สนสบาย กลบั ทง้ิ ความ นนั้ นางสริ มิ าฟง พระธรรมกถาแลว กไ็ ดสุขมาทาํ งานกับพวกคนรับใชจ นตวั เลอะ บรรลโุ สดาปต ตผิ ล (เรอ่ื งนี้ อรรถกถาเทอะเปรอะเปอ น ไมม เี หตไุ มม ผี ล แลว ก็ ตา งคมั ภรี  เชน อง.อ.๑/๕๖๒/๓๙๐; ธ.อ.๖/๑๗๑;ยม้ิ อยา งสมเพช ฝา ยอตุ ตราพอดมี องขน้ึ วิมาน.อ.๑๒๓/๗๒ เลา รายละเอยี ดแตกตางไป เหน็ อยา งนนั้ กร็ ทู นั และนกึ ในใจวา กันไปบาง โดยเฉพาะอรรถกถาแหงสามีเปนพาลชน มัวจมอยูในความ วมิ านวตั ถุ นอกจากวา นางสริ มิ าไดบ รรลุประมาท หลงไปวาสมบัติจะย่ังยืนอยู โสดาปตติผลแลว ยังบอกวาอุตตราไดตลอดไป นกึ แลว กย็ ม้ิ บา ง ฝา ยนางสริ มิ า เปน สกทาคามนิ ี และสามพี รอ มทง้ั บดิ าอยมู าหลายวนั ชกั จะลมื ตวั พอเหน็ สามี และมารดาของสามีไดเปนโสดาบัน) ตอกบั ภรรยายม้ิ กนั กเ็ กดิ ความหงึ ขนึ้ มา มา ในทปี่ ระชมุ ณ วดั พระเชตวนั พระแลว วง่ิ ลงจากชน้ั บน ผา นเขา ครวั ฉวย พุทธเจาไดตรัสยกยองนางอุตตรานันท-กระบวย ตกั นา้ํ มนั ทเี่ ขากาํ ลงั ปรงุ อาหาร มารดา เปน เอตทัคคะในบรรดาอุบาสิกาแลวปร่ีเขามาเทนํ้ามันราดลงบนศีรษะ ผูม ฌี าน หรอื นักบาํ เพ็ญฌาน (ฌายี)ของอตุ ตรา ฝา ยอตุ ตรามสี ตดิ ี รตู วั วาอะไรจะเกิดข้ึน ก็เขาเมตตาฌานยนื รับ แมว า โดยหลกั ฐานตา งๆ เชน เมอื งท่ีน้ํามันที่รอนก็ไมเปนอันตรายแกเธอ อยู เวฬุกณั ฏกนี ันทมารดา กบั อตุ ตราขณะนน้ั พวกคนรบั ใชข องอตุ ตราซง่ึ ได นันทมารดา นา จะเปน ตา งบคุ คลกนั แตเหน็ เหตกุ ารณ กเ็ ขา มาพากนั รมุ บรภิ าษ ก็ยังมีชองใหสงสัยวาอาจจะเปนบุคคล เดยี วกนั ได อยา งนอ ย พระสาวกและ

นนั ทาเถรี ๑๕๖ นัมมทาพระสาวกิ า ทไี่ ดร บั กยอ งเปน คตู ลุ า หรอื เอตทัคคะคอู คั รสาวก คอู คั รสาวกิ า และคอู คั ร- นนั ทาเถรี ชือ่ ภกิ ษุณี ผเู ปน พระนอ งนางอบุ าสก กล็ ว นเปน เอตทคั คะมาตลอด ๓ ของพระเจา กาลาโศกคแู รก แตพ อถงึ คตู ลุ าฝา ยอบุ าสกิ า หรอื นนั ทิ ความยนิ ด,ี ความตดิ ใจเพลดิ เพลนิ ,คอู คั รอบุ าสกิ า กลายเปน นางขชุ ชตุ ตราที่ ความระเริง, ความสนุก, ความชนื่ มื่นเปน เอตทคั คะดว ย กบั เวฬกุ ณั ฏกนี นั ท- นัมมทา ช่อื แมนํ้าสายสาํ คญั ในภาคกลางมารดา ทมี่ ไิ ดเ ปน เอตทคั คะ (สว นอตุ ตรา ของอินเดีย ไหลไปคลายจะเคียงคูกับนนั ทมารดา เปน เอตทคั คะ แตไ มไ ดเ ปน เทือกเขาวินธยะ ถือวาเปนเสนแบงตลุ า หรอื อคั รอบุ าสกิ า) ทเ่ี ปน เชน นอ้ี าจ ระหวางอุตราบถ (ดินแดนแถบเหนือ)เปน เพราะวา เรอ่ื งราวของนนั ทมารดาทงั้ กับทักขณิ าบถ (ดินแดนแถบใต) ของสองนาม ซงึ่ กระจายอยใู นทตี่ า งๆ ขาด ชมพทู วีป, บดั นเ้ี รยี กวา Narmada แตขอมูลท่ีจะเปนจุดประสานใหเกิดความ บางทเี รยี ก Narbada หรือ Nerbuddaชดั เจน, นอกจากนนั้ เมอ่ื อา นขอ ความใน ชาวฮินดูถือวาเปนแมน้ําศักดิ์สิทธิ์ท่ีสุดคมั ภรี พ ทุ ธวงส ทกี่ ลา วถงึ คอู คั รอบุ าสกิ า รองจากแมน าํ้ คงคา, แมน าํ้ นมั มทายาววา “นนทฺ มาตา จ อตุ ตฺ รา อคคฺ า เหสสฺ น-ฺ ประมาณ ๑,๓๐๐ กม. ไหลจากทศิ ตะวนัตปุ ฏ ิกา” (ฉบบั อกั ษรพมา มแี หง หนงึ่ วา ออกเฉียงเหนือไปทางตะวันตกเฉียงใต“อตุ ตฺ รา นนทฺ มาตา จ อคคฺ า เหสสฺ นตฺ -ุ ออกทะเลทใี่ ตเ มืองทา ภารกุ ัจฉะ (บดั นี้ปฏ ิกา” เลยทเี ดยี ว) บางทา นกอ็ าจจะยง่ิ เรยี ก Bharuch) สอู า ว Khambhatงง อาจจะเขาใจไปวา พระบาลีในท่ีน้ี (Cambay กเ็ รยี ก), อรรถกถาเลา วา เมอ่ืหมายถึงนางอุตตรานันทมารดา แตท่ี คร้ังที่พระพุทธเจาเสด็จไปสุนาปรันตรัฐจรงิ ไมใช เพราะในทนี่ ้ีทา นกลา วถงึ สอง ตามคําอาราธนาของพระปุณณะผูเปนบุคคล คือ อตุ ตราเปน บคุ คลหนงึ่ ไดแ ก ชาวแควนน้ันแลว ระหวางทางเสด็จขุชชุตตรา และนันทมารดาเปนอีกคน กลับ ถึงแมน้าํ นัมมทา ไดแ สดงธรรมหน่งึ ไดแ กเ วฬุกณั ฏกนี นั ทมารดา (ใน โปรดนมั มทานาคราช ซ่งึ ไดทูลขอของที่คัมภรี อ ปทานแหง หนง่ึ , ข.ุ อป.๓๓/๗๙/๑๑๗ ระลึกไวบูชา จึงทรงประทับรอยพระกลา วถงึ ขอ ความอยา งเดยี วกนั แตระบุ บาทไวท่ีรมิ ฝงแมน ้ํานมั มทาน้ัน อันถือไวช ัดกวา นีว้ า “ขชุ ฺชตุ ฺตรา นนฺทมาตา กันมาวาเปนพระพุทธบาทแหงแรก; ดูอคฺคา เหสสฺ นตฺ ปุ าสกิ า”); ดู อุตตรา, ทกั ขณิ าบถ, อตุ ราบถ, ปณุ ณสนุ าปรนั ตะ

นัย ๑๕๗ นานาภัณฑะนยั อบุ าย, อาการ, วธิ ี, ขอ สําคญั , เคา องั คตุ ตรนกิ าย ๒–๓ แหง นางเรด็ ช่ือขนมชนิดหน่งึ ทําเปนแผนความ, เคาเงอ่ื น, แงค วามหมายนยั นา ดวงตา กลมโรยน้ําตาล พจนานุกรมเขียนนาค งใู หญในนยิ าย; ชาง; ผูประเสรฐิ ; นางเล็ดใชเ ปนคาํ เรียกคนทกี่ าํ ลงั จะบวชดว ย นาถ ทพ่ี ง่ึ , ผูเปนทพี่ ง่ึนาคเสน พระอรหนั ตเถระผโู ตว าทะชนะ นาถกรณธรรม ธรรมทําท่ีพ่งึ , ธรรม พระยามลิ นิ ท กษตั รยิ แ หง สาคลประเทศ สรา งทีพ่ ง่ึ , คณุ ธรรมทที่ าํ ใหพ่ึงตนได มี ดังมคี าํ โตต อบปญ หามาในคมั ภรี ม ลิ นิ ท- ๑๐ อยา งคือ ๑. ศลี มคี วามประพฤตดิ ี ปญ หา ทานเกดิ หลงั พทุ ธกาลประมาณ ๒. พาหสุ จั จะ ไดเ ลา เรยี นสดบั ฟง มาก ๔๐๐ ป ทหี่ มบู า นกชงั คละในหมิ วนั ต- ๓. กัลยาณมิตตตา มีมิตรดงี าม ๔. ประเทศ เปนบุตรของพราหมณช่ือ โสวจัสสตา เปน คนวางาย ฟงเหตุผล โสณตุ ตระ ทา นเปน ผชู าํ นาญในพระเวท ๕. กิงกรณีเยสุ ทักขตา เอาใจใสกิจธรุ ะ และตอ มาไดอ ปุ สมบท โดยมพี ระโรหณะ ของเพ่อื นรวมหมคู ณะ ๖. ธัมมกามตา เปนพระอุปชฌาย; ดู มิลินท, มิลนิ ท- เปนผูใครธรรม ๗. วิรยิ ะ ขยนั หมัน่ ปญ หา เพียร ๘. สนั ตฏุ ฐี มีความสนั โดษ ๙.นาคาวโลก การเหลียวมองอยางพญา สติ มสี ติ ๑๐. ปญญา มีปญญาเขา ใจส่ิงชาง, มองอยางชางเหลียวหลัง คือ ทง้ั หลายตามความเปนจรงิเหลียวดูโดยหันกายกลับมาทั้งหมด นานาธาตุญาณ ปรีชาหย่ังรูธาตุตางๆเปน กิริยาของพระพุทธเจา ตามเรื่องใน คอื รจู กั แยกสมมตอิ อกเปน ขนั ธ อายตนะพุทธประวตั ิ ครัง้ ทท่ี อดพระเนตรเมือง ธาตุตา งๆ (ขอ ๔ ในทศพลญาณ)เวสาลีเปนปจฉิมทัศน กอนเสด็จไป นานาธมิ ตุ ตกิ ญาณ ปรชี าหยง่ั รอู ธั ยาศยัปรนิ พิ พานที่เมอื งกสุ ินารา; เปนชอื่ พระ ของสตั ว ทโ่ี นม เอยี ง เชอื่ ถอื สนใจ พอใจพุทธรูปปางหนง่ึ ซ่งึ ทํากิรยิ าอยา งนนั้ ; ดู ตางๆ กนั (ขอ ๕ ในทศพลญาณ)พทุ ธปรนิ พิ พาน นานานิกาย นกิ ายตางๆ คอื หมแู หง สงฆนาคิตะ พระเถระมหาสาวกองคหนึ่ง ตางหมูตางคณะเคยเปนอุปฏฐากของพระพุทธองค มี นานาภัณฑะ ทรัพยตางกันคอื หลายส่ิง,พระสูตรท่ีพระพุทธเจาตรัสแกท านเกย่ี ว ภัณฑะตางๆ, สิ่งของตางชนิดตางกับเนกขัมมสุข ปรากฏอยูในคัมภีร ประเภท

นานาสงั วาส ๑๕๘ นาลกะนานาสงั วาส มีธรรมเปนเครื่องอยูรว ม นามธรรม สภาวะที่นอมไปหาอารมณ,(คืออุโบสถและสังฆกรรมเปนตน) ท่ี ใจและอารมณที่เกดิ กบั ใจ คือ จติ และตา งกนั , สงฆผ ูไมร ว มสังวาส คอื ไม เจตสิก, สิ่งของท่ไี มม รี ูป คือรูไมไ ดทางรว มอุโบสถและสังฆกรรมดว ยกนั เรียก ตา หู จมูก ลิ้น กาย แตร ไู ดทางใจ; ดูวา เปน นานาสังวาสของกนั และกนั เหตุ นาม; คูกบั รปู ธรรมท่ีทําใหนานาสงั วาสมี ๒ คือ ภกิ ษุทาํ ตน นามรูป นามธรรม และรูปธรรมใหเ ปน นานาสงั วาสเอง เชน อยูในนกิ าย นามธรรม หมายถึง สิง่ ที่ไมม รี ปู คอื รูหน่ึงไปขอเขานิกายอื่น หรือแตกจาก ไมไดทาง ตา หู จมูก ลิน้ กาย แตรไู ดพวกเพราะเหตุวิวาทาธิกรณอยางหน่ึง ดว ยใจ ไดแกเ วทนา สญั ญา สงั ขารอีกอยางหนึ่งถูกสงฆพรอมกันยกออก วิญญาณ รปู ธรรม หมายถงึ ส่ิงท่มี รี ูปจากสังวาส สง่ิ ท่ีเปนรปู ไดแกรปู ขนั ธท้งั หมดนาบ,ี นบี ศาสดาผปู ระกาศศาสนาอสิ ลาม นามรูปปริจเฉทญาณ ญาณกําหนดทําหนาที่แทนพระผูเปนเจา, ผูเทศนา, แยกนามรปู , ญาณหยงั่ รวู าสงิ่ ทั้งหลายผูประกาศขาว ชาวมุสลิมถือวาพระ เปนแตเพียงนามและรูป และกําหนดมะหะหมัดเปน นาบีองคส ุดทาย จาํ แนกไดว าสงิ่ ใดเปน รปู สิ่งใดเปน นามนาม ธรรมทร่ี ูจักกันดวยชือ่ กําหนดรู (ขอ ๑ ในญาณ ๑๖)ดวยใจเปน เรือ่ งของจติ ใจ, สิ่งท่ีไมม รี ูป นามรูปปจจัยปริคคหญาณ ญาณราง ไมใ ชรปู แตน อมมาเปน อารมณของ กาํ หนดจบั ปจ จยั แหง นามรปู , ญาณหยงั่จติ ได 1. ในทที่ วั่ ไปหมายถงึ อรปู ขนั ธ ๔ รทู กี่ าํ หนดจบั ไดซ ง่ึ ปจ จยั แหง นามและรปูคอื เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ โดยอาการที่เปนไปตามหลักปฏิจจ-2. บางแหง หมายถงึ อรปู ขันธ ๔ นั้นและ สมปุ บาท เปน ตน (ขอ ๒ ในญาณ ๑๖)นพิ พาน (รวมทั้งโลกตุ ตรธรรมอน่ื ๆ) 3. เรยี กกันส้นั ๆ วา ปรคิ คหญาณบางแหงเชนในปฏิจจสมปุ บาท บางกรณี นารายณ ช่อื เรียกพระวิษณุ ซึ่งเปน พระหมายเฉพาะเจตสกิ ธรรมทง้ั หลาย; เทยี บ รปู เจา องคหนึง่ ของศาสนาพราหมณนามกาย “กองแหงนามธรรม” หมายถึง นารี ผูหญงิ , นางเจตสกิ ท้งั หลาย; เทยี บ รูปกาย นาลกะ 1. หลานชายของอสิตดาบสนามขนั ธ ขนั ธท ี่เปนฝายนามธรรม มี ๔ ออกบวชตามคาํ แนะนาํ ของลุง และไปคือ เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ บําเพ็ญสมณธรรมรอการตรัสรูของพระ

นาลนั ทะ ๑๕๙ นาลนั ทา พุทธเจาอยูในปาหิมพานต ครั้นพระ กษัตริยราชวงศคุปตะพระองคหน่ึงพระ นามวาศกั ราทติ ยหรือ กุมารคุปตะที่ ๑ พุทธเจาตรัสรูแลว ไดมาทูลถามเร่ือง ซึ่งครองราชยประมาณ พ.ศ. ๙๕๘– ๙๙๘ ไดท รงสรา งวดั เปน สถานศกึ ษาขนึ้ โมไนยปฏิปทา และกลับไปบําเพ็ญ แหงหน่ึงที่เมืองนาลันทา และกษัตริย พระองคต อ ๆ มาในราชวงศน ก้ี ็ไดสราง สมณธรรมในปาหิมพานต ไดบรรลุ วดั อน่ื ๆ เพิ่มข้ึนในโอกาสตางๆ จนมถี งึ ๖ วดั อยูในบริเวณใกลเ คยี งกนั ในที่ อรหัตแลว ดาํ รงอายอุ ยูอีก ๗ เดอื น ก็ สุดไดมีการสรางกําแพงใหญอันเดียว ลอ มรอบ ทาํ ใหว ัดทงั้ ๖ รวมเขา ดว ยกนั ปรินิพพานในปา หิมพานตน ้นั เอง; ทาน เปน หนง่ึ เดยี ว เรยี กวา นาลนั ทามหาวหิ าร และไดกลายเปนศูนยกลางการศึกษาท่ี จัดเปนมหาสาวกองคหนึ่งในอสีติ- ยิ่งใหญ แหงสาํ คัญย่ิง ที่นักประวัติ- ศาสตรส มัยปจจุบัน เรียกกันท่ัวไปวา มหาสาวกดว ย 2. ชอื่ หมูบานอนั เปนที่ มหาวิทยาลัยนาลันทา พระเจาหรรษ- วรรธนะ มหาราชพระองคหน่ึงของ เกิดของพระสารีบุตร ไมไกลจากเมือง อินเดีย ซึ่งครองราชยระหวาง พ.ศ. ราชคฤห บางทีเรียก นาลันทคาม ๑๑๔๙–๑๑๙๑ กไ็ ดท รงเปน องคอ ปุ ภมั ภกนาลนั ทะ ชอ่ื หมูบ า นแหงหนงึ่ ไมไ กลจาก ของมหาวิทยาลัยนาลันทา หลวงจีน กรงุ ราชคฤห เปน บา นเกดิ ของพระสาร-ี เห้ียนจงั (พระถังซัมจงั๋ ) ซึ่งจารกิ มาสืบ บตุ ร; ดู นาลกะ 2. พระศาสนาในอนิ เดียในรัชกาลนี้ ในชวงนาลนั ทา ชอ่ื เมอื งเลก็ ๆ เมอื งหนง่ึ ในแควน พ.ศ. ๑๑๗๒–๑๑๘๗ ไดมาศึกษาท่ี มคธ อยูหางจากพระนครราชคฤห นาลนั ทามหาวิหาร และไดเขียนบันทกึ บรรยายอาคารสถานท่ีท่ีใหญโตและ ประมาณ ๑ โยชน ณ เมอื งนี้ มีสวน ศิลปกรรมทีว่ ิจิตรงดงาม ทานเลา ถึงกิจ- มะมวงชื่อ ปาวารกิ ัมพวนั (สวนมะมว ง กรรมทางการศึกษาที่รุงเรืองยิ่ง นัก ของปาวาริกเศรษฐี) ซ่ึงพระพุทธเจา ศกึ ษามปี ระมาณ ๑๐,๐๐๐ คน และมี อาจารยป ระมาณ ๑,๕๐๐ คน พระมหา- เสด็จมาประทับแรมหลายคร้ัง คัมภีร ฝา ยมหายานกลา ววา พระสารบี ตุ ร อคั ร- สาวก เกดิ ทเ่ี มอื งนาลนั ทา แตค มั ภรี ฝ า ย บาลีเรียกถิ่นเกิดของพระสารีบุตรวา หมูบา นนาลกะ หรือ นาลนั ทคาม ภายหลงั พทุ ธกาล ชอ่ื เมอื งนาลนั ทา เงยี บหายไประยะหนงึ่ หลวงจนี ฟาเหยี น ซึ่งจาริกมาสืบศาสนาในชมพูทวีป ราว พ.ศ. ๙๔๔–๙๕๓ บนั ทกึ ไวว า ไดพ บเพยี ง สถปู องคห นง่ึ ทน่ี าลนั ทา แตต อ มาไมน าน

นาลันทา ๑๖๐ นาลันทากษัตริยพระราชทานหมูบ าน ๒๐๐ หมู พุทธศาสนาแบบตันตระ ท่ีทําใหเกิดโดยรอบถวายโดยทรงยกภาษีท่ีเก็บได ความยอหยอนและหลงเพลินทางใหเ ปนคาบํารงุ มหาวทิ ยาลัย ผูเ ลา เรยี น กามารมณ และทําใหพุทธศาสนากลมไมต อ งเสียคา ใชจ ายใดๆ ทงั้ สน้ิ วิชาท่ี กลืนกับศาสนาฮินดูมากข้ึน เปนเหตุสอนมที ัง้ ปรชั ญา โยคะ ศพั ทศาสตร สําคัญอยางหนึ่งแหงความเส่ือมโทรมเวชชศาสตร ตรรกศาสตร นิตศิ าสตร ของพระพุทธศาสนา คร้ันถึงประมาณนิรุกติศาสตร ตลอดจนโหราศาสตร พ.ศ. ๑๗๔๒ กองทพั มสุ ลมิ เตริ กสไ ดย กไสยศาสตร และตนั ตระ แตที่เดนชัดก็ มารุกรานรบชนะกษัตริยแหงชมพูทวีปคือนาลันทาเปนศูนยกลางการศึกษา ฝายเหนือ และเขา ครอบครองดินแดนพุทธศาสนาฝายมหายาน และเพราะ โดยลําดับ กองทัพมุสลิมเติรกสไดเ ผาความทมี่ ีกิตตศิ พั ทเ ล่อื งลือมาก จงึ มีนกั ผลาญทําลายวัดและปูชนียสถานในศึกษาเดินทางมาจากตางประเทศหลาย พทุ ธศาสนาลงแทบทงั้ หมด และสงั หารผูแหง เชน จนี ญป่ี นุ เอเชยี กลาง สมุ าตรา ทไี่ มย อมเปลย่ี นศาสนา นาลนั ทามหาวหิ ารชวา ทเิ บต และมองโกเลยี เปน ตน หอ กถ็ กู เผาผลาญทาํ ลายลงในชว งระยะเวลาสมุดของนาลันทาใหญโตมากและมีชื่อ น้นั ดว ย มีบนั ทึกของนักประวัตศิ าสตรเสียงไปทั่วโลก เม่ือคราวที่ถูกเผา ชาวมสุ ลมิ เลา วา ทน่ี าลนั ทา พระภกิ ษถุ กูทําลายในสมัยตอมา มีบันทึกกลาววา สังหารแทบหมดสิ้น และมหาวิทยาลยัหอสมุดน้ีไหมอยูเปนเวลาหลายเดือน นาลันทาก็ไดถึงความพินาศสูญสิ้นลงห ล ว ง จี น อ้ี จิ ง ซึ่ ง จ า ริ ก ม า ใ น ร ะ ย ะ แตบ ดั นน้ั มา ซากของนาลนั ทาทถ่ี กู ขดุ พบประมาณ พ.ศ. ๑๒๒๓ กไ็ ดม าศกึ ษาที่ ในภายหลงั ยงั ประกาศยนื ยนั อยา งชดั เจนนาลันทาและไดเขียนบันทึกเลาไวอีก ถงึ ความยง่ิ ใหญของนาลันทาในอดีตนาลันทารุงเรืองสืบมาชานานจนถึงสมัยราชวงศปาละ (พ.ศ. ๑๓๐๓–๑๖๘๕) ในปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๕กษัตริยราชวงศน้ีก็ทรงอุปถัมภมหา- อินเดียไดเร่ิมตื่นตัว และตระหนักถึงวิหารแหงนี้ เชนเดียวกับมหาวิทยาลัย ความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่ไดมีอื่นๆ โดยเฉพาะโอทันตปุระที่ไดทรง บทบาทอันย่ิงใหญในการสรางสรรคสถาปนาขน้ึ ใหม อยางไรกด็ ี ในระยะ อารยธรรมของชมพูทวีป รวมทั้งบทหลังๆ นาลนั ทาไดหันไปสนใจการศกึ ษา บาทของมหาวิทยาลัยนาลันทาน้ีดวย และใน พ.ศ. ๒๔๙๔ กไ็ ดมกี ารจดั ตั้ง

นาสนะ ๑๖๑ นคิ คหติสถาบนั บาลนี าลนั ทา ชอ่ื วา นวนาลนั ทา- นกิ รสัตว หมสู ตั วมหาวิหาร (นาลนั ทามหาวิหารแหงใหม) นกิ าย พวก, หมวด, หมู, ชมุ นมุ , กอง;ขึ้น เพ่ือแสดงความรําลึกคุณและยก 1. หมวดตอนใหญแ หง พทุ ธพจนใ นพระยอ งเกียรตแิ หงพระพุทธศาสนา พรอม สุตตันตปฎก ซึ่งแยกเปน ทีฆนิกาย ทั้งเพื่อเปนอนุสรณแกนาลันทามหา- มัชฌมิ นิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตร- นิกาย และขทุ ทกนิกาย; ดู ไตรปฎก 2. วหิ าร มหาวทิ ยาลยั ทย่ี งิ่ ใหญใ นอดตี สมยันาสนะ ดู นาสนา คณะนักบวช หรอื ศาสนิกชนในศาสนานาสนา ใหฉบิ หายเสีย คอื การลงโทษ เดยี วกนั ทแ่ี ยกเปนพวกๆ; ในพระพุทธ-บุคคลผูไ มส มควรถอื เพศ มี ๓ อยาง ศาสนามีนิกายใหญท่ีเรียกไดวาเปนคอื ๑. ลงิ คนาสนา ใหฉิบหายจากเพศ นกิ ายพุทธศาสนาในปจ จบุ นั ๒ นิกายคอื ใหส กึ เสยี ๒. ทณั ฑกรรมนาสนา ให คือ มหายาน หรือนิกายฝายเหนือฉบิ หายดว ยการลงโทษ ๓. สงั วาสนาสนา (อุตรนกิ าย) พวกหนึง่ และ เถรวาทใหฉ บิ หายจากสงั วาส หรือนกิ ายฝา ยใต (ทักษิณนิกาย) ทีบ่ างนาสิก จมกู ทีเรียก หนี ยาน พวกหนงึ่ ; ในประเทศนาสิกัฏานชะ อักษรเกิดในจมูก คอื ไทยปจจุบนั พระภิกษสุ งฆในพระพทุ ธนิคคหิต (-)ํ , พยัญชนะทีส่ ดุ วรรคทัง้ ๕ ศาสนาฝายเถรวาทดวยกัน แยกออกคือ ง  ณ น ม นอกจากเกดิ ในฐาน เปน ๒ นิกาย แตเ ปน เพียงนิกายสงฆของตนๆ แลว กเ็ กิดในจมกู ดว ย (คอื มิใชถึงกับเปนนิกายพุทธศาสนา (คือเกิดใน ๒ ฐาน) แยกกันเฉพาะในหมูนักบวช) ไดแกนาฬี ชือ่ มาตราตวง แปลวา “ทะนาน”; ดู มหานกิ าย และ ธรรมยตุ กิ นกิ าย ซ่งึ บางทีมาตรา เรยี กเพียงเปนคณะวา คณะมหานกิ ายนํ้าทพิ ย นํ้าทที่ ําผดู ่ืมใหไ มตาย หมายถงึ และ คณะธรรมยตุ นิคคหะ ดู นิคหะนาํ้ อมฤต หรือน้ําสุรามฤตน้าํ อมฤต ดู อมฤต นิคคหกรรม ดู นิคหกรรมนกิ เขปบท บทต้ัง, คาํ หรอื ขอ ความ ทีย่ อ นิคคหวธิ ี วธิ ีขม , วิธีทาํ นคิ หะ, วิธลี งจับเอาสาระมาวางตั้งลงเปนแมบท เพ่ือ โทษ; ดู นิคหกรรมจะขยายความ หรอื แจกแจงอธบิ ายตอ ไป นิคคหติ อักขระทวี่ า กดเสียง, อักขระท่ีนิกร หม,ู พวก วาหบุ ปากกดกรณไวไ มป ลอ ย มีรูปเปน

นคิ ม ๑๖๒ นทิ านกถาจุดกลวง เชน สงฆฺ ํ อปุ สมฺปท;ํ บดั นี้ สังฆกรรมประเภทลงโทษผูทําความผิดนิยมเขียน นิคหติ ทานแสดงไว ๖ อยา งคอื ตัชชนียกรรมนคิ ม 1. หมบู านใหญ, เมืองขนาดเล็ก, นยิ สกรรม ปพ พาชนยี กรรม ปฏสิ ารณยี - กรรม อกุ เขปนยี กรรม และ ตสั สปาปย -ยา นการคา 2. คําลงทายของเร่ืองนคิ มกถา 1. การสนทนาถกเถียงกันเรือ่ ง สกิ ากรรมนิคม วานิคมน้ันนิคมนี้เปนอยางน้ัน นคิ ณั ฐนาฏบตุ ร ดู นคิ รนถนาฏบตุ รอยา งน้ี แบบเพอ เจอ , เปนตริ จั ฉานกถา นโิ ครธ ตนไทรอยางหนง่ึ ; ดู ติรัจฉานกถา 2. ถอ ยแถลง นิโครธาราม อารามที่พระญาติสรางทายเรอื่ ง, ขอความลงทา ย, คาํ กลา วปด ถวายพระพทุ ธเจา อยใู กลก รงุ กบลิ พสั ดุเร่อื ง, ในภาษาบาลี นยิ มเขยี น “นคิ มน- นิจศีล ศีลที่พึงรักษาเปนประจํา, ศีลกถา”, คกู บั นทิ านกถา คอื คํากลา วนํา ประจําตัวของอุบาสกอุบาสิกา ไดแกหรือคาํ แถลงเรม่ิ เรือ่ ง ศลี ๕นิคมพจน, นิคมวจนะ คาํ ลงทา ย, คํา นติ ย เท่ียง, ย่งั ยนื , เสมอ, เปน ประจาํกลา วปด เรอื่ ง, ในภาษาบาลี นยิ มเขียน นติ ยกาล ตลอดเวลา, ตลอดกาลเปน นติ ย“นคิ มนวจน”, คกู บั นทิ านพจน หรือ นิตยภัต อาหารหรือคา อาหารที่ถวายแกนทิ านวจนะ คือคาํ นํา หรือคาํ เรม่ิ เรอื่ ง ภิกษุสามเณรเปน ประจํานคิ มสีมา แดนนคิ ม, อพทั ธสมี าทส่ี งฆ นทิ เทส คําแสดง, คาํ จําแนกอธบิ าย, คาํกาํ หนดดวยเขตนิคมทีต่ นอาศัยอยู ไขความ (พจนานกุ รม เขียน นเิ ทศ)นิครนถ นกั บวชนอกพระพุทธศาสนาที่ นิทัศนะ, นทิ สั น ตวั อยา งที่นาํ มาแสดงเปน สาวกของนิครนถนาฏบุตร, นักบวช ใหเ ห็น, อทุ าหรณ (พจนานกุ รม เขยี นในศาสนาเชน นทิ ัศน)นิครนถนาฏบตุ ร คณาจารยเ จาลัทธคิ น นทิ าน เหตุ, ท่ีมา, ตนเร่ือง, ความเปนมาหนึง่ ในจํานวนครูทง้ั ๖ มีคนนับถอื มาก แตเ ดมิ หรือเรอ่ื งเดมิ ทเ่ี ปนมา เชน ในคํามชี อ่ื เรยี กหลายอยา ง เชน วรรธมานบา ง วา “ใหทาน ที่เปนสุขนิทานของสรรพพระมหาวรี ะบา ง เปน ตน ศาสนาเชน ซึง่ สตั ว” สุขนิทาน คอื เหตุแหง ความสขุ ;ยังมอี ยใู นประเทศอินเดีย ในภาษาไทย ความหมายไดเพี้ยนไปนคิ หะ การขม, การกําราบ, การลงโทษ กลายเปนวา เร่อื งทีเ่ ลากนั มานคิ หกรรม การลงโทษตามพระธรรมวนิ ยั , นิทานกถา คําแถลงความเปนมา, ขอ

นทิ านพจน, นิทานวจนะ ๑๖๓ นพิ ทั ธทุกขความตน เรอื่ ง, ความนาํ , บทนาํ กัน หรือหนายในมรรยาทของกันและนิทานพจน, นิทานวจนะ คําชี้แจง กัน อยา งนีไ้ มจัดเปนนพิ พิทา; ความความเปนมา, ถอยคาํ ตน เร่ือง, คาํ เรม่ิ เบ่อื หนา ยในกองทกุ ขเรอื่ ง, คํานํา นพิ พทิ าญาณ ความรูท ท่ี ําใหเ บอ่ื หนายนิบาต ศพั ทภาษาบาลที วี่ างไวร ะหวา งขอ ในกองทุกข, ปรีชาหย่ังเห็นสงั ขารดวยความในประโยคเพ่ือเช่ือมขอความหรือ ความหนาย; ดู วปิ สสนาญาณเสริมความ เปนอัพยยศพั ทอ ยางหนง่ึ นพิ พทิ านปุ ส สนาญาณ ปรชี าคาํ นงึ ถงึนิปปริยาย ไมอ อมคอ ม, ตรง, ส้ินเชิง สงั ขารดวยความหนาย เพราะมีแตโ ทษ(พจนานกุ รมเขียน นปิ ริยาย) มากมาย แตไมใชทําลายตนเองเพราะนปิ ปรยิ ายสทุ ธิ ความบริสุทธิ์โดยสิ้นเชงิ เบื่อสงั ขาร เรียกสนั้ วา นิพพทิ าญาณไมมีการละและการบําเพ็ญอีก ไดแก นิพัทธทาน ทานเนอื งนติ ย, ทานทถี่ วายความบรสิ ุทธข์ิ องพระอรหันต; ตรงขา มกับ หรือใหตอเน่อื งเปนประจาํปริยายสทุ ธิ; ดู สทุ ธิ นิพัทธทุกข ทุกขเนืองนิตย, ทุกขนปิ ผันนรปู ดูที่ รูป ๒๘ ประจาํ , ทกุ ขเ ปน เจา เรือน ไดแ ก หนาวนปิ จ จการ การเคารพ, การออนนอม, รอน หิวกระหาย ปวดอุจจาระ ปวดการยอมเช่ือฟง ปสสาวะนพิ พาน การดบั กเิ ลสและกองทกุ ข เปน นิพัทธุปฏฐาก อุปฏฐากประจาํ ตาม โลกตุ ตรธรรม และเปนจุดหมายสูงสดุ ปกติ หมายถึงพระอุปฏ ฐากประจาํ พระ ในพระพุทธศาสนา; ดู นพิ พานธาตุ องคของพระพุทธเจา คือพระอานนทนพิ พานธาตุ ภาวะแหง นพิ พาน; นพิ พาน ซึ่งไดรับหนาท่ีเปนพระอุปฏฐากประจํา หรอื นพิ พานธาตุ ๒ คอื ๑. สอปุ าทเิ สส- พระองคตงั้ แตพรรษาท่ี ๒๐ แหงพทุ ธ- นพิ พาน ดบั กิเลสมีเบญจขนั ธเหลอื ๒. กิจ เปนตนไปจนสิ้นพุทธกาล, กอน อนุปาทิเสสนิพพาน ดับกิเลสไมมี พรรษาที่ ๒๐ นน้ั พระเถระมากหลายเบญจขนั ธเหลอื รูป รวมท้ังพระอานนท และพระนิพพิทา “ความหนาย” หมายถงึ ความ มหาสาวกทงั้ ปวง ไดเ ปล่ียนกนั ทาํ หนาท่ีหนายท่ีเกิดขึ้นจากปญญาพิจารณาเห็น เปนพระอุปฏฐากของพระพุทธเจา ดังความจริง ถาหญิงชายอยูกินกันเกิด บางทานที่ปรากฏนามเพราะมีเหตุการณหนายกนั เพราะความประพฤติไมด ตี อ เก่ียวขอ ง เทาท่พี บ คือ พระนาคสมาละ

นิมนต ๑๖๔ นิรยบาลพระอปุ วาณะ พระสุนักขัตตะ พระจนุ ทะ เปนของบริสุทธ์ิ จะนึกขยายหรือยอ พระนันทะ พระสาคตะ พระโพธิ พระ สวนก็ไดตามปรารถนา 4. สิ่งท่ีพระ เมฆยิ ะ; ดู อานนท, อุปฏฐาก, พร ๘ โพธิสัตวทอดพระเนตรเห็นกอนเสด็จนมิ นต เชญิ หมายถงึ เชญิ พระ เชญิ นกั บวช ออกบรรพชา ๔ อยาง; ดู เทวทูตนิมมานรดี สวรรคชั้นที่ ๕ มีทาว นมิ ติ ขาด (ในคําวา “สีมามีนมิ ติ ขาด”)สุนิมมิตเทวราชปกครอง เทวดาชั้นน้ี สีมามนี ิมิตแนวเดียว ชกั แนวบรรจบไมปรารถนาสิง่ หนึ่งสิง่ ใด นิรมติ เอาได ถึงกัน; ตามนัยอรรถกถาวา ทกั นิมิตไมนิมนั ตนะ การนมิ นต หรืออาหารท่ีไดใ น ครบรอบถงึ จดุ เดมิ ท่ีเริม่ ตนทีน่ มิ นต หมายเอาการนมิ นตข องทายก นิมิตต ดู นิมติ นมิ ติ ตโ อภาส ตรัสขอ ความเปน เชงิ เปดเพ่อื ไปฉนั ทีบ่ า นเรือนของเขานิมติ 1. เครื่องหมาย ไดแกว ัตถุอนั เปน โอกาสใหอาราธนาเพ่ือดํารงพระชนมอยูเครือ่ งหมายแหง สมี า, วัตถทุ คี่ วรใชเปน ตอไปนมิ ิตมี ๘ อยาง ภูเขา ศิลา ปาไม ตนไม นิยม กําหนด, ชอบ, นับถอืจอมปลวก หนทาง แมนา้ํ นํ้า 2. (ในคํา นยิ ยานิกะ เปนเครอ่ื งนําสตั วอ อกไปจากวาทาํ นิมติ ) ทําอาการเปน เชิงชวนใหเขา กองทุกขถวาย, ขอเขาโดยวธิ ใี หร โู ดยนยั ไมขอ นยิ สกรรม กรรมอนั สงฆพ ึงทาํ ใหเ ปน ผูตรงๆ 3. เครื่องหมายสําหรับใหจิต ไรย ศ ไดแกการถอดยศ, เปนชอ่ื นคิ ห-กําหนดในการเจริญกรรมฐาน, ภาพท่ี กรรมที่สงฆทําแกภิกษุผูมีอาบัติมากเปนอารมณกรรมฐานมี ๓ คือ ๑. หรือคลุกคลีกับคฤหัสถ ดวยการคลุกบริกรรมนิมิต นมิ ิตแหง บริกรรม หรอื คลีอันไมสมควร โดยปรับใหถือนิสัยนิมติ ตระเตรียม ไดแก สิง่ ท่ีเพง หรือ ใหมอ ีก; ดู นิคหกรรมกําหนดนึกเปนอารมณกรรมฐาน ๒. นิยาย เร่ืองที่เลากันมา, นิทานท่ีเลาอคุ คหนมิ ติ นิมติ ท่ีใจเรยี น หรอื นมิ ติ ตดิ เปรยี บเทียบเพอ่ื ไดใ จความเปนสุภาษิตตาตดิ ใจ ไดแก สง่ิ ทเี่ พง หรือนึกน้นั เอง นิรยะ นรก, ภพที่ไมม คี วามเจรญิ , ภูมิที่ที่แมนในใจ จนหลับตามองเห็น ๓. เสวยทุกขของคนผูทําบาปตายแลวไปปฏิภาคนิมิต นิมิตเสมือน หรือนิมิต เกิด (ขอ ๑ ในทคุ ติ ๓, ขอ ๑ ในอบายเทยี บเคียง ไดแ ก อุคคหนมิ ติ นั้น เจน ๔) ดู นรก, คติใจจนกลายเปนภาพท่ีเกิดจากสัญญา นริ ยบาล ผูค ุมนรก, ผูล งโทษสัตวน รก

นิรฺวาณมฺ ๑๖๕ นสิ สัคคิยกัณฑนิรฺวาณมฺ ความดับ เปนคาํ สันสกฤต คือ กําหนดหมายการดับตณั หาอนั เปนเทียบกับภาษาบาลี ก็ไดแกศัพทวา อริยผลวา เปนธรรมละเอยี ดประณตี ; ดูนพิ พาน นัน่ เอง ปจ จบุ นั นยิ มใชเ พียงวา สญั ญานิรวาณ กับ นิรวาณะ น้ิวพระสคุ ต, น้ิวสุคต ดู มาตรานิรันดร ติดตอกัน, เสมอมา, ไมมี นวิ รณ, นิวรณธรรม ธรรมที่กั้นจิตไมระหวางคัน่ , ไมเ วนวาง ใหบ รรลคุ วามด,ี สิง่ ท่ขี ดั ขวางจิตไมใหนิรันตราย ปราศจากอันตราย กา วหนาในคณุ ธรรม, อกุศลธรรมทก่ี ดนริ ามิษ, นิรามสิ หาเหยอื่ มิได, ไมมี ทบั จติ ปดกนั้ ปญ ญา มี ๕ อยาง คอื ๑.อามิสคือเหยื่อที่เปนเครื่องลอใจ, ไม กามฉนั ท พอใจใฝกามคณุ ๒. พยาบาท แคนเคอื งคดิ รา ยเขา ๓. ถีนมทิ ธะ หดหูตอ งอาศยั วตั ถุนริ ามิสสขุ สุขไมเ จืออามิส, สุขไมตอง ซึมเซา ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุงซานอาศยั เครื่องลอหรือกามคณุ ไดแก สุขที่ รําคาญใจ ๕. วิจิกิจฉา ลังเลสงสัยอิงเนกขมั มะ; ดู สขุ นิวรณูปกิเลส โทษเครอ่ื งเศราหมองคือนิรุตติปฏิสัมภิทา ปญญาแตกฉานใน นิวรณภาษา คอื เขา ใจภาษา รูจักใชถอยคําให นิเวศน ท่อี ยูคนเขาใจ ตลอดทั้งรูภาษาตา งประเทศ นิสสยาจารย อาจารยผ ใู หน ิสัย นิสสรณวมิ ุตติ ความหลดุ พน ดวยออก(ขอ ๓ ในปฏสิ ัมภทิ า ๔)นิโรธ ความดบั ทกุ ข คอื ดบั ตณั หาไดส ิน้ ไปเสยี หรือสลดั ออกได เปน การพน ท่ีเชิง, ภาวะปลอดทุกขเ พราะไมมที ุกขท ี่ ยั่งยืนตลอดไป ไดแกนิพพาน, เปน จะเกิดขน้ึ ได หมายถึงพระนิพพาน โลกตุ ตรวิมตุ ติ (ขอ ๕ ในวิมุตติ ๕)นิโรธสมาบัติ การเขา นิโรธ คอื ดบั นสิ สคั คยิ ะ, นิสสัคคยี  “อนั ใหตองสละ สัญญาความจําไดหมายรู และเวทนา สงิ่ ของ” เปน คณุ บทแหง อาบัตปิ าจติ ตยี  การเสวยอารมณ เรียกเต็มวา เขา หมวดทม่ี ีการตอ งสละสงิ่ ของ ซง่ึ เรียกวา สัญญาเวทยิตนิโรธ, พระอรหันตและ นิสสัคคิยปาจิตตีย; “อันจะตองสละ”พระอนาคามที ีไ่ ดส มาบตั ิ ๘ แลวจึงจะ เปนคุณบทแหงส่ิงของที่จะตองสละเมื่อเขา นโิ รธสมาบตั ไิ ด (ขอ ๙ ในอนุปพุ พ- ตองอาบตั ิปาจติ ตียห มวดน้ัน กลาวคอืวิหาร ๙) นสิ สคั คยิ วัตถุนิโรธสญั ญา ความสาํ คัญหมายในนิโรธ นสิ สคั คยิ กัณฑ ตอน หรือ สว นอนั วา

นสิ สัคคยิ ปาจติ ตีย ๑๖๖ นิสสันท,นิสสนั ทะดวยอาบัตินสิ สคั คิยปาจิตตยี  อฺ ตฺรภิกฺขุสมมฺ ติยา นสิ ฺสคฺคยิ , อิมาหนิสสคั คิยปาจติ ตยี  อาบัติปาจิตตยี  อัน อายสฺมโต นสิ สฺ ชชฺ าม.ิ ”, ถา ๒ ผนื วาทําใหตองสละสิ่งของ ภิกษุตองอาบัติ “ทฺวิจีวร”ํ ถา ท้ัง ๓ ผืน วา “ติจวี ร”ํ (คาํประเภทน้ี ตองสละสิ่งของท่ีทําใหตอง คนื ผา ให และคําเปลยี่ นท้งั หลาย พึงอาบตั กิ อ น จงึ จะปลงอาบตั ติ ก, มที งั้ หมด ทราบเหมอื นในสกิ ขาบทแรก) โกสยิ วรรค สกิ ขาบทที่ ๘ (รบั ทอง๓๐ สกิ ขาบท จดั เปน ๓ วรรค คือ จวี ร- เงนิ - ตอ งสละในสงฆ) วา “อหํ ภนเฺ ตวรรค (มี ๑๐ สกิ ขาบท) โกสยิ วรรค (มี รูปยํ ปฏิคคฺ เหส,ึ อทิ ํ เม นิสฺสคคฺ ยิ , อิมาห สงฆฺ สสฺ นสิ ฺสชชฺ าม.ิ ”๑๐ สกิ ขาบท) และปต ตวรรค (มี ๑๐ โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๙ (แลกสิกขาบท) เปลย่ี นดว ยรปู ย ะ - ตองสละในสงฆ) วา ตวั อยา งคาํ เสยี สละ ในบางสกิ ขาบท: “อห ภนเฺ ต นานปฺปการก รปู ย สโวหาร จวี รวรรค สกิ ขาบทที่ ๑ (ทรงอตเิ รก- สมาปชฺชึ, อิทํ เม นิสฺสคฺคิยํ, อิมาหจวี รเกนิ ๑๐ วนั ) ของอยใู นหตั ถบาส วา สงฆฺ สฺส นิสฺสชชฺ ามิ.”“อิทํ เม ภนฺเต จีวรํ ทสาหาติกฺกนตฺ นสิ สฺ คคฺ ยิ ,ํ อมิ าหํ อายสมฺ โต นสิ สฺ ชชฺ าม.ิ ” ปต ตวรรค สกิ ขาบทท่ี ๓ (เกบ็ เภสชั(ถา ผสู ละแกพ รรษากวา ผรู บั วา “อาวุโส” ไวฉ นั ลว ง ๗ วนั ) วา “อิทํ เม ภนฺเต เภสชชฺ ํ สตตฺ าหาติกฺกนฺตํ นิสฺสคคฺ ยิ ํ,แทน “ภนฺเต”), ถาสละ ๒ ผืนขน้ึ ไป วา อิมาห อายสฺมโต นิสสฺ ชฺชามิ.” คําคนื ให“อิมานิ เม ภนเฺ ต จีวรานิ ทสาหา- วา “อิมํ เภสชชฺ ํ อายสฺมโต ทมฺม”ิ (เภสชัตกิ ฺกนตฺ านิ นิสฺสคฺคิยาน,ิ อิมานาหอายสมฺ โต นสิ สฺ ชชฺ ามิ.”; ถาของอยูนอกหัตถบาส วา “เอต”ํ แทน “อิทํ” ทไ่ี ดค นื มา มใิ หฉ นั พงึ ใชใ นกจิ อนื่ )และ “เอตาหํ” แทน “อิมาห”ํ , วา “เอตานิ” นิสสคั คิยวัตถุ ของท่เี ปนนสิ สัคคยี , ของแทน “อิมาน”ิ และ “เอตานาหํ” แทน ทตี่ องสละ, ของทท่ี ําใหภ กิ ษตุ อ งอาบัติ“อิมานาห”ํ ; คําคืนให (ถาหลายผนื หรือ นิสสัคคิยปาจิตตยี  จาํ ตองสละกอนจงึอยนู อกหัตถบาส พึงเปล่ียนโดยนัยขา ง จะปลงอาบตั ิตกตน ) วา “อิมํ จีวร อายสฺมโต ทมฺม”ิ นสิ สคั คีย ดู นิสสัคคยิ ะ จวี รวรรค สกิ ขาบทที่ ๒ (อยปู ราศ นิสสันท, นสิ สนั ทะ “สภาวะที่หล่งั ไหลจากไตรจวี รลว งราตร)ี ของอยใู นหตั ถบาส ออก”, สงิ่ ทีเ่ กดิ ตามมา, ส่งิ ท่ีออกมาเปนวา “อิท เม ภนเฺ ต จวี รํ รตตฺ วิ ปิ ฺปวุตถฺ ํ ผล, ผลสืบเนอ่ื ง หรือผลตอตาม เชน

นสิ สัย ๑๖๗ นิสสารณา แสงสวางและควัน เปนนิสสันทของไฟ, มีชีวติ ท่ไี มดีแลว ครอบครวั ญาติพ่นี อง มูตรและคถู เปน ตน เปน นสิ สันทข องสิ่ง ของเขาเกิดความเดือดรอนเปนอยูยาก ทไี่ ดด่มื กนิ , อปุ าทายรปู เปนนสิ สันทของ ลําบาก เปนนิสสนั ท; นิสสันท หมายถงึ มหาภตู รูป, โทสะเปน นิสสันทข องโลภะ ผลสืบเนื่องหรือผลพวงพลอยที่ดีหรือ (เพราะโลภะถูกขดั โทสะจงึ เกดิ ), อรูป- รายก็ได ตางจากอานิสงสซึ่งหมายถึง ฌานเปน นสิ สนั ทข องกสณิ , นโิ รธสมาบตั ิ ผลไดพเิ ศษในฝา ยดีอยางเดียว; ดู ผล, เปน นิสสนั ทของสมถะและวิปสสนา เทยี บ วบิ าก, อานสิ งส นิสสันท ใชกบั ผลดหี รอื ผลรา ยก็ได นิสสัย ปจจัยเคร่ืองอาศัยของบรรพชิต เชน เดียวกบั วบิ าก แตว บิ ากหมายถึงผล ๔ อยา ง คอื ๑. ปณ ฑยิ าโลปโภชนะ ของกรรมที่เกิดขึ้นแกกระแสสืบตอแหง โภชนะท่ีไดมาดวยกําลังปลีแขง คือ ชวี ติ ของผทู าํ กรรมนนั้ (คอื แกช วี ติ สนั ตติ เทีย่ วบิณฑบาต รวมทั้งภตั ตาหารท่เี ปน หรอื แกเ บญจขนั ธ) สว นนสิ สนั ทน ้ี ใชก ับ อตเิ รกลาภ ๑๐ อยา ง ๒. บังสุกุลจวี ร ผลของกรรมก็ได ใชกับผลของธรรม ผา นุงหม ทท่ี ําจากของเขาทิง้ รวมทง้ั ผา ที่ และเรื่องราวทั้งหลายไดท ัว่ ไป ถาใชก บั เปน อตเิ รกลาภ ๖ อยาง ๓. รุกขมลู - ผลของกรรม นสิ สันทหมายถึงผลพว ง เสนาสนะ ทอี่ ยอู าศัยคือโคนไม รวมท้งั พลอย ผลขา งเคยี ง หรอื ผลโดยออ ม ซงึ่ ที่อยูอาศัยที่เปนอติเรกลาภ ๕ อยาง สืบเนื่องตอออกไปจากวิบาก (คือ ๔. ปตู มิ ตุ ตเภสัช ยานา้ํ มตู รเนา รวมทั้ง อิฏฐารมณหรืออนิฏฐารมณท่ีเกิดพวง เภสัชทเี่ ปน อติเรกลาภ ๕ อยา ง (เรยี ก มาขางนอก อันจะกอใหเกิดความสุข สนั้ ๆ วา จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ หรือความทกุ ข) เชน ทาํ กรรมดีแลว เกดิ คิลานเภสชั ); คําบาลีวา “นสิ สฺ ย” ใน ผลดตี อ ชีวติ เปนวิบาก จากนน้ั พลอยมี ภาษาไทย เขียน นสิ สยั หรือ นสิ ยั ก็ ลาภมีความสะดวกสบายเกิดตามมา ได; ดู ปจจยั 2., อนศุ าสน (๘) เปน นสิ สันท หรอื ทํากรรมช่ัวแลว ชวี ติ นิสสารณา การไลอ อก, การขบั ออกจาก สืบตอแปรเปล่ียนไปในทางที่ไมนา หมู เชน นาสนะสามเณรผกู ลาวตูพ ระผู ปรารถนา เปน วิบาก และเกิดความโศก มีพระภาคเจา ออกไปเสยี จากหมู (อยใู น เศรา เสยี ใจ เปนนิสสนั ท และนสิ สันท อปโลกนกมั ม) ประกาศถอนธรรมกถกึ น้ันหมายถึงผลท่ีพลอยเกิดแกคนอื่น ผูไมแ ตกฉานในธรรมในอรรถ คัดคา น ดว ย เชน บคุ คลเสวยวบิ ากของกรรมชั่ว คดีโดยหาหลักฐานมิได ออกเสียจาก

นสิ ยั ๑๖๘ นสิ ัยมุตตกะการระงับอธกิ รณ (อยใู นญตั ติกัมม); คู วา “สาห”ุ (ดลี ะ) “ลห”ุ (เบาใจดอก)กับ โอสารณา “โอปายกิ ”ํ (ชอบแกอ บุ าย) “ปฏริ ปู ” (สมนิสัย 1. ท่ีพึ่ง, ทอ่ี าศัย เชน ขอนสิ ยั ใน ควรอย)ู “ปาสาทเิ กน สมปฺ าเทหิ” (จงการอุปสมบท (คือกลาวคําขอรองตอ ใหถึงพรอมดวยอาการอันนาเล่ือมใสอุปชฌายในพธิ อี ปุ สมบท ขอใหทา นเปน เถิด) คาํ ใดคาํ หน่งึ หรอื ใหรูเ ขา ใจดวยที่พ่ึงท่ีอาศัยของตน ทาํ หนาท่ีปกครอง อาการทางกายก็ตาม ก็เปนอันไดถือสง่ั สอนใหก ารศกึ ษาอบรมตอ ไป), อาจารย อุปชฌายแลว แตนิยมกันมาใหผูขอผูใหน สิ ัย เรียกวา นสิ สยาจารย (อาจารย กลาวรับคําของทานแตละคําวา “สาธุผูรับท่ีจะเปนที่พ่ึงท่ีอาศัย ทําหนา ท่ปี ก ภนเฺ ต” หรือ “สมฺปฏจิ ฉฺ าม”ิ แลว กลาวครองแนะนาํ ในการศกึ ษาอบรม); คําบาลี ตอ ไปอกี วา “อชชฺ ตคฺเคทานิ เถโร มยหฺ ํวา “นิสฺสย” ในภาษาไทย เขยี น นสิ สัย ภาโร, อหมปฺ  เถรสสฺ ภาโร” (วา ๓ หน)หรอื นสิ ัย กไ็ ด (= ตงั้ แตว นั น้เี ปน ตนไป พระเถระเปนการขอนสิ ยั (ขออยใู นปกครองหรอื ภาระของขา พเจา แมขา พเจาก็เปน ภาระขอใหเ ปนท่พี ึ่งในการศึกษา) สาํ เรจ็ ดวย ของพระเถระ)การถืออุปชฌาย (ขอใหเปนอุปชฌาย) ภิกษุนวกะถาไมไดอยูในปกครองนน่ั เอง ในพธิ อี ปุ สมบทอยา งทป่ี ฏบิ ตั กิ นั ของอุปชฌายดวยเหตอุ ยา งใดอยา งหนึ่งอยู การขอนสิ ยั ถอื อปุ ช ฌายเ ปน บพุ กจิ ตอน ทท่ี ําใหนสิ ัยระงบั เชน อปุ ชฌายไปอยูหน่ึงของการอุปสมบท กอนจะทําการ เสยี ทอ่ี น่ื ตอ งถอื ภกิ ษอุ นื่ ทม่ี คี ณุ สมบตั ิสอนซอ มถามตอบอนั ตรายิกธรรม ผขู อ สมควร เปน อาจารย และอาศัยทานแทนอุปสมบทเปลงวาจาขอนิสัยถอื อปุ ชฌาย วิธีถืออาจารยก็เหมือนกับวิธีถือดงั น้ี (เฉพาะขอ ความทพ่ี ิมพตัวหนาเทา อุปชฌาย เปล่ยี นแตค ําขอวา “อาจรโิ ย เมนนั้ เปน วนิ ยั บญั ญตั ิ นอกนน้ั ทานเสริม ภนเฺ ต โหห,ิ อายสมฺ โต นสิ สฺ าย วจฺฉาม”ิเขามาเพื่อใหหนักแนน): “อหํ ภนฺเต (ขอทานจงเปนอาจารยของขาพเจานสิ สฺ ยํ ยาจาม,ิ ทตุ ยิ มปฺ  อหํ ภนเฺ ต นสิ สฺ ยํ ขาพเจา จกั อยูอ าศยั ทาน)ยาจาม,ิ ตตยิ มปฺ  อหํ ภนเฺ ต นสิ สฺ ยํ ยาจาม,ิ 2. ปจ จยั เครอื่ งอาศยั ของบรรพชติ ๔อุปชฌฺ าโย เม ภนฺเต โหหิ, อปุ ชฌฺ าโย เม อยา ง ดู นิสสยั 3. ความประพฤตทิ เ่ี คยภนเฺ ต โหห,ิ อปุ ชฌฺ าโย เม ภนเฺ ต โหหิ” ชิน เชน ทําจนเปน นสิ ยัลําดับน้ันผูจะเปนอุปชฌายะกลาวตอบ นิสัยมุตตกะ ภิกษุผูพนการถือนิสัย

นิสยั สมี า ๑๖๙ เนาหมายถึงภกิ ษุมีพรรษาพน ๕ แลว มี ๑๔๐,๗๙๗ ตารางกิโลเมตร มีพลเมืองความรธู รรมวินัยพอรักษาตวั ไดแลว ไม ประมาณ ๑๓,๔๒๐,๐๐๐ คน (พ.ศ.ตองถือนิสัยในอุปชฌาย หรืออาจารย ๒๕๒๑); หนังสือเกาเขยี น เนปอลตอ ไป; เรยี กงายวา นิสัยมตุ ก เนยยะ ผพู อแนะนําได คอื พอจะฝกสอนนิสัยสีมา คามสีมาเปนที่อาศัยของ อบรมใหเขา ใจธรรมไดต อ ไป (ขอ ๓ ในพัทธสีมา บุคคล ๔ เหลา)นิสิต ศิษยผูเลาเรียนอยูในสํานัก, ผู เนยยัตถะ ดู อัตถะ 2. เนรเทศ ขบั ไลอ อกจากถ่นิ เดิม, ใหออกอาศยั , ผถู อื นิสยันิสิตสีมา พทั ธสมี าอาศัยคามสีมา ไปเสียจากประเทศนิสที นะ ผาปูน่งั สาํ หรบั ภิกษุ เนรญั ชรา ชอื่ แมน้ําสาํ คัญ พระพุทธเจานตี ตั ถะ ดู อัตถะ 2. ไดตรัสรูพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเนกขมั มะ การออกจากกาม, การออก ที่ภายใตตนโพธ์ิ ซึ่งอยูริมแมน้ําสายนี้บวช, ความปลอดโปรง จากส่ิงลอเรา เยา และกอนหนานั้นในวันตรัสรูทรงลอยยวน (พจนานกุ รมเขยี น เนกขัม); (ขอ ถาดขาวมธุปายาสท่ีนางสุชาดาถวายใน๓ ในบารมี ๑๐) แมน าํ้ สายนี้เนกขัมมวิตก ความตรึกท่ีจะออกจาก เนวสัญญานาสัญญายตนะ ภาวะที่มีกาม หรือตรึกท่จี ะออกบวช, ความดําริ สัญญากไ็ มใช ไมม สี ัญญากไ็ มใช เปนหรอื ความคิดท่ปี ลอดจากความโลภ (ขอ ชอ่ื อรูปฌาน หรืออรูปภพที่ ๔๓ ในกุศลวติ ก ๓) เนวสัญญีนาสัญญี มีสัญญากไ็ มใช ไมเนตติ แบบแผน, เยยี่ งอยา ง, ขนบธรรม- มสี ญั ญาก็ไมใ ชเนียม (พจนานกุ รม เขยี น เนติ) เนสัชชกิ ังคะ องคแหง ภิกษุผูถ อื การน่งัเนตร ตา, ดวงตา เปน วตั ร คอื ถอื น่ัง ยืน เดนิ เทาน้นัเนปาล ช่ือประเทศอันเคยเปนที่ต้ังของ ไมน อน (ขอ ๑๓ ในธุดงค ๑๓)แควน ศากยะบางสว น รวมทั้งลุมพนิ อี ัน เนา เอาผา ทาบกนั เขา เอาเข็มเย็บเปน ชวงเปน ทป่ี ระสตู ขิ องเจา ชายสทิ ธตั ถะ ตง้ั อยู ยาวๆ พอกนั ผา เคลอ่ื นจากกัน ครั้นเย็บทางทิศเหนือของประเทศอินเดียและ แลว กเ็ ลาะเนานัน้ ออกเสียทางใตของประเทศจีน มีเน้ือที่

บทภาชนะ ๑๗๐ บรรยาย บบทภาชนะ บทไขความ, บทขยายความ บรรพ ขอทว่ี า ดวยการกาํ หนดลมหายใจบทภาชนีย บทท่ีตั้งไวเพื่อขยายความ, เขา ออก เปนตน บรรพชา การบวช (แปลวา “เวน ความชวั่บททตี่ อ งอธบิ ายบรม อยา งยง่ิ , ท่ีสดุ ทุกอยาง”) หมายถึง การบวชท่ัวไป,บรมธาตุ กระดูกพระพุทธเจา ก า ร บ ว ช อั น เ ป น บุ ร พ ป ร ะ โ ย ค แ ห งบรมพุทโธบาย อุบายคือวิธีของพระ อุปสมบท, การบวชเปนสามเณร (เดิมทีพุทธเจา ผยู อดเยยี่ ม จากศัพทวา บรม เดยี ว คาํ วา บรรพชา หมายความวา(ปรม) + พทุ ธ (พทุ ธฺ ) + อบุ าย (อปุ าย) บวชเปนภิกษุ เชน เสด็จออกบรรพชาบรมศาสดา ศาสดาที่ยอดเยีย่ ม, พระผู อคั รสาวกบรรพชา เปน ตน ในสมัยตอเปน ครูท่ีสงู สุด, พระบรมครู หมายถึง มาจนถึงปจจุบันน้ี คําวา บรรพชาพระพทุ ธเจา หมายถึง บวชเปน สามเณร ถาบวชเปนบรมสารีรกิ ธาตุ ดู สารีริกธาตุ ภกิ ษุ ใชคาํ วา อุปสมบท โดยเฉพาะเมือ่บรมสุข สขุ อยางยง่ิ ไดแก พระนพิ พาน ใชค วบกันวา บรรพชาอุปสมบท)บรมอัฏฐิ กระดูกกษัตรยิ  บรรพชิต ผบู วช, นกั บวช เชน ภิกษุบรรจถรณ ผา ปนู อน, เครือ่ งลาด (คือ สมณะ ดาบส ฤษี เปนตน แตเ ฉพาะใน ปจจัตถรณะ) พระพุทธศาสนา ไดแก ภิกษุและบรรจบ ครบ, ถว น, จดกัน, ประสมเขา, สามเณร (และภิกษุณี สิกขมานา ตดิ ตอ กนั , สมทบ สามเณร)ี มักใชค ูกบั คฤหัสถ (ในภาษาบรรทม นอน ไทยปจ จบุ นั ใหใ ชห มายเฉพาะนกั บวชในบรรเทา ทาํ ใหสงบ, คลาย, เบาลง, ทําให พระพุทธศาสนา ไมวาในฝายเถรวาทเบาลง, ทเุ ลา หรือฝา ยมหายาน)บรรพ ขอ, เลม, หมวด, ตอน, กณั ฑ บรรพต ภูเขาดังคําวา กายานุปส สนา พจิ ารณาเห็น บรรยาย การสอน, การแสดง, การชี้ซงึ่ กาย โดยบรรพ ๑๔ ขอ มี อานาปาน- แจง; นัยโดยออม, อยาง, ทาง

บรรลุ ๑๗๑ บรขิ ารบรรลุ ถงึ , สําเรจ็ เข็ม ประคดเอว ผากรองน้ํา (ปริส-บรกิ รรม 1. (ในคาํ วา “ถาผากฐนิ นัน้ มี สาวนะ, หรอื กระบอกกรองนา้ํ คอื ธมกรก, บริกรรมสําเร็จดีอยู”) การตระเตรียม, ธมกรณ, ธมั มกรก หรอื ธมั มกรณ) ดงั กลาวในอรรถกถา (เชน วนิ ย.อ.๑/๒๘๔) วา การทาํ ความเรียบรอยเบอื้ งตน เชน ซัก ตจิ วี รฺจปตโฺ ตจ วาสีสจู ิจพนธฺ น ยอ ม กะ ตดั เยบ็ เสรจ็ แลว 2. สถานที่ ปรสิ สฺ าวเนนฏเเต ยตุ ตฺ โยคสสฺ ภกิ ขฺ โุ น. ตามปกติ อรรถกถากลาวถึงบริขาร ๘ เขาลาดปูน ปูไม ขัดเงา หรอื ชักเงา โบก เมื่อเลาเร่ืองของทานผูบรรลุธรรมเปนพระ ปจ เจกพทุ ธเจา ซึง่ มบี ริขาร ๘ เกดิ ข้นึ เอง ปนู ทาสี เขียนสี แตง อยา งอืน่ เรียกวา พรอมกบั การหายไปของเพศคฤหัสถ และ ที่ทาํ บรกิ รรม หามภกิ ษุถมน้าํ ลาย หรือ เรือ่ งของพระสาวกในยุคตนพุทธกาล ซึง่ มี นงั่ พงิ 3. การนวดฟน ประคบ หรอื ถู บริขาร ๘ เกดิ ขนึ้ เอง เม่ือไดรบั อุปสมบท เปนเอหิภิกขุ นอกจากนี้ ทานอธิบาย ตัว 4. การกระทําขัน้ ตนในการเจรญิ ลักษณะของภิกษุผูสันโดษวา ภิกษุผู สันโดษท่ีพระพุทธเจาทรงมุงหมายในพระ สมถกรรมฐานคือ กําหนดใจโดยเพง สตู ร (เชน สามัญญผลสตู ร, ที.ส.ี ๙/๙๑/๖๑) ซ่ึง เบาตัวจะไปไหนเมื่อใดก็ไดตามปรารถนา วัตถุ หรือนึกถงึ อารมณทก่ี าํ หนดนัน้ วา ดังนกที่มีแตปกจะบินไปไหนเม่ือใดไดดัง ใจน้นั คอื ทานทีม่ ีบรขิ าร ๘ สว นผทู ีม่ ี ซํา้ ๆ อยใู นใจอยางใดอยา งหน่ึง เพื่อทาํ บริขาร ๙ (เพิ่มผาปลู าด หรอื ลูกกญุ แจ) มี บริขาร ๑๐ (เพ่ิมผา นสิ ที นะ หรอื แผน หนงั ) ใจใหสงบ 5. เลือนมาเปนความหมายใน มบี รขิ าร ๑๑ (เพ่ิมไมเ ทา หรอื ทะนานนาํ้ มนั ) หรอื มบี ริขาร ๑๒ (เพ่มิ รม หรือรอง ภาษาไทย หมายถงึ ทองบน , เสกเปา เทา ) ก็เรยี กวามกั นอย สนั โดษ แตม ใิ ชผูบริกรรมภาวนา ภาวนาขั้นตนหรือข้ัน ท่ที รงมุงหมายในพระสูตรดังกลา วนั้น ตระเตรยี ม คือ กําหนดใจ โดยเพง ดู รายการบรขิ ารในพระไตรปฎ ก ทม่ี ชี ื่อ และจาํ นวนใกลเ คยี งกบั บริขาร ๘ น้ี พบ วัตถุ หรือนึกวาพุทธคุณ ธรรมคุณ ในสิกขาบทที่ ๑๐ แหงสุราปานวรรค สังฆคณุ เปน ตน ซํา้ ๆ อยูในใจบรขิ าร ของใชสวนตวั ของพระ, เคร่ืองใช สอยประจําตัวของภิกษุ; บริขารทจี่ าํ เปน แทจ ริง คือ บาตร และ[ไตร]จวี ร ซ่ึงตอ ง มพี รอ มกอ นจงึ จะอปุ สมบทได แตไ ดย ดึ ถอื กนั สบื มาใหม ี บรขิ าร ๘ (อัฐบริขาร) คือ ไตรจวี ร (สังฆาฏิ อุตราสงค อนั ตร- วาสก) บาตร มดี เลก็ (วาส,ี อรรถกถามกั อธบิ ายวา เปนมีดตดั เหลาไมสฟี น แตเรา นิยมพูดกันมาวามีดโกนหรือมีดตดั เลบ็ )

บริขารโจล ๑๗๒ บรโิ ภคเจดียปาจิตตีย (ภิกษุซอนบริขารของภิกษุอ่ืน) อปรันตกชนบท (สนั นษิ ฐานวา เปน ดนิ แดนไดแก บาตร [ไตร]จีวร ผา นสิ ที นะ กลอง แถบรฐั Gujarat ในอนิ เดยี ถงึ Sind ในเข็ม ประคดเอว (นับได ๗ ขาดมดี และ ปากสี ถานปจจุบัน)เคร่ืองกรองน้ํา แตมีนิสีทนะเพิ่มเขามา), บริขารโจล ทอนผา ใชเปน บรขิ าร เชนในคราวจะมสี งั คายนาครงั้ ที่ ๒ พวกภกิ ษุ ผากรองน้าํ ถงุ บาตร ยาม ผา หอของวัชชีบุตรไดเที่ยวหาพวกดวยการจัด บริจาค สละให, เสยี สละ, สละออกไปเตรียมบริขารเปนอันมากไปถวายพระ จากตัว, การสละใหหมดความเห็นแกเถระบางรปู (วนิ ย.๗/๖๔๓/๔๑๐) ไดแ ก บาตร ตัว หรืออยางมิใหมีความเห็นแกตนจีวร นิสีทนะ กลองเขม็ ประคดเอว ผา โดยมุงเพ่ือประโยชนของผูอ่ืน เพ่ือกรองนํ้า และธมกรก (ครบ ๘ แตมี ความดงี าม หรือเพ่ือการกาวสงู ขนึ้ ไปในนสิ ีทนะมาแทนมีด) ธรรม เชน ธนบรจิ าค (การสละทรพั ย)คัมภีรอปทาน (ขุ.อป.๓๓/๒๐๘/๕๔๙) ชีวิตบริจาค (การสละชีวิต) กามสุข-นอกจากบรรยายเรื่องพระบรมสารีริกธาตุ บรจิ าค (การสละกามสขุ ) อกุศลบรจิ าคท่ไี ดร ับการอญั เชิญไปบรรจุไว ณ สถูป- (การสละละอกุศล); บัดนี้ มักหมายเจดยี สถานตา งๆ แลว ยังไดก ลาวถงึ เฉพาะการรวมใหหรือการสละเพ่ือการบรขิ ารของพระพุทธเจา ซงึ่ ประดษิ ฐานอยู บุญอยางเปน พิธีในท่ีตางๆ (หลายแหงไมอาจกําหนดไดวา บริจารกิ า หญงิ รับใชในบดั นค้ี อื ทีใ่ ด) คอื บาตร ไมเทา และ บรภิ ณั ฑ ดู สตั ตบรภิ ัณฑจีวรของพระผมู ีพระภาค อยูในวชิรานคร บริโภค กิน, ใชสอย, เสพ; ในประโยควาสบงอยูในกุลฆรนคร (เมืองหน่ึงใน “ภิกษุใดรูอยู บรโิ ภคน้าํ มตี วั สตั ว เปนแควนอวันตี) บรรจถรณอยูเมืองกบิล ปาจิตตยิ ะ” หมายถึง ด่ืม อาบ และใชธมกรกและประคดเอวอยูนครปาฏลิบุตร สอยอยางอืน่ผาสรงอยูที่เมืองจัมปา ผากาสาวะอยูใน บริโภคเจดยี  เจดยี ค ือสิ่งของหรือสถานพรหมโลก ผาโพกอยูที่ดาวดึงส ผา ท่ีท่ีพระพุทธเจาเคยทรงใชสอยเกี่ยวนิสีทนะอยูในแควนอวันตี ผาลาดอยูใน ขอ ง ไดแ ก ตมุ พสตปู อังคารสตูป และเทวรฐั ไมสไี ฟอยูใ นมถิ ิลานคร ผากรอง สงั เวชนยี สถานทัง้ ๔ ตลอดถึงบาตรนํ้าอยูในวิเทหรัฐ มีดและกลองเข็มอยูที่ จวี ร เตียง ตั่ง กฎุ ี วิหาร ท่พี ระพทุ ธเจาเมืองอินทปต ถ บรขิ ารเหลือจากน้นั อยใู น ทรงใชส อย

บรวิ าร ๑๗๓ บอกศกั ราชบรวิ าร 1. ผูแวดลอ ม, ผูหอ มลอมตดิ บอกวัตร บอกขอปฏิบัติในพระพุทธ-ตาม, ผรู บั ใช 2. สง่ิ แวดลอ ม, ของสมทบ, ศาสนา เมื่อทําวัตรเยน็ เสรจ็ แลว ภกิ ษุส่งิ ประกอบรว ม เชน ผา บริวาร บรวิ าร รปู เดียวเปนผบู อก อาจใชว ิธีหมนุ เวยี นกฐิน เปนตน 3. ชอ่ื คัมภรี พระวินัยปฎก กนั ไปทลี ะรปู ขอ ความทบี่ อก วา เปน ภาษาหมวดสุดทายใน ๕ หมวดคือ อาทกิ ัมม บาลี กลา วถงึ ปฏิบตั ิบูชา คาถา โอวาท- ปาจิตตีย มหาวรรค จลุ วรรค บริวาร; ปาฏิโมกข คณุ านิสงสแหง ขันตธิ รรม คํา เรยี กตามรปู เดมิ ในบาลวี า ปริวาร ก็มี เตือนใหใสใจในธรรมในเมื่อไดมีโอกาสบรษิ ทั หมเู หลา, ท่ีประชุม, คนรวมกัน, เกิดมาเปนมนุษยพบพระพุทธศาสนา กลุม ชน ความไมประมาท เรงเพียรพยายามในบรษิ ทั ๔ ชุมชนชาวพทุ ธ ๔ พวก คือ ทางธรรมเพื่อนอมไปสูพระนิพพานภกิ ษุ ภกิ ษุณี อุบาสก อบุ าสิกา และพน จากทคุ ติ แลวกลา วถึงพทุ ธกจิบริสุทธ, บรสิ ุทธิ์ สะอาด, หมดจด, ประจําวนั ๕ ประการ ลาํ ดบั กาลในพระปราศจากมลทิน, ผุดผอง; ครบถว น, พุทธประวัติ สิ่งแทนพระองคภายหลัง ถกู ตองตามระเบยี บอยา งบรบิ ูรณ พุทธปรินพิ พาน ชอ่ื วัน เดือน ป และบริหาร ดูแล, รกั ษา, ปกครอง ดาวนักษัตร ๒๗ จบลงดว ยคาํ เช้ือเชิญบริหารคณะ ปกครองหมู, ดูแลหมู ใหต้ังอยูในพระพุทธโอวาท บําเพ็ญบวงสรวง บูชา (ใชแ กผสี าง เทวดา) ปฏิบัติบูชา เพื่อบรรลุสมบัติทั้งที่เปนบวงแหง มาร ไดแ ก วัตถุกาม คอื รูป โลกยี ะและโลกตุ ตระ; ธรรมเนียมน้ี บัดเสยี ง กล่นิ รส โผฏฐัพพะ ทน่ี า รักใคร นเ้ี ลือนลางไปแลวนา พอใจ บอกศักราช เปนธรรมเนียมของพระบวช การเวน ทว่ั คือเวน ความชว่ั ทกุ อยา ง สงฆไ ทยแตโ บราณ มีการบอกกาลเวลา(ออกมาจากคาํ วา ป + วช) หมายถงึ การ เรยี กวา บอกศกั ราช ตอนทายสวดมนต ถอื เพศเปนนักพรตทว่ั ไป; บวชพระ คอื และกอ นจะแสดงพระธรรมเทศนา (หลงั บวชเปน ภกิ ษุ เรยี กวา อุปสมบท, บวช จากใหศีลจบแลว) วาท้ังภาษาบาลแี ละ เณรคอื บวชเปน สามเณร เรยี กวา บรรพชา คาํ แปลเปนภาษาไทย การบอกอยางเกาบอก ในประโยควา “ภกิ ษใุ ด ไมไ ดรับ บอกป ฤดู เดอื น วัน ทง้ั ท่ีเปนปจ จบุ ันบอกกอน กา วลว งธรณีเขา ไป” ไมไ ดร ับ อดีต และอนาคต คอื บอกวา ลว งไปแลวบอก คือยงั ไมไ ดรบั อนญุ าต เทา ใด และยงั จะมมี าอกี เทา ใด จงึ จะครบ

บงั คม ๑๗๔ บงั สุกุลตาย-บงั สุกุลเปนจํานวนอายุพระพทุ ธศาสนา ๕ พนั ป สมเด็จพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาแตป ระมาณ พ.ศ. ๒๔๘๔ ทร่ี ฐั บาล สัมพุทธเจาน้ัน มีนัยอันจะพึงกําหนดประกาศใชวนั ท่ี ๑ มกราคม เปนวันข้ึน นับ ดว ยประการฉะนี้.ปใหม เปน ตน มา ไดมีวธิ บี อกศักราชอยา งใหมข ้ึนใชแ ทน บอกเฉพาะป พ.ศ. [วนั เรยี งลาํ ดับจากวันอาทติ ยไป เปนเดอื น วันท่ี และวันในปจ จบุ นั ทง้ั บาลี คาํ บาลีวา : รวิ จนทฺ ภมุ มฺ วธุ ครุ สกุ กฺและคําแปล บดั น้ไี มนิยมกันแลว คง โสร; เดือน เรยี งลําดบั จากเมษายนไปเปนเพราะมีปฏิทินและเคร่ืองบอกเวลา เปน คําบาลีวา: จติ รฺ วสิ าข เชฏอยา งอ่ืนใชกันด่ืนท่ัวไป อาสาฬหฺ สาวน โปฏ ปท (หรอื ภททฺ - ปท) อสสฺ ยชุ กตตฺ กิ มคิ สริ ปสุ สฺ มาฆ ในทน่ี ี้ แสดงคาํ บอกศกั ราชอยา งใหม ผคฺคุณ; สวนวันที่ และเลขป พึงไวเปนตัวอยาง (เม่อื ใกล พ.ศ.๒๕๐๐ ประกอบตามหลักบาลไี วยากรณ]ยังถือปฏบิ ัติกันอย)ู ดงั นี้ บงั คม ไหวอทิ านิ ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺ บังสุกลุ ผาบังสกุ ลุ หรือ บงั สกุ ุลจีวร; ในมา-สมพฺ ทุ ธฺ สสฺ , ปรนิ ิพพฺ านโต ปฏ ภาษาไทยปจจุบัน มักใชเปนคํากริยาฐาย, เอกสํวจฺฉรตุ ตฺ รปจฺ สตาธิกา หมายถึงการที่พระสงฆชักเอาผาซึ่งเขาน,ิ เทวฺ สวํ จฺฉรสหสฺสานิ อตกิ ฺกนฺ ทอดวางไวท ศ่ี พ ทห่ี บี ศพ หรอื ทสี่ ายโยงตานิ, ปจฺจุปฺ-ปนฺนกาลวเสน จิตฺร ศพ โดยกลาวขอความท่ีเรียกวา คํามาสสฺส เตรสมํ ทนิ ,ํ วารวเสน ปน พิจารณาผา บงั สุกลุ ดงั นี้รววิ าโร โหต.ิ เอวํ ตสฺส ภควโต ปริ อนิจฺจา วต สงขฺ ารา อปุ ฺปาทวยธมฺมโิ นนพิ พฺ านา, สาสนายกุ าล-คณนา สลฺล อุปฺปชชฺ ิตวฺ า นริ ุชฺฌนฺติ เตสํ วปู สโม สโุ ขกเฺ ขตพพฺ าติ. บังสุกุลจีวร ผาท่ีเกลือกกลั้วดวยฝุน,ศุภมัสดุ พระพุทธศาสนายุกาล ผาท่ไี ดม าจาก กองฝุน กองหยากเย่อื ซง่ึจําเดิมแตปรินิพพานแหงพระองค เขาท้ิงแลว ตลอดถงึ ผาหอคลุมศพทเี่ ขาสมเด็จพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมา ท้ิงไวในปาชา ไมใชผาท่ีชาวบานถวาย,สมั พทุ ธเจา น้ัน บัดน้ีลว งแลว ๒๕๐๑ ปจจุบันมักหมายถึงผาท่ีพระชักจากศพพรรษา ปจ จบุ นั สมยั เมษายนมาส สรุ ทนิ โดยตรงกต็ าม จากสายโยงศพก็ตามที่ ๑๓ อาทติ ยวาร พระพทุ ธศาสนายกุ าล บังสุกลุ ตาย-บงั สกุ ุลเปน ตามประเพณีจําเดิมแตปรินิพพานแหงพระองค เก่ียวกับการศพ หลังจากเผาศพแลว

บญั ญตั ิ ๑๗๕ บณั เฑาะว เมอ่ื จะเก็บอัฐิ (เก็บในวันที่เผากไ็ ด แต อจริ ํ วตยํ กาโย ปวึ อธเิ สสสฺ ติ นยิ มเก็บตอนเชา วันรุงขึน้ ) มีการนมิ นต ฉุฑโฺ ฑอเปตวิฺาโณ นิรตถฺ ํว กลิงฺครํ พระมาบงั สุกลุ อัฐิ เรียกวา “แปรรูป” หรอื บังสุกุลตาย-บังสุกุลเปนนี้ ตอมามี “แปรธาต”ุ (พระก่รี ูปก็ได แตนิยมกนั วา การนําไปใชในการสะเดาะเคราะหดวย ๔ รปู , บางทานวา ทีจ่ รงิ ไมค วรเกนิ ๓ ทํานองจะใหมีความหมายวา ตายหรือ รูป คงจะเพอ่ื ใหส อดคลองกับกรณที ่ีมี วบิ ตั แิ ลว กใ็ หก ลบั ฟน ขนึ้ มา, อยา งไรกด็ ี การทําบุญสามหาบ ซึ่งถวายแกพระ ๓ ถาไมระวังไว แทนที่จะเปนการใชใหมี รูป) ในการแปรรูปน้ัน กอ นจะบงั สกุ ลุ ความหมายเชงิ ปริศนาธรรม ก็จะกลาย บางทีก็นิมนตพระสงฆทําน้ํามนตมา เปนการใชในแงถอื โชคลาง; ดู บังสกุ ลุ ประพรมอฐั ิ เรียกวาดบั ธาตกุ อน แลว บัญญตั ิ การต้งั ขึน้ , ขอท่ตี ั้งข้ึน, การ เจา หนา ท่ี (สัปเหรอ) จัดอัฐทิ ีเ่ ผาแลว นัน้ กาํ หนดเรียก, การเรียกชอ่ื , การวางเปน ใหรวมเปนสวนๆ ตามรูปของรางกาย กฎไว, ขอ บงั คบั หนั ศรี ษะไปทศิ ตะวนั ตก พรอมแลว บัณฑิต ผูมีปญญา, นักปราชญ, ผู ญาติจุดธูปเคารพ บอกกลา ว และเอา ดาํ เนินชีวติ ดวยปญ ญา ดอกพิกุลเงินพิกุลทองหรือสตางควาง บัณฑติ ชาติ เผาพันธบุ ัณฑิต, เหลานกั กระจายลงไปท่ัวรางของอัฐิ แลว ปราชญ, เชอ้ื นกั ปราชญ ประพรมดวยนํ้าอบน้าํ หอม จากนั้นจึง บณั ฑกุ มั พลศิลาอาสน แทน หินมสี ีดุจ ทอดผา บงั สกุ ลุ และพระสงฆก ็กลา วคํา ผา กมั พลเหลอื ง เปนที่ประทับของพระ พิจารณาวา “อนิจฺจา วต สงฺขารา” อินทรในสวรรคชนั้ ดาวดงึ ส (อรรถกถา เปน ตน อยา งท่ีวา ตามปกติทวั่ ไป เรยี ก วา สีแดง) วา บงั สุกุลตาย เสร็จแลวเจาหนาท่ีก็ บณั เฑาะก [บนั -เดาะ] กะเทย, คนไม หมุนรางอัฐิใหหันศีรษะไปทิศตะวัน ปรากฏชัดวาเปนเพศชายหรือเพศหญิง ออก และพระสงฆกลาวคําพิจารณา ไดแ ก กะเทยโดยกําเนิด ๑ ชายผถู กู เปลี่ยนเปนบงั สกุ ลุ เปน มคี วามหมาย ตอนที่เรยี กวาขนั ที ๑ ชายมรี าคะกลา วาตายแลวไปเกดิ จบแลว เมอ่ื ถวาย ประพฤตินอกจารีตในทางเสพกามและ ดอกไมธูปเทียนแกพระสงฆเสร็จ เจา ยว่ั ยวนชายอืน่ ใหเปน เชน น้นั ๑ ภาพกเ็ ก็บอฐั ิ (เลอื กเก็บจากศีรษะลงไป บณั เฑาะว [บัน-เดาะ] 1. กลองเล็กชนดิ ปลายเทา ),คาํ พจิ ารณาบงั สกุ ลุ เปน นน้ั วา หนึ่งมีหนังสองหนาตรงกลางคอด ริม

บนั ดาล ๑๗๖ บารมีท้ังสองใหญ พราหมณใชในพิธีตางๆ หลังเดยี ว สองหลงั สามหลงั หรอื มากขับโดยใชลูกตุมกระทบหนากลองท้ัง กวา นน้ั หรอื รวมบา นเหลา นนั้ เขา เปน หมูสองขา ง; 2. สีมามสี ณั ฐานดุจบัณเฑาะว ก็เรียกวา บาน คําวา คามสมี า หมายถึง คอื มลี กั ษณะทรวดทรงเหมอื นบณั เฑาะว แดนบานตามนัยหลงั น้ีบันดาล ใหเกิดมีขน้ึ หรอื ใหเปน ไปอยาง บาป ความชวั่ , ความราย, ความช่ัวราย,ใดอยางหน่ึงดวยฤทธ์ิหรือดวยแรง กรรมชวั่ , กรรมลามก, อกุศลกรรมทสี่ ง อาํ นาจ ใหถ ึงความเดือดรอ น, สภาพท่ที ําใหถ งึบัลลงั ก ในคาํ วา “นงั่ ขัดบัลลงั ก” หรอื คติอันชวั่ , สิง่ ท่ีทาํ จติ ใหตกสทู ่ชี วั่ คือ“นัง่ คูบลั ลงั ก” คอื น่ังขัดสมาธ;ิ ความ ทําใหเลวลง ใหเส่ือมลงหมายทวั่ ไปวา แทน, พระแทน , ท่ีน่งั ผู บารมี คณุ ความดีทบ่ี ําเพญ็ อยา งยิง่ ยวดพพิ ากษาเม่ือพิจารณาคดีในศาล, สว น เพ่ือบรรลุจุดหมายอันสูงยิ่ง, บารมีท่ีของสถูปเจดียบางแบบ มีรูปเปนแทน พระโพธิสัตวตองบําเพ็ญใหครบ เหนือคอระฆงั บริบูรณ จึงจะบรรลโุ พธิญาณ เปน พระบัว ๔ เหลา ดู บคุ คล ๔ จาํ พวก พุทธเจา มี ๑๐ คือ ๑.ทาน (การให การบาตร ภาชนะทภี่ ิกษุสามเณรใชรับอาหาร เสียสละเพ่ือชวยเหลือมวลมนุษยสรรพ บิณฑบาต เปนบริขารประจําตัวคูกับ สัตว) ๒.ศีล (ความประพฤติถูกตอง สุจริต) ๓.เนกขัมมะ (ความปลีกออก ไตรจีวร ซึ่งผูจะอุปสมบทจําเปน ตอ งมีจงึ จะบวชได ดงั ที่เรยี กรวมกนั วา “ปตฺต- จากกามได ไมเห็นแกการเสพบําเรอ,จีวรํ” และจดั เปนอยา งหน่งึ ในบริขาร ๘ การออกบวช) ๔.ปญญา (ความรอบรูของภกิ ษ,ุ บาตรทท่ี รงอนญุ าต มี ๒ อยา ง เขาถงึ ความจรงิ รจู กั คดิ พจิ ารณาแกไข (วนิ ย.๗/๓๔/๑๗) คอื บาตรเหลก็ (อโย- ปญหาและดําเนินการจัดการตางๆ ให สําเรจ็ ) ๕.วิริยะ (ความเพียรแกลว กลา ปตฺต) และบาตรดิน (มตฺติกาปตฺต, บากบน่ั ทาํ การ ไมทอดท้ิงธรุ ะหนา ท่)ี ๖. ขนั ติ (ความอดทน ควบคุมตนอยไู ดใน หมายเอาบาตรดนิ เผาซงึ่ สมุ ดําสนิท)บาตรอธิษฐาน บาตรท่ีพระพุทธเจา อนญุ าตใหภ กิ ษมุ ีไวใ ชประจาํ ตัวหน่งึ ใบ ธรรม ในเหตผุ ล และในแนวทางเพอื่ จุดบาทยุคล คแู หง บาท, พระบาททง้ั สอง หมายอนั ชอบ ไมย อมลุอํานาจกเิ ลส) ๗. สัจจะ (ความจรงิ ซื่อสัตย จริงใจ จริง (เทาสองขาง) จงั ) ๘.อธิษฐาน (ความตง้ั ใจม่นั ต้งั จดุบาน ท่อี ยูของคนครัวเดยี วกัน มเี รือน

บารมี ๓๐ทศั ๑๗๗ บาลีประเทศหมายไวด ีงามชัดเจนและมงุ ไปเดด็ เดี่ยว ๓๐ เรียกเปน คําศพั ทว า สมดงึ สบารมีแนวแน) ๙.เมตตา (ความรักความ (หรือสมติงสบารมี) แปลวา บารมีปรารถนาดี คดิ เก้ือกูลหวังใหสรรพสตั ว สามสบิ ถว น หรอื บารมีครบเตม็ สามสบิอยดู ีมคี วามสขุ ) ๑๐.อุเบกขา (ความวาง แตใ นภาษาไทย บางทีเรยี กสืบๆ กนั มาใจเปนกลาง อยูในธรรม เรียบสงบ วา “บารมี ๓๐ ทศั ”; ดู ทศั , สมดึงส-สมํา่ เสมอ ไมเ อนเอยี ง ไมหวน่ั ไหวไป บารมี ๓๐ ทศั ดู บารมี, สมดึงส-ดวยความยินดียินรายชอบชังหรือแรง บาลี 1. “ภาษาอันรักษาไวซ ึ่งพทุ ธพจน” ,เยา ยวนย่ัวยใุ ดๆ) ภาษาทใ่ี ชท รงจาํ และจารกึ รกั ษาพทุ ธพจนบารมี ๑๐ นัน้ จะบริบูรณต อเม่ือ แตเ ดมิ มา อนั เปน หลกั ในพระพทุ ธศาสนาพระโพธิสัตวบําเพ็ญแตละบารมีครบ ฝายเถรวาท ถือกันวาไดแกภาษามคธสามข้นั หรือสามระดับ จงึ แบงบารมีเปน 2. พระพทุ ธวจนะ ซ่งึ พระสงั คตี ิกาจารย๓ ระดับ คือ ๑.บารมี คอื คณุ ความดที ี่ รวบรวมไว คอื พระธรรมวนิ ัยทพี่ ระบาํ เพญ็ อยางยิง่ ยวด ขนั้ ตน ๒.อปุ บารมี อรหนั ต ๕๐๐ องคประชมุ กนั รวบรวมคือคุณความดีที่บําเพ็ญอยางย่ิงยวด จัดสรรใหเปนหมวดหมูในคราวปฐม-ขัน้ จวนสูงสดุ ๓.ปรมตั ถบารมี คอื คุณ สงั คายนา และรกั ษาไวด ว ยภาษาบาลี สบืความดีทบี่ ําเพญ็ อยา งยง่ิ ยวด ขัน้ สูงสุด ตอกันมาในรูปท่ีเรียกวาพระไตรปฎกเกณฑในการแบงระดับของบารมี อนั เปน คมั ภรี พ ระพทุ ธศาสนาตน เดิม ท่ีน้ัน มีหลายแงหลายดา น ขอยกเกณฑ เปนหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท,อยา งงา ยมาใหทราบพอเขาใจ เชน ใน พทุ ธพจน, ขอ ความทมี่ าในพระไตรปฎ ก;ขอทาน สละทรัพยภายนอกทกุ อยางได ในการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา มปี ระเพณีเพื่อประโยชนแกผูอื่น เปนทานบารมี ทป่ี ฏบิ ตั กิ นั มาในเมอื งไทย ใหแ ยกคาํ วาสละอวัยวะเพ่ือประโยชนแกผ ูอ น่ื เปน “บาล”ี ในความหมาย ๒ อยา งน้ี ดว ยทานอปุ บารมี สละชีวติ เพ่อื ประโยชนแก การเรยี กใหต า งกนั คอื ถา หมายถงึ บาลีผูอ่ืน เปน ทานปรมัตถบารมี ในความหมายที่ 1. ใหใ ชค าํ วา ภาษาบาลี บารมีในแตละขั้นมี ๑๐ จึงแยกเปน (หรอื ศพั ทบ าลี คาํ บาลี หรอื บาล)ี แตถ าบารมี ๑๐ (ทศบารม)ี อุปบารมี ๑๐ หมายถงึ บาลใี นความหมายท่ี 2. ใหใ ชค าํ(ทศอปุ บารม)ี และปรมตั ถบารมี ๑๐ วา พระบาลี(ทศปรมตั ถบารม)ี รวมทง้ั ส้ินเปน บารมี บาลีประเทศ ขอความตอนหนึ่งแหง

บาลพี ทุ ธอทุ าน ๑๗๘ บุคคล ๔๒บาล,ี ขอ ความจากพระไตรปฎก พระไปบิณฑบาต คอื ไปรับอาหารทีเ่ ขาบาลพี ทุ ธอทุ าน คาํ อุทานท่พี ระพุทธเจา จะใสล งในบาตร บุคคล “ผูกลืนกินอาหารอันทําอายุใหทรงเปลงเปน บาลี เชนท่วี ายทา หเว ปาตภุ วนฺติ ธมฺมา ครบเตม็ ”, คนแตละคน, คนรายตวั ;อาตาปโน ฌายโต พรฺ าหฺมณสสฺ อตั ตา, อาตมนั ; ในพระวินยั โดยเฉพาะอถสฺส กงขฺ า วปยนตฺ ิ สพฺพา ในสังฆกรรม หมายถึงภิกษุรูปเดียว; ฯเปฯ เทยี บ สงฆ, คณะ(“ในกาลใดแล ธรรมทั้งหลายปรากฏแก บุคคล ๔๑ บุคคล ๔ จําพวก คือ ๑. อุค-พราหมณผูเพียรเพงพิจารณา ในกาล ฆฏิตัญู ผูรเู ขา ใจไดฉ บั พลนั แตพอน้ัน ความสงสยั ท้งั ปวงของพราหมณน นั้ ทา นยกหัวขอข้นึ แสดง ๒. วิปจติ ญั ู ผู รเู ขา ใจตอ เมอื่ ทา นขยายความ ๓. เนยยะยอ มสิน้ ไป ...”)บําบวง บนบาน, เซนสรวง, บูชา ผทู ่ีพอจะแนะนําตอไปได ๔. ปทปรมะบําเพ็ญ ทาํ , ทาํ ดวยความตัง้ ใจ, ปฏบิ ตั ิ, ผูไดแคตัวบทคือถอยคําเปนอยางย่ิงทําใหเ ตม็ , ทาํ ใหม ีขนึ้ , ทาํ ใหส ําเร็จผล ไมอ าจเขาใจความหมาย(ใชแกสิ่งที่ดงี ามเปน บุญกศุ ล) พระอรรถกถาจารยเปรียบบุคคลบณิ ฑจารกิ วตั ร วตั รของผเู ทยี่ วบณิ ฑบาต, ๔ จําพวกนี้กับบวั ๔ เหลาตามลาํ ดบั คอืธรรมเนียมหรือขอควรปฏิบัติสําหรับ ๑. ดอกบวั ทีต่ งั้ ขน้ึ พน นา้ํ รอสมั ผัสแสงภิกษทุ ่ีจะไปรับบิณฑบาต เชน นงุ หมให อาทติ ยกจ็ ะบานในวันน้ี ๒. ดอกบัวที่ตัง้เรยี บรอ ย สํารวมกริ ิยาอาการ ถอื บาตร อยูเสมอนํ้า จักบานในวันพรุงน้ี ๓.ภายในจีวรเอาออกเฉพาะเม่ือจะรับ ดอกบัวท่ียังอยูในน้ํา ยังไมโผลพนนํ้าบิณฑบาต กําหนดทางเขาออกแหง บา น จักบานในวันตอ ๆ ไป ๔. ดอกบวั จมอยูและอาการของชาวบานที่จะใหภิกขา ในน้ําท่ีกลายเปนภักษาแหงปลาและเตาหรือไม รับบณิ ฑบาตดวยอาการสํารวม (ในพระบาลี ตรัสถึงแตบัว ๓ เหลา ตนรปู ที่กลับมากอน จัดทฉี่ นั รูปที่มาทีหลงั เทานนั้ )ฉันแลวเก็บกวาด บุคคล ๔๒ บคุ คล ๔ จําพวกทแ่ี บง ตามบิณฑบาต อาหารท่ีใสลงในบาตรพระ, ประมาณ ไดแ ก ๑. รปู ป ปมาณกิ า ๒. โฆ-อาหารถวายพระ; ในภาษาไทยใชใน สปั ปมาณกิ า ๓. ลขู ัปปมาณิกา และ ๔.ความหมายวา รบั ของใสบ าตร เชน ทว่ี า ธมั มัปปมาณกิ า; ดู ประมาณ

บคุ คลหาไดย าก ๒ ๑๗๙ บุญบุคคลหาไดยาก ๒ คือ ๑. บุพการี ๒. เจริญเพม่ิ พนู อยางน้ี”, และมพี ทุ ธพจน กตญั กู ตเวที (ข.ุ อติ ิ.๒๕/๒๐๐/๒๔๐) ตรัสไวด วยวา “ภิกษุบุคคลาธิษฐาน มีบุคคลเปนที่ต้ัง, ทงั้ หลาย เธอทง้ั หลายอยา ไดก ลวั ตอ บญุ เทศนายกบุคคลขึ้นตั้ง คือ วิธีแสดง เลย คาํ วา บุญน้ี เปน ชือ่ ของความสขุ ” ธรรมโดยยกบุคคลขึ้นอาง; คูกับ (บุญ ในพทุ ธพจนน ี้ ทรงเนน ทกี่ ารเจรญิ ธรรมาธษิ ฐาน เมตตาจิต), พระพุทธเจาตรัสสอนใหบคุ คลิกาวาส ดู ปคุ คลกิ าวาส ศกึ ษาบญุ (“ปุ ฺเมว โส สกิ เฺ ขยยฺ ” -บุคลิก เนือ่ งดว ยบคุ คล, จาํ เพาะคน (= ข.ุ อติ ิ.๒๕/๒๐๐/๒๔๑; ๒๓๘/๒๗๐) คอื ฝก ปคุ คลิก) ปฏิบัติหัดทาํ ใหชีวิตเจริญงอกงามข้ึนในบญุ เครอ่ื งชาํ ระสนั ดาน, ความด,ี กรรมด,ี ความดแี ละสมบรู ณด ว ยคณุ สมบตั ทิ ด่ี ี ความประพฤติชอบทางกายวาจาและใจ, กุศลกรรม, ความสขุ , กศุ ลธรรม ในการทาํ บญุ ไมพ งึ ละเลยพนื้ ฐานท่ี ตรงตามสภาพความเปน จรงิ ของชวี ติ ให ที่กลาวนั้น เปนความหมายท่ัวไป ชีวิตและสิ่งแวดลอมเจริญงอกงามหนุน โดยสรุป ตอน้ีพึงทราบคําอธิบาย กนั ขนึ้ ไปสคู วามดงี ามทส่ี มบรู ณ เชน พงึ ละเอียดข้ึน เริ่มแตความหมายตามรปู ระลกึ ถงึ พทุ ธพจน (ส.ํ ส.๑๕/๑๔๖/๔๖) ทวี่ า ศัพทวา “กรรมที่ชําระสันดานของผู “ชนเหลา ใด ปลกู สวน ปลกู ปา สรา ง กระทําใหส ะอาด”, “สภาวะอันทําใหเกดิ สะพาน (รวมทั้งจัดเรือขามฟาก) จัด ความนาบูชา”, “การกระทําอันทําใหเต็ม บรกิ ารนาํ้ ดมื่ และบงึ บอ สระนาํ้ ใหท พ่ี กั อิม่ สมนา้ํ ใจ”, ความด,ี กรรมทดี่ งี ามเปน อาศยั บญุ ของชนเหลา นนั้ ยอ มเจรญิ ประโยชน, ความประพฤตชิ อบทางกาย งอกงาม ทงั้ คนื ทง้ั วนั ตลอดทกุ เวลา, ชน วาจาใจ, กศุ ล (มักหมายถึงโลกียกศุ ล เหลา นนั้ ผตู ง้ั อยใู นธรรม ถงึ พรอ มดว ย หรือความดีที่ยังกอปรดวยอุปธิ คือ ศีล เปนผูเดินทางสวรรค”, คมั ภรี ท งั้ เก่ียวของกับส่ิงท่ีปรารถนากันในหมูชาว หลายกลาวถึงบุญกรรมที่ชาวบานควร โลก เชน โภคสมบตั ิ); บางทีหมายถึงผล รว มกนั ทาํ ไวเ ปน อนั มาก เชน (ชา.อ.๑/๒๙๙) ของการประกอบกุศล หรือผลบุญน่ัน การปรับปรงุ ซอมแซมถนนหนทาง สราง เอง เชนในพุทธพจน (ที.ปา.๑๑/๓๓/๖๒) สะพาน ขุดสระน้าํ สรางศาลาทพ่ี กั และ วา “ภิกษุท้งั หลาย เพราะการสมาทาน ที่ประชุม ปลูกสวนปลูกปา ใหทาน กุศลธรรมท้ังหลายเปนเหตุ บุญนี้ยอม รักษาศีล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook