Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:56:40

Description: dictionary_of_buddhism_vocabulary_version พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Search

Read the Text Version

อปั ปมาทคารวตา ๕๓๐ อัพโภกาสกิ งั คะทถี่ กู ; อกี หมวดหนง่ึ วา ๑. ระวงั ใจไมใ ห หม,ู เปน ขน้ั ตอนสดุ ทา ยแหง วฏุ ฐานวธิ ี คอืกําหนัด ในอารมณเปนที่ตั้งแหงความ ระเบียบปฏิบัติในการออกจากครุกาบัติกาํ หนัด ๒. ระวงั ใจไมใ หขัดเคือง ใน ขั้นสังฆาทิเสส ไดแกการที่สงฆสวดอารมณเปนที่ตั้งแหงความขัดเคือง ๓. ระงับอาบัติ รับภิกษุผูตองอาบัติระวังใจไมใหหลง ในอารมณเปนที่ต้ัง สังฆาทเิ สส และไดท ําโทษตนเองตามวธิ ีแหงความหลง ๔. ระวังใจไมใ หมวั เมา ที่กําหนดเสร็จแลว ใหกลับคืนเปนผู ในอารมณเ ปน ท่ตี ง้ั แหงความมัวเมา บริสุทธ วธิ ปี ฏบิ ัติ คอื ถาตองอาบตั ิอปั ปมาทคารวตา ดู คารวะ สังฆาทิเสสแลวไมไดปด ไว พึงประพฤติอปั ปมาทธรรม ธรรมคอื ความไมป ระมาท มานัตส้ิน ๖ ราตรีแลวขออัพภานกะอปั ยศ ปราศจากยศ, เสียช่ือเสียง, เสื่อม สงฆวีสติวรรค สงฆสวดอัพภานแลวเสีย, นา ขายหนา ช่ือวาเปนผูบริสุทธ์ิจากอาบัติ, แตถาอัปปจฉกถา ถอยคําท่ีชักนําใหมีความ ภิกษุตองปกปดอาบัติไวลวงวันเทาใดปรารถนานอ ย หรอื มกั นอ ย (ขอ ๑ ใน ตองประพฤตวิ ตั รเรยี กวา อยูปริวาสชดกถาวัตถุ ๑๐) ใชครบจํานวนวันเทาน้ันกอน จึงอัปปยารมณ อารมณท ีไ่ มน ารกั ไมน า ประพฤติมานตั เพม่ิ อีก ๖ ราตรี แลว จงึชอบใจ ไมน า ปรารถนา เชน รูปทไ่ี ม ของอัพภานกะสงฆว สี ติวรรค เม่อื สงฆสวยไมงามเปนตน อพั ภานแลว อาบตั ิสังฆาทเิ สสทีต่ องชือ่อพฺพุฬฺหสลฺโล “มีลูกศรอันถอนแลว” วา เปน อันระงับหมายถงึ หมดกเิ ลสทท่ี มิ แทง, เปน คณุ บท อัพภานารหะ ภกิ ษุผคู วรแกอพั ภาน ไดของพระอรหนั ต แกภกิ ษผุ ปู ระพฤติมานตั ส้ิน ๖ ราตรีอัพโพหาริก “กลาวไมไ ดวา มี”, มีแตไม ครบกําหนดแลว เปน ผูควรแกอพั ภานปรากฏ จงึ ไมไ ดโ วหารวา มี, มีเหมือนไม คือควรที่สงฆวีสติวรรคจะสวดอัพภานมี เชน สรุ าท่ีเขาใสในอาหารบางอยาง (เรียกเขาหม)ู ไดตอไปเพื่อฆาคาวหรือชูรส และเจตนาท่ีมีใน อพั ภานารหภกิ ษุ ดู อัพภานารหะ อัพโภกาสิกังคะ องคแหงผูถืออยูในท่ีเวลาหลบั เปน ตนอัพภันดร มาตราวดั เทา กับ ๒๘ ศอก แจงเปนวัตร คอื อยูเฉพาะกลางแจง ไมหรอื ๗ วา อยใู นที่มุงบงั หรอื แมแ ตโคนไม (หา มอพั ภาน “การเรียกเขา” การรบั กลบั เขา ถอื ในฤดูฝน) ขอ ๑๐ ในธุดงค ๑๓)

อัพยากตะ,อพั ยากฤต ๕๓๑ อากรอัพยากตะ, อัพยากฤต “ซ่ึงทานไม เปนน่ี, การถอื เราถือเขา พยากรณ”, มิไดบอกวาเปนกุศลหรือ อัสสกะ ช่ือแควนหนึ่งในบรรดา ๑๖อกุศล (ไมจ ัดเปน กุศลหรอื อกุศล) คอื แควนใหญแหงชมพูทวีป ตั้งอยูลุมนํา้ เปนกลางๆ ไมดไี มช ่ัว ไมใ ชกุศลไมใช โคธาวรี ทิศตะวันตกเฉียงเหนือแหง อกศุ ล ไดแก วบิ าก กริ ยิ า รูป และ แควน อวนั ตี นครหลวงชื่อ โปตลิ (บาง นิพพาน ทเี รียก โปตนะ)อมั พปาลวี นั สวนทหี่ ญงิ แพศยาชอ่ื อมั พ- อัสสชิ 1. พระมหาสาวกองคหน่ึงเปนปาลี ถวายเปน สงั ฆาราม ไมนานกอ นวนั พระเถระรูปหน่ึงในคณะปญจวคั คยี เ ปน พุทธปรนิ พิ พาน อยูในเขตเมอื งเวสาลี พระอรหันตรุนแรกและเปนอาจารยของอมั พวนั สวนมะมว ง มหี ลายแหง เพอื่ กนั พระสารีบุตร 2. ช่ือภกิ ษุรปู หนงึ่ ในภกิ ษุสบั สน ทา นมกั ใสชื่อเจา ของสวนนําหนา ๖ รปู ซง่ึ ประพฤตเิ หลวไหล ทเ่ี รยี กวาดว ย เชน สวนมะมว งของหมอชวี ก ในเขต พระฉพั พคั คีย คกู บั พระปนุ พั พสกุ ะเมืองราชคฤห ซ่ึงถวายเปนสังฆาราม อสั สพาชี มาเรียกวา ชีวกมั พวนั เปน ตน อัสสยุชมาส, ปฐมกัตติกมาส เดือนอัยกะ, อยั กา ป,ู ตา ๑๑; ปุพพกตั ติกา หรือ บพุ กัตติกา ก็อัยการ เจาพนักงานท่ศี าลฝายอาณาจักร เรยี กจดั ไวเ ปน เจา หนาท่ีฟอ งรอ ง, ทนายแผน อัสสัตถพฤกษ ตน ไมอ ัสสัตถะ, ตน พระดนิ , ทนายหลวง ศรีมหาโพธิ์ ท่ีริมฝงแมนํ้าเนรัญชราอยั ก,ี อัยยิกา ยา , ยาย ตาํ บลอุรุเวลาเสนานคิ ม อนั เปน สถานที่อศั วเมธ พิธเี อามา บูชายญั คอื ปลอ ยมา ท่ีพระมหาบุรุษ ไดตรัสรูพระอนุตตร-อุปการใหผานดินแดนตางๆ เปนการ สมั มาสมั โพธิญาณ; ดู โพธิ์ประกาศอํานาจจนมาน้ันกลับ แลวเอา อัสสาทะ ความยนิ ดี, ความพึงพอใจ, รสมาน้ันฆาบูชายัญ เปนพิธีประกาศ อรอย เชน รสอรอยของกาม, สวนด,ีอานุภาพของราชาธิราชในอินเดียครั้ง สว นท่นี าชน่ื ชมโบราณ อสั สาสะ ลมหายใจเขาอัสดงค ตกไป คือ พระอาทิตยตก, อัสสุ นาํ้ ตาพจนานกุ รม เขียน อัสดง อากร หมู, กอง, บอ เกดิ , ทเ่ี กดิ เชนอัสมมิ านะ การถอื วานีฉ่ ัน น่กี ู กูเปนนน่ั ทรพั ยากร ที่เกิดทรัพย ศิลปากร บอ

อากัปกริ ิยา ๕๓๒ อากาศ เกดิ ศลิ ปะ, คาธรรมเนยี มที่รัฐบาลเรยี ก ประเภทตามความหมายนยั ตา งๆ เปน อากาศ ๓ คือ ปริจเฉทากาศ กสิณคุ ฆา- เก็บ จากส่ิงทเี่ กดิ จากธรรมชาติ หรือสิ่ง ฏิมากาศ และอัชฏากาศ (ปญจ.อ.๑๑๓๒/ ๒๒๐) แตในคมั ภรี ช้นั หลัง บางแหง (เชน ทที่ าํ ขน้ึ เพ่อื การคาอากัปกิริยา การแตงตวั ดี และมีทา ทาง ปาจติ ยฺ าทโิ ยชนา และอนทุ ปี นปี า, มแี ตฉ บบั อกั ษร เรยี บรอ ยงดงาม; กิรยิ าทา ทางอาการ ภาวะที่ปรากฏหรือแสดงออก, พมา ยังไมพบตีพิมพในประเทศไทย) แยก ความเปน ไป, สภาพ, ทา ทาง, ทวงที, ละเอยี ดออกไปอกี เปน อากาศ ๔ คือ ๑. ปริจเฉทากาศ ชองวางทกี่ าํ หนดแยกรูป ทํานอง, กิริยาท่ีทําหรือท่ีแสดง, ทง้ั หลาย หรอื ชอ งวา งระหวา งกลาป คอื รปู ในความหมายทีเ่ ปนปรจิ เฉทรปู (รปู ลักษณะของการกระทําหรือความเปน ปรจิ เฉทากาศ กเ็ รยี ก) ๒.ปรจิ ฉนิ นากาศ ชองวางท่ีถูกกําหนดแยก คือชองวาง ไป; สว นปลกี ยอย, สวนประกอบที่แยก ระหวา งวตั ถทุ ง้ั หลาย เชน ชอ งประตู รฝู า ชอ งหนา ตา ง ชอ งหู รจู มกู (ที่ใชเ ปน ยอยกระจายออกไป (อวยั วะหลัก เรยี ก อากาศกสิณ คือขอ น)้ี ๓. กสิณคุ ฆาฏ-ิ มากาศ ชองวางท่ีเกิดจากการเพิกกสิณ วา “องค” อวัยวะยอย เรียกวา นมิ ิต คอื ชองวางหรืออากาศอนั อนนั ตท ่ี “อาการ”) เชน ในคําวา ทวตั ติงสาการ เปน อารมณข องอากาสานัญจายตนฌานอาการ ๓๒ ดู ทวตั ติงสาการ ๔. อชั ฏากาศ ชอ งวา งเวิง้ วาง คอื ทอ งฟาอาการท่ีพระพุทธเจาทรงสั่งสอน มี (บางทีเรียกวา ตจุ ฉากาศ คอื ชองวา งท่ี ๓ อยา งคือ ๑. ทรงรูยิ่งเหน็ จริงเองแลว วางเปลา ) แลว บอกวา ขอ ท่ี ๒ คอื ปรจิ ฉินนากาศ จดั รวมเขา ไดก บั ขอ ที่ ๑ จงึ ทรงส่ังสอนผูอ น่ื เพ่อื ใหร ยู ง่ิ เห็นจริง คือรูปปริจเฉทากาศ นกี่ ห็ มายความวา ทา นแยกขอ ที่ ๑ ของอรรถกถา ออกเปน ตามในธรรมทคี่ วรรคู วรเหน็ ๒. ทรงส่ัง ๒ ขอ, เหตทุ คี่ ัมภีรชั้นหลงั แยกอยา งนี้ เพราะตองการแยกอากาศท่ีเปนสภาว- สอนมีเหตุผลซ่ึงผูฟงอาจตรองตามให ธรรม คือทเ่ี ปน ปรจิ เฉทรูป ออกไวตาง หากใหชัด ดงั จะเหน็ วา อกี ขอ หนง่ึ คอื เหน็ จริงได ไมเ ล่อื นลอย ๓. ทรงส่งั สอนเปนอัศจรรย ทําใหผูฟงยอมรับ และนําไปปฏิบัติตาม ไดรับผลจริง บงั เกดิ ประโยชนสมควรแกก ารปฏบิ ตั ิอาการทีภ่ ิกษุจะตอ งอาบตั ิ ๖ ดู อาบัติอากาศ ทว่ี า งเปลา, ชองวา ง, ทอ งฟา ; ใน ความหมายเดิม ไมเรียกแกสทีใ่ ชหายใจ วาอากาศ แตเรียกแกสน้ันวาเปนวาโย หรอื วาโยธาตุ; ในอรรถกถา ทา นแยก

อากาศธาตุ ๕๓๓ อาจริยมัตตปริจฉินนากาศ อยางชองหู รูกุญแจ อากลู วนุ วาย, ไมเ รยี บรอ ย, สบั สน, คง่ั คา งหรือชองท่ีกําหนดเปนอารมณกสิณ ก็ อาคม ปรยิ ตั ทิ เี่ รยี น, การเลา เรยี นพทุ ธ-เน่ืองกันอยูกับอัชฏากาศนั่นเอง (เปน พจน; ในภาษาไทยมีความหมายเพีย้ นเพยี งบญั ญตั ิ มใิ ชส ภาวะ) แตใ นอรรถ- ไปเปนเวทมนตรกถาและคัมภีรทั่วไปท่ีไมแยกละเอียด อาคันตุกะ ผมู าหา, ผูมาจากทอี่ น่ื , ผจู รอยา งนนั้ เรยี กอากาศทก่ี าํ หนดเปน กสณิ มา, แขก; (ในคาํ วา “ถาปรารถนาจะใหคืออากาศกสิณ วาเปนปริจเฉทากาศ- อาคันตุกะไดรับแจกดวย”) ภิกษุผูจํากสณิ บาง ปรจิ ฉนิ นากาศกสณิ บาง ไม พรรษาท่ีวดั อื่นจรมา, ถาภิกษผุ ูม ีหนาท่ีถือตายตัว, จะเห็นวา อากาศในขอ ๒ เปนจีวรภาชกะ (ผูแจกจีวร) ปรารถนาเปนกสิณสําหรับผูเจริญรูปฌาน และ จะใหอาคันตุกะมีสวนไดรับแจกจีวรเมอ่ื เพิกกสิณนิมิตของขอ ๒ นเ้ี สีย ก็ ดวย ตอ งอปโลกน คอื บอกเลา ขอเปน อากาศในขอ ที่ ๓; “อัชฏากาศ” นี้ อนุมัติตอภิกษุเจาถิ่นคือผูจําพรรษาในเขยี นตามหนงั สอื เกา จะเขยี น อชฏากาศ วดั นน้ั (ซึ่งเรียกวา วัสสกิ ะ หรือ วัสสา-ก็ได; ดู รูป ๒๘ วาสกิ ะ แปลวา “ภกิ ษผุ ูอยจู าํ พรรษา”)อากาศธาตุ สภาวะท่ีวาง, ความเปนที่วาง อาคันตุกภัต อาหารที่เขาถวายเฉพาะเปลา, ชองวางในรางกาย ท่ีใชเปน ภกิ ษุอาคนั ตุกะ คือผูจรมาจากตา งถนิ่อารมณกรรมฐาน เชน ชองหู ชองจมูก อาคันตุกวัตร ธรรมเนียมที่ภิกษุควรชอ งปาก ชองอวยั วะตา งๆ; ในคัมภีร ปฏบิ ตั ติ อ อาคนั ตกุ ะ คอื ภกิ ษผุ จู รมา เชน อภิธรรม จัดเปนอุปาทายรปู อยา งหนงึ่ ขวนขวายตอ นรบั แสดงความนบั ถอื จดั เรยี กวา ปรจิ เฉทรูป; ดู ธาต,ุ รูป ๒๘ หรอื บอกใหน าํ้ ใหอ าสนะ ถา อาคนั ตกุ ะจะอากาสานัญจายตนะ ฌานกําหนด มาพกั มาอยู พงึ แสดงเสนาสนะ บอกที่อากาศคือชองวางหาท่ีสุดมิไดเปน ทางและกตกิ าสงฆ เปน ตนอารมณ, ภพของผูเขาถึงอากาสานัญ- อาคาริยวินัย วินัยของผูค รองเรอื น; ดู วินยั ๒จายตนฌาน (ขอ ๑ ในอรปู ๔)อากญิ จญั ญายตนะ ฌานกําหนดภาวะที่ อาจริยมตั ต ภกิ ษผุ ูม ีพรรษาพอท่ีจะเปนไมม อี ะไรเลยเปนอารมณ, ภพของผูเขา อาจารยใหนิสสัยแกภกิ ษุอ่ืนได, พระปนูถงึ อากิญจัญญายตนฌาน (ขอ ๓ ใน อาจารย คอื มีพรรษา ๑๐ ขนึ้ ไป หรอือรปู ๔) แกก วา ราว ๖ พรรษา; อาจรยิ มตั กเ็ ขยี น

อาจรยิ วัตร ๕๓๔ อาณาอาจริยวัตร กิจอันท่ีอันเตวาสิกควร ปฏิบตั ิเสมอๆ ประพฤติปฏิบัติตออาจารย (เชนเดียว อาชญา อํานาจ, โทษ กับ อุปชฌายวัตร ที่สัทธิวิหาริกพึง อาชีวะ อาชพี , การเล้ยี งชีพ, ความเพยี รปฏิบตั ิตออุปชฌาย) พยายามในการแสวงหาปจจัยยังชีพ,อาจริยวาท วาทะของพระอาจารย, มติ การทาํ มาหากินของพระอาจารย; บางที ใชเปน คาํ เรียก อาชีวก นกั บวชชเี ปลือยพวกหนึ่งในคร้งัพุทธศาสนานิกายฝายเหนือ คือ พุทธกาล เปนสาวกของมกั ขลโิ คสาลมหายาน อาชวี ปารสิ ุทธิ ความบรสิ ทุ ธแ์ิ หง อาชวี ะอาจาระ ความประพฤติดี, มรรยาทดี คอื เลยี้ งชวี ติ โดยทางทชี่ อบ ไมป ระกอบงาม, จรรยา อเนสนา เชน ไมหลอกลวงเขาเลยี้ งชวี ติอาจารย ผูสง่ั สอนวชิ าความร,ู ผูฝ ก หัด (ขอ ๓ ในปารสิ ุทธศิ ีล ๔), ทเี่ ปน ขอ ๓อบรมมรรยาท, อาจารย ๔ คอื ๑. ในปารสิ ทุ ธศิ ลี ๔ นนั้ เรยี กเตม็ วา อาชวี -บัพพาชาจารย หรือ บรรพชาจารย ปารสิ ทุ ธศิ ลี แปลวา ศลี คอื ความบริสทุ ธิ์อาจารยใ นบรรพชา ๒. อปุ สมั ปทาจารย แหง อาชีวะอาจารยในอุปสมบท ๓. นิสสยาจารย อาชีววิบัติ เสียอาชีวะ, ความเสียหายอาจารย ผใู หน สิ สยั ๔. อทุ เทศาจารย แหงการเลี้ยงชพี คือ ประกอบมจิ ฉา-หรือ ธรรมาจารย อาจารยผ ูสอนธรรม อาชวี ะมหี ลอกลวงเขาเลย้ี งชพี เปนตนอาจารวิบัติ เสียอาจาระ, เสียจรรยา, (ขอ ๔ ในวบิ ตั ิ ๔)มรรยาทเสียหาย, ประพฤติยอหยอน อาญา อํานาจ, โทษรุมราม มักตองอาบัติเล็กนอยต้ังแต อาญาสิทธ์ิ อํานาจเด็ดขาด คอื สทิ ธิท่แี มถลุ ลจั จยั ลงมาถงึ ทุพภาสิต (ขอ ๒ ใน ทัพไดรับพระราชทานจากพระเจาแผนวิบัติ ๔) ดนิ ในเวลาไปสงครามเปนตนอาจณิ เคยประพฤติมา, เปนนิสยั , ทํา อาฏานาฏยิ ปรติ ร ดู ปรติ ร อาฏานาฏยิ สตู ร ดู ปรติ รเสมอๆ, ทาํ จนชนิอาจิณณจริยา ความประพฤติเนืองๆ, อาณตั ิ ขอ บงั คบั , คาํ สงั่ กฎ; เครอื่ งหมายความประพฤติประจํา, ความประพฤตทิ ่ี อาณตั ิสัญญา ขอ บงั คับท่ไี ดนดั หมายกัน เคยชนิ ไว, เครอื่ งหมายที่ตกลงกนั ไวอาจิณณวัตร การปฏิบัติประจํา, การ อาณา อํานาจปกครอง

อาณาเขต ๕๓๕ อาทติ ตปริยายสูตรอาณาเขต เขตแดนในอํานาจปกครอง, ท่ี บัดน้ี นิยมใชพูดอยางใหเกียรตแิ กค นดินในทบ่ี ังคบั ทวั่ ไป)อาณาจักร เขตแดนท่ีอยูในอํานาจปก อาถรรพณ เวทมนตรท่ีใชเพ่ือใหดีหรือครองของรฐั บาลหนึ่ง, อาํ นาจปกครอง รา ย, วชิ าเสกเปา ปองกนั , การทาํ พิธปี องทางบานเมือง ใชคูกับพุทธจักร ซ่ึง กันอันตรายตางๆ ตามพิธีพราหมณหมายถึงขอบเขตการปกครองของพระ เชน พิธฝี ง เสาหิน หรอื ฝง บัตรพลีสงฆในพระพทุ ธศาสนา เรยี กวา ฝงอาถรรพณ (สบื เนอ่ื งมาจากอาณาประชาราษฎร ราษฎรชาวเมอื งที่ พระเวทคัมภรี ท ่ี ๔ คอื อถรรพเวท หรือ อาถรรพณเวท) อาถรรพ ก็ใชอยูในอาํ นาจปกครองอาณาประโยชน ผลประโยชนท่ีตนมี อาทร ความเอ้ือเฟอ , ความเอาใจใส อาทิ เปน ตน ; ทีแรก, ขอตนอํานาจปกครองสว นตัวอาณาปวัติ ความเปนไปแหงอาณา, อาทกิ มั ม ดู อาทกิ มั มกิ ะ 2ขอบเขตทอ่ี าํ นาจปกครองแผไ ป; เปน ไป อาทกิ มั มกิ ะ 1. “ผทู าํ กรรมทแี รก” หมายในอาํ นาจปกครอง, อยใู นอาํ นาจปกครอง ถึง ภิกษุผูเปนตนบัญญัติในสิกขาบทอาณาปาฏโิ มกข ดู ปาฏิโมกข นน้ั ๆ 2. ชอ่ื คมั ภรี ใ นพระวนิ ยั ปฎ ก เปนอาณาสงฆ อํานาจของสงฆ, อํานาจ คมั ภรี แ รก เมอ่ื แยกพระวนิ ยั ปฎ กเปน ๕ปกครองของสงฆ คือสงฆป ระชมุ กนั ใช คมั ภรี  ใชค าํ ยอ วา อา; อาทกิ มั ม กเ็ รยี กอํานาจโดยชอบธรรม ระงับอธิกรณท่ี อาทิตตปริยายสูตร ชื่อพระสูตรที่พระ เกดิ ขน้ึ พุทธเจาทรงแสดงแกภิกษุประมาณอาดรู เดือดรอน, กระวนกระวาย, ทน ๑,๐๐๐ รปู มีอุรเุ วลกสั สป เปนตน ซึง่ทกุ ขเวทนาทั้งกายและใจ เคยเปนชฎิลบูชาไฟมากอน วาดวยอาตมภาพ ฉัน, ขาพเจา (ใชแ กพระภิกษุ อายตนะท้งั ๖ ที่รอนตดิ ไฟลุกท่วั ดวยสามเณรใชเรียกตัวเอง เมื่อพูดกับ ไฟราคะ ไฟโทสะ และไฟโมหะ ตลอดคฤหสั ถผ ใู หญ ตลอดถงึ พระเจา แผน ดนิ ) จนรอนดวยทุกข มีชาติ ชรามรณะอาตมนั ตัวตน, คําสันสกฤต ตรงกบั เปนตน ทําใหภิกษุเหลานั้นบรรลุบาลคี อื อตั ตา อรหัตตผล (มาในคมั ภีรมหาวรรค แหงอาตมา ฉัน, ขาพเจา (สําหรบั พระภิกษุ พระวนิ ยั ปฎ ก และสงั ยตุ ตนกิ าย สฬาย-สามเณรใชพูดกับผูมีบรรดาศักดิ์ แต ตนวรรค พระสตุ ตนั ตปฎ ก)

อาทติ ยโคตร ๕๓๖ อานนทอาทติ ยโคตร ตระกลู พระอาทิตย, เผา ไหม (ขอ ๔ ในวิปสสนาญาณ ๙) พนั ธุพระอาทิตย, ตระกูลที่สืบเชอื้ สาย อาเทสนาปาฏหิ ารยิ  ปาฏหิ าริย คอื การนางอทิติผูเปนชายาของพระกัศยป ทายใจ, รอบรูกระบวนของจิตตอาน ประชาบดี, ทา นวา สกุลของพระพทุ ธเจา ความคิดและอุปนิสัยของผูอ่ืนไดเปน ก็เปนอาทิตยโคตร (โคตมโคตร กับ อัศจรรย (ขอ ๒ ในปาฏิหารยิ  ๓) อาทติ ยโคตร มคี วามหมายอยา งเดยี วกนั ) อาธรรม, อาธรรม ดู อธรรมอาทติ ยวงศ วงศพ ระอาทติ ย; ดู อาทติ ย- อานนท พระมหาสาวกองคหนึ่ง เปน โคตร เจาชายในศากยวงศ เปนโอรสของเจาอาทิพรหมจรรย หลักเบ้ืองตนของ อมิโตทนะ (น้ีวาตาม ม.อ.๑/๓๘๔; วนิ ย.ฏี.พรหมจรรย, หลกั การพ้ืนฐานของชวี ติ ท่ี ๓/๓๔๙ เปน ตน แตท ่เี รยี นกนั มามกั วาเปนประเสริฐ; เทยี บ อภิสมาจาร โอรสของเจา สกุ โกทนะ) ซง่ึ เปน พระเจาอาทพิ รหมจรยิ กาสกิ ขา หลกั การศกึ ษา อาของเจาชายสิทธัตถะ เมื่อพระอบรมในฝายบทบัญญัติหรือขอปฏิบัติ โพธิสัตวออกผนวชและตอมาไดตรัสรูเบื้องตนของพรหมจรรย สําหรับปอง แลว ถงึ พรรษาที่ ๒ แหงพทุ ธกิจ พระกนั ความประพฤติเสยี หาย, ขอ ศกึ ษาที่ พุทธเจาไดเสด็จมาโปรดพระประยูร-เปนเบ้อื งตนแหงพรหมจรรย หมายถึง ญาติท่ีพระนครกบิลพัสดุ (เชน อง.อ.๑/ สิกขาบท ๒๒๗ ท่มี าในพระปาฏโิ มกข; ๑๗๑) เม่ือพระพุทธเจาเสด็จออกจาก เทยี บ อภิสมาจารกิ าสกิ ขา เมอื งกบลิ พัสดแุ ลว ไดท รงแวะประทบัอาทีนพ, อาทนี วะ โทษ, สวนเสีย, ขอ ที่อนุปยอัมพวัน ในอนุปย นคิ ม แหง บกพรอ ง, ผลราย; ตรงขา มกบั อานิสงส แควนมลั ละ ครงั้ น้ัน พระเจา สุทโธทนะอาทนี วญาณ ดู อาทนี วานปุ ส สนาญาณ ไดทรงประชมุ เจาศากยะทั้งหลาย และอาทีนวสัญญา การกําหนดหมายโทษ ทรงขอใหบรรดาเจาศากยะมอบเจาชายแหงรางกายซึ่งมีอาพาธคือโรคตางๆ ออกบวชตามเสด็จพระพุทธเจาครอบ เปน อันมาก (ขอ ๔ ในสัญญา ๑๐) ครัวละหน่ึงองค ไดมีเจาชายศากยะอาทนี วานุปส สนาญาณ ญาณอันคาํ นงึ ออกบวชจํานวนมาก รวมท้ังเจาชายเหน็ โทษ, ปรีชาคํานงึ เห็นโทษของสงั ขาร อานนทดวย เจาชายอานนทไดเดินทางวามีขอบกพรองระคนดวยทุกข เชน ไปเขาเฝาพระพุทธเจาและทรงบวชใหท่ีเห็นสังขารปรากฏเหมือนเรือนถูกไฟ อนปุ ย อัมพวนั (วนิ ย.๗/๓๔๑/๑๕๙) พรอ ม

อานนั ตริกสมาธิ ๕๓๗ อานันทเจดยี กบั เจา ชายอนื่ ๕ องค (ภัททยิ ะ อนรุ ุทธะ ขอพร ๘ ประการ ทานไดร ับยกยองภคุ กิมพิละ เทวทัต) รวมเปน ๗ กบั เปนเอตทัคคะหลายดาน คือ เปนท้ังกัลบกช่ือวา อบุ าลี พระอานนทม พี ระ พหสู ตู เปนผมู สี ติ มีคติ มธี ติ ิ และเปนอปุ ช ฌายช ือ่ วาพระเพลัฏฐสีสะ (เชน วินย. อุปฏฐากท่ียอดเยี่ยม ทานบรรลุพระ๕/๓๔/๔๓; ในระยะตน พทุ ธกาล พระภกิ ษทุ บี่ วชแลว อรหัตหลังจากพระพุทธเจาปรินิพพานยงั ไมม อี ปุ ช ฌาย จงึ ไดต รสั ใหถ อื อปุ ช ฌาย คอื พระผู แลว ๓ เดอื น เปน กาํ ลงั สาํ คญั ในคราวทาํ หนา ทด่ี แู ลฝก อบรมพระใหมใ นการศกึ ษาเบอื้ งตน ทาํ ปฐมสงั คายนา คือ เปนผวู สิ ัชนาพระตามพระพทุ ธานญุ าตใน วนิ ย.๔/๘๐/๘๒ ตอ มาจงึ ธรรม (ซ่ึงตอมาแบงเปนพระสูตรและทรงบญั ญตั ใิ น วนิ ย.๔/๑๓๓/๑๘๐ ใหอ ปุ สมบทผทู มี่ ี พระอภธิ รรม) พระอานนทด าํ รงชีวติ สืบอปุ ช ฌายพ รอ มไวแ ลว ) ทานบรรลโุ สดาปตต-ิ มาจนอายุได ๑๒๐ ป จึงปรนิ ิพพานในผลเมื่อไดฟงธรรมกถาของพระปุณณ- อากาศ เหนือแมน า้ํ โรหิณี ซ่ึงเปน เสนกั้นมนั ตาณบี ุตร (ส.ํ ข.๑๗/๑๙๓/๑๒๘) เม่อื พระ แดนระหวางแควนของพระญาติทั้งสองพทุ ธบดิ า คอื พระเจา สทุ โธทนะ ประชวร ฝาย คือ ศากยะ และโกลิยะ; ดู พร๘ทรงฟงธรรมไดบรรลุอรหัตตผลและดับ อานันตริกสมาธิ สมาธิอันไมมีระหวางขนั ธปรนิ พิ พาน ในพรรษาท่ี ๕ แหง คอื ไมมอี ะไรคัน่ หมายความวา ใหเ กิดพทุ ธกิจแลว พระนางมหาปชาบดี ไดไป ผลตามมาทันที ไดแก มรรคสมาธิ ซงึ่เฝาพระพุทธเจา และทูลขอใหสตรีได เมอ่ื เกดิ ขึ้นแลว กจ็ ะเกิดมรรคญาณ คอืบรรพชา แตยังไมส ําเรจ็ (วนิ ย.๗/๕๑๓/ ปญ ญาท่กี ําจัดอาสวะ ตามติดตอ มาใน๓๒๐) จนกระท่ังตอมาไดอาศัยพระ ทันท,ี อานันตรกิ สมาธินี้ พระพทุ ธเจาอานนทชว ยทลู ขอ พระนางและสากยิ านี ตรัสวาเปนสมาธิเยี่ยมยอด ไมมีสมาธิท้ังหลายจึงไดบวช เปนจุดเริ่มกําเนิด ใดเทียมเทา (ข.ุ ขุ.๒๕/๗/๕) เพราะทํากิเลสภกิ ษณุ สี งฆ พระอานนทไ ดเ ปน อปุ ฏ ฐาก ใหสน้ิ ไปได ประเสรฐิ กวา รูปาวจรสมาธิรบั ใชพ ระพทุ ธเจา ตามโอกาสเชน เดยี วกบั และแมแตอรูปาวจรสมาธิของพระพระเถระรูปอ่ืนมากทาน จนกระท่ังใน พรหม หรือทจ่ี ะทาํ ใหไ ดเกิดเปนพรหมพรรษาที่ ๒๐ แหง พทุ ธกจิ ทา นไดร บั อานันทเจดีย เจดียสถานแหง หน่ึงอยูในเลือกใหเปนพระอปุ ฏ ฐากประจาํ พระองค เขตโภคนคร ระหวา งทางจากเมอื งเวสาลี(นพิ ทั ธปุ ฏ ฐาก) ของพระพทุ ธเจา (เชน ท.ี อ. สูเมืองปาวา เปนท่ีพระพุทธเจาตรัส๒/๑๔) ซ่ึงทานตกลงรบั หนาท่ดี วยการทูล มหาปเทส ๔ ฝา ยพระสตู ร

อานาปานสติ ๕๓๘ อาบัติอานาปานสติ สติกําหนดลมหายใจเขา อานิสงส หมายถึงผลพวงพลอยหรืองอก ออก (ขอ ๙ ในอนุสติ ๑๐, ขอ ๑๐ ใน เงยในดานดีอยา งเดยี ว ถา เปน ผลพลอย ดานราย ก็อยูในคําวานิสสันท), อนึ่ง สญั ญา ๑๐ เปนตน), หนังสอื เกา มกั วิบาก ใชเฉพาะกับผลของกรรมเทาน้ัน เขียน อานาปานัสสติ แตอานิสงส หมายถงึ คุณ ขอ ดี หรอื ผลอานาปานสตกิ มั มัฏฐาน กรรมฐานท่ใี ช สตกิ ําหนดลมหายใจเขา ออก ไดพิเศษในเรื่องราวท่ัวไปดวย เชนอานาปานสั สติ สตกิ ําหนดลมหายใจเขา ออก; ดู อานาปานสติ อานิสงสของการบรโิ ภคอาหาร อานิสงสอานิสงส ผลดีหรือผลที่นาปรารถนานา ของธรรมขอน้ันๆ จีวรท่ีเปนอานิสงส พอใจ อันสืบเน่ืองหรือพลอยได จาก ของกฐิน, โดยท่ัวไป อานิสงสมีความ หมายตรงขามกับ อาทีนพ ซ่ึงแปลวากรรมด,ี ผลงอกเงยแหง บญุ กศุ ล, คณุ , โทษ ขอเสีย ขอ ดอ ย จุดออ น หรอื ผลขอดี, ผลที่เปนกําไร, ผลไดพิเศษ; รา ย เชนในคาํ วา กามาทนี พ (โทษของ“อานสิ งส” มคี วามหมายตางจาก “ผล” กาม) และเนกขัมมานิสงส (คณุ หรอื ผลท่เี รยี กชื่ออยา งอืน่ โดยขอบเขตทีก่ วาง ดีในเนกขัมมะ); ดู ผล, เทียบ นิสสันท,หรอื แคบกวา กนั หรอื โดยตรงโดยออ ม วบิ าก, ตรงขา มกบั อาทนี พเชน ทํากรรมดีโดยคิดตอคนอื่นดวย อานภุ าพ อาํ นาจ, ฤทธเ์ิ ดช, ความยง่ิ ใหญเมตตาแลว เกดิ ผลดี คอื มจี ิตใจแชม ช่นื อาเนญชาภสิ งั ขาร ดู อเนญชาภสิ งั ขารสบาย ผอนคลาย เลอื ดลมเดนิ ดี มีสุข อาบตั ิ การตอ ง, การลวงละเมดิ , โทษที่ภาพ ตลอดถึงวาถาตายดวยจิตอยาง เกิดแตการละเมดิ สิกขาบท; อาบตั ิ ๗น้นั กไ็ ปเกิดดี น้เี ปนวิบาก พรอมกัน คอื ปาราชกิ สงั ฆาทเิ สส ถลุ ลจั จยั ปาจติ ตยี นั้นกม็ ีผลพว งอ่ืนๆ เชน หนาตาผองใส ปาฏเิ ทสนยี ะ ทกุ กฏ ทพุ ภาสติ ; อาบตั ิ ๗เปนทร่ี ักใครช อบใจของคนอน่ื อยางน้ี กองนี้จัดรวมเปนประเภทไดหลายอยางเปนอานิสงส แตถาทํากรรมไมดีโดย โดยมากจัดเปน ๒ เชน ๑. ครุกาบัติคิดตอคนอ่ืนดวยโทสะแลวเกิดผลราย อาบัติหนัก (ปาราชิกและสังฆาทิเสส) ๒. ลหกุ าบตั ิ อาบตั เิ บา (อาบัติ ๕ อยา งตอตนเองทีต่ รงขามกบั ขา งตน จนถึงไป ที่เหลอื ); คูตอไปนีก้ ็เหมอื นกัน คือ ๑.เกิดในทุคติ ก็เปนวบิ าก และในฝา ยรา ย ทฏุ ลุ ลาบตั ิ อาบตั ชิ วั่ หยาบ ๒. อทฏุ ลุ -นี้ไมม ีอานิสงส (วบิ าก เปนผลโดยตรง ลาบัติ อาบตั ไิ มช ัว่ หยาบ; ๑. อเทสนา-และเปนไดท้ังขางดีและขางราย สวน

อาบัตชิ ว่ั หยาบ ๕๓๙ อาพาธคามินี อาบัติที่ไมพนไดดวยการแสดง แควนอังคุตตราปะ๒. เทสนาคามินี อาบัตทิ ี่พน ไดดวยการ อาปต ตาธิกรณ อธกิ รณคืออาบตั ิ หมายแสดงคือเปด เผยความผิดของตน; คตู อ ความวา การตองอาบัตแิ ละการถูกปรบัไปนี้จัดตางออกไปอีกแบบหน่ึงตรงกัน อาบัติ เปนอธิกรณโดยฐานเปนเรื่องท่ีทงั้ หมด คอื ๑. อเตกจิ ฉา เยยี วยาแกไ ข จะตองจัดทํา คือระงับดวยการแกไขไมได (ปาราชกิ ) ๒. สเตกจิ ฉา เยยี วยา ปลดเปลือ้ งออกจากอาบัติน้นั เสยี มีการแกไขได (อาบตั ิ ๖ อยางที่เหลือ); ๑. ปลงอาบัติ หรือการอยูกรรมเปนตนอนวเสส ไมม สี วนเหลือ ๒. สาวเสส ตามวธิ ีทท่ี า นบญั ญัติไวยังมีสวนเหลือ; ๑. อัปปฏิกัมม หรือ อาปจุ ฉา บอกกลา ว, ถามเชงิ ขออนญุ าตอปฏกิ รรม ทําคนื ไมได คอื แกไขไมไ ด เปน การแสดงความเออ้ื เฟอ , แจง ใหท ราบ๒. สัปปฏกิ มั ม หรอื สปฏิกรรม ยงั ทาํ เชน ภิกษุผูออนพรรษาจะแสดงธรรมคนื ได คือแกไขได ตอ งอาปจุ ฉาภกิ ษผุ มู พี รรษามากกวา กอ นอาการท่ภี ิกษุจะตองอาบตั ิ มี ๖ อยา ง อาโปธาตุ ธาตุน้าํ , สภาวะทมี่ ลี กั ษณะเอบิคือ อลชชฺ ติ า ตอ งดวยไมละอาย ๑ อาบ ดดู ซมึ เกาะกมุ ; ในรา งกายทใ่ี ชเปนอฺ าณตา ตองดวยไมรูวาสิ่งน้ีจะเปน อารมณกรรมฐาน ไดแก ดี เสลด หนองอาบัติ ๑ กกุ กฺ จุ จฺ ปกตตา ตองดว ยสงสัย เลอื ด เหงอ่ื มนั ขน นา้ํ ตา เปลวมนั นา้ํแลวขนื ทาํ ลง ๑ อกปปฺ เ ย กปปฺ ย สฺิตา ลาย นาํ้ มูก ไขขอ มูตร, ขอความนี้ เปนตอ งดวยสาํ คญั วาควรในของทไ่ี มค วร ๑ การกลาวถึงอาโปธาตุในลักษณะที่คนกปปฺ เ ย อกปปฺ ย สฺติ า ตองดวยสําคัญ สามญั ทวั่ ไปจะเขา ใจได และพอใหส าํ เรจ็วา ไมควรในของที่ควร ๑ สตสิ มโฺ มสา ประโยชนใ นการเจรญิ กรรมฐาน แตใ นตองดว ยลืมสติ ๑ ทางอภิธรรม อาโปธาตุเปนสภาวะที่อาบัติชั่วหยาบ ในประโยควา “บอก สมั ผสั ดว ยกายไมไ ด มใี นรปู ธรรมทว่ั ไปอาบัติชั่วหยาบของภิกษุแกอนุปสัมบัน” แมแ ตใ นกระดาษ กอ นหนิ เหล็ก และอาบตั ปิ าราชกิ และอาบตั สิ ังฆาทเิ สส; ดู แผนพลาสตกิ ; ดู ธาต,ุ รูป ๒๘ทุฏุลลาบตั ิ อาพาธ ความเจ็บปว ย, โรค (ในภาษาอาบัติท่ีเปนโทษล่าํ อาบัติปาราชกิ และ ไทย ใชแกภ กิ ษสุ ามเณร แตใ นภาษาสงั ฆาทิเสส บาลี ใชไ ดท่วั ไป); อาพาธตา งๆ มีมากอาปณะ ช่ือนคิ ม ซง่ึ เปน เมอื งหลวงของ มาย เรียกตามช่ืออวัยวะที่เปนบาง

อาภัพ ๕๔๐ อายตนะเรียกตามอาการบาง บางทีแยกตาม อาวโุ ส (เขยี นตามรปู บาลี เปน อาม ภนเฺต,สมฏุ ฐานวา ปตฺตสมุฏ านา อาพาธา, อาม อาวุโส)เสมหฺ สมฏุ  านา อาพาธา, วาตสมฏุ  านา อามยั ความปว ยไข, โรค, ความไมสบาย;อาพาธา, สนฺนิปาติกา อาพาธา, อตุ -ุ ตรงขา มกับ อนามยั คอื ความสบาย, ไมม ีปริณามชา อาพาธา, วิสมปริหารชา โรคภัยไขเ จ็บอาพาธา, โอปกฺกมิกา อาพาธา, กมฺม- อามสิ เครอ่ื งลอใจ, เหยือ่ , ส่งิ ของ อามสิ ทายาท ทายาทแหงอามสิ , ผรู บัวปิ ากชา อาพาธาอาภพั ไมส มควร, ไมส ามารถ, ไมอ าจ มรดกอามิส, ผูรับเอาสมบัติทางวัตถุเปน ไปได, เปน ไปไมไ ด (จากคาํ บาลวี า เชน ปจ จัย ๔ จากพระพทุ ธเจา มาเสพอภพฺพ เชน ผูกระทํามาตุฆาต ไม เสวย ดว ยอาศยั ผลแหง พทุ ธกจิ ทไ่ี ดท รงสามารถบรรลมุ รรคผล, พระโสดาบนั ไม บาํ เพญ็ ไว; โดยตรง หมายถงึ รับเอาอาจเปน ไปไดทีจ่ ะทาํ มาตุฆาต เปน ตน); ปจจยั ๔ มาบรโิ ภค โดยออ ม หมายถงึไทยใชเฉพาะในความวา ไมอ าจจะไดจ ะ ทํากุศลที่นําไปสูวัฏฏะ เชนใหทานถงึ สงิ่ นนั้ ๆ, ไมม ที างจะไดส ง่ิ ทมี่ งุ หมาย บําเพ็ญฌานสมาบัติ ดวยมุงหมาย(คลา ยคาํ วา อบั วาสนา หรอื ไมม วี าสนา; ดู มนษุ ยสมบตั แิ ละเทวสมบัต;ิ พระพุทธ-อภพั บคุ คล เจาตรัสสอนภิกษุท้ังหลายใหเปนธรรม-อาภสั สระ ผมู ีรศั มแี ผซ าน, เปลง ปลั่ง, ทายาท มิใหเปนอามิสทายาท; เทียบช่ือพรหมโลกชั้นท่ี ๖; ดู พรหมโลก ธรรมทายาท(พจนานุกรมเขียน อาภสั ระ) อามสิ บชู า การบชู าดวยอามิส คือ ดว ยอาภา แสง, รศั ม,ี ความสวา ง สงิ่ ของมดี อกไม ของหอม อาหาร และอามะ คาํ รบั ในภาษาบาลี ตรงกบั ถกู แลว , วตั ถุอ่ืนๆ (ขอ ๑ ในบชู า ๒)ใช, ครับ, คะ, จะ, เออ ถา ผถู ูกกลา วรบั อามิสปฏิสันถาร การตอนรับดวยส่ิงเปนผูนอยกวาหรือมีพรรษานอยกวา ของ เชน อาหาร นํ้าบรโิ ภค เปน ตนหรือเปนคฤหัสถพูดกับพระสงฆกลาว (ขอ ๑ ใน ปฏิสนั ถาร ๒)ตอวา ภันเต เปน อามะ ภนั เต ถาผู อามิสสมโภค คบหากันในทางอามสิ ไดกลาวรับเปนผูใหญกวาหรือมีพรรษา แก ใหหรือรบั อามิสมากกวา หรือเปนพระสงฆพูดกับ อายโกศล ดู โกศล ๓คฤหัสถ กลา วตอ วา อาวุโส เปน อามะ อายตนะ ทต่ี ิดตอ, เครอื่ งติดตอ, แดน

อายตนะภายนอก ๕๔๑ อายุสังขาราธิฏฐานตอความร,ู เครื่องรูแ ละส่งิ ที่รู เชนตา ของชวี ติเปน เครอื่ งรู รปู เปน สงิ่ ทรี่ ,ู หเู ปน เครอื่ งรู อายกุ ษยั , อายขุ ยั การสน้ิ อาย,ุ ความตายเสยี งเปน ส่ิงทรี่ ู เปน ตน, จดั เปน ๒ อายกุ ปั , อายกุ ปั ป กาลกาํ หนดแหง อาย,ุประเภท คือ อายตนะภายใน ๖ กําหนดอายุ, ชวงเวลาแตเกิดถึงตายอายตนะภายนอก ๖ ตามปกติหรือที่ควรจะเปน ของสัตวอายตนะภายนอก เครื่องตอภายนอก, ประเภทนน้ั ๆ ในยคุ สมยั นนั้ ๆ; ดู กปัสงิ่ ทถ่ี กู รมู ี ๖ คอื ๑. รปู รปู ๒. สทั ทะ อายุวัฒนะ ความเจริญอายุ, ยืดอายุ,เสยี ง ๓. คันธะ กล่นิ ๔. รส รส ๕. อายยุ นืโผฏฐัพพะ สิ่งตองกาย ๖. ธัมมะ อายสุ งั ขาร เครอื่ งปรงุ แตง อาย,ุ ปจ จยัธรรมารมณ คือ อารมณที่เกิดกับใจ ตา งๆ ทห่ี ลอ เลยี้ งชวี ติ ของสตั วแ ละพชื ใหหรือสง่ิ ทใี่ จรู; อารมณ ๖ ก็เรียก ดาํ รงอยแู ละสบื ตอ ไปได, มกั พบในคาํ วาอายตนะภายใน เครื่องตอภายใน, “ปลงอายสุ งั ขาร” และ “ปลงพระชนมาย-ุเครอ่ื งรบั รู มี ๖ คอื ๑. จกั ขุ ตา ๒. โสต สงั ขาร”; ดู อาย,ุ อายสุ งั ขารโวสสชั ชนะหู ๓. ฆานะ จมกู ๔. ชวิ หา ลน้ิ ๕. กาย อายุสังขารโวสสชั ชนะ “การสลดั ลงซง่ึกาย ๖. มโน ใจ; อนิ ทรยี  ๖ กเ็ รยี ก ปจ จยั เครอ่ื งปรงุ แตง อาย”ุ , การปลงอาย-ุอายาจนะ การขอรอง, การวงิ วอน, การ สังขาร, การสละวางการปรุงแตงอายุ, เช้อื เชญิ การเลิกความคิดท่ีจะดาํ รงชีวติ อยตู อ ไป,อายุ สภาวธรรมท่ีทาํ ใหชีวิตดาํ รงอยูหรือ ความตกลงปลงใจกาํ หนดการสนิ้ สดุ อาย;ุเปน ไป, พลงั ทห่ี ลอ เลยี้ งดาํ รงรกั ษาชวี ติ , ในพุทธประวัติ ที่วาพระพุทธเจาทรงพลังชีวิต, ความสามารถของชีวิตท่ีจะ “ปลงอายสุ งั ขาร” หรอื “ปลงพระชนมาย-ุดาํ รงอยแู ละดาํ เนนิ ตอ ไป, ตามปกตทิ า น สงั ขาร” คอื ทรงพจิ ารณาเหน็ วา บรษิ ทั ๔อธบิ ายวา อายุ กค็ อื ชวี ติ นิ ทรยี  นนั่ เอง; มีคุณสมบัติพรอม และพรหมจริยะคือชวงเวลาท่ีชีวิตของมนุษยสัตวประเภท พระศาสนานี้ เจรญิ แพรห ลายไพบูลยด ีนนั้ ๆ หรอื ของบคุ คลนนั้ ๆ จะดาํ รงอยไู ด, แลว จึงตกลงพระทัยวา (อกี ๓ เดอื นชว งเวลาท่ชี วี ติ จะเปนอยูได หรอื ไดเ ปน แตนั้นไป) จะปรินิพพาน, อายุสังขาร-อยู; ในภาษาไทย อายุ มคี วามหมาย โอสสัชชนะ หรอื อายสุ งั ขาโรสสชั ชนะ ก็เพีย้ นไปในทางท่ไี มนาพอใจ เชน กลาย วา ; ดู อาย,ุ อายสุ งั ขารเปนความผานลวงไปหรือความลดถอย อายสุ งั ขาราธฏิ ฐาน การตงั้ พระทยั วา จะ

อารมณ ๕๔๒ อารกั ขกัมมฏั ฐานดาํ รงไวซ ง่ึ อายสุ งั ขาร, การทพ่ี ระพทุ ธเจา ในภาษาไทยใชใ นความหมายตางกนั )ตั้งพระทยั กาํ หนดแนว า จะดาํ รงพระชนม อารยชน ชนท่เี จรญิ ดวยขนบธรรมเนียมอยกู อ น จนกวา พทุ ธบรษิ ทั ทงั้ ๔ คอื อันดีงาม, คนมีอารยธรรมภิกษุ ภกิ ษณุ ี อุบาสก อุบาสกิ า จะเปน ผู อารยชาติ ชาตทิ เ่ี จรญิ ดว ยขนบธรรมเนยี มทีไ่ ดเรียนรูเชี่ยวชาญ แกลว กลา เปน อันดงี ามพหสู ตู ทรงธรรม ปฏิบตั ิชอบ สามารถช้ี อารยธรรม ธรรมอันดงี าม, ธรรมของแจงแสดงธรรม กําราบปรัปวาทที่เกิด อารยชน, ความเจรญิ ดว ยขนบธรรมเนยี มขน้ึ ใหสงบไดโ ดยชอบธรรม ในระหวาง อันดีงาม; ในทางธรรม หมายถึง กศุ ล-น้ีแมหากมีโรคาพาธเกิดข้ึน ก็จะทรง กรรมบถ ๑๐ระงับขบั ไลเ สยี ดว ยอิทธิบาทภาวนา จะ อารยอัษฎางคิกมรรค ทางมีองค ๘ยังไมป รนิ พิ พาน จนกวาพรหมจรยิ ะคือ ประการ อนั ประเสรฐิ ; ดู มรรคพระศาสนานี้ จะเจริญม่ันคง เปน อารกั ขกมั มฏั ฐาน กรรมฐานเปน เครอื่ งประโยชนแกพหูชน เปนปกแผนแนน รักษาตน, กรรมฐานเปนเครื่องรักษาผูหนา แพรห ลายไพบลู ย; คําน้ี ทา นปรุง ปฏิบัติใหส งบระงบั และใหต ง้ั อยใู นความ ข้ึนใชในหนังสือปฐมสมโพธิ เพื่อส่ือ ไมประมาท ทา นจดั เปน ชดุ ขน้ึ ภายหลงั ความหมายทกี่ ลา วแลว ; เทยี บ อายสุ งั ขาร- โวสสชั ชนะ ดงั มกี ลา วถงึ ในอรรถกถา (วนิ ย.อ.๓/๓๗๔)อารมณ เครื่องยดึ หนวงของจติ , สิง่ ที่จติ และฎกี าพระวนิ ยั (วนิ ย.ฏ.ี ๒/๖๗/๑๗๙) มี ๔ ขอ เรยี กวา จตรุ ารกั ขา (เรยี กใหส นั้ วายึดหนว ง, สง่ิ ทีถ่ ูกรหู รอื ถกู รับรู ไดแ ก จตรุ ารกั ข หรอื จตรุ ารกั ษ) คอื พทุ ธานสุ ติอายตนะภายนอก ๖ คือ รปู เสียง กล่ิน เมตตา อสภุ ะ และมรณสต,ิ ตอ มาในรส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ; ใน ลงั กาทวปี พระธรรมสริ เิ ถระ ไดเ ขยี นภาษาไทย ความหมายเลือนไปเปน อธบิ ายไวใ นคมั ภรี ข ทุ ทสกิ ขา และในพมาความรูสึก หรือความเปนไปแหงจิตใจ ทเ่ี มอื งรา งกงุ ไดม พี ระเถระชอ่ื อคั รธรรมในขณะหรอื ชวงเวลาหนง่ึ ๆ เชน วา อยา ถึงกับแตงคัมภีรขึ้นอธิบายเร่ืองนี้โดยทาํ ตามอารมณ วันน้อี ารมณดี อารมณ เฉพาะ เรียกวา จตุรารักขทีปนี; ในเสยี เปนตน หนงั สอื นวโกวาท มคี าํ อธบิ ายซง่ึ เปน พระอารยะ คนเจรญิ , คนมีอารยธรรม; พวก ราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระจอมชนชาติ อรยิ กะ (ตรงกบั บาลวี า อรยิ ะ แต เกลา เจา อยหู วั วา “อารกั ขกมั มฏั ฐาน ๔

อารกั ขสัมปทา ๕๔๓ อารัญญกวตั ร ๑. พุทธานสุ สติ ระลกึ ถงึ คณุ พระพุทธ ขนั ธกะ จดั เปน หวั ขอ ไดด งั นี้ ก. ๑. ภกิ ษุ เจาทมี่ ใี นพระองค และทรงเกอื้ กลู แกผู ผอู ยปู า พงึ ลกุ ขนึ้ แตเ ชา ตรู เอาถงุ บาตร อนื่ ๒. เมตตา แผไ มตรจี ติ คิดจะให สวมบาตรแลวคลองบา ไว พาดจีวรบน สัตวทั้งปวงเปนสุขท่ัวหนา ๓. อสุภะ ไหล สวมรองเทา เกบ็ งาํ เครอื่ งไมเ ครอ่ื ง พิจารณารางกายตนและผูอื่นใหเห็นเปน ดิน ปดประตูหนาตางแลวลงจาก ไมงาม ๔. มรณสั สติ นึกถึงความตาย เสนาสนะ (ทพี่ กั อาศยั ) ไป ๒. ทราบวา อนั จะมแี กตน. กมั มฏั ฐาน ๔ อยา งนี้ “บัดน้ีจักเขาหมูบาน” พึงถอดรองเทา เคาะตาํ่ ๆ แลว ใสถ งุ คลอ งบา ไว นงุ ใหเ ปน ควรเจรญิ เปน นติ ย” ปรมิ ณฑล คาดประคดเอว หม สงั ฆาฏิอารักขสัมปทา ถึงพรอมดวยการรกั ษา ซอ นเปน สองชนั้ กลดั ลกู ดมุ ชาํ ระบาตร คือรักษาทรัพยท่ีแสวงหามาไดดวย แลวถือเขาหมูบานโดยเรียบรอยไมรีบ รอ น ไปในละแวกบา นพงึ ปกปด กายดว ย ความหมั่น ไมใ หเ ปน อันตรายและรักษา ดี สาํ รวมดว ยดี ไมเ ดนิ กระโหยง เมอ่ื จะ เขา สนู เิ วศน พงึ กาํ หนดวา เราจกั เขา ทาง การงานไมใ หเสอ่ื มเสียไป, รจู ักเก็บออม นี้ จกั ออกทางนี้ ไมพ งึ รบี รอ นเขา ไป ไม พึงรีบรอนออกมา พงึ ยนื ไมไ กลเกนิ ไป ถนอมรักษาปดชองร่ัวไหลและคุมครอง ไมใกลเกนิ ไป ไมนานเกนิ ไป ไมก ลบั ออกเรว็ เกนิ ไป เมอ่ื ยนื อยู พงึ กาํ หนดวา ปอ งกนั ภยนั ตราย (ขอ ๒ ในทฏิ ฐธมั ม-ิ เขาประสงคจะถวายภกิ ษาหรอื ไม ฯลฯ เมอ่ื เขาถวายภกิ ษา พงึ แหวกสงั ฆาฏดิ ว ย กตั ถสังวัตตนิกธรรม ๔) มอื ซา ย นอ มบาตรเขา ไปดว ยมอื ขวา ใชอารักขา การขอความคุมครองจากเจา มอื ทง้ั สองขา งประคองบาตรรบั ภกิ ษา ไม หนา ท่ีฝา ยบานเมอื ง เมือ่ มผี ปู องรา ยขม พงึ มองดหู นา สตรผี ถู วาย พงึ กาํ หนดวา เขาประสงคจะถวายแกงหรือไม ฯลฯ เหง หรือถูกลักขโมยสิ่งของ เปนตน เม่ือเขาถวายภิกษาแลว พึงคลุมบาตร เรียกวา ขออารักขา ถอื เปน การปฏิบัติ ดว ยสังฆาฏิแลว กลับโดยเรยี บรอ ยไมร บี ชอบตามธรรมเนียมของภิกษุแทนการ รอ น เดนิ ไปในละแวกบา น พงึ ปกปด กาย ดว ยดี สาํ รวมดว ยดี ไมเ ดนิ กระโหยง ๓. ฟองรองกลาวหาอยางที่ชาวบานทํากัน เพราะสมณะไมพอใจจะเปนถอยความ กบั ใครๆอารักษ, อารกั ขา การปอ งกัน, การคมุ ครอง, การดแู ลรักษาอารญั ญกวตั ร ขอ ปฏบิ ตั สิ าํ หรบั ภกิ ษผุ อู ยู ปา, ธรรมเนียมที่ภิกษุผูอยูปาพึงถือ ปฏิบัติ ตามพุทธบัญญัติท่ีมาในวัตต-

อารัญญิกังคะ ๕๔๔ อารามออกจากบา นแลว (หลงั จากฉนั และลา ง หรอื นาํ ไปสวดเปน ทาํ นอง จะไดไ มข ดับาตรแลว ) เอาบาตรใสถ งุ คลอ งบา พบั อาราธนาพระปริตร กลาวคําเชิญหรือจวี ร วางบนศรี ษะ สวมรองเทา เดนิ ไป ข. ขอรอ งใหพระสวดพระปรติ ร วาดงั น้:ีภกิ ษผุ อู ยปู า พงึ จดั เตรยี มนาํ้ ดมื่ ไว พงึ จดั “วปิ ตตฺ ิปฏิพาหายเตรยี มนาํ้ ใชไ ว พงึ ตดิ ไฟเตรยี มไว พงึ จดั สพฺพสมปฺ ตตฺ ิสทิ ธฺ ยิ าเตรยี มไมส ไี ฟไว พงึ จดั เตรยี มไมเ ทา ไว สพพฺ ทกุ ฺขวินาสายค. พงึ เรยี นทางนกั ษตั รไว (ดดู าวเปน ) ปริตฺตํ พรฺ ูถมงฺคลํ”ทงั้ หมดหรอื บางสว น พงึ เปน ผฉู ลาดในทศิ (วา ๓ คร้ัง แตคร้ังท่ี ๒ เปล่ยี น ทุกขฺอารัญญิกังคะ องคแหงผูถืออยูปาเปน เปน ภย; คร้งั ที่ ๓ เปลย่ี นเปน โรค)วตั ร คอื ไมอ ยใู นเสนาสนะใกลบ า น แต อาราธนาศีล กลาวคําเชิญหรือขอรองอยปู า หา งจากบา นอยา งนอ ย ๒๕ เสน พระใหใ หศ ลี , สาํ หรบั ศลี ๕ วา ดงั น:้ี “มยํ ภนเฺ ต, (วสิ ุ วิสุ รกฺขณตถฺ าย), ตสิ รเณน(ขอ ๘ ในธดุ งค ๑๓)อารมั ภกถา คาํ ปรารภ, คาํ เรมิ่ ตน , คาํ นาํ สห, ปจฺ สลี านิ ยาจาม; ทุติยมฺป มยํอาราธนา การเชอ้ื เชิญ, นมิ นต, ขอรอ ง, ภนฺเต, (วสิ ุ วสิ ุ รกฺขณตฺถาย), ตสิ รเณนออนวอน (มกั ใชสาํ หรบั พระสงฆและส่ิง สห, ปจฺ สีลานิ ยาจาม; ตติยมฺป มยํ ภนฺเต, (วสิ ุ วิสุ รกฺขณตฺถาย), ตสิ รเณนศกั ด์ิสทิ ธ์ิ)อาราธนาธรรม กลา วคาํ เชญิ หรอื ขอรอ ง สห, ปจฺ สลี านิ ยาจาม;” (คําในวงเล็บพระใหแ สดงธรรม (ใหเ ทศน) วา ดงั น:ี้ จะไมใชก ไ็ ด)“พฺรหมฺ า จ โลกาธปิ ตี สหมฺปติ คําอาราธนาศีล ๘ ก็เหมือนกันกตฺอชฺ ลี อนธฺ ิวรํ อยาจถ เปลยี่ นแต ปจฺ เปน อฏสนตฺ ธี สตฺตาปฺปรชกฺขชาติกา อาราธนาศีลอุโบสถ กลาวคําเชิญพระเทเสตุ ธมฺมํ อนุกมฺปมํ ปช”ํ ใหใ หอ โุ บสถศลี วา พรอ มกนั ทกุ คน ดงั น:ี้พงึ สังเกตวา กตฺอชฺ ลี อนฺธวิ รํ คาํ “มยํ ภนเฺ ต, ตสิ รเณน สห, อฏ งคฺ สมน-ฺปกตเิ ปน กตชฺ ลี (กตอชฺ ล)ี อนธิวรํ นาคต,ํ อโุ ปสถํ ยาจาม” (วา ๓ จบ)(ในพระไตรปฎ ก ๓๓/๑๘๐/๔๐๓ กใ็ ช อาราม วดั , ท่ีเปน ทมี่ ายินดี, สวนเปนที่รปู ปกตติ ามไวยากรณอ ยา งนนั้ ) แตท มี่ ี รื่นรมย; ความยินดี, ความรื่นรมย,รปู แปลกไปอยา งนี้ เนอ่ื งจากทา นทาํ ตาม ความเพลิดเพลิน; ในทางพระวินัยฉนั ทลกั ษณ ทบี่ งั คบั คร-ุ ลหุ เมอื่ จะอา น เกย่ี วกบั ของสงฆ หมายถงึ ของปลกู สรา ง

อารามวตั ถุ ๕๔๕ อาวโุ สในอารามตลอดจนตน ไม; ดู คนั ธกุฎี กําหนดหมายวากลางวันไวในใจ ใหอารามวตั ถุ ท่ีดินวดั , ท่ดี นิ พน้ื วัด เหมือนกันท้ังในเวลากลางวันและกลางอารามกิ คนทาํ งานวัด, คนวัด คืน เปนวิธีแกง วงอยางหน่งึอารามกิ เปสกะ ภกิ ษผุ ูไ ดร ับสมมติ คอื อาวรณ เครื่องกน้ั , เครอื่ งกําบัง; ไทยมกัแตง ตงั้ จากสงฆ ใหมีหนา ทีเ่ ปนผใู ชค น ใชในความหมายวา หว งใย, อาลยั , คดิทํางานวัด, เปนตําแหนงหนึ่งในบรรดา กังวลถึงเจาอธิการแหง อาราม อาวชั นาการ ความราํ พงึ , การราํ ลกึ , นกึ ถงึอาลกมันทา ราชธานีซึ่งเปนทิพยนคร อาวาส ท่ีอยู, โดยปรกตหิ มายถึงทอ่ี ยูของพวกเทวดาชั้นจาตมุ หาราชกิ า ของพระสงฆ คือ วดัอาลปนะ คํารองเรียก อาวาสปลโิ พธ ความกังวลในอาวาส คืออาลยสมุคฺฆาโต ความถอนขึ้นดว ยดซี ่ึง ภิกษุยังอยใู นอาวาสนัน้ หรือหลีกไปแตอาลัย, การถอนอาลยั คอื ตัณหาไดเ ดด็ ยังผกู ใจอยวู าจะกลบั มา (เปนเหตอุ ยา งขาด (เปน ไวพจนแหงวริ าคะ) หนึ่งที่ทําใหกฐินยังไมเดาะ); ในการอาลัย 1. ท่ีอย,ู ทอ่ี าศัย, แหลง 2. ความ เจริญกรรมฐาน หมายถึงความหวงใยมใี จผูกพนั , ความเยอ่ื ใย, ความตดิ ใจ กังวลเก่ียวกับที่อยูอาศัย เชนหวงงานปรารถนา, ความพัวพัน มักหมายถงึ กอสรางในวัด มีส่ิงของท่ีสะสมเอาไวตัณหา; ในภาษาไทยใชในความหมายวา มาก เปน ตน เมอ่ื จะเจรญิ กรรมฐาน พงึหว งใย หวนคิดถงึ ตดั ปลิโพธนีใ้ หได; ดู ปลิโพธอาโลก แสงสวาง อาวาสมจั ฉรยิ ะ ตระหนท่ี อี่ ยู ไดแ กห วงอาโลกกสิณ กสิณคือแสงสวาง, การ แหน ไมพ อใจใหใ ครๆ เขา มาอยแู ทรกเจริญสมถกรรมฐานตั้งใจเพงแสงสวาง แซง หรอื กดี กนั ผอู นื่ ทมี่ ใิ ชพ วกของตนไม เปนอารมณ (ขอ ๙ ใน กสิณ ๑๐) ใหเ ขา อยู (ขอ ๑ ในมจั ฉรยิ ะ ๕)อาโลกเลณสถาน ชื่อถํ้าแหงหน่ึงใน อาวาหะ การแตงงาน, การสมรส, การพามลยชนบท เกาะลังกา เปนท่ีทํา หญงิ มาบา นตวัสังคายนาคร้ังท่ี ๕ จารึกพระไตรปฎ ก อาวาหววิ าหมังคลาภเิ ษก พิธรี ดนํา้ เพือ่ลงในใบลาน เปนมงคลในการแตงงาน, งานมงคลอาโลกสัญญา ความสาํ คัญในแสงสวา ง, สมรส (ใชแ กเ จา )กําหนดหมายแสงสวาง คอื ต้งั ความ อาวโุ ส “ผูม ีอายุ” เปนคําเรยี ก หรอื ทกั

อาศรม ๕๔๖ อาสภวิ าจาทาย ที่ภิกษุผูแกพรรษาใชรองเรียก พราหมณไดความคิดจากพระพุทธ-ภกิ ษผุ อู อนพรรษากวา (ภกิ ษผุ ูใหญร อง ศาสนาไปปรับปรุงจัดวางระบบของตนเรียกภิกษุผูนอย) หรือภิกษุรองเรียก ข้นึ เชน สนั ยาสี ตรงกับภกิ ษุ แตหาคฤหสั ถ คูก ับคํา ภนฺเต ซง่ึ ภิกษุผอู อ น เหมือนกนั จริงไม)กวาใชรองเรียกภิกษุผูแกหวาหรือ อาสนะ ทีน่ ัง่ , ท่ีสาํ หรับนงั่คฤหัสถรองเรียกภิกษุ; ในภาษาไทย อาสภวิ าจา วาจาอาจหาญ, วาจาย่งิ ยงมกั ใชเพ้ียนไปในทางตรงขาม หมายถงึ องอาจ ที่เปลงออกมาอยางหนักแนนเกา กวา หรือแกก วาในวงงาน กิจการ แกลว กลา และจะแจง ชดั เจน อนั ประกาศหรอื ความเปน สมาชกิ ความจรงิ หรอื ความสาํ เรจ็ ทแี่ นแท ซ่ึงอาศรม ทอ่ี ยูของนักพรต; ตามลทั ธขิ อง ไมมีใครอาจคัดคานได, อาสภิวาจาท่ีพราหมณ ในยคุ ทกี่ ลายเปน ฮนิ ดแู ลว ได อา งองิ บอ ยทสี่ ดุ ในคมั ภรี ท งั้ หลาย ไดแ กวางระเบียบเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตของ พระดาํ รัสของพระโพธิสัตว ที่ประกาศชาวฮินดูวรรณะสูง โดยเฉพาะวรรณะ พระองควาเปน เอกในโลก ตามเรื่องวาพราหมณ โดยแบง เปน ขนั้ หรอื ชว งระยะ พระมหาบุรุษเม่ือประสูติจากพระครรภ๔ ขนั้ หรอื ๔ ชว ง เรยี กวา อาศรม ๔ ของพระมารดา ยา งพระบาทไป ๗ กา วกําหนดวาชาวฮินดูวรรณะพราหมณทุก แลวทรงหยุดประทับยืนตรัสอาสภิวาจาคนจะตอ งครองชวี ติ ใหค รบทงั้ ๔ อาศรม วา “อคฺโคหมสมฺ ิ โลกสฺส” ดังนีเ้ ปน ตนตามลาํ ดบั (แตใ นทางปฏบิ ตั ิ นอ ยคนนกั แปลวา “เราเปนอัครบุคคลของโลกไดป ฏบิ ตั เิ ชน นนั้ โดยเฉพาะปจ จบุ นั ไมไ ด ฯลฯ”, พระสารีบุตรก็เคยเปลงอาสภิ-ถอื กนั แลว ) คอื ๑. พรหมจารี เปน นกั วาจา ประกาศความเล่ือมใสในพระผมู ีเรยี นศกึ ษาพระเวท ถอื พรหมจรรย ๒. พระภาคเจา วา สมณะหรือพราหมณอนื่คฤหสั ถ เปน ผคู รองเรอื น มภี รรยาและมี ใดที่จะย่ิงไปกวาพระผูมีพระภาคในบตุ ร ๓. วานปรสั ถ ออกอยปู า เมอ่ื เหน็ สัมโพธิญาณน้ัน มิไดมีแลว จักไมมีบตุ รของบตุ ร ๔. สนั ยาสี (เขยี นเตม็ เปน และทั้งไมมอี ยูใ นบดั น้ี, คาํ วาอาสภวิ าจาสนั นยาส)ี เปน ผสู ละโลก มผี า นงุ ผนื เดยี ว บางครัง้ มาดวยกนั กบั คําวา สหี นาท (การถือภาชนะขออาหารและหมอน้ําเปน บันลอื อยา งราชสีห) คือ ถอยคาํ ทีแ่ สดงสมบัติ จาริกภิกขาจารเรื่อยไปไมยุง ความแกลวกลาม่ันใจ เปนอาสภิวาจาเกี่ยวกับชาวโลก (ปราชญบางทานวา กิริยาท่ีประกาศความจริงความมั่นใจ

อาสวะ ๕๔๗ อาหารออกไปแกที่ประชุมหรือแกชนท้ังหลาย อาสันทิ เปน เตียงหรือเกา อีน้ อน)เปนสหี นาท; ดู สหี นาท อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน, กรรมอาสวะ 1. ความเสียหาย, ความเดอื ด ใกลตาย หมายถึงกรรมท่ีเปนกุศลก็ดีรอน, โทษ, ทกุ ข 2. น้าํ ดองอนั เปน เมรัย อกุศลกด็ ี ทที่ ําเม่ือจวนตายยังจบั ใจอยูเชน ปปุ ผฺ าสโว นา้ํ ดองดอกไม, ผลาสโว ใหมๆ ถา ไมม คี รกุ กรรม และพหลุ กรรมน้ําดองผลไม 3. กิเลสที่หมักหมมหรอื ยอมใหผ ลกอ นกรรมอ่ืนๆ เหมอื นโคท่ีดองอยูในสันดาน ไหลซึมซานไปยอม ยัดเยียดกันอยูในคอกเม่ือคนเลี้ยงเปดจิตตเ ม่ือประสบอารมณต า งๆ, อาสวะ ๓ คอกออก ตัวใดอยใู กลประตู ตัวนน้ัคอื ๑. กามาสวะ อาสวะคอื กาม ๒. ยอ มออกกอ น แมจะเปน โคแก (ขอ ๑๑ภวาสวะ อาสวะคอื ภพ ๓. อวชิ ชาสวะ ในกรรม ๑๒)อาสวะคอื อวชิ ชา; อกี หมวดหนงึ่ อาสวะ ๔ อาสา ความหวงั , ความตองการ; ไทยวาคือ ๑. กามาสวะ อาสวะคือกาม ๒. รับทาํ โดยเต็มใจ, สมัคร, แสดงตวั ขอภวาสวะ อาสวะคอื ภพ ๓. ทิฏฐาสวะ รบั ทําการนั้นๆอาสวะคือทิฏฐิ ๔. อวิชชาสวะ อาสวะ อาสาฬหะ เดือน ๘ ทางจนั ทรคติ อาสาฬหบูชา “การบูชาในเดือน ๘“คอื อวชิ ชาอาสวักขยญาณ ความรูเปนเหตุสิ้น หมายถงึ การบชู าในวนั เพญ็ เดอื น ๘ เพอ่ือาสวะ, ญาณหยั่งรใู นธรรมเปนทีส่ ้นิ ไป ราํ ลึกถึงคุณพระรัตนตรัยเปนการพิเศษแหงอาสวะทง้ั หลาย, ความตรสั รู (เปน เนือ่ งในวนั ทพี่ ระพทุ ธเจา ทรงแสดงปฐม-ความรูท่ีพระพุทธเจาไดในยามสุดทาย เทศนา คอื ธมั มจกั กัปปวัตนสตู ร ทาํ ใหแหง ราตรี วันตรสั ร)ู (ขอ ๓ ในญาณ ๓ เกิดมีปฐมสาวก คือ พระอัญญาโกณ-หรือวิชชา ๓, ขอ ๖ ในอภิญญา ๖, ขอ ฑัญญะ และเกิดสังฆรัตนะคํารบพระ ๘ ในวิชชา ๘, ขอ ๑๐ ในทศพลญาณ) รตั นตรัยอาสญั ไมมสี ญั ญา, หมดสัญญา; เปน คาํ อาสาฬหปรุ ณมี วันเพ็ญเดือน ๘, วนัใชใ นภาษาไทย หมายความวา ความ กลางเดอื น ๘, วันข้ึน ๑๕ คํ่า เดือน ๘ตาย, ตาย อาสาฬหมาส ดู อาสาฬหะอาสตั ย ไมม สี ตั ย, ไมซ อ่ื ตรง, กลบั กลอก อาหัจจบาท เตียงที่เขาทําเอาเทาเสียบอาสนั ทิ มานง่ั ส่ีเหล่ียมจตั รุ ัส นง่ั ไดค น เขา ไปในแมแ คร ไมไดต รึงสลกัเดยี ว (ศพั ทเ ดิมเรยี ก อาสนั ทกิ , สว น อาหาร ปจ จัยอันนํามาซ่งึ ผล, เครอ่ื งคา้ํ

อาหารปรเิ ยฏฐิทกุ ข ๕๔๘ อิทธบิ าท จุนชวี ติ , เคร่ืองหลอเลยี้ งชวี ิตมี ๔ คือ กิริยา, ทา นผนู ี้ไดส มาบตั ถิ ึงชัน้ อากิญ- ๑. กวฬงิ การาหาร อาหารคอื คาํ ขา ว ๒. จญั ญายตนฌาน; เรยี กเต็มวา อาฬาร- ผัสสาหาร อาหารคอื ผสั สะ ๓. มโน- ดาบส กาลามโคตร สญั เจตนาหาร อาหารคอื มโนสญั เจตนา อาํ มาตย ดู อมาตย ๔. วิญญาณาหาร อาหารคอื วิญญาณ อิจฉา ความปรารถนา, ความอยากได;อาหารปริเยฏฐิทุกข ทุกขเก่ียวกับการ ไทยมกั ใชในความหมายวารษิ ยา แสวงหาอาหาร, ทุกขในการหากนิ ได อฏิ ฐารมณ “อารมณท น่ี า ปรารถนา” สงิ่ ที่แก อาชีวทุกข คอื ทกุ ขเ นื่องดว ยการ คนอยากไดอ ยากพบ แสดงในแงก ามคณุเล้ยี งชีวติ ๕ ไดแ ก รปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ ที่อาหารรูป ดทู ี่ รปู ๒๘ นา รกั ใคร นา ชอบใจ แสดงในแงโ ลก-อาหาเรปฏิกูลสัญญา กําหนดหมาย ธรรม ไดแ ก ลาภ ยศ สรรเสรญิ และความเปนปฏิกูลในอาหาร, ความสําคญั ความสขุ ; ตรงขา มกบั อนฏิ ฐารมณหมายในอาหารวาเปนของปฏิกูล อติ ถภี าวะ ความเปน หญงิ , สภาวะทท่ี าํ ใหพิจารณาใหเหน็ วา เปน ของนา เกลยี ดโดย ปรากฏลกั ษณะอาการตา งๆ อนั แสดงถงึอาการตา งๆ เชน ปฏกิ ลู โดยบรโิ ภค, โดย ความเปน เพศหญงิ เปน ภาวรปู อยา งหนงึ่ ;ประเทศทอี่ ยขู องอาหาร, โดยสง่ั สมอยนู าน คกู บั ปรุ สิ ภาวะ; ดู อปุ าทายรปูเปน ตน (ขอ ๓๕ ในกรรมฐาน ๔๐) อิทธาภิสังขาร การปรุงแตงฤทธิ์ขึ้นอาหุดี การเซน สรวง ทนั ใด, การบันดาลดว ยฤทธ์ิอาหเุ นยฺโย (พระสงฆ) เปน ผคู วรแกของ อิทธิ ความสาํ เร็จ, ความรุงเรืองงอกงาม;คํานบั คือ มคี ณุ ความดีสมควรแกก ารที่ อํานาจที่จะทาํ อะไรไดอ ยา งวิเศษประชาชนจะนําของถวายมาแสดงความ อทิ ธิ ๒ ดู ฤทธ์ิ ๒นับถือเชิดชูบูชา ถึงจะตองเดินทางมา อิทธิบาท คุณเคร่ืองใหถึงความสําเร็จ, แมจ ากทีไ่ กล (ขอ ๕ ในสงั ฆคณุ ๙) คุณเคร่ืองสาํ เร็จสมประสงค, ทางแหงอาฬกะ ชื่อแควนหน่ึง ตั้งอยูท่ีลุมนํ้า ความสาํ เร็จ มี ๔ คอื ๑. ฉันทะ ความ พอใจรักใครส ่งิ น้นั ๒. วิรยิ ะ ความ โคธาวรี ตรงขา มกบั แควนอสั สกะ พยายามทาํ ส่ิงนั้น ๓. จิตตะ ความเอาใจอาฬารดาบส อาจารยผูสอนสมาบัติที่ ฝก ใฝใ นสงิ่ นนั้ ๔. วมิ งั สา ความพจิ ารณา พระมหาบุรุษเสด็จไปศึกษาอยูดวยคราวหนึ่ง กอนที่จะทรงบําเพ็ญทุกร- ใครครวญหาเหตุผลในสิ่งน้ัน; จํางายๆ

อทิ ธิบาทภาวนา ๕๔๙ อินทรยี  วา มีใจรกั พากเพยี รทํา เอาจิตฝก ใฝ ประมาณ ๑,๐๙๕ ลานคน) ครัง้ โบราณ ใชป ญ ญาสอบสวน; ดู โพธปิ ก ขยิ ธรรม เรยี ก ชมพทู วปี เปน ประเทศทีเ่ กิดพระอิทธิบาทภาวนา การเจริญอิทธิบาท, พุทธศาสนา, พุทธคยา สถานที่ตรัสรู การฝก ฝนปฏิบัติใหอ ทิ ธบิ าทเกดิ มขี ้ึน ของพระพทุ ธเจา อยหู างจากกรงุ เทพฯอิทธิปาฏิหาริย ปาฏิหาริยคือฤทธิ์, ประมาณ ๒,๐๐๐ กโิ ลเมตร; ดูชมพทู วปี แสดงฤทธ์ิไดเ ปน อัศจรรย เชน ลอ งหน อนิ ทปต ถ ช่อื นครหลวงของแควน กรุ ุ ตงั้ดําดนิ เหาะได เปน ตน (ขอ ๑ ใน อยู ณ บรเิ วณเมืองเดลี นครหลวงของปาฏหิ าริย ๓) อินเดยี ปจจุบนั (แควน กรุ อุ ยแู ถบลมุ นาํ้อิทธวิ ิธา, อิทธิวิธิ แสดงฤทธ์ไิ ดตางๆ ยมนุ าตอนบน ราวมณฑลปญ จาบลงมา)เชน นิรมิตกายคนเดียวเปนหลายคน อนิ ทร ผเู ปนใหญ, จอมเทพ, ช่ือเทวราชหลายคนเปนคนเดียว ลอ งหน ดาํ ดนิ ผูเปนใหญในสวรรคชั้นดาวดึงส และมีเดินน้ํา เปน ตน (ขอ ๑ ในอภิญญา ๖, อาํ นาจบงั คบั บญั ชาเหนอื เทพชนั้ จาตมุ หา-ขอ ๓ ในวชิ ชา ๘) ราชกิ า; เรยี กตามนยิ มในบาลวี า ทา วอิทัปปจจยตา “ภาวะท่ีมีอันน้ีๆ เปน สกั กะ; ดู ดาวดึงส, วตั รบท ๗, จาตุมหา-ปจ จัย”, ความเปนไปตามความสัมพันธ ราชกิ าแหงเหตปุ จ จัย, กระบวนธรรมแหงเหตุ อินทริยปโรปริยัตตญาณ ปรีชาหย่ังรูปจ จยั , กฎที่วา “เมอ่ื สิ่งนี้มี สิง่ น้ีจึงมี, ความหยอนและยิ่งแหงอินทรียของสัตวเพราะสง่ิ น้เี กิดขนึ้ สิง่ นี้จงึ เกดิ ขน้ึ ; เปน ท้ังหลาย คือรูวา สัตวพวกไหนมีอีกช่ือหนึ่งของหลัก ปฏิจจสมุปบาท อนิ ทรยี  (คือศรทั ธาเปนตน) ออน พวกหรอื ปจจยาการ ไหนมีอนิ ทรยี แ กก ลา พวกไหนมจี รติ มีอนิ เดยี ช่ือประเทศ ต้งั อยูทางทศิ ตะวัน อธั ยาศัย เปนตน อยางไรๆ พวกไหนตกเฉียงเหนอื ของประเทศไทย ถดั จาก สอนยาก พวกไหนสอนงาย ดังนี้ประเทศพมาออกไป มีเมืองหลวงชื่อ เปนตน (ขอ ๖ ในทศพลญาณ)นวิ เดลี (New Delhi) อยหู า งจากกรงุ เทพ อินทรีย ความเปนใหญ, สภาพทีเ่ ปน ใหญประมาณ ๓,๑๐๐ กิโลเมตร อนิ เดยี มี ในกจิ ของตน, ธรรมที่เปน เจา การในการเนื้อท่ีท้ังหมด ๓,๒๘๗,๕๙๐ ตาราง ทําหนา ที่อยางหน่งึ ๆ เชน ตาเปน ใหญกโิ ลเมตร มพี ลเมืองใน พ.ศ. ๒๕๒๔ หรือเปนเจาการในการเห็น หูเปนใหญประมาณ ๖๓๘ ลานคน (พ.ศ. ๒๕๔๙ ในการไดยิน วิริยะเปนเจาการในการ

อนิ ทรีย ๕๕๐ อนิ ทรียครอบงําเสียซง่ึ ความเกยี จคราน เปนตน ๓. ฆานินทรีย (อินทรีย คือ ฆานปสาท) อนิ ทรีย ๕ ธรรมทเ่ี ปนใหญในกิจ ๔. ชิวหินทรีย (อินทรีย คือ ชิวหาปสาท)ของตน โดยเปนเจา การในการทําหนาที่ ๕. กายินทรีย (อนิ ทรีย คอื กายปสาท) ๖. มนินทรยี  (อนิ ทรยี  คือ ใจ) หมวด๒:และเปนหัวหนานําสัมปยุตตธรรมใน ๗. อิตถนิ ทรยี  (อินทรยี  คือ อิตถภี าวะ)การครอบงํากําจัดธรรมที่เปนปฏิปกษ ๘. ปรุ สิ นิ ทรยี  (อนิ ทรยี  คอื ปุริสภาวะ)มี ๕ อยาง ไดแ ก ศรทั ธา วิริยะ สติสมาธิ ปญ ญา (ขอธรรมตรงกบั พละ ๙. ชีวิตินทรยี  (อินทรยี  คือ ชีวิต)๕), ธรรม ๕ อยา งชุดเดียวกันนี้ เรยี ก หมวด ๓: ๑๐. สขุ นิ ทรีย (อนิ ทรีย คอืช่ือตา งกนั ไป ๒ อยาง ตามหนาที่ทีท่ ํา สุขเวทนา) ๑๑. ทุกขินทรยี  (อินทรีย คอืคือ เรียกชือ่ วา พละ โดยความหมายวาเปน กาํ ลงั ใหเ กดิ ความเขม แขง็ มน่ั คง ซึ่ง ทุกขเวทนา) ๑๒. โสมนัสสินทรียธรรมท่ีตรงขามแตละอยางจะเขาครอบ (อินทรยี  คอื โสมนัสสเวทนา) ๑๓.งาํ ไมได เรยี กช่อื วา อินทรยี  โดยความหมายวาเปนเจาการในการครอบงําเสีย โทมนสั สินทรีย (อินทรยี  คอื โทมนสั ส-ซ่ึงธรรมทต่ี รงขามแตล ะอยา ง คือความ เวทนา) ๑๔. อุเปกขนิ ทรีย (อินทรยี  คอื อเุ บกขาเวทนา) หมวด๔: ๑๕.สทั ธนิ ทรยี ไรศรัทธา ความเกียจคราน ความ (อนิ ทรยี  คอื ศรทั ธา) ๑๖. วิริยินทรยี ประมาท ความฟุงซาน และความหลง (อนิ ทรยี  คือ วริ ยิ ะ) ๑๗. สตนิ ทรียงมงาย ตามลําดับ; ดู โพธปิ ก ขยิ ธรรม (อนิ ทรยี  คอื สติ) ๑๘. สมาธินทรีย อนิ ทรยี  ๖ สภาวะท่ีเปนใหญหรอื (อินทรยี  คอื สมาธิ) ๑๙. ปญ ญนิ ทรยี เปนเจาการในการรับรูดา นนนั้ ๆ ไดแก (อนิ ทรีย คอื ปญญา) หมวด ๕: ๒๐.อายตนะภายใน ๖ คอื จักขุ-ตา โสตะ-หู อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย (อินทรียฆานะ-จมกู ชิวหา-ลิน้ กาย-กาย มโน-ใจ แหงผูปฏิบัติดวยมุงวาเราจักรูสัจจธรรม อินทรยี  ๒๒ สภาวะทเี่ ปน ใหญใน ที่ยงั มิไดร ู ไดแ ก โสตาปตติมคั คญาณ)การทาํ กจิ ของตน คือ ทําใหธรรมอื่นๆ ๒๑. อัญญินทรยี  (อินทรยี  คือ อญั ญาที่เกย่ี วของ เปน ไปตามตน ในกิจนนั้ ๆในขณะท่เี ปน ไปอยูน ้ัน มีดงั น้ี หมวด ๑: หรือปญญาอันรูท ั่วถงึ ไดแก ญาณ ๖๑. จกั ขุนทรยี  (อนิ ทรยี  คอื จักขุปสาท) ในทามกลาง คอื โสตาปต ติผลญาณ ถงึ๒. โสตนิ ทรยี  (อินทรยี  คอื โสตปสาท) อรหตั ตมคั คญาณ) ๒๒. อญั ญาตาวนิ ทรยี  (อินทรียแ หงทา นผรู ทู วั่ ถงึ แลว กลา วคือ ปญ ญาของพระอรหนั ต ไดแ ก อรหัตต-

อินทรียรปู ๕๕๑ อุกกลชนบทผลญาณ อิสรภาพ ความเปนอิสระอนิ ทรียรูป ดูที่ รปู ๒๘ อสิ ราธบิ ดี ผูเ ปนเจาใหญเ หนือกวาผเู ปนอินทรียสังวร สํารวมอินทรีย ๖ คือ ตา ใหญท ัว่ ไป, ราชา, พระเจา แผนดินหู จมกู ลิน้ กาย ใจ ไมใ หยินดียนิ ราย อิสรยิ ยศ ยศคอื ความเปน ใหญ, ความในเวลาเหน็ รูป ฟงเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส เปน ใหญโ ดยตาํ แหนง ฐานนั ดร เปน ตน ;ถกู ตอ งโผฏฐพั พะ รธู รรมารมณดวยใจ, ดู ยศระวังไมใหกิเลสครอบงําใจในเวลารับรู อสิ สา ความริษยา, ความรสู กึ ไมพอใจอารมณท างอินทรยี ท ง้ั ๖ (ขอ ๑ ใน เมื่อเห็นเขาไดดี, เห็นเขาไดดีทนอยไู มอปณ ณกปฏปิ ทา ๓, ขอ ๒ ในปารสิ ทุ ธ-ิ ได, ไมอ ยากใหใครดีกวา ตน, ความคดิศลี ๔, ขอ ๒ ในองคแ หง ภิกษใุ หม ๕), ตดั รอนผูทด่ี กี วา ตน; ความหึงหวง (ขอทเี่ ปน ขอ ๒ ในปาริสุทธศิ ีล ๔ นนั้ เรยี ก ๓ ในมละ ๙, ขอ ๘ ในสังโยชน ๑๐เตม็ วา อนิ ทรยี สงั วรศลี แปลวา ศีลคอื ตามนัยพระอภิธรรม, ขอ ๗ ในความสาํ รวมอินทรีย อุปกิเลส ๑๖)อริ ยิ าบถ “ทางแหง การเคลื่อนไหว”, ทา อิส,ิ อิสี ผูแสวงหาคุณความดี, ผูถือบวช,ทางทร่ี างกายจะเปนไป, ทา ท่เี คลอื่ นไหว ฤษีตง้ั วางรา งกายอยา งใดอยา งหนง่ึ , อริ ยิ าบถ อสิ ิคิลิบรรพต ภูเขาชื่ออิสคิ ลิ ิ เปนภูเขาหลกั มี ๔ คอื ยนื เดนิ นงั่ นอน, อริ ยิ าบถ ลูกหนึ่งในหาลกู ทเี่ รียกเบญจคีรี ลอมยอย เรียกวา จุณณิยอิริยาบถ หรือ รอบพระนครราชคฤหจุณณิกอริ ยิ าบถ ไดแ ก ทาที่แปรเปล่ียน อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั ปา เปน ทใี่ หอ ภยั แก ยกั ยา ยไประหวา งอริ ยิ าบถทงั้ ๔ นนั้ เนอ้ื ชอ่ื อสิ ปิ ตนะ อยใู กลเ มอื งพาราณสีอริ พุ เพท คําบาลเี รียกคัมภรี หนง่ึ ในไตร- เปนสถานที่ท่ีพระพุทธเจาทรงแสดงเพท ตรงกับที่เรียกอยางสันสกฤตวา ปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรฤคเวท; ดู ไตรเพท โปรดพระปญ จวคั คยี  บดั นเี้ รยี ก สารนาถอิศวร พระเปนเจาของศาสนาพราหมณ อุกกลชนบท ชอ่ื ชนบทที่พอคา ๒ คนตามปกติหมายถึงพระศิวะ ซ่ึงเปน เทพ- คอื ตปุสสะ กบั ภัลลกิ ะ เดนิ ทางจากมาเจาแหง การทาํ ลาย แลว ไดพ บพระพทุ ธเจา ขณะทปี่ ระทบั อยูอสิ ระ ผูเ ปนใหญ, เปนใหญ, เปน ใหญใ น ภายใตตนราชายตนะ ภายหลังตรัสรูตวั เอง, เปนไทแกต ัว ไมข นึ้ แกใ คร ใหมๆ

อกุ โกฏนะ ๕๕๒ อุตตรทสิอกุ โกฏนะ การรอื้ ฟน , การฟน เรอื่ ง, ฟน คดี เห็นวาคนและสัตวจุติจากอัตภาพน้ีแลวอุกขฺ ติ ฺตโก “ผอู นั สงฆยกแลว” หมายถงึ ขาดสญู ; ตรงขามกับ สสั สตทิฏฐิ (ขอ ๒ภิกษุผูถูกสงฆทําอุกเขปนียกรรมตัด ในทฏิ ฐิ ๒)สิทธิแหงภิกษุช่ัวคราว (จนกวาสงฆจะ อุชเชนี ชื่อนครหลวงของแควนอวันตี บดั นเ้ี รยี กวา อุชเชน (Ujjain); ดู อวนั ตียอมระงับกรรมน้ัน)อกุ เขปนยี กรรม กรรมอนั สงฆพงึ ทาํ แก อุชปุ ฏิปนฺโน (พระสงฆ) เปน ผูปฏิบัติภิกษุอนั จะพงึ ยกเสยี หมายถงึ วิธกี ารลง ตรง คือ ไมลวงโลก ไมม มี ายาสาไถยโทษท่ีสงฆกระทําแกภิกษุผูตองอาบัติ ไมอําพราง หรือดําเนินทางตรง คือแลว ไมย อมรับวาเปน อาบัตหิ รอื ไมย อม มัชฌิมาปฏิปทา (ขอ ๒ ในสงั ฆคุณ ๙)ทําคืนอาบัติ หรือมีความเห็นช่ัวราย อุฏฐานสัญญามนสิการ ทําในพระทัย(ทิฏฐิบาป) ไมยอมสละซ่ึงเปนทางเสยี ถงึ ความสาํ คญั ในอันท่จี ะลุกขึ้น, ตง้ั ใจสีลสามัญญตา หรือทิฏฐิสามัญญตา วา จะลุกขน้ึ อีกโดยยกเธอเสียจากการสมโภคกับสงฆ อุฏฐานสัมปทา ถึงพรอมดวยความคอื ไมใหฉ ันรว ม ไมใ หอ ยรู วม ไมใหม ี หม่ัน คือ ขยันหม่ันเพียรในการสิทธิเสมอกับภิกษุท้ังหลาย พูดงายๆ ประกอบอาชีพท่สี ุจริต ในการศึกษาเลาวา ถกู ตัดสิทธิแหงภิกษุชั่งคราว เรียน และในการทําธุระหนาที่การงานอุคคหนมิ ิต นิมติ ตดิ ตา หมายถงึ นมิ ติ รูจักใชปญญาสอดสอง หาวิธีจัดการ(อารมณกรรมฐาน) ที่นึกกําหนดจน ดําเนนิ การใหไ ดผลดี (ขอ ๑ ในทิฏฐ-แมนใจ หรือที่เพง ดูจนติดตาติดใจ แม ธมั มิกตั ถสังวัตตนกิ ธรรม ๔)หลับตากเ็ ห็น (ขอ ๒ ในนิมติ ๓) อุณหะ รอน, อุนอุคฆฏิตัญู ผูอาจรูไดฉับพลันแตพอ อุณหสิ กรอบหนา , มงกุฎทานยกหัวขอข้ึนแสดง คือมีปญญา อดุ รทวาร ประตูดา นเหนอืเฉียบแหลม พดู ใหฟ ง เพยี งหวั ขอ กเ็ ขา อดุ รทศิ ทศิ เบอื้ งซา ย, ทศิ เหนอื ; ดูอตุ ตรทสิ อุตกฤษฎ อยา งสูง, สูงสุด (พจนานุกรมใจ (ขอ ๑ ในบุคคล ๔)อุจจารธาตุ ในคาํ วา “โรคอุจจารธาตุ” เขียน อกุ ฤษฏ)หมายถงึ โรคทอ งเสยี ทองเดิน หรอื ทอง อุตตระ ดู โสณะรว ง อุตตรทสิ ”ทศิ เบอ้ื งซา ย” หมายถงึ มิตร;อจุ เฉททฏิ ฐิ ความเหน็ วาขาดสญู เชน ดู ทศิ หก

อตุ ตรนิกาย ๕๕๓ อุทกุกเขปอตุ ตรนิกาย ดู อตุ รนกิ าย มหายาน ใชภาษาสันสกฤตอุตตรนิคม ช่ือนคิ มหนึง่ ในโกลิยชนบท อุตราบถ “หนเหนอื ”, ดนิ แดนแถบเหนืออุตตรา อบุ าสกิ าสาํ คัญ มชี ื่อซ้าํ กนั ๒ ทา น ของชมพูทวปี ; คาํ อธิบาย ดู ทักขณิ าบถเรียกแยกกันดวยคําเติมขางหนา หรือ อุตราวัฏ ดู อตุ ตราวฏั ฏเตมิ ขางหลัง ไดแก ขุชชุตตรา (อุตตรา อตุ สาหะ ความบากบ่ัน, ความพยายาม,ผคู อ ม) กบั อตุ ตรานันทมารดา (อตุ ตรา ความขยัน, ความอดทนมารดาของนันทะ); ดู ขชุ ชุตตรา, นันท- อุตุ 1. ฤดู, ดินฟา อากาศ, สภาพแวดมารดา 2. ลอ ม, เตโชธาตุ, อุณหภูมิ, ภาวะรอนอตุ ตรานนั ทมารดา ดู นนั ทมารดา 2. เยน็ , ไออนุ 2. ระด,ูอตุ ตราวฏั ฏ เวยี นซาย, เวียนรอบโดย อุตกุ าล ช่วั ฤดูกาล, ชว่ั คราวหนั ขา งซา ย คือ เวียนเลีย้ วทางซา ยยอน อุตุชรูป ดูท่ี รูป ๒๘เขม็ นาฬกิ า (พจนานกุ รมเขยี น อตุ ราวฏั ); อุตปุ รณิ ามชา อาพาธา ความเจ็บไขเ กดิตรงขา มกบั ทกั ขณิ าวฏั ฏ แตฤดแู ปรปรวน, เจ็บปว ยเพราะดนิ ฟาอตุ ตราสงค ผาหม, เปน ผาผืนหนงึ่ ใน อากาศผันแปร; ดู อาพาธจํานวน ๓ ผืน ของไตรจีวร ไดแ ก ผนื ท่ี อทุ ก น้าํเรียกกันสามัญวา จีวร (พจนานุกรม อทุ กสาฏิกา ผาอาบ, เปน จีวรเปน อยางเขยี น อตุ ราสงค) หนึ่งในจวี ร ๕ อยา งของภิกษุณี; ดู สงั -อุตตริมนุสสธรรม ธรรมยวดยิ่งของ กัจฉกิ ะ ดวยมนุษย, ธรรมของมนุษยผูยอดย่ิง, อุทกกุ เขป เขตสามคั คีชวั่ วกั น้ําสาดแหงธรรมลํ้ามนุษย ไดแก ฌาน วิโมกข คนมอี ายแุ ละกาํ ลงั ปานกลาง หมายถงึ เขตสมาบตั ิ มรรคผล, บางทเี รยี กใหงา ยวา ชุมนุมทาํ สังฆกรรมทีก่ าํ หนดลงในแมน้ําธรรมวิเศษ บา ง คณุ วเิ ศษ หรือ คุณ หรอื ทะเล ชาตสระ (ท่ีขังน้ําเกิดเองตามพิเศษ บาง (พจนานกุ รมเขียน อตุ ริ- ธรรมชาติ เชน บงึ หนอง ทะเลสาบ)มนุสสธรรม) โดยพระภิกษุประชุมกันบนเรือ หรืออตุ รนกิ าย “นิกายฝา ยเหนือ” หมายถึง บนแพ ซงึ่ ผูกกับหลักในนา้ํ หรอื ทอดพระพุทธศาสนาอยางที่นับถือกันแพร สมออยูหางจากตลิ่งกวาชั่ววิดน้ําสาดหลายในประเทศฝายเหนือ มี จีน (หา มผกู โยงเรอื หรอื แพนน้ั กบั หลกั หรอืเกาหลี ญป่ี นุ เปน ตน ที่เรยี กตวั เองวา ตน ไมริมตลงิ่ และหามทาํ ในเรอื หรอื แพ

อทุ ทกดาบส ๕๕๔ อุทยพั พยญาณท่กี ําลงั ลอยหรอื เดนิ ); อทุ กุกเขปนี้ จัด รบั คํายกยอ งชมเชยจากพระพุทธเจาเปนอพทั ธสมี าอยา งหนึง่ อทุ เทสกิ เจดยี  เจดยี ส รา งอทุ ศิ พระพทุ ธ-อุททกดาบส อาจารยผูสอนสมาบัติที่ เจา, เจดียท่ีสรางเปนเคร่ืองเตือนจิตตพระมหาบุรุษเสด็จไปศึกษาอยูดวย ใหระลึกถึงพระพุทธเจา ไดแก พระคราวหน่ึง กอนที่จะทรงบําเพ็ญทุกร- พทุ ธรปู (ขอ ๔ ในเจดยี  ๔)กิริยา, ทานผูน้ีไดสมาบัติถึงข้ันเนว- อุทธรณ การยกขึน้ , การรือ้ ฟน, การขอสัญญานาสัญญายตนะ; เรียกเต็มวา รอ งใหร ือ้ ฟน ขึน้ , ขอใหพิจารณาใหมอทุ ทกดาบส รามบุตร อทุ ธโลมิ เครอ่ื งลาดท่มี ีขนตง้ัอุทเทศาจารย อาจารยผูบอกธรรม, อทุ ธงั โสโตอกนิฏฐคามี พระอนาคามีผูอาจารยส อนธรรม (ขอ ๔ ในอาจารย จะปรนิ พิ พาน ตอ เมอ่ื เลื่อนข้นึ ไปเกิดใน๔); คกู บั ธรรมันเตวาสิก ชน้ั สงู ข้นึ ไปจนถงึ ชัน้ อกนฏิ ฐะ (ขอ ๕อุทเทส ดู อุเทศ ในอนาคามี ๕)อุทเทสภัต อาหารอุทิศสงฆหรือภัตท่ี อุทธจั จะ ความฟุงซา น, จติ ตสาย, ใจทายกถวายตามทส่ี งฆแ สดงให หมายถงึ วอกแวก (พจนานกุ รมเขยี น อทุ ธจั );ของท่ีเขาถวายสงฆแตไมพอแจกทั่วกัน (ขอ ๙ ในสงั โยชน ๑๐ ตามนยั พระทานใหแ จกไปตามลําดับ เรม่ิ ตง้ั แตพระ อภธิ รรม); ดู เยวาปนกธรรมสงั ฆเถระลงมา ของหมดแคลําดับไหน อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุงซานและกาํ หนดไว เม่อื ของมมี าอีกจงึ แจกตอไป รําคาญ, ความฟุงซานและความเดือด ตง้ั แตลําดับทีค่ า งอยู อยางนีเ้ รื่อยไปจน รอ นใจ (ขอ ๔ ในนิวรณ ๕) ทั่วกนั แลวจึงเวยี นขนึ้ ตนใหมอีก; เทยี บ อุทธมั ภาคิยสังโยชน สงั โยชนเ บื้องสงู สงั ฆภตั ไดแก กิเลสผูกใจสัตวอยางละเอียดมีอทุ เทสวิภงั คสูตร ช่ือสตู รท่ี ๓๘ แหง ๕ คอื รปู ราคะ อรปู ราคะ มานะ อทุ ธจั จะ มชั ฌมิ นกิ าย อปุ รปิ ณ ณาสก พระสตุ ตนั ต- อวชิ ชา พระอรหนั ตจ งึ ละได; ดู สงั โยชน ปฎก พระพุทธเจาทรงแสดงเร่ือง อทุ ยมาณพ ศิษยคนหนง่ึ ในจํานวน ๑๖วญิ ญาณไวโดยยอ ภกิ ษุทงั้ หลายอยาก คนของพราหมณพาวรี ที่ไปทูลถามฟง โดยพสิ ดาร จงึ ขอใหพ ระมหากจั จายนะ ปญหากะพระศาสดา ทป่ี าสาณเจดียอธบิ ายความ พระมหากจั จายนะแสดง อุทยัพพยญาณ ปรีชาหย่ังรูความเกิดไดเนอื้ ความถกู ตองชัดเจนดมี าก จนได และความดบั แหง สงั ขาร; ดู อทุ ยพั พยา-

อุทยัพพยานุปสสนาญาณ ๕๕๕ อเุ ทศนปุ ส สนาญาณ หมญู าต”ิ , “พระเถระเดนิ ทางไกลจากเมอื งอุทยพั พยานุปส สนาญาณ ปรชี าคํานงึ สาวตั ถอี ทุ ศิ หมบู า นนน้ั ”, “นายวาณชิ ลงเห็นความเกิดและความดับแหงสังขาร, เรือออกมหาสมุทรอุทิศสุวรรณภูมิ”);ญาณที่มองเหน็ นามรปู เกิดดับ (ขอ ๑ ในภาษาไทย มักใชในความหมายท่ีในวิปส สนาญาณ ๙) สัมพันธกับประเพณีการทําบุญเพ่ือผูอุทยาน “สถานท่ซี ง่ึ ชนทงั้ หลายแหงนชม ลวงลบั หมายถงึ ตัง้ ใจทาํ การกศุ ลนัน้[ดอกไม และผลไม เปน ตน ]เดนิ ไป”, สวน โดยมุงใหเกิดผลแกผ ูตายที่ตนนกึ ถึงหลวงที่เปนสาธารณะ, สวนสาธารณะท่ี อุทิสสมังสะ เน้ือสัตวท่ีเขาฆาเจาะจงทางการบา นเมอื งจดั ดแู ล (บาล:ี อยุ ยฺ าน, เพ่อื ถวายภิกษุ ทานมิใหภิกษุฉนั , หากสนั สกฤต: อุทยฺ าน) ภกิ ษุฉนั ท้ังไดเ หน็ ไดยนิ หรอื สงสัยวาอุทร ทอ ง เขาฆาเพื่อถวายตน ตองอาบัติทุกกฏ;อทุ รยิ ะ อาหารใหม, อาหารที่รับประทาน ตรงขามกบั ปวตั ตมงั สะเขา ไปแลวอยูในทอ ง ในลาํ ไส กําลงั ผาน อเุ ทน พระเจา แผนดนิ แควนวังสะ ครงั้ กระบวนการยอย แตยังไมกลายเปน พทุ ธกาล ครองราชสมบตั อิ ยทู ก่ี รงุ โกสมั พี อุจจาระ อเุ ทนเจดยี  เจดยี สถานแหง หน่ึง อยูทางอทุ ัย การขน้ึ , การโผลข น้ึ , พระอาทิตย ทิศตะวันออกของเมืองเวสาลี นคร แรกข้นึ หลวงของแควนวัชชี เปนสถานที่แหงอทุ าน วาจาท่เี ปลง ขน้ึ โดยความเบกิ บาน หน่ึงท่ีพระพุทธเจาเคยทรงทํานิมิตตใจ มกั เปนขอความยาว ๑ หรือ ๒ คาถา; โอภาสแกพ ระอานนทในภาษาไทย หมายถงึ เสยี งหรอื คาํ ทเี่ ปลง อเุ ทศ การยกขึน้ แสดง, การยกขน้ึ ชีแ้ จง,ออกมาเวลาดใี จ แปลกใจ หรอื ตกใจ ขอทย่ี กขนึ้ แสดง, หวั ขอ , การเรียนการ เปน ตน สอน, การสวดปาฏโิ มกข, ปาฏโิ มกขท ยี่ กอุทาหรณ ตัวอยา ง, การอา งองิ , การยก ขน้ึ สวด, หมวดหนง่ึ ๆ แหง ปาฏโิ มกขท จ่ี ดัขน้ึ ใหเ ห็น ไวส าํ หรบั สวด, ในคาํ วา “สงฆม อี เุ ทศเดยี วอุทศิ เฉพาะ, เจาะจง, เพง เลง็ ถงึ , ทําเพอ่ื , กนั ” หมายความวา รว มฟง สวดปาฏโิ มกขหมายใจตอ , มงุ ใหแ ก, มุงไปยัง, มงุ ไปท่ี ดว ยกนั ; อเุ ทศในปาฏโิ มกขจ ดั โดยยอ มี(ดงั ตวั อยา งในประโยคตา งๆ วา “เขาออก ๕ คอื ๑. นทิ านทุ เทส ๒. ปาราชกิ ทุ เทสบวชอทุ ศิ พระพทุ ธเจา ”, “เธอใหท านอุทศิ ๓. สงั ฆาทเิ สสทุ เทส ๔. อนยิ ตทุ เทส ๕.

อุบล ๕๕๖ อุบาสกวติ ถารทุ เทส, อทุ เทสท่ี ๕ นนั้ รวมเอา กลวิธ,ี ไทยใชหมายถึง เลห เ หล่ียมดว ยนสิ สคั คยิ ทุ เทส ปาจติ ตยิ ทุ เทส ปาฏเิ ทส- อบุ าลี พระมหาสาวกองคห นึง่ เดิมเปนนยี ทุ เทส เสขยิ ทุ เทส และสมถทุ เทส เขา กัลบกของเจาศากยะ ไดออกบวชที่ไวด ว ยกนั ถา แยกออกนบั โดยพสิ ดารก็ อนุปยอัมพวัน พรอมกับพระอานนทจะเปน ๙ อทุ เทส การรจู กั อเุ ทศหรอื และพระอนรุ ทุ ธะ เปน ตน มอี ปุ ชฌายอุทเทสเหลาน้ีเปนประโยชนสําหรับการ ชื่อพระกัปปตก ครั้นบวชแลว เรียนตัดตอนสวดปาฏิโมกขยอไดในคราวจาํ กรรมฐาน จะไปอยูปา พระพุทธเจา ไมเปน ; ดู ปาฏโิ มกขย อ ทรงอนุญาต ทานเลาเรียนและเจริญอบุ ล บัว, ดอกบัว วปิ ส สนาไมช าก็สาํ เร็จพระอรหัต เปน ผูอุบลวรรณา พระมหาสาวิกาองคหน่ึง มีความรูความเขาใจเชี่ยวชาญในพระเปน ธดิ าเศรษฐใี นพระนครสาวตั ถี ไดช อ่ื วินยั มาก จนพระพทุ ธเจาทรงยกยอ งวาวา อบุ ลวรรณา เพราะมผี วิ พรรณดงั ดอก เปนเอตทัคคะในบรรดาภิกษุผูทรงพระนิลุบล (อบุ ลเขียว) มคี วามงามมาก จงึ วินัย (วินัยธร) พระอุบาลีเปนกําลังเปนที่ปรารถนาของพระราชาในชมพู- สําคัญในคราวทําปฐมสังคายนา คือทวีปหลายพระองค ตา งสง คนมาตดิ ตอ เปนผูวสิ ัชนาพระวินยัทานเศรษฐเี กดิ ความลําบากใจ จึงคดิ จะ อุบาสก ชายผนู ง่ั ใกลพระรัตนตรัย, คนใหธ ิดาบวชพอเปนอบุ าย แตนางเองพอ ใกลชิดพระศาสนา, คฤหัสถผูชายท่ีใจในบรรพชาอยูแลวจึงบวชเปนภิกษุณี แสดงตนเปนคนนับถือพระพุทธศาสนาดวยศรัทธาอยางจริงจัง คราวหน่ึงอยู โดยประกาศถงึ พระรตั นตรยั เปน สรณะเวรจดุ ประทปี ในพระอโุ บสถ นางเพงดู ปฐมอบุ าสกผูถึงสรณะ ๒ ไดแกเปลวประทีปถือเอาเปนนิมิตเจริญฌาน ตปุสสะและภัลลิกะ ปฐมอุบาสกผูถึงมีเตโชกสิณเปนอารมณไดบรรลุพระ ไตรสรณะ คือบดิ าของพระยสะอรหตั ไดรับยกยอ งวาเปนเอตทัคคะใน อุบาสกผูเปนอริยสาวก ไดรับยกทางแสดงฤทธิ์ไดตางๆ และเปนอัคร- ยอ งเปนเอตทคั คะ รวม ๑๐ ตาํ แหนงสาวิกาฝายซา ย เชน ตปสุ สะและภัลลิกะ สองวาณิช เปนอุบัติ เกิดข้นึ , กาํ เนิด, เหตุใหเ กดิ เอตทัคคะ ในบรรดาอุบาสกสาวกผูถงึอบุ าทว ดู อปุ ทวะ สรณะเปนปฐม สุทัตตะอนาถปณฑิก-อบุ าย วธิ สี าํ หรบั ประกอบ, หนทาง, วธิ กี าร, คหบดี เปน เอตทัคคะ ในบรรดาอุบาสก

อบุ าสกธรรม ๕๕๗ อุโบสถสาวกผูเ ปน ทายก เอยี งดว ยชอบหรอื ชงั , ความวางใจเฉยไดอุบาสกท่ีพระพุทธเจาตรัสยกยอง ไมยินดียินราย เมอ่ื ใชปญ ญาพิจารณาวา เปน “ตลุ า” คือเปนตราชู หรือเปน เห็นผลอันเกิดขึ้นโดยสมควรแกเหตุแบบอยางสําหรับอบุ าสกทัง้ หลาย เปน และรวู าพึงปฏิบัติตอ ไปตามธรรม หรอือคั รอบุ าสก ๒ ทาน ไดแก จิตต- ตามควรแกเหตุน้ัน, ความรูจักวางใจ คฤหบดี และเจา ชายหตั ถกะอาฬวกะ; ดู เฉยดู เมื่อเห็นเขารับผิดชอบตนเองได ตลุ า, เอตทคั คะ หรือในเมื่อเขาควรตองไดรับผลอันสมอบุ าสกธรรม ดู สมบัติของอบุ าสก ควรแกความรับผิดชอบของเขาเอง,อุบาสิกา หญิงผูน่ังใกลพระรัตนตรัย, ความวางทีเฉยคอยดูอยูในเมื่อคนนั้นๆคนใกลชิดพระศาสนาท่ีเปนหญิง, สิ่งน้ันๆ ดํารงอยหู รอื ดําเนนิ ไปตามควรคฤหัสถผูหญิงที่แสดงตนเปนคนนับถือ ของเขาตามควรของมนั ไมเขา ขางไมต กพระพุทธศาสนา โดยประกาศถึงพระ เปน ฝกฝาย ไมส อดแส ไมจ ูจี้สาระแนรตั นตรยั เปน สรณะ ไมกาวกา ยแทรกแซง (ขอ ๔ ในพรหม-ปฐมอบุ าสิกา ไดแก มารดา (นาง วหิ าร ๔, ขอ ๗ ในโพชฌงค ๗, ขอสุชาดา) และภรรยาเกาของพระยสะ ๑๐ ในบารมี ๑๐, ขอ ๙ ในวิปส สน-ู อุบาสกิ าผูเปนอรยิ สาวกิ า ไดรับยก ปกเิ ลส ๑๐) 2. ความรูสกึ เฉยๆ ไมส ุขยองเปนเอตทัคคะ รวม ๑๐ ตําแหนง ไมทุกข เรียกเต็มวา อเุ บกขาเวทนา (=เชน นางสุชาดา เปน เอตทคั คะในบรรดา อทุกขมสขุ ); (ขอ ๓ ในเวทนา ๓)อุบาสิกาสาวิกาผูถ ึงสรณะเปนปฐม นาง อโุ บสถ 1. การสวดปาฏโิ มกขข องพระวิสาขา เปน เอตทคั คะในบรรดาอบุ าสิกา สงฆทุกก่ึงเดือน เปนเครื่องซักซอมสาวกิ าผูเปนทายิกา ตรวจสอบความบริสุทธิ์ทางวินัยของอุบาสิกาท่ีพระพุทธเจาตรัสยกยอง ภิกษุท้ังหลาย และท้ังเปนเคร่ืองแสดงวาเปน “ตลุ า” คอื เปนตราชู หรือเปน ความพรอ มเพรยี งของสงฆด ว ย, อโุ บสถแบบอยางสําหรบั อบุ าสิกาท้งั หลาย เปน เปนสังฆกรรมที่ตองทําเปนประจําอัครอุบาสิกา ๒ ทาน ไดแ ก ขุชชุตตรา สมาํ่ เสมอและมกี าํ หนดเวลาทแ่ี นน อน มีและเวฬุกัณฏกีนันทมารดา; ดู ตุลา, ชอื่ เรยี กยอ ยออกไปหลายอยา ง การทําเอตทัคคะ อุโบสถจะมีการสวดปาฏิโมกขไดตอเม่ืออุเบกขา 1. ความวางใจเปนกลาง ไมเอน มีภกิ ษุครบองคสงฆจ ตุวรรค คอื ๔ รปู

อโุ บสถ ๕๕๘ อโุ บสถขึ้นไป ถา สงฆค รบองคกําหนดเชนน้ีทํา น้ี เรียกวา ปุคคลอุโบสถ หรืออโุ บสถ เรียกวา สังฆอุโบสถ (มีราย อธษิ ฐานอุโบสถ; อโุ บสถทีท่ าํ ในวันแรมละเอียดวิธีปฏิบัติตามพุทธบัญญัติใน ๑๔ คา่ํ เรยี กวา จาตทุ สกิ - ทาํ ในวนั ข้นึ หรือแรม ๑๕ คาํ่ เรยี กวา ปณณรสกิ -อุโปสถขันธกะ, วินย.๔/๑๔๗/๒๐๑); ทาํ ในวนั สามัคคี เรยี กวาสามัคคอี ุโบสถ 2. อุโบสถ คือ การอยูจ ํารักษาองค ๘ ท่ีในกรณที ีม่ ภี ิกษุอยใู นวัดเพยี ง ๒ หรือ โดยทั่วไปเรียกกันวา ศลี ๘ ของอุบาสก อุบาสิกา นั้น จําแนกไดเปน ๓ ประเภท๓ รปู เปน เพยี งคณะ ทานใหบ อกความ คือ ๑. ปกติอุโบสถ อุโบสถท่ีรกั ษาตาม ปกติช่ัววนั หน่งึ กบั คนื หน่งึ ปจ จบุ ันนยิ มบริสุทธ์ิแกกันและกันแทนการสวดปาฏิ-โมกข เรยี กอโุ บสถนว้ี า คณอโุ บสถ หรอื รกั ษากนั เฉพาะในวันขึ้นและแรม ๘ คํ่าปารสิ ทุ ธอิ โุ บสถ กลา วคอื ถา มี ๓ รปูพึงใหรูปท่ีสามารถต้ังญัตตวิ า “สุณนตฺ ุ วนั จันทรเพญ็ คอื ขน้ึ ๑๕ ค่าํ และวันเม อายสฺมนฺตา, อชฺชโุ ปสโถ ปณฺณรโส, จันทรด ับ คือ แรม ๑๕ คํา่ หรือ ๑๔ยทายสมฺ นฺตาน ปตฺตกลฺล, มย อฺ- ค่ํา (ปกติอโุ บสถอยา งเตม็ มี ๘ วนั คอืมฺํ ปาริสุทฺธิอุโปสถ กเรยฺยาม.” วัน ๕ ค่าํ ๘ คาํ่ ๑๔ คํ่า และ ๑๕ คํ่า(ปณฺณรโส คือ ๑๕ คํา่ ถา ๑๔ ค่าํ ของทุกปกษ ถาเดือนขาดรักษาในวัน แรม ๑๓ คา่ํ เพมิ่ ดว ย) ๒. ปฏชิ าคร-เปลย่ี นเปน จาตุททฺ โส) จากนัน้ ทง้ั สาม อุโบสถ อุโบสถของผูตื่นอยู (คือผู กระตือรือรนขวนขวายในกุศล ไมหลับรูปพึงบอกความบริสุทธิ์ของตนไปตามลาํ ดบั พรรษา (พระเถระวา “ปรสิ ทุ โฺ ธ อห ใหลดว ยความประมาท) ไดแ ก อุโบสถอาวโุ ส, ปรสิ ทุ โฺ ธติ ม ธาเรถ” วา ๓ ครงั้ ;รปู อนื่ เปล่ียน อาวโุ ส เปน ภนเฺ ต), ถา มี ทร่ี กั ษาครั้งหน่งึ ๆ ถงึ ๓ วัน คือ รักษา๒ รูป ไมต อ งตัง้ ญัตติ เพียงบอกความ ในวันอุโบสถตามปกติ พรอ มทง้ั วันกอ นบริสุทธิ์ของตนแกกัน (พระเถระวา และวนั หลงั ของวนั นนั้ ซง่ึ เรยี กวา วนั รบั“ปริสุทฺโธ อห อาวุโส, ปริสุทฺโธติ ม และวันสงดว ย เชน อโุ บสถท่ีรกั ษาในธาเรห”ิ วา ๓ คร้งั ; รูปทอ่ี อนพรรษา วัน ๕ คํ่า มวี ัน ๗ คาํ่ เปน วันรบั วัน ๙เปลี่ยน อาวโุ ส เปน ภนเฺ ต และเปลยี่ นธาเรหิ เปน ธาเรถ); ถา มีภกิ ษุอยูในวดั ค่าํ เปนวันสง (เดอื นหนงึ่ ๆ จะมวี ันรับรปู เดียว ทานใหท ําเพยี งอธษิ ฐาน คอื ต้งั และวนั สง รวม ๑๑ วนั , วนั ทม่ี ิใชวนัใจกาํ หนดจิตวา วนั นเ้ี ปน อโุ บสถของเรา(“อชฺช เม อโุ ปสโถ”) อโุ บสถทที่ ําอยา ง อุโบสถ ในเดือนขาดมี ๑๐ วนั เดอื น

อโุ บสถกรรม ๕๕๙ อุปกเิ ลสเต็ม ๑๑ วนั ) ๓. ปาฏิหารยิ อโุ บสถ เดอื นขาด), สําหรบั คฤหสั ถ คอื วนั พระอโุ บสถทีพ่ งึ นําไปซา้ํ อกี ๆ หรอื ยอนกลบั ไดแ ก วันขึ้นและแรม ๘ คาํ่ วันจนั ทรไปนําเอามาทํา คือรักษาใหเปนไปตรง เพญ็ และวนั จนั ทรด บั 4. สถานทสี่ งฆท าํตามกําหนดดังที่เคยทํามาเปนประจําใน สงั ฆกรรม เรยี กตามศพั ทว า อโุ ปสถาคารแตละป หมายความวา ในแตล ะปม ีชวง หรอื อุโปสถัคคะ (โรงอโุ บสถ), ไทยมกัเวลาท่ีกาํ หนดไวเฉพาะที่จะรกั ษาอโุ บสถ ตดั เรยี กวา โบสถประเภทน้ี อยา งสามัญ ไดแ ก อโุ บสถที่ อุโบสถกรรม การทําอุโบสถ; ดู อโุ บสถรกั ษาเปนประจําตลอด ๓ เดือน ใน อุโบสถศีล ศีลทีร่ ักษาเปน อโุ บสถ หรือพรรษา (อยางเตม็ ไดแ กรักษาตลอด ๔ ศลี ท่ีรกั ษาในวนั อโุ บสถ ไดแ ก ศลี ๘ ที่เดอื น แหง ฤดูฝน คือ แรม ๑ คํา่ เดือน อุบาสกอุบาสิกาสมาทานรักษาเปนการ๘ ถงึ ขึ้น ๑๕ คํา่ เดอื น ๑๒, ถา ไม จาํ ศลี ในวนั พระ คือขึน้ และแรม ๘ ค่ําสามารถรักษาตลอด ๔ เดือน หรอื ๓ ๑๕ คาํ่ (แรม ๑๔ คาํ่ ในเดอื นขาด)เดอื น จะรักษาเพียง ๑ เดอื น ระหวา ง อุปกะ ช่ืออาชีวกผูหนึ่งซ่ึงพบกับพระวันปวารณาท้ังสอง คอื แรม ๑ คํา่ พุทธเจาในระหวา งทาง ขณะทีพ่ ระองคเดอื น ๑๑ ถงึ ข้นึ ๑๕ คํ่า เดอื น ๑๒ ก็ เสดจ็ จากพระศรมี หาโพธไิ์ ปยงั ปา อสิ ปิ ตน-ได, อยางตาํ่ สดุ พงึ รกั ษาก่งึ เดือนตอ จาก มฤคทายวัน เพื่อโปรดพระปญจวัคคยี วันปวารณาแรกไป คอื แรม ๑ คํา่ อุปการะ ความเกอื้ หนุน, ความอดุ หนนุ ,เดือน ๑๑ ถึง แรม ๑๔ คาํ่ เดือน ๑๑); การชวยเหลอือยางไรก็ตาม มติในสวนรายละเอียด อปุ กิเลส โทษเครอ่ื งเศราหมอง, สงิ่ ที่ทาํเกี่ยวกับอุโบสถ ๒ ประเภทหลังนี้ จติ ตใ จใหเศราหมองขนุ มวั รับคุณธรรมคัมภีรตางๆ ยังแสดงไวแตกตางไมลง ไดยาก มี ๑๖ อยา ง คอื ๑. อภิชฌา-กนั บาง ทานวา พอใจอยางใด กพ็ งึ ถอื วิสมโลภะ ละโมบ จอ งจะเอาไมเลอื กเอาอยา งนน้ั เพราะแทจริงแลว จะรกั ษา ควรไมควร ๒. โทสะ คิดประทษุ รา ยอุโบสถในวันใดๆ ก็ใชได เปน ประโยชน ๓. โกธะ โกรธ ๔. อุปนาหะ ผกู โกรธทั้งน้ัน แตถารักษาไดในวันตามนิยมก็ ไว ๕. มักขะ ลบหลคู ุณทา น ๖. ปลาสะยอมควร 3. วนั อโุ บสถสําหรับพระสงฆ ตเี สมอ ๗. อิสสา รษิ ยา ๘. มัจฉริยะคือ วันจนั ทรเ พญ็ (ขนึ้ ๑๕ คาํ่ ) และวนั ตระหน่ี ๙. มายา เจาเลห  ๑๐. สาเถยยะจนั ทรด บั (แรม ๑๕ คาํ่ หรอื ๑๔ คาํ่ เมอื่ โออ วด ๑๑. ถมั ภะ หวั ดอ้ื ๑๒. สารมั ภะ

อปุ กิเลสแหงวิปสสนา ๕๖๐ อุปธิแขง ดี ๑๓. มานะ ถือตวั ๑๔. อตมิ านะ บุรุษวัยกลางคนมีกาํ ลังดนี ัน้ แหละ ยืนดหู มนิ่ ทา น ๑๕.มทะ มวั เมา ๑๖. ปมาทะ อยทู เี่ ขตบา นนนั้ โยนกอ นดนิ ไปเตม็ กาํ ลงั กอ นดนิ ตกเปน เขตอปุ จารบา น; สมี าท่ีเลนิ เลอ หรอื ละเลยอุปกิเลสแหงวิปสสนา ดู วิปสสนูป- สมมตเิ ปน ตจิ วี ราวปิ ปวาสนน้ั จะตอ งเวนกเิ ลส บานและอุปจารบานดังกลาวน้ีเสียจึงจะอุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน ไดแก สมมตขิ น้ึ คอื ใชเ ปน ตจิ วี ราวปิ ปวาสสมี ากรรมทเ่ี ปน กุศลก็ดี ทเี่ ปนอกศุ ลก็ดี ซึ่ง ได; ดู ตจิ วี ราวปิ ปวาสสมี า ดว ยมีกําลังแรง เขาตัดรอนการใหผลของ อุปจารภาวนา ภาวนาขน้ั จวนเจียน คือชนกกรรม หรอื อปุ ตถัมภกกรรม ทต่ี รง เจริญกรรมฐานถึงขั้นเกิดอุปจารสมาธิขา มกบั ตนเสีย แลว ใหผลแทนท่ี (ขอ ๘ (ขอ ๒ ในภาวนา ๓)ในกรรม ๑๒) อุปจารสมาธิ สมาธิจวนจะแนวแน,อปุ จาร เฉยี ด, จวนเจยี น, ทใ่ี กลช ดิ , สมาธิที่ยังไมดิ่งถึงท่ีสุด เปนข้ันทําใหระยะใกลเ คยี ง, ชาน, บรเิ วณรอบๆ; ดงั กเิ ลสมีนิวรณเปนตนระงับ กอ นจะเปนตวั อยา งคาํ ทวี่ า อปุ จารเรอื น อปุ จารบา น อัปปนา คือถึงฌาน (ขอ ๑ ในสมาธิ ๒,แสดงตามท่ที า นอธิบายในอรรถกถาพระ ขอ ๒ ในสมาธิ ๓)วนิ ยั ดงั น้ี อปุ จารแหงสงฆ บรเิ วณรอบๆ เขตสงฆ อาคารที่ปลูกขึ้นรวมในแคระยะน้ํา ชุมนุมกันตกที่ชายคาเปนเรือน, บริเวณรอบๆ อุปฐาก ดู อปุ ฏ ฐากเรือนซึ่งกําหนดเอาที่แมบานยืนอยูที่ อปุ ตสิ สะ ดู สารีบตุ รประตูเรือนสาดน้ําลางภาชนะออกไป อุปติสสปริพาชก คําเรยี กพระสารีบตุ รหรือแมบานยืนอยูภายในเรือน โยน เมื่อบวชเปนปริพาชกอยูในสํานักกระดงหรือไมกวาดออกไปภายนอก ของสญชัยตกที่ใด ระยะรอบๆ กําหนดนั้นเปน อุปถัมภ การค้ําจุน, เครื่องค้ําจุน,อุปจารเรือน อุดหนนุ , ชวยเหลือ, หลอ เล้ยี งบรุ ษุ วยั กลางคนมกี าํ ลงั ดี ยนื อยทู ี่ อุปธิ ส่ิงนุงนงั , สภาวะกลัว้ กิเลส, ส่ิงทีย่ งัเขตอปุ จารเรอื น ขวา งกอ นดนิ ไป กอ น ระคนดว ยกิเลส 1. รางกาย 2. สภาวะดนิ ทข่ี วา งนน้ั ตกลงทใี่ ด ทนี่ น้ั จากรอบๆ อันเปนท่ีตั้งท่ีทรงไวแหงทุกข ไดแกบรเิ วณอปุ จารเรอื น เปน กาํ หนด เขตบา น, กาม กเิ ลส เบญจขันธ และอภสิ งั ขาร

อปุ นาหะ ๕๖๑ อุปมา๓ขออปุ นาหะ ผกู โกรธไว, ผกู ใจเจ็บ (ขอ ๔ ทจี่ ะไปเกดิ คือ ในภพถัดไป (ขอ ๒ ในในอปุ กเิ ลส ๑๖) กรรม ๑๒)อุปนิสัย ความประพฤตทิ ีเ่ คยชินเปนพน้ื อปุ ปตติเทพ “เทวดาโดยกําเนิด” ไดแ กมาในสันดาน, ความดีท่ีเปนทนุ หรือเปน พวกเทวดาในกามาพจรสวรรคและ พ้ืนอยูในจิตต, ธรรมที่เปนเครื่อง พรหมทั้งหลาย (ขอ ๒ ในเทพ ๓) อุดหนุน อุปปฬกกรรม “กรรมบีบคั้น” ไดแกอุปนิสินนกถา “ถอยคําของผูเขาไปนั่ง กรรมทเี่ ปน กศุ ลกด็ ี อกศุ ลกด็ ี ซง่ึ บบี คน้ัใกล”, การน่ังคุยสนทนาอยางกันเอง การใหผ ลแหง ชนกกรรมและอปุ ต ถมั ภก-หรอื ไมเ ปน แบบแผนพธิ ี เพอ่ื ตอบคําซัก กรรม ท่ตี รงขามกบั ตน ใหแปรเปลย่ี น ถาม แนะนําช้ีแจง ใหคาํ ปรึกษา เปนตน ไป เชน ถาเปนกรรมดกี ็บีบคั้นใหอ อ นอปุ บารมี บารมขี ัน้ รอง, บารมขี น้ั จวนสงู ลง ไมใหไดร ับผลเตม็ ท่ี ถาเปนกรรมช่วัสุด คือ บารมที บ่ี ําเพญ็ ย่งิ กวา บารมีตาม กเ็ กยี ดกนั ใหท เุ ลา (ขอ ๗ ในกรรม ๑๒)ปกติ แตยังไมถึงสุดที่จะเปนปรมัตถ- อุปมา ขอความทน่ี าํ มาเปรยี บเทียบ, การ บารมี เชน สละทรพั ยภ ายนอกเปน ทาน อางเอามาเปรยี บเทยี บ, ขอเปรยี บเทียบ บารมี สละอวัยวะเปนทานอุปบารมี อุปมา ๓ ขอ ขอ เปรยี บเทยี บ ๓ ประการ สละชวี ติ เปน ทานปรมตั ถบารมี; ดู บารมี ที่ปรากฏแกพระโพธิสัตว เมื่อจะทรงอปุ ปถกิรยิ า การทํานอกรตี นอกรอยของ บําเพ็ญเพียรที่ตําบลอุรุเวลาเสนานิคมสมณะ, ความประพฤตินอกแบบแผน คือของภกิ ษสุ ามเณร ทานจดั รวมไวเปน ๓ ๑. ไมส ดชมุ ดว ยยาง ท้ังต้งั อยูในประเภท คอื ๑. อนาจาร ประพฤติไมดี นา้ํ จะเอามาสีใหเ กดิ ไฟ กม็ ีแตจ ะเหน่อื ยไมง าม และเลน ไมเหมาะสมตางๆ ๒. เปลา ฉนั ใด สมณพราหมณ ท่ีมกี ายยงัปาปสมาจาร ความประพฤติเลวทราม ไมหลีกออกจากกาม ยังมีความพอใจคือ คบหากบั คฤหัสถใ นทางทไี่ มส มควร หลงใหลกระหายกาม ละไมไ ด ถึงจะไดทาํ ตนเปนกลุ ทสู ก ๓. อเนสนา หาเลยี้ ง เสวยทุกขเวทนาท่ีเผด็ รอนแรงกลา อนัชีพในทางท่ีไมสมควร เชน เปน หมอ เกิดจากความเพยี รกต็ าม ไมไดเ สวยก็เสกเปาใหห วย เปนตน ตาม กไ็ มค วรทจี่ ะตรัสรู ฉนั นัน้อปุ ปลวัณณา ดู อบุ ลวรรณา ๒. ไมส ดชุม ดวยยาง ต้งั อยูบ นบกอปุ ปชชเวทนยี กรรม กรรมใหผ ลในภพ ไกลจากนํา้ จะเอามาสีใหเ กิดไฟ กม็ ีแต

อปุ ไมย ๕๖๒ อุปสรรคจะเหนื่อยเปลา ฉนั ใด สมณพราหมณท ่ี อุปวาณะ พระมหาสาวกองคห นง่ึ เกิดในมีกายหลีกออกแลวจากกาม แตยังมี ตระกลู พราหมณผูมัง่ คง่ั ในนครสาวตั ถีความพอใจหลงใหลกระหายกาม ละไม ไดเห็นพระพุทธองคในพิธีถวายวัดพระได ถงึ จะไดเสวยทุกขเวทนาทเ่ี ผ็ดรอน เชตวนั เกดิ ความเลือ่ มใส จึงไดมาบวชแรงกลา อันเกิดจากความเพียรก็ตาม ในพระศาสนาและไดบรรลุอรหัตตผลไมไดเสวยก็ตาม ก็ไมควรท่ีจะตรัสรู ทานเคยเปนอุปฏฐากของพระพุทธองคฉนั น้นั แมในวันปรินิพพานพระอุปวาณะก็๓. ไมแหง เกราะ ทงั้ ต้ังอยบู นบก ถวายงานพดั อยเู ฉพาะพระพักตร เร่อื งไกลจากน้ํา จะเอามาสใี หเ กดิ ไฟยอมทาํ ราวเก่ียวกับทานปรากฏในพระไตรปฎกไฟใหป รากฏได ฉนั ใด สมณพราหมณ ๔–๕ แหง เชน เรอื่ งท่ที านสนทนากับที่มีกายหลีกออกแลวจากกาม ไมมี พระสารีบุตรเกี่ยวกับโพชฌงค ๗ความพอใจหลงใหลกระหายกาม ละ ประการ เปนตนกามไดแลว ถงึ จะไดเสวยทกุ ขเวทนาท่ี อุปสมะ ความสงบใจจากส่ิงที่เปนขาศึกเผ็ดรอนแรงกลา อันเกิดจากความเพยี ร แกค วามสงบ, การทาํ ใจใหส งบ, สภาวะก็ตาม ไมไดเ สวยกต็ าม กค็ วรท่จี ะตรัส อนั เปน ท่ีสงบ คือ นพิ พาน (ขอ ๔ ในรู ฉนั น้นั อธิษฐานธรรม ๔)เมื่อไดทรงพระดํารดิ ังน้ีแลว พระ อุปสมบท การใหกุลบุตรบวชเปนภิกษุโพธิสัตว จึงไดทรงเร่ิมบําเพ็ญทุกร- หรอื ใหก ลุ ธดิ าบวชเปน ภกิ ษณุ ,ี การบวชกิริยา ดังเรื่องที่มาในพระสูตรเปนอัน เปน ภิกษุ หรือภกิ ษุณ;ี ดู อุปสัมปทามาก มโี พธริ าชกุมารสูตร เปนตน แต อุปสมาธิฏฐาน ที่ม่ันคือความสงบ,มักเขา ใจกันผิดไปวา อุปมา ๓ ขอนี้ ธรรมที่ควรตั้งไวในใจใหเปนฐานที่ม่ันปรากฏแกพระโพธิสัตวหลังจากทรงเลิก คอื สนั ต,ิ ผมู คี วามระงบั กเิ ลสไดใ จสงบละการบําเพญ็ ทุกรกิรยิ า เปน ฐานทมี่ น่ั (ขอ ๔ ในอธิฏฐาน ๔); ดูอุปไมย ขอความที่ควรจะนําสิ่งอ่ืนมา อธษิ ฐานธรรมเปรียบเทียบ, ส่ิงท่ีควรจะหาสิ่งอื่นมา อุปสมานุสติ ระลึกถึงคุณพระนิพพานเปรยี บเทยี บ, ส่งิ ทถี่ ูกเปรียบเทียบ ซึ่งเปนที่ระงับกิเลสและกองทุกข (ขออุปริมทิส “ทศิ เบ้ืองบน” หมายถงึ สมณ- ๑๐ ในอนุสติ ๑๐)พราหมณ; ดู ทิศหก อปุ สรรค ความขัดของ, สง่ิ ท่เี ขาไปขัด

อปุ สมั บัน ๕๖๓ อปุ เสนวงั คนั ตบตุ รขอ ง, เครอ่ื งกีดกนั้ , สิง่ ขดั ขวาง ปญหาพยากรณปู สมั ปทา การอปุ สมบทอุปสัมบัน ผูไดรับอุปสมบทเปนภิกษุ ดวยการตอบปญหาของพระพุทธองคหรือภิกษุณแี ลว, ผูอ ปุ สมบทแลว ไดแ ก เปนวิธีท่ีทรงอนุญาตแกโสปากสามเณรภกิ ษแุ ละภกิ ษณุ ;ี เทยี บ อนุปสมั บัน ๕. ครธุ รรมปฏิคคหณูปสมั ปทา (หรอือุปสัมปทา การบวช, การบวชเปนภิกษุ อฏั ฐครุธรรมปฏคิ คหณปู สมั ปทา) การหรอื ภกิ ษณุ ;ี วธิ อี ปุ สมบททง้ั หมด ๘ อยา ง อุปสมบทดวยการรับครุธรรม ๘แตเ ฉพาะทีใ่ ชเปนหลักมี ๓ อยาง คอื ประการ เปนวิธีท่ีทรงอนุญาตแกพระ๑. เอหิภิกขอุ ปุ สมั ปทา การอปุ สมบท นางมหาปชาบดีโคตมี ๖. ทูเตนะ อุปสมั ปทา การอปุ สมบทดว ยทตู เปนดวยพระวาจาวา “จงเปนภิกษุมาเถิด”เปนวิธีทีพ่ ระพุทธเจาทรงบวชใหเ อง ๒. วิธีท่ีทรงอนุญาตแกนางคณิกา (หญิงตสิ รณคมนปู สัมปทา หรอื สรณคมนูป- โสเภณี) ช่ือ อัฑฒกาสี ๗. อฏั ฐวาจิกาสมั ปทา การอปุ สมบทดว ยถงึ ไตรสรณะ อปุ สมั ปทา การอุปสมบทมวี าจา ๘ คอืเปนวิธีท่ีทรงอนุญาตใหพระสาวกทําใน ทําดว ยญัตตจิ ตตุ ถกรรม ๒ ครั้งจากยุคตนพุทธกาล เมื่อคณะสงฆยังไม สงฆทั้งสองฝายคือจากภิกษุณีสงฆครั้งใหญน กั เมอื่ ทรงอนญุ าตวิธีที่ ๓ แลว หน่ึง จากภิกษุสงฆครั้งหน่ึง ไดแกก ารวธิ ีท่ี ๒ นก้ี เ็ ปลี่ยนใชสําหรับบรรพชา อุปสมบทของภิกษุณี ๘. ญัตติจตุตถ-สามเณร ๓. ญตั ตจิ ตตุ ถกมั มอปุ สมั ปทา กัมมอปุ สัมปทา (ขอ ๓. เดมิ )การอุปสมบทดวยญัตติจตุตถกรรม อปุ สมั ปทาเปกขะ บคุ คลผเู พง อปุ สมบทเปนวิธีท่ีทรงอนญุ าตใหสงฆท าํ ในเมื่อ คือผูม งุ จะบวชเปน ภิกษุ, ผขู อบวชนาคคณะสงฆเปนหมใู หญข ึน้ แลว และเปน อปุ สัมปทาเปกขา หญิงผูเพงอุปสัมปทาวิธีที่ใชสืบมาจนทุกวันนี้; วิธีอุปสมบท คอื ผขู อบวชเปนภกิ ษุณีอกี ๕ อยา งทเ่ี หลอื เปน วธิ ที ท่ี รงประทาน อุปสวี มาณพ ศิษยค นหน่งึ ในจาํ นวน ๑๖เปนการพิเศษจําเพาะบุคคลบาง ขาด คนของพราหมณพาวรี ที่ไปทูลถามตอนหมดไปแลว บาง ไดแ ก (จัดเรยี ง ปญ หากะพระศาสดา ทป่ี าสาณเจดียลาํ ดับใหม เอา ขอ ๓. เปนขอ ๘. ทาย อุปเสนวงั คนั ตบุตร พระมหาสาวกองคสุด) ๓. โอวาทปฏคิ คหณปู สมั ปทา การ หนึ่ง เปนบุตรพราหมณชื่อ วังคันตะอุปสมบทดวยการรับโอวาท เปนวิธีที่ มารดาช่อื นางสารี เปนนอ งชายของพระทรงอนุญาตแกพระมหากัสสปะ ๔. สารบี ตุ ร เกดิ ทหี่ มบู า นนาลกะ เตบิ โตขน้ึ

อปุ หัจจปรินิพพายี ๕๖๔ อุปฏ ฐานศาลาเรยี นไตรเพทจบแลว ตอ มาไดฟ งธรรม ปนู อุปช ฌายมีความเลื่อมใส จึงบวชในพระพุทธ- อปุ ช ฌายวัตร ธรรมเนียมหรือขอปฏบิ ัติศาสนา หลงั จากบวชได ๒ พรรษา จึง ท่ีสัทธิวิหาริก พึงกระทําตออุปชฌายสําเร็จพระอรหัต ทานออกบวชจาก ของตน, หนาท่ีตออุปชฌายโ ดยยอคือตระกูลใหญ มีคนรูจักมากและท้ังเปน เอาใจใสป รนนิบตั ิรับใช คอยศกึ ษาเลานกั เทศกท ี่สามารถ จึงมกี ุลบุตรเลือ่ มใส เรยี นจากทา น ขวนขวาย ปอ งกัน หรอืมาขอบวชดวยจํานวนมาก ตัวทานเอง ระงับความเสอ่ื มเสยี เชน ความคิดจะเปนผูถือธุดงค และสอนใหสัทธิวหิ าริก สึก ความเหน็ ผิด เปน ตน รักษานา้ํ ใจถอื ธุดงคด ว ย ปรากฏวาทงั้ ตวั ทา นและ ของทา น มคี วามเคารพ จะไปไหนบอก บริษัทของทานเปนที่เล่ือมใสของคนทั่ว ลาไมเท่ียวตามอําเภอใจและเอาใจใส ไปหมด จึงไดรับยกยองวาเปน พยาบาลเม่ือทานอาพาธ; เทียบ สัทธิ- เอตทัคคะในทางทําใหเกิดความเลือ่ มใส วหิ ารกิ วัตร ทั่วทุกดาน (คือไมเฉพาะตนเองนา อปุ ช ฌายาจารย อปุ ช ฌายแ ละอาจารย เลื่อมใส แมคณะศิษยก็นาเลื่อมใสไป อุปฏฐาก ผูบ ํารุง, ผูรบั ใช, ผูดแู ลความ หมด); อปุ เสนะวังคนั ตบุตร ก็เขยี น เปนอยู, ผูอุปถัมภบํารุงพระภิกษุอุปหัจจปรินิพพายี พระอนาคามีผูจะ สามเณร; ในพุทธกาล พระเถระมากปรนิ พิ พานตอ เม่ืออายพุ นกึ่งแลว คือจะ หลายรูปไดเปลี่ยนกันทําหนาท่ีเปนพระปรนิ พิ พาน เม่ือใกลจ ะสิน้ อายุ (ขอ ๒ อุปฏฐากของพระพุทธเจา จนกระทั่งใน อนาคามี ๕) พรรษาท่ี ๒๐ พระอานนทจ ึงไดร ับหนาอปุ ชฌาย, อปุ ชฌายะ “ผูเ พง โทษนอ ย ที่เปนพระอุปฏฐากประจําพระองคใหญ” หมายถึงผูรับรองกุลบุตรเขารับ (อรรถกถาใชค ําเรียกวา “นพิ ทั ธุปฏ ฐาก”)การอุปสมบทในทามกลางภิกษุสงฆ, สบื มา ๒๕ พรรษา จนสิน้ พุทธกาล;เปนทั้งผูนําเขาหมู และเปนผูปกครอง อปุ ฐากกเ็ ขยี น; ดูนพิ ทั ธปุ ฏ ฐาก,อานนทคอยดูแลผิดและชอบ ทําหนาท่ฝี กสอน อุปฏฐานศาลา หอฉัน, หอประชุม,อบรมใหก ารศกึ ษาตอไป; อุปช ฌายใ น อาคารสําคัญในวัด ท่ีกลาวถึงบอยในฝายภิกษณุ ี เรียกวา ปวตั ตนิ ี พระไตรปฎก โดยพ้ืนเดมิ เปน ศาลาโรงอุปชฌายมัตต ภิกษุผูพอจะเปน ฉนั หรือหอฉัน (โภชนศาลา) และขยายอปุ ช ฌายไ ด คือมีพรรษาครบ ๑๐, พระ มาใชเปนศาลาโรงประชุมหรือหอประชมุ

อปุ ฏ ฐายกิ า ๕๖๕ อปุ ต ถมั ภกกรรม(สันนบิ าตศาลา) ซ่ึงภิกษุทัง้ หลายมาเฝา อาคารอีกช่ือหนึ่งรองลงไป ท่ีภิกษุท้ังพระพุทธเจา ฟงพระองคแสดงธรรม หลายมักไปนั่งประชุมสนทนาธรรมกันและถกเถยี งสนทนาธรรมกัน ตลอดจน ซ่ึงบางคร้ังพระพุทธเจาก็เสด็จไปทรงไถวนิ จิ ฉยั ขอวินยั ตางๆ เปน สวนประกอบ ถามและทรงช้ีแจงอธิบาย ไดแกสําคัญในวิถีชีวิตของพระสงฆในยุค “มณั ฑลมาฬ” (โรงกลม) ซง่ึ เปน ศาลาท่ีพทุ ธกาล และเปน ทเ่ี กดิ ขน้ึ ของพทุ ธพจน นงั่ พกั หรอื เรยี กอยา งชาวบา นวา ศาลาที่เปน อนั มากในพระธรรมวนิ ยั , อปุ ฏ ฐาน- นงั่ เลน (นสิ ที นศาลา, อรรถกถาบางแหงศาลาเกิดมีขึ้นต้ังแตระยะแรกของ วาเปนอุปฏฐานศาลาเชน กัน) พระสตู รพุทธกาล สืบเน่ืองจากพุทธานุญาตให สําคัญบางสูตรก็เกิดขึ้นที่ศาลานั่งพักพระสงฆม เี สนาสนะเปน ทอี่ ยอู าศยั คอื แบบน้ี; ในช้ันอรรถกถา นิยมเรียกที่ในชวงปท่ี ๒-๓ แหงพุทธกิจ ขณะ ประชมุ ฟง พระธรรมเทศนาของพระพทุ ธประทับอยูท่ีพระเวฬุวัน เมืองราชคฤห เจา วา “ธรรมสภา” ดงั นน้ั อปุ ฏ ฐานศาลาคาํ รองขอของเศรษฐีแหงเมอื งราชคฤหท ่ี ของพระไตรปฎ ก จงึ มกั ปรากฏในอรรถ-มีศรัทธาจะสรางวิหารคือกุฎีท่ีพักอาศัย กถา ในชอื่ วา ธรรมสภา ดงั ทอ่ี รรถกถาถวายแกภ กิ ษทุ ง้ั หลาย ไดเ ปน เหตใุ หท รง บางแหง ไขความวา “คาํ วา ‘ในอปุ ฏ ฐาน-อนญุ าตเสนาสนะแกภ กิ ษทุ งั้ หลาย (วนิ ย. ศาลา’ หมายความวา ‘ในธรรมสภา๗/๒๐๐/๘๖) ตอ จากนนั้ กม็ พี ทุ ธบญั ญตั ิ มณฑป’” (อ.ุ อ.๑๒/๑๐๖); ดู ธรรมสภาเกย่ี วกบั สง่ิ กอ สรา งตา งๆ ในวดั รวมทง้ั อปุ ฏ ฐายกิ า อปุ ฏ ฐากทีเ่ ปน หญิงพุทธานุญาตหอฉันคืออุปฏฐานศาลานี้ อปุ ต ตเิ หตุ เหตทุ เี กดิ ขนึ้ , เหตกุ ารณท เ่ี กดิ(วินย.๗/๒๓๕/๙๘) แลว ในเวลาใกลเ คยี งตอ เชน ควรเทศนาใหเ หมาะแกอ ปุ ต ติเหตุจากนนั้ อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐกี ไ็ ดส รา งวดั คอื แสดงธรรมใหเ ขา กบั เรอ่ื งทีเ่ กิดขนึ้ ;พระเชตวันขึ้นที่เมืองสาวัตถี ในคํา บัดนเี้ ขียน อบุ ัติเหตุ และใชใ นความบรรยายการสรา งวดั พระเชตวนั นน้ั บอก หมายทต่ี างออกไปดว ยวา ไดส รา งอปุ ฏ ฐานศาลา โดยใชค าํ อปุ ต ถมั ภกกรรม กรรมสนบั สนนุ ไดแ กพหพู จน (อปุ ฏ านสาลาโย, วนิ ย.๗/๒๓๕/ กรรมทั้งที่เปนกุศลและอกุศลที่เขาชวย๙๘) ซง่ึ แสดงวา ทพี่ ระเชตวนั นน้ั มอี ปุ ฏ - สนับสนุนซ้ําเติมตอจากชนกกรรมฐานศาลาหลายหลงั , นอกจากอปุ ฏ ฐาน- เหมือนแมนมเล้ียงทารกท่ีเกิดจากผูอื่นศาลาแลว ตามเรื่องในพระไตรปฎก ถากรรมดีก็สนบั สนนุ ใหดีข้นึ ถากรรม

อุปทวะ ๕๖๖ อุปาลวิ งศช่วั กซ็ าํ้ เตมิ ใหเ ลวลงไปอกี (ขอ ๖ ใน อยา งนัน้ อยา งน้ี หรือจะตอ งเปน ไปเชนกรรม ๑๒) นัน้ เชน น้ีอุปท วะ อบุ าทว, ส่งิ เลวรายทก่ี อความ อุปาทานขันธ ขันธอันเปนท่ีต้ังแหงเดือดรอนหรือกีดกั้นขัดขวางไมใหเปน อุปาทาน, ขันธท ี่ประกอบดวยอปุ าทานอยูเปนไปดวยดี, บางทีพูดควบกับ ไดแก เบญจขนั ธ คือ รูป, เวทนา,อนั ตราย เปน อปุ ทวนั ตราย (อุปทวะ สญั ญา, สงั ขาร, วิญญาณ ท่ีประกอบและอันตราย) ดวยอาสวะอุปสสยะของภิกษุณี สวนท่ีอยูของ อปุ าทายรปู รปู อาศัย, รูปทเ่ี กดิ สบื เน่อื งภกิ ษุณี ต้งั อยใู นอาวาสที่มีภิกษอุ ยดู ว ย จากมหาภูตรปู , อาการของมหาภตู รูป มีแตอ ยูเอกเทศ ไมปะปนกบั ภกิ ษ;ุ เรยี ก ๒๔ อยาง; ดู รปู ๒๘ตามศัพทวา ภิกขุนูปสสยะ (สํานัก อุปาทิ 1. สภาพท่ถี กู กรรมกเิ ลสถอื ครอง, ภิกษณุ )ี สภาพทถี่ กู อปุ าทานยดึ ไวม นั่ , เบญจขนั ธอปุ าทาน ความถอื มน่ั , ความยดึ ตดิ ถอื คา ง 2. กิเลสเปนเหตุถือมั่น, ความยดึ ตดิ ถอืถอื คาไว (ปจ จบุ นั มกั แปลกนั วา ความยดึ มน่ั , อปุ าทานมนั่ ) ไมป ลอ ยไมว างตามควรแกเ หตผุ ล อุปาทินนกสังขาร สังขารที่กรรมครอบเนอื่ งจากตดิ ใครช อบใจหรอื ใฝปรารถนา ครอง พูดเขาใจกันอยางงายๆ วาอยา งแรง; ความถอื ม่นั ดว ยอํานาจกิเลส สงั ขารทม่ี ใี จครอง เชน คน สัตว เทวดามี ๔ คอื ๑. กามปุ าทาน ความถอื มน่ั ใน (ขอ ๑ ในสังขาร ๒)กาม ๒. ทิฏุปาทาน ความถือมั่นใน อปุ าทินนรูป,อปุ าทินนกรูป ดูที่รปู ๒๘ทิฏฐิ ๓. สีลัพพตุปาทาน ความถือมนั่ อปุ ายโกศล ดู โกศล ๓ในศีลและพรต ๔. อัตตวาทุปาทาน อปุ ายาส ความคบั แคน ใจ, ความสนิ้ หวงัความถือม่ันวาทะวา ตน; ตามสาํ นวนทาง อุปาลิปญจกะ ช่ือตอนหนึ่งในคัมภีรธรรม ไมใ ชค าํ วา “ถอื มน่ั ” หรอื “ยดึ มน่ั ” ปริวาร พระวนิ ยั ปฎ กกบั ความมนั่ แนว ในทางทดี่ งี าม แตใ ชค าํ วา อปุ าลิวงศ ชอื่ นกิ ายพระสงฆลงั กาที่บวช“ตง้ั มน่ั ” เชน ตงั้ มน่ั ในศลี ตง้ั มน่ั ในธรรม จากพระสงฆส ยาม (พระอบุ าลเี ปน หวั หนาต้งั มนั่ ในสจั จะ; ในภาษาไทย มักใช นาํ คณะสงฆไทยไปอุปสมบทกุลบุตรใน“อปุ าทาน” ในความหมายทแ่ี คบลงมาวา ประเทศลงั กา เมอ่ื พ.ศ. ๒๒๙๖ ในแผนยึดติดอยูกับความนึกคิดเอาเองวาเปน ดนิ พระเจา อยหู วั บรมโกษฐ สมยั อยธุ ยา

อปุ าสกัตตเทสนา ๕๖๗ตอนปลาย) เปดใชงาน ณ ที่น้ี พระสารีบุตรไดอุปาสกัตตเทสนา การแสดงความเปน แสดงสังคีติสูตร อันเปนตนแบบของอุบาสก คอื ประกาศตนเปน อบุ าสกโดย การสงั คายนาถงึ พระรัตนตรัยเปน สรณะ อุภโตพยัญชนก คนมที งั้ ๒ เพศอุปาหนา ดู รองเทา อุภโตภาควิมุต “ผูหลุดพน ทั้งสองสว น”อโุ ปสถขันธกะ ชอ่ื ขันธกะท่ี ๒ แหง คอื พระอรหันตผ ูบาํ เพ็ญสมถะมาเปนคมั ภีรม หาวรรค พระวนิ ยั ปฎก วา ดว ย อยา งมากจนไดส มาบตั ิ ๘ แลว จึงใชการทําอโุ บสถ คือ สวดปาฏโิ มกขและ สมถะนั้นเปนฐานบําเพ็ญวิปสสนาตอไปเรือ่ งสมี า จนบรรลุอรหตั ผล; หลดุ พน ท้ังสองสวนอุโปสถิกะ, อุโปสถิกภัต อาหารที่เขา (และสองวาระ) คอื หลดุ พนจากรูปกายถวายในวันอุโบสถ คอื วันพระ ในเดือน ดวยอรปู สมาบตั ิ (เปน วิกขมั ภนะ) หนหนึ่งสวี่ นั , เปน ของจําพวกสงั ฆภัตหรือ หนึ่งแลว จึงหลุดพนจากนามกายดวยอุทเทสภัตนั่นเอง แตมีกาํ หนดวันเฉพาะ อริยมรรค (เปนสมุจเฉท) อีกหนหน่ึง;คือ ถวายเน่อื งในวนั อโุ บสถ เทยี บ ปญ ญาวิมตุอุพพาหิกา กิรยิ าทีถ่ อนนาํ ไป, การเลือก อภุ โตสชุ าต เกดิ ดแี ลว ทง้ั สองฝา ย คอื ทง้ัแยกออกไป, หมายถงึ วธิ รี ะงบั ววิ าทาธกิ รณ ฝา ยมารดาทง้ั ฝา ยบดิ า หมายความวา มีในกรณีที่ที่ประชุมสงฆมีความไม สกลุ สงู เปน เชอื้ สายวรรณะนนั้ ตอ เนอ่ื งสะดวก ดวยเหตุอยางใดอยางหน่ึง กันมาโดยตลอด ท้ังฝายบิดาและฝายสงฆจึงเลือกภิกษุบางรูปในที่ประชุมน้ัน มารดา, เปน คณุ สมบตั ทิ พ่ี วกพราหมณต้ังเปนคณะ แลวมอบเร่ืองใหน าํ เอาไป และกษตั รยิ บ างวงศถ อื เปน สาํ คญั มากวินิจฉัย (เปน ทํานองตัง้ คณะกรรมการ อภุ ยตั ถะ ประโยชนท งั้ สองฝา ย, ประโยชน พิเศษ) รวมกัน, สิ่งที่เก้ือกูลแกสวนรวมเปนอุพภตกสัณฐาคาร ทองพระโรงชื่อ คุณแกชีวิตทั้งของตนและของผูอ่ืนอุพภตก เปนทองพระโรง หรือหอ ชวยใหเปนอยูกันดวยดีพากันประสบประชุมท่ีสรางข้ึนใหมของมัลลกษัตริย ทฏิ ฐธัมมิกตั ถะ สมั ปรายิกตั ถะ และปรแหงเมืองปาวา มัลลกษัตริยทูล มตั ถะ ยง่ิ ข้นึ ไป; ดู อัตถะอาราธนาพระพุทธเจาไปประทับพรอม อมุ มตั ตกสมมติ การทสี่ งฆส วดประกาศดวยภกิ ษสุ งฆ เพื่อเปน สริ ิมงคลกอนจะ ความตกลงใหถ อื ภกิ ษเุ ปน ผวู กิ ลจรติ ; ดทู ี่

อุยยานบาล, อทุ ยานบาล ๕๖๘ เอกเทศ ปกาสนียกรรม, อสมั มขุ ากรณีย มคธ ตงั้ อยู ณ ลุมแมน ้ําเนรญั ชรา เปนอยุ ยานบาล, อทุ ยานบาล คนเฝา อทุ ยาน, ภมู ิสถานท่สี งบนาร่นื รมย พระมหาบุรุษ เจา หนา ทด่ี แู ลรกั ษาอทุ ยาน; ดู อุทยาน ทรงเลอื กเปน ทบี่ าํ เพญ็ เพยี ร ไดป ระทบั อยูอุรุเวลกัสสป พระมหาสาวกองคหน่ึง ณ ทน่ี นี้ านถงึ ๖ ป ทรงบาํ เพญ็ ทกุ รกริ ยิ าเคยเปนนักบวชประเภทชฎิล นับถือ และเปลยี่ นมาทรงดาํ เนนิ ในมชั ฌมิ าปฏปิ ทาลัทธิบูชาไฟ ถือตัววาเปนพระอรหันต จนไดตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณสรางอาศรมสั่งสอนลัทธิของตนอยูใกล ภายใตร ม พระศรมี หาโพธิ์ ณ รมิ ฝง แมน า้ํฝงแมนํา้ เนรัญชรา ตําบลอรุ ุเวลา เพราะ เนรญั ชรา ในตาํ บลน้ีเหตุที่เปนชาวกัสสปโคตรและอยู ณ อุสสาวนันติกา กัปปยภูมิท่ีทําดวยการตําบลอรุ เุ วลา จงึ ไดชอ่ื วา อุรเุ วลกัสสป ประกาศ ไดแ ก กฎุ ที ภ่ี กิ ษทุ งั้ หลายตกลงทา นผนู เ้ี ปน คณาจารยใ หญท ช่ี าวราชคฤห กนั แตต น วา จะทาํ เปน กปั ปย กฎุ ี ในเวลานับถอื มาก มนี อ งสองคน คนหนงึ่ ชอ่ื ท่ที าํ พอชวยกนั ยกเสาหรอื ตงั้ ฝาทแี รกนทีกัสสป อกี คนหน่ึงชือ่ คยากสั สป ก็รองประกาศใหรูกันวา “กปฺปยกุฏึลวนเปนหัวหนาชฎิลต้ังอาศรมอยูถัด กโรม” ๓ หน (แปลวา “เราท้ังหลายทาํกนั ไปบนฝง แมน ํา้ เนรญั ชรา ไมห า งไกล กัปปย กฎุ ”ี ); ดู กัปปยภมู ิจากอาศรมของพี่ชายใหญ ตอมาพระ อสุ รี ธชะ ภเู ขาทกี่ นั้ อาณาเขตของมชั ฌมิ -พุทธเจาไดเสด็จมาทรงทรมานอุรุเวล- ชนบทดา นเหนือกัสสปดว ยอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ต า งๆ จนทา น อูเน คเณ จรณํ การประพฤติ (วัตร) ในชฎิลใหญคลายพยศ ยอมมอบตัวเปน คณะอนั พรอ ง คือ ประพฤตใิ นถนิ่ เชนพทุ ธสาวก ขอบรรพชา ทาํ ใหช ฎลิ ผนู อ ง อาวาส ทม่ี ปี กตตั ตภกิ ษไุ มค รบองคส งฆทั้งสองพรอมดวยบริวารออกบวชตาม คือไมถ ึง ๔ รูป แตท่นี ยิ มปฏิบัติกนั มาดว ยทง้ั หมด ครนั้ บวชแลว ไดฟ ง เทศนา ไมต าํ่ กวา ๕ รปู ; เปน เหตอุ ยา งหนึง่ ของอาทิตตปริยายสตู ร จากพระพทุ ธเจา ก็ รัตตเิ ฉทแหงมานตั ; ดู รัตติเฉทไดสําเร็จพระอรหัตท้ังสามพ่ีนองพรอม อรู ุ ขาออ น, โคนขาดว ยบรวิ ารทงั้ หมดหนงึ่ พนั องค พระอรุ -ุ เอกฉันท มีความพอใจอยางเดียวกัน, เวลกัสสปไดรับยกยองเปนเอตทคั คะใน เห็นเปน อยา งเดียวกนั หมด ทางมบี รษิ ทั ใหญ คือ มบี ริวารมาก เอกเทศ ภาคหนึ่ง, สว นหน่งึ , เปนสวนอรุ เุ วลา ชอ่ื ตาํ บลใหญแ หง หนง่ึ ในแควน หน่ึงตา งหาก

เอกพีชี ๕๖๙ เอกเสสนัยเอกพีชี ผมู ีพชื คอื อัตภาพอนั เดียว หมาย หรอื เหลอื ไวศ พั ทเ ดยี ว เชน ก) เปน ทร่ี ู ถึง พระโสดาบันซง่ึ จะเกิดอีกครัง้ เดียวก็ กนั ดวี า คพู ระอคั รสาวกคอื ใคร ดงั นนั้ ใน จะบรรลุพระอรหัตตผลในภพท่ีเกิดขึ้น คาํ สมาสบาลี เมอ่ื ระบนุ ามพระอคั รสาวก (ขอ ๑ ในโสดาบนั ๓, บางแหง ทานจัด องคเ ดยี วแตเ ปน พหพู จนว า สารปิ ตุ ตฺ า กลบั เปนขอ ๓) “พระสารบี ตุ รทงั้ หลาย” กเ็ ปน อนั รวมอกีเอกภณั ฑะ ทรัพยส งิ่ เดียวซงึ่ มรี าคาเพียง องคหน่ึงท่ีไมไดระบุดวย จึงหมายถึง พอที่จะเปน วัตถแุ หง ปาราชกิ พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะเอกภตั ติกะ ผูฉนั ภตั เดียว คือ ฉนั วันละ ข) ตามสาํ นวนวธิ อี ธิบายธรรม เชน ใน มอื้ เดยี ว เฉพาะมอื้ เชา กอ นเทยี่ งวนั ; เทยี บ หลกั ปฏจิ จสมปุ บาท คาํ วา นามรปู เปน เอกาสนกิ ะ;ดู ฉนั มอ้ื เดยี ว เอกเสส หมายถงึ นามหรอื รปู หรอื ทง้ัเอกวจนะ คาํ กลา วถึงสงิ่ ของสิง่ เดยี ว นามและรปู คาํ วา สฬายตนะ กเ็ ปนเอกโวการ, เอกโวการภพ ดู โวการ เอกเสส หมายถงึ อายตนะท่ี ๖ กไ็ ดเอกสทิ ธิ สทิ ธพิ ิเศษ, สิทธโิ ดยเฉพาะ อายตนะทง้ั ๖ กไ็ ด ดงั นนั้ เมอื่ พดู วาเอกเสสนยั อาการกาํ หนดดว ยเหลอื ศพั ท นามรูปเปนปจจัยใหเกดิ สฬายตนะ ถา เดยี ว, เปน วธิ กี ารอยา งหนง่ึ ในไวยากรณ พดู ถงึ อรปู ภพ กรณกี บ็ งั คบั ใหต อ งแปล บาลี กลา วคอื บคุ คล วตั ถุ หรอื ภาวะ ความวา นามเปน ปจ จยั ใหเ กดิ อายตนะท่ี บางอยาง เปนของควบคกู นั มาดวยกัน ๖ (คอื มโน) ค) ในสาํ นวนนยิ มทางภาษา เสมอ เมอื่ เหน็ อยา งหนงึ่ กเ็ ปน อนั รถู งึ อกี อยา งในภาษาบาลี คาํ พดู บางคาํ มคี วาม อยา งหนง่ึ ดว ย หรอื เปน ของชดุ เดยี วกนั หมายกวา ง หมายถงึ สงิ่ ของหรอื สภาวะ จาํ พวกเดยี วกัน เมอ่ื เรยี กชอ่ื อยา งหนงึ่ สองสามอยางที่ถือไดวาเปนชุดเดียวกัน จะหมายถึงอยางหนึ่งอยางใดในชุดหรือ เชน สคุ ติ หมายถงึ โลกสวรรคก ไ็ ด โลก ในจาํ พวกนนั้ กไ็ ด ในกรณเี ชน น้ี บางที มนษุ ยก ไ็ ด (สวรรคก บั มนษุ ยอ ยใู นชดุ ที่ ทา นกลา วถึงหรอื ออกช่ือไวอยางใดอยา ง เปนสุคติดวยกัน) เม่ืออยางหน่ึงในชุด หนงึ่ แตเ พยี งอนั เดยี ว ใหผ อู า นหรอื ผฟู ง นน้ั มคี าํ เฉพาะระบชุ ดั แลว คาํ ทมี่ คี วาม หมายรอู กี อยางหน่ึงดว ย หรอื ใหเขาใจ หมายกวา ง กย็ อ มหมายถงึ อกี อยา งหนงึ่ เอาเอง จากขอ ความแวดลอ มวา ในทนี่ น้ั ในชดุ นน้ั ทย่ี งั ไมถ กู ระบุ เชน ในคาํ วา หมายถึงอยางไหนขอใดในชุดหรือใน “สคุ ติ (และ) โลกสวรรค” สวรรคก เ็ ปน จาํ พวกนนั้ จงึ เรยี กวา เหลอื ไวอ ยา งเดยี ว สคุ ติ แตม คี าํ เฉพาะระบไุ วแ ลว ดงั นนั้

เอกอุ ๕๗๐ เอตทัคคะ คาํ วา สคุ ติ ในกรณนี ้ี จงึ หมายถงึ โลก ภกิ ขฺ เว มม สาวกานํ ภกิ ขฺ นู ํ รตตฺ ฺ นู ํ มนุษย ซึ่งเปนสุคติอยางเดียวท่ีเหลือ ยททิ ํอฺ าโกณฑฺ โฺ ”(ภกิ ษทุ งั้ หลาย บรรดาภิกษุสาวกของเราผูรัตตัญู นอกจากสวรรคเอกอุ เลิศ, สูงสดุ (ตัดมาจากคาํ วา เอก- อญั ญาโกณฑญั ญะน่ี เปน ผยู อดเย่ยี ม), อดุ ม) (อง.ฺ เอก.๒๐/๗๘/๑๗) วา “เอตทคคฺ ํ ภกิ ขฺ เวเอกัคคตา ความมีอารมณเปนอันเดียว วฑุ ฒฺ นี ํ ยททิ ํ ปฺ าวฑุ ฒฺ ”ิ (ภิกษทุ ัง้ คือ ความมีจิตตแนวแนอยูในอารมณ หลาย บรรดาความเจริญทั้งหลาย อันเดียว ไดแกสมาธิ (พจนานุกรม ความเจรญิ เพ่ิมพนู ปญญาน่ี เปนเยย่ี ม) เขียน เอกคั ตา); ดู ฌาน (องฺ.นวก.๒๓/๒๐๙/๓๗๗) วา “เอตทคฺคํเอกันตโลมิ เครื่องลาดที่มีขนตกไปขาง ภกิ ขฺ เว ทานานํ ยททิ ํ ธมมฺ ทาน”ํ (ภิกษุ เดยี วกนั ทง้ั หลาย ในบรรดาทานทงั้ หลาย ธรรมเอกายนมรรค ทางอันเอก คอื ขอปฏิบตั ิ อันประเสริฐที่จะนําผูปฏิบัติไปสูความ ทานนเ้ี ปนเลศิ ); ตามปกติ มกั หมายถึง บริสุทธิห์ มดจด หมดความทุกข และ พระสาวกที่ไดรับยกยองจากพระพุทธ บรรลนุ ิพพาน ไดแก สติปฏ ฐาน ๔; เจาวาเปนผูยอดเย่ียมในทางใดทางหน่ึง อยางกวางขวาง เชน ในมหานิทเทส เชน เปนเอตทัคคะในทางธรรมกถึก หมายถึง โพธปิ กขิยธรรม ดวย หมายความวาเปนผูยอดเยี่ยมในทางเอกาสนิกะ ผูฉันท่นี ่งั เดยี ว คือ ฉนั วนั ละ มอื้ เดยี วครงั้ เดยี ว ลกุ จากทแี่ ลว ไมฉ นั อกี แสดงธรรม เปน ตน ในวนั นนั้ ; เทยี บ เอกภตั ตกิ ะ;ดู ฉนั มอ้ื เดยี วเอกาสนิกังคะ องคแหงผูถือนั่งฉันท่ี พระสาวกท่ีพระพุทธเจาตรัสวาเปน อาสนะเดยี วเปน วตั ร คือ ฉนั วันละมื้อ เอตทัคคะ ในบริษทั ๔ ปรากฏในพระ เดียว ลุกจากท่ีแลวไมฉันอีกในวันน้ัน ไตรปฎ ก (อง.ฺ เอก.๒๐/๑๔๖/๓๑–๑๕๒/๓๓) ดงั น้ี (ขอ ๕ ในธุดงค ๑๓) ๑. ภกิ ษบุ รษิ ทัเอตทคั คะ “นั่นเปน ยอด”, “นเ่ี ปน เลิศ”, บคุ คลหรอื สงิ่ ทย่ี อดเยยี่ ม ดีเดน หรือ พระอญั ญาโกณฑัญญะ เปนเอตทัคคะ เปน เลศิ ในทางใดทางหนงึ่ เชน ในพุทธ ในบรรดาภกิ ษสุ าวกผรู ตั ตญั ,ู พระสาร-ี พจน (องฺ.เอก.๒๐/๑๔๖/๓๑) วา “เอตทคคฺ ํ บตุ ร …ใน~ผมู ปี ญ ญามาก, พระมหา- โมคคลั ลานะ …ใน~ผมู ฤี ทธ,์ิ พระมหา- กสั สป …ใน~ผถู อื ธดุ งค, พระอนรุ ทุ ธะ …ใน~ผูม ีทพิ ยจักษ,ุ พระภทั ทยิ ะกาฬ-ิ โคธาบุตร …ใน~ผูมีตระกูลสูง, พระ

เอตทัคคะ ๕๗๑ เอตทัคคะลกุณฏกภัททิยะ ใน~ผูมีเสียงไพเราะ, มลั ลบตุ ร …ใน~ผจู ดั แจกเสนาสนะ, พระพระปณโฑลภารทั วาชะ …ใน~ผบู ันลือ ปล นิ ทวจั ฉะ …ใน~ผเู ปน ทร่ี กั ใครช อบใจสหี นาท, พระปณุ ณมนั ตานบี ตุ ร …ใน~ผู ของเหลา เทพยดา, พระพาหยิ ทารจุ รี ยิ ะเปน ธรรมกถกึ , พระมหากจั จานะ …ใน~ …ใน~ผตู รสั รเู รว็ พลนั , พระกมุ ารกสั สปะผจู าํ แนกความยอ ใหพ สิ ดาร, พระจลุ ล- …ใน~ผูแสดงธรรมวิจิตร, พระมหา-ปน ถกะ …ใน~ผนู ฤมติ มโนมยกาย (กาย โกฏฐิตะ …ใน~ผูบ รรลุปฏสิ มั ภทิ า, พระอนั สาํ เรจ็ ดว ยใจ), พระจลุ ลปน ถกะ …ใน อานนท …ใน~ผเู ปน พหสู ตู , พระอานนท~ผูฉลาดทางเจโตววิ ฏั ฏ (การคล่ีขยาย …ใน~ผมู สี ต,ิ พระอานนท …ใน~ผมู คี ต,ิทางจิต คือในดานสมาบัติ หรือเร่ือง พระอานนท …ใน~ผมู คี วามเพยี ร, พระสมาธ)ิ , พระมหาปน ถกะ …ใน~ผฉู ลาด อานนท …ใน~ผเู ปน อปุ ฏ ฐาก, พระอรุ -ุทางปญญาวิวัฏฏ (การคลี่ขยายทาง เวลกัสสปะ …ใน~ผมู บี รษิ ทั มาก, พระปญ ญา คอื ในดา นวปิ ส สนา; บาลเี ปน กาฬุทายี …ใน~ผูทาํ สกุลใหเลื่อมใส,สญั ญาววิ ฏั ฏ กม็ ี คอื ชาํ นาญในเรอื่ งอรปู - พระพกั กลุ ะ …ใน~ผมู อี าพาธนอ ย, พระฌาน), พระสภุ ตู ิ …ใน~ผมู ปี กตอิ ยไู ม โสภิตะ …ใน~ผรู ะลึกบุพเพนวิ าส, พระขอ งเกยี่ วกบั กเิ ลส (อรณวหิ าร)ี , พระสภุ ตู ิ อุบาลี …ใน~ผูทรงวินัย, พระนนั ทกะ…ใน~ผเู ปน ทกั ขไิ ณย, พระเรวตขทริ วนยิ ะ …ใน~ผโู อวาทภกิ ษณุ ,ี พระนนั ทะ …ใน~…ใน~ผถู อื อยปู า (อารญั ญกะ), พระกงั ขา- ผสู าํ รวมระวงั อนิ ทรยี , พระมหากปั ปน ะเรวตะ …ใน~ผบู าํ เพญ็ ฌาน, พระโสณ- …ใน~ผโู อวาทภกิ ษ,ุ พระสาคตะ …ใน~ผูโกฬวิ สิ ะ …ใน~ผปู รารภความเพยี ร, พระ ชาํ นาญเตโชธาตสุ มาบตั ,ิ พระราธะ …ในโสณกุฏิกัณณะ …ใน~ผูกลาวกัลยาณ- ~ผสู อ่ื ปฏภิ าณ, พระโมฆราช …ใน~ผูพจน, พระสีวลี …ใน~ผมู ีลาภ, พระ ทรงจวี รเศรา หมองวักกลิ …ใน~ผูมีศรัทธาสนิทแนว(ศรทั ธาธมิ ตุ ), พระราหลุ …ใน~ผใู ครต อ ๒. ภกิ ษณุ บี รษิ ทัการศกึ ษา, พระรฐั ปาละ …ใน~ผอู อก พระมหาปชาบดโี คตมี เปน เอตทคั คะบวชดว ยศรทั ธา, พระกณุ ฑธานะ …ใน~ ในบรรดาภกิ ษณุ สี าวกิ าผรู ตั ตญั ,ู พระผจู บั สลากเปน ปฐม, พระวงั คสี ะ …ใน~ผู เขมา …ใน~ผูมีปญ ญามาก, พระอุบล-มปี ฏภิ าณ, พระอปุ เสนะวงั คนั ตบตุ ร … วรรณา …ใน~ผูม ีฤทธ,์ิ พระปฏาจาราใน~ผทู นี่ า เลอื่ มใสรอบดา น, พระทพั พ- …ใน~ผทู รงวนิ ยั , พระธมั มทนิ นา …ใน~ ผเู ปน ธรรมกถกึ , พระนนั ทา …ใน~ผู

เอตทคั คฐาน ๕๗๒ เอหภิ กิ ขุอุปสัมปทาบาํ เพญ็ ฌาน, พระโสณา …ใน~ผปู รารภ วสิ าขามคิ ารมารดา …ใน~ผเู ปน ทายกิ า,ความเพียร, พระสกุลา …ใน~ผูมี ขชุ ชตุ ตรา …ใน~ผเู ปน พหสู ตู , สามาวดีทพิ ยจกั ษ,ุ พระภทั ทากณุ ฑลเกสา … …ใน~ผูม ปี กติอยดู วยเมตตา, อุตตราใน~ผตู รสั รเู รว็ พลนั , พระภทั ทากปล านี นันทมารดา …ใน~ผูบําเพ็ญฌาน,(ภทั ทกาปล านี กว็ า ) …ใน~ผรู ะลกึ บพุ เพ- สุปปวาสาโกลิยธดิ า …ใน~ผถู วายของนวิ าส, พระภทั ทากจั จานา …ใน~ผบู รรลุ ประณีต, สุปปย าอบุ าสกิ า …ใน~ผูเปนมหาอภญิ ญา, พระกสี าโคตมี …ใน~ผู คลิ านปุ ฏ ฐาก, กาตยิ านี …ใน~ผมู ปี สาทะทรงจวี รเศรา หมอง, พระสคิ าลมารดา … ไมห วนั่ ไหว, นกลุ มารดาคหปตานี …ในใน~ผมู ศี รทั ธาสนทิ แนว (ศรทั ธาธมิ ตุ ) ~ผูสนิทคุนเคย, กาฬีอุบาสิกา ชาว ๓. อบุ าสกบรษิ ทั กุรรฆรนคร …ใน~ผูม ีปสาทะดวยสดับตปสุ สะและภลั ลกิ ะ สองวาณชิ เปน คาํ กลาวขาน; เทยี บ อสตี มิ หาสาวกเอตทัคคะ ในบรรดาอุบาสกสาวกผูถ ึง เอตทัคคฐาน ตําแหนงเอตทัคคะ,สรณะเปน ปฐม, สุทัตตะอนาถปณฑิก- ตําแหนง ท่ีไ ดรับยกยองจากพระคหบดี …ใน~ผเู ปนทายก, จิตตะคหบดี พุทธเจา วา เปนเลิศในคุณนนั้ ๆชาวเมืองมัจฉิกาสณฑ …ใน~ผูเปน เอหปิ สสฺ โิ ก (พระธรรม) ควรเรียกใหม าดูธรรมกถกึ , หัตถกะอาฬวกะ …ใน~ผู คือ เชิญชวนใหมาชม เหมือนของดีสงเคราะหบริษัทดวยสังคหวัตถุ ๔, วิเศษท่ีควรปา วรองใหม าดู หรอื ทาทายมหานามะเจา ศากยะ …ใน~ผูถวายของ ตอการพิสูจน เพราะเปน ของจรงิ และดีประณีต, อุคคะคหบดี ชาวเมืองเวสาลี จรงิ (ขอ ๔ ในธรรมคุณ ๖)…ใน~ผูถวายของท่ี[ตัวผูถวายเอง]ชอบ เอหิภิกขุ เปนคําเรียกภิกษุท่ีไดรับใจ, อุคคตะคหบดี …ใน~ผูเปนสังฆ- อุปสมบทจากพระพุทธเจาโดยตรงดวยอปุ ฏ ฐาก, สรู ะอมั พฏั ฐะ …ใน~ผมู ปี สาทะ วิธีบวชท่ีเรียกวา เอหิภิกขุอุปสัมปทา;ไมหวน่ั ไหว, ชวี กโกมารภจั จ …ใน~ผู พระอัญญาโกณฑัญญะ เปนเอหิภิกขุเลื่อมใส[เลือกตัว]บุคคล, นกุล-บิดา องคแ รกคหบดี …ใน~ผูสนิทคนุ เคย เอหิภกิ ขอุ ปุ สัมปทา วธิ อี ุปสมบทท่ีพระ ๔. อบุ าสกิ าบรษิ ทั พุทธเจาประทานดวยพระองคเองดวยสชุ าดาเสนานธี ดิ า เปน เอตทคั คะ ใน การเปลง พระวาจาวา “ทา นจงเปนภิกษุบรรดาอบุ าสกิ าสาวกิ าผถู งึ สรณะเปน ปฐม, มาเถดิ ธรรมอันเรากลาวดีแลว ทานจง

เอหิภิกษุ ๕๗๓ โอธานสโมธานประพฤติพรหมจรรยเพื่อทําท่ีสุดทุกข องค ๕ อีกหมวดหนง่ึ วา เปน อลัชชีเปนโดยชอบเถดิ ” วิธนี ้ี ทรงประทานแกพระ พาล มิใชป กตตั ตะ กลาวดว ยปรารถนาอญั ญาโกณฑัญญะ เปน บคุ คลแรก; ดู จะกาํ จดั มใิ ชเปน ผูมีความปรารถนาในอปุ สัมปทา อนั ใหอ อกจากอาบัติเอหภิ กิ ษุ ดู เอหิภิกขุ โอกาสโลก โลกอันกําหนดดวยโอกาส,โอกกันตกิ าปติ ปต เิ ปน ระลอก, ความอม่ิ โลกอันมีในอวกาศ, โลกซึ่งเปนโอกาสใจเปนพักๆ เม่ือเกิดข้ึนทาํ ใหรูสึกซูซา แกสตั วท้งั หลายท่จี ะอยอู าศัย, โลกคือเหมอื นคลน่ื กระทบฝง (ขอ ๓ ในปต ิ ๕) แผนดินอันเปนที่อยูอาศัยของสัตวทั้งโอกกากราช กษัตริยผูเปนตนสกุลของ หลาย, จกั รวาล (ขอ ๓ ในโลก ๓) โอฆะ หว งน้ําคือสงสาร, หว งนํา้ คือการศากยวงศโอกาส ชอง, ที่วาง, ทาง, เวลาที่เหมาะ, เวียนวายตายเกิด; กิเลสอันเปนดุจจังหวะ; ในวิธีระงับอนุวาทาธิกรณมี กระแสนํ้าหลากทวมใจสัตว มี ๔ คอืระเบียบวา กอ นจะกลาวคําโจทนาคือคาํ กาม ภพ ทฏิ ฐิ อวชิ ชาฟองขึน้ ตอหนา สงฆ โจทกพึงขอโอกาส โอฏฐชะ อักษรเกดิ ทีร่ มิ ฝปาก คอื อุ อูตอจําเลย คําขอโอกาสวา “กโรตุ เม และ ป ผ พ ภ มอายสฺมา โอกาสํ, อหนฺตํ วตฺตุกาโม” โอตตัปปะ ความกลวั บาป, ความเกรงแปลวา “ขอทานจงทาํ โอกาสแกข า พเจา กลัวตอทจุ รติ , ความเกรงกลวั ความชวั่ขาพเจา ใครจ ะกลา วกะทา น” ถา โจทโดย เหมือนกลัวอสรพิษ ไมอยากเขาใกลไมขอโอกาส ตองอาบตั ิทุกกฏ คาํ ให พยายามหลกี ใหห า งไกล (ขอ ๒ ในธรรมโอกาส ทานไมไดแสดงไว อาจใชวา คมุ ครองโลก ๒, ขอ ๔ ในอรยิ ทรพั ย ๗,“กโรมิ อายสมฺ โต โอกาส”ํ แปลวา ขอ ๓ ในสทั ธรรม ๗)“ขาพเจาทาํ โอกาสแกทา น”; ภกิ ษุพรอ ม โอธานสโมธาน ชื่อปริวาสประเภทดว ยองค ๕ แมจะขอใหท าํ โอกาสก็ไม สโมธานปรวิ าสอยา งหนงึ่ ใชส าํ หรบั อาบตั ิควรทาํ (คือไมควรใหโ อกาส) กลา วคือ สังฆาทิเสสท่ตี องหลายคราวแตม ีจาํ นวนเปนผูมีความประพฤติทางกายไม วนั ทป่ี ด ไวเ ทา กนั เชน ตอ งอาบตั ิ ๒ คราวบริสุทธิ์ มีความประพฤติทางวาจาไม ปด ไวค ราวละ ๕ วนั ใหข อปรวิ าสรวมบริสุทธิ์ มอี าชวี ะไมบ ริสุทธิ์ เปน ผูเขลา อาบตั แิ ละราตรเี ขา ดว ยกนั เพอ่ื อยเู พยี ง ๕ถูกซักเขา ไมอาจใหคําตอบขอท่ีซัก, วนั เทา นน้ั , (แตต ามนยั อรรถกถาทา นแก

โอธิโสผรณา ๕๗๔ โอวาทปาฏิโมกข วา สาํ หรบั อนั ตราบตั มิ วี นั ปด ทป่ี ระมวล กระทาํ โอภาส ณ ทตี่ า งๆ หลายแหง ซึง่ เขา กบั อาบตั เิ ดมิ ); ดู สโมธานปรวิ าส ถาพระอานนทเขาใจ กจ็ ะทลู ขอใหท รงโอธโิ สผรณา “แผโ ดยมีขอบเขต”, เมตตา ดํารงพระชนมอ ยตู ลอด[อายุ]กัป ท่ีต้ังใจแผไ ปตอ สตั วทงั้ หลายอยางจาํ กัด โอมสวาท [โอ-มะ-สะ-วาด] พดู เสยี ดแทงขอบเขต เชนวา ขอใหชนชาวเขา จงมี ใหเจ็บใจหรือใหไดความอัปยศ ไดแกความสขุ , ขอใหเ หลา พอ คา จงมคี วามสขุ , การพดู แดกหรอื ประชดกต็ าม ดา กต็ ามขอใหเ ตาปลา จงมคี วามสขุ , บางทเี รยี ก กระทบถงึ อกั โกสวตั ถุ ๑๐ ประการ มี “โอทสิ สกผรณา” (แผไ ปเจาะจง); เทียบ ชาตกิ าํ เนดิ ชอ่ื ตระกลู เปน ตน ภกิ ษุ อโนธโิ สผรณา, ทสิ าผรณา; ดู แผเ มตตา, ก ล า ว โ อ ม ส ว า ท แ ก ภิ ก ษุ ต อ ง อ า บั ติ วกิ พุ พนา, สมี าสมั เภท ปาจิตตีย แกอนุปสัมบันตองอาบัติ ทกุ กฏตามสกิ ขาบทที่ ๒ แหง มสุ าวาทโอปนยิโก (พระธรรม) ควรนอมเขา มา ไวในใจ หรือนอมใจเขาไปใหถึงดวย วรรคปาจติ ตยิ กณั ฑ การปฏิบัติใหเกิดขึ้นในใจ หรือใหใจ โอรส “ผูเ กดิ แตอ ก”, ลกู ชาย บรรลถุ งึ อยา งนนั้ (ขอ ๕ ในธรรมคณุ ๖) โอรัมภาคิยสังโยชน สังโยชนเบื้องต่ํา,โอปปาตกิ ะ สตั วเกิดผดุ ขึน้ คือ เกดิ ผุด กิเลสผกู ใจสัตวอยางหยาบ มี ๕ อยา งข้ึนมาและโตเต็มตัวในทันใด ตายก็ไม คอื สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พต-ตองมีเช้ือหรือซากปรากฏ เชนเทวดา ปรามาส กามราคะ ปฏิฆะ; ดู สังโยชนและสตั วน รก เปน ตน (ขอ ๔ ในโยนิ ๔); โอวาท คาํ กลาวสอน, คาํ แนะนาํ , คําบาลวี า รวมทง้ั มนษุ ยบางพวก ตกั เตอื น; โอวาทของพระพทุ ธเจา ๓ คอืโอปกกฺ มกิ า อาพาธา ความเจบ็ ไขเ กดิ ๑. เวนจากทุจริต คือประพฤติช่วั ดวยจากความพยายามหรือจากคนทําให, กายวาจาใจ (=ไมทําความช่ัวท้ังปวง) เจ็บปวยเพราะการกระทําของคนคือตน ๒. ประกอบสุจรติ คอื ประพฤตชิ อบ เองเพยี รเกนิ กาํ ลงั หรอื ถกู เขากระทาํ เชน ดว ยกายวาจาใจ (=ทําแตความดี) ๓. ถูกจองจํา ใสข ือ่ คา เปน ตน ; ดูอาพาธ ทําใจของตนใหหมดจดจากเคร่ืองเศราโอภาส 1. แสงสวาง, แสงสุกใส ผุดผอง หมอง มีโลภ โกรธ หลง เปนตน (=ทาํ (ขอ ๑ ในวิปสสนปู กิเลส ๑๐) 2. การ จติ ตของตนใหส ะอาดบรสิ ุทธ)์ิ โอวาท พูดหรือแสดงออกที่เปนเชิงเปดชองทาง ๓ น้ี รวมอยใู น โอวาทปาฏโิ มกข หรือใหโอกาส เชนท่ีพระพุทธเจาทรง โอวาทปาฏโิ มกข [โอ-วา-ทะ-ปา-ต-ิ โมก]

โอวาทปาติโมกข ๕๗๕ โอสารณาหลักคําสอนสําคัญของพระพุทธศาสนา ไมช ่อื วา เปนบรรพชติ , ผูเบียดเบียนคนหรือคําสอนอันเปนหัวใจของพระพุทธ อนื่ ไมช ื่อวาเปนสมณะศาสนา ไดแก พระพุทธพจน ๓ คาถากึ่ง การไมกลาวรา ย ๑ การไมทํารายทพี่ ระพทุ ธเจา ตรสั แกพ ระอรหนั ต ๑,๒๕๐ ๑ ความสาํ รวมในปาฏโิ มกข ๑ ความรปู ผไู ปประชมุ กนั โดยมไิ ดน ดั หมาย ณ เปน ผรู จู ักประมาณในอาหาร ๑ ทนี่ ัง่พระเวฬุวนาราม ในวนั เพญ็ เดอื น ๓ ท่ี นอนอนั สงัด ๑ ความเพียรในอธจิ ิตต ๑เราเรียกกันวาวันมาฆบูชา (อรรถกถา นเ้ี ปน คาํ สอนของพระพุทธเจา ทัง้ หลายกลา ววา พระพทุ ธเจา ทรงแสดงโอวาท- ท่เี ขา ใจกันโดยทว่ั ไป และจํากันไดปาฏโิ มกขน ้ี แกท ่ีประชมุ สงฆ เปน เวลา มาก กค็ อื ความในคาถาแรกทวี่ า ไมท าํ๒๐ พรรษากอนท่จี ะโปรดใหส วดปาฏ-ิ ชั่ว ทาํ แตค วามดี ทาํ จิตตใ จใหผ อ งใสโมกขอยา งปจ จบุ ันนแี้ ทนตอ มา), คาถา โอวาทปาติโมกข ดู โอวาทปาฏิโมกข โอวาทวรรค ตอนที่วาดว ยเรอื่ งใหโ อวาทโอวาทปาฏโิ มกข มีดังน้ีสพฺพปาปสฺสอกรณํ กสุ ลสฺสปู สมปฺ ทา แกน างภิกษุณี เปนตน , เปนช่ือวรรคท่ีสจติ ฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทธฺ าน สาสนํ ฯ ๓ แหงปาจิตติยกัณฑ ในมหาวิภังคขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกขฺ า พระวนิ ัยปฎกนิพพฺ านํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา โอวาทานุสาสนี คาํ กลาวสอนและพราํ่น หิ ปพพฺ ชิโต ปรูปฆาตี สอน, คําตักเตือนและแนะนําพรํา่ สอนสมโณ โหติ ปรํ วเิ หยนฺโต ฯ โอษฐ ปาก, รมิ ฝปากอนูปวาโท อนูปฆาโต ปาตโิ มกเฺ ข จ สํวโร โอสารณา การเรยี กเขา หม,ู เปน ชอ่ื สงั ฆ-มตตฺ ฺตุ าจ ภตตฺ สมฺ ึ ปนฺตจฺ สยนาสนํ กรรมจาํ พวกหนึง่ มีทั้งที่เปนอปโลกน-อธิจติ ฺเต จ อาโยโค เอตํ พุทธฺ าน สาสนํ ฯ กรรม (เชน การรับสามเณรผกู ลาวตูแปล: การไมท าํ ความช่ัวทัง้ ปวง ๑ พระผูมีพระภาคเจาซ่ึงถูกนาสนะไปแลวการบําเพ็ญแตค วามดี ๑ การทําจิตต และเธอกลับตัวได) เปนญัตติกรรมของตนใหผ อ งใส ๑ นี้เปนคําสอนของ (เชน เรยี กอุปสมั ปทาเปกขะทสี่ อนซอมพระพุทธเจา ท้งั หลาย อนั ตรายิกธรรมแลวเขาไปในสงฆ) เปนขนั ติ คอื ความอดกล้ัน เปน ตบะ ญตั ตทิ ตุ ยิ กรรม (เชน หงายบาตรแกอยางยง่ิ , พระพุทธเจาทงั้ หลายกลาววา คฤหสั ถท ก่ี ลบั ตวั ประพฤตดิ )ี เปน ญตั ต-ินพิ พาน เปน บรมธรรม, ผูทํารา ยคนอ่นื จตตุ ถกรรม (เชน ระงับนคิ หกรรมทีไ่ ด

โอฬาริกรปู ๕๗๖ โอฬาริกรูป ทาํ แกภ กิ ษ)ุ ; คูกับ นิสสารณาโอฬาริกรูป ดทู ี่ รูป ๒๘

แถลงการจัดทาํ หนงั สือ ประกาศพระคณุ ขอบคุณ และอนโุ มทนา หนังสือนเ้ี กิดขึ้นในเวลาเรงดวน แตสาํ เรจ็ ไดดวยความรวมแรงรวมใจของผรู ว มสาํ นักและดวยการใชวธิ ลี ดัคือ ขอใหพ ระเปรยี ญ ๔ รูป แหง สาํ นกั วัดพระพิเรนทร นาํ คาํ ศัพทท ้งั หลายในหนงั สอื ศัพทห ลกั สตู รภาษาไทยสําหรบั นกั ธรรมชน้ั ตรี ชน้ั โท และ ชนั้ เอก รวม ๓ เลม ไปเรยี งลําดับอักษรมา แลว ผูจัดทาํ ปรุงแตงขยายออกเปนพจนานุกรมพุทธศาสน เลมน้ี หนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รภาษาไทย ๓ เลม นนั้ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดจ ดั พมิ พข น้ึ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๐๓ ในคราวทค่ี ณะสงฆเ พม่ิ วชิ าภาษาไทยเขา ในหลกั สตู รนกั ธรรมทงั้ สามชนั้ หนงั สอื แตล ะเลม แบง ออกเปน ๓ ภาค ตามวชิ าเรยี นของนกั ธรรม คอื พทุ ธประวตั ิ (อนพุ ทุ ธประวตั ิ และพทุ ธานพุ ทธประวตั )ิ ธรรม และวนิ ยั รวม ๓ เลม เปน ๙ ภาคมศี พั ทจ าํ นวนมาก แตค งจะเปน เพราะการจดั ทาํ และตพี มิ พเ รง รบี เกนิ ไป หนงั สอื จงึ ยงั ไมเ ขา รปู เทา ทค่ี วร ประจวบกบั ทางคณะสงฆไ ดย กเลกิ วชิ าภาษาไทยเสยี อกี หนงั สอื ชดุ นจ้ี งึ ทง้ั ถกู ทอดทงิ้ และถกู หลงลมื เหตทุ ผ่ี จู ดั ทาํ มานกึ ถงึ หนงั สอื น้ี ก็เพราะระหวา งน้ี กาํ ลงั เขยี น สารานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั กลาง คา งอยู จงึ มคี วามเกยี่ วขอ งกบั หนงั สอื จาํ พวกประมวลศพั ทแ ละพจนานกุ รมอยบู อ ยๆ เมอื่ ปรารภกนั วา จะพมิ พห นงั สอื เปน ทรี่ ะลกึ ในงานพระราชทานเพลงิ ศพทา นพระครปู ลดัสมยั กติ ตฺ ทิ ตโฺ ต เจา อาวาสวดั พระพเิ รนทร เวลาผา นลว งไปกย็ งั ไมไ ดห นงั สอื ทจี่ ะพมิ พ ผจู ดั ทาํ นร้ี ตู วั วา อยใู นฐานะทจ่ี ะตอ งเปน เจา การในดา นการพมิ พ จงึ ไดพ ยายามมาแตต น ทจี่ ะหลกี เลยี่ งการพมิ พห นงั สอื ทตี่ นเขยี นหรอื มสี ว นรว มเขยี นครนั้ เหน็ จวนตวั เขา คดิ วา หากนาํ หนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รภาษาไทย ๓ เลม ๙ ภาคนม้ี าปรบั ปรงุ ตกแตง เพยี งเลก็ นอ ย กจ็ ะไดห นงั สอื ทม่ี ปี ระโยชนพ อสมควร และขนาดเลม หนงั สอื กจ็ ะพอเหมาะแกง าน เมอ่ื นาํ มาหารอื กนั กไ็ ดร บั ความเหน็ ชอบจงึ เรมิ่ ดาํ เนนิ การ เมอ่ื แรกตกลงใจนนั้ คดิ เพยี งวา นาํ ศพั ทท ง้ั หมดมาเรยี งลาํ ดบั ใหมเ ขา เปน ชดุ เดยี วกนั เทา นน้ั กค็ งเปนอนั เพยี งพอ จากนน้ั โหมตรวจเกลาอกี เพยี ง ๔–๕ วนั กค็ งเสรจ็ สนิ้ ทงั้ ตนเองกจ็ ะหลกี เลย่ี งจากความเปน ผเู ขยี นไดด ว ยแตเ มอื่ ทาํ จรงิ กลายเปน ใชเ วลาปรงุ แตง เพมิ่ เตมิ อยา งหนกั ถงึ คอ นเดอื นจงึ เสรจ็ จาํ ตอ งทาํ ตน ฉบบั ไป ทยอยตพี มิ พไ ปขนาดหนงั สอื กข็ ยายจากทกี่ ะไวเ ดมิ ไปอกี มาก ศพั ทจ าํ นวนมากมายในศพั ทห ลกั สตู ร ทซ่ี าํ้ กนั และทเ่ี ปน คาํ สามญั ในภาษาไทย ไดต ดั ทงิ้ เสยี มากมาย คาํ ทเ่ี หน็ ควรเพม่ิ กเ็ ตมิ เขา มาใหมเ ทา ทท่ี าํ ไดท นั คาํ ทมี่ อี ยแู ลว ซง่ึ เหน็ วา มขี อ ควรรอู กี กเ็ สรมิและขยายออกไป กลายเปน หนงั สอื ใหมข นึ้ อกี เลม หนง่ึ มลี กั ษณะแปลกออกไปจากของเดมิ หลกี เลย่ี งความเปน ผเู ขยี นหรอื รว มเขยี นไมพ น อยา งไรกต็ าม เนอื้ หาในศพั ทห ลกั สตู รนนั้ กย็ งั คงเปน สว นประกอบเกอื บครง่ึ ตอ ครงึ่ ในหนงั สอื เลม นี้เนอ้ื หาทมี่ าจากหนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รเหลา นนั้ แยกตามแหลง ไดเ ปน ๓ พวกใหญ คอื พวกหนงึ่ เปน ความหมายและคาํอธบิ ายทคี่ ดั จากหนงั สอื แบบเรยี นนกั ธรรม มี นวโกวาท และ วนิ ยั มขุ เปน ตน ซงึ่ สว นใหญเ ปน พระนพิ นธข อง สมเดจ็พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส พวกทสี่ องไดแ กค าํ ไทยสามญั หรอื คาํ เกย่ี วกบั ภาษาและวรรณคดี ซง่ึ คดั คาํจาํ กดั ความหรอื ความหมายมาจาก พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓ พวกทสี่ ามคอื นอกจากนน้ั เปน คาํอธบิ ายของทา นผรู วบรวมและเรยี บเรยี งหนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รเหลา นนั้ เอง สว นครงึ่ หนง่ึ ทเี่ พมิ่ ใหม คดั หรอื ปรบั ปรงุ จากพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ของพระราชวรมนุ ี (ประยทุ ธ ปยตุ โฺ ต) คอื ผจู ดั ทาํ นเ้ี องบา ง ปรงุ ขน้ึ ใหมส าํ หรบั คราวน้ี ซง่ึ บางสว นอาจพอ งกบั ใน สารานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั กลาง อนั เปน วทิ ยาทานทจ่ี ะพมิ พอ อกตอ ไปบา ง ไดจ ากแหลง อน่ื ๆ รวมทง้ั แบบเรยี นนกั ธรรมทกี่ ลา วมาแลว บา ง หนงั สอื นเี้ รยี ก พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ใหต า งจาก พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ทไี่ ดจ ดั ทาํ และตพี มิ พไ ปกอ นแลวเพราะ พจนานกุ รมพุทธศาสตร แสดงเฉพาะขอ ทเี่ ปน หลกั หรอื หลกั การของพระพทุ ธศาสนา อนั ไดแกคําสอนทีเ่ ปนสาระสําคญั สว นหนังสอื เลมนร้ี วมเอาสง่ิ ทั้งหลายทเ่ี รยี กกนั โดยนามวาพระพุทธศาสนาเขามาอยางทั่วไป มีท้งั คําสอนประวตั ิ กจิ การ พิธีกรรม และแมส งิ่ ทีไ่ มเ ก่ยี วกบั พระพุทธศาสนาโดยตรง อยางไรก็ตาม แม พจนานุกรมพทุ ธศาสนนีจ้ ะมขี อบขายกวา งขวางกวา พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร แตก ็หยอนกวาในแงค วามลกึ และความละเอียด เพราะเขยี น

๕๗๘แคพ อรู ตลอดจนมลี กั ษณะทางวิชาการนอ ยกวา เชน ไมไดแ สดงท่ีมา เปน ตน การทปี่ ลอยใหล กั ษณะเหลา นข้ี าดอยูนอกจากเพราะเวลาเรง รดั และขนาดหนงั สอื บงั คบั แลว ยงั เปน เพราะเหน็ วา เปน ลกั ษณะทพ่ี งึ มใี น สารานกุ รมพทุ ธศาสนฉบบั กลาง หรอื แม ฉบบั เล็ก ที่ทําอยกู อ นแลว แตยงั ไมเ สรจ็ อยางไรกด็ ี ดว ยเน้อื หาเทา ท่ีมีอยนู ้ี หวงั วา พจนานกุ รมพุทธศาสน คงจักสําเร็จประโยชนพ อสมควร โดยเฉพาะแกครแู ละนกั เรียนนกั ธรรม สมตามช่อื ทีไ่ ดต งั้ ไว การท่หี นังสือน้สี ําเร็จได นอกจากอาศัยคมั ภรี ภาษาบาลีท่ใี ชปรึกษาคนควา เปน หลกั ตนเดิมแลว ยงั ไดอ าศยัอุปการะแหงแบบเรยี น ตํารา และความชว ยเหลอื รวมงานของผเู ก่ียวขอ งหลายทา น ดงั ไดก ลา วแลว ณ โอกาสนี้ จึงขออนุสรพระคุณแหง สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ซ่งึ ไดท รงพระนพิ นธแบบเรยี นนกั ธรรมไว อนั อํานวยความหมายและคําอธบิ ายแหง ศพั ทต างๆ ที่เกย่ี วกับพระธรรมวินยั จาํ นวนมาก มีทั้งที่ทรงวางไวเปนแบบ และทรงแนะไวเปน แนว ขออนุโมทนาตอ คณะกรรมการชําระปทานุกรม ซ่งึ ทาํ ใหเกดิ มี พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.๒๔๙๓ ทอ่ี ํานวยความหมายแหง คําศพั ทท ม่ี ใี ชใ นภาษาไทย ขออนโุ มทนาขอบคณุ คณะผจู ดั ทาํ หนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รภาษาไทย ของมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั คอือาจารยแปลก สนธริ กั ษ ปธ. ๙ อาจารยสวัสดิ์ พนิ ิจจนั ทร ปธ. ๙ อาจารยส ริ ิ เพ็ชรไชย ปธ. ๙ และพระมหาจาํ ลองภรู ิปฺโ (สารพัดนกึ ) พธ.บ., M.A. ผเู ก็บรวบรวมศพั ทและแสดงความหมายของศัพทไวไ ดเ ปนจาํ นวนมาก พระเปรยี ญ ๔ รปู คอื พระมหาอนิ ศร จนิ ตฺ าปโฺ  พระมหาแถม กติ ตฺ ภิ ทโฺ ท พระมหาเฉลมิ าณจารี และพระมหาอัมพร ธีรปโฺ  เปนผเู หมาะสมทจ่ี ะรว มงานนี้ เพราะเคยเปนนักเรยี นรุนพิเศษแหงสาํ นักวดั พระพเิ รนทรซง่ึ ไดม าเลา เรยี นตงั้ แตย งั เปน สามเณร และไดอ ยใู นความดแู ลรบั ผดิ ชอบอยา งใกลช ดิ ของพระครปู ลดั สมยั กติ ตฺ ทิ ตโฺ ตในฐานะท่ที า นเปน อาจารยใ หญแหง สํานักเรียน ทั้งส่ีรปู นี้ นอกจากเปน ผูจดั เรยี งลาํ ดับศัพทในเบ้ืองตน แลว ยงั ไดชวยตรวจปรูฟ และขวนขวายในดานธุรการอ่ืนๆ โดยตลอดจนหนังสือเสร็จ ช่ือวาเปนผูรวมจัดทําหนังสือพจนานุกรมพทุ ธศาสน น้ี คณะวดั พระพเิ รนทร ทงั้ ฝา ยพระสงฆแ ละศษิ ย ไดช ว ยสนบั สนนุ ดว ยการบรจิ าครว มเปน ทนุ คา ตพี มิ พบ า ง กระทาํไวยาวจั การอยา งอนื่ บา ง โดยเฉพาะในเวลาทาํ งานเรง ดว นทตี่ อ งอทุ ศิ เวลาและกาํ ลงั ใหแ กง านอยา งเตม็ ทเี่ ชน นี้ ทางฝา ยพระสงฆ พระภกิ ษถุ วลั ย สมจติ โฺ ต และทางฝา ยศษิ ย นายสมาน คงประพนั ธ ไดช ว ยเออ้ื อาํ นวยใหเ กดิ สปั ปายะเปน อยา งมาก แมท า นอนื่ ๆ ทมี่ กี ศุ ลเจตนาสนบั สนนุ อยหู า งๆ มพี ระภกิ ษฉุ าย ปฺ าทโี ป เปน ตน กข็ ออนโุ มทนาไว ณ ทนี่ ดี้ ว ย ขออนโุ มทนาตอ ทางโรงพมิ พรุงเรืองธรรม ท่ตี งั้ ใจตีพมิ พหนงั สอื เลมน้ี โดยฐานมีความสมั พันธกบั วัดพระพเิ รนทรมาเปน เวลานาน และมีความรูจ กั คุน เคยกับทานพระครูปลดั สมยั โดยสวนตวั จึงสามารถตีพิมพใหเ สร็จทนัการ แมจ ะมีเวลาทํางานจาํ กดั อยา งยิ่ง ทง้ั น้ี ขออนโุ มทนาตลอดไปถงึ ผทู ํางานทง้ั หลาย มีชางเรียง เปนตน ท่ีมีนาํ้ ใจชว ยแทรกขอความท่ีขอเพมิ่ เตมิ เขา บอ ยๆ ในระหวา งปรฟู โดยเรยี บรอย ทั้งที่เปน เร่ืองยงุ ยากสาํ หรับงานที่เรง ทางฝา ยการเงินแจง วา ทนุ ทม่ี ผี ูบริจาคชวยคา ตพี มิ พห นงั สอื ยังมไี มถ งึ ๑๐,๐๐๐.๐๐ บาท (หนง่ึ หมนื่ บาท)“ทนุ พิมพพทุ ธศาสนปกรณ” ไดทราบจงึ มอบทุนชว ยคา ตีพิมพเปน เงนิ ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาท) ทนุ พมิ พพุทธศาสนปกรณน้นั เกิดจากเงนิ ทพี่ ทุ ธศาสนกิ ชนชาวไทยในสหรฐั อเมรกิ า (สวนมาก คอื เมืองนิวยอรค ชิคาโก ฟล าเดลเฟย และบางเมอื งในนวิ เจอรซี) บริจาคเพือ่ เปน คาเดนิ ทางและคา ใชจายสว นตัวของผูจ ดั ทําหนงั สือนใ้ี นโอกาสตางๆ และผจู ดั ทาํ ไดย กตง้ั อุทิศเปน ทุนพมิ พห นังสอื ทางพระศาสนาซงึ่ คิดวาจะเปนประโยชนมากกวา การนําทุนนั้นมาชวยคาพิมพหนังสือเลมน้ี แมเปนเรื่องฉุกเฉินนอกเหนือจากโครงการ แตก็ยังอยูในวัตถุประสงค จงึ ขออุทิศกุศล ขออาํ นาจบญุ ราศอี ันเกิดจากการจัดทาํ และจดั พิมพหนังสอื นี้ จงเปนพลวปจ จัย อาํ นวยใหทา นพระครปู ลดั สมัย กติ ฺตทิ ตฺโต ประสบสุขสมบตั ิในสมั ปรายภพ ตามควรแกค ติวิสยั ทกุ ประการฯ ผูจ ัดทาํ

ความเปน มาของ พจนานุกรมพทุ ธศาสตร เม่อื พ.ศ. ๒๕๐๖ พระมหาประยทุ ธ ปยตุ ฺโต ไดจัดทาํ พจนานกุ รมศพั ทพ ระพทุ ธศาสนา ไทย–บาล–ีองั กฤษ เลมเลก็ ๆ เลม หนึง่ เสรจ็ สิ้น (เปน ฉบับที่มงุ คาํ แปลภาษาอังกฤษ ไมมีคาํ อธิบาย ตอมาไดเริ่มขยายใหพ สิ ดารใน พ.ศ. ๒๕๑๓ แตพ ิมพถงึ อกั ษร ฐ เทาน้ันกช็ ะงกั ) และในเดือนกนั ยายน ปเดยี วกันนั้น กไ็ ดเรม่ิ งานจดั ทําพจนานุกรมพระพุทธศาสนา ท่ีมีคาํ อธิบาย ๒ ภาษา คือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พรอ มทัง้ หมวดธรรม แตเมื่อทาํจบเพียงอักษร บ ก็ตองหยุดคางไว เพราะไดรับการแตงต้ังโดยไมรูตัวใหเปนผูชวยเลขาธิการมหาจฬุ าลงกรณ-ราชวิทยาลยั แลว หันไปทุมเทกาํ ลังและอทุ ิศเวลาใหก บั งานดานการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆ จนถงึ พ.ศ. ๒๕๑๕จงึ ไดหวนมาพยายามรอ้ื ฟน งานพจนานุกรมข้ึนอกี คราวนนั้ พระมหาสมบรู ณ สมปฺ ณุ โฺ ณ (ตอ มาเปน พระวสิ ทุ ธสิ มโพธิ ดาํ รงตาํ แหนง รองเลขาธกิ ารมหาจฬุ าลงกรณ-ราชวทิ ยาลยั ) มองเห็นวา งานมีเคา ท่ีจะพสิ ดารและจะกินเวลายาวนานมาก จึงไดอาราธนาพระมหาประยทุ ธ (เวลานนั้เปนพระศรีวิสุทธิโมลี และตอมาเลื่อนเปนพระราชวรมุน)ี ขอใหท าํ พจนานุกรมขนาดยอมข้นึ มาใชก นั ไปพลางกอ นพระศรวี สิ ทุ ธโิ มลี ตกลงทาํ งานแทรกนน้ั จนเสรจ็ ใหช อื่ วา พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร มลี กั ษณะเนน เฉพาะการรวบรวมหลกั ธรรม โดยจดั เปน หมวดๆ เรยี งตามลาํ ดบั เลขจาํ นวน และในแตล ะหมวดเรยี งตามลาํ ดบั อกั ษร แลว ไดม อบงานและมอบทนุ สว นหนง่ึ ใหม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั จดั พมิ พเ ผยแพร จาํ หนา ยเกบ็ ผลประโยชนบ าํ รงุ การศกึ ษาของพระภกิ ษุสามเณร เรมิ่ พมิ พต ง้ั แต พ.ศ. ๒๕๑๕ จนถงึ พ.ศ. ๒๕๑๘ จงึ เสรจ็ ตอ มา พ.ศ. ๒๕๒๒ กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขออนุญาตพิมพแ จกเปน ธรรมทาน ๘,๐๐๐ เลมนอกจากนน้ั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดจ ดั จาํ หนา ยเพม่ิ ขนึ้ และผเู รยี บเรยี งเองจดั แจกเปน ธรรมทานเพ่ิมเติมบางเปน รายยอย หนงั สอื หมดสิน้ ขาดคราวในเวลาไมน าน สว นงานจัดทํา พจนานุกรมพทุ ธศาสนา ฉบบั เดิม ยงั คงคา งอยูสืบมาจนถงึ พ.ศ. ๒๕๒๑ ผจู ัดทาํ จึงมีโอกาสรื้อฟน ขึน้ อกี คราวนี้เขียนเริม่ ตน ใหมทงั้ หมด เนน คําอธิบายภาษาไทย สวนภาษาองั กฤษมีเพยี งคําแปลศพั ทหรือความหมายสน้ั ๆ งานขยายจนมลี กั ษณะเปนสารานกุ รม เขียนไปไดถงึ อกั ษร ข มีเนือ้ ความประมาณ ๑๑๐ หนากระดาษพมิ พด ีดพับสาม (ไมน บั คาํ อธบิ ายศพั ทจ าํ พวกประวัติ อกี ๗๐ หนา ) ก็หยุดชะงัก เพราะในป พ.ศ. ๒๕๒๑นนั้ เอง มเี หตุใหต องหันไปเรงรดั งานปรบั ปรงุ และขยายความหนังสอื พุทธธรรม ซง่ึ กินเวลายดื เยือ้ มาจนถึงพิมพเ สรจ็รวมประมาณสามป งานพจนานุกรมจึงคางอยูเพยี งนั้นและจึงยังไมไดจดั พมิ พ อีกดา นหน่ึง เม่ือวดั พระพเิ รนทรจ ดั งานรับพระราชทานเพลิงศพ พระครปู ลัดสมยั กิตตฺ ทิ ตโฺ ต เจาอาวาสวดั พระพเิ รนทร ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชวรมนุ ี ไดจ ดั ทําพจนานกุ รม ประเภทงานแทรกและเรง ดวนขน้ึ อกี เลมหนึง่เปน ประมวลศพั ทใ นหนงั สอื เรยี นนักธรรมทกุ ช้นั และเพม่ิ ศัพทท คี่ วรทราบในระดับเดียวกันเขา อกี จาํ นวนหนึง่ ตง้ั ชอ่ืวา พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบับครู นกั เรียน นกั ธรรม มีเน้ือหา ๓๗๓ หนา เทา ๆ กนั กบั พจนานุกรมพทุ ธศาสตร(๓๗๔ หนา) เสมือนเขาชุดเปนคูกัน เลมพิมพกอนเปนท่ีประมวลธรรมซ่ึงเปนหลกั การหรอื สาระสาํ คญั ของพระพทุ ธศาสนา สว นเลม พมิ พห ลงั เปน ทป่ี ระมวลศพั ทท วั่ ไปเกยี่ วกบั พระพทุ ธศาสนา อธิบายพอใชประโยชนอ ยา งพืน้ ๆ ไมกวางขวางลึกซงึ้ ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ มที า นผศู รทั ธาเหน็ วา พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ขาดคราว จงึ ขอพมิ พแ จกเปน ธรรมทานมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดท ราบ กข็ อรว มสมทบพมิ พด ว ย เพอื่ ไดท าํ หนา ทส่ี ง เสรมิ วชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา กบั ทงั้จะไดเ กบ็ ผลกาํ ไรบาํ รงุ การศกึ ษาในสถาบนั และไดข ยายขอบเขตออกไปโดยขอพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ครูนกั เรยี น นักธรรม ดวย แตผเู รยี บเรยี งประสงคจ ะปรบั ปรงุ แกไ ขเพ่มิ เติมหนังสอื ทัง้ สองเลม น้ันกอน อกี ท้งั ยงั มงี านอนื่ ยุง อยูด วย ยงั เรม่ิ งานปรับปรุงทันทไี มได จึงตอ งร้ังรอจนเวลาลวงมาชานาน คร้นั ไดโ อกาสก็ปรับปรงุ เพมิ่ เติม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook