Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:56:40

Description: dictionary_of_buddhism_vocabulary_version พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Search

Read the Text Version

เยวาปนกธรรม ๓๓๐ โยนกอธกิ รณสมถะ โยคกิเลสทง้ั ๔ จําพวก; ดู โยคะ, เกษมเยวาปนกธรรม “ก็หรือวาธรรมแมอื่น จากโยคธรรมใด” หมายถึงธรรมจาํ พวกที่กําหนดแน โยคธรรม ธรรมคือกิเลสเคร่ืองประกอบไมไ ดว า ขอ ไหนจะเกิดขึน้ ไดแก เจตสิก ในขอ ความวา “เกษมจากโยคธรรม” คือ๑๖ เปนพวกท่ีเกิดในกศุ ลจติ ๙ คอื ๑. ความพน ภยั จากกิเลส; ดู โยคะฉนั ทะ ๒. อธิโมกข ๓. มนสิการ ๔. โยคักเขมะ ดู โยคเกษมอเุ บกขา (ตตั รมัชฌัตตตา) ๕. กรณุ า ๖. โยคาวจร ผหู ยง่ั ลงสคู วามเพยี ร, ผปู ระกอบมทุ ิตา ๗. สัมมาวาจา (วจีทุจรติ วริ ัต)ิ ๘. ความเพยี ร, ผเู จรญิ ภาวนา คอื กาํ ลงั ปฏบิ ตั ิสัมมากัมมันตะ (กายทุจริตวิรัติ) ๙. สมถกรรมฐานและวิปสสนากัมมัฏฐานสัมมาอาชีวะ (มจิ ฉาชีววริ ตั )ิ เปนพวกที่ เขยี น โยคาพจร กม็ ีเกิดในอกศุ ลจิต ๑๐ คือ ๑. ฉันทะ ๒. โยคี ฤษ,ี ผูปฏบิ ตั ติ ามลทั ธโิ ยคะ; ผูอธิโมกข ๓. มนสกิ าร ๔. มานะ ๕. ประกอบความเพียร; ดู โยคาวจรอิสสา ๖. มัจฉรยิ ะ ๗. ถนี ะ ๘. มทิ ธะ ๙. โยชน ช่ือมาตราวดั ระยะทาง เทา กบั ๔อทุ ธจั จะ ๑๐. กกุ กจุ จะ นบั เฉพาะท่ไี มซ้าํ คาวตุ หรอื ๔๐๐ เสน โยธา ทหาร, นกั รบ(คือเวน ๓ ขอ แรก) เปน ๑๖เย่ยี ง อยา ง, แบบ, เชน โยนก อาณาจกั รโบราณทางทศิ พายพั ของโยคะ 1. กิเลสเครื่องประกอบ คือ ชมพทู วีป (ปจจบุ นั อยูใ นเขตอาฟกาน-ิ ประกอบสัตวไวใ นภพ หรือผกู สัตวด ุจ สถาน และอุซเบกิสถานกับตาจิกสิ ถาน เทยี มไวก บั แอก มี ๔ คอื ๑. กาม ๒. แหงเอเชียกลาง) ช่ือวาบากเตรีย ภพ ๓. ทฏิ ฐิ ๔. อวิชชา 2. ความเพียร (Bactria; เรียก Bactriana orโยคเกษม, โยคเกษมธรรม ธรรมอัน Zariaspa กม็ )ี มเี มอื งหลวงชอื่ บากตราเปนแดนเกษมจากโยคะ” ความหมาย (Bactra ปจ จบุ นั เรยี กวา Balkh อยูในสามัญวาความปลอดโปรงโลงใจหรือสุข ภาคเหนือของอาฟกานิสถาน), เปน ดินกายสบายใจ เพราะปราศจากภัย แดนที่ชนชาติอารยันเขามาครอง แลวอันตรายหรือลวงพนสิ่งที่นาพรั่นกลัว ตกอยูใตอํานาจของจักรวรรดิเปอรเซียมาถงึ สถานทปี่ ลอดภยั ; ในความหมาย โบราณ และคงเนอื่ งจากมชี นชาตกิ รกี เผาขัน้ สูงสุด มุงเอาพระนพิ พาน อันเปน Ionians มาอยอู าศยั มาก ทางชมพทู วปีธรรมท่ีเกษมคือโปรงโลงปลอดภัยจาก จงึ เรยี กวา “โยนก” (ในคมั ภรี บ าลเี รียกวา

โยนก ๓๓๑ โยนกโยนก บาง โยนะ บา ง ยวนะ บา ง ซง่ึ มา ตั้งราชวงศโมริยะ (รูปสันสกฤตเปนจากคาํ วา “Ionian” นั่นเอง) เมารยะ) ขน้ึ ในปท ี่ ๓๒๑ กอ น ค.ศ. (พ.ศ. ๑๖๘) แลว ยกทพั มาเผชญิ กับแม เฉพาะอยา งยงิ่ เมอ่ื พระเจา อเลกซาน- ทัพใหญของอเลกซานเดอร ชื่อซีลูคัสเดอรม หาราช (Alexander the Great) (Seleucus) ที่มอี าํ นาจปกครองดนิ แดนกษัตริยกรีก ยกทัพแผอํานาจมาทาง แถบตะวนั ออกรวมทง้ั โยนกและคนั ธาระตะวันออก ลมจกั รวรรดเิ ปอรเ ซยี ลงได นนั้ (ตอ มาไดเ ปน กษตั รยิ แ หง บาบโิ ลเนียในปที่ ๓๓๑ กอ น ค.ศ. (ประมาณ ถือกันวาเปนกษัตริยแหงซีเรียโบราณ)พ.ศ.๑๕๘) แลว จะมาตชี มพทู วปี ผา น ซีลูคัสไดยอมยกคันธาระใหแกจันทร-บากเตรียซ่ึงเคยข้ึนกับเปอรเซียมา คุปต แมวาโยนกก็คงจะไดมาขึ้นตอประมาณ ๒๐๐ ป ก็ไดบ ากเตรียคือ มคธดวย ดังที่ศิลาจารึกของพระเจาแควน โยนกนัน้ ในปท ่ี ๓๒๙ กอน ค.ศ. อโศก (ครองราชยพ.ศ.๒๑๘–๒๖๐)(พ.ศ. ๑๖๐) จากนนั้ จงึ ไปตง้ั ทพั ทเี่ มอื ง กลาวถึงแวนแควนของชาวโยนกในเขตตกั ศลิ าในปท ่ี ๓๒๖ กอ น ค.ศ. เพอ่ื พระราชอํานาจ แตผูคนและวิถีชีวิตที่เตรียมเขาตีอินเดีย แตในที่สุดทรงลม นั่นกย็ ังเปน แบบกรีกสบื มาเลิกพระดาํ รินั้น และยกทัพกลับในปท่ี๓๒๕ กอ น ค.ศ. ระหวางทางเมื่อพกั ที่ เมื่อพระเจาอโศกทรงอุปถัมภการกรุงบาบิโลน ไดประชวรหนักและ สังคายนาคร้งั ที่ ๓ ใน พ.ศ.๒๓๕ แลวสวรรคตเมือ่ ปที่ ๓๒๓ กอ น ค.ศ. แม พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระไดมอบทัพกรีกที่พระเจาอเลกซานเดอรตั้งไวดู ภาระใหพระสงฆไปเผยแพรพระศาสนาแลดนิ แดนทตี่ ไี ด กป็ กครองโยนกตอ มา ในดนิ แดนตา งๆ ๙ สาย (เราเรยี กกนั วาโยนกตลอดจนคันธาระที่อยูใตลงมา พระศาสนทตู ) อรรถกถากลาววา พระ(ปจจุบันอยูในอาฟกานิสถานและปากี- มหารักขิตเถระไดมายงั โยนกรฐัสถาน) จงึ เปน ดนิ แดนกรกี และมวี ัฒน-ธรรมกรีกเตม็ ที่ หลังรัชกาลพระเจาอโศกมหาราชไม เตม็ ครง่ึ ศตวรรษ ราชวงศโ มรยิ ะกส็ ลาย ตอ มาไมนาน เม่ือพระอัยกาของพระ ลง ในชว งเวลานั้น บากเตรียหรอื โยนกเจา อโศกมหาราช คือพระเจาจันทรคปุ ต ก็ไดตั้งอาณาจักรของตนเองเปนอิสระ(เอกสารกรกี เรียก Sandrocottos หรือ (ตําราฝายตะวันตกบอกในทํานองวาSandrokottos) ขึ้นครองแควนมคธ บากเตรยี ไมไ ดม าขนึ้ ตอ มคธ ยงั ขน้ึ กบั

โยนิ ๓๓๒ โยมราชวงศข องซลี คู สั จนถงึ ปท ่ี ๒๕๐ กอ น กลายเปนสวนหน่ึงแหงดินแดนของชนค.ศ. ซ่ึงยังอยูในรัชกาลพระเจาอโศก ชาวมสุ ลมิ สบื มา ชือ่ โยนกก็เหลอื อยูแตบากเตรียจึงแยกตัว จากราชวงศของ ในประวตั ิศาสตรซลี คู ัส ออกมาตงั้ เปน อสิ ระ แตศ ลิ าจารกึ โยนิ กาํ เนิดของสัตว มี ๔ จาํ พวก คอื ๑.ของพระเจาอโศกก็บอกชัดวา มีแวน ชลาพชุ ะ เกิดในครรภ เชน คน แมวแควน โยนกในพระราชอาํ นาจ อาจเปน ได ๒. อณั ฑชะ เกิดในไข เชน นก ไก ๓.วา โยนกในสมยั นน้ั มที งั้ สว นทขี่ นึ้ ตอ สงั เสทชะเกดิ ในไคล คอื ทชี่ นื้ แฉะสกปรกมคธ และสว นทข่ี นึ้ ตอ ราชวงศกรกี ของ เชน หนอนบางอยา ง ๔. โอปปาติกะซลี คู สั แลว แข็งขอแยกออกมา) จากนน้ั เกิดผุดขน้ึ เชน เทวดา สัตวน รกบากเตรียไดมีอํานาจมากข้ึน ถึงกับ โยนโิ ส โดยแยบคาย, โดยถองแท, โดยขยายดินแดนเขามาในอินเดียภาคเหนือ วิธที ถี่ ูกตอ ง, ต้ังแตต นตลอดสาย, โดยดังท่ีโยนกไดมีช่ือเดนอยูในประวัติ ตลอดศาสตรพระพุทธศาสนาในสมัยของ โยนโิ สมนสกิ าร การทาํ ในใจโดยแยบคาย,พระเจา Menander ทพ่ี ทุ ธศาสนกิ ชน กระทาํ ไวใ นใจโดยอบุ ายอนั แยบคาย, การเรียกวา พญามิลินท ซ่ึงครองราชย พิจารณาโดยแยบคาย คอื พจิ ารณาเพอื่(พ.ศ.๔๒๓-๔๕๓) ที่เมืองสาคละ เขาถึงความจริงโดยสืบคนหาเหตุผลไป(ปจ จบุ นั เรยี กวา Sialkot อยใู นแควน ตามลําดับจนถึงตนเหตุ แยกแยะองคปญ จาบ ทเ่ี ปน สว นของปากสี ถาน) ประกอบจนมองเห็นตวั สภาวะและความ หลังรัชกาลพญามลิ ินทไ มน าน บาก สมั พนั ธแ หง เหตปุ จ จยั หรอื ตรติ รองใหร ูเตรียหรือโยนกตกเปนของชนเผาศกะที่ จักส่ิงท่ีดีที่ช่ัว ยังกุศลธรรมใหเกิดขึ้นเรร อ นรกุ รานเขา มา แลว ตอ มาก็เปนสวน โดยอุบายที่ชอบ ซึ่งจะมิใหเกิดอวิชชาหนึ่งของอาณาจักรกุษาณ (ท่ีมีราชายิ่ง และตณั หา, ความรจู กั คดิ , คดิ ถกู วธิ ;ีใหญพระนามวากนิษกะ, ครองราชย เทียบ อโยนิโสมนสิการพ.ศ.๖๒๑–๖๔๔) หลังจากน้ันก็มีการรกุ โยม คําที่พระสงฆใ ชเ รยี กคฤหัสถทีเ่ ปนรานจากภายนอกมาเปนระลอก จน บิดามารดาของตน หรือท่ีเปนผูใหญกระท่ังประมาณ ค.ศ.๗๐๐ (ใกล คราวบิดามารดา บางทีใชข ยายออกไปพ.ศ.๑๓๐๐) กองทัพมุสลิมอาหรับยก เรียกผูมีศรัทธาซ่ึงอยูในฐานะเปนผูมาถึงและเขาครอบครอง โยนกก็ได อุปถมั ภบํารุงพระศาสนา โดยทว่ั ไปกม็ ;ี

โยมวัด ๓๓๓ รองเทา คําใชแทนช่ือบิดามารดาของพระสงฆ; โยมสงฆ คฤหัสถผูอปุ การพระท่วั ๆ ไป สรรพนามบุรุษท่ี ๑ สาํ หรับบิดามารดา โยมอุปฏฐาก คฤหัสถทแี่ สดงตนเปนผู พูดกะพระสงฆ (บางทผี ใู หญคราวบิดา อุปการะพระสงฆโดยเจาะจง อุปการะ มารดา หรือผูเก้อื กูลคนุ เคยกใ็ ช) รูปใด ก็เปน โยมอุปฏ ฐากของรปู น้ันโยมวัด คฤหัสถท ่อี ยปู ฏิบตั ิพระในวดั รรจนา แตง , ประพนั ธ เชน อาจารยผู รักษาตัว เชนในเวลาแดดจัดรจนาอรรถกถา คือผูแตงอรรถกถา รมณีย นาบันเทิงใจ, นา ร่นื รมย, นา สนกุรตนะ ดู รตั นะ รส อารมณท ่ีรไู ดดวยล้นิ (ขอ ๔ ในรตนปรติ ร ดู ปริตร อารมณ ๖), โดยปรยิ าย หมายถงึ ความรตนวรรค ตอนท่ีวาดวยเร่ืองรัตนะ รูสกึ ชอบใจเปน ตน เปน วรรคที่ ๙ แหง ปาจติ ตยิ กณั ฑ รองเทา ในพระวินัยกลาวถงึ รองเทา ไว ๒ ชนิดคือ ๑. ปาทกุ า แปลกนั วา “เขียงในมหาวภิ ังค พระวินัยปฎกรตนวรรคสกิ ขาบท สกิ ขาบทในรตนวรรค เทา” (รองเทาไมห รือเก๊ยี ะ) ซ่ึงรวมไปถงึรตนสตู ร ดู ปรติ ร รองเทาโลหะ รองเทา แกว หรอื รองเทารติ ความยินดี ประดับแกว ตางๆ ตลอดจนรองเทาสานรม สาํ หรับพระภกิ ษุ หา มใชร ม ทก่ี าววาว รองเทาถักหรือปกตางๆ สําหรับพระเชน รมปก ดว ยไหมสีตางๆ และรมทม่ี ี ภิกษุหามใชปาทุกาทุกอยาง ยกเวนระบายเปนเฟอง ควรใชของเรียบๆ ซง่ึ ปาทุกาไมที่ตรึงอยูกับที่สําหรับถายทรงอนุญาตใหใชไดในวัดและอุปจาระ อุจจาระหรือปสสาวะและเปนที่ชําระขึ้นแหงวัด หามกน้ั รมเขาบา น หรอื กนั้ เดนิ เหยยี บได ๒. อุปาหนา รองเทาสามัญตามถนนหนทางในละแวกบาน เวน แต สําหรับพระภิกษุทรงอนุญาตรองเทาเจบ็ ไข ถกู แดดถกู ฝนอาพาธจะกาํ เรบิ เชน หนังสามญั (ถา ชั้นเดยี ว หรือมากชั้นแตปวดศรี ษะ ตลอดจน (ตามทอ่ี รรถกถา เปนของเกาใชไดท่ัวไป ถามากชั้นเปนผอนผนั ให) กน้ั เพอ่ื กันจีวรเปย กฝนใน ของใหม ใชไดเฉพาะแตในปจจันต-เวลาฝนตก กน้ั เพือ่ ปองกนั ภยั กั้นเพอ่ื ชนบท) มสี ายรดั หรือใชค ีบดว ยนิ้ว ไม

รอยกรอง ๓๓๔ รัชกาลปกหลงั เทา ไมป กสน ไมปกแขง นอก เปนตน เสียบเขาในระหวางใบตองท่ีจากน้ัน ตวั รองเทากต็ าม หหู รอื สายรัด เจียนไว แลวตรึงใหติดกันโดยรอบก็ตาม จะตองไมม สี ที ่ีตองหา ม (คอื สี แลวรอยประสมเขากับอยางอื่นเปนพวงขาบ เหลอื ง แดง บานเย็น แสด ชมพู เชน พวงภชู ัน้ เปน ตวั อยางดํา) ไมขลิบดวยหนังสัตวท่ีตองหาม รอ ยผูก คือชอ ดอกไมแ ละกลมุ ดอกไมที่(คอื หนงั ราชสีห เสือโครง เสอื เหลอื ง เขาเอาไมเสียบกานดอกไมแลวเอาดายชะมด นาค แมว คาง นกเคา) ไมย ัด พันหรือผูกทาํ ข้ึนนนุ ไมต รงึ หรอื ประดบั ดว ยขนนกกระทา รอยวง คือดอกไมท่ีรอยสวมดอกหรือขนนกยงู ไมม หี เู ปน ชอ ดงั เขาแกะเขาแพะ รอ ยแทงกานเปนสาย แลวผกู เขา เปนวงหรอื งามแมลงปอ ง รองเทาทผ่ี ดิ ระเบยี บ นีค้ ือพวงมาลัยเหลาน้ีถาแกไขใหถูกตองแลว เชน รอ ยเสยี บ คอื ดอกไมท รี่ อ ยสวมดอก เชนสํารอกสีออก เอาหนังที่ขลิบออกเสยี สายอบุ ะ หรอื พวงมาลยั มพี วงมาลัยเปน ตน กใ็ ชไ ด รองเทา ทถ่ี กู ลกั ษณะทรง ดอกปบ และดอกกรรณิการเ ปนตน หรอือนุญาตใหใชไดในวัด สวนที่มิใชตอง ดอกไมที่ใชเสียบไม เชนพุมดอกหา มและในปา หา มสวมเขา บา น และถา พุทธชาด พุมดอกบานเย็นเปนตัวอยา งเปนอาคันตุกะเขาไปในวัดอ่ืนก็ใหถอด ระยะบานหน่งึ ในประโยควา “โดยทสี่ ดุยกเวนแตฝาเทาบางเหยียบพื้นแข็งแลว แมสิ้นระยะบานหน่ึง เปนปาจิตติยะ”เจ็บ หรอื ในฤดรู อ น พน้ื รอนเหยียบแลว ระยะทางชว่ั ไกบ นิ ถงึ แตใ นทค่ี นอยคู บั คงั่เทาพอง หรือในฤดูฝนไปในที่แฉะ ภกิ ษุ ใหกําหนดตามเครื่องกําหนดที่มีอยูโดยผูอาพาธดวยโรคกษยั สวมกนั เทาเย็นได ปกตอิ ยางใดอยางหนึ่ง (เชนชือ่ หมูบา น)รอ ยกรอง ไดแกด อกไมท่รี อ ยถกั เปนตา ระลึกชอบ ดู สมั มาสติ รกั ขติ วนั ชือ่ ปาที่พระพุทธเจาเสดจ็ หลกีเปน ผืนท่เี รียกวา ตาขายรอยคุม คือเอาดอกไมรอยเปนสายแลว ไปสําราญพระอิริยาบถเมื่อสงฆเมืองควบหรือคมุ เขาเปนพวง เชน พวงอบุ ะ โกสัมพีแตกกนั ; ดู ปารเิ ลยยกะสําหรับหอยปลายภู หรือสําหรับหอย รงั สฤษฏ สรา ง, แตงตงั้ตามลาํ พงั เชน พะวง “ภูส าย” เปนตวั รงั สี แสง, แสงสวา ง, รศั มีอยาง; รอ ยควบ ก็เรียก รัชกาล เวลาครองราชสมบัติแหงพระรอยตรึง คือเอาดอกไมเชนดอกมะลิ ราชาองคหนงึ่ ๆ

รัชทายาท ๓๓๕ รตั นตรัยรชั ทายาท ผจู ะสืบราชสมบัต,ิ ผูจะได ไมบ อก ๔. อเูน คเณ จรณํ ประพฤตใิ นครองราชสมบัตสิ ืบตอ ไป คณะอันพรอ ง; สาํ หรับปรวิ าส มี ๓ คอืรัฏฐานุบาลโนบายราชธรรม ธรรม ๑. สหวาโส อยูรว ม ๒. วิปปฺ วาโส อยูของพระราชา ซึ่งเปนวิธีปกครองบาน ปราศ ๓. อนาโรจนา ไมบ อก เมอื่ ขาดเมือง, หลักธรรมสาํ หรับพระราชาใชเ ปน ราตรีในวันใด กน็ บั วนั นนั้ เขา ในจํานวนแนวปกครองบา นเมือง วันท่ีจะตองอยูปริวาสหรือประพฤติรัฏฐปาสะ ดู รฐั บาล มานตั น้นั ไมไ ด; ดูความหมายทีค่ าํ น้ันๆรัฐชนบท ชนบทคอื แวนแควน รัตน, รัตนะ แกว , ของวเิ ศษหรือมีคารฐั บาล พระมหาสาวกองคหนงึ่ เปน บตุ ร มาก, สิง่ ประเสรฐิ , สิ่งมคี าสูงยงิ่ เชนแหงตระกูลหัวหนาในถุลลโกฏฐิตนิคม พระรัตนตรัย และรัตนะของพระเจาในแควน กรุ ุ ฟง ธรรมแลว มคี วามเลอ่ื มใส จักรพรรด;ิ ในประโยควา “ทรี่ ัตนะยงั ไมในพระพุทธศาสนามาก ลาบดิ า มารดา ออก เปนปาจิตติยะ” หมายถึงพระบวช แตไ มไดร บั อนุญาต เสียใจมาก มเหสี, พระราชินีและอดอาหารจะไดตายเสีย บิดามารดา รัตนฆรเจดีย เจดยี คือเรือนแกว อยูทางจึงตองอนุญาต ออกบวชแลวไมนานก็ ทศิ ตะวันตกของรัตนจงกรมเจดีย หรือไดสาํ เร็จพระอรหตั ไดรบั ยกยองวา เปน ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตนพระศรี- เอตทัคคะในทางบวชดวยศรัทธา มหาโพธิ์ ณ ท่ีนี้พระพุทธเจาทรงรัตตญั ู “ผรู รู าตร”ี คอื ผูเกา แก ผา นคนื พิจารณาพระอภิธรรมปฎ กสน้ิ ๗ วนัวันมามาก รกู าลยืดยาว มปี ระสบการณ (สัปดาหท่ี ๔ แหง การเสวยวิมตุ ติสขุ ); ดูทันเรอื่ งเดมิ หรือรูเห็นเหตกุ ารณม าแต วมิ ุตติสุขตน เชน พระอญั ญาโกณฑญั ญะ ผูเปน รัตนจงกรมเจดีย เจดยี ค อื ทจ่ี งกรมแกวปฐมสาวก ไดรับยกยองจากพระพุทธ อยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตนเจา วา เปน เอตทัคคะในทางรัตตัญู พระศรมี หาโพธ์ิ ระหวา งตน พระศรมี หาโพธิ์รัตติกาล เวลากลางคืน กับอนิมิสเจดีย ณ ที่น้ีพระพุทธเจารตั ตเิ ฉท การขาดราตรี หมายถงึ เหตขุ าด เสด็จจงกรมตลอด ๗ วนั (สปั ดาหที่ ๓ราตรแี หงมานัต หรอื ปริวาส; สําหรับ แหงการเสวยวมิ ุตตสิ ุข); ดู วิมุตตสิ ุขมานตั มี ๔ คือ ๑. สหวาโส อยรู วม รัตนตรัย แกว ๓ ดวง, สิ่งมีคาและ๒. วิปปฺ วาโส อยูปราศ ๓. อนาโรจนา เคารพบูชาสูงสุดของพทุ ธศาสนกิ ชน ๓

รัตนบัลลงั ก ๓๓๖ ราชธรรม อยา ง คอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ สวย รักงาม แกดว ยเจรญิ กายคตาสติรัตนบัลลังก บัลลังกท่ีพระพุทธเจา หรืออสุภกมั มฏั ฐาน (ขอ ๑ ในจริต ๖) ประทับน่ังตรัสรู, ที่ประทับใตตนพระ ราคา ชอื่ ลกู สาวพระยามาร อาสาพระยาศรมี หาโพธิ มารเขาไปประโลมพระพุทธเจาดวยรศั มี แสงสวา ง, แสงทเี่ ห็นกระจายออก อาการตา งๆ พรอ มดว ยนางตณั หาและเปนสายๆ, แสงสวา งท่พี วยพุงออกจาก นางอรดี ในขณะท่ีพระพทุ ธเจาประทบัจุดกลาง; เขียนอยา งบาลีเปน รังสี แต อยูท ่ตี น อชปาลนโิ ครธ หลังจากตรัสรูในภาษาไทยใชในความหมายท่ีตางกัน ราคี ผูม ีความกาํ หนดั ; มลทิน, เศราออกไปบาง หมอง, มัวหมองรสั สะ (สระ) มเี สยี งส้นั อันพึงวา โดย ราชการ กิจการงานของประเทศ หรอื ระยะสั้นก่ึงหนึ่งแหงสระท่ีมีเสียงยาว ของพระเจาแผนดิน, หนาท่ีหลั่งความ ในภาษาบาลี ไดแก อ อิ อ;ุ คูกบั ทีฆะ ยินดีแกประชาชนรากขวัญ สวนของรางกายท่ีเรียกวาไห ราชกมุ าร ลกู หลวง ปลารา ; ตาํ นานกลา ววา ในบรรดาพระ ราชคฤห นครหลวงของแควน มคธ เปนบรมสารีริกธาตุท้ังหลายนั้น พระราก นครทีม่ ีความเจรญิ รุงเรือง เตม็ ไปดว ยขวัญเบ้ืองขวาข้ึนไปประดิษฐานอยูใน คณาจารยเจาลัทธิ พระพุทธเจาทรงจฬุ ามณเี จดยี  ณ ดาวดงึ สเทวโลก พระ เลือกเปนภูมิท่ีประดิษฐานพระพุทธ-รากขวญั เบอ้ื งซาย ข้นึ ไปประดษิ ฐานอยู ศาสนาเปน ปฐม พระเจา พิมพิสาร ราชาในทุสสเจดีย (เจดียที่ฆฏิการพรหม แหง แควน มคธ ครองราชสมบตั ิ ณ นครน้ีสรางขึ้นไวก อนแลว ใหเปน ท่บี รรจุพระ ราชทณั ฑ โทษหลวง, อาญาหลวงภษู าเครอื่ งทรงในฆราวาสทีพ่ ระโพธสิ ตั ว ราชเทวี พระมเหส,ี นางกษัตรยิ สละในคราวเสด็จออกบรรพชา) ณ ราชธรรม ธรรมสําหรับพระเจา แผน ดนิ ,พรหมโลก คุณสมบัติของนกั ปกครองทีด่ ี สามารถราคะ ความกําหนัด, ความติดใจหรือ ปกครองแผนดินโดยธรรมและยัง ความยอมใจติดอยู, ความติดใครใน ประโยชนสุขใหเกิดแกประชาชนจนเกิด อารมณ; ดู กามราคะ, รูปราคะ, อรปู - ความชื่นชมยนิ ดี มี ๑๐ ประการ (นยิ ม ราคะ เรยี กวา ทศพิธราชธรรม) คอื ๑. ทานราคจรติ พนื้ นสิ ยั ทหี่ นกั ในราคะ เชน รกั การใหท รพั ยส นิ สงิ่ ของ ๒. ศลี ประพฤติ

ราชธานี ๓๓๗ ราชปู ถมั ภดงี าม ๓. ปรจิ จาคะ ความเสียสละ ๔. ราชสมบตั ิ สมบัติของพระราชา, สมบตั ิอาชชวะ ความซื่อตรง ๕. มัททวะ คือความเปน พระราชาความออนโยน ๖. ตบะ ความทรงเดช ราชสังคหวัตถุ สังคหวัตถขุ องพระราชา,เผากิเลสตณั หา ไมหมกมนุ ในความสุข หลักการสงเคราะหประชาชนของนักปกสาํ ราญ ๗. อกั โกธะ ความไมกรว้ิ โกรธ ครอง มี ๔ คือ ๑. สสั สเมธะ ฉลาด๘. อวหิ ิงสา ความไมข มเหงเบียดเบียน บาํ รงุ ธญั ญาหาร ๒. ปุรสิ เมธะ ฉลาด๙. ขนั ติ ความอดทนเขม แขง็ ไมท อ ถอย บํารุงขาราชการ ๓. สัมมาปาสะ ผูก๑๐. อวโิ รธนะ ความไมค ลาดธรรม ผสานรวมใจประชา (ดวยการสงเสริมราชธานี เมืองหลวง, นครหลวง สมั มาชพี ใหค นจนตงั้ ตวั ได) ๔. วาชไปยะราชิธิดา ลูกหญงิ ของพระเจา แผนดนิ มวี าทะดดู ดมื่ ใจราชนิเวศน ท่ีอยูของพระเจาแผนดิน, ราชสาสน หนังสือทางราชการของพระพระราชวัง ราชาราชบรวิ าร ผูแวดลอมพระราชา, ผหู อ ม ราชอาสน ที่นัง่ สําหรับพระเจาแผน ดนิ ราชา “ผยู งั เหลา ชนใหอมิ่ เอมใจ” หรอื “ผูลอ มตดิ ตามพระราชาราชบุตร ลูกชายของพระเจาแผนดนิ ทาํ ใหค นอนื่ มคี วามสขุ ”, พระเจา แผน ดนิ ,ราชบุตรี ลูกหญงิ ของพระเจา แผน ดนิ ผูป กครองประเทศราชบุรุษ คนของพระเจาแผน ดิน ราชาณัติ คําสงั่ ของพระราชาราชพลี ถวายเปนหลวง หรือบาํ รงุ ราชการ ราชาธริ าช พระราชาผเู ปน ใหญกวาพระมีเสียภาษีอากร เปน ตน , การจดั สรรสละ ราชาอนื่ ๆรายไดหรือทรัพยสวนหน่ึงเปนคาใชจาย ราชาภเิ ษก พระราชพธิ ใี นการขนึ้ สบื ราช-สําหรับชวยราชการดวยการเสียภาษี สมบตั ิอากร เปน ตน , การบริจาครายไดหรอื ราชายตนะ ไมเ กต อยทู างทศิ ใตแ หงตนทรัพยสวนหนึ่งเพื่อชวยเหลือกิจการ พระศรีมหาโพธิ์ ณ ท่ีน้ีพระพุทธเจาบานเมอื ง (ขอ ๔ แหงพลี ๕ ในโภค- ประทบั นงั่ เสวยวิมุตติสขุ ๗ วัน พอ คาอาทิยะ ๕) ๒ คน คือ ตปสุ สะกบั ภัลลกิ ะ ซงึ่ มาราชภฏี ราชภฏั หญงิ , ขาราชการหญงิ จากอกุ กลชนบท ไดพ บพระพทุ ธเจา ทน่ี ;ี่ราชภฏั ผอู นั พระราชาเลย้ี ง คอื ขา ราชการ ดู วิมุตติสุขราชวโรงการ คําส่ังของพระราชา ราชูปถัมภ การที่พระราชาทรงเกื้อกูล

ราชปู โภค ๓๓๘ ราหลุอุดหนุน สวนมากเปน มอญเองดวยโดยสญั ชาติราชูปโภค เครอื่ งใชส อยของพระราชา รามัญวงศ ชือ่ นิกายพระสงฆล งั กาทบ่ี วชราโชวาท คําสัง่ สอนของพระราชา จากพระสงฆม อญราตรี กลางคืน, เวลามืดคํา่ รามายณะ เร่ืองราวของพระราม วา ดว ยราธะ พระมหาสาวกองคห น่ึง เดิมเปน เร่ืองศึกระหวางพระรามกับทศกัณฐพราหมณในเมืองราชคฤห เมื่อชราลง พระฤษวี าลมกี ิเปน ผแู ตง เปน ท่ีมาเร่อื งถูกบตุ รทอดท้งิ อยากจะบวชกไ็ มม ีภกิ ษุ รามเกียรติ์ของไทยรับบวชให เพราะเห็นวาเปน คนแกเ ฒา ราศี 1. ช่ือมาตราวัดจักรราศคี อื ๓๐ราธะเสยี ใจ รา งกายซบู ซดี พระศาสดา องศาเปน ๑ ราศี และ ๑๒ ราศเี ปน ๑ทรงทราบจึงตรสั ถามวา มีใครระลึกถงึ รอบจักรราศี (อาณาเขตโดยรอบดวงอุปการะของราธะไดบาง พระสารีบุตร อาทิตยท่ีดาวพระเคราะหเดิน); ราศีระลึกถงึ ภิกษาทพั พีหนึ่งทร่ี าธะถวาย จึง ๑๒ น้ัน คือ ราศีเมษ (แกะ), พฤษภรบั เปนอุปช ฌาย และราธะไดเปน บคุ คล (ววั ), เมถุน (คนคู), กรกฏ (ปู), สิงหแรกที่อุปสมบทดวยญัตติจตุตถกรรม- (ราชสหี ) , กนั ย (หญงิ สาว) ตลุ (คนั่ ช่ัง),วาจา ทา นบวชแลว ไมนานกไ็ ดบ รรลพุ ระ พฤศจิก (แมลงปอง), ธนู (ธนู), มกรอรหตั พระราธะเปน ผวู า งา ย ตง้ั ใจรับฟง (มังกร), กุมภ (หมอ นํ้า) มนี (ปลา ๒คาํ ส่ังสอน มีความสภุ าพออนโยน เปน ตวั ) 2. อาการท่รี ุงเรอื ง, ลักษณะทีด่ ีงามตัวอยางของภิกษุผูบวชเมอื่ แก ทงั้ พระ 3. กอง เชน บุญราศี วากองบญุพทุ ธเจา และพระสารบี ตุ รกช็ มทา น ทา น ราหลุ พระมหาสาวกองคหน่งึ เปน โอรสเคยไดใ กลช ดิ พระพทุ ธเจา เคยทําหนาที่ ของเจา ชายสิทธตั ถะ คราวพระพทุ ธเจาเปนพุทธอุปฐาก ไดรับยกยองเปน เสด็จนครกบลิ พัสดุ ราหลุ กมุ ารเขา เฝา เอตทคั คะในทางกอ ใหเ กิดปฏภิ าณ ทูลขอทายาทสมบัติตามคําแนะนําของรามคาม นครหลวงของแควน โกลยิ ะ บัด พระมารดา พระพุทธเจาจะประทานนี้อยูในเขตประเทศเนปาล เปนที่ อรยิ ทรพั ย จงึ ใหพระสารีบุตรบวชราหุลประดิษฐานสถูปบรรจุพระบรม- เปนสามเณร นับเปนสามเณรองคแรกสารีรกิ ธาตุแหงหนงึ่ ในพระพุทธศาสนา ตอ มาไดอุปสมบทรามญั นิกาย นกิ ายมอญ หมายถึงพระ เปนภิกษุไดรับยกยองวาเปนเอตทัคคะสงฆผูสืบเช้ือสายมาจากรามัญประเทศ ในทางเปน ผใู ครต อ การศกึ ษา อรรถกถา

ริบราชบาตร ๓๓๙ รปู ๒๘วาพระราหุลปรินิพพานในสวรรคชั้น รูป ๒๘ รูปธรรมทั้งหมดในรูปขันธดาวดึงสกอนพุทธปรินิพพานและกอน จําแนกออกไปตามนัยแหงอภิธรรมเปนการปรนิ ิพพานของพระสารบี ตุ ร ๒๘ อยา ง จัดเปน ๒ ประเภท คือริบราชบาตร เอาทรพั ยสนิ เปนของหลวง ก. มหาภูต ๔ รปู ใหญ, รปู ตนเดมิ คือตามกฎหมาย เพราะเจาของตองโทษ ธาตุ ๔ ไดแก ปฐวี อาโป เตโช และ แผน ดนิ วาโย ที่เรียกกันใหง ายวา ดิน นํ้า ไฟรษิ ยา ความไมอ ยากใหคนอื่นไดด,ี เห็น ลม, ภูตรปู ๔ ก็เรียก (ในคัมภรี ไ มน ยิ มเขาไดดีทนอยูไมได, เห็นผูอ่ืนไดดีไม เรียกวา มหาภูตรปู )สบายใจ, คําเดมิ ในสนั สกฤตเปน อีรษฺ า พึงทราบวา ธาตุ ๔ คอื ปฐวี อาโปบาลใี ชว า อิสสฺ า (ขอ ๓ ในมละ ๙; ขอ เตโช วาโย หรือ ดนิ นํา้ ไฟ ลม อยางที่๘ ในสังโยชน ๑๐ หมวด ๒; ขอ ๗ ใน พดู กนั ในภาษาสามญั นน้ั เปน การกลาวอปุ กิเลส ๑๖) ถึงธาตุในลักษณะท่ีคนท่ัวไปจะเขาใจรุกข, รกุ ขชาติ ตน ไม และสื่อสารกันได ตลอดจนท่ีจะใชใหรุกขมูลิกังคะ องคแหงผูถืออยูโคนไม สําเร็จประโยชน เชน ในการเจริญเปนวัตร ไมอยใู นทีม่ ุงบงั (ขอ ๙ ใน กรรมฐาน เปนตน แตใ นความหมายที่ธดุ งค ๑๓) แทจ ริง ธาตเุ หลา นี้เปน สภาวะพ้นื ฐานที่รจุ ิ ความชอบใจ มอี ยใู นรปู ธรรมทกุ อยาง เชน ปฐวีธาตุรูป 1. สิ่งท่ีตองสลายไปเพราะปจจัย ท่ีเรียกใหสะดวกวาดินนั้น มีอยูแมแตตางๆ อันขดั แยง, ส่ิงทีเ่ ปน รูปรางพรอม ในสิ่งที่เรียกกันสามัญวานํ้าวาลมทง้ั ลักษณะอาการของมนั , สว นรา งกาย อาโปธาตุท่ีเรียกใหสะดวกวาน้าํ ก็เปนจาํ แนกเปน ๒๘ คอื มหาภตู หรือ ธาตุ สภาวะท่ีสัมผัสดวยกายไมได (เราไม๔ และ อุปาทายรูป ๒๔ (= รูปขันธใน สามารถรับรูอาโปธาตุดวยประสาททัง้ ๕ขนั ธ ๕); ดู รปู ๒๘ 2. อารมณทรี่ ูไ ด แตมันเปนสุขุมรูปที่รูดวยมโน) และดวยจกั ษุ, สิ่งทป่ี รากฏแกตา (ขอ ๑ ใน อาโปน้ันก็มอี ยูใ นรูปธรรมทั่วไป แมแ ตอารมณ ๖ หรอื ในอายตนะภายนอก ๖) ในกอนหนิ แหง ในกอ นเหล็กรอน และ3. ลักษณนามใชเรยี กพระภิกษุสามเณร ในแผนพลาสติก ดังนี้เปนตน จึงมีเชน ภกิ ษุรูปหน่งึ สามเณร ๕ รปู ; ใน ประเพณีจําแนกธาตุส่ีแตละอยางน้ันภาษาพดู บางแหง นิยมใช องค เปน ๔ ประเภท ตามความหมายทใี่ ชใ น

รปู ๒๘ ๓๔๐ รูป๒๘แงและระดับตางๆ คอื เปนธาตุในความ ไหลซา น เอบิ อาบ ซาบซมึ เกาะกมุ (เรยี กหมายที่แทโดยลกั ษณะ (ลกั ขณะ) ธาตุ ปรมัตถอาโป กไ็ ด) ๒.สสมั ภารอาโปในสภาพมีสิ่งประกอบปรุงแตงที่มนุษย อาโปโดยพรอมดวยเครื่องประกอบเขาถึงเกี่ยวของตลอดจนใชงานใชการ ภายในกาย เชน ดี เสมหะ หนอง เลือดซึ่งถือเปนธาตุอยางน้ันๆ ตามลักษณะ เหงื่อ ภายนอกตวั เชน นํ้าดื่ม นํ้าชา นํ้าเดนท่ปี รากฏ (สสมั ภาร) ธาตุในความหมายท่ีใชเปนอารมณในการเจริญ ยา น้ําผลไม นาํ้ ฝน นํา้ ผ้ึง นํ้าตาล หว ยกรรมฐาน (นมิ ติ หรือ อารมณ) ธาตใุ น ละหาน แมน าํ้ คลอง บงึ ๓.อารมั มณ-ค ว า ม ห ม า ย ต า ม ท่ี ส ม ม ติ เ รี ย ก กั น อาโป อาโปโดยเปน อารมณ คือน้าํ ท่ี(สมมต)ิ ดังตอไปน้ี เปนนิมิตในกรรมฐาน (เรียก นิมิตต- อาโป หรอื กสณิ อาโป กไ็ ด) ๔.สมมต-ิ ปฐวธี าตุ ๔ อยา ง คอื ๑.ลกั ขณปฐวี อาโป อาโปโดยสมมตเิ รยี กกันไปตามท่ีปฐวโี ดยลกั ษณะ ไดแ ก ภาวะแขนแขง็ ตกลงบัญญัติ เชน ทน่ี บั ถอื นา้ํ เปน เทวดาแผไป เปนที่ต้งั อาศัยใหปรากฏตัวของ เรยี กวา แมพ ระคงคา พระพริ ณุ เปน ตนประดารูปทเี่ กดิ รวม (เรยี ก ปรมตั ถปฐวี (บญั ญัตอิ าโป ก็เรียก)บาง กักขฬปฐวี บาง ก็ม)ี ๒.สสมั ภาร- เตโชธาตุ ๔ อยา ง คอื ๑.ลกั ขณ-ปฐวี ปฐวีโดยพรอมดว ยเครอ่ื งประกอบภายในกาย เชน ผม ขน เลบ็ ฟน หนงั เตโช เตโชโดยลกั ษณะ ไดแ ก สภาวะท่ี รอ น ความรอ น ภาวะทแ่ี ผดเผา สภาวะที่ภายนอกตัว เชน ทอง เงิน เหลก็ กรวดศิลา ภเู ขา ๓.อารมั มณปฐวี ปฐวโี ดย ทาํ ใหย อ ยสลาย (เรยี ก ปรมตั ถเตโช กไ็ ด)เปนอารมณ คือดินเปนอารมณใน ๒.สสมั ภารเตโช เตโชโดยพรอมดวย เครอ่ื งประกอบ ภายในกาย เชน ไอรอ นกรรมฐาน โดยเฉพาะมงุ เอาปฐวกี สณิ ที่ ของรางกาย ไฟที่เผาผลาญยอยอาหารเปนปฏภิ าคนมิ ติ (เรยี ก นิมิตตปฐวี บา งกสณิ ปฐวี บา ง กม็ )ี ๔.สมมตปิ ฐวี ปฐวี ไฟที่ทํากายใหทรุดโทรม ภายนอกตัวโดยสมมติเรียกกันไปตามที่ตกลง เชน ไฟถา น ไฟฟน ไฟนาํ้ มัน ไฟปา ไฟบญั ญตั ิ เชน ทน่ี บั ถอื แผน ดนิ เปน เทวดา หญา ไฟฟา ไอแดด ๓.อารมั มณเตโช เตโชโดยเปน อารมณ คือไฟที่เปนนมิ ติวา แมพ ระธรณี (บญั ญัติปฐวี ก็เรยี ก) อาโปธาตุ ๔ อยา ง คอื ๑.ลกั ขณ- ในกรรมฐาน (เรียก นิมิตตเตโช หรือ กสณิ เตโช ก็ได) ๔.สมมตเิ ตโช เตโชอาโป อาโปโดยลกั ษณะ ไดแ ก ภาวะ โดยสมมติเรียกกันไปตามท่ีตกลง

รปู ๒๘ ๓๔๑ รูป๒๘บญั ญัติ เชน ทน่ี บั ถอื ไฟเปน เทวดา เรยี ก เขาจํานวน เพราะตรงกับปฐวี เตโชวา แมพ ระเพลงิ พระอคั นเี ทพ เปน ตน วาโย ซ่งึ เปน มหาภูตรปู ) ค. ภาวรปู ๒ ไดแ ก อติ ถีภาวะ ความเปน หญิง และ(บญั ญัตเิ ตโช กเ็ รยี ก) ปุริสภาวะ ความเปน ชาย ง. หทัยรูป คอื วาโยธาตุ ๔ อยา ง คอื ๑.ลกั ขณ- หทัยวัตถุ หัวใจ จ. ชีวิตรูป ๑ คือ ชีวิตินทรีย ภาวะทรี่ กั ษารูปใหเปนอยู ฉ.วาโย วาโยโดยลกั ษณะ ไดแก สภาวะท่ี อาหารรูป ๑ คอื กวฬงิ การาหาร อาหารสนั่ ไหว คาํ้ จนุ เครง ตงึ (เรยี ก ปรมัตถ- ท่กี ินเกดิ เปน โอชา ช. ปริจเฉทรูป ๑ คือวาโย กไ็ ด) ๒.สสมั ภารวาโย วาโยโดย อากาศธาตุ ชอ งวาง ญ. วิญญัติรูป ๒ คือพรอ มดว ยเครอ่ื งประกอบ ภายในกาย กายวญิ ญตั ิ ไหวกายใหร คู วาม วจวี ญิ ญตั ิ ไหววาจาใหร คู วาม คอื พดู ฎ. วกิ ารรปู ๕เชน ลมหายใจ ลมในทอ ง ลมในไส ลม อาการดัดแปลงตางๆ ไดแก ลหุตา ความเบา, มทุ ตุ า ความออ น, กมั มญั ญตาหาว ลมเรอ ภายนอกตวั เชน ลมพดั ลม ความควรแกง าน, (อกี ๒ คอื วญิ ญตั ริ ปู ๒ นัน่ เอง ไมน ับอีก) ฏ. ลักขณรูป ๔ ไดลมสูบยางรถ ลมเปา ไฟใหโ ชน ลมรอ น แก อุปจยะ ความเตบิ ขึน้ ได, สันตติ สบื ตอ ได, ชรตา ทรดุ โทรมได, อนจิ จตาลมหนาว ลมพายุ ลมฝน ลมเหนอื ลมใต ความสลายไมยงั่ ยนื (นบั โคจรรปู เพยี ง๓.อารมั มณวาโย วาโยโดยเปนอารมณคือลมท่ีเปนนิมิตในกรรมฐาน (เรียก ๔ วิการรูปเพยี ง ๓ จึงได ๒๔)นมิ ติ ตวาโย หรอื กสณิ วาโย ก็ได) ๔. รูป ๒๘ น้ัน นอกจากจัดเปน ๒สมมตวิ าโย วาโยโดยสมมตเิ รียกกันไปตามทตี่ กลงบญั ญตั ิ เชน ทน่ี บั ถอื ลมเปน ประเภทหลักอยางนี้แลว ทานจัดแยกเทวดา เรียกวาพระมารุต พระพาย ประเภทเปนคูๆ อกี หลายคู พึงทราบเปนตน (บัญญัติวาโย ก็เรียก); ดู ธาตุ,ปฐวธี าต,ุ อาโปธาต,ุ เตโชธาต,ุ วาโยธาตุ โดยสงั เขป ดงั นี้ข. อปุ าทายรูป ๒๔ รปู อาศัย, รปู ทเี่ กดิ คทู ี่ ๑: นปิ ผันนรูป (รปู ทส่ี ําเร็จ คอื เกดิ จากปจจัยหรือสมุฏฐาน อันไดแกสบื เนือ่ งจากมหาภตู , อาการของภตู รปู ,อุปาทารปู ๒๔ กเ็ รียก, มี ๒๔ คือ ก. กรรม จิต อุตุ อาหาร โดยตรง มสี ภาว-ประสาท หรอื ปสาทรปู ๕ ไดแ ก จกั ขุตา, โสต หู, ฆานะ จมกู , ชวิ หา ล้ิน, ลกั ษณะของมันเอง) มี ๑๘ คอื ที่มใิ ชกาย, มโน ใจ ข. โคจรรปู หรอื วสิ ยั รูป(รปู ทีเ่ ปน อารมณ) ๕ ไดแก รปู เสียง อนปิ ผนั นรปู (รปู ทีม่ ไิ ดสาํ เรจ็ จากปจจยักลนิ่ รส โผฏฐพั พะ (โผฏฐัพพะไมน ับ

รปู ๒๘ ๓๔๒ รูป๒๘หรือสมุฏฐานโดยตรง ไมมีสภาว- ๔); ทท่ี า นวาอยา งน้ี มิไดข ดั กนั ดังที่ลักษณะของมันเอง เปนเพียงอาการสําแดงของนปิ ผันนรูป) ซงึ่ มี ๑๐ คือ ปญ จกิ า ชแ้ี จงวา ทน่ี บั อปุ าทนิ นรปู เปน ๙ปรจิ เฉทรปู ๑ วิญญตั ติรปู ๒ วิการรูป๓ ลักขณรปู ๔ กเ็ พราะเอาเฉพาะเอกนั ตกมั มชรปู คอื รปูคูท่ี ๒: อนิ ทรียรปู (รปู ท่ีเปน อินทรียคอื เปนใหญใ นหนา ที)่ มี ๘ คือ ปสาท- ทเ่ี กดิ จากกรรมอยา งเดยี วแทๆ (ไมม ใี นรปู ๕ ภาวรปู ๒ ชีวิตรปู ๑ อนนิ ทรยี -รูป (รปู ท่มี ิใชเปน อนิ ทรีย) มี ๒๐ คือ ที่ อตุ ชุ รปู เปน ตน ) ซงึ่ มเี พยี ง ๙ อยา งดงั ที่เหลือจากนน้ัคทู ่ี ๓: อปุ าทนิ นรปู (รปู ทตี่ ณั หาและทฏิ ฐิ กลา วแลว (คอื อินทรียรปู ๘ และหทัย-ยึดครอง คอื รปู ซ่ึงเกดิ แตก รรม ที่เปนอกุศลและโลกียกุศล) ไดแกกัมมชรปู รปู ๑) สว นกมั มชรปู อกี ๙ อยา ง (อว-ิมี ๑๘ คอื อินทรยี รูป ๘ น้นั หทยั รปู๑ อวนิ พิ โภครูป ๘ ปรจิ เฉทรปู ๑ นิพโภครปู ๘ ปรจิ เฉทรปู ๑) ไมน บั เขาอนุปาทินนรปู (รปู ทีต่ ัณหาและทฏิ ฐไิ มยึดครอง มิใชกัมมชรูป) ไดแกร ปู ๑๐ ดว ย เพราะเปน อเนกนั ตกมั มชรปู คอื มิอยา งทเ่ี หลอื (คอื สัททรูป ๑ วญิ ญัตต-ิรปู ๒ วิการรปู ๓ ลกั ขณรปู ๔) ใชเปนรูปท่ีเกิดจากกรรมอยางเดียวแท สาํ หรบั คทู ่ี ๓ น้ี มขี อ ทตี่ อ งทาํ ความ (จติ ตชรปู กด็ ี อตุ ชุ รปู กด็ ี อาหารชรปู กด็ ีเขา ใจซบั ซอ นสกั หนอ ย คอื ทก่ี ลา วมานนั้เปนการอธิบายตามคัมภีรอภิธัมมัตถ- ลว นมรี ปู ๙ อยา งนเ้ี หมอื นกบั กมั มชรปูวภิ าวินี แตในโมหวิจเฉทนี ทา นกลาววาอปุ าทนิ นรปู มี ๙ เทานน้ั ไดแกอ นิ ทรยี - ทงั้ นนั้ )รปู ๘ และหทยั รปู ๑ อนุปาทินนรปู ไดแกร ปู ๑๙ อยา งทเี่ หลอื (คอื อวินิพโภค โดยนัยนี้ เมือ่ นบั อเนกนั ตกมั มชรปูรปู ๘ ปรจิ เฉทรปู ๑ สทั ทรปู ๑วิญญัตติรปู ๒ วิการรปู ๓ ลักขณรูป (ยอมนบั รปู ทซี่ า้ํ กนั ) รวมเขา มาดว ย กจ็ งึ มีวิธพี ดู แสดงความหมายของรปู คทู ่ี ๓ นี้แบบปนรวมวา อุปาทินนรูป ไดแก กมั มชรูป ๑๘ คอื อนิ ทรียรปู ๘ หทยั - รปู ๑ อวนิ พิ โภครูป ๘ ปรจิ เฉทรปู ๑ อนปุ าทินนรูป ไดแก จิตตชรปู ๑๕ (รูป ท่ีเกดิ แตจติ : วญิ ญตั ตริ ูป ๒ วิการรปู ๓ สัททรูป ๑ อวินพิ โภครูป ๘ ปริจเฉทรปู ๑) อุตชุ รูป ๑๓ (รปู ทีเ่ กิดแตอุตุ: วกิ าร- รปู ๓ สทั ทรูป ๑ อวนิ พิ โภครปู ๘ ปรจิ - เฉทรปู ๑) อาหารชรูป ๑๒ (รปู ทเ่ี กดิ แตอาหาร: วิการรปู ๓ อวินพิ โภครูป ๘ ปรจิ เฉทรปู ๑) คูท่ี ๔: โอฬารกิ รูป (รปู หยาบ ปรากฏ

รปู ๒๘ ๓๔๓ รูป๒๘ชดั ) มี ๑๒ คอื ปสาทรปู ๕ วิสัยรปู ๗ คทู ี่ ๑๐: อชั ฌตั ตกิ รปู (รปู ภายใน ฝา ย ของตนท่จี ะรบั รูโลก) มี ๕ คือ ปสาทรูปสุขุมรปู (รปู ละเอียด รบั รูทางประสาท ๕ พาหริ รูป (รูปภายนอก เหมือนเปนทงั้ ๕ ไมได รูไดแตทางมโนทวาร) มี พวกอนื่ ) มี ๒๓ คือ ทเ่ี หลือจากนัน้๑๖ คอื ทเ่ี หลอื จากนัน้ คทู ี่ ๑๑: โคจรคั คาหกิ รปู (รปู ทรี่ บั โคจรคูท ี่ ๕: สันติเกรปู (รูปใกล รบั รูงาย) มี คอื รบั รอู ารมณห า ) มี ๕ คอื ปสาทรปู ๕๑๒ คือ ปสาทรปู ๕ วสิ ัยรูป ๗ ทูเรรปู (แยกยอ ยเปน ๒ พวก ไดแก สมั ปต ต- โคจรคั คาหิกรูป รปู ซง่ึ รบั อารมณท ไี่ มม า(รปู ไกล รบั รยู าก) มี ๑๖ คือ ท่ีเหลอื ถงึ ตนได มี ๒ คอื จกั ขุ และโสตะ กบั อสัมปตตโคจรัคคาหิกรูป รูปซึ่งรับจากน้ัน [เหมือนคูที่ ๔] อารมณท มี่ าถงึ ตน มี ๓ คอื ฆานะ ชวิ หาคทู ่ี ๖: สัปปฏฆิ รปู (รูปท่มี ีการกระทบใหเกดิ การรับรู) มี ๑๒ คอื ปสาทรปู ๕ และกาย) อโคจรัคคาหิกรูป (รูปท่ีรับวสิ ัยรปู ๗ อปั ปฏฆิ รูป (รปู ที่ไมมีการ โคจรไมไ ด) มี ๒๓ คือ ท่เี หลือจากนัน้กระทบ ตองรดู ว ยใจ) มี ๑๖ คอื ที่ [เหมอื นคูที่ ๑๐] คทู ี่ ๑๒: อวนิ พิ โภครปู (รปู ทแี่ ยกจากกนัเหลอื จากนั้น [เหมอื นคทู ่ี ๔] ไมไ ด) มี ๘ คอื ภตู รปู ๔ วณั ณะ ๑คทู ี่ ๗: สนิทสั สนรูป (รูปที่มองเห็นได)มี ๑ คือ วัณณะ ๑ (ไดแกร ปู ารมณ) คนั ธะ ๑ รสะ ๑ โอชา (คืออาหารรปู ) ๑อนิทัสสนรูป (รูปที่มองเห็นไมได) มี [ท่ีประกอบกันเปนหนวยรวมพ้ืนฐาน๒๗ คอื ทเี่ หลอื จากนั้น ของรปู ธรรม ทเ่ี รยี กวา “สทุ ธฏั ฐกกลาป”]คทู ี่ ๘: วัตถรุ ปู (รูปเปน ทต่ี ง้ั อาศยั ของจิตและเจตสกิ ) มี ๖ คือ ปสาทรปู ๕ วนิ พิ โภครปู (รปู ทแ่ี ยกจากกนั ได) มี ๒๐หทัยรปู ๑ อวตั ถุรปู (รปู อันไมเปนทต่ี ง้ั คือ ท่เี หลอื จากนัน้อาศัยของจิตและเจตสิก) มี ๒๒ คือ ท่ี นอกจากรูปท่ีจัดประเภทเปนคูดังท่ีเหลือจากนัน้ กลา วมาน้ีแลว ในพระไตรปฎ กกลาวถงึคูที่ ๙: ทวารรปู (รปู เปน ทวาร คือเปนทางรับรูของวิญญาณหา และทางทํา รปู ชุดที่มี ๓ ประเภท ซึ่งเทียบไดก บั ท่ีกายกรรมและวจีกรรม) มี ๗ คือ แสดงขา งตน คอื (เชน ท.ี ปา.๑๑/๒๒๘/๒๒๙)ปสาทรูป ๕ วิญญัตติรปู ๒ อทวารรปู สนิทัสสนสัปปฏิฆรปู (รูปทม่ี องเหน็ และ(รูปอันมใิ ชเ ปนทวาร) มี ๒๑ คอื ที่ มีการกระทบใหเกดิ การรับรูไ ด) มี ๑ ไดเหลือจากนั้น แกรปู ารมณ คือวณั ณะ อนทิ ัสสนสปั -

รปู กลาป ๓๔๔ รปู สัญเจตนาปฏิฆรูป (รปู ทมี่ องเหน็ ไมไ ด แตมกี าร นามธรรมกระทบได) ไดแ กโอฬารกิ รูป ๑๑ ท่ี รูปนันทา พระราชบุตรีของพระเจาเหลอื อนทิ ัสสนอัปปฏิฆรปู (รปู ทมี่ อง สุทโธทนะและพระนางปชาบดีโคตมีเห็นไมไดและไมมีการกระทบใหเ กดิ การ เปนพระกนิฏฐภคินีตางพระมารดาของรบั รู ตอ งรูดวยใจ) ไดแ ก สุขมุ รูป ๑๖ พระสิทธัตถะ รูปอีกชุดหน่ึงที่กลาวถึงบอย และ รูปปรจิ เฉทากาศ ดู อากาศ ๓, ๔ควรทราบ คือชดุ ที่จดั ตามสมฏุ ฐาน เปน รูปพรรณ เงินทองทท่ี ําเปนเครอ่ื งใชห รอื๔ ประเภท ไดแก กัมมชรูป ๑๘ จิตตช- เคร่ืองประดับ, ลักษณะ, รปู รา ง และสีรูป ๑๕ อตุ ชุ รูป ๑๓ และอาหารชรปู ๑๒ รปู พรหม พรหมในชน้ั รปู ภพ, พรหมท่ีพงึ ทราบตามทกี่ ลา วแลว ในคทู ี่ ๓ วา ดว ย เกิดดวยกาํ ลงั รูปฌาน มี ๑๖ ชัน้ ; ดูอปุ าทนิ นรปู และอนปุ าทนิ นรปู ขางตน พรหมโลกรปู กลาป ดู กลาป 2. รูปภพ โลกเปนท่ีอยขู องพวกพรหม; ดูรูปกัมมัฏฐาน กรรมฐานมีรปู ธรรมเปน พรหมโลกอารมณ รูปราคะ ความตดิ ใจในรูปธรรม คือ ตดิรูปกาย ประชุมแหง รปู ธรรม, กายที่เปน ใจในอารมณแหงรูปฌาน หรือในสวนรูป โดยใจความไดแกรูปขนั ธห รือ รูปธรรมอันประณตี (ขอ ๖ ในสงั โยชนรางกาย; เทยี บ นามกาย ๑๐)รูปฌาน ฌานมีรูปธรรมเปน อารมณ มี ๔ รูปรปู รูปทเี่ ปน รปู หรือรูปแท คอื รปู ท่ีคอื ๑. ปฐมฌาน ฌานท่ี ๑ มีองค ๕ เกิดจากปจจัยหรือสมุฏฐานของมันโดยคอื วิตก (ตรกึ ) วจิ าร (ตรอง) ปต ิ (อิม่ ตรง มสี ภาวลกั ษณะของมนั เอง มใิ ชเ ปนใจ) สขุ (สบายใจ) เอกคั คตา (จติ มี เพยี งอาการสําแดง ไดแก นปิ ผนั นรูปอารมณเปนหน่ึง) ๒. ทุติยฌาน ฌานที่ ๑๘; ดูท่ี รูป ๒๘๒ มอี งค ๓ คือ ปต ิ, สุข เอกัคคตา ๓. รูปวจิ าร ความตรองในรูป เกดิ ตอจากตติยฌาน ฌานท่ี ๓ มีองค ๒ คอื สุข, รูปวติ กเอกคั คตา ๔. จตตุ ถฌาน ฌานที่ ๔ มี รปู วติ ก ความตรกึ ในรูป เกดิ ตอจากรูป-องค ๒ คือ อเุ บกขา, เอกคั คตา ตัณหารูปตณั หา ความอยากในรูป รูปสญั เจตนา ความคดิ อา นในรปู เกิดรปู ธรรม สิง่ ทม่ี ีรูป, สภาวะทเี่ ปนรปู ; คกู ับ ตอจากรูปสญั ญา

รูปสัญญา ๓๔๕ ฤคเวทรูปสญั ญา ความหมายรูใ นรปู เกิดตอ เดอื นเศษ กไ็ ดสาํ เร็จพระอรหัต ไดร ับจากจกั ขสุ มั ผัสสชาเวทนา ยกยอ งเปนเอตทัคคะในทางอยปู ารปู ป ปมาณิกา ผถู ือรปู เปนประมาณ คือ โรหณิ ี 1. เจาหญงิ องคห น่ึงแหง ศากยวงศพอใจในรปู ชอบรปู รา งสวยสงางาม ผวิ เปนกนิษฐภคินี คือนองสาวของพระพรรณหมดจดผอ งใส เปน ตน อนรุ ทุ ธะ (ตามหนังสอื เรียนวา เปน พระรูปารมณ อารมณคือรูป, ส่ิงท่ีเห็นได ธิดาของเจาอมิโตทนะ แตเม่ือถือตาม ดวยตา ม.อ.๑/๓๘๔; วนิ ย.ฏ.ี ๓/๓๔๙ เปน ตน ทก่ี ลา ววารูปาวจร ซึ่งทองเท่ียวไปในรปู , อยใู น พระอนุรุทธะเปนโอรสของเจาสุกโกทนะ ระดับจติ ชัน้ รปู ฌาน, ระดับทมี่ ีรูปธรรม เจาหญิงโรหิณีก็เปนพระธิดาของเจา เปนอารมณ, เน่ืองในรปู ภพ; ดู ภพ, ภูมิ สุกโกทนะ) ไดบรรลุธรรมเปนพระรูปยสังโวหาร การแลกเปลี่ยนดวย โสดาบนั 2. ช่ือแมน าํ้ ท่เี ปนเสนแบงเขตรูปยะ, การซอื้ ขายดว ยเงนิ ตรา, ภกิ ษุ แดนระหวา งแควนศากยะ กบั แควนกระทํา ตองอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย โกลิยะ การแยงกันใชนา้ํ ในการเกษตร(โกสิยวรรคที่ ๒ สกิ ขาบทที่ ๙) เ ค ย เ ป น มู ล เ ห ตุ ใ ห เ กิ ด ก ร ณี พิ พ า ทรปู ย ะ, รปู ย ะ เงินตรา ระหวางแควนท้ังสองจนจวนเจียนจะเรวตะ ชอื่ พระเถระองคห นงึ่ ในการกสงฆ เกิดสงครามระหวา งพระญาติ ๒ ฝา ยทําสงั คายนาครั้งท่ี ๒ พระพุทธเจาเสด็จมาระงับศกึ จงึ สงบลงเรวตขทิรวนยิ ะ พระมหาสาวกองคหน่งึ ได สันนษิ ฐานกันวา เปนเหตุการณในเปนบุตรพราหมณช่ือวังคันตะมารดาช่ือ พรรษาที่ ๕ (บางทานวา ๑๔ หรือ ๑๕)นางสารี เปนนองชายคนสุดทองของ แหงการบําเพ็ญพุทธกิจ และเปนที่มาพระสารบี ุตร บวชอยูในสาํ นักของภกิ ษุ ของพระพทุ ธรูปปางหามญาต;ิ ปจ จุบันพวกอยปู า (อรญั วาส)ี บาํ เพ็ญสมณ- เรยี ก Rowai หรอื Rohwainiธรรมอยูในปาไมตะเคียนประมาณ ๓ ฤฤกษ คราวหรือเวลาซึ่งถือวาเหมาะเปน ฤคเวท ชื่อคัมภีรท่ีหน่ึงในไตรเพทชยั มงคล ประกอบดวยบทมนตรสรรเสริญเทพ

ฤดู ๓๔๖ ลกั ซอ นเจา ทง้ั หลาย; ดู ไตรเพท ๑. อามิสฤทธิ์ อามิสเปน ฤทธิ์, ความฤดู คราว, สมยั , สวนของปซ งึ่ แบง เปน ๓ สําเร็จหรือความรุงเรืองทางวัตถุ ๒.คราวขน้ึ ไป เชน ฤดฝู น ฤดูหนาว ฤดู ธรรมฤทธ์ิ ธรรมเปน ฤทธ์ิ, ความสาํ เรจ็รอ น; ดู มาตรา หรอื ความรุง เรืองทางธรรมฤทธิ์ อํานาจศักดิ์สิทธ, ความเจริญ, ฤษี ผแู สวงธรรม ไดแ กนกั บวชนอกพระความสําเร็จ, ความงอกงาม, เปนรูป ศาสนาซง่ึ อยใู นปา, ชีไพร, ผูแตง คัมภรี สันสกฤตของ อทิ ธ;ิ ฤทธิ์ หรือ อทิ ธิ พระเวทคอื ความสําเร็จ ความรุง เรอื ง มี ๒ คอื ลลกณุ ฏกภทั ทยิ ะ พระมหาสาวกองคห นง่ึ เอตทัคคะในทางมีเสยี งไพเราะ เปนบุตรในตระกูลมั่งคั่ง ชาวพระนคร ลบหลูค ณุ ทาน ดู มักขะ สาวตั ถี ไดฟง พระธรรมเทศนาของพระ ลวงสิกขาบท ละเมิดสิกขาบท, ไม ศาสดาท่ีพระเชตวันมีความเล่ือมใสจึง ประพฤติตามสิกขาบท, ฝาฝน สิกขาบท บวชในพระพุทธศาสนา ทานมีรูปราง ลหุ เสยี งเบา ไดแก รัสสสระไมม ีตัว เตี้ยคอมจนบางคนเห็นขัน วันหนึ่งมี สะกด คอื อ, อ,ิ อุ เชน น ขมต;ิ คูกบั ครุ หญิงน่ังรถผานมาพอเห็นทานแลว ลหกุ าบตั ิ อาบัตเิ บา คอื อาบัติทมี่ ีโทษ หัวเราะจนเห็นฟน ทานกําหนดฟนนั้น เลก็ นอ ย ไดแ กอ าบตั ถิ ลุ ลจั จยั ปาจติ ตยี  เปนอารมณกรรมฐาน ไดสําเร็จ ปาฏเิ ทสนียะ ทกุ กฏ ทพุ ภาสติ ; คูกับ ครุ- อนาคามิผล ตอมาทานไดบรรลุพระ กาบตั ิ อรหัตในสํานักพระสารีบุตร แตเพราะ ลหโุ ทษ โทษเบา; คกู ับ มหนั ตโทษ ความทม่ี ีรูปรางเลก็ เตี้ยคอม ทา นมักถูก ลหุภณั ฑ ของเบา เชน บณิ ฑบาต เภสัช เขาใจผิดเปนสามเณรบา ง ถกู พระหนมุ และของใชป ระจําตัว มีเข็ม มีดพบั มีด เณรนอยลอเลียนบาง ถูกเพ่ือนพระดู โกน เปน ตน; คกู บั ครุภัณฑ แคลนบาง แตพระพุทธเจา กลบั ตรสั ยก ลักซอ น เห็นของเขาทําตก มีไถยจิตเอา ยอ งวาถึงทานจะรางเล็ก แตม ีคณุ ธรรม ดนิ กลบเสยี หรอื เอาของมใี บไมเ ปน ตน ฤทธานุภาพมาก ทา นไดรับยกยองเปน ปดเสยี

ลกั เพศ ๓๔๗ ลิงคลักเพศ [ลัก-กะ-เพด] แตง ตัวปลอมเพศ ทีไ่ ดร บั และปฏบิ ตั ิสบื ตอกันมา เชนไมเปนภิกษุ แตนุงหมผาเหลือง ลทั ธิสมยั สมยั คอื ลทั ธิ หมายถงึ ลทั ธนิ ่ันแสดงตวั เปน ภกิ ษุ เองลักษณะ สิ่งสําหรับกําหนดรู, เครื่อง ลาภ ของท่ีได, การได; ดู โลกธรรมกําหนดรู, อาการสาํ หรับหมายร,ู เครอื่ ง ลาภมจั ฉรยิ ะ ตระหนลี่ าภ ไดแ กห วงผลแสดงส่ิงหนึ่งใหเห็นวาตางจากอีกส่ิง ประโยชน พยายามกดี กนั ผอู ืน่ ไมใ หไดหนึง่ , คณุ ภาพ, ประเภท (ขอ ๓ ในมัจฉริยะ ๕)ลกั ษณะ ๓ ไมเทยี่ ง, เปนทุกข ไมใชตัว ลาภานตุ ตรยิ ะ การไดท ย่ี อดเยี่ยม เชนตน; ดู ไตรลักษณ ไดศ รัทธาในพระพุทธเจา ไดด วงตาเหน็ลักษณพยากรณศาสตร ตําราวาดวย ธรรม (ขอ ๓ ในอนตุ ตรยิ ะ ๖) ลาสิกขา ปฏิญญาตนเปนผูอ่ืนจากภิกษุการทายลักษณะลกั ษณะตัดสินธรรมวินยั ดู หลกั ตดั สนิ ตอหนาภิกษดุ วยกัน หรอื ตอ หนาบคุ คลธรรมวินัย อน่ื ผูเขาใจความ แลว สละเพศภกิ ษเุ สยีลคั น เวลาในดวงชาตาคนเกิดและในดวง ถือเอาเพศที่ปฏิญญาน้นั , ละเพศภิกษุ ทาํ การมงคล สามเณร, สกึ ; คําลาสิกขาท่ใี ชในบดั น้ีลชั ชนิ ี หญงิ ผูมคี วามละอายตอบาป เปน อิตถีลิงค ถา เปนปุงลงิ ค เปน ลัชชี คือ ต้ัง “นโม ฯลฯ” ๓ จบแลวกลาววาลัชชีธรรม ธรรมแหง บคุ คลผูละอายตอ “สิกขฺ ํ ปจจฺ กฺขาม,ิ คิหตี ิ มํ ธาเรถ” (วา ๓ คร้ัง) แปลวา “กระผมลาสิกขา, ขอทา น บาป ท้ังหลายจงทรงจํากระผมไววาเปนลัฏฐิวัน สวนตาลหนมุ (ลัฏฐิ แปลวา คฤหสั ถ” (คหิ ตี ิ ออกเสยี งเปน [คิ-ฮ-ี ติ]) “ไมตะพด” กไ็ ด บางทา นจึงแปลวา “ปา ลําเอยี ง ดู อคติ ไมรวก”) อยูทิศตะวันตกเฉียงใตของ ลขิ ติ โก, ลิขิตกะ “ผูถกู เขยี นไว” หมายกรุงราชคฤห พระพุทธเจาเสด็จไป ถึงโจรท่ที างการมปี ระกาศบอกไว (เชน)ประทับที่นั่น พระเจาพิมพิสารไปเฝา วา “พบในที่ใด พงึ ฆา เสียในทน่ี น้ั ”, โจรพรอมดวยราชบริพารจาํ นวนมาก ทรง หรอื คนรา ยทที่ างการบา นเมอื งมปี ระกาศ สดับพระธรรมเทศนา ไดธรรมจักษุ หรอื หมายสง่ั ทาํ นองน้ี ไมพ งึ ใหบ วช ประกาศพระองคเปนอุบาสกทนี่ ่ัน ลิงค เพศ, ในบาลีไวยากรณมี ๓ อยา งลทั ธิ ความเชื่อถอื , ความรแู ละประเพณี คอื ปงุ ลงิ ค เพศชาย, อติ ถลี งิ ค เพศหญงิ

ลจิ ฉวี ๓๔๘ โลกธรรม นปงุ สกลงิ ค มิใชเพศชายมใิ ชเพศหญิง นกุ รมเขยี น เลก)ลจิ ฉวี กษตั รยิ ทป่ี กครองแควนวัชชี; ดู เลขทาส ชายฉกรรจท ี่เปน ทาสรบั ทํางาน วชั ชี ดวยลุแกโทษ บอกความผิดของตนเพื่อขอ เลขวัด จําพวกคนท่ที า นผปู กครองแควนความกรุณา จัดใหมีสังกัดข้ึนวัด สงฆอาจใชทาํ งานลมุ พนิ ีวนั ชอ่ื สวนเปน ท่ีประสตู ขิ องพระ ในวัดได และไมต อ งถูกเกณฑท าํ งานในพุทธเจา เปนสังเวชนียสถานหน่ึงในส่ี บานเมือง (พจนานกุ รมเขยี น เลกวดั )แหง ตั้งอยรู ะหวา งกรุงกบลิ พัสดุ และ เลขสม คนทย่ี นิ ยอมเปนกาํ ลงั งานของผูกรุงเทวทหะ บัดนี้เรียก Rummindei อยู มีอํานาจคนใดคนหนึ่งดวยความสมัครทป่ี าเดเรยี ในเขตประเทศเนปาล หาง ใจในสมยั โบราณจากเขตแดนประเทศอินเดียไปทาง เลฑฑุบาต [เลด-ด-ุ บาด] ระยะโยนหรือเหนอื ประมาณ ๖ กโิ ลเมตรครงึ่ พระสทิ ขวา งกอนดนิ ตกธตั ถะประสูตทิ สี่ วนน้ี เมือ่ วนั เพ็ญเดือน เลศ 1. อาการ ลกั ษณะ หรอื ขอ เทยี บเคยี ง๖ กอ นพทุ ธศก ๘๐ ป (มปี ราชญ อยางใดอยางหนึ่ง ที่พอจะยกข้ึนอางคํานวณวาตรงกบั วันศกุ ร ปจอ เวลา เพือ่ ผกู เรือ่ งใสค วาม 2. ในภาษาไทยใกลเ ที่ยง); ดู สังเวชนยี สถาน โดยท่ัวไป หมายถงึ อาการทแี่ สดงอยา งลกู ถวนิ ลูกกลมๆ ทผี่ ูกตดิ สายประคด มคี วามหมายซอ นเรน ใหร กู นั ในที มกั ใชเอว, หว งรอยสายประคด ควบคกู บั “นยั ” วา เลศนยัลูกหมู คนที่ถูกเกณฑเขารับราชการเปน เลียบเคียง พูดออมคอมหาทางใหเขากําลงั งานของเจานายสมัยโบราณ ถวายของลูขปฏิบตั ิ ประพฤติปอน, ปฏบิ ตั ิเศรา โลก แผน ดนิ เปน ทอี่ าศยั , หมสู ตั วผ อู าศยั ;หมอง คอื ใชข องเศราหมอง ไมตองการ โลก ๓ คือ ๑. สงั ขารโลก โลกคือความสวยงาม (หมายถึงของเกา เรียบๆ สงั ขาร ๒. สัตวโลก โลกคอื หมสู ตั ว ๓. โอกาสโลก โลกคือแผน ดิน; อกี นัยหน่งึสปี อนๆ แตส ะอาด)ลขู ัปปมาณกิ า ผูถือความเศราหมองเปน ๑. มนุษยโลก โลกมนุษย ๒. เทวโลกประมาณ ชอบผทู ี่ประพฤตปิ อน ครอง โลกสวรรค ท้ัง ๖ ช้ัน ๓. พรหมโลกผา เกา อยเู รยี บๆ งายๆ โลกของพระพรหมเลข คนสามัญ หรอื ชายฉกรรจ (พจนา- โลกธรรม ธรรมทมี่ ีประจําโลก, ธรรมดา

โลกธาตุ ๓๔๙ โลกิยะ,โลกียะ, โลกียของโลก, ธรรมทีค่ รอบงาํ สตั วโลกและ ใหทรงบาํ เพญ็ พุทธกจิ ไดผลดี (ขอ ๕สตั วโลกก็เปนไปตามมัน มี ๘ อยาง ในพุทธคุณ ๙)คือ มีลาภ ไมม ีลาภ มียศ ไมม ียศ โลกตั ถจรยิ า พระพทุ ธจรยิ าเพอื่ ประโยชนนินทา สรรเสรญิ สขุ ทุกข แกโ ลก, ทรงประพฤติเปน ประโยชนแ กโลกธาตุ แผนดนิ ; จกั รวาลหนึ่งๆ โลก คอื ทรงอาศยั พระมหากรุณา เสด็จโลกนาถ ผูเปน ทีพ่ งึ่ ของโลก หมายถึง ไปประกาศพระศาสนาเพ่ือประโยชนสุขพระพุทธเจา แกมหาชนในถ่ินฐานแวนแควนตางๆโลกบาล ผคู มุ ครองโลก, ผเู ลย้ี งรกั ษาโลก เปนอนั มาก และประดิษฐานพระศาสนาใหร ม เยน็ , ทา วโลกบาล ๔; ดู จาตมุ หาราช ไวเพื่อประโยชนสุขแกชุมชนภายหลังโลกบาลธรรม ธรรมคมุ ครองโลก คือ ตลอดกาลนาน; ดู พทุ ธจรยิ าปกครองควบคุมใจมนุษยไวใหอยูใน โลกาธิปเตยยะ ดู โลกาธิปไตยความดี มใิ หล ะเมดิ ศลี ธรรม และใหอ ยู โลกาธปิ ไตย ความถือโลกเปน ใหญ คือกันดวยความเรยี บรอยสงบสุข ไมเ ดอื ด ถือความนิยมหรือเสียงกลาววาของชาวรอ นสับสนวุนวาย มี ๒ คอื ๑. หิริ โลกเปนสําคัญ หวั่นไหวไปตามเสียงความละอายบาป ละอายใจตอการทํา นนิ ทาและสรรเสริญ จะทําอะไรกม็ ุง จะความชว่ั ๒. โอตตปั ปะ ความกลวั บาป เอาใจหมูช น หาความนยิ ม ทาํ ตามทเี่ ขา เกรงกลวั ตอ ความชวั่ และผลของกรรมชวั่ นิยมกัน หรือคอยแตหว่ันกลัวเสียงโลกวชั ชะ อาบัตทิ เ่ี ปนโทษทางโลก คอื กลาววา, พึงใชแตในทางดีหรือในคนสามัญท่ีมิใชภิกษุทําเขาก็เปนความ ขอบเขตทเี่ ปน ความดี คอื เคารพเสียงผดิ ความเสียหาย เชน โจรกรรม ฆา หมูชน (ขอ ๒ ในอธิปไตย ๓)มนุษย ทุบตกี ัน ดา กนั เปน ตน ; บางที โลกามิษ เหยอ่ื แหงโลก, เครอ่ื งลอ ที่ลอวาเปนขอเสียหายที่ชาวโลกเขาติเตียน ใหต ดิ อยใู นโลก, เครอื่ งลอ ใจใหต ดิ ในโลกถือวา ไมเหมาะสมกบั สมณะ เชน ด่มื ไดแก ปญจพธิ กามคุณ คือ รูป, เสียง,สุรา เปน ตน ; เทยี บ ปณณัตตวิ ชั ชะ กลนิ่ , รส, โผฏฐพั พะ อนั นาปรารถนาโลกวิทู (พระผมู พี ระภาคเจาน้นั ) ทรงรู นาใครน า พอใจ; โลกามสิ ก็เขียนแจงโลก คือทรงรูแ จง สภาวะแหง โลกคือ โลกิยะ, โลกียะ, โลกีย เกย่ี วกับโลก,สังขารท้ังหลาย ทรงทราบอัธยาศัย ทางโลก, เนื่องในโลก, เรื่องของชาวสันดานของสัตวโลกท่ีเปนไปตางๆ ทํา โลก, ยงั อยูในภพสาม, ยงั เปน กามาวจร

โลกยิ ฌาน ๓๕๐ โลภ รปู าวจร หรอื อรูปาวจร; คกู บั โลกุตตระ ถึงพระพุทธเจาโลกยิ ฌาน ฌานโลกยี , ฌานอันเปนวสิ ัย โลกุตตรธรรม ธรรมอันมิใชวิสัยของของโลก, ฌานของผูมีจิตยังไมเปน โลก, สภาวะพนโลก มี ๙ ไดแ ก มรรคโลกุตตระ, ฌานที่ปุถุชนได ๔ ผล ๔ นพิ พาน ๑; คกู ับ โลกิยธรรมโลกิยธรรม ธรรมอันเปนวิสัยของโลก, โลกุตตรปญญา ปญญาที่สัมปยุตดวย สภาวะเนอ่ื งในโลก ไดแ กขนั ธ ๕ ทย่ี ังมี โลกุตตรมรรค, ความรูท่ีพนวิสัยของ อาสวะทั้งหมด; คกู บั โลกุตตรธรรม โลก, ความรูที่ชวยคนใหพ นโลกโลกิยวิมุตติ วิมุตติท่ีเปน โลกยี  คอื ความ โลกตุ ตรภูมิ ชนั้ ท่พี นจากโลก, ระดับจติพนอยางโลกๆ ไมเดด็ ขาด ไมส นิ้ เชิง ใจของพระอรยิ เจา (ขอ ๔ ในภูมิ ๔ อีกกิเลสและความทุกขยังกลับครอบงําได ๓ ภูมิ คือ กามาวจรภมู ิ รปู าวจรภูมิอีก ไดแกวิมุตติ ๒ อยา งแรก คือ อรูปาวจรภมู )ิตทังควิมุตติ และ วิกขัมภนวิมุตติ; ดู โลกุตตรวิมุตติ วิมุตติที่เปนโลกุตตระวมิ ตุ ต,ิ โลกตุ ตรวิมุตติ คือความหลุดพนที่เหนือวิสัยโลก ซ่ึงโลกยี สุข ความสุขอยา งโลกีย, ความสขุ ท่ี กิเลสและความทุกขท่ีละไดแลวไมกลับ เปน วสิ ยั ของโลก, ความสขุ ทย่ี งั ประกอบ คนื มาอีก ไมก ลบั กลาย ไดแ กวมิ ตุ ติ ๓ ดว ยอาสวะ เชน กามสขุ มนษุ ยสขุ ทพิ ย- อยา งหลงั คอื สมจุ เฉทวมิ ตุ ต,ิ ปฏปิ ส สทั ธ-ิ สขุ ตลอดจนถงึ ฌานสขุ และวปิ ส สนาสขุ วิมตุ ติ และ นสิ สรณวิมตุ ติ; ดู วมิ ตุ ติ,โลกยี ภูมิ ภมู ทิ เี่ ปน โลกยิ ะ ไดแก สามภมู ิ โลกยิ วมิ ุตติ แรก ในภมู ิ ๔, บางทเี รยี กรวมกนั วา โลกตุ ตรสุข, โลกุตรสุข ความสุขอยาง“ไตรภูม”ิ ไดแ ก กามภมู ิ รูปภูมิ และ โลกุตระ, ความสุขทเี่ หนอื กวาระดบั ของ อรูปภมู ิ สวนภูมิที่สี่ เปน โลกตุ ตรภมู ;ิ ดู ชาวโลก, ความสุขเน่ืองดวยมรรคผล ภูมิ 2. นพิ พานโลกุดร, โลกตุ ตระ, โลกุตระ พน จาก โลกุตตราริยมรรคผล อริยมรรคและโลก, เหนอื โลก, พนวิสัยของโลก, ไม อริยผลทพ่ี นวสิ ยั ของโลกเน่ืองในภพท้งั สาม (พจนานุกรม เขยี น โลณเภสัช เกลือเปนยา เชน เกลอื ทะเลโลกุตร); คูกบั โลกยิ ะ เกลือดํา เกลือสินเธาว เปนตนโลกุตตมาจารย อาจารยผูสูงสุดของ โลน กริ ยิ าวาจาหยาบคายไมสุภาพโลก, อาจารยย อดเยยี่ มของโลก หมาย โลภ ความอยากได (ขอ ๑ ในอกศุ ลมลู ๓)

โลภเจตนา ๓๕๑ วณิพกโลภเจตนา เจตนาประกอบดวยโลภ, จง โลหิตกะ ชื่อภิกษุรูปหนึ่งในพวกเหลว ไหลท้งั ๖ ท่ีเรยี กวา พระฉพั พคั คียใจคดิ อยากได, ตงั้ ใจจะเอาโลมะ, โลมา ขน โลหติ ุปบาท ทํารายพระพทุ ธเจาจนถงึ ยงัโลมชาตชิ ชู ัน ขนลุก พระโลหิตใหหอ (ขอ ๔ ในอนนั ตรยิ -โลลโทษ โทษคือความโลเล, ความมี กรรม ๕)อารมณออนไหว โอนเอนไปตามส่ิงเยา ไลเ บย้ี เรียกรองเอาคาเสยี หายเปน ลาํ ดับ ยวนอันสะดดุ ตาสะดุดใจ ไปจนถงึ คนทีส่ ดุโลหติ เลอื ด; สแี ดง ววจนะ คําพดู ; สงิ่ ที่บง จาํ นวนนามทาง วจีวิญญัติ การเคลื่อนไหวใหรูความ ไวยากรณ เชน บาลมี ี ๒ วจนะ คอื เอก- หมายดว ยวาจา ไดแ ก การพูด การ วจนะ บงนามจํานวนเพยี งหนึ่ง และ กลา วถอ ยคาํ ; เทยี บ กายวิญญัติ พหวุ จนะ บง นามจาํ นวนตงั้ แตส องขน้ึ ไป วจีสมาจาร ความประพฤตทิ างวาจา ไวยากรณป จ จบุ นั นยิ มใชว า พจน วจสี งั ขาร 1. ปจจยั ปรงุ แตงวาจา ไดแ กวจกี รรม การกระทาํ ทางวาจา, การกระทาํ วิตก (ตรกึ ) และ วจิ าร (ตรอง) ถาไมมีดว ยวาจา, ทาํ กรรมดว ยคาํ พดู , ทด่ี ี เชน ตรึกตรองกอนแลว พดู ยอมไมร เู รอ่ื ง 2.พดู จรงิ พดู คาํ สภุ าพ ทช่ี ว่ั เชน พดู เทจ็ สภาพทีป่ รุงแตง การกระทําทางวาจา ไดพดู คาํ หยาบ; ดู กศุ ลกรรมบถ, อกศุ ล- แก วจีสัญเจตนา คือความจงใจทางกรรมบถ วาจา ท่ีกอใหเ กดิ วจีกรรม; ดู สังขารวจีทวาร ทวารคือวาจา, ทางวาจา, ทาง วจีสุจริต ประพฤติชอบดวยวาจา,คาํ พูด (ขอ ๒ ในทวาร ๓) ประพฤติชอบทางวาจา มี ๔ อยางคือวจที จุ รติ ประพฤตชิ วั่ ดว ยวาจา, ประพฤติ เวนจากพูดเท็จ เวนจากพูดสอเสียดชว่ั ทางวาจามี ๔ อยางคอื ๑. มสุ าวาท เวน จากพดู คาํ หยาบ เวน จากพดู เพอ เจอ ;พดู เทจ็ ๒. ปสุณาวาจา พดู สอ เสยี ด ๓. ดู สจุ รติ ; เทยี บ วจีทุจริตผรสุ วาจา พดู คาํ หยาบ ๔. สมั ผปั ปลาปะ วณิพก คนขอทานโดยรอ งเพลงขอ คอืพดู เพอเจอ; ดู ทจุ ริต; เทียบ วจีสุจริต ขับรองพรรณนาคุณแหงการใหทานและ

วทญั ู ๓๕๒ วสวัตด,ี วสวดั ดี สรรเสรญิ ผใู หท าน ทเี่ รยี กวา เพลงขอทาน ปวารณา ใหผากฐิน และอปุ สมบทในวทัญู “ผรู ูถอยคํา” คือ ใจดี เออ้ื อารี ปจ จันตชนบท) ๓. สงฆท ศวรรค (สงฆยอมรับฟงความทุกขยากเดือดรอนและ พวก ๑๐ คอื ตองมีภกิ ษุ ๑๐ รปู ข้ึนไป ความตองการของผูอนื่ เขา ใจคาํ พูดของ ใหอ ปุ สมบทในมธั ยมชนบทได) ๔. สงฆ เขาไดดี วสี ติวรรค (สงฆพวก ๒๐ คือ ตองมีวน, วนะ, วนั ปา , ปา ไม, ดง, สวน (บาล:ี ภิกษุ ๒๐ รปู ขึ้นไป ทาํ อัพภานได) วน); วนะ คอื ปา ในความหมายทเี่ นน วรรณะ ผิว, ส,ี เพศ, ชนิด, พวก, เหลา,ความเปน ทร่ี วมอยขู องตน ไม หรอื พฤกษ- หนังสือ, คุณความดี, ความยกยองชาติ ตลอดจนสาํ่ สตั วท อี่ าศยั สว น อรญั สรรเสรญิ ; ชนช้นั ท่ีจดั แบงออกไปตามคอื ปา ในความหมายทเ่ี นน ความเปลา หลกั ศาสนาพราหมณเ รียกวา วรรณะ ๔เปลย่ี ว หา งไกล หรอื ความเปน ตา งหาก คือ กษตั รยิ  พราหมณ แพศย ศทู รจากบา น หรอื จากชมุ ชน; เทียบ อรญั วรรณนา คาํ พรรณนา, คาํ ชแี้ จงความวนปรสั ถะ ดู วานปรสั ถ หมายอธิบายความ คลายกับคําวาวนาสณฑ, วนาสัณฑ ดู ไพรสณฑ อรรถกถา (อฏ กถา) บางทกี ็ใชเ สรมิ กันวโนทยาน สวนปา เชน สาลวโนทยาน หรือแทนกันบาง (เชน ท.ี อ.๓/๓๖๐/๒๖๗: คือ สวนปาไมส าละ นฏิ  ติ า จ ปาฏกิ วคคฺ สสฺ วณณฺ นาต.ิ ปาฏกิ วคคฺ ฏ -วรกัป ดู กัปวรฺคานฺต พยัญชนะท่ีสดุ วรรค ไดแ ก ง กถา นฏิ  ติ า.) แตคําวา อรรถกถา มกั ใช ญณนม หมายถงึ ทงั้ คมั ภรี  สว น วรรณนา มกั ใชวรรค หมวด, หม,ู ตอน, พวก; กาํ หนด แกค าํ อธบิ ายเฉพาะตอนๆ (คาํ เต็มรปู ที่ จํานวนภิกษุที่ประกอบเขาเปนสงฆ มักใชแทนหรือใชแสดงความหมายของ อรรถกถา ไดแ ก อรรถสงั วรรณนา [คําหมวดหน่ึงๆ ซึง่ เมื่อครบจํานวนแลวจึง บาลีวา อตถฺ สํวณณฺ นา])จะทาํ สงั ฆกรรมอยา งนน้ั ๆ ได มี ๔ พวก ววัตถิตะ ในทางอักขรวิธีภาษาบาลีคอื ๑. สงฆจ ตรุ วรรค (สงฆพวก ๔ คือ หมายถงึ บทที่แยกกัน เชน ตณุ ฺหี อสฺสตอ งมีภกิ ษุ ๔ รูปข้ึนไป ทํากรรมไดทกุ ตรงขามกับ สัมพันธ ท่ีตางบทน้ันมาอยา งเวน ปวารณา ใหผ า กฐนิ อปุ สมบท สนธิเช่ือมเขาดว ยกนั เชน ตุณหฺ ี + อสสฺและอพั ภาน) ๒. สงฆปญจวรรค (สงฆ เปน ตณุ ฺหิสสฺ หรอื ตณุ ฺหสสฺพวก ๕ คือ ตองมีภกิ ษุ ๕ รูปขน้ึ ไปทํา วสวตั ด,ี วสวดั ดี ชอื่ พระยามาร เปน เทพ

วสนั ต ๓๕๓ วงั สะในสวรรคชั้นสูงสุดแหงระดับกามาวจร แลวก็ตรัสเตือนเธอวา “จะมีประโยชนเปน ผคู อยขดั ขวางเหนย่ี วรงั้ บุคคลไมให อะไรท่ีไดเห็นกายเปอยเนานี้ ผูใดเห็นลวงพนจากแดนกาม ซึ่งอยูในอํานาจ ธรรม ผูน้นั เหน็ เรา” ดังนี้เปน ตน และครอบงาํ ของตน; ดู มาร 2, เทวปตุ ตมาร ทรงสอนตอไปดวยอุบายวิธีจนในที่สุดวสนั ต ฤดใู บไมผ ลิ (แรม ๑ คาํ่ เดอื น ๔ พระวักกลกิ ไ็ ดส ําเรจ็ พระอรหัต และตอถงึ ขน้ึ ๑๕ คา่ํ เดอื น ๖); เทยี บ วสั สานะ มาไดรับยกยองจากพระศาสดาวาเปน(ฤดฝู น), ดู มาตรา เอตทคั คะในทางศรัทธาวมิ ุต คือ หลุดวสี ความชํานาญ มี ๕ อยา ง คือ ๑. พนดว ยศรัทธาอาวัชชนวสี ความชํานาญคลองแคลว วังคันตะ ช่ือพราหมณผูเปนบิดาของในการนึก ตรวจองคฌานทตี่ นไดออก พระสารีบุตรมาแลว ๒. สมาปชชนวสี ความชาํ นาญ วงั คสี ะ พระมหาสาวกองคหนึ่ง เปน บุตรคลองแคลวในการที่เขาฌานไดรวดเร็ว พราหมณใ นพระนครสาวัตถี ไดศกึ ษาทนั ที ๓. อธฏิ ฐานวสี ความชํานาญ ไตรเพทจนมีความชํานาญเปนท่ีพอใจคลองแคลวในการที่จะรักษาไวมิให ของอาจารย จึงไดเรียนมนตรพิเศษฌานจิตตน้ันตกภวังค ๔. วุฏฐานวสี ชือ่ ฉวสีสมนตร สําหรบั พสิ จู นศ รี ษะซากความชํานาญคลองแคลวในการจะออก ศพ เอาน้ิวเคาะหัวศพก็ทราบวาผูน้ันจากฌานเมื่อใดก็ไดตามตองการ ๕. ตายแลว ไปเกิดเปนอะไร ท่ีไหน ทานมีปจ จเวกขณวสี ความชาํ นาญคลอ งแคลว ความชํานาญในมนตรนี้มาก ตอมาได ในการพิจารณาทบทวนองคฌ าน เขาเฝาพระพทุ ธเจา และไดแสดงความวักกะ ไต (เคยแปลกันวา มาม) ดู ปห กะ สามารถของตน แตเมือ่ เคาะศีรษะของผูวกั กลิ พระมหาสาวกองคห นึ่ง เปนบตุ ร ปรินิพพานแลวไมสามารถบอกคติไดพราหมณชาวพระนครสาวัตถีเรียนจบ ดว ยความอยากเรยี นมนตรเ พิม่ อกี จงึไตรเพทตามลัทธพิ ราหมณ บวชในพระ ขอบวชในพระพทุ ธศาสนา ไมนานก็ไดพุทธศาสนา ดวยความอยากเห็นพระ บรรลุพระอรหัต ไดรับยกยองวาเปนรูปพระโฉมของพระศาสดา คร้ันบวช เอตทคั คะในทางมีปฏิภาณแลวก็คอยติดตามดูพระองคตลอดเวลา วงั สะ ช่อื แควน หน่งึ ในบรรดา ๑๖ แควนจนไมเ ปนอนั เจริญภาวนา พระพทุ ธเจา ใหญแหงชมพทู วปี ตงั้ อยูในเขตมชั ฌมิ -ทรงรอเวลาใหญ าณของเธอสกุ งอม ครน้ั ชนบท ทางทิศใตของแควนโกศล ทาง

วจั กุฎี ๓๕๔ วชั ชีทศิ ตะวนั ตกของแควน กาสี และทางทศิ ๒๐ บุคคล จงึ รวมเปน ๒๑ (๒๐ บคุ คลเหนือของแควนอวันตี นครหลวงชื่อ ในขอ หลงั ไดแ ก ภิกษุณี สิกขมานาโกสัมพี บัดน้เี รียกวา Kosam อยูบนฝง สามเณร สามเณรี ภกิ ษผุ ูบอกลาสิกขาใตของแมนํ้ายมุนา ในสมัยพุทธกาล ภิกษุผูตองอันติมวัตถุ ภิกษุผูถูกสงฆวังสะเปนแควนที่รุงเรืองและมีอํานาจ ยกเสียฐานไมเห็นอาบัติ ภิกษุผูถ ูกสงฆมากแควนหน่งึ มีราชาปกครองพระนาม ยกเสียฐานไมกระทําคืนอาบัติ ภิกษุผูวา พระเจาอเุ ทน ถูกสงฆยกเสียฐานไมสละคืนทิฏฐิอันช่ัววจั กฎุ ี สว ม, ท่ถี า ยอุจจาระสาํ หรับภิกษุ บัณเฑาะก คนลักเพศ ภิกษุเขารีดสามเณร เดียรถีย สตั วด ริ ัจฉาน [รวมท้งั คนดจุวัจกุฎีวตั ร ขอ ปฏบิ ตั อิ นั ภกิ ษพุ งึ กระทาํ ดิรัจฉาน] คนฆา มารดา คนฆา บิดา คนในวัจกุฎี, ขอปฏิบัติสําหรับภิกษุผูใช ฆาพระอรหันต คนประทุษรายภิกษุณีสวม โดยยอมี ๗ ขอ คอื ใชต ามลาํ ดบั ภิกษุผูทําลายสงฆ คนผูทํารายพระผไู ปถงึ , รักษากิริยาในการจะเขา จะออก ศาสดาจนถึงหอพระโลหิต และอุภโต-ใหสุภาพเรียบรอยและไมทําเสียงดัง, พยญั ชนก), แมใ นสงั ฆกรรมทง้ั หลายอนื่รักษาบริขารคือจีวรของตน, รักษาตัว กพ็ งึ เวน วชั ชนยี บคุ คล ๒๑ น้ีเชน ไมเบงแรง ไมใชสิ่งที่จะเปน วชั ชี ชื่อแควน หน่งึ ในบรรดา ๑๖ แควนอันตราย, ไมท าํ กิจอื่นไปพลาง, ระวังไม ใหญแหงชมพูทวีป ตั้งอยูบนฝงทิศ ทาํ สกปรก, ชว ยรักษาความสะอาด ตะวนั ออกของแมน า้ํ คันธกะ อยทู างทิศวัชชนียบุคคล “บุคคลที่พึงเวน” คือ ตะวนั ออกของแควน มลั ละ ทางทศิ เหนอื บุคคล ๒๑ ประเภท ซงึ่ ไมควรรว มอยู ของแควน มคธ นครหลวงชือ่ เวสาลีในท่ีประชมุ สงฆท ส่ี วดปาฏโิ มกข แตพึง แควนวัชชีปกครองดวยระบอบสามัคคี-ใหอยูนอกหัตถบาส ทา นถอื ตามพทุ ธ- ธรรม พวกกษัตริยท่ีปกครองเรียกวาบัญญตั ขิ อวา (วนิ ย.๔/๑๗๓/๒๖๖) “ไมพ งึ กษัตริยลิจฉวี (นอกจากพวกลจิ ฉวแี ลวสวดปาฏโิ มกขในบริษัททีม่ คี ฤหสั ถ” จึง ยังมีพวกวิเทหะซ่ึงปกครองอยูที่เมืองนับคฤหัสถน้ันเปน ๑ และตามพุทธ- มถิ ลิ า แตใ นสมยั พทุ ธกาลมอี าํ นาจนอ ย)บัญญัตขิ อ วา (วนิ ย.๔/๒๐๑/๒๖๘) “ไมพงึ แควนวัชชีรุงเรืองเขมแข็งและมีอํานาจสวดปาฏโิ มกขใ นบริษัทท่มี ภี ิกษณุ ี ฯลฯ มากตอนปลายพทุ ธกาล ไดก ลายเปน คูอุภโตพยญั ชนกะ น่งั อยดู ว ย” ซ่งึ มอี ีก แขง กบั แควน มคธ แตห ลงั พุทธกาลไม

วชั ชีบตุ ร ๓๕๕ วตั ตเภทนาน ก็เสียอํานาจแกมคธเพราะอุบาย (เปนไวพจนของ วิราคะ)ทาํ ลายสามัคคี ของวสั สการพราหมณ วัฑฒกีประมาณ ประมาณของชางไม,วชั ชบี ตุ ร ชอ่ื ภกิ ษพุ วกหนง่ึ ชาวเมอื งเวสาลี เกณฑหรอื มาตราวัดของชางไมแสดงวตั ถุ ๑๐ ประการ ละเมดิ ธรรมวนิ ยั วัฑฒลิจฉวี เจา ลจิ ฉวีชื่อวาวฑั ฒะ ถูกเปน ตน เหตแุ หง การสงั คายนา ครงั้ ท่ี๒ พระเมตตยิ ะ และพระภมุ มชกะเสยี้ มสอนวชั รยาน ดู หีนยาน ใหทําการโจทพระทัพพมัลลบุตรดวยวัฏฏะ การวนเวียน, การเวียนเกดิ เวียน อาบัติปฐมปาราชิก เปนตนเหตุใหพ ระตาย, การเวยี นวายตายเกดิ , ความเวยี น พทุ ธเจา ทรงบญั ญตั กิ ารลงโทษควาํ่ บาตรเกิด หรือวนเวียน ดวยอํานาจกิเลส วัฑฒิ, วัฑฒิธรรม หลักความเจริญกรรม และวิบาก เชน กเิ ลสเกิดข้นึ แลว (ของอารยชน); ดู อรยิ วัฑฒิใหท าํ กรรม เมอื่ ทาํ กรรมแลว ยอ มไดร บั วัณณะ ดู วรรณะผลของกรรม เมอ่ื ไดร บั ผลของกรรมแลว วณั ณกสณิ ๔ กสณิ ทเ่ี พงวตั ถุมีสีตางๆกเิ ลสกเ็ กดิ อกี แลว ทาํ กรรม แลว เสวย ๔ อยาง คือ นีลํ สีเขยี ว, ปต ํ สเี หลือง,ผลกรรม หมนุ เวยี นตอ ไป; ดู ไตรวฏั ฏ โลหติ ํ สีแดง, โอทาตํ สีขาว; ดู กสณิวฏั ฏกปริตร ดู ปรติ ร วณั ณมจั ฉริยะ ตระหนีว่ รรณะ คอื หวงวฏั ฏคามณีอภยั ชอ่ื พระเจา แผนดนิ แหง ผิวพรรณ ไมพอใจใหคนอ่ืนสวยงามเกาะลังกาพระองคหน่ึง ครองราชย หรือหวงคุณวัณณะ ไมพอใจใหใครมีประมาณ พ.ศ. ๕๐๕–๕๒๗ ถกู พวกทมฬิ คุณความดีมาแขงตน (ขอ ๔ ในแยง ชงิ ราชสมบัติ เสด็จไปซอนพระองค มัจฉรยิ ะ ๕)อยใู นปา และไดร ับความชวยเหลือจาก วตั ตขนั ธกะ ชื่อขันธกะที่ ๘ แหงคมั ภรี พระเถระรปู หน่งึ ตอ มาพระองคก ูร าช- จุลวรรค วนิ ัยปฎก วาดวยวตั รประเภทสมบัติคืนมา ไดทรงสรา งอภัยคีรีวิหาร ตา งๆและอาราธนาพระเถระรูปนน้ั มาอยูครอง วตั ตปฏบิ ัติ ดู วัตรปฏิบัติกับทั้งไดทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา วัตตเภท ความแตกแหงวัตร หมายอกี เปนอนั มาก การสังคายนาคร้ังที่ ๕ ความวาละเลยวตั ร, ละเลยหนา ที่ คอืท่ีจารึกพุทธพจนลงในใบลาน ก็จัดทํา ไมทําตามขอปฏิบัติที่กําหนดไว เชนในรชั กาลน้ี ภิกษุผูกาํ ลังประพฤติมานัต หรือกําลงัวฏั ฏปจ เฉท ความเขา ไปตัดเสียซึ่งวฏั ฏะ อยูปริวาส ละเลยวัตรของตน พระ

วัตถกิ รรม ๓๕๖ วตั ถวุ ิบตั ิอรรถกถาจารยป รบั อาบัตทิ ุกกฏ อโุ บสถตา งหากกนั ได ๕. อนมุ ตกิ ัปปะวตั ถิกรรม การผูกรดั ทีท่ วารหนกั ผูกรัด เรอ่ื งอนุมัติ ถือวา ภิกษยุ ังมาไมพ รอ มหัวริดสีดวงงอกที่ทวารหนัก ทาน ทาํ สังฆกรรมไปพลาง ภิกษุท่ีมาหลงั จงึสันนิษฐานวา อาจจะหมายถึงการสวน ขออนมุ ตั กิ ไ็ ด ๖. อาจณิ ณกปั ปะ เรอื่ งท่ีทวารเบากไ็ ด เคยประพฤตมิ า ถอื วา ธรรมเนยี มใดวตั ถุ เรือ่ ง, สิ่งของ, ขอความ, ที่ดนิ ; ทต่ี ง้ั อุปชฌายอาจารยเคยประพฤติมาแลวเรือ่ ง หมายถึงบคุ คลผเู ปน ทีต่ ง้ั แหง การ ควรประพฤติตามอยางนั้น ๗. อมถิต-ทํากรรมของสงฆ เชน ในการอุปสมบท กัปปะ เร่ืองไมก วน ถอื วา นํ้านมสดแปร คนทจี่ ะบวชเปน วตั ถแุ หง การใหอ ปุ สมบท ไปแลว แตย งั ไมเ ปน ทธคิ อื นมสม ภกิ ษฉุ นัวตั ถุ ๑๐ เรอื่ งที่เปนตน เหตุ, ขอซง่ึ เปน ที่ แลว หา มอาหารแลว ดมื่ นา้ํ นมอยา งน้ัน ต้ังหรือเปนจุดเร่ิมตนเรื่อง, ขอปฏิบัติ อันเปน อนตริ ติ ตะได ๘. ชโลคงิ ปาตุง๑๐ ประการของพวกภิกษวุ ัชชบี ตุ ร ชาว ถือวา สรุ าอยางออ น ไมใ หเ มา ด่มื ไดเมืองเวสาลี ที่ผิดเพ้ียนยอหยอนทาง ๙. อทสกัง นสิ ที นงั ถือวา ผา นสิ ที นะไมพระวนิ ยั แปลกจากสงฆพ วกอนื่ เปน เหตุ มชี ายกใ็ ชไ ด ๑๐. ชาตรปู รชตงั ถือวาปรารภใหม กี ารสงั คายนาคร้งั ที่ ๒ เมอ่ื ทองและเงนิ เปน ของควร รับไดพ.ศ. ๑๐๐ มดี งั นี้ ๑. สงิ คโิ ลณกัปปะ กรณีวตั ถุ ๑๐ ประการนจ้ี ดั เปนเรอ่ื งเกลอื เขนง ถือวา เกลือทเี่ ก็บไวใ น วิวาทาธกิ รณใ หญเ ร่ืองหนึง่เขนง (คร้งั นั้นภิกษเุ ก็บเกลือไวในเขนง วตั ถุกาม พสั ดอุ ันนาใคร ไดแ กก ามคณุความหมายคือ รับประเคนไวคางคืน ๕ คือ รปู เสยี ง กล่ิน รส โผฏฐัพพะแลว) เอาออกผสมอาหารฉันได ๒. อนั นา ใคร นา ปรารถนา นา ชอบใจ; ดู กามทวงั คลุ กัปปะ เรื่องสองนิว้ ถอื วา เงา วัตถุเทวดา เทวดาที่ดนิ , พระภมู ิแดดบายเลยเทย่ี งเพียง ๒ นว้ิ ฉนั วตั ถมุ งคล ดู เครอ่ื งรางอาหารได ๓. คามันตรกปั ปะ เรื่องเขา วัตถรุ ูป ดูท่ี รปู ๒๘ละแวกบาน ถอื วา ภกิ ษุฉนั แลว หาม วัตถุวบิ ัติ วิบัติโดยวตั ถุ คอื บคุ คลหรอือาหารแลว ปรารภวา จะเขาละแวกบาน วัตถุซึ่งเปนท่ีตั้งแหงสังฆกรรมน้ันๆเด๋ียวน้ัน ฉันโภชนะเปนอนติริตตะได ขาดคณุ สมบตั ิ ทาํ ใหส งั ฆกรรมเสีย ใช๔. อาวาสกปั ปะ เรอื่ งอาวาส ถอื วา ภกิ ษุ ไมไ ด เชน ในการอุปสมบทผอู ุปสมบทในหลายอาวาสท่ีมีสีมาเดียวกันแยกทาํ อายไุ มค รบ ๒๐ ป หรือมีเรือ่ งทีเ่ ปน

วตั ถุสมบตั ิ ๓๕๗ วนัความผดิ รา ยแรง เชน ฆาบิดามารดา ตามฤดู วิธเี ดนิ เปน หม)ู ; วตั รสว นมากในหรือเปนปาราชิกเม่ือบวชเปนภิกษุคราว วตั ตขนั ธกะกอน หรือไปเขา รีตเดียรถยี ท ั้งเปน ภกิ ษุ วัตรบท ๗ หลกั ปฏบิ ตั ิ หรอื ขอ ที่ถอืหรือเปนสตรี ดังนเี้ ปนตน ปฏบิ ตั ปิ ระจาํ ๗ ขอ ทที่ าํ ใหม ฆมาณพไดวัตถุสมบัติ ความถึงพรอมแหงวัตถุ, เปนทาวสักกะหรือพระอินทรคือ ๑.ความสมบูรณโดยบุคคลหรือวัตถุซ่ึง มาตาเปตภิ โร เลย้ี งมารดาบดิ า ๒. กเุ ล-เปนที่ตั้งแหงการทําสังฆกรรมน้ันๆ มี เชฏปจายี เคารพผูใหญในตระกูลคุณสมบตั ิถกู ตอ ง ทาํ ใหสังฆกรรมใชได ๓. สณหฺ วาโจ พดู คาํ สุภาพออ นหวานไมบกพรองในดานนี้ เชน ในการ ๔. อปส ณุ วาโจ หรอื เปสเุณยยฺ ปปฺ หายี ไมอุปสมบท ผูขอบวชเปน ชายมีอายุครบ พดู สอ เสยี ด พูดสมานสามคั คี ๕. ทาน-๒๐ ป ไมเ ปนมนษุ ยวิบตั ิเชน ถกู ตอน สํวภิ าครโต หรอื มจฺเฉรวนิ ย ชอบเผ่ือไมไดทําความผิดรายแรงเชนฆาบิดา แผใหป น ปราศจากความตระหน่ี ๖.มารดา ไมใ ชค นทําความเสยี หายในพระ สจฺจวาโจ มีวาจาสัตย ๗. อโกธโน หรอืพทุ ธศาสนาอยา งหนกั เชน ปาราชิก เมอื่ โกธาภิภู ไมโกรธ ระงบั ความโกรธได วตั รปฏิบัติ การปฏิบัติตามหนา ท,ี่ การบวชคราวกอน ดังนเ้ี ปน ตนวตั ถสุ มั มขุ ตา ความพรอ มหนาวัตถุ คือ ทําตามขอปฏิบัติที่พึงกระทําเปนประจํา,ยกเรอ่ื งที่เกิดนั้นขึน้ วนิ ิจฉยั ; ดู สัมมขุ า- ความประพฤติที่เปนไปตามขนบวินยั ธรรมเนียมแหงเพศ ภาวะหรือวิถีวัตร กิจพงึ กระทํา, หนา ท,่ี ธรรมเนยี ม, ดําเนนิ ชีวิตของตนความประพฤต,ิ ขอ ปฏบิ ตั ิ จาํ แนกออกเปน วนั 1. ระยะเวลาตงั้ แตพ ระอาทิตยขึ้นถงึ๑. กจิ วัตร วา ดวยกิจทค่ี วรทาํ (เชน พระอาทิตยตก ซ่ึงตามปกติถือตามอุปชฌายวตั ร สทั ธวิ หิ ารกิ วตั ร อาคนั ตกุ - กาํ หนด ๑๒ ช่ัวโมง, กลางวัน ก็เรียก;วตั ร) ๒. จรยิ าวตั ร วาดวยมารยาทอัน ระยะเวลา ๒๔ ชวั่ โมง ทโ่ี ลกหมนุ ตวั เองควรประพฤติ (เชน ไมทิ้งขยะทาง ครบรอบหนงึ่ อยา งทถี่ อื กนั มาแตเ ดมิ วาหนาตางหรือท้ิงลงนอกฝานอกกําแพง ตั้งแตพระอาทิตยข้ึนถึงพระอาทิตยข้ึนไมจ บั วตั ถอุ นามาส) ๓. วธิ ีวตั ร วาดว ย ใหมใ นวันถดั ไป หรอื อยา งท่นี ิยมถอื กันแบบอยางที่พึงกระทํา (เชน วิธีเก็บ ในปจจุบันตามคติสมัยใหมวา ต้ังแตบาตร วิธีพับจีวร วิธีเปดปดหนา ตาง เท่ียงคืนหนึ่งถึงเที่ยงคืนถัดไป; การที่

วันอโุ บสถ ๓๕๘ วาโยธาตุเรยี กวา วนั นน้ั เพราะถือเอาเวลาพระ ทบั วางยาพษิ เปนตนอาทติ ยซ งึ่ เรยี กวาตะวันขึน้ จนถงึ ตะวัน วาจา คาํ พดู , ถอ ยคาํตกเปน กาํ หนด คอื มาจากคาํ วา ตะวนั นน่ั วาจาชอบ ดู สัมมาวาจาเอง (คลายกบั ระยะเวลาเดือนหนง่ึ ที่ วาจาช่ัวหยาบ ในวินัยหมายถึงถอยคําถอื ตามการโคจรของพระจนั ทร ซึง่ มีชื่อ พาดพิงทวารหนกั ทวารเบาและเมถุน; ดูวาเดอื น) 2. ปา , ดง, สวน (บาล:ี วน) ทฏุ ลุ ลวาจาวันอโุ บสถ ดู อโุ บสถ วาชเปยะ, วาชไปยะ “วาจาดูดดม่ื ใจ”,วปั ปะ ชอ่ื พระภกิ ษรุ ปู หนง่ึ ในคณะปญ จ- “นา้ํ คาํ ควรด่มื ”, ความรูจักพูด คอื รจู กัวัคคีย เปนพระอรหนั ตรุนแรก ทักทายปราศรัย ใชว าจาสุภาพนมุ นวลวปั ปมงคล พธิ ีแรกนาขวญั คือพธิ เี ร่ิมไถ ประกอบดว ยเหตผุ ล มปี ระโยชน เปนนาเพ่อื เปน สริ มิ งคลแกข า วในนา ทางแหงสามัคคี ทําใหเกิดความเขาใจวยั สว นแหง อาย,ุ ระยะของอาย,ุ เขตอายุ อนั ดี ความเชอื่ ถอื และความนิยมนับถือนยิ มแบง เปน ๓ วยั คัมภีรว ิสทุ ธิมรรค (ขอ ๔ ในราชสังคหวตั ถุ ๔)จัดดังนี้ ๑. ปฐมวัย วัยตน ๓๓ ป คอื วาตสมุฏานา อาพาธา ความเจบ็ ไขท ี่อายุ ๑ ถงึ ๓๓ ป ๒. มัชฌมิ วยั วยั มีลมเปนสมฏุ ฐาน; ดู อาพาธกลาง ๓๔ ป คอื อายุ ๓๔ ถงึ ๖๗ ป ๓. วานปรสั ถ ผูอยูปา , เปนธรรมเนยี มของปจฉิมวัย วัยปลาย ๓๓ ป คอื อายุ ๖๘ พราหมณว า ผทู ค่ี รองเรอื น มคี รอบครวัป ถึง ๑๐๐ ป เปน หลักฐาน คร้ันลกู หลานเตบิ โตก็จัดวสั วดี ช่อื ของพระยามาร; ดู วสวัตดี แจงใหม คี รอบครวั ตนเองชราลง ก็เขาวัสสานะ, วัสสานฤดู ฤดูฝน (แรม ๑ ปาจําศีลถือพรตบําเพ็ญตบะตอไป,คํ่า เดอื น ๘ ถงึ ขึน้ ๑๕ คํา่ เดอื น เขียน วนปรสั ถะ บา งก็มี; ดู อาศรม๑๒); ดู มาตรา วาโยธาตุ ธาตลุ ม, สภาวะทมี่ ีลักษณะพดัวสั สาวาสิกพสั ตร ดู ผาจํานาํ พรรษา ไปมา, ภาวะสนั่ ไหว เครงตงึ ค้ําจนุ ; ในวสั สิกสาฎก ดู ผา อาบน้ําฝน รา งกายน้ี สวนที่ใชก าํ หนดเปนอารมณวสั สกิ สาฏิกา ดู ผา อาบนํา้ ฝน กรรมฐาน ไดแกลมพดั ข้ึนเบอ้ื งบน ลมวสั สูปนายกิ า วันเขาพรรษา; ดู จําพรรษา พัดลงเบอื้ งตาํ่ ลมในทอง ลมในไส ลมวางไวท าํ ราย ไดแ ก วางขวาก ฝง หลาว พดั ไปตามตวั ลมหายใจ, อยา งนี้เปนไวในหลุมพราง วางของหนักไวใหตก การกลาวถึงวาโยธาตุในลักษณะท่ีคน

วาร ๓๕๙ วิกปั ,วิกัปปสามัญท่ัวไปจะเขาใจได และที่จะให ใหเ ขาถงึ อบาย กับสว นทเี่ ปนเหตใุ หเ กิดสําเร็จประโยชนในการเจริญกรรมฐาน อาการแสดงออกทางกายวาจาแปลกๆแตในทางพระอภิธรรม วาโยธาตุเปน ตา งๆ สว นแรก พระอรหนั ตทุกองคล ะสภาวะพื้นฐานท่ีมีอยูในรูปธรรมทุก ได แตส วนหลงั พระพทุ ธเจาเทา น้นั ละ อยา ง ไดแกภ าวะส่นั ไหว เครงตึง คา้ํ ได พระอรหันตอื่นละไมได จึงมีคํา จนุ ; ดู ธาตุ, รูป ๒๘วาร วนั หน่งึ ๆ ในสปั ดาห, คร้งั , เวลา กลา ววา พระพทุ ธเจาเทา น้นั ละกิเลสทัง้ กาํ หนด หมดไดพรอมท้ังวาสนา; ในภาษาไทยวาระ ครงั้ คราว, เวลาท่กี าํ หนดสําหรบั คําวา วาสนา มีความหมายเพ้ียนไป กลายเปน อาํ นาจบุญเกา หรอื กุศลทีท่ าํผลัดเปล่ยี น ใหไ ดรับลาภยศวารี นํา้ วาสภคามิกะ ช่ือพระเถระองคหน่ึงในวาลิการาม ชื่อวัดหนึ่งในเมืองเวสาลี การกสงฆ ผูท าํ สังคายนาคร้งั ที่ ๒แควนวัชชี เปนที่ประชุมทําสังคายนา วิกขัมภนวิมุตติ พนดวยขมหรือสะกดครง้ั ที่ ๒ ชาํ ระวัตถุ ๑๐ ประการทเี่ ปน ไว ไดแ กความพน จากกิเลสและอกศุ ล-เสี้ยนหนามพระธรรมวินัย ธรรมไดดวยกําลังฌาน อาจสะกดไดวาสนา อาการกายวาจา ทเ่ี ปน ลักษณะ นานกวา ตทงั ควิมุตติ แตเมอื่ ฌานเสื่อมพิเศษของบุคคล ซึ่งเกิดจากกิเลสบาง แลวกเิ ลสอาจเกดิ ข้ึนอกี จดั เปนโลกยิ -อยาง และไดสั่งสมอบรมมาเปนเวลา วิมุตติ (ขอ ๒ ในวิมุตติ ๕; ในบาลีเปนนานจนเคยชินติดเปนพ้ืนประจําตวั แม ขอ ๑ ถงึ ชัน้ อรรถกถา จงึ กลายมาเปนจะละกิเลสนั้นไดแลว แตก็อาจจะละ ขอ ๒)อาการกายวาจาทเี่ คยชนิ ไมไ ด เชน คํา วิกติกา เคร่อื งลาดทีเ่ ปนรูปสตั วร าย เชนพูดติดปาก อาการเดินท่ีเร็วหรือเดิน ราชสหี  เสอื เปน ตนตวมเตี้ยม เปนตน ทานขยายความวา วิกัป, วกิ ปั ป ทาํ ใหเ ปนของสองเจาของวาสนา ท่เี ปน กุศล กม็ ี เปนอกศุ ล ก็มี คอื ขอใหภ กิ ษสุ ามเณรอนื่ รว มเปน เจา ของเปนอัพยากฤต คือเปนกลางๆ ไมด ีไม บาตรหรอื จวี รน้ันๆ ดวย ทําใหไ มตองชวั่ ก็มี ทเ่ี ปน กุศลกับอพั ยากฤตน้ัน ไม อาบัติเพราะเก็บอติเรกบาตรหรืออติเรกตอ งละ แตท่ีเปน อกุศลซงึ่ ควรจะละนน้ั จีวรไวเกนิ กําหนดแบงเปน ๒ สวน คือ สวนที่จะเปนเหตุ วกิ ัปมี ๒ คอื วกิ ปั ตอ หนา และวิกัป

วกิ ปั ,วกิ ปั ป ๓๖๐ วิกัป,วกิ ัปปลบั หลงั ปริภุ ชฺ วา วิสชฺเชหิ วา ยถาปจฺจยํ วา วิกปั ตอหนา คอื วกิ ปั ตอหนา ผูร ับ กโรหิ” แปลวา “จีวรผืนนี้ของขาพเจา ทานจงใชสอยก็ตาม จงสละกต็ าม จงถา จวี รผนื เดยี ว อยูในหตั ถบาส วา “อมิ ํ ทาํ ตามปจจยั กต็ าม” (ถา ผถู อนออนกวาจวี รํ ตยุ หฺ ํ วกิ ปฺเปมิ” แปลวา “ขา พเจา พึงวา “อมิ ํ จีวรํ มยหฺ ํ สนฺตกํ ปริภุ ฺชถวกิ ปั จวี รผนื นแ้ี กท า น”(ถา วกิ ปั จวี ร ๒ ผนื วา วิสชฺเชถ วา ยถาปจฺจยํ วา กโรถ”,ขนึ้ ไป วา “อมิ านิ จวี ราน”ิ แทน “อมิ ํ จวี ร”ํ , คําที่พึงเปลี่ยนทั้งหลาย เชน ช่ือของถาจีวรท่ีวิกัปอยูนอกหตั ถบาส วา “เอตํ” จํานวนของ และท่ีของตัง้ อยใู นหรอื นอกแทน “อิมํ” วา “เอตานิ” แทน “อิมาน”ิ , หัตถบาส พึงเทียบเคียงกับคําที่กลาวถาวิกัปแกภิกษุผูแกกวา จะใชบทวา แลวขางตน )“อายสฺมโต” แทน “ตุยหฺ ํ” ก็ควร) ในเร่ืองเก่ียวกับการวิกัปน้ี มีแนว วกิ ปั ลบั หลงั คอื วกิ ปั ใหแ กส หธรรมกิ ทางปฏิบัติที่พระอาจารยนักวินัยแนะนํารปู ใดรปู หน่ึง ผมู ไิ ดอยูเฉพาะหนา โดย ไว และพระมตใิ นหนงั สอื วนิ ัยมุข อันเปลงวาจาตอหนาสหธรรมิกรูปอื่น ถา ควรทราบวา ผาท่ีจะอธิษฐานเปนผาปูจีวรผนื เดยี ว อยใู นหตั ถบาส วา “อิมํ นอนกด็ ี เปนผาบริขารโจลกด็ ี ตอ งเปนจีวรํ อติ ฺถนฺนามสสฺ วกิ ปฺเปม”ิ แปลวา ของทไี่ มใชน งุ หม จงึ อธิษฐานขึ้น เชน“ขาพเจาวิกัปจีวรผืนน้ี แกทานผูช่ือน้ี” ภิกษุถอนผา อตุ ตราสงคผ นื เกา เสยี ไม(ถา วกิ ัปแกภ กิ ษุชือ่ วา อตุ ตระ ก็บอกช่ือ คิดจะใชน งุ หมอีก และอธิษฐานผืนใหมวา “อุตฺตรสสฺ ภิกฺขุโน” หรือ “อายสฺมโต แลว จะอธิษฐานผืนเกา น้ันเปนผา ปูนอนอตุ ตฺ รสสฺ ” แทน “อติ ถฺ นฺนามสสฺ ” สดุ แต เชน น้ีได แตถายังจะใชน ุงหม ควรวกิ ปัผูรับออนกวาหรือแกกวา, ถาวิกัปจีวร ไวตามแบบ สว นผา บรขิ ารโจลน้นั ก็เชนหลายผืน หรือจวี รอยนู อกหัตถบาส พงึ ผากรองนาํ้ ถุงบาตร และยา ม อันมิใชเปล่ียนคํา โดยเทียบตามแบบวิกัปตอ ของใชนุงหม และไมใชเปนของใหญหนา) ตลอดจนผา บรขิ ารอยา งอนื่ ซึง่ มีสีและ ดอกอันหามในผานุงหม อยางน้ี จีวรที่วกิ ัปไว จะบริโภค ตองขอให อธษิ ฐานขึน้ สวนผาทีจ่ ะใชน ุงหม แมผรู บั ถอนกอน มฉิ ะน้ัน หากบริโภค จะ เพียงผืนเล็กพอใชเปนเครื่องประกอบตอ งอาบัติปาจติ ตยี  เมือ่ ผูท่ีไดร ับไวนนั้ เขาเปนผานุงหมได แมแตผาขาว มีถอนแลว จงึ ใชไ ด, คาํ ถอนสําหรับจวี รท่ีอยใู นหตั ถบาส วา “อมิ ํ จวี รํ มยหฺ ํ สนตฺ กํ

วกิ ปั ปตจีวร ๓๖๑ วิกพุ พนาประมาณตง้ั แตยาว ๘ นว้ิ กวาง ๔ กอ นจงึ บริโภค พึงใชเปนของวกิ ัป แตนิ้วขึ้นไป จัดวาเปนจีวรตามกําหนด เมื่อจะอธิษฐาน พึงใหถอนกอน; ดูอยา งตาํ่ ท่จี ะตอ งวกิ ปั อธษิ ฐาน, ปจ จทุ ธรณอนง่ึ ผา อาบน้าํ ฝน เปน ของทที่ รง วิกปั ปต จวี ร จีวรท่ีวิกัปปไว, จวี รท่ีไดทําอนุญาตเปนบริขารพิเศษชั่วคราวของ ใหเ ปนของ ๒ เจาของแลวภิกษุ อธษิ ฐานไวใ ชไ ดต ลอด ๔ เดอื น วกิ าร 1. พิการ, ความแปรผนั , ความผดิแหงฤดฝู น พนนัน้ ใหวกิ ัปไว แปลก, ผิดปรกติ 2. ทาํ ตา งๆ, ขยับ ทงั้ น้ี มพี ทุ ธานญุ าตไวค ราวหนง่ึ (วนิ ย. เขยอ้ื น เชน กวักมือ ดีดนิว้ เปนตน๕/๑๖๐/๒๑๘) ซงึ่ ใชเ ปน ทอ่ี า งองิ ในเรอ่ื งทว่ี า วิกาล ผิดเวลา, ในวกิ าลโภชนสกิ ขาบทผาอยางไหนจะตองอธิษฐาน หรือตอง (หา มฉนั อาหารในเวลาวกิ าล) หมายถึงวกิ ัป อยา งไร ใจความวา ไตรจีวร ผา ปู ต้ังแตเที่ยงแลวไปจนถึงกอนอรุณวันน่ัง (นสิ ีทนะ) ผาปนู อน (ปจ จตั ถรณะ) ใหม; สวนในอันธการวรรค สิกขาบทท่ีผาเช็ดหนาเช็ดปาก (มุขปุญฉนโจละ) ๗ ในภิกขุนีวิภังค (หามภิกษุณีเขาสูและผา บรขิ ารโจล ใหอธิษฐาน ไมใ ชใ ห ตระกลู ในเวลาวิกาล เอาท่ีนอนปูลาดน่งัวิกัป, ผาอาบนํา้ ฝน (วัสสิกสาฎก) ให นอนทับโดยไมบอกกลาวขออนุญาตเจาอธษิ ฐานใชต ลอด ๔ เดือนแหง ฤดูฝน บาน) หมายถงึ ตง้ั แตพระอาทิตยตกจนพน จากนนั้ ใหว ิกัปไว, ผา ปด ฝ (กัณฑ-ุ ถึงกอนอรุณวันใหม; ในสิงคาลกสูตรปฏิจฉาทิ) ใหอธิษฐานใชตลอดเวลาที่ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค สุตตันตปฎกอาพาธ พน จากนนั้ ใหวิกัปไว; ผา จีวร กลาวถึงการเท่ียวซอกแซกในเวลาวิกาลขนาดอยา งตาํ่ ยาว ๘ นิว้ กวา ง ๔ นว้ิ วาเปนอบายมขุ นัน้ ก็หมายถงึ เวลาคํ่าโดยน้วิ พระสุคต ตอ งวิกัป วกิ าลโภชน การกนิ อาหารในเวลาวิกาล,สวนในการวิกัปบาตร ถาบาตรใบ การฉนั อาหารผิดเวลา; ดู วกิ าลเดยี ว อยใู นหตั ถบาส วา “อมิ ํ ปตตฺ ํ ตยุ หฺ ํ วกิ พุ พนา การทาํ ใหเ ปน ไดต า งๆ, การยกัวกิ ปฺเปม”ิ (ถาบาตรหลายใบ วา “อิเม เยื้องยักยาย, การปรับแปลงแผลงผัน,ปตฺเต” แทน “อิมํ ปตตฺ ”ํ ; ถาบาตรอยู เชน ผทู เี่ จรญิ อปั ปมญั ญาจนชาํ นาญ มีนอกหัตถบาส วา “เอตํ” แทน “อมิ ํ” จิตเสมอกันตอสรรพสัตว และเขาถึงบาตรหลายใบ วา “เอเต” แทน “อิเม”), ฌานแลว สามารถแผเ มตตา เปน ตน ตอบาตรที่วิกปั ไวแลว ไมมกี ําหนดใหถอน สตั วท งั้ หลาย แผกผนั ไปไดต า งๆ ทงั้

วิกพุ พนาอิทธิ,วกิ พุ พนฤทธ์ิ ๓๖๒ วชิ ฺชาจรณสมปฺ นฺโนแบบกวางขวางไมมีขอบเขต (อโนธโิ ส- วิจกิ ิจฉา ความลงั เลไมต กลงได, ความผรณา) ทงั้ แบบจาํ กดั ขอบเขต (โอธโิ ส- ไมแนใจ, ความสงสัย, ความเคลือบผรณา) และแบบเฉพาะเปน ทศิ ๆ (ทสิ า- แคลงในกศุ ลธรรมทงั้ หลาย, ความลงั เลผรณา), คาํ วา “วกิ พุ พนา” น้ี มกั พบในชอื่ เปนเหตุใหไมแนใจในปฏิปทาเครื่องเรยี กอทิ ธิ (ฤทธ)ิ์ แบบหนง่ึ คอื วกิ พุ พนา- ดาํ เนนิ ของตน (ขอ ๕ ในนวิ รณ ๕, ขออทิ ธิ หรอื วกิ พุ พนฤทธ;ิ์ เทียบ อโนธิโส- ๕ ในสงั โยชน ๑๐ ตามนยั พระอภธิ รรม,ผรณา, โอธิโสผรณา, ทิสาผรณา; ดู แผ ขอ ๔ ในอนสุ ยั ๗)เมตตา,สมี าสมั เภท; วกิ พุ พนาอทิ ธิ วจิ ิตร งาม, งดงาม, แปลก, ตระการ,วกิ พุ พนาอทิ ธ,ิ วกิ พุ พนฤทธิ์ ฤทธคิ์ อื หรู, แพรวพราวการแผลง, ฤทธบ์ิ ดิ ผนั , ฤทธผิ์ นั แผลง วิชชา ความรแู จง , ความรวู เิ ศษ; วิชชา ๓คือการแผลงฤทธแ์ิ ปลงตวั เปลย่ี นจาก คือ ๑. ปพุ เพนิวาสานุสตญิ าณ ความรทู ่ีรปู รา งปกติ แปลงเปน เดก็ เปน ครฑุ เปน ระลึกชาตไิ ด ๒. จตุ ปู ปาตญาณ ความรูเทวดา เปน เสอื เปน งู เปน ตน (ตอ งหา ม จตุ แิ ละอบุ ตั ขิ องสตั วท งั้ หลาย ๓.อาสวกั - ขยญาณ ความรทู ีท่ ําอาสวะใหสนิ้ วชิ ชาทางพระวนิ ยั )วิขมั ภนปหาน การละกเิ ลสไดด วยขมไว ๘ คอื ๑. วปิ ส สนาญาณ ญาณในดว ยฌาน; มกั เขยี น วิกขัมภนปหาน วิปส สนา ๒. มโนมยทิ ธิ ฤทธิท์ างใจ ๓.วิขมั ภนวมิ ุติ ดู วกิ ขัมภนวมิ ตุ ติ อทิ ธิวิธิ แสดงฤทธไิ์ ดต า งๆ ๔. ทพิ พ-วิจาร ความตรอง, การพิจารณาอารมณ, โสต หทู ิพย ๕. เจโตปริยญาณ รจู ักการตามฟนอารมณ (ขอ ๒ ในองคฌ าน กาํ หนดใจผอู น่ื ได ๖. ปพุ เพนวิ าสานสุ ติ๕) ๗. ทิพพจักขุ ตาทิพย (= จตุ ูปปาต-วิจารณ 1. พิจารณา, ไตรตรอง 2. สอบ ญาณ) ๘. อาสวักขยญาณสวน, ตรวจตรา 3. คิดการ, กะการ, จัด วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน (พระผูมีพระภาคเตรียม, จดั แจง, ดแู ล, จดั ดําเนินการ เจาน้ัน) ทรงถึงพรอมดวยวิชชาและ4. ในภาษาไทย มกั หมายถงึ ตชิ ม, แสดง จรณะ ประกอบดวยวชิ ชา ๓ หรอื วชิ ชาความคิดเห็นในเชิงตัดสินคุณคาชี้ขอดี ๘ และจรณะ ๑๕ อนั เปน ปฏิปทาเครอ่ื ง ขอดอ ย บรรลุวิชชานั้น, มีความรูประเสริฐวจิ ารณญาณ ปญ ญาทไี่ ตรต รองพจิ ารณา ความประพฤตปิ ระเสรฐิ (ขอ ๓ ในเหตุผล พทุ ธคุณ ๙)

วชิ ชาธร,วิชาธร ๓๖๓ วญิ ูวชิ ชาธร, วิชาธร ดู วิทยาธร สัตวเหลาหน่ึง มกี ายตา งกัน มีสัญญาวิญญัติ 1. การเคลื่อนไหวใหรูความ อยางเดียวกัน เชน พวกเทพผูอยใู น หมาย, การสือ่ ความหมาย มี ๒ คือ ๑. จาํ พวกพรหมผเู กดิ ในภมู ปิ ฐมฌาน ๓. กายวญิ ญตั ิ การใหร คู วามหมายดว ยกาย สัตวเหลาหนึง่ มีกายอยางเดียวกัน มี เชน พยกั หนา กวกั มือ ๒. วจวี ญิ ญตั ิ สญั ญาตา งกนั เชน พวกเทพอาภสั สระการใหรูความหมายดวยวาจา คือพูด ๔. สัตวเหลา หนง่ึ มีกายอยางเดยี วกนั มีหรอื บอกกลาว 2. การออกปากขอของ สญั ญาอยางเดียวกนั เชน พวกเทพสุภ-ตอคนไมควรขอ หมายถึงภิกษุขอส่ิง กิณหะ ๕. สัตวเหลา หนงึ่ ผเู ขา ถึงชน้ัของตอคฤหสั ถผูไ มใ ชญาติ ผไู มใ ชค น อากาสานัญจายตนะ ๖. สัตวเหลาหน่งึปวารณา ผูเ ขาถงึ ชน้ั วญิ ญาณัญจายตนะ ๗. สตั ววญิ ญาณ ความรูแจง อารมณ, จติ , ความรู เหลา หนง่ึ ผเู ขา ถงึ ชนั้ อากญิ จญั ญายตนะที่เกิดข้ึนเม่ืออายตนะภายในและ วิญญาณธาตุ ธาตุรู, ความรูแจง , ความรูอายตนะภายนอกกระทบกัน เชนรู อะไรได (ขอ ๖ ในธาตุ ๖)อารมณในเวลาเม่ือรูปมากระทบตา วิญญาณัญจายตนะ ฌานอันกําหนดเปนตน ไดแ ก การเห็น การไดยนิ เปน วิญญาณหาท่ีสุดมิไดเปนอารมณหรืออาท;ิ วญิ ญาณ ๖ คือ ๑. จกั ขุวิญญาณ ภพของผเู ขา ถงึ ฌานน้ี (ขอ ๒ ในอรปู ๔)ความรอู ารมณท างตา (เหน็ ) ๒. โสต- วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ,วิญญาณ ความรูอารมณท างหู (ไดยนิ ) วิญญาณเปนอาหารคือเปนปจจัย๓. ฆานวิญญาณ ความรูอารมณทาง อดุ หนุนหลอเลยี้ งใหเกดิ นามรูป (ขอ ๔จมกู (ไดก ลิ่น) ๔. ชวิ หาวิญญาณ ความ ในอาหาร ๔)รอู ารมณท างล้นิ (รูร ส) ๕. กายวญิ ญาณ วิญู ผูร,ู บณั ฑิต, นักปราชญ; ในพระความรูอารมณทางกาย (รูส่ิงตองกาย) วินัย ตามปาจติ ติยสิกขาบทที่ ๗ แหง๖. มโนวญิ ญาณ ความรูอารมณทางใจ มุสาวาทวรรค วา “อน่ึง ภกิ ษุใดแสดง(รูเรือ่ งในใจ) ธรรมแกม าตุคามเกินกวา ๕-๖ คาํ เวนวิญญาณฐิติ ภูมเิ ปน ที่ต้ังของวิญญาณ มี แตมีบุรุษผูเปนวิญูอยูดวย เปน๗ คือ ๑. สตั วเ หลาหนึ่ง มีกายตา งกัน ปาจิตตีย” คาํ วา วญิ ู ในทีน่ ี้ หมายถึงมีสญั ญาตางกัน เชนพวกมนษุ ย พวก ผูรคู วาม คือ “ผูส ามารถรเู ขา ใจคาํ ดคี าํเทพบางหมู พวกวนิ ปิ าติกะ บางหมู ๒. ราย คาํ หยาบคําไมห ยาบ”, ในกฎหมาย

วิญชู น ๓๖๔ วิถจี ติ ไทย ใชคําวา วิญชู น หมายถงึ บุคคล ภวงั คจิต (และมิใชเ ปนปฏสิ นธจิ ิต หรือ ผรู ูผ ิดรูช อบตามปรกติ หรืออยางภาษา จตุ จิ ติ ), พดู อกี อยางหนง่ึ วา จติ ๑๑ ช่ือ ซึ่งทํากิจ ๑๑ อยาง นอกจากปฏิสนธิกิจ ชาวบานวา ผูร ูผ ดิ ชอบช่วั ดี ภวังคกิจ และจตุ กิ ิจ, “วถิ จี ติ ” เปนคาํวิญูชน ดู วิญู รวม เรียกจติ ทัง้ หลาย ซง่ึ ทาํ หนา ที่เกีย่ ววติ ก ความตรกึ , ตริ, การยกจิตข้นึ สู กบั การรบั รูอารมณ ๖ ทางทวารทง้ั ๖ อารมณ หรอื ปก จติ ลงสูอารมณ (ขอ ๑ (คําบาลวี า “วีถจิ ติ ตฺ ”), อธิบายอยา งงาย พอใหเ ขาใจเปนพ้นื ฐานวา สัตวทง้ั หลาย ในองคฌาน ๕), การคิด, ความดําริ; หลงั จากเกิดคือปฏสิ นธแิ ลว จนถึงกอ น ตายคอื จตุ ิ ระหวา งนนั้ ชวี ติ เปน อยโู ดย ไทยใชว าเปนหวงกังวล มีจติ ทเี่ ปน พ้นื เรยี กวา ภวงั คจติ (จิตที่วติ กจรติ พืน้ นสิ ยั หนกั ในทางตรึก, มี เปนองคแหง ภพ หรือจติ ในภาวะทเี่ ปน วิตกเปนปรกติ, มีปรกตินึกพลานหรือ องคแ หงภพ) ซึง่ เกดิ ดบั สบื เนอ่ื งตอ กัน ไปตลอดเวลา (มักเรียกวาภวงั คโสต คิดจบั จดฟงุ ซาน, ผูมจี ริตชนิดนีพ้ ึงแก คือกระแสแหง ภวังค) ทนี ้ี ถา จิตอยูใน ภาวะภวงั ค เปนภวงั คจิต และเกิดดับ ดว ย เพงกสิณ หรือเจรญิ อานาปานสติ- สืบตอไปเปนภวังคโสตเทาน้ัน ก็เพียง แคยังมีชีวิตอยู เหมือนหลับอยูตลอด กมั มฏั ฐาน (ขอ ๖ ในจริต ๖) เวลา แตช วี ติ น้ันเปนอยดู าํ เนินไป โดยมีวติ ถาร ซง่ึ แผย ืดขยายกวา งขวางออกไป, การรับรูและทํากรรมทางทวารตางๆ ขยายความ, พิสดาร; ตรงขา มกบั สงั เขป; เชน เห็น ไดยนิ ดู ฟง เคลอื่ นไหว พูด ในการวัด หมายถึง ความกวา ง (เทยี บ จา ตลอดจนคดิ การตางๆ จิตจงึ มิใชอ ยู กับความยาว คืออายาม และความสูง เพียงในภาวะที่เปนภวังค คือมิใชแค หรอื ความลกึ คืออพุ เพธ); ในภาษาไทย เปนองคแหงภพไวเทานน้ั แตต อ งมีการ ความหมายเพี้ยนไป กลายเปน วา ผดิ รับรูเสพอารมณทํากรรมทางทวารท้ัง หลายดวย ดงั นัน้ เมอ่ื มอี ารมณ คอื รปู ปกติ, พลิ ึก, นอกแบบ, นอกลนู อกทาง, เสียง ฯลฯ มาปรากฏแกทวาร (“มาสู คลองในทวาร”) คอื ตา หู ฯลฯ ก็จะมี เกนิ วสิ ัยแหงความยอมรับวิตถารนัย นยั อยา งพสิ ดาร, แบบขยาย ความ, แงความหมายซง่ึ บรรยายอยาง กวางขวางยืดยาว; ตรงขา มกบั สังเขปนัยวติ ิกกมะ ดู วีตกิ กมะวถิ จี ิต “จิตในวิถ”ี คอื จิตในวิถีแหง การรับ รเู สพอารมณ, จติ ซ่งึ เกดิ ข้ึนเปนไปในวิถี คอื พน จากภวงั ค หรอื พน จากภาวะทเี่ ปน

วถิ ีจติ ๓๖๕ วถิ ีจิตการรับรู โดยภวงั คจิตที่กาํ ลังเกิดดับสืบ จติ (วถี จิ ติ ตปวตั ต)ิ ทเ่ี กดิ ดบั สบื ตอ ไปตอกระแสภพกันอยูนั้น แทนท่ีวาภวังคจิตหน่งึ ดบั ไป จะเกิดเปนภวังคจติ มากมายไมอ าจนบั ไดใหมขน้ึ มา กก็ ลายเปน วา ภวงั คจิตหนึ่งดบั ไป แตเกดิ เปน จติ หนึง่ ท่ีเขา อยูในวิถี ในการรับรูเสพอารมณทํากรรมคร้ังแหงการรับรูเกิดขึ้นมา (ตอนนี้ พูดอยางภาษาชาวบานใหเขาใจงายวา จิต หนงึ่ ๆ ทเี่ ปน การเปลย่ี นจากภวงั คจติ มาออกจากภวังค หรือจิตขึ้นสูว ถิ ี) แลว ก็จะมีจิตท่ีเรียกชื่อตางๆ เกิดขึ้นมาทํา เปน วถิ จี ติ จนกระทงั่ กลบั เปน ภวงั คจติหนา ทตี่ อ ๆ กนั ไป ในวถิ แี หง การรบั รเู สพอารมณนั้น จนครบกระบวนจบวิถีไป อีกน้ัน แยกแยะใหเห็นลําดับขั้นตอนรอบหนึ่ง แลวก็เกิดเปนภวังคจิตข้ึนมาอกี (พดู อยา งภาษาชาวบา นวา ตกภวงั ค) , แหงความเปนไป พอใหไดความเขาใจจิตท้ังหลายท่ีเกิดขึ้นมาทําหนาที่แตละขณะในวิถีแหงการรับรูเสพอารมณนั้น ครา วๆ (ในทนี่ ้ี จะพดู ถงึ เฉพาะปญ จ-จนจบกระบวน เรียกวา “วถิ จี ติ ” และจติแตละขณะในวิถีนั้น มีช่ือเรียกเฉพาะ ทวารวถิ ี คอื การรบั รทู างทวาร ๕ ไดแ กของมนั ตามกจิ คืองานหรอื หนาที่ทมี่ ันทํา, เมื่อตกภวังคอยางที่วานั้นแลว ตา หู จมกู ลน้ิ และกาย ในกรณที รี่ บัภวงั คจิตเกิดดับตอ กันไป แลว ก็เปลย่ี น(เรียกวาตัดกระแสภวังค) เกิดเปนวิถี อารมณท ม่ี กี าํ ลงั มาก คอื อตมิ หนั ตารมณจิตขึน้ มารบั รูเ สพอารมณอ กี แลวพอจบกระบวน กต็ กภวังค เปน ภวังคจิต แลว เปน หลกั ) ดงั น้ี ก. ชว งภวงั คจติ (เนอ่ื งกต็ ัดกระแสภวงั ค เกดิ เปน วิถจี ิตขึ้นอกีสลับกันหมุนเวียนไป โดยนัยน้ี ชีวิตท่ี จากเม่ือจบวิถี ก็จะกลับเปนภวังคอีกดําเนินไปแมในกิจกรรมเล็กนอยหน่ึงๆจึงเปนการสลับหมุนเวียนไปของกระแส ตามปกติจึงเรียกภวังคจิตท่ีเอาเปนจุดภวังคจิต (ภวังคโสตะ) กับกระบวนวิถี เรมิ่ ตน วา “อตตี ภวงั ค” คอื ภวงั คท ลี่ ว ง แลว หรอื ภวงั คก อ น) มี ๓ ขณะ ไดแ ก ๑. อตีตภวังค (ภวังคจิตที่สบื ตอ มาจาก กอ น) ๒. ภวงั คจลนะ (ภวงั คไ หวตวั จาก อารมณใ หมท กี่ ระทบ) ๓. ภวงั คปุ จ เฉท (ภวงั คข าดจากอารมณเ กา ) ข. ชว งวถิ จี ติ มี ๑๔ ขณะ ไดแ ก ๑. ปญ จทวาราวชั ชนะ (การคาํ นึงอารมณใหมทางทวารนน้ั ๆ ใน ทวารทง้ั ๕, ถา อยใู นมโนทวารวถิ ี กเ็ ปน มโนทวาราวชั ชนะ) ๒. ปญ จวญิ ญาณ (การรอู ารมณน นั้ ๆ ในอารมณท ง้ั ๕ คอื เปนจักขุวิญญาณ หรือโสตวิญญาณ หรือฆานวิญญาณ หรือชิวหาวิญญาณ หรอื กายวญิ ญาณ อยา งใดอยา งหนง่ึ ) ๓.

วถิ ีจติ ๓๖๖ วิถจี ิตสัมปฏิจฉนะ (สัมปฏิจฉันนะ ก็เรยี ก, อยางน้ี กจ็ ะมอี ตีตภวงั ค ๒ หรอื ๓ ขณะการรับอารมณจากปญจวิญญาณ เพ่ือ และเมอื่ ขน้ึ สวู ถิ ี กจ็ ะไปจบแคช วนะที่ ๗เสนอแกสนั ตรี ณะ) ๔. สนั ตรี ณะ (การ ดับ แลวก็ตกภวังค โดยไมมีตทารมณพจิ ารณาไตส วนอารมณ) ๕. โวฏฐพั พนะ เกดิ ขนึ้ , ยงิ่ กวา นนั้ ถา อารมณท ป่ี รากฏมี(การตัดสินอารมณ) ๖.–๑๒. ชวนะ กาํ ลงั นอ ย (เปน ปรติ ตารมณ) กจ็ ะผา น(การแลนไปในอารมณ คือรับรูเสพทํา อตตี ภวงั คไ ปหลายขณะ (ตงั้ แต ๔ ถงึ ๙ ขณะ) จงึ เปน ภวงั คจลนะ และเมอื่ ขนึ้ สวู ถิ ีตอ อารมณ เปน ชว งที่ทาํ กรรม โดยเปน แลว วถิ ีนนั้ ก็ไปสน้ิ สดุ ลงแคโ วฏฐพั พนะ ไมทันเกิดชวนจิต ก็ตกภวังคไปเลย,กุศลชวนะหรืออกุศลชวนะ หรือไมก็ และถา อารมณท ปี่ รากฏนน้ั ออ นกาํ ลงั เกนิกิรยิ า) ตดิ ตอ กนั ๗ ขณะ ๑๓.–๑๔. ไป (เปน อตปิ รติ ตารมณ) กจ็ ะผา นอตตี -ตทารมณ (ตทาลมั พณะ หรอื ตทาลมั พนะ ภวังคไปมากหลายขณะ จนในท่ีสุดกเ็ รยี ก, “มอี ารมณน น้ั ” คอื มอี ารมณเ ดยี ว เกดิ ภวงั คจลนะขน้ึ มาได ๒ ขณะ กก็ ลบั เปน ภวงั คต ามเดมิ คอื ภวงั คไ มข าด (ไมกบั ชวนะ ไดแ กก ารเกดิ เปน วปิ ากจติ ทไี่ ด มีภวังคุปจเฉท) และไมมีวิถีจิตเกิดขึ้น เลย จงึ เรยี กวา เปน โมฆวาระ, สว นในรบั อารมณต อ จากชวนะ เหมอื นไดร บั ผล มโนทวารวถิ ี เมอ่ื ภวงั คไ หวตวั (ภวงั ค- จลนะ) และภวงั คข าด (ภวงั คปุ จ เฉท)ประมวลจากชวนะมาบนั ทกึ เกบ็ ไว กอ น แลว ขน้ึ สวู ถิ ี จะมเี พยี งมโนทวาราวชั ชนะ (การคํานึงอารมณใหมทางมโนทวาร)ตกภวงั ค) ตอ กนั ๒ ขณะ แลว กส็ น้ิ สดุ วถิ ี แลว เกดิ เปน ชวนจติ ๗ ขณะตอ ไปเลย (ไมม สี มั ปฏจิ ฉนจติ เปน ตน ) เมอ่ื ชวนะคอื จบกระบวนของวถิ จี ติ เกดิ เปน ภวงั ค- ครบ ๗ แลว ในกรณที อ่ี ารมณท ปี่ รากฏ เดน ชดั (วภิ ตู ารมณ) กจ็ ะเกดิ ตทารมณจติ ขน้ึ ใหม (ตกภวงั ค) , เมอ่ื นบั ตลอด ๒ ขณะ แลว ตกภวงั ค แตถ า อารมณ ออ นแรงไมเ ดน ชดั (อวภิ ตู ารมณ) พอหมดทงั้ สองชว ง คอื ตง้ั แตอ ตตี ภวงั คจ ดุ ครบ ๗ ชวนะแลว กต็ กภวงั คไ ปเลย โดยไมม ตี ทารมณเ กดิ ขนึ้ , อนง่ึ ทก่ี ลา วเรม่ิ มาจนจบวถิ ี กม็ ี ๑๗ ขณะจติ ในสวนรายละเอียด วิถีจิตมีความเปน ไปแตกตา งกนั หลายแบบ เชน ในปญ จทวารวถิ ที ่ีพูดมาขางตนน้ัน เปนกรณีท่ีรับอารมณซ่ึงมีกําลังเดนชัดมาก(อติมหันตารมณ) แตถาอารมณท่ีปรากฏเขามามีกําลังไมมากนัก (เปนแคม หนั ตารมณ) ภวงั คจะยงั ไมไ หวตัวจนถึงภวงั คจิตขณะท่ี ๓ หรือขณะที่ ๔จึงจะไหวตัวเปนภวังคจลนะ ในกรณี

วทิ ยา ๓๖๗ วนิ ยัมาท้ังหมดน้ัน เปนวิถีจิตในกามภูมิทั้ง ตะวนั ตกเฉยี งใตป ระมาณ ๑,๐๘๖ กม.สน้ิ ยงั มวี ถิ จี ติ ในภมู ทิ สี่ งู ขน้ึ ไปอกี ใน บางตอนเคียงคูไปกับแมน้ํานัมมทาฝายมโนทวารวิถี (จิตในปญจทวารวิถี แลวส้ินสุดลงในรัฐคุชราต ถือกันอยูในกามภูมิอยางเดียว) ซึ่งเปนจิตที่ ทํานองเดียวกับแมนํ้านัมมทาวาเปนเสนเปน สมาธขิ น้ั อปั ปนา และมคี วามเปน ไปที่ แบง ระหวางที่ราบลุมแมน้ําคงคาในแตกตา งจากวถิ จี ติ ในกามภมู ิ เชน ชวนะ ภาคเหนือ (อุตราบถ) กบั ดินแดนที่ราบไมจ าํ กดั เพยี งแค ๗ ขณะ เมอื่ เขา ฌาน สูงแหงอินเดียภาคใต (Deccanแลว ตราบใดยงั อยใู นฌาน กม็ ชี วนจติ Plateau; ทกั ขณิ าบถ); ดู นมั มทาเกดิ ดบั สบื ตอ กนั ไปตลอด นบั จาํ นวนไม วนิ ยวาที ผูม ปี รกติกลาวพระวนิ ยัได โดยไมตกภวังคเลย ถาเกิดเปน วินยสัมมุขตา ความเปนตอหนาพระภวังคจิตข้ึนเม่ือใด ก็คือออกจากฌาน วินัยในวิวาทาธิกรณ หมายความวาดงั นเี้ ปน ตน รายละเอยี ดของวถิ จี ติ ระดบั ปฏิบัติตามธรรมวินัยและสัตถุศาสนอันน้ี จะไมก ลา วในทนี่ ;ี้ ดู ชวนะ, ตทารมณ; เปน เครอื่ งระงบั อธิกรณนั้น; ดู สมั มขุ า-เทยี บ ภวงั คจติ วินัยวทิ ยา ความรู วินัย ระเบียบแบบแผนสําหรับฝกฝนวิทยาธร “ผูท รงวิทยา”, ผมู ีวิชากายสทิ ธ์ิ, ควบคุมความประพฤติของบุคคลใหมีผูมีฤทธิ์ที่สําเร็จดวยวิทยาอาคมหรือ ชีวิตที่ดีงามเจริญกาวหนาและควบคุมของวเิ ศษ, พอ มด หมูชนใหอยูรวมกันดวยความสงบเรียบวิเทหะ ชอ่ื แควนหน่ึงในชมพูทวีป นคร รอยดีงาม, ประมวลบทบัญญัติขอหลวงชือ่ มถิ ลิ า เปนดินแดนพวกวชั ชี กําหนดสําหรับควบคุมความประพฤติอีกถิ่นหน่ึง ต้ังอยูบนฝงแมน้ําคงคา ไมใหเสื่อมเสียและฝกฝนใหประพฤติดีตรงขา มกบั แควนมคธ งามเปนคุณเกื้อกูลย่ิงขึ้น; วินัยมี ๒วิธัญญา ชื่อนครหรือถิ่นหนึ่งในสักก- อยางคือ ๑. อนาคารยิ วินยั วนิ ัยของผูชนบท ปกครองโดยกษตั รยิ ว งศศ ากยะ; ไมครองเรอื น คอื วนิ ัยของบรรพชติ หรอืเวธญั ญะ ก็เรยี ก วนิ ยั ของพระสงฆ ไดแ ก การไมต อ งอาบตั ิวนิ ธยะ ชอื่ เทือกเขาสาํ คัญในอนิ เดยี ภาค ทง้ั ๗ หรอื โดยสาระ ไดแ ก ปารสิ ทุ ธศิ ลีกลาง (Vindhya Range) เริม่ ตน ทาง ๔ ๒. อาคาริยวินัย วนิ ยั ของผคู รองตะวันออกท่ีพาราณสี ยาวลงไปทาง เรือน คอื วนิ ยั ของชาวบา น ไดแ ก การงด

วนิ ยั กถา ๓๖๘ วนิ ีตวัตถุเวน จาก อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ โดยนัยก็ คือไมมีวิปฏิสาร; ทรงมุงหมายเพอ่ื จะคือ กุศลกรรมบถ ๑๐ แตง แกห นงั สอื บพุ พสกิ ขาวณั ณนา ของวนิ ัยกถา คาํ พดู เก่ียวกับพระวนิ ัย, คํา พระอมราภริ กั ขติ (อมร เกดิ ) เจา อาวาสบรรยาย คาํ อธบิ าย หรือเรอื่ งสนทนา วัดบรมนวิ าส; จัดพมิ พเ ปน ๓ เลม ใชเก่ียวกบั พระวินยั เปน แบบเรียนวชิ าวินยั สาํ หรับนักธรรมวินัยกรรม การกระทําเกี่ยวกบั พระวินยั ชน้ั ตรี ช้นั โท และช้ันเอก ตามลําดบัหรือการปฏิบัติตามวินัย เชน การ วินยั วตั ถุ เรือ่ งเกยี่ วกับพระวินยัอธษิ ฐานบรขิ าร การวกิ ัปบาตรและจวี ร วนิ ิจฉัย ไตรต รอง, ใครค รวญ, ชขี้ าด, การปลงอาบตั ิ การอยปู รวิ าส เปนตน ตดั สนิ , ชําระความวินัยธร “ผูทรงวินัย”, ภิกษุผูชํานาญ วินิบาต “โลกหรือวิสัยเปนท่ีตกไปแหงวินยั ; พระอุบาลเี ถระ ไดรบั ยกยองจาก สตั วอยางไรอ าํ นาจ [คอื ชว ยตัวเองไมไดพระพุทธเจาวาเปนเอตทัคคะในบรรดา เลย]”, “แดนเปนที่ตกลงไปพนิ าศยอ ยพระวนิ ยั ธร ยบั ”, สภาพตกตาํ่ , ภพคอื ภาวะแหง ชวี ติวนิ ัยปฎก ดู ไตรปฎ ก ที่มีแตความตกต่ําเส่ือมถอยยอยยับ;วนิ ยั มขุ มุขแหงวินยั , หลักใหญๆ หรอื อรรถกถาท้ังหลาย (เชน วินย.อ.๑/๑๘๗)หัวขอสําคัญๆ ท่ีเปนเบื้องตนแหงพระ แสดงความหมายไว ๒ นยั คือ พดูวนิ ัย หรอื เปน ปากทางนาํ เขา สวู นิ ยั เปน แบบรวมๆ ก็เปนไวพจนคําหน่ึงของชื่อหนังสือที่สมเด็จพระมหาสมณเจา นรก น่นั เอง แตถา แยกความหมายออกกรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ทรงรจนาขน้ึ ไปตางหาก กห็ มายถึงกาํ เนิดอสรุ กายเพ่ืออธิบายความหมายและช้ีประโยชน วินิปาติกะ ทานวาไดแกพวกเวมานิก-แหงพระวินัย มุงชวยใหพระภิกษุ เปรต คอื พวกเปรตมวี ิมานอยู ไดเสวยสามเณรตั้งอยูในปฏิบัติพอดีงาม ผูไม สขุ และตอ งทุกขท รมานเปนชว งๆ สลบัเครงจะไดรูสึกสํารวมรักษามารยาทสม กนั ไป มีสขุ บางทกุ ขบางคละระคนเปนสมณะ ฝายผูเ ครง ครัดเกนิ ไปจะได วินิพโภครูป รปู ทีแ่ ยกจากกันได; เทยี บหายงมงาย ไมสําคัญวาตนดีกวาผูอื่น อวนิ ิพโภครูป; ดู รูป ๒๘ตั้งรังเกียจผูอื่นเพราะเหตุเล็กนอย วนิ ีตวตั ถุ เรอื่ งทีท่ านวินิจฉัยแลว, เร่อื งที่เพยี งสักวา ธรรมเนยี ม หรือแมห ันไปชกั ตัดสินแลว ทานแสดงไวเปนตัวอยางนาํ ผอู น่ื ในปฏบิ ตั อิ นั ดี ตา งจะไดอ านสิ งส สําหรับเทียบเคียงตัดสิน ในการปรับ

วิบัติ ๓๖๙ วปิ ลาส,วปิ ล ลาสอาบัติ (ทํานองคําพิพากษาของศาลสูง หรือผลสืบเน่ือง เชน “นสิ สนั ท” และสดุ ทน่ี าํ มาศึกษากัน) “อานสิ งส”; ดู ผล,เทียบ นสิ สนั ท, อานสิ งสวิบตั ิ ความเสยี , ความผิดพลาด, ความ วิปจิตัญู ผูอาจรูธรรมตอเม่ือทานบกพรอ ง, ความเสยี หายใชการไมไ ด 1. อธิบายความหมายแหง หัวขอนน้ั , รูตอวบิ ตั ิ ความเสีย ของภกิ ษุ มี ๔ อยา ง คอื เมือ่ ขยายความ (ขอ ๒ ในบคุ คล ๔)๑. ศลี วบิ ตั ิ ความเสยี แหง ศลี ๒. อาจาร- วิปฏสิ าร ความเดอื ดรอ น, ความรอนใจวบิ ตั ิ ความเสียมรรยาท ๓. ทิฏฐิวบิ ัติ เชนผูประพฤติผิดศีล เกิดความเดือดความเห็นผิดธรรมผิดวินัย ๔. อาชวี - รอนขน้ึ ในใจ ในเพราะความไมบรสิ ทุ ธิ์วบิ ตั ิ ความเสยี หายแหง การเล้ยี งชีพ 2. ของตนเรียกวา เกดิ วปิ ฏสิ ารวิบัติ คือความเสียหายใชไมได ของ วปิ ปวาส “อยปู ราศ” เปน ประการหน่งึ ในสังฆกรรม มี ๔ คือ ๑. วัตถวุ บิ ตั ิ เสยี รตั ตเิ ฉท การขาดราตรแี หง การประพฤติโดยวัตถุ เชน อปุ สมบทคนอายุตํ่ากวา มานัตและการอยูปริวาส; สําหรับผู๒๐ ป ๒. สีมาวบิ ตั ิ เสียโดยสีมา เชน ประพฤติมานตั วปิ ปวาส หมายถงึ อยูสีมาไมมีนิมิต ๓. ปริสวิบัติ เสียโดย ในถ่ิน (จะเปนวัดหรือท่ีมิใชวัดเชนปาบริษัทคอื ที่ประชมุ เชน ภกิ ษุเขาประชมุ เปนตน กต็ าม) ทไี มม ีสงฆอ ยูเ ปน เพ่อื นไมครบองคสงฆ ๔. กรรมวาจาวิบัติ คืออยูปราศจากสงฆ, สําหรับผูอยูเสียโดยกรรมวาจา เชนสวดผิดพลาด ปริวาส หมายถึง อยใู นถิ่นปราศจาก ตกหลน สวดแตอนุสาวนาไมไดตั้ง ปกตัตตภิกษุ (มีปกตัตตภิกษุอยูเปน ญัตติ เปนตน (ขอกรรมวาจาวบิ ัตบิ าง เพื่อนรูปเดยี วกใ็ ชไ ด) ; ดู รตั ติเฉท กรณีแยกเปนญัตติวิบัติและอนุสาวนา วิปริณาม ความแปรปรวน, ความผัน วบิ ตั ิ กลายเปนวบิ ตั ิ ๕ ก็มี; เทียบ สมบตั ิ แปรเปลยี่ นแปลงเร่ือยไปวบิ าก ผลแหงกรรม, ผลโดยตรงของ วปิ ลาส, วิปล ลาส กิรยิ าทถี่ ือโดยอาการกรรม, ผลดีผลรายทเ่ี กดิ แกต น คือเกดิ วปิ รติ ผิดจากความเปน จรงิ , ความเห็นขึ้นในกระแสสืบตอแหงชีวิตของตน หรือความเขาใจคลาดเคลื่อนจากสภาพ(ชีวิตสันตติ) อันเปนไปตามกรรมดี ท่เี ปนจรงิ มีดังนี้: ก. วปิ ลาสดว ยอาํ นาจกรรมชั่วที่ตนไดทําไว; “วบิ าก” มีความ จิตตแ ละเจตสกิ ๓ ประการ คอื ๑.หมายตางจากผลท่ีเรียกช่อื อยางอื่น ซง่ึ วิปลาสดวยอํานาจสําคัญผิด เรียกวาเปนผลพวง ผลพลอยได ผลขา งเคียง สญั ญาวปิ ลาส ๒. วิปลาสดว ยอํานาจ

วปิ สสนา ๓๗๐ วปิ ส สนาภมู ิคิดผิด เรยี กวา จติ ตวิปลาส ๓. วปิ ลาส โทษ ๕. นพิ พทิ านปุ ส สนาญาณ ญาณดว ยอาํ นาจเหน็ ผดิ เรยี กวา ทฏิ ฐวิ ปิ ลาส คํานึงเห็นดวยความหนาย ๖. มุญจิตุ-ข. วิปลาสดว ยสามารถวตั ถเุ ปนท่ตี ้งั ๔ กัมยตาญาณ ญาณหยั่งรูอันใหใครจะประการ คอื ๑. วปิ ลาสในของท่ไี มเท่ียง พนไปเสีย ๗. ปฏสิ งั ขานปุ ส สนาญาณวา เที่ยง ๒. วปิ ลาสในของท่ีเปน ทกุ ขว า ญาณอนั พจิ ารณาทบทวนเพื่อจะหาทางเปน สุข ๓. วปิ ลาสในของทีไ่ มใชต น วา ๘. สังขารเุ ปกขาญาณ ญาณอนั เปนไปเปน ตน ๔. วปิ ลาสในของท่ไี มงาม วา โดยความเปนกลางตอ สังขาร ๙. สจั จา-งาม (เขยี นวา พิปลาส ก็ม)ี นุโลมิกญาณ ญาณเปนไปโดยควรแกวิปส สนา ความเหน็ แจง คอื เหน็ ตรงตอ การหยั่งรอู รยิ สัจจ;ดู ญาณ ๑๖ความเปนจริงของสภาวธรรม; ปญญาท่ี วิปสสนาธุระ ธรุ ะฝา ยวปิ สสนา, ธรุ ะเห็นไตรลักษณอันใหถอนความหลงผิด ดา นการเจรญิ วปิ ส สนา, กจิ พระศาสนาในรูผิดในสังขารเสียได, การฝกอบรม ดา นการสอนการฝก เจรญิ กรรมฐาน ซง่ึปญญาใหเกิดความเห็นแจงรูชัดภาวะ จบครบท่ีวิปสสนา, เปนคําท่ีใชในชั้นของสงิ่ ทงั้ หลายตามทีม่ ันเปน (ขอ ๒ ใน อรรถกถาลงมา (ไมม ีในพระไตรปฎก);กมั มฏั ฐาน ๒ หรอื ภาวนา ๒); ดู ภาวนา, เทียบ คันถธุระ, ดู คามวาสี, อรญั วาสีไตรลักษณ วิปสสนาปริวาส ดู ปรวิ าส 2.วิปสสนากัมมัฏฐาน กรรมฐานคือ วิปสสนาปญญา ปญญาท่ีถึงข้ันเปนวปิ ส สนา, งานเจรญิ ปญ ญา; ดู กมั มฏั ฐาน, วิปสสนา, ปญญาที่ใชในการเจริญวปิ ส สนา วปิ ส สนา คอื ปญ ญาทีพ่ จิ ารณาเขาใจวิปสสนาญาณ ญาณที่นับเขาใน สังขารตามความเปน จรงิวิปสสนาหรือญาณท่ีจัดเปนวิปสสนามี วิปส สนาภาวนา การเจริญวิปสสนา; ดู๙ อยา งคอื ๑. อทุ ยพั พยานปุ ส สนาญาณ ภาวนา, วิปส สนาญาณตามเห็นความเกิดและความดับ วปิ ส สนาภูมิ ภูมแิ หงวิปส สนา, ฐานที่ต้งัแหงนามรูป ๒. ภังคานุปสสนาญาณ อนั เปนพ้ืนทซี่ ่ึงวิปส สนาเปนไป, พืน้ ฐานญาณตามเห็นจําเพาะความดับเดนข้ึน ทด่ี ําเนนิ ไปของวปิ สสนา 1. การปฏบิ ัติมา ๓. ภยตปู ฏ ฐานญาณ ญาณอันมอง อนั เปน พน้ื ฐานทวี่ ปิ ส สนาดาํ เนนิ ไป คือเห็นสังขารปรากฏเปนของนากลัว ๔. การมองดูรูเ ขาใจ (สัมมสนะ, มักแปลอาทนี วานปุ ส สนาญาณ ญาณคาํ นงึ เหน็ กันวาพิจารณา) หรือรูเทาทันสังขารทั้ง

วปิ ส สนายานิก ๓๗๑ วิปส สนูปกเิ ลส หลายตามท่ีมันเปนอนิจจะ ทุกขะ เตม็ ไปทงั้ ตัว ๓. ญาณ ความรทู ่คี มชดั ๔. ปส สทั ธิ ความสงบเย็นกายใจ ๕. อนัตตา อนั ดําเนนิ ไปโดยลําดับ จนเกิด สุข ความสุขฉํ่าช่ืนท่ัวท้ังตัวท่ีประณีต อยางยงิ่ ๖. อธิโมกข ศรัทธาแรงกลา ท่ี ตรุณวปิ สสนา ซึ่งเปน พน้ื ของการกา วสู ทําใหใจผองใสอยางย่ิง ๗. ปคคาหะ ความเพยี รทพ่ี อดี ๘. อปุ ฏ ฐาน สตชิ ดั วิปสสนาทสี่ ูงขนึ้ ไป 2. ธรรมทีเ่ ปน ภมู ิ ๙. อุเบกขา ความวางจิตเปนกลางที่ลง ตัวสนิท ๑๐.นิกันติความตดิ ใจพอใจ ของวปิ ส สนา คอื ธรรมท้ังหลายอันเปน ธรรมทัง้ หมดนี้ (เวนแตนกิ ันติ ซึ่ง พื้นฐานที่จะมองดรู ูเขา ใจ ใหเ กดิ ปญ ญา เปน ตัณหาอยา งสขุ มุ ) โดยตวั มนั เอง มิ ใชเปน สงิ่ เสยี หาย มิใชเปน อกุศล แต เห็นแจงตามเปนจริง ตรงกับคําวา เพราะเปนประสบการณป ระณีตลํา้ เลิศที่ “ปญ ญาภูมิ” ไดแก ขนั ธ ๕ อายตนะ ไมเคยเกิดมีแกตนมากอน จึงเกดิ โทษ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อนิ ทรยี  ๒๒ อรยิ สจั จ ๔ เน่ืองจากผูปฏิบัติไปหลงสําคัญผิดเสีย ปฏจิ จสมปุ บาท และ ปฏจิ จสมปุ ปน น- เองวา เปน การบรรลมุ รรคผล ธรรมทัง้ หลาย, เฉพาะอยางยง่ิ ทานเนน ปฏจิ จสมุปบาท ซึ่งเปน ท่รี วมในการทาํ วิปสสนปู กเิ ลสนี้ ไมเ กดิ ขึ้นแกท านที่ ความเขาใจธรรมท้ังหมดน้ัน, วาโดย บรรลุมรรคผลแลว ไมเ กิดข้ึนแกบคุ คล ท่ีปฏิบัติผิดทาง และไมเกิดขึ้นแกคน สาระ กค็ อื ธรรมชาตทิ ง้ั ปวงทมี่ ใี นภมู ิ ๓; เกียจครา นผทู อดทง้ิ กรรมฐาน แตเกดิ ดู วปิ สสนาญาณ ขึ้นเฉพาะแกผูท่ีเจริญวิปสสนามาอยางวปิ ส สนายานิก ผูมีวปิ ส สนาเปนยานคอื ถกู ตองเทา น้ัน ผู เ จ ริ ญ วิ ป ส ส น า โ ด ย ยั ง ไ ม ไ ด ฌ า น ในพระไตรปฎ ก เรยี กอาการฟงุ ซา นท่ี สมาบัตมิ ากอน เกดิ จากความสาํ คญั ผดิ เอาโอภาสเปน ตนวิปสสนูปกิเลส อุปกิเลสแหงวิปสสนา, นนั้ เปน มรรคผลนพิ พาน วา “ธมั มทุ ธจั จะ” สภาวะท่ีทําใหวิปสสนามัวหมองของขัด, (ธรรมุธัจจ ก็เขียน), แตทานระบุช่ือ โอภาสเปน ตน น้ัน ทีละอยา ง โดยไมม ี สภาพนาช่ืนชม ซึ่งเกิดแกผูเจริญ ช่อื เรยี กรวม, “วิปสสนปู กิเลส” เปนคําท่ี ใชในคัมภีรช ้นั อรรถกถาลงมา (พดู ส้ันๆ วิปสสนาในขั้นที่เปนวิปสสนาอยางออน (ตรณุ วปิ ส สนา) แตก ลายเปน โทษเครอ่ื ง เศรา หมองแหง วปิ ส สนา โดยทาํ ใหเ ขา ใจ ผิดวาตนบรรลุมรรคผลแลว จึงชะงัก หยุดเสีย ไมดําเนินกาวหนาตอไปใน วปิ ส สนาญาณ มี ๑๐ คอื ๑. โอภาส แสงสวา ง ๒. ปติ ความอม่ิ ใจปลาบปลม้ื

วปิ สสี ๓๗๒ วภิ วตณั หาธรรมุธัจจ ก็คอื ความฟงุ ซา นทเี่ กิดจาก วิปสสนาอยางออน (ตรุณวิปสสนา)ความสาํ คัญผิดตอ วิปสสนปู กเิ ลส) สวนวิปสสนาต้ังแตพนจากวิปสสนูป-เมื่อวิปสสนปู กเิ ลสเกิดขึ้น ผปู ฏิบัติ กเิ ลสเหลา นีไ้ ปแลว (จนถึงสังขารุเปกขา-ท่ีมีปญญานอย จะฟุงซานเขวไปและ ญาณ) จัดเปนวิปสสนาที่มีกาํ ลัง ท่แี รงเกิดกเิ ลสอ่นื ๆ ตามมาดวย, ผูปฏบิ ัตทิ ม่ี ี กลา หรืออยางเขม (พลววปิ ส สนา); ดูปญญาปานกลาง ก็ฟงุ ซานเขวไป แมจ ะ ญาณ ๑๖; วิปส สนาญาณ ๙; วิสุทธิ ๗ไมเกิดกิเลสอ่นื ๆ แตจ ะสาํ คัญผิด, ผู วิปสสี พระนามของพระพุทธเจา พระองคปฏิบตั ิทม่ี ปี ญญาคมกลา ถงึ จะฟุง ซา น หนงึ่ ในอดตี ; ดู พระพุทธเจา ๗เขวไป แตจะละความสําคญั ผิดได และ วิปากญาณ ปรีชาหยงั่ รผู ลแหงกรรม คอืเจริญวิปสสนาตอไป, สว นผปู ฏิบัติที่มี รูจกั แยกไดว า บรรดาผลทส่ี ตั วท ง้ั หลายปญญาคมกลา มาก จะไมฟ ุง ซา นเขวไป ไดรับอันซับซอน อันใดเปนผลของเลย แตจ ะเจรญิ วิปสสนากาวตอไป กรรมดีหรือกรรมชั่วอยางใดๆ เรียก วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นเรอ่ื งน้ี คอื เมอ่ื วปิ ส สนปู - เตม็ วา กรรมวปิ ากญาณ (ขอ ๒ ในกิเลสเกิดข้ึน พึงรูเทาทันดวยปญญา ทสพลญาณ)ตามเปนจรงิ วา สภาวะนี้ (เชน วา โอภาส) วิปากทุกข ทุกขที่เปนผลของกรรมช่ัวเกิดข้ึนแลวแกเรา มันเปนของไมเที่ยง เชน ถกู ลงอาชญาไดร บั ความทกุ ขห รือเกิดมขี น้ึ ตามเหตปุ จ จยั แลวก็จะตอ งดบั ตกอบาย หรือเกดิ วิปฏิสารคอื เดือดสนิ้ ไป ฯลฯ เมื่อรเู ทาทนั ก็ไมห ว่ันไหว รอนใจไมฟ ุง ไปตามมัน คือกาํ หนดไดวามันไม วปิ ากวฏั ฏ วนคอื วบิ าก, วงจรสว นวบิ าก,ใชม รรคไมใ ชท าง แตวิปส สนาทพี่ นจาก หนง่ึ ในวัฏฏะ ๓ แหง ปฏจิ จสมปุ บาทวิปสสนูปกเิ ลสเหลาน้ี ซง่ึ ดาํ เนนิ ไปตาม ประกอบดวยวญิ ญาณ นามรปู สฬาย-วิถนี ั่นแหละเปน มรรคเปนทางทถี่ ูกตอง ตนะ ผสั สะ เวทนา, ชาติ ชรามรณะ; ดูนี่คือเปนญาณที่รูแยกไดวามรรค ไตรวัฏฏและมิใชมรรค นบั เปนวิสุทธขิ อท่ี ๕ คอื วปิ ากสทั ธา ดู สทั ธามัคคามัคคญาณทัสสนวสิ ุทธิ วิภวตัณหา ความอยากในวภิ พ คือความวิปสสนาตั้งแตญาณเร่ิมแรก (คือ ทะยานอยากในความไมม ไี มเ ปน อยากนามรปู ปรจิ เฉทญาณ) จนถงึ มคั คามคั ค- ไมเ ปน นน่ั ไมเ ปน นี่ อยากตายเสยี อยากญาณทัสสนวิสุทธิน้ี ทานจัดเปน ขาดสูญ อยากพรากพนไปจากภาวะที่

วภิ ังค ๓๗๓ วิมังสาตนเกลยี ดชังไมป รารถนา, ความทะยาน ถูกแงผิดแงท่ีดีและแงไมดีประการใดอยากที่ประกอบดวยวิภวทิฏฐิหรือ เปนตน เพ่อื ใหผ ฟู ง เขา ใจสิง่ น้นั เร่ืองนั้น อจุ เฉททิฏฐิ (ขอ ๓ ในตัณหา ๓) อยา งชัดเจน มองเห็นสิ่งทัง้ หลายตามท่ีวิภังค 1. (ในคําวา ”วภิ ังคแหงสกิ ขาบท”) เปน จรงิ เชน มองเหน็ ความเปนอนตั ตาคาํ จาํ แนกความแหงสิกขาบทเพื่ออธบิ าย เปน ตน ไมม องอยางตคี ลุมหรอื เหน็ แตแสดงความหมายใหชดั ขึน้ ; ทานใชเปน ดานเดียวแลวยึดติดในทิฏฐิตางๆ อันชื่อเรียกคัมภีรที่จําแนกความเชนนั้นใน ทําใหไมเขาใจถึงความจริงแทตามพระวนิ ยั ปฎ กวาคมั ภรี ว ภิ ังค คอื คัมภีร สภาวะจําแนกความสิกขาบทในภิกขุปาฏิโมกข วิภัตติ ชื่อวิธีไวยากรณภาษาบาลีและเรยี กวา มหาวภิ ังค หรือ ภิกขุวิภงั ค สันสกฤต สาํ หรับแจกศัพทโดยเปลยี่ นคัมภีรจําแนกความตามสิกขาบทใน ทา ยคําใหมรี ปู ตา งๆ กนั เพ่ือบอกการกภิกขุนีปาฏิโมกขเรียกวา ภิกขุนีวิภังค และกาลเปน ตน เชน คํานาม โลโก วาเปน หมวดตนแหง พระวนิ ยั ปฎ ก 2. ชอื่ โลก, โลกํ ซึ่งโลก, โลกา จากโลก, โลเก ในโลก; คํากริ ยิ า เชน นมติ ยอมคัมภีรท่ี ๒ แหงพระอภิธรรมปฎกที่ นอม, นมตุ จงนอ ม, นมิ นอมแลวอธิบายจําแนกความแหงหลักธรรม สําคญั เชน ขนั ธ อายตนะ ธาตุ ปจ จ- เปน ตน ยาการ เปน ตน ใหช ดั เจนจบไปทลี ะเรอื่ งๆ วภิ าค การแบง, การจาํ แนก, สว น, ตอนวิภชั ชวาที “ผกู ลาวจําแนก”, “ผแู ยกแยะ วิมติวิโนทนี ชื่อคัมภีรฎีกาอธิบายพระพดู ”, เปน คณุ บทคอื คาํ แสดงคณุ ลกั ษณะ วินัย แตงโดยพระกัสสปเถระ ชาวอยา งหน่ึงของพระพทุ ธเจา หมายความ แควนโจฬะ ในอินเดยี ตอนใตวา ทรงแสดงธรรมแยกแยะแจกแจง วิมละ บุตรเศรษฐีเมืองพาราณสีเปนออกไปใหเห็นวา ส่ิงท้ังหลายเกิดจาก สหายของยสกุลบุตร ไดทราบขาวสวนประกอบยอยๆ มาประชุมกันเขา ยสกุลบุตรออกบวช จึงไดบวชตามอยางไร เชน แยกแยะกระจายนามรปู พรอมดวยสหายอีก ๓ คน คือ สุพาหุออกเปน ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ เปนตน ปุณณชิ และ ควัมปติ จัดเปนพระส่ิงทั้งหลายมีดานท่ีเปนคุณและดานที่ มหาสาวกองคห นงึ่เปนโทษอยา งไร เร่อื งน้นั ๆ มขี อ จริงขอ วิมงั สา การสอบสวนทดลอง, การตรวจเทจ็ อะไรบา ง การกระทําอยา งนั้นๆ มแี ง สอบ, การหมัน่ ตรติ รองพิจารณาเหตุผล

วิมาน ๓๗๔ วิมุตตสิ ขุในส่ิงนนั้ (ขอ ๔ ในอิทธิบาท ๔) วิมุตติญาณทัสสนขันธ กองวิมุตติวิมาน ทอี่ ยูห รอื ทีป่ ระทับของเทวดา ญาณทสั สนะ, หมวดธรรมวา ดว ยความรูวมิ ตุ อักขระทว่ี า ปลอ ยเสียงเชน สณุ าตุ, ความเหน็ วา จติ หลุดพน แลวจากอาสวะเอสา ตฺติ เชน ผลญาณ ปจจเวกขณญาณ (ขอ ๕วิมุตตานุตตริยะ การพนอันเยี่ยมคือ ในธรรมขนั ธ ๕)หลุดพนจากกิเลสและกองทุกข ไดแก วิมุตติสุข สุขเกิดแตความหลุดพนจาก พระนิพพาน (ขอ ๓ ในอนุตตริยะ ๓) กเิ ลสอาสวะและปวงทกุ ข; พระพุทธเจาวิมุตติ ความหลุดพน, ความพนจาก กิเลสมี ๕ อยางคือ ๑. ตทงั ควิมตุ ติ ภายหลงั ตรสั รแู ลว ใหมๆ ไดเ สวยวิมุตติ พนดว ยธรรมคูปรบั หรือพนชว่ั คราว ๒. วิกขัมภนวิมุตติ พนดวยขมหรือสะกด สุข ๗ สัปดาหต ามลําดับคอื สัปดาหท ี่ ๑ ไว ๓. สมจุ เฉทวมิ ตุ ติ พนดว ยตัดขาด ๔. ปฏปิ สสทั ธวิ มิ ตุ ติ พนดวยสงบ ๕. ทรงประทับภายใตรมไมมหาโพธิ์ ทรง นิสสรณวิมุตติ พนดวยออกไป; ๒ อยางแรก เปน โลกยิ วมิ ตุ ติ ๓ อยา ง พจิ ารณาปฏจิ จสมปุ บาท สปั ดาหท ่ี ๒ เสดจ็ หลังเปน โลกตุ ตรวมิ ตุ ติวมิ ุตติกถา ถอ ยคําท่ชี ักนําใหทําใจใหพน ไปประทับยืนดานอีสาน ทรงจองดูตน จากกเิ ลส (ขอ ๙ ในกถาวัตถุ ๑๐) มหาโพธ์ิไมกระพริบพระเนตร ที่นั้นวมิ ตุ ติขันธ กองวิมุตติ, หมวดธรรมวา เรยี กวา อนิมิสเจดยี  สปั ดาหท ่ี ๓ ทรง นิรมิตที่จงกรมข้ึนระหวางกลางแหงพระ มหาโพธิ์และอนิมิสเจดยี  เสดจ็ จงกรม ตลอด ๗ วัน ทีน่ ้ันเรยี ก รัตนจงกรม- เจดีย สปั ดาหท ี่ ๔ ประทบั นงั่ ขดั บัลลงั ก พจิ ารณาพระอภธิ รรมปฎ ก ณ เรอื นแกวดว ยวมิ ตุ ติ คอื การทาํ จติ ใหพ น จากอาสวะ ที่เทวดานิรมิตในทิศพายัพแหงตนมหาเชน ปหานะ การละ, สัจฉิกิริยา การทาํ โพธ์ิ ที่นน้ั เรียก รัตนฆรเจดีย สัปดาหท ี่ ๕ ประทบั ใตร ม ไมไ ทร ชอ่ื อชปาลนโิ ครธใหแ จง (ขอ ๔ ในธรรมขันธ ๕)วิมุตติญาณทัสสนะ ความรูเห็นใน ทรงตอบปญหาของพราหมณหุหุกชาติวิมุตติ, ความรูเห็นวาจิตหลุดพนแลว แสดงสมณะและพราหมณท แี่ ท พรอ มทงั้จากอาสวะทง้ั หลาย ธรรมทที่ าํ ใหเ ปน สมณะและเปน พราหมณวิมุตติญาณทัสสนกถา ถอยคําท่ีชักนาํ พระอรรถกถาจารยก ลาววา ธิดามาร ๓ใหเกิดความรูความเห็นในความท่ีใจพน คนไดมาประโลมพระองค ณ ท่ีนี้จากกเิ ลส (ขอ ๑๐ ในกถาวตั ถุ ๑๐) สปั ดาหท ี่ ๖ ประทบั ใตต นไมจ กิ ชอื่ มุจจ-

วิมุติ ๓๗๕ วริ ยิ ารมั ภะลินท มีฝนตก มุจจลนิ ทนาคราชมาวง ได มองเห็นความวาง ๒. อนิมิตต-ขนดแผพังพานปกปองพระองค ทรง วโิ มกข หลดุ พน ดว ยเห็นอนจิ จงั แลวเปลงอทุ านแสดงความสขุ ท่แี ท อนั เกดิ ถอนนิมติ ได ๓. อัปปณหิ ิตวิโมกข หลุดจากการไมเบียดเบียนกัน เปนตน พนดวยเห็นทุกข แลวถอนความสัปดาหที่ ๗ ประทบใตตนไมเกดช่ือ ปรารถนาไดราชายตนะ พาณชิ ๒ คน คอื ตปสุ สะและ วริ ตั ิ ความเวน , งดเวน; เจตนาท่งี ดเวนภลั ลกิ ะ เขา มาถวายสัตตุผง สตั ตกุ อ น จากความช่วั ; วิรัติ ๓ คือ ๑. สัมปต ต-และไดแสดงตนเปนปฐมอุบาสกถึง ๒ วิรัติ เวนไดซึ่งสิ่งท่ีประจวบเขา ๒.สรณะ เม่ือสิ้นสัปดาหท่ีเจ็ดที่นี้แลว สมาทานวิรตั ิ เวน ดวยการสมาทาน ๓.เสด็จกลับไปประทับใตตนอชปาล- สมุจเฉทวริ ตั ิ เวน ไดโ ดยเด็ดขาดนิโครธอีก ทรงดําริถึงความลึกซ้ึงแหง วิราคะ ความส้นิ กําหนดั , ธรรมเปน ทีส่ ้ินธรรมท่ีตรัสรู คือปฏิจจสมุปบาทและ ราคะ, ความคลายออกไดห ายตดิ เปนนพิ พาน แลว นอมพระทยั ทีจ่ ะไมแ สดง ไวพจนข อง นิพพานธรรม เปนเหตุใหสหมั บดพี รหมมากราบ วิราคสัญญา กําหนดหมายธรรมเปนท่ีทลู อาราธนา และ ณ ทนี่ เี้ ชน กนั ไดท รง สนิ้ ราคะ หรอื ภาวะปราศจากราคะวา เปนพระดํารเิ กย่ี วกับสติปฏ ฐาน ๔ ทเ่ี ปน ธรรมละเอยี ด (ขอ ๖ ในสัญญา ๑๐)เอกายนมรรค และอินทรยี  ๕ อนั มี วิรยิ ะ ความเพยี ร, ความบากบน่ั , ความอมตธรรมเปนที่หมาย; พึงสังเกตวา เพยี รเพ่อื จะละความช่วั ประพฤติความเร่อื งในสปั ดาหที่ ๒, ๓, ๔ นน้ั เปน ด,ี ความพยายามทํากจิ ไมทอ ถอย (ขอสวนท่ีพระอรรถกถาจารยกลาวแทรก ๕ ในบารมี ๑๐, ขอ ๓ ในโพชฌงค ๗,เขามา ความนอกนั้นมาในมหาวรรค ขอ ๒ ในอิทธิบาท ๔)แหงพระวินัยปฎก (เรื่องดําริถึงสติ- วิริยวาท ผูถือหลักการแหงความเพียร,ปฏฐานและอินทรียมาในสังยุตตนิกาย หลักการแหงความเพียร; ดู กรรมวาทมหาวารวรรค พระสตุ ตันตปฎ ก) วริ ยิ สังวร สาํ รวมดวยความเพียร (ขอ ๕วิมตุ ิ ดู วมิ ตุ ติ ในสังวร ๕)วโิ มกข ความหลดุ พน จากกเิ ลส มี ๓ วิริยารัมภะ ปรารภความเพยี ร คือลงมอืประเภท คอื ๑. สุญญตวิโมกข หลดุ พน ทําความเพียรอยางเขมแข็งเด็ดเด่ียว,ดวยเห็นอนัตตาแลวถอนความยึดมั่น ระดมความเพยี ร (ขอ ๔ ในเวสารัชช-

วิรยิ ารัมภกถา ๓๗๖ วศิ าลกรณธรรม ๕, ขอ ๗ ในลักษณะตดั สิน กันวา สง่ิ นีเ้ ปน ธรรม เปนวนิ ัย สงิ่ นี้ไมธรรมวินยั ๘, ขอ ๕ ในสัทธรรม ๗, ขอ ใชธ รรม ไมใ ชว ินัย ขอน้ี พระพทุ ธเจา๗ ในนาถกรณธรรม ๑๐) ตรสั ไว ขอน้ไี มไดต รัสไว ดังนเี้ ปนตนวริ ิยารมั ภกถา ถอ ยคาํ ทีช่ กั นาํ ใหปรารภ ววิ าหะ การแตงงาน, การสมรสความเพยี ร (ขอ ๕ ในกถาวัตถุ ๑๐) วเิ วก ความสงดั มี ๓ คอื อยใู นทีส่ งัดวริ ุฬหก ดู จาตมุ หาราช เปน กายวเิ วก จิตสงบเปน จติ ตวเิ วกวริ ปู ก ษ ดู จาตมุ หาราช หมดกเิ ลสเปน อปุ ธวิ เิ วกวิวฏั ฏ, ววิ ฏั ฏะ ปราศจากวัฏฏะ, ภาวะ วิศวามิตร ครูผูสอนศิลปวิทยาแกพระพนวฏั ฏะ ไดแ ก นิพพาน ราชกุมารสทิ ธตั ถะววิ ฏั ฏกปั ดู กปั วิศาขนักษัตร หมูดาวฤกษช่ือวิศาขะววิ ฏั ฏฐายกี ปั ดู กัป (ดาวคันฉัตร) เปน หมูด าวฤกษท่ี ๑๖ มีววิ าท การทะเลาะ, การโตแ ยงกัน, การ ๕ ดวง; ดู ดาวนกั ษัตรกลาวเก่ยี งแยงกัน, กลา วตา ง คอื วา ไป วิศาขบรุ ณมี ดู วศิ าขปุรณมี วศิ าขบชู า การบชู าในวนั เพญ็ เดอื น ๖คนละทาง ไมลงกนั ไดววิ าทมูล รากเหงา แหงการเถียงกนั , เหตุ เพื่อรําลึกถึงคุณของพระพุทธเจาเน่ืองทกี่ อ ใหเ กดิ ววิ าท กลายเปน ววิ าทาธกิ รณ ในวันประสูติ ตรัสรู และปรินพิ พานของมี ๒ อยา ง คอื ๑. กอ ววิ าทข้นึ ดว ย พระองค; วสิ าขบชู า ก็เขยี นความปรารถนาดี เห็นแกธ รรมวนิ ยั มี วิศาขปุรณมี วนั เพญ็ เดอื น ๖, วันกลางจติ ประกอบดว ยอโลภะ อโทสะ อโมหะ เดือน ๖, วันขึ้น ๑๕ คํ่า เดอื น ๖, ดิถมี ี๒. กอววิ าทดว ยความปรารถนาเลว ทํา พระจันทรเ ต็มดวง ประกอบดวยวศิ าข-ดว ยทิฏฐมิ านะ มจี ิตประกอบดวยโลภะ ฤกษ (วิศาขนักษตั ร); นีเ้ ขยี นตามนิยมโทสะ โมหะ อยางหนึ่งในหนังสือเกา, นอกจากน้ีวิวาทมูลกทุกข ทุกขมีวิวาทเปนมูล, เขยี นกนั อกี หลายอยา ง เปน วศิ าขบรุ ณมีทกุ ขเกิดเพราะการทะเลาะกันเปนเหตุ บา ง วสิ าขบรุ ณมี บาง วสิ าขปรุ ณมี บาง,วิวาทาธิกรณ วิวาทท่ีจัดเปนอธิกรณ, ปจ จบุ ัน อาจจะเขียน วสิ าขบณุ มี หรือการวิวาทซึ่งเปนเรื่องที่สงฆจะตองเอา วสิ าขปณุ มีหรอื วสิ าขบรู ณมี หรอื วสิ าข-ธุระดาํ เนนิ การพิจารณาระงับ ไดแกก าร ปรู ณมีเถยี งกันปรารภพระธรรมวินยั เชน เถียง วิศาล กวางขวาง, แผไ ป

วิสภาค ๓๗๗ วสิ าขาวสิ ภาค มสี ว นไมเ สมอกัน คอื ขดั กนั เขา วา ขีดขั้นแหงความเปนไปได หรือกนั ไมไ ด ไมถ กู กัน หรือไมกลมกลืน ขอบเขตความสามารถกัน, ไมเ หมาะกัน วิสาขบณุ ม,ี วิสาขบูรณม,ี วิสาขปุณมีวสิ มปริหารชา อาพาธา ความเจ็บไขท่ี วนั เพ็ญเดือน ๖; ดู วิศาขปรุ ณมีเกดิ จากบริหารรา งกายไมส มํา่ เสมอ คือ วสิ าขบูชา ดู วศิ าขบูชาผลัดเปลย่ี นอิรยิ าบถไมพอดี; ดู อาพาธ วิสาขปุรณมี ดู วศิ าขปรุ ณมีวิสสาสะ 1. ความคุนเคย, ความสนิท วสิ าขมาส, เวสาขมาส เดือน ๖สนม การถือวาเปนกันเอง, ในทางพระ วิสาขา ช่ือมหาอุบาสิกาสําคัญในคร้ังวินยั การถอื เอาของของผอู ่ืนท่จี ัดวา เปน พุทธกาล เปนธิดาของธนัญชัยเศรษฐีการถือวิสสาสะ มอี งค ๓ คือ ๑. เคย และนางสุมนา เกิดท่ีเมืองภัททิยะในเห็นกนั มา เคยคบกนั มา หรือไดพ ูดกนั แควนอังคะ ไดบรรลุโสดาปตติผลตั้งไว ๒. เจาของยังมชี ีวิตอยู ๓. รวู า ของ แตอายุ ๗ ขวบ ตอมาไดย า ยตามบดิ าเราถือเอาแลวเขาจักพอใจ, บัดน้ีนิยม มาอยทู ่ีเมืองสาเกต ในแควน โกศล แลวเขยี น วิสาสะ 2. ความนอนใจ ดงั พุทธ- ไดสมรสกับนายปุณณวัฒน บุตรชายดํารัสวา “ภิกษุเธอยังไมถึงความส้ิน มคิ ารเศรษฐแี หง เมอื งสาวตั ถี และยายอาสวะแลวอยาไดถ ึง วสิ สาสะ (ความ ไปอยูในตระกูลฝายสามี นางสามารถ นอนใจ)” กลับใจมิคารเศรษฐี บดิ าของสามี ซึง่วสิ สาสิกชน คนท่ีสนทิ สนมคนุ เคย, คน คุนเคยกัน, วสิ าสิกชน กใ็ ช นบั ถอื นคิ รนถ ใหห นั มานบั ถอื พระพทุ ธ-วิสังขาร ธรรมท่ีปราศจากการปรุงแตง, ศาสนา มิคารเศรษฐีนับถือนางมาก ธรรมอันมิใชส งั ขาร คอื พระนพิ พานวิสชั ชกะ ผูจ า ย, ผแู จกจา ย; ผูตอบ, ผู และเรียกนางวิสาขาเปน แม นางวิสาขา จงึ ไดช อ่ื ใหมอ กี อยา งหนงึ่ วา มิคารมาตา (มารดาของมคิ ารเศรษฐ)ี นางวสิ าขาได วิสัชชนา อปุ ถมั ภบ าํ รงุ พระภกิ ษสุ งฆอ ยา งมากมายวิสชั ชนา คําตอบ, คําแกไ ข; คาํ ชี้แจง และไดขายเคร่ืองประดับ เรียกชื่อวา (พจนานุกรม เขยี น วสิ ัชนา) มหาลดาปสาธน ซงึ่ มคี า สงู ยง่ิ อนั ประจาํวสิ ัญญี หมดความรสู ึก, ส้ินสต,ิ สลบวิสัย ภูม,ิ พื้นเพ, อารมณ, เขต, แดน, ตัวมาตั้งแตแตงงาน นาํ เงนิ มาสรา งวดั ถวายแดพ ระพทุ ธเจา และภกิ ษสุ งฆค อื วดั ลักษณะท่เี ปน อยู, ไทยใชในความหมาย บพุ พาราม มคิ ารมาตปุ ราสาท ณ พระนคร

วิสามญั ๓๗๘ วิสุทธิ สาวตั ถี นางวิสาขามบี ุตรหลานมากมาย ชําระสัตวใหบริสุทธ์ิดวยการบําเพ็ญ ลวนมีสขุ ภาพดีแทบทงั้ น้ัน แมวา นางจะ ไตรสิกขาใหบริบูรณเปนข้ันๆ ไปโดย มอี ายยุ นื ถงึ ๑๒๐ ป กด็ ไู มแ ก และเปน ลําดับ จนบรรลุจุดหมายคือพระ บคุ คลทไี่ ดร บั ความนบั ถอื อยา งกวา งขวาง นพิ พาน มี ๗ ข้ัน (ในท่ีนี้ ไดระบุธรรม ในสงั คม ไดร บั ยกยอ งจากพระศาสดาวา ที่มีที่ไดเปนความหมายของแตละขั้น เปนเอตทัคคะในบรรดาทายิกาทั้งปวง; ตามท่ีแสดงไวในอภิธัมมัตถสังคหะ) ดู บพุ พาราม, ตลุ า คือ ๑. สลี วสิ ุทธิ ความหมดจดแหงศลีวิสามัญ แปลกจากสามัญ, ไมใช (ไดแ ก ปารสิ ทุ ธศิ ีล ๔) ๒. จติ ตวสิ ทุ ธิ ธรรมดา, ไมทวั่ ไป, เฉพาะ ความหมดจดแหง จิตต (ไดแ ก สมาธิ ๒วิสารทะ แกลว กลา, ชํานาญ, ฉลาดวสิ าสะ ดู วิสสาสะ คือ อุปจารสมาธิ และอัปปนาสมาธิ)วิสาสิกชน คนคนุ เคย; ดู วสิ สาสกิ ชน ๓. ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแหงทิฏฐิวสิ ุงคาม แผนกหนง่ึ จากบา น, แยกตาง (ไดแก นามรปู ปรคิ คหญาณ) ๔. กังขา- หากจากบา น วิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณวิสุงคามสีมา แดนแผนกหนึ่งจากแดน เปนเครื่องขามพนความสงสัย (ไดแก บาน คือ แยกตา งหากจากเขตบา น, ใน ปจจัยปริคคหญาณ) ๕. มัคคามัคค- ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหง ที่น้ีหมายถึง ที่ดินที่พระเจาแผนดิน ญาณเปนเครื่องรูเห็นวา ทางหรอื มใิ ชท าง ประกาศพระราชทานใหแกสงฆ (ไดแ ก ตอ สมั มสนญาณ ขน้ึ สอู ทุ ยพั พย-วิสุทธชนวิลาสินี ชื่ออรรถกถาอธิบาย ความในคัมภีรอปทาน แหงพระ ญาณ เปนตรุณวิปสสนา เกดิ วิปสสนปู - สุตตันตปฎก เรียบเรียงข้ึนเปนภาษา กเิ ลส แลว รเู ทาทนั วา อะไรใชทาง อะไร มิใชทาง) ๖. ปฏปิ ทาญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ บาลี โดยอาศัยนัยแหงอรรถกถาเกา ความหมดจดแหงญาณอันรูเห็นทาง ภาษาสิงหฬท่ีสืบมาในลังกาทวีป ไม ดําเนิน (ไดแ ก วปิ ส สนาญาณ ๙ นบั แต ปรากฏนามทานผูรจนา แตคัมภีรจูฬ- อทุ ยพั พยญาณท่ีผานพนวิปสสนูปกิเลส คันถวงส (แตงในพมา) วา เปนผลงาน แลว เกดิ เปนพลววิปส สนา เปน ตน ไป ของพระพทุ ธโฆสาจารย; ดู โปราณัฏฐ- จนถึงอนุโลมญาณ) ๗. ญาณทัสสน- กถา, อรรถกถา วิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณทัสสนะวิสทุ ธิ ความบรสิ ทุ ธ,์ิ ความหมดจด, การ (ไดแ ก มรรคญาณ ๔ มโี สดาปต ตมิ รรค

วสิ ทุ ธิเทพ ๓๗๙ วเิ หสกกรรม เปนตน แตละขัน้ ); ดู ปาริสุทธิศลี ๔, ประสงค เมือ่ ทํางานเสร็จสนิ้ แลว ทานก็ สมาธิ ๒, วิปสสนาญาณ ๙, ญาณ ๑๖ เดนิ ทางกลบั สชู มพทู วปี พระพทุ ธโฆสา-วิสทุ ธิเทพ เทวดาโดยความบรสิ ุทธิ์ ได จารยเปนพระอรรถกถาจารยผ ูย ่ิงใหญท ี่ แกพ ระอรหนั ต (ขอ ๓ ในเทพ ๓) สดุ มีผลงานมากท่ีสุดวสิ ทุ ธมิ รรค, วสิ ทุ ธมิ คั ค ปกรณพ เิ ศษ วิสุทธิอุโบสถ อุโบสถที่ประกอบดวย อธิบายศีล สมาธิ ปญ ญา ตามแนว ความบริสุทธิ์ หรืออุโบสถที่ทําโดยท่ี วสิ ทุ ธิ ๗ พระพุทธโฆสาจารย พระ ประชุมสงฆซ่ึงมคี วามบริสทุ ธ์ิ หมายถงึ อรรถกถาจารยชาวอินเดียเปนผูแตงท่ี การทําอุโบสถซึ่งท่ีประชุมมีแตพระ มหาวหิ ารในเกาะลังกา; พระพุทธโฆสะ อรหนั ตล วนๆ เชน กลา วถงึ การประชมุ หรือที่นิยมเรยี กวาพระพุทธโฆสาจารยน ้ี พระอรหนั ต ๑,๒๕๐ รปู คราวจาตรุ งค- เปน บตุ รพราหมณ เกดิ ทห่ี มบู า นหนงึ่ ใกล สันนิบาต วาทาํ วสิ ุทธิอโุ บสถ พทุ ธคยา อันเปน สถานทต่ี รัสรขู องพระ วิสูตร มาน พุทธเจา ในแควนมคธเม่ือประมาณ วิหาร ท่ีอยู, ท่ีอยูของพระสงฆ; ท่ี พ.ศ. ๙๕๖ เรยี นจบไตรเพท มีความ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู คกู บั โบสถ; การ เช่ียวชาญมาก ตอมาพบกับพระเรวต- พกั ผอ น, การเปน อยหู รอื ดาํ เนนิ ชวี ติ เถระ ไดโตตอบปญ หากนั สูพระเรวต- วิหารธรรม ธรรมเปน เคร่อื งอย,ู ธรรม เถระไมได จึงขอบวชเพื่อเรียนพุทธ ประจําใจ, ธรรมท่ีเปนหลักใจในการ วจนะ มีความสามารถมาก ไดรจนา ดําเนินชีวิต คมั ภีร ญาโณทัย เปนตน พระเรวตเถระ วิหารวตั ถุ พืน้ ท่ปี ลกู กฎุ ี วหิ าร จงึ แนะนาํ ใหไ ปเกาะลงั กา เพอื่ แปลอรรถ วหิ งิ สา การเบียดเบียน, การทํารา ย กถาสงิ หฬ กลบั เปน ภาษามคธ ทานเดิน วหิ งิ สาวติ ก ความตรกึ ในทางเบยี ดเบยี น, ทางไปท่ีมหาวิหาร เกาะลงั กา เม่ือขอ ความคิดในทางทําลายหรือกอความ อนุญาตแปลคัมภีร ถูกพระเถระแหง เดอื ดรอ นแกผ อู น่ื (ขอ ๓ ในอกศุ ลวติ ก ๓) มหาวหิ ารใหค าถามา ๒ บท เพอ่ื แตง วิเหสกกรรม กรรมที่จะพึงกระทําแก ทดสอบความรู พระพุทธโฆสาจารยจ งึ ภิกษุผูทําสงฆใหลําบาก คือ ภิกษุ แตงคําอธิบายคาถาท้ังสองน้ันขึ้นเปน ประพฤติอนาจาร สงฆเรียกตัวมาถาม คัมภีรวิสุทธิมรรค จากน้ันก็ไดรับ นิ่งเฉยเสียไมตอบ เรียกวา เปน ผทู ําสงฆ อนุญาตใหทํางานแปลอรรถกถาไดตาม ใหลําบาก, สงฆยกวิเหสกกรรมขน้ึ คือ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook