Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:56:40

Description: dictionary_of_buddhism_vocabulary_version พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Search

Read the Text Version

วีตกิ กมะ ๓๘๐ วฒุ ิสวดประกาศการทเี่ ธอทาํ ตวั เชน นนั้ ดว ย ภกิ ษุณี, นางสิกขมานาผูสมาทานสิกขา-ญัตติทตุ ยิ กรรม เมอื่ สงฆส วดประกาศ บท ๖ ขอ ต้ังแต ปาณาตปิ าตา เวรมณีแลวเธอยังขืนทําอยางนั้นอยูอีก ยอม ถงึ วกิ าลโภชนา เวรมณี โดยมิไดขาดตอ งอาบตั ิปาจติ ตยี  (สิกขาบทที่ ๒ ใน ครบเวลา ๒ ปแลว จงึ มีสทิ ธขิ อวฏุ ฐานภตู คามวรรคที่ ๒); คกู บั อญั ญวาทกกรรม สมมติ เพื่ออปุ สมบทเปนภิกษณุ ีตอไปวีติกกมะ การละเมิดพระพุทธบัญญัติ, วฑุ ฒิ ธรรมเปนเครื่องเจริญ, ธรรมเปน เหตุใหถ ึงความเจรญิ มี ๔ อยางคือ ๑.การทาํ ผิดวนิ ยัวีติกกมกเิ ลส ดู กเิ ลส ๓ ระดับ สปั ปุรสิ สงั เสวะ คบหาสัตบุรุษ ๒. สทั -วีสติวรรค สงฆพวกท่ีกําหนดจํานวน ธมั มสั สวนะ ฟง สทั ธรรม ๓. โยนโิ ส-๒๐ รปู (ทําอัพภานได); ดู วรรค มนสกิ าร ทาํ ในใจโดยแยบคาย ๔. ธมั มา-วฏุ ฐานะ การออก เชน ออกจากฌาน นุธัมมปฏิปตติ ปฏิบัติธรรมสมควรแก ธรรม, เรียกและเขียนเปน วฒุ ิ บางออกจากอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส เปน ตนวุฏฐานคามินี 1. วิปส สนาทใี่ หถ ึงมรรค, วุฑฒธิ รรม บา ง วฒุ ิธรรม บาง, ในบาลีวิปสสนาที่เจริญแกกลาถึงจุดสดุ ยอดทํา เรียกวา ธรรมท่ีเปน ไปเพอ่ื ปญ ญาวฑุ ฒิใหเขา ถงึ มรรค (มรรคช่ือวา วุฏฐานะ หรอื ปญ ญาวฒุ ิ คือเพื่อความเจรญิ แหงโดยความหมายวาเปนที่ออกไปไดจาก ปญ ญาส่ิงที่ยึดติดถือมั่น หรือออกไปพนจาก วฒุ ชน ผเู จรญิ , ผูใหญ, คนท่เี ปนวุฑฒะสงั ขาร), วิปส สนาท่เี ชือ่ มตอใหถ งึ มรรค หรือมีวุฒิ; ดู วฒุ ิ2. “อาบตั ิท่ีใหถ ึงวุฏฐานวิธี” คอื อาบตั ทิ ี่ วุฒบรรพชติ ผบู วชเมอ่ื แกจะพนไดดวยอยูกรรม หมายถึงอาบัติ วฒุ ิ ความเจรญิ , ความงอกงาม, ความเปนสงั ฆาทิเสส; เทยี บ เทสนาคามินี ผใู หญ; ธรรมใหถึงความเจริญ; ดู วฑุ ฒิวุฏฐานวิธี ระเบียบเปนเครื่องออกจาก วุฒิ คอื ความเปนผูใหญ ๓ อยา ง อาบตั ิ หมายถงึ ระเบยี บวธิ ปี ฏบิ ตั สิ าํ หรบั ท่ีนิยมพูดกันในภาษาไทยน้ันมาใน คมั ภีรช้นั อรรถกถาและฎกี า ไดแ ก ๑. ภิกษุผูจะเปลื้องตนจากอาบัติหนักขั้น ชาตวิ ฒุ ิ ความเปน ผูใ หญโ ดยชาติ คือ สงั ฆาทเิ สส, มที งั้ หมด ๔ อยา งคอื ปรวิ าส เกดิ ในชาตกิ ําเนดิ ฐานะอนั สูง ๒. วัยวฒุ ิ มานตั อพั ภานและ ปฏกิ สั สนา ความเปนผูใหญโดยวัย คือเกดิ กอน ๓.วุฏฐานสมมติ มติอนุญาตใหออกจาก คุณวุฒิ ความเปน ผูใหญโดยคุณความดี ความเปนสิกขมานาเพ่ืออุปสมบทเปน

เวชกรรม ๓๘๑ เวทนาหรอื โดยคณุ พเิ ศษที่ไดบรรลุ (ผลสําเรจ็ บคุ คล ๑๐ (สหธรรมกิ ๕ คอื ภกิ ษุทดี่ งี าม) (อนงึ่ ในคมั ภรี ท า นมไิ ดก ลา วถงึ ภกิ ษณุ ี สิกขมานา สามเณร สามเณรี,ภาวะแตกลาวถึงบุคคล คือไมกลาวถึง ปณฑุปลาสคือคนมาอยูวัดเตรียมบวชวฒุ ิ แตก ลา วถึง วุฑฒะ หรือ วฒุ เปน ไวยาวัจกรของตน มารดา บิดา อปุ ฐากชาตวิ ุฒ วัยวุฒ คุณวุฒ; นอกจากน้นั ใน ของมารดาบิดา) ญาติ ๑๐ (พ่ชี าย นองอรรถกถาแหง สตุ ตนบิ าต ทา นแบง เปน ๔, ชาย พห่ี ญงิ นอ งหญงิ นา หญงิ ปา อาโดยเพิ่มปญญาวุฒ ผูใหญโดยปญญา ชาย ลงุ อาหญิง นาชาย; อนุชนมีบุตรเขา มาอกี อยา งหนึ่ง และเรยี งลาํ ดับตาม นดั ดาเปน ตนของญาติเหลา นั้น ๗ ชว่ั ความสําคัญในทางธรรม เมื่อเปลี่ยน เครือสกุล ทานก็จัดรวมเขาในคําวา วุฒ เปน วุฒิ จะไดด งั นี้ ๑. ปญ ญาวุฒิ “ญาติ ๑๐” ดวย) คน ๕ (คนจรมา โจร ๒. คุณวฒุ ิ ๓. ชาตวิ ุฒิ ๔. วัยวุฒิ) คนแพส งคราม คนเปน ใหญ คนทญ่ี าติเวชกรรม “กรรมของหมอ”, “การงานของ ท้ิงจะไปจากถ่ิน) ถาเขาเจ็บปวยเขามาแพทย”, การบาํ บดั โรครักษาคนเจบ็ ไข, วดั พงึ ทาํ ยาใหเขา ทัง้ น้ี มีรายละเอยี ดอาชีพแพทย, การทาํ ตัวเปนหมอปรุงยา ในการที่จะตองระมัดระวังไมใหผิดใชยาแกไขโรครกั ษาคนไข; การประกอบ พลาดหลายอยาง ขอ สําคัญคอื ใหเ ปนเวชกรรม ถือวาเปนมิจฉาชีพสําหรับ การทําดวยเมตตาการุณยแทจริง มิใชพระภิกษุ (เชน ท.ี ส.ี ๙/๒๕/๑๕; ขุ.จู.๓๐/๗๑๓/ หวังลาภ ไมใหเปนการรับใชหรือ๓๖๐) ถงึ แมจ ะไมทาํ เพือ่ การเลี้ยงชพี หรอื ประจบประแจงจะหาลาภ ก็เสี่ยงตออาบัติในขอตติย- เวท, พระเวท ดู ไตรเพทปาราชกิ (วินย.๑/๒๑๕/๑๕๘-๙) หรือไมกเ็ ขา เวทนา ความเสวยอารมณ, ความรสู ึก,ขา ยกลุ ทูสกสกิ ขาบท (สงั ฆาทิเสส ขอ ๑๓, ความรสู กึ สุขทุกข มี ๓ อยา ง คือ ๑. สขุ -วินย.๑/๖๒๔/๔๒๖ เรียกเวชกรรมวา ‘เวชชิกา’) เวทนา ความรสู กึ สขุ สบาย ๒. ทกุ ขเวทนาอยางไรก็ตาม ทานก็ไดเปดโอกาสไว ความรสู กึ ไมส บาย ๓. อทกุ ขมสขุ เวทนาสําหรับการดูแลชวยเหลือกันอันจําเปน ความรูสึกไมส ขุ ไมท ุกข คือ เฉยๆ เรยี กและสมควร ดังท่ีมีขอสรุปในคัมภีรวา อกี อยางวา อเุ บกขาเวทนา; อกี หมวดภิกษไุ มประกอบเวชกรรม แต (มงคล.๑/ หนึ่งจดั เปนเวทนา ๕ คอื ๑. สุข สบาย๑๘๙ สรปุ จาก วินย.อ.๑/๕๗๓-๗) พงึ ทาํ ยาให กาย ๒. ทกุ ข ไมสบายกาย ๓. โสมนัสแกค นทท่ี า นอนุญาต ๒๕ ประเภท คือ สบายใจ ๔. โทมนสั ไมส บายใจ ๕.

เวทนาขันธ ๓๘๒ เวสารัชชกรณธรรม อเุ บกขา เฉยๆ; ในภาษาไทย ใชหมาย หลายท่วั ไปทัง้ หมด ความวา เจบ็ ปวดบา ง สงสารบา ง ก็มี เวภารบรรพต ช่ือภูเขาลูกหน่ึงในภูเขาเวทนาขนั ธ กองเวทนา (ขอ ๒ ในขนั ธ ๕) หา ลกู ทเ่ี รยี กเบญจครี ี อยทู กี่ รงุ ราชคฤหเวทนานปุ สสนา สติตามดูเวทนา คือ เวมานกิ เปรต เปรตอยวู ิมาน ไดเ สวยสขุความรสู กึ สขุ ทุกขและไมสุขไมท กุ ข เปน และทุกขสลับกันไป บางตนขางแรมอารมณโ ดยรเู ทา ทนั วา เวทนานี้ก็สกั วา เสวยทุกข ขา งข้ึนเสวยสขุ บางตนกลางเวทนา ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา คืนเสวยสขุ กลางวนั เสวยทกุ ข เวลา(ขอ ๒ ในสตปิ ฏ ฐาน ๔) เสวยสขุ อยูใ นวมิ าน มรี างเปนทิพยส วยเวทนาปริคคหสูตร ดู ทีฆนขสูตร งาม เวลาจะเสวยทุกขตองออกจากเวทมนตร คําที่เช่ือถือวาศักด์ิสิทธ์ิ วิมานไป และรางกายก็กลายเปนนาบรกิ รรมแลว ใหส ําเรจ็ ความประสงค เกลยี ดนา กลัวเวทัลละ ดูที่ นวงั คสัตถศุ าสน เวยยาวัจจมัย บุญสําเร็จดวยการชวยเวเนยยสัตว ดู เวไนยสตั ว ขวนขวายในกิจที่ชอบ, ทําดีดวยการเวไนยสัตว สัตวผูควรแกก ารแนะนําสงั่ ชว ยเหลอื รบั ใชผ อู ื่น (ขอ ๕ ในบุญ-สอน, สัตวทพ่ี ึงแนะนาํ ได, สตั วท่พี อดัด กิริยาวัตถุ ๑๐); ไวยาวจั มัย ก็เขียน เวร ความแคน เคือง, ความปองรา ยกัน,ไดส อนไดเวปลุ ละ ความไพบลู ย, ความเตม็ เปย ม, ความคดิ รายตอบแกผูทําราย; ในภาษาความเจรญิ เต็มที่ มี ๒ อยาง คอื ๑. ไทยใชอีกความหมายหน่ึงดวยวาคราว,อามสิ เวปลุ ละ อามสิ ไพบลู ย หรอื ความ รอบ, การผลัดกันเปนคราวๆ, ตรงกับไพบูลยแ หง อามสิ หมายถงึ ความมาก วาร หรอื วาระ ในภาษาบาลีมายพรง่ั พรอมดว ยปจจยั ๔ ตลอดจน เวสสภู พระนามของพระพุทธเจาพระวัตถุอํานวยความสุขความสะดวกสบาย องคห น่งึ ในอดตี ; ดู พระพทุ ธเจา ๗ตา งๆ ๒. ธมั มเวปุลละ ธรรมไพบูลย เวสสวณั , เวสสวุ ณั ดู จาตมุ หาราช, จาต-ุหรือความไพบูลยแหงธรรม หมายถึง มหาราชิกา, ปรติ รความเจริญเต็มเปยมเพียบพรอมแหง เวสารัชชกรณธรรม ธรรมทําความกลาธรรม ดว ยการฝกอบรมปลกู ฝงใหม ีใน หาญ, ธรรมเปน เหตใุ หก ลา หาญ, คณุ ธรรมตนจนเต็มบริบูรณ หรือดวยการ ทที่ ําใหเ กดิ ความแกลวกลา มี ๕ อยางประพฤติปฏิบัติกันในสังคมจนแพร คือ ๑. ศรัทธา เช่อื สง่ิ ทีค่ วรเชื่อ ๒. ศีล

เวสารชั ชญาณ ๓๘๓ เวกิ ผามีความประพฤติดีงาม ๓. พาหุสัจจะ ๕ กม., ท่ีตงั้ ของเมอื งเวสาลี อยูเหนอืไดสดับหรือศึกษามาก ๔. วิรยิ ารมั ภะ เมืองปาตลีบุตรนั้นข้ึนไป วัดตรงเปนเพียรทํากิจอยอู ยางจริงจัง ๕. ปญญา รู เสน บรรทดั ประมาณ ๔๓.๕ กม., เวสาลีรอบและรูชดั เจนในส่งิ ท่คี วรรู เปน คําภาษาบาลี เรยี กอยา งสันสกฤตวาเวสารัชชญาณ พระปรีชาญาณอันทําให ไวศาลี หรือ ไพศาลีพระพุทธเจาทรงมีความแกลวกลาไม เวหาสกุฎี โครงที่ตั้งขึ้นในวิหาร ปกคร่ันคราม ดวยไมทรงเห็นวาจะมีใคร เสาตอมอขน้ึ แลว วางรอดบนนน้ั สงู พอทวงพระองคไดโดยชอบธรรมในฐานะ ศีรษะไมก ระทบพ้นื ถา ไมปพู ้นื ขา งบนก็ทัง้ ๔ คือ ๑. ทา นปฏิญญาวาเปน เอาเตียงวางลงไป ใหพืน้ เตยี งคานรอดสัมมาสมั พุทธะ ธรรมเหลา นีท้ า นยงั ไมรู อยู ขาเตยี งหอ ยลงไป ใชอ ยไู ดทัง้ ขางแลว ๒. ทา นปฏิญญาวาเปน ขณี าสพ บนขางลาง ขางบนเรียกวาเวหาสกุฎีอาสวะเหลาน้ีของทานยงั ไมส ิ้นแลว ๓. เปนของตอ งหา มตามสิกขาบทที่ ๘ แหงทานกลาวธรรมเหลาใดวาทําอันตราย ภตู คามวรรค ปาจติ ตียธรรมเหลานั้นไมอาจทําอันตรายแกผู เวฬกุ ณั ฏกนี นั ทมารดาดูนนั ทมารดา1.สอ งเสพไดจ รงิ ๔. ทา นแสดงธรรมเพอื่ เวฬุวะ ผลมะตูมประโยชนอ ยา งใด ประโยชนอยางน้นั ไม เวฬุวคาม ชอื่ ตําบลหนง่ึ ใกลน ครเวสาลีเปนทางนําผูทําตามใหถึงความส้ินทุกข แควนวัชชี เปนท่ีพระพุทธเจาทรงจําโดยชอบไดจริง พรรษาในพรรษาท่ี ๔๕ นับแตไ ดตรัสรูเวสาลี ช่อื นครหลวงของแควนวัชชี ตงั้ คือพรรษาสุดทายที่จะเสด็จปรินิพพาน;อยูบนฝงทิศตะวันออกของแมน้ําคงคา เพฬุวคาม กเ็ รียกสวนที่ปจจุบันเรียกชื่อเปนอีกแมนํา้ หนึ่ง เวฬวุ นั ปา ไผ สวนทปี่ ระพาสพกั ผอ นของตางหากวา แมน าํ้ คันทัก (Gandak) ซึ่ง พระเจา พมิ พสิ าร อยไู มใ กลไ มไกลจากเปนสาขาใหญสาขาหนึ่งของแมนํ้าคงคา พระนครราชคฤห เปนทีร่ มร่ืนสงบเงยี บน้ัน และเมื่อไหลลงมาจากเวสาลีอีก มีทางไปมาสะดวก พระเจาพิมพิสารประมาณ ๔๐ กม. ก็เขา รวมกบั แมน าํ้ ถวายเปนสังฆาราม นับเปนวัดแรกในคงคาทจ่ี ดุ บรรจบ ซง่ึ หา งจากเมอื งปต นะ พระพทุ ธศาสนา(Patna, คือ ปาตลบี ตุ ร ในอดตี ) ไป เวิกผา ในประโยควา “เราจักไมไปในทางตะวันออกเฉียงเหนือเพียงประมาณ ละแวกบา นดว ยทัง้ เวกิ ผา ” เปด สีขา งให

โวการ ๓๘๔ ศตมวารเหน็ เชนถกจีวรขึ้นพาดไวบ นบา แกธรรมจําพวกที่ทําใหเจริญงอกงามดีโวการ “ความแผกผัน”, “ภาวะหลาก ย่ิงข้ึนไปจนปลอดพนจากประดาส่ิงมัวหลาย”, เปนคําท่ีนิยมใชในพระอภิธรรม หมองบริสุทธ์ิบริบูรณ เชน โยนิโส-และคัมภรี อ รรถาธิบาย เชน อรรถกถา มนสกิ าร กุศลมลู สมถะและวปิ สสนาเปนตน ในความหมายวา ความหลาก ตลอดถงึ นพิ พาน; ตรงขา มกบั สงั กิเลสหลายหรือความเปนไปตางๆ แหงขันธ โวหาร ถอยคาํ , สํานวนพูด, ชน้ั เชิง หรอืหรือขันธที่ผันแปรหลากหลายเปนไป กระบวนแตงหนงั สือหรอื พดูตางๆ โดยนยั หมายถึง ขันธ น่ันเอง, ไวพจน คาํ ทมี่ รี ปู ตา งกนั แตม คี วามหมายมกั ใชแ สดงลกั ษณะของ “ภพ” ซง่ึ จาํ แนก คลา ยกัน, คําสําหรบั เรยี กแทนกนั เชนไดเ ปน ๓ ประเภท คอื เอกโวการภพ คําวา มทนิมฺมทโน เปนตน เปน ไวพจนภพทม่ี ขี ันธเ ดยี ว ไดแ ก อสัญญภี พ (มี ของ วริ าคะ คาํ วา วมิ ตุ ติ วิสทุ ธิ สันติรปู ขันธเ ทานัน้ ) จตุโวการภพ ภพทีม่ ีส่ี อสงั ขตะ ววิ ฏั ฏ เปน ตน เปน ไวพจนข องขนั ธ ไดแ ก อรปู ภพ (มแี ตนามขันธ ๔ นพิ พาน ดงั นีเ้ ปน ตนคอื เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ) ไวยากรณ 1. ระเบยี บของภาษา, วิชาวาปญ จโวการภพ ภพทม่ี หี า ขันธ ไดแ ก ดว ยระเบียบแหง ภาษา 2. พทุ ธพจนที่กามภพ และรปู ภพทน่ี อกจากอสญั ญภี พ เปนขอความรอยแกว คือเปนจุณณยิ -(ในพระสุตตันตปฎก มีเฉพาะนิทเทส บทลวน ไมม คี าถาเลย (ขอ ๓ ในนวงั ค-และปฏิสัมภิทามคั ค เทา นน้ั ท่ีใชค าํ วา สัตถศุ าสน); เทยี บ คาถา 2.; ดู จณุ ณยิ บท ไวยาวัจกร ผทู าํ กิจธรุ ะแทนสงฆ, ผชู วยโวการ หมายถงึ ขันธ)โวฏฐพั พนะ ดู วถิ จี ติ ขวนขวายทาํ กจิ ธรุ ะ, ผชู ว ยเหลอื รบั ใชพ ระโวทาน ความบรสิ ทุ ธ์,ิ ความผอ งแผว , ไวยาวัจจะ การขวนขวายชวยทํากิจธุระ,การชําระลาง, การทําใหสะอาด, ธรรมที่ การชวยเหลือรับใชอยใู นวเิ สสภาค คือในฝายขางวเิ ศษ ได ไวยาวัจมัย ดู เวยยาวจั จมัย ศศตมวาร วาระที่ ๑๐๐, ครัง้ ท่ี ๑๐๐; ใน อุทิศแกผูลวงลับ โดยมีความหมายวา ภาษาไทย นิยมใชในประเพณีทําบุญ วนั ที่ ๑๐๐ หรือวนั ท่ีครบ ๑๐๐ เชน ใน

ศรัทธา ๓๘๕ ศสั ตราขอความวา “บําเพ็ญกุศลศตมวาร”, ทั้ง กวางออกไปแมในพิธีราษฎรท่ีจะจัดใหนี้ มีคาํ ท่มี ักใชในชุดเดยี วกนั อีก ๒ คาํ เปนการใหญคือ สัตมวาร (วนั ท่ี ๗ หรือวันท่ีครบ ศรี ม่ิงขวญั , ราศ,ี อาการท่นี านยิ ม; ดู สิริ๗) และ ปญ ญาสมวาร (วนั ท่ี ๕๐ หรือ ศรีอารยเมตไตรย พระนามของพระวนั ทีค่ รบ ๕๐); อน่ึง “ศตมวาร” (วารท่ี พุทธเจาพระองคหนึง่ ซ่ึงจะอุบัตขิ ้นึ ใน๑๐๐) นี้ เปนคําจากภาษาสันสกฤต ภายหนา หลงั จากสนิ้ ศาสนาพระโคดมแลวตรงกบั คาํ บาลวี า “สตมวาร” ไมพ งึ สบั สน ในคราวทีม่ นุษยมีอายยุ นื ๘๐,๐๐๐ ปกบั “สัตมวาร” (วารท่ี ๗) ท่ีมาจากคําเตม็ นับเปน พระพทุ ธเจาพระองคที่ ๕ แหงในภาษาบาลีวา “สตฺตมวาร” ภัทรกัปนี้, เรียกวา พระศรีอริย-ศรทั ธา ความเชื่อ, ความเชอ่ื ถือ; ดู สัทธา เมตไตรย หรอื เรยี กสน้ั ๆ วา พระศรอี ารยศรัทธาไทย ของที่เขาถวายดวยศรัทธา; บาง, พระนามเดิมในภาษาบาลีวา“ทาํ ศรัทธาไทยใหตกไป” คอื ทาํ ใหของ “เมตเฺ ตยฺย”; ดู พระพุทธเจา ๕ท่ีเขาถวายดวยศรัทธาเส่ือมเสียคุณคา ศกั ดิ์ อาํ นาจ, ความสามารถ, กาํ ลงั , ฐานะหรอื หมดความหมายไป หมายความวา ศักดินา อํานาจปกครองที่นา หมายปฏิบัติตอ ส่ิงท่ีเขาถวายดวยศรัทธา โดย ความวาพระมหากษัตริยพระราชทานไมส มควรแกศ รัทธาของเขา หรือโดยไม พระบรมราชานุญาตใหเ จา นาย และขุนเหน็ ความสาํ คัญแหง ศรทั ธาของเขา เชน นางเปนตน ถอื นาไดมกี าํ หนดจาํ นวนไรภิกษุเอาอาหารบิณฑบาตท่ีเขาถวายโดย เปนเรือนหมื่นเรือนพันตามฐานานุรูปตั้งใจทําบุญ ไปทิ้งเสีย หรือไปใหแก การพระราชทานใหถ ือศักดินาน้นั เปนคฤหัสถโ ดยยงั มิไดฉ นั ดว ยตนเองกอน เคร่ืองเทียบยศและเปนเคร่ืองปรับผูศราทธ การทาํ บญุ ใหแ กญ าติผูลวงลบั ไป ก้ําเกนิ หรือเปน เครอ่ื งปรบั ผถู อื ศกั ดนิ าแลว (ตางจาก สารท) น่นั เอง เมือ่ ทําผดิศราทธพรต พิธีทําบุญอุทิศแกญาติผู ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ มอี าํ นาจ(ศกั ด)ิ์ ใหส าํ เรจ็ (สทิ ธ)ิ์ ,ลวงลบั ไปแลว ; ศราทธพรตคาถา หรือ ขลัง, มีกําลังอํานาจท่ีจะทําใหเปนไปคาถาศราทธพรต หมายถงึ คาถาหมวด อยา งน้นั อยางน้ี หรอื ใหสาํ เร็จผลไดจรงิหน่ึง (มีรอยแกวนําเล็กนอย) ที่พระ ศัพท เสียง, คาํ , คํายากทต่ี อ งแปล, คาํสงฆใ ชสวดรับเทศน ในงานพระราชพธิ ี ยากทีต่ องอธบิ ายเผาศพในประเทศไทย แตบัดน้ีใชกัน ศัสตรา ของมีคมเปนเครอ่ื งแทงฟน

ศสั ตราวุธ ๓๘๖ ศิลปศาสตรศัสตราวุธ อาวธุ มคี มเปน เครอื่ งฟนแทง หมายถึงลัทธิความเชื่อถืออยางหนึ่งๆ(ศสั ตรา = ของมีคมเปน เคร่ืองฟน แทง, พรอ มดว ยหลกั คาํ สอน ลทั ธิ พธิ ี องคก ารอาวธุ = เครอ่ื งประหาร) และกิจการทว่ั ไปของหมูช นผูน บั ถือลัทธิศากยะ ชือ่ กษัตริยพวกหน่งึ ซงึ่ สบื เชื้อ ความเชือ่ ถืออยา งนัน้ ๆ ทงั้ หมดสายมาจากพระเจา โอกกากราช ซ่ึงเปนผู ศาสนปู ถมั ภก ผูทะนุบํารงุ ศาสนาสรางและครองกรงุ กบิลพสั ดุ พระพทุ ธ- ศิลปะ ฝมือ, ความฉลาดในฝมือ, ฝมือเจากเ็ ปนกษัตริยว งศน ี้; ศากยะ เปน คํา ทางการชา ง, การแสดงออกมาใหป รากฏสนั สกฤต เรยี กอยา งบาลเี ปน สกั กะ บา ง, อยา งงดงามนา ชม, วชิ าทใี่ ชฝ ม อื , วชิ าชพีสกั ยะ บา ง, สากยิ ะ บา ง; ศากยะ หรอื ตา งๆสกั กะ น้ี ใชเ ปน คาํ เรยี กชอื่ ถน่ิ หรอื แควน ศลิ ปวทิ ยา ศิลปะและวทิ ยาการของพวกเจาศากยะดวย; ดู สักกชนบท ศิลปศาสตร ตําราวาดวยวิชาความรูศากยกมุ าร กมุ ารวงศศากยะ, เจาชาย ตางๆ มี ๑๘ ประการ เชนตาํ ราวาดว ยวงศศ ากยะ การคํานวณ ตํารายิงธนู เปน ตน อนั ไดศากยราช กษตั ริยศ ากยะ, พระเจา แผน มีการเรียนการสอนกันมาตั้งแตสมัย ดินวงศศ ากยะ กอนพุทธกาล; ๑๘ ประการน้นั มหี ลายศากยวงศ เชือ้ สายพวกศากยะศากยสกุล ตระกูลศากยะ, เหลา กอพวก แบบ ยกมาดแู บบหนง่ึ จากคมั ภรี โ ลกนติ ิ และธรรมนติ ิ ไดแ ก ๑. สตุ ิ ความรทู ั่ว ศากยะ ไป ๒. สมั มุติ ความรูกฎธรรมเนยี ม ๓.ศาสดา ผอู บรมสง่ั สอน, เปน พระนามอยา ง สงั ขยา วิชาคาํ นวณ ๔. โยคา การชาง การยนตร ๕. นีติ วิชาปกครอง (คอื หนึ่งทใี่ ชเ รียกพระพทุ ธเจา ; ปจจุบันใช เรยี กผูต้ังศาสนาโดยท่ัวไป, ในพทุ ธกาล ความหมายเดิมของ นิติศาสตร ใน ชมพูทวีป) ๖. วิเสสิกา ความรูการอนั ให ครทู ้ัง ๖ คือ ปูรณกสั สป มักขลโิ คสาล เกิดมงคล ๗. คนั ธัพพา วิชารองราํ ๘. คณกิ า วิชาบริหารรา งกาย ๙. ธนพุ เพธา อชิตเกสกัมพล ปกธุ กจั จายนะ สญั ชัย- วิชายงิ ธนู (ธนพุ เพทา กว็ า ) ๑๐. ปรู ณา วิชาบูรณะ ๑๑.ติกิจฉา วิชาบาํ บัดโรค เวลฏั ฐบตุ ร และนคิ รนถนาฏบตุ ร ถา เรยี ก (แพทยศาสตร) ๑๒. อติ หิ าสา ตํานาน หรอื ประวัตศิ าสตร ๑๓. โชติ ความรู ตามบาลี กเ็ ปน ศาสดา ๖ศาสตร ตาํ รา, วิชาศาสนทตู ดู โมคคัลลบี ุตรติสสเถระศาสนา คําสอน, คาํ สง่ั สอน; ปจจุบนั ใช

ศิลาดวด ๓๘๗ ศลี ๘เรอ่ื งสงิ่ สอ งสวา งในทอ งฟา (ดาราศาสตร) ศีล ความประพฤติดีทางกายและวาจา,๑๔.มายา ตาํ ราพชิ ยั สงคราม ๑๕.ฉนั ทสา การรกั ษากายและวาจาใหเรยี บรอ ย, ขอวชิ าประพนั ธ ๑๖.เกตุ วชิ าพดู ๑๗.มนั ตา ปฏิบัติสําหรับควบคุมกายและวาจาใหวิชาเวทมนตร ๑๘. สัททา วิชาหลัก ตงั้ อยใู นความดงี าม, การรกั ษาปกตติ ามภาษาหรือไวยากรณ, ท้งั ๑๘ อยางนี้ ระเบยี บวนิ ยั , ปกตมิ ารยาททป่ี ราศจากโบราณเรียกรวมวา สิปปะ หรอื ศลิ ปะ โทษ, ขอปฏิบัติในการฝกหัดกายวาจาไทยแปลออกเปน ศิลปศาสตร (ตําราวา ใหดียิ่งขึ้น, ความสุจริตทางกายวาจาดวยศลิ ปะตางๆ); แตใ นสมยั ปจ จบุ นั ได และอาชพี ; มักใชเ ปนคาํ เรียกอยา งงายแยกความหมาย ศลิ ปะ กบั ศาสตร ออก สาํ หรับคําวา อธิศีลสกิ ขา (ขอ ๑ ในไตรจากกัน คอื ศลิ ปะ หมายถึง วิทยาการที่ สิกขา, ขอ ๒ ในบารมี ๑๐, ขอ ๒ ในมวี ตั ถปุ ระสงคต รงความงาม เชน ดรุ ยิ างค- อริยทรพั ย ๗, ขอ ๒ ในอรยิ วัฑฒิ ๕)ศิลป นาฏศลิ ป และจติ รกรรม เปน ตน ศลี ๕ สําหรับทุกคน คอื ๑. เวน จากศาสตร หมายถงึ วทิ ยาการทมี่ วี ตั ถปุ ระสงค ทาํ ลายชวี ิต ๒. เวน จากถือเอาของที่เขาตรงความจรงิ เชน คณติ ศาสตร และ มไิ ดใ ห ๓. เวนจากประพฤติผดิ ในกามวิทยาศาสตร เปน ตน ๔. เวน จากพดู เทจ็ ๕. เวน จากของเมาศลิ าดวด หินที่สูงขึน้ ไปบนพืน้ ดิน คือสุราเมรัยอันเปนที่ตั้งแหงความศิลาดาด หนิ ทีเ่ ปนแผนราบใหญ ประมาท; คาํ สมาทานวา ๑. ปาณาตปิ าตาศิลาเทอื ก หนิ ท่ตี ดิ เปน พดื ยาว เวรมณี สิกขฺ าปทํ สมาทยิ ามิ ๒. อทินฺ-ศลิ าวดี ชอื่ นครหน่งึ ในสกั กชนบท นาทานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิศิวาราตรี พิธีลอยบาปของพราหมณทํา ๓. กาเมสุมจิ ฉาจารา เวรมณี สิกขฺ าปทํในวันเพญ็ เดอื น ๓ เปนประจําป วิธที ํา สมาทยิ ามิ ๔. มสุ าวาทา เวรมณี สกิ ขฺ าปทํคอื ลงอาบน้ําในแมน าํ้ สระเกลา ชําระ สมาทยิ ามิ ๕.สรุ าเมรยมชชฺ ปมาทฏ านากายใหสะอาดหมดจด เทานี้ถือวาได เวรมณี สกิ ขฺ าปทํ สมาทยิ าม;ิ ดู อาราธนาลอยบาปไปตามกระแสน้ําแลวเปนอัน ศีล ดว ยสิ้นบาปกันคราวหนึง่ ถงึ ปก็ทาํ ใหม (คาํ ศลี ๘ สําหรับฝกตนใหย ิ่งขน้ึ ไปโดยรักษาสันสกฤตเดิมเปน ศิวราตริ แปลวา ในบางโอกาส หรือมีศรัทธาจะรักษา“ราตรีของพระศิวะ” พจนานุกรม ประจาํ ใจกไ็ ด เชน แมช มี กั รกั ษาประจาํสนั สกฤตวา ตรงกบั แรม ๑๔ คา่ํ เดอื น ๓) หวั ขอ เหมอื นศลี ๕ แตเ ปลยี่ นขอ ๓

ศลี ๑๐ ๓๘๘ ศลี วตั ร,ศีลพรตและเตมิ ขอ ๖, ๗, ๘ คอื ๓. เวน จากการ สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ ๙. อุจฺจาสยน-ประพฤตผิ ดิ พรหมจรรย คอื เวน จากการ มหาสยนา เวรมณี สิกขฺ าปทํ สมาทยิ ามิรว มประเวณี ๖. เวน จากบรโิ ภคอาหารใน ๑๐. ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา เวรมณีเวลาวกิ าล คอื เทย่ี งแลว ไป ๗. เวน จาก สิกขฺ าปทํ สมาทยิ าม;ิ ดู อาราธนาศีลการฟอ นราํ ขบั รอ ง บรรเลงดนตรี ดกู าร ศลี ๒๒๗ ศลี สาํ หรบั พระภกิ ษุ มใี นภกิ ข-ุเลน อนั เปน ขา ศกึ ตอ พรหมจรรย การทดั ปาฏิโมกขทรงดอกไม ของหอมและเคร่ืองลูบไล ศีล ๓๑๑ ศีลสําหรับพระภิกษณุ ี มใี นซงึ่ ใชเ ปน เครอ่ื งประดบั ตกแตง ๘. เวน ภกิ ขุนีปาฏโิ มกขจากที่นอนอันสูงใหญหรูหราฟุมเฟอย; ศีลธรรม ความประพฤตทิ ่ดี ีงามทางกายคาํ สมาทาน (เฉพาะทต่ี า งจากศลี ๕) วา วาจา, ความประพฤตทิ ี่ดีท่ชี อบ, ความ๓. อพฺรหมฺ จริยา เวรมณี สกิ ขฺ าปทํ สมา- สจุ ริตทางกายวาจาและอาชีวะ; โดยทางทยิ ามิ ๖. วกิ าลโภชนา เวรมณี สกิ ขฺ าปทํ ศัพท ศลี ธรรม แปลวา “ธรรมคอื ศลี ”สมาทยิ ามิ ๗. นจจฺ คตี วาทติ วสิ กู ทสสฺ น- หมายถงึ ธรรมข้นั ศีล หรอื ธรรมในระดับมาลาคนธฺ วเิลปนธารณมณฑฺ นวภิ สู นฏ านา ศีล เพราะศีลเปนธรรมอยางหนึ่ง ในเวรมณี สกิ ขฺ าปทํ สมาทยิ ามิ ๘. อจุ จฺ าสยน- บรรดาธรรมภาคปฏิบัติ ๓ อยา งคือ ศลีมหาสยนา เวรมณี สกิ ขฺ าปทํ สมาทยิ าม;ิ ดู สมาธิ และปญญา ดังน้นั ตอจากธรรมอาราธนาศลี ข้ันศลี จึงมีธรรมขั้นสมาธิ และธรรมขัน้ศลี ๑๐ สาํ หรบั สามเณร แตผ ใู ดศรัทธาจะ ปญญา; ไดม ีผพู ยายามแปล ศีลธรรมรกั ษากไ็ ด หวั ขอ เหมอื นศลี ๘ แตแ ยกขอ อีกอยางหนง่ึ วา “ศีลและธรรม” (ถา แปล๗ เปน ๒ ขอ (= ๗, ๘) เลอ่ื นขอ ๘ เปน ใหถูกตองจริงตองวาศีลและธรรมอ่ืนๆ๙ และเตมิ ขอ ๑๐ คือ ๗. เวนจากฟอน คือศลี และธรรมอนื่ ๆ นอกจากศีล เชนรํา ขบั รอ ง ฯลฯ ๘. เวนจากการทัดทรง สมาธิ และปญ ญา เปน ตน เพราะศลี ก็ดอกไม ฯลฯ ๙. เวนจากท่นี อนอนั สงู เปน ธรรรมอยา งหนงึ่ ) ถาแปลอยางน้ี จะใหญ ฯลฯ ๑๐. เวน จากการรบั ทองและ ตองเขาใจวาศีลธรรม มิใชเปนเพียงเงิน; คาํ สมาทาน (เฉพาะท่ตี า ง) วา ๗. ความประพฤตดิ ีงามเทาน้ัน แตรวมถึงนจจฺ คตี วาทติ วสิ กู ทสสฺ นา เวรมณี สกิ ขฺ า- สมถะวิปส สนา ขนั ธ ๕ ปฏจิ จสมปุ บาทปทํ สมาทิยามิ ๘. มาลาคนฺธวิเลปน- ไตรลกั ษณ เปน ตน ดว ย; เทียบ จรยิ ธรรมธารณมณฺฑนวิภูสนฏานา เวรมณี ศีลวตั ร, ศลี พรต ศลี และวตั ร, ศลี และ

ศีลวิบตั ิ ๓๘๙ สกทาคามิมรรคพรต, ขอท่ีจะตองสํารวมระวังไมลวง ขางขนึ้ ; ชณุ หปกษ กเ็ รยี ก; ตรงขา มกบัละเมิด ชอื่ วา ศลี ขอท่ีพึงถือปฏิบัติชอ่ื กัณหปกษ หรอื กาฬปก ษวา วัตร, หลกั ความประพฤติท่ัวไปอัน ศุภวารฤกษ ฤกษง ามยามดีจะตอ งรกั ษาเปนพื้นฐานเสมอกัน ชื่อวา ศูทร ชื่อวรรณะที่ส่ี ในวรรณะสขี่ องคนศีล ขอปฏิบัติพิเศษเพ่ือฝกฝนตนใหยิ่ง ในชมพูทวปี ตามหลกั ศาสนาพราหมณข้นึ ไป ชอ่ื วา วัตร จัดเปนชนชั้นต่ํา ไดแ ก พวกทาสและศลี วิบตั ิ ดู สลี วิบัติ กรรมกร; ดู วรรณะศีลอโุ บสถ คอื ศีล ๘ ท่สี มาทานรักษา เศวต สขี าวพิเศษในวนั อโุ บสถ; ดู อโุ บสถศลี เศวตฉตั ร ฉัตรขาว, รม ขาว, พระกลดศลี าจาร ศีลและอาจาระ, การปฏิบัตติ าม ขาวซ่งึ นับวา เปน ของสูงพระวินัยบัญญัติ และมารยาทท่ัวไป; เศวตอัสดร มา สีขาวนยั หนงึ่ วา ศลี คือไมตอ งอาบตั ิปาราชิก โศก ความเศรา, ความมีใจหมนไหม,และสังฆาทิเสส อาจาระ คือไมตอง ความแหงใจ, ความรูสึกหมองไหมใจอาบตั ิเบาตั้งแตถุลลัจจัยลงมา แหงผาก เพราะประสบความพลดั พรากศึกษา การเรียน, การฝก ฝนปฏิบตั ิ, การ หรือสูญเสียอยางใดอยางหนึ่ง (บาลี:เลาเรียนใหรูเขาใจ และฝกหัดปฏบิ ัติให โสก; สนั สกฤต: โศก)เปนคุณสมบัติที่เกิดมีข้ึนในตนหรือให โศกศัลย ลกู ศรคือความโศก, เปน ทกุ ขทาํ ไดท าํ เปน ตลอดจนแกไ ขปรบั ปรงุ หรอื เดอื ดรอ นเหมอื นถกู ลูกศรทิม่ แทงพัฒนาใหดีย่ิงข้ึนไปจนกวาจะสมบูรณ; โศกาลัย ความเศราเหี่ยวแหงใจและ ในการศึกษาทางพระธรรมวนิ ยั นิยมใช ความหว งใย, ทง้ั โศกเศราท้งั อาลัยหรือ รูปที่เขยี นอยา งบาลี คอื “สกิ ขา”; ดู สกิ ขา โศกเศรา ดวยอาลัย, รอ งไหส ะอึกสะอน้ืศุกลปก ษ “ฝายขาว, ฝายสวาง” หมายถงึ (เปนคํากวไี ทยผกู ข้ึน) สสกทาคามิผล ผลที่ไดรับจากการละ สบื เนือ่ งมาแตส กทาคามิมรรค, สกทิ า- สกั กายทฏิ ฐิ วิจกิ ิจฉา สีลพั พตปรามาส คามผิ ล กเ็ ขียน กบั ทํา ราคะ โทสะ โมหะ ใหเบาบาง ซึ่ง สกทาคามิมรรค ทางปฏิบัติเพื่อบรรลุ

สกทาคามี ๓๙๐ สงสารทุกขผล คอื ความเปน พระสกทาคาม,ี ญาณ แหงภิกษุหรือชุมนุมภิกษุ (ดูความคือความรูเปนเหตลุ ะสังโยชนได ๓ คือ หมาย 2), ตอ มา บางทเี รยี กอยา งแรกสกั กายทิฏฐิ วจิ กิ ิจฉา สีลพั พตปรามาส วา อรยิ สงฆ อยางหลังวา สมมติสงฆกบั ทาํ ราคะ โทสะ โมหะ ใหเบาบางลง, 2. ชุมนมุ ภิกษหุ มหู นง่ึ ต้ังแต ๔ รปู ข้นึสกทิ าคามิมรรค กเ็ ขยี น ไป ซ่ึงสามารถประกอบสังฆกรรมไดสกทาคามี พระอริยบุคคลผูไดบรรลุ ตามกําหนดทางพระวินัย ตา งโดยเปนสกทาคามิผล, สกิทาคามี กเ็ ขยี น สงฆจ ตรุ วรรคบา ง ปญ จวรรคบาง ทศ-สกสัญญา ความสําคัญวาเปนของตน, วรรคบา ง วสี ติวรรคบา ง, ถา เปนชมุ นุม ภิกษุ ๒ หรอื ๓ รปู เรียกวา คณะ ถามีนึกวาเปน ของตนเองสกุล วงศ, เชอ้ื สาย, เผา พันธุ ภิกษรุ ปู เดียว เปน บุคคลสงกรานต การยาย คือ ดวงอาทติ ยยา ย สงฆจ ตุรวรรค สงฆพวก ๔ คอื มีภกิ ษุราศี ในท่ีน้ีหมายถึงมหาสงกรานตคือ ๔ รูปขึ้นไปจึงจะครบองคกาํ หนด, สงฆพระอาทติ ยย า ยเขา สรู าศเี มษ นบั เปน เวลา จตุวรรค ก็เขียน; ดู วรรคข้ึนปใหมอยางเกา จัดเปนนักขัตฤกษ สงฆท ศวรรค สงฆพ วก ๑๐ คอื มภี กิ ษุซึ่งตามสุริยคตติ กวนั ท่ี ๑๓, ๑๔, ๑๕ ๑๐ รปู ขึน้ ไป จึงจะครบองคกาํ หนด; ดูเมษายน ตามปรกติ วรรคสงคราม การรบกัน, เปนโวหารทางพระ สงฆมณฑล ดู สังฆมณฑลวินัย เรียกภิกษุผูจะเขาสูการวินิจฉัย สงฆว ีสตวิ รรค สงฆพวก ๒๐ คือ มีอธิกรณ วา เขา สสู งคราม ภกิ ษุ ๒๐ รปู ขน้ึ ไป จงึ จะครบองคก าํ หนด;สงเคราะห 1. การชว ยเหลอื , การเอ้อื ดู วรรคเฟอเกือ้ กลู ; ดู สงั คหวัตถุ 2. การรวม สงสาร 1. การเวยี นวายตายเกดิ , การ เวียนตายเวียนเกดิ ; ดู สงั สาระ 2. ในเขา , ยน เขา, จัดเขาสงฆ หม,ู ชมุ นุม 1. หมูสาวกของพระ ภาษาไทยมกั หมายถึงรูสึกในความเดอื ดพุทธเจา เรียกวา สาวกสงฆ ดังคาํ สวด รอนหรอื ความทุกขของผูอ ืน่ (= กรณุ า);ในสังฆคุณ ประกอบดวยคูบุรุษ ๔ ดู กรุณาบุรุษบทุ คล (รายตวั บคุ คล) ๘ เริ่มแต สงสารทกุ ข ทกุ ขท ต่ี อ งเวยี นวา ยตายเกดิ ,ทานผูต้ังอยูในโสดาปตติมรรค จนถึง ทุกขท่ีประสบในภาวะแหงการวายวนอยูพระอรหันต ตางจากภกิ ขสุ งฆ คือหมู ในกระแสแหง กเิ ลส กรรม และวบิ าก; ดู

สงสารวัฏ, สงสารวัฏฏ ๓๙๑ สตปิ ฏฐาน สังสาระ, สงั สารวัฏ, ปฏจิ จสมปุ บาท สติ ความระลึกได, นึกได, ความไมสงสารวัฏ, สงสารวัฏฏ วังวนแหง เผลอ, การคมุ ใจไวก บั กจิ หรอื กมุ จิตไวสงสาร คอื ทองเทีย่ วเวยี นวา ยตายเกดิ กับส่ิงท่ีเก่ียวของ, จําการที่ทําและคําที่อยูซํ้าแลวซ้ําเลา; ดู สงั สาระ, สังสารวฏั พูดแลว แมนานได (ขอ ๑ ในธรรมมีสงสารสาคร หวงนํ้าคือการเวียนวาย อปุ การะมาก ๒, ขอ ๙ ในนาถกรณ-ตายเกดิ ; ดู สังสาระ, สงั สารวฏั ธรรม ๑๐, ขอ ๓ ในพละ ๕, ขอ ๑ ในสงสารสทุ ธิ ดู สงั สารสุทธิ โพชฌงค ๗, ขอ ๖ ในสัทธรรม ๗)สจิตตกะ มีเจตนา, เปนไปโดยต้ังใจ, สติปฏ ฐาน ธรรมเปน ท่ีตัง้ แหง สต,ิ ขอเปนชื่อของอาบัติพวกหนึ่งที่เกิดข้ึนโดย ปฏิบัติมีสติเปนประธาน, การต้ังสติสมุฏฐานมเี จตนา คือ ตอ งจงใจทาํ จึงจะ กําหนดพิจารณาส่ิงท้ังหลายใหรูเห็นเทาตองอาบัติน้ัน เชน ภิกษหุ ลอนภิกษุให ทนั ตามความเปน จรงิ , การมสี ตกิ าํ กับดูกลวั ผี ตองปาจติ ตยี  ขอ นเ้ี ปน สจติ ตกะ สิง่ ตา งๆ และความเปน ไปทง้ั หลาย โดยคือ ต้ังใจหลอกจึงตองปาจิตตยี  แตถ า รูเทา ทันตามสภาวะของมัน ไมถกู ครอบไมไ ดต งั้ ใจจะหลอก ไมต อ งอาบตั ิ งําดวยความยินดียินราย ท่ีทําใหมองสญชัย ดู สัญชยั เหน็ เพยี้ นไปตามอาํ นาจกเิ ลส มี ๔ อยา งสดับปกรณ “เจ็ดคมั ภีร” หมายถึงคัมภรี  คอื ๑. กายานุปส สนา สตปิ ฏ ฐาน การพระอภธิ รรมทง้ั ๗ ในพระอภธิ รรมปฎ ก ต้ังสติกําหนดพิจารณากาย, การมีสติเขยี นเตม็ วา สตั ตปั ปกรณ (ดู ไตรปฎ ก) กํากับดูรูเทาทันกายและเรื่องทางกายแตในภาษาไทยคําน้ีมีความหมายกรอน ๒. เวทนานปุ ส สนา สตปิ ฏ ฐาน การต้ังลงมา เปนคําสําหรับใชในพิธีกรรม สติกําหนดพิจารณาเวทนา, การมีสติ กาํ กบั ดรู เู ทา ทนั เวทนา ๓. จติ ตานปุ ส สนาเรียกกิริยาที่พระภิกษุกลาวคําพิจารณา สตปิ ฏ ฐาน การตง้ั สตกิ าํ หนดพจิ ารณาจติ ,สังขารเมื่อจะชักผาบังสุกุลในพิธีศพเจา การมีสติกํากับดูรูเทาทันจิตหรือสภาพนายวา สดับปกรณ ตรงกับท่ีเรยี กใน และอาการของจิต ๔. ธมั มานปุ สสนาพธิ ศี พทัว่ ๆ ไปวา บังสุกลุ (ซง่ึ ก็เปน สติปฏฐาน การต้ังสติกําหนดพิจารณาศัพทท่ีมีความหมายกรอ นเชน เดียวกัน);ใชเ ปน คํานาม หมายถงึ พิธีสวดมาตกิ า ธรรม, การมีสติกํากับดูรูเทาทันธรรม;บงั สุกลุ ในงานศพ ปจจุบันใชเ ฉพาะศพ เรยี กสน้ั ๆ วา กาย เวทนา จติ ธรรม; ดูเจา นาย โพธปิ ก ขิยธรรม

สติวินัย ๓๙๒ สนธิสติวินัย ระเบียบยกเอาสติข้ึนเปนหลัก สูงขึน้ ไดแกกิริยาท่ีสงฆสวดประกาศใหสมมติ สถาพร มัน่ คง, ยั่งยืน, ยนื ยง แกพ ระอรหันต วา เปนผมู สี ตเิ ตม็ ที่ เพือ่ สถติ อยู, ยนื อย,ู ตัง้ อยู ระงบั อนุวาทาธิกรณ ท่ีมีผโู จททา นดวย สถูป ส่ิงกอสรางซึ่งกอไวสําหรับบรรจุศีลวิบัติ หมายความวาจําเลยเปนพระ ของควรบูชา เปนอนุสรณท ่ีเตอื นใจใหอรหนั ต สงฆเ หน็ วาไมเ ปน ฐานะที่จําเลย เกิดปสาทะและกุศลธรรมอื่นๆ เชนจะทําการลวงละเมิดดังโจทกกลาวหา พระสารรี กิ ธาตุ อฐั ิแหง พระสาวก หรือจึงสวดกรรมวาจาประกาศความขอนี้ไว กระดูกแหง บุคคลท่ีนับถือ (บาลี: ถปู ,เรียกวาใหสติวินัย แลวยกฟองของ สันสกฤต: สฺตปู ); ดู ถูปารหบคุ คลโจทกเสีย ภายหลังจําเลยจะถูกผูอ่ืน สทารสันโดษ ความพอใจดวยภรรยาโจทดวยอาบัติอยางน้ันอีก ก็ไมตอง ของตน, ความยินดีเฉพาะภรรยาของ พิจารณา ใหอ ธกิ รณร ะงบั ดว ยสตวิ นิ ยั ตน (ขอ ๓ ในเบญจธรรม), จัดเปนสติสงั วร สงั วรดวยสติ (ขอ ๒ ในสงั วร พรหมจรรยอยา งหนึง่ ๕) สนตพาย รอยเชือกสําหรับรอยจมูกสติสมฺโมสา อาการท่ีจะตองอาบัติดวย ควาย ท่จี มูกควาย (สน = รอย, ตพายลืมสติ = เชอื กทรี่ อยจมกู ควาย) (พจนานุกรมสตูป สิ่งกอสรางสําหรับบรรจุของควร เขียน สนตะพาย)บชู า นยิ มเรียก สถปู สนธิ การตออักษรท่ีอยูในตางคํา ใหสเตกิจฉา อาบัติท่ียังพอเยียวยาหรอื แก เนอื่ งหรือกลนื เขา เปน อนั เดียวกนั ตามไขได ไดแก อาบัติอยางกลางและอยา ง หลักไวยากรณแบบบาลีหรือสันสกฤตเบา คือตั้งแตสังฆาทิเสสลงมา; คูกับ เชน โย + อยํ = ยวฺ ายํ, ตตฺร + อยํ +อเตกจิ ฉา อตโฺ ถ = ตตรฺ ายมตโฺ ถ, อยํ + เอว + เอสสโตการี “ผมู ปี กตกิ ระทาํ สต”ิ คือ เปน ผู + อติ ิ = อยเมเวสาต;ิ แมแตค าํ ที่เอามามีสติ เปนผูทําการอันพึงทํา ดวยสติ รวมกันดวยสมาสแลว ก็อาจจะใชวิธี หรือเปนผูทําการดวยสติที่มาพรอมดวย สนธิน้ีเช่ือมอักษรเขาดวยกันอีกช้ันหน่ึง สมั ปชัญญะทง้ั ๔; ดู สติ, สัมปชญั ญะ เชน คณุ อากร เปน คุณากร, รปู อารมณสถลมารค ทางบก เปน รปู ารมณ, ศาสนอปุ ถมั ภ เปนสถาปนา กอสราง, ยกยอ งโดยแตงตง้ั ให ศาสนูปถมั ภ, วรโอกาส เปน วโรกาส,

สนาน ๓๙๓ สมณะพุทธโอวาท เปน พุทโธวาท, อรุณอุทยั สภาค มีสวนเสมอกนั , เทากัน, ถูกกนั ,เปน อรุโณทัย; เทยี บ สมาส เขากันได, พวกเดยี วกนัสนาน อาบน้ํา, การอาบนํ้า สภาคาบตั ิ ตองอาบัตอิ ยางเดียวกันสนิทัสสนรปู ดูท่ี อนิทัสสนอปั ปฏฆิ รปู , สภาพ, สภาวะ ความเปนเอง, ส่งิ ทีเ่ ปนรูป ๒๘ เอง, ธรรมดาสนทิ สั สนสัปปฏฆิ รปู ดูท่ี รูป ๒๘ สภาวทุกข ทุกขที่เปนเองตามคติแหงสบง ผานุงของภิกษุสามเณร, คําเดิม ธรรมดา ไดแ ก ทกุ ขป ระจาํ สงั ขาร คอืเรียก อันตรวาสก; ดู ไตรจีวร ชาติ ชรา มรณะสปทาจาริกังคะ องคแหงผูถือเท่ียว สภาวธรรม หลักแหงความเปน เอง, ส่ิงบิณฑบาตไปตามลําดบั บานเปน วตั ร คอื ทเ่ี ปน เองตามธรรมดาของเหตุปจ จัยรับตามลาํ ดบั บา นตามแถวเดยี วกนั ไม สภยิ ะ พระเถระผใู หญชนั้ มหาสาวก เคยรับขา มบานขามแถว, เท่ียวบณิ ฑบาตไป เปน ปรพิ าชกมากอ น ไดฟงพระพทุ ธเจาตามตรอก ตามหองแถวเรียงลําดับ พยากรณปญหาที่ตนถาม มีความเรื่อยไปเปนแนวเดียวกัน ไมขามไป เลือ่ มใส ขอบวช หลังจากบวชแลวไมชาเลือกรบั ท่โี นน ท่นี ่ีตามใจชอบ (ขอ ๔ ใน กไ็ ดบ รรลุพระอรหตัธดุ งค ๑๓) สโภชนสกลุ สกลุ ทกี่ าํ ลงั บรโิ ภคอาหารอย,ูสปณฑะ ผูรวมกอนขาว, พวกพราหมณ ครอบครวั ทกี่ าํ ลงั บรโิ ภคอาหารอยู (หา มหมายเอาบรุ พบดิ ร ๓ ชั้น คือ บิดา, ป,ู มใิ หภ กิ ษเุ ขา ไปนง่ั แทรกแซง ตามสกิ ขาบททวด ซ่ึงเปนผูควรท่ีลูกหลานเหลนจะ ท่ี ๓ แหงอเจลกวรรค ปาจติ ติยกัณฑ)เซนดว ยกอ นขา ว; คกู บั สมาโนทก สมจารี ผูประพฤตสิ มํา่ เสมอ, ประพฤติสพรหมจารี ผปู ระพฤตพิ รหมจรรยร ว ม ถูกตอ งเหมาะสม; คกู บั ธรรมจารีกนั , เพ่ือนพรหมจรรย, เพ่ือนบรรพชิต, สมโจร เปน ใจกับโจร สมชีวิตา มีความเปนอยูพอเหมาะพอดีเพ่อื นนักบวชสภา “ที่เปนที่พูดรวมกัน”, ท่ีประชุม, คือเลี้ยงชีวิตตามสมควรแกกําลังทรัพยสถาบันหรือองคการอันประกอบดวย ท่หี าได ไมฝ ดเคอื งนัก ไมฟูมฟายนกัคณะบุคคลซึ่งทําหนาที่พิจารณาวินิจฉัย (ขอ ๔ ในทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิก-หรืออํานวยกิจการ ดวยการประชุม ธรรม ๔)ปรกึ ษาหารอื ออกความคดิ เห็นรว มกัน สมณะ “ผสู งบ” หมายถึงนกั บวชท่วั ไป

สมณกุตก ๓๙๔ สมณุทเทส, สมณุเทศแตในพระพุทธศาสนา ทานใหความ สมณสารูป ความประพฤติอันสมควรหมายจําเพาะ หมายถงึ ผรู ะงับบาป ได ของสมณะแกพระอริยบุคคล และผูปฏิบัติเพ่ือ สมณทุ เทส, สมณุเทศ สามเณรระงับบาป ไดแ กผ ปู ฏิบตั ธิ รรมเพอ่ื เปน สมดงึ ส-, สมติงส- สามสิบถวน, ครบพระอริยบุคคล สามสิบ, สามสิบเตม็ พอดี (สม [เทา ,สมณกตุ ก คนทท่ี าํ อยา งสมณะ, คนแตง ตวั ถวน, พอด]ี + ตึส [สามสบิ ]) มักมาในอยา งพระ อรรถกถาบอกวา (วนิ ย.อ.๑/๔๘๙) คําวา สมดึงสบารมี หรือสมตงิ สบารมีโกนศีรษะไวจ กุ ใชผ ากาสาวพสั ตร ผืน แปลวา บารมี ๓๐ ครบถวนหนง่ึ นุง อกี ผนื หนึง่ พาดบา อาศัยวดั อยู ในภาษาเกาท่ีมักพูดวา “บารมีกนิ อาหารเหลอื จากพระ (ทาํ นองเปน ตา สามสบิ ทัศ” นนั้ ไดใหถอื กันไปพลางวา เถน, เขยี นเตม็ อยา งบาลวี าสมณกตุ ตก) “ทศั ” แปลวา “ถว น” แตพ อจะสนั นษิ ฐานสมณคณุ คณุ ธรรมของสมณะ, ความดที ่ี ไดว า นาจะเปนการพูดคาํ ซอ น กลา วคือสมณะควรมี “สบิ ” ในภาษาไทย ตรงกบั คาํ พระวา “ทศั ”สมณโคดม คําที่คนทั่วไปหรือคนภาย (ทศั คอื ทศ, บาลเี ปน ทส, แปลวา สบิ ) นอกพระศาสนา นยิ มใชเ รยี กพระพทุ ธเจา และบารมที ม่ี จี าํ นวนรวมเปน ๓๐ นน้ัสมณพราหมณ สมณะและพราหมณ แทจ รงิ แลว มใิ ชว า มบี ารมี ๓๐ อยา ง แต(เคยมีการสันนิษฐานวาอาจแปลไดอีก เปน บารมสี บิ คอื ทศั ๓ ชดุ ไดแ ก ทศั -อยางหนงึ่ วา พราหมณผ เู ปน สมณะหรอื บารมี ทศั อปุ บารมี และทศั ปรมตั ถบารมีพราหมณผถู อื บวช แตหลกั ฐานไมเออ้ื ) เมอ่ื พดู วา “บารมสี ามสบิ ทศั ” จงึ คลา ยสมณวัตต ดู สมณวตั ร กบั บอกวา บารมสี ามสบิ นี้ ทวี่ า ๓๐ นนั้สมณวตั ร หนา ทข่ี องสมณะ, กิจท่ีพึงทาํ คอื ๓ ทศั (ขอใหส งั เกตตวั อยา งขอ ความของสมณะ, ขอปฏบิ ัตขิ องสมณะ ในคมั ภรี ท ก่ี ลา วถงึ “สมดงึ สบารม”ี คอืสมณวสิ ยั วสิ ัยของสมณะ, ลกั ษณะที่ บารมี ๓ ทศั เชน ใน อป.อ.๑/๑๒๓ ทวี่ าเปนอยูของสมณะ, ลักษณะท่ีเปนอยู “ทสปารมที สอปุ ปารมที สปรมตถฺ ปารมนี ํ วเสน สมตสึ ปารม”ี ซง่ึ เหมอื นในภาษาของผสู งบสมณสัญญา ความสาํ คัญวาเปนสมณะ, ไทยพดู วา “บารมี ๓๐ ถว น คอื ๓ ทศั …”);ความกําหนดใจไววาตนเปนสมณะ, ดูบารมีความสํานกึ ในความเปน สมณะของตน สมณทุ เทส, สมณเุ ทศ สามเณร

สมเดจ็ ๓๙๕ สมผุสสมเดจ็ เปนคํายกยอ ง หมายความวาย่งิ นิพพาน 2. ความครบถว นของสังฆ-ใหญ หรอื ประเสริฐ กรรม เชน อุปสมบท เปน ตน ที่จะทาํสมถะ ธรรมเปนเคร่ืองสงบระงับจิต, ใหสังฆกรรมนั้นถูกตอง ใชได มีผลธรรมยังจิตใหสงบระงับจากนิวรณูป- สมบรู ณ มี ๔ คอื ๑. วตั ถุสมบตั ิ วตั ถุ กเิ ลส, การฝก จิตใหส งบเปน สมาธิ (ขอ ถงึ พรอม เชน ผอู ปุ สมบทเปน ชายอายุ ครบ ๒๐ ป ๒. ปรสิ สมบตั ิ บรษิ ทั คือที่ ๑ ในกรรมฐาน ๒ หรอื ภาวนา ๒)สมถกัมมัฏฐาน กรรมฐานคือสมถะ, ประชมุ ถงึ พรอ ม สงฆค รบองคก าํ หนด งานฝกจิตใหสงบ;ดูกมั มฏั ฐาน, สมถะ ๓. สมี าสมบัติ เขตชมุ นมุ ถงึ พรอม เชนสมถขนั ธกะ ชอ่ื ขนั ธกะที่ ๔ แหง จลุ วรรค สีมามีนิมิตถูกตองตามพระวินัย และ ในพระวนิ ยั ปฎ ก วา ดว ยวธิ รี ะงบั อธกิ รณ ประชุมทําในเขตสีมา ๔. กรรมวาจา-สมถภาวนา การเจริญสมถกัมมัฏฐานทํา สมบัติ กรรมวาจาถึงพรอม สวด จติ ใหแนว แนเ ปนสมาธ;ิ ดู ภาวนาสมถยานกิ ผูมีสมถะเปนยาน หมายถึง ประกาศถูกตองครบถวน (ขอ ๔ อาจ แยกเปน ๒ ขอ คือเปน ๔. ญัตติสมบัติผเู จรญิ สมถกรรมฐาน จนไดฌ านกอ น ญัตติถึงพรอม คือคําเผดียงสงฆถูกแลวจงึ เจรญิ วปิ ส สนาตอ ตอง ๕. อนุสาวนาสมบตั ิ อนสุ าวนาถึงสมถวิธี วิธีระงับอธิกรณ; ดู อธิกรณ- พรอม คือคําหารอื ตกลงถูกตอง รวมสมถะ เปน สมบัติ ๕); เทยี บ วิบตั ิสมถวปิ สสนา สมถะและวปิ ส สนา สมบัตขิ องอุบาสก ๕ คือ ๑. มีศรทั ธาสมนุภาสนา การสวดสมนภุ าสน, สวด ๒. มศี ีลบรสิ ุทธ์ิ ๓. ไมถ อื มงคลต่นื ขา ว ประกาศหามไมใหถ อื รัน้ การอนั มชิ อบ เช่อื กรรม ไมเ ช่อื มงคล ๔. ไมแ สวงหาสมบตั ิ ความถงึ พรอ ม, ความครบถว น, เขตบุญนอกหลักพระพุทธศาสนา ๕.ความสมบรู ณ 1. สง่ิ ทไ่ี ดทถี่ งึ ดว ยด,ี เงนิ ขวนขวายในการอุปถัมภบํารุงพระพุทธ-ทองของมีคา, สิ่งท่ีมีอยูในสิทธิอํานาจ ศาสนา (ขอ ๕ แปลทบั ศพั ทว า ทาํ บพุ การของตน, ความพรั่งพรอมสมบูรณ, ในพระศาสนาน,ี้ แบบเรยี นวา บาํ เพญ็สมบัติ ๓ ไดแ ก มนุษยสมบตั ิ สมบตั ิใน บญุ แตใ นพุทธศาสนา); ดู บุพการข้ันมนุษย สวรรคสมบัติ สมบัติใน สมผุส เปนคําเฉพาะในโหราศาสตรสวรรค (เทวสมบัติ หรอื ทิพยสมบัติ ก็ หมายถึงการคํานวณชนดิ หนึ่ง เกีย่ วกบัเรยี ก) และ นิพพานสมบัติ สมบตั ิคอื โลกและดาวนพเคราะหเล็งรวมกัน; ดู

สมพงศ ๓๙๖ สมสีสี มธั ยม สมมติสจั จะ จรงิ โดยสมมติ คอื โดยสมพงศ การรวมวงศหรือตระกูลกัน, ความตกลงหมายรูรวมกันของมนุษยรว มวงศก นั ได ลงกันได เชน นาย ก. นาย ข. ชาง มา มด โตะสมเพช ในภาษาไทย ใชใ นความหมายวา หนังสือ พอ แม ลูก เพอื่ น เปน ตน ซ่งึสลดใจ ทาํ ใหเกิดความสงสาร แตตาม เม่ือกลาวตามสภาวะ หรือโดยปรมตั ถหลักภาษาตรงกบั สังเวช แลว กเ็ ปน เพยี งสงั ขาร หรอื นามรปู หรอืสมโพธิ การตรัสรเู ปน พระพุทธเจา ขนั ธ ๕ เทา นัน้ ; ตรงขา มกบั ปรมตั ถสัจจะสมโภค การกนิ รว ม; ดู กินรวม สมรภมู ิ ท่ีรวมตาย, สนามรบสมโภช งานฉลองในพธิ ีมงคลเพื่อความ สมสีสี [สะ-มะ-สี-สี] บุคคลผสู ิ้นอาสวะรืน่ เรงิ ยินดี พรอ มกับสิ้นชวี ติ คือ บรรลอุ รหตั ตผลสมภพ การเกิด ในขณะเดียวกบั ทีส่ ิน้ ชวี ติ ; นี้เปน ความสมภาร เครื่องประกอบ, ความดีหรือ หมายหลกั ตามพระบาลี แตใ นมโนรถ-ความชั่วที่ประกอบหรือสะสมไว (เชน ปูรณี อรรถกถาแหงองั คุตตรนิกาย ใหในคําวา สมภารกรรม และสมภาร- ความหมาย สมสสี ี วา เปน การสนิ้ อาสวะ ธรรม), สมั ภาระ; ในภาษาไทย ใชเ ปน พรอ มกับสิน้ อยางอ่นื อนั ใดอันหนง่ึ ใน ๔ คาํ เรียกพระทเี่ ปน เจาอาวาส; ดู สมั ภาระสมมติ การรรู วมกนั , การตกลงกนั , การ อยางและแสดงสมสีสีไว ๔ ประเภท มีมตริ ว มกนั หรือยอมรบั รว มกนั ; การ คอื ผสู ้นิ อาสวะพรอมกบั หายโรค เรยี ก วา โรคสมสสี ี ผูส้นิ อาสวะพรอ มกับที่ที่สงฆประชุมกันตกลงมอบหมายหรือ เวทนาซ่ึงกําลังเสวยอยูสงบระงับไปแตงตั้งภิกษุใหทํากิจหรือเปนเจาหนาที่ เรียกวา เวทนาสมสีสี ผูส้ินอาสวะในเรอื่ งอยางใดอยางหนง่ึ เชน สมมติ พรอมกับการสิ้นสุดของอิริยาบถอันใดภกิ ษุเปนผใู หโ อวาทภิกษุณี สมมติภิกษุ อันหนง่ึ เรยี กวา อริ ิยาบถสมสีสี ผสู ิ้น เปน ภัตตุเทศก เปนตน ; ในภาษาไทย อาสวะพรอมกับการสิ้นชีวิต เรียกวา ใชในความหมายวา ตกลงกันวา ตางวา ชวี ติ สมสสี ;ี อยา งไรกด็ ี ในอรรถกถาแหงสมมตเิ ทพ เทวดาโดยสมมติ คือโดย ปคุ คลบญั ญตั ิ เปน ตน แสดงสมสสี ีไวความตกลงหรือยอมรับรวมกันของ ๓ ประเภท และอธบิ ายตา งออกไปบา งมนุษย ไดแ ก พระราชา พระราชเทวี ไมขอนํามาแสดงในท่ีนี้ เพราะจะทาํ ใหพระราชกุมาร (ขอ ๑ ในเทพ ๓) ฟน เฝอ

สมงั คี ๓๙๗ สมาธิ ๓สมงั คี ผูพรัง่ พรอ ม, ผพู รอ ม (ดวย…), ผู โดยมีคําอื่นประกอบขยายความ เชน ประกอบ (ดว ย…); มักใชเปนบททา ยใน กายสมาจาร วจีสมาจาร ปาปสมาจาร คําสมาส เชน กศุ ลสมงั คี (ผปู ระกอบ เปนตน ดวยกุศล) โทสสมงั คี (ผูประกอบดว ย สมาทปนา การใหสมาทาน หรอื ชวนให โทสะ) มรรคสมงั คี (ผูประกอบดวย ปฏิบัติ คืออธิบายใหเห็นวาเปนความมรรค คือ ต้งั อยูในมรรค เชน ในโสดา จริง ดีจริง จนใจยอมรับที่จะนําไปปต ติมรรค) ผลสมงั คี (ผูประกอบดวย ปฏิบตั ิ; เปน ลักษณะอยา งหนึง่ ของการผล คอื ไดบรรลผุ ล เชน ถึงโสดาปตต-ิ สอนท่ีดี (ขอ กอ นคือ สันทัสสนา, ขอ ตอ ไปคอื สมุตเตชนา)ผล เปนโสดาบัน เปน ตน )สมนั ตจักขุ จักษุรอบคอบ, ตาเห็นรอบ สมาทาน การถือเอารับเอาเปน ขอ ปฏบิ ตั ,ิไดแกพระสัพพัญุตญาณ อันหยั่งรู การถอื ปฏบิ ัติ เชน สมาทานศีล คอื รับ ธรรมทุกประการ เปน คณุ สมบตั พิ เิ ศษ เอาศลี มาปฏิบัติ ของพระพทุ ธเจา (ขอ ๕ ในจกั ขุ ๕) สมาทานวตั ร ดู ข้ึนวัตรสมันตปาสาทิกา ช่ือคัมภีรอรรถกถา สมาทานวิรัติ การเวนดวยการสมาทานอธบิ ายความในพระวนิ ยั ปฎ ก พระพทุ ธ- คือ ไดสมาทานศีลไวกอนแลว เมื่อโฆสาจารยแปลและเรียบเรียงขึ้นเปน ประสบเหตุทีจ่ ะใหทําความชั่ว ก็งดเวนภาษาบาลี เมอื่ พ.ศ. ใกลจะถงึ ๑๐๐๐ ไดตามทสี่ มาทานนน้ั (ขอ ๒ ในวริ ตั ิ ๓)โดยอาศัยอรรถกถาภาษาสิงหฬท่ีมีอยู สมาธิ ความมีใจตั้งมัน่ , ความตั้งม่นั แหงกอ น คอื ใชค มั ภรี ม หาอฏั ฐกถา เปน หลกั จิต, การทําใหใ จสงบแนว แน ไมฟ ุงซา น,พรอมทั้งปรกึ ษาคมั ภรี  มหาปจ จรี และ ภาวะที่จิตต้ังเรียบแนวอยูในอารมณคือกุรุนที เปน ตน ดว ย; ดู โปราณัฏฐกถา, สิ่งอันหนึ่งอันเดียว, มกั ใชเ ปนคาํ เรยี กอรรถกถา งา ยๆ สาํ หรบั อธจิ ติ ตสกิ ขา; ดู เอกคั คตา,สมยั คราว, เวลา; ลทั ธ;ิ การประชมุ ; อธิจิตตสิกขา (ขอ ๒ ในไตรสกิ ขา, ขอการตรัสรู ๔ ในพละ ๕, ขอ ๖ ในโพชฌงค ๗)สมาคม การประชุม, การเขารว มพวก สมาธิ ๒ คือ ๑. อุปจารสมาธิ สมาธิจวน เจยี น หรือสมาธิเฉียดๆ ๒. อปั ปนา-รว มคณะสมาจาร ความประพฤติทด่ี ี; มกั ใชใ น สมาธิ สมาธแิ นว แนความหมายทเี่ ปน กลางๆ วา ความประพฤติ สมาธิ ๓ คือ ๑. สุญญตสมาธิ ๒.

สมาธกิ ถา ๓๙๘ สมานตั ตตา อนมิ ติ ตสมาธิ ๓. อัปปณิหิตสมาธิ; อกี อาํ นาจของราคะ หรอื โลภะ โทสะ และ หมวดหนึ่ง ไดแก ๑. ขณกิ สมาธิ ๒. โมหะ สวนคนที่จะมีสมานฉันทใ นทางดี อุปจารสมาธิ ๓. อัปปนาสมาธิ เบื้องแรกมองเห็นดวยปญญาแลววาสมาธิกถา ถอยคําท่ีชักชวนใหทําใจให กรรมนั้นดีงามเปนประโยชนมีเหตุผลสงบตั้งม่ัน (ขอ ๗ ในกถาวตั ถุ ๑๐) ควรทาํ จงึ เกิดฉนั ทะคอื ความพอใจใฝสมาธิขันธ หมวดธรรมจําพวกสมาธิ ปรารถนาทีจ่ ะทาํ โดยเขาใจตรงกัน และเชน ฉนั ทะ วิริยะ จติ ตะ ชาคริยานุโยค พอใจเหมือนกัน รวมดว ยกัน; ดู ฉนั ทะ สมานลาภสีมา แดนมีลาภเสมอกัน ไดกายคตาสติ เปน ตนสมานกาล เวลาปจจบุ นั แกเ ขตทีส่ งฆต้ังแต ๒ อาวาสขนึ้ ไปทาํสมานฉนั ท มฉี นั ทะเสมอกนั , มีความ กตกิ ากนั ไววา ลาภเกดิ ขน้ึ ในอาวาสหนงึ่พอใจรวมกัน, พรอมใจกัน, มีความ สงฆอีกอาวาสหนึ่งมีสวนไดรับแจกตองการที่จะทําการอยางใดอยางหน่ึง ดว ย; ดู กติกาตรงกันหรือเสมอเหมือนกัน ในทางท่ี สมานสังวาส มีธรรมเปนเครื่องอยูร วมรายหรือดกี ไ็ ด, ในทางรา ย เชน หญิง เสมอกัน, ผูรว มสังวาส หมายถึง ภิกษุ-และชายที่มีสมานฉันทในการประกอบ สงฆผูสามัคคีรวมอุโบสถสังฆกรรมกัน;กาเมสมุ ิจฉาจาร (เปนตวั อยา งทที่ า นใช เหตุใหภิกษุผูแตกกันออกไปแลวกลับในการอธบิ ายบอยทสี่ ุด) และหมูค นราย เปน สมานสังวาสกันไดอกี มี ๒ อยา งทม่ี ีสมานฉันทใ นการทําโจรกรรม สว น คือ ๑. ทาํ ตนใหเปน สมานสงั วาสเองในทางดี เชน หมูค นดีมีสมานฉันทท ีจ่ ะ คือ สงฆปรองดองกันเขาได หรอื ภิกษุไปทาํ บุญรว มกนั เชน ไปจดั ปรับถนน นนั้ แตกจากหมแู ลว กลบั เขา หมูเ ดิม ๒.หนทาง สรางสะพาน ขดุ สระ ปลูกสวน สงฆระงับอุกเขปนียกรรมที่ลงโทษภิกษุสรางศาลาพักรอน ใหทาน รักษาศีล น้ัน แลว รับเขาสังวาสตามเดมิ(ชา.อ.๑/๒๙๙ เปนตวั อยา งเดน) เด็กกลุมหนงึ่ สมานสังวาสสีมา แดนมีสังวาสเสมอมีสมานฉนั ทท ีจ่ ะบรรพชา ภิกษุหลายรูป กัน, เขตที่กําหนดความพรอมเพรียงมีสมานฉันทที่จะถือปฏิบัติธุดงคขอน้ัน และสิทธิในการเขาอุโบสถปวารณาและขอ น,้ี คนผมู สี มานฉนั ทใ นทางรา ยนนั้ ไม สงั ฆกรรมดวยกนัตอ งใชป ญ ญาไตรต รองพจิ ารณา เพยี ง สมานัตตตา “ความเปนผูมีตนเสมอ”ชอบใจอยากทําก็ประกอบกรรมไปตาม หมายถึง การทําตวั ใหเขา กนั ได ดว ย

สมานาจรยิ กะ ๓๙๙ สมฏุ ฐานการรว มสขุ รวมทุกข ไมถอื ตัว มีความ ธรรม + ราชา เปน ธรรมราชา, อาณาเสมอภาค และวางตัวเหมาะสม (ขอ ๔ + จกั ร เปน อาณาจักร, กศุ ล + เจตนาในสังคหวัตถุ ๔) เปน กุศลเจตนา; สมาสตางกับสนธิสมานาจรยิ กะ ภิกษุผูรว มพระอาจารย กลาวคือ สนธิ เอาคํามาตอกนั โดยเดยี วกัน เชื่อมตัวอักษรใหอานหรือเขียนกลมสมานาสนิกะ ผูร ว มอาสนะกนั หมายถงึ กลนื เขา กนั เปนคําเดียว เชน ปฺจ +ภิกษุผูมีพรรษารุนราวคราวเดียวกัน อเิ ม เปน ปจฺ ิเม, แต สมาส เอาคํามาหรือออนกวา กันไมถงึ ๓ พรรษาน่ังรว ม ตอกัน โดยเชอื่ มความหมายใหเนื่องอาสนะเสมอกนั ได; เทยี บ อสมานาสนกิ ะ เปนคําเดียวกัน เชน ปจฺ + นที เปนสมานุปชฌายกะ ภิกษุผูรวมพระ ปฺจนที; เทียบ สนธิ สมจุ จยขันธกะ ชอื่ ขันธกะท่ี ๓ ในจลุอุปชฌายะเดียวกนัสมาโนทก ผรู ว มนํ้า, ตามธรรมเนียม วรรคแหงพระวินัยปฎ ก วาดว ยวฏุ ฐาน-พราหมณ หมายถงึ บรุ พบิดรพนจาก วธิ ีบางเร่อื งทวดขึ้นไปก็ดี ญาติผมู ไิ ดส ืบสายตรงก็ สมุจเฉท การตดั ขาดดี ซึ่งเปนผูจะพึงไดรับน้ํากรวด; คูกับ สมุจเฉทปหาน การละกิเลสไดโดยเด็ดสปณ ฑะ ขาดดวยอริยมรรคสมาบัติ ภาวะสงบประณีตซ่ึงพึงเขาถึง; สมุจเฉทวิมตุ ติ หลดุ พนดว ยตดั ขาด ไดสมาบัตมิ ีหลายอยา ง เชน ฌานสมาบตั ิ แก พน จากกิเลสดวยอรยิ มรรค กิเลสผลสมาบัติ อนุปุพพวิหารสมาบัติ เหลาน้ันขาดเด็ดไป ไมกลับเกิดข้ึนอีกเปน ตน สมาบตั ทิ ก่ี ลา วถงึ บอ ยคอื ฌาน- เปนโลกุตตรวมิ ุตติ (ขอ ๓ ในวิมุตติ ๕)สมาบตั ิ กลาวคือ สมาบัติ ๘ อนั ไดแ ก สมจุ เฉทวริ ัติ การเวน ดว ยตัดขาด หมายรปู ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ ถา เพิ่ม ถึงการเวนความช่ัวไดเด็ดขาดของพระนิโรธสมาบตั ิ ตอ ทายสมาบัติ ๘ น้ี รวม อรยิ เจา เพราะไมม ีกเิ ลสทจี่ ะเปนเหตุใหเรยี กวา อนุปุพพวหิ ารสมาบตั ิ ๙ ทาํ ความชัว่ น้ันๆ (ขอ ๓ ในวิรัติ ๓)สมาส [สะ-หฺมาด] การนําเอาศัพท ๒ สมฏุ ฐาน ทเ่ี กดิ , ทีต่ ั้ง, เหตุ; ทางท่ีเกิดศัพทขึ้นไปมาตอรวมกันโดยมีความ อาบัติ โดยตรงมี ๔ คือ ๑. ลาํ พงั กายหมายเช่ือมโยงเปนคําเดียว ตามหลัก ๒. ลําพังวาจา ๓. กายกับจิต ๔. วาจาไวยากรณแบบบาลีหรือสันสกฤต เชน กบั จิต และทีค่ วบกนั อีก ๒ กค็ อื ๑.

สมตุ เตชนา ๔๐๐ สรณคมนอปุ สัมปทา กายกับวาจา ๒. กายกับวาจากบั ทง้ั จิต ตา งวตั ถกุ นั (เชน กายสงั สคั คะกม็ ี ทฏุ -สมตุ เตชนา การทําใหอาจหาญ คือเราใจ ลุ ลวาจากม็ ี สัญจรติ ตะกม็ ี) มีวนั ปด ใหแกลวกลา ปลุกใจใหคึกคัก เกิด เทา กนั บาง ไมเทา กันบา ง ประมวลเขา ความกระตือรือรน มีกําลังใจแข็งขัน ดว ยกัน อยปู รวิ าสรวมเปน คราวเดยี ว ม่ันใจท่ีจะทําใหสําเร็จ ไมกลัวเหน็ด สยมั ภู พระผเู ปน เอง คอื ตรสั รไู ดเ อง โดย เหนื่อยหรือยากลําบาก; เปนลักษณะ ไมมใี ครสงั่ สอน หมายถงึ พระพุทธเจา อยา งหนง่ึ ของการสอนท่ีดี (ขอกอ นคอื สยัมภญู าณ ญาณของพระสยมั ภู, ปรชี า สมาทปนา, ขอ สดุ ทา ยคอื สมั ปหงั สนา) หยั่งรูของพระสยัมภูสมทุ ยั เหตใุ หเ กิดทุกข ไดแ ก ตัณหา คอื สยามนิกาย 1. นิกายสยาม หมายถงึ ความทะยานอยาก เชน อยากไดน่นั ได พวกพระไทย เรยี กชื่อโดยสญั ชาติ 2. ดู นี่ อยากเปนโนน เปนนี่ อยากไมเปนโนน สยามวงศ เปน น่ี (ขอ ๒ ในอรยิ สัจจ ๔); ดู ตัณหา สยามวงศ ชอ่ื นกิ ายพระสงฆลงั กาทบี่ วชสโมธานปริวาส ปริวาสแบบประมวลเขา จากพระสงฆสยาม (คือพระสงฆไทย) ดวยกัน คือปริวาสที่ภิกษุตองอาบัติ ในสมัยอยธุ ยา ซง่ึ พระอบุ าลีเปน หวั หนา สงั ฆาทเิ สสตา งคราว มจี าํ นวนวนั ปด ตา ง ไปประดษิ ฐาน ใน พ.ศ. ๒๒๙๖ กนั บา ง ไมต า งบา ง ปรารถนาจะออกจาก สรณะ ทพี่ ึ่ง, ท่ีระลึก อาบตั นิ น้ั จงึ อยปู รวิ าสโดยประมวลอาบตั ิ สรณคมน การถงึ สรณะ, การยึดเอาเปน และราตรเี ขา ดว ยกนั จาํ แนกเปน ๓ อยา ง ทพ่ี ่งึ , การยึดเอาเปน ทร่ี ะลกึ ; ดู ไตร- คือ ๑. โอธานสโมธาน สําหรับอาบตั ิ สรณคมน, รัตนตรัย มากกวาหน่ึงแตปดไวนานเทากัน เชน สรณคมนอปุ สมั ปทา วธิ อี ปุ สมบทดว ย ตอ งอาบตั ิ ๒ คราว ปด ไวค ราวละ ๕ วนั การเปลง วาจาถงึ พระพทุ ธเจา พระธรรม ประมวลเขา ดว ยกัน อยูปริวาส ๕ วนั และพระสงฆ เปน สรณะ เปน วธิ ที พี่ ระ ๒. อคั ฆสโมธาน สําหรบั อาบตั ิมากกวา พุทธเจาทรงอนุญาตใหพระสาวกใช หนึ่งและปดไวนานไมเทากัน เชน ตอง อุปสมบทกุลบุตรในตอนปฐมโพธิกาล อาบัติ ๓ คราว ปด ไว ๓ วนั บาง ๕ วนั ตอมาเม่ือพระพุทธเจาทรงอนุญาตการ บาง ๗ วนั บาง ประมวลเขาดว ยกันอยู อปุ สมบทดว ยญตั ตจิ ตตุ ถกรรมแลว การ ปริวาสเทาจาํ นวนวันทีม่ ากท่ีสุด (คือ ๗ บวชดว ยสรณคมน กใ็ ชส าํ หรบั บรรพชา วัน) ๓. มสิ สกสโมธาน สาํ หรบั อาบตั ทิ ่ี สามเณรสบื มา; ตสิ รณคมนปู -สมั ปทา ก็

สรณตรยั ๔๐๑ สรภัญญะ เรยี ก; ดู อปุ สมั ปทา ไพเราะ นมุ นวล ชวนฟง มาเปน ส่ือ เพือ่สรณตรยั ทพ่ี งึ่ ทง้ั สาม คอื พระพทุ ธ พระ นาํ ธรรมทมี่ อี ยเู ปน หลกั หรอื ทเี่ รยี บเรยี ง ธรรม พระสงฆ; ดู รตั นตรยั ไวดีแลว ออกไปใหถึงใจของผูสดับ,สรทะ, สรทกาล, สรทฤด,ู สรทสมยั สรภัญญะเปนวิธีกลาวธรรมเปนทํานอง ฤดูทายฝน, ฤดูสารท, ฤดูใบไมรวง ใหมีเสียงไพเราะนาฟงในระดับที่เหมาะ (แรม ๑ คาํ่ เดอื น ๑๐ ถงึ ขน้ึ ๑๕ คา่ํ สม ซง่ึ พระพทุ ธเจาทรงอนุญาตแกภิกษุ เดอื น ๑๒) เปน ฤดทู มี่ สี ภาพอากาศสดใส ทั้งหลาย ตามเรอื่ งวา (วนิ ย.๗/๑๙–๒๑/๘-๙) ยามฝนตก กเ็ ปน ฝนเมด็ โต โดยทวั่ ไป ครั้งหนึ่ง ทเี่ มอื งราชคฤห มีมหรสพบน อากาศโปรง แจม ใส ปราศจากเมฆหมอก ยอดเขา (คริ คั คสมชั ชะ) พวกพระฉัพ- ดวงอาทติ ยล อยเดน แผดแสงกลา ทอ ง พัคคียไปเที่ยวดู ชาวบานติเตียนวา ฟา สวา งแจม จา ยามราตรี ดาวพระศกุ ร ไฉนพระสมณะศากยบุตรจึงไดไปดูการ สองแสงสกาว มีพุทธพจนต รัสถึงบอย ฟอนรํา ขับรอง และประโคมดนตรี ครงั้ ในขอ ความอปุ มาอปุ ไมยตา งๆ; ดู เหมือนพวกคฤหัสถผูบริโภคกาม เม่อื มาตรา ความทราบถึงพระพุทธเจา จึงไดทรงสรภงั คะ นามของศาสดาคนหนงึ่ ในอดตี ประชุมสงฆ และบัญญัติสิกขาบทมใิ ห เปน พระโพธสิ ตั ว มคี ณุ สมบตั คิ อื เปน ผู ภิกษุไปดูการฟอนรํา ขับรอง และ ปราศจากราคะในกามท้ังหลาย ได ประโคมดนตรี, อีกคราวหนง่ึ พวกพระ ประกาศคาํ สอน มศี ษิ ยจ าํ นวนมากมาย ฉัพพัคคียน ั้น สวดธรรมดวยเสียงเอ้อื นสรภญั ญะ [สะ-ระ-พนั -ยะ, สอ-ระ-พนั -ยะ] ยาวอยางเพลงขับ ชาวบานติเตียนวา “การกลาว[ธรรม] ดวยเสียง” (หรือ ไฉนพระสมณะศากยบุตรเหลานี้จึงสวด “[ธรรม] อนั พงึ กลา วดว ยเสยี ง”) คือ ใช ธรรมดวยเสียงเอ้ือนยาวเปนเพลงขับ เสียงเปนเครื่องกลาวหรือบอกธรรม เหมือนกับพวกเรา ความทราบถึงพระ หมายความวา แทนท่ีจะกลาวบรรยาย พุทธเจา ก็ทรงประชุมสงฆช้ีแจงโทษ อธิบายธรรมดวยถอยคาํ อยางท่ีเรียก ของการสวดเชน นน้ั และไดท รงบัญญตั ิ วา “ธรรมกถา” กเ็ อาเสยี งท่ตี ้ังใจเปลง มิใหภิกษุสวดธรรมดวยเสียงเอ้ือนยาว ออกไปอยางประณีตบรรจง ดวยจิต อยางเพลงขับ, ตอมา ภกิ ษุทั้งหลายขดั เมตตา และเคารพธรรม อันชัดเจน จิตของใจในสรภัญญะ จึงกราบทูล เรยี บรนื่ กลมกลนื สมา่ํ เสมอ เปน ทาํ นอง ความแดพระพุทธเจา พระองคตรัสวา

สรภญั ญะ ๔๐๒ สรภัญญะ“ภิกษุท้ังหลาย เราอนุญาตสรภัญญะ” อักขระเสยี คอื ผดิ พลาดไป สรภัญญะมี(อนชุ านามิ ภิกขฺ เว สรภฺ ํ) ลักษณะสาํ คัญท่วี า ตองไมทําใหอ ักขระ ผิดพลาดคลาดเคล่ือน แตใหบทและ มี เ ร่ื อ ง ร า ว ม า ก ห ล า ย ที่ แ ส ด ง ว า พยญั ชนะกลมกลอม วา ตรงลงตวั ไมสรภญั ญะนเ้ี ปน ทน่ี ยิ มในพทุ ธบรษิ ทั ดงั คลุมเครือ ไพเราะ แตไมม วี ิการ (อาการตัวอยางเร่ืองท่ีเก่ียวของกับพระพุทธเจา ผิดแปลกหรอื ไมเหมาะสม) ดาํ รงสมณ-วา (วนิ ย.๕/๒๐/๓๓; ข.ุ อ.ุ ๒๕/๑๒๒/๑๖๕) เมอ่ื สารูปครั้งพระโสณะกุฏิกัณณะ ชาวถ่ินไกลชายแดนในอวนั ตที กั ขณิ าบถ เพงิ่ บวชได โดยนยั ทก่ี ลา วมา จงึ ถอื วา สรภญั ญะ๑ พรรษา ก็ลาพระอปุ ช ฌายเ ดินทางมา เปนวิธีแสดงและศึกษาหรือสอนธรรมเฝาทพ่ี ระเชตวนารามในกรงุ สาวตั ถี พอ อีกอยางหนึ่ง เพ่ิมจากวิธีอื่น เชนผานราตรแี รกไดพ ักผอนมาจนตื่น ใกล ธรรมกถา และการถามตอบปญหา,รุงสวาง พระพุทธเจาตรัสใหเธอกลาว บางทีก็พูดอยางกวา งๆ รวมสรภญั ญะธรรมตามถนัด (ดังจะทรงดูวาเธอได เขา เปนธรรมกถาอยางหนึง่ ดงั ท่ีคมั ภีรศกึ ษาเลา เรยี นมคี วามรมู าเพียงใด) พระ ยคุ หลงั ๆ บางแหงบนั ทึกไวถึงธรรมกถาโสณะกุฏิกัณณะไดกลาวพระสูตรท้ัง ๒ แบบ คอื แบบท่ี ๑ ภกิ ษุรปู แรกสวดหมดในอัฏฐกวัคค (๑๖ สูตร, ขุ.สุ.๒๕/ ตัวคาถาหรือพระสูตรเปนสรภัญญะให๔๐๘–๔๒๓/๔๘๔–๕๒๓) เปนสรภัญญะ จบ จบไปกอน แลวอีกรูปหน่ึงเปนธรรม-แลว พระพุทธเจาทรงอนุโมทนา กถึกกลาวธรรมอธิบายคาถาหรือพระประทานสาธกุ ารวา เธอไดเ รยี นมาอยา งดี สูตรท่ีรูปแรกสวดไปแลวนั้นใหพิสดารเจนใจเปน อยา งดี และทรงเนอ้ื ความไว แบบนเ้ี รยี กวา สรภาณธรรมกถา และถูกถวนดี อีกทั้งเปนผูมีวาจางาม แบบท่ี ๒ สวดพระสตู รเปน ตนนัน้ ไปสละสลวย คลอง ไมพลาด ทาํ อัตถะให อยางเดียวตลอดแตตนจนจบ เรียกวาแจมแจง, ในคัมภรี บางแหง กลา ววา สร- สรภัญญธรรมกถา (สํ.ฏี.๑/๓๙/๘๙);ภญั ญะมวี ธิ หี รอื ทาํ นองสวดถงึ ๓๒ แบบ สรภัญญะน้ี เม่ือปฏิบัติโดยชอบ ตั้งจะเลอื กแบบใดกไ็ ดต ามปรารถนา (อง.ฏ.ี เจตนากอปรดวยเมตตา มคี วามเคารพ๓/๔๒๑/๙๕) แตส รภญั ญะนี้มใิ ชก ารสวด ธรรม กลาวออกมา กเ็ ปนทัง้ ธรรมทานเอื้อนเสียงยาวอยางเพลงขับ (อายตกะ และเปนสัทททาน (ใหทานดวยเสียงคีตสร) ท่ีทําเสียงยาวเกินไปจนทําให หรือใหเสียงเปนทาน) พรอมท้ังเปน

สรภู ๔๐๓ สวรรคตเมตตาวจีกรรม เขาแลวใหภิกษุทั้งหลายจับตามลําดับในภาษาไทย เรียกทาํ นองอยางทส่ี บื พรรษากันมา หรือเขียนเลขหมายไวท่ีกันมาในการสวดคาถาหรือคําฉันทวา ของจาํ นวนหนึ่ง ภิกษจุ ับไดส ลากของผู“สรภญั ญะ” คอื สรภญั ญะกลายเปนช่อื ใดกไ็ ดร ับอาหารของทายกน้ัน; ฉลาก ก็ ของทาํ นองหนงึ่ ทใ่ี ชใ นการสวดสรภญั ญะ เรียกสรภู แมน้าํ ใหญส ายสําคญั ลาํ ดบั ท่ี ๔ ใน สลากภัต อาหารถวายตามสลาก หมายมหานที ๕ ของชมพทู วปี ไหลผา นเมือง ถึงเอาสงั ฆภตั อนั ทายกเขา กนั ถวาย ตา งสาํ คญั คอื สาเกต, ปจ จบุ ัน สรภูไมเ ปน คนตางจัดมา เปนของตา งกัน เขามกั ทาํท่ีรูจักท่ัวไป มีช่ือในภาษาสันสกฤตวา ในเทศกาลท่ีผลไมเผล็ดแลวถวายพระสรยู และไหลเขาไปรวมกับแมน้ํา ดว ยวธิ ีจบั สลาก; ดู สลากGhaghara ซ่ึงเปนแควหนง่ึ ของแมน าํ้ สวนขางปลายท้งั สอง อดีต กบั อนาคตคงคา จงึ เรยี กชอ่ื รวมเปน Ghaghara สวนทามกลาง ในประโยควา “ไมต ิดอยูไปดว ย; ดู มหานที ๕ ในสวนทา มกลาง” ปจจบุ นัสรร เลอื ก, คดั สวนานุตตริยะ การสดับที่ยอดเยี่ยมสรรค สราง เชน ไดสดับธรรมของพระพุทธเจา (ขอสรรพ ทงั้ ปวง, ทัง้ หมด, ทุกสงิ่ ๒ ในอนตุ ตรยิ ะ ๖)สรรพางค ทุกๆ สวนแหง รางกาย, ราง สวรรค แดนอันแสนดีเลิศลํ้าดวยกามกายทกุ ๆ สว น คณุ ๕, โลกของเทวดา ตามปกติหมายสรรเพชญ ผูรูทั่ว, ผูรูทุกสิ่งทุกอยาง ถึงกามาพจรสวรรค (สวรรคท่ยี งั เกี่ยวหมายถึงพระพทุ ธเจา (= สพั พัญู) ขอ งกบั กาม) ๖ ชัน้ คือ จาตมุ หาราชกิ าสรีระ รางกาย ดาวดงึ ส ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปร-สรรี ยนต กลไกคือรา งกาย นมิ มติ วสวัตดีสรีราพยพ สว นของรางกาย, อวยั วะใน สวรรคต “ไปสสู วรรค” คอื ตาย (ใชส าํ หรบั รางกาย พระเจาแผนดิน สมเดจ็ พระบรมราชนิ ีสลาก เครื่องหมายหรือวัตถุท่ีใชในการ สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเสย่ี งโชค เชน สลากภัต กไ็ ดแกอาหาร ยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชที่เขาถวายสงฆโดยเขียนชื่อเจาภาพลง และพระบรมราชวงศที่ทรงไดรับพระในกระดาษใบละชื่อ มวนรวมคละกัน ราชทานฉตั ร ๗ ช้นั )

สวสั ดิ์,สวสั ดี ๔๐๔ สหธรรมกิสวัสดิ,์ สวัสดี ความดงี าม, ความเจรญิ เริ่มข้ึนเอง จึงมีกําลังออน; ตรงขามกับรุง เรือง, ความปลอดโปรง , ความปลอด อสงั ขาริก สหคตทุกข ทุกขไ ปดวยกนั , ทุกขก าํ กบัภัยไรอ ันตรายสวสั ดมิ งคล มงคล คือ ความสวสั ดี ไดแกทุกขท่ีพวงมาดวยกันกับผลอันสวากขาตธรรม ธรรมทพ่ี ระผมู ีพระภาค ไพบลู ย มลี าภ ยศ สรรเสรญิ สขุตรสั ไวดแี ลว เปน ตน แตล ะอยา งยอ มพวั พนั ดว ยทกุ ขสวากขาตนิยยานิกธรรม ธรรมที่พระ สหชาต, สหชาติ “ผเู กดิ รว มดว ย” หมายพทุ ธเจา ตรสั ไวด ีแลว อันนาํ ผปู ระพฤติ ถงึ บคุ คล (ตลอดจนสตั วแ ละสงิ่ ของ) ที่ตามออกไปจากทุกข เกดิ รว มวนั เดอื นปเ ดยี วกนั อยางเพลาสฺวากฺขาโต (พระธรรมอันพระผูมีพระ หมายถงึ ผเู กิดรว มปกัน; ตาํ นานกลา วภาค) ตรัสดีแลว คอื ตรสั ไวเปน ความ วา เม่ือเจาชายสิทธัตถะประสูติน้ันจริง ไมว ิปรติ งามในเบ้อื งตน งามใน มีสหชาต ๗ คือ พระมารดาของเจาชายทามกลาง และงามในท่ีสุด สัมพันธ ราหลุ (เจา หญงิ ยโสธรา หรอื พมิ พา) พระสอดคลองกันทั่วตลอด ประกาศ อานนท นายฉนั นะ อาํ มาตยก าฬทุ ายี มาพรหมจริยะคือทางดําเนินชีวิตอัน กณั ฐกะ ตน มหาโพธ์ิ และขมุ ทรพั ยท งั้ประเสริฐ พรอมทั้งอรรถ พรอมท้ัง ๔ (นิธีกมุ ภ)ีพยัญชนะ บริสุทธ์บิ ริบรู ณสิ้นเชงิ (ขอ สหชาตธรรม ธรรมทเี่ กดิ พรอ มกัน สหชวี ินี คําเรยี กแทนคาํ วา สทั ธวิ หิ ารินี๑ ในธรรมคณุ ๖)สวาธยาย ดู สาธยาย ของภกิ ษณุ ี ทง้ั ๒ คาํ นีแ้ ปลวา “ผอู ยูสวญิ ญาณกะ สงิ่ ที่มวี ญิ ญาณ ไดแกสตั ว รวม” ตรงกับสัทธิวิหาริกในฝายภิกษุ;ตา งๆ เชน แพะ แกะ สกุ ร โค กระบอื ศษิ ยของ ปวัตตนิ ีเปนตน ; เทยี บ อวิญญาณกะ สหธรรมกิ ผมู ธี รรมรว มกนั , ผปู ระพฤติสสังขารปรินิพพายี พระอนาคามีผูจะ ธรรมรว มกนั แสดงไวใ นคมั ภรี ม หานทิ เทสปรินิพพานดวยตองใชความเพียร; ดู แหงพระสุตตนั ตปฎ ก มี ๗ คือ ภิกษุอนาคามี ภกิ ษุณี สกิ ขมานา สามเณร สามเณรีสสงั ขาริก “เปนไปกบั ดวยการชกั นํา”, มี อุบาสก อุบาสกิ า; ในสัตตาหกรณยี ะการชักนํา ใชแกจิตท่ีคิดดีหรือช่ัวโดย หมายถึง ๕ อยา งแรกเทา น้ัน เรียกวาถูกกระตนุ หรือชักจงู จากภายนอก มใิ ช สหธรรมิก ๕ (คัมภีรฝายวินัยท่ัวไปก็

สหธรรมิกวรรค ๔๐๕ สักกชนบทมักหมายเฉพาะจาํ นวน ๕) อ่ืนอยูดว ย, ตวั ตอตวัสหธรรมิกวรรค ตอนที่วาดวยเรื่อง สอเสยี ด ยใุ หแตกกนั คอื ฟงคาํ ของขางนี้ภิกษถุ กู วากลา วโดยชอบธรรม เปนตน แลว เกบ็ เอาไปบอกขา งโนน เพื่อทําลายเปนวรรคที่ ๘ แหง ปาจติ ติยกณั ฑ มี ขางนี้ ฟงคาํ ของขา งโนน แลวเกบ็ เอามา๑๒ สกิ ขาบท บอกขา งน้ี เพอ่ื ทําลายขา งโนน ; ดู ปสณุ าสหรคต ไปดวยกนั , กํากบั กนั , รวมกนั วาจา(บาล:ี สหคต) สอุปาทเิ สสนพิ พาน นพิ พานยังมีอปุ าทิสหวาส อยรู ว ม เปน ประการหนงึ่ ในรตั ต-ิ เหลอื , ดบั กิเลสแตยังมีเบญจขนั ธเ หลอืเฉท คอื เหตุขาดราตรแี หงการประพฤติ คอื นพิ พานของพระอรหนั ตผ ูยังมีชีวิตมานัตและการอยูปริวาส หมายถึงการ อยู, นิพพานในแงท่ีเปนภาวะดับกิเลสอยูรวมในชายคาเดียวกับปกตัตตภิกษุ; คอื โลภะ โทสะ โมหะ; เทียบ อนปุ าทิ-ดู รตั ติเฉท เสสนพิ พานสหเสยยสกิ ขาบท สิกขาบทเกย่ี วกบั การ สอุปาทิเสสบุคคล บุคคลผูยังมีเชื้อนอนรว มมี ๒ ขอ ขอ หนง่ึ ปรบั อาบัติ กเิ ลสเหลอื อย,ู ผยู งั ไมส นิ้ อปุ าทาน ไดแ กปาจติ ตยี แ กภ กิ ษผุ นู อนรว มกบั อนปุ สมั บนั พระเสขะ คือ พระอรยิ บคุ คลทั้งหมดเกิน ๒–๓ คืน อกี ขอหน่งึ ปรับอาบตั ิ ยกเวนพระอรหันต; เทยี บ อนุปาทเิ สส-ปาจิตตียแกภิกษุผูนอนรวม (คือนอน บคุ คลในท่มี งุ ทบี่ งั เดียวกัน) กับหญงิ แมใ นคืน สกั กะ 1. พระนามจอมเทพ ในสวรรคช นั้แรก (ขอ ๕ และ ๖ ในมสุ าวาทวรรค ดาวดงึ ส เรียกกนั วา ทา วสักกะ หรอื พระ อินทร; ดู ดาวดึงส, วัตรบท, อินทร 2.ปาจติ ติยกณั ฑ)สหไสย การนอนดวยกัน, การนอนรว ม ชอื่ ดงไมท อ่ี ยใู นชมพทู วปี ตอนเหนอื แถบสหัมบดี ช่ือพระพรหมผูอาราธนาพระ เขาหมิ าลยั เขตปา หมิ พานต 3. ชอื่ ชนบทท่ี ตัง้ อยใู นดงไมสักกะ; ดู สักกชนบทพทุ ธเจาใหแสดงธรรมโปรดสตั วสหาย เพอ่ื น, เพือ่ นรวมการงาน (แปล สักกชนบท ช่ือแควนหนึ่งในชมพูทวีปตามศัพทวา “ผูไปดวยในกิจทั้งหลาย” ตอนเหนือ นครหลวงชื่อกบลิ พัสดุ เปนหรือ “ผูมีความเส่ือมและความเจริญ ชาติภูมิของพระพุทธเจามีการปกครองรว มกนั ”) โดยสามัคคีธรรม มีประวัติสืบมาแตสองตอ สอง สองคนโดยเฉพาะ ไมม ีผู สมัยพระเจาโอกกากราช บดั นอี้ ยใู นเขต

สักกรนิคม ๔๐๖ สังขารประเทศเนปาล หานภาค คือในฝายขางเส่ือม ไดแกสักกรนิคม เปนนิคมหนึ่งอยูในสักก- ธรรมจําพวกที่ทําใหตกตํ่าเสื่อมทรามชนบท; สักขรนคิ ม ก็เรยี ก เชน อโยนโิ สมนสกิ าร อคติ ตณั หาสักกายทิฏฐิ ความเหน็ วา เปนตัวของตน, มานะ ทิฏฐิ อวิชชา; ตรงขามกับ โวทานความเห็นเปนเหตุถอื ตวั ตน เชน เห็นรูป สงั ขตะ สงิ่ ท่ีถกู ปจจยั ปรุงแตง , สงิ่ ทเ่ี กดิเปนตน เหน็ เวทนาเปน ตน เปน ตน (ขอ จากเหตุปจจยั แตง ข้ึน ไดแ กสภาพทเ่ี กดิ๑ ในสังโยชน ๑๐) แตเ หตทุ ั้งปวง, สงั ขตธรรม; ตรงขามกับสักการ, สักการะ เคารพนับถือบูชา, อสังขตะ สังขตธรรม ธรรมที่ถูกปจจัยปรุงแตงเครอ่ื งแสดงความเคารพบชู าสกั ขสิ าวก สาวกทท่ี นั เหน็ องคพ ระพทุ ธ- ข้นึ ตรงกบั สังขารในคําวา สังขารท้งั ปวงเจา , พระสภุ ทั ทะผเู คยเปน ปรพิ าชก เปน ไมเ ท่ียง ดงั นีเ้ ปนตน ; ตรงขามกับ อสังขต-สักขิสาวกองคส ุดทายของพระพุทธเจา ธรรมสักยปุตติยะ ผูเปนเหลากอแหงพระ สังขตลักษณะ ลกั ษณะแหงสงั ขตธรรม,ศากยบตุ ร (ศากยบตุ ร หรือ สักยปุตตะ ลกั ษณะของปรงุ แตง มี ๓ อยา ง ๑.หมายถงึ พระพทุ ธเจา ), โดยใจความ คือ ความเกิดขึ้น ปรากฏ ๒. ความดบัผูเปนลูกพระพุทธเจา ไดแกพระภิกษุ สลาย ปรากฏ ๓. เมื่อตง้ั อยู ความแปร(ภกิ ษุณีเรยี กวา สักยธิดา) ปรากฏสกั ยราช กษัตริยวงศศากยะ, พระราชา สงั ขาร 1. ส่งิ ท่ถี ูกปจ จัยปรงุ แตง, สิง่ ที่วงศศ ากยะ เกิดจากเหตุปจจัย เปนรูปธรรมก็ตามสงั กจั ฉกิ ะ ผารดั หรอื โอบรกั แร เปน จวี ร นามธรรมกต็ าม ไดแ กข นั ธ ๕ ท้งั หมด,อยา งหนง่ึ ในจีวร ๕ ของภกิ ษุณี คอื ตรงกับคําวา สังขตะ หรือ สังขตธรรมสงั ฆาฏิ ผา ทาบ ๑ อตุ ตราสงค ผาหม ๑ ไดในคําวา “สังขารท้ังหลายท้ังปวงไมอนั ตรวาสก สบง ๑ สงั กัจฉิกะ ผารดั เทีย่ ง” ดังนีเ้ ปนตน 2. สภาพทีป่ รุงแตงหรอื ผา โอบรกั แร ๑ อทุ กสาฏกิ า ผาอาบ ใจใหดีหรือช่ัว, ธรรมมีเจตนาเปน๑ (มากกวาของภิกษุซ่ึงมีจํานวนเพียง ประธานท่ีปรุงแตงความคิด การพูด๓ อยา งขางตน) การกระทํา มที ้ังทด่ี เี ปนกศุ ล ที่ชั่วเปนสังกเิ ลส ความเศราหมอง, ความสกปรก, อกศุ ล ท่ีกลางๆ เปน อัพยากฤต ไดแกสิ่งท่ีทําใจใหเศราหมอง, ธรรมที่อยูใน เจตสิก ๕๐ อยาง (คอื เจตสกิ ทง้ั ปวง

สังขาร๒ ๔๐๗ สงั คหวตั ถุเวนเวทนาและสัญญา) เปนนามธรรม เพราะเปนสภาพอันถูกปจจัยปรุงแตงอยา งเดยี ว, ตรงกบั สงั ขารขันธ ในขันธ ขึ้น จึงตองผันแปรไปตามเหตุปจจัย๕ ไดในคาํ วา “รปู ไมเทย่ี ง เวทนาไม เปนสภาพอันปจจัยบีบค้ันขัดแยง คงเท่ียง สัญญาไมเ ที่ยง สังขารไมเท่ยี ง ทนอยูมิไดวญิ ญาณไมเ ท่ยี ง” ดงั น้ีเปน ตน; อธบิ าย สังขารโลก โลกคือสังขาร ไดแกช มุ นมุอีกปริยายหนึ่ง สงั ขารตามความหมายน้ี แหงสังขารท้ังปวงอันตองเปนไปตามยกเอาเจตนาข้ึนเปนตัวนําหนา ไดแก ธรรมดาแหงเหตุปจ จยัสัญเจตนา คือเจตนาท่ีแตงกรรมหรือ สังขารุเปกขาญาณ ปรีชาหย่ังรูถึงขั้นปรงุ แตงการกระทาํ มี ๓ อยา งคือ ๑. เกิดความวางเฉยในสังขาร, ญาณอันกายสงั ขาร สภาพท่ีปรุงแตงการกระทาํ เปนไปโดยความเปน กลางตอสังขาร คือทางกาย คอื กายสญั เจตนา ๒. วจี- รูเทาทันสภาวะของสังขารวาที่ไมเที่ยงสังขาร สภาพที่ปรุงแตงการกระทําทาง เปนทุกขเปนตนน้ัน มันเปนไปของมันวาจา คือ วจสี ญั เจตนา ๓. จติ ตสงั ขาร อยา งน้ันเปน ธรรมดา จึงเลกิ เบื่อหนา ยหรอื มโนสงั ขาร สภาพทีป่ รงุ แตงการ เลิกคิดหาทางแตจะหนี วางใจเปนกลางกระทาํ ทางใจ คือ มโนสัญเจตนา 3. ตอมันได เลิกเกี่ยวเกาะและใหญาณสภาพที่ปรงุ แตงชวี ติ มี ๓ คอื ๑. กาย- แลน มุงสนู พิ พานอยา งเดยี ว (ขอ ๘ ในสังขาร สภาพที่ปรุงแตงกาย ไดแก วิปสสนาญาณ ๙)อสั สาสะ ปสสาสะ คอื ลมหายใจเขา ลม สังเขป การยอ , ยน ยอ , ใจความ, เคาหายใจออก ๒. วจสี ังขาร สภาพที่ปรงุ ความ; ตรงขา มกับ วติ ถาร, พสิ ดารแตง วาจา ไดแ กว ติ กและวจิ าร ๓. จติ ต- สงั เขปนยั นยั อยา งยอ, แบบยอ, แงสังขาร สภาพท่ีปรุงแตงใจ ไดแก ความหมายซงึ่ ชแี้ จงอยา งรวบรดั ; ตรงขา ม กบั วติ ถารนัยสญั ญาและเวทนาสังขาร ๒ คือ ๑. อุปาทินนกสังขาร สงั เขปฏ ฐกถา ดู โปราณัฏฐกถา, อรรถ-สังขารที่กรรมครอบครอง ๒. อนุปา- กถาทินนกสังขาร สังขารท่ีกรรมไมครอบ สงั คหวตั ถุ เรอื่ งทจี่ ะสงเคราะหก นั , คณุครอง, แปลโดยปริยายวา สงั ขารทมี่ ีใจ เปนเคร่ืองยึดเหนี่ยวใจของผูอื่นไวได,ครอง และสังขารท่ไี มมใี จครอง หลกั การสงเคราะห คือชวยเหลอื กนั ยึดสังขารทกุ ข ทกุ ขเ พราะเปนสังขาร คอื เหนี่ยวใจกันไว และเปนเคร่ืองเกาะกุม

สังคายนา ๔๐๘ สงั คายนา ประสานโลกคือสังคมแหงหมูสัตวไว ดวยปญญาอันย่ิง เธอทั้งหมดทีเดียว ดุจสลักยึดรถท่ีกําลังแลนไปใหคงเปน พึงพรอมเพรียงกันประชุมรวบรวม รถและวิ่งแลน ไปได มี ๔ อยา ง คือ ๑. กลา วใหลงกัน (สังคายนา) ทั้งอรรถะ ทาน การแบง ปน เออื้ เฟอ เผือ่ แผก ัน ๒. กับอรรถะ ทั้งพยัญชนะกับพยัญชนะ ปย วาจา พูดจานารัก นา นิยมนบั ถือ ๓. ไมพ งึ ววิ าทกนั โดยประการทพี่ รหมจรยิ ะ อัตถจริยา บาํ เพญ็ ประโยชน ๔. สมา- นจี้ ะยง่ั ยนื ดาํ รงอยตู ลอดกาลนาน เพอ่ื นัตตตา ความมีตนเสมอ คือ ทําตวั ให เกือ้ กลู แกพหูชน เพื่อความสุขแกพ หูชน เขา กนั ได เชน ไมถือตัว รว มสขุ รว ม เพอื่ เกอื้ การณุ ยแ กช าวโลก เพอ่ื ประโยชน ทุกขก นั เปน ตน เพ่ือเกื้อกูล เพ่ือความสุขแกเทวะและสังคายนา “การสวดพรอมกนั ” การรอ ย มนุษยท ั้งหลาย” และในทีน่ ั้น ไดตรัสวา กรองพระธรรมวนิ ยั , การประชมุ รวบรวม ธรรมท้ังหลายท่ีทรงแสดงแลวดวย และจดั หมวดหมคู าํ สง่ั สอนของพระพุทธ ปญญาอันย่ิง หมายถงึ ธรรม ๗ หมวด เจาโดยพรอมกันทบทวนสอบทานจน (ทมี่ ชี อื่ รวมวา โพธปิ ก ขยิ ธรรม ๓๗), ใน ยอมรับและวางลงเปนแบบแผนอันหนึ่ง เวลาใกลก นั นนั้ เมอื่ พระสารีบุตรไดรบั อันเดียว พุทธดํารัสมอบหมายใหแสดงธรรมแก ภิกษุสงฆในท่ีเฉพาะพระพักตร ทานก็ “สังคายนา” คือ การสวดพรอมกัน ปรารภเรอ่ื งทนี่ คิ รนถนาฏบตุ รสนิ้ ชพี แลว เปนกิริยาแหงการมารวมกันซักซอม ประดานิครนถทะเลาะวิวาทกันในเร่ือง สอบทานใหลงกันแลวสวดพรอมกันคือ หลักคําสอน แลวทานไดแนะนําให ตกลงยอมรับไวดวยกันเปนอันหนึ่งอัน สังคายนา พรอ มทงั้ ทาํ เปน ตัวอยาง โดย เดยี ว ตามหลักในปาสาทกิ สตู ร (ที.ปา.๑๑/ ประมวลธรรมมาลําดับแสดงเปนหมวด ๑๐๘/๑๓๙) ทพ่ี ระพทุ ธเจาตรัสแนะนาํ แก หมู ต้งั แตห มวด ๑ ถงึ หมวด ๑๐ เทศนา ทานพระจุนทะ กลาวคือ ทานพระจนุ ทะ ของพระสารีบุตรคร้ังน้ีไดชือ่ วา “สังคีต-ิ ปรารภเร่ืองที่นิครนถนาฏบุตรส้ินชีพ สตู ร” (ที.ปา.๑๑/๒๒๑/๒๒๒) เปนพระสตู ร แลว ประดานคิ รนถตกลงในเร่อื งหลกั วาดวยการสังคายนาท่ีทําตั้งแตพระบรม คาํ สอนกันไมได กท็ ะเลาะวิวาทกนั ทา น ศาสดายังทรงพระชนมอยู, เมื่อพระ คํานึงถงึ พระศาสนา จงึ มาเฝา และพระ พทุ ธเจา ปรนิ พิ พานแลว พระมหากสั สปะ พทุ ธเจา ไดต รสั วา “เพราะเหตดุ งั นนี้ น่ั แล ผเู ปน สงั ฆเถระ กไ็ ดช กั ชวนพระอรหันต จนุ ทะ ในธรรมทงั้ หลายทเ่ี ราแสดงแลว

สงั คายนา ๔๐๙ สงั คายนาทั้งหลายประชุมกันทําสังคายนาตาม สังคายนาเกิดขึ้นเนื่องกันกับเหตุการณหลักการทกี่ ลาวมานน้ั โดยประมวลพระ ไมปกติที่มีการถือผิดปฏิบัติผิดจากพระธรรมวินัยท้ังหมดเทาที่รวบรวมไดวาง ธรรมวนิ ยั ทาํ ใหก ารสังคายนาเสมอื นมีลงไวเปนแบบแผน ตั้งแตหลังพุทธ- ความหมายซอนเพ่ิมขึ้นวาเปนการซักปรินิพพาน ๓ เดือน เรียกวาเปน ซอมทบทวนสอบทานพระธรรมวนิ ยั เพอ่ืสังคายนาครัง้ ท่ี ๑ จะไดเปนหลักหรือเปนมาตรฐานในการ ชาํ ระสังฆมณฑลและสะสางกิจการพระ ความหมายทเ่ี ปน แกนของสงั คายนา ศาสนา, จากความหมายที่เรม่ิ คลุมเครอืคอื การรวบรวมพทุ ธพจน หรอื คาํ สงั่ สอน สับสนนี้ ในภาษาไทยปจ จบุ นั สงั คายนาของพระบรมศาสดา ดงั นน้ั สงั คายนาที่ ถึงกับเพ้ียนความหมายไป กลายเปนเต็มตามความหมายแทจ รงิ จึงมีไดตอ การชําระสะสางบคุ คลหรือกิจการเมื่อมีพุทธพจนที่จะพึงรวบรวม อันไดแกสังคายนาเทา ท่ีกลา วมาขางตน สวน สังคายนาในยุคตน ซ่ึงถือเปนการสงั คายนาหลงั จากนน้ั ซึง่ จัดขึ้นหลงั สําคัญในการรักษาสืบทอดพระธรรมพทุ ธปรินิพพานอยางนอย ๑ ศตวรรษ วนิ ัย คือ คร้ังท่ี ๑ ถงึ ๕ ดังน:ี้ชัดเจนวาไมอยูในวิสัยแหงการรวบรวมพุทธพจน แตเ ปล่ยี นจุดเนน มาอยทู ี่การ คร้ังที่ ๑ ปรารภเรือ่ งสภุ ัททภิกษผุ ูรักษาพุทธพจนและคําส่ังสอนเดิมที่ได บวชเมื่อแกกลาวจวงจาบพระธรรมวินัยรวบรวมไวแลว อนั สืบทอดมาถึงตน ให และปรารภท่ีจะทาํ ใหธรรมรงุ เรอื งอยูสบืคงอยูบริสุทธ์ิบริบูรณท่ีสุดเทาที่จะเปน ไป พระอรหนั ต ๕๐๐ รปู มพี ระมหา-ไปได ดวยเหตุนนั้ สงั คายนาในยุคหลัง กัสสปะเปนประธาน และเปนผูถามสืบมาถงึ ปจจุบัน จงึ มีความหมายวา เปน พระอุบาลีเปนผูวิสัชนาพระวินัย พระการประชุมตรวจชําระสอบทาน รักษา อานนทเปน ผวู สิ ัชนาพระธรรม ประชมุพระไตรปฎกใหบริสุทธิ์ หมดจดจาก สังคายนาท่ีถํ้าสัตตบรรณคูหา ภูเขาความผิดพลาดคลาดเคล่อื น โดยกําจดั เวภารบรรพต เมอื งราชคฤห เม่ือหลงัส่ิงปะปนแปลกปลอมหรือทาํ ใหเขาใจสับ พุทธปรนิ ิพพาน ๓ เดือน โดยพระเจาสนออกไป ใหธ รรมวนิ ยั ของพระพทุ ธเจา อชาตศัตรูเปนศาสนูปถัมภก สิ้นเวลาคงอยูเปนแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวท่ี ๗ เดือนจงึ เสรจ็เปน ของแทแตเ ดิม; ในบางยคุ สมัย การ ครง้ั ที่ ๒ ปรารภพวกภกิ ษุวชั ชบี ุตร แสดงวตั ถุ ๑๐ ประการ นอกธรรม นอก

สงั คตี ิ ๔๑๐ สังฆกรรมวนิ ยั พระยศกากณั ฑกบตุ รเปน ผชู กั ชวน ธรรมวินัยลงในใบลาน พระอรหันตไดพระอรหนั ต ๗๐๐ รูป พระเรวตะ ๕๐๐ รปู ประชมุ กนั สวดซอมแลว จารเปนผูถาม พระสัพพกามีเปนผูวิสัชนา พุทธพจนลงในใบลาน ณ อาโลกเลณ-ประชุมทาํ ท่วี าลิการาม เมืองเวสาลี เม่ือ สถาน ในมลยชนบท ในลงั กาทวีป เมอื่พ.ศ. ๑๐๐ โดยพระเจา กาลาโศกราช เปน พ.ศ. ๔๕๐ (วา ๔๓๖ กม็ )ี โดยพระเจาศาสนปู ถมั ภก สน้ิ เวลา ๘ เดอื นจงึ เสรจ็ วัฏฏคามณีอภัย เปนศาสนูปถัมภก; ครั้งท่ี ๓ ปรารภเดยี รถยี มากมาย บางคัมภีรวา สังคายนาคร้ังน้ีจัดข้ึนในปลอมบวชในพระศาสนาเพราะมีลาภ ความคุมครองของคนที่เปนใหญในทองสกั การะเกดิ ขน้ึ มาก พระอรหนั ต ๑,๐๐๐ ถน่ิ (ครั้งที่ ๔ ไดรบั ความยอมรบั ในแงรูป มีพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเปน เหตกุ ารณน อยกวา ครงั้ ท่ี ๕)ประธาน ประชุมทําท่ีอโศการามเมอื ง สังคตี ิ 1. การสังคายนา; ดู สังคายนา 2.ปาฏลีบตุ ร เมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๔ ในคาํ วา “บอกสังคตี ิ” ซ่งึ เปน ปจ ฉมิ กิจ(พ.ศ. ๒๑๘ เปนปท พ่ี ระเจา อโศกข้ึน อยางหน่ึงของการอุปสมบท ทานครองราชย) โดยพระเจา อโศก หรอื ศร-ี สันนิษฐานวา หมายถึงการประมวลบอกธรรมาโศกราชเปนศาสนูปถัมภก สิ้น อยางอนื่ นอกจากท่ีระบุไว เชน สีมาหรือเวลา ๙ เดือนจึงเสรจ็ อาวาสทอ่ี ปุ สมบท อุปช ฌายะ กรรม-ครั้งที่ ๔ ปรารภใหพระศาสนา วาจาจารย จํานวนสงฆประดษิ ฐานมน่ั คงในลงั กาทวปี พระสงฆ สังคีติกถา ถอยคําที่กลาวถึงเรื่อง๖๘,๐๐๐ รูป มีพระมหินทเถระเปน สงั คายนา, แถลงความเรอ่ื งสังคายนาประธานและเปนผถู าม พระอริฏฐะเปน สังคีติปริยาย บรรยายเรื่องการผูว สิ ชั นา ประชมุ ทําทถ่ี ปู าราม เมืองอนุ- สังคายนา, การเลา เรื่องการสังคายนาราธบรุ ี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖ โดยพระเจา สงั ฆกรรม งานของสงฆ, กรรมทสี่ งฆพงึเทวานมั ปย ตสิ สะเปน ศาสนูปถัมภก สน้ิ ทํา, กิจท่ีพงึ ทําโดยทปี่ ระชุมสงฆ มี ๔เวลา ๑๐ เดอื นจงึ เสร็จ คอื ๑. อปโลกนกรรม กรรมทท่ี ําเพียงคร้ังท่ี ๕ ปรารภพระสงฆแตกกัน ดวยบอกกันในท่ีประชุมสงฆ ไมตอ งตง้ัเปน ๒ พวกคอื พวกมหาวิหารกบั พวก ญัตติและไมตองสวดอนุสาวนา เชนอภยั ครี วี หิ าร และคาํ นงึ วา สบื ไปภายหนา แจงการลงพรหมทัณฑแกภิกษุ ๒.กุลบุตรจะถอยปญญา ควรจารึกพระ ญัตติกรรม กรรมที่ทาํ เพียงตั้งญัตติไม

สงั ฆการี ๔๑๑ สังฆเถระตองสวดอนุสาวนา เชน อุโบสถและ การีมีอํานาจหนาที่กวางขวาง มิใชเปนปวารณา ๓. ญตั ติทุตยิ กรรม กรรมที่ทํา เพียงเจาพนักงานในราชพธิ เี ทา นั้น แตดวยตั้งญัตติแลวสวดอนุสาวนาหนหน่ึง ทําหนาท่ีชําระอธิกรณพิจารณาโทษแกเชน สมมตสิ ีมา ใหผ า กฐิน ๔. ญัตต-ิ พระสงฆผูลวงละเมิดสิกขาบทประพฤติจตตุ ถกรรม กรรมทีท่ ําดวยการต้ังญตั ติ ผิดธรรมวินัยดวยแลวสวดอนุสาวนา ๓ หน เชน สังฆคารวตา ดู คารวะ สังฆคุณ คุณของพระสงฆ (หมายถึงอปุ สมบท ใหปรวิ าส ใหม านตัสังฆการี เจาหนาที่ผูทําการสงฆ, เจา สาวกสงฆ หรือ อริยสงฆ) มี ๙ คือ ๑.พนักงานผูมีหนาที่เก่ียวกับสงฆในงาน สุปฏปิ นโฺ น ภควโต สาวกสงโฺ ฆ พระหลวง, เจา หนา ทผี่ เู ปน พนกั งานในการพธิ ี สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาเปนผูสงฆ มมี าแตโ บราณสมยั อยุธยา สังกดั ปฏิบัตดิ ี ๒. อุชุปฏิปนโฺ น เปนผูป ฏบิ ตั ิ ตรง ๓. ายปฏปิ นฺโน เปนผูปฏบิ ตั ถิ กูในกรมสังฆการี ซึ่งรวมอยูดวยกันกับ ทาง ๔. สามจี ปิ ฏปิ นโฺ น เปน ผปู ฏบิ ตั ิสมกรมธรรมการ เรยี กรวมวา กรมธรรม- ควร (ยททิ ํ จตตฺ าริ ปรุ สิ ยคุ านิ อฏ ปรุ สิ -การสงั ฆการี เดิมเรียกวา สงั กะรี หรอื ปุคฺคลา ไดแ ก คบู ุรุษ ๔ ตวั บคุ คล ๘สงั การี เปลยี่ นเรยี ก สงั ฆการี ในรชั กาล เอส ภควโต สาวกสงโฺ ฆ พระสงฆสาวกที่ ๔ ตอ มาเมอ่ื ตง้ั กระทรวงธรรมการใน ของพระผมู พี ระภาคน)้ี ๕. อาหุเนยโฺ ยพ.ศ. ๒๔๓๒ กรมธรรมการสงั ฆการเี ปนกรมหนึง่ ในสังกัดของกระทรวงนนั้ จน เปน ผคู วรแกข องคาํ นบั คอื ควรรับของถึง พ.ศ. ๒๔๕๔ กรมสังฆการจี งึ แยก ที่เขานาํ มาถวาย ๖. ปาหุเนยฺโย เปนผูเปนกรมตางหากกันกับกรมธรรมการ ควรแกก ารตอนรับ ๗. ทกฺขเิ ณยโฺ ย เปนตอมาใน พ.ศ. ๒๔๗๖ กรมสังฆการถี ูก ผูควรแกทักษิณาคือควรแกของทําบุญยุบลงเปนกองสังกัดในกรมธรรมการ ๘. อชฺ ลกี รณโี ย เปน ผคู วรแกก ารกราบกระทรวงศึกษาธกิ าร ตอมาอกี ใน พ.ศ. ไหว ๙. อนุตฺตรํ ปุ ฺ กฺเขตฺตํ โลกสฺส๒๔๘๔ กรมธรรมการเปลี่ยนชื่อเปน เปนนาบุญอันยอดเย่ียมของโลก คือกรมการศาสนา และในคราวทายสุด เปนแหลงปลูกเพาะและเผยแพรความดีพ.ศ. ๒๕๑๕ กองสงั ฆการีไดถูกยุบเลิก ที่ยอดเยี่ยมของโลกไป และมีกองศาสนูปถัมภขึ้นมาแทน สังฆเถระ ภิกษุผูเปนพระเถระในสงฆปจ จุบันจงึ ไมม ีสังฆการี; บางสมยั สังฆ- คือ เปนผูใหญเปนประธานในสงฆ,

สังฆทาน ๔๑๒ สังฆมิตตาภิกษุผูมีพรรษามากกวาภิกษุอ่ืนใน อนง่ึ ถา เปนสังฆทานประเภทอุทศิชมุ นุมน้ันท้ังหมด ผตู าย เรยี กวา มตกภตั พงึ เปลย่ี นแปลงสงั ฆทาน ทานเพอ่ื สงฆ, การถวายแกส งฆ คาํ ถวายทพ่ี มิ พต วั เอนไวค อื ภตตฺ านิ เปนคือ ถวายเปน กลางๆ ไมจําเพาะเจาะจง มตกภตฺตาน,ิ อมฺหากํ เปน อมหฺ ากเฺ จวภิกษรุ ูปใดรูปหนึ่ง เชน จะทาํ พิธถี วาย มาตาปต ุอาทีนจฺ าตกานํ กาลกตาน;ํของท่ีมีจํานวนจํากดั พงึ แจงแกทางวดั ให ภตั ตาหาร เปน มตกภัตตาหาร, แกจัดพระไปรับตามจาํ นวนที่ตอ งการ หวั ขา พเจา ทงั้ หลาย เปน แกข า พเจา ทงั้ หลายหนาสงฆจดั ภิกษุใดไปพงึ ทาํ ใจวา ทา น ดวย แกญาติของขาพเจาท้ังหลาย มีมารับในนามของสงฆหรือ เปนผูแทน มารดาบดิ าเปน ตน ผลู ว งลบั ไปแลว ดว ย”ของสงฆทั้งหมด ไมพึงเพงเล็งวาเปน สงั ฆนวกะ ภกิ ษุผูใ หมใ นสงฆ คือบวชบุคคลใด คิดตั้งใจแตวาจะถวายอุทิศ ภายหลงั ภิกษทุ ั้งหมดในชมุ นุมสงฆน นั้แกส งฆ; ในพิธีพงึ จุดธปู เทียนบูชาพระ สังฆภัต อาหารถวายสงฆ หมายถึงอาราธนาศลี รบั ศลี จบแลว ตง้ั นโม ๓ จบ อาหารทเี่ จา ของนาํ มา หรอื สง มาถวายสงฆกลาวคําถวายเสร็จแลวประเคนของ ในอารามพอแจกทว่ั กนั ; เทยี บ อทุ เทสภัตและเมอื่ พระสงฆอนโุ มทนา พึงกรวดนํ้า สังฆเภท ความแตกแหงสงฆ, การทาํ ใหรบั พร เปน เสรจ็ พธิ ;ี คาํ ถวายสังฆทาน สงฆแ ตกจากกนั (ขอ ๕ ในอนันตรยิ -วา ดงั น:ี้ “อิมานิ มยํ ภนเฺ ต, ภตฺตานิ, กรรม ๕), กําหนดดวยไมทําอุโบสถสปริวาราน,ิ ภิกขฺ สุ งฆฺ สสฺ , โอโณชยาม, ปวารณา และสังฆกรรมดวยกนั ; เทยี บสาธุ โน ภนฺเต, ภิกฺขุสงฺโฆ, อิมานิ, สงั ฆราช,ี ดู สามคั คีภตฺตานิ, สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, สงั ฆเภทขนั ธกะ ชือ่ ขันธกะที่ ๗ แหงอมฺหาก,ํ ทฆี รตฺต,ํ หิตาย, สุขาย” แปล จุลวรรคในพระวินัยปฎก วาดวยเร่ืองวา: “ขาแตพ ระสงฆผูเ จริญ ขาพเจาทั้ง พระเทวทัตทําลายสงฆและเรื่องควรหลายขอนอมถวายภัตตาหาร กับท้ัง ทราบเก่ยี วกับสังฆเภท สังฆสามคั คีบรวิ ารเหลาน้แี กพระภิกษุสงฆ ขอพระ สงั ฆมณฑล หมูพระ, วงการพระภิกษุสงฆจงรับภัตตาหาร กับทั้งบริวาร สังฆมิตตา พระราชบุตรีของพระเจาเหลาน้ีของขาพเจาท้ังหลาย เพ่ือ อโศกมหาราช ทรงผนวชเปนภิกษุณีประโยชนและความสุขแกขาพเจาทั้ง และไปประดิษฐานภิกษุณีสงฆที่ลังกา-หลาย สน้ิ กาลนานเทอญ” ทวีปพรอมทั้งนําก่ิงพระศรีมหาโพธิ์ไป

สงั ฆรตั นะ, สังฆรัตน ๔๑๓ สังฆานุสติถวายแกพระเจา เทวานัมปย ตสิ สะดว ย ใชท าบบนจีวร เปน ผา ผนื หนึง่ ในสามผนืสังฆรัตนะ, สังฆรัตน รัตนะคือสงฆ, ท่เี รยี กวา ไตรจีวรพระสงฆอ นั เปน อยางหนง่ึ ในรัตนะ ๓ ท่ี สังฆาทเิ สส ชอื่ หมวดอาบตั ิหนักรองจากเรยี กวา พระรัตนตรยั ; ดู รตั นตรยั ปาราชกิ ตอ งอยกู รรมจงึ พนได คอื เปนสงั ฆราชี ความรา วรานแหงสงฆ คือ จะ ครกุ าบตั ิ (อาบตั หิ นกั ) แตย งั เปน สเตกจิ ฉา แตกแยกกัน แตไ มถ งึ กับแยกทาํ อุโบสถ (แกไขหรือเยียวยาได); ตามศัพท สังฆาทิเสส แปลวา “หมวดอาบัตอิ นั จํา ปวารณาและสงั ฆกรรมตา งหากกนั ; เทยี บ สงั ฆเภท, ดู สามคั คี ปรารถนาสงฆในกรรมเบ้ืองตนและสังฆสัมมุขตา ความเปนตอหนาสงฆ กรรมทเี่ หลือ”, หมายความวา วธิ ีการท่ีหมายความวา การระงับอธิกรณนั้น จะออกจากอาบตั นิ ้ี ตอ งอาศัยสงฆ ต้ังกระทําในท่พี รอ มหนา สงฆ ซึง่ ภิกษผุ เู ขา แตตนไปจนตลอด กลาวคือเร่ิมตนจะประชุมมีจํานวนครบองคเปนสงฆ ได อยปู รวิ าส กต็ องขอปริวาสจากสงฆ ตอ นําฉันทะของผูควรแกฉันทะมาแลว จากนั้น จะประพฤติมานัตก็ตอ งอาศัย สงฆเปนผูให ถามีมูลายปฏิกัสสนาก็ และผอู ยูพรอ มหนากนั นน้ั ไมค ัดคาน; ดู สมั มขุ าวนิ ัย ตองสําเร็จดวยสงฆอกี และทายทส่ี ุดก็สงั ฆสามคั คี ความพรอ มเพรยี งแหง สงฆ; ดู สามคั คี ตองขออัพภานจากสงฆ; สิกขาบทท่ีสังฆอุโบสถ อุโบสถของสงฆ คอื การทาํ ภกิ ษลุ ะเมดิ แลว จะตอ งอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส มี ๑๓ ขอ คาํ วา สงั ฆาทเิ สส ใชเปนชือ่อโุ บสถของสงฆท ค่ี รบองคก าํ หนด คอื มี เรียกสกิ ขาบท ๑๓ ขอ นี้ดวยภกิ ษตุ ง้ั แต ๔ รปู ขน้ึ ไป สวดปาฏโิ มกข สังฆาทิเสสกัณฑ ตอนอนั วา ดว ยอาบัติไดต ามปกติ (ถา มภี ิกษุอยู ๒–๓ รูป สังฆาทิเสส, ในพระวินยั ปฎก ทานเรียกตองทําคณอโุ บสถ คอื อุโบสถของคณะ วาเตรสกัณฑ (ตอนวาดวยสิกขาบทซงึ่ เปนปาริสุทธอิ โุ บสถ คอื อโุ บสถทีท่ าํ ๑๓) อยูใ นคมั ภรี ม หาวิภังคเ ลมแรกโดยบอกความบริสุทธิ์ของกันและกัน สงั ฆานุสติ ระลกึ ถึงคณุ ของพระสงฆ ดังถามีภกิ ษุรูปเดยี ว ตองทําบุคคลอุโบสถ ที่พระพุทธเจาตรัสสอนในนันทิยสูตร คือ อโุ บสถท่ีทําโดยการอธิษฐานกําหนด (อง.ทสก.๒๔/๒๒๐/๓๖๔) ใหระลึกถึงพระ ใจวา วันนน้ั เปนวนั อโุ บสถ); ดู อุโบสถ สงฆในฐานเปนกัลยาณมิตร (ขอ ๓ ในสังฆาฏิ ผา ทาบ, ผาคลมุ กันหนาวทพ่ี ระ อนสุ ติ ๑๐) เขยี นอยางรปู เดิมในภาษา

สงั ฆาวาส ๔๑๔ สังวร บาลีเปน สงั ฆานสุ สสต;ิ ดู สงั ฆคุณ สังโยชน กเิ ลสท่ีผูกมัดใจสัตว, ธรรมท่ีสงั ฆาวาส “อาวาสของสงฆ”, สวนของวดั มัดสตั วไ วก บั ทุกข มี ๑๐ อยาง คอื ก. ซึ่งจัดไวเปนท่ีอยูอาศัยของพระสงฆ โอรมั ภาคิยสงั โยชน สังโยชนเบอ้ื งต่าํ ๕ ประกอบดว ยกุฏิ หอสวดมนต หอฉัน ไดแ ก ๑. สักกายทิฏฐิ ความเห็นวา เปน เปนตน ตางกับและเปนคูกันกับ ตวั ของตน ๒. วจิ กิ จิ ฉา ความลงั เลสงสัย พุทธาวาส, เปนคําที่บัญญัติขึ้นใชภาย ๓. สีลัพพตปรามาส ความถือม่ันศีล หลัง (มิไดมีมาแตเดิมในคัมภีร); ดู พรต ๔. กามราคะ ความติดใจในกาม พทุ ธาวาส, เทียบสังฆิกาวาส คณุ ๕. ปฏฆิ ะ ความกระทบกระทง่ั ในสังฆกิ าวาส ทีอ่ ยูทเ่ี ปนของสงฆ, เปนคาํ ทางพระวินัย ตรงขามกับ ปคุ คลิกาวาส ใจ ข. อุทธมั ภาคยิ สังโยชน สังโยชน (ทอ่ี ยทู เี่ ปน ของบคุ คล หรอื ทอี่ ยสู ว นตวั ) เบอ้ื งสงู ๕ ไดแก ๖. รูปราคะ ความตดิ เชนในขอความวา (วินย.อ.๓/๓๙๔) “ถา ใจในรปู ธรรมอันประณตี ๗. อรูปราคะ ภิกษุถือเอาทัพสัมภาระท้ังหลาย มี ความติดใจในอรูปธรรม ๘. มานะ กลอนเปนตน จากสังฆิกาวาสนน้ั นําไป ความถือวา ตัวเปน น่นั เปน นี่ ๙. อทุ ธจั จะ ความฟงุ ซา น ๑๐. อวชิ ชา ความไมร จู รงิ ;ใชในสงั ฆกิ าวาสอน่ื กเ็ ปนอนั ใชไปดว ย พระโสดาบนั ละสงั โยชน ๓ ขอ ตน ได,ดี แตเมอ่ื เอาไปใชใ นปุคคลิกาวาส จะ พระสกทิ าคามี ทาํ สงั โยชนข อ ๔ และ ๕ตองจายมูลคาให หรือตองทําใหกลับ ใหเบาบางลงดวย, พระอนาคามี ละคืนดเี ปนปกตอิ ยา งเดิม, ถาภิกษุมไี ถย- สังโยชน ๕ ขอตน ไดห มด, พระอรหนั ตจิต ถอื เอาเตียงและตั่งเปนตน จากวหิ าร ละสงั โยชนท้งั ๑๐ ขอ ; ในพระอภธิ รรมทถี่ กู ทอดทิ้งแลว พงึ ปรบั อาบตั ติ ามมลู ทา นแสดงสังโยชนอ กี หมวดหนึง่ คือ ๑.คาแหงส่ิงของ ในขณะที่ยกขึ้นไปนั่นที กามราคะ ๒. ปฏฆิ ะ ๓. มานะ ๔. ทฏิ ฐิเดยี ว”, “สังฆิกวิหาร” ก็เรยี ก; พงึ สังเกต (ความเหน็ ผดิ ) ๕. วจิ กิ จิ ฉา ๖. สลี พั พต-วา “สงั ฆกิ าวาส” กด็ ี “ปคุ คลกิ าวาส” กด็ ี ปรามาส ๗. ภวราคะ (ความตดิ ใจในเปนคําที่ใชใ นชน้ั อรรถกถา สวนในพระ ภพ) ๘. อิสสา (ความริษยา) ๙.ไตรปฎก ใชเปนขอความวา วิหารทีเ่ ปน มัจฉริยะ (ความตระหน่ี) ๑๐. อวชิ ชาสังฆิกะ หรือวิหารของสงฆ และ สังวร ความสาํ รวม, การระวังปดก้ันบาป อกุศล มี ๕ อยาง คอื ๑. ปาฏโิ มกข-เสนาสนะของสงฆ เปน ตนสังยมะ ดู สญั ญมะ สังวร สํารวมในปาฏิโมกข (บางแหง

สังวรปธาน ๔๑๕ สงั เวชเรยี ก สีลสงั วร สํารวมในศลี ) ๒. สต-ิ สังวาสนาสนา ใหฉิบหายจากสังวาสสังวร สํารวมดวยสติ ๓. ญาณสังวร หมายถึง การทําอกุ เขปนยี กรรมยกเสียสํารวมดว ยญาณ ๔. ขนั ตสิ ังวร สํารวม จากสังวาส คือทําใหหมดสิทธิท่ีจะอยูดวยขันติ ๕. วิริยสังวร สํารวมดวย รว มกบั สงฆ สังเวคกถา ถอ ยคําแสดงความสลดใจใหความเพียรสังวรปธาน เพยี รระวัง คือ เพยี รระวัง เกดิ ความสงั เวชคือเรา เตอื นสาํ นึกบาปอกุศลธรรมทย่ี งั ไมเกดิ มิใหเ กิดขน้ึ สังเวควัตถุ เรื่องที่นาสลดใจ, เรื่องท่ี(ขอ ๑ ในปธาน ๔) พิจารณาแลวจะทําใหเกิดความสังเวชสังวรปารสิ ทุ ธิ ความบริสทุ ธิ์ดว ยสังวร, คือเราเตือนสํานึกใหมีจิตใจนอมมาในความสํารวมท่ีเปนความบริสุทธ์ิ หรือ ทางกศุ ล เกดิ ความคดิ ไมป ระมาทและมีเปน เครอ่ื งทําใหบ รสิ ุทธิ์ หมายถึง ศลี ท่ี กําลังท่ีจะทําความเพียรปฏิบัติธรรมตอประพฤตถิ กู ตอง เปนไปเพ่ือความไมมี ไป เชน ความเกิด ความแก ความเจ็บวิปฏิสาร เปนตน ตามลาํ ดบั จนถึงพระ ความตาย และอาหารปรเิ ยฏฐิทุกข คอืนิพพาน จดั เปน อธศิ ีล ทกุ ขในการหากิน เปน ตนสงั วรรณนา พรรณนาดว ยด,ี อธบิ ายความ สงั เวช ความสลดใจใหไ ดคิด, ความรูสึกสังวรสุทธิ ความบริสุทธิ์ดวยสังวร, เตือนสํานกึ หรอื ทําใหฉ กุ คดิ , ความรูสึก ความสํารวมที่เปนเคร่ืองทําใหบริสุทธ์ิ กระตุน ใจใหค ดิ ได ใหคิดถึงธรรม ให หมายถึง อนิ ทรยี สงั วรสงั วฏั ฏกปั ดู กปั ตระหนกั ถงึ ความจรงิ ของชวี ติ และเราสงั วฏั ฏฐายกี ปั ดู กปัสังวาส ธรรมเปนเคร่ืองอยูรวมกันของ เตือนใหไมประมาท; ตามความหมายที่ แทข องศพั ท สงั เวช คอื “สงั เวค” แปลวา แรงเรง แรงกระตุน หรือพลงั ทปี่ ลุกเราสงฆ ไดแกการทําสังฆกรรมรวมกัน หมายถงึ แรงกระตุน เรา เตือนใจ ใหไดสวดปาฏโิ มกขร ว มกนั มสี กิ ขาบทเสมอ คิดหรือสํานึกข้ึนมาได ใหคิดถึงธรรมกนั เรยี กงา ยๆ วา ทาํ อโุ บสถ สงั ฆกรรม หรือตระหนักถึงความจริงความดีงามรว มกนั คอื เปน พวกเดยี วกนั อยดู ว ย อันทําใหตื่นหรือถอนตัวขึ้นมาจากความกันได มีฐานะและสิทธิเสมอกัน อยู เพลิดเพลิน ความหลงระเริงปลอยตัวดวยกันได; ในภาษาไทย ใชห มายถงึ รว ม มวั เมา หรือความประมาท แลว หกั หันประเวณี ดว ย ไปเรงเพียรทําการท่ีตระหนักรูวาจะพึง

สงั เวชนยี สถาน ๔๑๖ สงั สารสุทธิทําดวยความไมประมาทตอไป แตใน ตายเกดิ อยใู นโลกหรอื ในภพตา งๆ, วาภาษาไทย สังเวช มีความหมายหดแคบ โดยสภาวะ กค็ อื ความสบื ทอดตอเน่อื งลงและเพ้ียนไป กลายเปนความรูสึก ไปแหงขันธท้งั หลายนัน่ เอง; นยิ มพดู วาสลดใจ หรอื เศราสลด แลวหงอยหรือ สังสารวัฏ;ดู ปฏจิ จสมปุ บาทหดหเู สีย ซง่ึ กลายเปนตรงขา มกบั ความ สังสารจักร วงลอ แหง สงั สาระ, วงลอสงั เวชท่ีแท แหงการเท่ียวเรรอนเวียนวายตายเกิด,สังเวชนียสถาน สถานเปนท่ีต้ังแหง อาการหมุนวนตอเนื่องไปแหงภาวะของความสงั เวช, ที่ทใี่ หเกดิ ความสงั เวชมี ๔ ชีวิตท่ีเปนไปตามเหตุปจจัย ในหลักคอื ๑. ทพี่ ระพทุ ธเจา ประสตู ิ คอื อทุ ยาน ปฏิจจสมปุ บาท; “สงั สารจกั ร” เปน คาํ ในลุมพนิ ี ปจจบุ นั เรียก ลมุ พินี (Lumbini) ช้ันอรรถกถาลงมา เชน เดยี วกบั คาํ วา ภว-หรอื รมุ มนิ เด (Rummindei) ๒. ท่พี ระ จักร ปจ จยาการจกั ร ตลอดจนปฏจิ จ-พทุ ธเจา ตรสั รู คือ ควงโพธิ์ ท่ตี ําบล สมุปบาทจักร ซ่ึงทานสรรมาใชในการพุทธคยา (Buddha Gaya หรือ Bodh- อธบิ ายหลกั ปฏจิ จสมปุ บาทนนั้ , อาการGaya) ๓. ท่ีพระพุทธเจาแสดงปฐม- หมุนวนของสังสารจักร หรือภวจักรน้ีเทศนา คอื ปา อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั แขวง ทา นอธบิ ายตามหลักไตรวัฏฏ; ดู ไตร-เมอื งพาราณสี ปจ จุบนั เรยี ก สารนาถ วัฏฏ, ปฏจิ จสมปุ บาท, สังสาระ๔. ที่พระพุทธเจาปรินิพพาน คือ ที่ สังสารวัฏ วังวนแหงการเวียนเกดิ เวียนสาลวโนทยาน เมืองกุสินารา หรือ ตาย, การเวียนวายตายเกิดอยูในโลกกุสินคร (Kusinagara) บัดน้ีเรียก หรอื ในภพตางๆ, โดยใจความ ก็ไดแ กKasia; ดู สงั เวช “สังสาระ” น่ันเอง; สังสารวัฏฏ หรือสังเวย บวงสรวง, เซน สรวง (ใชแ กผแี ละ สงสารวัฏ กเ็ ขยี น; ดู สงั สาระ, ไตรวฏั ฏ,เทวดา) ปฏจิ จสมปุ บาทสงั สาระ, สงสาร การเทย่ี วเรร อ นไปใน สังสารสทุ ธิ ความบรสิ ุทธิด์ วยการเวยี นภพ คอื ภาวะแหง ชวี ติ ทถ่ี ูกพัดพาให วายตายเกิด คอื ลทั ธิของมกั ขลโิ คสาลประสบสุขทุกข ขึ้นลง เปนไปตางๆ ซึ่งถือวา สัตวท้ังหลายทองเท่ียวเวียนตามกระแสแหงอวิชชา ตัณหา และ วายตายเกดิ ไปเรือ่ ยๆ ก็จะคอยบรสิ ุทธ์ิอปุ าทาน, การวายวนอยใู นกระแสแหง หลุดพนจากทุกขไปเอง การปฏิบัติกเิ ลส กรรม และวิบาก, การเวียนวาย ธรรมไรประโยชน ไมอ าจชว ยอะไรได

สังสทุ ธคหณี ๔๑๗ สัจจาธฏิ ฐานสังสุทธคหณี มีครรภท่ีถือปฏิสนธิ ยังบินไมได พอนกแมนกก็บินหนีไปสะอาดหมดจดดี แลว จงึ ทําสัจกริ ยิ า อา งวาจาสตั ยข องสงั เสทชะ สตั วเ กดิ ในของชน้ื แฉะโสโครก ตนเองเปนอานุภาพ ทําใหไฟปาไมลุก เชน หมูหนอน (ขอ ๓ ในโยนิ ๔) ลามเขา มาในทน่ี นั้ (เปน ทม่ี าของวฏั ฏก-สงั หาร การทาํ ลาย, ฆา, ลางผลาญชีวติ ปรติ รทสี่ วดกนั ในปจ จบุ นั ), ในภาษาบาลีสังหาริมะ สง่ิ ท่เี คลื่อนทไี่ ด คอื นําไปได สัจกิริยาน้ีเปนคําหลัก บางแหงใชเชน สัตวและส่งิ ของที่ต้งั อยูลอยๆ ไม สัจจาธิฏฐานเปนคําอธิบายบาง แตติดท่ี ไดแ ก เงนิ ทอง เปนตน; เทียบ ในภาษาไทยมักใชคําวาสัตยาธิษฐานอสังหารมิ ะ ซ่ึงเปน รูปสนั สกฤตของ สจั จาธิฏฐาน; ดูสังหาริมทรพั ย ทรัพยเคลือ่ นทไี่ ด เชน สจั จาธิฏฐาน, สัตยาธิษฐานสัตวเล้ียง เตยี ง ตัง่ ถวย ชาม เปน ตน ; สจั จะ 1. ความจรงิ มี ๒ คอื ๑. สมมต-ิคูก ับ อสังหารมิ ทรพั ย สจั จะ จริงโดยสมมติ เชน คน พอคาสัจกิริยา “การกระทําสัจจะ”, การใช ปลา แมว โตะ เกา อี้ ๒. ปรมตั ถสจั จะสัจจะเปนอานภุ าพ, การยนื ยันเอาสจั จะ จริงโดยปรมัตถ เชน รปู เวทนา สญั ญาคือความจรงิ ใจ คําสัตย หรอื ภาวะทเ่ี ปน สังขาร วญิ ญาณ 2. ความจริงคอื จรงิจรงิ ของตนเอง เปน กาํ ลังอาํ นาจทจ่ี ะคมุ ใจ ไดแก ซื่อสตั ย จริงวาจา ไดแก พูดครองรักษาหรือใหเกิดผลอยางใดอยาง จริง และ จริงการ ไดแ ก ทําจรงิ (ขอ ๑หนึ่ง เชนทพ่ี ระองคลุ มิ าลกลา วแกห ญิง ในฆราวาสธรรม ๔, ขอ ๒ ในอธษิ ฐานมีครรภแกวา “ดูกรนองหญิง ตั้งแต ธรรม ๔, ขอ ๔ ในเบญจธรรม, ขอ ๗อาตมาเกดิ แลวในอริยชาติ มไิ ดร สู ึกเลย ในบารมี ๑๐)วาจะจงใจปลงสัตวเสียจากชีวิต ดวย สัจจญาณ ปรีชากําหนดรูความจริง,สจั วาจาน้ี ขอความสวสั ดจี งมแี กท า น ขอ ความหยง่ั รสู ัจจะ คือ รอู ริยสจั จ ๔ แตความสวัสดีจงมีแกครรภของทานเถิด” ละอยางตามภาวะทเี่ ปน จรงิ วานท้ี ุกข นี้แลวหญิงนั้นไดคลอดบุตรงายดายและ ทุกขสมทุ ยั เปน ตน (ขอ ๑ ในญาณ ๓)ปลอดภัย (คาํ บาลขี องขอ ความนี้ ไดน าํ สจั ธรรม, สัจจธรรม ธรรมทจ่ี ริงแท,มาสวดกันในช่ือวา อังคุลิมาลปริตร) หลักสจั จะ เชน ในคาํ วา “อริยสัจจ-และเร่อื งในวัฏฏกชาดกทีว่ า ลกู นกคมุ ธรรมทง้ั สี”่ออ น ถูกไฟปา ลอมใกลร งั เขามา ตัวเอง สจั จาธฏิ ฐาน 1. ทม่ี น่ั คอื สจั จะ, ธรรมที่

สจั จานุโลมญาณ ๔๑๘ สญั ญมะควรตงั้ ไวใ นใจใหเ ปน ฐานทม่ี น่ั คอื สจั จะ, สญั เจตนา และ ธัมมสญั เจตนา; ดู ปย -ผูมีสัจจะเปนฐานที่ม่ัน (ขอ ๒ ใน รูป สาตรปูอธฏิ ฐาน ๔); ดู อธษิ ฐานธรรม 2. การ สัญเจตนิกา มีความจงใจ, มีเจตนา;ต้ังความจริงเปนหลักอาง, ความต้ังใจ เปน ชื่อสงั ฆาทเิ สสสกิ ขาบททห่ี น่ึง ขอที่ม่ันแนวใหเกิดผลอยางใดอยางหน่ึงโดย จงใจทําอสุจิใหเคลื่อน เรียกเต็มวาอางเอาสัจจะของตนเปนกําลังอํานาจ สญั เจตนกิ าสกุ กวสิ ัฏฐิตรงกบั คาํ วา สจั กริ ยิ า แตใ นภาษาไทย สญั ชยั ชอื่ ปรพิ าชกผเู ปน อาจารยใ หญค นมักใชวาสัตยาธิษฐาน; ดู สัจกิริยา, หนง่ึ ในพทุ ธกาล ตง้ั สาํ นกั สอนลทั ธอิ ยใู นสตั ยาธษิ ฐาน กรงุ ราชคฤห มศี ษิ ยม าก พระสารบี ตุ รสจั จานโุ ลมญาณ ดู สจั จานโุ ลมกิ ญาณ และพระโมคคลั ลานะเคยบวชอยใู นสาํ นกัสจั จานโุ ลมกิ ญาณ ปรีชาเปน ไปโดยสม น้ี ภายหลงั เมอื่ พระพทุ ธเจา อบุ ตั ขิ น้ึ ในควรแกก ารกาํ หนดรอู รยิ สจั จ, ญาณอนั โลก พระสารบี ตุ รและพระโมคคลั ลานะคลอ ยตอ การตรสั รอู รยิ สจั จ; อนโุ ลมญาณ พรอ มดวยศิษย ๒๕๐ คนพากนั ไปสูก็เรียก (ขอ ๙ ในวิปสสนาญาณ ๙) สํานักพระพุทธเจา สัญชัยเสียใจเปน ลมสจั ฉกิ รณะ การทําใหแจง, การประสบ, และอาเจียนเปนโลหิต; นิยมเรียกวาการเขา ถึง, การบรรลุ เชน ทําใหแ จงซ่งึ สญชยั ปรพิ าชก เปน คนเดยี วกบั สญั ชยั - เวลัฏฐบุตร คนหน่ึงใน ติตถกร หรอื ครูนิพพาน คือ บรรลุนพิ พานสัญจร เทีย่ วไป, เดนิ ไป, ผานไป, ผาน ทั้ง ๖ สัญญมะ การยับยัง้ , การงดเวน (จากไปมา, เดนิ ทางกนั ไปมาสัญจริตตะ การชักส่ือใหชายหญิงเปน บาป หรือจากการเบียดเบียน), การผัวเมียกนั เปน ชอื่ สังฆาทิเสสสกิ ขาบทที่ บังคับควบคุมตน; โดยท่ัวไป ทาน๕ ทหี่ า มการชกั ส่ือ อธิบายวา สญั ญมะ ไดแก “ศลี ”, บางทีสัญเจตนา ความจงใจ, ความแสวงหา แปลวา “สาํ รวม” เหมือนอยาง สงั วร;อารมณ, เจตนาทแ่ี ตง กรรม, ความคดิ อา น; เพื่อความเขาใจชัดเจนในเบ้ืองตน พึงมี ๓ คอื กายสัญเจตนา วจสี ัญเจตนาและ มโนสญั เจตนา; ดู สงั ขาร ๓; มี ๖ เทียบความหมายระหวางขอธรรม ๓คือ รูปสัญเจตนา สทั ทสญั เจตนา คนั ธ- อยาง คือ สงั วร เนน ความระวงั ในการสัญเจตนา รสสัญเจตนา โผฏฐัพพ- รับเขา คือปดก้ันส่ิงเสียหายท่ีจะเขามา จากภายนอก สัญญมะ ควบคุมตนใน

สัญญัติ ๔๑๙ สัตตบรรณคูหา การแสดงออก มใิ หเปนไปเพอื่ การเบยี ด หมายความไมง ามแหง กาย ๔. อาทนี ว- เบยี น เปน ตน ทมะ ฝกฝนแกไขปรบั สญั ญา กําหนดหมายโทษแหงกาย คือมี อาพาธตางๆ ๕. ปหานสัญญา กาํ หนด ปรุงตน ขม กําจัดสวนรา ยและเสรมิ สว น ทดี่ ีงามใหยง่ิ ขึน้ ไป; สังยมะ กเ็ ขยี น หมายเพ่ือละอกุศลวิตกและบาปธรรมสัญญัติ (ในคําวา “อปุ ช ฌายะช่อื อะไรก็ ๖. วิราคสัญญา กาํ หนดหมายวิราคะตาม ตง้ั สญั ญตั ลิ งในเวลานน้ั วา ชอื่ ตสิ สะ”) คืออริยมรรควาเปนธรรมอันสงบการหมายร,ู ความหมายรูร วมกัน, ขอ ประณีต ๗. นโิ รธสญั ญา กาํ หนดหมาย สาํ หรบั หมายรรู วมกนั , ขอตกลง นโิ รธ คอื อริยผล วาเปน ธรรมอันสงบสญั ญา การกําหนดหมาย, ความจาํ ได ประณีต ๘. สัพพโลเก อนภิรตสญั ญา หมายรู คือ หมายรูไว ซ่งึ รปู เสียง กําหนดหมายความไมนาเพลิดเพลินใน กล่นิ รส โผฏฐัพพะ และอารมณทีเ่ กดิ โลกทงั้ ปวง ๙.สพั พสงั ขาเรสุอนฏิ ฐสญั ญา กับใจวา เขยี ว ขาว ดํา แดง ดงั เบา กําหนดหมายความไมนาปรารถนาใน เสยี งคน เสยี งแมว เสยี งระฆงั กลิน่ สงั ขารทั้งปวง ๑๐. อานาปานัสสติ สติ ทุเรียน รสมะปราง เปนตน และจาํ ได กาํ หนดลมหายใจเขา ออก คอื รจู กั อารมณน นั้ วา เปน อยางนนั้ ๆ ใน สัญญาเวทยิตนิโรธ การดับสญั ญาและ เมือ่ ไปพบเขา อีก (ขอ ๓ ในขนั ธ ๕) มี เวทนา เปน สมาบตั ิ เรยี กเตม็ วา สญั ญา- ๖ อยาง ตามอารมณท หี่ มายรนู น้ั เชน เวทยิตนิโรธสมาบัติ เรียกสั้นๆ วา รูปสัญญา หมายรูรูป สัททสัญญา นโิ รธสมาบตั ิ (ขอ ๙ ในอนุปุพพวิหาร หมายรูเสียง เปนตน; ความหมาย ๙); ดู นิโรธสมาบตั ิ สามัญในภาษาบาลีวาเคร่ืองหมาย ที่ สัญโญชน ดู สงั โยชน สงั เกตความสาํ คญั วาเปนอยางนน้ั ๆ, ใน สัณฐาน ทรวดทรง, ลักษณะ, รูปรา ง ภาษาไทยมกั ใชห มายถงึ ขอ ตกลง, คาํ มนั่ สัตตกะ หมวด ๗สญั ญา ๑๐ ความกาํ หนดหมาย, สงิ่ ทคี่ วร สัตตบรรณคูหา ช่ือถํ้าที่ภูเขาเวภาร-กําหนดหมายไวใ นใจ มี ๑๐ อยางคอื บรรพต ในกรุงราชคฤห เปนท่ีพระ๑. อนิจจสญั ญา กาํ หนดหมายความไมเที่ยงแหงสังขาร ๒. อนัตตสัญญา พุทธเจาเคยทรงทํานิมิตตโอภาสแกพระ อานนท และเปนท่ีทําสงั คายนาคร้ังแรก;กําหนดหมายความเปนอนัตตาแหง เขียน สัตตปณ ณคิ หู า หรือ สตั ตบัณณ-ธรรมท้ังปวง ๓. อสภุ สญั ญา กาํ หนด คหู า ก็มี

สตั ตบรภิ ัณฑ ๔๒๐ สตั ตสดกมหาทานสตั ตบรภิ ณั ฑ “เขาลอ มทง้ั เจด็ ” คาํ เรยี ก ไมเปน บญุ (คือเปน บาป ซ่งึ ในมลิ ินท- หมภู ูเขา ๗ เทอื ก ที่ลอมรอบเขาพระ ปญ หากลาววา พาผใู หไปสูอ บาย) จึงนา วิเคราะหวาในเรื่องน้ีมีเหตุผลหรือมีนัย สเุ มรุ หรือ สเิ นรุ คือ ยุคนธร อิสินธร ท่นี า ศึกษาอยางไร, ในทีน่ ้ี จะกลาวถงึ ขอมูลและขอสังเกตเบ้ืองตนไวประกอบ กรวิก สทุ ัสสนะ เนมินธร วินตก และ การพจิ ารณา คอื ก) ในโอกาสน้ี พระ เวสสนั ดรใหท านโดยสง่ั ใหแ จกจาย ทง้ั อัสสกัณณ ใหผาแกผ ตู อ งการผา ใหสรุ าแกนักเลงสตั ตมวาร, สตั มวาร วาระท่ี ๗, คร้ังท่ี สรุ า ใหอ าหารแกผ ตู อ งการอาหาร อรรถ- ๗; ในภาษาไทย นยิ มใชในประเพณที ํา กถาอธบิ ายวา พระเวสสนั ดรกท็ ราบอยูวา การใหน า้ํ เมาเปนทานทีไ่ รผ ล แตใหเ พือ่ บุญอทุ ิศแกผ ูลว งลับ โดยมีความหมาย ใหนักเลงสรุ าที่มากไ็ ดไ ป ไมตองไปพดู วามาแลวไมได ข) สตรที ีเ่ ปน ทานใน วา วันที่ ๗ หรอื วนั ทีค่ รบ ๗ เชน ในขอ คราวน้ี ตามเรอ่ื งวา นง่ั ประจาํ รถ ๕๐๐ คนั ซงึ่ เปน ทาน คนั ละคน (ทาํ นองวา เปน คน ความวา “บําเพญ็ กุศลสตั มวาร”, ท้ังนี้ ประจํารถ) ค) ในการใหทานบคุ คล พระ เวสสนั ดร คงจะไดร บั หรือใหเ ปน ไปโดย มคี ําทม่ี กั ใชในชดุ เดียวกันอกี ๒ คาํ คือ ความเหน็ ชอบของบคุ คลนนั้ เชน เดยี วกบั ปญ ญาสมวาร (วันที่ ๕๐ หรอื วันที่ ในการใหภ รยิ า ง) ในเวลามสตู ร (อง.ฺ นวก. ครบ ๕๐) และศตมวาร (วนั ที่ ๑๐๐ ๒๓/๒๒๓/๔๐๖) พระพุทธเจาตรัสเลาวา หรือวันทคี่ รบ ๑๐๐); พจนานกุ รมเขยี น พระองคเคยทรงเกิดเปนพราหมณช่ือวา สตั มวาร, อนง่ึ “สัตมวาร” (วารท่ี ๗) เวลามะ และไดใ หมหาทาน มขี องทเ่ี ปน เปนคําท่ีมาจากภาษาบาลีคือ “สตฺตม- ทานย่งิ ใหญม ากมาย ตง้ั แตถ าดทองคํา จาํ นวน ๘๔,๐๐๐ รวมทง้ั ชาง รถ โคนม วาร” ไมพงึ สบั สนกับคาํ วา “ศตมวาร” หญงิ สาว อยา งละ ๘๔,๐๐๐ (ถา เทยี บกนั กย็ ิง่ ใหญกวา มหาทานของพระเวสสันดร (วารท่ี ๑๐๐) ซ่ึงเปนคําจากภาษา ครงั้ น้ี มากมาย) แลวลงทา ยพระองค ตรัสวา ทานของผูใหอาหารแกคนมี สันสกฤต ที่ตรงกบั คาํ บาลีวา “สตมวาร”สัตตสดกมหาทาน ทานใหญอยางละ ๗๐๐ (ตามท่ีอรรถกถาประมวลไว ๗ หมวด คอื ชาง ๗๐๐ มา ๗๐๐ รถ ๗๐๐ สตรี ๗๐๐ วัวนม ๗๐๐ ทาส ๗๐๐ ทาสี ๗๐๐) ซึ่งชาดกเลาวา พระเวสสันดร บริจาคกอนเสด็จออกจากวังไปอยูที่เขา วงกตในแดนหิมพานต, แตตามหลัก พระพทุ ธศาสนา อติ ถที าน คอื การใหส ตรี จดั เขา ในจาํ พวกทานทไี่ มเ ปน ทาน และ

สตั ตสตกิ ขันธกะ ๔๒๑ สัตตาหกรณยี ะสมั มาทฏิ ฐเิ พยี งคนเดยี ว มผี ลมากกวา สัตตังคะ เกาอี้มีพนกั สามดาน, เกาอีม้ ีมหาทานของเวลามพราหมณท่ีกลาวมา แขนนน้ั และตรัสถงึ กศุ ลกรรมที่มผี ลมากยิง่ สัตตัพภันตรสีมา อพัทธสีมาชนิดที่ข้ึนไปๆ ตามลําดบั อรรถกถาอธบิ าย กาํ หนดเขตแหง สามคั คขี น้ึ ในปา อนั หาคนดว ยวา ทานบางอยา งของเวลามพราหมณ ตง้ั บา นเรอื นมไิ ด โดยวดั จากทส่ี ดุ แนวแหงก็ไมนับวาเปนทาน แตใหเพราะจะให สงฆอ อกไปดา นละ ๗ อพั ภนั ดรโดยรอบครบถว น ไมต อ งมีใครมาพูดวา ไมม อี นั สตั ตมั พเจดยี  เจดยี สถานแหง หนงึ่ ทน่ี ครน้นั ไมมอี นั นี้ ทํานองวา ใหค รบสมบรู ณ เวสาลี แควนวชั ชี ณ ที่นพ้ี ระพุทธเจาตามนิยมของโลก ซ่ึงมาเขาขอที่เปน เคยทาํ นิมิตตโ อภาสแกพระอานนทหลกั ทั่วไปวา จ) พระโพธสิ ตั วบาํ เพญ็ สัตตบิ ญั ชร เรอื นระเบยี บหอก, ซก่ี รงทําบารมี ก็คอื กําลงั พัฒนาตนอยู แมจ ะ ดวยหอกบําเพ็ญความดีอยางยวดยิ่งยากที่ใคร สตั ตาวาส ภพเปนทอ่ี ยขู องสัตว มี ๙อนื่ จะทาํ ได แตเ พราะยงั ไมต รสั รู ความดี เหมือนกบั วิญญาณฏั ฐติ ิ ๗ ตา งแตเพ่ิมที่ทําสวนมากก็เปนความดีตามท่ีนิยม ขอ ๕ เขามาเปน ๕. สัตวเ หลาหนงึ่ ไมม ียดึ ถอื เขา ใจกนั ในกาลสมยั นนั้ ๆ คอื ทาํ ดี สัญญา ไมม กี ารเสวยเวทนา เชน พวกท่ีสุดเทาท่ีทําไดในกาลเทศะน้ัน เชน เทพผเู ปน อสัญญีสตั ว, เลอ่ื นขอ ๕, ๖,ออกบวชเปนฤาษี ไดฌ านสมาบัติ ได ๗ ออกไปเปน ขอ ๖, ๗, ๘ แลวเตมิ ขอโลกียอภิญญา แลวไปเกิดในพรหมโลก ๙. สัตวเหลาหนง่ึ ผูเ ขาถึงเนวสญั ญา- (อรรถกถากลา ววาสเุ มธดาบส กอ นออก นาสญั ญายตนะ บวชก็ไดบริจาคสัตตสดกมหาทาน); ดู สัตตาหะ สัปดาห, เจ็ดวัน; มกั ใชเ ปน คํา ทานทเี่ ปน บาป,ทานทไี่ มน บั วา เปน ทาน เรยี กยอ หมายถึง สัตตาหกรณียะสัตตสติกขันธกะ ช่ือขันธกะท่ี ๑๒ แหง สัตตาหกรณียะ ธุระเปนเหตุใหภิกษุจุลวรรคในพระวินัยปฎก วาดวยการ ออกจากวดั ในระหวา งพรรษาได ๗ วนัสังคายนาครัง้ ท่ี ๒ ไดแ ก ๑. ไปเพอื่ พยาบาลสหธรรมกิ หรอืสัตตักขัตตปุ รมะ พระโสดาบัน ซงึ่ จะไป มารดาบิดาผูเจ็บไข ๒. ไปเพ่ือระงับเกิดในภพอีก ๗ ครัง้ เปน อยางมากจงึ สหธรรมิกท่กี ระสันจะสกึ ๓. ไปเพ่อื กิจจะไดบรรลุพระอรหัต (ขอ ๓ ใน สงฆ เชน ไปหาทพั พสัมภาระมาซอ มโสดาบนั ๓) วหิ ารที่ชาํ รุดลงในเวลานั้น ๔. ไปเพอ่ื

สัตตาหกาลิก ๔๒๒ สัตยาธษิ ฐานบาํ รงุ ศรทั ธาของทายกซงึ่ สง มานมิ นตเ พอ่ื ครเู ปนอยา งดี คอื ทรงพรํ่าสอนดวยพระการบาํ เพญ็ กศุ ลของเขา และธรุ ะอนื่ จาก มหากรุณา หวงั ใหผ อู ่นื ไดค วามรูอยาง นที้ เ่ี ปน กจิ ลกั ษณะอนโุ ลมตามนไ้ี ด แทจริง, ทรงสอนมุงความจริงและสัตตาหกาลิก ของที่รับประเคนเก็บไว ประโยชนเปนที่ต้ัง ทรงแนะนาํ เวไนย-ฉันไดช่ัว ๗ วัน ไดแกเ ภสชั ทั้ง ๕ คือ สัตวดวยประโยชน ทงั้ ทฏิ ฐธัมมกิ ัตถะ เนยใส เนยขน น้าํ มนั นาํ้ ผึ้ง นาํ้ ออย; ดู สมั ปรายิกตั ถะ และปรมัตถะ, ทรงรูจ ริง กาลกิ และปฏบิ ตั ิดวยพระองคเ องแลว จงึ ทรงสัตติกําลัง ในคําวา “ตามสัตติกําลัง” สอนผอู น่ื ใหร แู ละปฏบิ ตั ติ าม ทรงทาํ กบัแปลวา ตามความสามารถ และตามกาํ ลงั ตรสั เหมอื นกนั ไมใ ชต รสั สอนอยา งหนง่ึหรือตามกําลังความสามารถ (สัตติ = ทาํ อยา งหนงึ่ , ทรงฉลาดในวธิ สี อน, และความสามารถ) มาจากคาํ บาลวี า ยถา- ทรงเปน ผนู าํ หมดู จุ นายกองเกวยี น (ขอสตฺติ ยถาพล;ํ พูดเพยี้ นกันไปเปน ตาม ๗ ในพทุ ธคณุ ๙)สตกิ าํ ลงั กม็ ี สัตถศุ าสน, สัตถุสาสน คาํ สัง่ สอนของสัตตุ ขาวค่ัวผง, ขนมผง ขนมแหง ทไ่ี ม พระศาสดา หมายถึงพระพุทธพจน; ดูบดู เชน ขนมทเี่ รยี กวาจันอบั และขนม นวงั คสตั ถศุ าสน สัตบุรุษ คนสงบ, คนดี, คนมีศีลธรรม,ปง เปนตนสตั ตผุ ง สตั ตกุ อ น ขา วตู เสบยี งเดนิ ทางท่ี คนท่ีประกอบดวยสปั ปุริสธรรมสองพอคา คือ ตปุสสะ กับภัลลิกะ สัตมวาร วันท่ี ๗, วันทีค่ รบ ๗; เขียนถวายแดพระพทุ ธเจา ขณะท่ีประทับอยู เต็มรปู เปน สตั ตมวาร สตั ย ความจรงิ , ความซอื่ ตรง, ความจรงิ ใจ;ใตต นราชายตนะสัตถะ เกวยี น, ตา ง, หมูเกวียน, หมพู อ ดู สจั จะ สตั ยยคุ ดู กปัคาเกวียนสัตถกรรม การผา ตดั สตั ยาธษิ ฐาน การต้ังความจริงเปนหลักสตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ (พระผมู พี ระภาค อาง, ความต้ังใจกาํ หนดแนว ใหเ กิดผลเจา น้ัน) ทรงเปนศาสดาของเทวดาและ อยา งใดอยา งหนง่ึ โดยอา งเอาความจรงิ ใจมนุษยท ั้งหลาย, ทรงเปนครขู องบุคคล ของตนเปน กาํ ลงั อาํ นาจ, คาํ เดมิ ในคมั ภรี ท้ังช้ันสูงและชั้นตาํ่ , ทรงประกอบดวย นยิ มใช สจั กริ ยิ า, สตั ยาธษิ ฐานน้ี เปน รปูคุณสมบตั ขิ องครู และทรงทาํ หนา ทข่ี อง สนั สกฤต รูปบาลเี ปน สัจจาธฏิ ฐาน; ดู

สัตว ๔๒๓ สัทธาสจั กริ ยิ า, สจั จาธฏิ ฐาน 2. สัทธัมมปชโชตกิ า ชอ่ื อรรถกถาอธิบายสตั ว “ผตู ิดของในรปู ารมณเปนตน” ส่ิงที่ ความในคมั ภรี น ทิ เทส แหง พระสตุ ตนั ต-มีความรูสึกและเคล่ือนไหวไปไดเอง ปฎ ก พระอปุ เสนเถระ (หลกั ฐานบางแหงรวมตลอดทง้ั เทพ มาร พรหม มนษุ ย วา พระอปุ ตสิ สเถระ) แหง มหาวหิ ารในเปรต อสรุ กาย ดริ จั ฉาน และสตั วนรก ลังกาทวปี เปนผูร จนาข้ึนเปนภาษาบาลีในบาลีเพงเอามนุษยกอ นอยางอื่น, ไทย โดยถือตามแนวอรรถกถาเกาภาษามักเพงเอาดริ ัจฉาน สงิ หฬ ทศี่ กึ ษาและรกั ษาสบื ทอดกันมา;สตั วนิกาย หมูสตั ว หลกั ฐานบางแหง เรยี กวา สทั ธมั มฏั ฐติ กิ า;สตั วโลก โลกคือหมูสัตว ดูโปราณฏั ฐกถา, อรรถกถาสัทธรรม ธรรมทีด่ ี, ธรรมท่แี ท, ธรรม สทั ธัมมสั สวนะ ฟงสทั ธรรม, ฟง คําสั่งของคนดี, ธรรมของสตั บรุ ษุ มี สทั ธรรม สอนของสัตบุรุษ, ฟง คาํ ส่งั สอนของทาน๓ คือ ๑. ปริยัตสิ ัทธรรม สัทธรรมคือสงิ่ ท่ีประพฤติชอบดวยกายวาจาใจ, สดับท่พี งึ เลาเรยี น ไดแ ก พุทธพจน ๒. เลาเรียนอานคําสอนเร่ืองราวท่ีแสดงปฏิบัติสัทธรรม สัทธรรมคือส่ิงพึง หลกั ความจริงความดงี าม (ขอ ๒ ในปฏิบัติ ไดแกไตรสิกขา ๓. ปฏิเวธ- วุฑฒิ ๔)สัทธรรม สทั ธรรมคอื ผลที่พงึ บรรลุ ได สัทธา ความเช่ือ, ความเช่อื ถือ; ในทาง แก มรรค ผล และนพิ พาน; สัทธรรม ๗ ธรรม หมายถงึ เชื่อสง่ิ ที่ควรเชอ่ื , ความ คือ ๑. ศรทั ธา ๒. หิริ ๓. โอตตปั ปะ ๔. เชอื่ ท่ปี ระกอบดว ยเหตุผล, ความเชอื่ มั่น พาหสุ จั จะ ๕. วริ ยิ ารัมภะ ๖. สติ ๗. ในส่งิ ท่ดี ีงาม, ความเล่ือมใสซาบซ้ึงชน่ื ใจ ปญ ญา สนิทใจเช่ือมั่นมีใจโนมนอมมุงแลนไปสัทธรรมปฏิรูป สัทธรรมปลอม, ตามไปรับคุณความดีในบุคคลหรือส่ิงสัทธรรมเทียม นัน้ ๆ, ความม่นั ใจในความจริง ความดีสัทธัมมปกาสินี ชื่อคัมภีรอรรถกถา สง่ิ ดีงาม และในการทําความดี ไมล ไู หลอธิบายความในปฏิสัมภิทามรรค แหง ต่ืนตูมไปตามลักษณะอาการภายนอกพระสุตตันตปฎ ก พระมหานามะรจนา (ขอ ๑ ในพละ ๕, ขอ ๑ ในเวสารชั ช-ขนึ้ เปน ภาษาบาลี โดยถอื ตามแนวอรรถ- กรณธรรม ๕, ขอ ๑ ในสัทธรรม ๗, ขอกถาเกาภาษาสิงหฬทร่ี กั ษาสบื ทอดมาใน ๑ ในอริยทรัพย ๗, ขอ ๑ ในอริยวัฑฒิลังกาทวปี ; ดู โปราณฏั ฐกถา, อรรถกถา ๕); เขียนอยา งสนั สกฤตเปน ศรัทธา

สทั ธาจรติ ๔๒๔ สัทธานสุ ารีศรทั ธาทเ่ี ปนหลักแกนกลาง ซึง่ พบ ตถาคตโพธิสทั ธา เชอื่ ปญ ญาตรสั รขู องทวั่ ไปในพระไตรปฎก พระพทุ ธเจาตรสั พระตถาคตแสดงไวเปนขอเดียว (เชน อง.ฺปจฺ ก.๒๒/ อรรถกถาทง้ั หลายจาํ แนกวามี สทั ธา๕๓/๗๔) คือ ตถาคตโพธสิ ทั ธา ความเช่อื ๔ ระดบั (เชน ท.ี อ.๓/๒๒๗; ม.อ.๓/๒๓๗; อง.ฺ อ.ปญ ญาตรัสรูของพระตถาคต (คาํ บาลวี า ๓/๒๙) คือ ๑. อาคมนสัทธา ความเชื่อ“สททฺ หติ ตถาคตสสฺ โพธ”ึ ; บางครงั้ เมอื่ ความมน่ั ใจของพระโพธสิ ตั ว อนั สบื มาทรงแสดงคุณสมบัติของอริยสาวก จึง จากการบําเพญ็ สง่ั สมบารมี (อาคมนีย-ตรสั ถงึ อเวจจปสาทะ คอื ความเลอื่ มใสอนั สัทธา หรอื อาคมสัทธา ก็เรียก) ๒.ไมห วนั่ ไหว ในพระพทุ ธเจา ในพระธรรม อธิคมสัทธา ความเช่ือม่ันของพระและในพระสงฆ เชน อง.ฺนวก.๒๓/๒๓๑/๔๒๐) อรยิ บคุ คล ซงึ่ เกดิ จากการเขา ถงึ ดว ยการ ศรทั ธาทีม่ กั กลา วถงึ ในอรรถกถา ได บรรลธุ รรมเปน ประจกั ษ (อธคิ มนสัทธา ก็เรยี ก) ๓. โอกัปปนสัทธา ความเช่ือแก (อ.ุ อ.๒๓๕; อติ .ิ อ.๗๔; จรยิ า.อ.๓๓๖) สัทธา ๒คอื ๑. ตถาคตโพธสิ ทั ธาเชอ่ื ปญ ญาตรสั รู หนักแนนสนิทแนวเมื่อไดปฏิบัติกาวของพระตถาคต ๒. กัมมผลสทั ธา เชื่อ หนาไปในการเหน็ ความจรงิ (โอกปั ปนยี -กรรมและผลของกรรม, แตห ลายแหง สัทธา ก็เรยี ก, ทานวา ตรงกับอธโิ มกข(เชน อ.ุ อ.๑๑๐; อติ .ิ อ.๓๕๓; เถร.อ.๑/๔๙๐) แสดง หรืออธิโมกขสัทธา) ๔. ปสาทสัทธาสทั ธา ๒ คอื ๑. กัมมผลสทั ธา เช่ือกรรม ความเช่ือที่เปนเพียงความเลื่อมใสจากและผลของกรรม ๒. รตนัตตยสทั ธา การไดยนิ ไดฟ งเช่ือพระรัตนตรัย (กัมมผลสัทธา เปน สทั ธาจริต พน้ื นสิ ยั หนกั ในศรัทธา เช่ือโลกยิ สทั ธา, รตนตั ตยสทั ธา ถา ถูกตอง งา ย พงึ แกดวยปสาทนียกถา คอื ถอ ยจริงแทเห็นประจักษดวยปญญาม่ันคง คําท่ีนําใหเกิดความเล่ือมใสในทางท่ีถูกไมห วน่ั ไหว เปน โลกตุ ตรสทั ธา); อยา งไร ที่ควร และดวยความเช่ือที่มีเหตุผลกต็ าม ทร่ี จู ักกันมาก คอื สทั ธา ๔ ซง่ึ (ขอ ๔ ในจรติ ๖)เปน ชดุ สบื ๆ กนั มา ท่จี ัดรวมขนึ้ ภายหลัง สัทธานุสารี “ผูแลนไปตามศรทั ธา”, “ผูคอื ๑. กมั มสัทธา เชอื่ กรรม เชื่อการ แลน ตามไปดว ยศรทั ธา”, พระอรยิ บคุ คลกระทาํ ๒. วปิ ากสทั ธา เชอื่ ผลของกรรม ผูต้ังอยูในโสดาปตติมรรค ที่มี๓. กมั มสั สกตาสทั ธา เช่อื วา สัตวมีกรรม สทั ธนิ ทรยี แ รงกลา (เม่ือบรรลผุ ล จะเปน ของตัว ทําดไี ดด ี ทาํ ชวั่ ไดช ั่ว ๔. กลายเปน สัทธาวมิ ุต); ดู อรยิ บคุ คล ๗

สัทธาวิมุต ๔๒๕ สันตติสัทธาวมิ ตุ “ผูหลุดพน ดว ยศรัทธา” พระ มาแตกาํ เนิด, อัธยาศยั ท่ีมีติดตอมา อรยิ บคุ คลตั้งแตโสดาบันขึ้นไป จนถงึ ผู สนั โดษ ความยินด,ี ความพอใจ, ยินดีต้ังอยูในอรหตั ตมรรคที่มสี ัทธินทรียแ รง ดว ยปจจัย ๔ คือ ผา นงุ ผาหม อาหารกลา (เมอ่ื บรรลอุ รหตั ตผล จะกลายเปน ที่นอนทน่ี ั่ง และยา ตามมตี ามได, ยินดีปญ ญาวมิ ตุ ); ดู อรยิ บคุ คล ๗ ของของตน, การมีความสขุ ความพอใจสทั ธาสมั ปทา ถงึ พรอ มดวยศรัทธา คือ ดวยเคร่ืองเลี้ยงชีพที่หามาไดดวยความ เชือ่ สง่ิ ท่ีควรเชื่อ เชน เชื่อวา ทําดีไดด ี เพียรพยายามอนั ชอบธรรมของตน ไม โลภ ไมริษยาใคร; สันโดษ ๓ คือ ๑. ทําชว่ั ไดช วั่ เปนตน (ขอ ๑ ในสัมปราย-ิ ยถาลาภสนั โดษ ยนิ ดีตามท่ีได คอื ไดส ง่ิ กัตถสงั วตั ตนิกธรรม ๔) ใดมาดวยความเพียรของตน ก็พอใจสทั ธวิ ิหารกิ , สทั ธงิ วิหาริก ศษิ ย, ผูอยูดว ย เปนคําเรียกผทู ี่ไดร ับอปุ สมบท ถา ดวยสิง่ นน้ั ไมเ ดอื ดรอนเพราะของท่ีไม อปุ สมบทตอ พระอปุ ช ฌายะองคใ ด กเ็ ปน ได ไมเพงเล็งอยากไดของคนอื่นไม สทั ธวิ ิหารกิ ของพระอุปช ฌายะองคน้ัน รษิ ยาเขา ๒. ยถาพลสันโดษ ยนิ ดตี ามสัทธิวิหาริกวัตร ขอควรปฏิบัติตอ กาํ ลัง คอื พอใจเพียงแคพอแกก าํ ลงั รา งสัทธิวิหาริก, หนาท่ีอันอุปชฌายจะพึง กายสุขภาพและขอบเขตการใชสอยของกระทําแกส ทั ธวิ ิหารกิ คอื ๑. เอาธุระใน ตน ของทเ่ี กนิ กาํ ลงั กไ็ มห วงแหนเสียดายการศกึ ษา ๒. สงเคราะหด ว ยบาตร จวี ร ไมเกบ็ ไวใหเ สยี เปลา หรอื ฝนใชใหเ ปนและบรขิ ารอนื่ ๆ ๓. ขวนขวายปอ งกนั โทษแกต น ๓. ยถาสารปุ ปสันโดษ ยนิ ดีหรอื ระงบั ความเสอ่ื มเสยี เชน ระงบั ความ ตามสมควร คือพอใจตามทสี่ มควรแก คดิ จะสกึ เปลอ้ื งความเหน็ ผดิ ฯลฯ ๔. ภาวะ ฐานะ แนวทางชวี ิต และจดุ หมาย พยาบาลเมอื่ อาพาธ; เทยี บ อุปช ฌายวตั ร แหง การบาํ เพญ็ กจิ ของตน เชน ภิกษุสัทธิวิหารินี สัทธิวิหาริกผูหญิง คือ พอใจแตของอันเหมาะกับสมณภาวะสทั ธิวิหาริกในฝายภกิ ษุณี แตต ามปกติ หรือไดของใชที่ไมเหมาะกับตนแตจะมีไมเรียกอยางน้ี เพราะมีคําเฉพาะเรียก ประโยชนแกผ อู ืน่ กน็ ําไปมอบใหแ กเ ขาวา สหชีวนิ ี เปน ตน ; สนั โดษ ๓ นเ้ี ปน ไปในปจ จยั ๔สันดาน ความสืบตอ แหงจติ คือกระแส แตละอยา ง จึงรวมเรียกวา สนั โดษ ๑๒จิตที่เกิดดับตอเน่ืองกันมา; ในภาษา สันตติ การสืบตอ คอื การเกดิ ดบั ตอไทยมักใชในความหมายวาอุปนิสัยที่มี เน่ืองกันไปโดยอาการที่เปนปจจัยสงผล

สันตาปทกุ ข ๔๒๖ สนทฺ ิฏิโกแกกัน ในทางรูปธรรม ทีพ่ อมองเหน็ อยางสงบอยา งหยาบ เชน ขนเกา หลุดรว งไปขน สนั ตรี ณะ ดู วถิ จี ติใหมเกิดขึ้นแทน ความสืบตอแหง สันตุฏฐิกถา ถอยคําที่ชักนําใหมีความรูปธรรม จดั เปน อปุ าทายรปู อยางหนึ่ง; สนั โดษ (ขอ ๒ ในกถาวัตถุ ๑๐)ในทางนามธรรม จิตก็มสี ันตติ คอื เกิด สนั ถัต ผาปพู ืน้ ทหี่ ลอดวยขนเจียมคอื ขนดบั เปน ปจ จัยสืบเนื่องตอกนั ไป แกะ ใชรองน่งั หรือปูนอน, แมวา ในสันตาปทุกข ทกุ ขค ือความรอนรุม , ทุกข สกิ ขาบทท่ี ๕ แหงโกสิยวรรค (ขอ ๑๕ ในรอน ไดแกความกระวนกระวายใจ นิสสัคคิยปาจิตตีย) จะใชคาํ วา “นิสีทน-เพราะถูกไฟกิเลสคอื ราคะ โทสะ และ สนั ถตั ” (สนั ถตั ทนี่ งั่ ) กม็ คี าํ อธบิ ายวา ทรงโมหะแผดเผา ใชค าํ นนั้ เพอื่ แกไ ขการทภ่ี กิ ษจุ าํ นวนมากสันติ ความสงบ, ความระงบั ดบั หายหมด หลงเขาใจเอาสันถัตเปนจีวรผืนหน่ึงไปแหงความพลุงพลานเรารอนกระวน (ภิกษุมากรูปจะสมาทานธุดงค เขาใจวากระวาย, ภาวะเรียบรื่นไรความสับสน สันถัตเปนจีวรขนสัตว เกรงวาตนจะมีวุนวาย, ความระงับดับไปแหงกิเลสที่ จวี รเกิน ๓ ผนื จงึ ไดท ้ิงผาสนั ถัตน้ันเสยี เปนเหตุใหเกิดความเรารอนวาวุนขุน – วินย.๒/๙๓/๗๙; กงขฺ าวติ รณอี ภนิ วฏกี า, ๓๓๘) มัว, เปน ไวพจนหนงึ่ ของ นิพพาน สนั ทดั ถนดั , จดั เจน, ชาํ นาญ; ปานกลางสันตเิ กนิทาน “เร่อื งใกลชิด” หมายถงึ สนั ทสั สนา การใหเ หน็ ชดั แจง หรอื ช้ใี หเร่ืองราวหรือความเปนมาเก่ียวกับพระ ชัด คือ ชแี้ จงใหเ ขาใจชดั เจน มองเห็นพุทธเจาตั้งแตตรัสรูแลวจนเสด็จ เรื่องราวและเหตุผลตางๆ แจมแจงปรนิ พิ พาน; ดู พทุ ธประวตั ิ เหมือนจูงมือไปดูเห็นประจักษกับตา;สันติเกรูป ดู รปู ๒๘ เปนลักษณะอยางแรกของการสอนที่ดีสันติภาพ ภาวะแหงสนั ต;ิ ตามท่ใี ชใ น ตามแนวพุทธจริยา (ขอตอไปคือปจจุบัน หมายถึงความสงบภายนอก สมาทปนา)คือ ภาวะที่สงั คมหรอื บา นเมืองสงบ ไม สนทฺ ฏิ  ิโก (พระธรรมอนั ผไู ดบ รรล)ุ เหน็มีความปนปวนวุนวาย, ภาวะท่ีระงับ เองรเู อง ประจกั ษแ จง กบั ตน ไมตอ งขน้ึหรือไมมีความขัดแยง, ภาวะปราศจาก ตอ ผูอ น่ื ไมตอ งเช่อื ตอ ถอยคําของใคร สงครามหรือความมุง รา ยเปน ศัตรูกัน (ขอ ๒ ในธรรมคณุ ๖); เมื่อมาดวยกันสันติวิหารธรรม ธรรมเปนเครื่องอยู กับ สมปฺ รายิโก (ใชเ ปนคําไทย มรี ปู

สนั นิธิ ๔๒๗ สปั ปุรสิ ธรรมเปน สัมปรายิกะ) ซ่ึงแปลวา เลยไปเบอ้ื ง สัปปฏิฆรูป ดูที่ อนิทัสสนอัปปฏิฆรูป,หนา หรอื เลยตาเหน็ (เชน ม.ม.ู ๑๒/๑๙๘/๑๖๙) รปู ๒๘สนทฺ ฏิ  ิโกน้ี (สนั ทฏิ ฐ กิ ะ) แปลวา เปน สัปปาณกวรรค ตอนท่ีวา ดว ยเร่ืองสัตว ปจจุบัน เห็นทันตา หรอื เห็นกับตา มีชวี ิตเปน ตน, เปนวรรคที่ ๗ แหงสนั นธิ ิ การสงั่ สม, ของทีส่ ง่ั สมไว หมาย ปาจิตติยกัณฑในมหาวิภังคแหงพระถึงของเค้ียวของฉันท่ีรับประเคนแลว วนิ ยั ปฎกเก็บไวคางคืนเพื่อจะฉันในวันรุงขึ้น สัปปายะ สบาย, สภาพเอ้อื , สภาวะที่เกอื้ภกิ ษฉุ นั ของนนั้ เปน ปาจติ ตยี ท กุ คาํ กลนื หนุน, สิ่ง สถาน หรอื บคุ คล ซง่ึ เปนท่ี(สกิ ขาบทท่ี ๘ แหง โภชนวรรค ปาจติ ตยิ - สบาย เหมาะกัน เกื้อกูล หรือเอื้อ กัณฑ) อํานวย โดยเฉพาะที่ชวยเก้ือหนุนการสนั นบิ าต การประชมุ , ท่ปี ระชมุสนนฺ ิปาติกา อาพาธา ความเจบ็ ไขเกดิ บําเพ็ญและประคับประคองรักษาสมาธิ ทานแสดงไว ๗ ขอ คอื อาวาส (ท่ีอย)ู จากสันนิบาต (คือประชุมกันแหง โคจร (ที่บิณฑบาตหรือแหลงอาหาร) ภัสสะ (เร่ืองพูดคุยที่เสริมการปฏิบัติ) สมุฏฐานทั้งสาม), ไขสันนิบาต คือ บคุ คล (ผูทเ่ี ก่ียวของดวยแลว ชว ยใหจติ ผองใสสงบมนั่ คง) โภชนะ (อาหาร) อุตุ ความเจ็บไขท ีเ่ กดิ ขน้ึ แตด ี เสมหะ และ (อณุ หภูมแิ ละสภาพแวดลอม) อิริยาบถ; ลม ทั้งสามเจือกัน; ดู อาพาธสันนิวาส ที่อย,ู ทพี่ ัก; การอยูด วยกัน,การอยรู วมกนั ท้ัง ๗ ขอ น้ี ทเี่ หมาะกันเปน สัปปายะสันนิษฐาน ความตกลงใจ, ลงความเห็น (เชน เปน อาวาสสัปปายะ) ท่ไี มสบายในท่สี ดุ ; ไทยใชในความหมายวา ลง เปนอสปั ปายะความเหน็ เปนการคาดคะเนไวก อน สัปป เนยใส; ดู เบญจโครสสันยาสี ผูสละโลกแลวตามธรรมเนียม สปั ปโสณฑกิ า ช่ือเงื้อมเขาแหง หน่ึงอยูท่ีของศาสนาฮนิ ดู; ดู อาศรม สตี วัน ใกลก รงุ ราชคฤห ณ ที่นี้พระสันสกฤต ชื่อภาษาโบราณของอินเดีย พุทธเจาเคยทํานิมิตตโอภาสแกพระภาษาหน่ึง ใชในศาสนาพราหมณหรือ อานนทฮนิ ดู และพทุ ธศาสนาฝา ยมหายาน สัปปรุ ิสธรรม ธรรมของสตั บรุ ษุ , ธรรมสปั ดาห ๗ วนั , ระยะ ๗ วัน ของคนด,ี ธรรมทท่ี าํ ใหเ ปน สตั บรุ ษุ มี ๗สัปบรุ ุษ ดู สปั ปุรุษ ขอ คอื ๑. ธมั มญั ตุ า รหู ลกั หรอื รจู กั เหตุ

สปั ปรุ สิ บญั ญัติ ๔๒๘ สพั พตั ถกกมั มฏั ฐาน๒. อัตถัญตุ า รูค วามมุงหมายหรอื รู สปั ปุรุษ เปน คาํ เลือนปะปนระหวา ง สัป-จักเหตผุ ล ๓. อัตตญั ตุ า รูจ ักตน ๔. ปุริส ท่เี ขียนอยา งบาลี กับ สตั บุรษุ ท่ีมตั ตญั ตุ า รจู กั ประมาณ ๕. กาลญั ตุ า เขียนอยางสนั สกฤต มคี วามหมายอยา งรจู กั กาล ๖. ปรสิ ญั ตุ า รจู กั ชุมชน ๗. เดียวกัน (ดู สัตบุรษุ ) แตในภาษาไทยปุคคลญั ตุ า รจู กั บคุ คล; อกี หมวดหน่งึ เปนคําอยูขางโบราณ ใชกันในความมี ๘ ขอ คอื ๑. ประกอบดวย สัทธรรม หมายวา คฤหัสถผูมีศรัทธาในพระ๗ ประการ ๒. ภกั ดสี ตั บรุ ุษ (คบหาผูม ี ศาสนา เฉพาะอยางยิ่งผูที่ไปรวมกิจสัทธรรม ๗) ๓. คิดอยางสัตบุรษุ ๔. กรรมทางบุญทางกุศล รักษาศีลฟงปรกึ ษาอยางสัตบุรษุ ๕. พดู อยา งสัต- ธรรมเปนประจําที่วัดใดวัดหนึ่ง บางทีบรุ ษุ ๖. ทาํ อยา งสตั บุรุษ (๓, ๔, ๕, ๖ เรยี กตามความผกู พนั กบั วดั วา สปั ปรุ ษุคือ คิด ปรกึ ษา พูด ทํา มใิ ชเพ่อื เบียด วดั นัน้ สัปปุรษุ วัดนี้เบียนตนและผูอ่ืน) ๗. มีความเห็น สัพพกามี ชอ่ื พระเถระองคห น่ึงในการกอยางสตั บุรษุ (คอื เห็นชอบวา ทาํ ดีมีผล สงฆ ผูท ําสงั คายนาคร้งั ที่ ๒ เปนผมู ีดี ทาํ ช่วั มีผลชวั่ เปนตน) ๘. ใหท าน พรรษาสงู สุด และทําหนา ทวี่ สิ ัชนาอยางสัตบุรุษ (คือใหโดยเคารพ เออ้ื สพั พโลเกอนภิรตสัญญา กําหนดหมาย เฟอแกของและผูรบั ทาน เปน ตน) ถึงความไมนาเพลิดเพลินในโลกทั้งปวงสปั ปุรสิ บัญญัติ ขอ ทท่ี านสตั บรุ ษุ ต้ังไว, (ขอ ๘ ในสัญญา ๑๐) บัญญตั ขิ องคนดี มี ๓ คือ ๑. ทาน ปน สัพพสังขาเรสุอนิฏฐสัญญา กําหนด สละของตนเพื่อประโยชนแกผูอ่ืน ๒. หมายถึงความไมนาปรารถนาในสังขาร ปพพัชชา ถือบวช เวนจากการเบียด ทงั้ ปวง (ขอ ๙ ในสัญญา ๑๐) เบยี นกัน ๓. มาตาปตุอุปฏฐาน บาํ รงุ สัพพญั ุตญาณ ญาณคอื ความเปนพระมารดาบิดาของตนใหเ ปน สุข สัพพัญู, พระปรีชาญาณหย่ังรูสิ่งทั้งสปั ปรุ สิ ปู ส สยะ คบสตั บรุ ษุ , คบคนด,ี ปวง ทั้งที่เปน อดตี ปจ จบุ นั และอนาคตไดค นดเี ปน ทพี่ ง่ึ อาศยั (ขอ ๒ ในจกั ร ๔) สัพพัญู ผูรูธรรมท้ังปวง, ผูรูท่ัวทั้งสปั ปรุ สิ ปู สงั เสวะ คบสตั บรุ ษุ , คบคนด,ี หมด, พระนามของพระพุทธเจาคบทานท่ีประพฤติชอบดวยกายวาจาใจ, สัพพตั ถกกัมมัฏฐาน กรรมฐานทค่ี วรเสวนาทานผรู ูผ ูทรงคุณ (ขอ ๑ ในวุฑฒิ ใชประโยชนในทุกกรณี; ดู กัมมฏั ฐาน๔) ๒; เทยี บ ปารหิ ารยิ กัมมัฏฐาน

สพั พตั ถคามินีปฏิปทาญาณ ๔๒๙ สัมปตตวริ ตั ิสพั พตั ถคามนิ ีปฏิปทาญาณ ปรชี าหย่ัง เกดิ รวมกัน หรอื พว งมาดวยกนัรูทางที่จะนําไปสูสุคติท้งั ปวง คอื ทงั้ สัมปโยค การประกอบกันสคุ ติ ทคุ ติ และทางแหงนิพพาน (ขอ ๓ สัมประหาร การสรู บกนั , การตอ สกู นั สมั ปรายภพ ภพหนาในทศพลญาณ)สมั ปชัญญะ ความรตู วั ท่วั พรอ ม, ความ สัมปรายิกัตถะ ประโยชนภายหนา,รตู ระหนกั , ความรชู ดั เขาใจชดั ซ่งึ สง่ิ ที่ ประโยชนขัน้ สงู ขน้ึ ไป อนั ไดแ กความมีนกึ ได; มกั มาคูกับสติ (ขอ ๒ ในธรรมมี จิตใจเจริญงอกงามดวยคุณธรรมความอปุ การะมาก ๒); สมั ปชัญญะ ๔ ไดแ ก ดี ทําใหชวี ิตนมี้ ีคา และเปนหลักประกัน๑.สาตถกสัมปชัญญะ รูชัดวามี ชวี ติ ในภพหนา ซงึ่ จะสาํ เรจ็ ไดด ว ยธรรมประโยชน หรือตระหนกั วาตรงตามจดุ ๔ ประการ คือ ๑. สทั ธาสัมปทา ถึงหมาย ๒.สปั ปายสมั ปชญั ญะ รูชัดวา พรอมดวยศรัทธา ๒. สลี สัมปทา ถงึ พรอ มดว ยศลี ๓. จาคสมั ปทา ถงึ พรอ มเปนสัปปายะ หรือตระหนักวาเก้ือกูล ดว ยการบรจิ าค ๔. ปญ ญาสมั ปทา ถงึเหมาะกัน ๓.โคจรสมั ปชญั ญะ รชู ัดวาเปนโคจร หรือตระหนกั ในแดนงานของ พรอ มดว ยปญ ญา ธรรม ๔ อยา งนเี้ รยี กตน ๔.อสมั โมหสมั ปชญั ญะ รูชัดวา ไม เตม็ วา สมั ปรายกิ ตั ถสงั วตั ตนกิ ธรรมหลง หรอื ตระหนักในตวั สภาวะ ไมหลง สมั ปหงั สนา การทาํ ใหร า เรงิ หรอื ปลกุ ใหใหล ไมส ับสนฟนเฟอ น รา เรงิ คอื ทาํ บรรยากาศใหส นกุ สดชน่ืสัมปชานมุสาวาท รูตัวอยูกลาวเท็จ, แจม ใส เบกิ บานใจ ใหผ ฟู ง แชม ชน่ื มคี วามการพดู เทจ็ ทงั้ ทรี่ ู คอื รคู วามจรงิ แตจ งใจ หวงั มองเหน็ ผลดแี ละทางสาํ เรจ็ ; เปน พูดใหค ลาดจากความจรงิ เพือ่ ใหผูฟง ลักษณะอยางหนึ่งของการสอนที่ดีตาม เขา ใจเปน อยา งอน่ื จากความจรงิ (สกิ ขา- แนวพทุ ธจรยิ า (ขอ กอ นคอื สมตุ เตชนา) บทท่ี ๑ แหงมสุ าวาทวรรค ปาจติ ติย- สมั ปต ตโคจรคั คาหิกรูป ดทู ี่ รปู ๒๘ กัณฑ) สัมปตตวิรัติ ความเวนจากวัตถุอันถึงสมั ปฏิจฉนะ, สัมปฏิจฉนั นะ ดู วถิ จี ติ เขา, การเวน เม่อื ประสบซ่งึ หนา คอื ไมไดสัมปยตุ ประกอบดว ย; สัมปยุตต ก็ สมาทานศีล หรือต้ังใจละเวนมากอน เขยี น แตเมื่อประสบเหตุอันจะทําใหความชั่วสัมปยุตตธรรม ธรรมท่ีประกอบอยู หรือละเมิดศีลเขาเฉพาะหนา ก็ละเวนดว ย, ธรรมทีป่ ระกอบกนั , สภาวธรรมที่ ไดในขณะน้นั เอง ไมล วงละเมดิ ศีล (ขอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook