Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:56:40

Description: dictionary_of_buddhism_vocabulary_version พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Search

Read the Text Version

โกมารภจั ๓๐ โกสมั พกิ ขันธกะหนงึ่ ในอดีต; ดู พระพุทธเจา ๕ โกศล๑, โกสัลละ ความฉลาด, ความโกมารภจั ดู ชีวก เชีย่ วชาญ มี ๓ คือ ๑. อายโกศล ความโกรัพยะ พระเจา แผนดนิ แควน กุรุ ฉลาดในความเจริญ, รอบรูทางเจริญโกละ ผลกะเบา และเหตขุ องความเจรญิ ๒. อปายโกศลโกลังโกละ “ผูไปจากตระกูลสูตระกูล” ความฉลาดในทางเสอื่ ม, รอบรทู างเสอ่ื มหมายถึงพระโสดาบนั ซงึ่ จะตอ งไปเกดิ และเหตขุ องความเส่ือม ๓. อปุ ายโกศล อกี ๒–๓ ภพ แลว จงึ บรรลุพระอรหัต ความฉลาดในอบุ าย, รอบรวู ธิ ีแกไ ขเหตุโกลติ ะ ชอื่ เดมิ ของพระมหาโมคคลั ลานะ การณแ ละวิธีท่ีจะทําใหส าํ เร็จ ท้ังในการ เรียกตามชอ่ื หมูบานท่เี กิด (โกลติ คาม) ปองกันความเส่ือมและในการสรางเพราะเปนบุตรของตระกูลหัวหนาในหมู ความเจริญบานน้ัน สมัยเม่ือเขาไปบวชเปน โกศล๒ ช่ือแควนหนึ่งในบรรดา ๑๖ปริพาชกในสาํ นักของสญชัย ก็ยังใชช อื่ แควน แหงชมพูทวีป โกศลเปนแควนใหญวา โกลติ ะ ตอมาภายหลังคอื เมื่อบวช มีอํานาจมากในสมัยพุทธกาล กษัตริยผูในพระพุทธศาสนา จึงเรียกกนั วา โมค- ครองแควนมีพระนามวา พระเจา ปเสนทิ-คลั ลานะ หรือ พระมหาโมคคลั ลานะ โกศล มีนครหลวงชือ่ สาวัตถี บัดน้เี รียกโกลติ ปรพิ าชก พระโมคคลั ลานะเมอ่ื เขา Sahet-Mahet (ลาสุด ร้ือฟนชื่อในภาษาไปบวชเปนปริพาชกในสํานักของสญชัย สันสกฤตขนึ้ มาใชวา ÏrŒvasti คอื ศราวัมชี อ่ื เรียกวา โกลติ ปริพาชก สตี)โกลยิ ชนบท แควน โกลิยะ หรือดนิ แดน โกสละ ดู โกศลของกษตั รยิ โกลยิ วงศ เปนแควนหน่งึ ใน โกสชั ชะ ความเกยี จครา นชมพูทวปี ครงั้ พทุ ธกาล มนี ครหลวงชอื่ โกสัมพกิ ขันธกะ ชื่อขนั ธกะท่ี ๑๐ (สุดเทวทหะ และ รามคาม บัดน้อี ยใู นเขต ทาย) แหง คัมภีรม หาวรรค วนิ ยั ปฎกวาประเทศเนปาล ดวยเรื่องของภิกษุชาวเมืองโกสัมพีโกลิยวงศ ชื่อวงศกษัตริยขางฝายพระ ทะเลาะววิ าทกนั จนเปน เหตใุ หพ ระพทุ ธ-พทุ ธมารดา ที่ครองกรุงเทวทหะ; พระ เจา เสดจ็ ไปจาํ พรรษาในปา รกั ขติ วนั ตาํ บลนางสริ ิมหามายา พุทธมารดา และพระ ปาริไลยกะ ในทสี่ ุด พระภิกษเุ หลานั้นนางพิมพา ชายาของเจาชายสิทธัตถะ ถูกมหาชนบีบคั้นใหตองกลับปรองดองเปนเจาหญงิ ฝา ยโกลยิ วงศ กัน บังเกดิ สังฆสามัคคีอกี คร้ังหน่ึง

โกสัมพี ๓๑ ขัณฑโกสัมพี ช่ือนครหลวงของแควนวังสะ โกสยิ วรรค ตอนทวี่ า ดว ยเรอ่ื งขนเจยี มเจอือยูต อนใตของแมน ้ํายมนุ า บดั นี้เรียกวา ดว ยไหม เปน วรรคที่ ๒ แหง นสิ สคั คยิ -Kosam กัณฑในพระวินยั ปฎกโกสัลละ ดู โกศล๑ โกเสยยะ, โกไสย ผาทําดว ยใยไหม ไดโกสิยเทวราช พระอินทร, จอมเทพใน แก ผา ไหม ผา แพรสวรรคช น้ั ดาวดงึ ส เรยี ก ทา วโกสยี  บา ง โกฬิวิสะ ดู โสณะ โกฬวิ ิสะทา วสักกเทวราช บา ง ขขจร ฟงุ ไป, ไปในอากาศ บันดาลใหเปนไปอยางนั้นอยางนี้ หรือขณิกสมาธิ สมาธชิ ัว่ ขณะ, สมาธขิ ้ันตน ใหส ําเร็จผลท่ีประสงค; ดู เคร่ืองรางพอสําหรับใชในการเลาเรียนทําการงาน ขลุปจ ฉาภัตตกิ ังคะ องคแหงผถู อื หามใหไดผ ลดี ใหจ ติ ใจสงบสบายไดพกั ชั่ว ภัตท่ีเขานํามาถวายภายหลงั คอื เม่อื ลงคราว และใชเริ่มปฏบิ ตั ิวปิ สสนาได (ขั้น มือฉันแลวมีผูนําอาหารมาถวายอีกก็ไมตอไป คอื อุปจารสมาธ)ิ รบั (ขอ ๗ ในธดุ งค ๑๓)ขณิกาปต ิ ความอ่มิ ใจชว่ั ขณะ เม่ือเกิด ของขลัง ดู เคร่ืองรางข้ึนทําใหรูสึกเสียวแปลบๆ เปนขณะๆ ของตองพิกัด ของเขากําหนดที่จะตองเหมือนฟา แลบ (ขอ ๒ ในปต ิ ๕) เสียภาษีขนบ แบบอยางท่ีภิกษุควรประพฤติใน ขอน ในคาํ วา “ขณั ฑข อน” คือ คี่ เชน ๗กาลนนั้ ๆ ในทนี่ ้ันๆ แกบ ุคคลนน้ั ๆ ขัณฑ ๙ ขณั ฑ ๑๑ ขัณฑขนบธรรมเนียม แบบอยา งท่นี ิยมกัน ขอนสิ ยั ดู นสิ ัยขนาบ กระหนาบ ขอโอกาส ดู โอกาสขมา ความอดโทษ, การยกโทษให ขัชชภาชกะ ภิกษุผูไดรับสมมติ คือขรรค อาวุธมคี ม ๒ ขาง ท่ีกลางทง้ั หนา แตงต้ังจากสงฆ ใหมีหนาท่ีแจกของ เคย้ี ว, เปน ตําแหนง หนึ่งในบรรดา เจาและหลังเปน สนั ดามส้ันขราพาธ อาพาธหนกั , ปวยหนกั อธิการแหง อาหารขลัง ศักด์ิสิทธ์ิ, มีกําลังอํานาจท่ีอาจ ขัณฑ สว น ทอน หรอื ชิน้ ทีถ่ ูกตดั ทบุ

ขณั ฑสมี า ๓๒ ขนั ธมารฉีก ขาด หัก แตก หรือแยกกนั ออกไป, งาม ๒, ขอ ๖ ในบารมี ๑๐)ของทีถ่ ูกตัด ฉกี ขาดเปนสว นๆ เปน ขนั ติสังวร สาํ รวมดวยขันติ (ขอ ๔ ในชน้ิ ๆ เปน ทอนๆ; คาํ วา “จวี รมขี ัณฑ ๕” สงั วร ๕)หรือ “จีวรหาขัณฑ” หมายถึงจีวรท่ี ขันธ กอง, พวก, หมวด, หมู ลําตัว;ประกอบข้นึ จากแผนผา ท่ตี ัดแลว ๕ ชนิ้ ; หมวดหนง่ึ ๆ ของรปู ธรรมและนามธรรมดู จีวร ท้งั หมดทแี่ บงออกเปน ๕ กอง คือ รูป-ขัณฑสีมา สมี าเลก็ ผกู เฉพาะโรงอุโบสถ ขันธ กองรูป เวทนาขันธ กองเวทนา สญั ญาขันธ กองสัญญา สงั ขารขนั ธท่ีอยใู นมหาสมี า มสี ีมันตรกิ คั่นขดั บลั ลงั ก ดู บัลลงั ก กองสงั ขาร วญิ ญาณขนั ธ กองวญิ ญาณขัดสมาธิ [ขัด-สะ-หมาด] ทา นัง่ เอาขาขดั เรยี กรวมวา เบญจขนั ธ (ขันธ ๕)กนั อยางคนนง่ั เจริญสมาธิ คอื นง่ั คเู ขา ขันธกะ หมวด, พวก, ตอน หมายถึงทงั้ สองขา งแบะลงบนพน้ื เอาขาทอ นลา ง เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั พระวนิ ยั และสกิ ขาบทซอนทับกนั ; ขัดสมาธมิ ี ๓ แบบ คือ นง่ั นอกปาฏิโมกข ท่ีจัดประมวลเขาเปนขัดสมาธิโดยเอาขาสอดไขวกันทับลงบน หมวดๆ เรียกวา ขันธกะ, ขันธกะเทาขา งทต่ี รงขาม (อยา งท่นี ิยมนงั่ กันท่วั หนึง่ ๆ วาดว ยเรื่องหน่ึงๆ เชน อุโบสถ-ไป) เรยี กวา ขดั สมาธสิ องชน้ั , น่งั ขดั ขันธกะ หมวดท่ีวาดวยการทําอุโบสถสมาธิโดยวางขาขวาทับราบบนขาซาย จวี รขันธกะ หมวดที่วา ดวยจวี ร เปน ตนเรียกวา ขดั สมาธริ าบ, น่ังขัดสมาธโิ ดย รวมทงั้ สนิ้ มี ๒๒ ขนั ธกะ (พระวนิ ยัหงายฝาเทาทั้งสองขึ้นวางบนขาขางที่ ปฎกเลม ๔, ๕, ๖, ๗); ดู ไตรปฎ กตรงขา ม เรียกวา ขดั สมาธเิ พชร (ทานั่ง ขันธปริตร ดู ปรติ รของพระพทุ ธรปู เปน แบบที่ ๒ และ ๓) ขนั ธปญ จก หมวดหา แหงขนั ธ อันไดแกขัตติยธรรม หลักธรรมสําหรับกษัตริย, รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ (นิยมเรียก ขันธบัญจก); ดู ขันธธรรมของพระจาแผนดนิขัตติยมหาสาล กษัตรยิ ผูม่ังค่งั ขนั ธมาร ขนั ธ ๕ คอื รปู เวทนา สญั ญาขันติ ความอดทน คอื ทนลําบาก ทน สงั ขาร วญิ ญาณ เปน มาร เพราะเปนตรากตราํ ทนเจบ็ ใจ, ความหนกั เอาเบา สภาพอนั ปจ จยั ปรงุ แตง ขน้ึ เปน ทต่ี ง้ั แหงสู เพ่ือบรรลจุ ุดหมายท่ีดีงาม (ขอ ๓ ใน ทกุ ข ถกู ปจ จยั ตา งๆ มอี าพาธเปน ตนฆราวาสธรรม ๔, ขอ ๑ ในธรรมท่ที าํ ให บีบค้ันเบียดเบียนเปนเหตุขัดขวางหรือ

ขาดสูญ ๓๓ ขชุ ชุตรารอนโอกาส มใิ หส ามารถทาํ ความดงี ามได เรียกวา ข้ึนวัตร คอื การสมาทานวตั รเตม็ ที่ หรอื อาจตดั โอกาสนน้ั โดยสน้ิ เชงิ นัน่ เอง ถาขน้ึ ปริวาสพึงกลา วคําในสาํ นัก(ขอ ๒ ในมาร ๕) ภกิ ษรุ ปู หนงึ่ วา “ปรวิ าสํ สมาทยิ าม”ิ แปลขาดสญู ดู สูญ วา “ขา พเจา ขน้ึ ปรวิ าส” “วตตฺ ํ สมาทยิ าม”ิขาทนยี ะ ของควรเคยี้ ว, ของขบของเคย้ี ว แปลวา “ขาพเจา ขึ้นวตั ร” ถาขึ้นมานตัไดแกผลไมต า งๆ และเหงา ตา งๆ เชน พงึ กลา ววา “มานตตฺ ํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา ขนึ้ มานตั ” หรอื “วตตฺ ํสมาทยิ าม”ิเผือกมัน เปน ตนขา วสกุ ในโภชนะ ๕ อยางคือ ขา วสกุ ๑ แปลวา “ขาพเจาขนึ้ วัตร”ขนมสด ๑ ขนมแหง ๑ ปลา ๑ เนอื้ ๑ ขุชชโสภิตะ ชื่อพระเถระองคหน่ึงในขาวสุกในที่น้ีหมายถึงธัญญชาติทุกชนิด การกสงฆผทู าํ สงั คายนาครัง้ ท่ี ๒ทีห่ ุงใหส ุกแลว เชนขาวเจา ขาวเหนยี ว ขุชชุตรา อริยสาวิกาสําคัญทานหนึ่งในหรอื ท่ีตกแตง เปน ของตางชนดิ เชน ขา ว ฝายอุบาสิกา บางทีเรียกวาเปนอัคร-มัน ขาวผดั เปนตน อุบาสกิ า เนื่องจากพระพทุ ธเจาทรงยกขิปปาภิญญา รูฉับพลนั ยองวา เปน ตราชูของอบุ าสกิ าบริษทั (คูขีณาสพ ผูมีอาสวะสิ้นแลว, ผูหมด กับเวฬุกัณฏกีนันทมารดา) ทานเปน กิเลส, พระอรหันต เอตทัคคะในบรรดาอุบาสิกาที่เปนขรี ะ นมสด; ดู เบญจโครส พหสู ตู เปนผมู ีปญ ญามาก ไดบรรลุเสข-ข้ึนใจ เจนใจ, จาํ ไดแมน ยาํ ปฏสิ ัมภิทา (ปฏิสมั ภิทาของพระเสขะ),ข้นึ ปาก เจนปาก, คลอ งปาก, วาปาก ตามประวัติท่ีอรรถกถาเลาไว อริย-เปลา ไดอ ยางวอ งไว สาวกิ าทา นน้ี เปน ธดิ าของแมนมในบานขึ้นวัตร โวหารเรียกวินัยกรรมเก่ียวกบั ของโฆสติ เศรษฐี (อรรถกถาเรียกเพ้ยี นวุฏฐานวิธีอยางหน่ึง คือเม่ือภิกษุตอง เปนโฆสกเศรษฐี ก็มี) ในเมืองโกสัมพีครุกาบัติชั้นสงั ฆาทเิ สสแลว อยูปริวาสยัง ไดชอ่ื วา “ขุชชุตรา” เพราะเกดิ มามีหลงัไมครบเวลาท่ีปกปดอาบัติไวหรือ คอม (เขียนเต็มตามรูปคาํ บาลเี ดมิ เปนประพฤติมานัตอยูยงั ไมครบ ๖ ราตรี “ขุชฺชุตตฺ รา” ขชุ ฺชา แปลวา คอม ช่อื ของพักปริวาสหรือมานัตเสียเน่ืองจากมีเหตุ นางแปลเต็มวา อุตราผคู อม) ตอมา เมอ่ือนั สมควร เมือ่ จะสมาทานวัตรใหมเ พ่ือ นางสามาวดี ธิดาบุญธรรมของโฆสิต-ประพฤติปริวาสหรือมานัตท่ีเหลือน้ัน เศรษฐีไดรับอภิเษกเปนมเหสีของพระ

ขชุ ชตุ รา ๓๔ ขุชชตุ ราเจาอเุ ทนแหง กรงุ โกสมั พี นางขุชชตุ ราก็ ธรรมที่พระพุทธเจาตรัสมาถายทอดไดไปเปน ผูดูแลรับใช (เปน อปุ ฏฐายกิ า, เหมอื นอยา งท่ีพระองคทรงแสดง ทาํ ใหแ ต อ ร ร ถ ก ถ า บ า ง แ ห ง ใ ช คําว า เ ป น พระนางสามาวดีและสตรีที่เปนราช-บริจาริกา) ขชุ ชตุ ราไมคอยจะซอื่ ตรงนกั บริพารเขาใจแจมแจงบรรลุโสดาปตติ-ดังเรอื่ งวา เวลาไปซอ้ื ดอกไม นางเอา ผลทงั้ หมด จากนนั้ พระนางสามาวดีไดเงนิ ไป ๘ กหาปณะ แตเ กบ็ เอาไวเสยี ยกขุชชุตราขึ้นพนจากความเปนผูรับใชเอง ๔ กหาปณะ ซื้อจริงเพียง ๔ เ ชิ ด ชู ใ ห มี ฐ า น ะ ดั ง ม า ร ด า แ ล ะ เ ป นกหาปณะ อยูมาวันหน่ึง เจาของราน อาจารยท่ีเคารพ โดยใหมีหนาท่ีไปฟงดอกไมนิมนตพระพุทธเจาและพระสงฆ พระพุทธเจา แสดงธรรมทกุ วัน แลวนําไปฉัน เมื่อขุชชุตราไปท่ีรานจะซื้อ มาเลามาสอนตอ ท่วี ัง เวลาผานไป ตอ มาดอกไม เจาของรานจึงขอใหรอกอน พระนางสามาวดี ถกู พระนางมาคณั ฑิยาและเชิญใหรวมจัดแจงภัตตาหารถวาย ประทุษรายวางแผนเผาตําหนักส้ินพระดวย ขุชชุตราไดรับประทานอาหารเอง ชนมในกองเพลิงพรอมทั้งบริพาร แตและทั้งไดเขาครัวชวยจัดภัตตาหาร แลว พอดีวา ขณะนนั้ ขุชชุตราไปกิจทอ่ี ื่น จงึก็เลยไดฟงธรรมท่ีพระพุทธเจาตรัส พนอันตรายตลอดท้ังหมดจนถงึ อนุโมทนา และไดสําเร็จเปน โสดาบนั เม่อื เปนอริยบุคคล พระอรรถกถาจารยก ลา ววา (อติ .ิ อ.๓๔)แลว วันน้ันก็จึงซ้ือดอกไมครบ ๘ พระสูตรทั้งหมดในคัมภีรอิติวุตตกะกหาปณะ ไดด อกไมไปเต็มกระเชา พระ แหง ขทุ ทกนกิ ายในพระไตรปฎ ก จาํ นวนนางสามาวดีแปลกพระทยั ก็ตรัสถามวา ๑๑๒ สตู ร ไดม าจากอรยิ สาวกิ าขุชชตุ ราทาํ ไมเงนิ เทา เดมิ แตว นั นัน้ ไดดอกไมม า ทานนี้ กลาวคอื นางขชุ ชุตราไปฟง จากมากเปน พเิ ศษ ขุชชุตราเปนอรยิ ชนแลว พระพุทธเจาและนํามาถายทอดที่วังแกก็เลาเปดเผยเร่ืองไปตามตรง พระนาง พระนางสามาวดีพรอมท้ังบริพาร แลวสามาวดีกลับพอพระทยั และพรอมดวย ภิกษุณีท้ังหลายก็รับไปจากอริยสาวิกาสตรที เ่ี ปน ราชบรพิ ารทง้ั หมด พากนั ขอ ขุชชุตรา และตอทอดถึงภิกษุท้ังหลายใหข ชุ ชตุ ราถา ยทอดธรรม ขชุ ชตุ ราแมจ ะ (พระพทุ ธเจา ทรงจาํ พรรษาทเี่ มอื งโกสมั พีเปน คนคอ นขา งพกิ าร แตม ปี ญ ญาดมี าก ในปท ี่ ๙ แหง พทุ ธกจิ และเมอื งโกสมั พี(สาํ เร็จปฏสิ ัมภิทาของเสขบุคคล) ไดนาํ อยหู า งจากเมอื งราชคฤห วดั ตรงเปน เสน บรรทดั ๔๐๕ กม. ไมพ บหลกั ฐานวา นาง

ขทุ ทกาปติ ๓๕ โขมะขุชชุตรามชี วี ิตอยถู งึ พทุ ธปรนิ พิ พานหรอื ปฏสิ มั ภทิ า และไดรบั พระพทุ ธดาํ รสั ยกไม) ทงั้ นไ้ี ดร กั ษาไวต ามทน่ี างขชุ ชตุ รานาํ ยองวาเปนเอตทัคคะในดานเปนพหูสูต;มากลา วแสดง ดงั ทค่ี าํ เรมิ่ ตน พระสูตรชดุ ดู ตลุ า, เอตทัคคะ๑๑๒ สตู รน้ี ก็เปน คาํ ของนางขุชชตุ ราวา ขุททกาปติ ปติเลก็ นอ ย, ความอ่ิมใจ“วตุ ตฺ ํ เหตํ ภควตา วตุ ตฺ มรหตาติ เม สตุ ”ํ อยางนอย เมื่อเกิดขึ้นใหขนชันน้ําตา(แทจ รงิ พระผมู พี ระภาคเจา ไดต รสั พระ ไหล (ขอ ๑ ในปต ิ ๕)สูตรน้ีไว ขาพเจาไดสดับมาดังที่พระ เขต 1. แดนทก่ี ันไวเปน กาํ หนด เชน นาองคอ รหนั ตต รสั แลว วา …) ซง่ึ พระอานนท ไร ที่ดิน แควน เปนตน 2. ขอ ที่ภกิ ษุก็นาํ มากลาวในที่ประชุมสังคายนา ณ ระบถุ งึ เพอื่ การลาสกิ ขา เชน พระพุทธเมอื งราชคฤห ตามคาํ เดมิ ของนาง (คาํ พระธรรม พระสงฆ เปนตนเร่ิมตนของนางมีเพียงเทานี้ ไมบอก เขนง เขาสัตว, ภาชนะที่ทําดวยเขาสถานทตี่ รสั เพราะเปนพระสูตรซึง่ ทรง เขมา พระเถรีมหาสาวิการูปหนึ่ง ประสตู ิแสดงทเี่ มืองโกสมั พที งั้ หมด และไมบ อก ในราชตระกูลแหงสาคลนครในมัททรัฐวาตรัสแกใคร แตในทุกสูตรมีคําตรัส ตอมาไดเปนพระอัครมเหสีของพระเจาเรยี กผฟู ง วา “ภกิ ขฺ เว” บง ชดั วา ตรสั แก พิมพิสาร มีความมัวเมาในรูปสมบัติภกิ ษทุ งั้ หลาย คอื คงตรสั ในทปี่ ระชมุ ซง่ึ มี ของตน ไดฟงพระพุทธเจาแสดงพระภกิ ษสุ งฆเ ปน สว นใหญ) อันตา งจากพระ ธรรมเทศนาเร่ืองราคะ และการกําจัดสตู รอน่ื ๆ ทค่ี าํ เรม่ิ ตน เปน ของพระอานนท ราคะ พอจบพระธรรมเทศนาก็ไดบ รรลุเอง ซงึ่ ขนึ้ นาํ วา “เอวมเฺ ม สตุ ํ เอกํ สมยํ พระอรหตั แลวบวชเปนภิกษณุ ี ไดรบัภควา [บอกสถานที่ เชน ราชคเห วหิ รติ ยกยองวาเปนเอตทัคคะในทางมีปญญา… และระบบุ ุคคลท่เี กยี่ วขอ ง เชน เตน มาก และเปน อัครสาวิกาฝา ยขวา; ดู ตลุ า,โข ปน สมเยน ราชา มาคโธ…] …” เอตทคั คะ(ขาพเจาไดสดับมาอยางน้ีวา สมัยหน่ึง เขฬะ นา้ํ ลายพระผูมีพระภาคเจาประทับอยูท่ี…โดย เขาท่ี นง่ั เจริญกรรมฐาน เขา รตี เปลย่ี นไปถอื ศาสนาอนื่ (โดยเฉพาะสมัยน้ันแล [บคุ คลนั้นๆ]…) เร่ืองท่ีกลาวมาน้ี นับวาเปนเกียรติ ศาสนาครสิ ต) , ทาํ พธิ เี ขา ถอื ศาสนาอน่ืคณุ ของอรยิ สาวิกา ซึ่งไดท ําประโยชนไว โขมะ ผา ทาํ ดวยเปลอื กไม ใชเ ปลอื กไมแกพระพุทธศาสนา สมเปนผูทรง ทบุ เอาแตเ สน แลว นาํ เสน นน้ั มาทอเปน ผา

โขมทุสสนิคม ๓๖ คณโภชนโขมทุสสนคิ ม นิคมหนง่ึ ในแควนสกั กะ คคงคา แมน้าํ ใหญส ายสาํ คัญลําดับที่ ๑ โดยเฉพาะในสังฆกรรม มีกําหนดวา ในมหานที ๕ ของชมพทู วปี และเปน แม สงฆ คอื ชมุ นุมภิกษุต้ังแต ๔ รูปข้ึนไป นํ้าศักด์ิสิทธิ์อันดับท่ี ๑ ในศาสนา คณะ คือชมุ นมุ ภกิ ษุ ๒ หรอื ๓ รปู พราหมณ ซ่ึงศาสนกิ ปรารถนาอยางย่ิงที่ บุคคล คอื ภกิ ษุรปู เดียว; เมอ่ื ใชอยา งทวั่จะไดไปอาบนํ้าลางบาป อีกทั้งในพิธี ไป แมแ ตใ นพระวนิ ยั “คณะ” มใิ ชหมายราชาภิเษกกษัตริยในชมพูทวีป และ ความจําเพาะอยางนี้ เชนในคณโภชนกษตั รยิ แ หงลังกาทวีป ก็ใชน ้าํ ศักดิ์สิทธ์ิ คาํ วา ฉนั เปน คณะ หมายถึง ๔ รูปขึ้นไปในแมนํ้าคงคาน้ีดวย, แมนํ้าคงคามี คณญัตติกรรม การประกาศใหสงฆความยาวประมาณ ๒,๕๑๐ กม. ตามที่ ทราบแทนคณะคือพวกฝายตน ไดแกบันทึกไวในอรรถกถาวา มีตนกําเนิด การท่ีภิกษุรูปหน่ึงในนามแหงภิกษุฝายจากสระอโนดาต ในแดนหมิ พานต ไหล หนึ่ง สวดประกาศขออนมุ ตั เิ ปนผูแ สดงไปสูมหาสมทุ ร จากทศิ ตะวนั ตกไปทิศ แทนซึ่งอาบัติของฝายตนและของตนตะวันออก ผานเมืองสําคัญมากแหง เองดวยติณวตั ถารกวิธี (อกี ฝา ยหนึ่งก็เชน สังกสั สะ ปยาคะ (เขียนอยา ง พงึ ทาํ เหมือนกันอยางนั้น); เปนข้นั ตอนสนั สกฤตเปน ประยาค ปจ จบุ นั คอื เมอื ง หน่ึงแหงการระงับอธิกรณดวยติณ-Allahabad เปนที่บรรจบของแมน้ํา วตั ถารกวินยัคงคา กบั ยมนุ า) พาราณสี อกุ กาเวลา คณปูรกะ ภิกษุผูเปนที่ครบจํานวนใน(อุกกเจลา ก็วา) ปาตลีบุตร (เมือง คณะนัน้ ๆ เชน สงั ฆกรรมทตี่ อ งมีภิกษุหลวงของมคธ ยุคหลงั ราชคฤห) จัมปา ๔ รปู หรือยิ่งขน้ึ ไป เปน ผูทาํ ยังขาดอยู(เมืองหลวงของแควนอังคะ) และในท่ี เพียงจํานวนใดจํานวนหน่ึง มีภิกษุอื่นสุดออกทะเลท่ีอาวเบงกอล (Bay of มาสมทบ ทําใหครบองคสงฆในสังฆ- Bengal), ปจจบุ ัน คนทั่วไปรูจกั ในชือ่ กรรมนัน้ ๆ ภิกษุทีม่ าสมทบน้นั เรียกวา ภาษาอังกฤษวา Ganges; ดู มหานที ๕ คณปูรกะคณะ กลุม คน, หม,ู พวก; ในพระวนิ ัย คณโภชน ฉันเปนหมู คือ ภกิ ษุตง้ั แต ๔

คณะธรรมยุต ๓๗ คติรูปขึ้นไป รับนิมนตออกช่ือโภชนะแลว (ทาํ นองจะใหต รงกบั คาํ วา Faculty)ฉัน; ในหนังสือวินัยมุข ทรงมีขอ คณิกา หญิงแพศยา, หญิงงามเมอื งพิจารณาวา บางทีจะหมายถึงการน่ัง คดธี รรม ทางธรรม, คตแิ หงธรรม คดีโลก ทางโลก, คติแหงโลกลอ มโภชนะฉนั หรือฉนั เขา วงคณะธรรมยุต คณะสงฆท่ีตั้งข้ึนใหม คติ 1. การไป, ทางไป, ความเปน ไป, ทางเม่ือครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา ดําเนนิ , วธิ ,ี แนวทาง, แบบอยา ง 2. ท่ีเจาอยูหัวทรงผนวชเปนภิกษุในรัชกาลที่ ไปเกิดของสัตว, ภพท่สี ัตวไ ปเกิด, แบบ๓ (เรยี กวา ธรรมยุตติกา หรือ ธรรม- การดาํ เนินชวี ติ มี ๕ คือ ๑. นิรยะ นรกยุติกนิกาย กม็ )ี ; สมเดจ็ พระมหาสมณ- ๒. ติรจั ฉานโยนิ กาํ เนิดดิรจั ฉาน ๓. เปตตวิ สิ ยั แดนเปรต ๔. มนษุ ย สตั วม ีเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ทรงให ใจสงู รคู ดิ เหตผุ ล ๕. เทพ ชาวสวรรค ตง้ัความหมายวา “พระสงฆออกจาก มหานิกายนัน้ เอง แตไดร ับอปุ สมบทใน แตช นั้ จาตมุ หาราชกิ า ถงึ อกนษิ ฐพรหม; รามญั นกิ ายดว ย” (การคณะสงฆ น. ๑๐)คณะมหานกิ าย คณะสงฆไทยเดมิ ทีส่ ืบ ใชค าํ เรยี กเปน ชดุ วา : นริ ยคติ ติรัจฉาน- มาแตส มยั สุโขทยั , เปนช่ือท่ีใชเรยี กใน คติ เปตคติ มนษุ ยคติ เทวคต,ิ ๓ คติ แรกเปน ทุคติ (ทไ่ี ปเกิดอันชว่ั หรือแบบ เม่ือไดเกิดมีคณะธรรมยุตข้ึนแลว; ดําเนินชวี ติ ท่ีไมด)ี ๒ คตหิ ลงั เปน สคุ ติสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยา (ท่ีไปเกิดอันดี หรือแบบดาํ เนนิ ชวี ติ ทดี่ ี)วชิรญาณวโรรส ทรงใหความหมายวา สําหรับทคุ ติ ๓ มีขอสงั เกตวา บางที“พระสงฆอ นั มเี ปน พน้ื เมอื ง [ของประเทศ เรียกวา อบาย หรอื อบายภมู ิ แตอบาย-ไทย – ผเู ขยี น] กอ นเกดิ ธรรมยตุ กิ นกิ าย” ภมู นิ น้ั มี ๔ คือ นรก เปรต อสุรกาย(การคณะสงฆ, น. ๙๐) ดิรจั ฉาน, อรรถกถากลาววา (อุ.อ.๑๔๕;คณาจารย 1. อาจารยของหมูคณะ, อิติ.อ.๑๔๕) การที่มจี าํ นวนไมเทากนั ก็อาจารยสาํ คัญมชี อื่ เสียง ผูเปน ทีน่ บั ถือ เพราะรวมอสุรกาย เขาในเปตติวิสัยมศี ษิ ยเปนคณะใหญ เชน นคิ รนถนาฏ- ดว ย จึงเปน ทุคติ ๓; ดู อบายบตุ รเปน คณาจารยผ ูหนงึ่ 2. ในภาษา คติ ๕ นี้ เม่อื จดั เขาใน ภพ ๓ พึงไทย ไดมีการบัญญัติใชในความหมาย ทราบวา ๔ คตแิ รกเปนกามภพท้งั หมดใหมวา คณะอาจารย ประดาอาจารย สว นคตทิ ่ี ๕ คอื เทพ มีท้ังกามภพ รูป-หรืออาจารยทั้งหมดของคณะวิชาน้ันๆ ภพ และอรปู ภพ (เทพน้ัน แบง ออกไป

คมิยภตั ๓๘ ครุธรรมเปน ก.เทวดาในสวรรค ๖ ช้นั อยใู น มหาสาวกองคหน่งึ ในอสีติมหาสาวกกามภพ ข.รูปพรหม ๑๖ ช้นั อยูในรูป คยาสีสะ ชอ่ื ตําบล ซ่ึงเปน เนนิ เขาแหงภพ และ ค.อรปู พรหม ๔ ช้ัน อยูใน หน่งึ ในจังหวดั คยา พระพุทธเจาเทศนาอรปู ภพ); เทยี บ ภพ อาทิตตปริยายสูตร โปรดภิกษุสงฆเมื่อจดั เขาใน ภมู ิ ๔ พึงทราบวา ๔ ปุราณชฎิลท้ังหมดใหสําเร็จพระอรหัตท่ีคตแิ รกเปน กามาวจรภมู ทิ งั้ หมด สว นคติ ตําบลนี้ท่ี ๕ คอื เทพ มที ง้ั กามาวจรภมู ิ รปู าวจร- ครรภ ทอง, ลกู ในทอ ง, หอ งภมู ิ และอรปู าวจรภมู ิ (ทํานองเดยี วกบั ครรโภทร ทอ ง, ทองมลี กูท่กี ลา วแลวใน ภพ ๓) แตม ีขอ พิเศษวา ครองผา นงุ หม ผาภมู สิ ูงสดุ คือภูมทิ ี่ ๔ อันไดแ ก โลกุตตร- คราวใหญ คราวท่ีภิกษุอยูมากดวยกันภูมิน้ัน แมวาพวกเทพจะอาจเขาถึงได บิณฑบาตไมพอฉนั (ฉันเปน หมูไ ด ไมแตมนุษยคติเปนวิสัยท่ีมีโอกาสลุถึงได ตองอาบตั ิปาจิตตยี )ดที ่สี ุด; เทียบ ภมู ิ ครุ เสยี งหนกั ไดแ กท ฆี สระ คอื อา, อ,ี อ,ูคมิยภตั ภตั เพอื่ ผไู ป, อาหารท่ีเขาถวาย เอ, โอ และสระท่ีมีพยัญชนะสะกดซ่งึเฉพาะภิกษุผูจะเดินทางไปอยูที่อ่ืน; เรียกวา สงั โยค เชน พทุ โฺ ธ โลเก อปุ -ฺคมกิ ภัต กว็ า ปนฺโน; คกู บั ลหุคยา จังหวัดท่ีพระพุทธเจาเคยเสด็จเม่ือ ครกุ กรรม ดู ครุกรรมครงั้ โปรดนักบวชชฎลิ และไดท รงแสดง ครุกรรม กรรมหนักทั้งท่ีเปนกุศลและพระธรรมเทศนาอาทิตตปริยายสูตรท่ี อกุศล ในฝายกุศลไดแกฌานสมาบัติตําบลคยาสีสะในจังหวัดนี้ ปจจุบันตัว ในฝายอกุศล ไดแก อนันตรยิ กรรมเมืองคยาอยูหางจากพุทธคยา สถานท่ี กรรมนี้ใหผลกอนกรรมอ่ืนเหมือนคน ตรัสรขู องพระพทุ ธเจาประมาณ ๗ ไมล อยบู นทส่ี งู เอาวตั ถตุ า งๆ ทงิ้ ลงมาอยา งคยากสั สป นักบวชชฎิลแหงกัสสปโคตร ไหนหนักทีส่ ุด อยางนน้ั ถงึ พ้ืนกอ น ต้ังอาศรมอยูท่ีตําบลคยาสีสะเปนนอง ครกุ าบตั ิ อาบตั หิ นกั ไดแ ก อาบตั ปิ าราชกิชายคนเล็กของอรุ ุเวลกสั สปะ ออกบวช เปนอาบตั ิทีแ่ กไขไมได ภกิ ษุตองแลวจําตามพช่ี าย พรอ มดวยชฎลิ ๒๐๐ ทีเ่ ปน ตองสึกเสยี และ อาบตั สิ งั ฆาทิเสส อยูบริวาร ไดฟง พระธรรมเทศนาอาทติ ต- กรรมจงึ จะพนได คูก ับ ลหกุ าบตั ิปริยายสูตร บรรลุพระอรหัตและเปน ครุธรรม ธรรมอันหนัก, หลักความ

ครภุ ณั ฑ ๓๙ คหบดีประพฤติสําหรับนางภิกษุณีจะพึงถือ ควรทาํ ความไมป ระมาท ในท่ี ๔ สถาน;เปนเรื่องสําคัญอันตองปฏิบัติดวยความ ดู อัปปมาทเคารพไมล ะเมดิ ตลอดชวี ติ มี ๘ ประการ ความปรารถนา ของบุคคลในโลกท่ีไดคอื ๑. ภกิ ษณุ ีแมบ วชรอ ยพรรษาแลว ก็ สมหมายดว ยยาก ๔ อยา ง; ดู ทลุ ลภธรรมตองกราบไหวภ กิ ษุแมบ วชวนั เดียว ๒. ควัมปติ ชื่อกุลบุตรผูเปนสหายของพระภกิ ษุณีจะอยใู นวดั ทไ่ี มม ีภิกษุไมได ๓. ยสะ เปนบตุ รเศรษฐีเมอื งพาราณสี ไดภิกษุณีตองไปถามวันอุโบสถและเขาไป ทราบขาววายสกุลบุตรออกบวชจึงบวชฟงโอวาทจากภิกษุทุกกึ่งเดือน ๔. ตามพรอมดวยสหายอีกสามคน คือภิกษุณีอยูจําพรรษาแลวตองปวารณาใน วมิ ล สพุ าหุ ปุณณชิ ตอ มาไดสําเร็จพระสงฆส องฝา ยโดยสถานทัง้ ๓ คือ โดย อรหตั ทั้งหมดไดเ ห็น โดยไดย นิ โดยรังเกยี จ (รงั เกยี จ ความค้ํา ในประโยควา “เราจักไมทําหมายถึง ระแวงสงสัยหรือเห็นพฤติ- ความค้ํา ไปในละแวกบา น” เดนิ เอามือกรรมอะไรที่นาเคลือบแคลง) ๕. คา้ํ บ้นั เอว นง่ั เทาแขนภิกษุณีตองอาบัติหนัก ตองประพฤติ ความไมประมาท ดู อัปปมาทมานตั ในสงฆส องฝาย (คอื ท้งั ภกิ ษุสงฆ ควํ่าบาตร การท่ีสงฆลงโทษอุบาสกผูและภกิ ษณุ สี งฆ) ๑๕ วัน ๖. ภิกษณุ ี ปรารถนารา ยตอ พระรตั นตรยั โดยประกาศตองแสวงหาอุปสัมปทาในสงฆสองฝาย ใหภิกษุทั้งหลายไมคบดวย คือไมรับเพ่อื นางสิกขมานา ๗. ภกิ ษณุ ไี มพ ึงดา บณิ ฑบาต ไมร บั นมิ นต ไมร บั ไทยธรรม,ไมพึงบริภาษภิกษุไมวาจะโดยปริยาย บคุ คลตน บญั ญตั ิ คอื วฑั ฒลจิ ฉวี ซง่ึ ถกูใดๆ ๘. ไมใหภิกษณุ ีวากลา วภิกษแุ ต สงฆค วา่ํ บาตร เพราะโจทพระทพั พมลั ล-ภิกษุวา กลาวภิกษุณีได บตุ ร ดว ยสลี วบิ ตั อิ นั ไมม มี ลู , คาํ เดมิ ตามครภุ ัณฑ ของหนกั เชน กฎุ ี ทดี่ นิ เตยี ง บาลวี า “ปต ตนกิ กชุ ชนา”; ดทู ี่ ปกาสนีย-ต่ัง เปน ตน; คูกบั ลหุภัณฑ กรรม, อสมั มขุ ากรณยี ; คูก บั หงายบาตรครทู ้ัง ๖ ดู ติตถกร คหบดี “ผูเปนใหญในเรือน”, “เจาบา น”,คฤหบดี ดู คหบดี มักหมายถงึ ผูม ีอนั จะกิน, ผูม ่ังค่งั , แตคฤหบดจี วี ร ผา จวี รทีช่ าวบา นถวายพระ บางแหง ในพระวินัย เชน ในสกิ ขาบทที่คฤหัสถ ผคู รองเรอื น, ชาวบา น ๑๐ แหงจีวรวรรค นิสสัคคยิ ปาจิตตียคลองธรรม ทางธรรม (วินย.๒/๗๑/๕๙) ทานวา คหบดี (คําบาลี

คหปติกา ๔๐ คันธกุฎี ในทนี่ ้เี ปน “คหปตกิ ะ”) ไดแ ก คนอ่นื ที่ ตอนที่วาดวยประวัติของพระอรหันต- เถระ (เถราปทาน) คอื เมอ่ื กลา วถึงพระ นอกจากราชา อํามาตย และพราหมณ พุทธเจาในอดีต บางทีเรียกที่ประทับ ของพระพุทธเจาในอดีตน้ันวา คันธกุฎี (คือเจาบาน หรือชาวบานทว่ั ไป) (พบ ๔ พระองค คือ พระคันธกุฎีของคหปติกา “เรือนของคฤหบดี” คือเรอื น พระปทมุ ุตตรพุทธเจา ๑ แหง ๒ คร้งั , อันชาวบา นสรา งถวายเปน กปั ปย กฎุ ;ี ดู ข.ุ อป.๓๒/๑๘/ ๘๕; ของพระติสสพทุ ธเจา ๑ กัปปย ภูมิ แหง ๑ คร้งั , ๓๒/๑๗๒/๒๗๒; ของพระผสุ สคหปติมหาสาล คฤหบดีผมู ง่ั คัง่ หมาย พทุ ธเจา ๑ แหง ๑ ครงั้ , ๓๓/๑๓๑/๒๒๐; ถงึ คฤหบดผี รู ํ่ารวย มีสมบตั ิมาก ของพระกัสสปพทุ ธเจา ๑ แหง ๒ ครงั้ ,คัคคภิกษุ ช่ือภิกษุรูปหน่ึงในครั้ง ๓๓/๑๔๐/๒๕๐) และตอนที่วาดวยประวตั ิ พทุ ธกาล เคยเปนบา และไดตองอาบัติ ของพระอรหันตเถรี (เถรีอปทาน) พบ แหงหน่ึง เรียกที่ประทับของพระพุทธ หลายอยา งในระหวา งเวลานนั้ ภายหลงั เจาพระองคป จจุบนั วา คนั ธเคหะ (ขุ.อป. ๓๓/๑๕๘/๓๐๖) ซึ่งก็ตรงกับคําวาคันธกุฎี หายเปน บา แลว ไดม ผี โู จทวา เธอตอ ง น่ันเอง แตคัมภีรอื่นท่ัวไปในพระไตร- ปฎก ไมมีที่ใดเรียกท่ีประทับของพระ อาบตั นิ นั้ ๆ ในคราวทเ่ี ปน บา ไมร จู บ พระ พุทธเจาในอดตี กต็ าม พระองคป จจบุ นั ก็ตาม วา “คันธกุฎี” (ในพระไตรปฎก พทุ ธองคจ งึ ไดท รงมพี ทุ ธานญุ าตใหร ะงบั แปลภาษาไทยบางฉบับ ตอนวาดวย อธกิ รณด ว ย อมฬู หวนิ ยั เปน ครง้ั แรก คาถาของพระเถระ คอื เถรคาถา มีคาํ วาคณโฺ ฑ โรคฝ “คันธกฎุ ี” ๒-๓ ครัง้ พึงทราบวาเปนคนั ถะ 1. กเิ ลสท่รี อยรัดมัดใจสตั วใ หต ดิ เพยี งคาํ แปลตามอรรถกถา ไมใชคําบาลี อยู 2. ตาํ รา, คัมภรี  เดิมในพระไตรปฎ กบาล)ีคันถธุระ ธุระฝายคัมภีร, ธรุ ะคอื การ เรียนพระคมั ภีร, การศกึ ษาปริยัตธิ รรม, ในพระไตรปฎกโดยทั่วไป แมแ ตใ น พระสูตรท้ังหลาย (ไมตองพูดถึงพระ เปนคาํ ที่ใชในชั้นอรรถกถาลงมา (ไมมี อภิธรรมปฎก ซ่ึงตามปกติไมกลาวถึง ในพระไตรปฎก); เทียบ วปิ ส สนาธุระ, ดู บุคคลและสถานท่ี) ทานกลาวถึงที่ คามวาสี, อรญั วาสีคนั ถรจนาจารย อาจารยผ แู ตง คัมภีรคันธกุฎี พระกุฎีที่ประทับของพระพุทธ เจา, เปน คําเรยี กทใ่ี ชทวั่ ไปในคมั ภีรช น้ั อรรถกถาลงมา แตใ นพระไตรปฎ ก พบ ใชเฉพาะในคมั ภีรอปทาน เพียง ๖ ครั้ง

คนั ธกฎุ ี ๔๑ คนั ธกุฎีประทับของพระพุทธเจาเพียงแคอางอิง จรรโลงศรัทธาโดยอิงเรื่องวัตถอุ ลังการสน้ั ๆ วา พระองคท รงแสดงธรรมครงั้ และยา้ํ การบําเพ็ญทาน นอกจากใชค ําวานั้นเมือ่ ประทบั อยู ณ ท่ใี ด เชน วา เม่อื คันธกุฎีเปนสามัญแลว (พบคําน้ีในประทับที่พระเชตวนั อารามของอนาถ- คมั ภีรตางๆ ประมาณ ๕๖๐ คร้งั ) ยังไดบิณฑิก เมืองสาวัตถี, ที่พระเวฬุวัน บรรยายเรื่องราวเกี่ยวกับพระคนั ธกฎุ ไี วสถานที่พระราชทานเหยื่อแกกระแต มากมาย เชน เลา เรอ่ื งวา ผมู ที รพั ยค นเมืองราชคฤห, ท่ีภูเขาคิชฌกูฏ เมือง หนึ่งไดสรางพระคันธกุฎีถวายแดพระราชคฤห, ทีโ่ ฆสิตาราม เมอื งโกสัมพ,ี ที่ วิปส สพี ทุ ธเจา เปน อาคารทงี่ ามสงา อยา งกูฏาคารศาลา ปามหาวนั เมอื งเวสาล,ี ยง่ิ เสา อฐิ ฝา บานหนา ตา ง เปน ตนทีน่ โิ ครธาราม เมืองกบลิ พสั ดุ แควน แพรวพราวดวยรัตนะทั้ง ๗ มีสระศากยะ ดังน้ีเปนตน นอยนักจะระบุ โบกขรณี ๓ สระ ฯลฯ แลว มาเกดิ ในอาคารทป่ี ระทบั (ดงั เชน “กเรรกิ ุฎี” ได พทุ ธกาลนี้ เปน เศรษฐชี อ่ื วา โชตกิ ะ อกีถกู ระบุชอ่ื ไวครงั้ หนึง่ ในคราวประทับที่ เรื่องหน่ึงวา คนรักษาพระคันธกุฎีของพระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิก พระสิทธัตถะอดีตพุทธเจา ทําการอบเมืองสาวัตถี, ที.ม.๑๐/๑/๑) แมว าในบาง พระคนั ธกฎุ ใี หห อมตามกาลเวลาทเ่ี หมาะพระสูตรจะเลาเหตุการณท่ีดําเนินไป แลว ไมเ กดิ ในทคุ ตเิ ลย กอ นจะมาจบกจิระหวางการแสดงธรรมที่เปนเรื่องยาว พระศาสนาในพุทธกาลนี้ และอีกเร่ืองซ่ึงมีการเสด็จเขาไปทรงพักในท่ีประทับ หนง่ึ วา บรุ ษุ หนง่ึ เกดิ ในสมยั พระกสั สปทานก็เลาเพียงส้ันๆ วา “เสด็จเขาสูพระ พุทธเจา ไดฟงธรรมของพระองคแลววหิ าร” “เสดจ็ ออกจากพระวหิ าร” “เสดจ็ เลอ่ื มใส นาํ เอาของหอมทง้ั สชี่ าตมิ าไลท าประทบั ณ อาสนะท่ีจัดไวในรมเงาพระ พระคนั ธกฎุ เี ดอื นละ ๘ วนั จากนนั้ เกดิ ที่วิหาร” เปนตน และคําวา “วิหาร” นแี่ หละ ใด กม็ กี ลน่ิ กายหอม จนกระทงั่ มาสาํ เรจ็ที่อรรถกถาไขความวาเปน “คันธกุฎี” อรหตั ตผลในพทุ ธกาลนี้ ตอ มากม็ คี มั ภรี (เชน วา “วหิ ารนตฺ ิ คนธฺ กุฏ”ึ , องฺ.อ.๓/๖๔; ช้ันฎีกาแสดงความหมายของ “คนั ธกฎุ ”ี“เอกวหิ าเรติ เอกคนธฺ กฏุ ยิ ํ”, อ.ุ อ.๓๓๓) วาเปน “กฎุ ีซ่งึ อบดว ยของหอม ๔ ชาต”ิ (ที.อภ.ิ ฏ.ี ๑/๒๕๒; ของหอม ๔ ชาติ ไดแ ก คมั ภรี รุน หลังในพระไตรปฎก ท่มี ใิ ช จนั ทนแดง ดอกไมแ ควนโยนก กฤษณาพุทธพจน ดังเชน เถราปทาน และคมั ภรี  และกํายาน หรอื บางตําราวา ดอกไมช้นั อรรถกถาลงมา มีลักษณะที่เนนการ

คนั ธกุฎี ๔๒ คนั ธกุฎีแควน โยนก กฤษณา กาํ ยาน และพมิ เสน; กฎุ ี โกสมั พกฎุ ี คนั ธกฎุ ี และสลฬาคารดอกไมแ ควน โยนก คอื “ยวนะ” มัก ใน ๔ หลังน้ี พระเจา ปเสนทิโกศลทรงแปลกนั วา กานพลู) สรา งสลฬาคาร สว นอีก ๓ หลงั นอกน้ัน อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐเี ปน ผสู รา ง; กเรรกิ ฎุ ี คันธกุฎี ที่ประทับของพระพุทธเจา ไดช ่ืออยางนนั้ เพราะมีกเรรมิ ณฑป คอืพระองคปจจุบนั ที่กลาวถงึ ในอรรถกถาและคมั ภรี รนุ ตอ มาท้ังหลาย โดยทัว่ ไป มณฑปทส่ี รา งดวยไมก มุ นํ้า ตง้ั อยดู า นหมายถึงพระคันธกุฎีท่ีอนาถปณฑิก-เศรษฐสี รางถวาย ทีว่ ดั พระเชตวัน ใน หนา ประตู และไมไกลจากกเรริมณฑปนครสาวตั ถี ซึ่งเปนวัดทพี่ ระพทุ ธเจาประทับบาํ เพ็ญพุทธกิจยาวนานท่ีสดุ ถงึ นั้น มีศาลานั่งพกั หรอื หอน่ัง เรียกวา๑๙ พรรษา เปน ท่ีตรสั พระสตู ร และบัญญตั พิ ระวินยั สว นใหญ เฉพาะอยา ง “กเรริมัณฑลมาฬ” กเรริมณฑปตั้งอยูย่ิง สิกขาบทที่เปนสวนเฉพาะของพระ ระหวางศาลานงั่ น้ี กับพระคนั ธกุฎ,ี มีภิกษุณีแทบทั้งหมดทรงบัญญัติเมื่อ เร่ืองมาในหลายพระสูตรวา ภิกษุท้ังประทับที่น่ี (ในคัมภรี ป ริวาร ทา นนับสิกขาบทที่บญั ญัตไิ วใ นวนิ ัยท้งั สอง คือ หลายมาน่ังสนทนาธรรมกันที่ศาลานั่งน้ีทั้งของภิกษุสงฆ และของภิกษุณีสงฆรวมทีไ่ มซ า้ํ กนั มี ๓๕๐ สิกขาบท ทรง (และทม่ี ณั ฑลมาฬแหง อน่ื ๆ ซง่ึ กม็ ใี นวดับญั ญตั ิ ณ พระนคร ๗ แหง แยกเปนท่ีสาวตั ถี ๒๙๔ สกิ ขาบท ที่ราชคฤห ท่ีเมอื งอนื่ ๆ ดว ย) ถามีขอยังสงสยั บางที๒๑ สิกขาบท ทเ่ี วสาลี ๑๐ สิกขาบท ท่ีโกสัมพี ๘ สิกขาบท ทีเ่ มอื งอาฬวี ๖ กพ็ ากนั ไปเฝา กราบทลู ถาม หรือบางคร้ังสกิ ขาบท ในสกั กชนบท ๘ สกิ ขาบท ในภคั คชนบท ๓ สกิ ขาบท, วินย.๘/๑๐๑๖-๘/ พระพุทธเจาก็เสด็จมาทรงสนทนากับ๓๖๐-๑; ทเี่ มอื งสาวตั ถีนั้น แทบไมม ที อี่ น่ื ภิกษุเหลาน้ันที่นั่น, สวนโกสัมพกุฎีท่ีนอกจากทพ่ี ระเชตวนั ) ไดช่ืออยางนั้น เพราะมีตนโกสุมพอยู ในวดั พระเชตวันนั้น อรรถกถาเลา วา ทางหนา ประตู (ตน “โกสมุ พ” ในที่นี้มเี รอื นใหญ (มหาเคหะ) ๔ หลงั คอื กเรร-ิ แปลเลยี นศพั ท เพราะแปลกนั ไปตา งๆ วา ตนสะครอ บา ง ตน เลบ็ เหยีย่ วบาง ตน คาํ บา ง ตน มะกอกบาง แมแตคําทเี่ ขยี น ก็เปน โกสมพฺ บา ง โกสมุ ฺพ บา ง โกสมุ ฺภ บา ง ไมเ ปนทยี่ ตุ )ิ , หลงั ท่ี๔คอื สลฬาคาร เปน อาคารทสี่ รา งดว ยไม “สลฬ” ซงึ่ แปล กนั วา ไมส น แตต ามฎกี า, ที.ฏี.๒/๑ อธิบาย วาสรางดวยไมเทพทาโร (“เทวทารุ” - ไม “ฟน เทวดา”)

คนั ธกฎุ ี ๔๓ คันธกฎุ ี พระคันธกฎุ ที ีว่ ดั พระเชตวนั น้ี บางที แตบางครั้งก็กลาวถึงพระคันธกุฎีในวัดเรียกวา พระมหาคันธกุฎี ท่เี รียกเชน นี้ ใหญอยางท่ีพระเชตวันนี้ โดยมีคําเพราะมีความสาํ คัญเปน พเิ ศษ นอกจาก ประกอบเชนวา “อันแมนเทพวิมาน”เปนพระกุฎีท่ีประทับยาวนานท่ีสุดและ อยางไรก็ตาม พระพุทธเจาเสด็จจาริกคงจะใหญหรือเปนหลักเปนฐานมากท่ี ทรงบําเพ็ญพทุ ธกิจไปทว่ั จงึ ประทับในสดุ แลว กเ็ ปน การใหห มายรแู ยกตา งจาก ท่ตี า งๆ ทง้ั บานนอกและในเมอื ง ทง้ั ในเรอื นหลงั อน่ื ในพระเชตวนั ทก่ี ลาวขาง ถิ่นชุมชนและในไพรสณฑปาเขา ตลอดตน ดวย เพราะกเรริกุฎีและสลฬาคาร จนถ่ินกนั ดาร บางแหงประทับยาวนานนั้น บางทีก็เรียกเปนพระคันธกุฎีดวย ถึงจําพรรษา บางแหงประทับช่ัวเสร็จเมอื่ พระพทุ ธเจา เสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน พทุ ธกจิ เฉพาะ ดวยเหตุนี้ เมื่ออรรถกถามีพิธีถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระท่ี เรียกท่ีประทับของพระพุทธเจาวาพระเมืองกุสนิ าราแลว และพระอรหันตเถระ คนั ธกุฎี ในท่สี ุด กก็ ลายเปน วามพี ระทั้งหลายนัดหมายกันวาจะไปประชุม คันธกุฎีมากมาย ท้ังที่เดนชัดและท่ีไมสงั คายนาที่เมอื งราชคฤห โดยตางกเ็ ดิน ชดั เจน เทาทพ่ี บ นอกจากพระคนั ธกุฎีทางไปสทู ห่ี มายเดียวกันน้นั พระอานนท หลักท่ีพระเชตวันแลว คัมภรี ช้นั อรรถ-พุทธอุปฏฐาก ไดไปแวะที่เมืองสาวัตถี กถาลงมา กลา วถงึ พระคนั ธกฎุ ี ในทอ่ี น่ื ๆเพ่ือเก็บกวาดจัดพระคันธกุฎีที่วัดพระ พอจะนับครั้งได (จํานวนครั้งตอไปนี้เชตวัน (เชน วนิ ย.อ.๑/๙; ที.อ.๑/๗) อนั เปน ไมถอื เปน เดด็ ขาด เพราะวา ในกรณีที่บริโภคเจดีย ท่ีประจักษเดน ชัดเจนแก ตางคัมภีรกลาวทั้งเรื่องและขอความซํ้าพุทธบริษทั ทง้ั ปวง ใหเ ปน พุทธคณุ านุ- ตรงกัน อาจจะไมน ับเสียบา ง) คอื ที่สรณสถาน อันสถติ ดงั ครง้ั เม่ือพระบรม พระเวฬุวนั เมอื งราชคฤห (พบ ๑๐ ครั้ง)ศาสดายงั ดาํ รงพระชนมอยู เสรจ็ แลวจึง ที่กูฏาคารศาลา ปามหาวนั ใกลเมืองเดินทางสูเมอื งราชคฤหต อไป เวสาลี (๗ ครง้ั ) ทบ่ี พุ พาราม เมอื งสาวตั ถี (๓ ครงั้ ) ทน่ี โิ ครธาราม เมืองกบลิ พัสดุ ดงั ทก่ี ลา วแลว วา คมั ภรี ช นั้ อรรถกถา (๓ คร้งั ) ท่เี มทฬปุ นคิ ม แควนศากยะลงมา ไดพ รรณนาพระคันธกฎุ ีของพระ (๓ ครงั้ ) ทปี่ าวารกิ มั พวนั เมอื งนาลนั ทาพทุ ธเจาในอดีตอยางอลังการ แมว าจะมิ (๓ คร้ัง) ทช่ี วี กัมพวัน เมืองราชคฤหไดบรรยายเรื่องพระคันธกุฎีของพระ (๒ ครั้ง) ที่เอกนาฬา หมบู า นพราหมณพุทธเจาพระองคปจจุบันมากอยางน้ัน

คนั ธกฎุ ี ๔๔ คนั ธกุฎีในทักขิณาคีรีชนบท บนเสนทางจาก คร้ัง) ในปา ขทริ วัน ลึกเขาไปบนเสน ทางราชคฤหสูสาวัตถี (๒ คร้ัง) ที่ตําบล สูขุนเขาหิมาลัย หางจากเมืองสาวัตถีอุรุเวลา บนฝงแมน้ําเนรญั ชรา เมอ่ื แรก โดยทางลัดแตก ันดารมาก ๓๐ โยชนตรัสรู (๑ ครงั้ ) ทีภ่ เู ขาคิชฌกูฏ เมือง หรือทางดี ๖๐ โยชน (ทานวา เปน พระราชคฤห (๑ คร้งั ) ที่ภเู ขาอสิ ิคลิ ิ เมือง คันธกุฎีท่ีพระขทิรวนิยเรวตะนิรมิตข้ึน,ราชคฤห (๑ ครง้ั ) ที่ตโปทาราม เมือง ๓ ครั้ง) และที่สนุ าปรนั ตชนบท ถิ่นของราชคฤห (๑ ครง้ั ) ท่ีภเู ขาใกลห มบู า น พระปณุ ณะ หา งจากสาวตั ถี ๓๐๐ โยชนอนั ธกวินท ซงึ่ อยูหา งจากเมอื งราชคฤห (พระคนั ธกุฎแี หง น้มี ชี ่ือดว ยวา “จนั ทน-๓ คาวุต (๑ ครั้ง) ทจี่ ัมปานคร แควน มาฬา” เพราะสรางดว ยไมจนั ทนแ ดง, ๑องั คะ ซง่ึ ขน้ึ ตอ มคธ (๑ ครงั้ ) ทไ่ี พรสณฑ ครงั้ , เรยี กเปน มณฑลมาฬ ๒ ครง้ั )ทางทิศตะวันตกนอกเมืองเวสาลี (๑คร้ัง) ที่คิญชกาวัสถ ในญาติกคาม นาสังเกตวา คัมภีรทั้งหลายไมก ลาวแควน วชั ชี (บางทเี รยี กวา นาตกิ คาม, ๑ ถึงพระคันธกุฎีท่ีปาอิสิปตนมฤคทายวันคร้งั ) ทโ่ี ฆสิตาราม เมืองโกสมั พี (๑ ในที่ใดเลย (พบแตในหนังสือช้ันหลังครัง้ , ท่ีโกสมั พี ไมระบทุ ่อี กี ๑ คร้งั ) ท่ี มาก ซึ่งอยูนอกสายพระไตรปฎก แตงจนุ ทอมั พวนั เมอื งปาวา (๑ ครัง้ ) ท่ี เปนภาษาบาลี ในลงั กาทวปี เปน ตาํ นานเมอื งกสุ นิ ารา (๑ คร้ัง) ทส่ี ภุ ควัน ใกล พระนลาฏธาตุ ช่ือวา “ธาตวุ ํส” เลา เปนเมอื งอกุ กัฏฐา แควน โกศล (๑ คร้งั ) ที่ เรอ่ื งราววา เมอ่ื พระพุทธเจา ยงั ทรงพระอจิ ฉานงั คลคาม แควนโกศล (๑ คร้ัง), ชนมอ ยู ไดเ สดจ็ ไปลงั กาทวปี และหลงัที่กลาวมาน้ันเปนถิ่นแดนในเขตแควนที่ พุทธปรินิพพาน มีพระเถระนําพระพอจะคนุ แตใ นถ่ินแดนไกลออกไปหรอื นลาฏธาตุไปตั้งบูชาที่พระคันธกุฎีในวัดท่ไี มค นุ กม็ บี าง ไดแ ก ที่เมืองอยชุ ฌา สําคัญท้ังหลายแหงชมพูทวีป รวมทั้งท่ีบนฝง แมน ํ้าคงคา (เรียกอยา งสนั สกฤต อสิ ิปตนมฤคทายวันดวย กอนจะนําไปวาอโยธยา, ยังกําหนดไมไดแนชัดวา ประดิษฐานในลงั กาทวปี แต “ธาตุวํส”ปจจุบันคือที่ใด แตนาจะมิใชอโยธยา น้ัน ทั้งไมปรากฏนามผูแตงและกาลเดียวกับที่สันนิษฐานกันวาตรงกับเมือง เวลาที่แตง เร่ืองราวท่ีเลา กไ็ มมหี ลักฐานสาเกต, ๑ ครง้ั ) ที่กมั มาสทัมมนคิ ม ท่ีจะอา งอิงได) ในแงห นงึ่ อาจจะถือวาแควน กรุ ุ (กมั มาสธัมมนิคม ก็เรียก, ๒ เมอื่ ครง้ั พระพทุ ธเจา เสดจ็ ไปโปรดเบญจ- วคั คียน ัน้ เปนพรรษาแรกแหง พุทธกิจ

คนั ธกุฎี ๔๕ คนั ธกฎุ ียังไมมีพุทธานุญาตเรือนหรืออาคารเปน ประทับท่ีโคนไมอชปาลนโิ ครธ ใกลฝ งทพี่ ักอาศยั (ตอมาอีก ๓ เดือนหลังจาก แมนํ้าเนรญั ชรา (ทีน่ ่ีเกิดพระสตู รที่ตรสั กอนเสด็จออกจากปาอิสิปตนะมาจนถึงเมืองราชคฤห เม่ือพระเจาพิมพิสารถวาย เสด็จจาริกไปยังอิสิปตนะ รวมทั้งที่ตรัสที่โคนตนพระเวฬุวนั จึงมพี ทุ ธานุญาต “อาราม”คือวัด แกภิกษุท้ังหลาย, วินย.๔/๖๓/๗๑ มจุ ลินท ๑ สูตรดวย เปน ประมาณ ๑๕ สตู ร เชนและตอจากน้ัน ระหวางประทับอยูที่เมืองราชคฤห เมื่อราชคหกเศรษฐี ส.ํ ส.๑๕/๔๑๙/๑๕๑) อรรถกถาเลา เรอ่ื งตอนเลื่อมใส ขอสรางที่อยูอาศัยถวายแก นี้ กบ็ อกวา “เสด็จออกจากพระคนั ธกุฎี”ภกิ ษุท้งั หลาย จึงทรงอนุญาต “วิหาร” แลว มาประทบั นั่งทน่ี น่ั (สํ.อ.๑/๑๓๘/๑๖๒)คือเรือนหรืออาคารที่อยูอาศัย เปน ถาถือความหมายโดยนัยอยางน้ี ก็เสนาสนะอยางหน่ึงใน ๕ อยา งสาํ หรับ สามารถกลาววา มพี ระคันธกฎุ ีทปี่ ระทบัพระภกิ ษุ, วนิ ย.๗/๒๐๐/๘๖ แลว ตอจากน้ี ในคราวโปรดเบญจวคั คยี ท อี่ สิ ปิ ตนะ ในจึงมีเรื่องราวของอนาถบิณฑิกเศรษฐีที่ พรรษาแรกแหง พทุ ธกจิ ดว ยเชน กนั แตสรางวัดทีเดียวเต็มรูปแบบข้ึนเปนแหง บงั เอญิ วา อรรถกถาไมไ ดก ลา วถงึ , ยง่ิ กวาแรก ซึ่งเปนทั้งอารามและมีวิหารพรอม น้ัน หลังจากเสด็จจาริกไปประกาศพระคือวดั พระเชตวัน ทีเ่ มอื งสาวัตถ,ี วนิ ย.๗/ ศาสนาในทต่ี า งๆ แลว ตอ มาพระพทุ ธเจา๒๕๖/๑๑๑) ตามเหตุผลนี้ ก็อาจถือวา เมือ่ ก็ไดเสด็จยอนมาประทับท่ีอิสิปตนะนี้ประทับทีอ่ สิ ิปตนะ ครงั้ นัน้ ยงั ไมมีวหิ าร อีกบา ง ดงั ทใี่ นพระวินัย ก็มีสกิ ขาบทซึง่ทจี่ ะเรยี กวาเปนพระคันธกุฎี แตใ นแงน ้ี ทรงบัญญัตทิ ี่อิสปิ ตนะน้ี ๓ ขอ (วินย.๕/กม็ ีขอแยง ได ดงั ที่กลาวแลววา ในที่สดุ ๑๑/๑๙, ๕๘/๖๙, ๑๕๒/๒๐๖) และในพระสตู รคัมภีรทั้งหลายไดใชคําวา “คันธกุฎี” ก็มีสูตรที่ตรัสท่ีนี่ ไมน บั ทต่ี รสั แกเ บญจ-เพียงในความหมายหลวมๆ คอื ไมว า วคั คยี  อกี ประมาณ ๘ สูตร (เชน ม.อ.ุ ๑๔/พระพุทธเจา ประทับทไ่ี หน ถงึ แมในพระไตรปฎกจะไมกลาวถึงวิหาร ทานก็ ๖๙๘/๔๔๙; ส.ํ ส.๑๕/๔๒๔/๑๕๒; สํ.ม.๑๙/๑๖๒๕/เรียกเปน พระคนั ธกฎุ ที ั้งน้นั เชน เม่ือประทบั ที่ตําบลอุรุเวลา ตอนตรสั รูใหมๆ ๕๑๒; ไมน บั สตู รทพ่ี ระสาวก โดยเฉพาะพระสารบี ตุ ร(“ปมาภิสมฺพทุ ฺโธ”) ในพระไตรปฎกวา แสดง อกี หลายสตู ร) นอกจากนี้ อรรถกถายงั เลา เรอื่ งทนี่ ายนนั ทยิ ะ คหบดีบุตร มี ศรัทธาสรางศาลาถวาย ณ มหาวหิ ารท่ี อสิ ปิ ตนะนอ้ี กี ดว ย (ธ.อ.๖/๑๕๖) แสดงวา ในคราวทเี่ สดจ็ มาประทบั ภายหลงั นี้ ไดม ี วดั เปน มหาวหิ ารเกดิ ขนึ้ ทอี่ สิ ปิ ตนะ และ

คนั ธกุฎี ๔๖ คันธกฎุ ีเม่ือมีมหาวิหาร ก็ถือไดแนนอนตาม ลังกาทวีป มายังพุทธคยาในประเทศอรรถกถานยั วา มพี ระคนั ธกฎุ ี อินเดีย โดยไดปฏิญาณวา จะอุทิศชีวติ ท้ังหมดของตน ในการกูพุทธสถานท่ี ปจจุบันนี้ พระคันธกุฎีอันเปน พุทธคยาใหคืนกลับมาเปนทซ่ี ึ่งพระสงฆโบราณสถานท่ีรูจักกันและพุทธศาสนิก- ในพระพุทธศาสนาจะไดรับอนุญาตใหชนนยิ มไปนมัสการมี ๓ แหง คอื ทีภ่ ูเขา เขา ไปอยูได และเมื่อกลับไปยงั ลังกาในคิชฌกฏู ทส่ี ารนาถ (คอื ทอี่ สิ ิปตนะ) และ เดือนพฤษภาคม ปน ัน้ (1891) กไ็ ดต ั้งท่ีพระเชตวัน อีกท้ังไดมีคําศัพทใหม มหาโพธิสมาคม (Maha Bodhiเกดิ ขน้ึ คอื คําวา “มูลคันธกฎุ ี” (พระ Society) ข้ึนท่ีกรุงโคลัมโบ (เมืองคนั ธกฎุ ีเดิม) ซึง่ มกั ใชเรียกพระคนั ธกฎุ ี หลวงของประเทศศรีลงั กาเวลาน้ัน) เมอื่ท่ีสารนาถ แตก็พบวามีผูใชเรียกพระ วนั ที่ ๓๑ พ.ค. เพือ่ ดาํ เนนิ การตามวตั ถุคนั ธกฎุ อี ีกสองแหง ดว ย ประสงคนี้ (ตอมา ตน ป 1892 ไดยา ย สํานักงานมาตั้งท่ีเมืองกัลกัตตา ใน แทจ รงิ นนั้ คาํ วา “มลู คนั ธกฎุ ”ี ไมม ใี น อนิ เดยี จนถงึ ป 1915 จงึ ไดจ ดทะเบยี นคัมภีรภาษาบาลีใดๆ แตเปนคาํ ใหมซ ึ่ง เปน Maha Bodhi Society of Indiaเพิ่งพบและนํามาใชเมื่อเริ่มมีการฟนฟู และถึงบัดน้ีมีสาขามากแหง) ระหวา งพระพทุ ธศาสนาในอนิ เดยี ในศตวรรษที่ ที่งานกูพุทธคยาซ่ึงมีอุปสรรคมาก ติดผา นมานี้ ทัง้ น้ี มเี รือ่ งเปน มาวา หลงั จาก คางลาชาอยู อนาคาริกธรรมปาละก็พระพุทธศาสนาสิ้นสลายไปจากชมพู- ดาํ เนนิ งานฟน พทุ ธสถานทสี่ ารนาถ (คอื ที่ท วี ป เ ม่ื อ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๑ ๗ ๔ ๐ ปา อสิ ปิ ตนมฤคทายวัน) ไปดว ย งาน(มหาวิทยาลัยพุทธศาสนาทั้งหลาย มี สําคัญมากอยางหน่ึง คือการสรางวัดนาลันทามหาวหิ าร เปนตน ถกู เผาถูก “มลู คนั ธกุฏวี ิหาร” (Mulagandhakutiทําลายหมดสนิ้ ในราว ค.ศ.1200 แตป ท ี่ Vihara)กําหนดไดชัดคือ ราชวงศเสนะถูกกองทัพมุสลิมเตอรกจากตางแดนยึดเมือง การสรางวัดมูลคันธกุฏีวิหารนั้น มีหลวงไดใ น ค.ศ. 1202 คอื พ.ศ.๑๗๔๕) เรื่องสืบเนื่องมาวา ในการขุดคนทางหลงั จากน้ัน เวลาผา นมา ๗๐๐ ปเศษ ถงึ โบราณคดีท่ีสารนาถ ไดพบซากพุทธป ค.ศ.1891/พ.ศ.๒๔๓๔ ในเดือน สถานหนึ่ง ซ่ึงสันนิษฐานวาสรางข้ึนในมกราคม อนาคารกิ ธรรมปาละ (ชอ่ื เดมิ วา สมยั คปุ ตะ (ราชวงศค ปุ ตะ ประมาณ ค.ศ.David Hevavitarne) ไดเ ดนิ ทางจาก

คนั ธกฎุ ี ๔๗ คันธกฎุ ี320–550/พ.ศ.๘๖๓–๑๐๙๓, คงจะสรา ง Committee” ซง่ึ ประกอบดว ยกรรมการซอ นทบั ตรงทเ่ี ดมิ ซง่ึ ผพุ งั ไปตามกาลเวลา ฝา ยฮินดู และฝายพุทธ ฝายละเทากัน)ต อ กั น ม า ตั้ ง แ ต ส มั ย พ ร ะ เ จ า อ โ ศ กมหาราชหรอื กอ นนน้ั ) เพอ่ื เปนอนุสรณ รวมความวา ดังไดกลาวแลว ถงึ แมตรงที่ประทับของพระพุทธเจาเมื่อคร้ัง คมั ภรี ท งั้ หลายจะไมก ลา วถึง “คนั ธกฎุ ี”ทรงจําพรรษาที่น่ันในปแรกของพุทธกิจ ทอ่ี สิ ปิ ตนะ แตก พ็ ูดไดวามพี ระคันธกุฎีอยใู กลกนั กับซากธรรมราชิกสถปู และ ที่น่นั ดวยเหตุผล ๒ ประการ คอื หน่งึณ ท่นี ้ัน ไดพ บแผนจารึกท่มี ีขอความ เรียกตามความหมายหลวมๆ ที่วา พระบอกช่ือดว ยวา “มลู คนั ธกฏุ ”ี อนาคารกิ พทุ ธเจา เคยประทับคา งแรมทีใ่ ด ก็เรียกธรรมปาละจึงคิดสรางวัดข้ึนท่ีน่ัน (ได ที่นน่ั วาเปน พระคันธกุฎี สอง หลงั จากซื้อที่ดินในที่ใกลเคียง มีพิธีวางศิลา บําเพญ็ พุทธกจิ ระยะหนึ่งแลว ไดเ สดจ็ฤกษในวันท่ี ๓ พ.ย. ๒๔๖๕ ตอมาถูก มาประทบั ทอี่ สิ ปิ ตนะอีก มวี ดั ใหญเกดิทางการส่ังระงับ ตองยายท่ีเลื่อนหาง ขึ้นท่ีน่ันและไดตรัสพระสูตรหลายสูตรออกไป แลวสรา งจนเสรจ็ ทําพธิ เี ปด ในวนั เพ็ญเดอื น ๑๒ ตรงกบั วนั ท่ี ๑๑ พ.ย. สวนคาํ วา “มลู คนั ธกฎุ ี” ถงึ แมจ ะไมม มี า๒๔๗๔) และโดยถอื นมิ ิตจากคาํ ในแผน เดิมในคัมภีร แตก ็ไดเ กิดขนึ้ นานแลวจารกึ นน้ั จึงต้ังชอ่ื วา วัดมูลคนั ธกุฏีวิหาร เพื่อใชเรียกพระคันธกุฎีที่ปาอิสิปตน-เปนวัดแรกของยุคปจจุบันท่ีสรางขึ้นในเขตสังเวชนียสถาน (สวนท่ีพุทธคยา มฤคทายวนั นี้ ในฐานะเปนทีป่ ระทบั จาํงานกูพุทธสถานยังคงดําเนินตอมาแม พรรษาแรกแหงพุทธกิจ ถือไดวาเปนหลังจากอนาคาริกธรรมปาละไดสิ้นชีวิต โบราณมติอันหนึ่ง ซ่งึ มุง ใหความสําคญัไปแลวใน พ.ศ.๒๔๗๖ เพิง่ สําเรจ็ ข้ัน แกพุทธสถานท่ีเปนจุดเร่ิมตนแหงการตอนสาํ คญั ในป ๒๔๙๒ เม่อื รัฐบาลรัฐ ประกาศพระศาสนาพหิ ารออกรฐั บญั ญตั ิ “Buddha-GayaTemple Act” ใน ค.ศ.1949 ซึง่ ทงั้ นี้ ถากลา วเพยี งตามความหมายกาํ หนดใหก จิ การของมหาโพธิสถาน ข้นึ ของศพั ท อาจถอื ทปี่ ระทบั หลายแหง เปนตอ คณะกรรมการจดั การ - “Buddha มลู คนั ธกุฎีไดโดยนยั ตา งๆ คือ พระคันธ-Gaya Temple Management กุฎีซง่ึ อรรถกถากลา วถงึ ทตี่ าํ บลอรุ เุ วลา เม่ือตรัสรูใหมๆ (สํ.อ.๑/๑๓๘/๑๖๒) เปน แหงแรกแนนอน จึงเปนมูลคันธกุฎี, แตท ่ีอรุ ุเวลาน้นั ประทบั ไมน านและยัง มิไดออกบําเพ็ญพุทธกิจ ดังนั้น พระ

คนั ธาระ ๔๘ คนั โพงคันธกุฎีท่ีอิสิปตนะหรือสารนาถ ท่ี ใหญ มีชอื่ เฉพาะตวั แตเม่ือถงึ ยุคอรรถ-ประทับเมื่อออกประกาศพระศาสนาครั้ง กถา คันธาระมักปรากฏชอื่ รวมอยูด ว ยแรกและจําพรรษาเปนแหงแรก แม กันกับแควนกัสมีระ โดยเรียกช่ือรวมคัมภีรจะมิไดกลาวเรียกไว ก็เปนมูล- กันวา แควนกัสมีรคนั ธาระ (ในพระคันธกุฎี, แตถานับตอเม่ือมีการสราง ไตรปฎก กัสมรี ะยงั ไมมชี ่ือปรากฏ) ซ่งึเสนาสนะถวายไดต ามพระวนิ ยั กต็ อ งถอื แสดงวาดินแดนท้ังสองน้ีอยูขางเคียงวาวิหารตามพระพุทธานุญาตท่ีเมือง ติดตอกันและในยุคน้ันเปนอันเดียวกันราชคฤห (วินย.๗/๒๐๐/๘๖) เปน มลู คนั ธ- ทางการเมือง ตอมา คันธาระถกู ทําลายกุฎี, แตถาถือตามหลักฐานท่ีชัดเจน แมแ ตช อื่ กเ็ ลอื นหายไป เหลอื แตก ศั มรี ะหลังจากมีพุทธานุญาตท่ีเมืองราชคฤห (ปจ จุบันเขียน กศั มรี , รปู สนั สกฤตเดมินั้นแลว มกี ารจดั เตรยี มการและกอ สรา ง เปน กศฺมีร, บาลเี ปน กสฺมีร, ในภาษาอยา งเปน งานเปน การโดยมเี รอ่ื งราวเลา ไว ไทย บางทีเรียกเพ้ียนเปนแคชเมียร)แมแ ตใ นพระไตรปฎ ก (วนิ ย.๗/๒๕๖/๑๑๑) ซึ่งในปจจุบันปรากฏช่ือรวมอยูดวยกันก็ตองถือเอาพระพุทธวิหารที่วัดพระ กับแควนชัมมู โดยเรียกชื่อรวมกันวาเชตวัน เปนมูลคนั ธกุฎี ชัมมูและกัศมีร (Jammu andคนั ธาระ ชอ่ื แควน ลาํ ดบั ท่ี ๑๕ ในบรรดา Kashmir) และเปน ดนิ แดนท่เี ปนกรณี๑๖ แวน แควน ใหญ ทเ่ี รยี กวา มหาชนบท พิพาทระหวางอินเดียกับปากีสถานแหง ชมพทู วปี ตง้ั อยแู ถบลมุ แมนา้ํ สินธุ ตลอดมาต้ังแตประเทศท้ังสองนั้นแบงตอนเหนอื ปจ จุบนั อยใู นเขตปากสี ถาน แยกจากกันในป ๒๔๙๐ (ค.ศ.1947)เรม่ิ แตแ ควนปญ จาบภาคเหนือ คลมุ ไป กับท้ังจีนก็ไดครอบครองแถบตะวันถึงบางสวนของประเทศอัฟกานิสถาน ออกบางสว นของกศั มรี ะ เกิดเปนกรณีรวมท้ังเมืองกันทหาร (Kandahar, พพิ าทกบั อินเดยี ดวย, สาํ หรับดนิ แดนสันนิษฐานวาเลือนมาจากชื่อเดิมของ สวนที่เปนของอินเดีย ซึ่งอยูใตสวนท่ีแควน นี้ คอื Gandhara) ในพทุ ธกาล พพิ าทกันอยนู ้ัน เรียกวา รฐั ชัมมูและคันธาระมีนครหลวงชื่อ ตกั สิลา ซึ่งเปน กัศมรี  เปน รฐั เหนอื สดุ ของอินเดีย มีนครท่ีรุงเรืองดวยศิลปวิทยาตางๆ มี เมอื งหลวงช่อื วาศรีนคร (Sri Nagar); ดูพระราชาปกครอง พระนามวา ปกุ กสุ าติ ชมพูทวีป, ตักสลิ า ในพระไตรปฎก คันธาระเปนแควน คนั โพง คนั ชง่ั ท่ีถวงภาชนะสําหรบั ตักนํ้า

คัพภเสยยกสัตว ๔๙ คามวาสีเพื่อชวยทุนแรงเวลาตักน้ําข้ึนจากบอ การเทศนม หาเวสสนั ดรชาดกทเ่ี ปน คาถาลึกๆ (คนั = คันช่ังที่ใชถวง, โพง = ลวนๆ อยา งน้เี รียกวา เทศนคาถาพันภาชนะสาํ หรับตักน้าํ ในบอ ลึกๆ), เครื่อง คาถาพนั ธ ขอ ความทผ่ี กู เปน คาถา, คาํสําหรับตกั นา้ํ หรอื โพงนํา้ มีคันยาวท่ี ประพันธท่ีแตงเปนบทรอยกรอง คือปลายเพื่อถวงใหเบาแรงเวลาตักหรือ คาถา นน่ั เอง; ดู คาถา 1.โพงนํา้ ขึน้ (โพง = ตัก, วิด) คาพยตุ ดู คาวุตคพั ภเสยยกสตั ว สัตวทอี่ ยูครรภ คอื คามเขต เขตบา น, ละแวกบา นสัตวท เ่ี กิดเปนตวั ตัง้ แตอ ยใู นครรภ คามวาสี “ผูอยบู าน”, พระบา น หมายถงึคมั ภีร 1. ลกึ ซ้ึง 2. ตําราทน่ี บั ถือวา พระภกิ ษุทีอ่ ยวู ัดในเขตหมบู าน ใกลชุมสาํ คัญหรอื เปนของสูง, หนังสือสําคัญที่ ชนชาวบาน หรือในเมือง, เปนคูกับถือเปน หลักเปน แบบแผน เชน คมั ภรี  อรัญวาสี หรือพระปา ซ่งึ หมายถึงพระศาสนา คัมภีรโ หราศาสตร ภิกษุที่อยูวัดในปา; คําทั้งสอง คือคมั ภรี ภาพ ความลึกซ้ึง คามวาสี และอรัญวาสี นี้ ไมมีในพระคากรอง เครื่องปกปดรางกายที่ทําดวย ไตรปฎก (ในคัมภีรมิลินทปญหาหญา หรือเปลือกไม ประมาณ พ.ศ.๕๐๐ กย็ งั ไมมี) เพง่ิ มใี ชคาถา 1. คาํ ประพนั ธป ระเภทรอ ยกรองใน ในอรรถกถา (กอ น พ.ศ.๑๐๐๐) แตเ ปนภาษาบาลี ตรงขา มกบั จณุ ณิยบท ถอ ยคาํ สามญั หมายถึงใครกไ็ ด ตั้งแตคาถาหนึง่ ๆ มี ๔ บาท เชน พระสงฆ ไปจนถึงสิงสาราสัตว (มกั ใชอาโรคยฺ ปรมาลาภา สนตฺ ุฏีปรมํ ธนํ แกชาวบานท่ัวไป) ที่อยูบาน อยูใกลวสิ สฺ าสปรมา าติ นิพพฺ านํ ปรมํ สขุ ํ ฯ บาน หรืออยใู นปา , การแบงพระสงฆ2. พุทธพจนท ่เี ปน คาถา (ขอ ๔ ใน เปน ๒ ฝาย คอื คามวาสี และอรัญวาสีนวังคสัตถศุ าสน) เทยี บไวยากรณ2. 3. ใน เกิดขึ้นในลังกาทวปี และปรากฏชดั เจนภาษาไทย บางทีใชใ นความหมายวา คํา ในรัชกาลพระเจาปรักกมพาหุ ที่ ๑เสกเปา ทถ่ี ือวาศกั ดิส์ ทิ ธิ์ อยา งที่เรียกวา มหาราช (พ.ศ.๑๖๙๖–๑๗๒๙) ตอ มา เมอื่คาถาอาคม พอขุนรามคาํ แหงมหาราชแหง อาณาจักรคาถาพนั “คาถาหนง่ึ พนั ” เปน ชอ่ื หนง่ึ ทใ่ี ช สโุ ขทัย ทรงรับพระพุทธศาสนาและพระเรียกบทประพันธเร่ืองมหาเวสสันดร- สงฆล งั กาวงศ อนั สบื เนือ่ งจากสมัยพระชาดก ซงึ่ แตง เปน คาถาลว นๆ ๑ พนั บท; เจา ปรักกมพาหนุ ี้เขา มาในชวงใกล พ.ศ.

คามสมี า ๕๐ คิลานปจจัย๑๘๒๐ ระบบพระสงฆ ๒ แบบ คอื คาหาปกะ ผใู หรับ คือผูแ จกคามวาสี และอรัญวาสี กม็ าจากศรีลังกา คํารบ ครบ, ถว น, เตม็ ตามจํานวนท่ีเขา สปู ระเทศไทยดว ย, พรอมกบั ความ กําหนดไวเปนมาอยางนี้ พระคามวาสีก็ไดเปนผู คาํ ไวยากรณ คาํ รอ ยแกว ; ดู ไวยากรณ 2.หนักในคันถธุระ (ธุระในการเลาเรียน คชิ ฌกูฏ “[ภูเขา]มยี อดดุจแรง”, ช่อื ภเู ขาพระคัมภีร) และพระอรัญวาสีเปนผู ลูกหน่ึงในเบญจคีรี (ภูเขาหาลูก คือหนักในวปิ สสนาธรุ ะ (ธุระในการเจริญ ปณ ฑวะ คชิ ฌกฏู เวภาระ อสิ คิ ลิ ิ และกรรมฐานอันมีวิปส สนาเปน ยอด), เรอื่ ง เวปุลละ ที่ลอมรอบพระนครราชคฤห) น้ี พึงทราบคําอธิบายเพิ่มท่ีคําวา ซึง่ ไดช อื่ อยา งนี้ เพราะคนมองเห็นยอด “อรญั วาส”ี ; คกู บั อรัญวาส,ี ดู คันถธรุ ะ เขานัน้ มีรูปรา งเหมอื นแรง (อกี นัยหนึ่งคามสีมา “แดนบา น” คือเขตที่กําหนด วา เพราะมีแรงอยูบ นยอดเขานั้น), ยอดดว ยบาน, สมี าทถี่ อื กาํ หนดตามเขตบาน เขาคิชฌกูฏเปนที่ซ่ึงพุทธศาสนิกชนรูจกัเปนอพทั ธสมี าอยางหนึ่ง กันมากแมในบัดนี้ เพราะเปนท่ีท่ีพระคารวโวหาร ถอ ยคาํ แสดงความเคารพ พทุ ธเจาประทบั บอย และยงั มซี ากพระคารวะ ความเคารพ, ความเออื้ เฟอ , ความ คนั ธกุฎี ที่ผจู าริกมักขึน้ ไปสกั การะบูชาใสใ จมองเหน็ ความสาํ คญั ทจ่ี ะตอ งปฏบิ ัติ คมิ หะ, คิมหานะ, คมิ หฤดู ฤดูรอนตอ ส่ิงนั้นๆ ใหถกู ตอ งเหมาะสม มี ๖ (แรม ๑ ค่ํา เดอื น ๔ ถงึ ข้นึ ๑๕ คํ่าอยา งคือ ๑. พุทธฺ คารวตา ความเคารพ เดอื น ๘); ดู มาตราในพระพุทธเจา ๒. ธมมฺ คารวตา ความ คิริพพชะ “[เมือง]ที่มีภูเขาเปนคอก”,เคารพในพระธรรม ๓. สงฺฆคารวตา เปนช่ือหน่ึงของเมืองราชคฤห ซ่งึ เรยี กความเคารพในพระสงฆ ๔. สกิ ขฺ าคารวตา ตามลักษณะทอ่ี ยใู นวงลอมของภเู ขา ๕ความเคารพในการศึกษา ๕. อปปฺ มาท- ลกู คอื ปณ ฑวะ คชิ ฌกฏู เวภาระ อสิ คิ ลิ ิคารวตา ความเคารพในความไมป ระมาท และเวปุลละ๖. ปฏิสนฺถารคารวตา ความเคารพใน คิลานปจจัย ปจจยั สาํ หรบั คนไข, สิ่งเกอ้ื ปฏสิ นั ถาร คอื การตอ นรบั ปราศรยั หนนุ คนเจบ็ ไข, ส่ิงทแ่ี กไ ขคนเจ็บไขใหคาวุต ชอื่ มาตราวัดระยะทาง เทากบั ๘๐ กลับคืนเปนปกติคือใหหายโรค, ยา อุสภะ หรือ ๑๐๐ เสน (๔ คาวุตเปน ๑ บําบดั โรค; ใน ปจ จยั ปจ จเวกขณ (การ โยชน); ดู มาตรา พจิ ารณาปจจยั ๔) ใชค าํ เตม็ วา “คิลาน-

คิลานภัต ๕๑ คูถภกั ขาปจจัยเภสัชชบริขาร” คอื (คลิ าน+ คีเวยยกะ แผนผาท่ีเย็บทาบเตมิ ลงไปบนปจ จยั +เภสชั ช) + บรขิ าร แปลวา หยกู ยา จวี รตรงทหี่ มุ คอ, นว้ี าตามคาํ อธิบายในเครื่องเก้ือหนุนรักษาผูเจ็บไข อันเปน อรรถกถา แตพ ระมตขิ องสมเดจ็ พระมหาบริขาร คือเคร่ืองปกปองชีวิตไวชวย สมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ใน ปรับเสรมิ ใหชีวติ เปนไปไดย ืนยาว วนิ ยั มขุ เลม ๒ วา ในจวี รหา ขณั ฑๆคิลานภัต อาหารที่เขาถวายเฉพาะภิกษุ กลาง ชอ่ื คเี วยยกะ เพราะเมอื่ หม จวี ร อาพาธ อฑั ฒมณฑลของขณั ฑน น้ั อยทู คี่ อ; ดู จวี รคลิ านเภสัช ยาสาํ หรับผูเจบ็ ไข, ยารกั ษา คบื พระสุคต ชอื่ มาตราวดั ตามอรรถ-ผปู ว ย, เภสชั เพ่ือภกิ ษุอาพาธ กถานยั วา เทา กบั ๓ คบื ของคนปานกลางคลิ านศาลา โรงพกั คนไข, หอรกั ษาคนไข, คอื เทา กบั ศอกคบื ชา งไม แตม ตนิ ไี้ มส มสถานพยาบาล จริง ปจ จบุ ันยุตกิ ันวาใหถ ือตามไมเมตรคิลานปุ ฐาก ผปู ฏิบตั ิภกิ ษไุ ข คือ เทา กับ ๒๕ เซนตเิ มตร ประมาณคิลานุปฏฐากภัต อาหารที่เขาถวาย กันกับคืบชางไม ซ่ึงเปนการสะดวกเฉพาะภิกษุผูพยาบาลไข และถาหากจะส้ันกวาขนาดจริงก็ไมเสียคหิ นิ ี หญงิ ผูค รองเรอื น, คฤหัสถห ญงิ เพราะจะไมเกนิ กาํ หนด ไมเ สยี ทางวนิ ยั(เขยี นเปน คิหณิ ี ก็ม)ี คณุ ของพระรัตนตรัย คณุ ของรัตนะ ๓คิหปิ ฏบิ ัติ ขอปฏิบตั ิสําหรับคฤหสั ถ คือ ๑. พระพทุ ธเจา รดู ีรชู อบดวยพระคหิ วิ นิ ยั วินยั ของคฤหสั ถ, คาํ สอนทง้ั องคเองกอนแลวทรงสอนผูอื่นใหรูตามหมดในสงิ คาลกสตู ร (ท.ี ปา.๑๑/๒๗๒/๑๙๔, ดว ย ๒. พระธรรม เปน หลกั แหง ความสคิ าโลวาทสตู ร กเ็ รยี ก) ทีพ่ ระพุทธเจาตรสั จริงและความดีงาม ยอมรักษาผูปฏบิ ัติแกน ายสงิ คาลกะ คหบดบี ตุ ร ผกู าํ ลงั ไหว ตามไมใหตกไปในที่ชั่ว ๓. พระสงฆทิศ บนทางเสด็จจะเขาไปบิณฑบาตใน ปฏิบัติชอบตามคําสอนของพระพทุ ธเจาเมืองราชคฤห ชอ่ื วา เปน คิหิวนิ ยั มใี จ แลว สอนผอู น่ื ใหก ระทาํ ตามดว ยความวาใหละเวนความช่ัว ๑๔ อยาง คณุ ธรรม ธรรมทเ่ี ปนคุณ, ความดีงาม,(กรรมกเิ ลส ๔, อคติ ๔, อบายมขุ ๖) สภาพทเ่ี ก้อื กลูแลว เปน ผปู กแผท ศิ ทง้ั ๖ (เวน หา งมติ ร คณุ บท บททแ่ี สดงคณุ , บททก่ี ลาวถงึเทยี ม ๔, คบหามติ รแท ๔, จดั สรรทรพั ย คุณงามความด,ี คาํ แสดงคณุ สมบัติเปน โภควภิ าค ๔, บาํ รงุ ทศิ ๖) คูถภักขา มีคูถเปนอาหาร ไดแกสัตว

คูบ ลั ลงั ก ๕๒ ; จาํ พวก ไก สุกร สนุ ขั เปน ตน ปลกุ ใจใหป สาทะ เกดิ ความชน่ื บาน มนั่คูบัลลงั ก ดู บลั ลังก แนว เขม แขง็ มกี าํ ลงั ทาํ ใหจ ติ มสี ตแิ ละเครื่องกัณฑ ส่ิงของสําหรับถวายพระ สมาธทิ จี่ ะทาํ การนนั้ ๆ อยา งไดผ ลดเี ตม็ ท่ี เทศน; กัณฑเทศน ก็เรยี ก และใจสวาง ใชปญญาคิดการไดโปรงเครือ่ งตน เครอื่ งทรงสําหรบั กษัตริย, สิง่ โลง ทําการไดลรุ อดและลุลว งสําเรจ็ ถึง ของทีพ่ ระเจา แผนดนิ ทรงใชและเสวย จดุ หมาย ถา ใชถ กู ตอ งอยา งน้ี กจ็ ะไมผ ดิเครื่องราง ของท่ีนับถือวาเปน เคร่ืองคมุ หลกั กรรม ไมข ัดตอ ศรทั ธาในกรรม คือครองปองกันอันตราย โดยทําใหรอด เช่ือการกระทํา วาจะตองทําเหตุปจจัยปลอดภยั เชน พระเครอ่ื ง ตะกรดุ ผา ยนั ต ใหเกิดผลที่ตองการดวยเร่ียวแรงความมกั เชอ่ื กนั ในทางรนุ แรง เชน วา ยิงไม เพียรพยายามของตน และจะเกดิ ผลดีออก ฟน ไมเขา เปน ตน, นิยมพดู รวม ทงั้ ระยะสน้ั และระยะยาว แตถ า ไมร จู กั ใชกบั คาํ “ของขลัง” (ของท่ีเช่ือกันวาศักดิ์ คือใชผิดหลักกรรม ขัดตอศรัทธาในสิทธิ์มีอํานาจบันดาลใหสําเร็จผลดัง กรรม ก็จะเกิดความเส่ือมทั้งแกชีวิตประสงค เชน นาํ โชคลาภมาให) ควบคกู นั และสงั คม; ดู ปรติ รวา เครอ่ื งรางของขลงั ; เมอ่ื ประมาณ เคลือบแฝง อาการชักใหเปนที่สงสัย,๒๐–๓๐ ป หลงั พ.ศ.๒๕๐๐ ไดมผี ูคดิ แสดงความจริงไมกระจางทําใหเปนที่คําใหมขน้ึ มาใชว า วตั ถุมงคล และนิยม สงสัยใชตามกันท่ัวไป จนบัดน้ีเหมือนวาได เคหสถาน ที่ตง้ั เหยา เรอื นแทนทีค่ ําวา เคร่อื งรางของขลงั แมว า คํา เคหสิตเปมะ ความรกั อนั อาศัยเรอื น ได“วัตถุมงคล” จะแปลความหมายได แกรักกันโดยฉันเปนคนเนื่องถึงกันกวา งกวา วา ส่ิงทเี่ ปนสิรมิ งคล หรอื สิง่ ที่ เปนญาติกัน เปน คนรวมเรอื นเดยี วกนันําสิริมงคลคือความดีงามความสุข ความรักฉันพอ แมลูกและญาตพิ ่ีนอ งความเจริญมาให แตคนท่ัวไปมักเห็น เคารพ ความนับถอื , ความมคี ารวะความหมายอยางเคร่ืองรางของขลังเทา เคาะ ในประโยควา “เหมอื นชายหนุมพูดเดมิ ; สาํ หรบั พทุ ธศาสนกิ ชน การนบั ถอื เคาะหญิงสาว” พดู ใหร ทู าพระเครอ่ื ง คอื เปน หลกั ยดึ เหนยี่ ว ทสี่ อื่ เคาะแคะ พดู แทะโลม, พดู เกย้ี วใจโยงใหส นทิ แนว ในพระพทุ ธคณุ มาจน แคชเมียร ช่ือแควนหนึ่งของชมพูทวีปถงึ คณุ มารดาบดิ าอปุ ช ฌายอ าจารย และ เรียกเพี้ยนมาจาก “กัศมีร” ; ดู กัศมีร,

โคจร ๕๓ โคธาวรีคนั ธาระ ทางทิศใตของเมืองเวสาลี เปนที่ท่ีพระโคจร “ทโ่ี คเทยี่ วไป”, “เทย่ี วไปดงั โค”; 1. พุทธเจาเคยประทับหลายคร้ังและเคยทซ่ี งึ่ อนิ ทรยี ท ง้ั หลาย มตี าเปน ตน ทอ ง ทรงทาํ นิมติ ตโอภาสแกพ ระอานนทเทยี่ วไป ไดแ ก อารมณ (กรรมฐาน บาง โคตมโคตร ตระกูลโคตมะ เปนชื่อครงั้ กเ็ รยี กวา “โคจร” เพราะเปน อารมณ ตระกูลของพระพทุ ธเจาของการเจรญิ ภาวนา) 2. สถานทที่ เ่ี ทย่ี ว โคตมนิโครธ ตําบลท่ีพระพทุ ธเจาเคยทําไปเสมอ หรอื ไปเปน ประจาํ เชน ท่ภี กิ ษุ นมิ ติ ตโอภาสแกพ ระอานนท อยูท่ีพระไปเที่ยวบิณฑบาต, บุคคลหรือสถานที่ท่ี นครราชคฤหไปมาหาสู; เทียบ อโคจร 3. เทย่ี วไป, แวะ โคตมี ชื่อเรยี กสตรแี หงโคตมโคตร เชนเวยี นไป, ดาํ เนนิ ไปตามวถิ ี เชน ดวงดาว พระนางมหาปชาบดี ผูเปนพระแมนาโคจร; การดาํ เนนิ ไปในวถิ แี หง การปฏบิ ตั ิ ของพระสทิ ธตั ถะ เปนตนเชน ในการเจรญิ สมาธิ ซงึ่ จะกา วไปดว ย โคตร ตระกลู , เผาพันธุ, วงศดีได ตองมีสติสัมปชัญญะท่ีจะใหรูจัก โคตรภู ผูตั้งอยูในญาณซึ่งเปนลําดับทจ่ี ะหลกี เวน ธรรมทไ่ี มเ หมาะไมเ ออื้ และเสพ ถึงอริยมรรค, ผูอยูในหัวตอระหวางธรรมอนั เออ้ื เกอ้ื กลู เปน ตน ความเปน ปถุ ชุ นกบั ความเปน อรยิ บคุ คลโคจรคาม หมบู า นทอ่ี าศยั เทยี่ วภกิ ขาจาร, โคตรภูญาณ “ญาณครอบโคตร” คือ หมบู านที่ภิกษไุ ปเท่ียวบณิ ฑบาตประจํา ปญญาที่อยูในลําดับจะถึงอริยมรรคโคจรวบิ ตั ิ วบิ ตั แิ หงโคจร, เสียในเร่ืองที่ หรืออยูในหัวตอที่จะขามพน ภาวะปุถุชน เที่ยว, ความเสียหายในการไปมาหาสู ขนึ้ สภู าวะเปน อริยะ; ดู ญาณ ๑๖ เชน ภิกษไุ ปในทีอ่ โคจรมรี านสุรา หญงิ โคตรภูสงฆ พระสงฆท่ีไมเครงครัดแพศยา แมห มา ย บอ นการพนนั เปน ตน ปฏิบตั ิเหินหา งธรรมวนิ ยั แตยงั มีเคร่อื งโคจรคั คาหกิ รปู ดทู ี่ รปู ๒๘ หมายเพศ เชน ผาเหลืองเปน ตน และโคณกะ ผาขน มีขนยาวกวา ๔ นวิ้ ถือตนวายังเปนภิกษุสงฆอยู, สงฆในโคดม, โคตมะ ช่ือตระกูลของพระ ระยะหัวตอ จะส้นิ ศาสนาพุทธเจา มหาชนเรยี กพระพุทธเจา ตาม โคธาวรี ชือ่ แมนา้ํ สายหนึง่ ระหวางเมอื งพระโคตรวา พระโคดม พระโคตมะ อัสสกะกบั เมืองอาฬกะ พราหมณพ าวรีหรอื พระสมณโคดม ต้ังอาศรมสอนไตรเพทอยูที่ฝงแมนํ้าโคตมกเจดีย ชือ่ เจดยี สถานแหงหนึ่งอยู สายนี้ (มกั เพยี้ นเปน โคธาวารี ในฝา ย

โคนสิ าทกิ า ๕๔ ฆานสมั ผัสสันสกฤตเขยี นเปน โคทาวรี) ๒/๒๑๘ วา หมายรวมถงึ เย่ียวววั ข้ีแพะโคนิสาทิกา “กัปปยภูมิอันดุจเปนที่โค ตลอดจนข้มี าดว ย ก็มี)จอ ม” คือเรือนครวั นอยๆ ท่ไี มไ ดปก เสา โครส “รสแหง โค หรอื รสเกิดแตโค” คอื ตั้งอยูกบั ท่ี ต้ังฝาบนคาน ยกเลอื่ นไป ผลผลติ จากนมโค ซง่ึ มี ๕ อยา ง ไดแ ก จากทไ่ี ด; ดู กัปปยภูมิ นมสด (ขรี ะ) นมสม (ทธิ) เปรยี ง (ตกั กะ)โคมัย “สงิ่ ทสี่ ําเร็จโดยโค, สงิ่ ทโ่ี คทํา หรือ เนยใส (สปั ป) เนยขน (นวนีตะ) เรยี ก รวมวา เบญจโครส ส่งิ ทีเ่ กดิ จากโค”, ข้วี วั (บางแหง เชน อง.ฺ อ. ฆฆฏิการพรหม พระพรหมผูนําสมณ- ๒. ทมะ ความฝก ฝนปรบั ปรงุ ตน เชน รูบรขิ ารมบี าตรและจวี ร เปน ตน มาถวาย จกั ขม ใจ ควบคมุ อารมณ บงั คบั ตนเองแดพระโพธิสัตวเม่ือคราวเสด็จออก ปรบั ตวั เขา กบั การงานและสง่ิ แวดลอ มใหพรรพชา (มติของพระอรรถกถาจารย) ไดดี ๓. ขันติ ความอดทน ๔. จาคะฆนะ กอน, แทง ความเสียสละ เผือ่ แผ แบงปน มีนา้ํ ใจฆนสัญญา ความสําคัญวาเปนกอน, ฆราวาสวสิ ยั วิสยั ของฆราวาส, ลักษณะความสําคัญเห็นเปนชิ้นเปนอัน ซ่ึงบัง ท่ีเปนภาวะของผูครองเรือน, เร่ืองของ ปญ ญาไมใหเหน็ ภาวะที่เปน อนตั ตา ชาวบานฆนโิ ตทนะ กษัตริยศ ากยวงศ เปนพระ ฆราวาสสมบัติ วิสัยของฆราวาส,ราชบุตรองคท่ี ๕ ของพระเจาสีหหนุ ลักษณะที่เปนภาวะของผูครองเรือน, เปนพระอนุชาองคที่ ๔ ของพระเจา เรือ่ งของชาวบา น สทุ โธทนะ เปน พระเจา อาของพระพทุ ธเจา ฆานะ จมูกฆราวาส การอยูครองเรือน, ชีวิตชาว ฆานวิญญาณ ความรูที่เกิดข้ึนเพราะบาน; ในภาษาไทย มักใชหมายถึงผู กลิ่นกระทบจมูก, กลน่ิ กระทบจมกู เกิดครองเรอื น คอื คฤหสั ถ ความรูขึน้ , ความรกู ลิน่ (ขอ ๓ ในฆราวาสธรรม หลกั ธรรมสาํ หรบั การครอง วญิ ญาณ ๖)เรอื น, ธรรมของผคู รองเรอื น มี ๔ อยา ง ฆานสัมผสั อาการที่ จมูก กลนิ่ และคอื ๑. สจั จะ ความจรงิ เชน ซอื่ สตั ยต อ กนั ฆานวญิ ญาณประจวบกัน

ฆานสมั ผสั ชาเวทนา ๕๕ จตุบริษัทฆานสัมผัสชาเวทนา เวทนาที่เกิดข้ึน โฆสัปปมาณิกา คนพวกท่ีถือเสียงเปนเพราะฆานสัมผัส, ความรูสึกท่ีเกิดขึ้น ประมาณ, คนทีน่ ิยมเสียง เกดิ ความเพราะการที่จมูก กลิ่น และ ฆาน- เล่ือมใสศรทั ธาเพราะเสยี ง ชอบฟง เสยี งวญิ ญาณประจวบกัน ไพเราะ เชน เสียงสวดสรภัญญะเทศนโฆสะ พยัญชนะที่มีเสียงกอง ไดแก มหาชาติเปนทํานอง เสียงประโคมพยญั ชนะท่ี ๓ ๔ และ ๕ ในวรรคทง้ั ๕ เปนตน; อีกนัยหน่ึงวา ผูถือชื่อเสียงคือ ค ฆ ง, ช ฌ , ฑ ฒ ณ, ท ธ น, กิตติศัพท หรือความโดงดังเปนพ ภ ม, และ ย ร ล ว ห ฬ รวม ๒๑ ประมาณ เห็นใครมชี ่ือเสยี งก็ตืน่ ไปตามตวั (นคิ คหติ นกั ปราชญท างศพั ทศาสตร โฆสิตาราม ชื่อวัดสําคัญในกรุงโกสัมพีถือเปนโฆสะ, สวนนักปราชญฝาย คร้ังพุทธกาล พระพุทธเจาเคยประทบัศาสนา ถอื เปนโฆสาโฆสวมิ ตุ คอื พน หลายครงั้ เชน คราวท่ภี ิกษชุ าวโกสัมพีจากโฆสะและอโฆสะ); ตรงขา มกับ อโฆสะ แตกกัน เปนตนง(เทยี บระดบั เสยี งพยญั ชนะ ดทู ี่ ธนติ )งมงาย ไมร ทู า , ไมเขาใจ, เซอ เซอะ, หลง ฟงผอู นื่ เช่อื โดยไมม ีเหตผุ ล หรอื โดยไมยอมรับ จจงกรม เดินไปมาโดยมสี ตกิ าํ กบั จตุธาตุววตั ถาน การกาํ หนดธาตุ ๔ คอืจตุกกะ หมวด ๔ พิจารณารางกายนี้ แยกแยะออกไปจตุกกชั ฌาน ฌานหมวด ๔ คอื รปู ฌาน มองเห็นแตสว นประกอบตางๆ ทีจ่ ดั เขาทแี่ บงเปน ๔ ชัน้ อยางทรี่ จู กั กนั ทั่วไป, ในธาตุ ๔ คอื ปฐวี อาโป เตโช วาโย“ฌานจตุกกนยั ” ก็เรยี ก; ดู ฌาน ๔; เทียบ ทาํ ใหรูภาวะความเปนจริงของรางกายวาปญ จกัชฌาน เปนเพยี งธาตุ ๔ ประชุมกนั เขา เทา นนั้จตุตถฌาน ฌานท่ี ๔ มอี งค ๒ ละสขุ ไมเปนตัวสตั วบคุ คลท่ีแทจริงเสยี ได มแี ตอุเบกขากับเอกคั คตา จตุบริษัท บริษัทส่ีเหลา คือ ภิกษุ

จตปุ จจยั ๕๖ จรติภิกษุณี อุบาสก อบุ าสกิ า (วินย.อ.๓/๓๗๔), เรียกใหส ้นั วา จตรุ ารกั ข,จตปุ จจยั เคร่อื งอาศัยของชวี ติ หรอื สงิ่ ในนวโกวาท เรียกวา อารักขกมั มัฏฐานจาํ เปน สาํ หรับชวี ิต ส่อี ยาง คอื จวี ร ๔; ดู อารกั ขกัมมัฏฐานบิณฑบาต เสนาสนะ คิลานเภสัช จตุราริยสัจจ อริยสัจจส่ีประการ คือ ทกุ ข สมุทัย นิโรธ มรรค ดู อริยสัจจ(เครอื่ งนงุ หม อาหาร ที่อยู ยา)จตุยุค, จตรุ ยุค ยคุ ๔; ดู กปั จตโุ ลกบาล ทา วโลกบาลส,ี่ ทา วมหาราชสี่จตรุ งคินเี สนา กองทพั มีกาํ ลังสีเ่ หลา คอื ดู จาตุมหาราชเหลาชาง เหลา มา เหลา รถ เหลา ราบ จตโุ วการ, จตุโวการภพ ดู โวการจตรุ บท สตั วส่เี ทา มี ชา ง มา ววั ควาย จรณะ เครือ่ งดําเนิน, ปฏปิ ทา คอื ขอเปนตน ปฏิบัตอิ ันเปน ทางบรรลวุ ิชา มี ๑๕ คอืจตุรพิธพร พร ๔ ประการ คอื อายุ สีลสัมปทา ความถึงพรอมดวยศีล(ความมอี ายุยนื ) วรรณะ (ความมผี วิ อปณ ณกปฏปิ ทา ๓ สัทธรรม ๗ และพรรณผอ งใส) สขุ ะ (ความสขุ กายสขุ ใจ) ฌาน ๔พละ (ความมกี าํ ลงั แขง็ แรง สขุ ภาพด)ี ; จริต ความประพฤติ; บคุ คลผูมพี ้นื นิสัยดู พร หรือพ้ืนเพจิตใจที่หนักไปดานใดดานจตรุ ยุค ยุค ๔; ดู กัป หนงึ่ แตกตา งกันไป จาํ แนกเปน ๖ ตามจตรุ วรรค, จตุวรรค สงฆพ วกส,ี่ สงฆที่ จริยา ๖ คอื ๑. ราคจริต ผูมรี าคะเปน กาํ หนดจาํ นวนภิกษุอยา งต่าํ เพยี ง ๔ รปู ความประพฤติปกติ (หนักไปทางรัก สวยรักงาม มกั ตดิ ใจ) ๒. โทสจรติ ผมู ี เชน สงฆท ท่ี าํ อโุ บสถกรรมเปนตนจตรุ าธฏิ ฐาน ดู อธิษฐานธรรม โทสะเปน ความประพฤตปิ กติ (หนักไปจตุรารกั ขา การเจรญิ ภาวนาท่เี ปน เครอ่ื ง ทางใจรอ นขี้หงดุ หงิด) ๓. โมหจริต ผูมีรักษาตัวใหมีใจสงบและตั้งอยูในความ โมหะเปนความประพฤติปกติ (หนักไปไมป ระมาท มี ๔ อยา ง คือ พุทธานุสต-ิ ทางเหงาซึมงมงาย) ๔. สทั ธาจรติ ผมู ีภาวนา มรณสตภิ าวนา อสภุ ภาวนา และ ศรทั ธาเปน ความประพฤตปิ กติ (หนักไปเมตตาภาวนา, พดู ใหส้ันวา กรรมฐาน ทางนอมใจเชือ่ ) ๕. พุทธจิ ริต ผูม ีความเปน เครอื่ งรักษา ๔ คือ พุทธานุสติ รเู ปนความประพฤติปกติ (หนักไปทางอสุภะ เมตตา และมรณสติ, ทา นจดั ขน้ึ คิดพจิ ารณา) ๖. วิตกจรติ ผูมวี ิตกเปนเปนชุดที่มีชื่ออยางน้ีในยุคอรรถกถา ความประพฤติปกติ (หนกั ไปทางคดิ จับ

จรมิ กจิต ๕๗ จรยิ าจดฟงุ ซา น), ในการท่ีจะเจริญกรรมฐาน ตัณหาเปนสังสารนายิกา สําหรับคนทานแนะนําใหเลือกกรรมฐานใหเหมาะ ตณั หาจรติ แมถ งึ หลกั อรยิ สจั จ ๔ กว็ าหรือเขา กับจรติ โดยสอดคลอ งกับจริยา พระพุทธเจาตรัสโดยสัมพันธกับเรื่องของเขา (จรยิ านกุ ูล) ตณั หาจรติ และทฏิ ฐจิ รติ น;ี้ ดู จรยิ าในการเจริญวิปสสนา บางครั้งทาน จรมิ กจติ จติ ดวงสดุ ทา ย ซง่ึ จะดบั ไปเมอ่ืกลา วถงึ จรติ ๒ คอื ตณั หาจรติ (ผมู พี นื้ พระอรหันตปรินิพพานดวยอนุปาทิเสส-จติ หนกั ไปทางตณั หา) และทิฏฐิจรติ (ผู นิพพานธาตุ ไดแก ปรินิพพานจิต,มพี นื้ จติ หนกั ไปทางทฏิ ฐ)ิ โดยโยงไปถงึ จรมิ กวิญญาณ ก็เรยี กหลกั สตปิ ฏ ฐานวา สตปิ ฏ ฐานทม่ี ี ๔ ขอ นนั้ จริยธรรม “ธรรมคือความประพฤติ”,พระพทุ ธเจา ทรงแสดงไวไ มข าด ไมเ กนิ “ธรรมคือการดําเนินชีวิต”, หลักความเพอ่ื ใหเ กอ้ื กลู เหมาะกนั กบั คน ๔ จาํ พวก ประพฤติ, หลักการดาํ เนนิ ชวี ิต; 1. ธรรมคอื กายานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน มอี ารมณ ทเี่ ปน ขอ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ศลี ธรรม หรอืหยาบ เปน วสิ ทุ ธมิ รรค (ทางแหง วิสุทธิ) กฎศีลธรรม (ความหมายตามบัญญัติ สมยั ปจ จุบัน ซง่ึ กําหนดให จริยธรรมสําหรบั เวไนยสตั วต ัณหาจรติ ทมี่ ปี ญ ญาเฉ่ือย เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน มี เปนคําแปลสําหรับคําภาษาอังกฤษวาอารมณล ะเอียด เปนวิสุทธมิ รรค สาํ หรบั ethics) 2. จรยิ ะ (หรอื จรยิ ธรรม) อนั ประเสริฐ เรียกวา พรหมจริยะเวไนยสตั วต ณั หาจรติ ทม่ี ปี ญ ญาเฉยี บ (พรหมจริยธรรม หรอื พรหมจรรย)จติ ตานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน ซง่ึ มอี ารมณแตกประเภทไมม ากนกั เปน วสิ ทุ ธมิ รรค แปลวา “ความประพฤติอันประเสริฐ”สาํ หรับเวไนยสตั วทิฏฐจิ ริต ทมี่ ปี ญ ญา หรือ การดําเนินชีวิตอยางประเสริฐเฉอ่ื ย ธมั มานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน ซงึ่ มี หมายถึง มรรคมอี งค ๘ หรอื ศีล สมาธิอารมณแ ตกประเภทมากยงิ่ เปน วสิ ทุ ธ-ิ ปญญา; เทียบ ศีลธรรมมรรค สาํ หรบั เวไนยสตั วท ฏิ ฐจิ รติ ทม่ี ี จริยา 1. ความประพฤต,ิ การครองตน,ปญ ญาเฉยี บ, นอกจากนี้ ทา นนาํ เรอ่ื ง การดําเนินชีวิต 2. ลักษณะความตัณหาจริต และทิฏฐิจริตไปใชอธิบาย ประพฤติหรือการแสดงออกท่ีเปนพ้ืนหลกั อนื่ ๆ อกี มาก เชน ในเรอ่ื งปฏจิ จ- ประจําตัว, พื้นจิตพ้ืนนิสัยของแตละสมุปบาทวา อวิชชาเปนสังสารนายิกา บุคคลท่หี นักไปดานนั้นดา นน้ี แตกตาง(ตวั นาํ สงั สาระ) สาํ หรบั คนทฏิ ฐจิ รติ สว น กันไป ทา นแสดงไว ๖ อยา ง (เชน วิสทุ ธฺ .ิ ๑/

จว งจาบ ๕๘ จักกวตั ติสตู ร ๑๒๗) คอื ราคจริยา โทสจริยา โมหจรยิ า ทรงประพฤติตามหลักจักรวรรดิวัตร สทั ธาจรยิ า พุทธิจรยิ า และวติ กจรยิ า, อันสืบกันมาแตบรรพชนของพระองค บุคคลมจี ริยาอยางใด ก็เรียกวา เปนจริต ยอมทําใหจักรรัตนะบังเกิดข้ึนมาเอง, อยา งน้นั เชน ผูม รี าคจรยิ า ก็เปนราค- จักรวรรดวิ ตั ร น้ันมี ๔ ขอ ใหญ ใจ จริต, ในภาษาไทย นิยมใชค ําวา “จรติ ” ความวา ๑. พระเจาจักรพรรดิเปน และมักเขาใจความหมายของจริตเปน ธรรมาธิปไตย และจดั การคุมครองปอง จริยา กันโดยชอบธรรมแกชนทุกหมูเหลาใน แผนดิน ตลอดไปถึงสัตวท่ีควรสงวน ทา นกลา วไวด ว ยวา มบี างอาจารยจ ดั พันธุทง้ั หลาย ๒. มิใหม กี ารอันอธรรม จริยาไวอีกชุดหน่ึงตามกิเลสสําคัญ ๓ เกดิ ข้ึนในแผนดนิ ๓. ปน ทรพั ยเ ฉลย่ี อยา ง (ปปญ จะ ๓) เปน จรยิ า ๓ คอื ใหแ กผ ไู รท รพั ย ๔. ปรกึ ษาสอบถามการ ตัณหาจรยิ า มานจรยิ า และทิฏฐจิ รยิ า ดชี ่วั ขอควรและไมค วรประพฤติ กะ แตในคัมภีร ทานไมแสดงไวตางหาก สมณพราหมณ ผปู ระพฤติดี ปฏิบัติ เพราะตณั หาจริยา และมานจรยิ า จดั ชอบ อยเู สมอ; จกั รวรรดวิ ตั ร ๔ ขอนี้ เขาในราคจริยา และทิฏฐิจริยา กร็ วม บางทจี ัดเปน ๕ โดยแยกขอ ๑. เปน ๒ อยใู นโมหจริยา; ดู จริต, ปปญจะ ขอ คอื เปนธรรมาธิปไตย ถือธรรมเปนจวงจาบ พดู จาลว งเกนิ , วา รา ย, พดู ลบ ใหญอ ยางหนง่ึ กับจดั การคุมครองปอง หลู, พูดลดคุณคาลบความสําคัญ; ใน กันอันชอบธรรม อยา งหน่งึ , นอกจาก หนงั สอื เรยี นพทุ ธประวตั ิ มกั หมายถงึ คาํ นั้น สมยั ตอมา อรรถกถาจดั แบงซอย ที่ สภุ ทั ทะวฒุ บรรพชติ กลา วแกภ กิ ษทุ งั้ ออกไป และเพิ่มเขามาอกี รวมเปน ๑๒ หลายเมอื่ พระพทุ ธเจา ปรนิ พิ พานใหมๆ ขอ เรยี กวา จักรวรรดิวตั ร ๑๒; พระจกั กวตั ตสิ ตู ร ชอื่ สตู รท่ี ๓ แหง ทฆี นกิ าย สู ต ร นี้ ถื อ ว า เ ป น คําส อ น แ ส ด ง ห ลั ก ปาฏกิ วรรค พระสตุ ตนั ตปฎ ก พระพทุ ธ- วิวัฒนาการของสังคมตามแนวจริย- เจา ตรัสสอนภิกษุทง้ั หลายใหพ งึ่ ตน คือ ธรรมกลา วถงึ หลกั การปกครอง และหลกั พง่ึ ธรรม ดว ยการเจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔ ความสัมพันธระหวางเศรษฐกิจกับจริย- ซึ่งจะทําใหไดชื่อวาเปนผูดําเนินอยูใน ธรรม; เร่ือง พระศรีอารยเมตไตรย กม็ ี แดนของตนเองที่สืบมาแตบ ดิ า จะมแี ต ตน เคา มาจากพระสูตรน้ี; ดู จักรวรรดิ- ความดีงามเจริญขึ้น ไมเปดชองใหแก วตั ร ๑๒ มาร เชนเดียวกับพระเจาจักรพรรดิที่

จกั ขุ ๕๙ จักรวรรดิวัตร ๑๒จักขุ ตา, จกั ขขุ องพระพุทธเจา มี ๕ คือ ชางแกว มา แกว นางแกว ขนุ คลงั แกวมังสจักขุ ทพิ พจกั ขุ ปญญาจักขุ พทุ ธ- ขนุ พลแกว จักรแกว แกวมณีจักขุ สมนั ตจักขุ (ดทู ่คี าํ นนั้ ๆ) จกั รพรรดิราชสมบัติ สมบัติ คอื ความจักขุวิญญาณ ความรูท่ีเกิดข้ึนเพราะรปู เปนพระเจา จักรพรรดิ, ความพรงั่ พรอมกระทบตา, รูปกระทบตา เกิดความรู สมบรู ณแ หงพระเจา จักรพรรดิขึ้น, การเหน็ (ขอ ๑ ในวญิ ญาณ ๖) จักรรัตนะ จักรแกว หมายถงึ ตัวอํานาจจกั ขสุ มั ผัส อาการท่ี ตา รปู และจักขุ แหง พระเจา จกั รพรรดิ จกั รวรรดิวตั ร ๑๒ ๑. อนฺโตชนสมฺ ึ พล-วิญญาณประจวบกนัจักขุสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดขึน้ กายสมฺ ึ คมุ ครองสงเคราะหแ กช นในพระเพราะจักขุสัมผัส, ความรูสึกที่เกิดข้ึน ราชฐานและพยุหเสนา ๒. ขตตฺ เิ ยสุ แก เพราะการที่ ตา รูป และจกั ขวุ ิญญาณ กษัตริยเมืองข้ึนหรือผูครองนครภายใต พระบรมเดชานภุ าพ ๓. อนุยนเฺ ตสุ แก ประจวบกันจกั ร ลอ , ลอรถ, ธรรมนําชวี ติ ไปสคู วาม กษตั รยิ ท ต่ี ามเสดจ็ คอื เหลา เชอื้ พระวงศ ผเู ปน ราชบรพิ าร ๔. พรฺ าหมฺ ณคหปตเิ กสุ เจริญรุง เรือง ดจุ ลอ นํารถไปสทู ่ีหมาย มี แกพราหมณและคฤหบดีท้ังหลาย ๕. ๔ อยาง คือ ๑. ปฏิรปู เทสวาสะ อยใู น เนคมชานปเทสุ แกชาวนิคมและชาว ถน่ิ ทเ่ี หมาะ ๒. สปั ปรุ ิสูปสสยะ สมาคม ชนบทคือ ราษฎรพ้นื เมืองท้งั หลาย ๖. กบั คนดี ๓. อัตตสัมมาปณธิ ิ ต้ังตนไว สมณพรฺ าหมฺ เณสุ แกเ หลา สมณพราหมณ ชอบ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ไดทาํ ความดี ๗. มคิ ปกขฺ สี ุ แกเ หลา เนอ้ื นกอนั พงึ บาํ รงุ ไวใ หมสี ืบพันธุ ๘. อธมฺมการปฏกิ เฺขโป ไวก อ นจกั รธรรม ธรรมเปรยี บดว ยลอ รถ ซ่งึ จะ นําไปสูความเจริญ หรือใหถึงจุดมุง หา มปรามมใิ หม คี วามประพฤตกิ ารอนั ไม หมาย มี ๔ อยา ง; ดู จกั ร เปน ธรรม ๙. อธนานํ ธนานปุ ปฺ ทานํ เจอืจกั รพรรดิ พระราชาธริ าช หมายถงึ พระ ราชาผยู ง่ิ ใหญ มรี าชอาณาเขตปกครอง จานทรัพยทํานุบํารุงแกผ ขู ดั สนไรท รัพย ๑๐.สมณพรฺ าหมฺ เณ อปุ สงกฺ มติ วฺ า ปหฺ า- กวางขวางมาก บานเมืองในปกครองมี ปุจฺฉนํ ไปสูหาสมณพราหมณไตถาม อรรถปรศิ นา ๑๑. อธมมฺ ราคสสฺ ปหานํ ความรมเย็นเปนสุข ปราบขาศึกศัตรูดว ยธรรม ไมตอ งใชอ าชญาและศัสตรา เวนความกําหนัดในกามโดยอาการไมมรี ัตนะ ๗ ประการประจาํ พระองค คอื เปน ธรรม ๑๒. วิสมโลภสฺส ปหานํ เวน

จักษุ ๖๐ จาคานสุ สติโลภกลา ไมเ ลือกควรไมควร อยูบนฝงแมนํ้าจัมปา ไมหางไกลมากจกั รวรรดวิ ตั ร ๑๒ น้ี มาในอรรถกถา นกั จากจดุ ท่ีบรรจบกบั แมน ้ําคงคาโดยแบงซอยและเพ่ิมเติมจากของเดิม จัมเปยยขนั ธกะ ช่อื ขนั ธกะท่ี ๙ แหงใน จักกวัตตสิ ตู ร; ดู จักกวัตตสิ ตู ร คมั ภรี ม หาวรรค วนิ ยั ปฎ ก วา ดว ยขอ ควรจักษุ ตา, นยั นตา; จกั ษุ ๕ ดู จกั ขุ ทราบบางแงเกี่ยวกับนิคหกรรมตา งๆจกั ษทุ พิ ย ตาทพิ ย คอื ดอู ะไรเหน็ ไดห มด; จัมมขันธกะ ชอื่ ขันธกะที่ ๕ แหง คัมภรี ดู ทิพพจักขุ มหาวรรค วนิ ยั ปฎ ก วาดวยเครื่องหนังจงั หัน ขา ว, อาหาร (ใชแ กพ ระสงฆ) ตางๆ มีรองเทา และเครอ่ื งลาดเปน ตนจัญไร ชัว่ รา ย, เลวทราม, เสีย จาคะ การสละ, การเสียสละ, การทําใหจัณฑปชโชต พระเจาแผนดินแควน หมดไปจากตน, การใหหรอื ยอมใหหรอื อวนั ตี ครองราชสมบตั ิอยทู ี่กรงุ อุชเชนี ปลอ ยสละละวาง ทจ่ี ะทําใหหมดความจัณฑาล ลูกตางวรรณะ เชนบิดาเปน ยึดติดถือมั่นตัวตนหรือลดสลายความมีศูทร มารดาเปนพราหมณ มลี กู ออกมา ใจคบั แคบหวงแหน, การเปดใจกวางมีเรียกวา จัณฑาล ถือวาเปน คนตา่ํ ทราม นา้ํ ใจ, การสละส่ิงที่เปนขาศึกแกค วามถูกเหยียดหยามท่ีสุดในระบบวรรณะ จรงิ ใจ, การสละกเิ ลส (ขอ ๔ ในของศาสนาพราหมณ ฆราวาสธรรม ๔, ขอ ๓ ในอธิษฐาน-จันทน ไมจนั ทน เปนไมม กี ล่ินหอมใชทํา ธรรม ๔, ขอ ๖ ในอรยิ ทรพั ย ๗) จาคสัมปทา ถึงพรอมดวยการบริจาคยาและปรุงเคร่อื งหอมจนั ทรคติ การนับวันโดยถอื เอาการเดนิ ทาน เปนการเฉล่ียสุขใหแกผูอื่น; ดูของพระจันทรเปนหลกั เชน ๑ คาํ่ ๒ สัมปรายิกัตถะคํา่ และเดอื นอา ย เดือนยี่ เดอื น ๓ จาคาธฏิ ฐาน ทมี่ น่ั คอื จาคะ, ธรรมทคี่ วรเปน ตน ; คกู ับ สรุ ิยคติ ตง้ั ไวใ นใจใหเ ปน ฐานทมี่ นั่ คอื จาคะ, ผมู ีจนั ทรปุ ราคา การจบั จนั ทร คอื เงาโลกเขา การใหก ารสละละวางเปน ฐานทมี่ น่ั (ขอไปปรากฏทดี่ วงจนั ทร ขณะเมอ่ื ดวงจนั ทร ๓ ในอธฏิ ฐาน ๔); ดู อธษิ ฐานธรรมกับดวงอาทิตยอยูตรงกันขามโดยมีโลก จาคานุสสติ ระลึกถึงการบริจาค คืออยรู ะหวา งกลางทเ่ี รยี กวา ราหูอมจันทร; ระลึกถึงทานท่ีตนบริจาคแลว และคกู บั สุรยิ ุปราคา พิจารณาเห็นจาคธรรมที่มีในตน; ดูจัมปา ชื่อนครหลวงของแควนองั คะ ต้งั อนุสติ

จาตมุ หาราช ๖๑ จําพรรษาจาตมุ หาราช ทา วมหาราชส่ี, เทวดาผู หยอน ๕ ใหจายบาตรใหม” ใหจ ายคือรกั ษาโลกในส่ที ศิ , ทาวโลกบาลท้งั ส่ี คอื ใหขอบาตรใหม๑. ทา วธตรฐ จอมภตู หรอื จอมคนธรรพ จาร เขียนตัวหนังสือหรือเลขลงบนใบครองทิศตะวันออก ๒. ทาววิรุฬหก ลาน เปนตน โดยใชเ หลก็ แหลมขีด, ใชจอมกุมภัณฑ ครองทิศใต ๓. ทาว เหล็กแหลมเขยี นตวั หนังสอืวริ ปู ก ษ จอมนาค ครองทศิ ตะวันตก ๔. จาริก เทีย่ วไป, เดินทางเพอ่ื ศาสนกิจทาวกุเวร หรือ เวสสวัณ จอมยักษ จารีต ธรรมเนียมท่ีประพฤติกันมา,ครองทศิ เหนอื ประเพณี, ความประพฤตทิ ่ีดีจาตุมหาราชกิ า สวรรคช ้ันที่ ๑ มมี หาราช จารกึ เขยี น, เขยี นเปนตวั อกั ษร, เขียน๔ องค เปนประธาน ปกครองประจําทศิ รอยลกึ เปน ตัวอักษรลงในใบลาน หรอืทงั้ ๔, ทาวมหาราช ๔ นน้ั อยูภ ายใต ลงแผนศิลา แผนโลหะการบังคับบัญชาของทาวสักกะ (พระ จาํ นาํ พรรษา ดู ผาจํานําพรรษาอนิ ทร) เชน มหี นาทร่ี ายงานสภาพความ จาํ เนียรกาล เวลาชานานเปนไปของสังคมมนุษยแกหมูเทพชั้น จําปา ชื่อเมืองในมัธยมประเทศ ที่ถูกดาวดึงสในสุธรรมสภาเปนประจํา ถา เขยี น จมั ปาทัพอสูรรุกผานดานเบ้ืองตนใกลเขามา จาํ พรรษา อยูประจาํ วัดสามเดือนในฤดูทา วมหาราช ๔ กท็ าํ หนาทไี่ ปรายงานตอ ฝน คอื ตั้งแตแ รม ๑ คํ่า เดอื น ๘ ถึงพระอินทร; ดู จาตุมหาราช, อินทร ขึน้ ๑๕ คาํ่ เดอื น ๑๑ (อยา งนเี้ รยี กจาตุรงคสันนิบาต การประชุมพรอม ปรุ มิ พรรษา แปลวา “พรรษาตน”) หรอืดวยองค ๔ คือ ๑. วันน้นั ดวงจนั ทร ตัง้ แตแ รม ๑ ค่ําเดือน ๙ ถงึ ขน้ึ ๑๕ คาํ่เสวยมาฆฤกษ (เพ็ญเดือนสาม) ๒. เดือน ๑๒ (อยางนีเ้ รยี ก ปจ ฉมิ พรรษา พระสงฆ ๑๒๕๐ รูปมาประชุมกันโดยมิ แปลวา “พรรษาหลงั ”); วนั เขา พรรษาตน คอื แรม ๑ คา่ํ เดอื น ๘ เรยี กวา ปรุ มิ กิ า- ไดนัดหมาย ๓. พระสงฆเหลาน้ันทั้ง วัสสูปนายิกา, วันเขาพรรษาหลังคือ แรม ๑ คํ่าเดอื น ๙ เรยี กวา ปจ ฉิมิกา- หมดลว นเปน พระอรหนั ตผ ไู ดอ ภญิ ญา ๖ วัสสูปนายิกา; คําอธิษฐานพรรษาวา “อิมสฺมึ วหิ าเร อมิ ํ เตมาสํ วสสฺ ํ อเุปม;ิ ๔. พระสงฆเ หลา นนั้ ทง้ั หมดลว นเปน เอหิ ทุติยมปฺ  อิมสมฺ ึ วหิ าเร อมิ ํ เตมาสํ วสสฺ ํ ภิกข;ุ ดู มาฆบชู าจาบจว ง ดู จว งจาบจาย ในประโยควา “ภกิ ษุใดมบี าตรมีแผล

จําวัด ๖๒ จิตตปาคญุ ญตาอเุปม;ิ ตตยิ มปฺ  อิมสมฺ ึ วหิ าเร อมิ ํ เตมาสํ จิตกา, จิตกาธาน เชงิ ตะกอน, ทเี่ ผาศพวสสฺ ํ อเุปม”ิ แปลวา “ขา พเจา เขา อยจู าํ จิตตะ เอาใจฝกใฝในสิ่งนั้นไมวางธุระ,พรรษาตลอด ๓ เดือนในวัดนี้” (วิหาเร ความคิดฝกใฝไมปลอยใจฟุงซานเลื่อนจะเปลีย่ นเปน อาวาเส กไ็ ด) ; อานสิ งส ลอย, ความมจี ติ จดจอ อทุ ศิ ตวั อทุ ศิ ใจตอการจาํ พรรษามี ๕ อยา ง คอื ๑. เทย่ี วไป สง่ิ นนั้ (ขอ ๓ ในอทิ ธบิ าท ๔)ไมต อ งบอกลา ๒. จารกิ ไปไมต อ งเอาไตร จิตตกัมมัญญตา ความควรแกการงานจวี รไปครบสาํ รบั ๓. ฉนั คณโภชนและ แหงจิต, ธรรมชาติท่ีทาํ จิตใหเหมาะแกปรมั ปรโภชนได ๔. เก็บอดเิ รกจวี รได การใชง าน (ขอ ๑๕ ในโสภณเจตสกิ ๒๕)ตามปรารถนา ๕. จีวรอนั เกิดขนึ้ ในท่ี จิตตกา เครื่องลาดทําดวยขนแกะ ท่ปี กน้ัน เปน ของไดแ กพวกเธอ อานสิ งสท ้งั หรือทอเปน ลวดลายตา งๆหาน้ีไดช่ัวเวลาเดือนหนึ่ง นับแตออก จิตตคฤหบดี ชื่ออบุ าสกสาํ คญั ทา นหนง่ึพรรษาแลว คอื ถงึ ขนึ้ ๑๕ คา่ํ เดอื น ๑๒ เปนพระอนาคามี มีปญญาสามารถในนอกจากนั้นยังไดสิทธิท่ีจะกรานกฐิน การแสดงธรรม พระพทุ ธเจา ทรงยกยองและไดร บั อานิสงส ๕ นนั้ ตอออกไปอกี วาเปนเอตทัคคะในบรรดาอบุ าสกธรรม-๔ เดือน (ภิกษผุ ูเขา พรรษาหลัง ไมไ ด กถึก กับทั้งทรงยกยองวาเปนตราชู อานิสงสหรอื สทิ ธพิ เิ ศษเหลา น้ี) (ตุลา) ของอบุ าสกบริษทั จึงไดช่ือวาเปนจําวัด นอนหลบั (ใชแ กพ ระสงฆ) อัครอุบาสก (คูกับหัตถกะอาฬวกะ),จาํ ศลี อยรู ักษาศีล, ถอื ศีลเปนกิจวตั ร จิ ต ต ค ฤ ห บ ดี ไ ด ส ร า ง วั ด ห น่ึ ง ช่ื อ ว าจําหลกั แกะใหเปนลวดลาย, สลัก อมั พาฏการาม; ทานผูน้ีเคยถูกภกิ ษชุ อื่จิต, จิตต ธรรมชาตทิ ร่ี ูอ ารมณ, สภาพที่ สุธรรมดา เปน เหตุใหพ ระพุทธเจา ทรงนึกคดิ , ความคดิ , ใจ; ตามหลกั ฝา ย บัญญตั ิปฏสิ าราณียกรรม คอื การลงโทษอภิธรรม จาํ แนกจิตเปน ๘๙ (หรือ ภกิ ษผุ ดู า วา คฤหสั ถท ไ่ี มม คี วามผดิ ดว ยพสิ ดารเปน ๑๒๑) แบง โดยชาติ เปน การใหไ ปขอขมาเขา; ดู ตุลา, เอตทคั คะอกศุ ลจติ ๑๒ กศุ ลจติ ๒๑ (พสิ ดารเปน จติ ตชรูป ดทู ี่ รูป ๒๘๓๗) วปิ ากจติ ๓๖ (๕๒) และ กริ ยิ าจติ จิตตปาคุญญตา ความคลอ งแคลวแหง๒๐; แบง โดยภมู ิ เปน กามาวจรจติ ๕๔ จิต, ธรรมชาติที่ทําจิตใหสละสลวยรปู าวจรจติ ๑๕ อรปู าวจรจติ ๑๒ และโล คลอ งแคลว วอ งไว (ขอ ๑๗ ในโสภณ-กตุ ตรจติ ๘ (พสิ ดารเปน ๔๐) เจตสิก ๒๕)

จติ ตภาวนา ๖๓ จีวรจติ ตภาวนา ดู ภาวนา โทสะ โมหะ กร็ วู า จติ ปราศจาก ราคะจติ ตมาส เดอื น ๕ โทสะ โมหะ (ขอ ๓ ในสตปิ ฏ ฐาน ๔)จติ ตมทุ ตุ า ความออ นแหง จติ , ธรรมชาติ จติ ตชุ กุ ตา ความซอ่ื ตรงแหง จติ , ธรรมชาติทําจิตใหน มุ นวลออนละมนุ (ขอ ๑๓ ใน ที่ทําใหจิตซื่อตรงตอหนาที่การงานของโสภณเจตสิก ๒๕) มนั (ขอ ๑๙ ในโสภณเจตสิก ๒๕)จิตตลหุตา ความเบาแหง จติ , ธรรมชาติ จติ ตปุ บาท [จิด-ตุบ-บาด] ความเกิดข้ึนที่ทําใหจิตเบาพรอมที่จะเคลื่อนไหวทํา แหงจิต หมายถึงจิตพรอมท้ังเจตสิกที่ หนา ท่ี (ขอ ๑๑ ในโสภณเจตสกิ ๒๕) ประกอบอยูดวย ซ่ึงเกิดขึ้นครั้งหนึ่งๆ,จิตตวสิ ุทธิ ความหมดจดแหง จิต คอื ได การเกิดความคิดผดุ ข้ึน, ความคดิ ท่ผี ดุ ฝกอบรมจิตจนเกิดสมาธิพอเปนบาท ขนึ้ ฐานแหงวปิ ส สนา (ขอ ๒ ใน วสิ ทุ ธิ ๗) จติ ประภสั สร ดู ภวงั คจติจติ ตสังขาร 1. ปจ จัยปรุงแตง จิตไดแ ก จินตกวี นักปราชญผูชํานาญคิดคําสญั ญาและเวทนา 2. สภาพทปี่ รุงแตง ประพนั ธ, ผสู ามารถในการแตง รอ ยกรองการกระทําทางใจ ไดแกเจตนาที่กอให ตามแนวความคิดของตนเกดิ มโนกรรม; ดู สงั ขาร จนิ ตามยปญ ญา ดู ปญ ญา๓จิตตสันดาน การสืบตอมาโดยไมขาด จีวร ผาที่ใชนุงหมของพระภิกษุในพระ สายของจติ ; ในภาษาไทย หมายถึงพืน้ พทุ ธศาสนา ผืนใดผนื หนึง่ ในจาํ นวน ๓ ผืนที่เรียกวา ไตรจีวร คือผาซอน ความรูสึกนึกคิดหรืออุปนิสัยใจคอท่ีฝง นอกหรอื ผาทาบซอ น (สังฆาฏ)ิ ผา หม (อุตราสงค) และผา นงุ (อนั ตรวาสก), อยูในสวนลึกของจิตใจมาแตกําเนิด แตใ นภาษาไทย นิยมเรียกเฉพาะผาหม (ความหมายนยั หลงั น้ี มใิ ชมาในบาล)ี คืออุตราสงค วาจีวร; จีวรมีขนาดท่ีจิตตสามคั ค,ี จติ สามัคคี ดู สามัคคีจติ ตสิกขา ดู อธจิ ติ ตสิกขา กําหนดตามพุทธบัญญัติในสิกขาบทท่ีจิตตานุปสสนา สติพิจารณาใจท่ีเศราหมองหรอื ผอ งแผว เปน อารมณว า ใจนก้ี ส็ กั ๑๐ แหง รตนวรรค (ปาจติ ตีย ขอ ท่ี ๙๒;วาใจ ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา วินย.๒/๗๗๖/๕๑๑) คอื มใิ หเทา หรือเกินกาํ หนดรูจิตตามสภาพที่เปนอยูในขณะ กวาสคุ ตจวี ร ซงึ่ ยาว ๙ คืบ กวาง ๖ คบืนนั้ ๆ เชน จติ มี ราคะ โทสะ โมหะ กร็ วู า จติ โดยคืบพระสุคต, ผาทําจีวรท่ีทรงมี ราคะ โทสะ โมหะ จติ ปราศจาก ราคะ อนุญาตมี ๖ ชนิด ดังท่ีตรัสวา

จวี ร ๖๔ จวี ร(วินย.๒/๑๓๙/๑๙๓) “ภิกษทุ งั้ หลาย เรา คเี วยยกะ ชังเฆยยกะ พาหันตะ ทั้งน้ีอนุญาตจีวร ๖ ชนดิ คอื โขมะ จีวรผา เมื่อเปนผาท่ีถูกตัด ก็จะเปนของเศราเปลอื กไม ๑ กัปปาสกิ ะ จีวรผาฝา ย ๑ หมองดวยศัสตรา คือมีตําหนิ เสียรูปโกเสยยะ จวี รผาไหม ๑ กมั พละ จวี ร เสยี ความสวยงาม เส่อื มคา เสียราคาผา ขนสตั ว (หา มผมและขนมนษุ ย) ๑ สมควรแกส มณะ และพวกคนทปี่ ระสงคสาณะ จวี รผา ปา น ๑ ภงั คะ จวี รผา ของ รา ยไมเ พง จอ งอยากไดในหา อยางนนั้ เจือกนั ๑”; สตี องหา มสําหรบั จวี ร คือ (วินย.๕/๑๖๙/๒๓๔) นีลกะ มีพุทธบัญญัติวา (วินย.๕/๙๗/๑๓๗)ลวน (สีเขียวคราม) ปตกะลว น (สี จวี รผนื หนึ่งๆ ตองตัดเปน ปญ จกะ (มีเหลอื ง) โลหติ กะลว น (สแี ดง) มัญ- สวนประกอบหาชนิ้ หรอื หา ผืนยอย, ช้นิเชฏฐกลวน (สบี านเย็น) กัณหะลว น ใหญหรือผืนยอยนี้ ตอ มาในช้ันอรรถ-(สีดาํ ) มหารงครตั ตลว น (สีแดงมหา- กถา เรยี กวา “ขณั ฑ” จงึ พูดวา จีวรหารงค อรรถกถาอธิบายวาสีอยางหลัง ขัณฑ) หรอื เกนิ กวา ปญ จกะ (พูดอยา งตะขาบ แปลกันมาวาสแี สด) มหานาม- อรรถกถาวา มากกวา ๕ ขัณฑ เชนรัตตลวน (สีแดงมหานาม อรรถกถา เปน ๗ ขัณฑ ๙ ขณั ฑ หรือ ๑๑ ขัณฑ)อธบิ ายวา สแี กมกนั อยา งสใี บไมเ หลือง ตามพุทธบัญญัตเิ ดมิ น้ัน จวี รทัง้ ๓บา งวา สกี ลบี ดอกปทมุ ออน แปลกนั มา (คอื สงั ฆาฏิ อุตราสงค และอันตรวาสก) ตอ งเปน ผาท่ถี ูกตดั เปน ชน้ิ ๆ นํามาเยบ็วา สชี มพ)ู ทง้ั นี้ สที ร่ี บั รองกนั มา คอื สี ประกอบกันขึ้นอยา งท่กี ลาวขา งตน แต ภิกษบุ างรปู ทาํ จีวร เมื่อจะใหเ ปน จีวรผาเหลืองเจือแดงเขม หรือสีเหลืองหมน ตดั ทุกผืน ผาไมพ อ จงึ เปนเหตปุ รารภ ใหมีพุทธานุญาตยกเวนวา (วินย.๕/๑๖๑/เชนสยี อมแกน ขนนุ ท่ีเรยี กวา สกี รัก ๒๑๙) “ภิกษทุ ั้งหลาย เราอนุญาตจวี รผา ตดั ๒ ผืน จวี รผาไมต ัด ๑ ผนื ” เมอื่ ผา จีวรน้ัน พระพุทธเจาโปรดใหพระ ยงั ไมพ อ กต็ รสั อนญุ าตวา “ภกิ ษทุ งั้ หลาย เราอนญุ าตจวี รผา ไมต ดั ๒ ผนื จวี รผาอานนทออกแบบจัดทําตามรูปนาของ ตัด ๑ ผืน” ถงึ อยา งนน้ั กม็ ีกรณีทผ่ี า ยัง ไมพ ออกี จึงตรัสวา “ภกิ ษทุ ั้งหลาย เราชาวมคธ (วินย.๕/๑๔๙/๒๐๒) ทําใหมีรูป อนุญาตใหเพ่ิมผาเพลาะ แตผาไมตัดลักษณเปนระเบียบแบบแผน โดยทรงกาํ หนดใหเ ปน ผาที่ถูกตดั เปนชน้ิ ๆ นํามาเย็บประกอบกันขึ้นตามแบบที่จัดวางไวชิ้นทง้ั หลายมีช่อื ตางๆ เปน กุสิ อัฑฒกุสิมณฑล อฑั ฒมณฑล วิวัฏฏะ อนุววิ ฏั ฏ ะ

จวี ร ๖๕ จวี รเลยหมดทกุ ผนื ภิกษุไมพ ึงใช รูปใดใช (ตามคําอธิบายของอรรถกถา วนิ ย.อ.๓/๒๓๖) คือ ขัณฑก ลาง ชื่อววิ ฏั ฏะ (แปลตามศัพทว าตองอาบตั ทิ ุกกฏ” คลขี่ ยายออกไป), ขัณฑท่อี ยูขา งววิ ฏั ฏะ ท้ังสองดาน ช่ืออนุวิวัฏฏะ (แปลตาม ในสมยั ตอมา นยิ มนําคาํ วา “ขัณฑ” ศัพทวาคล่ีขยายไปตาม), ขัณฑที่อยู ขอบนอกทงั้ สองขา ง ชอ่ื พาหนั ตะ (แปลมาใชเปนหลักในการกําหนดและเรียก วา สุดแขน หรอื ปลายพาดบนแขน) นี้ชอ่ื สว นตางๆ ของจีวร ทาํ ใหกําหนดงาย สาํ หรับจีวร ๕ ขณั ฑ, ถา เปนจวี รที่มีขนึ้ อีก ดังไดกลา วแลว วา จีวรมอี ยา ง ขณั ฑมากกวา น้ี (คือมี ๗ ขณั ฑข ้ึนไป)นอย ๕ ขัณฑ คือ จีวรที่มรี ปู ส่เี หลย่ี ม ขัณฑทุกขัณฑที่อยูระหวางวิวัฏฏะกับผนื ผาผนื หนงึ่ น้ี เมอื่ คลแี่ ผอ อกไปตาม พาหันตะ ชื่อวา อนุวิวฏั ฏะท้งั หมด (บางยาว จะเห็นวามีขณั ฑ คือผาผนื ยอย ทเี รียกใหต า งกันเปน จฬู านุวิวัฏฏ กบัขนาดประมาณเทา ๆ กนั ยาวตลอดจาก มหานวุ ิวัฏฏ) ; นอกจากนี้ มแี ผนผา เยบ็บนลงลาง ๕ ผืน เรยี งตอกันจากซายไป ทาบเติมลงไปตรงท่ีหุมคอ เรียกวา คเี วยยกะ และแผนผาเย็บทาบเติมลงสดุ ขวา ครบเปน จีวร ๑ ผืน; ขณั ฑท้ัง ไปตรงท่ถี กู แขง เรียกวา ชงั เฆยยกะ (น้ี วา ตามคําอธบิ ายในอรรถกถา แตพ ระมติ๕ น้ี แตล ะขณั ฑม ีสวนประกอบครบใน ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาตวั คือ มี ๒ กระทง ไดแก กระทงใหญเรยี กวา มณฑล กบั กระทงเล็ก (ราวครึง่ วชริ ญาณวโรรส ในหนงั สอื วนิ ยั มขุ เลม ๒ของกระทงใหญ) เรียกวา อฑั ฒมณฑล, วา ในจวี รหา ขณั ฑๆ กลาง ชอื่ คเี วยยกะระหวางมณฑลกับอัฑฒมณฑล มีเสน เพราะเมอื่ หม จวี ร อฑั ฒมณฑลของขณั ฑค่ันดุจคันนาขวาง เรียกวาอัฑฒกุสิ,มณฑล กับอัฑฒมณฑล และอัฑฒกุสิ นน้ั อยทู คี่ อ, ขณั ฑถ ดั ออกมาทง้ั ๒ ขา งรวมเปนขัณฑหน่ึง โดยมีเสนค่ัน ชอื่ ชงั เฆยยกะ เพราะอฑั ฒมณฑลของระหวางขณั ฑน น้ั กับขณั ฑอ นื่ อยสู อง ๒ ขณั ฑน น้ั อยทู แ่ี ขง ในเวลาหม , ขณั ฑขางของขัณฑ ดุจคันนายืน เรียกวา กสุ ,ิ ถดั ออกมาอกี ทงั้ ๒ ขา ง ชอื่ พาหนั ตะเม่ือรวมเปนจีวรครบผืน (นิยมเรียง เพราะอฑั ฒมณฑลของ ๒ ขณั ฑน นั้ อยูขัณฑท่ีตอกัน ใหดานมณฑลกับดาน ทแี่ ขนในเวลาหม ); ตอ มา มีเหตุการณอ นัอฑั ฒมณฑลสลับกัน) มีผา ขอบจวี รทั้งส่ี เปนกรณีตางหาก ซึ่งเปนขอปรารภใหดา น เรียกวา อนวุ าต (แปลวาพล้ิวตามลม, อนวุ าตกเ็ ปน กุสอิ ยางหนง่ึ ); ขณั ฑแตละขัณฑมีชื่อเรียกเฉพาะตางกันไป

จีวรกรรม ๖๖ จุณณยิ บท ทรงอนญุ าตลกู ดุม (คณั ฐกิ า) และรังดุม ยังไมไ ดทาํ จวี ร หรอื ทําคา งหรอื หายเสีย (ปาสกะ) (วินย.๗/๑๖๖/๖๕); ดู ไตรจีวร, ในเวลาทํา แตยังไมสิ้นความหวังวาจะ ขัณฑ ไดจ วี รอีกจีวรกรรม การทําจีวร, งานเกี่ยวกับจวี ร จีวรภาชก “ผูแจกจีวร”, ภิกษุท่ีสงฆเชน ตัด เย็บ ยอ ม เปน ตน สมมติ คือแตงตงั้ ใหเ ปน เจา หนาทแ่ี จกจวี รการสมัย คราวที่พระทําจวี ร, เวลาท่ี จีวร, เปนตําแหนงหนึ่งในบรรดา เจา อธิการแหง จวี รกําลงั ทําจีวรจวี รกาล ฤดูถวายจวี ร, ฤดูถวายผา แก จีวรมรดก จีวรของภิกษุหรือสามเณรผูพระสงฆ; ดู จวี รกาลสมัย ถงึ มรณภาพ (มตกจีวร) สงฆพงึ มอบใหจีวรกาลสมัย สมัยหรือคราวท่ีเปนฤดู แกค ิลานปุ ฐาก (ผูพยาบาลคนไข) ดวยถวายจวี ร; งวดหน่ึง สําหรับภิกษทุ มี่ ไิ ด ญตั ตทิ ตุ ยิ กรรม อยา งไรกต็ าม อรรถกถากรานกฐิน ต้ังแตแรมคํา่ หน่ึงเดอื น ๑๑ แสดงมติไววา กรณีเชนนี้เปนกรรมไมถึงเพ็ญเดือนสิบสอง (คือเดือนเดียว), สาํ คญั นกั จะทาํ ดว ยอปโลกนกรรม กค็ วรอีกงวดหนึง่ สําหรบั ภิกษุที่ไดก รานกฐิน จวี รลาภ การไดจ วี รแลว ตง้ั แตแรมคํา่ หนง่ึ เดอื น ๑๑ ไปจน จวี รวรรค ตอนท่ีวาดวยเรอื่ งจีวร เปนหมดฤดูหนาวคือถึงข้ัน ๑๕ คา่ํ เดอื น ๔ วรรคที่ ๑ แหงนสิ สคั คิยกัณฑ(รวม ๕ เดอื น) จีวรอธิษฐาน จีวรครอง, ผาจํากัดจีวรทานสมัย สมัยที่เปนฤดูถวายจีวร จาํ นวน ๓ ผนื ท่ีอธษิ ฐาน คือกําหนดไวตรงกบั จวี รกาลสมัย ใชประจําตัวตามที่พระวินัยอนุญาตไว;จวี รนทิ หกะ “ผเู กบ็ จวี ร”, ภกิ ษุท่ีสงฆ ตรงขา มกับ อตเิ รกจวี รสมมติ คือแตงตั้งใหเปนเจาหนาที่เก็บ จีวรักขนั ธกะ ชอ่ื ขนั ธกะที่ ๘ แหงคัมภรี รักษาจีวร, เปนตําแหนงหน่ึงในบรรดา มหาวรรค วนิ ัยปฎ ก วา ดว ยเร่ืองจวี รเจา อธกิ ารแหงจวี ร จุณณ ละเอียดจีวรปฏคิ คาหก “ผูรับจวี ร”, ภิกษุที่สงฆ จณุ ณยิ บท คาํ รอ ยแกว , ขอ ความรอ ยแกวสมมติ คือแตงต้ังใหเปนเจาหนาที่รับ ท่ีกระจายความออกไป ตรงขามกับคาํจีวร, เปนตําแหนงหนึ่งในบรรดา เจา ประพันธท่ีผูกเปนคาํ รอยกรอง ซึ่งเรยี กอธิการแหงจีวร วา คาถาพันธ หรอื คาถา; ในการจดัจวี รปลโิ พธ ความกังวลในจวี ร คือภกิ ษุ พุทธพจนเปนประเภทตางๆ ที่เรียกวา

จตุ ิ ๖๗ จุลกฐนินวังคสัตถุศาสน พุทธพจนอันเปนคํา เรยี กอีกอยา งวา ทพิ พจักขุ (ขอ ๒ ในวิสัชนาท่ีเปนจุณณิยบทลวน จัดเปน ญาณ ๓ หรอื วชิ ชา ๓, ขอ ๗ ในวชิ ชาเวยยากรณะ, พทุ ธพจนท เ่ี ปน คาถาลว น ๘, ขอ ๕ ในอภญิ ญา ๖)จดั เปน คาถา, พทุ ธพจนท เ่ี ปน จณุ ณยิ บท จุนทะ พระเถระผูใ หญชัน้ มหาสาวก เปนและมคี าถาระคน จดั เปน เคยยะ; ใน นองชายของพระสารีบุตร เคยเปนประเพณไี ทย เมอ่ื พระเทศน มธี รรม- อปุ ฏ ฐากของพระพทุ ธองค และเปน ผนู าํเนียมใหยกขอความบาลีขึ้นมาวา นาํ กอ น อัฐิธาตุของพระสารีบุตรจากบานเกิดที่และในการเทศนท ว่ั ไป มกั ยกคาถาพทุ ธ ทานปรินิพพานมาถวายแดพระพุทธ-ภาษติ ขนึ้ เปน บทตง้ั เรยี กวา นกิ เขปบท องคท ี่พระเชตวันแตใ นการเทศนม หาชาติ ซง่ึ เปน เทศนาที่ จุนทกัมมารบุตร นายจุนทะ บุตรมลี กั ษณะเฉพาะพเิ ศษ นยิ มยกขอ ความ ชางทอง ชาวเมืองปาวา ผูถวายสูกร-รอ ยแกว ภาษาบาลจี ากอรรถกถาชาดกมา มทั ทวะ เปนภตั ตาหารครงั้ สดุ ทาย แดกลาวนาํ ทีละเลก็ นอ ยกอนดาํ เนนิ เรือ่ งใน พระพทุ ธเจา ในเชา วนั ปรนิ พิ พาน, จนุ ทะภาษาไทยตอ ไป และนคี่ งเปน เหตใุ หเ กดิ กัมมารบุตร ก็เขียน; ดู สูกรมัททวะ,ความเขาใจท่ีเปนความหมายใหมขึ้นใน พทุ ธปรนิ พิ พานภาษาไทยวา จุณณยี บท คอื บทบาลี (รอ ย จลุ กฐนิ “กฐนิ นอ ย”, “กฐนิ จวิ๋ ”, กฐนิ วนั แกว) เล็กนอย ที่ยกข้ึนแสดงกอนเนื้อ เดยี วเสรจ็ , พธิ ที าํ บญุ ทอดกฐนิ แบบหนงึ่ ความ (พจนานกุ รมเขียนจุณณียบท); ตรง ทีไ่ ดพฒั นาขึ้นมาในประเพณีไทย (บาง ขา มกบั คาถา,คาถาพนั ธ; ดูนวงั คสตั ถศุ าสน ถิ่นเรียกวากฐินแลน) โดยมีกําหนดวาจตุ ิ “เคลอื่ น” (จากภพหน่ึง ไปสภู พอ่ืน), ตอ งทาํ ทกุ อยา งตง้ั แตป น ฝา ย ทอ ตดัตาย (ในภาษาบาลี ใชไดท ่ัวไป แตใ น เยบ็ เปน จวี รผนื ใดผนื หนง่ึ (ตามปกตทิ าํภาษาไทยสวนมากใชแกเทวดา); ใน เปน สบง คงเพราะเปน ผนื เลก็ ทส่ี ดุ ทนั ไดภาษาไทย บางทีเขาใจและใชกันผิดไป งา ย) ยอ ม และนาํ ผา กฐนิ ไปทอดถวายแกไกล ถงึ กบั เพยี้ นเปน วา เกดิ ก็มี พระสงฆ ใหท นั ภายในวนั เดยี ว (พระสงฆจุตูปปาตญาณ ปรีชารูจุติและอุบัติของ ไดร บั แลว กจ็ ะทาํ การกรานกฐนิ และสัตวทัง้ หลาย, มีจักษุทิพยมองเห็นสตั ว อนโุ มทนาเสรจ็ ในวนั นนั้ ตามธรรมดาของกําลังจุตบิ า ง กาํ ลังเกดิ บาง มีอาการดี พระวนิ ยั การทง้ั หมดของทุกฝายจงึ เปนบา ง เลวบางเปนตน ตามกรรมของตน อันเสร็จในวันเดยี วกนั ), เหตทุ ี่นิยมทํา

จุลกาล ๖๘ จฬุ ามณีเจดียและถือวาเปนบุญมาก คงเพราะตอง วัตตขันธกะ วาดวยวัตรตางๆ เชนสําเร็จดวยความสามัคคีของคนจํานวน อาคันตุกวตั ร เปนตน ๙. ปาติโมกขฏั -มากท่ีทํางานกันอยางแข็งขันขมีขมัน ฐปนขันธกะ วา ดวยระเบยี บในการงดและประสานกนั อยางดีย่ิง; โดยปริยาย สวดปาฏิโมกขในเมื่อภิกษุมีอาบตั ิตดิ ตัวหมายถงึ งานทต่ี อ งทาํ เรง ดว นอยา งชลุ มนุ มารว มฟง อยู ๑๐. ภกิ ขนุ ขี นั ธกะ วา ดว ยวนุ วายเพอ่ื ใหเ สรจ็ ทนั เวลาอนั จํากัด เร่ืองภิกษุณีเริ่มแตประวัติการอนุญาตจุลกาล ชื่อนองชายของพระมหากาลที่ ใหมีการบวชคร้ังแรก ๑๑. ปญจสติก-บวชตามพ่ชี าย แตไ มไดบ รรลุมรรคผล ขันธกะ วา ดวยเรื่องสงั คายนาครัง้ ที่ ๑ ๑๒. สัตตสตกิ ขันธกะ วา ดวยสงั คายนาสกึ เสียในระหวา งจลุ คณั ฐี ชอ่ื นกิ ายพระสงฆพ มา นกิ ายหนงึ่ ครง้ั ที่ ๒ (พระไตรปฎกเลม ๖–๗); ตอจลุ ราชปรติ ร ปรติ รหลวงชดุ เลก็ คอื เจด็ จาก มหาวรรคตาํ นาน ดู ปรติ ร,ปรติ ต จุลศักราช ศักราชนอย ตั้งขึ้นโดยจลุ วรรค ชอื่ คมั ภรี อ นั เปน หมวดหนงึ่ แหง กษตั ริยพมา องคห นึง่ ใน พ.ศ. ๑๑๘๒พระวนิ ยั ปฎ ก ซง่ึ มที ง้ั หมด ๕ หมวด คอื ภายหลังมหาศกั ราช, เปนศักราชทเี่ ราใชอาทิกมั ม ปาจติ ตยี  มหาวรรค จลุ วรรค กนั มากอ นใชร ัตนโกสินทรศก, นบั รอบปริวาร; คมั ภีรจุลวรรค มี ๑๒ ขันธกะ ปต ง้ั แต ๑๖ เมษายน ถงึ ๑๕ เมษายนคอื ๑. กัมมขันธกะ วาดว ยเร่อื งนคิ ห- เขยี นยอ วา จ.ศ. (พ.ศ. ๒๕๒๒ ตรงกบักรรม ๒. ปาริวาสิกขันธกะ วาดวยวตั ร จ.ศ.๑๓๔๐–๑๓๔๑)ของภิกษผุ ูอยูปริวาส ผปู ระพฤตมิ านตั จุลศีล ดู จูฬมชั ฌิมมหาศลีและผเู ตรยี มจะอพั ภาน ๓.สมจุ จยขนั ธกะ จุฬามณีเจดีย พระเจดียที่บรรจุพระวาดวยระเบียบปฏิบัติตางๆ ในการ จุฬาโมลี (มวยผม) ของพระพทุ ธเจาในประพฤตวิ ฏุ ฐานวธิ ี ๔. สมถขนั ธกะ วา ดาวดงึ สเทวโลก อรรถกถาเลาวา เมื่อดวยการระงบั อธกิ รณ ๕. ขทุ ทกวตั ถ-ุ พระโพธิสัตวเสด็จออกบรรพชา เสด็จขนั ธกะ วา ดว ยขอ บญั ญตั ปิ ลกี ยอ ยจาํ นวน ขามแมน้ําอโนมาแลวจะอธิษฐานเพศมาก เชน การปลงผม ตดั เลบ็ ไมจ้มิ ฟน บรรพชติ ทรงตดั มวยพระเกศาขวา งไปในของใชต า งๆ เปน ตน ๖. เสนาสนขนั ธกะ อากาศ พระอนิ ทรน าํ ผอบแกวมารองรบัวา ดว ยเรอ่ื งเสนาสนะ ๗. สงั ฆเภทขนั ธกะ เอาไปประดิษฐานในพระเจดียจุฬามณีวาดวยสังฆเภทและสังฆสามัคคี ๘. ตอมาเม่ือพระพุทธเจาเสด็จดับขันธ-

จฬู ปน ถกะ ๖๙ จฬู มชั ฌิมมหาศีล ปรินิพพานแลว ในขณะแจกพระบรม- (ปรากฏในทีฆนิกาย สีลขันธวรรค คือ พระไตรปฎ กบาลอี กั ษรไทย เลม ๙ ทง้ั สารีริกธาตุ พระอินทรไดมานําเอาพระ ๑๓ สตู ร มีสาระเหมอื นกันหมด) และ ทาฐธาตุ (พระเขยี้ วแกว ) ขา งขวาทโ่ี ทณ- เน่ืองจากมีรายละเอียดมากมาย พระ พราหมณซ อ นไวใ นผา โพกศรี ษะ ใสผ อบ ธรรมสังคาหกาจารยจึงจัดเปน ๓ หมวด และตัง้ ชื่อหมวดอยางท่ีกลาวนนั้ ทอง นาํ ไปบรรจใุ นจุฬามณีเจดียด วย ตามลําดับ, ในพระสตู รแรกท่ตี รัสแสดงจูฬปนถกะ พระมหาสาวกองคหนึ่งใน ศลี ชุดนี้ (คอื พรหมชาลสูตร) พระองค อสีติมหาสาวก เปนบตุ รของธิดาเศรษฐี ตรัสเพื่อใหรูกันวา เร่ืองที่ปุถุชนจะเอา มากลา วสรรเสริญพระองค กค็ ือความมี กรงุ ราชคฤห และเปนนองชายของมหา- ศีลอยางน้ี ซง่ึ แทจ ริงแลว เปน เร่ืองตํา่ ๆ เล็กนอ ย แตเ รื่องทีจ่ ะใชเปนขอสําหรบั ปนถกะ ออกบวชในพระพุทธศาสนา สรรเสริญพระองคไดถูกตองนั้น เปน เร่ืองลกึ ซงึ้ ซ่งึ บณั ฑิตจะพึงรู คือการท่ี ปรากฏวามีปญญาทึบอยางยิ่ง พ่ีชาย ทรงมีพระปญญาที่ทําใหขามพนทิฏฐิท่ี ผดิ ทง้ั ๖๒ ประการ สวนในพระสตู ร มอบคาถาเพียง ๑ คาถาใหทอ งตลอด นอกน้ัน ตรสั ศลี ชุดนี้เพ่อื ใหเหน็ ลาํ ดบั การปฏิบัติของบุคคลที่มีศรัทธาออก เวลา ๔ เดอื น กท็ อ งไมไ ด จึงถูกพช่ี าย บวชแลว วา จะดาํ เนนิ กา วไปอยา งไร โดย เริม่ ดว ยเปนผถู ึงพรอ มดว ยศลี สาํ รวม ขับไล เสียใจคิดจะสึก พอดีพบพระ อินทรีย ประกอบดวยสติสัมปชัญญะ เปนผูสนั โดษ เมื่อพรอ มอยางน้แี ลว ก็ พทุ ธเจา พระองคต รสั ปลอบแลว ประทาน เจริญสมาธิ จนเขาถึงจตุตถฌาน แลว โนมจิตที่เปนสมาธิดีแลวน้ัน ใหมุงไป ผาขาวบริสุทธ์ิใหไปลูบคลําพรอมทั้ง เพื่อญาณทัศนะ แลวกาวไปในวชิ ชา ๘ บรกิ รรมสั้นๆ วา “รโชหรณํ ๆ ๆ” ผา ประการ จนบรรลอุ าสวกั ขยญาณในทสี่ ดุ น้ันหมองเพราะมือคลาํ อยูเสมอ ทําให โดยเฉพาะในขน้ั ตน ทต่ี รสั ถงึ ศลี นน้ั พระ องคไ ดท รงตั้งเปน คาํ ถามวา “ภกิ ษเุ ปน ผู ทานมองเห็นไตรลักษณ และไดสําเร็จ พระอรหตั ทา นมคี วามชาํ นาญแคลว คลอ ง ในอภญิ ญา ๖ ไดร บั ยกยอ งเปน เอตทคั คะ ในบรรดาผฉู ลาดในเจโตววิ ฏั ฏ; ช่ือทาน เรียกงา ยๆ วา จฬู บนั ถก, บางแหงเขยี น เปน จลุ ลบนั ถกจฬู มชั ฌมิ มหาศลี จูฬศีล (ศีลยอย) มชั ฌมิ ศีล (ศีลกลาง) และมหาศีล (ศีล ใหญ), หมายถึงศีลท่ีเปนหลักความ ประพฤติของพระภิกษุ ซ่งึ พระพทุ ธเจา ตรัสแจกแจงไวในพระสูตรบางสูตร

จฬู มชั ฌมิ มหาศลี ๗๐ จฬู มัชฌมิ มหาศีลถงึ พรอ มดว ยศลี อยา งไร?” จากนน้ั จึงได ท่ีตรสั ไว ยืดยาว มรี ายละเอียดมาก ในทรงแจกแจงรายละเอยี ดในเรอื่ งศลี อยา ง ท่ีนี้ จะแสดงเพียงหัวขอท่ีจะขยายเองมากมาย ดงั ทเี่ รยี กวา จฬู ศลี มชั ฌิมศีล ได หรือพอใหเ หน็ เคา ความ (ผตู องการและมหาศลี ทก่ี ลาวนี้ รายละเอียด พึงดู ที.สี.๙/๓-๒๕/๕-๑๕; ๑๐๓–๑๒๐/๘๓–๙๒) พึงสังเกตวา ในพระสูตรท้ังหลายทรงจํากัดความ หรือแสดงความหมาย จฬู ศีลของ “ภกิ ษผุ ถู งึ พรอ มดว ยศลี ” ดวยจูฬ- ๑ . ล ะ ป า ณ า ติ บ า ต … ๒ . ล ะมัชฌิมมหาศีลชุดน้ี หรือไมก็ตรัส อทนิ นาทาน… ๓.ละอพรหมจรรย… ๔.อธิบายเพียงส้ันๆ วา (เชน องฺ.จตุกฺก.๒๑/ ละมุสาวาท… ๕.ละปสุณาวาจา… ๖.๓๗/๕๐) “ภิกษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ เปน ผมู ีศีล ละผรุสวาจา… ๗.ละสมั ผปั ปลาปะ… ๘.สํารวมดวยปาฏิโมกขสังวร ถึงพรอม เวนจากการพรากพีชคามและภูตคามดว ยอาจาระและโคจร มปี รกตเิ หน็ ภยั ใน ๙.ฉันมื้อเดียว…งดจากการฉันในเวลาโทษแมแคน ดิ หนอย สมาทานศกึ ษาอยู วิกาล ๑๐.เวนจากการฟอนรําขับรองในสิกขาบททั้งหลาย” สวนในอรรถกถา ประโคมดนตรีและดูการเลนอันเปนมบี อยคร้งั (เชน ม.อ.๒/๑๒/๕๔; ส.ํ อ.๓/๑๕๔/ ขาศึกแกกุศล ๑๑.เวนจากการทัดทรง๑๙๗; อติ ิ.อ.๕๖/๕๔๕) ทอ่ี ธบิ าย “ความถงึ ประดับและตกแตงรางกายดวยดอกไมพรอ มดว ยศลี ”วา หมายถึงปาริสทุ ธศิ ีล ๔ ของหอมและเครอ่ื งประเทอื งผิว อันเปนแตทัง้ หมดนน้ั กเ็ ปน เพยี งวิธอี ธิบาย ซ่ึง ฐานแหง การแตง ตัว ๑๒.เวนจากการน่งัในทส่ี ุดกไ็ ดส าระอนั เดียวกนั กลา วคือ นอนบนทน่ี ่งั ท่ีนอนอนั สงู ใหญ ๑๓.เวนศีลทต่ี รัสในพระสูตร ไมว าโดยยอหรือ จากการรับทองและเงนิ ๑๔.เวนจากการโดยพสิ ดาร และศีลทีอ่ รรถกถาจดั เปน รับธัญญาหารดิบ ๑๕.เวนจากการรับชุดขึ้นมานัน้ กค็ อื ความประพฤติท่ีเปน เนื้อดิบ ๑๖.เวนจากการรับสตรีและวิถีชีวิตของพระภิกษุ ซึ่งเปนจุดหมาย กุมารี ๑๗.เวน จากการรับทาสีและทาสของการบัญญัติประดาสิกขาบทในพระ ๑๘.เวนจากการรับแพะและแกะ ๑๙.วนิ ยั ปฎก และเปน ผลท่จี ะเกิดมีเมื่อได เวนจากการรบั ไกแ ละสุกร ๒๐.เวนจากปฏิบตั ิตามสกิ ขาบทเหลา น้นั การรบั ชาง โค มา และลา ๒๑.เวนจาก การรับไรนาและทีด่ นิ ๒๒.เวน จากการ เน่อื งจากจฬู ศลี (ในภาษาไทย นยิ ม ประกอบทูตกรรมรับใชเดินขาว ๒๓.เรยี กวา จลุ ศลี ) มชั ฌิมศลี และมหาศีล

จฬู วงส ๗๑ จฬู วงสเวน จากการซอ้ื การขาย ๒๔.เวน จากการ ลักษณะสตั ว) ๓.เวน จากมจิ ฉาชีพดวยโกงดวยตาช่ัง การโกงดวยของปลอม ตริ จั ฉานวิชา (จําพวกดฤู กษดชู ยั ) ๔.เวนและการโกงดวยเคร่อื งตวงวดั ๒๕.เวน จากมิจฉาชพี ดวยตริ ัจฉานวชิ า (จําพวกจากการรบั สนิ บน การลอ ลวง และการ ทาํ นายจนั ทรคราส สรุ ยิ คราส อกุ กาบาตตลบตะแลง ๒๖.เวนจากการเฉือนห่ัน และนักษัตรที่เปนไปและที่ผิดแปลกฟน ฆา จองจาํ ตีชิง ปลน และกรรโชก ตา งๆ) ๕.เวน จากมจิ ฉาชพี ดว ยตริ จั ฉาน-มชั ฌมิ ศลี วชิ า (จําพวกทํานายชะตาบานเมือง เรอื่ ง๑.เวนจากการพรากพีชคามและภูต- ฝนฟา ภัยโรค ภัยแลง ภยั ทพุ ภกิ ขาคาม (แจกแจงรายละเอยี ดดวย มใิ ชเ พียงกลา ว เปนตน) ๖.เวนจากมิจฉาชีพดวยกวางๆ อยา งในจูฬศีล, ในขอตอ ๆ ไป ก็เชนกัน) ตริ จั ฉานวชิ า (จาํ พวกใหฤ กษ แกเ คราะห๒. เวนจากการบริโภคของที่ทําการ เปนหมอเวทมนตร ทรงเจา บวงสรวง สูสะสมไว ๓.เวนจากการดูการเลนอัน ขวญั ) ๗.เวน จากมจิ ฉาชพี ดว ยตริ จั ฉาน-เปนขาศึกแกกุศล ๔.เวนจากการพนัน วชิ า (จําพวกทาํ พิธบี นบาน แกบ น ทาํ พิธีอันเปนท่ีต้ังแหงความประมาท ๕.เวน ต้งั ศาล ปลกู เรือน บําบวงเจา ที่ บชู าไฟจากการนั่งนอนบนท่ีน่ังที่นอนอันสูง เปน หมอยา หมอผาตัด)ใหญ ๖.เวนจากการมัววุนประดับตก จะเหน็ วา จฬู มชั ฌมิ มหาศีลท้ังหมดแตง รางกาย ๗.เวนจากตริ จั ฉานกถา (ดู น้ี เนนศีลดานท่ีทานจัดเปนอาชีวปาริ-ติรัจฉานกถา) ๘.เวนจากถอยคําทุม สุทธิศีล และที่ตรัสรายละเอียดไวม ากเถียงแกงแยง ๙.เวนจากการประกอบ ในพระสตู รกลุม น้ี นาจะเปน เพราะทรงทตู กรรมรับใชเ ดนิ ขาว ๑๐.เวนจากการ มุงใหเห็นวิถีชีวิตและลักษณะความพูดหลอกลวงเลยี บเคยี งทาํ เลศหาลาภ ประพฤติของพระสงฆในพระพุทธมหาศีล ศาสนา ท่แี ตกตา งจากสภาพของนักบวช ๑.เวนจากมิจฉาชีพดวยติรัจฉานวชิ า มากมายท่ีเปนมาและเปนไปในสมัยน้ัน;(จําพวกทํานายทายทัก ทาํ พิธีเก่ียวกับ ดู ปารสิ ทุ ธิศีล, ดิรัจฉานวชิ าโชคลาง เสกเปา เปน หมอดู หมองู จูฬวงส ช่ือหนังสือพงศาวดารลังกาหมอผี, แจงรายละเอียด มตี ัวอยา งมาก) ๒. คมั ภีร “เลก็ ” แตงโดยพระเถระหลายรูปเวนจากมิจฉาชีพดวยติรัจฉานวิชา พรรณนาความเปนมาของพระพุทธ(จําพวกทายลักษณะคน ลักษณะของ ศาสนาและชาติลังกา ตอจากคัมภีร

จฬู เวทลั ลสตู ร ๗๒ เจตนามหาวงส ตงั้ แต พ.ศ.๘๔๕ จนถงึ พ.ศ. เคยทรงใชสอย ๓. ธรรมเจดีย บรรจุ๒๓๕๘ ในสมัยท่ีถูกอังกฤษเขาครอง พระธรรม คอื พทุ ธพจน ๔. อทุ เทสกิ -เปน อาณานคิ ม (จฬู วงส ก็คอื ภาค ๒ เจดยี  คอื พระพทุ ธรปู ; ในทางศลิ ปกรรมของมหาวงสนน่ั เอง) ไทยหมายถึงสิ่งที่กอเปนยอดแหลมเปนจฬู เวทลั ลสตู ร ชอื่ สตู รหนง่ึ ในมชั ฌมิ นกิ าย ทบ่ี รรจุสิ่งที่เคารพนบั ถือ เชน พระธาตุมูลปณณาสก แหงพระสุตตันตปฎก และอัฐิบรรพบรุ ษุ เปนตนแสดงโดยพระธรรมทินนาเถรี เปนคํา เจตนา ความต้งั ใจ, ความมุงใจหมายจะตอบปญหาทีว่ ิสาขอุบาสกถาม ทาํ , เจตจํานง, ความจํานง, ความจงใจ,จูฬศลี ดูที่ จูฬมชั ฌมิ มหาศลี เปน เจตสิกที่เกิดกับจิตทุกดวง เปน ตัวจฬู สงั คาม ช่ือตอนหนง่ึ ในคัมภีรปริวาร นาํ ในการคดิ ปรงุ แตง หรอื เปน ประธาน แหง พระวนิ ยั ปฎก ในสังขารขันธ และเปน ตัวการในการทาํจูฬสุทธันตปริวาส “สุทธันตปริวาส กรรม หรือกลาวไดวาเปนตัวกรรมที อยา งเลก็ ” หมายความวา ปรวิ าสทภ่ี กิ ษุ เดียว ดังพทุ ธพจนว า “เจตนาหํ ภกิ ฺขเว กมมฺ ํ วทามิ” แปลวา “เรากลา วเจตนาวา ตองอาบัติสังฆาทิเสสหลายคราวดวยกนั จําจํานวนอาบตั ิและวนั ทีป่ ดไดบ า ง เปนกรรม”; เจตนา ๓ คือ เจตนาใน ๓ อยปู ริวาสไปจนกวาจะเห็นวาบริสุทธิ์ กาล ซ่ึงใชเปน ขอ พจิ ารณาในเร่ืองกรรมเจด็ ตาํ นาน “เจด็ เรอื่ ง” คอื พระปรติ รทม่ี ี และการใหผ ลของกรรม ไดแก ๑. ปพุ พ- เจตนาเจตนากอ นจะทาํ ๒.สนั นฏิ ฐาปก- อาํ นาจคุมครองปองกันตามเรื่องตนเดิม เจตนา เจตนาอันใหสําเร็จการกระทํา หรือใหสําเร็จความมุงหมาย ๓. อปร- ทเ่ี ลา ไว ซง่ึ ไดจ ดั รวมเปน ชดุ รวม ๗ เจตนา เจตนาสบื เนือ่ งตอ ๆ ไปจากการ พระปรติ ร; อกี นยั หนง่ึ วา “เจด็ ปรติ ร” แต ตามความหมายน้ี นา จะเขยี น เจด็ ตาํ นาณคอื เจด็ ตาณ (ตาณ=ปรติ ต, แผลงตาณ กระทําน้ัน (อปราปรเจตนา ก็เรียก),เปน ตาํ นาณ); ดู ปรติ ร, ปรติ ต เจตนา ๓ น้ี เปนคาํ ในช้นั อรรถกถา แตเจดยี  ทเี่ คารพนบั ถอื , บคุ คล สถานที่ ก็โยงกบั พระไตรปฎ ก โดยเปน การสรุปหรอื วตั ถทุ ค่ี วรเคารพบชู า, เจดยี เ กย่ี วกบั ความในพระไตรปฎ กบา ง เปนการสรรพระพทุ ธเจา มี ๔ อยา งคอื ๑. ธาตเุ จดยี  ถอยคําที่จะใชอธิบายหลักกรรมตามบรรจพุ ระบรมสารีริกธาตุ ๒. บรโิ ภค- พระไตรปฎ กนน้ั บา ง เฉพาะอยา งยงิ่ ใชเจดีย คือสิ่งหรือสถานท่ีที่พระพุทธเจา แนะนําเปนหลักในการท่ีจะทําบุญคือ

เจตภตู ๗๓ เจโตปริยญาณ กรรมทีด่ ี ใหไดผ ลมาก และมกั เนน ใน ใหแลว ก็ชื่นชมปลื้มใจ”; ดู กรรม, เร่อื งทาน (แตใ นเรือ่ งทานน้ี เจตนาท่ี ๒ ทกั ขณิ า,เวฬกุ ณั ฏก-ี นนั ทมารดา ทา นมกั เรียกวา “มญุ จนเจตนา” เพอ่ื ให เจตภตู สภาพเปน ผคู ดิ อา น, ตามที่เขาใจ ชัดวาเปนความตั้งใจในขณะใหทาน กัน หมายถึงดวงวิญญาณหรือดวงชีพ จรงิ ๆ คอื ขณะทีป่ ลอยของออกไป แทน อันเทยี่ งแทท ส่ี งิ อยูในตวั คน กลาวกนั วา ท่ีจะใชวาสนั นฏิ ฐาปกเจตนา หรือความ ออกจากรางไดในเวลานอนหลับ และ จงใจอนั ใหสําเร็จการกระทํา ซ่งึ ในหลาย เปนตัวไปเกิดใหมเมื่อกายน้ีแตกทําลาย กรณี ไมตรงกับเวลาของเหตุการณ เชน เปน คาํ ทไ่ี ทยเราใชเ รยี กแทนคาํ วา อาตมนั คนที่ทําบาปโดยขุมหลุมดักใหคนอื่นตก หรือ อัตตา ของลัทธพิ ราหมณ และเปน ลงไปตาย เม่ือคนตกลงไปตายสมใจ ความเชือ่ นอกพระพทุ ธศาสนา เจตนาท่ีลุผลใหขุดหลุมดักสําเร็จในวัน เจตสิก ธรรมทป่ี ระกอบกบั จิต, อาการ กอน เปนสนั นฏิ ฐาปกเจตนา) ดงั ทท่ี าน หรอื คุณสมบตั ติ า งๆ ของจิต เชน ความ สอนวา ควรถวายทานหรือใหท านดวย โลภ ความโกรธ ความหลง ศรัทธา เจตนาในการให ท่ีครบทัง้ ๓ กาล คือ เมตตา สติ ปญ ญา เปนตน มี ๕๒ ๑. กอนให มีใจยนิ ดี (ปพุ พเจตนา หรอื อยาง จดั เปน อญั ญสมานาเจตสิก ๑๓ บพุ เจตนา) ๒. ขณะให ทาํ ใจผองใส อกศุ ลเจตสกิ ๑๔ โสภณเจตสิก ๒๕; (มญุ จนเจตนา) ๓. ใหแ ลว ชนื่ ชมปลม้ื ใจ ถา จดั โดยขนั ธ ๕ เจตสกิ กค็ อื เวทนาขนั ธ (อปรเจตนา), คาํ อธบิ ายของอรรถกถาน้ี สัญญาขันธ และสงั ขารขันธ น่ันเอง ก็อางพุทธพจนในพระไตรปฎกนั่นเอง เจตสิกสุข สุขทางใจ, ความสบายใจ โดยเฉพาะหลกั เรอ่ื งทกั ขณิ าทพ่ี รอ มดว ย แชมชนื่ ใจ; ดู สขุ องค ๖ อนั มผี ลยงิ่ ใหญ ซงึ่ ในดา นทายก เจตี แควน หน่งึ ในบรรดา ๑๖ แควน ใหญ หรอื ทายกิ า คอื ฝา ยผใู ห มอี งค ๓ ดงั ที่ แหง ชมพูทวปี ต้ังอยลู มุ แมน้ําคงคา ตดิ พระพุทธเจาตรัสในเรื่องการถวายทาน ตอ กบั แควน วงั สะ นครหลวงชอื่ โสตถวิ ดี ของเวฬุกัณฏกีนันทมารดา(อง.ฉกฺก.๒๒/ เจโตปริยญาณ ปรีชากําหนดรูใจผูอื่น ๓๐๘/๓๗๕) วา “ปพุ เฺ พว ทานา สมุ โน ได, รูใจผูอ่ืนอานความคิดของเขาได โหติ กอ นให ก็ดใี จ, ทท จติ ตฺ  ปสา เชน รวู า เขากําลังคิดอะไรอยู ใจเขาเศรา เทติ กําลังใหอ ยู กท็ ําจติ ใหผุดผอ ง หมองหรือผอ งใส เปน ตน (ขอ ๕ ใน เลอ่ื มใส, ทตฺวา อตฺตมโน โหติ ครั้น วิชชา ๘, ขอ ๓ ในอภญิ ญา ๖)

เจโตวมิ ุตติ ๗๔ เจาอธกิ ารแหง อาหารเจโตวมิ ุตติ ความหลุดพน แหง จิต, การ อธกิ ารแหง เสนาสนะ ๔. เจา อธกิ ารแหงหลุดพนจากกิเลสดวยอํานาจการฝกจิต อาราม ๕. เจา อธกิ ารแหง คลงัหรอื ดว ยกําลงั สมาธิ เชน สมาบัติ ๘ เจา อธกิ าร 1. ดู อธิการ 2. เจาหนาท่,ี ผูเปนเจโตวิมุตติอันละเอียดประณีต ไดรับมอบหมายหรือแตงต้ังใหมีหนาที่(สันตเจโตวมิ ุตติ) รบั ผดิ ชอบในเรอ่ื งราวหรือกิจการน้นั ๆเจรญิ พร คาํ เรม่ิ และคาํ รบั ทภ่ี กิ ษสุ ามเณร เจาอธิการแหงคลัง ภิกษุท่ีสงฆสมมติใชพูดกับคฤหัสถผูใหญและสุภาพชน คือแตงตั้งใหเปนเจาหนาที่เกี่ยวกบั คลงัทัว่ ไป ตลอดจนใชเปน คาํ ขึ้นตน และลง เกบ็ พสั ดขุ องสงฆ มี ๒ อยา ง คอื ผูทายจดหมายที่ภิกษุสามเณรมีไปถึง รกั ษาคลงั ทเี่ กบ็ พสั ดขุ องสงฆ (ภณั ฑา-บุคคลเชนนั้นดวย (เทียบไดกับคําวา คารกิ ) และผจู า ยของเลก็ นอ ยใหแ กภ กิ ษุเรยี น และ ครบั หรอื ขอรับ) ทง้ั หลาย (อปั ปมัตตวสิ ัชกะ)เจรญิ วปิ ส สนา ปฏบิ ตั วิ ปิ ส สนา, บาํ เพญ็ เจาอธิการแหงจีวร คือ ภิกษุท่ีสงฆวิปส สนา, ฝก อบรมปญญาโดยพิจารณา สมมติ คือแตงตง้ั ใหเ ปน เจาหนาที่เกยี่ ว สงั ขาร คอื รปู ธรรมและนามธรรมทง้ั กับจีวร มี ๓ อยา ง คอื ผรู ับจีวร หมดแยกออกเปนขันธๆ กําหนดดวย (จวี รปฏคิ าหก) ผเู กบ็ จวี ร (จวี รนทิ หก) ผู ไตรลักษณวาไมเที่ยงเปนทุกข เปน แจกจวี ร (จวี รภาชก) อนัตตา เจาอธิการแหงเสนาสนะ ภิกษุที่สงฆเจากรม หัวหนา กรมในราชการ หรอื ใน สมมติ คือแตง ต้งั ใหเปนเจาหนา ทเ่ี กยี่ วเจานายท่ที รงกรม กบั เสนาสนะ แยกเปน ๒ คอื ผแู จกเจาภาพ เจาของงาน เสนาสนะใหภ กิ ษถุ อื (เสนาสนคาหาปก)เจา สงั กดั ผมู ีอํานาจในหมูคนทข่ี น้ึ อยูกบั และผจู ดั ตงั้ เสนาสนะ (เสนาสนปญ ญาปก)ตน เจาอธิการแหงอาราม ภิกษุท่ีสงฆเจา หนา ทท่ี าํ การสงฆ ภกิ ษผุ ไู ดร บั สมมติ สมมติ คอื แตงตงั้ ใหเ ปนเจา หนา ทเ่ี กี่ยวคือแตงตั้งจากสงฆ (ดวยญัตติทุติย- กบั กิจการงานของวดั แยกเปน ๓ คอืกรรมวาจา) ใหท าํ หนา ทต่ี า งๆ เกย่ี วกบั ผูใชคนงานวัด (อารามิกเปสก) ผูใชการของสว นรวมในวดั ตามพระวนิ ยั แบง สามเณร (สามเณรเปสก) และผดู แู ลไวเ ปน ๕ ประเภท คอื ๑. เจา อธกิ ารแหง การปลกู สราง (นวกัมมิก)จวี ร ๒. เจา อธกิ ารแหง อาหาร ๓. เจา เจาอธิการแหงอาหาร ภิกษุที่สงฆ

เจาอาวาส ๗๕ ฉันสมมติ คอื แตงตั้งใหเ ปน เจาหนาทีเ่ กยี่ ว โจทนากัณฑ ชื่อตอนหนึ่งในคัมภีรกบั อาหาร มี ๔ อยา ง คอื ผจู ดั แจกภตั ปริวารแหง พระวนิ ยั ปฎ ก(ภตั ตเุ ทศก) ผแู จกยาคู (ยาคภุ าชก) และ โจรกรรม การลัก, การขโมย, การผูแจกของเคย้ี ว (ขัชชภาชก) กระทาํ ของขโมยเจา อาวาส สมภารวดั , หวั หนา สงฆในวัด โจรดุจผูกธง โจรผูรายทข่ี ้ึนชอื่ โดง ดงัมีอํานาจและหนาท่ีปกครองดูแลอํานวย ใจจดื ขาดเมตตา เชน พอแม มีกําลงั พอกิจการทุกอยา งเกย่ี วกับวัด ที่จะเล้ียงดูลูกได ก็ไมเล้ียงดูลูกใหสมโจท ฟอ งรอ ง; ทักทว ง; ดู โอกาส ควรแกส ถานะ เปน ตน , ไมเ ออื้ เฟอ แกใ ครโจทก ผฟู อ งรอง ใจดาํ ขาดกรณุ า คอื ตนมีกาํ ลังสามารถโจทนา กริ ิยาทโี่ จท, การโจท, การฟอง, จะชวยใหพ น ทุกขไดก็ไมช ว ย เชน เห็นการทกั ทว ง, การกลาวหา; คาํ ฟอ ง คนตกน้ําแลวไมช ว ย เปน ตน ฉฉกามาพจรสวรรค สวรรคท่ียังเก่ียว ใจรธู รรมารมณแลว ไมด ใี จ ไมเ สียใจ ขอ งกาม ๖ ช้ัน คอื ๑. จาตมุ หาราชิกา วางจิตอเุ บกขา มสี ตสิ ัมปชัญญะอยู (ข.ุ ม. ๒. ดาวดึงส ๓. ยามา ๔. ดุสิต ๕. ๒๙/๔๑๓/๒๘๙) เปนคณุ สมบตั อิ ยา งหน่ึง นมิ มานรดี ๖. ปรนมิ มติ วสวัตตี ของพระอรหนั ต ซง่ึ มอี ุเบกขาดวยญาณฉงน สงสยั , ไมแนใ จ, เคลือบแคลง, คือดวยความรูเทาทันถึงสภาวะของส่ิง สนเทห ท้ังหลาย อันทําใหไมถูกความชอบชังฉลอง 1. แทน, ตอบแทน 2. ทาํ บญุ ยินดียินรายครอบงําในการรับรูอารมณสมโภชหรอื บูชา ทั้งหลาย ตลอดจนไมหวั่นไหวเพราะฉลองพระบาท รองเทา โลกธรรมทัง้ ปวง; ดู อเุ บกขาฉลองพระองค เส้ือ ฉอ โกง เชน รับฝากของ คร้ันเจาของมาฉวี ผิวกาย ขอคืน กลาวปฏิเสธวา ไมไดร ับไว หรือฉฬงั คุเบกขา อุเบกขามีองค ๖ คือ ดวย ไดใ หคนื ไปแลวตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกสูดดม ฉกั กะ หมวด ๖กล่นิ ลน้ิ ล้มิ รส กายถูกตองโผฏฐัพพะ ฉัน กิน, รับประทาน (ใชส าํ หรบั ภิกษแุ ละ

ฉนั ท ๗๖ ฉนั ทาคติ สามเณร) กลา ววา “ฉนฺทํ ทมมฺ ,ิ ฉนทฺ ํ เม หร,ฉันท คําประพนั ธป ระเภทหน่ึง กาํ หนด ฉนทฺ ํ เม อาโรเจหิ” (ถาผูม อบออ น พรรษากวา เปลี่ยน หร เปน หรถ และ ดวยครุลหุ และกําหนดจํานวนคําตาม เปล่ยี น อาโรเจหิ เปน อาโรเจถ); เฉพาะในการทําอุโบสถ มีขอพิเศษวา ขอ บังคับฉนั ทะ 1. ความพอใจ, ความชอบใจ,ความยนิ ด,ี ความตอ งการ, ความรกั ใคร ภิกษุที่อาพาธหรือมีกิจจําเปนจะเขารวมใฝปรารถนาในสิ่งน้ันๆ (เปนกลางๆ ประชุมไมไดน้ัน นอกจากมอบฉันทะเปนอกุศลก็ได เปนกุศลก็ได, เปน แลว พงึ มอบปารสิ ทุ ธดิ ว ย (ในสงั ฆกรรมอญั ญสมานาเจตสกิ ขอ ๑๓, ทเ่ี ปน อกศุ ล อน่ื ไมต อ งมอบปารสิ ทุ ธ)ิ , วธิ มี อบปาริเชน ในคาํ วา กามฉนั ทะ ทเี่ ปน กศุ ล เชนในคาํ วา อวหิ งิ สาฉนั ทะ) 2. ฉนั ทะ ทใ่ี ช สทุ ธิ คอื มอบแกภ ิกษรุ ูปหนึง่ ควบไปกบั ฉนั ทะ โดยมอบปาริสทุ ธิวา “ปาริสุทธฺ ึเปน คาํ เฉพาะ มาเดย่ี วๆ โดยทวั่ ไปหมาย ทมฺมิ, ปารสิ ทุ ธฺ ึ เม หร, ปารสิ ทุ ธฺ ึ เม อาโรเจห”ิ และมอบฉันทะอยางท่แี สดงถงึ กศุ ลฉนั ทะ หรอื ธรรมฉนั ทะ ไดแ กกตั ตกุ มั ยตาฉนั ทะ คอื ความตอ งการท่ี ขา งตน (ภกิ ษใุ ดทําอโุ บสถทว่ี ัดอน่ื แลวจะทําหรือความอยากทํา(ใหดี) เชน มายังวัดน้ัน ถาเธอไมเขารวมประชุมฉนั ทะทเี่ ปน ขอ ๑ ใน อทิ ธบิ าท ๔; ตรงขา ม เพ่ือเปนการใหกายสามัคคี ก็พึงมอบกบั ตณั หาฉนั ทะ คอื ความอยากเสพ ฉนั ทะอยางเดยี ว ไมต อ งมอบปารสิ ทุ ธ)ิอยากได อยากเอาเพ่ือตัว ที่เปนฝาย ฉนั ทราคะ ความพอใจตดิ ใคร, ความอกศุ ล 3. ความยนิ ยอม, ความยนิ ยอม ชอบใจจนติด, ความอยากทีแ่ รงขน้ึ เปนใหท่ีประชุมทาํ กิจน้ันๆ ในเมื่อตนมิได ความตดิ ; ฉันทะ ในท่นี ี้ หมายถงึ อกศุ ล-รวมอยูดวย, เปนธรรมเนียมของภิกษุ ฉันทะ คือตัณหาฉันทะ ซ่ึงในข้ันตนทอี่ ยูใ นวดั เดยี วกนั ภายในสมี า มสี ิทธิท่ี เมื่อเปนราคะอยางออน (ทุพพลราคะ)จะเขา ประชุมทํากิจของสงฆ พึงเขารวม ก็เรียกแควาเปนฉันทะ แตเม่ือมีกําลังประชุมทําสังฆกรรม เวนแตภิกษุใดมี มากขน้ึ กก็ ลายเปน ฉนั ทราคะ คอื ราคะเหตุจําเปนจะเขารวมประชุมดวยไมได อยา งแรง (พลวราคะ หรอื สเิ นหะ); ดูเชน อาพาธ ก็มอบฉนั ทะคอื แสดงความ ฉันทะ 1.ยนิ ยอมใหสงฆทํากิจนั้นๆ ได, วธิ ีมอบ ฉนั ทาคติ ลาํ เอยี งเพราะรักใคร (ขอ ๑ฉันทะ คือบอกแกภิกษุรูปหนึ่งโดย ในอคติ ๔)

ฉันทารหะ ๗๗ ฉันนะฉนั ทารหะ “ผคู วรแกฉ นั ทะ”, ภกิ ษทุ ส่ี งฆ กนิ ในชว งเชา ถงึ กอ นเทย่ี งวนั และสาย- ควรไดร บั มอบฉนั ทะของเธอ คอื เมอ่ื สงฆ มาสภตั (มอ้ื สาย, สายในภาษาบาลี คอื คาํ เดยี วกบั สายณั ห) ไดแ กอ าหารทกี่ นิ ใน ครบองคป ระชมุ แลว ภกิ ษใุ ดในสมี าน้ันมี ชวงหลังเที่ยงวันถึงกอนอรุณวันใหม สิทธิเขา รว มประชมุ แตเธออาพาธหรอื ตามความหมายนี้ ภกิ ษฉุ นั มอื้ เดยี ว (มี ตดิ กจิ จําเปนไมอ าจมารว มประชุม ภกิ ษุ ภัตเดียว) จึงหมายถึง ฉันอาหารม้ือ น้ันเปนฉันทารหะ (ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง กอ นเท่ยี งวนั ทีว่ ามาน้ี ตรงกบั ขอ ความ พึงรับมอบฉันทะของเธอมาแจงแกสงฆ คือแกท ี่ประชมุ นน้ั ); ดู กมั มปต ตะ บาลีท่ีนํามาใหค รบวา (เชน ที.สี.๙/๑๐๓/๘๔)ฉันนะ อํามาตยคนสนิทผูเปนสหชาติ “เอกภตฺตโิ ก โหติ รตฺตปู รโต วิรโต และเปนสารถีของเจา ชายสทิ ธัตถะในวัน วิกาลโภชนา” (แปลวา: เปนผูฉันมื้อ เดยี ว/มภี ตั เดยี ว งดอาหารคา่ํ คนื เวน เสด็จออกบรรพชา ฉันนะตามเสด็จไป จากโภชนะนอกเวลา) นคี่ อื เมอื่ บอกวา ดว ย ภายหลงั บวชเปน ภกิ ษุ ถอื ตวั วา ฉนั มอ้ื เดยี วแลว กอ็ าจถามวา มอ้ื ไหน จงึ เปนคนใกลชิดพระพุทธเจามาแตเกา พูดกันชวงเวลาใหญคือกลางคืนท่ีตรง กอน ใครวา ไมฟ ง เกดิ ความบอ ยๆ หลัง ขา มกบั กลางวนั ออกไปกอ น แลว กก็ าํ กบั จากพระพุทธเจาปรินิพพานแลว ถูก ทา ยวา ถงึ แมใ นชว งกลางวนั นน้ั กไ็ มฉ นั สงฆลงพรหมทัณฑหายพยศ และได นอกเวลา คอื ไมเ ลยเทยี่ งวนั โดยนยั น้ี สาํ เร็จเปนพระอรหนั ตฉนั มอื้ เดยี ว ขอความภาษาไทยน้ี ในแง ภิกษุตามปกติจึงเปนผูฉันภัตเดียวคือ ธรรมวินัย ยงั มคี วามหมายกํากวม เมอื่ อาหารมอื้ กอ นเทย่ี งวนั นี้ และอรรถกถา จะทาํ ความเขาใจ พงึ แยกเปน ๒ นัย คอื ๑. ตามคําบรรยายวถิ ีชีวิตของพระ จงึ อธบิ ายวา ฉนั มอื้ เดยี วนี้ ถงึ จะฉนั ๑๐ ภกิ ษุ เชน ในจูฬศลี วา ภิกษุเปน ผู “ฉนั ครง้ั เมอ่ื ไมเ ลยเทยี่ ง กเ็ ปน เอกภตั ตกิ ะ ม้ือเดียว” น้ีคือคําแปลจากคําบาลีวา (เชน ที.อ.๑/๑๐/๗๔) ๒. ภกิ ษทุ ตี่ ามปกติ เปน เอกภตั ตกิ ะฉนั มอื้ เดยี วนแี้ หละ เมอ่ื “เอกภตั ตกิ ะ” ซง่ึ แปลรกั ษาศพั ทว า “มี จะฝกตนใหย่ิงขึ้นไปอีก อาจปฏิบัติให ภตั เดยี ว” ตามวฒั นธรรมของชมพทู วปี เครง ครดั โดยเปน เอกาสนกิ ะ แปลวา สมยั นนั้ ภตั หมายถงึ อาหารทจี่ ดั เปน มอื้ “ผฉู นั ทีน่ ง่ั เดยี ว” หรอื ฉันทอี่ าสนะเดียว ตามชว งเวลาของวนั ซงึ่ มมี อ้ื หลกั ๒ มอ้ื คอื ปาตราสภตั (มอ้ื เชา ) ไดแ กอ าหารที่ หมายความวา ในวนั หนง่ึ ๆ กอ นเทย่ี งนนั้ เม่อื ลงน่งั ฉันจนเสรจ็ ลกุ จากทนี่ ั่นแลว

ฉพั พรรณรังสี ๗๘ เฉวยี งจะไมฉันอีกเลย น่ีคือฉันม้ือเดียวใน ฉายา 1. เงา, อาการทีเ่ ปน เงาๆ คือไมช ัดความหมายวาฉันวันละครั้งเดียว (เปน ออกไป, อาการเคลอื บแฝง 2. ช่ือที่พระท้ังเอกภัตติกะ และเอกาสนิกะ) และถา อุปชฌายะตั้งใหแกผูขอบวชเปนภาษาตอ งการ จะถอื ปฏบิ ตั จิ รงิ จงั เปน วตั รเลย บาลี เรียกวา ชอ่ื ฉายา ทีเ่ รียกเชน นี้กไ็ ด เรยี กวา ถอื ธดุ งค ขอ “เอกาสนกิ งั คะ” เพราะเดมิ เม่อื เสรจ็ การบวชแลว ตอ งมีโดยสมาทานวา (เชน วิสุทฺธิ.๑/๘๕) การวัดฉายาคือเงาแดดดวยการสืบเทา“นานาสนโภชน ปฏิกฺขิปามิ เอกาสนกิ งคฺ  สมาทิยาม”ิ (แปลวา : ขา พเจา วาเงาหดหรือเงาขยายแคไหน ช่ัวกี่สืบงดการฉันท่ีอาสนะตางๆ ขาพเจา เทา การวัดเงาดว ยเทา น้ันเปนมาตรานับ เวลา เรียกวา บาท เม่อื วัดแลวจดเวลาสมาทานองคแหงภิกษุผูมีการฉันท่ี ไวและจดสงิ่ อ่ืนๆ เชน ชือ่ พระอุปชฌายะอาสนะเดยี วเปน วตั ร) ผทู เี่ ปน เอกาสนกิ ะ พระกรรมวาจาจารย จาํ นวนสงฆ และอยา งเครง ทส่ี ดุ (เรยี กวา ถอื อยา งอกุ ฤษฏ) ช่อื ผอู ุปสมบท ท้ังภาษาไทยและมคธลง เมอื่ นงั่ ลงเขา ท่ี ตนมอี าหารเทา ใดกต็ าม ในนน้ั ดวย ช่อื ใหมท ี่จดลงตอนวัดฉายา พอหยอนมือลงท่โี ภชนะจะฉัน กไ็ มรับ นนั้ จงึ เรียกวา ชอ่ื ฉายา อาหารเพ่ิมเติมใดๆ อีก จนลุกจากที่ที ฉายาปาราชิก “เงาแหงปาราชิก” คือ เดยี ว; ดู เอกภตั ตกิ ะ, เอกาสนกิ ะ; จฬู ศีล, ประพฤติตนในฐานะที่ลอแหลมตอ ธดุ งค ปาราชกิ อาจเปน ปาราชกิ ได แตจ บั ไมฉพั พรรณรงั สี รศั มี ๖ ประการ ซง่ึ เปลง ถนัด เรยี กวา ฉายาปาราชิก เปน ผทู ่ี ออกจากพระวรกายของพระพทุ ธเจา คอื สงฆรังเกียจ ๑. นลี ะ เขยี วเหมอื นดอกอญั ชนั ๒. ปต ะ ฉิบหายเสียจากคุณอันใหญ ไมได เหลืองเหมือนหรดาลทอง ๓. โลหิตะ บรรลุโลกุตตรธรรม, หมดโอกาสท่ีจะ แดงเหมือนตะวันออ น ๔. โอทาตะ ขาว บรรลโุ ลกตุ ตรธรรม เหมือนแผนเงนิ ๕. มัญเชฐ สหี งสบาท เฉทนกปาจิตตีย อาบัติปาจิตตยี ท ี่ตอง เหมือนดอกเซงหรือหงอนไก ๖. ตัดส่ิงของที่เปนเหตุใหตองอาบัติเสีย ประภสั สร เลอ่ื มพรายเหมอื นแกว ผลกึ กอ น จงึ แสดงอาบตั ิตก ไดแก สิกขาบทฉาตกภัย ภัยคอื ความหิว, ภัยอดอยาก, ที่ ๕, ๗, ๘, ๙, ๑๐ แหง รตนวรรคมกั มากบั ภัยแลง (ทุพพฏุ ฐภิ ัย) หรือภยั (ปาจติ ตยี ขอ ๘๗, ๘๙, ๙๐, ๙๑, ๙๒)ขา วยากหมากแพง (ทุพภิกขภัย) เฉวียง (ในคําวา “ทําผาอุตตราสงค

ชฎา ๗๙ ชมพูทวีปเฉวยี งบา”) ซาย, ในที่นี้หมายถงึ พาด จวี รไวท่บี า ซาย ชชฎา ผมท่ีเกลาเปนมวยสูงขึ้น, เครื่อง ชนมายุกาล เวลาท่ีดํารงชีวิตอยูแตปที่ ประดบั สาํ หรบั สวมศรี ษะ รปู คลา ยมงกฎุ เกิดมาชฎลิ นกั บวชประเภทหน่งึ เกลาผมมนุ ชนเมชยะ พระเจา แผน ดนิ ในคร้งั โบราณเปน มวยสงู ขน้ึ มักถอื ลทั ธบิ ูชาไฟ บาง เคยทําพิธีอัศวเมธ เพื่อประกาศความคร้ังจดั เขาในพวกฤษี เปนพระเจาจกั รพรรดิชฎลิ สามพ่ีนอ ง ดู ชฎิลกัสสปะ ชนวสภสตู ร สตู รหนงึ่ ในคมั ภรี ท ฆี นกิ ายชฎิลกสั สปะ กัสสปะสามพนี่ อง คือ อรุ -ุ มหาวรรค สตุ ตันตปฎ ก วา ดว ยเรอ่ื งท่ีเวลกัสสปะ นทีกสั สปะ คยากัสสปะ ผู พระเจาพิมพิสารซ่ึงสวรรคตไปเกิดเปนเปน นกั บวชประเภทชฎลิ (ฤๅษกี ัสสปะ ชนวสภยกั ษ มาสําแดงตนแกพ ระพุทธ-สามพีน่ อง) เจา และพระอานนท แลว เลา เหตกุ ารณชตุกณั ณมี าณพ ศษิ ยคนหนงึ่ ในจาํ นวน ที่พวกเทวดามาประชุมในสวรรคชั้น๑๖ คน ของพราหมณพ าวรี ท่ีไปทลู ดาวดึงส พากันช่ือชมขาวดีที่เทวดามี ถามปญ หากะพระศาสดา ทป่ี าสาณเจดยี  จํานวนเพ่ิมขึ้นเพราะคนประพฤติตามชตเุ ภสัช พืชทม่ี ียางเปน ยา, ยาทําจาก คาํ สอนของพระพุทธเจา ยางพืช เชน มหาหงิ คุ กาํ ยาน เปน ตน ชมพทู วปี “ทวปี ทกี่ าํ หนดหมายดว ยตนชนกกรรม กรรมทนี่ าํ ใหเกิด, กรรมท่ี หวา (มตี น หวา เปน เครอ่ื งหมาย) หรอืเปนกุศลหรืออกุศลก็ตามที่เปนตัวแตง ทวปี ทมี่ ตี น หวา ใหญ (มหาชมพ)ู เปนสัตวใหเกิด คือชักนําใหถือปฏิสนธิใน ประธาน”, ตามคตโิ บราณวา มสี ณั ฐานภพใหม เมอ่ื ส้ินชีวติ จากภพน้ี (ขอ ๕ คือรูปรางเหมือนเกวียน, เปนชื่อครั้งในกรรม ๑๒) โบราณอันใชเรียกดินแดนท่ีกําหนดชนนี หญงิ ผใู หเกดิ , แม ครา วๆ วา คอื ประเทศอนิ เดยี ในปจ จบุ นัชนบท “ถิ่นแดนที่ประชาชนไปถึงมาถึง (แตแ ทจ รงิ นน้ั ชมพทู วปี กวา งใหญก วาหรอื ไปมาถงึ กัน” 1. แวน แควน , ประเทศ อนิ เดยี ปจ จบุ นั มาก เพราะครอบคลมุ ถงึ2. บา นนอก; ดู มหาชนบท, ชมพูทวีป ปากีสถานและอัฟกานิสถาน เปนตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook