Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:56:40

Description: dictionary_of_buddhism_vocabulary_version พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Search

Read the Text Version

อธิษฐานพรรษา ๔๘๐ อนัตตลกั ขณสูตรคอื ๑. ปญญา ๒. สัจจะ ๓. จาคะ ๔. จองจะเอาของเขา (ขอ ๘ ในกศุ ล-อปุ สมะ หรอื สันติ นยิ มเรยี กชื่อเตม็ ของ กรรมบถ ๑๐)แตละขอ วา ๑. ปญญาธิฏฐาน ๒. สจั จา- อนริยปริเยสนา การแสวงหาท่ีไมเปนธิฏฐาน ๓. จาคาธิฏฐาน ๔. อุปสมา- อริยะ คอื แสวงหาสง่ิ ที่ยังตกอยใู นชาติธิฏฐาน และเรียกรวมวา อธิฏฐาน ๔ ชรามรณะ หรือสิ่งท่ีระคนอยดู ว ยทุกขหรอื จตรุ าธฏิ ฐาน ทงั้ นม้ี หี ลกั การปฏบิ ตั ิ กลาวคอื แสวงหาส่ิงอันทําใหตดิ อยูใ นตามพทุ ธพจนว า ๑. พงึ ไมป ระมาท[หมนั่ โลก, สาํ หรบั ชาวบานทา นวา หมายถึงใชหมั่นพัฒนา]ปญญา ๒. พึงรักษา การแสวงหาในทางมิจฉาชพี (ขอ ๑ ใน[อนรุ กั ษ] สจั จะ ๓. พงึ เพมิ่ พนู จาคะ ๔. ปรเิ ยสนา ๒)พึงศึกษาสันติ (เรียงคําอยางบาลีเปน อนวเิ สส หาสว นเหลอื มไิ ด, ไมเ หลือเลย,สนั ตศิ กึ ษา) ส้นิ เชิงอธิษฐานพรรษา ความตั้งใจกําหนดลง อนังคณสตู ร ช่อื สตู รที่ ๕ แหง มชั ฌมิ - ไปวาจะอยูจําพรรษา ณ ท่ีใดที่หนึ่ง นิกาย มลู ปณ ณาสก พระสตุ ตนั ตปฎก ตลอดไตรมาส (๓ เดือน); ดู จําพรรษา เปนคําสนทนาระหวางพระสารีบุตรกับอธิษฐานอุโบสถ อุโบสถท่ีทําดวยการ พระโมคคัลลานะ วา ดวยกเิ ลสอนั ยวนอธิษฐาน ไดแ ก อโุ บสถทภ่ี ิกษุรูปเดยี ว ใจ และความตางแหงผูมีกิเลสยวนใจ ทํา กลา วคอื เมอื่ ในวัดมภี กิ ษรุ ูปเดียว กบั ผูไมมีกเิ ลสยวนใจ ถึงวันอุโบสถ เธอพึงอธิษฐานคือตั้งใจ อนัญญาตญั ญสั สามตี นิ ทรีย (อนัญญ- หรอื กําหนดใจวา “อชฺช เม อุโปสโถ” ตญั ญัสสามตี ินทรยี  ก็เขยี น) ดู อินทรีย แปลวา “วนั นีอ้ ุโบสถของเรา” เรยี กอีก ๒๒ อยางหนึ่งวา ปุคคลอุโบสถ (อโุ บสถ อนตั ตตา ความเปนอนัตตา คอื มใิ ชตวั มิ ของบคุ คล หรอื ทาํ โดยบคุ คล); ดู อโุ บสถ ใชตน (ขอ ๓ ในไตรลักษณ); ดู อนัตต-อนตริ ติ ตะ (อาหาร) ซึ่งไมเปน เดน (ทีว่ า ลักษณะ เปน เดน มี ๒ คอื เปนเดนภกิ ษไุ ข ๑ อนัตตลักขณสูตร ชื่อพระสูตรที่แสดงเปนของทีภ่ ิกษุทําใหเปน เดน ๑) ลักษณะแหงเบญจขนั ธ วาเปน อนตั ตาอนธการ ความมืด, ความโงเ ขลา; เวลา พระศาสดาทรงแสดงแกภิกษุปญจ- คาํ่ วัคคีย ภิกษุปญจวัคคียไดสําเร็จพระอนภชิ ฌา ไมโลภอยากไดของเขา, ไมคดิ อรหัต ดวยไดฟงอนัตตลักขณสูตรน้ี

อนตั ตลกั ษณะ ๔๘๑ อนาคามมิ รรค(มาในมหาวรรค พระวนิ ยั ปฎ ก และใน อนัตตานุปสสนา การพิจารณาเห็นในสังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค พระ สภาพท่ีเปนอนัตตา คือหาตัวตนเปนสุตตนั ตปฎก) แกนสารมิไดอนัตตลักษณะ ลักษณะที่เปนอนัตตา, อนันต ไมมีท่ีส้ินสุด, มากเหลือเกิน,ลักษณะท่ีใหเห็นวาเปนของมิใชตัวตน มากจนนบั ไมไดโดยอรรถตา งๆ เชน ๑. เปน ของสูญ คอื อนนั ตริยกรรม กรรมหนัก, กรรมที่เปนวา งเปลาจากความเปน สัตว บุคคล ตัว บาปหนกั ทสี่ ดุ ตัดทางสวรรค ตัดทางตน เรา เขา หรอื การสมมติเปนตา งๆ นิพพาน, กรรมทีใ่ หผ ลคือ ความเดือด(ในแงสังขตธรรม คอื สงั ขาร กเ็ ปนเพียง รอนไมเวน ระยะเลย มี ๕ อยางคอื ๑.การประชุมเขาขององคประกอบที่เปน มาตุฆาต ฆา มารดา ๒. ปตฆุ าต ฆา บดิ าสวนยอยๆ ท้งั หลาย) ๒. เปนสภาพหา ๓. อรหนั ตฆาต ฆา พระอรหนั ต ๔. โลห-ิเจาของมิได ไมเปนของใครจรงิ ๓. ไม ตุปบาท ทํารายพระพุทธเจาจนถึงยังอยูในอํานาจ ไมเปนไปตามความ พระโลหิตใหห อขนึ้ ไป ๕. สงั ฆเภท ทาํปรารถนา ไมข้ึนตอการบงั คับบัญชาของ สงฆใหแ ตกกันใครๆ ๔. เปน สภาวธรรมท่ดี าํ รงอยหู รอื อนาคต ยังไมม าถงึ , เรอื่ งทีย่ งั ไมมาถึง,เปน ไปตามธรรมดาของมนั (ในแงส งั ขต- เวลาท่ยี งั ไมมาถงึธรรม คือสงั ขาร ก็เปน ไปตามเหตุปจ จยั อนาคตังสญาณ ญาณหย่ังรูสวนข้ึนตอเหตุปจจัย ไมมีอยูโดยลําพังตัว อนาคต, ปรีชากาํ หนดรูคาดผลขางหนาแตเปนไปโดยสัมพันธ อิงอาศัยกันอยู อันสืบเน่ืองจากเหตุในปจจุบันหรือในกับส่งิ อ่นื ๆ) ๕. โดยสภาวะของมนั เองก็ อนาคตกอ นเวลานน้ั (ขอ ๒ ในญาณ ๓)แยงหรือคานตอความเปนอัตตา มีแต อนาคามิผล ผลท่ีไดรับจากการละภาวะท่ีตรงขามกับความเปนอัตตา; ดู สงั โยชน คือ กามราคะ และปฏฆิ ะดวยทกุ ขลกั ษณะ, อนจิ จลักษณะ อนาคามิมรรค อันทําใหเปนพระอนัตตสัญญา กําหนดหมายถึงความ อนาคามีเปน อนตั ตาแหงธรรมทง้ั หลาย (ขอ ๒ อนาคามิมรรค ทางปฏบิ ัตเิ พ่อื บรรลุผลในสญั ญา ๑๐) คือความเปนพระอนาคามี, ญาณคืออนตั ตา ไมใชอตั ตา, ไมใชต ัวใชตน; ดู ความรูเปนเหตุละโอรัมภาคิยสังโยชนอนตั ตลักษณะ ไดท้ัง ๕ (คอื ละไดเ ด็ดขาดอกี ๒ อยา ง

อนาคามี ๔๘๒ อนาโรจนาไดแ ก กามราคะ และปฏฆิ ะ เพมิ่ จาก ๓ ศาสนา บรรลุโสดาปตติผล เปนผูมีอยา งทีพ่ ระโสดาบนั ละไดแลว) ศรัทธาแรงกลา สรางวัดพระเชตวันอนาคามี พระอริยบุคคลผูไดบรรลุ ถวายแดพระพุทธเจาและภิกษุสงฆท่ีอนาคามิผล มี ๕ ประเภท คือ ๑. เมอื งสาวัตถี ซง่ึ พระพทุ ธเจาไดประทับอันตราปรินิพพายี ผูปรินิพพานใน จําพรรษารวมทั้งหมดถงึ ๑๙ พรรษาระหวางอายุยังไมถึงก่ึง (หมายถึงโดย ทานอนาถบิณฑิก นอกจากอุปถัมภกเิ ลสปรนิ พิ พาน) ๒. อปุ หจั จปรนิ พิ พายี ผูปรินิพพานเม่ือจวนจะถึงสิ้นอายุ ๓. บํารุงพระภิกษุสงฆแลวยังไดสงเคราะหอสงั ขารปรนิ พิ พายี ผนู พิ พานโดยไมต อ งใชความเพยี รนกั ๔. สสงั ขารปรนิ พิ พายี ผู คนยากไรอนาถาอยางมากมายเปน ประจาํ จึงไดชอื่ วา อนาถบิณฑกิ ซึง่ แปลวา “ผูมีกอนขาวเพื่อคนอนาถา”ปรินิพพานโดยตองใชความเพียรมาก ทานไดรับยกยองเปนเอตทัคคะในหมู๕. อุทธังโสโต อกนิฏฐคามี ผูม กี ระแส ทายกฝายอุบาสก; ดู เชตวัน อนาถา ไมม ีที่พง่ึ , ยากจน, เขญ็ ใจในเบอ้ื งบนไปสอู กนิฏฐภพอนาคาริยวินัย วินัยของอนาคาริก; ดู อนาบัติ ไมเปน อาบตั ิวนิ ยั ๒ อนาปต ตวิ าร ตอนวา ดวยขอ ยกเวนทีไ่ มอนาจาร ความประพฤติไมดีไมงามไม ตองปรบั อาบัตนิ ้ันๆ ตามปกตอิ ยทู ายคาํเหมาะสมแกบรรพชิต แยกเปน ๓ อธิบายสิกขาบทแตละขอในคัมภีรวิภังคประเภท คอื ๑. การเลน ตา งๆ เชน เลน พระวินยั ปฎ กอยา งเด็ก ๒. การรอ ยดอกไม ๓. การ อนามัฏฐบิณฑบาต อาหารที่ภิกษุเรยี นดริ จั ฉานวชิ า เชน ทายหวย ทาํ บิณฑบาตไดม ายงั ไมไ ดฉ นั จะใหแ กผู เสนห  อ่ืนท่ีไมใชภิกษุดวยกันไมได นอกจากอนาณัตติกะ อาบัติท่ีตองเฉพาะทําเอง มารดาบิดา ไมต องเพราะสง่ั คือสง่ั ใหผอู นื่ ทาํ ไมต อง อนามาส วัตถุอันภิกษุไมควรจับตองอาบตั ิ เชน สงั ฆาทเิ สส สิกขาบทที่ ๑ เชน รางกายและเคร่ืองแตงกายสตรี(แตสงั่ ใหทาํ แกต น ไมพนอาบตั ิ) เงินทอง อาวธุ เปนตนอนาถบณิ ฑิก อบุ าสกคนสาํ คัญในสมยั อนาโรจนา “การไมบอก” คอื ไมบ อกพทุ ธกาล เดิมชื่อ สุทตั ต เปนเศรษฐีอยู ประจานตัวแกภิกษุท้ังหลายภายในเขตทเี่ มอื งสาวตั ถี ตอ มาไดน บั ถอื พระพทุ ธ- ๒ เลฑฑุบาตจากเครื่องลอมหรือจาก

อนาวรณญาณ ๔๘๓ อนทิ สั สนอปั ปฏิฆรูปอปุ จารแหงอาวาส ใหรูท่ัวกนั วาตนตอ ง แปลงแปรสภาพไปเรื่อยๆ ๓. เปน ของอาบัติสังฆาทิเสส กําลังอยูปริวาสหรือ ช่ัวคราว อยไู ดช่ัวขณะๆ ๔. แยงตอประพฤติมานตั ; เปน เหตอุ ยา งหนงึ่ ของ ความเท่ยี ง คือ โดยสภาวะของมันเองการขาดราตรีแหงมานัตหรือปริวาส ผู ก็ปฏิเสธความเทยี่ งอยใู นตวั ; ดู ทุกข-ประพฤติมานตั ตอ งบอกทุกวนั แตผ อู ยู ลกั ษณะ, อนตั ตลกั ษณะปรวิ าส ไมตอ งบอกทกุ วนั ปกตัตตภิกษุ อนิจจสัญญา กําหนดหมายถึงความไมรปู ใดยงั ไมไดร บั บอก เธอบอกแกภกิ ษุ เทีย่ งแหง สงั ขาร (ขอ ๑ ในสญั ญา ๑๐)รูปนั้นคร้ังหน่ึงแลว ไมตองบอกอีก อนิจจงั ไมเ ท่ยี ง, ไมค งท่ี, สภาพที่เกดิ มีตลอดกาลท่ีอยูในอาวาสหรือในอนาวาส ข้ึนแลวก็ดับลวงไป; ดู อนิจจลักษณะ,น้ัน แตตองบอกในทายอุโบสถ ทาย ไตรลกั ษณปวารณา เมอื่ ถงึ วันน้ันๆ และภกิ ษใุ ดไดั อนิฏฐารมณ อารมณท่ีไมนาปรารถนา,รับบอกแลวออกจากอาวาสหรืออนาวาส สิ่งท่ีคนไมอยากไดไมอยากพบ แสดงนั้นไปเมือ่ กลับมาใหมต อ งไดร บั บอกอกี ; ในแงต รงขามกบั กามคณุ ๕ ไดแก รปูดู รตั ตเิ ฉท เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ที่ไมนา รักอนาวรณญาณ ปรชี าหยัง่ รูที่ไมมีอะไรๆ ใคร ไมน า ชอบใจ แสดงในแงโ ลกธรรมมาก้นั ได หมายความวา รตู ลอด, รทู ะลุ ไดแก ความเสือ่ มลาภ ความเส่อื มยศ ปรุโปรง เปนพระปรีชาญาณเฉพาะของ การนินทา และความทุกข; ตรงขามกับ พระพทุ ธเจา ไมท่วั ไปแกพ ระสาวก อิฏฐารมณอนาวาส ถนิ่ ที่มิใชอาวาส คอื ไมเปน วดั อนทิ ัสสนรปู ดทู ่ี อนทิ ัสสนอปั ปฏฆิ รปู ,อนาสวะ ไมม อี าสวะ, อันหาอาสวะมิได รปู ๒๘อนิจจตา ความเปน ของไมเ ทีย่ ง, ภาวะท่ี อนิทัสสนสัปปฏฆิ รปู ดทู ่ี รปู ๒๘ สงั ขารทั้งปวงเปน สง่ิ ไมเ ท่ยี งไมค งที่ (ขอ อนทิ ัสสนอปั ปฏฆิ รปู รปู ที่มองไมเ หน็๑ ในไตรลกั ษณ) และกระทบไมได คือรับรูไมไดดวยอนิจจลักษณะ ลักษณะที่เปนอนิจจะ, ประสาทใดๆ ไมว า จะดว ยจกั ษุ หรอื ดว ยลักษณะที่ใหเ หน็ วาเปน ของไมเทยี่ ง ไม โสตะ ฆานะ ชวิ หา และกาย แตเ ปนคงที่ ไดแ ก ๑. เปน ไปโดยการเกดิ ข้ึน ธรรมารมณ อนั รดู ว ยใจ, ไดแ กส ขุ มุ รปูและสลายไป คอื เกิดดบั ๆ มีแลวกไ็ มม ี ๑๖๒. เปนของแปรปรวน คือ เปลยี่ น รปู ในชดุ ทใี่ กลเ คยี ง และตรงขา ม อนั

อนนิ ทรยี รปู ๔๘๔ อนุตฺตรํปุฺ กเฺขตฺตํ โลกสสฺพงึ ทราบไวด ว ยกนั คอื วิมุตติสขุสนิทัสสนรปู รูปซ่งึ มองเห็นได คือตา อนยิ ต ไมแน, ไมแ นน อน เปนชอื่ อาบตั ทิ ่ีมองเห็น มี ๑ ไดแ กรปู ารมณ (หมายถงึ ยังไมแน ระหวางปาราชิก สงั ฆาทเิ สสวณั ณะ คือสี), คูกบั อนทิ สั สนรปู รปู ซง่ึ หรือปาจิตตีย ซ่ึงพระวินัยจะตองมองไมเ หน็ มี ๒๗ ไดแ กร ปู อน่ื นอกจาก วินจิ ฉยันน้ั (มหาภตู รปู ๔ และอปุ าทายรปู อกี ๒๓) อนิยตสิกขาบท สิกขาบทท่ีวางอาบตั ไิ ว สปั ปฏิฆรูป รูปซ่ึงมกี ารกระทบได คือ ไมแน คือยังไมระบุชัดลงไปวาเปนรับรูทางประสาททั้ง ๕ ทต่ี รงคกู ัน มี ๑๒ ปาราชกิ หรอื สงั ฆาทเิ สส หรอื ปาจติ ตยี ,ไดแกป สาทรูป ๕ และวสิ ัยรปู ๗ (๗ คอื มี ๒ สกิ ขาบทนับโผฏฐพั พะเปน ๓ ไดแก ปฐวี เตโช อนึก กองทัพ คือ ชาง มา รถ พลเดนิ ที่และวาโย), คูกับ อัปปฏิฆรูป รูปซ่ึง จัดเปน กองๆ แลวกระทบไมไ ด อนั รบั รไู มไ ดท างประสาททงั้ อนุเคราะห เอ้อื เฟอ, ชว ยเหลอื ; ความ๕ มี ๑๖ ไดแ กร ปู ทเ่ี หลอื จากนนั้ (คอื สขุ มุ เอ้ือเฟอ , การชวยเหลอืรปู ๑๖ นนั่ เอง); ดู สขุ มุ รปู ,รปู ๒๘ อนชุ น คนที่เกิดตามมา, คนรุนหลงั , คนอนนิ ทรยี รปู ดูที่ รปู ๒๘ รนุ ตอ ๆ ไปอนปิ ผันนรูป ดูท่ี รูป ๒๘ อนชุ า ผเู กดิ ทหี ลัง, นอ งอนมิ ิตตวโิ มกข หลุดพน ดว ยไมถ ือนิมติ อนญุ าต ยินยอม, ยอมให, ตกลงคือ หลุดพนดวยพิจารณาเห็นนามรูป อนุฎีกา ปกรณท่ีพระอาจารยท้ังหลายเปน อนจิ จะ แลวถอนนิมติ ได (ขอ ๒ แตงแกหรืออธิบายเพิ่มเติมฎีกา; ดูในวิโมกข ๓) อรรถกถาอนิมิตตสมาธิ สมาธิอันพิจารณาธรรม อนุฏฐานไสยา “การนอนท่ีไมมกี ารลกุไมมีนิมิต คือ วิปสสนาที่ใหถึงความ ขึ้น”, การนอนคร้ังสดุ ทาย โดยท่วั ไปหลุดพน ดวยกําหนดอนิจจลักษณะ (ขอ หมายถึง การบรรทมครั้งสุดทายของ๒ ในสมาธิ ๓) พระพุทธเจา ในคราวเสด็จดับขันธ-อนิมิสเจดีย สถานที่พระพุทธเจาเสด็จ ปรนิ ิพพานยืนจองดูตนพระศรีมหาโพธิ์ดวยมิได อนุตฺตรํ ปุฺกเฺ ขตฺตํ โลกสฺส (พระกระพริบพระเนตรตลอด ๗ วนั อยูทาง สงฆ) เปนนาบุญอนั ยอดเยี่ยมของโลกทิศอีสานของตนพระศรีมหาโพธ์ิ; ดู เปนแหลงปลูกเพาะและเผยแพรความดี

อนตุ ตริยะ ๔๘๕ อนปุ าทิเสสนิพพานอยา งสงู สดุ เพราะพระสงฆเ ปน ผบู รสิ ทุ ธิ์ อนุทูต ทตู ตดิ ตาม, ในพระวินยั หมายเปน ผฝู ก ฝนอบรมตน และเปน ผเู ผยแพร ถึงภิกษุท่ีสงฆสมมติใหเปนตัวแทนของธรรม ไทยธรรมทถี่ วายแกท า น ยอ มมผี ล สงฆ เดินทางรวมไปกับภิกษุผูถูกสงฆอาํ นวยประโยชนสุขอยางกวางขวางและ ลงโทษดว ย ปฏสิ ารณียกรรม ใหไ ปขอตลอดกาลยาวนาน เหมอื นผืนนาดนิ ดี ขมาคฤหัสถ ในกรณีทเ่ี ธอไมอ าจไปตามพืชที่หวานลงไปยอมเผล็ดผลไพบูลย ลําพัง อนุทูตทําหนาท่ีชวยพูดกับ(ขอ ๙ ในสังฆคณุ ๙) คฤหัสถนั้นเปนสวนตนหรือในนามของอนุตตรยิ ะ ภาวะทย่ี อดเยย่ี ม, สงิ่ ที่ยอด สงฆ เพ่อื ใหตกลงรบั ขมา เมือ่ ตกลงกันเย่ยี ม มี ๓ คอื ๑. ทสั สนานุตตริยะ แลว รับอาบัติท่ีภิกษุนั้นแสดงตอหนาการเห็นอันเยีย่ ม คอื เห็นธรรม ๒. เขาแลวจึงใหข มาปฏิปทานุตตริยะ การปฏิบัติอันเย่ียม อนบุ ญั ญตั ิ บญั ญตั เิ พ่มิ เตมิ , บทแกไขคอื มรรคมอี งค ๘ ๓. วมิ ตุ ตานตุ ตรยิ ะ เพ่ิมเติมท่ีพระพุทธเจาทรงบัญญัติเสริมการพนอันเย่ียม คือ พน กิเลสและกอง หรือผอนพระบัญญัติที่วางไวเดิม; คูกับทกุ ข; อนตุ ตริยะ อีกหมวดหนงึ่ มี ๖ คอื บญั ญตั ิ หรือ มลู บญั ญตั ิ๑. ทัสสนานุตตริยะ การเห็นอันเยี่ยม อนบุ ุพพิกถา ดู อนุปุพพกิ ถา๒. สวนานตุ ตรยิ ะ การฟงอันเยีย่ ม ๓. อนุบุรษุ คนรุนหลงั , คนท่เี กดิ ทีหลงัลาภานุตตริยะ ลาภหรอื การไดอันเย่ียม อนปุ สมั บนั ผยู งั มไิ ดอปุ สมบท ไดแก๔. สิกขานุตตริยะ การศึกษาอันเย่ียม คฤหสั ถและสามเณร (รวมท้งั สกิ ขมานา๕. ปารจิ ริยานตุ ตริยะ การบาํ รงุ อนั เยยี่ ม และสามเณร)ี , ผูมใิ ชภกิ ษุหรือภิกษุณี;๖. อนสุ สตานตุ ตรยิ ะ การระลกึ อนั เยยี่ ม เทยี บ อุปสมั บัน อนุปาทินนกสังขาร สังขารท่ีกรรมไมดคู าํ อธบิ ายทคี่ าํ นน้ั ๆอนตุ ฺตโร ปุรสิ ทมมฺ สารถิ (พระผมู พี ระ ยึดครอง แปลกันงายๆ วา “สงั ขารทีไ่ มภาคเจานั้น) ทรงเปน สารถี ฝก คนท่คี วร มีใจครอง” เชน ตนไม ภูเขา เปนตนฝก ได ท่ียอดเยีย่ ม โดยทรงรจู กั ใชอ บุ าย (ขอ ๒ ในสังขาร ๒)ใหเ หมาะแกบ คุ คล สอนเขาไดโ ดยไมต อ ง อนุปาทินนรูป, อนุปาทินนกรูป ดูที่ รูปใชอ าชญา และทาํ ใหเ ขาบรรลผุ ลทพ่ี งึ ได ๒๘เตม็ ตามกาํ ลงั ความสามารถของเขา (ขอ อนปุ าทเิ สสนพิ พาน นพิ พานไมม อี ปุ าทิ๖ ในพทุ ธคณุ ๙) เหลือ, ดับกิเลสไมมีเบญจขันธเหลือ

อนปุ าทเิ สสบคุ คล ๔๘๖ อนุพยัญชนะคอื สน้ิ ทง้ั กเิ ลสและชวี ิต หมายถงึ พระ อริยสัจจ มี ๕ คือ ๑. ทานกถาอรหันตสิ้นชีวิต, นิพพานในแงท่ีเปน พรรณนาทาน ๒. สีลกถา พรรณนาศีลภาวะดับภพ; เทยี บ สอุปาทิเสสนพิ พาน ๓. สคั คกถา พรรณนาสวรรค คอื ความอนุปาทิเสสบุคคล บุคคลผูไมมีเชื้อ สุขท่ีพร่งั พรอ มดวยกาม ๔. กามาทีนว-กิเลสเหลือ, ผหู มดอปุ าทานสนิ้ เชงิ ได กถา พรรณนาโทษของกาม ๕. เนกขัม-แก พระอเสขะ คือ พระอรหันต; เทยี บ มานิสังสกถา พรรณนาอานิสงสแหงสอุปาทิเสสบคุ คล การออกจากกาม อนปุ พุ พกี ถา ก็มใี ชอนุปยนิคม นิคมแหงหน่ึงของมัลล- อนุพยัญชนะ ลักษณะนอยๆ, พระกษตั รยิ  ในแขวงมัลลชนบท อยูทางทิศ ลักษณะขอปลีกยอยของพระมหาบุรุษตะวันออกของเมืองกบลิ พสั ดุ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒)อนปุ ย อัมพวัน ชอื่ สวน อยใู นเขตอน-ุ อกี ๘๐ ประการ คือ ๑. มีนว้ิ พระหัตถปย นคิ ม แขวงมัลลชนบท เปนท่พี ระ และนว้ิ พระบาทอันเหลืองงาม, ๒. นว้ิมหาบุรษุ เสดจ็ พักแรม ๗ วนั หลงั จาก พระหัตถแลนิ้วพระบาทเรียวออกไปเสดจ็ ออกบรรพชาใหมๆ กอ นเสดจ็ ตอ ไป โดยลําดบั แตต นจนปลาย, ๓. น้ิวพระสเู มอื งราชคฤห ในแควน มคธ และตอ มา หัตถ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายชางเปน ทเี่ จา ศากยะ มอี นรุ ทุ ธะ และอานนท กลึงเปน อันดี, ๔. พระนขาทัง้ ๒๐ มีสี เปน ตน พรอ มดว ยอบุ าลี ออกบวช อันแดง, ๕. พระนขาทง้ั ๒๐ นัน้ งอนอนุปุพพปฏิปทา ขอปฏิบัติโดยลาํ ดับ, งามชอนขึ้นเบื้องบนมิไดคอมลงเบ้ืองต่ําการปฏบิ ตั ิตามลําดับ ดุจเล็บแหงสามญั ชนทง้ั ปวง, ๖. พระอนุปุพพวิหาร ธรรมเปน เครื่องอยูโดย นขานนั้ มพี รรณอันเกล้ียงกลมสนทิ กันมิลําดบั , ธรรมเครอ่ื งอยทู ่ีประณตี ตอ กัน ไดเปนร้ิวรอย, ๗. ขอ พระหัตถและขอข้นึ ไปโดยลาํ ดับ มี ๙ คอื รูปฌาน ๔ พระบาทซอนอยูในพระมังสะมิไดสูงข้ึนอรปู ฌาน ๔ และ สญั ญาเวทยติ นิโรธ ปรากฏออกมาภายนอก, ๘. พระบาท(สมาบตั ิที่ดับสัญญาและเวทนา) ทั้งสองเสมอกันมิไดยอมใหญกวากันอนุปุพพิกถา เทศนาที่แสดงไปโดย มาตรวาเทา เมล็ดงา ๙. พระดาํ เนินงามลําดับ เพ่ือฟอกอัธยาศัยของสัตวให ดจุ อาการเดินแหง กญุ ชรชาต,ิ ๑๐. พระหมดจดเปนชน้ั ๆ จากงา ยไปหายาก เพอื่ ดาํ เนนิ งามดุจสีหราช, ๑๑. พระดาํ เนนิเตรียมจิตของผูฟงใหพรอมที่จะรับฟง งามดุจดําเนินแหงหงส, ๑๒. พระ

อนุพยญั ชนะ ๔๘๗ อนุพยญั ชนะดําเนินงามดุจอสุ ภราชดําเนนิ ๑๓. ขณะ ประมาณดวยกําลังบุรุษก็ไดถึงแสนโกฏิเมื่อยืนจะยางดําเนินน้ัน ยกพระบาท บรุ ุษ, ๒๘. มพี ระนาสกิ อนั สูง, ๒๙.เบ้ืองขวายางไปกอน พระกายเย้ืองไป สัณฐานพระนาสิกงามแฉลม ๓๐. มีเบื้องขวากอน, ๑๔. พระชานุมณฑล พระโอษฐเบื้องบนเบ้ืองต่ํามิไดเขาออกเกล้ียงกลมงามบริบรู ณ บม ไิ ดเห็นอัฏฐิ กวากนั เสมอเปน อนั ดี มพี รรณแดงงามสะบาปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕. มี ดจุ สีผลตําลงึ สุก, ๓๑. พระทนตบรสิ ุทธ์ิบุรุษพยัญชนะบริบูรณคือมิไดมีกิริยา ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒. พระทนตขาวมารยาทคลา ยสตรี ๑๖. พระนาภีมิได ดจุ ดังสีสงั ข, ๓๓. พระทนตเกลีย้ งสนิทบกพรอง กลมงามมิไดวิกลในที่ใดท่ี มไิ ดเ ปนรว้ิ รอย, ๓๔. พระอินทรยี ทัง้ ๕หนึง่ , ๑๗. พระอทุ รมีสณั ฐานอันลึก, มีจักขุนทรียเปนอาทิงามบริสุทธ์ิท้ังสิ้น,๑๘. ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเปน ๓๕. พระเขีย้ วทง้ั ๔ กลมบรบิ รู ณ, ๓๖.ทักขิณาวัฏฏ, ๑๙. ลําพระเพลาทั้งสอง ดวงพระพักตรมีสณั ฐานยาวสวย ๓๗.กลมงามดจุ ลาํ สุวรรณกัททลี ๒๐. ลาํ พระปรางคทั้งสองดูเปลงงามเสมอกัน,พระกรทั้งสองงามดุจงวงแหงเอราวัณ ๓๘. ลายพระหตั ถม รี อยอันลกึ , ๓๙.เทพยหตั ถี, ๒๑. พระองั คาพยพใหญ ลายพระหัตถม ีรอยอนั ยาว ๔๐. ลายนอ ยท้ังปวงจาํ แนกเปน อันดี คือ งาม พระหัตถมีรอยอันตรง บมิไดคอมคดพรอมทุกส่ิงหาที่ตําหนิบมิได, ๒๒. ๔๑. ลายพระหัตถมีรอยแดงรุงเรือง,พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ท่คี วรจะ ๔๒. รศั มีพระกายโอภาสเปน ปริมณฑลบางกบ็ างตามที่ท่ัวทง้ั พระสรรี กาย, ๒๓. โดยรอบ ๔๓. กระพงุ พระปรางคท ง้ั สองพระมังสะมิไดหดหูในที่ใดที่หน่ึง ๒๔. เครง ครดั บรบิ ูรณ ๔๔. กระบอกพระพระสรีรกายท้ังปวงปราศจากตอมและ เนตรกวางแลยาวงามพอสมกัน ๔๕.ไฝปานมูลแมลงวันมิไดมีในที่ใดท่ีหนึ่ง, ดวงพระเนตรกอปรดวยประสาทท้ัง ๕๒๕. พระกายงามบริสุทธ์ิพรอมสมกัน มีขาวเปนอาทิผองใสบริสทุ ธ์ทิ ั้งสน้ิ ๔๖.โดยตามลําดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องลาง, ปลายเสนพระโลมาท้ังหลายมิไดงอมิได๒๖. พระกายงามบริสุทธ์ิพรอมสิ้น คด ๔๗. พระชิวหามีสัณฐานอันงามปราศจากมลทนิ ทั้งปวง, ๒๗. ทรงพระ ๔๘. พระชวิ หาออนบมิไดกระดา ง ๔๙.กําลังมาก เสมอดวยกําลังแหงกุญชร- พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจชาติ ประมาณถึงพันโกฏิชาง ถาจะ กลีบปทุมชาติ ๕๐. ชองพระกรรณมี

อนพุ ุทธะ ๔๘๘ อนมุ านสูตรสัณฐานอนั กลมงาม ๕๑. ระเบียบพระ กลิ่นพระเกสาหอมฟุงขจรตลบ ๗๔.เสนท้ังปวงนั้นสละสลวยบมิไดห ดหูใ นที่ พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุปผชาติอันใดอันหน่ึง ๕๒. แถวพระเสนทั้ง ๗๕. พระเกสามสี ัณฐานเสน กลมสลวยหลายซอ นอยใู นพระมังสะท้งั สิ้น บมไิ ด ทุกเสน ๗๖. พระเกสาดําสนิทท้งั สนิ้เปนคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนท้ังปวง ๗๗. พระเกสากอปรดวยเสนอัน๕๓. พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉตั ร ละเอยี ด ๗๘. เสน พระเกสามไิ ดย งุ เหยงิแกว ๕๔. ปริมณฑลพระนลาฏโดย ๗๙. เสน พระเกสาเวยี นเปน ทกั ขณิ าวฏั ฏกวา งยาวพอสมกัน ๕๕. ประนลาฏมี ทกุ ๆ เสน ๘๐. วจิ ติ รไปดว ยระเบยี บสณั ฐานอนั งาม ๕๖. พระโขนงมสี ัณฐาน พระเกตุมาลา กลาวคือถองแถวแหงอันงามดุจคันธนูอันกงไว ๕๗. พระ พระรัศมอี นั โชตนาการข้ึน ณ เบือ้ งบนโลมาทพ่ี ระโขนงมเี สน อนั ละเอียด ๕๘. พระอุตมังคสิโรตมฯ นิยมเรียกวาเสนพระโลมาท่ีพระโขนงงอกขึ้นแลวลม อสตี ยานพุ ยญั ชนะ; ดู มหาบรุ ุษลกั ษณะราบไปโดยลาํ ดบั ๕๙. พระโขนงนนั้ ใหญ อนพุ ทุ ธะ ผตู รสั รตู าม คือ ตรสั รดู ว ยได๖๐. พระโขนงนน้ั ยาวสดุ หางพระเนตร สดับเลาเรียนและปฏิบัติตามที่พระ๖๑. ผวิ พระมงั สะละเอยี ดทว่ั ทง้ั พระกาย สมั มาสมั พทุ ธเจา ทรงสอน ไดแ ก พระ๖๒. พระสรรี กายรงุ เรอื งไปดว ยสิริ ๖๓. อรหนั ตสาวกท้ังหลาย; ดู พทุ ธะพระสรีรกายมิไดมัวหมอง ผองใสอยู อนุพุทธปวัตติ ประวัติของพระสาวกผูเปน นิตย ๖๔. พระสรีรกายสดช่ืนดุจ ตรัสรูตามพระพุทธเจา; เขียนสามัญดวงดอกปทุมชาติ ๖๕. พระสรีรสมั ผัส เปน อนุพทุ ธประวตั ิออนนุมสนิทบมิไดกระดางทั่วท้ังพระ อนมุ ตั ิ เหน็ ตาม, ยินยอม, เหน็ ชอบตามกาย ๖๖. กลิน่ พระกายหอมฟุงดจุ กล่นิ ระเบียบท่ีกาํ หนดไวสุคนธกฤษณา ๖๗. พระโลมามีเสน อนุมาน คาดคะเน, ความคาดหมายเสมอกันทั้งส้ิน ๖๘. พระโลมามีเสน อนมุ านสตู ร สตู รท่ี ๑๕ ในมัชฌิม-ละเอยี ดทว่ั ทง้ั พระกาย ๖๙. ลมอสั สาสะ นกิ าย มลู ปณ ณาสก พระสตุ ตนั ตปฎกปสสาสะลมหายพระทัยเขาออกก็เดิน เปนภาษิตของพระมหาโมคคัลลานะละเอยี ด ๗๐. พระโอษฐม สี ณั ฐานอนั งาม กลาวสอนภิกษุทั้งหลาย วาดวยธรรมดจุ แยม ๗๑. กลนิ่ พระโอษฐห อมดจุ กลน่ิ อนั ทาํ คนใหเปนผวู า ยากหรือวางาย การอบุ ล ๗๒. พระเกสาดาํ เปน แสง ๗๓. แนะนําตักเตือนตนเอง และการ

อนโุ มทนา ๔๘๙ อนวุ าท พจิ ารณาตรวจสอบตนเองของภิกษุ พุทฺธ.อ.๘๕ ซึ่งขดั กับทอี่ นื่ ๆ และวาตามอนุโมทนา 1. ความยนิ ดีตาม, ความยนิ หนงั สอื เรยี น เปน โอรสของเจา อมโิ ตทนะ)ดีดวย, การพลอยยินดี, การแสดง และเปน อนชุ าของเจา มหานามะ ภายหลังความเหน็ ชอบ; เห็นดว ย, แสดงความ ออกบวชพรอมกับเจาชายอานนทช่ืนชมหรือซาบซ้ึงเห็นคุณคาแหงการ เปนตน เรียนกรรมฐานในสํานักของกระทาํ ของผูอน่ื (บัดนี้ บางทใี ชในความ พระสารีบุตร ไดบรรลุพระอรหัตที่ปาหมายคลายคําวา ขอบคุณ) 2. ในภาษา ปาจนี วงั สทายวนั ในแควนเจตี พระไทย นยิ มใชสําหรบั พระสงฆ หมายถงึ ศาสดาทรงยกยองวาเปนเอตทัคคะในใหพร เชน เรยี กคําใหพ รของพระสงฆวา ทางทพิ ยจกั ษุคําอนุโมทนา อนรุ ทุ ธาจารย ดู อภธิ มั มัตถสังคหะอนุโยค ความพยายาม, ความเพียร, อนรุ ูป สมควร, เหมาะสม, พอเพียง,ความประกอบเนืองๆ เปนไปตามอนรุ กั ขนาปธาน เพียรรกั ษากศุ ลธรรม อนโุ ลม เปน ไปตาม, คลอ ยตาม, ตาม ทเ่ี กิดข้ึนแลวไมใหเ ส่ือม และบําเพ็ญให ลําดับ เชน วา ตจปญจกกรรมฐานไป ตามลาํ ดบั อยา งน้ี เกสา โลมา นขา ทนั ตา เจรญิ ยง่ิ ข้นึ ไปจนไพบูลย (ขอ ๔ ใน ตโจ; ตรงขามกบั ปฏโิ ลม 1. 2. สาวออกไป ปธาน ๔) ตามลาํ ดบั จากเหตไุ ปหาผลขา งหนา เชนอนุรกั ษ รกั ษาและเสรมิ ทว,ี รักษาส่ิงที่เกิดมีข้ึนแลวและทําสิ่งท่ีเกิดมีขึ้นแลว อวชิ ชาเปนปจจัย สงั ขารจึงมี, สงั ขารนั้นใหงอกงามเพ่ิมทวีย่ิงขึ้นไปจน เปนปจจัย วิญญาณจึงมี เปน ตน ตรงขา มไพบลู ย; ในภาษาไทย ใชในความหมาย กับ ปฏโิ ลม 2. 3. จัดเขาได, นับไดว า เปน อยา งนนั้ เชน อนโุ ลมมสุ าวา รักษาใหค งเดมิอนุราธ ชื่อเมืองหลวงของลังกาสมัย อนุโลมมุสา ถอยคําที่เปนพวกมุสา,โบราณ; เรยี กกนั วา อนุราธปุระ บาง ถอยคาํ ทจี่ ัดไดว า เปนมสุ า คือ พูดเทจ็อนุราธบรุ ี บา ง อนวุ ตั ทาํ ตาม, ประพฤตติ าม, ปฏบิ ตั ติ าม;อนุรทุ ธะ พระมหาสาวกองคหน่ึง เปน บางแหงเขียน อนุวัตน, อนุวรรต,เจาชายในศากยวงศ เปนโอรสของเจา อนุวรรตน, อนวุ ัตร, หรือ อนวุ ัติ ก็มีสุกโกทนะ (นี้วา ตาม ม.อ.๑/๓๘๔; วินย.ฏ.ี อนวุ าต ผา ขอบจวี ร; ดู จีวร๓/๓๔๙ เปน ตน แตวา ตาม อง.ฺ อ.๑/๑๗๑ และ อนวุ าท การโจท, การฟอง, การกลา วหา

อนวุ าทาธิกรณ ๔๙๐ อนุสาวนา กันดวยอาบตั ิ พระสงฆ ๔. สีลานุสติ ระลกึ ถึงศลี ทตี่ นอนุวาทาธิกรณ การโจทท่ีจัดเปน รักษา ๕. จาคานสุ ติ ระลึกถงึ ทานท่ีตน บริจาคแลว ๖. เทวตานุสติ ระลกึ ถงึ คณุ อธิกรณ คือ การโจทกันดวยอาบัติ, ที่ทําคนใหเปนเทวดา ๗. มรณัสสติ เรือ่ งการกลา วหากนั ; ดู อธกิ รณอนุศาสน การสอน, คําชแ้ี จง; คําสอนท่ี ร ะ ลึ ก ถึ ง ค ว า ม ต า ย ที่ จ ะ ต อ ง มี เ ป น ธรรมดา ๘. กายคตาสติ ระลึกทัว่ ไปใน อุปชฌายหรือกรรมวาจาจารยบอกแก กายใหเห็นวาไมงาม ๙. อานาปานสติ ตั้งสติกําหนดลมหายใจเขาออก ๑๐. ภกิ ษใุ หมใ นเวลาอปุ สมบทเสรจ็ ประกอบ อุปสมานุสติ ระลึกธรรมเปนท่ีสงบ ดวย นิสสัย ๔ และ อกรณยี กิจ ๔, นิสสัย คือ ปจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชติ มี ๔ อยางไดแก ๑. เทย่ี ว ระงับกิเลสและความทกุ ข คอื นพิ พาน;บิณฑบาต ๒. นุงหม ผา บังสกุ ุล ๓. อยู เขียนอยางรูปเดิมในภาษาบาลีเปนโคนไม ๔. ฉันยาดองดว ยนาํ้ มตู รเนา อนสุ สติ(ทานบอกไวเปนทางแสวงหาปจ จยั ๔ อนสุ นธิ การตดิ ตอ , การสืบเนอื่ งความพรอ มทง้ั อตเิ รกลาภของภกิ ษ)ุ , อกรณยี กจิ หรอื เรอ่ื งที่ติดตอ หรือสืบเนอ่ื งกันมากจิ ทไ่ี มค วรทาํ หมายถงึ กจิ ทบ่ี รรพชติ ทาํ อนุสสตานุตตริยะ การระลึกอันเยี่ยมไมไ ด มี ๔ อยา ง ไดแก ๑. เสพเมถุน ไดแก การระลึกถงึ พระตถาคต และ๒. ลักของเขา ๓. ฆา สตั ว (ทใ่ี หขาดจาก ตถาคตสาวก ซึ่งจะเปนไปเพ่ือความความเปน ภิกษุ หมายเอาฆา มนษุ ย) ๔. บริสุทธิ์ลว งพนทุกขได (ขอ ๖ ในพดู อวดคณุ วเิ ศษที่ไมม ใี นตน อนุตตรยิ ะ ๖)อนศุ าสนี คาํ สง่ั สอน, คาํ แนะนาํ พรา่ํ สอน; อนุสัย กิเลสที่แฝงตัวนอนเนื่องอยูใน(บาล:ี อนสุ าสน;ี สันสกฤต: อนศุ าสน)ี สันดาน มี ๗ คือ ๑. กามราคะ ความอนุศาสนีปาฏิหาริยะ ดู อนุสาสนี- กําหนัดในกาม ๒. ปฏิฆะ ความปาฏิหาริย หงดุ หงิด ๓. ทฏิ ฐิ ความเห็นผดิ ๔.อนุสติ ความระลึกถึง, อารมณที่ควร วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ๕. มานะระลกึ ถงึ เนอื งๆ มี ๑๐ อยา งคอื ๑. ความถือตวั ๖. ภวราคะ ความกําหนัดพุทธานุสติ ระลึกถึงคุณของพระพุทธ- ในภพ ๗. อวิชชา ความไมร จู รงิเจา ๒. ธมั มานุสติ ระลึกถงึ คุณของพระ อนสุ ยกิเลส ดู อนสุ ยั , กเิ ลส ๓ ระดบัธรรม ๓. สงั ฆานุสติ ระลึกถึงคณุ ของ อนสุ าวนา คําสวดประกาศ, คาํ ประกาศ

อนุสาสนี ๔๙๑ อบาย,อบายภมู ิ ความปรกึ ษาและตกลงของสงฆ, คาํ ขอมติ อารยชนจงเปนสุข” “ขอใหประดาสัตวอนสุ าสนี คาํ สงั่ สอน, คาํ แนะนาํ พรา่ํ สอน; ปาจงอยูด มี สี ุข ไมถ ูกเบียดเบียน” ฯลฯ (บาลี: อนสุ าสนี; สนั สกฤต: อนุศาสนี) ก็เปนแบบจํากัด เรียกวา “โอธิโส-อนุสาสนีปาฏิหาริย ปาฏิหาริยคืออนุ- ผรณา” (แผโดยมขี อบเขต), นอกจากศาสน,ี คําสอนเปน จริง สอนใหเ หน็ จริง น้ัน ถาแผไปตอสัตวเ ฉพาะในทศิ นน้ั ทิศนําไปปฏบิ ตั ิไดผลสมจริง เปน อศั จรรย นี้ ยังเรียกตางออกไปอีกวา “ทสิ า-(ขอ ๓ ใน ปาฏหิ ารยิ  ๓) ผรณา” (แผไปเฉพาะทศิ ), ไมเ ฉพาะอเนกนัย นยั มใิ ชน อย, หลายนัย เมตตาเทา น้นั แมพ รหมวิหารขออ่ืนๆ ก็อเนญชาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงภพ มีท้ัง อโนธโิ สผรณา โอธโิ สผรณา และอนั ม่ันคง ไมห ว่นั ไหว ไดแ กภาวะจิตที่ ทสิ าผรณา, อนึ่ง บางทีเรยี ก โอธโิ ส-ม่ันคงแนวแนดวยสมาธิแหงจตุตถฌาน ผรณา วา “โอทสิ สกผรณา” (แผเ จาะจง)(ขอ ๓ ในอภิสังขาร ๓); ตามหลักเขยี น และเรยี ก อโนธโิ สผรณาวา “อโนทสิ สก-อาเนญชาภสิ งั ขาร ผรณา” (แผไมเจาะจง); เทียบ โอธิโส-อเนสนา การหาเลยี้ งชพี ในทางทไ่ี มส มควร ผรณา, ทสิ าผรณา; ดู แผเ มตตา, วกิ พุ พนา,แกภ กิ ษ,ุ เลยี้ งชวี ติ ผดิ สมณะ เชน หลอก สมี าสมั เภทลวงเขาดว ยการอวดอุตรมิ นุสธรรม ทํา อโนมา ช่ือแมน้ํากั้นพรมแดนระหวางวิญญัติคือออกปากขอตอคนที่ไมควร แควน สกั กะกบั แควน มลั ละ พระสทิ ธตั ถะขอ ใชเงนิ ลงทุนหาผลประโยชน ตอ ลาภ เสดจ็ ออกบรรพชา มาถงึ ฝง แมน าํ้ อโนมาดวยลาภ คือใหแตนอยเพ่ือหวังตอบ ตรัสสั่งนายฉันนะใหนํามาพระท่ีนั่งกลับแทนมาก เปนหมอเวทมนตเสกเปา คนื พระนคร ทรงตดั พระเมาลีดว ยพระ เปน ตน ขรรค อธษิ ฐานเพศบรรพชิต ณ ฝง แมอโนธิโสผรณา “แผไปโดยไมมีขีดขั้น” นาํ้ อโนมาน้ี หมายถึงเมตตาที่แผไปตอสัตวทั้งปวง อบท สัตวไมม เี ทา เชน งู และไสเดือนอยางไมจํากัดขอบเขต (อยางในคาํ แผ เปนตนเมตตาทนี่ ยิ มนาํ มาใชก นั ทว่ั ไปวา “สพเฺ พ อบาย, อบายภูมิ ภมู ิกาํ เนิดทปี่ ราศจากสตฺตา อเวรา โหนตฺ ุ … สุขี อตตฺ านํ ความเจริญ มี ๔ อยาง คือ ๑. นริ ยะปริหรนฺตุ”) แตถาตั้งใจแผเมตตานั้น นรก ๒. ตริ ัจฉานโยนิ กําเนิดดริ ัจฉานโดยจํากัดขอบเขต เชนวา “ขอใหเหลา ๓. ปต ติวิสัย ภมู แิ หง เปรต ๔. อสุรกาย

อบายมขุ ๔๙๒ อปริหานยิ ธรรมพวกอสรุ กาย; ดู คต,ิ ทคุ ติ ดู โมคคลั ลบี ตุ รติสสเถระ, สาสนวงสอบายมุข ชอ งทางของความเสือ่ ม, เหตุ อปราปริยเวทนียกรรม กรรมที่เปนเคร่ืองฉิบหาย, เหตุยอยยับแหงโภค- กุศลกด็ ี อกศุ ลกด็ ี ซึ่งใหผ ลในภพตอ ๆทรพั ย, ทางแหง ความพนิ าศ มี ๔ อยาง ไป (ขอ ๓ ในกรรม ๑๒)คือ ๑. เปน นกั เลงหญงิ ๒. เปนนกั เลง อปริหานิยธรรม ธรรมไมเปนท่ีตั้งแหงสรุ า ๓. เปน นักเลงการพนัน ๔. คบคน ความเสอ่ื ม, ธรรมทที่ าํ ใหไ มเ สอื่ ม เปนชวั่ เปน มิตร; อกี หมวดหนงึ่ มี ๖ คอื ๑. ไปเพอื่ ความเจรญิ ฝา ยเดยี ว มี ๗ ขอ ที่ตดิ สุราและของมึนเมา ๒. ชอบเทยี่ ว ตรสั สาํ หรบั ภกิ ษุ (ภกิ ขอุ ปรหิ านยิ ธรรม)กลางคนื ๓. ชอบเท่ียวดกู ารเลน ๔. ยกมาแสดงหมวดหนง่ึ ดงั นี้ ๑. หมนั่เลนการพนัน ๕. คบคนช่วั เปนมิตร ๖. ประชมุ กนั เนอื งนติ ย ๒. เมอ่ื ประชมุ ก็เกียจครา นการงาน; ดู คหิ ิวนิ ยั พรอ มเพรยี งกนั ประชมุ เมอ่ื เลกิ ประชมุ ก็อปจายนมยั บญุ สาํ เร็จดวยการประพฤติ พรอ มเรยี งกนั เลกิ และพรอ มเพรยี งชว ยออ นนอมถอมตน (ขอ ๔ ในบญุ กริ ิยา กนั ทาํ กจิ ทส่ี งฆจ ะตอ งทาํ ๓. ไมบ ญั ญตั ิวตั ถุ ๑๐) สงิ่ ทพ่ี ระพทุ ธเจา ไมบ ญั ญตั ขิ น้ึ ไมถ อนอปฏิจฉนั นาบัติ อาบตั ิ (สังฆาทเิ สส) ท่ี ส่ิงท่ีพระองคบัญญัติไวแลว สมาทาน ภิกษุตองแลว ไมไ ดป ด ไว ศึกษาอยูในสิกขาบทตามที่พระองคทรงอปทาน ดู ไตรปฎ ก (เลม ๓๒–๓๓) บญั ญตั ไิ ว ๔. ภกิ ษเุ หลา ใด เปน ผใู หญอปมาโร โรคลมบาหมู เปนประธานในสงฆ เคารพนบั ถือภิกษุอปรกาล เวลาชว งหลงั , ระยะเวลาของ เหลา นนั้ เชอื่ ฟง ถอ ยคาํ ของทา น ๕. ไมล ุเร่ืองที่มีข้ึนในภายหลัง คือ หลังจาก อาํ นาจแกค วามอยากทเี่ กดิ ขน้ึ ๖. ยนิ ดีพระพุทธเจา ปรนิ ิพพานแลว ไดแกเรือ่ ง ในเสนาสนะปา ๗. ตง้ั ใจอยวู า เพอื่ น ถวายพระเพลิง และแจกพระบรม- ภกิ ษสุ ามเณรซง่ึ เปน ผมู ศี ลี ซง่ึ ยงั ไมม าสู สารรี กิ ธาต;ุ ดู พทุ ธประวตั ิอปรณั ณะ ดู ธญั ชาติ; เทียบ บพุ พณั ณะ อาวาส ขอใหม า ทมี่ าแลว ขอใหอ ยเู ปน สขุอปรนั ตะ, อปรนั ตกะ ชอื่ รฐั ทพ่ี ระโยนก- อปรหิ านยิ ธรรมทตี่ รสั แกก ษตั รยิ ว ชั ชี (วัชชีอปรหิ านยิ ธรรม) สาํ หรบั ผรู ับผดิธรรมรักขิตเถระ เปนพระศาสนทูตไป ชอบตอ บา นเมอื ง มอี กี หมวดหนงึ่ คอื ๑.ประดิษฐานพระพุทธศาสนา เม่ือเสร็จ หมั่นประชุมกันเนืองนิตย ๒. พรอมการสังคายนาคร้ังท่ี ๓ ราว พ.ศ. ๒๓๕; เพรียงกันประชุม พรอมเพรียงกันเลิก

อปโลกน ๔๙๓ อพัทธสีมาประชมุ พรอ มเพรยี งกนั ทาํ กจิ ทพ่ี งึ ทาํ ๓. อปณ ณกปฏปิ ทา ขอ ปฏบิ ตั ทิ ไ่ี มผ ดิ , ทางไมถ อื อาํ เภอใจบญั ญตั สิ งิ่ ทม่ี ไิ ดบ ญั ญตั ไิ ว ดาํ เนนิ ทไี่ มผ ดิ มี ๓ คอื ๑. อนิ ทรยี สังวรไมล ม ลา งส่ิงที่ไดบ ัญญัติ ถอื ปฏบิ ตั มิ น่ั การสาํ รวมอนิ ทรยี  ๒. โภชเนมตั ตญั ตุ าตามวชั ชธี รรม ๔. ทา นเหลา ใดเปน ผใู หญ ความเปนผูรูจักประมาณในการบริโภคในชนชาววชั ชี เคารพนบั ถอื ทา นเหลา นน้ั ๓. ชาคริยานุโยค การหม่ันประกอบเหน็ ถอ ยคาํ ของทา นวา เปน สงิ่ อนั พงึ รบั ฟง ความต่ืน ไมเหน็ แกน อน๕. บรรดากลุ สตรกี ลุ กมุ ารที งั้ หลายมใิ ห อปสเสนธรรม ธรรมทเ่ี ปน ทพ่ี ึ่งท่ีพํานกัอยูอยางถูกขมเหงรังแก ๖. เคารพ ดจุ พนกั พงิ มี ๔ คือ ๑. ของอยางหน่ึงสกั การะบชู าเจดยี ข องวชั ชี ทง้ั ภายในและ พิจารณาแลว เสพ เชน ปจจัยสี่ ๒. ของภายนอก ไมล ะเลยการทาํ ธรรมกิ พลี ๗. อยา งหนึง่ พจิ ารณาแลวอดกลั้น ไดแกจัดใหความอารักขาคุมครองปองกันอัน อนิฏฐารมณตางๆ ๓. ของอยางหนงึ่ชอบธรรมแกพระอรหันต (หมายถึง พิจารณาแลวเวนเสีย เชน สุราเมรัยบรรพชติ ทเ่ี ปน หลกั ใจของประชาชน) ตงั้ การพนัน คนพาล ๔. ของอยางหนึ่งใจใหทานท่ียังมิไดมาพึงมาสูแวนแควน พจิ ารณาแลว บรรเทาเสยี เชน อกศุ ล-ทมี่ าแลว พงึ อยโู ดยผาสกุ วติ กตา งๆอปโลกน บอกเลา, การบอกเลา, การ อปายโกศล ดู โกศล ๓บอกกลาวแกท่ีประชุมเพื่อใหรับทราบ อปุญญาภสิ ังขาร สภาพทปี่ รงุ แตง กรรมพรอ มกัน หรอื ขอความเห็นชอบรวมกัน ฝายชั่ว ไดแก อกุศลเจตนาท้ังหลายในกิจบางอยางของสว นรวม, ใชใ น อป- (ขอ ๒ ในอภิสังขาร ๓)โลกนกรรม อพยาบาท ความไมค ดิ รา ย, ไมพยาบาทอปโลกนธรรม กรรมคือการบอกเลา, ปองรายเขา, มเี มตตา (ขอ ๙ ในกุศล-กรรมอันทําดวยการบอกกันในท่ีประชุม กรรมบถ ๑๐)สงฆ ไมตอ งตง้ั ญัตติ คอื คาํ เผดียงไม อพยาบาทวิตก ความตรึกในทางไมตอ งสวด อนุสาวนา คอื ประกาศความ พยาบาท, การคิดแผเมตตาแกผูอื่นปรึกษาและตกลงของสงฆ เชน ประกาศ ปรารถนาใหเ ขามคี วามสุข (ขอ ๒ ในลงพรหมทัณฑ นาสนะสามเณรผกู ลา ว กุศลวติ ก ๓)ตูพระพุทธเจา อปโลกนแจกอาหารใน อพัทธสมี า “แดนทไ่ี มไ ดผกู ” หมายถึงโรงฉัน เปน ตน เขตชุมนุมสงฆที่สงฆไมไดกําหนดขึ้น

อภยคริ ิวหิ าร ๔๙๔ อภิณหปจ จเวกขณ เอง แตถือเอาตามเขตทเ่ี ขาไดกําหนดไว ยงิ่ , ความรชู ัน้ สูง มี ๖ อยา งคือ ๑. อทิ ธวิ ธิ ิ แสดงฤทธติ์ า งๆ ได ๒. ทพิ พ- ตามปรกติของบานเมอื ง หรอื มบี ญั ญัติ โสต หทู ิพย ๓. เจโตปริยญาณ ญาณท่ี ใหท ายใจคนอนื่ ได ๔. ปพุ เพนวิ าสานสุ ติ อยา งอ่ืนเปน เครื่องกาํ หนด แบง เปน ๓ ญาณท่ที ําใหระลึกชาตไิ ด ๕. ทพิ พจกั ขุ ประเภท คือ ๑. คามสีมา หรือ นคิ ม- ตาทพิ ย ๖. อาสวกั ขยญาณ ญาณทาํ ให สมี า ๒. สัตตพั ภนั ตรสมี า๓. อทุ กุกเขปอภยคิริวิหาร ชื่อวัดที่พระเจาวัฏฏ-คามณีอภยั ไดสรา งถวายพระตสิ สเถระ อาสวะสิ้นไป, ๕ อยางแรกเปนโลกยี -ในเกาะลงั กา ซ่งึ ไดกลายเปนเหตุใหสงฆ อภญิ ญา ขอ สดุ ทา ยเปน โลกตุ ตรอภญิ ญาลังกาแตกแยกกัน แบงเปนคณะมหา อภิญญาเทสิตธรรม ธรรมท่ีพระพุทธวิหารเดิมฝายหน่ึง คณะอภยคิริวิหาร เจาทรงแสดงดวยพระปญญาอันย่ิงฝายหน่ึง; มักเรยี ก อภยั คีรี หมายถึง โพธปิ กขยิ ธรรม ๓๗ ประการอภพั ไมค วร, ไมอ าจ, ไมส ามารถ, ไมอ าจ มสี ตปิ ฏฐาน ๔ เปนตนเปน ไปได, เปน ไปไมได (บาล:ี อภพฺพ; อภิฐาน ฐานะอยางหนกั , ความผดิ สถานไทยเพยี้ นเปน อาภพั ); ดู อาภพั หนกั มี ๖ อยา ง คอื ๑. มาตฆุ าต ฆาอภพั บคุ คล บุคคลผูไ มส มควร, มีความ มารดา ๒. ปต ฆุ าต ฆา บดิ า ๓. อรหนั ต-หมายตามขอความแวดลอ ม เชน คนท่ี ฆาต ฆาพระอรหนั ต ๔. โลหิตุปบาท ไมอ าจบรรลโุ ลกตุ ตรธรรมได คนท่ขี าด ทํารายพระพุทธเจาใหถึงหอพระโลหิต คุณสมบัติ ไมอาจใหอุปสมบทได ๕. สงั ฆเภท ทาํ สงฆใ หแ ตกกนั ๖. อญั ญ- เปนตน สตั ถุทเทส ถือศาสดาอื่นอภัยทาน ใหความไมมีภัย, ใหความ อภิณหปจจเวกขณ ขอท่ีควรพิจารณาปลอดภัย เนอื งๆ, เรอ่ื งทคี่ วรพจิ ารณาทกุ ๆ วนั มีอภิชฌา โลภอยากไดของเขา, ความคิด ๕ อยา ง คอื ๑. ควรพจิ ารณาทกุ วนั ๆ วาเพงเล็งจองจะเอาของของคนอ่นื (ขอ ๘ เรามีความแกเปนธรรมดา ไมลวงพนในอกศุ ลกรรมบถ ๑๐) ความแกไ ปได ๒. วา เรามคี วามเจบ็ ไขอภิชฌาวิสมโลภ ละโมบไมสมํ่าเสมอ, เปนธรรมดา ไมล วงพนความเจบ็ ไขไ ปความโลภอยา งแรงกลา จอ งจะเอาไมเ ลอื ก ได ๓. วา เรามคี วามตายเปน ธรรมดา ไม วา ควรไมค วร (ขอ ๑ ในอปุ กเิ ลส ๑๖) ลว งพน ความตายไปได ๔. วา เราจะตอ งอภญิ ญา ความรูย่ิง, ความรเู จาะตรงยวด พลัดพรากจากของรักของชอบใจท้ังส้ิน

อภธิ รรม ๔๙๕ อภิธรรมปฎ ก๕. วา เรามกี รรมเปน ของตวั เราทาํ ดจี กั อติเรก) คือมากกวาธรรมอยางปกติไดด ี เราทาํ ชวั่ จกั ไดช วั่ ; อกี หมวดหนงึ่ และย่งิ พิเศษ (อภิวเิ สส) คอื เหนือกวาสําหรับบรรพชิต แปลวา “ธรรมท่ี ธรรมอยางปกติ, หลักและคําอธิบายบรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื งๆ” มี ๑๐ ธรรมท่เี ปนเน้ือหาสาระแทๆ ลว นๆ ซ่ึงอยา ง (ปพ พชติ อภณิ หปจ จเวกขณ) คอื จัดเรียงอยางเปนระเบียบและเปนลําดับ๑. บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื งๆ วา บดั จนจบความอยา งบรบิ รู ณ โดยไมก ลา วถงึน้ี เรามเี พศตา งจากคฤหสั ถแ ลว ๒. วา ไมอ า งองิ และไมข น้ึ ตอ บคุ คล ชมุ ชนการเล้ียงชีพของเราเนื่องดวยผูอื่น ๓. หรือเหตุการณ อันแสดงโดยเวนวา เรามอี ากปั กริ ยิ าอยา งอนื่ ทจี่ ะพงึ ทาํ ๔. บัญญตั โิ วหาร มุง ตรงตอสภาวธรรม ท่ีวาตัวเราเองยังติเตียนตัวเราเองโดยศีล ตอมานิยมจัดเรียกเปนปรมัตถธรรมไมไ ดอ ยหู รอื ไม ๕. วา เพอื่ นพรหมจรรย ๔ คอื จติ เจตสิก รปู นพิ พาน, เมือ่ พูดผเู ปน วญิ ู ใครค รวญแลว ยงั ตเิ ตยี น วา “อภิธรรม” บางทีหมายถึงพระเราโดยศลี ไมไ ดอ ยหู รอื ไม ๖. วา เราจะ อภิธรรมปฎก บางทหี มายถงึ คําสอนในตองพลัดพรากจากของรกั ของชอบใจทง้ั พระอภิธรรมปฎกน้ัน ตามที่ไดนํามาสน้ิ ๗. วา เรามกี รรมเปน ของตน เราทาํ ดี อธิบายและเลาเรียนกันสืบมา เฉพาะจกั ไดด ี เราทาํ ชวั่ จกั ไดช ว่ั ๘. วา วนั คนื อยางยิง่ ตามแนวทปี่ ระมวลแสดงไวใ นลว งไปๆ บดั นเ้ี ราทาํ อะไรอยู ๙. วา เรา คัมภีรอ ภธิ มั มัตถสังคหะ, บางที เพื่อใหยินดีในที่สงัดอยูหรือไม ๑๐. วาคุณ ชัดวา หมายถึงพระอภธิ รรมปฎ ก ก็พูดวเิ ศษทเี่ ราบรรลแุ ลว มอี ยหู รอื ไม ทจ่ี ะทาํ วา “อภิธรรมเจ็ดคัมภีร” ; ดู อภิธรรม-ใหเราเปนผูไมเกอเขิน เม่ือถูกเพื่อน ปฎ ก, อภธิ ัมมตั ถสังคหะ, อภวิ นิ ยับรรพชติ ถามในกาลภายหลงั (ขอ ๑. อภิธรรมปฎก ชื่อปฎกทีส่ าม ในพระไตรทา นเตมิ ทา ยวา อาการกริ ยิ าใดๆ ของ ปฎก, คาํ สอนของพระพุทธเจา สว นที่สมณะ เราตอ งทาํ อาการกริ ยิ านนั้ ๆ ขอ แสดงพระอภิธรรม ซึ่งไดร วบรวมรกั ษา๒. เตมิ วา เราควรทาํ ตวั ใหเ ขาเลย้ี งงา ย ไวเปนหมวดที่สาม อันเปนหมวดสุดขอ ๓. ทา นเขยี นวา อาการกายวาจา ทายแหงพระไตรปฎก ประกอบดวยอยางอื่นท่ีเราจะตองทําใหดีขึ้นไปกวานี้ คัมภีรตา งๆ ๗ คัมภรี  (สตั ตัปปกรณะ,ยงั มอี ยอู กี ไมใ ชเ พยี งเทา น)ี้ สดับปกรณ) คือ สงั คณี (หรอื ธัมม-อภิธรรม ธรรมอันยง่ิ ท้งั ยิง่ เกนิ (อภ-ิ สงั คณี) วภิ งั ค ธาตกุ ถา ปคุ คลบญั ญตั ิ

อภธิ ัมมัตถวภิ าวนิ ี ๔๙๖ อภวิ ินัยกถาวตั ถุ ยมก และ ปฏ ฐาน; ในอรรถ- ย่งิ หมายถงึ การออกบวช, ผนวชกถา (เชน สงคณ.ี อ.๒๐/๑๖) มีความเลา วา อภบิ าล เล้ียงด,ู ดแู ล, บํารงุ รกั ษา, ปกพระอภิธรรมเปนพระธรรมเทศนาท่ีพระ ปก รักษา, คุม ครอง, ปกครองพุทธเจาทรงแสดงโปรดพระพุทธมารดา อภริ มย รืน่ เริงย่งิ , ยนิ ดยี งิ่ , พักผอ นตลอดพรรษา ณ ดาวดึงสเทวโลก ในป อภิลักขิตกาล, อภิลักขิตสมัย เวลาท่ีท่ี ๗ แหงการบําเพ็ญพุทธกิจ; ดู กําหนดไว, วนั กําหนดอภธิ รรม, ไตรปฎก อภิวันทน, อภิวาท, อภิวาทน การอภธิ มั มตั ถวภิ าวนิ ี ชอื่ คมั ภรี ฎ กี า อธบิ าย กราบไหวความในคัมภรี อภธิ ัมมัตถสังคหะ พระ อภิวนิ ยั “วินัยอนั ย่งิ ”, ในพระไตรปฎ กสมุ งั คละผเู ปน ศษิ ยข องพระอาจารยส ารี- คําวา “อภิวินัย” มักมาดว ยกันเปนคูกับบุตร ซึ่งเปนปราชญในรัชกาลของพระ คาํ วา “อภธิ รรม” และในอรรถกถา มีคําเจา ปรกั กมพาหุที่ ๑ (พ.ศ. ๑๖๙๖– อธบิ ายไว ๒-๓ นัย เชน นัยหน่งึ วา๑๗๒๙) รจนาขึน้ ในลงั กาทวีป ธรรม หมายถึง พระสุตตันตปฎกอภิธัมมัตถสังคหะ คัมภีรประมวล อภธิ รรม หมายถงึ เจด็ พระคัมภีร (คือความในพระอภธิ รรมปฎ ก สรุปเนอื้ หา อภิธรรมเจ็ดคัมภีร, สัตตัปปกรณะ)สาระลงในหลักใหญท่ีนิยมเรียกกันวา วนิ ยั หมายถงึ อุภโตวภิ ังค (คอื มหา-“ปรมตั ถธรรม ๔” พระอนุรทุ ธาจารย วิภงั คห รอื ภกิ ขุวภิ งั ค และภิกขุนวี ิภงั ค)แหงมูลโสมวิหารในลงั กาทวีป รจนา แต อภวิ นิ ยั หมายถึง ขันธกะ และปรวิ าร,ไมปรากฏเวลาชัดเจน นักปราชญ อีกนัยหนึ่ง ธรรม หมายถึง พระสันนิษฐานกันตางๆ บางทานวาในยุค สตุ ตนั ตปฎก อภธิ รรม หมายถงึ มรรคเดยี วกนั หรอื ใกลเ คยี งกบั พระพทุ ธโฆสา- ผล วนิ ยั หมายถึง วนิ ยปฎกทงั้ หมดจารย แตโดยทว่ั ไปยอมรับกนั วา แตง ข้ึน อภวิ นิ ยั หมายถึง การกําจัดกิเลสใหไมก อ น พ.ศ.๑๒๕๐ และวานาจะอยูใน สงบระงับไปได, นอกจากนี้ ในพระวนิ ัยชวงระหวาง พ.ศ. ๑๕๐๐–๑๖๕๐; ดู ปฎก มีคําอธิบายเฉพาะวินัยและอภิ-ปรมตั ถธรรม, พทุ ธโฆสาจารย วนิ ยั วา (เชน วินย.๘/๒/๒) วนิ ยั หมายถึงอภินหิ าร อํานาจแหง บารม,ี อาํ นาจบุญท่ี พระบญั ญัติ (คอื ตวั สิกขาบท) อภวิ นิ ยัสรางสมไว หมายถึง การแจกแจงอธิบายความแหงอภิเนษกรมณ การเสด็จออกเพื่อคณุ อัน พระบญั ญตั ิ; ดู อภธิ รรม, ไตรปฎก

อภิเษก ๔๙๗ อภสิ ัมพุทธคาถาอภเิ ษก การรดน้ํา, การแตงตงั้ โดยการทํา อภสิ ัมพทุ ธคาถา “คาถาของพระองคผูพิธีรดน้าํ , การไดบ รรลุ ตรสั รแู ลว ”, เปนคาํ ทแี่ ทบไมพบในที่อน่ือภิสมาจาร ความประพฤติดีงามที่ นอกจากอรรถกถาชาดก (พบในอรรถ-ประณีตย่ิงขน้ึ ไป, ขนบธรรมเนยี มเพ่ือ กถาเปตวัตถุ ๑ คร้งั ) ท้ังนี้เพราะในความประพฤติดีงามย่ิงขึ้นไปของพระ ชาดกน้ัน พระพทุ ธเจาทรงเลาเร่อื งอดตีภิกษุ และเพ่ือความเรียบรอยงดงาม ครั้งทรงเปนพระโพธิสัตว และตรัสคําแหงสงฆ; เทยี บ อาทพิ รหมจรรย สอนของพระองคเชนคติท่ีพึงไดจากอภิสมาจาริกวัตร วัตรเก่ียวดวยความ เร่ืองอดีตนั้นดว ย ดงั น้ัน คําพูดในเรื่องประพฤติอันดี, ธรรมเนียมเก่ียวกับ จึงมีท้ังคําของพระโพธิสัตวในอดีตเม่ือ มรรยาทและความเปนอยทู ด่ี ีงาม ยังไมตรัสรู มีทั้งคําของบุคคลอื่นท่ีโตอภิสมาจาริกาสิกขา หลักการศึกษา ตอบในเรื่องน้ัน และมีพระดํารัสของอบรมในฝายขนบธรรมเนียมที่จะชักนํา พระพุทธเจาที่ตรสั คตหิ รือขอสรุปไว คําความประพฤติ ความเปนอยูของพระ ของทุกบุคคลในเร่ืองมาดวยกันในพระ สงฆใหดงี ามมคี ุณย่งิ ขึน้ ไป, สิกขาฝาย ไตรปฎ กตอนนน้ั และตามปกตเิ ปน คาถา อภสิ มาจาร; เทยี บ อาทพิ รหมจรยิ กาสกิ ขา ทง้ั นน้ั บางครงั้ พระอรรถกถาจารยจ ะใหอภิสังขาร สภาพท่ีปรุงแตงแหงการ เราแยกได จึงบอกใหรูวาในเร่ืองนั้นๆกระทาํ ของบคุ คล, เจตนาทเ่ี ปน ตวั การใน คาถาตรงนๆี้ เปนอภสิ ัมพทุ ธคาถา คือการทาํ กรรม มี ๓ อยา งคอื ๑. ปุญญา- เปนคาถาที่พระองคตรัสเอง ไมใชของภสิ งั ขาร อภสิ งั ขารทเี่ ปน บญุ ๒. อปญุ ญา- บุคคลอื่นในเรื่อง และไมใชของพระภิสังขาร อภิสงั ขารทเ่ี ปน ปฏปิ ก ษต อ บญุ โพธิสัตวใ นเรอื่ งคอื บาป ๓. อาเนญชาภสิ งั ขาร อภสิ งั ขาร ดังตัวอยางในชาดกเร่ืองแมนกไสที่เปนอเนญชา คอื กศุ ลเจตนาท่ีเปน ตรัสเลา วา แมนกไส (นกชนดิ นี้วางไขอรูปาวจร ๔; เรียกงายๆ ไดแก บุญ บนพ้ืนดิน) มีลูกหลายตัวเพิ่งออกจากบาป ฌาน ไข ยังบนิ ไมได และพอดอี ยูบนทางท่ีอภิสังขารมาร อภสิ งั ขารเปนมารเพราะ ชา งเทีย่ วหากนิ วนั น้ัน ชางโพธิสตั วนําเปนตัวปรงุ แตงกรรม ทําใหเกดิ ชาติชรา ชางโขลงใหญผานมา แมนกไสเขาไปยนืเปนตน ขัดขวางไมใ หหลดุ พนจากทกุ ข ขวางหนา และกลา ว (เปน คาถา) วา “ฉนัในสงั สารวฏั ฏ (ขอ ๓ ในมาร ๕) ขอไหวท า นพญาชา งผสู งู วยั อายถุ งึ ๖๐

อมนษุ ย ๔๙๘ อมนษุ ยป มกี าํ ลงั ออ นถอยลง แตเ ปน เจา โขลง นกไสก ็คิดวางแผน และไปขอความรวมยง่ิ ใหญแ หง แดนปา ฉนั ขอทาํ อญั ชลี มือจากสตั วเ ล็กอ่ืนอกี ๓ ตวั คือ กาทานดวยปกทั้งสอง โปรดอยาฆา ลูก กบ และแมลงวนั หวั เขียว เริม่ ดวยกาหาออ นตวั นอ ยๆ ของฉนั เสยี เลย” ชาง จังหวะจิกลูกตาท้ังสองขางของเจาชางโพธิสัตวฟงแลวก็สงสาร เขามายืน พาล แลว แมลงวนั หัวเขียวก็มาไขใสล กูครอ มบังลูกนกท้ังหมดไว จนโขลงชา ง ตาท่บี อด พอถกู หนอนชอนไชตา ชา งผานเลยไป และลูกนกปลอดภยั แตตอ เจ็บปวดมาก และกระหายเท่ียวหาน้าํ ทงั้มา ชางรา ยตัวหนง่ึ ซึ่งเทยี่ วไปลาํ พังผา น ท่ตี ามองไมเหน็ ถงึ ทกี บกข็ ึน้ ไปรอ งบนมา แมนกไสก็เขาไปยืนขวางหนาและ ยอดเขา ชา งนกึ วามนี า้ํ ท่นี นั่ กข็ ้นึ ไป กบกลา ววา “ฉนั ขอไหวท า นพญาชา งผจู ร กล็ งมารอ งทห่ี นาผา ชางมงุ หนา มาหาน้าํเดย่ี วแหง แดนปา เทยี่ วหาอาหารตามขนุ เขา ฉนั ขอทาํ อญั ชลที า นดว ยปก ทง้ั ถึงหนาผาก็ล่ืนไถลตกลงไปตายอยูท่ีเชิงสอง โปรดอยา ฆา ลกู ออ นตวั นอ ยๆ ของฉนั เสยี เลย” แตเ จา ชา งพาลไมป รานี กลบั เขา แมน กไสกบ็ ินลงมาเดนิ ไปมาบนตวัพดู แสดงอาํ นาจวา “แนะ นางนกไส ขาจะฆา ลกู นอ ยของเจา เสยี เจา ไมม กี าํ ลงั ชางดวยความสมใจดีใจ เร่อื งจบลงโดยจะมาทาํ อะไรขา ได อยา งพวกเจา นใ่ี ห พระพุทธเจาตรสั วา “จงดเู ถดิ แมน กไสรอ ยตัวพนั ตวั ขา จะเอาเทา ซา ยขา ง กา กบ และแมลงวนั หวั เขยี ว สตั วท ง้ั ส่ีเดยี วขยใี้ หล ะเอยี ดไปเลย” วา แลว กเ็ อา นร้ี ว มใจกนั ฆา ชา งเสยี ได ทา นจงดคู ติ ของคนมเี วรทที่ าํ ตอ กนั เพราะฉะนนั้ แล ทา นทงั้ หลาย ไมค วรกอ เวรกบั ใครๆ ถงึ จะเปน คนทไ่ี มร กั ไมช อบกนั ” ในชาดกนี้เทาเหยียบขยี้ลูกนกแหลกละเอียดท้ัง มีคาํ กลา ว ๕ คาถา จะเห็นชดั วา ๔ คาถาหมดและรอ งแปรแ ปรน วงิ่ แลน ไป ฝา ย แรกเปน คาถาของบุคคลอนื่ ในเรือ่ ง แตแมนกไสแ คน นกั ฮึดขึน้ มาในใจวา “มิ เฉพาะคาถาท่ี ๕ เปนอภสิ ัมพุทธคาถาใชว า ใครมกี าํ ลงั แลว จะทาํ อะไรกไ็ ดไ ป อมนุษย ผมู ิใชม นุษย, ไมใชคน, มกัทวั่ ทงั้ หมด กาํ ลงั ของคนพาลนแ่ี หละ มี หมายถึงสัตวในภพที่มีฤทธิ์มีอํานาจนาไวฆ า คนพาล เจา ชา งใหญเ อย ใครฆา กลัว อยางที่คนไทยเรียกวาพวกภูตผีลกู ออ นตวั นอ ยๆ ของขา ขา จกั ทาํ ให ปศาจ แตใ นภาษาบาลี หมายถงึ ยักษมนั ยอ ยยบั ” ผกู ใจวาจะไดร ูกันระหวา ง หรอื เปรต บอ ยครง้ั หมายถงึ เทวดา บางทีกําลังรางกายกับกําลังปญญา แลวแม หมายถงึ ทาวสักกะ คอื พระอินทร (เชน

อมร, อมระ ๔๙๙ อมูฬหวินัยชา.อ.๑๐/๑๓๔) อมิตา เจา หญงิ ศากยวงศ เปน พระราช-อมร, อมระ ผูไ มต าย เปนคาํ เรยี กเทวดา บุตรีของพระเจาสีหหนุ เปน พระกนิฏฐ-ผูไดด ื่มนาํ้ อมฤต ภคนิ ขี องพระเจาสุทโธทนะ เปนพระเจาอมฤต เปนชอ่ื นํ้าทพิ ยท ที่ าํ ผดู ื่มใหไมต าย อาของพระพุทธเจา มีโอรสซ่ึงออกตามเร่ืองวา เทวดาทั้งหลายคิดหาของ ผนวชนามวา พระติสสเถระ (ตามเครอื่ งกันตาย พากันไปถามพระเปน เจา คมั ภีรมหาวงส วาเปนมเหสขี องพระเจาพระเปนเจารับส่ังใหกวนมหาสมุทร สุปปพุทธะ จึงเปนพระมารดาของพระเทวดาทั้งหลายก็ทําตามโดยวิธีใชภูเขา เทวทัตและเจาหญิงยโสธราพิมพา)รองขางลางลูกหน่งึ วางขางบนลกู หนงึ่ อมิโตทนะ กษัตรยิ ศากยวงศ เปนพระท่ีกลางมหาสมุทร ลักษณะคลายโม ราชบตุ รองคท ี่ ๓ ของพระเจา สหี หนุสาํ หรับโมแ ปง เอานาคพนั เขาทภ่ี เู ขาลูก เปนพระอนุชาองคท่ี ๒ ของพระเจาบนแลว ชว ยกนั ชกั สองขาง อาศัยความ สุทโธทนะ เปนพระเจาอาของพระพทุ ธ-รอนท่ีเกิดจากความหมุนเวียนเบียด เจา เปนพระบิดาของพระอานนท (น้วี าเสียดแหงภูเขา ตนไมทั้งหลายท่ีเปน ตาม ม.อ.๑/๓๘๔; วินย.ฏี. ๓/๓๔๙ เปนตนยาบนภูเขา ไดค ายรสลงไปในมหาสมทุ ร แตว า ตาม องฺ.อ.๑/๑๗๑ และ พุทธฺ .อ.๘๕ ซ่งึ จนขนเปน ปลักแลว เกดิ เปนน้ําทิพยข้นึ ขัดกับท่ีอ่ืนๆ และวาตามหนังสือเรียน ในทามกลางมหาสมุทร เรียกวา นํ้า เปนพระบิดาของพระมหานามะ และ อมฤต บา ง นาํ้ สุรามฤต บา ง; ทัง้ หมดน้ี พระอนุรุทธะ) เปนเรื่องตามคตขิ องศาสนาพราหมณ อมูฬหวนิ ยั ระเบยี บท่ีใหแ กภ ิกษผุ ูหายอมฤตธรรม ธรรมทที่ ําใหไมต าย, ธรรม เปนบาแลว, วิธีระงับอธิกรณสําหรับซ่ึงเปรียบดวยน้ําอมฤตอันทําผูด่ืมใหไม ภกิ ษุผหู ายจากเปนบา ไดแก กริ ิยาที่ตาย หมายถึงพระนพิ พาน สงฆสวดประกาศใหสมมติแกภิกษุผูอมาตย ขา ราชการ, ขาเฝา, ขุนนาง, มกั หายเปน บา แลว เพอ่ื ระงบั อนวุ าทาธกิ รณเรียก อํามาตย อธิบายวา จําเลยเปนบาทําการลวงอมาวสี ดิถีเปน ทีอ่ ยูรวมแหงพระอาทิตย ละเมดิ อาบตั ิ แมจ ะเปน จรงิ กเ็ ปน อนาบตั ิและพระจันทร, วันพระจันทรด ับ หรอื เมื่อเธอหายบาแลวมีผูโจทดวยอาบัติวันดับ คือวันส้ินเดือนทางจันทรคติ ระหวางเปนบานั้นไมรูจบ ทานใหสงฆ(แรม ๑๕ หรือ ๑๔ ค่าํ ) สวดกรรมวาจาประกาศความขอนี้ไว

อโมหะ ๕๐๐ อรรถกถาเรียกวา อมูฬหวินัย ยกฟองโจทเสีย เยีย่ ม, ศิษยผเู ลิศกวา ศษิ ยอน่ื ของพระภายหลังมีผูโจทดวยอาบัติน้ัน หรือ พุทธเจา หมายถงึ พระสารบี ตุ ร และอาบัติเชนน้ัน ในคราวที่เปนบา ก็ให พระมหาโมคคัลลานะ; ดู อคั รสาวกอธิกรณเปนอันระงับดวยอมูฬหวินัย อรรถ เนอ้ื ความ, ใจความ, ความหมาย,(ขอ ๓ ในอธิกรณสมถะ ๗) ความมงุ หมาย, ผล, ประโยชนอโมหะ ความไมหลง, ธรรมท่ีเปน อรรถ ๒, ๓ ดู อัตถะปฏิปก ษตอ โมหะ คอื ความรจู ริง ไดแ ก อรรถกถา “เคร่ืองบอกความหมาย”, ปญญา (ขอ ๓ ในกุศลมูล ๓) ถอยคําบอกแจงช้ีแจงอรรถ, คําอธิบายอยกู รรม ดู ปรวิ าส อตั ถะ คอื ความหมายของพระบาลี อนัอยูปรวิ าส ดู ปริวาส ไดแกพุทธพจน รวมทั้งขอความและอยรู ว ม ในประโยควา “ภิกษุใดรอู ยกู ิน เร่ืองราวเกี่ยวของแวดลอมที่รักษาสืบรว มกด็ ี อยรู ว มก็ดี สําเร็จการนอนดวย ทอดมาในพระไตรปฎก, คัมภรี อ ธิบายกันก็ด”ี รวมอโุ บสถสังฆกรรม ความในพระไตรปฎก; ในภาษาบาลีอโยนิโสมนสิการ การทําในใจโดยไม เขยี น อฏ กถา, มคี วามหมายเทา กบั คาํแยบคาย, การไมใชปญญาพิจารณา, วา อตฺถวณณฺ นา หรือ อตถฺ สวํ ณณฺ นาความไมรูจักคิด, การปลอยใหอวิชชา (คัมภีรสัททนีติ ธาตุมาลา กลาววาตณั หาครอบงาํ นาํ ความคดิ ; เทยี บ โยนโิ ส- อรรถกถา คือเครื่องพรรณนาอธิบายมนสิการ ความหมาย ที่ดาํ เนินไปตามพยัญชนะอรดี ธิดามารคนหนึ่งใน ๓ คน อาสา และอตั ถะ อนั สมั พนั ธก บั เหตอุ นั เปน ท่ีพระยามารผูเปนบิดา เขาไปประโลม มาและเรอ่ื งราว)พระพทุ ธเจา ดวยอาการตางๆ ในสมยั ที่ อรรถกถามีมาเดิมสืบแตพุทธกาลพระองคเสด็จอยูท่ีไมอชปาลนิโครธภาย เปนของเนื่องอยูดว ยกนั กบั การศึกษาคาํหลังตรัสรูใหมๆ (อีก ๒ คน คอื ตัณหา สอนของพระพุทธเจา ดังท่ีเขาใจงายๆกับ ราคา) วา “อรรถกถา” ก็คือคาํ อธบิ ายพทุ ธพจนอรติ ความขงึ้ เคียด, ความไมยินดีดวย, และคาํ อธบิ ายพทุ ธพจนน นั้ กเ็ รม่ิ ตน ท่ีความริษยา พทุ ธพจน คอื พระดาํ รสั ของพระพทุ ธเจาอรรค ดู อคั ร นน่ั เอง ซง่ึ เปน พระดํารสั ท่ีตรัสประกอบอรรคสาวก สาวกผูเลศิ , สาวกผยู อด เสริมขยายความในเรื่องที่ตรัสเปนหลัก

อรรถกถา ๕๐๑ อรรถกถาในคราวนน้ั ๆ บา ง เปน ขอที่ทรงชี้แจง เจนข้นึ พระสาวกทงั้ หลายจึงกําหนดจดอธิบายพุทธพจนอ่ืนท่ีตรัสไวกอนแลว จําปกิณกเทศนาเหลานี้ไวประกอบพวงบาง เปนพระดํารัสปลีกยอยที่ตรัส คมู ากบั พุทธพจนใ นพระไตรปฎ ก เพือ่อธบิ ายเร่ืองเลก็ ๆ นอ ยๆ ทาํ นองเรือ่ ง เปนหลักฐานที่ชวยใหเขาใจชัดเจนในเบ็ดเตล็ดบาง ดังที่ทานยกตัวอยางวา พระพุทธประสงคของหลักธรรมท่ีตรัสเม่ือพระพุทธเจาทรงไดรับนิมนตเสด็จ ในคราวนัน้ ๆ และเฉพาะอยา งย่ิงจะไดไปประทับใชอาคารเปน ปฐม ในคราวที่ ใชในการชี้แจงอธิบายหลักธรรมในพุทธเจาศากยะสรางหอประชุม (สันถาคาร) พจนนั้นแกศิษยเปนตน พระปกณิ ก-เสร็จใหม ในพระไตรปฎ กกลาวไวเพียง เทศนานแ้ี หละ ทีเ่ ปนแกนหรอื เปนที่กอวาไดทรงแสดงธรรมกถาแกเจาศากยะ รูปของส่ิงท่ีเรียกวาอรรถกถา แตในอยูจนดึก เมื่อจะทรงพัก จงึ รบั สัง่ ให ขณะที่สวนซ่งึ เรียกวา พระไตรปฎก ทานพระอานนทแสดงธรรมเรื่องเสขปฏิปทา รักษาไวในรูปแบบและในฐานะท่ีเปนแกเ จาศากยะเหลาน้นั และในพระสูตร หลกั สว นที่เปน อรรถกถาน้ี ทา นนําสบืน้ันไดบันทึกสาระไวเฉพาะเร่ืองท่ีพระ กันมาในรูปลักษณและในฐานะที่เปนคําอานนทแสดง สวนธรรมกถาของพระ อธิบายประกอบ แตก ็ถอื เปนสําคญั ย่งิพุทธเจา เองมวี า อยางไร ทา นไมไ ดร วม ดงั ที่เม่อื สังคายนาพระไตรปฎ ก อรรถ-ไวในตัวพระสตู รน้ี เรอ่ื งอยางน้มี ีบอยๆ กถาเหลาน้กี เ็ ขา สูการสงั คายนาดวย (ดูแมแ ตพ ระสูตรใหญๆ ก็บันทกึ ไวเฉพาะหลักหรือสาระสําคัญ สวนท่ีเปนพระ ตวั อยา งท่ี ม.ม.๑๓/๒๕/๒๕; ม.อ.๓/๖/๒๐; วนิ ย.ฏ.ีดํารัสรายละเอียดหรือขอปลีกยอยขยายความ ซึ่งเรียกวาปกิณกเทศนา ๒/๒๘/๗๐; ท.ี ฏ.ี ๒/๑๘๘/๒๐๗) ทง้ั น้ี มเิ ฉพาะ(จะเรยี กวาปกณิ กธรรมเทศนา ปกิณก- พระพทุ ธดํารสั เทานนั้ แมคาํ อธบิ ายของธรรมกถา ปกิณกกถา หรือบาลีมุต- พระมหาสาวกบางทานก็มีท้ังที่เปนสวนธรรมกถา ก็ได) แมจะไมไดรวมไวเปน ในพระไตรปฎก (อยางเชนพระสูตรสวนของพระไตรปฎก แตพระสาวกก็ หลายสูตรของพระสารีบุตร) และสวนถือวาสําคัญย่ิง คือเปนสวนอธิบาย อธิบายประกอบท่ีถือวาเปนอรรถกถาขยายความที่ชวยใหเขาใจพุทธพจนที่ คําอธิบายท่ีสําคัญของพระสาวกผูใหญบันทึกไวเปนพระสูตรเปนตนน้ันไดชัด อันเปนท่ยี อมรับนบั ถือเปนหลัก กไ็ ดร ับ การถายทอดรักษาผานการสังคายนาสืบ ตอ มาดว ย

อรรถกถา ๕๐๒ อรรถกถา คําอธิบายท่ีเปนเร่ืองใหญบางเร่ือง สงั คายนาทง้ั ๓ ครง้ั จนกระทงั่ เมอื่ พระสําคัญมากถึงกับวา ท้ังท่ีเรียกวาเปน มหินทเถระไปประดิษฐานพระพุทธ-อรรถกถา กจ็ ดั รวมเขา เปน สว นหนึ่งใน ศาสนาในลงั กาทวปี เมอื่ พ.ศ. ๒๓๕ ก็พระไตรปฎกดวย ดงั ทท่ี านเลา ไว คือ นาํ อรรถกถาเหลา นนั้ ซงึ่ ยงั เปน ภาษาบาลี“อัฏฐกถากัณฑ” ซึ่งเปนภาคหรือคัมภีร พว งไปกบั พระไตรปฎ กบาลดี ว ย แตเ พื่อยอยที่ ๓ ในคมั ภรี ธ มั มสงั คณี แหง พระ ใหพระสงฆตลอดจนพุทธศาสนิกทั้งอภธิ รรมปฎ ก (พระไตรปฎก เลม ๓๔, หลายในลังกาทวีปน้ัน สามารถศึกษาอัฏฐกถากัณฑนมี้ อี ีกช่อื หนงึ่ วา “อตั ถุท- พระไตรปฎกซึ่งเปนภาษาบาลีไดสะดวกธารกัณฑ” และพระไตรปฎ กฉบบั สยาม พระพุทธศาสนาจะไดเจริญมั่นคงดวยรัฐไดเลือกใชชื่อหลัง) ตามเรื่องท่ีทาน หลักพระธรรมวนิ ัย คมั ภีรเลาวา พระบนั ทึกไวว า (สงฺคณี.อ.๔๖๖) สทั ธิวหิ ารกิ รปู มหินทเถระไดแปลอรรถกถาจากภาษาหนึ่งของพระสารีบุตรไมสามารถกําหนด บาลใี หเปน ภาษาของผเู ลา เรยี น คอื ภาษาจับคําอธิบายธรรมในภาคหรือคัมภีร สงิ หฬ ซง่ึ เรียกกันตอ มาวา “มหาอัฏฐ-ยอยที่ ๒ ทช่ี อ่ื วา นกิ เขปกณั ฑ ในคมั ภรี  กถา” และใชเปนเครื่องมือศึกษาพระธมั มสงั คณนี ั้น พระสารบี ตุ รจงึ พดู ใหฟ ง ไตรปฎกบาลีสืบมา ตอ แตน นั้ อรรถกถาก็เกิดเปนอัฏฐกถากัณฑหรืออัตถุทธาร- ทงั้ หลายกส็ บื ทอดกนั มาในภาษาสงิ หฬกณั ฑน นั้ ข้ึนมา (แตค ัมภีรมหาอฏั ฐกถากลา ววา พระสารบี ตุ รพาสทั ธวิ หิ าริกรูป ตอมา พระพทุ ธศาสนาในชมพทู วีปน้ันไปเฝาพระพุทธเจา และพระองค เส่ือมลง แมว าพระไตรปฎกจะยังคงอยูตรัสแสดง), คมั ภรี มหานิทเทส (พระ แตอรรถกถาไดส ูญสนิ้ หมดไป ครั้งน้นัไตรปฎก เลม ๒๙) และจูฬนทิ เทส มพี ระภกิ ษรุ ปู หนงึ่ ออกบวชจากตระกลู(พระไตรปฎก เลม ๓๐) ก็เปนคาํ อธิบาย พราหมณ เลา เรยี นพระไตรปฎ กแลว มีของพระสารีบุตร ท่ีไขและขยายความ ความเชยี่ วชาญจนปรากฏนามวา “พทุ ธ-แหง พทุ ธพจนใ นคมั ภรี สตุ ตนิบาต (พระ โฆส” ไดเรียบเรียงคมั ภรี ชือ่ วา ญาโณทยัไตรปฎก เลม ๒๕, อธบิ ายเฉพาะ ๓๒ (คัมภีรมหาวงสกลาววาทานเรียบเรียงสูตร ในจํานวนทัง้ หมด ๗๑ สตู ร) อรรถกถาแหงคัมภีรธัมมสังคณี ชื่อวา อฏั ฐสาลนิ ใี นคราวนน้ั ดว ย แตไ มส มจรงิ อรรถกถาท้ังหลายแตครั้งพุทธกาล เพราะอฏั ฐสาลนิ อี า งวสิ ทุ ธมิ คั ค และอา งนั้น ไดพ วงมากับพระไตรปฎกผานการ สมนั ตปาสาทกิ า มากมายหลายแหง จงึ

อรรถกถา ๕๐๓ อรรถกถาคงตอ งแตง ทหี ลงั ) เสรจ็ แลว เรมิ่ จะเรยี บ มอบคมั ภรี แ กท า น พระพุทธโฆสเริ่มงานเรยี งอรรถกถาแหง พระปรติ รขน้ึ อาจารย แปลใน พ.ศ.๙๗๓ ต้ังตนท่ีอรรถกถาของทา น ซง่ึ มชี อ่ื วา พระเรวตเถระ บอกวา อรรถกถามีอยูบ ริบูรณในลงั กาทวีป แหงพระวนิ ัยปฎก (คอื สมันตปาสาทกิ า,เปนภาษาสงิ หฬ และใหทา นไปแปลเปนภาษาบาลีแลว นํามายงั ชมพทู วปี คาํ นวณปจ าก วนิ ย.อ.๓/๖๓๕) เมอื่ ทาํ งานแปล เสร็จพอควรแลว ก็เดินทางกลับไปยัง พระพุทธโฆสไดเดินทางไปยังลังกา-ทวีปในรัชกาลของพระเจามหานาม ชมพทู วปี(พ.ศ.๙๕๓–๙๗๕; ปท่ีทานไป หลกั ฐานบางแหง วา พ.ศ.๙๕๖ แตบ างแหง วา พ.ศ. งานแปลของพระพทุ ธโฆสนน้ั แทจ รงิ๙๖๕) พระพทุ ธโฆสพํานักในมหาวหิ าร มใิ ชเ ปน การแปลอยา งเดยี ว แตเ ปน การเมอื งอนรุ าธปรุ ะ ไดสดบั อรรถกถาภาษาสงิ หฬครบทงั้ มหาอฏฐ กถา มหาปจจฺ รี แปลและเรียบเรียง ดังที่ทานเองเขียน(มหาปจจฺ รยิ กเ็ รยี ก) และกรุ นุ ทฺ ี (อรรถ-กถาเกากอ นเหลานี้ รวมทั้งสงฺเขปฏ - บอกไววา ในการสังวรรณนาพระวินัยกถาซงึ่ เปน ความยอ ของมหาปจ จรี และ ทานใชมหาอรรถกถาเปนเน้ือหาหลักอนฺธกฏกถาที่พระพุทธโฆสไดคุนมา (เปน สรรี ะ) พรอ มทง้ั เกบ็ เอาอรรถะทค่ี วรกอนนั้นแลว จัดเปนโปราณัฏฐกถา)เม่ือจบแลว ทานก็ไดขอแปลอรรถกถา กลาวถึงจากขอวินิจฉัยที่มีในอรรถกถาภาษาสงิ หฬ เปน ภาษามคธ แตส งั ฆะแหง มหาปจ จรี และอรรถกถากรุ นุ ที เปน ตนมหาวิหารไดมอบคาถาพุทธพจนใหทาน (คือรวมตลอดถึงอันธกัฏฐกถา และไปเขียนอธิบายกอน เปนการทดสอบ สังเขปฏฐกถา) อธิบายใหครอบคลุมความสามารถ พระพุทธโฆสไดเขียน ประดาเถรวาทะ (คอื ขอ วินิจฉัยของพระขยายความคาถานนั้ โดยประมวลความในพระไตรปฎกพรอมทั้งอรรถกถามา มหาเถระวินัยธรโบราณในลังกาทวีป ถงึเรียบเรียงตามหลกั ไตรสกิ ขา สาํ เร็จเปนคัมภีรวิสุทธิมัคค คร้ันเห็นความ พ.ศ.๖๕๓), แตในสวนของพระสามารถแลว สังฆะแหงมหาวิหารจึงได สุตตันตปฎกและพระอภิธรรมปฎก อรรถกถาโบราณ (โปราณฏั ฐกถา) ภาษา สงิ หฬ มเี พียงมหาอรรถกถาอยางเดยี ว (มมี หาอรรถกถาในสว นของคมั ภรี แ ตล ะ หมวดนนั้ ๆ ซง่ึ ถอื วา เปน มลู ฏั ฐกถา) พระ พุทธโฆสจึงใชมหาอรรถกถานั้น เปน แกน ขอ ความทยี่ ดื ยาวกลา วซาํ้ ๆ กจ็ บั เอาสาระมาเรียบเรียง แปลเปนภาษา มคธ โดยเกบ็ เอาวาทะ เรอ่ื งราว และขอ

อรรถกถา ๕๐๔ อรรถกถาวินิจฉัยของพระเถระสิงหฬโบราณ ถึง คาถา ปรมัตถทปี นี (พระธรรมปาละ) ๙.พ.ศ.๖๕๓ มารวมไวด ว ย เถรคี าถา ปรมตั ถทปี นี (พระธรรมปาละ) ๑๐.ชาดก ชาตกฏั ฐกถา (*) ๑๑.นทิ เทส พระพุทธโฆสาจารยเปนผูเร่ิมตนยุค สทั ธมั มปชโชตกิ า (พระอปุ เสนะ) ๑๒.อรรถกถาท่ีกลับมีเปนภาษาบาลีขึ้นใหม ปฏิสมั ภิทามัคค สัทธัมมปกาสนิ ี (พระแมวาพระพุทธโฆสจะมิไดจัดทําอรรถ- มหานาม) ๑๓.อปทาน วสิ ทุ ธชนวลิ าสนิ ีกถาขึ้นครบบริบูรณ แตในระยะเวลา (**) ๑๔.พทุ ธวงส มธรุ ัตถวลิ าสนิ ี (พระใกลเคียงกันน้ันและตอจากนั้นไมนาน พทุ ธทัตตะ) ๑๕.จรยิ าปฎก ปรมตั ถ-ก็ไดมีพระอรรถกถาจารยรูปอ่ืนๆ มา ทปี นี (พระธรรมปาละ) ค.พระอภิธรรม-ทํางานสวนท่ยี ังขาดอยจู นเสร็จสิ้น ปฎ ก ๑.ธัมมสงั คณี อัฏฐสาลนิ ี (พฆ.) ๒.วภิ ังค สมั โมหวิโนทนี (พฆ.) ๓.หา รายชอื่ อรรถกถา พรอมท้ังนามพระ คมั ภรี ท เี่ หลอื ปญ จปกรณฏั ฐกถา (พฆ.)เถระผูรจนา (พระอรรถกถาจารย)แสดงตามลําดับคัมภีรในพระไตรปฎก [พงึ ทราบ: @ ปรมตั ถทปี นี ทเ่ี ปนทอี่ รรถกถานน้ั ๆ อธบิ าย มีดงั นี้ (พฆ. อรรถกถา แหง วิมานวัตถุ และเปตวัตถุหมายถึง พระพุทธโฆสาจารย) มีอกี ชอื่ หน่งึ วา วมิ ลวลิ าสนิ ;ี (*) คอื ธมั มปทฏั ฐกถา และชาตกฏั ฐกถา นัน้ ก.พระวนิ ยั ปฎก (ท้ังหมด) สมนั ต- ท่ีจริงก็มีชื่อเฉพาะวา ปรมัตถโชติกาปาสาทกิ า (พฆ.) ข.พระสตุ ตันตปฎก และถือกันมาวาพระพุทธโฆสเปนผู๑.ทฆี นิกาย สุมังคลวลิ าสินี (พฆ.)๒.มชั ฌมิ นิกาย ปปญจสูทนี (พฆ.) เรยี บเรยี งคัมภรี ท ง้ั สองนี้ แตอ าจเปนได๓.สังยุตตนกิ าย สารัตถปกาสนิ ี (พฆ.)๔.อังคุตตรนิกาย มโนรถปรู ณี (พฆ.) วา ทานเปน หัวหนา คณะ โดยมีผอู ่ืนรวม๕.ขทุ ทกนกิ าย ๑.ขทุ ทกปาฐะ ปรมตั ถ- งานดว ย; (**) วสิ ทุ ธชนวลิ าสนิ ี นน้ัโชติกา (พฆ.) ๒.ธรรมบท ธัมมปทัฏฐ- นามผรู จนาไมแ จง แตค มั ภรี จ ฬู คนั ถวงสกถา (*) ๓.อทุ าน ปรมัตถทปี นี (พระธรรมปาละ) ๔.อิติวตุ ตกะ ปรมัตถทีปนี (แตงในพมา) วาเปนผลงานของพระ(พระธรรมปาละ) ๕.สตุ ตนบิ าต ปรมตั ถ-โชติกา (พฆ.) ๖.วิมานวตั ถุ ปรมตั ถ- พทุ ธโฆส; มอี รรถกถาอื่นที่พึงทราบอกีทีปนี@ (พระธรรมปาละ) ๗.เปตวัตถุ บา ง คอื กงั ขาวติ รณี (อรรถกถาแหงปรมตั ถทีปนี@ (พระธรรมปาละ) ๘.เถร- พระปาฏโิ มกข) ซ่งึ ก็เปน ผลงานของพระ พุทธโฆส, อรรถกถาแหงเนตติปกรณ เปน ผลงานของพระธรรมปาละ]

อรรถกถา ๕๐๕ อรรถกถา เน้ือตัวแทๆ ของอรรถกถา หรือ ของพระอรรถกถาจารยตอเรื่องท่ีกําลังความเปน อรรถกถา กต็ รงกับชอ่ื ทเี่ รยี ก พจิ ารณา และพรอ มนน้ั กอ็ าจจะกลา วถงึคือ อยูที่เปนคาํ บอกความหมาย หรอื มตทิ ข่ี ัดแยง หรือทสี่ นบั สนุน ของ “เกจ”ิเปนถอยคําช้ีแจงอธิบายอัตถะของศัพท (อาจารยบ างพวก) “อฺเ” (อาจารยหรือขอความในพระไตรปฎก เฉพาะ พวกอน่ื ) “อปเร” (อาจารยอ ีกพวกหนง่ึ )อยางยง่ิ คืออธิบายพุทธพจน เชน เรา เปนตน นอกจากนน้ั ในการอธบิ ายหลักอานพระไตรปฎก พบคาํ วา “วิริยสฺส หรือสาระบางอยาง บางทกี ย็ กเรื่องราวสณฺ าน”ํ กไ็ มเขาใจ สงสยั วา ทรวดทรง มาประกอบหรือเปนตัวอยาง ประเภทสัณฐานอะไรของความเพียร จึงไปเปด เร่อื งปนอทิ ธฤิ ทธ์ิปาฏิหารยิ บาง เร่อื งในดูอรรถกถา ก็พบไขความวา สัณฐานใน วิถีชีวิตและความเช่ือของชาวบานบางทนี่ หี้ มายความวา “ปนา อปปฺ วตตฺ นา…” ตลอดจนเหตุการณในยุคสมัยตางๆ ซ่งึก็เขาใจและแปลไดวาหมายถึงการหยุด มากทีเดียวเปนเรื่องความเปนไปของยง้ั การไมด ําเนนิ ความเพียรตอไป ถา บานเมืองในลังกาทวีป ซึ่งในอดีตผานพูดในข้ันพ้ืนฐาน ก็คลายกับพจนานุ- ยุคสมัยตางๆ ระหวางท่ีพระสงฆเลากรมท่ีเราอาศัยคนหาความหมายของ เรียนกัน คงมกี ารนําเอาเร่ืองราวในยคุศพั ท แตต างกนั ตรงท่ีวา อรรถกถามิใช สมัยนั้นๆ มาเลาสอนและบันทึกไวสืบเรียงตามลําดับอักษร แตเรียงไปตาม กันมา จึงเปนเรอื่ งตาํ นานบาง ประวัติ-ลําดับเนอื้ ความในพระไตรปฎ ก ยง่ิ กวา ศาสตรบา ง แหงกาลเวลาหลายศตวรรษน้นั อรรถกถาอาจจะแปลความหมายให อนั เห็นไดชดั วา พระอรรถกถาจารยดังทั้งประโยค หรอื ท้ังทอ นทั้งตอน และ เชนพระพุทธโฆสาจารย ไมอ าจรูไปถึงความท่ีทานชํ่าชองในพระไตรปฎก ก็ ได นอกจากยกเอาจากคมั ภีรทเ่ี รียกวาอาจจะอางอิงหรือโยงคําหรือความตอน โปราณฏั ฐกถาข้นึ มาถายทอดตอไปนั้น ไปเทียบหรอื ไปบรรจบกับขอความเรือ่ งราวท่ีอ่นื ในพระไตรปฎ กดวย นอก สําหรับผูที่เขาใจรูจักอรรถกถา ส่ิงเหนอื จากนี้ ในกรณีเปนขอ ปญหา หรอื สาํ คัญทเี่ ขาตอ งการจากอรรถกถา ก็คอืไมชัดเจน ก็อาจจะบอกขอยุติหรือคํา สวนท่ีเปนคําบอกความหมายไขความวินิจฉัยที่สังฆะไดตกลงไวและรักษากัน อธิบายเน้ือหาในพระไตรปฎก ซง่ึ กค็ อืมา บางทีก็มีการแสดงความเหน็ หรอื มติ ตอ งการตวั อรรถกถาแทๆ นัน่ เอง และ ก็ตรงกันกับหนาที่การงานของอรรถกถา

อรรถกถา ๕๐๖ อรรถกถาอันไดแกการรักษาสืบทอดคาํ บอกความ เกาภาษาสิงหฬ ที่ถูกเรียกแยกออกไปหมายทเ่ี ปนอัตถะในพระไตรปฎก สว น ใหเ ปนตา งหากวา “โปราณัฏฐกถา” ขอ ท่ีอน่ื นอกเหนือจากนี้ เชนเรอื่ งราวเลาขาน ควรทราบอันสําคัญก็คือ ในอรรถกถาตา งๆ เปนเพียงเครอื่ งเสริมประกอบ ที่ ภาษาบาลีที่เปนรุนใหมน้ี ทานอางอิงจริง มนั ไมใชอรรถกถา แตเปน สง่ิ ท่ีพวง โปราณฏั ฐกถาบอ ยๆ โดยบางทกี อ็ อกชอ่ืมาดวยในหนังสือหรือคัมภีรท่ีเรียกวา เฉพาะของอรรถกถาเกาน้ันชัดออกมาอรรถกถา แตบางทีก็กลาวเพียงวา “ในอรรถกถา กลาววา…” คําวา อรรถกถา ท่ีอรรถกถา เนื่องจากผูอานพระไตรปฎกบาลี ภาษาบาลกี ลา วถงึ นน้ั โดยทว่ั ไป หมายถงึตองพบศัพทท่ีตนไมรูเขาใจบอยคร้ัง อรรถกถาเกา หรอื โปราณฏั ฐกถา ทเ่ี ปนและจงึ ตอ งปรึกษาอรรถกถา คลายคน ภาษาสงิ หฬ (พระอรรถกถาจารยร นุ ใหมปรึกษาพจนานุกรม เมื่อแปลพระไตร- นี้ บางทานยงั ไมพบวา ไดเ รียกงานทีท่ านปฎกมาเปน ภาษาไทย เปนตน จึงมกั เองทาํ วา เปน อรรถกถา) พดู สน้ั ๆ วา คนแปลไปตามคําไขความหรืออธิบายของ ปจ จบุ นั พดู ถงึ อรรถกถา หมายถงึ อรรถ-อรรถกถา พระไตรปฎ กแปลภาษาไทย กถาภาษาบาลที เ่ี กดิ มใี นยคุ พ.ศ.๑๐๐๐เปนตนน้ัน จึงมีสวนท่ีเปนคําแปลผา น แตอรรถกถาภาษาบาลีน้ันเอยคําวาอรรถกถา หรือเปนคําแปลของอรรถ อรรถกถา โดยมกั หมายถงึ อรรถกถาเกากถาอยเู ปน อันมาก และผอู านพระไตร- ภาษาสงิ หฬปฎกแปลก็ไมรูตัววาตนกาํ ลังอานอรรถ-กถาพรอ มไปดว ย หรือวาตนกําลงั อา น ตอจากอรรถกถา ยังมีคัมภีรที่พระไตรปฎกตามคําแปลของอรรถกถา อธิบายรุนตอมาอีกหลายชั้นเปนอันมาก เชน “ฎีกา” แจงไขขยายความตอจาก มขี อพงึ ทราบอีกอยา งหนึ่งวา เวลาน้ี อรรถกถา “อนุฎีกา” แจงไขขยายความเม่ือพูดถึงอรรถกถา ทุกคนเขาใจวา ตอจากฎีกา แตใ นที่นี้จะไมก ลา วถึง เวนหมายถึงอรรถกถาภาษาบาลที ่ีพระพทุ ธ- แตจ ะขอบอกนามทา นผแู ตง “ฎกี า” ท่ีโฆสาจารย เปนตน ไดเรยี บเรียงขึน้ ใน สาํ คญั พอใหท ราบไวชว งระยะใกล พ.ศ.๑๐๐๐ แตด ังไดเลาใหท ราบแลววา พระอรรถกถาจารยรุน พระอาจารยธ รรมปาละ ซง่ึ เปนพระใหม พ.ศ.ใกลห น่งึ พนั นี้ ไดเ รียบเรยี ง อรรถกถาจารยสาํ คัญที่เรียบเรียงอรรถ-อรรถกถาภาษาบาลีขึ้นมาจากอรรถกถา กถาไวมาก รองจากพระพุทธโฆส ได

อรรถกถาจารย ๕๐๗ อรหัตตผลเรียบเรียงฎีกาสําคัญ ซึ่งอธิบายอรรถ- อรรถรส “รสแหง เนอื้ ความ”, “รสแหงกถาที่พระพุทธโฆสไดเรียบเรียงไวอีก ความหมาย” สาระทต่ี อ งการของเนอื้ ความ,ดวย คอื ลนี ตั ถปกาสินี (เปนฎีกาซึ่ง เนอื้ แทข องความหมาย, ความหมายแทท ี่อธบิ ายอรรถกถาแหง นกิ ายทงั้ ส่ี คอื ทฆี - ตอ งการ, ความมงุ หมายทแ่ี ทรกซมึ อยใู นนกิ าย มชั ฌมิ นกิ าย สงั ยตุ ตนกิ าย และ เนื้อความ คลายกับทม่ี ักพูดกันในบดั นี้อังคุตตรนิกาย และอธิบายอรรถกถา วา เจตนารมณ (พจนานกุ รมวา “ถอ ยคําแหง ชาดก) นอกจากนนั้ กย็ งั ไดเ รยี บเรยี ง ที่ทาํ ใหเกดิ ความซาบซึง้ ”)ปรมตั ถทปี นี (ฎกี าอธบิ ายอรรถกถาแหง อรรถศาสน คาํ สอนวา ดว ยเรอื่ งประโยชนพทุ ธวงส ทพ่ี ระพทุ ธทตั ตะเรยี บเรยี งไว) ๓ อยาง คือ ๑. ทิฏฐธัมมิกัตถะและปรมัตถมัญชุสา (ฎีกาแหงวิสุทธิ- ประโยชนใ นปจ จบุ นั ๒. สมั ปรายกิ ตั ถะมคั ค ทเ่ี รยี กกนั วา มหาฎกี า), ฎกี าจารย ประโยชนท จี่ ะไดใ นภายหนา ๓. ปรมตั ถะทา นหนง่ึ ชอื่ พระวาจสิ สระ รจนา ลนี ตั ถ- ประโยชนอยา งยิ่ง คอื พระนพิ พานทีปนี (ฎีกาอนั อธิบายตอ จากอรรถกถา อรหํ (พระผูมพี ระภาคเจาน้นั ) เปน พระแหง ปฏสิ มั ภทิ ามคั ค) ; นอกจากน้ี มฎี กี า อรหนั ต คอื เปนผูไ กลจากกเิ ลสและอกี ๒ เรอื่ ง ทค่ี วรกลา วไวด ว ย เพราะ บาปธรรม ทรงความบริสุทธิ์, หรอื เปน ผูกําหนดใหใชเลาเรียนในหลักสูตรพระ กําจัดขา ศึกคอื กิเลสสนิ้ แลว, หรอื เปนผูปรยิ ตั ธิ รรมแผนกบาลขี องคณะสงฆไ ทย หกั กาํ แหง สงั สารจกั ร อันไดแ ก อวชิ ชาคอื สารตั ถทปี นี (ฎกี าแหง วนิ ยฏั ฐกถา) ตัณหา อุปาทาน กรรม, หรอื เปน ผคู วร ผูแตง คือพระอาจารยช ือ่ สารบี ุตร (ไมใ ช แนะนาํ สง่ั สอน เปน ผคู วรรบั ความเคารพ พระสารบี ตุ รอคั รสาวก) และ อภธิ มั มตั ถ- ควรแกทักษิณา และการบูชาพิเศษ, วภิ าวนิ ี (ฎกี าแหง อภธิ มั มตั ถสงั คหะ) ผู หรือเปน ผไู มมีขอเรนลับ คือไมม ีขอ เสีย แตงคือพระสุมังคละ; ดู โปราณฏั ฐกถา หายอนั ควรปกปด (ขอ ๑ ในพทุ ธคุณ ๙)อรรถกถาจารย อาจารยผ แู ตง อรรถกถา อรหัต ความเปน พระอรหนั ต, ช่อื มรรคอรรถกถานัย เคาความในอรรถกถา, ผลขั้นสูงสุดในพระพุทธศาสนา ซง่ึ ตัด แนวคําอธิบายในอรรถกถา, แงแหง กเิ ลสในสันดานไดเ ด็ดขาด; เขยี นอยาง ความหมายทแ่ี สดงไวในอรรถกถา คาํ เดิมเปน อรหัตตอรรถคดี เร่ืองท่ีฟองรองกันในโรงศาล, อรหัตตผล ผลคือการสําเร็จเปนพระขอ ทกี่ ลาวหากนั อรหันต, ผลคอื ความเปนพระอรหันต,

อรหตั ตมรรค ๕๐๘ อรญั ,อรัญญผลท่ีไดรับจากการละสังโยชนทั้งหมด คอื กเิ ลสหมดสิน้ แลว ๓. เปน ผหู กั คืออันสืบเน่ืองมาจากอรหตั ตมรรค ทําให รื้อทําลายกาํ (อร+หต) แหงสงั สารจกั ร เสร็จแลว ๔. เปน ผคู วร (อรห) แกการเปน พระอรหันตอรหัตตมรรค ทางปฏิบัติเพ่ือบรรลุผล บูชาพิเศษของเทพและมนุษยทั้งหลายคือความเปนพระอรหันต, ญาณคือ ๕. ไมม ที ่ลี ับ (น+รห) ในการทําบาปความรูเปน เหตุละ สังโยชน ไดท ้ัง ๑๐ คือไมมีความช่ัวความเสียหายท่ีจะตองอรหัตตวิโมกข ความพนจากกิเลสดวย ปด บงั ; ความหมายท้งั ๕ น้ี ตามปกติอรหัต หรือเพราะสําเรจ็ อรหัต คือหลดุ ใชอธิบายคาํ วา อรหันต ที่เปนพุทธคุณพนขั้นละกิเลสไดสิ้นเชิงและเด็ดขาด ขอท่ี ๑; ดู อรหํ อรหนั ตขณี าสพ พระอรหนั ตผ สู น้ิ อาสวะสําเรจ็ เปนพระอรหันตอรหนั ต ผสู าํ เร็จธรรมวเิ ศษสูงสุดในพระ แลว ใชส าํ หรบั พระสาวก, สําหรับพระพุทธศาสนา, พระอริยบุคคลชั้นสูงสุด พทุ ธเจา ใชค าํ วา อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธ-ผูไ ดบ รรลอุ รหัตตผล, พระอรหันต ๒ เจา พระอรหนั ตผูตรสั รูช อบเองประเภท คอื พระสุกขวปิ ส สก กบั พระ อรหันตฆาต ฆา พระอรหันต (ขอ ๓ ในสมถยานกิ ; พระอรหันต ๔ คือ ๑. พระ อนนั ตรยิ กรรม ๕)สุกขวปิ ส สก ๒. พระเตวิชชะ (ผูไ ด อรหันตสัมมาสมั พทุ ธเจา พระอรหนั ตวิชชา ๓) ๓. พระฉฬภญิ ญะ (ผไู ด ผตู รัสรชู อบดว ยพระองคเอง หมายถงึอภญิ ญา ๖) ๔. พระปฏสิ มั ภิทปั ปตตะ พระพุทธเจา(ผูบรรลปุ ฏิสัมภิทา ๔); พระอรหนั ต ๕ อรัญ, อรญั ญ ปา, ตามกําหนดในพระคือ ๑. พระปญ ญาวิมุต ๒. พระอุภโต- วินัย (วินย.๑/๘๕/๘๕) วา “ที่เวนบาน (คาม)ภาควมิ ุต ๓. พระเตวชิ ชะ ๔. พระฉฬ- และอปุ จารบา น นอกนน้ั ชอ่ื วา ปา (อรญั )”ภิญญะ ๕. พระปฏสิ ัมภทิ ปั ปตตะ; ดู และตามนยั พระอภธิ รรม (อภ.ิ ว.ิ ๓๕/๖๑๖/อรยิ บคุ คล ๓๓๘; ซ่งึ ตรงกับพระสูตร, ขุ.ปฏิ.๓๑/๓๘๘/๒๖๔) พระอรรถกถาจารยแสดงความ วา “คาํ วา ปา (อรญั ) คอื ออกนอกหลกัหมายของ อรหนั ต ไว ๕ นัย คอื ๑. เขตไปแลว ทท่ี งั้ หมดนน้ั ชอ่ื วา ปา ”; สว นเปน ผไู กล (อารกะ) จากกเิ ลส (คือหาง เสนาสนะปา (รวมทง้ั วดั ปา ) มกี ําหนดในไกลไมอยูในกระแสกิเลสที่จะทําใหมัว พระวินัย (วินย.๒/๑๔๖/๑๖๖; ๗๙๖/๕๒๘) วาหมองไดเลย) ๒. กําจัดขา ศกึ (อริ+หต) “เสนาสนะทช่ี อื่ วา ปา มรี ะยะไกล ๕๐๐

อรญั ญกิ ธุดงค ๕๐๙ อรญั วาสี ชวั่ ธนู (=๕๐๐ วา คอื ๑ กม.) เปน อยา ง ธรรมวนิ ัยน้ี ไปอยใู นปาก็ดี โคนไมก ็ดี นอ ย”; เทยี บ วนะ เรอื นวา งกด็ …ี ; ที่ตรัสรองลงไปคือ “…อรญั ญิกธดุ งค องคคณุ เคร่อื งขจัดกเิ ลส วิวิตตฺ  เสนาสน ภชติ อรฺ  รกุ ฺขมลู  ของผถู ืออยูใ นปาเปนวัตร ไดแกธดุ งค ปพฺพต กนฺทร คริ ิคุหํ สสุ าน วนปตฺถ ขอ อารัญญิกังคะ อพฺโภกาส ปลาลปุชฺ …” – [ภกิ ษนุ น้ั ]อรญั ญิกวตั ร ขอปฏบิ ัตสิ ําหรับภกิ ษผุ อู ยู …เขา หาเสนาสนะอนั สงดั คอื ปา โคนไม ปา, ธรรมเนยี มในการอยูปา ของภกิ ษ;ุ ดู ภูเขา ซอกเขา ถ้าํ ในเขา ปา ชา ดงเปลีย่ ว อารัญญกวัตร ท่ีแจง ลอมฟาง…) แนวทางปฏบิ ตั เิ ชนน้ีอรญั วาสี “ผอู ยปู า ”, พระปา หมายถึง ทา นถอื แนน แฟน สบื กนั มา แมว า สาระจะ พระภิกษุท่ีอยูวัดในปา, เปนคูกับ อยทู ม่ี เี สนาสนะอนั สงดั แตป า ซงึ่ ในอดีต คามวาสี หรือพระบาน ซึง่ หมายถึงพระ มพี รอ มและเปนทสี่ งดั อันแนนอน ก็เปน ภิกษุที่อยูวัดในบานในเมือง; ใน ทีพ่ ึงเลือกเดนอันดบั แรก จึงนบั วาเปน ตัวแทนที่เต็มความหมายของเสนาสนะ พทุ ธกาล ไมมกี ารแบงแยกวา พระบา น อันสงัด ดังปรากฏเปน คาถาทก่ี ลา วกนั วาพระธรรมสังคาหกาจารยไดรจนาไว -พระปา และคาํ วา คามวาส-ี อรัญวาสี ก็ อันเปนที่อางองิ ในคมั ภีรท้งั หลาย ตง้ั แต มลิ ินทปญหา จนถงึ วิสทุ ธิมัคค และใน ไมมีในพระไตรปฎก เพราะในสมัย อรรถกถาเปนอนั มาก มีความวา พุทธกาลนั้น พระสงฆมีพระพุทธเจา ยถาป ทีปโ ก นาม นิลยี ติ วฺ า คณหฺ ตี มเิ ค ตเถวาย พทุ ฺธปตุ โฺ ต ยุตฺตโยโค วิปสฺสโก เปนศูนยรวม และมีการจาริกอยูเสมอ อรฺ  ปวิสิตฺวาน คณฺหาติ ผลมตุ ตฺ มํ ฯ โดยเฉพาะพระพุทธองคเองทรงนําสงฆ (พุทธบุตรน้ี ประกอบความเพียร เจริญวิปสสนา เขา ไปสปู า จะถอื เอาผล หมูใหญจาริกไปในถ่ินแดนท้ังหลายเปน อันอุดม [อรหัตตผล] ได เหมอื นดังเสอื ซมุ ตวั จับเนือ้ ) ประจํา ภิกษุท้ังหลายท่ียังไมจบกิจใน ตามคตนิ ้ี การไปเจรญิ ภาวนาในปา พระศาสนา นอกจากเสาะสดบั คําสอน เปนขอพึงปฏิบัติสําหรับภิกษุทุกรูป เสมอเหมอื นกนั ไมม กี ารแบง แยก ดงั นน้ั ของพระพุทธเจาแลว ก็ยอมระลึกอยู เสมอถึงพระดํารัสเตือนใหเสพเสนาสนะ อันสงัดเจริญภาวนา โดยทรงระบุปา เปนสถานที่แรกแหงเสนาสนะอันสงัด น้ัน (ท่ตี รัสท่ัวไปคอื “อธิ ภกิ ฺขเว ภกิ ขฺ ุ อรฺ คโต วา รุกฺขมูลคโต วา สุฺา- คารคโต วา…” – ภิกษุทัง้ หลาย ภิกษใุ น

อรญั วาสี ๕๑๐ อรญั วาสีจึงเปนธรรมดาที่วา ในคัมภีรมิลินท- ความเขาใจถูกตอง อีกทัง้ ตอ งเก็บรวบปญหา (ประมาณ พ.ศ.๕๐๐) ก็ยงั ไมมี รวมคําอธิบายของอาจารยรุนตอๆ มาคาํ วา คามวาสี และอรัญวาสี (พบคําวา ท่ีมีเพม่ิ ข้นึ ๆ จนเกดิ เปนงานหรอื หนาท่ี“อรฺ วาสา” แหง เดยี ว แตห มายถึง ท่ีเรียกวา “คนั ถธุระ” (ธรุ ะในการเลาดาบสชาย-หญงิ ) แมว า ตอ มาในอรรถกถา เรยี นพระคัมภีร) เปน ภาระซึง่ ทําใหรวม(กอ น จนถงึ ใกล พ.ศ.๑๐๐๐) จะมคี ําวา กันอยูท่ีแหลงการเลาเรียนศึกษาในชุมคามวาสี และอรัญวาสี เกิดข้นึ แลว แต ชนหรอื ในเมอื ง พรอมกันนน้ั ภิกษผุ ไู ปกใ็ ชเ ปน ถอ ยคาํ สามญั หมายถึงใครก็ได เจริญภาวนาในปา เมอ่ื องคพ ระศาสดาต้ังแตพระสงฆ ไปจนถึงสิงสาราสัตว ปรินิพพานแลว ก็อิงอาศัยอาจารยท่ี(มกั ใชแกชาวบา นทว่ั ไป) ทอี่ ยูบ า น อยู จําเพาะมากขึ้น มีความรูสึกท่ีจะตองใกลบาน หรืออยูในปา มิไดมีความ ผอนและเผ่ือเวลามากขึ้น อยูประจําที่หมายจาํ เพาะอยางท่ีเขาใจกันในบัดนี้ แนนอนมากข้ึน เพื่ออุทิศตัวแกกิจใน การเจริญภาวนา ซึ่งกลายเปน งานหรอื พระภิกษุที่ไปเจริญภาวนาในปานั้น หนาที่ท่ีเรยี กวา “วปิ ส สนาธรุ ะ” (ธุระในอาจจะไปอยชู ว่ั ระยะเวลาหนึง่ ยาวบาง การเจริญกรรมฐานอันมีวิปสสนาเปนส้นั บา ง และอาจจะไปๆ มาๆ แตบางรปู ยอด) โดยนยั นี้ แนวโนมทจี่ ะแบงเปนกอ็ าจจะอยูนานๆ ภิกษุทอ่ี ยูปา นัน้ ทา น พระบาน-พระปา ก็ชัดเจนข้นึ เรอื่ ยๆเรยี กวา “อารญั ญกะ” (อารญั ญกิ ะ กเ็ รยี ก)และการถอื อยปู า เปน ธดุ งคอ ยา งหน่ึง ซึง่ การแบง พระสงฆเปน ๒ ฝา ย คือภกิ ษจุ ะเลอื กถอื ไดต ามสมัครใจ กับทง้ั คามวาสี และอรัญวาสี เกดิ ขน้ึ ในลังกาจะถือในชวงเวลายาวหรือสั้น หรือแม ทวปี และปรากฏชดั เจนในรชั กาลพระเจาแตต ลอดชวี ติ ก็ได ปรกั กมพาหุ ท่ี ๑ มหาราช (พ.ศ. ๑๖๙๖ –๑๗๒๙) ตอมา เม่ือพอ ขุนรามคําแหง สันนิษฐานวา เมื่อเวลาลวงผานหาง มหาราชแหงอาณาจักรสุโขทัย ทรงรับพุทธกาลมานาน พระภิกษุอยูประจําที่ พระพุทธศาสนาและพระสงฆลังกาวงศมากข้ึน อีกท้งั มภี าระผูกมดั ตวั มากข้นึ อันสืบเน่ืองจากสมัยพระเจาปรักกม-ดวย โดยเฉพาะการเลาเรยี นและทรงจาํ พาหุน้ีเขามาในชวงใกล พ.ศ.๑๘๒๐พุ ท ธ พ จ น ใ น ยุ ค ที่ อ ง ค พ ร ะ ศ า ส ด า ระบบพระสงฆ ๒ แบบ คอื คามวาสีปรินิพพานแลว ซ่ึงจะตองรักษาไวแก และอรัญวาสี ก็มาจากศรีลังกาเขาสูคนรุนหลังใหค รบถว นและแมนยําโดยมี

อริ ๕๑๑ อริยบคุ คล ๗ประเทศไทยดวย; คูกับ คามวาสี, ดู อริยชาติ หรืออริยกชาติที่มีมาแตเดิมวปิ สสนาธรุ ะ ซงึ่ จํากัดดวยชาติคือกําเนิดอริ ขาศึก, ศัตร,ู คนที่ไมช อบกนั อริยทรัพย ทรัพยอันประเสริฐเปนของอริฏฐภิกษุ ช่ือภิกษุรูปหนึ่งในครั้ง ติดตวั อยูภ ายในจิตใจ ดกี วา ทรัพยภายพุทธกาล เปนบุคคลแรกท่ีถูกสงฆลง นอก เชนเงนิ ทอง เปน ตน เพราะโจร อกุ เขปนยี กรรมเพราะไมส ละทิฏฐบิ าป หรือใครๆ แยงชิงไมได และทาํ ใหเ ปนอริยะ เจริญ, ประเสรฐิ , ผไู กลจากขา ศึก คนประเสรฐิ อยา งแทจ รงิ มี ๗ คอื ๑. คอื กเิ ลส, บคุ คลผบู รรลธุ รรมวิเศษ มี ศรทั ธา ๒. ศีล ๓. หิริ ๔. โอตตัปปะ ๕. โสดาปตติมรรคเปน ตน ; ดู อรยิ บคุ คล พาหุสจั จะ ๖. จาคะ ๗. ปญ ญาอรยิ กะ คนเจริญ, คนประเสริฐ, คนได อริยบุคคล บุคคลผูเปนอริยะ, ทานผูรับการศึกษาอบรมดี; เปนช่ือเรียกชน บรรลุธรรมวิเศษมีโสดาปตติมรรคชาติหนึ่งที่อพยพจากทางเหนือเขาไปใน เปน ตน มี ๔ คอื ๑. พระโสดาบนั ๒.อินเดียตั้งแตกอนพุทธกาล ถือตัววา พระสกทาคามี (หรอื สกทิ าคาม)ี ๓. พระเปนพวกเจรญิ และเหยยี ดพวกเจาถิ่น อนาคามี ๔. พระอรหนั ต; แบง พสิ ดารเดมิ ลงวาเปน มลิ กั ขะ คือพวกคนปา คน เปน ๘ คอื พระผตู ง้ั อยใู นโสดาปต ต-ิดอย, พวกอรยิ กะอพยพเขา ไปในยโุ รป มรรค และพระผตู ง้ั อยใู นโสดาปต ตผิ ลคูดวย คือ พวกที่เรยี กวา อารยัน ๑, พระผตู งั้ อยใู นสกทาคามมิ รรค และอริยกชาติ หมูคนที่ไดรับการศึกษาอบ พระผตู งั้ อยใู นสกทาคามผิ ล คู ๑, พระผูรมด,ี พวกทีม่ คี วามเจริญ, พวกชนชาติ ตงั้ อยใู นอนาคามมิ รรค และพระผตู ง้ั อยู อรยิ กะ ในอนาคามผิ ล คู ๑, พระผตู งั้ อยใู นอรยิ ชาติ “เกิดเปน อริยะ” คือ บรรลุ อรหัตตมรรค และพระผูตั้งอยูในมรรคผล กลายเปน อริยบคุ คล เปรียบ อรหตั ตผล คู ๑เหมือนเกิดใหมอีกครั้งหนึ่ง ดวยการ อรยิ บุคคล ๗ บุคคลผเู ปน อรยิ ะ, บคุ คลเปล่ียนจากปุถุชนเปนพระอริยะ, อีก ผปู ระเสรฐิ , ทา นผบู รรลุธรรมวิเศษ มีอยางหน่งึ วา ชาตอิ รยิ ะ หรอื ชาวอริยะ โสดาปต ตมิ รรค เปน ตน นยั หนงึ่ จาํ แนกซ่ึงเปนผูเจริญในทางพระพุทธศาสนา เปน ๗ คอื สทั ธานสุ ารี ธมั มานุสารีหมายถึงผูก ําจดั กเิ ลสได ซึง่ ชนวรรณะ สัทธาวิมุต ทิฏฐิปปตตะ กายสักขีไหน เผา ไหน ก็อาจเปน ได ตา งจาก ปญ ญาวมิ ตุ และ อุภโตภาควมิ ุต (ดูคํา

อรยิ ปริเยสนา ๕๑๒ อรยิ อัฏฐงั คกิ มรรค น้นั ๆ) ศรัทธา ความเชื่อมีเหตผุ ล ความมน่ั ใจอรยิ ปรเิ ยสนา การแสวงหาทป่ี ระเสรฐิ คอื ในพระรัตนตรัย ในหลกั แหง ความจริงแสวงหาสิ่งที่ไมตกอยูในอาํ นาจแหงชาติ ความดีงาม และในการที่จะทํากรรมดีชรามรณะ หรอื กองทกุ ข โดยความได ๒. ศีล ความประพฤตดิ ี มวี นิ ยั เลย้ี งชพีแกแ สวงหาโมกขธรรมเพอื่ ความหลดุ พน สจุ รติ ๓. สตุ ะ ความรหู ลักธรรมคาํ สอนจากกิเลสและกองทุกข, ความหมาย และใฝใจเลาเรียนสดับฟงศึกษาหาอยางงาย ไดแก การแสวงหาในทาง ความรู ๔. จาคะ ความเผอื่ แผเ สยี สละ มี สมั มาชพี (ขอ ๒ ในปรเิ ยสนา ๒) นาํ้ ใจและใจกวาง พรอมที่จะรับฟง และอรยิ ผล ผลอนั ประเสริฐ มี ๔ ชัน้ คือ รวมมือ ไมคบั แคบเอาแตตัว ๕. ปญญาโสดาปต ตผิ ล สกทาคามผิ ล อนาคามผิ ล ความรอบรู รคู ิด รพู จิ ารณา เขา ใจเหตุและอรหัตตผล ผล มองเหน็ โลกและชีวติ ตามเปนจรงิอรยิ มรรค ทางอันประเสรฐิ , ทางดําเนิน อริยสจั ความจริงอยางประเสรฐิ , ความของพระอรยิ ะ, ญาณอนั ใหสาํ เร็จความ จรงิ ของพระอรยิ ะ, ความจริงท่ีทําคนใหเปน พระอรยิ ะ มี ๔ คอื โสดาปต ต-ิ เปน พระอรยิ ะ มี ๔ อยาง คือ ทุกขมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามมิ รรค (หรอื ทกุ ขสจั จะ) สมทุ ยั (หรอื สมทุ ยั -และอรหัตตมรรค; บางทีเรียกมรรคมี สจั จะ) นิโรธ (หรือ นโิ รธสจั จะ) มรรคองค ๘ วา อริยมรรค กม็ ี แตค วรเรยี ก (หรอื มคั คสจั จะ) เรียกเตม็ วา ทุกข-เตม็ วา อริยอัฏฐงั คิกมรรค [อรยิ สจั จ] ทกุ ขสมทุ ยั [อรยิ สจั จ] ทกุ ข-อริยวงศ ปฏปิ ทาที่พระอรยิ บุคคลผูเ ปน นโิ รธ[อรยิ สจั จ] และ ทกุ ขนโิ รธคามินี-สมณะ ปฏิบัติสืบกันมาไมขาดสาย, ปฏิปทา[อริยสัจจ]อรยิ ประเพณี มี ๔ คอื ๑. สนั โดษดว ย อริยสัจจ ดู อรยิ สัจจีวร ๒. สันโดษดวยบณิ ฑบาต ๓. อริยสาวก 1. สาวกผูเปนพระอริยะ,สันโดษดว ยเสนาสนะ ๔. ยินดใี นการ สาวกผูบรรลุธรรมวิเศษ มีโสดาปตติ-บาํ เพญ็ กศุ ล ละอกุศล มรรค เปนตน 2. สาวกของพระอริยะอรยิ วัฑฒิ, อารยวฒั ิ ความเจรญิ อยา ง (คอื ของพระพทุ ธเจา ผูเปน อรยิ ะ)ประเสรฐิ , หลกั ความเจรญิ ของอารยชน, อริยสาวิกา สาวิกาที่เปนพระอริยะ,ความเจริญงอกงามที่ไดสาระสมเปน อริยสาวกหญิงอริยสาวกอรยิ สาวิกา มี ๕ คอื ๑. อริยอัฏฐังคิกมรรค มรรคมีองค ๘

อรณุ ๕๑๓ อวตั ถุรปูประการอันประเสรฐิ ; ดู มรรค อลังการ เคร่อื งประดบั ประดาอรุณ เวลาใกลอาทติ ยจ ะขน้ึ มีสองระยะ อลชฺชิตา อาการที่ตองอาบัติดวยไมคอื มแี สงขาวเรือ่ ๆ (แสงเงิน) และแสง ละอายแดง (แสงทอง), เวลายํา่ รงุ อลัชชี ผูไมม ีความละอาย, ผูหนาดา น,อรปู ฌานมอี รปู ธรรมเปนอารมณ ไดแ ก ภิกษุผูมักประพฤติละเมิดพุทธบัญญัติอรูปฌาน, ภพของสัตวผูเขาถึงอรูป โดยจงใจละเมดิ หรือทําผิดแลว ไมแกไขฌาน, ภพของอรปู พรหม มี ๔ คอื ๑. อเลอ แปลง, ทีอ่ เลออนื่ คือทแ่ี ปลงอืน่อากาสานญั จายตนะ (กาํ หนดท่วี างหาที่ อโลภะ ความไมโ ลภ, ไมโลภอยากไดสุดมิไดเปนอารมณ) ๒. วิญญาณัญ- ของเขา, ธรรมที่เปนปฏิปกษกับความจายตนะ (กาํ หนดวิญญาณหาที่สุดมิได โลภ คือ ความคิดเผ่ือแผเสียสละ,เปนอารมณ) ๓. อากิญจัญญายตนะ จาคะ (ขอ ๑ ในกศุ ลมูล ๓)(กาํ หนดภาวะทไ่ี มม อี ะไรๆ เปน อารมณ) อวตาร การลงมาเกดิ , การแบง ภาคมาเกดิ ,๔. เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ (ภาวะมี เปนความหมายในศาสนาพราหมณหรือสัญญากไ็ มใช ไมมสี ัญญาก็ไมใช) ฮนิ ดู เชน พระนารายณอวตาร คือแบงอรูปฌาน ฌานมีอรูปธรรมเปนอารมณ ภาคลงมาจากสวรรคมาเกิดเปนมนุษยมี ๔; ดู อรูป เปนตนอรูปพรหม พรหมผูเขาถึงอรูปฌาน, อวมานะ การดถู ูกเหยียดหยาม, การลบพรหมไมมรี ปู , พรหมในอรปู ภพ มี ๔; หล;ู ตรงขา มกับ สัมมานะ, ดู มานะดู อรูป อวสาน ท่ีสดุ , ที่จบอรูปภพ โลกเปนทอี่ ยขู องพรหมไมม ีรูป; อวสานกาล เวลาสดุ ทาย, ครง้ั สดุ ทา ยดู อรปู อวหาร การลัก, อาการท่ีถือวาเปนลักอรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม, ทรพั ย ในอรรถกถาแสดงไว ๒๕ อยา งความติดใจในอารมณแหงอรูปฌาน, พงึ ทราบในท่ีน้ี ๑๓ อยา ง คือ ๑. ลกัความปรารถนาในอรปู ภพ (ขอ ๗ ใน ๒. ชิงหรอื ว่ิงราว ๓. ลกั ตอน ๔. แยงสงั โยชน ๑๐) ๕. ลกั สบั ๖. ตู ๗. ฉอ ๘. ยักยอก ๙.อรูปาวจร ซ่ึงทองเที่ยวไปในอรูปภพ, ตระบัด ๑๐. ปลน ๑๑. หลอกลวง ๑๒.อยูในระดับจิตชั้นอรูปฌาน, ยังเกี่ยว กดขห่ี รอื กรรโชก ๑๓. ลกั ซอนขอ งอยกู ับอรูปธรรม; ดู ภพ, ภูมิ อวัตถรุ ูป ดทู ี่ รูป ๒๘

อวันตี ๕๑๔ อวินพิ โภครูปอวนั ตี ชอื่ แควน หนงึ่ ในบรรดา ๑๖ แควน ถงึ ความดบั ทกุ ข) อวชิ ชา ๘ คอื อวิชชาใหญแหง ชมพทู วีป ตง้ั อยทู างตะวันตก ๔ นน้ั และเพม่ิ ๕. ไมรอู ดีต ๖. ไมรูเฉยี งใตข องแควน วงั สะ มนี ครหลวงชอื่ อนาคต ๗. ไมรทู ง้ั อดตี ทั้งอนาคต ๘.อชุ เชนี ราชาผคู รองอวนั ตใี นพทุ ธกาล มี ไมรูปฏิจจสมุปบาท (ขอ ๑๐ ในพระนามวา พระเจา จณั ฑปช โชต; เดมิ นั้น สงั โยชน ๑๐ ตามนยั พระอภธิ รรม, ขอแควน อวนั ตมี เี มอื งหลวงเกา ชอื่ มาหษิ มตี ๗ ในอนุสยั ๗)(นา จะไดแ กเ มอื ง Godarpura ในบดั นี้) อวิชชาสวะ อาสวะคอื อวชิ ชา, กิเลสที่ซึ่งต้ังอยูท่ีฝงแมน้ํานัมมทา ตอมาจึง หมักหมมหรือดองอยูในสันดาน ทําใหยายข้ึนเหนือมาต้ังท่ีอุชเชนี, ในคัมภีร ไมร ตู ามความเปน จรงิ (ขอ ๓ ในอาสวะบาลีบางท่ี มีคาํ เรยี กอวนั ตวี า “อวนั ต-ี ๓, ขอ ๔ ในอาสวะ ๔)ทักขิณาบถ” ถาถือแมนา้ํ คงคาเปนเสน อวญิ ญาณกะ พัสดุท่ไี มมวี ิญญาณ เชนแบง ท้ังแควนอวนั ตกี อ็ ยใู นทกั ขณิ าบถ เงนิ ทอง ผานุงหม และเครอ่ื งใชส อยแตถาถือแมนํ้านัมมทาเปนเสนแบง เปน ตน; เทียบ สวญิ ญาณกะอวันตีก็มีทั้งสวนที่เปนอุตราบถ และ อวิทยา ความไมร,ู อวิชชาสวนทเี่ ปน ทักขิณาบถ คือ แถบท่ีต้งั ของ อวทิ ูเรนทิ าน “เรื่องไมไกลนัก” หมายถึงมาหิษมตีเมืองหลวงเกาลงไป เปน เรื่องราวความเปนไปเก่ียวกับพระพุทธทักขิณาบถ เจา ต้ังแตจ ุตจิ ากสวรรคช ้นั ดสุ ติ จนถงึอวนั ทนียกรรม สังฆกรรมทภี่ กิ ษุณสี งฆ ตรสั รู; ดู พุทธประวตั ิมีมติประกาศใหถือภิกษุผูแสดงอาการ อวนิ พิ โภครูป “รปู ท่ีแยกออกจากกนั ไมอันไมนาเล่ือมใส วาเปนผูที่ภิกษุณีทั้ง ได” , รปู ทม่ี อี ยดู ว ยกนั เปน ประจาํ เสมอไปหลายไมพึงไหว; ดูท่ี ปกาสนียกรรม, อยางขาดมิไดเลยในสิ่งท่ีเปนรูปทุกอสมั มุขากรณีย อยาง กลาวคือในสิ่งที่เปนรูปทุกอยางอวัสดา ฐานะ, ความเปน อย,ู ความ แมแตปรมาณูท่ีเล็กท่ีสุดก็จะตองมี กําหนด, เวลา, สมยั รูปธรรมชุดนี้อยูเปนอยางนอย, คุณ-อวชิ ชา ความไมรูจริง, ความหลงอนั เปน เหตุไมร จู ริง มี ๔ คือความไมรอู ริยสัจจ สมบัติพื้นฐานท่ีมีอยูเปนประจําในวัตถุ, มี ๘ อยาง คือ ปฐวี (ภาวะแผขยาย ๔ แตล ะอยาง (ไมร ูทกุ ข ไมรเู หตเุ กดิ หรือรองรบั ) อาโป (ภาวะเอิบอาบเกาะ กุม) เตโช (ภาวะรอน) วาโย (ภาวะ แหง ทุกข ไมร ูความดับทกุ ข ไมร ทู างให

อวิหงิ สาวิตก ๕๑๕ อโศกมหาราช เคลอ่ื นไหวเครง ตงึ ) วณั ณะ (ส)ี คนั ธะ สงคราม หนั มาถอื หลัก “ธรรมวชิ ยั ” คือ (กลิน่ ) รสะ (รส) โอชา (อาหารรปู ); ใน ชนะใจดวยธรรม มงุ ทาํ นุบํารงุ พระพทุ ธ ๘ อยา งน้ี สอ่ี ยา งแรกเปน มหาภตู รปู หรอื ศาสนา สรางสรรคประโยชนสุขของ ธาตุ ๔, สอี่ ยางหลังเปน อปุ าทายรปู ; รปู ประชาชน และความเจริญรุงเรืองของ ทเ่ี หลอื จากนี้ ๒๐ อยาง เปน วินิพโภค- ประเทศในทางสนั ติ โปรดใหเขยี นสลัก รูป (รูปทแ่ี ยกจากกันได) ; ดู รปู ๒๘ ศิลาจารึก (เรยี กวา “ธรรมลิป” คือ ลายอวิหิงสาวิตก ความตริตรึกในทางไม สือธรรม หรือธรรมโองการ) ไวในท่ี เบียดเบียน, ความตรึกดวยอํานาจ ตา งๆ ท่ัวมหาอาณาจักร เพื่อสื่อพระราช กรุณา ไมค ดิ ทําความลําบากเดอื ดรอน กรณียกจิ พระบรมราโชบาย และสอน แกผูอื่น คิดแตจะชวยเหลือเขาใหพน ธรรมแกข า ราชการและประชาชน ทรง จากทุกข (ขอ ๓ ในกศุ ลวิตก ๓) สรางมหาวิหาร ๘๔,๐๐๐ แหง เปนศูนยอศภุ ดู อสภุ กลางการศึกษา ทรงอุปถัมภการอโศกมหาราช มหาราชแหงชมพูทวีป สังคายนาครัง้ ที่ ๓ และการสง ศาสนทตู ซึ่งเปนราชาผูย่ิงใหญที่สุดพระองคหนึ่ง ออกไปเผยแพรพระพุทธศาสนาใน ในประวัติศาสตรโลก และเปนพุทธ นานาประเทศ เชน พระมหนิ ทเถระไป ศาสนูปถัมภกที่สําคัญยิ่ง เปนกษตั รยิ  ยงั ลังกาทวีป และพระโสณะพระอุตตระ พระองคท ่ี ๓ แหง ราชวงศโ มรยิ ะ ครอง มายังสุวรรณภูมิ เปน ตน, กอ นทรงหนั ราชสมบตั ิ ณ พระนครปาฏลบี ุตร ใน มานับถือพระพุทธศาสนา ทรงปรากฏ พ.ศ.๒๑๘-๒๖๐ เม่อื ครองราชยไ ด ๘ พระนามวา จัณฑาโศก คอื อโศกผโู หด พรรษา ทรงยกทพั ไปปราบแควน กลงิ คะ ราย คร้ันหันมาทรงนับถือพระพุทธ (ปจจบุ นั คอื ดนิ แดนแถบแควน Orissa) ศาสนาและดําเนินนโยบายธรรมวิชัย ที่เปนชนชาตเิ ขม แข็งลงได ทําใหอ าณา- แลว ไดรับขนานพระนามใหมวา จักรของพระองคกวางใหญท่ีสุดใน ธรรมาโศก คือ อโศกผทู รงธรรม ชาว ประวัติชาติอินเดีย แตในการสงคราม พุทธไทยแตเดิมมามักเรียกพระองควา น้นั มีผคู นลม ตายและประสบภัยพบิ ตั ิ พระเจา ศรธี รรมาโศกราช; เมือ่ อนิ เดีย มากมาย ทําใหพระองคสลดพระทัย เปนเอกราชพนจากการปกครองของ พอดีไดทรงสดับคําสอนในพระพุทธ องั กฤษใน พ.ศ.๒๔๙๐ แลว ก็ไดนาํ เอา ศาสนา ทรงเลื่อมใส ไดทรงเลิกการ รูปพระธรรมจักร ซึ่งทูนอยูบนหัวสิงห

อโศการาม ๕๑๖ อสังหารมิ ะยอดเสาศิลาจารึกของพระเจาอโศก จดั แขง ได ซง่ึ ไดช อ่ื วา เปน อสทสิ ทาน สน้ิมหาราช ท่ีสารนาถ (ปาอิสิปตนมฤค- พระราชทรพั ยไ ปในวนั เดยี วถงึ ๑๔ โกฏ,ิทายวนั ทท่ี รงแสดงปฐมเทศนา) มาเปน ในพุทธกาลหน่ึงๆ คือในสมัยของพระตราสญั ลกั ษณท กี่ ลางผนื ธงชาติ และใช พทุ ธเจา พระองคห นง่ึ ๆ มอี สทสิ ทานครง้ัรปู สงิ หท ง้ั สที่ ท่ี นู พระธรรมจกั รนนั้ เปน เดยี ว (เรอื่ งมาใน ธ.อ.๖/๕๑)ตราแผน ดนิ สบื มา อสมานาสนิกะ ภกิ ษุผูมพี รรษาออนแกอโศการาม ชอ่ื วดั สําคัญท่พี ระเจา อโศก กวากนั เกนิ ๓ พรรษา น่ังอาสนะคือมหาราชทรงสรางในกรุงปาฏลีบุตรเปน เตียงตง่ั สาํ หรับ ๒ รปู เสมอกนั ไมไดทที่ าํ สังคายนาครง้ั ท่ี ๓ (แตน งั่ อาสนะยาวดว ยกนั ได) ; เทยี บ สมา-อสงไขยกปั ดู กปั นาสนกิ ะอสทสิ ทาน “ทานอนั ไมม อี นื่ แมน เหมอื น”, อสังขตะ ธรรมที่ปจจัยมิไดปรุงแตง,เปนคําในช้ันอรรถกถา หมายถึงการ ธรรมท่ีไมเกิดจากเหตุปจจัย ไดแกบาํ เพ็ญทานถวายแดพระพุทธเจาพรอม พระนิพพาน; ตรงขา มกบั สงั ขตะดว ยภกิ ษสุ งฆ ครงั้ ใหญท ส่ี ดุ ซงึ่ ไมม ใี คร อสังขตธรรม ธรรมอันมิไดถกู ปรงุ แตงสามารถทาํ เทยี มเทา ไดอ กี ไดแ ก ทานที่ ไดแ ก นิพพาน (ขอ ๒ ในธรรม ๒); ตรงพระเจา ปเสนทโิ กศลจดั ถวาย ตามเรอื่ ง ขามกับ สงั ขตธรรมวา ครงั้ หนงึ่ พระเจา ปเสนทโิ กศลถวาย อสังขารปรนิ พิ พายี พระอนาคามี ผจู ะทานแดพ ระพทุ ธเจาพรอ มดว ยภกิ ษสุ งฆ ปรินิพพานดวยไมตองใชความเพียรและใหชาวเมืองสาวัตถีมาชมดวย ชาว มากนกั (ขอ ๓ ในอนาคามี ๕)เมืองเห็นแลว ก็ไปจัดถวายทานใหดี อสังขารกิ “ไมเ ปนไปกับดวยการชักนํา”เหนอื กวา พระองคจ งึ จดั ถวายครงั้ ใหม ไมมีการชักนํา ใชแกจิตท่ีคิดดีหรือช่ัวอกี ใหเ หนอื กวา ชาวเมอื ง แตช าวเมอื งก็ โดยเริม่ ขึ้นเอง มใิ ชถ ูกกระตุนหรอื ชกั จงูแขงกับพระองคโดยจัดใหเหนือกวาอีก จากภายนอก จงึ มกี ําลังมาก ตรงขา มกบัเปน เชน นถ้ี งึ ๖ ครงั้ เปน เหตใุ หท รงทกุ ข สสงั ขาริกพระทัยเกรงวาจะทรงพายแพแกราษฎร อสงั สัคคกถา ถอยคําทชี่ ักนาํ ไมใหคลกุแตในทส่ี ดุ ทรงไดรบั คาํ ทูลแนะนาํ ของ คลีดว ยหมู (ขอ ๔ ในกถาวตั ถุ ๑๐)พระมเหสี คอื พระนางมลั ลกิ า จงึ ทรง อสงั หาริมะ ซงึ่ นาํ เอาไปไมไ ด, เคล่อื นที่สามารถถวายทานที่ชาวเมืองไมสามารถ ไมไ ด, ของติดท่ี ขนเอาไปไมไ ด เชน ที่

อสงั หารมิ ทรัพย ๕๑๗ อสติ ดาบสดนิ โบสถ วหิ าร เจดยี  ตน ไม เรอื น ก็เปนเร่ืองเฉพาะตัวของเธอ ไมผ กู พันเปน ตน ; เทียบ สังหาริมะ ตอสงฆ) ๘.อวันทนียกรรม (การที่อสังหาริมทรพั ย ทรัพยเ คล่อื นทไ่ี มไ ด ภิกษุณีสงฆประกาศภิกษุผูแสดงอาการ ไดแ ก ท่ดี นิ และทรพั ยซึง่ ตดิ อยูกับทเ่ี ชน อันไมนาเล่ือมใส ใหเปนผูที่ภิกษุณีทั้ง ตึก โรงรถ เปนตน; คกู บั สงั หารมิ ทรัพย หลายไมพ ึงไหว); ดทู ี่ ปกาสนียกรรมอสญั ญีสัตว สตั วจาํ พวกไมมสี ัญญา ไม อสาธารณสิกขาบท สกิ ขาบททไ่ี มท่ัวไป เสวยเวทนา (ขอ ๕ ในสตั ตาวาส ๙) หมายถึงสิกขาบทเฉพาะของภิกษุณี ท่ีอสทั ธรรม ธรรมของอสัตบุรษุ มีหลาย แผกออกไปจากสกิ ขาบทของภกิ ษุ; เทียบ หมวด เชน อสทั ธรรม ๗ คอื ท่ีตรงขา ม สาธารณสิกขาบท กับ สัทธรรม ๗ มีปราศจากศรัทธา อสิตดาบส ดาบสผคู ุนเคย และเปน ที่ปราศจากหิริ เปน ตน; ในคาํ วา “ทอด นบั ถอื ของศากยราชสกุล มีเรือ่ งปรากฏกายเพ่ือเสพอสัทธรรมก็ดี” หมายถึง ในนาลกสตู ร (ข.ุ สุ.๒๕/๓๘๘/๔๖๗) วา ในเมถนุ ธรรม คือการรว มประเวณี วนั ทพี่ ระโพธิสัตวประสตู ิ ทานไดท ราบอสัมปตตโคจรัคคาหิกรปู ดทู ่ี รปู ๒๘ ขาวประสูติแหงพระราชโอรสของพระอสมั มุขากรณีย สังฆกรรมซ่ึงไมตอ งทํา เจาสุทโธทนะ จงึ เขาไปเยีย่ ม พระราชาในทตี่ อ หนา (หรอื พรอ มหนา ) บคุ คลทถี่ กู ทรงนําพระราชโอรสออกมาเพื่อจะใหสงฆท าํ กรรม มี ๘ อยา ง คอื ๑.ทเู ตน-ุ วันทาพระดาบส แตพระบาททง้ั สองของปสัมปทา (การอุปสมบทภิกษุณีโดยใช พระราชโอรสกลับเบ่ียงขึ้นไปประดิษ-ทตู ) ๒.ปต ตนกิ กุชชนา (การคว่ําบาตร) ฐานบนเศียรของพระดาบส เมื่อพระ๓.ปตตอกุ กุชชนา (การหงายบาตร) ๔. ดาบสพจิ ารณาพระลกั ษณะของพระราช-อุมมัตตกสมมติ (การสวดประกาศให โอรสแลว มน่ั ใจวาพระราชโอรสนัน้ จกัถอื ภกิ ษเุ ปนผวู กิ ลจรติ ) ๕.เสกขสมมติ ตรสั รูเ ปนพระพทุ ธเจาแนนอน นอกจาก(การสวดประกาศตงั้ สกุลเปน เสขะ) ๖. ทําอัญชลีนบไหวแลว ก็ไดแยมยิ้มพรหมทัณฑ (การลงโทษภิกษุหัวดื้อวา แสดงความแชมช่ืนใจออกมา แตเมื่อยาก โดยวธิ พี รอ มกนั ไมวากลาว) ๗. มองเห็นวาตนจะไมมีชีวิตอยูจนถึงเวลาปกาสนียกรรม (การประกาศใหเปนท่ีรู แหงการตรสั รู กเ็ สียใจรองไห กระนัน้ ก็ท่ัวกัน ถึงสภาวะของภิกษุซ่ึงไมเปนที่ ตาม พระดาบสไดไปบอกหลานชายของยอมรับของสงฆ ใหถ ือวา การใดทีเ่ ธอทาํ ทา น ช่อื วา นาลกะ ใหอ อกบวชรอเวลา

อสตี ยานุพยัญชนะ ๕๑๘ อสภุ ,อสภุ ะที่พระโพธิสัตวจะไดตรัสรู (ขอความที่ มหาปน ถก, มหาโมคคลั ลานะ, เมฆยิ ะ,วา พระบาททั้งสองของพระราชโอรส เมตตค,ู โมฆราช,ยสะ, ยโสชะ, รฏั ฐปาละ,เบ่ียงข้ึนไปประดิษฐานบนเศียรหรือบน ราธะ, ราหลุ , เรวตะ ขทริ วนยิ ะ, ลกณุ ฏก-ชฎาของพระดาบสนั้น เปน คําเลาขยาย ภทั ทิยะ, วักกล,ิ วังคสี ะ, วปั ปะ, วิมละ,ความของอรรถกถา, เชน สตุ ฺต.อ.๒/๖๘๒/ สภิยะ, สาคตะ, สารีบุตร, สวี ลี, สพุ าห,ุ๓๑๘; ชา.อ.๑/๘๖); อสติ ดาบสนี้ มชี ือ่ เรยี ก สภุ ตู ,ิ เสละ, โสณกฏุ กิ ณั ณะ,โสณโกฬวิ สิ ะ,อีกอยางหน่ึงวา กาฬเทวิล หรือ กาฬ- โสภิตะ, เหมกะ, องคลุ มิ าล, อชิตะ,เทวลั ดาบส (เรียกวา กัณหเทวิลฤาษี ก็ อนุรุทธะ, อัญญาโกณฑญั ญะ, อสั สช,ิมี); ดู มหาบรุ ษุ ลกั ษณะ, นาลกะ 1.; เทียบ อานนท, อทุ ยะ, อทุ าย,ี อบุ าล,ี อปุ วาณะ,พราหมณท ํานายพระมหาบุรษุ อุปสวี ะ, อุปเสนวังคันตบุตร, อุรุเวล-อสตี ยานุพยัญชนะ อนุพยญั ชนะ ๘๐; กัสสปะดู อนพุ ยญั ชนะ อสภุ , อสภุ ะ สภาพทไี่ มง าม, พจิ ารณารา งอสตี มิ หาสาวก พระสาวกผใู หญ ๘๐ องค กายของตนและผอู นื่ ใหเ หน็ สภาพทไี่ มง าม;บางทเี รียกอนุพุทธ ๘๐ องค มรี ายนาม ในความหมายเฉพาะ หมายถงึ ซากศพในตามลําดบั อักษร ดังนี้ (ทพี่ ิมพต ัวเอนคอื ทา นทเ่ี ปน เอตทคั คะดว ย): กงั ขาเรวตะ, สภาพตา งๆ ซงึ่ ใชเ ปน อารมณก รรมฐานกปั ปะ, กาฬทุ าย,ี กมิ พลิ ะ, กมุ ารกสั สปะ, รวม ๑๐ อยา ง คอื ๑. อทุ ธมุ าตกะ ซากกณุ ฑธาน, คยากสั สปะ, ควมั ปต,ิ จนุ ทะ, ศพที่เนาพอง ๒. วินลี กะ ซากศพทม่ี สี ีจูฬปนถก, ชตุกณั ณิ, ตสิ สเมตเตยยะ, เขียวคลา้ํ ๓. วปิ ุพพกะ ซากศพท่มี นี า้ํโตเทยยะ, ทพั พมลั ลบตุ ร, โธตกะ, นท-ี เหลอื งไหลออกอยู ๔. วจิ ฉทิ ทกะ ซากศพกสั สปะ, นนั ทะ, นันทกะ, นันทกะ, ท่ขี าดกลางตัว ๕. วิกขายติ กะ ซากศพที่นาคิตะ, นาลกะ, ปง คยิ ะ, ปณ โฑล- สตั วก ดั กนิ แลว ๖. วกิ ขติ ตกะ ซากศพท่ีภารทวาช, ปล นิ ทวจั ฉะ, ปณุ ณกะ, ปณุ ณช,ิ มมี อื เทา ศรี ษะขาด ๗. หตวกิ ขติ ตกะปุณณมันตานีบุตร, ปุณณสุนาปรันตะ,โปสาละ, พากลุ ะ (พกั กลุ ะ กเ็ รยี ก), พาหยิ - ซากศพที่คนมีเวรเปนขาศึกกัน สบั ฟนทารจุ รี ยิ ะ, ภค,ุ ภทั ทยิ ะ (ศากยะ), ภทั ทยิ ะ, เปน ทอ นๆ ๘. โลหติ กะ ซากศพท่ีถูกภทั ราวธุ , มหากจั จายนะ, มหากปั ปน ะ,มหากัสสปะ, มหาโกฏฐติ ะ, มหานามะ, ประหารดวยศัสตรามีโลหิตไหลอาบอยู ๙. ปฬุ วุ กะ ซากศพทมี่ ีตวั หนอนคลาน คล่ําไปอยู ๑๐. อฏั ฐกิ ะ ซากศพท่ยี ัง เหลอื อยแู ตรางกระดูก

อสุภสัญญา ๕๑๙ อโหสกิ รรมอสุภสัญญา กําหนดหมายถึงความไม คอื พระอรหันต; คูกับ เสขะ งามแหงรางกาย (ขอ ๓ ในสัญญา ๑๐) อเสขบุคคล บุคคลผูไมตองศึกษา; ดูอสุรกาย “พวกอสูร” ภพแหงสัตวเ กิดใน อเสขะ อบายพวกหนงึ่ เปน พวกสะดงุ หวาด อหงั การ การทาํ (ความยึดถอื วา) “ตวั ขา”, หวั่นไรค วามรื่นเรงิ (ขอ ๔ ในอบาย ๔); การยดึ ถือวาตัวก;ู มักมาคกู บั มมงั การ ดู คติ คือ การทํา (ความยึดถือวา) “ของขา”,อสรู สัตวกึ่งเทพหรอื เทพชนั้ ตาํ่ พวกหนงึ่ การยึดถือวา ของกู, และมักพดู ควบกันตาํ นานกลาววา เดมิ เปน เทวดาเกา (บพุ - เปน “อหังการ-มมงั การ” แปลกนั งายๆเทวา) เปนเจาถ่ินครอบครองดาวดงึ ส- วา การถือวา ตัวเรา ของเรา; มมงั การเทวโลก ตอมาถูกเทวดาพวกใหม มที า ว เปนตณั หา สว น อหงั การ บางแหงวาสกั กะเปนหัวหนา แยง ถิ่นไป โดยถกู เทพ เปน ทิฏฐิ บางแหง วาเปนมานะ บางแหงพวกใหมน้ันจับเหว่ียงลงมาในระหวาง วาเปนมานะและทิฏฐิ (ในคําวาพิธีเล้ียงเมื่อพวกตนดื่มสุราจนเมามาย “อหงั การมมงั การมานานุสยั ” อรรถกถาไดช่ือใหมวาอสูร เพราะเม่ือฟนคืนสติ หนึ่งอธิบายวา อหังการ เปนทิฏฐิขน้ึ ระหวา งทางที่ตกจากดาวดงึ สน ้ัน ได มมงั การ เปนตัณหา มานานสุ ยั เปนกลาวกันวา “พวกเราไมดื่มสุราแลว” มานะ – ม.อ.๓/๑๔๖); ในภาษาไทย(อสูร จงึ แปลวา “ผูไมดมื่ สรุ า”) พวก อหงั การ มักใชในความหมายทีเ่ พยี้ นไปอสูรไดครองพิภพใหมที่เชิงเขาสิเนรุ กลายเปนความเยอหยิง่ ความทะนงตวัหรือเขาพระทุเมรุ และมสี ภาพความเปน จองหอง กาวราวอวดดีอยู มีอายุ วรรณะ ยศ และอิสรยิ - อเหตุกทิฏฐิ ความเห็นวา ไมมีเหตุ คอืสมบัติ คลายกันกับเทวดาช้ันดาวดึงส ความเห็นผิดวา คนเราจะไดดีหรือช่ัวพวกอสูรเปนศัตรูโดยตรงกับเทวดา ตามคราวเคราะห ถึงคราวจะดี ก็ดีเองและมีเรื่องราวขัดแยงทําสงครามกัน ถงึ คราวจะราย ก็รายเอง ไมมีเหตอุ น่ื จะบอ ยๆ พวกอสูรออกจะเจา โทสะ จงึ มกั ทําใหค นดคี นช่วั ได (ขอ ๒ ในทิฏฐิ ๓)ถูกกลาวถึงในฐานะเปนพวกมีนิสัยพาล อโหสิกรรม กรรมเลิกใหผล ไมมีผลอีกหรอื เปนฝายผดิ ไดแกกรรมทั้งท่ีเปนกุศลและอกุศลที่อเสขะ ผไู มตอ งศกึ ษา เพราะศกึ ษาเสรจ็ เลกิ ใหผ ล เหมือนพชื ท่หี มดยาง เพาะสนิ้ แลว ไดแ กบ คุ คลผตู งั้ อยใู นอรหตั ตผล ปลกู ไมข้ึนอีก (ขอ ๔ ในกรรม ๑๒)

อกั โกสวตั ถุ ๕๒๐ อัคฆสโมธานอักโกสวตั ถุ เรื่องสําหรบั ดา มี ๑๐ อยา ง แปลงตามลําดับ จนเกิดมีมนุษยที่อยูคือ ๑. ชาติ ไดแกช ้ันหรือกําเนดิ ของคน รวมกันเปนหมูเปนพวก เกิดความจํา๒. ชอ่ื ๓. โคตร คือตระกลู หรอื แซ ๔. เปนตองมีการปกครอง และมีการการงาน ๕. ศลิ ปะ ๖. โรค ๗. รปู พรรณ ประกอบอาชพี การงานตา งๆ กนั วรรณะสัณฐาน ๘. กิเลส ๙. อาบตั ิ ๑๐. คําสบ ท้ังสี่ก็เกิดจากความเปล่ียนแปลงเหลาน้ีประมาทอยา งอืน่ ๆ มิใชเ ปน เรอื่ งของพรหมสรางสรรค แตอกั ขระ ตวั หนังสอื , วชิ าหนังสือ, คาํ , เกดิ จากธรรม (ธรรมดา, กฎธรรมชาต)ิเสยี ง, สระ และพยญั ชนะ ทุกวรรณะประพฤติช่ัวก็ไปอบายไดอักขรวิธี ตําราวาดวยวิธีเขียนและอาน ปฏิบัติธรรมก็บรรลุนิพพานได ธรรม หนังสอื ใหถ ูกตอง เปนเคร่ืองตัดสิน และธรรมเปนของอักษร ตัวหนงั สอื ประเสริฐสุด ผทู ส่ี ้นิ อาสวกเิ ลสแลว เปนอคั คสาวก ดู อัครสาวก ผูประเสริฐสุดในวรรณะทั้งสี่ ผูที่อคั คญั ญสตู ร ชอ่ื สตู รที่ ๔ แหง ทฆี นกิ าย สมบูรณดวยวิชชาและจรณะ เปนผูปาฏกิ วรรค พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทรงแสดง ประเสรฐิ สดุ ในบรรดาเทวะ และมนษุ ยแกสามเณรวาเสฏฐะ และสามเณร ท้งั ปวงภารัทวาชะ ผูออกบวชจากตระกูล อัคคิ ไฟ, ไฟกเิ ลส, กิเลสดจุ ไฟเผาลนจติพราหมณ ทรงคดั คา นคาํ กลา วอา งของ ใจใหเรา รอน มี ๓ คือ ๑. ราคคั คิ ไฟคือพวกพราหมณ ที่ถือวาพราหมณเปน ราคะ ๒. โทสคั คิ ไฟคอื โทสะ ๓.โมหคั คิวรรณะประเสริฐท่ีสุด และถือวาชาติ ไฟคือโมหะกําเนิดเปนเคร่ืองตัดสินความประเสริฐ อัคคเิ วสสนโคตร ตระกลู อัคคเิ วสสนะและความตํา่ ทรามของมนุษย ทรงแสดง เปนตระกูลของปริพาชกคนหน่ึงช่ือใหเห็นวา ความประเสริฐหรือตาํ่ ทรามนน้ั ทีฆนขะอยูท่ีความประพฤติ โดยมีธรรมเปน อคั ฆสโมธาน การประมวลโดยคา , เปนเครือ่ งตดั สิน คนวรรณะตา งๆ ออกบวช ช่ือปริวาสที่ภิกษุผูปรารถนาจะออกจากในพระพุทธศาสนาแลว ยอ มช่อื วาเปนผู อาบัติสังฆาทิเสสซ่ึงตองหลายคราว มีเกิดจากธรรมเสมอกันหมด แลวทรง จาํ นวนวันปดไมเทา กนั ประมวลอาบตั ิแสดงความเปน มาของสังคมมนุษย เริ่ม และวนั เขาดว ยกนั อยูป รวิ าสเทาจาํ นวนแตเกิดมีสัตวขึ้นในโลกแลวเปลี่ยน วนั ทมี่ ากท่ีสุด เชน ตองอาบัติ ๓ คราว,

อัคร ๕๒๑ อังครี สคราวหนึง่ ปด ไว ๓ วนั คราวหน่งึ ปด ไว จติ ตคฤหบดีและหตั ถกะอาฬวกะ; ดู ตลุ า๕ วัน คราวหน่ึงปดไว ๗ วนั อยูปรวิ าส อคั รอปุ ฏฐายิกา อุบาสกิ าผดู ูแลอปุ ถมั ภเทา จาํ นวนมากทส่ี ุด คอื ๗ วัน; ดู บาํ รุงพระพทุ ธเจาอยางเยยี่ มยอด ไดแ กสโมธานปริวาส วสิ าขามหาอุบาสิกา (แตพ บในอรรถกถาอคั ร เลศิ , ยอด, ลา้ํ เลศิ , ประเสรฐิ , สงู สดุ แหงหน่ึง จัดเจาหญิงสปุ ปวาสา โกลิย-อคั รพหสู ูต พหูสูตผูเ ลศิ , ยอดพหสู ตู , ราชธดิ า เปนอคั รอปุ ฏฐ ายิกา); ดู ตุลาผูคงแกเรยี นอยา งยอดเยีย่ ม หมายถงึ อัครอุปฏฐิกาอุบาสิกา อุบาสิกาผูพระอานนท อุปถัมภบํารุงท่ีเลิศ, บางทีเรียกสั้นวาอคั รสาวก สาวกผเู ลศิ , สาวกผยู อดเยยี่ ม อัครอุบาสิกา คืออุบาสิกาผูยอดเย่ียมหมายถึงพระสารีบุตร (เปนอัครสาวก หมายถึง เวฬุกณั ฏกีนันทมารดา และเบื้องขวา) และพระมหาโมคคัลลานะ ขชุ ชุตตรา; ดู ตุลา(เปน อัครสาวกเบ้ืองซาย); ดู ตลุ า องั คะ๑ องค, สว นประกอบ, คุณสมบตั ,ิอคั รสาวกิ า สาวกิ าผเู ลศิ , สาวกิ าผยู อด อวยั วะ เชนในคาํ วา องั คบริจาค (การเยย่ี ม หมายถงึ พระเขมา (เปน อคั รสาวกิ า สละใหอ วัยวะ); ดู องค 1.เบื้องขวา) และพระอบุ ลวรรณา (เปน อังคะ๒ ช่ือแควนหนึ่งในบรรดา ๑๖อคั รสาวกิ าเบ้อื งซาย); ดู ตลุ า แควนใหญแหงชมพูทวีป ตั้งอยูทิศอคั รอบุ าสก อุบาสกผูเลิศ, อบุ าสกผยู อด ตะวนั ออกของแควน มคธ มแี มน า้ํ จมั ปาเยย่ี ม หมายถึงจติ ตคฤหบดี และหตั ถกะ ก้ันแดน และมนี ครหลวงชอ่ื จมั ปา ในอาฬวกะ; ดู ตุลา พทุ ธกาล แควนอังคะข้นึ กับแควนมคธอคั รอบุ าสิกา อุบาสกิ าผเู ลิศ, อบุ าสกิ าผู อังคาร ถานเถาท่ีถวายพระเพลิงพระยอดเยย่ี ม หมายถงึ เวฬกุ ัณฏกนี นั ท- พุทธสรรี ะมารดา และขุชชตุ ตรา; ดู ตุลา อังคารสตปู พระสถูปท่บี รรจพุ ระองั คารอัครอุปฏฐาก ผูเฝารับใชพระพุทธเจา ซ่ึงโมริยกษตั รยิ สรางไวท ี่เมอื งปปผลวิ ันอยางเย่ียมยอด ไดแกพระอานนท; ดู อังคาส ถวายพระ, เลยี้ งพระตลุ า อังคีรส “มีพระรศั มเี ปลง จากพระองค” ,อคั รอปุ ฏ ฐ ากอบุ าสก อุบาสกผูอุปถัมภ พระนามอยางหน่ึง ในบรรดาพระนามบํารุงท่ีเลิศ, บางทีเรียกสั้นวา อัคร- มากมายที่เปนกลางๆ ใชแกพระพุทธอบุ าสก คอื อบุ าสกผยู อดเยย่ี ม หมายถึง เจาพระองคใดก็ได, ที่ใชแกพระพุทธ

องั คดุ ร ๕๒๒ อังคุลิมาละ เจา พระองคป จ จุบนั พบในพระไตรปฎ ก คํากลาวของพระกาฬุทายีน้ี มีคําวา หลายแหง เชน ในอาฏานาฏยิ สูตร (ที.ปา. “อังครี ส” ซึ่งพระอรรถกถาจารยอ ธบิ าย ๑๑/๒๐๙/๒๑๐) ที่สวดกันอยเู ปน ประจําวา วา “คําวา ‘องั คีรส’ แปลวา ผสู มั ฤทธิ์ “องคฺ รี สสสฺ นมตถฺ ุ สกยฺ ปตุ ตฺ สสฺ สริ มี โต” พระคุณมีศีลเปนตน ท่ีทําใหเปนองค หรืออยางท่ีพระวังคีสะประพันธคาถา เปนอัน (หรือเปนเนื้อเปนตัว) แลว, ถวายพระสดุดี (สํ.ส.๑๕/๗๕๙/๒๘๗, ขุ.เถร. อาจารยอ กี พวกหน่งึ (อปเร) แปลวา ‘ผู ๒๖/๔๐๑/๔๓๗) ใชค าํ วา “พระองั ครี ส มหา- มีพระรัศมีเปลงฉายออกจากพระวรกาย มุนี”, แตมีบันทึกในอรรถกถาบางแหง ทุกสวน’ แตอาจารยบางพวก (เกจิ) (เถร.อ.๒/๕๐/๑๙๑; อป.อ.๒/๓๕๐/๗๐) ซง่ึ อา ง กลา ววา ‘พระพุทธบดิ าน่นั แหละ ไดท รง อิงเร่ืองท่ีพระเจาสุทโธทนะสงกาฬุทายี เลือกเอาพระนาม ๒ อยางน้ี คือ อํามาตยไปอาราธนาพระพุทธเจาเสด็จ องั ครี ส และสทิ ธตั ถะ’” คาํ อธบิ ายนี้ บอก กรุงกบิลพัสดุ กาฬุทายีน้ันเมื่อไปเฝา ใหรูถึงมติอันหน่ึง ซึ่งเปนของเกจิ พระพทุ ธเจา ไดฟ ง ธรรม บรรลุอรหตั ต- อาจารย ที่บอกวา ‘อังคีรส’ กเ็ ปนพระ ผล บวชแลว ตอมา เม่อื พระพทุ ธเจา รับ นามสวนพระองคของพระพุทธเจาพระ อาราธนาและออกเสด็จพุทธดําเนินมา องคป จจุบนั เชน เดยี วกับ ‘สทิ ธัตถะ’; ดู เพ่ือจะทรงเยยี่ มพระพทุ ธบิดา ครัน้ มา พระพทุ ธเจา ในระหวางทาง ทา นพระกาฬทุ ายีไดเ ดนิ อังคุดร หมายถงึ อังคตุ ตรนิกาย ทางลว งหนา มาแจง ขา ว พระเจา สทุ โธทนะ อังคุตตรนิกาย ช่ือนิกายท่ีสี่ในบรรดา ทอดพระเนตรเห็นพระกาฬุทายีในเพศ นกิ าย ๕ แหง พระสุตตนั ตปฎ ก เปน ที่ ภิกษุ ทรงจาํ ไมได ตรสั ถามวา ทา นเปน ชมุ นมุ พระสตู รซงึ่ จดั เขา ลาํ ดบั ตามจาํ นวน ใคร พระกาฬุทายีจึงกลาวตอบถวาย หวั ขอ ธรรม เปน หมวด ๑ (เอกนบิ าต) พระพรวา “อาตมภาพเปนบุตรของพระ หมวด ๒ (ทุกนบิ าต) เปนตน จนถึง พุทธเจา ผูทรงฝา ไปไดใ นสิ่งทใี่ ครๆ ไม หมวด ๑๑ (เอกาทสกนิบาต) อาจทนไหว องคพ ระอังคีรส ผูค งท่ี ไม องั คตุ ตราปะ ชอื่ แควน หนงึ่ ในชมพทู วปี มผี ูใดเปรยี บปาน ดกู รมหาบพิตร พระ ครง้ั พทุ ธกาล มเี ขตตดิ ตอ กบั แควน องั คะ องคเ ปน โยมบดิ าแหง พระบดิ าของอาตม- ทอี่ ยทู างตะวนั ออกของมคธ เมอื งหลวง ภาพ ดูกรทา วศากยะโคดม พระองคเ ปน เปน เพยี งนคิ มชอื่ อาปณะ พระอยั กาของอาตมภาพ โดยธรรม” ใน องั คุลมิ าละ ดู องคลุ ิมาล

อังคุลมิ าลปริตร ๕๒๓ อัญญภาคยิ สิกขาบทองั คลุ มิ าลปริตร ดู ปรติ ร อัชฌัตติกทาน (ทานภายใน, ใหขององั สะ ผาทภี่ กิ ษใุ ชห อยเฉวยี งบา ภายใน) อชั ฌัตตกิ ายตนะ (อายตนะอัจเจกจีวร จีวรรีบรอน หรือผาดวน ภายใน); ตรงขา มกบั พาหริ ะหมายถึง ผา จํานําพรรษาทีท่ ายกผมู ีเหตุ อชั ฌัตติกรปู ดูที่ รูป ๒๘รบี รอ น ขอถวายกอนกาํ หนดเวลาปกติ อัชฌาจาร ความประพฤติชั่ว, การ(กําหนดเวลาปกติสําหรับถวายผาจํานํา ละเมิดศีล, การลวงมรรยาท, การพรรษา คือ จวี รกาลนั่นเอง กลา วคือ ละเมดิ ประเพณีตอ งผานวนั ปวารณาไปแลว เร่มิ แตแ รม อชั ฌาสยั นสิ ัยใจคอ, ความนยิ ม, ความ๑ คา่ํ เดอื น ๑๑ ถงึ ข้นึ ๑๕ คํ่า เดือน มีนํ้าใจ๑๒ และถา กรานกฐนิ แลว นับตอ ไปอีก อัญชนะ กษัตริยโกลิยวงศผูครองถงึ ขนึ้ ๑๕ คา่ํ เดือน ๔; เหตุรบี รอนน้ัน เทวทหนคร มมี เหสีพระนามวา ยโสธราเชน เขาจะไปทัพ หรือเจ็บไขไมไวใจ เปนพระชนกของพระมหามายาเทวีผูชีวติ หรอื มศี รทั ธาเล่อื มใสเกิดขน้ึ ใหม) เปนพระพุทธมารดาและพระนางมหา-อจั เจกจีวรเชนน้ี มพี ทุ ธานุญาตใหภิกษุ ปชาบดีโคตมี (ตาํ นานวา มีโอรสดวย ๒รบั เก็บไวไ ด แตต อ งรับกอนวนั ปวารณา องค คือ ทณั ฑปาณิ และสปุ ปพทุ ธะ)ไมเ กนิ ๑๐ วนั (คือตงั้ แตข ้นึ ๖ คํา่ ถึง อัญชลีกรรม การประนมมอื แสดงความ๑๕ ค่าํ เดอื น ๑๑) (สกิ ขาบทที่ ๘ แหง เคารพปตตวรรค นสิ สัคคิยปาจติ ตยี ) อชฺ ลกี รณโี ย (พระสงฆ) เปน ผคู วรไดร บัอัจฉริยะ “เหตุอนั ควรทจี่ ะดดี นว้ิ เปาะ”, อญั ชลกี รรม คอื การประนมมอื ไหว กราบอศั จรรย, แปลกวิเศษ, นา ทึ่งควรยอม ไหว เพราะมีความดีที่ควรแกการไหวรับนบั ถือ, ดีเลิศลาํ้ นาพศิ วง, มคี วามรู ทําใหผูไหวผูกราบ ไมตองกระดากใจความสามารถทรงคณุ สมบตั เิ หนอื สามญั (ขอ ๘ในสงั ฆคณุ ๙); อชฺ ลกิ รณโี ย กใ็ ช อญั ญเดยี รถีย ผถู อื ลัทธนิ อกพระพทุ ธ-หรือเกินกวาระดบั ปกติอชั ฏากาศ “อากาศท่ีไมมชี ฏั ” (ท่ีวา งอนั ศาสนาไรส ิง่ รกรงุ รงั ), อากาศทีเ่ วง้ิ วาง คือ ทอ ง อัญญภาคยิ สิกขาบท ชอ่ื สิกขาบทที่ ๙ฟา กลางหาว, อชฏากาศ ก็เขยี น (บาล:ี แหงสังฆาทิเสส (ภิกษุหาเลสโจทภิกษุอชฏากาส); ดู อากาศ ๓, ๔ อน่ื ดว ยอาบตั ิปาราชิก), เรียกอีกชือ่ หนึ่งอัชฌัตตกิ ะ ภายใน, ขา งใน เชนในคําวา วา ทุตยิ ทฏุ ฐโทสสิกขาบท

อญั ญวาทกกรรม ๕๒๔ อญั ญาโกณฑัญญะอัญญวาทกกรรม กรรมทจ่ี ะพงึ กระทํา อญั ญสัตถุเทศ การถือศาสดาอนื่ จดัแกภ ิกษผุ ูกลาวคําอื่น คือภกิ ษปุ ระพฤติ เปน ความผดิ พลาดสถานหนกั (ขอ ๖อนาจาร สงฆเ รียกตวั มาถาม แกลง ยก ในอภิฐาน ๖)เรอ่ื งอ่นื ๆ มาพูดกลบเกล่อื นเสยี ไมให อญั ญสตั ววสิ ยั วสิ ัยของสัตวอนื่ , วิสยัการตามตรง, สงฆสวดประกาศความ ของสัตวท ัว่ ๆ ไปน้ันดวยญัตติทุติยกรรม เรียกวายก อญั ญาโกณฑัญญะ พระมหาสาวกผูเปนอญั ญวาทกกรรมข้นึ , เม่อื สงฆประกาศ ปฐมสาวกของพระพทุ ธเจา เปน รูปหนึ่งเชนน้ีแลว ภิกษุน้ันยังขืนทําอยางเดิม ในคณะพระปญจวัคคีย เปนบุตรอกี ตองอาบัติปาจิตตีย (สิกขาบทที่ ๒ พราหมณมหาศาล เกิดทหี่ มูบ านโทณ-แหงภูตคามวรรค ปาจติ ตยิ กณั ฑ) ; คกู ับ วตั ถุ ไมไกลจากกรงุ กบิลพัสดุ เดิมชื่อวิเหสกกรรม โกณฑญั ญะ เปน พราหมณหนมุ ทสี่ ดุ ในอญั ญสมานาเจตสกิ เจตสิกทีม่ ีเสมอกนั บรรดาพราหมณ ๘ คน ผทู าํ นายลกั ษณะแกจติ ตพวกอืน่ คอื ประกอบเขา ไดกับ ของสิทธัตถกุมาร และเปนผูเดียวท่ีจิตตทกุ ฝา ยท้งั กศุ ลและอกุศล มใิ ชเ ขา ทาํ นายวา พระกมุ ารจะทรงออกบรรพชาไดฝายหนงึ่ ฝา ยเดียว มี ๑๓ แยกเปน ไดตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาอยางก. สัพพจิตตสาธารณเจตสกิ (เจตสิกที่ แนนอน มคี ตเิ ปน อยางเดียว ตอมาทา นเกิดทั่วไปกับจิตตทุกดวง) ๗ คือ ออกบวชตามเสด็จพระสิทธตั ถะ ขณะผัสสะ (ความกระทบอารมณ) เวทนา บําเพ็ญทุกรกิริยา เปนหัวหนาพระสัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย เบญจวคั คยี  และไดนําคณะหลกี หนีไปมนสกิ าร (ความกระทาํ อารมณไวในใจ, เม่ือพระมหาบุรุษเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยาใสใ จ) กลับเสวยพระกระยาหาร ตอมาเมื่อพระข. ปกิณณกเจตสิก (เจตสกิ ท่ีเร่ยี รายคือ พุทธเจาตรัสรูแลวเสด็จไปโปรด ทา นเกิดกับจิตตไดท้ังฝายกุศลและอกุศล สดบั ปฐมเทศนาไดด วงตาเหน็ ธรรม ขอแตไ มแนนอนเสมอไปทุกดวง) ๖ คอื บรรพชาอุปสมบทเปนปฐมสาวกของวติ ก (ความตรกึ อารมณ) วิจาร (ความตรองอารมณ) อธิโมกข (ความปกใจใน พระพุทธเจาอารมณ) วิริยะ ปติ ฉนั ทะ (ความพอใจ โกณฑัญญะ ที่ไดชอื่ วา อัญญา- โกณฑญั ญะ เพราะเมอ่ื ทา นฟง ปฐมเทศนาในอารมณ) ของพระพทุ ธเจา และไดธ รรมจกั ษุ พระ

อญั ญาตาวินทรยี  ๕๒๕ อตั ตนยิ ะพทุ ธเจา ทรงเปลง อทุ านวา “อฺ าสิ วต หนัก, แสดงอาบัติมีสวนเหลือวาเปนโภ โกณฑฺ โฺ  ๆ” (โกณฑญั ญะไดร ู อาบตั ไิ มมีสว นเหลอื , แสดงอาบัตหิ ยาบแลว หนอๆ) คาํ วา อญั ญา จงึ มารวมเขา คายวามิใชอาบัติหยาบคาย (ฝายคูก็กับช่ือของทาน ตอมาทานไดสําเร็จ ตรงขามจากนี้ตามลําดับ เชน แสดงอรหัตดวยฟงอนัตตลักขณสูตร ไดร บั ธรรมวามิใชธรรม, แสดงวินัยวามิใชยกยอ งเปน เอตทคั คะในทางรตั ตญั ู (รู วินัย ฯลฯ แสดงอาบัตไิ มห ยาบคายวาราตรีนาน คือ บวชนาน รูเ หน็ เหตกุ ารณ เปน อาบตั หิ ยาบคาย)มากมาแตต น ) ทา นทลู ลาพระพทุ ธเจา ไป อัฏฐิ กระดกู , บัดนี้เขียน อฐั ิอยูท่ีฝงสระมันทากินี ในปาฉัททันตวัน อัฏฐมิ ญิ ชะ เย่อื ในกระดกู (ปจจบุ นั แปลแดนหิมพานต อยู ณ ท่ีนั้น ๑๒ ป ก็ วา ไขกระดกู )ปรินิพพานกอนพุทธปรินิพพาน; ดู อฐั บริขาร บริขาร ๘; ดู บรขิ ารโกณฑญั ญะ อัฑฒกุสิ เสนค่ันดุจคันนาขวางระหวางอญั ญาตาวนิ ทรยี  ดู อินทรยี  ๒๒ ขัณฑกับขณั ฑของจวี ร; เทียบ กสุ ,ิ ดู จีวรอัญญินทรีย ดู อินทรยี  ๒๒ อัณฑชะ สตั วเ กดิ ในไข คอื ออกไขเปนอัฏฐกะ หมวด ๘ ฟองแลว จึงฟกออกเปนตวั เชน ไก นกอัฏฐบาน ปานะท้ัง ๘, นํา้ ปานะคือน้าํ ค้ัน จ้งิ จก เปนตน (ขอ ๒ ในโยนิ ๔)ผลไม ๘ อยา ง; ดู ปานะ อัฑฒมณฑล ชิ้นสวนของจีวรพระที่อัฏฐารสเภทกรวตั ถุ เร่ืองทาํ ความแตก เรียกวา กระทงนอ ย หรือกระทงเลก็ มีกัน ๑๘ อยา ง, เรอ่ื งท่ีจะกอใหเ กดิ ขนาดคร่ึงหนึ่งของมณฑล (กระทงความแตกแยกแกส งฆ ๑๘ ประการ ใหญ); เทียบ มณฑล, ดู จีวรทา นจดั เปน ๙ คู (แสดงแตฝา ยคี่) คือ อัตตกิลมถานุโยค การประกอบตนใหภิกษุแสดงสิ่งมิใชธรรมวาเปนธรรม, ลําบากเปลา คือ ความพยายามเพ่ือแสดงสง่ิ มิใชว นิ ยั วา เปน วินยั , แสดงสง่ิ บรรลุผลท่ีหมายดวยวิธีทรมานตนเองทีพ่ ระตถาคตมิไดต รัสวา ไดต รสั , แสดง เชน การบาํ เพ็ญตบะตางๆ ทีน่ ยิ มกันในสิ่งท่ีพระตถาคตมิไดประพฤติวาได หมนู กั บวชอนิ เดียจํานวนมาก (ขอ ๒ประพฤติ, แสดงสิ่งท่ีพระตถาคตมิได ใน ท่ีสุด ๒ อยา ง)บญั ญัติ วา ไดบัญญตั ิ, แสดงอาบตั ิวา มิ อตั ตนยิ ะ สงิ่ ทเี่ นอ่ื งดว ยตน, สงิ่ ทเ่ี ปน ของใชอาบัติ, แสดงอาบัติเบาวาเปนอาบัติ ตน; ในภาษาไทย มกั พดู ใหส ะดวกปาก

อัตตภาพ ๕๒๖ อตั ตาธิปไตยเปนอัตตนิยา หรืออัตตนียา, เปนคาํ ตน หรอื เปน ทพ่ี งึ่ แกต นได ไมว า จะเปนประกอบที่ใชในการอธิบายหรือถกเถียง ทิฏฐธมั มกิ ัตถะ สมั ปรายกิ ตั ถะ หรอืเรอื่ งอตั ตา-อนตั ตา เชน วา เมอื่ มอี ตั ตา ก็ ปรมัตถะ, ความมีชีวิตและส่ิงอันเก้ือมอี ตั ตนยิ า จะมอี ตั ตนยิ า กต็ อ งมอี ตั ตา หนุนใหชีวิตเพียบพรอมดวยคุณสมบัติอตั ตภาพ ความเปน ตวั ตน, ชวี ติ , เบญจ- ท้งั หลาย ท้ังทางกาย ทางสงั คม ทางจติขันธ, บดั น้เี ขยี น อตั ภาพ ใจ และทางปญ ญา, ชวี ิตท่ีมคี ณุ ภาพ มีอัตตวาทุปาทาน การถือมั่นวาทะวาตน คณุ คา และมีความหมาย; เทยี บ ปรตั ถะคือความยึดถือสําคัญมั่นหมายวานั่นนี่ อัตตัตถสมบัติ “ความถึงพรอมดวยเปนตวั ตน เชน มองเหน็ เบญจขนั ธเปน ประโยชนตน” เปนพุทธคุณอยางหนึ่งอตั ตา, อยางหยาบขึ้นมา เชน ยดึ ถอื มน่ั คือ การทไ่ี ดท รงบาํ เพ็ญพระบารมธี รรมหมายวา นเ่ี รา นัน่ ของเรา จนเปน เหตุ กําจัดอาสวกิเลสท้ังปวงและทําศีลแบงแยกเปนพวกเรา พวกเขา และเกดิ สมาธิ ปญ ญาใหบรบิ ูรณ สมบูรณดวยความถอื พวก (ขอ ๔ ในอปุ าทาน ๔) พระญาณทั้งหลาย เพียบพรอมดวยอตั ตวินบิ าต การทําลายตัวเอง, ฆาตวั พระคุณสมบัติมากมาย เปนท่ีพึ่งของเอง; บดั นเี้ ขียน อตั วนิ บิ าต พระองคเองได และเปนผูพรอมที่จะอตั ตสมั มาปณิธิ การตั้งตนไวช อบ คือ บําเพ็ญกิจเพ่ือประโยชนแกชาวโลกตอดํารงตนอยใู นศลี ธรรม และดําเนนิ แนว ไป มกั ใชคําที่แทนกันไดวา อัตตหติ -แนในวิถีทางที่จะนําไปสูจุดหมายที่ดี สมบัติ ซึง่ แปลเหมือนกนั ; เปน คูกันกับ ปรัตถปฏบิ ตั ิ หรอื ปรหติ ปฏบิ ัติงาม (ขอ ๓ ในจกั ร ๔)อัตตสทุ ธิ การทาํ ตนใหบรสิ ุทธิจ์ ากบาป อตั ตา ตวั ตน, อาตมนั ; ปถุ ชุ นยอ มยึดอัตตหิตสมบัติ ดู อัตตัตถสมบตั ิ มัน่ มองเห็นขันธ ๕ อยา งใดอยางหนง่ึอตั ตญั ตุ า ความเปน ผรู จู กั ตน เชน รวู า หรือท้ังหมดเปนอัตตา หรือยึดถือวามี เรามคี วามรู ความถนดั คณุ ธรรม ความ อตั ตาเน่อื งดว ยขันธ ๕ โดยอาการอยาง สามารถ และฐานะ เปน ตน แคไ หนเพยี ง ใดอยางหนึ่ง; เทียบ อนัตตา ไร แลว ประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ หเ หมาะสมเพอ่ื อตั ตาธิปเตยยะ ดู อตั ตาธปิ ไตย ใหเ กดิ ผลดี (ขอ ๓ ในสปั ปรุ สิ ธรรม ๗) อตั ตาธิปไตย ความถอื ตนเปนใหญ จะอัตตตั ถะ ประโยชนตน, สงิ่ ทเ่ี ปน คุณแก ทําอะไรก็นึกถึงตน คํานึงถึงฐานะชวี ติ ชว ยใหเ ปน อยดู ว ยดี สามารถพงึ่ เกียรติศักด์ิศรี หรือผลประโยชนของ

อตั ตานทุ ฏิ ฐิ ๕๒๗ อันตคาหกิ ทิฏฐิตนเปนสําคัญ, พึงใชแตในขอบเขตที่ อัตถจริยา ประพฤติส่ิงท่ีเปนประโยชนเปน ความดี คอื เวน ช่วั ทาํ ดดี ว ยเคารพ แกผูอ ื่น, การบาํ เพ็ญประโยชน (ขอ ๓ตน (ขอ ๑ ในอธิปไตย ๓) ในสังคหวัตถุ ๔)อตั ตานทุ ฏิ ฐิ ความตามเหน็ วา เปน ตวั ตน อัตถปฏิสัมภิทา ปญญาแตกฉานในอตั ถะ 1. ประโยชน, ผลทมี่ งุ หมาย, จดุ อรรถ, ความแตกฉานสามารถอธิบายหมาย, อตั ถะ ๓ คอื ๑. ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ เน้ือความยอของภาษิตโดยพิสดารและประโยชนปจจุบัน, ประโยชนในภพน้ี ความเขาใจท่ีสามารถคาดหมายผลขาง๒. สมั ปรายิกตั ถะ ประโยชนเบอื้ งหนา, หนาอันจะเกิดสืบเน่ืองไปจากเหตุ (ขอประโยชนในภพหนา ๓. ปรมัตถะ ๑ ในปฏสิ ัมภทิ า ๔)ประโยชนอ ยา งยิ่ง, ประโยชนส งู สดุ คอื อัตถสาธกะ ยังอรรถใหส าํ เรจ็ , ทําเนื้อพระนพิ พาน; อตั ถะ ๓ อกี หมวดหนง่ึ คอื ความใหส ําเรจ็๑. อตั ตตั ถะ ประโยชนต น ๒. ปรัตถะ อัตถัญุตา ความเปนผรู จู กั ผล เชน รจู ักประโยชนผ ูอนื่ ๓. อุภยตั ถะ ประโยชน วา สุขเปน ผลแหงเหตอุ ันน้ี ทุกขเปนผลท้ังสองฝาย 2. ความหมาย, ความ แหงเหตอุ นั นี้, รคู วามมุงหมายและรจู กัหมายแหงพุทธพจน, พระสูตร พระ ผล; ตามบาลีวา รูความหมาย เชน วาธรรมเทศนา หรือพุทธพจน วาโดยการ ธรรมขอน้ีๆ มีความหมายอยางนี้ๆแปลความหมาย แยกเปน อตั ถะ ๒ คอื หลักขอ น้ีๆ มีเนื้อความอยา งน้ๆี (ขอ ๒๑. เนยยัตถะ (พระสตู ร) ซึง่ มีความ ในสปั ปรุ สิ ธรรม ๗)หมายที่จะตองไขความ, พุทธพจนท่ี อัตถปุ ปตติ เหตุทใ่ี หม ีเร่ืองข้นึ , เหตใุ หตรัสตามสมมติ อันจะตองเขาใจความ เกดิ เรอื่ งจริงแทท่ีซอนอยูอีกช้ันหนึ่ง เชนที่ตรัส อัธยาจาร ดู อชั ฌาจารเร่ืองบุคคล ตัวตน เรา-เขา วา บุคคล ๔ อธั ยาศัย นสิ ยั ใจคอ, ความนยิ มในใจประเภท, ตนเปน ท่ีพง่ึ ของตน เปน ตน อันตะ ไสใหญ๒. นีตัตถะ (พระสตู ร) ซ่ึงมีความหมาย อนั ตคาหกิ ทฏิ ฐิ ความเหน็ ทย่ี ดึ เอาทส่ี ดุท่ีแสดงชัดโดยตรงแลว, พุทธพจนที่ คอื แลน ไปถงึ ทสี่ ดุ ในเรอ่ื งหนงึ่ ๆ มี ๑๐ตรัสโดยปรมัตถ ซ่ึงมีความหมายตรง อยา ง คอื ๑. โลกเทยี่ ง ๒. โลกไมเ ทยี่ งไปตรงมาตามสภาวะ เชน ท่ตี รัสวา รปู ๓. โลกมที ส่ี ดุ ๔. โลกไมม ที ส่ี ดุ ๕. ชพีเสียง กล่ิน รส เปนตน ; อรรถ ก็เขยี น อนั นนั้ สรรี ะกอ็ นั นน้ั ๖. ชพี กอ็ ยา ง สรรี ะ

อนั ตคุณ ๕๒๘ อันเตวาสกิกอ็ ยา ง ๗. สตั วต ายแลว ยงั มอี ยู ๘. สตั ว ตราย นา้ํ หลากมา (หรือฝนตกเมอื่ สวดตายแลว ยอ มไมม ี ๙. สตั วต ายแลว ทงั้ มี กลางแจง ; เพอื่ หนนี าํ้ ) ๕. มนสุ สนั ตราย อยู ทง้ั ไมม ี ๑๐. สตั วต ายแลว จะมอี ยู ก็ คนมามาก (เพื่อรูเหตุหรือปฏิสันถาร) ๖. อมนสุ สันตราย ผีเขาภิกษุ (เพื่อขบั ไมใ ช ไมม อี ยู กไ็ มใ ช ผี) ๗. วาฬนั ตราย สัตวรายเชน เสือมาอนั ตคณุ ไสน อ ย, ไสท บ ในวัด (เพ่ือไลส ัตว) ๘. สิริงสปนตรายอนั ตรกปั ดู กปั งูเลอื้ ยเขามา (เพ่ือไลงู) ๙. ชวี ิตันตรายอนั ตรธานหายไป, เสอื่ มสน้ิ ไป, สญู หายไปอนั ตรวาสก ผา นงุ , สบง, เปน ผนื หนงึ่ ใน มีเรือ่ งเปนตาย เชนภกิ ษอุ าพาธโรคราย ไตรจวี ร (เพื่อชว ยแกไข) ๑๐. พรหมจรยิ นั ตรายอนั ตราบตั ิ อาบตั สิ งั ฆาทเิ สส ทต่ี อ งใหม มีอนั ตรายแกพ รหมจรรย เชน มีคนมา อกี ในระหวา งประพฤตวิ ฏุ ฐานวธิ ี คอื ตง้ั จบั ภกิ ษุ (เลิกเพราะอลหมา น); ดู ปาฏ-ิ โมกขย อ ,อเุ ทศ แตเ รม่ิ อยปู รวิ าสไปจนถงึ กอ นอพั ภานอันตราปรินิพพายี พระอนาคามีผูจะ อน่ึง ภกิ ษตุ อ งอาบัตสิ ังฆาทเิ สสถาปรนิ พิ พาน ในระหวา งอายยุ งั ไมท นั ถงึ กง่ึ มีอันตรายเหลาน้ีอยางใดอยางหน่ึงแม(ขอ ๑ ในอนาคามี ๕) ไมไดบอกอาบัติของตนพนคืนไปยังไมอันตรายของภิกษุสามเณรผูบวชใหม ถอื วา ปด อาบตั ิเหตุท่ีจะทําใหผูบวชในธรรมวินัยน้ี อันตรายิกธรรม ธรรมอันกระทําประพฤตพิ รหมจรรยอ ยไู ดไ มย งั่ ยนื มี ๔ อนั ตราย คือ เหตุขดั ขวางตา งๆ เชนอยา ง คอื ๑. อดทนตอ คาํ สง่ั สอนไมไ ด เหตขุ ดั ขวางการอปุ สมบท ๑๓ อยา ง มี๒. เหน็ แกป ากแกท อ ง ๓. ฝน ใฝท ะยาน การเปนโรคเรอื้ น เปนตนอยากไดก ามคณุ ๔. รกั ผหู ญงิ อันตมิ วัตถุ “วัตถุมใี นทส่ี ุด” หมายถงึอนั ตราย ๑๐ เหตฉุ กุ เฉนิ หรอื เหตขุ ดั ขอ ง อาบัติปาราชกิ ซึง่ ทาํ ใหภ ิกษแุ ละภิกษณุ ีที่ทรงอนุญาตใหเลิกสวดปาฏิโมกขได ผตู อ ง มโี ทษถงึ ทส่ี ุด คือขาดจากภาวะโดยใหส วดปาฏโิ มกขย อ แทน มี ๑๐ อยา ง ของตน (และจะบวชใหมกลับคืนสูภาวะคอื ๑. ราชนั ตราย พระราชาเสดจ็ มา (เลกิ น้ันกไ็ มไดดว ย)สวดเพื่อรบั เสดจ็ ) ๒. โจรันตราย โจรมา อันเตวาสกิ ผอู ยใู นสํานกั , ภกิ ษผุ ขู ออยูปลน (เพอ่ื หนภี ยั ) ๓. อคั ยนั ตราย ไฟ รวมสาํ นกั , ศิษย (ภกิ ษุผรู ับใหอ ยูรว มไหม (เพอื่ ดบั หรอื ปอ งกนั ไฟ) ๔. อทุ กนั - สาํ นกั เรยี กอาจารย); อนั เตวาสิกมี ๔

อันธกวินทะ ๕๒๙ อปั ปมาทะประเภทคือ ๑. ปพพชนั เตวาสกิ อนั เต- หมายถงึ เมตตา กรณุ า มทุ ติ า อเุ บกขาวาสกิ ในบรรพชา ๒. อปุ สมั ปทนั เตวาสกิ ท่ีแผไปในมนุษยและสัตวทั้งหลายอยางอันเตวาสกิ ในอปุ สมบท ๓. นิสสยันเต- กวา งขวางสมาํ่ เสมอกนั ไมจ าํ กดั ขอบเขตวาสกิ อนั เตวาสกิ ผถู อื นสิ ยั ๔. ธมั มนั เต- มี ๔ คอื เมตตา กรณุ า มทุ ติ า อเุ บกขาวาสิก อันเตวาสกิ ผเู รียนธรรม ทกี่ ลาวแลว นั้น; ดู พรหมวิหารอันธกวินทะ ชื่อหมูบานแหงหนึ่งใน อัปปมัตตกวิสัชชกะ ภิกษุผูไดรับแควนมคธ อยูหางจากกรุงราชคฤห สมมติ คือแตงตง้ั จากสงฆ ใหมหี นาท่ีประมาณ ๑ คาวุต คัมภีรฉบับสิงหลวา เปน ผูจ ายของเลก็ นอ ย เชน เข็มเยบ็ ผา๓ คาวตุ ) มดี ตัดเล็บ ประคด เภสชั ทงั้ หา เปน ตนอนั ธกฏั ฐกถา ดู โปราณฏั ฐกถา, อรรถ- ใหแกภิกษุทั้งหลาย, เปนตําแหนงหน่ึงกถา ในบรรดา เจา อธิการแหง คลังอัปปฏิฆรูป ดูที่ อนิทัสสนอัปปฏิฆรูป, อัปปมาณะ “ไมม ปี ระมาณ”, สภาวะที่รูป ๒๘ ประมาณมิได หมายถึงธรรมท่ีเปนอปั ปณิหิตวโิ มกข ความหลดุ พนดว ยไม โลกุตตระ; ดู ปรติ ต 2.ทําความปรารถนา คือ พิจารณาเห็น อัปปมาทะ ความไมประมาท, ความเปนนามรูปเปนทุกข แลวถอนความ อยูอยางไมขาดสติ, ความไมเผลอ, ปรารถนาเสยี ได (ขอ ๓ ในวิโมกข ๓) ความไมเลินเลอเผลอสติ, ความไมอัปปณิหติ สมาธิ การเจริญสมาธิท่ที าํ ให ปลอยปละละเลย, ความระมดั ระวงั ทีจ่ ะถึงความหลุดพนดวยกําหนดทุกข- ไมทําเหตุแหงความผิดพลาดเสียหายลกั ษณะ (ขอ ๓ ในสมาธิ ๓) และไมละเลยโอกาสท่ีจะทําเหตุแหงอปั ปนาปรวิ าส ดู ปรวิ าส 2. ความดีงามและความเจริญ, ความมีสติอปั ปนาภาวนา ภาวนาขั้นแนวแน คือ รอบคอบฝกสมาธิถึงข้ันเปนอัปปนา เปนข้ัน ความไมประมาท พงึ กระทําในท่ี ๔ บรรลปุ ฐมฌาน (ขอ ๓ ในภาวนา ๓) สถาน คือ ๑. ในการละกายทุจริตอปั ปนาสมาธิ สมาธิแนว แน, จติ ตต งั้ มัน่ ประพฤติกายสุจริต ๒. ในการละวจี-สนิท เปน สมาธิในฌาน (ขอ ๒ ในสมาธิ ทุจริต ประพฤติวจีสจุ ริต ๓. ในการละ๒, ขอ ๓ ในสมาธิ ๓) มโนทจุ รติ ประพฤตมิ โนสจุ รติ ๔. ในอัปปมญั ญา ธรรมท่ีแผไปไมม ีประมาณ การละความเหน็ ผดิ ประกอบความเหน็


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook