Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:56:40

Description: dictionary_of_buddhism_vocabulary_version พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Search

Read the Text Version

ปญ ญาสมั ปทา ๒๓๐ ปตตานโุ มทนามยัคาํ คอื สัตมวาร (หรอื สัตตมวาร, วันที่ ปณณเภสัช พืชมีใบเปนยา, ยาทาํ จากใบ๗ หรอื วันที่ครบ ๗) และ ศตมวาร พืช เชน ใบสะเดา ใบมูกมัน ใบ(วันท่ี ๑๐๐ หรือวันทคี่ รบ ๑๐๐), อน่ึง กระดอม ใบกะเพรา เปน ตนคําวา “ปญ ญาสมวาร” นี้ ไมพ ึงสับสน ปณณตั ติวัชชะ อาบัติที่เปนโทษทางพระกบั คาํ วา “ปณรสมวาร” ท่ีแปลวา วาระ บญั ญตั ิ คอื คนสามญั ทาํ เขา ไมเ ปน ความที่ ๑๕ คร้ังท่ี ๑๕ หรอื วันที่ ๑๕ ผดิ ความเสยี หาย เปน ความผดิ เฉพาะแกปญญาสัมปทา ความถึงพรอมดวย ภกิ ษุ โดยฐานละเมดิ พระบญั ญัติ เชนปญญา คือ รจู ักบาป บญุ คณุ โทษ ฉันอาหารในเวลาวิกาล ขดุ ดิน ใชจ วี รที่ประโยชน มใิ ชประโยชน และเขา ใจชีวิต ไมไดพินทุ น่ังนอนบนเตียงต่ังท่ีไมไดนี้ตามความเปนจริง ท่ีจะไมใหลุมหลง ตรงึ เทา ใหแนน เปนตน ; เทียบ โลกวัชชะมวั เมา (ขอ ๔ ในธรรมท่เี ปน ไปเพ่อื ปตตคาหาปกะ ภิกษุผูไดรับสมมติคือสัมปรายกิ ตั ถะ ๔) แตงตั้งจากสงฆใหมีหนาท่ีเปนผูแจกปญญาสิกขา สิกขา คือ ปญญา, ขอ บาตรปฏิบัติสําหรับฝกอบรมปญญา เพื่อให ปตตนิกกุชชนา การควาํ่ บาตร; ดู คว่าํเกดิ ความรเู ขาใจเหตผุ ล รอบรูส่งิ ทีเ่ ปน บาตร, ปกาสนียกรรมประโยชน และไมเ ปนประโยชน ตลอด ปตตปณฑิกังคะ องคแหงผูถือฉันจนรแู จง สภาวะของสงิ่ ทง้ั หลายตามความ เฉพาะในบาตรเปนวตั ร คือ ถอื การฉันเปน จรงิ ทถ่ี กู ตอ งเขยี น อธปิ ญ ญาสกิ ขา เฉพาะในบาตร ไมใ ชภ าชนะอ่ืน (ขอ ๖ปญหา คําถาม, ขอ สงสยั , ขอ ตดิ ขดั อดั ในธุดงค ๑๓) ปตตวรรค หมวดอาบัติกําหนดดวยอั้น, ขอ ท่ีตอ งคิดตอ งแกไขปณฑกะ บณั เฑาะก, กะเทย บาตร, ช่ือวรรคท่ี ๓ แหงนสิ สคั คิย-ปณ ฑกุ ะ ชอ่ื ภกิ ษรุ ปู หนงึ่ อยใู นพวกภกิ ษุ ปาจิตตียเหลวไหลท้ัง ๖ ท่ีเรียกวาฉัพพัคคีย ปตตอุกกุชชนา การหงายบาตร; ดู หงาย(พระพวก ๖ ทีช่ อบกอเร่อื งเสียหาย ทาํ บาตร, ปกาสนยี กรรมใหพระพุทธเจาตองทรงบัญญตั สิ กิ ขาบท ปตตานุโมทนามัย บุญสําเร็จดวยการหลายขอ ) อนโุ มทนาสว นบญุ , ทําบุญดว ยการยนิปณฑปุ ลาส ใบไมเ หลอื ง (ใบไมแ ก); คน ดใี นการทําดีของผูอ่ืน (ขอ ๗ ในบุญ-เตรยี มบวช, คนจะขอบวช กริ ิยาวัตถุ ๑๐)

ปต ตทิ านมยั ๒๓๑ ปาฏเิ ทสนยี ะปตติทานมัย บญุ สาํ เรจ็ ดวยการใหส ว น ปสสาวะ เบา, เย่ยี ว, มตู ร บุญ, ทําบุญดวยการเฉล่ียสวนแหง ปส สาสะ ลมหายใจออก ความดใี หแกผูอื่น (ขอ ๖ ในบุญกิรยิ า- ปาง ครั้ง, คราว, เมือ่ ; เรยี กพระพทุ ธรูปวตั ถุ ๑๐) ที่สรางอุทิศเหตุการณในพุทธประวัติปปผาสะ ปอด เฉพาะคร้ังน้ันๆ โดยมรี ูปลักษณเ ปนปพพชาจารย อาจารยผูใหบรรพชา; พระอิริยาบถหรือทา ท่ีส่ือความหมายเขียนเต็มรูปเปน ปพพัชชาจารย จะ ถึงเหตุการณเฉพาะครงั้ นน้ั ๆ วาเปนปางเขียน บรรพชาจารย กไ็ ด ชื่อนนั้ ๆ เชน พระพุทธรปู ปางหา มญาติปพ พชาเปกขะ กลุ บตุ รผเู พง บรรพชา, ผู พระพุทธรปู ปางไสยาสนตง้ั ใจจะบวชเปน สามเณร, ผขู อบวชเปน ปาจิตติยุทเทส หมวดแหงปาจิตติย-สามเณร; เขยี นเตม็ รปู เปน ปพ พชั ชา- สกิ ขาบท ทย่ี กข้นึ แสดง คอื ทสี่ วดในเปกขะ ปาฏิโมกขปพพัชชา การถือบวช, บรรพชาเปน ปาจติ ตีย “การละเมิดอันยงั กุศลใหต ก”,อุบายฝก อบรมตนในทางสงบ เวน จาก ชื่ออาบัติจําพวกหน่ึง จัดไวในจําพวกความชั่วมีการเบียดเบียนกันและกัน อาบัติเบา (ลหุกาบตั )ิ พน ไดด ว ยการ เปนตน (ขอ ๒ ในสปั ปุริสบญั ญตั ิ ๓) แสดง; เปน ชอ่ื สกิ ขาบท ไดแ กน สิ สคั คยิ -ปพพาชนียกรรม กรรมอันสงฆพึงทํา ปาจิตตีย ๓๐ และสุทธิกปาจิตตีย ซึง่แกภิกษุอันพึงจะไลเสีย, การขับออก เรียกกนั สัน้ ๆ วา ปาจติ ตีย อีก ๙๒จากหมู, การไลอ อกจากวัด, กรรมนี้ ภกิ ษุลวงละเมดิ สิกขาบท ๑๒๒ ขอ เหลาสงฆทําแกภิกษุผูประทุษรายสกุลและ นย้ี อ มตอ งอาบตั ปิ าจติ ตยี  เชน ภกิ ษพุ ดูประพฤติเลวทรามเปนขาวเซ็งแซหรือ ปด ฆา สตั วด ริ จั ฉาน วา ยนาํ้ เลน เปนตนแกภ ิกษผุ ูเ ลนคะนอง ๑ อนาจาร ๑ ลบ ตองอาบตั ปิ าจติ ตยี ; ดู อาบัติลางพระบญั ญตั ิ ๑ มิจฉาชีพ ๑ (ขอ ๑ ปาจีน ทางทิศตะวันออก, ชาวตะวัน ออก; ดู ชาวปาจีนในนคิ หกรรม ๖)ปสสทั ธิ ความสงบกายสงบใจ, ความ ปาจนี ทศิ ทศิ ตะวันออกสงบใจและอารมณ, ความสงบเย็น, ปาฏลีบุตร เมืองหลวงของแควนมคธความผอนคลายกายใจ (ขอ ๕ ใน สมัยพระเจา อโศกมหาราชโพชฌงค ๗) ปาฏิเทสนยี ะ “จะพึงแสดงคนื ”, อาบตั ิท่ี

ปาฏิบท ๒๓๒ ปาฏโิ มกขยอจะพึงแสดงคืน เปนช่ือลหุกาบัติ คือ พุทธพจน ๓ คาถากง่ึ ดังท่ไี ดตรัสในท่ีอาบัติเบาอยางหน่ึงถัดรองมาจาก ประชมุ พระอรหันต ๑,๒๕๐ องค ในวนัปาจิตตยี  และเปน ช่ือสกิ ขาบท ๔ ขอซึ่ง มาฆปณุ มี หลงั ตรสั รูแลว ๙ เดอื น,แปลไดว า พงึ ปรบั ดว ยอาบตั ปิ าฏเิ ทสนยี ะ อรรถกถากลาววา พระพุทธเจาทรงเชน ภิกษรุ ับของเค้ียวของฉัน จากมือ แสดงโอวาทปาฏิโมกขในที่ประชุมพระของภิกษุณีท่ีมิใชญาติ ดว ยมือของตน สงฆเปนประจาํ ตลอด ๒๐ พรรษาแรกมาบรโิ ภค ตอ งอาบตั ิปาฏเิ ทสนยี ะ; ดู ตอ จากนนั้ จงึ ไดร บั สัง่ ใหพ ระสงฆส วดอาบตั ิ อาณาปาฏิโมกขกันเองสืบตอมา;ปาฏบิ ท วนั ขน้ึ คาํ่ หนง่ึ หรอื วนั แรมคาํ่ หนง่ึ (พจนานกุ รมเขยี น ปาตโิ มกข) ; ดู โอวาท-แตม กั หมายถงึ อยา งหลงั คอื แรมคา่ํ หนง่ึ ปาฏิโมกขปาฏิบุคลิก ดู ปาฏิปคุ คลกิ ปาฏิโมกขยอ มีพุทธานุญาตใหสวดปาฏิปทกิ ะ อาหารถวายในวนั ปาฏบิ ท ปาฏิโมกขยอได ในเม่ือมีเหตุจําเปนปาฏปิ ุคคลกิ เฉพาะบคุ คล, ไมท่วั ไป, อยา งใดอยางหนง่ึ ในเหตุ ๒ อยา ง คือถวายเปนสวนปาฏิปุคคลิก ถือถวาย ๑. ไมม ภี กิ ษจุ าํ ปาฏโิ มกขไ ดจ นจบ (พงึเจาะจงบคุ คลไมใ ชถ วายแกสงฆ สวดเทา อเุ ทศทจ่ี าํ ได) ๒. เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิปาฏิโมกข ช่ือคัมภีรที่ประมวลพุทธ- ขัดของท่ีเรียกวาอันตรายอยางใดอยางบญั ญตั อิ นั ทรงตง้ั ขน้ึ เปน พทุ ธอาณา ไดแ ก หนง่ึ ในอนั ตรายทงั้ ๑๐ (กาํ ลังสวดอเุ ทศอาทพิ รหมจรยิ กาสกิ ขา มพี ระพทุ ธานญุ าต ใดคา งอยู เลกิ อเุ ทศนน้ั กลางคนั ได และใหส วดในทปี่ ระชมุ สงฆท กุ กงึ่ เดอื น เรยี ก พงึ ยอ ต้ังแตอุเทศนน้ั ไปดว ยสุตบท คือ คําวา สุต ทีป่ ระกอบรูปเปน สุตา ตามกนั วา พระสงฆท าํ อโุ บสถ, คมั ภรี ท ร่ี วม ไวยากรณ ท้ังน้ียกเวนนิทานุทเทสซึ่งวนิ ยั ของสงฆ สําหรับภกิ ษุ เรียก ภิกขุ- ตอ งสวดใหจ บ)ปาฏโิ มกข มสี กิ ขาบท ๒๒๗ ขอ และสาํ หรบั ภกิ ษณุ ี เรยี ก ภกิ ขนุ ปี าฏโิ มกข สมมติวาสวดปาราชิกุทเทสจบแลวมสี กิ ขาบท ๓๑๑ ขอ ; ปาฏโิ มกข ๒ คอื ถา สวดยอ ตามแบบทที่ า นวางไวจ ะไดด งั น:้ี๑.อาณาปาฏโิ มกข ปาฏิโมกขที่เปนพระ “สตุ า โข อายสมฺ นเฺ ตหิ เตรส สงฆฺ าทเิ สสา ธมมฺ า, สตุ า โข อายสมฺ นเฺตหิ เทวฺ อนยิ ตาพุทธอาณา ไดแ ก ภิกขปุ าฏิโมกข และ ธมฺมา, ฯเปฯ ลงทายวา เอตฺตกํ ตสสฺภิกขุนีปาฏิโมกข ๒.โอวาทปาฏโิ มกข ภควโตฯเปฯสกิ ขฺ ติ พพฺ ”ํปาฏิโมกขที่เปนพระพุทธโอวาท ไดแ ก

ปาฏิโมกขสังวร ๒๓๓ ปาฏิหารยิ ปกษ แบบทว่ี างไวเ ดมิ น้ี สมเดจ็ พระมหา- นํามารักษาซํ้าทุกปๆ”, เปนชื่อวิธีรักษา อุโบสถแบบหนึ่งสําหรับคฤหัสถ เรียก สมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ไม ตามกําหนดระยะเวลาท่ีต้ังไวสําหรับ รกั ษาประจาํ ป แตร ะยะเวลาทก่ี าํ หนดนน้ั ทรงเหน็ ดว ยในบางประการ และทรงมพี ระ อรรถกถาท้ังหลายมีมติแตกตางกันไป หลายแบบหลายอยา ง จนบางแหง บอกวา มตวิ า ควรสวดยอ ดงั นี้ (สวดปาราชกิ ทุ เทส พึงเลือกตามมติที่พอใจ เพราะความ จบแลว สวดคาํ ทา ยทเี ดยี ว): “อทุ ทฺ ฏิ  ํ โข สาํ คญั อยทู กี่ ารตงั้ ใจรกั ษาดว ยจติ ปสาทะ อายสมฺ นโฺ ต นทิ าน,ํ อทุ ทฺ ฏิ า จตฺตาโร ใหเ ตม็ อม่ิ สมบรู ณ (เชน มตหิ นงึ่ วา คอื ปาราชกิ า ธมมฺ า, สตุ าเตรสสงฆฺ าทเิ สสา อโุ บสถท่ีรักษาประจาํ ตอ เนอื่ งตลอดไตร- ธมฺมา, ฯเปฯ สุตา สตฺตาธิกรณสมถา มาสแหงพรรษา ถาไมส ามารถ ก็รกั ษา ธมฺมา, เอตฺตกํ ฯเปฯ สิกฺขิตพฺพํ”; ดู ตลอดเดือนหน่ึงระหวางวันปวารณาทั้ง อันตราย ๑๐ สอง คอื ตง้ั แตแ รม ๑ คา่ํ เดอื น ๑๑ ถงึปาฏโิ มกขสงั วร สาํ รวมในพระปาฏโิ มกข ขน้ึ ๑๕ คาํ่ เดอื น ๑๒ ถา ไมส ามารถ ก็ เวนขอท่ีพระพุทธเจาหาม ทําตามขอที่ รักษาครึ่งเดือนถัดจากวันปวารณาแรก คอื ตง้ั แตแ รม ๑ คาํ่ เดอื น ๑๑ เปน ตน ไป พระองคอ นญุ าต ประพฤตเิ ครง ครดั ใน ตลอดกาฬปก ษ คอื ตลอดขางแรม, แต มติหน่งึ วา รกั ษา ๕ เดือน คอื ตงั้ แตกอ น สกิ ขาบททงั้ หลาย (ขอ ๑ ในปารสิ ทุ ธศิ ลี ๔, พรรษา ๑ เดอื น ตลอดพรรษา ๓ เดอื น กบั หลงั พรรษาอกี ๑ เดอื น, อกี มตหิ นงึ่ ขอ ๑ ในสงั วร ๖, ขอ ๑ ในองคแหง วา รกั ษา ๓ เดอื น คอื เดอื น ๘ เดอื น ๑๒ และเดอื น ๔, อกี มตหิ นง่ึ วา คอื ๔ วนั ภกิ ษุใหม ๕), ที่เปน ขอ ๑ ในปาริสทุ ธิศีล กอนและหลังวันอุโบสถปกติ ไดแกวนั ๔ นนั้ เรยี กเตม็ วา ปาฏโิ มกขสงั วรศลี ๑๓ ๑ ๗ และ ๙ คา่ํ มตทิ า ยนก้ี ลายเปน (ปาตโิ มกขสงั วรศลี ก็เขียน) แปลวา ศีล มวี นั รบั -วนั สง ซง่ึ จะสบั สนกบั ปฏชิ าคร- อโุ บสถ), ปาฏหิ ารยิ ปก ษน บ้ี างทกี เ็ รยี กวา คือความสาํ รวมในพระปาฏิโมกข ปาฏิหาริยอุโบสถ ซึ่งเปนอยางหน่ึงในปาฏิหาริย ส่งิ ท่นี าอัศจรรย, เร่อื งทน่ี า อุโบสถ ๓ ประเภท ของคฤหัสถ; ดู อศั จรรย, การกระทาํ ที่ใหบ ังเกิดผลเปน อัศจรรย มี ๓ คอื ๑. อทิ ธิปาฏหิ ารยิ  แสดงฤทธไิ์ ดเ ปน อศั จรรย ๒. อาเทศนา- ปาฏหิ ารยิ  ทายใจไดเปน อศั จรรย ๓. อนุสาสนีปาฏิหาริย คําสอนมีผลจริง เปน อัศจรรย ใน ๓ อยางนข้ี อ สุดทา ยดี เย่ยี มเปนประเสริฐปาฏิหาริยปก ษ “ปก ษท พี่ งึ หวนกลบั ไป

ปาฏิหารยิ อโุ บสถ ๒๓๔ ปานะ อโุ บสถ 2.๓. คือ ๑. อมฺพปานํ นํา้ มะมว ง ๒. ชมฺพ-ุปาฏิหาริยอโุ บสถ ดู อโุ บสถ 2.๓. ปานํ น้าํ ชมพูหรือนํา้ หวา ๓. โจจปานํปาฐา ช่ือเมืองหน่งึ ในมัธยมประเทศคร้งั นํ้ากลวยมีเม็ด ๔. โมจปานํ นํา้ กลวยไม มเี มด็ ๕. มธกุ ปานํ นา้ํ มะซาง ๖. มทุ ทฺ กิ - พุทธกาล ภิกษุชาวเมืองน้ีคณะหน่ึง ปานํ นา้ํ ลกู จนั ทนห รอื องนุ ๗. สาลกุ ปานํ นา้ํ เหงา อบุ ล ๘. ผารสุ กปานํ นาํ้ มะปราง เปนเหตุปรารภใหพระพุทธเจาทรง หรือลิ้นจ่,ี …เราอนญุ าตนํ้าผลไม (ผลรส) ทกุ ชนดิ เวน นาํ้ ผลธญั ชาต,ิ …เราอนญุ าต อนุญาตการกรานกฐิน; พระไตรปฎก นาํ้ ใบไม (ปต ตรส) ทกุ ชนดิ เวน น้ําผัก บางฉบบั เขียนเปน ปาวา ตม , …เราอนุญาตนํ้าดอกไม (บปุ ผรส)ปาณาติบาต ทําชีวิตสัตวใหตกลวงไป, ทุกชนิด เวนนํ้าดอกมะซาง, …เรา อนุญาตนาํ้ ออยสด (อจุ ฉรุ ส)” ฆา สตั วปาณาตปิ าตา เวรมณี เวนจากการทาํ พงึ ทราบคาํ อธบิ ายเพม่ิ เติมวา นาํ้ ผล ชวี ติ สตั วใ หตกลวง, เวนจากการฆา สตั ว ธญั ชาตทิ ต่ี อ งหา ม ไดแ กน า้ํ จากผลของ ธญั ชาติ ๗ เชน เมลด็ ขา ว (นา้ํ ซาวขา ว, (ขอ ๑ ในศีล ๕ ฯลฯ) นา้ํ ขา ว) นอกจากนนั้ ผลไมใ หญ (มหาผล)ปาตลีบุตร ชื่อเมืองหลวงของพระเจา ๙ ชนดิ (จาํ พวกผลไมท ที่ าํ กบั ขา ว) ไดแ ก อโศกมหาราช; เขียน ปาฏลีบตุ ร กม็ ีปาตาละ นรก, บาดาล (เปนคําทพี่ วก ลกู ตาล มะพรา ว ขนนุ สาเก (“ลพชุ ” พราหมณใ ชเ รียกนรก) แปลกนั วา สาเก บา ง ขนนุ สาํ มะลอ บา ง)ปาติโมกข ดู ปาฏโิ มกขปาทุกา รองเทาประเภทหน่งึ แปลกนั มา นา้ํ เตา ฟก เขยี ว แตงไทย แตงโม ฟก ทอง และพวกอปรณั ณะ เชน ถวั่ เขยี ว ทา นจดั วา “เขียงเทา” เปน รองเทา ท่ตี อ งหามทาง อนุโลมเขากับธัญผล เปน ของตอ งหา ม พระวนิ ยั อันภกิ ษไุ มพึงใช; ดู รองเทาปานะ เครือ่ งด่ืม, นํ้าสาํ หรับดมื่ โดย ดว ย; จะเห็นวา มะซางเปน พืชทม่ี ีขอ เฉพาะที่คั้นจากลูกไม (รวมทง้ั เหงาพืช จํากัดมากสกั หนอ ย นํ้าดอกมะซางนั้น บางชนิด), นํา้ คั้นผลไม (จดั เปน ยาม ตองหามเลยทีเดียว สวนนาํ้ ผลมะซาง กาลิก); มพี ุทธานุญาตปานะ ๘ อยา ง จะฉนั ลว นๆไมไ ด ตอ งผสมนา้ํ จงึ จะควร (นยิ มเรยี กเลยี นเสยี งคาํ บาลวี า อฏั ฐบาน หรอื นาํ้ อฏั ฐบาน) พรอมทั้งน้ําค้นั พชื ทง้ั นเี้ พราะกลายเปน ของเมาไดง า ย ตา งๆ ดังพทุ ธพจนว า (วนิ ย.๕/๘๖/๑๒๓) วิธที าํ ปานะท่ีทา นแนะไว คือ ถา ผล “ภกิ ษทุ งั้ หลาย เราอนญุ าตปานะ ๘ อยา ง

ปาปโรโค ๒๓๕ ปาราชิกยังดิบ กผ็ าฝานหน่ั ใสในนาํ้ ใหสุกดวย วินัย เคยมีเรื่องท่ีพราหมณผูหนึ่งจัดแดด ถา สกุ แลว ก็ปอกหรอื ควา น เอา ถวายปโยปานะ คอื ปานะนา้ํ นม แกส งฆผาหอ บดิ ใหต ึงอดั เนอ้ื ผลไมใ หคายน้าํ (ในเรอ่ื งไมแ จง วา เปน เวลาใด) และภกิ ษุออกจากผา เติมนาํ้ ลงใหพ อดี (จะไม ท้ังหลายด่ืมน้ํานมมีเสียงดัง “สุรุสุรุ”เติมนาํ้ กไ็ ด เวนแตผลมะซางซ่งึ ทา นระบุ เปนตนบัญญัติแหงเสขิยวัตรสิกขาบทท่ีวาตองเจือนาํ้ จึงควร) แลวผสมนาํ้ ตาล ๕๑ (วนิ ย.๒/๘๕๑/๕๕๓)และเกลอื เปน ตนลงไปพอใหไดรสดี ขอ ปาปโรโค คนเปนโรคเลวรา ย, บางทีแ่ ปลจาํ กดั ที่พึงทราบคือ ๑. ปานะนใ้ี หใชข อง วา “โรคเปน ผลแหง บาป” อรรถกถาวา ไดสด หา มมใิ หต ม ดว ยไฟ ใหเ ปน ของเยน็ แกโรคเรื้อรัง เชน ริดสีดวงกลอนหรือสุกดวยแดด (ขอนี้พระมติสมเด็จ เปน ตน เปนโรคทีห่ ามไมใหรบั บรรพชาพ ร ะ ม ห า ส ม ณ เ จ า กรมพระยา ปาปสมาจาร ความประพฤติเหลวไหลวชริ ญาณวโรรสวา ในบาลไี มไ ดห า มนาํ้ สกุ เลวทราม ชอบสมคบกับคฤหัสถดวยแมส กุ กไ็ มน า รงั เกยี จ) ๒. ตอ งเปนของท่ี การอนั มชิ อบ ทเี่ รยี กวา ประทษุ รา ยสกลุ ;อนุปสัมบันทํา จึงควรฉันในเวลาวกิ าล ดู กลุ ทูสก(ถาภิกษุทํา ถือเปนเหมือนยาวกาลิก ปาพจน “คําเปน ประธาน” หมายถึงพระเพราะรับประเคนมาทั้งผล) ๓. ของ พทุ ธพจน ซงึ่ ไดแกธรรมและวนิ ัยประกอบเชนน้าํ ตาลและเกลอื ไมใ หเอา ปายาส ขา วสกุ หุงดว ยนมโค นางสุชาดาของทีร่ บั ประเคนคางคนื ไวมาใช (แสดง ถวายแกพระมหาบุรุษในเวลาเชาของวันวามุงใหเปนปานะท่ีอนุปสัมบันทําถวาย ท่ีพระองคจะไดตรัสรู, ในคัมภีรทั้งดวยของของเขาเอง) หลาย นยิ มเรียกเต็มวา “มธปุ ายาส”; ดูในมหานิทเทส (ขุ.ม.๒๙/๗๔๒/๔๔๙) สชุ าดา, สกู รมทั ทวะทา นแสดงปานะ๘(อฏั ฐบาน)ไว๒ชดุ ๆ ปาราชิก เปนชื่ออาบัติหนักท่ีภิกษุตองแรกตรงกับที่เปนพุทธานุญาตในพระ เขาแลว ขาดจากความเปนภิกษุ, เปนชอ่ืวนิ ยั สว นชดุ ท่ี ๒ อนั ตา งหาก ไดแ ก นา้ํ บุคคลผูท่ีพายแพ คือ ตองอาบัติผลสะครอ นา้ํ ผลเลบ็ เหยย่ี ว นา้ํ ผลพทุ รา ปาราชิกท่ีทําใหขาดจากความเปนภิกษุ,ปานะทาํ ดว ยเปรยี ง ปานะนาํ้ มนั ปานะ เปนชื่อสิกขาบท ท่ีปรับอาบัติหนักข้ันนาํ้ ยาคู (ยาคปุ านะ) ปานะนา้ํ นม (ปโย- ขาดจากความเปน ภิกษมุ ี ๔ อยา งคือปานะ) ปานะนา้ํ คนั้ (รสปานะ), ในพระ เสพเมถนุ ลกั ของเขา ฆามนษุ ย อวด

ปาริจรยิ านตุ ตริยะ ๒๓๖ ปาริสทุ ธศิ ลีอุตรมิ นสุ ธรรมที่ไมมใี นตน สีมาเดียวกัน เม่ือถึงวันอุโบสถไมปาริจรยิ านุตตริยะ การบาํ เรออนั เย่ยี ม สามารถไปรว มประชมุ ได ภิกษผุ อู าพาธไดแก การบํารุงรับใชพระตถาคตและ ตองมอบปาริสุทธิแกภิกษรุ ูปหนึ่งมาแจงตถาคตสาวกอนั ประเสรฐิ กวา การที่จะ แกส งฆ คอื ใหนําความมาแจง แกสงฆวาบชู าไฟหรอื บาํ รุงบาํ เรออยางอ่นื เพราะ ตนมีความบริสุทธิ์ทางพระวินัยไมมีชวยใหบริสุทธ์ิหลุดพนจากทุกขไดจริง อาบัตติ ิดคาง หรือในวันอโุ บสถ มีภกิ ษุ(ขอ ๕ ในอนุตตริยะ ๖) อยูเพยี งสองหรอื สามรปู (คือเปนเพียงปาริฉัตตก “ตนทองหลาง”, ช่ือตนไม คณะ) ไมครบองคสงฆที่จะสวดประจําสวรรคช้ันดาวดึงส อยูในสวน ปาฏิโมกขได ก็ใหภ กิ ษุสองหรือสามรูปนันทวันของพระอนิ ทร; ปารฉิ ตั ร หรอื นั้นบอกความบริสุทธ์ิแกกันแทนการปารชิ าต กเ็ ขยี น สวดปาฏโิ มกขปาริเลยยกะ ช่ือแดนบานแหงหน่ึงใกล ปารสิ ทุ ธศิ ลี ศลี เปน เครอื่ งทาํ ใหบ รสิ ทุ ธ,์ิเมืองโกสัมพีที่พระพุทธเจาเสด็จเขาไป ศีลเปนเหตุใหบริสุทธิ์ หรือความอาศัยอยูในปารักขิตวันดวยทรงปลีก ประพฤตบิ รสิ ทุ ธทิ์ จี่ ดั เปน ศลี มี ๔ อยา งพระองค จากพระสงฆผูแตกกนั ในกรุง คือ ๑. ปาฏโิ มกขสงั วรศีล ศีลคือความ โกสมั พ;ี ชา งทปี่ ฏบิ ตั พิ ระพทุ ธเจา ทป่ี า นน้ั สํารวมในพระปาฏิโมกข เวนจากขอหาม กช็ อื่ ปารเิ ลยยกะ; เราเรยี กกนั ในภาษา ไทยวา ปาเลไลยก กม็ ี ปา เลไลยก กม็ ี ทาํ ตามขอ อนญุ าต ประพฤตเิ ครง ครดั ใน ควรเขยี น ปารไิ ลยก หรอื ปาเรไลยก สิกขาบทท้ังหลาย ๒. อินทรียสังวรศีลปาริวาสิกขนั ธะ ชอ่ื ขันธกะที่ ๒ แหง ศีลคือความสํารวมอินทรีย ระวังไมให จลุ วรรค ในพระวนิ ัยปฎ ก วาดว ยเรอื่ ง บาปอกุศลธรรมครอบงํา เมื่อรับรู ภกิ ษุอยูปริวาส อารมณดว ยอนิ ทรียทัง้ ๖ ๓. อาชวี -ปาริวาสิกภิกษุ ภิกษุผูอยูปริวาส; ดู ปาริสุทธิศีล ศีลคือความบริสุทธิ์แหง ปรวิ าสปาริวาสิกวัตร ธรรมเนียมที่ควร อาชีวะ เล้ียงชีวิตโดยทางสุจริตชอบ ธรรม เชน ไมหลอกลวงเขาเลีย้ งชพี ๔. ปจจยสันนิสิตศีล ศีลอันเน่ืองดวยประพฤตขิ องภิกษผุ ูอยปู รวิ าส ปจ จัย ๔ ไดแกปจ จัยปจจเวกขณ คือปาริสุทธิ ความบริสุทธ์ขิ องภกิ ษุ; เปน พิจารณาใชสอยปจจัยส่ี ใหเปนไปเพื่อธรรมเนียมวา ถามีภิกษุอาพาธอยูใน ประโยชนตามความหมายของส่งิ น้ัน ไม

ปาริสทุ ธิอโุ บสถ ๒๓๗ ปาหเุ นยฺโยบรโิ ภคดว ยตณั หา ปารสิ ทุ ธิแกก นั ผแู กวา : “ปริสทุ โฺ ธ อหํปารสิ ทุ ธอิ โุ บสถ อโุ บสถทภ่ี กิ ษทุ าํ ปารสิ ทุ ธิ อาวุโส, ปริสทุ โฺ ธติ มํ ธาเรหิ” (๓ หน)คือแจงแตความบริสุทธิ์ของกันและกัน ผอู อ นกวา วา : “ปรสิ ทุ โฺ ธ อหํ ภนเฺ ต, ปร-ิไมตองสวดปาฏิโมกข ปารสิ ทุ ธอิ โุ บสถน้ี สทุ ฺโธติ มํ ธาเรถ” (๓ หน); ดู อุโบสถกระทาํ เมอ่ื มภี กิ ษอุ ยใู นวดั เพยี งเปน คณะ ปารหิ ารยิ กมั มฏั ฐาน กรรมฐานทจี่ ะตอ งคอื ๒–๓ รปู ไมค รบองคส งฆ ๔ รปู บรหิ าร; ดู กมั มฏั ฐาน ๒; เทยี บ สพั พตั ถก-ถา มีภกิ ษุ ๓ รูปพึงประชมุ กันใน กัมมัฏฐานโรงอุโบสถแลว รูปหนึ่งต้ังญัตติดังน้ี: ปาวา นครหลวงของแควนมัลละ คูก ับ“สณุ นฺตุ เม ภนเฺ ต อายสมฺ นฺตา, อชฺชุ- กุสินารา คือนครหลวงเดิมของแควนโปสโถ ปณฺณรโส ยทายสฺมนฺตานํ มัลละชื่อกุสาวดี แตภายหลังแยกเปนปตฺตกลฺลํ, มยํ อฺมฺ  ปาริสุทฺธิ- กุสนิ ารา กบั ปาวาอุโปสถํ กเรยยฺ าม” แปลวา: “ทานทงั้ ปาวาริกัมพวัน ดู นาลันทาหลาย อโุ บสถวนั นท้ี ่ี ๑๕ ถา ความพรอ ม ปาวาลเจดีย ชื่อเจดียสถานอยูที่เมืองพร่งั ของทานถงึ ที่แลว เราทง้ั หลายพึงทาํ เวสาลี พระพทุ ธเจาทรงทํานิมิตตโอภาสปาริสุทธิอุโบสถดวยกัน” (ถารูปที่ต้ัง คร้ังสุดทายและทรงปลงพระชนมายุญตั ตแิ กก วา เพอื่ นวา อาวโุ ส แทน ภนเฺต, สงั ขาร ณ เจดียน ้ีกอ นปรินพิ พาน ๓ถาเปน วัน ๑๔ คาํ่ วา จาตทุ ฺทโส แทน เดือนปณฺณรโส) ภกิ ษผุ เู ถระพงึ หม ผา เฉวยี ง ปาสราสสิ ตู ร ช่อื สูตรท่ี ๒๖ ในคัมภีรบาน่ังกระหยงประนมมือบอกปาริสุทธิ มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก พระวา : “ปรสิ ทุ ฺโธ อหํ อาวุโส, ปรสิ ทุ ฺโธติ สตุ ตันตปฎก; เรยี กอีกช่อื หน่ึงวา อริย-มํ ธาเรถ” (๓ หน) แปลวา: “ฉนั บริสทุ ธิ์ ปรเิยสนาสตู ร เพราะวา ดว ย อรยิ ปรเิ ยสนาแลวเธอ ขอเธอท้ังหลายจงจําฉันวาผู ปาสาณเจดยี  เจดยี สถานแหง หน่ึงอยูใ นบริสทุ ธแิ์ ลว” อีก ๒ รปู พึงทาํ อยางเดยี ว แควน มคธ มาณพ ๑๖ คนซง่ึ เปนศิษยกันนน้ั ตามลําดบั พรรษา คาํ บอกเปลย่ี น ของพราหมณพาวรี ไดเฝาพระศาสดาเฉพาะ อาวโุ ส เปน ภนฺเต แปลวา “ผม และทลู ถามปญ หา ณ ทีน่ ี้บรสิ ทุ ธิ์แลวขอรับ ขอทา นทั้งหลายจงจาํ ปาสาทกิ สตู ร ชอ่ื สตู รท่ี ๖ ในคมั ภรี ท ฆี -ผมวาผบู ริสทุ ธ์ิแลว ” นิกาย ปาฏิกวรรค พระสตุ ตันตปฎกถา มี ๒ รูป ไมตอ งต้ังญัตติพึงบอก ปาหุเนยฺโย (พระสงฆ) เปนผูควรแกของ

ปงคิยมาณพ ๒๓๘ ปปาสวินโยตอนรบั คอื มคี ณุ ความดีนารกั นาเคารพ โคตร ในพระนครราชคฤห เรียนจบนับถือ ควรแกการขวนขวายจัดถวาย ไตรเพท ออกบวชในพระพุทธศาสนาของตอ นรับ เปนแขกทีน่ า ตอนรบั หรอื ไดสาํ เร็จพระอรหตั เปน ผบู รบิ ูรณด วยเปนผูที่เขาภูมิใจอยากใหไปเปนแขกท่ี สติ สมาธิ ปญ ญา มกั เปลง วาจาวา “ผใู ด เขาจะไดตอ นรับ (ขอ ๖ ในสงั ฆคุณ ๙) มีความเคลือบแคลงสงสัยในมรรคก็ดีปงคิยมาณพ ศิษยคนหนึ่งในจํานวน ผลก็ดี ขอผูนั้นจงมาถามขาพเจาเถิด”๑๖ คนของพราหมณพ าวรี ทีไ่ ปทลู ถาม พระศาสดาทรงยกยองวาเปนเอตทัคคะ ปญ หากะพระศาสดา ท่ปี าสาณเจดีย ในทางบันลือสีหนาท, ทานเปนตนปฎก ตามศัพทแปลวา “กระจาด” หรอื บัญญัติแหงสิกขาบท ซ่งึ หามภกิ ษุ มิให“ตะกราอันเปนภาชนะสําหรับใสของ แสดงอิทธิปาฏิหาริย อันเปนอุตตริ-ตางๆ” เอามาใชในความหมายเปนท่ี มนสุ สธรรม แกค ฤหสั ถท งั้ หลาย และรวบรวมคําสอนในพระพุทธศาสนาที่จัด สกิ ขาบท ซ่ึงหามภิกษุ มใิ หใ ชบ าตรไมเปน หมวดหมแู ลว มี ๓ คอื ๑. วนิ ยั ปฎ ก (ทง้ั สองสกิ ขาบทน้ี ทรงบญั ญตั ใิ นโอกาสรวบรวมพระวินยั ๒. สุตตันตปฎก รวบ เดียวกัน โดยทรงปรารภกรณเี ดียวกนัรวมพระสูตร ๓. อภธิ รรมปฎ ก รวบ วนิ ย.๗/๓๓/๑๖); ดู ยมกปาฏหิ ารยิ รวมพระอภิธรรม เรียกรวมกันวาพระ ปตตฺ สมุฏานา อาพาธา ความเจ็บไขมีไตรปฎ ก (ปฎ ก ๓) ดู ไตรปฎ ก ดเี ปนสมุฏฐาน; ดู อาพาธปณฑปาติกธุดงค องคคุณเคร่ืองขจัด ปต ตะ นาํ้ ด,ี นาํ้ จากตอ มตบั , โรคดเี ดอื ดกิเลสแหงภิกษุเปนตนผูถือการเท่ียว ปต ตวิ สิ ยั แดนเปรต, ภมู แิ หง เปรต (ขอ ๓บณิ ฑบาตเปน วตั ร หมายถงึ ปณ ฑปาต-ิ ในทคุ ติ ๓, ขอ ๓ ในอบาย ๔); เปตตวิ สิ ยักังคะ น่ันเอง กเ็ รยี ก; ดู เปรต, ทคุ ติ, อบายปณฑปาติกังคะ องคแหงผูถือเท่ียว ปต ุฆาต ฆา บดิ า (ขอ ๒ ในอนนั ตริย-บิณฑบาตเปนวัตร คือ ไมรับนิมนต กรรม ๕)หรือลาภพิเศษอยางอ่ืนใด ฉันเฉพาะ ปปผล,ิ ปป ผลิมาณพ ช่ือของพระมหา-อาหารที่บิณฑบาตมาได (ขอ ๓ ใน กัสสปเถระ เมื่อกอนออกบวช; สวนธดุ งค ๑๓) กัสสปะ เปน ชอ่ื ท่ีเรียกตามโคตรปณโฑลภารทวาชะ พระมหาสาวกองค ปปาสวินโย ความนําออกไปเสียซึ่งหนงึ่ เปน บตุ รพราหมณม หาศาล ภารทวาช- ความกระหาย, กาํ จดั ความกระหายคือ

ปยรูปสาตรปู ๒๓๙ ปคุ คลสมั มขุ ตา ตณั หาได (เปนไวพจนของวริ าคะ) วดั จํานวน ๕๐๐ ท่ีพระเจาพิมพิสารพระปย รูป สาตรปู สภาวะท่ีนา รักนา ชืน่ ใจ ราชทานใหเปนผูชวยทําที่อยูของพระมุงเอาสวนท่ีเปนอิฏฐารมณซึ่งเปนบอ ปลนิ ทวจั ฉะเกิดแหง ตัณหามี ๑๐ หมวด หมวดละ ปส ณุ าย วาจาย เวรมณี เวน จากพูด๖ อยา ง คอื อายตนะภายใน ๖ อายตนะ สอเสียด, เวนจากพูดยุยงใหเขาแตกภายนอก ๖ วญิ ญาณ ๖ สมั ผสั ๖ รา วกนั (ขอ ๕ ในกศุ ลกรรมบถ ๑๐)เวทนา ๖ สัญญา ๖ สัญเจตนา ๖ มี ปสุณาวาจา วาจาสอ เสียด, พดู สอเสียด,รปู สญั เจตนา เปน ตน ตณั หา ๖ มรี ปู - พูดยุยงใหเ ขาแตกรา วกัน (ขอ ๕ ใน ตัณหา เปนตน วิตก ๖ มีรูปวิตก อกุศลกรรมบถ ๑๐) เปนตน วิจาร ๖ มีรูปวิจาร เปนตน ปห กะ มา ม (เคยแปลกนั วา ไต) ดู วกั กะปยวาจา วาจาเปน ทีร่ กั , พูดจานา รกั นา ปต ิ ความอม่ิ ใจ, ความดม่ื ดาํ่ ในใจ มี ๕ คอื นิยมนับถือ, วาจานารัก, วาจาทก่ี ลา ว ๑. ขุททกาปติ ปต เิ ล็กนอ ยพอขนชันนา้ํ ดวยจิตเมตตา, คําที่พูดดวยความรัก ตาไหล ๒. ขณกิ าปต ิ ปต ชิ วั่ ขณะรสู กึ ความปรารถนาดี เชน คําพดู สภุ าพออน แปลบๆ ดจุ ฟา แลบ ๓. โอกกนั ตกิ าปต ิโยน คําแนะนาํ ตกั เตอื นดวยความหวังดี ปต ิเปนระลอกรูสึกซลู งมาๆ ดจุ คล่ืนซดั(ขอ ๒ ในสงั คหวัตถุ ๔) ฝง ๔. อพุ เพคาปติ ปต ิโลดลอย ใหใจฟูปยารมณ อารมณอ นั เปน ท่ีรกั เปนทีน่ า ตัวเบาหรืออทุ านออกมา ๕. ผรณาปต ิปรารถนา นาชอบใจ เชน รูปท่สี วยงาม ปติซาบซาน เอิบอาบไปท่ัวสรรพางค เปน ตน เปน ของประกอบกบั สมาธิ (ขอ ๔ ในปลินทวัจฉะ พระมหาสาวกองคหน่ึง โพชฌงค ๗) เกิดในตระกูลพราหมณวัจฉโคตร ใน ปฬ กะ พพุ อง, ฝ, ตอ ม เมืองสาวัตถี ไดฟ ง พระธรรมเทศนาของ ปกุ กสุ ะ บุตรของกษตั ริยม ัลละ เปน ศิษยพระพทุ ธเจา มีศรทั ธาเล่ือมใสออกบวช ของอาฬารดาบส กาลามโคตร ไดถวายในพระพุทธศาสนา เจรญิ วิปส สนาแลว ผาสิงคิวรรณแดพระพุทธเจาในวันไดบรรลุอรหัตตผล ตอ มาไดรบั ยกยอ ง ปรินพิ พานวาเปนเอตทัคคะในทางเปนท่ีรักของ ปุคคลสัมมุขตา ความเปนตอหนาพวกเทวดา บุคคล, ในวิวาทาธิกรณ หมายความวาปล ินทวจั ฉคาม ช่อื หมบู านของคนงาน คูวิวาทอยูพรอ มหนากัน; ดู สัมมุขาวินยั

ปคุ คลญั ตุ า ๒๔๐ ปณุ ณสุนาปรันตะปคุ คลญั ตุ า ความเปน ผรู จู กั บคุ คล คอื ของพระพุทธเจา เปนหลานของพระรูความแตกตางแหงบุคคล วาโดย อัญญาโกณฑญั ญะ ไดบ รรพชาเม่ือพระอธั ยาศยั ความสามารถ และคณุ ธรรม เถระผเู ปน ลงุ เดนิ ทางมายงั เมอื งกบลิ พสั ดุเปนตน เปน อยา งไร ควรคบควรใชควร บวชแลว ไมน านกบ็ รรลอุ รหัตตผล เปนสอนอยา งไร (ขอ ๗ ในสปั ปรุ สิ ธรรม ๗) ผูป ฏิบัตติ นตามหลกั กถาวตั ถุ ๑๐ และปคุ คลิก ดู บคุ ลกิ สอนศิษยของตนใหปฏิบัติเชนน้ันดวยปคุ คลกิ าวาส ทอ่ี ยทู เี่ ปน ของบคุ คล, ที่ ทานไดรับยกยองเปนเอตทัคคะในอยทู เ่ี ปน ของสว นตวั ; เทียบ สังฆกิ าวาส บรรดาพระธรรมกถึก หลักธรรมเร่ืองปุจฉา ถาม, คําถาม วิสทุ ธิ ๗ ก็เปนภาษติ ของทานปุญญาภิสังขาร อภิสังขารที่เปนบุญ, ปณุ ณมาณพ คอื พระปณุ ณมนั ตานบี ตุ รสภาพท่ีปรุงแตงกรรมฝายดี ไดแก เม่ือกอ นบวชกุศลเจตนา (เฉพาะท่เี ปน กามาวจรและ ปณุ ณสนุ าปรนั ตะ, ปณุ ณสนุ าปรนั ตกะ รูปาวจร) (ขอ ๑ ในอภสิ ังขาร ๓) พระมหาสาวกองคห นง่ึ ในจาํ นวนอสตี -ิปุณณกมาณพ ศิษยคนหน่ึงในจํานวน มหาสาวก ชอ่ื เดมิ วา ปณุ ณะ เกดิ ทเี่ มอื ง ๑๖ คนของพราหมณพ าวรี ท่ีไปทูลถาม ทา ชอื่ สปุ ปารกะ ในแควน สุนาปรนั ตะ ปญหากะพระศาสดา ที่ปาสาณเจดีย เม่ือเติบโตข้ึน ไดประกอบการคาขายปุณณชิ บุตรเศรษฐีเมืองพาราณสี เปน รว มกับนอ งชาย ผลัดกนั นํากองเกวียนสหายของยสกุลบุตร ไดทราบขาว ๕๐๐ เลม เท่ียวคาขายตามหัวเมืองยสกุลบุตรออกบวช จึงไดบวชตาม ตา งๆ คราวหนึ่ง นองชายอยเู ฝาบานพรอ มดว ยสหายอกี ๓ คน คือวิมละ ปุณณะนํากองเกวียนออกคาขายผานสพุ าหุ และควัมปติ ไดเปนองคหนึ่งใน เมอื งตางๆ มาจนถงึ กรงุ สาวตั ถี พกั กองอสีติมหาสาวก เกวียนอยูใกลพระเชตวัน รับประทานปุณณมันตานีบุตร พระมหาสาวกองค อาหารเชาแลวก็น่ังพักผอนกันตามหนึ่ง ไดชอ่ื อยา งนี้ เพราะเดิมชอื่ ปณุ ณะ สบาย ขณะน้ันเอง ปุณณะมองเห็นชาวเปนบุตรของนางมันตานี ทานเกิดใน พระนครสาวัตถแี ตง ตัวสะอาดเรยี บรอ ยตระกูลพราหมณมหาศาลในหมูบาน พากันเดินไปยังพระเชตวันเพื่อฟงธรรมพราหมณช่ือโทณวตั ถุ ไมไกลจากเมอื ง ไตถามทราบความก็ดีใจ จึงพาบริวารกบิลพสั ดุ ในแควนศากยะท่ีเปน ชาติภูมิ เดินตามเขาเขาไปสูพระวิหาร ยืนอยู

ปณุ ณสุนาปรนั ตะ ๒๔๑ ปณุ ณสุนาปรันตะทายสุดที่ประชุม ไดฟงพระธรรม- หนาท่ีเขาไมฟนแทงดวยศัสตรา ตรัสเทศนาของพระพุทธเจาแลวเลื่อมใส ถามวา ถาเขาฟนแทงดวยศัสตราจะวางอยากจะบวช วันรงุ ขน้ึ ถวายมหาทานแด ใจอยา งไร ทูลตอบวา จะคดิ วา ยังดีนกัพระสงฆมีพระพุทธเจาเปนประมุขแลว หนาท่ีเขาไมเอาศัสตราอันคมฆาเสียมอบหมายธุระแกเจาหนาที่คุมของใหนํา ตรสั ถามวา ถา เขาเอาศสั ตราอนั คมปลิดสมบัติไปมอบใหแกนองชาย แลวออก ชีพเสยี จะวางใจอยา งไร ทูลตอบวา จะบวชในสํานักพระศาสดา ตั้งใจทํา คดิ วา มสี าวกบางทา นเบอ่ื หนา ยรางกายกรรมฐาน แตก็ไมสําเร็จ คิดจะไป และชีวิตตองเท่ียวหาศัสตรามาสังหารบําเพญ็ ภาวนาทถี่ ิน่ เดมิ ของทา นเอง จึง ตนเอง แตเ ราไมตองเทย่ี วหาเลย กไ็ ดเขาไปเฝาพระพุทธเจา กราบทลู ขอพระ ศัสตราแลว พระผูมีพระภาคประทานโอวาท ดังปรากฏเน้ือความในปุณโณ- สาธุการ และตรัสวาทานมีทมะและวาทสูตร พระผูมีพระภาคเจาประทาน อปุ สมะอยางน้ี สามารถไปอยใู นแควนพระโอวาทแสดงวธิ ปี ฏิบตั ติ อ รปู เสยี ง สนุ าปรันตะได พระโอวาทและแนวคดิกลิน่ รส โผฏฐพั พะ และธรรมารมณ ของพระปุณณะน้ีเปนคติอันมีคายิ่งโดยอาการที่จะมิใหทุกขเกิดข้ึน แลว สําหรับพระภิกษุผูจะจาริกไปประกาศตรัสถามทานวาจะไปอยูในถ่ินใด ทาน พระศาสนาในถ่นิ ไกลทูลตอบวาจะไปอยูในแควนสุนาปรันตะตรัสถามวาชาวสุนาปรันตะเปนคนดุราย พระปณุ ณะกลบั สแู ควน สนุ าปรนั ตะถาเขาดาวาทานจะวางใจตอคนเหลาน้ัน แลว ไดยายหาท่ีเหมาะสําหรับการทําอยางไร ทูลตอบวา จะคิดวายังดีนัก กรรมฐานหลายแหง จนในทสี่ ดุ แหง ท่ี ๔หนาท่ีเขาไมต บตี ตรัสถามวา ถา เขาตบ ไดเขา จาํ พรรษาแรกทว่ี ดั มกุฬการาม ในตีจะวางใจอยา งไร ทูลตอบวา จะคิดวา พรรษานั้น นองชายของทานกับพอคายังดีนักหนาที่เขาไมข วางปาดว ยกอนดิน รวม ๕๐๐ คน เอาสนิ คาลงเรือจะไปยงัตรัสถามวา ถาเขาขวางปาดวยกอนดนิ ทะเลอื่น ในวันลงเรือ นองชายมาลาจะวางใจอยางไร ทูลตอบวา จะคิดวายงั และขอความคมุ ครองจากทา น ระหวางดนี ักหนาที่เขาไมทบุ ตดี ว ยทอนไม ตรัส ทางเรือไปถึงเกาะแหงหนึ่ง พากันแวะถามวา ถาเขาทุบตีดว ยทอ นไมจ ะวางใจ บนเกาะพบปาจนั ทนแดงอันมีคาสูง จึงอยางไร ทูลตอบวา จะคิดวายังดีนัก ลมเลิกความคิดที่จะเดินทางตอ ชวย กันตัดไมจันทนบรรทุกเรือจนเต็มแลว

ปณุ มี ๒๔๒ ปถุ ุชนออกเดินทางกลับถิ่นเดิม แตพอออก ฝงแมนํ้านัมมทา ไดแสดงธรรมโปรดเรือมาไดไ มนาน พวกอมนษุ ยทสี่ งิ ในปา นมั มทานาคราช นาคราชขอของท่ีระลึกจันทนซ่งึ โกรธแคน ไดทาํ ใหเ กิดลมพายุ ไวบูชา จึงประทับรอยพระบาทไวท่ีริมอยางแรงและหลอกหลอนตางๆ นอง ฝง แมน ํ้านมั มทานนั้ จากนน้ั เสด็จตอไปชายของพระปุณณะระลึกถึงพระพี่ชาย ถึงภเู ขาสจั จพันธ ตรัสสงั่ พระสจั จพันธพระปุณณะทราบ จึงเหาะมายืนอยูท่ี ใหอยูสง่ั สอนประชาชน ณ ท่ีน้นั พระหนาเรือ พวกอมนษุ ยก ็พากันหนไี ป ลม สจั จพนั ธทลู ขอสิง่ ท่รี ะลกึ ไวบูชา จงึ ทรงพายุก็สงบ ประทับรอยพระบาทไวท่ีภูเขาน้ันดวยพวกพอคา ทงั้ ๕๐๐ คน กลับถึง อันนับวาเปนประวัติการเกิดขึ้นของรอยถ่ินเดิมโดยสวัสดีแลว ไดพรอมท้ัง พระพทุ ธบาทภรรยาพากันประกาศนับถือพระปุณณะ เหตุการณที่เลานี้เกิดขึ้นในพรรษาและถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะ แลว แรกท่ีพระปุณณะกลับมาอยูในแควนแบงไมจันทนแดงสวนหนึ่งมาถวายทาน สุนาปรันตะ และทานเองก็ไดบรรลุพระปุณณะตอบวาทานไมมีกิจที่จะตอง อรหัตตผลในพรรษาแรกนั้นเชนกันใชไมเหลานั้น และแนะใหสรางศาลา ทานพระปุณณเถระบําเพ็ญจริยาเพื่อถวายพระพุทธเจา ศาลาน้ันเรียกวา ประโยชนสุขแกประชาชนสืบมาจนถึงจนั ทนศาลา เมือ่ ศาลาเสร็จแลว พระ ปรนิ พิ พาน ณ แควน สุนาปรันตะนัน้ปุณณะไดไปทูลอาราธนาพระพุทธเจา กอ นพทุ ธปรนิ พิ พานเสด็จมายังแควนสุนาปรันตะพรอมดวย ปุณมี ดู บณุ มีพระสาวกจํานวนมาก ระหวา งทางพระผู ปุตตะ เปนช่ือนรกขุมหน่ึงของลัทธิมีพระภาคทรงแวะหยุดประทับโปรด พราหมณ พวกพราหมณถ ือวาชายใดไมสัจจพันธดาบส ที่ภูเขาสัจจพันธกอน มีลูกชาย ชายนนั้ ตายไปตองตกนรกขุมแลว นาํ พระสจั จพนั ธ ซงึ่ บรรลอุ รหตั ตผล “ปุตตะ” ถามีลูกชาย ลูกชายน้ันชว ยแลวมายังสุนาปรันตะดวย ทรงแสดง ปอ งกันไมใ หต กนรกขมุ นนั้ ได ศพั ทว าธรรมโปรดชาวสุนาปรนั ตะ และประทบั บุตร จึงใชเปนคําเรียกลูกชายสืบมาทีจ่ นั ทนศาลา ในมกฬุ การาม ๒–๓ วนั แปลวา “ลูกผูปองกันพอจากขุมนรกเสด็จเท่ียวบิณฑบาตในหมูบาน แลว ปตุ ตะ”ทรงเดินทางกลับ ระหวางทางเสด็จถึง ปถุ ุชน คนท่หี นาแนนไปดวยกเิ ลส, คนที่

ปุนัพพสกุ ะ ๒๔๓ ปรุ ิสสพั พนามยงั มีกเิ ลสมาก หมายถงึ คนธรรมดาท่ัวๆ ปรุ ณมี วันเพญ็ , วนั พระจันทรเ ตม็ ดวง,ไป ซ่ึงยังไมเปนอริยบุคคลหรือพระ วันขนึ้ ๑๕ ค่ําอริยะ; บถุ ชุ น กเ็ ขยี น ปุรัตถิมทิส “ทิศเบ้ืองหนา” หมายถึงปนุ ัพพสุกะ ชือ่ ภกิ ษุรปู หน่งึ อยใู นภกิ ษุ มารดาบิดา; ดู ทิศหกเหลวไหล ๖ รปู ทเ่ี รยี กวา พระฉพั พคั คยี  ปุราณจวี ร จวี รเกา ปุราณชฎิล พระเถระสามพ่ีนองพรอมคกู ับพระอสั สชิปุปผวิกัติ ดอกไมที่แตงเปนชนิดตางๆ ดว ยบริวาร คอื อุรเุ วลกัสสป นทกี สั สปเชน รอ ยตรึง รอ ยคุม รอ ยเสยี บ รอย คยากัสสป ซ่งึ เคยเปน ชฎิลมากอ นผกู รอ ยวง รอยกรอง เปนตน ปรุ มิ กาล เรอื่ งราวในพุทธประวัติทมี่ ีข้นึปพุ พเปตพลี การทาํ บญุ อทุ ศิ ใหแ กผ ตู าย, ในกาลกอ นแตบ าํ เพญ็ พทุ ธกิจ; ดู พุทธ-การจดั สรรสละรายไดห รอื ทรพั ยส ว นหนงึ่ ประวตั ิเปน คา ใชจ า ยสาํ หรบั บชู าคณุ หรอื แสดงนาํ้ ปุรมิ พรรษา ดู ปรุ มิ กิ าใจตอ ญาตทิ ล่ี ว งลบั ไปกอ นดว ยการทาํ บญุ ปรุ มิ กิ า พรรษาตน เรมิ่ แตว นั แรมคา่ํ หนงึ่อทุ ศิ ให, การใชร ายไดห รอื ทรพั ยส ว นหนง่ึ เดอื นแปด ในปท ไี่ มม อี ธกิ มาสเปน ตนไปเพื่อบาํ เพ็ญบุญอุทิศแกญาติท่ีลวงลับไป เปน เวลา ๓ เดอื นคือถงึ ขนึ้ ๑๕ คํา่กอ น (ขอ ๓ ในพลี ๕ แหง โภคอาทิยะ ๕) เดอื น ๑๑; เทยี บ ปจ ฉมิ ิกา, ปจฉิมพรรษาปพุ พัณณะ ดู บุพพัณณะ, ธญั ชาติ ปุริสภาวะ ความเปนบรุ ุษ หมายถงึ ภาวะปุพเพกตปุญญตา ความเปนผูไดทํา อันใหปรากฏมีลักษณะอาการตางๆ ที่ความดีไวในกอน, ทําความดีใหพรอม แสดงถึงความเปนเพศชาย; คูก บั อติ ถี- ภาวะ; ดู อปุ าทายรปูไวกอนแลว (ขอ ๔ ในจักร ๔)ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ความรูเปน ปุริสเมธ ความฉลาดในการบํารุงขาเครอ่ื งระลกึ ไดถงึ ปุพเพนวิ าส คอื ขนั ธท่ี ราชการ รูจักสงเสริมคนดีมีความเคยอาศัยอยใู นกอน, ระลกึ ชาตไิ ด (ขอ สามารถ เปน สงั คหวตั ถปุ ระการหนง่ึ ของ๑ ในญาณ ๓ หรือวิชชา ๓, ขอ ๔ ใน ผูปกครองบา นเมอื ง (ขอ ๒ ในราช-อภญิ ญา ๖, ขอ ๖ ในวชิ ชา ๘, ขอ ๘ ใน สังคหวตั ถุ ๔)ทศพลญาณ), ใชวา บพุ เพนิวาสานุสต-ิ ปุริสสัพพนาม คําทางไวยากรณ หมายญาณ กม็ ,ี เขยี นเตม็ อยา งรปู เดมิ ในภาษา ถึงคําแทนชื่อเพ่ือกันความซ้ําซาก ในบาลเี ปน ปพุ เพนิวาสานสุ สตญิ าณ ภาษาบาลหี มายถงึ ต, ตมุ หฺ , อมหฺ , ศพั ท

ปเุ รจารกิ ๒๔๔ โปราณฏั ฐกถาในภาษาไทย เชน ฉัน, ผม, ทาน, เธอ, ไมไ ด หรอื กนิ ไดโ ดยยาก; ดู อบาย, ทคุ ติเขา, มนั เปน ตน เปลี่ยวดาํ หนาวอยางใหญ, โรคอยา งปเุ รจารกิ “อนั ดาํ เนนิ ไปกอ น”, เปน เครอื่ ง หน่งึ เกดิ จากความเยน็ มากนาํ หนา , เปน ตวั นาํ , เปน เครอื่ งชกั พาให เปสละ ภกิ ษผุ ูมศี ลี เปนท่ีรัก, ภกิ ษผุ ูมีมงุ ใหแ ลน ไป เชน ในคาํ วา “ทาํ เมตตาให ความประพฤติดนี านิยมนบั ถือเปน ปเุ รจารกิ แลว สวดพระปรติ ร”, “ความ เปสญุ ญวาท ถอ ยคาํ สอ เสยี ด; ดู ปส ณุ า- วาจาเพยี รอนั มศี รทั ธาเปน ปเุ รจารกิ ”ปุเรภัต กอนภัต, กอ นอาหาร หมายถึง โปกขรพรรษ ดู โบกขรพรรษเวลากอนฉันของภิกษุรูปใดรูปหนึ่งก็ได โปตลิ นครหลวงของแควนอัสสกะ อยูแตเ ม่อื พูดอยางกวา ง หมายถึง กอ น ลมุ นา้ํ โคธาวรี ทศิ เหนอื แหง แควน อวนั ตีหมดเวลาฉนั คอื เวลาเชาจนถงึ เท่ยี ง โปราณฏั ฐกถา อรรถกถาเกา แก, คมั ภรี  ซึ่งเปนระยะเวลาที่ภิกษุฉันอาหารได; หรือบันทึกคําอธิบายความในพระไตร- เทียบ ปจฉาภตั ปฎ ก ทใ่ี ชใ นการศกึ ษาและรกั ษาตอ กนัปเุ รสมณะ พระนาํ หนา เปน ศพั ทค กู บั มาในลงั กาทวปี เปน ภาษาสงิ หฬ อนั ถอื ปจ ฉาสมณะ พระตามหลงั วาสืบแตคร้ังพระมหินทเถระพรอมดวยปุโรหิต พราหมณผูเปนที่ปรึกษาของ คณะพระสงฆเ ดนิ ทางมาประดษิ ฐานพระ พระราชา พุทธศาสนาในลังกาทวีป ซึ่งไดนาํ พระปุสสมาส เดือน ๒, เดอื นยี่ ไตรปฎกและอรรถกถามาต้ังไวเปนหลักปูชนียบุคคล บคุ คลทค่ี วรบูชา แตอรรถกถาเดิมท่ีนาํ มาน้ัน เปนภาษาปชู นยี วตั ถุ วตั ถุที่ควรบูชา บาลี จงึ สบื ตอ กนั มาเปน ภาษาสงิ หล เพอ่ืปูชนียสถาน สถานทีค่ วรบชู า ใหช าวเกาะลงั กาสามารถใชเ ปน สอื่ ในการปรู ณมี ดู บณุ มี ศึกษาพระไตรปฎกที่ตองรักษาไวอยางเปตตวิ สิ ยั ดู ปต ตวิ สิ ยั ,เปรต เดมิ เปน ภาษาบาลี ตอ มา ในกง่ึ ศตวรรษเปรต 1. ผูละโลกนี้ไปแลว, คนที่ตายไป สดุ ทา ยทจี่ ะถงึ พ.ศ.๑๐๐๐ พระพทุ ธ-แลว 2. สัตวจ าํ พวกหนึ่งซง่ึ เกดิ อยูใ น ศาสนาในชมพทู วปี เสอ่ื มลงมากแลว แมอบายชนั้ ทเี่ รยี กวา ปต ตวิ สิ ยั หรอื เปตต-ิ พระไตรปฎ กบาลจี ะยงั คงอยู แตอ รรถ-วสิ ัย(แดนเปรต) ไดรบั ความทกุ ขท รมาน กถาไดหมดสน้ิ ไป พระพทุ ธโฆสาจารยเพราะอดอยาก ไมม จี ะกนิ แมเ มอื่ มี กก็ นิ ไดรบั มอบหมายจากพระเรวตเถระผเู ปน

โปราณฏั ฐกถา ๒๔๕ โปราณฏั ฐกถาอาจารย ใหเ ดนิ ทางจากชมพทู วปี มายงั ภาษาสิงหล ท่พี ระพทุ ธโฆสาจารยและลงั กาทวปี เพอื่ แปลอรรถกถาจากภาษาสงิ หฬเปน ภาษามคธ ทจี่ ะนาํ ไปใชศ กึ ษา พระอรรถกถาจารยอื่นในเวลาใกลเคียงในชมพทู วปี สบื ไปไดอ กี พระพทุ ธโฆสา-จารย เมอื่ ผา นการทดสอบความรคู วาม กัน ไดใชเปนหลักและเปนแนวในการสามารถและไดร บั อนญุ าตจากสงั ฆะแหงมหาวหิ ารใหท าํ งานทปี่ ระสงคไ ดแ ลว ก็ เรียบเรียงอรรถกถาภาษาบาลีข้ึนใหมไดเ รียบเรยี งอรรถกถาจากของเดมิ ทเี่ ปนภาษาสงิ หฬ ขนึ้ มาเปน ภาษาบาลี จนเกอื บ ก็จึงหมายรูกันโดยใชคําเรียกวาเปนครบบรบิ รู ณ ขาดแตบ างสว นของขทุ ทก- “โปราณฏั ฐกถา” (อรรถกถาโบราณ,นกิ าย แหง พระสตุ ตนั ตปฎ ก ซงึ่ กไ็ ดม ี อรรถกถาของเกา) ซ่งึ มีชอื่ ทีอ่ างอิงหรือพระเถระอนื่ อกี ประมาณ ๔ รปู มพี ระธรรมปาละ เปน ตน จดั ทาํ ขนึ้ ดว ยวธิ กี าร กลาวถึงในอรรถกถาภาษาบาลีบอยคร้ังคลา ยคลงึ กนั จนจบครบตามคมั ภรี ข อง โดยเฉพาะ มหาอัฏฐกถา มหาปจจรีพระไตรปฎ ก ในชว งเวลาไมห า งจากพระ กุรุนที สงั เขปฏฐกถา อนั ธกฏั ฐกถาพทุ ธโฆสาจารยม ากนกั โปราณฏั ฐกถาสาํ คญั ทสี่ ดุ คอื มหา- เม่ืออรรถกถาท่ีเปนภาษาบาลีเกิดมี อัฏฐกถา ซึ่งเปนอรรถกถาที่อธิบายขน้ึ ใหมอ กี กช็ ว ยเปน หลกั ในการศกึ ษา ตลอดพระไตรปฎ กท้ังหมด และเกา แกพระไตรปฎ กสบื ตอ มา ไมเ ฉพาะในลงั กาทวปี เทา นน้ั แตข ยายออกไปในประเทศ ท่ีสุด ถือวาเปนอรรถกถาเดิมท่ีพระอน่ื ๆ กวา งขวางทวั่ ไป ตอ มา เมอ่ื พดู ถงึอรรถกถา กเ็ ขา ใจกนั วา หมายถงึ อรรถ- มหินทเถระนํามาจากชมพูทวีป และกถาภาษาบาลรี นุ ประมาณ พ.ศ.๑๐๐๐ ท่ีกลา วมานี้ บางทถี งึ กบั เรยี กกาลเวลาของ ทานไดแปลเปนภาษาสิงหลดวยตนเองพระศาสนาชว งนี้ วา เปน ยคุ อรรถกถา ซง่ึแทจริงนั้น เนื้อตัวของอรรถกถาก็เปน เพ่ือใหชาวลังกาทวีปมีเคร่ืองมือท่ีจะของทม่ี สี บื ตอ มาแตเ ดมิ ศกึ ษาพระไตรปฎ กไดโดยสะดวก เมอื่ สวนอรรถกถาเกาแกของเดิมใน พระพุทธโฆสาจารยเรียบเรียงอรรถกถา ภาษาบาลขี นึ้ ใหมน น้ั กอ็ าศยั มหาอฏั ฐ- กถานี่เองเปนหลัก ดังท่ีทานกลาวถึง การจัดทําอรรถกถาแหงพระวินัยปฎก (คอื สมนั ตปาสาทกิ า) วา ทา นนาํ เอามหา- อฏั ฐกถาน้ันมาเปน สรรี ะ คอื เปน เนอื้ หา หลกั หรอื เปน เนอื้ เปน ตวั ของหนงั สอื ใหม ทจ่ี ะทาํ พรอ มทงั้ ปรกึ ษาโปราณฏั ฐกถา และมตหิ ลกั ทถี่ อื กนั มาของสงั ฆะดว ย พงึ ทราบดงั ทกี่ ลา วแลว วา เวลาน้ี เมอ่ื

โปสาลมาณพ ๒๔๖ ผลพูดถึงอรรถกถา เราหมายถงึ อรรถกถา ท่ีคัมภีรอรรถกถาภาษาบาลีกลาวถึงนั้นภาษาบาลีที่พระพุทธโฆสาจารยเปนตน มักหมายถึงโปราณัฏฐกถาภาษาสิงหลไดเ รยี บเรยี งไว และเราใชก นั อยู แตพ งึ เฉพาะอยา งยง่ิ มหาอัฏฐกถานเี้ อง; ดูทราบตอไปอีกข้ันหน่ึงวา ในอรรถกถา อรรถกถาภาษาบาลนี นั้ เอง เมอ่ื มกี ารกลา วอา งถงึ โปสาลมาณพ ศิษยคนหนึ่งในจํานวนอรรถกถา เชนบอกวา “ในอรรถกถา ๑๖ คน ของพราหมณพ าวรี ทไี่ ปทลู ถามทา นกลา ววา ‘…’ ดงั น”ี้ คาํ วา “อรรถกถา” ปญหากะพระศาสดา ทปี่ าสาณเจดยี  ผผทม นอน (ใชแ กเจา ) ปะปนสับสนกัน แตวา ตามความหมายผนวช บวช (ใชแกเจา ) พืน้ ฐาน วิบาก หมายถงึ ผลโดยตรงของผรณาปติ ความอม่ิ ใจซาบซา น เมอ่ื เกดิ กรรมตอชีวิตของตัวผูกระทํา ไมวาจะ ขึ้นทําใหรสู กึ ซาบซานท่วั สารพางค (ขอ เปนผลดีหรือผลรายสุดแตกรรมดีหรือ กรรมชว่ั ท่เี ขาไดทาํ , นิสสันท หมายถงึ ๕ ในปต ิ ๕) ผลโดยออมที่สืบเน่ืองหรือพวงพลอยมาผรุสวาจา วาจาหยาบ, คาํ พดู เผด็ รอ น, กับผลแหงกรรมนั้น ไมวาจะเปน คาํ หยาบคาย (ขอ ๖ ในอกศุ ลกรรมบถ อฏิ ฐารมณหรอื อนฏิ ฐารมณ อันนํามาซึง่ สุขหรือโศก ทั้งท่เี กิดแกต ัวเขาเอง และ ๑๐) แกคนอื่นท่ีเก่ียวของ (ตัวอยางดังในผรุสาย วาจาย เวรมณี เวน จากพูดคาํ หลกั ปฏจิ จสมุปบาทวา ภพ เปน วบิ าก หยาบ (ขอ ๖ ในกศุ ลกรรมบถ ๑๐) ขาตชิ รามรณะ เปน นสิ สนั ท, และ โสกะผล 1. สงิ่ ทีเ่ กดิ จากเหต,ุ ประโยชนหรือ ปริเทวะ เปนตน เปนนิสสันทพวงตอ โทษทไี่ ดร บั สนองหรอื ตอบแทน; “ผล” มี ออกไปอกี ซงึ่ อาจจะไมเ กดิ ขน้ึ กไ็ ด) และ นสิ สนั ทน น้ั ใชไ ดก บั ผลในเรอ่ื งทว่ั ไป เชน ช่ือเรียกหลายอยางตามความหมายท่ี เอาวัตถุดิบมาเขาโรงงานอุตสาหกรรม เกิดเปนนิสสันทหล่ังไหลออกมา ท้ังที่ จาํ เพาะหรอื ทม่ี นี ยั ตา งกนั ออกไป เฉพาะ นา ปรารถนาคอื ผลติ ภณั ฑ และทไี่ มน า อยางยิง่ คอื วบิ าก (วิบากผล) นสิ สนั ท (นิสสันทผล) อานสิ งส (อานสิ งสผล); คําเหลาน้ี มีความหมายกายเกยกนั อยู บา ง และบางทีก็ใชอ ยางหลวมๆ ทาํ ให

ผล ๒๔๗ ผลปรารถนา เชน กากและของเสียตา งๆ, อยางที่มีผลเลิศ อันใหประสบส่ิงดีงามอานสิ งส หมายถงึ ผลดที ี่งอกเงย หรอื มผี ลเปน สขุ เปน ไปเพอ่ื สวรรค ๑ …”คุณคาประโยชนแถมเหมือนเปนกําไรซึ่งพลอยไดหรือพวงเพ่ิมสืบเนื่องจาก ดังท่ีกลาวแลววา การใชคําเหลาน้ีกรรมทดี่ ี เชน เอาความรทู เ่ี ปนประโยชน เมอ่ื ลงสรู ายละเอยี ด บางทกี ม็ คี วามแตกไปสอนเขา แลวเกิดมอี านิสงส เชน เขา ตา งและซบั ซอ นสบั สนบา ง เชน ในกรณีรกั ใครนบั ถือ ตลอดจนไดล าภบางอยา ง ทค่ี ําวา “ผล” กบั “วบิ าก” มาดว ยกนัดงั นี้ กไ็ ด หมายถงึ ผลดี คณุ คา ประโยชน อยางในคําวา “ผลวิบาก (คอื ผลและของการอยางใดอยางหนึ่งหรือส่ิงใดส่ิง วบิ าก) ของกรรมทท่ี ําดที ําช่ัว…” ทา นหนึง่ โดยทว่ั ไป กไ็ ด, อานิสงสน ้ี ตรง อธิบายวา “ผล” หมายถึงนิสสันทผลขา มกบั อาทนี พ (หรอื อาทนี วะ) ซ่งึ หมาย (รวมท้ังอานิสงสผล) และ “วิบาก” ก็คือถึงโทษ ผลราย สวนเสีย ขอบกพรอง, วิบากผล แตในสาํ นวนวา “มีผลมาก มีพึงเหน็ ตวั อยางดงั พทุ ธพจนวา (อง.ปฺจก. อานิสงสม าก” บางคัมภรี  (ดู ปฏิส.ํ อ.๒/๒๒/๒๒๗/๒๘๗) “ภิกษทุ ง้ั หลาย อาทีนพ ๖๒/๕๔; ท.ี อ.๒/๔๓๘/๔๒๙) อธบิ ายวา “ทีว่ าในเพราะโภคทรัพย ๕ ประการน้ี … คือ ไมม ีผลมาก คือโดยวบิ ากผล ทีว่ าไมม ีโภคทรพั ยเปน ของท่ัวไปแกไ ฟ ๑ เปน อานิสงสม าก คอื โดยนสิ สนั ทผล (หรอืของท่วั ไปแกนํ้า ๑ เปน ของท่วั ไปแกผู โดยอานิสงสผล)” แตบ างคัมภีร (ดู ม.อ.ครองบา นเมอื ง ๑ เปน ของทวั่ ไปแกโ จร๑ เปน ของทัว่ ไปแกทายาทอปั รีย ๑ … ๑/๖๕/๑๗๑; ๒/๘๙/๒๒๐; อง.ฺ อ.๓/๖๖๓/๓๕๗)ภิกษุท้ังหลาย อานิสงสในเพราะโภค-ทรัพย ๕ ประการน้ี … คอื อาศยั โภค- อธบิ ายวา “ท่ีวา มผี ลมาก มอี านิสงสม ากทรพั ย บคุ คลเลยี้ งตนใหเ ปนสขุ … ๑ นั้น ทั้งสองอยาง โดยความหมายก็เลี้ยงมารดาบิดาใหเ ปน สขุ … ๑ เลยี้ ง อยางเดียวกัน” และบางทีก็ใหความบุตรภรรยา คนใช กรรมกร และคนงาน หมายเพิ่มอีกนัยหน่ึงวา “มีผลมาก คือใหเปน สุข … ๑ เลีย้ งมติ รสหายและคน อํานวยโลกียสุขมาก มีอานิสงสมาก คือใกลชดิ ชว ยกจิ การ ใหเปนสขุ ใหอิ่มพอ เปน ปจ จยั แหง โลกตุ ตรสุขอนั ยง่ิ ใหญ”; ดูบรหิ ารใหเ ปนสขุ โดยชอบ ๑ บําเพ็ญ นสิ สนั ท, วบิ าก, อานสิ งสทักษิณาในสมณพราหมณทั้งหลาย 2. ชอื่ แหงโลกตุ ตรธรรมคกู บั มรรค และเปน ผลแหง มรรค มี ๔ ชน้ั คือ โสดาปตติผล ๑ สกทาคามิผล ๑ อนาคามิผล ๑ อรหตั ตผล ๑; คกู บั มรรค

ผลญาณ ๒๔๘ ผาตกิ รรมผลญาณ ญาณในอรยิ ผล, ญาณท่เี กดิ เปนอเุ บกขาบาง (ขอ ๒ ในอาหาร ๔) ขึน้ ในลําดบั ตอจากมัคคญาณและเปน ผากฐิน ผาผืนหน่ึงท่ีใชเปนองคกฐินผลแหง มัคคญาณนนั้ ซึ่งผบู รรลุแลว ได สําหรบั กราน แตบ างทีพูดคลมุ ๆ หมายชื่อวาเปนพระอริยบุคคลข้ันนั้นๆ มี ถึงผาท้ังหมดที่ถวายพระในพิธีทอดโสดาบนั เปนตน; ดู ญาณ ๑๖ กฐนิ , เพ่อื กันความสับสน จงึ เรยี กแยกผลภาชกะ ภกิ ษผุ ไู ดร บั สมมติ คอื แตง ตงั้ เปนองคกฐนิ หรือผา องคก ฐินอยางหนึง่จากสงฆใหเ ปน ผมู ีหนา ที่แจกผลไม กับผาบริวารหรือผาบริวารกฐินอีกอยางผลเภสชั มีผลเปนยา, ยาทําจากลกู ไม หน่ึง; ดู กฐินเชน ดปี ลี พริก สมอไทย มะขามปอม ผากรองน้ํา ผาสําหรับกรองนํ้ากันตัวเปนตน สัตว; ดู ธมกรกผลสมังคี ดู สมังคี ผากาสายะ ดู กาสาวะผลเหตสุ นธิ “ตอ ผลเขา กบั เหต”ุ หมายถงึ ผากาสาวะ ดู กาสาวะเงอื่ นตอ ระหวา งผลในปจ จบุ นั กบั เหตใุ น ผาจํานาํ พรรษา ผาทีท่ ายกถวายแกพ ระปจ จบุ นั ในวงจรปฏิจจสมุปบาท คือ สงฆผูอยูจําพรรษาครบแลวในวัดน้ันระหวางวญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ภายในเขตจีวรกาล; เรียกเปนคาํ ศัพทผัสสะ เวทนา ขางหนงึ่ (ฝายผล) กบั วา ผาวัสสาวาสิกา วัสสาวาสิกสาฎกตณั หา อปุ าทาน ภพ อกี ขา งหนึ่ง (ฝาย หรอื วัสสาวาสิกสาฏิกา; ดู อจั เจกจวี รเหต)ุ ; เทียบ เหตุผลสนธิ ผาณิต รสหวานเกดิ แตออย, นาํ้ ออ ย (ขอผลาสโว ผลาสวะ, น้ําดองผลไม ๕ ในเภสชั ๕)ผะเดยี ง ดู เผดียง ผาติกรรม “การทําใหเจรญิ ” หมายถงึผัคคณุ มาส เดือน ๔ การจําหนายครุภัณฑ เพ่ือประโยชนผัสสะ การถกู ตอ ง, การกระทบ; ผัสสะ สงฆอ ยา งหน่งึ อยางใด โดยเอาของเลว๖; ดู ผัสสะ แลกเปล่ียนเอาของดีกวาใหแกสงฆผสั สาหาร อาหารคอื ผัสสะ, ผัสสะเปน หรือเอาของของตนถวายสงฆเปนการอาหาร คอื เปน ปจจัยอดุ หนนุ หลอ เลี้ยง ทดแทนที่ตนทําของสงฆชํารุดไป, ร้ือใหเกดิ เวทนา ไดแ ก อายตนะภายใน ของที่ไมดีออกทําใหใหมดีกวาของเกาอายตนะภายนอก และวญิ ญาณกระทบ เชน เอาทว่ี ดั ไปทําอยางอน่ื แลว สรา งวดักนั ทาํ ใหเ กดิ เวทนา คอื สขุ บา ง ทกุ ขบ า ง ถวายใหใ หม; การชดใช, การทดแทน

ผาไตร,ผา ไตรจวี ร ๒๔๙ แผเ มตตาผา ไตร, ผา ไตรจวี ร ดู ไตรจีวร สบายผา ทรงสะพกั ผา หมเฉยี งบา ผาอาบน้าํ ฝน ผาสาํ หรับอธิษฐานไวใ ชน ุงผาทิพย ผาหอยหนาตักพระพุทธรูป อาบนํ้าฝนตลอด ๔ เดือนแหงฤดฝู น ซึง่ (โดยมากเปนปูนปน มลี ายตา งๆ) พระภิกษุจะแสวงหาไดใ นระยะเวลา ๑ผานิสีทนะ ดู นสิ ที นะผาบรวิ าร ผาสมทบ; ดู บรวิ าร เดอื น ตงั้ แตแ รม ๑ ค่าํ เดอื น ๗ ถึงขึ้นผาบังสุกุล ดู บังสกุ ุลผาปา ผาท่ีทายกถวายแกพระโดยวิธี ๑๕ คาํ่ เดือน ๘ และใหทาํ นงุ ไดใ นเวลา ปลอยทิ้งใหพระมาชักเอาไปเอง อยาง กึ่งเดือน ตั้งแตข ้ึน ๑ ถงึ ๑๕ คา่ํ เดือน ๘, เรียกเปน คาํ ศพั ทว า วสั สกิ สาฏกิ า หรอื วัสสกิ สาฎก, มขี นาดที่กาํ หนดตามเปน ผา บงั สกุ ลุ , ตามธรรมเนยี มจะถวาย พุทธบัญญัติในสิกขาบทท่ี ๙ แหงรตน-หลงั เทศกาลกฐนิ ออกไป; คาํ ถวายผา ปา วรรค (ปาจติ ตยี  ขอ ที่ ๙๑; วนิ ย.๒/๗๗๒/๕๐๙)วา “อิมานิ มยํ ภนฺเต, ปส ุกูลจีวรานิ, คอื ยาว ๖ คบื กวา ง ๒ คบื ครง่ึ โดยคบืสปรวิ ารานิ, ภกิ ขฺ สุ งฺฆสฺส, โอโณชยาม, พระสุคต; ปจจุบันมีประเพณีทายกสาธุ โน ภนฺเต, ภิกฺขุสงฺโฆ, อมิ านิ, ปส ุ- ทายิกาทําบุญถวายผาอาบนํ้าฝนตามวัดกูลจีวรานิ, สปริวาราน,ิ ปฏิคฺคณหฺ าต,ุ ตา งๆ ในวันข้ึน ๑๕ คํ่าเดือน ๘, คําอมฺหาก,ํ ทฆี รตตฺ ,ํ หติ าย, สุขาย” แปล ถวายผาอาบนํ้าฝนเหมือนคําถวายผาปา เปลีย่ นแต ปส กุ ลู จีวรานิ เปน วสฺสกิ -วา “ขาแตพระสงฆผ ูเ จริญ ขา พเจาท้ัง สาฏกิ านิ และ “ผา บงั สุกุลจีวร” เปนหลายขอนอมถวายผาบังสุกุลจีวร กับทั้งบริวารเหลาน้ีแกพระภิกษุสงฆ ขอ “ผา อาบนํา้ ฝน”พระภิกษุสงฆจงรับ ผาบังสุกุลจีวรกับ ผูมีราตรีเดียวเจริญ ผูมีความเพียรไมทั้งบริวารเหลานี้ของขาพเจาทั้งหลาย เกยี จครา นท้งั กลางวนั กลางคืน อยูดว ยเพื่อประโยชนและความสุขแกขาพเจา ความไมประมาทท้งั หลาย ส้นิ กาลนาน เทอญฯ” เผดียง บอกแจง ใหร,ู บอกนิมนต, บอกผา วสั สาวาสิกสาฏิกา ดู ผา จํานาํ พรรษา กลาวหรือประกาศเช้ือเชิญเพื่อใหรวมผา วสั สกิ สาฏกิ า ดู ผา อาบน้ําฝน ทํากจิ โดยพรอมเพรียงกัน; ประเดยี ง ก็ผาสาฏกิ า ผา คลุม, ผาหม วา; ดู ญตั ติผาสกุ ความสบาย, ความสาํ ราญ แผเ มตตา ต้ังจิตปรารถนาดีขอใหผ ูอ่ืนมีผาสุวิหารธรรม ธรรมเปนเคร่ืองอยู ความสขุ ; คาํ แผเมตตาทใ่ี ชเปน หลักวา

โผฏฐพั พะ ๒๕๐ พยัญชนะ“สพเฺ พ สตตฺ า อเวรา อพยฺ าปชฌฺ า อนฆี า พเิ ศษทส่ี งู กวา ยอ มเขา ถงึ พรหมโลกสขุ ี อตฺตานํ ปริหรนตฺ ”ุ แปลวา “ขอสตั ว อน่ึง การแผเ มตตานี้ สําหรบั ทานท่ีท้งั หลาย, (ท่ีเปน เพอ่ื นทุกข เกิด แก ชาํ นาญ เมื่อฝกใจใหเสมอกันตอ สัตวท้ังเจ็บ ตาย ดว ยกนั ) หมดทง้ั สิ้น, (จงเปน หลายไดแลว จะทําจิตใหคลองในการสุขเปน สขุ เถดิ ), อยาไดม เี วรแกกันและ แผไ ปในแบบตางๆ แยกไดเ ปน ๓ อยางกันเลย, (จงเปนสุขเปน สขุ เถดิ ), อยาได (ข.ุ ปฏ.ิ ๓๑/๕๗๕/๔๘๓) คือ ๑.แผไปท่ัวอยา งเบียดเบียนซ่ึงกันและกันเลย, (จงเปน ไมม ีขอบเขต เรียกวา “อโนธิโสผรณา”สุขเปน สขุ เถดิ ), อยา ไดมที กุ ขก ายทกุ ข (อยางคาํ แผเมตตาท่ียกมาแสดงขา งตน)ใจเลย, จงมีความสุขกายสขุ ใจ, รกั ษา ๒.แผไปโดยจํากัดขอบเขต เรียกวาตน (ใหพน จากทกุ ขภ ัยทั้งส้ิน) เถดิ .” “โอธิโสผรณา” เชนวา ขอใหคนพวกน้นั[ขอความในวงเล็บเปนสวนที่เพ่ิมเขามา พวกน้ี ขอใหส ัตวเหลา นน้ั เหลาน้ี จงเปนในคาํ แปลเปนไทย] สขุ ๓.แผไปเฉพาะทิศเฉพาะแถบ เรยี กผูเจริญเมตตาธรรมอยูเสมอ จน วา “ทิสาผรณา” เชนวา ขอใหม นษุ ยทางจิตม่ันในเมตตา มีเมตตาเปนคุณสมบัติ ทิศน้ันทิศนี้ ขอใหประดาสัตวในแถบประจําใจ จะไดรับอานิสงส คือผลดี นัน้ แถบน้ี หรอื ยอยลงไปอีกวา ขอให๑๑ ประการ คือ ๑. หลับกเ็ ปนสุข ๒. คนจนคนยากไรในภาคน้ันภาคนี้ จงมีตื่นก็เปน สขุ ๓. ไมฝ นรา ย ๔. เปน ท่ีรัก ความสขุ ฯลฯ; ดู เมตตา, อโนธโิ สผรณา,ของมนุษยท ง้ั หลาย ๕. เปน ทรี่ ักของ โอธิโสผรณา, ทิสาผรณา, วิกุพพนา,อมนุษยท ้งั หลาย ๖. เทวดายอมรักษา สีมาสมั เภท๗. ไมตองภัยจากไฟ ยาพิษ หรือ โผฏฐพั พะ อารมณทจี่ ะพึงถกู ตองดวยศัสตราอาวธุ ๘. จติ เปน สมาธิงาย ๙. สี กาย, สิ่งทถ่ี กู ตองกาย เชน เย็น รอนหนาผองใส ๑๐. เมอ่ื จะตาย ใจก็สงบ ออ น แขง็ เปนตน (ขอ ๕ ในอายตนะไมหลงใหลไรสติ ๑๑. ถา ยงั ไมบ รรลคุ ณุ ภายนอก ๖ และในกามคณุ ๕ พพจน ดู วจนะ พยญั ชนะ 1. อกั ษร, ตวั หนังสือท่ีไมใชพนาสณฑ, พนาสณั ฑ ดู ไพรสณฑ สระ 2. กบั ขา วนอกจากแกง; คูกบั สปู ะ

พยากรณ ๒๕๑ พร3. ลักษณะของรา งกาย พร สิ่งท่ีอนุญาตหรือใหตามท่ีขอ, สิ่งพยากรณ ทาํ ใหแ จงชัด, บอกแจง , ชแี้ จง, ประสงค ที่ขอใหผูอื่นอนุญาตหรือตอบปญหา (คัมภีรท้ังหลายมักแสดง อํานวยให, ส่งิ ท่ปี รารถนา ซง่ึ เมอ่ื ไดรับความหมายวาตรงกบั คาํ วา วิสัชนา); ใน โอกาสแลว จะขอจากผมู ศี กั ดห์ิ รอื มฐี านะภาษาไทย นิยมใชในความหมายวา ท่ีจะยอมให หรือเอ้ืออํานวยใหเปนขอทาย, ทาํ นาย (ความหมายเดมิ คอื บอก อนุญาตพิเศษ เปน รางวลั หรือเปน ผลความหมายของส่งิ น้นั ๆ เชน ลกั ษณะ แหง ความโปรดปรานหรอื เมตตาการณุ ย,รางกาย ใหแ จม แจง ออกมา) ดงั พรสาํ คญั ตอ ไปน้ี เปน ตวั อยา งพยากรณศาสตร วิชาหรือตําราวาดวย พร ท่ีพระเจาสุทโธทนะทรงขอจากการทํานาย (ในภาษาบาลี ตามปกตใิ ช พระพุทธเจา กลา วคอื เมอ่ื เจา ชายราหลุในความหมายวา ตําราไวยากรณ) ทูลขอทายัชชะ (สมบัติแหงความเปนพยาธิ ความเจ็บไข ทายาท) พระพทุ ธเจา ไดโ ปรดใหเ จา ชายพยาน ผูรเู หน็ เหตุการณ, คน เอกสาร ราหลุ บรรพชา เพอ่ื จะไดโ ลกตุ ตรสมบตั ิหรอื ส่ิงของทอี่ างเปนหลกั ฐาน โดยพระสารบี ตุ รเปน พระอปุ ช ฌาย ครนั้พยาบาท ความขัดเคืองแคน ใจ, ความ พระพทุ ธบดิ าทรงทราบ กไ็ ดเ สดจ็ มาทรงเจบ็ ใจ, ความคดิ รา ย; ตรงขา มกับ เมตตา; ขอพรจากพระพทุ ธเจา ขอใหพ ระภกิ ษุในภาษาไทยหมายถึง ผูกใจเจบ็ และคดิ ท้ังหลายไมบวชบุตรท่ีมารดาบดิ ายังมไิ ด แกแคน อนญุ าต จงึ ไดม พี ทุ ธบญั ญตั ขิ อ นสี้ บื มาพยาบาทวิตก ความตริตรึกในทางคิด (วนิ ย.๔/๑๑๘/๑๖๘) รายตอผูอื่น, ความคิดนึกในทางขัด พร ๘ ประการ ทีน่ างวิสาขาทูลขอเคอื งชงิ ชัง ไมป ระกอบดวยเมตตา (ขอ คือ ตลอดชวี ติ ของตน ปรารถนาจะขอ๒ ในอกศุ ลวติ ก ๓) ถวายผา วสั สิกสาฏกิ า ถวายอาคนั ตกุ ภตัพยุหะ กระบวน, เหลาทหารท่ีระดมจัด ถวายคมิกภตั ถวายคิลานภัต ถวายข้นึ , กองทัพ (บาลี: พยฺ หู ) คลิ านปุ ฏ ฐากภตั ถวายคลิ านเภสชั ถวายพยุหแสนยากร เหลาทหารท่ีระดมจัด ธวุ ยาคู แกสงฆ และถวายอทุ กสาฏกิ าแกยกมาเปน กระบวนทพั , กองทพั (บาลี: ภกิ ษณุ สี งฆ จึงไดมพี ทุ ธานญุ าตผา ภตัพฺยูห+เสนา+อากร; สันสกฤต: วยฺ หู + และเภสชั เหลา นส้ี บื มา (วนิ ย.๕/๑๕๓/๒๑๐)ไสนยฺ +อากร) พร ๘ ประการ ทพี่ ระอานนทท ลู ขอ

พร ๒๕๒ พร(ทาํ นองเปน เงอื่ นไข) ในการทจ่ี ะรบั หนา ท่ี บาํ รงุ พระศาสดา ผอู ปุ ฐากอยางนจี้ ะเปนเปน พระพทุ ธอปุ ฐากประจาํ แยกเปน ก) ภาระอะไร ถา ขาพระองคไ มไ ดพ รขอขา งดา นปฏเิ สธ ๔ ขอ คอื ๑. ถา พระองคจ กั ปลาย จักมีคนพดู ไดว า พระอานนทไมประทานจีวรอันประณีตที่พระองคได บํารุงพระศาสดาอยางไรกัน ความแลว แกข า พระองค ๒. ถา พระองคจ กั ไม อนุเคราะหแ มเ พียงเทานี้ พระองคก็ยังประทานบิณฑบาตอนั ประณตี ทพ่ี ระองค ไมท รงกระทํา สําหรบั พรขอ สุดทาย จกัไดแ ลว แกข า พระองค ๓. ถา พระองคจ กั มีผูถามขาพระองคในท่ีลับหลังพระองคไมโปรดใหขาพระองคอ ยูใ นพระคนั ธกฎุ ี วา ธรรมน้ีๆ พระองคทรงแสดงท่ีไหนทป่ี ระทบั ของพระองค ๔. ถา พระองคจ กั ถาขาพระองคบ อกไมได กจ็ ะมีผูพ ดู ไดไมท รงพาขา พระองคไ ปในทนี่ มิ นต และ วา แมแ ตเร่ืองเทาน้ที า นยงั ไมร ู ทา นจะข) ดา นขอรบั ๔ ขอ คอื ๕. ถา พระองค เที่ยวตามเสด็จพระศาสดาดุจเงาไมละจะเสด็จไปสูท่ีนิมนตที่ขาพระองครับไว พระองคต ลอดเวลายาวนาน ไปทาํ ไม)๖. ถาขาพระองคจักพาบริษัทซึ่งมาเพื่อเฝาพระองคแตท่ีไกลนอกรัฐนอกแควน พรตามตัวอยางขางตนนี้ เปนขอที่เขา เฝา ไดใ นขณะทม่ี าแลว ๗. ถา ขา พระ แสดงความประสงคของอริยสาวกและองคจักไดเขาเฝาทูลถามในขณะเมื่อ อรยิ สาวิกา จะเหน็ วา ไมม เี ร่ืองผลไดแกความสงสยั ของขา พระองคเ กดิ ขนึ้ ๘. ถา ตนเองของผขู อ สว นพรที่ปถุ ชุ นขอ มีพระองคทรงแสดงธรรมอันใดในท่ีลับ ตัวอยา งที่เดน คอืหลังขาพระองค จักเสด็จมาตรัสบอกธรรมอนั นนั้ แกข า พระองค, พระพทุ ธเจา พร ๑๐ ประการ (ทศพร) ทพี่ ระผสุ ดีตรัสถามทานวาเห็นอาทีนพคือผลเสีย เทวีทูลขอกะทาวสักกะ เมื่อจะจุติจากอะไรใน ๔ ขอ ตน และเหน็ อานสิ งสค อื เทวโลกมาอบุ ตั ใิ นมนษุ ยโลก ไดแ ก ๑.ผลดอี ะไรใน ๔ ขอ หลงั จงึ ขออยา งน้ี อคคฺ มเหสภิ าโว ขอใหไ ดป ระทบั ในพระเม่ือพระอานนททูลชี้แจงแลว ก็ทรง ราชนเิ วศน (เปน อคั รมเหส)ี ของพระเจาอนญุ าตตามทที่ า นขอ (เชน ท.ี อ.๒/๑๔) สวี ริ าช ๒. นลี เนตตฺ ตา ขอใหม ดี วงเนตร ดาํ ดงั ตาลกู มฤคี ๓. นลี ภมกุ ตา ขอใหม ี (ขอ ชแ้ี จงของพระอานนท คือ ถาขา ขนคว้ิ สดี าํ นลิ ๔. ผสุ สฺ ตตี ิ นามํ ขอใหม ีพระองคไ มไดพ ร ๔ ขอตน จักมีคนพดู นามวา ผสุ ดี ๕. ปตุ ตฺ ปฏลิ าโภ ขอใหไ ดไดวา พระอานนทไดลาภอยางนนั้ จึง พระราชโอรส ผใู หส งิ่ ประเสรฐิ มพี ระทยั โอบเออื้ ปราศความตระหน่ี ผอู นั ราชาทวั่

พรต ๒๕๓ พรรณนาทกุ รฐั บชู า มเี กยี รตยิ ศ ๖. อนนุ นฺ ตกจุ ฉฺ ติ า ในพุทธพจนวา “ทายกผใู หโ ภชนะ ชื่อวาเมอ่ื ทรงครรภข ออยา ใหอ ทุ รปอ งนนู แต ยอมใหฐานะ ๕ ประการ แกปฏคิ าหกพึงโคงดังคันธนูที่นายชางเหลาไวเรียบ กลา วคอื ใหอายุ วรรณะ สขุ ะ พละเกลยี้ งเกลา ๗. อลมพฺ ตถฺ นตา ขอยคุ ล ปฏภิ าณ ครั้นให ... แลว ยอ มเปน ภาคีถนั อยา ไดห ยอ นยาน ๘. อปลติ ภาโว ขอ แหง อายุ ... วรรณะ ... สุขะ ... พละ ...เกศาหงอกอยา ไดม ี ๙. สขุ มุ จฉฺ วติ า ขอ ปฏิภาณ ที่เปนทิพย หรือเปนของใหมีผิวเนื้อละเอียดเนียนธุลีไมติดกาย มนษุ ย กต็ าม” (อง.ฺ ปจฺ ก.๒๒/๓๗/๔๔)๑๐. วชฌฺ ปปฺ โมจนสมตถฺ ตา ขอใหป ลอ ย ธรรม หรอื ฐานะ ๕ อันเรยี กไดว านกั โทษประหารได (ข.ุ ชา.๒๘/๑๐๔๘/๓๖๕) เปน “เบญจพิธพร” (พรหา ประการ) อีกในภาษาไทย “พร” มีความหมาย ชุดหนง่ึ ทค่ี วรนาํ มาปฏิบตั ิ พึงศึกษาในเพ้ียนไป กลายเปนคําแสดงความ พุทธพจนวา “ภิกษุทง้ั หลาย เธอทง้ั หลายปรารถนาดี ซ่ึงกลาวหรือใหโดยไมต อ ง จงเท่ียวไปในแดนโคจรของตน อันสบืมีการขอหรือการแสดงความประสงค มาแตบิดา... เมื่อเท่ียวไปในแดนโคจรของผูรับ และมักไมคํานึงวาจะมีการ ของตน อันสบื มาแตบ ิดา เธอท้ังหลายปฏบิ ัติหรือทําใหส าํ เรจ็ เชน น้ันหรอื ไม จกั เจรญิ ทง้ั ดว ยอายุ ...ทง้ั ดวยวรรณะ “พร” ทีน่ ิยมกลาวในภาษาไทย เชน ...ทง้ั ดวยสุข ...ทั้งดวยโภคะ ...ทงั้ ดว ยวา “จตรุ พธิ พร” (พรสีป่ ระการ) นั้น ในภาษาบาลเี ดมิ ไมเ รยี กวา “พร” แตเ รยี กวา พละ” และทรงไขความไววา สาํ หรับ ภกิ ษุ อายุ อยูที่อิทธิบาท ๔ วรรณะ“ธรรม” บา ง วา “ฐานะ” บา ง ดงั ในพุทธ- อยูที่ศลี สขุ อยทู ่ีฌาน ๔ โภคะ อยทู ี่ อปั ปมญั ญา (พรหมวหิ าร) ๔ พละ อยทู ี่พจนวา “ธรรม ๔ ประการ คอื อายุ วมิ ตุ ติ (เจโตวมิ ตุ ตแิ ละปญญาวิมุตตทิ ี่วรรณะ สขุ ะ พละ ยอมเจรญิ แกบคุ คลผูมีปกติอภวิ าท ออนนอมตอวุฒชนเปน หมดส้ินอาสวะ) (ที.ปา.๑๑/๕๐/๘๕) สวนนติ ย” (ข.ุ ธ.๒๕/๑๘/๒๙) แดนโคจรของตน ท่สี บื มาแตบดิ า กค็ อืธรรม หรอื ฐานะทีเ่ รียกอยา งไทยได สตปิ ฏ ฐาน๔ (ส.ํ ม.๑๙/๗๐๐/๑๙๘)วาเปนพรอยางน้ี ในพระไตรปฎ กมอี ีก พรต ขอ ปฏบิ ัตทิ างศาสนา, ธรรมเนียมหลายชดุ มีจาํ นวน ๕ บา ง ๖ บา ง ๗ บาง ความประพฤติของผูถือศาสนาท่ีคูกันท่ีควรทราบ คอื ฐานะ ๕ อันเรยี กไดวา กบั ศลี , วัตร, ขอ ปฏบิ ัติประจําเปน “เบญจพธิ พร” (พรหา ประการ) ดงั พรรณนา เลา ความ, ขยายความ, กลา ว

พรรษกาล ๒๕๔ พรหมไทย ถอ ยคาํ ใหผ ูฟ งนกึ เหน็ เปนภาพ นยั สดุ ทา ย (อรยิ มรรค และพระศาสนา);พรรษกาล ฤดฝู น (พจนานุกรมเขยี น ในศาสนาพราหมณ พรหมจรรย หมาย พรรษากาล) ถึงการครองชีวิตเวนเมถุนและประพฤติพรรษา ฤดฝู น, ป, ปข องระยะเวลาทบี่ วชพรรษาธษิ ฐาน อธษิ ฐานพรรษา, กาํ หนด ปฏิบัติตนเครงครัดตางๆ ทจ่ี ะควบคมุ ใจวา จะจําพรรษา; ดู จาํ พรรษาพรหม ผูป ระเสริฐ, เทพในพรหมโลก ตนใหมุง มนั่ ในการศึกษาไดเ ต็มท่ี โดย เฉพาะในการเรยี นพระเวท โดยนยั หมาย ถึงการศึกษาพระเวท และหมายถงึ ชว งเปนผูไมเกีย่ วของดว ยกาม มี ๒ พวก เวลาหรือข้ันตอนของชีวิตท่ีพึงอุทิศเพื่อคือ รูปพรหมมี ๑๖ ชั้น อรูปพรหมมี ๔ การศึกษาอยา งนั้น (บาล:ี พรฺ หฺมจริย)ชัน้ ; ดู พรหมโลก; เทพสงู สุดหรือพระผู พรหมจริยะ ดู พรหมจรรย พรหมจารี ผูป ระพฤตพิ รหมจรรย, นักเปน เจาในศาสนาพราหมณพรหมจรรย “จริยะอนั ประเสรฐิ ”, “การ เรียนพระเวท, ผูประพฤติธรรมมีเวนครองชวี ิตประเสริฐ”, ตามทเี่ ขาใจกันท่วั จากเมถนุ เปน ตน ; ดู อาศรมไป หมายถึงความประพฤติเวนเมถุน พรหมทัณฑ โทษอยางสูง คอื สงฆหรือการครองชีวิตดังเชนการบวชท่ีละ ตกลงกันลงโทษภิกษุรูปใดรูปหน่ึงโดยเวนเมถุน แตแ ทจริงนน้ั พรหมจรรย ภกิ ษุท้งั หลายพรอ มใจกนั ไมพูดดว ย ไมคอื พรหมจรยิ ะ เปน หลกั การใหญท ใี่ ชใ น วากลาวตักเตือน หรือสั่งสอนภิกษุรูปแงค วามหมายมากหลาย ดงั ทอ่ี รรถกถา น้ัน, พระฉนั นะซึ่งเปนภิกษุเจาพยศ ถอืแหง หนงึ่ ประมวลไว ๑๐ นยั คอื หมายถงึ ตัววาเปนคนเกาใกลชิดพระพุทธเจามาทาน ไวยาวจั จ (คอื การขวนขวายชว ย กอนใครอื่น ใครวา ไมฟง ภายหลงั ถกูเหลอื รบั ใชท าํ ประโยชน) เบญจศลี อปั ป- สงฆลงพรหมทัณฑถึงกับเปนลมลมมญั ญาสี่ (คอื พรหมวหิ ารส)่ี เมถนุ วริ ตั ิ สลบหายพยศได; ดูท่ี ปกาสนียกรรม,(คือการเวนเมถนุ ) สทารสนั โดษ (คอื อสมั มขุ ากรณยี ความพอใจเฉพาะภรรยาหรอื คคู รองของ พรหมไทย ของอนั พรหมประทาน, ของตน) ความเพียร การรักษาอุโบสถ ใหท ปี่ ระเสรฐิ สดุ หมายถงึ ทดี่ นิ หรอื บา นอรยิ มรรค พระศาสนา (อนั รวมไตรสกิ ขา เมืองท่ีพระราชทานเปนบําเหน็จ เชนท้งั หมด) เฉพาะอยา งยง่ิ ความหมาย เมืองอุกกุฏฐะที่พระเจาปเสนทิโกศลสาํ คญั ทพี่ ระพทุ ธเจา ตรสั เปน หลกั คอื ๒ พระราชทานแกโปกขรสาติพราหมณ

พรหมบญุ ๒๕๕ พระ-และนครจัมปาที่พระเจาพิมพิสารพระ ทูลถามปญหาตางๆ มีความเลื่อมใส ราชทานใหโ สณทณั ฑพราหมณป กครอง และไดบ รรลธุ รรมเปน พระอนาคามีพรหมบุญ บุญอยางสงู เปนคําแสดง พรอมหนาธรรมวินัย (ระงับอธิกรณ)อานิสงสของผูชักนําใหสงฆสามัคคี โดยนําเอาธรรมวินัย และสัตถุสาสนท่ีปรองดองกัน ไดพรหมบุญจักแชมชื่น เปนหลักสําหรับระงับอธิกรณน้ันมาใชในสวรรคต ลอดกลั ป โดยครบถว น คอื วนิ จิ ฉยั ถกู ตอ งโดยธรรมพรหมโลก ทอี่ ยขู องพรหม ตามปกตหิ มาย และถูกตองโดยวินัย (ธัมมสัมมุขตา-ถงึ รปู พรหม ซงึ่ มี ๑๖ ชน้ั (เรยี กวา รปู - วนิ ยสัมมุขตา)โลก) ตามลาํ ดบั ดงั น้ี ๑. พรหมปารสิ ชั ชา พรอ มหนา บคุ คล บุคคลผเู ก่ียวขอ งใน๒. พรหมปโุ รหติ า ๓. มหาพรหมา ๔. เรือ่ งน้นั อยูพ รอ มหนา กัน เชน ควู วิ าทปรติ ตาภา ๕. อปั ปมาณาภา ๖. อาภสั สรา หรอื คคู วามพรอ มหนา กนั ในววิ าทาธกิ รณ๗. ปรติ ตสภุ า ๘. อปั ปมาณสุภา ๙. สุภ- และในอนุวาทาธิกรณ เปน ตน (ปุคคล-กณิ หา ๑๐. อสัญญสี ัตตา ๑๑. เวหปั ผลา สมั มุขตา)๑๒. อวหิ า ๑๓. อตปั ปา ๑๔. สทุ สั สา พรอมหนาวัตถุ ยกเร่ืองที่เกิดนั้นข้ึน๑๕. สุทสั สี ๑๖. อกนิฏฐา; นอกจากน้ี พจิ ารณาวินจิ ฉัย เชน คาํ กลา วโจทเพอื่ ยงั มี อรปู พรหม ซงึ่ แบง เปน ๔ ชน้ั (เรยี ก เริ่มเร่ือง และขอวิวาทที่ยกขึ้นแถลง วา อรปู โลก) คอื ๑. อากาสานญั จายตนะ เปนตน (วตั ถสุ ัมมขุ ตา) ๒. วิญญาณญั จายตนะ ๓. อากิญจญั - พรอ มหนา สงฆ ตอหนาภกิ ษเุ ขา ประชมุ ญายตนะ ๔. เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ ครบองค และไดน าํ ฉันทะของผูควรแกพรหมวิหาร ธรรมเครอ่ื งอยูข องพรหม, ฉนั ทะมาแลว (สังฆสมั มขุ ตา) ธรรมประจําใจอันประเสริฐ, ธรรม พระ- คาํ นาํ หนา ทใ่ี ชประกอบหนา คาํ อ่ืน ประจาํ ใจของทานผูมีคุณความดีย่งิ ใหญ เพือ่ แสดงความยกยอ ง เคารพ นับถือ มี ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทติ า อเุ บกขาพรหมายุ ช่ือพราหมณคนหน่ึง อายุ หรือใหความสาํ คัญ เชน นารายณ เปน ๑๒๐ ป เปน ผเู ชี่ยวชาญไตรเพท อยู ณ พระนารายณ ราชา เปน พระราชา เมืองมิถิลา ในแควน วเิ ทหะ ไดสง ศิษย (คําทข่ี ึ้นตนดว ย พระ- ซ่งึ ไมพบ มาตรวจดูมหาบุรุษลักษณะของพระ ในลําดับ ใหต ัด พระ ออก แลว ดูใน ลําดับของคําน้ัน เชน พระนารายณ ดู พุทธเจา ตอมาไดพบกับพระพุทธเจา นารายณ พระราชา ดู ราชา)

พระเครอื่ ง ๒๕๖ พระพุทธเจาพระเครื่อง พระเคร่อื งราง, พระพทุ ธรูป พระปา ดู อรญั วาสีองคเ ลก็ ๆ ทน่ี ับถือเปน เครอื่ งราง มกั ใช พระผูเปนเจา พระภิกษุ, เทพผูเปนเปน ของตดิ ตวั ดู เครอื่ งราง ใหญ, เทพสูงสุดท่ีนับถือวาเปนผูสรางพระโคดม, พระโคตมะ พระนามของ สรรคบันดาลทุกสิง่ ทุกอยา ง; คนไทยใช พระพุทธเจา เรยี กตามพระโคตร คําวาพระผูเปนเจา เปนคําเรียกพระพระเจา พระพุทธเจา, พระพทุ ธรูป, เทพ ภิกษุ มาแตโบราณ เชนวา “ขออาราธนาผูเปนใหญ; คนไทยใชคําวาพระเจา พระผูเปนเจาแสดงพระธรรมเทศนา”หมายถงึ พระพุทธเจา มาแตโบราณ เชน แตคงเปนดวยวา ตอ มา เมอ่ื ศาสนกิวา “พระเจาหาพระองค” ก็คือ พระพทุ ธ แหงศาสนาท่นี บั ถอื เทพเปนใหญ ใชค าํเจา ๕ พระองค แตคงเปน ดว ยวา ตอ น้ีเรียกเทพสูงสุดของตนกันแพรหลายมาเม่ือศาสนิกแหงศาสนาที่นับถือเทพ ข้ึน พุทธศาสนิกชนจึงใชค าํ น้ีนอยลงๆเปน ใหญ ใชค ําน้ีเรยี กเทพเปน ใหญของ จนบัดน้ีแทบไมเขาใจวา เปน คําที่ใชมาในตนกนั แพรหลายข้ึน พทุ ธศาสนิกชนจึง พระพุทธศาสนาใชคําน้ีนอยลงๆ จนบัดนแี้ ทบไมเขา ใจ พระผมู ีพระภาคเจา พระนามของพระวา เปน คําท่ใี ชม าในพระพทุ ธศาสนา พุทธเจาพระชนม อาย,ุ การเกิด, ระยะเวลาที่ พระพรหม ดู พรหมเกดิ มา พระพทุ ธเจา พระผตู รสั รเู องโดยชอบแลวพระชนมายุ อายุ สอนผูอนื่ ใหรตู าม, ทานผรู ูดรี ชู อบดว ยพระดาบส ดู ดาบส ตนเองกอนแลว สอนประชุมชนใหพระธรรม คําส่ังสอนของพระพุทธเจา ประพฤตชิ อบดวยกาย วาจา ใจ; พระ ทง้ั หลกั ความจรงิ และหลกั ความประพฤติ พทุ ธเจา ๗ พระองคที่ใกลกาลปจ จบุ นัพระนม แมน ม ทีส่ ดุ และคมั ภีรกลา วถงึ บอยๆ คอื พระพระนาคปรก พระพทุ ธรปู ปางหนงึ่ มรี ปู วปิ ส สี พระสขิ ี พระเวสสภู พระกกสุ นั ธะ นาคแผพ ังพานอยขู า งบน; ดู มจุ จลินท พระโกนาคมน พระกสั สป และพระโคดม;พระบรมศาสดา พระผูเปนครูผูยิ่ง พระพุทธเจา ๕ พระองคแหงภัทรกัปใหญ, พระผูเปนครสู ูงสดุ หมายถงึ พระ ปจจุบันนี้ คือ พระกกุสันธะ พระ พทุ ธเจา โกนาคมน พระกสั สป พระโคดม และพระบา น ดู คามวาสี พระเมตเตยยะ (เรยี กกันสามัญวา พระ

พระพทุ ธเจา ๒๕๗ พระพุทธเจาศรีอารย หรือ พระศรอี รยิ เมตไตรย); สวามี, นรวระ, นรสีห, นาถะ, นายก,พระพทุ ธเจา ๒๕ พระองคนบั แตพ ระ พุทธะ, ภควา (พระผูมีพระภาค),องคแรกที่พระโคตมพุทธเจา (พระ ภรู ิปญ ญะ, มหามนุ ี, มเหสิ (มเหสี ก็พุทธเจาองคปจจุบัน) ไดทรงพบและ ใช) , มารช,ิ มนุ ี, มนุ ินท, (มนุ นิ ทร กใ็ ช) ,ทรงไดรับการพยากรณวาจะไดสําเร็จ โลกครุ, โลกนาถ, วรปญญะ, วินายก,เปน พระพทุ ธเจา (รวม ๒๔ พระองค) จน สมนั ตจกั ขุ (สมนั ตจกั ษ)ุ , สยมั ภ,ู สัตถาถงึ พระองคเ องดว ย คอื ๑. พระทปี ง กร (พระศาสดา), สพั พญั ,ู สมั มาสมั พทุ ธ,๒. พระโกณฑญั ญะ ๓. พระมงั คละ ๔. สคุ ต, อนธิวร, อังคีรส; และสาํ หรบั พระพระสมุ นะ ๕. พระเรวตะ ๖. พระโสภติ ะ พุทธเจาพระองคปจจุบัน มีพระนาม๗. พระอโนมทสั สี ๘. พระปทมุ ะ ๙. เฉพาะเพมิ่ อีก ๗ คํา คอื โคตมะ สกั กะพระนารทะ ๑๐. พระปทมุ ุตตระ ๑๑. (ศากยะ) สักยมุนิ (ศากยมนุ )ี สักยสีหพระสเุ มธะ ๑๒. พระสุชาตะ ๑๓. พระ (ศากยสิงห) สิทธัตถะ สุทโธทนิปยทัสสี ๑๔. พระอัตถทัสสี ๑๕. พระ อาทิจจพนั ธุ; ดู อังคีรส ดว ยธมั มทสั สี ๑๖. พระสทิ ธัตถะ ๑๗. พระตสิ สะ ๑๘. พระปุสสะ ๑๙. พระวปิ ส สี ขอควรทราบบางประการเก่ียวกับ๒๐. พระสขิ ี ๒๑. พระเวสสภู ๒๒. พระพทุ ธเจา พระองคป จจุบัน ตามท่ตี รัสพระกกุสนั ธะ ๒๓. พระโกนาคมน ๒๔. ไวใ นคัมภรี พุทธวงส (โคตมพทุ ฺธวส, ข.ุ พทุ ธ.พระกสั สปะ ๒๕. พระโคตมะ (เรือ่ งมา ๓๓/๒๖/๕๔๓) คือ พระองคเปนพระสัม-ในคัมภีรพุทธวงส แหงขุททกนิกาย พทุ ธเจา พระนามวา โคดม (โคตมพทุ ธ)พระสุตตนั ตปฎ ก); ดู พุทธะ ดว ย เจรญิ ในศากยสกลุ พระนครอันเปน ถ่ิน กําเนดิ ช่อื กบลิ พัสดุ พระบดิ าคอื พระเจา พระนามตางๆ เพ่ือกลาวถึงพระ สุทโธทนะ พระมารดามีพระนามวาพทุ ธเจา ซงึ่ เปน คาํ กลางๆ ใชแ กพ ระองค มายาเทวี ทรงครองฆราวาสอยู ๒๙ ปใดก็ได มีมากมาย เชน ทปี่ ระมวลไวใน มปี ราสาท ๓ หลงั ชอ่ื สจุ นั ทะ โกกนทุคัมภรี อ ภิธานปั ปทปี กา (คาถาที่ ๑-๔) และโกญจะ มเหสีพระนามวายโสธรามี ๓๒ คํา (ในทนี่ ี้ ไดปรบั ตัวสะกด และจัดเรียง โอรสพระนามวาราหุล ทอดพระเนตรตามลําดบั อกั ษรอยา งภาษาไทย) คือ จักขุมา, เห็นนมิ ิต ๔ ประการแลว เสดจ็ ออกชินะ, ตถาคต, ทศพล, ทิปทุตตมะ ผนวชดว ยมา เปน ราชยาน บําเพ็ญทกุ ร-(ทปิ โทดม), เทวเทพ, ธรรมราชา, ธรรม- กิรยิ าอยู ๖ ป ประกาศธรรมจกั รทปี่ า

พระมหาบรุ ษุ ลักษณะ ๒๕๘ พราหมณดาบสอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั แขวงเมอื งพาราณสี พุทธเจาแลวปฏิบัติชอบตามพระธรรมพระอคั รสาวกทง้ั สอง คอื พระอุปตสิ สะ วินยั , หมูสาวกของพระพุทธเจา ; ดู สงฆ(พระสารบี ตุ ร) และพระโกลิตะ (พระ พระสมณโคดม คําทคี่ นภายนอกนยิ มมหาโมคคัลลานะ) พุทธอปุ ฏฐากช่ือวา ใชเ ม่ือกลา วถงึ พระพทุ ธเจาพระอานนท พระอคั รสาวิกาทง้ั สอง คอื พระสมั พทุ ธเจา พระผูต รสั รูเ อง หมายพระเขมา และพระอบุ ลวรรณา อัคร- ถงึ พระพทุ ธเจาอุปฏ ฐากอบุ าสก คอื จิตตคฤหบดี และ พระสาวก ผูฟ งคาํ สอน, ศิษยของพระหตั ถกะอาฬวกะ อคั รอปุ ฏ ฐายกิ าอบุ าสกิ า พทุ ธเจา; ดู สาวกคอื นนั ทมารดา (หมายถึง เวฬกุ ณั ฏกี พระสูตร ดู สตู รนันทมารดา) และอุตตรา (หมายถึง พระเสขะ ดู เสขะขุชชุตตรา) บรรลสุ มั โพธญิ าณทค่ี วงไม พระอภิธรรม ดู อภิธรรมอัสสัตถพฤกษ (คือ ไมอัสสัตถะ พระอูรุ ดู อรู ุ*เปนตนโพธิ์) มีสาวกสันนิบาต (การ พราหมณ คนวรรณะหนึง่ ใน ๔ วรรณะประชมุ พระสาวก) ครง้ั ใหญ คร้งั เดียว คอื กษตั รยิ  พราหมณ แพศย ศทู ร;ภกิ ษผุ เู ขา รว มประชมุ ๑,๒๕๐ รปู ถงึ จะ พราหมณเปนวรรณะนักบวชและเปนดํารงชนมอยูภายในอายุขัยเพียงรอยป เจาพิธี ถอื ตนวาเปน วรรณะสงู สุด เกิดก็ชวยใหหมูชนขามพนวัฏสงสารไดมาก จากปากพระพรหม; ดู วรรณะมาย ท้ังตง้ั คบเพลงิ ธรรมไวป ลกุ คนภาย พราหมณคหบดี พราหมณแ ละคหบดีหลงั ใหเกิดมปี ญ ญาไดต รัสรตู อไป คอื ประดาพราหมณ และชนผูเปน เจาพระมหาบุรุษลักษณะ ดู มหาบุรุษ- บา นครองเรือนท้งั หลายอ่ืน ที่นอกจากลกั ษณะ กษัตริยและพราหมณนั้น เฉพาะอยางพระยม ดู ยม ยิ่งคือพวกแพศย; ดู วรรณะพระยส ดู ยส พราหมณดาบส ดาบสท่ีมีชาติตระกูลพระรตั นตรัย ดู รัตนตรัย เปนพราหมณ ออกมาบําเพ็ญพรตถือพระวินยั ดู วนิ ยั เพศเปน ดาบส, มบี ันทึกในอรรถกถาวาพระศาสดา ผูสอน เปนพระนามเรียก คร้ังอดีตสมัยพระเจาโอกกากราช ในพระพุทธเจา ; ดู ศาสดา ดนิ แดนแถบทกั ขณิ าบถ อนั เปน ทกั ษณิ -พระสงฆ หมชู นทฟี่ งคําสง่ั สอนของพระ ชนบท มีพวกพราหมณดาบสอยมู าก

พราหมณทาํ นายพระมหาบรุ ุษ ๒๕๙ พละ——————————————— สินความเลศิ ประเสริฐน้ัน โดยชาติ คอื*คําขึน้ ตนดวย พระ- ซึง่ ไมพ บในลําดบั ใหต ัด พระ ออกแลว ดูในลาํ ดับของคาํ น้ัน กําเนดิ โดยโคตร คือสายตระกูล ซ่ึงผูกพราหมณทํานายพระมหาบุรุษ ใน พนั กบั อาวาหะววิ าหะ คอื การแตง งาน ที่พระพุทธประวัติ มคี วามตามทเี่ ลา ไวใน อา งออกมาวา ทานคคู วรกับเรา หรืออรรถกถา (เชน ชา.อ.๑/๘๘) วา เม่ือพระ ทานไมคูควรกับเรา ตางกับพระพุทธโพธิสัตวประสูติแลวผานมาถึงวันที่ ๕ ศาสนาซ่ึงใหวัดหรือตดั สนิ คนดว ยกรรมเปน วนั ขนานพระนาม พระเจา สทุ โธทนะ คอื การกระทําความประพฤติ โดยถือวาโปรดใหเชิญพราหมณผูจบไตรเพท ส่ิงท่ีทาํ ใหเ ลศิ ใหประเสรฐิ คอื วชิ ชาจรณะจํานวน ๑๐๘ คนมาฉันโภชนาหารแลว (วิชชาและจรณะ; พราหมณบอกวา เขาทํามงคลรับพระลกั ษณะ และขนานพระ ก็ถอื วชิ ชาและจรณะดว ย แตวิชชาของนามวา “สทิ ธัตถะ”, ในบรรดาพราหมณ เขาหมายถึงไตรเพท และจรณะท่ีเขาถอืรอยแปดคนนั้น พราหมณท่ีเปนผูรับ อยูเพียงศีล ๕), พราหมณสมัย หรือพระลกั ษณะมี ๘ คน คอื ราม ธัช พราหมณวาท ก็เรียกลักขณ สชุ าตมิ นตรี โภช สยุ าม สุทตั ต พราหมณสมัย ลัทธิพราหมณ; ดูและโกณฑัญญะ ในแปดคนน้ี เจด็ ทาน พราหมณลัทธิแรกชูนว้ิ ขน้ึ ๒ น้ิว และพยากรณเ ปน พราหมณี นางพราหมณ, พราหมณผ ู๒ อยาง คือ ถา ทรงอยูครองฆราวาส หญงิจะทรงเปนพระเจาจักรพรรดิราช แต พละ กําลัง 1. พละ ๕ คือธรรมอนั เปนหากออกผนวช จะเปนพระพุทธเจา กาํ ลัง ซ่ึงทาํ ใหเ กดิ ความเขมแขง็ มนั่ คงสว นทานท่ี ๘ ซ่งึ มีอายนุ อ ยทสี่ ุด คอื ดํารงอยูไดในสัมปยุตตธรรมทั้งหลายโกณฑญั ญะ ชนู ว้ิ เดยี ว และพยากรณว า อยางไมหวั่นไหว อันธรรมที่เปน จะทรงเปน พระพทุ ธเจาอยางแนนอน; ดู ปฏิปกษจ ะเขา ครอบงาํ ไมไ ด เปน เครื่อง มหาบรุ ษุ ลกั ษณะ; เทยี บ อสติ ดาบสพราหมณมหาสาล พราหมณผมู งั่ คงั่ เกอื้ หนนุ แกอริยมรรค จัดอยูในจําพวกพราหมณลัทธิ ลัทธพิ ราหมณ คือ หลัก โพธปิ ก ขยิ ธรรม มี ๕ คือ ศรัทธา วิริยะ การ หรอื ขอยึดถอื ของพวกพราหมณ ที่ สติ สมาธิ ปญญา; ดู อนิ ทรยี  ๕, โพธิ- ปก ขยิ ธรรม 2. พละ ๔ คือธรรมอันเปนกําหนดวา พราหมณเปนวรรณะที่ พลังทําใหดําเนินชีวิตดวยความมั่นใจประเสรฐิ เลิศ สูงสุด อันใหวดั หรอื ตดั ไมตองหวาดหวั่นกลัวภัยตางๆ ไดแก

พลความ ๒๖๐ พหุพจน,พหูพจน๑. ปญ ญาพละ กาํ ลังปญ ญา ๒. วิริย- เปนคาใชจายประจาํ สําหรับการทําหนาที่พละ กาํ ลงั ความเพยี ร ๓. อนวชั ชพละ เกื้อกูลตอผูอ่ืนและการสงเคราะหชวยกําลังคือการกระทําที่ไมมีโทษ (กําลัง เหลือกันในดานตางๆ, การทําหนาที่ความสุจริตและการทําแตกรรมท่ีดีงาม) เก้ือกูลตอผูอื่นและการสงเคราะหชวย๔. สงั คหพละ กาํ ลังการสงเคราะห คือ เหลอื กนั ทพี่ งึ ปฏบิ ตั ยิ ามปกตเิ ปน ประจาํชวยเหลือเก้ือกูลอยูรวมกับผูอ่ืนดวยดี โดยใชรายไดหรือทรัพยท่ีจัดสรรสละทําตนใหเปนประโยชนแกสังคม 3. เตรียมไวส าํ หรบั ดา นน้นั ๆ มี ๕ คอื ๑.พละ ๕ หรอื ขัตติยพละ ๕ ไดแ กก ําลัง ญาติพลี สงเคราะหญาติ ๒. อติถิพลีของพระมหากษัตรยิ  หรอื กําลงั ทที่ าํ ใหมี ตอนรับแขก ๓. ปุพพเปตพลี ทําบญุความพรอ มสาํ หรบั ความเปนกษัตรยิ  ๕ อทุ ศิ ใหผ ูตาย ๔. ราชพลี ถวายเปนประการ ดงั แสดงในคมั ภีรชาดก คอื ๑. หลวง หรอื บาํ รงุ ราชการ เชน เสยี ภาษีพาหาพละ หรอื กายพละ กาํ ลงั แขนหรือ อากร ๕.เทวตาพลี ทาํ บญุ อทุ ศิ ใหเ ทวดากําลงั กาย คอื แข็งแรงสุขภาพดี สามารถ พหุบท “มีเทามาก” หมายถึงสัตวในการใชแขนใชมือใชอาวุธ มีอุปกรณ ดิรัจฉานที่มีเทามากกวาสองเทาและสี่พรงั่ พรอ ม ๒. โภคพละ กาํ ลงั โภคสมบตั ิ เทา เชน ตะขาบ กง้ิ กือ เปน ตน๓. อมจั จพละ กาํ ลงั ขา ราชการทป่ี รกึ ษา พหุปุตตเจดีย เจดียสถานแหงหนึ่งอยูและผบู รหิ ารทสี่ ามารถ ๔. อภชิ ัจจพละ ทางเหนือของเมืองเวสาลี นครหลวงกําลงั ความมชี าติสูง ตองดวยความนิยม ของแควนวชั ชี เปนสถานทที่ ่พี ระพุทธ-เชิดชูของมหาชน และไดรับการศึกษา เจาเคยทรงทํานิมิตตโอภาสแกพระอบรมมาดี ๕. ปญญาพละ กาํ ลงั ปญญา อานนท พหปุ ตุ ตนโิ ครธ ตน ไทรอยูระหวา งกรุงซงึ่ เปนขอสาํ คัญท่สี ุดพลความ ขอความทไี่ มใชสาระสําคัญ ราชคฤหและเมืองนาลันทา ปปผลิ-พลววิปส สนา วิปส สนาที่มีกําลัง ทแ่ี รง มาณพไดพบพระพุทธเจาและขอบวชท่ีกลา หรอื อยางเขม; ดู วิปสสนูปกิเลส, ตน ไทรนี้ เขยี นวา พหุปุตตกนิโครธกม็ ีญาณ ๑๖ พหุพจน, พหพู จน คาํ ที่กลาวถึงสงิ่ มากพลี ทางพราหมณ คอื บวงสรวง, ทางพทุ ธ กวา หน่ึง คือตง้ั แตสองสง่ิ ขนึ้ ไป, เปนคาํคอื สละเพอ่ื ชวยหรือบชู า หมายถงึ การ ทใี่ ชใ น ไวยากรณบาลแี ละไทย คกู ับจัดสรรสละรายไดหรือทรัพยบางสวน เอกพจน ซ่ึงกลาวถึงสิ่งเดียว; แตใน

พหุลกรรม ๒๖๑ พหุสตู ,พหูสูตไวยากรณสันสกฤตจํานวนสองเปน หลาย คือ จากกามาสวะ ภวาสวะทวพิ จน หรือทวิวจนะ จาํ นวนสามข้นึ อวชิ ชาสวะ’”, โดยใจความ ก็คอื หลกัไป จงึ จะเปนพหุพจน ไตรสิกขา; จะใชว า พหลุ ธมั มกี ถา หรอืพหลุ กรรม กรรมทาํ มาก หรือกรรมชนิ พหลุ ธรรมกถากไ็ ด; เทยี บพหลุ านสุ าสนีไดแก กรรมท้ังที่เปนกุศลและอกุศลท่ี พหลุ านุสาสนี คาํ แนะนําพราํ่ สอนทตี่ รสัทาํ บอยๆ จนเคยชิน ยอ มใหผลกอ น เปนอันมาก, ตามเรื่องในจูฬสัจจกสูตร กรรมอืน่ เวน ครกุ รรม เรียกอกี อยา งวา (ม.ม.ู ๑๒/๓๙๓/๔๒๓) วา สจั จกนคิ รนถไ ดต งั้ อาจณิ ณกรรม (ขอ ๑๐ ในกรรม ๑๒) คาํ ถามกะพระอสั สชดิ งั น้ี “ทา นพระอสั สชิพหลุ ธรรมกี ถา ธรรมกี ถา หรอื ธรรมกถา ผเู จรญิ พระสมณะโคดม แนะนาํ ใหเ หลาที่ตรัสมาก, พระพุทธดํารัสบรรยาย สาวกศกึ ษาอยา งไร และคาํ สงั่ สอน (อน-ุอธบิ ายธรรม ที่ตรสั เปน อนั มาก, ความ ศาสน)ี ของพระสมณะโคดม สว นอยา งในมหาปรินิพพานสูตร เลาเหตุการณ ไหน เปน ไปมากแกเ หลา สาวก” ทา นพระเม่ือพระพุทธเจาเสด็จผานและทรงหยุด อสั สชติ อบวา “ดกู รอคั คเิ วสสนะ พระผมู ีประทับในที่หลายแหง โดยกลาวเพียง พระภาค ทรงแนะนาํ ใหสาวกท้ังหลายสั้นๆ อยางรวบรดั วา ณ ทีน่ น้ั ๆ (มี ๘ ศกึ ษาอยา งน้ี และอนศุ าสนขี องพระผมู ีแหง เริ่มแต ท.ี ม.๑๐/๗๕/๙๕) พระพุทธ พระภาค สวนอยางนี้ เปนไปมากแกเจา ตรสั พหุลธรรมกี ถา คอื ศลี สมาธิ สาวกทง้ั หลาย ดงั นว้ี า ‘ภกิ ษทุ งั้ หลาย รปูปญ ญา แกภ กิ ษทุ ั้งหลาย ดังตวั อยาง ไมเ ทย่ี ง เวทนาไมเ ทยี่ ง สญั ญาไมเ ทยี่ งวา “ไดทราบวา พระผูมีพระภาคเจา เมอื่ สงั ขารทง้ั หลายไมเ ทยี่ ง วญิ ญาณไมเ ทยี่ งประทบั อยู ณ ภเู ขาคชิ ฌกฏู เขตพระ รปู ไมใ ชต น เวทนาไมใ ชต น สญั ญาไมใ ชนครราชคฤห แมน ้นั ทรงกระทําธรรม-ี ตน สงั ขารทงั้ หลายไมใ ชต น วญิ ญาณไมกถาอันน้ีแหละเปนอันมากแกภิกษุทั้ง ใชต น สงั ขารทงั้ ปวงไมเ ทยี่ ง (อนจิ จา)หลายวา ‘ศลี เปนอยางนี้ สมาธเิ ปนอยา ง ธรรมทงั้ ปวงไมใ ชต น (อนตั ตา)’”, โดยใจน้ี ปญญาเปน อยา งน้ี, สมาธิ อนั ศลี บม ความ ก็คอื หลัก ไตรลักษณ; พหลุ าน-ุแลว ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก, ศาสนี กเ็ ขยี น; เทยี บ พหลุ ธรรมีกถาปญ ญา อันสมาธิบม แลว ยอ มมีผลมาก พหวุ จนะ ดู พหุพจนมีอานิสงสมาก, จิตอันปญญาบมแลว พหสุ ูต, พหูสูต ผูไ ดยนิ ไดฟ งมามากยอมหลุดพนโดยชอบ จากอาสวะทั้ง คือทรงจาํ ธรรมและรศู ลิ ปวทิ ยามาก, ผู

พหูชน ๒๖๒ พาวรีเลาเรียนมาก, ผูศึกษามาก, ผูคงแก พกั กลุ ะ ก็เรียกเรยี น; ดู พาหสุ ัจจะ ดวย พาณชิ พอ คาพหชู น คนจํานวนมาก พาณิชย การคาขายพกั มานตั ดู เกบ็ วัตร พาราณสี ชื่อเมืองหลวงของแควนกาสีพทั ธสมี า “แดนผูก” ไดแ ก เขตทส่ี งฆ อยรู มิ แมน า้ํ คงคา ปจ จบุ นั เรยี ก Banarasกําหนดขึ้นเอง โดยจัดต้ังนิมิตคือส่ิงท่ี หรอื Benares (ลาสดุ รอ้ื ฟน ชอ่ื ในภาษาเปนเครอ่ื งหมายกําหนดเอาไว; ดู สีมา สนั สกฤตข้ึนมาใชวา Varanasi), ปา อสิ -ิพันธุ เหลากอ, พวกพอ ง ปตนมฤคทายวัน ที่พระพุทธเจาทรงพัสดุ สิ่งของ, ทีด่ ิน แสดงปฐมเทศนา ซ่ึงปจจุบันเรียกวาพากุละ พระมหาสาวกองคห นึ่ง เปน บตุ ร สารนาถ อยูหางจากตัวเมืองพาราณสีเศรษฐเี มืองโกสมั พี มีเร่อื งเลา วา เมือ่ ยัง ปจ จบุ ันประมาณ ๖ ไมลเปนทารกขณะท่ีพี่เล้ียงนําไปอาบนํ้าเลน พาวรี พราหมณผูเปนอาจารยใหญต้ังทแ่ี มนํ้า ทานถกู ปลาใหญก ลืนลงไปอยู อาศรมสอนไตรเพทแกศิษยอยูท่ีฝงแมในทอง ตอมาปลาน้ันถูกจับไดท่ีเมือง นา้ํ โคธาวรี ณ สดุ เขตแดนแควน อสั สกะพาราณสี และถูกขายใหแกภรรยา ไดส ง ศิษย ๑๖ คนไปถามปญหาพระเศรษฐีเมืองพาราณสี ภรรยาเศรษฐีผา ศาสดา เพื่อจะทดสอบวาพระองคเปนทองปลาพบเด็กแลวเล้ียงไวเปนบุตร พระสมั มาสมั พทุ ธะจรงิ หรอื ไม ภายหลงัฝายมารดาเดิมทราบขาวจึงขอบุตรคืน ไดรับคําตอบแลวศิษยช่ือปงคิยะซ่ึงเปนตกลงกนั ไมไ ด จนพระราชาทรงตัดสนิ หลานของทานไดกลับมาเลาเรื่องและใหเด็กเปนทายาทของท้ังสองตระกูล แสดงคาํ ตอบปญ หาของพระศาสดา ทาํทานจงึ ไดช อ่ื วา พากุละ แปลวา “คน ใหท า นไดบ รรลธุ รรมเปน พระอนาคามีสองตระกูล” หรือ “ผูท่ีสองตระกูล พาหันตะ ขณั ฑดา นขอบนอกทัง้ สองขา งเลี้ยง” ทา นอยคู รองเรือนมาจนอายุ ๘๐ ของจีวร เวลาหม ปลายจะพาดบนแขนป จึงไดฟงพระศาสดาทรงแสดงพระ หรืออยูสุดแขน, คําอธิบายในวนิ ยั มขุธรรมเทศนา มีความเล่ือมใสขอบวช เลม ๒ ตามท่สี มเดจ็ พระมหาสมณเจาแลวบาํ เพ็ญเพยี รอยู ๗ วันไดบ รรลพุ ระ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงไววาอรหัตไดรับยกยองวาเปนเอตทัคคะใน ในจีวรหา ขัณฑๆ ถัดออกมา (ตอ จากทางเปนผูมีอาพาธนอย คือสุขภาพดี; ชงั เฆยยกะ) อกี ทง้ั ๒ ขา ง ชอ่ื พาหนั ตะ

พาหิยทารจุ ีรยิ ะ ๒๖๓ พนิ ัยกรรมเพราะอฑั ฒมณฑลของ ๒ ขณั ฑน น้ั อยู พาหิรรูป ดูท่ี รูป ๒๘ทแี่ ขนในเวลาหม ; ดู จวี ร พาหริ ลทั ธิ ลทั ธภิ ายนอกพระพทุ ธศาสนาพาหยิ ทารจุ รี ยิ ะ พระมหาสาวกองคห นง่ึ พาหุสัจจะ ความเปน ผูไดย นิ ไดฟ ง มาก,เกิดในครอบครัวคนมีตระกูลในแควน ความเปน ผไู ดเ รยี นรมู าก หรอื คงแกเ รยี นพาหิยรัฐ ลงเรือเดินทะเลเพื่อจะไปคา มอี งค ๕ คือ ๑. พหุสฺสุตา ไดย นิ ไดฟ งขาย เรือแตกกลางทะเลรอดชีวิตไปได มาก ๒.ธตา ทรงจาํ ไวไ ด ๓. วจสา ปรจิ ติ าแตห มดเนอื้ หมดตวั ตองแสดงตนเปน คลอ งปาก ๔. มนสานเุ ปกขฺ ติ า เจนใจ ๕.ผูหมดกิเลสหลอกลวงประชาชนเลี้ยง ทิฏิยา สุปฏวิ ทิ ธฺ า ขบไดด วยทฤษฎ;ี ดูชีวติ ตอ มาพบพระพุทธเจา ทลู ขอใหทรง พหสู ตู (ขอ ๒ ในนาถกรณธรรม ๑๐,แสดงธรรม พระองคทรงแสดงวิธี ขอ ๓ ในเวสารชั ชกรณธรรม ๕, ขอ ๔ปฏิบัติตออารมณที่รับรูทางอายตนะท้ัง ในสทั ธรรม ๗, ขอ ๕ ในอริยทรัพย ๗)หก พอจบพระธรรมเทศนายนยอน้ัน พาเหยี ร ภายนอก (บาล:ี พาหริ )พาหิยะก็สําเร็จอรหัต แตไมทันได พิกดั กําหนด, กาํ หนดทจ่ี ะตองเสยี ภาษีอุปสมบท กําลังเท่ียวหาบาตรจีวร พณิ เครอ่ื งดนตรชี นดิ หนงึ่ มสี ายสาํ หรบั ดดีเผอิญถูกโคแมลูกออนขวิดเอาส้ินชีวิต พทิ ยาธร ดู วิทยาธรเสยี กอน ไดร ับยกยอ งวา เปน เอตทัคคะ พทิ ักษ ดูแลรักษา, คุม ครอง, ปอ งกัน พนิ ทุ จดุ , วงกลมเล็กๆ ในที่น้ีหมายถงึในทางตรัสรฉู ับพลันพาหิระ, พาหิรกะ ภายนอก เชน ในคาํ วา พนิ ทกุ ปั ปะพาหิรวตั ถุ (วัตถภุ ายนอก) พาหริ สมยั พนิ ทกุ ปั ปะ การทาํ พนิ ท,ุ การทาํ จุดเปน(ลทั ธิภายนอก) พาหริ ายตนะ (อายตนะ วงกลม อยางใหญเทาแววตานกยูงภายนอก); ตรงขา มกบั อัชฌัตตกิ ะ อยางเล็กเทาหลังตัวเรือด ท่ีมมุ จีวรดวยพาหริ ทาน, พาหริ กทาน การใหส่งิ ของ สีเขียวคราม โคลน หรอื ดําคลาํ้ เพ่อื ทําภายนอก, การใหของนอกกาย เชน เงนิ จวี รใหเ สยี สหี รอื มตี าํ หนติ ามวนิ ยั บญั ญตั ิทอง วตั ถุ อปุ กรณ ตลอดจนทรพั ย และเปนเคร่ืองหมายชวยใหจําไดดวย;สมบตั ทิ ั้งหมด; ดู ทานบารมี เขียนพินทุกัป ก็ได, คําบาลีเดิมเปนพาหิรทกุ ข ทกุ ขภายนอก กปั ปพนิ ท,ุ เรียกกันงายๆ วา พนิ ทุพาหิรภณั ฑ, พาหิรกภัณฑ สิง่ ของภาย พนิ ัยกรรม หนังสอื สําคัญทีเ่ จา ทรพั ยท ํานอก, ของนอกกาย; ดู ทานบารมี ไวกอนตาย แสดงความประสงคว า เมือ่

พปิ ลาส ๒๖๔ พุทธกจิ ประจําวนั ๕ ต า ย แ ล ว ข อ ม อ บ ม ร ด ก ท่ี ร ะ บุ ไ ว ใ น สัมมาสัมพทุ ธะ) ๒. พระปจ เจกพทุ ธะ ทานผตู รัสรูเองจาํ เพาะผูเดียว ๓. พระ หนงั สอื สาํ คญั นัน้ ใหแกค นนนั้ ๆ, ตาม อนพุ ุทธะ ทา นผูตรัสรตู ามพระพทุ ธเจา (เรียกอีกอยางวา สาวกพุทธะ); บาง พระวินัย ถาภกิ ษุทาํ เชนนี้ ไมม ีผล ตอ ง แหงจัดเปน ๔ คอื ๑.สพั พญั พู ทุ ธะ๒. ปจ เจกพทุ ธะ ๓. จตสุ จั จพุทธะ (= พระ ปลงบริขาร จึงใชได อรหันต) และ ๔. สุตพทุ ธ (= ผูเปนพปิ ลาส ดู วิปลาส, วิปลลาสพิพากษา ตดั สินอรรถคดีพิมพา บางแหงเรยี ก ยโสธรา เปน พระราชบุตรีของพระเจาสุปปพุทธะ กรุง พหสู ูต)เทวทหะ เปน พระชายาของพระสทิ ธตั ถะ พุทธการกธรรม ธรรมทที่ าํ ใหเ ปนพระเปน พระมารดาของพระราหุล ภายหลงั พุทธเจา ตามปกติหมายถึง บารมี ๑๐ออกบวชมีนามวา พระภัททกัจจานา นั่นเอง (ในคาถาบางทีเรียกสั้นๆ วาหรอื ภทั ทา กจั จานา พทุ ธธรรม)พมิ พิสาร พระเจาแผน ดนิ มคธครองราช พุทธกาล คร้งั พระพุทธเจายังดํารงพระสมบัติอยูที่พระนครราชคฤห เปนผู ชนมอ ยูถวายพระราชอุทยานเวฬุวันเปน พุทธกิจ กิจท่ีพระพุทธเจาทรงบําเพ็ญ,สังฆาราม นับเปนวัดแรกในพระพุทธ- การงานทีพ่ ระพุทธเจาทรงกระทําศาสนา ตอมา ถูกพระราชโอรสนามวา พุทธกิจประจําวัน ๕ พุทธกิจท่ีพระ อชาตศัตรู ปลงพระชนม พุทธเจาทรงบําเพ็ญเปนประจําในแตละพิรธุ ไมปรกติ, มลี ักษณะนา สงสยั วันมี ๕ อยาง คอื ๑. ปพุ ฺพณฺเห ปณฑฺ -พิโรธ โกรธ, เคือง ปาตจฺ เวลาเชาเสด็จบิณฑบาต ๒.พิสดาร กวา งขวางละเอยี ดลออ, ขยาย สายณเฺ ห ธมฺมเทสนํ เวลาเยน็ ทรงแสดง ความออกไป; ดู วิตถาร, คูก ับ สงั เขป ธรรม ๓. ปโทเส ภิกฺขโุ อวาทํ เวลาคํา่พีชคาม พืชพันธุอันถกู พรากจากทีแ่ ลว ประทานโอวาทแกเ หลา ภิกษุ ๔. อฑฒฺ - แตยงั จะเปน ไดอ กี ; คกู ับ ภูตคาม รตฺเต เทวปฺหนํ เท่ียงคืนทรงตอบพทุ ธะ ทา นผูตรสั รูแลว , ผูรูอรยิ สัจจ ๔ ปญหาเทวดา ๕. ปจฺจุสเฺ สว คเต กาเล ภพพฺ าภพเฺ พ วโิ ลกนํ จวนสวา งทรงตรวจ อยา งถอ งแท ตามอรรถกถาทา นแบง เปน ๓ คือ ๑. พระพุทธเจา ทา นผูตรัสรูเอง พิจารณาสัตวที่สามารถและท่ียังไม และสอนผูอน่ื ใหรตู าม (บางทีเรียก พระ สามารถบรรลุธรรมอันควรจะเสด็จไป

พทุ ธกิจ๔๕ พรรษา ๒๖๕ พุทธคุณโปรดหรอื ไม (สรปุ ทายวา เอเต ปจฺ วเิ ธ มารดา) พ. ๙ โฆสิตาราม เมืองโกสัมพีกจิ เฺ จ วโิ สเธติ มนุ ปิ งุ คฺ โว พระพทุ ธเจา พ. ๑๐ ปา ตาํ บลปาริเลยยกะ ใกลเ มอื งองคพระมุนีผูประเสริฐทรงยังกิจ ๕ โกสมั พี (ในคราวทภี่ กิ ษชุ าวเมอื งโกสมั พีประการนใี้ หหมดจด) ทะเลาะกัน) พ. ๑๑ หมูบ า นพราหมณพทุ ธกิจ ๔๕ พรรษา ในระหวา งเวลา ช่ือเอกนาลา พ. ๑๒ เมืองเวรญั ชา พ.๔๕ ปแหง การบําเพญ็ พทุ ธกิจ พระพทุ ธ ๑๓ จาลิยบรรพต พ. ๑๔ พระเชตวันเจาไดเสด็จไปประทับจําพรรษา ณ (พระราหุลอุปสมบทคราวนี้) พ. ๑๕สถานท่ีตางๆ ซ่ึงทานไดประมวลไว นิโครธาราม นครกบลิ พัสดุ พ. ๑๖พรอมท้ังเหตุการณสําคัญบางอยางอัน เมืองอาฬวี (ทรมานอาฬวกยกั ษ) พ.ควรสงั เกต ดงั น้ี พรรษาที่ ๑ ปา อสิ ปิ ตน- ๑๗ พระเวฬวุ ัน นครราชคฤห พ. ๑๘,มฤคทายวัน ใกลกรุงพาราณสี (โปรด ๑๙ จาลยิ บรรพต พ. ๒๐ พระเวฬุวันพระเบญจวคั คยี ) พ. ๒, ๓, ๔ พระเวฬวุ นั นครราชคฤห (โปรดมหาโจรองคลุ มิ าล,กรุงราชคฤห (ระยะประดิษฐานพระ พระอานนทไดรับหนาที่เปนพุทธ-ศาสนา เริ่มแตโปรดพระเจาพิมพิสาร อปุ ฏ ฐากประจํา) พ. ๒๑–๔๔ ประทบัไดอ คั รสาวก ฯลฯ เสด็จนครกบิลพัสดุ สลบั ไปมา ณ พระเชตวนั กบั บพุ พารามครงั้ แรก ฯลฯ อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐเี ปน พระนครสาวัตถี (รวมทั้งคราวกอนน้ีอุบาสกถวายพระเชตวนั ; ถา ถือตามพระ ดวย อรรถกถาวา พระพุทธเจาประทบั ท่ีวนิ ยั ปฎ ก พรรษาที่ ๓ นา จะประทบั ทพ่ี ระ เชตวนาราม ๑๙ พรรษา ณ บพุ พารามเชตวนั นครสาวตั ถ)ี พ. ๕ กฏู าคารในปา ๖ พรรษา) พ. ๔๕ เวฬุวคาม ใกลนครมหาวัน นครเวสาลี (โปรดพุทธบิดา เวสาลีปรินิพพานที่กรุงกบิลพัสดุ โปรดพระ พทุ ธคารวตา ดู คารวะญาตทิ ว่ี วิ าทเรอื่ งแมน า้ํ โรหณิ ี มหาปชาบดี พุทธคุณ คณุ ของพระพทุ ธเจา มี ๙ คือผนวช เกดิ ภกิ ษณุ สี งฆ) พ. ๖ มกลุ บรรพต ๑. อรหํ เปน พระอรหนั ต ๒. สมฺมา-(ภายหลังทรงแสดงยมกปาฏิหาริยที่ สมฺพุทโฺ ธ ตรสั รเู องโดยชอบ ๓. วชิ ชฺ า-นครสาวตั ถี) พ. ๗ ดาวดงึ สเทวโลก จรณสมฺปนฺโน ถงึ พรอมดวยวิชชาและ(แสดงพระอภธิ รรมโปรดพระพทุ ธมารดา) จรณะ ๔. สคุ โต เสด็จไปดแี ลว ๕.พ. ๘ เภสกลาวัน ใกลเ มอื งสุงสุมารครี ี โลกวิทู เปนผูรูแจงโลก ๖. อนุตฺตโรแควนภัคคะ (พบนกุลบิดาและนกุล- ปรุ สิ ทมมฺ สารถิ เปน สารถฝี ก คนทฝ่ี ก ได

พทุ ธโฆสาจารย ๒๖๖ พทุ ธธรรมไมม ใี ครยงิ่ กวา ๗. สตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ ประกาศพระศาสนาของพระพุทธเจาเปนศาสดาของเทวดาและมนุษยทั้ง พุทธเจา ๕, ๗, ๒๕ ดู พระพทุ ธเจา และหลาย ๘. พทุ ฺโธ เปน ผูตืน่ และเบกิ บาน พทุ ธะแลว ๙. ภควา เปนผมู โี ชค พุทธธรรม 1. ธรรมของพระพทุ ธเจา , พุทธคุณท้งั หมดนัน้ โดยยอ มี ๒ พระคณุ สมบตั ขิ องพระพทุ ธเจา คมั ภรี คอื ๑. พระปญ ญาคุณ พระคุณคอื พระ มหานิทเทสระบุจํานวนไววามี ๖ปญญา ๒. พระกรุณาคณุ พระคุณคือ ประการ แตไ มไ ดจ าํ แนกขอ ไว อรรถ-พระมหากรณุ า หรอื ตามท่ีนิยมกลาวกัน กถาโยงความใหว า ไดแ ก ๑. กายกรรมในประเทศไทย ยอ เปน ๓ คือ ๑. พระ ทกุ อยา งของพระพทุ ธเจา เปน ไปตามพระปญญาคณุ พระคุณคือพระปญ ญา ๒. ญาณ (จะทาํ อะไรกท็ าํ ดว ยปญ ญา ดว ยพระวสิ ุทธคิ ุณ พระคุณคอื ความบริสทุ ธิ์ ความรเู ขา ใจ) ๒. วจกี รรมทกุ อยา งเปน๓. พระมหากรณุ าคุณ พระคณุ คือพระ ไปตามพระญาณ ๓. มโนกรรมทกุ อยา งมหากรุณา เปนไปตามพระญาณ ๔. ทรงมีพระพทุ ธโฆสาจารย ดู วิสุทธมิ รรค; พุทธ- ญาณไมติดขดั ในอดตี ๕. ทรงมพี ระโฆษาจารย กเ็ ขียน ญาณไมต ดิ ขดั ในอนาคต ๖. ทรงมพี ระพทุ ธจรยิ า พระจรยิ าวตั รของพระพทุ ธเจา , ญาณไมต ดิ ขัดในปจจบุ นั ; คมั ภรี ส มุ งั -การบําเพ็ญประโยชนของพระพุทธเจา คลวิลาสินี อรรถกถาแหงทีฆนิกายมี ๓ คือ ๑. โลกัตถจริยา การบาํ เพญ็ จาํ แนกพทุ ธธรรมวา มี ๑๘ อยา ง คอื ๑.ประโยชนแกโ ลก ๒. ญาตตั ถจรยิ า การ พระตถาคตไมท รงมกี ายทจุ รติ ๒. ไมบาํ เพญ็ ประโยชนแ กพ ระญาติ ๓.พทุ ธตั ถ- ทรงมวี จที จุ รติ ๓. ไมท รงมมี โนทจุ รติจรยิ า การบาํ เพ็ญประโยชนโดยฐานเปน ๔. ทรงมพี ระญาณไมต ดิ ขดั ในอดตี ๕.พระพุทธเจา ทรงมีพระญาณไมตดิ ขดั ในอนาคต ๖.พุทธจกั ขุ จักษขุ องพระพุทธเจา ไดแ ก ทรงมพี ระญาณไมต ดิ ขดั ในปจ จบุ นั ๗.ญาณท่ีหย่ังรูอัธยาศัย อุปนิสัยและ ทรงมีกายกรรมทุกอยางเปนไปตามพระอินทรยี ท ยี่ งิ่ หยอ นตางๆ กนั ของเวไนย- ญาณ ๘. ทรงมวี จกี รรมทกุ อยา งเปน ไปสัตว (ขอ ๔ ในจกั ขุ ๕) ตามพระญาณ ๙. ทรงมมี โนกรรมทกุพทุ ธจักร วงการพระพทุ ธศาสนา อยา งเปนไปตามพระญาณ ๑๐. ไมม ีพุทธจาริก การเสด็จจาริกคือเท่ียวไป ความเสื่อมฉันทะ (ฉันทะไมลดถอย)

พุทธบริวาร ๒๖๗ พทุ ธประวตั ิ ๑๑. ไมม คี วามเสอื่ มวริ ยิ ะ (ความเพยี ร ลําดับกาลในพุทธประวัติตามที่ทานแบง ไมลดถอย) ๑๒. ไมม ีความเสอื่ มสติ ไวในอรรถกถา จดั ไดเปน ๓ ชวงใหญ คอื ๑. ทเู รนทิ าน เรอ่ื งราวตง้ั แตเ รมิ่ เปน (สตไิ มล ดถอย) ๑๓. ไมม กี ารเลน ๑๔. พระโพธิสตั ว เสวยพระชาติในอดตี จน ถึงอุบัติในสวรรคช้ันดุสิต ๒. อวิทูเร- ไมมีการพูดพลาด ๑๕. ไมมีการทํา นิทาน เรอ่ื งราวตงั้ แตจตุ ิจากสวรรคช นั้ ดุสิต จนถึงตรัสรู ๓. สันติเกนิทาน พลาด ๑๖. ไมม คี วามผลนุ ผลนั ๑๗. เรื่องราวตั้งแตตรัสรูแลว จนเสด็จ ไมม ีพระทยั ทไี่ มข วนขวาย ๑๘. ไมม ี ปรินพิ พาน ในสวนของสนั ติเกนทิ านน้ัน ก็คือ โพธกิ าล นน่ั เอง ซ่งึ แบง ยอยได อกุศลจิต 2. ธรรมที่ทําใหเปนพระ เปน ๓ ชว ง ไดแก ๑. ปฐมโพธิกาล คอื พทุ ธเจา ไดแ ก พทุ ธการกธรรม คอื ตงั้ แตต รัสรู จนถึงไดพ ระอคั รสาวก ๒. บารมี ๑๐ 3. ธรรมทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรง มชั ฌมิ โพธกิ าล คอื ตง้ั แตป ระดษิ ฐานพระ ศาสนาในแควน มคธ จนถึงปลงพระชน แสดงไว คอื สตปิ ฏ ฐาน ๔ ฯลฯ มรรคมี มายุสังขาร ๓. ปจฉิมโพธิกาล คือตงั้ แตปลงพระชนมายุสังขาร จนถึง องค ๘ ขนั ธ ๕ ปจ จยั ๒๔ เปน อาทิพทุ ธบริวาร บริวารของพระพทุ ธเจา , ผู ปรินิพพาน ตอ มาภายหลงั พระเถระผู เปนบรวิ ารของพระพุทธเจาพุทธบริษัท หมูชนที่นับถือพระพุทธ- เลาพุทธประวัติไดกลาวถึงเรื่องราวท่ี ศาสนามี ๔ จําพวก คือ ภิกษุ ภิกษณุ ี เปนมาในชมพูทวีป กอนถึงการตรัสรู อบุ าสก อุบาสกิ าพุทธบัญญัติ ขอที่พระพุทธเจาทรง ของพระพุทธเจา และเรียกเวลาชวงน้ีวา บญั ญัตไิ ว, วินยั สําหรบั พระ ปุรมิ กาล กับทั้งเลาเหตุการณหลังพทุ ธ-พุทธบาท รอยเทาของพระพุทธเจา ปรนิ พิ พาน เชน การถวายพระเพลงิ และ อรรถกถาวาทรงประทับแหงแรกท่ีบน สงั คายนา และเรยี กเวลาชว งน้ีวา อปร- กาล; ในการแบงโพธิกาล ๓ ชวงน้ี หาดชายฝงแมนา้ํ นมั มทา แหงท่ีสองทภ่ี ู อรรถกถายังมีมติแตกตา งกนั บาง เชน เขาสัจจพันธครี ี นอกจากน้ตี ํานานสมยั พระอาจารยธ รรมบาลแบง ๓ ชวงเทา ตอๆ มาวามที ีภ่ เู ขาสมุ นกูฏ (ลังกาทวีป) กัน ชว งละ ๑๕ พรรษา แตบ างอรรถ- สวุ รรณบรรพต (สระบุรี ประเทศไทย) กถานบั ๒๐ พรรษาแรกของพุทธกจิ และเมอื งโยนก รวมเปน ๕ สถานพุทธปฏิมา รปู เปรยี บของพระพทุ ธเจา , พระพุทธรปูพุทธประวัติ ประวัติของพระพุทธเจา;

พทุ ธปรนิ พิ พาน ๒๖๘ พทุ ธภาษิตเปนปฐมโพธิกาล โดยไมระบุชวงเวลา พระชนมายุสังขารที่ปามหาวนั นัน้ วาอกีของ ๒ โพธกิ าลท่เี หลอื (ไดแ กช ว งเวลา ๓ เดอื นขา งหนาจะปรนิ พิ พาน ครน้ั ใกลแรกที่พระพุทธเจายังมิไดทรงมีพระ ครบเวลา ๓ เดอื น ในวันหนึ่ง ไดเ สดจ็อานนทเปนพทุ ธอุปฏ ฐากประจาํ และยัง เขาไปบิณฑบาตในเมืองเวสาลีเปนคร้ัง ไมไ ดทรงบัญญัตสิ กิ ขาบทแกพระสงฆ) สดุ ทาย เสด็จกลับจากบิณฑบาต ทอดพุทธปรินิพพาน การเสด็จดับขันธ- พระเนตรเมืองเวสาลีเปนปจฉิมทัศนปรินิพพานของพระพุทธเจา, การตาย โดยนาคาวโลก จากนั้นเสด็จออกจากของพระพทุ ธเจา เวสาลี ผา นภัณฑคาม หัตถคิ าม อมั พ-ลําดบั เหตกุ ารณช ว งสุดทายวา ในป คาม ชัมพุคาม และโภคนคร ตามลําดับที่ ๔๕ แหงพทุ ธกจิ พระพทุ ธเจาทรงจาํ จนถงึ เมอื งปาวา ประทบั พักแรมทอี่ ัมพ-พรรษาสุดทายที่เวฬวุ คาม เมืองเวสาลี วัน ของนายจนุ ทะกัมมารบุตร แลวในในพรรษานั้น พระองคประชวรหนัก เชา วนั วิสาขบณุ มี เสดจ็ พรอ มภกิ ษสุ งฆแทบจะปรินพิ พาน ทรงพระดําริวา พระ ไปฉันภัตตาหารที่บานของนายจุนทะองคควรจะทรงบอกกลาวเลาความแก ตามทเ่ี ขานมิ นตไ ว นายจนุ ทะถวายสกู ร-ประดาอุปฏฐากและแจง ลาสงฆกอน จงึ มัททวะ หลงั จากเสวยแลว ทรงอาพาธทรงระงบั เวทนาไว ครัน้ ออกพรรษาแลว หนัก ลงพระโลหิต เสด็จตอ ไปยงั เมอื งก็เสด็จจาริกไปจนถึงเมืองสาวัตถี กุสนิ ารา ผา นแมน า้ํ กกุธา ไปถึงแมน้ําประทับอยูท่ีน่ันจนผานเหตุการณ หิรญั ญวดี เสด็จขา มแมน ้าํ นน้ั เขา ไปปรินิพพานของพระสารีบุตร หลังจาก ประทับในสาลวโนทยานของกษัตริยโปรดใหสรางธาตุเจดียของพระธรรม- มัลละ เมืองกุสินารา บรรทมโดยสีห-เสนาบดีที่พระเชตวันแลว ก็เสด็จลง ไสยา ภายใตค ตู นสาละ และเสด็จดับมายังเมืองราชคฤห ตรงกับชวงเวลาท่ี ขันธปรินิพพาน ในราตรีแหงวันวิสาข-พระมหาโมคคลั ลานะปรินพิ พาน ครนั้ บณุ มี คอื วันขนึ้ ๑๕ คาํ่ เดือน ๖ เมอ่ื มีโปรดใหสรางธาตุเจดียของทานไว ณ พระชนมายคุ รบ ๘๐ พรรษา; ดู พระพระเวฬวุ นั แลว ก็เสด็จตอ ขน้ึ ไปเวสาลี พุทธเจา, นาคาวโลก, สกู รมัททวะประทบั ท่ีกฏู าคารศาลา ปามหาวัน พอ พุทธพจน พระดํารัสของพระพุทธเจา,บรรจบครบเวลา ๔ เดอื น นับแตออก คาํ พูดของพระพทุ ธเจาพรรษาสุดทายท่ีเวฬุวคาม ก็ทรงปลง พทุ ธภาษติ ภาษติ ของพระพทุ ธเจา , คาํ พดู

พทุ ธมามกะ ๒๖๙ พุทธมามกะ ของพระพุทธเจา , ถอยคําทพ่ี ระพทุ ธเจา พานไปถวายพระอาจารยที่จะใหเปน พูดพุทธมามกะ “ผูถือพระพุทธเจาวาเปน ประธานสงฆในพิธี พรอมท้ังเผดียง ของเรา”, ผรู บั เอาพระพทุ ธเจา เปน ของตน, ผูประกาศตนวาเปนผูนับถือพระพุทธ- สงฆรวมท้ังพระอาจารยเปนอยางนอย ศาสนา; พธิ แี สดงตนเปน พทุ ธมามกะนนั้ ๔ รูป ข. จดั สถานท่ี ในอโุ บสถ หรอื สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยา วชิรญาณวโรรส ไดทรงเรียบเรียงต้ัง วหิ าร ศาลาการเปรียญ หรอื หอประชุม เปนแบบไว ในคราวท่ีพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพระ ทีม่ ีโตะบชู ามพี ระพุทธรูปประธาน และ กรุณาโปรดจะสงเจานายคณะหนึ่งออก จัดอาสนะสงฆใ หเหมาะสม ค. พธิ กี าร ไปศึกษาในทวีปยุโรป ทรงถือตามคํา แสดงตนเปนอุบาสกของเดิมแตแกบท ใหผูแ สดงตน จดุ ธูปเทยี น เปลงวาจา อุบาสก ที่เฉพาะผูใหญผูไดศรัทธา บูชาพระรัตนตรัยวา “อมิ นิ า สกกฺ าเรน, เลอื่ มใสดว ยตนเอง เปน พุทธมามกะ พทุ ฺธํ ปเู ชมิ” (แปลวา) “ขาพเจาขอบชู า และไดเกิดเปนประเพณีนิยมแสดงตน เปนพุทธมามกะสืบตอ กันมา โดยจัดทาํ พระพุทธเจาดวยเคร่ืองสักการะน้ี” ในกรณีตา งๆ โดยเฉพาะ ๑. เม่ือบตุ ร (กราบ) “อมิ นิ า สกกฺ าเรน, ธมมฺ ํ ปเู ชมิ” หลานพน วัยทารก อายุ ๑๒–๑๕ ป ๒. เม่ือจะสงบุตรหลานไปอยูในถ่ินท่ีมิใช (แปลวา ) “ขา พเจา ขอบชู าพระธรรมดวย ดินแดนของพระพทุ ธศาสนา ๓. โรง เครอื่ งสกั การะน”ี้ (กราบ) “อมิ นิ า สกกฺ า- เรียนประกอบพิธีใหนักเรียนที่เขาศึกษา เรน, สงฺฆํ ปเู ชม”ิ (แปลวา ) “ขา พเจาขอ ใหมแตละปเปนหมู ๔. เมอื่ บุคคลผเู คย นับถือศาสนาอื่นตองการประกาศตน บูชาพระสงฆดวยเคร่ืองสักการะนี้” เปนผูนับถือพระพุทธศาสนา; ทานวาง ระเบียบพิธีไวสรุปไดดังน้ี ก. มอบตัว (กราบ) จากน้ันเขาไปสูที่ประชุมสงฆ (ถาเปนเด็กใหผูปกครองนําตัวหรือครู นํารายช่ือไป) โดยนําดอกไมธ ปู เทยี นใส ถวายพานเครอื่ งสกั การะแกพระอาจารย กราบ ๓ ครง้ั แลว คงนงั่ คกุ เขา กลา วคาํ ปฏญิ าณวา : “นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ทุ ฺธสสฺ ” (๓ หน) “ขาพเจา ขอ นอบนอ ม แดพ ระผมู พี ระภาคอรหนั ต- สมั มาสมั พทุ ธเจา นน้ั ” (๓ หน) “เอสาหํ ภนเฺ ต,สจุ ริ ปรนิ พิ พฺ ตุ มปฺ , ตํ ภควนตฺ ํสรณํ คจฉฺ าม,ิ ธมมฺ จฺ สงฆฺ จฺ , พทุ ธฺ มามโกติ มํ สงโฺ ฆ ธาเรตุ” แปลวา “ขา แตพระ สงฆผูเจรญิ ขา พเจา ถงึ พระผมู พี ระภาค เจา พระองคน นั้ แมป รนิ พิ พานนานแลว

พุทธ ๒๗๐ พทุ ธโอวาทท้งั พระธรรมและพระสงฆ เปน สรณะท่ี พุทธศักราช ปนับแตพระพทุ ธเจา เสด็จระลกึ นบั ถอื ขอพระสงฆจ งจําขา พเจาไว ปรินพิ พานวา เปน พุทธมามกะ ผูรับเอาพระพทุ ธเจา พุทธศาสนา คําสั่งสอนของพระพุทธ-เปนของตน คือผูนับถือพระพุทธเจา” เจา, อยางกวา งในบัดนี้ หมายถึง ความ(ถา เปน หญงิ คนเดียวเปลยี่ น พทุ ธฺ มาม- เช่อื ถอื การประพฤตปิ ฏิบตั แิ ละกิจการโกติ เปน พทุ ธฺ มามกาต;ิ ถาปฏิญาณ ทั้งหมดของหมูชนผูกลาววาตนนับถือพรอ มกนั หลายคน ชายเปลย่ี น เอสาหํ พระพุทธศาสนาเปน เอเต มยํ หญิงเปน เอตา มย;ํ และ พุทธศาสนกิ ผนู ับถอื พระพุทธศาสนา,ทั้งชายและหญิงเปล่ียน คจฺฉามิ เปน ผปู ฏบิ ตั ติ ามคาํ ส่ังสอนของพระพทุ ธเจาคจฉฺ าม, พทุ ธฺ มามโกติ เปน พทุ ธฺ มามกาต,ิ พุทธศาสนกิ มณฑล วงการของผูนบั ถือมํ เปน โน) จากนนั้ ฟง พระอาจารยให พระพทุ ธศาสนาโอวาท จบแลว รับคําวา “สาธ”ุ ครนั้ แลว พุทธสรรี ะ รา งกายของพระพุทธเจากลา วคาํ อาราธนาเบญจศลี และสมาทาน พทุ ธสาวก สาวกของพระพทุ ธเจา, ศษิ ยศีลพรอ มทง้ั คาํ แปล จบแลว กราบ ๓ ของพระพทุ ธเจาหน ถวายไทยธรรม (ถามี) แลว กรวด พุทธอาณา อํานาจปกครองของพระ นํ้าเมื่อพระสงฆอนุโมทนา รับพรเสร็จ พทุ ธเจา, อํานาจปกครองฝา ยพุทธจกั ร แลว คกุ เขา กราบพระสงฆ ๓ ครั้ง เปน พทุ ธอาสน ทป่ี ระทบั นง่ั ของพระพทุ ธเจา เสรจ็ พิธี พุทธอิทธานุภาพ ฤทธ์ิและอานุภาพพุทธรัตนะ, พุทธรัตน รัตนะคือพระ ของพระพทุ ธเจา พทุ ธเจา , พระพุทธเจาอันเปนอยา งหนึง่ พุทธอปุ ฐาก ผคู อยรบั ใชพ ระพทุ ธเจา ในในรัตนะ ๓ ท่ีเรยี กวาพระรตั นตรัย; ดู ครั้งพุทธกาล มีพระอานนทพุทธอนุชารตั นตรยั เปน ผูเลิศในเรือ่ งน้ีพุทธรูป รูปพระพทุ ธเจา พุทธโอวาท คาํ สงั่ สอนของพระพทุ ธเจาพุทธฤทธานุภาพ ฤทธิ์และอานุภาพ มหี ลกั ใหญ ๓ ขอ คอื ๑. สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ ไมท าํ ความชวั่ ทง้ั ปวง ๒. กสุ ลส-ฺของพระพุทธเจาพุทธเวไนย ผูท ่ีพระพทุ ธเจาควรแนะนํา สปู สมปฺ ทา ทําความดใี หเ พยี บพรอ ม ๓.สั่งสอน, ผูท่ีพระพุทธเจาพอแนะนาํ สง่ั สจิตฺตปริโยทปนํ ทําใจของตนใหสอนได สะอาดบรสิ ุทธิ์

พทุ ธัตถจริยา ๒๗๑ พทุ ธาวาสพทุ ธตั ถจรยิ า ทรงประพฤตเิ ปน ประโยชน พุทธาวาส “อาวาสของพระพุทธเจา”,แกสัตวโลก โดยฐานเปนพระพุทธเจา สวนของวัดที่จัดใหเปนเขตท่ีพุทธบริษัทเชน ทรงแสดงธรรมแกเวไนยสตั วและ ประกอบกิจกรรมอุทิศคือตั้งใจมุงไปที่บัญญัติวินัยข้ึนบริหารหมูคณะ ทรง องคพ ระพทุ ธเจา เสมอื นมาเฝา พระองคประดิษฐานพระพุทธศาสนาใหย่ังยืนมา เชน พระสงฆม าทาํ สงั ฆกรรม มาพบปะตราบเทาทกุ วนั น้ี ฉลองศรัทธาของประชาชน มาแสดงพุทธันดร ชวงเวลาในระหวางแหงสอง ธรรม ชาวบา นมาเลย้ี งพระ ถวายทานพุทธปุ บาทกาล, ชว งเวลาในระหวา ง นับ รกั ษาศลี ฟง ธรรม และทาํ การบชู าตา งๆจากท่ีศาสนาของพระพุทธเจาพระองค จึงเปนเขตที่มีสิ่งกอสรางสําคัญ เชนหน่งึ สูญสนิ้ แลว จนถงึ พระพทุ ธเจาพระ โบสถ วหิ าร สถปู เจดยี  และมกี ารจดั แตงองคใหมเสด็จอุบัติ คือชวงเวลาที่โลก อยางประณีตบรรจง ใหงดงามเปนที่วา งพระพทุ ธศาสนา, คาํ นี้ บางทีใชใ น เจรญิ ศรทั ธา ตา งจากอกี สว นหนง่ึ ทเ่ี ปน คูการนับเวลา เชนวา “บรุ ษุ นน้ั … เที่ยว กนั คอื สงั ฆาวาส ซงึ่ จดั ไวเ ปน ทอ่ี ยอู าศยัเวียนวายอยตู ลอด ๖ พุทธันดร … ” ของพระภิกษุสามเณร อันเนนที่ความพทุ ธาณัติ คําสงั่ ของพระพทุ ธเจา เรยี บงา ย เปน ทเ่ี หมาะแกก ารหลกี เรน มีพุทธาณัติพจน พระดํารัสส่ังของพระ สปั ปายะเออ้ื ตอ การเจรญิ ไตรสกิ ขา, ตามพุทธเจา , คาํ ส่งั ของพระพุทธเจา ทเี่ ปน มา การจดั แบง เชน นดี้ าํ เนนิ มาอยา งพุทธาทิบัณฑิต บัณฑิตมีพระพุทธเจา รกู นั เปน ประเพณี ในวดั ทว่ั ไป จงึ มกั ไมเปน ตน (พทุ ธ + อาทิ + บัณฑิต) ไดท าํ เครอ่ื งกน้ั เขต และไมม คี าํ เรยี กแยกพุทธาธบิ าย พระประสงคของพระพทุ ธ- ใหต า งกนั ออกไป แตใ นพระอารามหลวง เจา, พระดาํ รสั ชีแ้ จงของพระพุทธเจา มีการทํากําแพงแยกกันตางหากชัดเจนพุทธานุญาต ขอท่ีพระพุทธเจาทรง โดยใชค าํ เรยี กวา พทุ ธาวาส กบั สงั ฆาวาส อนุญาต ดงั ทกี่ ลา วมา, นอกจากนนั้ มวี ดั ทส่ี รา งพุทธานุพุทธประวัติ ประวัติของพระ ข้ึนเปนท่ีประกอบสังฆกรรมและเปนท่ีพุทธเจา และพระสาวก เจริญกุศลของพุทธบริษัทโดยเฉพาะพุทธานุสติ ตามระลึกถึงคุณของพระ โดยไมม สี งั ฆาวาส เชน วดั พระศรรี ตั น-พทุ ธเจา เขยี นอยา งรปู เดมิ ในภาษาบาลี ศาสดาราม (วัดพระแกว), คําวาเปน พทุ ธานสุ สติ (ขอ ๑ ในอนสุ ติ ๑๐) “พทุ ธาวาส” และ “สงั ฆาวาส” นี้ ไมพ บวา

พุทธิจริต ๒๗๒ เพื่อนมใี ชใ นคมั ภรี ใ ด; ดู สงั ฆาวาส ลักษณะและอาการท่ีปรากฏใหเห็นวาพทุ ธจิ รติ พน้ื นสิ ัยท่ีหนักในความรู มกั เปนบุคคลประเภทนี้ ประเภทนี้เชนใชค วามคดิ พงึ สง เสรมิ ดว ยแนะนาํ ใหใ ช โดยเพศแหง ฤษี เพศบรรพชติ เพศแหง ความคดิ ในทางทชี่ อบ (ขอ ๕ ในจรติ ๖) ชางไม เปน ตน, ขนบธรรมเนียมพทุ ธุปบาทกาล [พดุ -ทุบ-บาด-ทะ-กาน] เพียรชอบ เพียรในที่ ๔ สถาน; ดู ปธาน กาลเปน ท่อี บุ ัตขิ องพระพุทธเจา, เวลาท่ี เพอื่ น ผูร วมธุระรว มกจิ รว มการหรือรว มมีพระพทุ ธเจา เกิดข้ึนในโลก อยูในสภาพอยางเดียวกัน, ผูชอบพอพทุ ฺโธ (พระผูม ีพระภาคเจาน้ัน) ทรงเปน รักใครคบหากัน, ในทางธรรม เน้ือแทผตู นื่ ไมห ลงงมงายเองดว ย และทรงปลกุ ของความเปน เพอื่ น อยทู ่ีความมีใจหวงัผูอื่นใหต่ืนพนจากความหลงงมงายน้ัน ดปี รารถนาดตี อ กัน กลาวคอื เมตตาดวย ทรงเปนผเู บกิ บาน มีพระทยั ผอง หรือไมตรี เพ่ือนที่มีคุณสมบัติเชนนี้แผว บําเพญ็ พทุ ธกิจไดถ กู ตอ งบรบิ รู ณ ทานเรียกวา มิตร การคบเพื่อนเปน(ขอ ๘ ในพทุ ธคณุ ๙) ปจจัยสําคัญยิ่งอยางหน่ึงที่จะนําชีวิตไปเพญ็ เต็ม หมายถึง พระจนั ทรเตม็ ดวง สูความเสื่อมความพินาศ หรือสูความ คือวันขึ้น ๑๕ คํา่ เจริญงอกงาม พึงหลีกเล่ียงมิตรเทียมเพทางค วชิ าประกอบกบั การศกึ ษาพระเวท และเลือกคบหาคนท่ีเปนมิตรแท; ดู มี ๖ อยาง คือ ๑. ศกิ ษา (วิธอี อกเสียง มติ ตปฏิรูป, มติ รแท คาํ ในพระเวทใหถ กู ตอ ง) ๒. ไวยากรณ ๓. ฉนั ทสั (ฉนั ท) ๔. โชยตษิ (ดารา- บุคคลท่ีชวยช้ีแนะแนวทาง ชักจูง ศาสตร) ๕. นริ กุ ติ (กาํ เนิดของคํา) ๖. ตลอดจนแนะนาํ ส่ังสอน ชักนาํ ผูอื่นให กัลปะ (วธิ จี ดั ทําพธิ ี) ดาํ เนินชีวิตทด่ี งี าม ใหป ระสบผลดแี ละเพลาะ เยบ็ รมิ ตอใหติดกนั ; ผาเพลาะ คอื ความสขุ ใหเ จรญิ กา วหนา ใหพ ฒั นาใน ธรรม แมจ ะเปน บคุ คลเสมอกนั หรอื เปน ผาทีเ่ อามาเย็บริมตอ เขา (บาลี: อนวฺ าธกิ ํ) มารดาบดิ าครอู าจารย ตลอดทง้ั พระสงฆเพลิงทิพย ไฟเทวดา, ไฟที่เปนของ จนถงึ พระพทุ ธเจา กน็ บั วา เปน เพอื่ น แต เทวดา, เพลงิ คราวถวายพระเพลงิ พระ เปน เพอ่ื นใจดี หรอื เพอ่ื นมธี รรม เรยี กวา กัลยาณมิตร แปลวา “มิตรดีงาม” พทุ ธสรีระเพศ ลักษณะท่ีใหรูวาหญิงหรือชาย, กั ล ย า ณ มิ ต ร มี คุ ณ ส ม บั ติ ท่ี เ รี ย ก ว า กลั ยาณมติ รธรรม หรอื ธรรมของกลั ยาณ- เคร่ืองหมายวาเปนชายหรือเปนหญิง,

แพศย ๒๗๓ โพธิ,์ โพธิพฤกษมติ ร ๗ ประการ คอื ๑. ปโ ย นา รกั ดว ย โพธ,์ิ โพธพิ ฤกษ ตนโพธ์,ิ ตนไมท่พี ระมเี มตตา เปน ทสี่ บายจติ สนทิ ใจ ชวนให พุทธเจา ไดประทับ ณ ภายใตร ม เงาในอยากเขา ไปหา ๒. ครุ นา เคารพ ดว ย คราวตรัสรู, ตนไมเปนท่ีตรัสรูและตนความประพฤติหนักแนนเปนที่พ่ึงอาศัย ไมอื่นท่ีเปนชนิดเดียวกันนั้น สําหรับได ใหร สู กึ อบอนุ ใจ ๓. ภาวนโี ย นา พระพุทธเจาองคป จ จบุ ัน ไดแก พันธุไ มเจรญิ ใจ ดว ยความเปน ผฝู ก ฝนปรบั ปรงุ อสั สตั ถะ (ตน โพ) ตน ที่อยู ณ ฝงแมนาํ้ตน ควรเอาอยา ง ใหร ะลกึ และเอย อา ง เนรญั ชรา ตาํ บลคยา; ตน โพธต์ิ รสั รทู ่ีดว ยซาบซง้ึ ภมู ใิ จ ๔. วตั ตา รจู กั พดู ใหไ ด เปนหนอของตนเดิมที่คยาไดปลูกผล รจู กั ชแี้ จงแนะนาํ เปน ทป่ี รกึ ษาทด่ี ี เปน ตน แรกในสมยั พทุ ธกาล (ปลกู จาก๕. วจนกขฺ โม อดทนตอ ถอ ยคาํ พรอ มที่ เมล็ด) ที่ประตูวัดพระเชตวันโดยพระจะรบั ฟง คาํ ปรกึ ษาซกั ถาม ตลอดจนคาํ อานนทเ ปน ผดู าํ เนนิ การตามความปรารภเสนอแนะวพิ ากษวิจารณ ๖. คมภฺ รี จฺ ของอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี และเรยี กชอ่ื วากถํ กตตฺ า แถลงเรอ่ื งลา้ํ ลกึ ได สามารถ อานนั ทโพธ;ิ หลงั พทุ ธกาล ในสมยั พระอธิบายเรื่องยุงยากซับซอนใหเขาใจและ เจา อโศกมหาราช พระนางสงั ฆมติ ตาเถรีสอนใหเรียนรูเรื่องราวที่ลึกซ้ึงย่ิงขึ้นไป ไดนํากิ่งดานขวาของตนมหาโพธิท่ีคยา๗.โน จฏาเน นโิ ยชเย ไมช กั นาํ ในอฐาน นั้นไปมอบแดพระเจาเทวานัมปยติสสะคอื ไมช กั จงู ไปในทางเสอ่ื มเสยี หรอื เรอ่ื ง ทรงปลกู ไว ณ เมืองอนุราธปรุ ะ ในเหลวไหลไมสมควร ลังกาทวปี ซงึ่ ไดช อื่ วา เปน ตน ไมเ กา แกท ่ีแพศย คนวรรณะทสี่ าม ในวรรณะส่ขี อง สุดในประวัติศาสตรที่ยังคงมีชีวิตอยูในคนในชมพูทวีป ตามหลักศาสนา ปจ จบุ นั ; ในประเทศไทย สมยั ราชวงศ พราหมณ หมายถงึ พวกชาวนาและพอ คา จกั รี พระสมณทูตไทยในสมยั รชั กาลท่ีแพศยา หญิงหากินในทางกาม, หญงิ หา ๒ ไดนาํ หนอ พระศรมี หาโพธ์ิ ที่เมอื ง เงินในทางรว มประเวณี อนรุ าธปรุ ะมา ๖ ตน ใน พ.ศ. ๒๓๕๗โพชฌงค ธรรมท่เี ปนองคแ หงการตรัสรู โปรดใหปลูกไวที่เมืองนครศรีธรรมราช หรอื องคข องผูต รสั รู มี ๗ ขอ คอื ๑. ๒ ตน นอกนนั้ ปลกู ทวี่ ดั มหาธาตุ วดั สติ ๒. ธัมมวิจยะ (การสอดสอ งเลือก สุทัศน วัดสระเกศและที่เมืองกลันตัน เฟน ธรรม) ๓.วริ ยิ ะ๔.ปต ิ๕.ปส สทั ธิ ๖. แหง ละ ๑ ตน ; ตอ มาในสมยั รชั กาลที่ ๕ สมาธิ ๗. อุเบกขา; ดู โพธิปกขยิ ธรรม ประเทศไทยไดพ ันธุต นมหาโพธจิ ากคยา

โพธิญาณ ๒๗๔ ไพศาลีโดยตรงครั้งแรก ไดปลูกไว ณ วัด สําเร็จความเปนพระพุทธเจา ซึ่งบางที เบญจมบพิตรและวดั อัษฎางคนิมิตร เรียกวา มหาโพธสิ มภาร อนั ประมวลโพธญิ าณ ญาณคือความตรัสร,ู ญาณ เขาไดใ นธรรมใหญ ๒ ประการ คือคือปญญาตรัสรู, มรรคญาณท้ังสี่มี กรุณา และปญ ญา, เมื่อใชอ ยา งกวางๆโสดาปตตมิ ัคคญาณ เปนตน หมายถงึ โพธิปกขยิ ธรรม ก็ไดโพธปิ ก ขยิ ธรรม ธรรมอนั เปน ฝก ฝา ยแหง ในภาษาไทย มกั ใชใ นความหมายวาความตรสั ร,ู ธรรมทเี่ กอ้ื หนนุ แกอ รยิ มรรค บุญบารมีของพระมหากษัตริย (โดยถือมี ๓๗ ประการคือ สติปฏฐาน ๔, มาวา พระมหากษตั ริย คือทานผูกาํ ลังสมั มัปปธาน ๔, อิทธบิ าท ๔, อนิ ทรยี  บาํ เพญ็ คุณความดแี หง พระโพธิสตั ว)๕, พละ๕, โพชฌงค ๗, มรรคมอี งค ๘; โพธิสัตว ทานผูที่จะไดตรัสรูเปนพระในจํานวน ๓๗ น้ี ถานบั ตัวสภาวธรรม พุทธเจา ซึง่ กําลังบําเพ็ญบารมี ๑๐ คือแทๆ ตดั จํานวนทซี่ า้ํ ออกไป มี ๑๔ คือ ทาน ศลี เนกขัมมะ ปญ ญา วริ ยิ ะ ขนั ติสติ วิริยะ ฉันทะ จิตตะ ปญ ญา สัทธา สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อเุ บกขาสมาธิ ปต ิ ปสสทั ธิ อเุ บกขา สัมมา- โพนทนา กลาวโทษ, ตเิ ตียน, พูดกลาวสงั กปั ปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ โทษทานตอหนาผูอื่น (พจนานุกรมสมั มาอาชีวะ (วิสุทธฺ ิ.ฏี.๓/๖๐๐) เขยี น โพนทะนา)โพธิมัณฑะ ประเทศเปนที่ผองใสแหง ไพบูลย ความเต็มเปยม, ความเจริญโพธิญาณ, บรเิ วณตนโพธ์ิเปน ทตี่ รัสรู เต็มที่ มี ๒ คือ ๑. อามิสไพบูลย ความโพธิราชกุมาร เจาชายโพธิ พระราช- ไพบูลยแหงอามิส ๒. ธรรมไพบูลยโอรสของพระเจาอเุ ทน พระเจา แผน ดิน ความไพบลู ยแ หงธรรม; ดู เวปลุ ละ ไพรสณฑ, ไพรสัณฑ ปาทบึ , ปา ดง;แควน วงั สะโพธิสมภาร คุณความดีที่เปนเครื่อง คําบาลวี า “วนสณฑฺ ” (วน [ปา ] + สณฺฑประกอบของโพธ,ิ คุณความดที ง้ั หลาย [ดง, ทบึ , แนน หนา], เมอ่ื นาํ มาใชใ นภาษาเฉพาะอยางยิ่ง ประดาบารมีที่เปนสวน ไทย ไดเพ้ยี นไปตางๆ เชน ไพรสาณฑ,ประกอบอันรวมกันใหสําเร็จโพธิ คือ พนาสณฑ, พนาสัณฑ, วนาสณฑ,ความตรัสรู, ตามปกติ หมายถึงประดา วนาสัณฑ)บารมีที่พระโพธิสัตวบําเพ็ญ อันจะให ไพศาลี ดู เวสาลี

ฟน เฝอ ๒๗๕ ภวจกั ร ฟฟน เฝอ เคลือบคลุม, พวั พนั กนั , ปน ฟมู ฟาย มากมาย, ลนเหลอื , สุรยุ สรุ า ย,คละกัน, ยงุ น้ําตาอาบหนา ภภควา พระผมู พี ระภาค, เปนพระนาม ผานมา, ภพกอน, ชาติกอ น; ตรงขามกบั หนึ่งของพระพทุ ธเจา และเปน คําแสดง ภพหนา พระพุทธคุณอยา งหน่งึ แปลวา “ทรง ภยตปู ฏ ฐานญาณ ปรีชาหยัง่ เหน็ สงั ขารเปน ผูมโี ชค” คอื หวงั พระโพธญิ าณกไ็ ด ปรากฏโดยอาการเปนของนากลัวเพราะสมหวัง ประกาศพระศาสนาก็ชักจูงผู สังขารท้ังปวงนั้นลวนแตจะตองแตกคนใหไดบรรลุธรรมสมปรารถนา มีผู สลายไป ไมปลอดภยั ทั้งสนิ้ (ขอ ๓ ในคิดรา ยก็ไมอ าจทํารา ยได; อีกนัยหนึง่ วา วปิ ส สนาญาณ ๙)ทรงเปนผจู าํ แนกแจกธรรม (ขอ ๙ ใน ภยันตราย ภยั และอันตราย, อันตรายท่ีพทุ ธคณุ ๙) นา กลวัภคันทลา โรคริดสีดวงทวารหนกั ภยาคติ ลาํ เอยี งเพราะกลวั (ขอ ๔ ในภคนิ ี พ่หี ญงิ นองหญงิ อคติ ๔)ภคุ ดู ภัคคุ ภวจักร วงลอ แหง ภพ, อาการหมุนวนภพ โลกเปนทอี่ ยูของสัตว, ภาวะชวี ิตของ ตอเน่ืองไปแหงภาวะของชีวิตท่ีเปนไปสตั ว มี ๓ คอื ๑. กามภพ ภพของผยู งั ตามเหตุปจจัย ในหลักปฏิจจสมุปบาท;เสวยกามคุณ ๒. รปู ภพ ภพของผเู ขา “ภวจักร” เปนคาํ ในช้ันอรรถกถาลงมาถึงรปู ฌาน ๓. อรูปภพ ภพของผเู ขา ถึง เชน เดยี วกบั คาํ วา สงั สารจกั ร ปจ จยาการ-อรปู ฌาน; เทียบ ภมู ิ, คติ จกั ร ตลอดจนปฏจิ จสมปุ บาทจกั ร ซง่ึภพหลัง โลกที่สัตวเกิดมาแลวในชาติท่ี ทานสรรมาใชในการอธิบายหลักปฏิจจ-

ภวตัณหา ๒๗๖ ภวงั คุปจเฉทสมปุ บาทนนั้ , อาการหมนุ วนของภวจกั ร ภวงั คจติ จติ ทเ่ี ปน องคแ หง ภพ, ตามหลกั หรอื สังสารจักรนี้ ทา นอธบิ ายตามหลกั อภิธรรมวา จิตที่เปนพ้ืนอยูระหวาง ไตรวฏั ฏ; ดู ไตรวฏั ฏ, ปฏจิ จสมปุ บาท ปฏสิ นธแิ ละจตุ ิ คอื ตง้ั แตเ กดิ จนถงึ ตายภวตัณหา ความอยากเปนนนั่ เปนนี่ หรือ ในเวลาท่ีมิไดเสวยอารมณทางทวารท้ังอยากเกดิ อยากมอี ยคู งอยตู ลอดไป, ความ ๖ มจี ักขุทวารเปน ตน แตเมื่อใดมีการทะยานอยากท่ีประกอบดวยภวทิฏฐิ รับรูอารมณ เชน เกิดการเหน็ การได หรอื สัสสตทฏิ ฐิ (ขอ ๒ ในตณั หา ๓) ยิน เปนตน ก็เกิดเปนวิถีจิตข้ึนแทนภวทฏิ ฐิ ความเหน็ เนอ่ื งดวยภพ, ความ ภวงั คจติ เมือ่ วถิ จี ติ ดับไป กเ็ กดิ เปนเห็นวาอัตตาและโลกจักมีอยูคงอยูเท่ียง ภวงั คจิตขึน้ อยา งเดมิแทต ลอดไป เปนพวกสัสสตทฏิ ฐิ ภวังคจิต นี้ คอื มโน ท่ีเปน อายตนะภวราคะ ความกําหนดั ในภพ, ความติด ที่ ๖ หรือมโนทวาร อันเปนวิบาก เปนใครใ นภพ (ขอ ๗ ในสังโยชน ๑๐ ตาม อัพยากฤต ซง่ึ เปน จิตตามสภาพ หรือ นัยพระอภิธรรม, ขอ ๖ ในอนสุ ัย ๗) ตามปกติของมัน ยังไมข้ึนสูวิถีรับรูภวัคค, ภวคั ร ภพสงู สุด ตามปกติ หมาย อารมณ (เปนเพยี งมโน ยงั ไมเ ปน มโน-ถงึ อรปู ภพ ชั้นเนวสัญญายตนะ ซง่ึ ไมมี วิญญาณ)ภพใดสงู กวา คอื สูงทสี่ ุดในไตรภพ หรือ พทุ ธพจนว า “จติ นปี้ ระภสั สร (ผดุในไตรภมู ,ิ แตบ างครง้ั ทา นแยกละเอยี ด ผอ ง ผอ งใส บรสิ ทุ ธ)ิ์ แตเ ศรา หมองออกไปวา มี ภวัคค (ภวัคคะ หรือ ภวคั ร) เพราะอปุ กเิ ลสทจี่ รมา” มคี วามหมายวา๓ คอื ๑. ปถุ ุชชนภวคั ค ภพสูงสดุ ของ จติ น้โี ดยธรรมชาติของมนั เอง มใิ ชเ ปนปุถุชนในรูปโลก ไดแก เวหัปผลภูมิ สภาวะทแ่ี ปดเปอ นสกปรก หรอื มสี งิ่ เศรา๒. อรยิ ภวัคค ภพสูงสุดของพระอริยะ หมองเจอื ปนอยู แตส ภาพเศรา หมองนน้ั(ท่ีเกิดของพระอนาคามี) ไดแก อกนิฏฐ - เปน ของแปลกปลอมเขา มา ฉะนนั้ การภูมิ ๓. สพั พภวคั ค (หรอื โลกภวคั ค) ภพ ชําระจิตใหสะอาดหมดจดจึงเปนส่ิงท่ีสูงสดุ ของสรรพโลก ไดแ ก เนวสญั ญา- เปน ไปได; จติ ทป่ี ระภสั สรนี้ พระอรรถ-นาสญั ญายตนภมู ,ิ ในภาษาไทย นิยม กถาจารยอ ธบิ ายวา ไดแ ก ภวงั คจติ ; เทียบพูดวา ภวคั คพรหม; ดู ภพ, ภูมิ ๔, ๓๑ วถิ ีจิตภวงั ค ดู ภวังคจิต ภวงั คปริวาส ดู ปรวิ าส 2.ภวงั คจลนะ ดู วถิ จี ติ ภวังคุปจ เฉท ดู วถิ จี ติ

ภวาสวะ ๒๗๗ ภัตตัคควตั รภวาสวะ อาสวะคอื ภพ, กเิ ลสทหี่ มกั หมม ต้งั จากสงฆ ใหเ ปนผูม หี นาทรี่ กั ษาเรือนหรอื ดองอยใู นสันดาน ทาํ ใหอ ยากเปน คลงั เกบ็ พสั ดขุ องสงฆ, ผรู กั ษาคลงั สง่ิ ของ,อยากเกดิ อยากมอี ยคู งอยตู ลอดไป (ขอ เปนตําแหนงหนึ่งในบรรดา เจาอธิการ แหงคลงั๒ ในอาสวะ ๓ และ ๔)ภกั ษา, ภักษาหาร เหยอื่ , อาหาร ภณั ฑกู รรม ดู ภณั ฑกู ัมมภัคคะ ช่ือแควนหนึ่งในชมพูทวีปคร้ัง ภัณฑูกัมม การปลงผม, การบอกขอ พุทธกาล นครหลวงชือ่ สงุ สุมารครี ะ อนุญาตกะสงฆเพ่ือปลงผมคนผูจะบวชภัคคุ เจาศากยะองคหน่ึง ท่ีออกบวช ในกรณที ภ่ี กิ ษจุ ะปลงใหเ อง เปน อปโลกน-พรอมกับพระอนุรุทธะ ไดบรรลุพระ กรรมอยา งหนง่ึอรหัต และเปน พระมหาสาวกองคหน่งึ ภตั , ภัตร อาหาร, ของกนิ , ของฉนั ,เขียน ภคุ ก็มี อาหารที่รบั ประทาน (หรือฉัน) เปนมื้อๆภังคะ ผาทาํ ดวยของเจือกนั คอื ผา ทํา ภัตกาล เวลาฉนั อาหาร, เวลารับประทานดวยเปลือกไม ฝาย ไหม ขนสัตว อาหาร เดมิ เขียน ภัตตกาลเปลอื กปาน ๕ อยา งนี้ อยางใดก็ไดปน ภตั กจิ การบรโิ ภคอาหาร เดมิ เขยี น ภตั ตกจิกัน เชน ผาดายแกมไหม เปนตน ภัตตัคควัตร ขอควรปฏิบัติในหอฉัน,ภงั คญาณ ปญ ญาหย่งั เห็นความยอ ยยับ ธรรมเนียมในโรงอาหาร ทานจดั เขาเปนคือ เห็นความดับแหงสังขาร; ภังคา- กิจวัตรประเภทหนึ่ง กลาวยอ มี ๑๑นปุ ส สนาญาณ ก็เรียก ขอ คอื นุง หมใหเ รยี บรอย, รจู กั อาสนะภงฺคํ ดู ภงั คะ อันสมควรแกตน, ไมนั่งทับผาสังฆาฏิภังคานุปสสนาญาณ ญาณตามเห็น ในบา น, รบั นํ้าและโภชนะของถวายจากความสลาย, ปรชี าหยั่งเหน็ เฉพาะความ ทายกโดยเอ้อื เฟอ และคอยระวงั ใหไดดับของสังขารเดนชัดข้ึนมาวาสังขารท้ัง รับทั่วถึงกัน, ถาพอจะแลเห็นท่ัวกันปวงลวนจะตองแตกสลายไปทั้งหมด พระสังฆเถระพึงลงมือฉันเมื่อภิกษุท้ัง(ขอ ๒ ในวปิ ส สนาญาณ ๙) หมดไดรับโภชนะทั่วกันแลว, ฉันดวยภณั ฑไทย ของที่จะตองให (คืน) แกเขา, อาการเรียบรอ ยตามหลกั เสขิยวัตร, อมิ่สินใช, การที่จะตองชดใชทรัพยที่เขา พรอ มกนั (หัวหนา รอยังไมบวนปากและ เสยี ไป ลา งมือ), บว นปากและลา งมือระวังไมใหภัณฑาคาริก ภิกษผุ ูไดร ับสมมติ คอื แตง น้ํากระเซ็น, ฉันในที่มีทายกจัดถวาย

ภัตตาหาร ๒๗๘ ภัททากณุ ฑลเกสาเสร็จแลวอนุโมทนา, เมื่อกลับ อยา ภทั ทปทมาส เดอื น ๑๐ เรียกงายวาเบียดเสียดกันออกมา, ไมเทน้ําลาง ภัทรบทบาตรมีเมล็ดขาวหรือของเปนเดนใน ภัททวัคคีย พวกเจริญ, เปนชื่อคณะ บานเขา สหาย ๓๐ คนทพี่ ากันเขามาในไรฝ า ยภตั ตาหาร อาหารคอื ขา วของฉนั , อาหาร แหงหนึ่งเพ่ือเที่ยวตามหาหญิงแพศยาผูที่สาํ หรบั ฉันเปน มอ้ื ๆ ลักหอเคร่ืองประดับหนีไป และไดพบภตั ตทุ เทสกะ ผแู จกภัตต, ภกิ ษทุ ส่ี งฆ พระพุทธเจาซึ่งพอดีเสด็จแวะเขาไปสมมติ คือแตงตั้งใหเปนเจาหนาที่จัด ประทับพกั อยูท่ไี รฝ ายนน้ั ไดฟ งเทศนาแจกภัต, นยิ มเขียน ภัตตเุ ทศก, เปน อนุบุพพกิ ถา และอริยสจั จ ๔ ไดดวงตาตําแหนงหน่ึงในบรรดา เจาอธิการแหง เหน็ ธรรมแลว ขออุปสมบทอาหาร ภัททากจั จานา พระมหาสาวกิ าองคห นึง่ภตั ตุเทศก ดู ภตั ตุทเทสกะ เปนธิดาของพระเจาสุปปพุทธะแหงภตั ร ดู ภตั โกลยิ วงศ พระนามเดมิ วา ยโสธรา หรอืภัทกัป ดู กัป พิมพา เปนพระมารดาของพระราหุลภัททกาปล านี พระมหาสาวกิ าองคห นึง่ พทุ ธชิโนรส ไดน ามวา ภทั ทากจั จานาเปน ธดิ าพราหมณโ กสยิ โคตรในสาคลนคร เพราะทรงมีฉวีวรรณดุจทองคําเน้ือแหง มัททรฐั (คัมภรี อ ปทานวาไวช ดั ดงั น้ี เกลี้ยง บวชเปนภิกษุณีในพระพุทธ-แตอ รรถกถาองั คตุ ตรนกิ ายคลาดเคลอ่ื น ศาสนาเจรญิ วิปสสนากัมมฏั ฐาน ไมชา ก็เปนแควนมคธ) พออายุ ๑๖ ป ได ไดสําเร็จพระอรหัต ไดรับยกยองวาสมรสกบั ปป ผลมิ าณพ (พระมหากสั สปะ) เปนเอตทัคคะในทางบรรลุมหาภิญญาตอ มามคี วามเบอ่ื หนา ยในฆราวาส จงึ ออก เรยี ก ภทั ทกจั จานา ก็มีบวชเปน ปรพิ าชกิ า เมอ่ื พระมหาปชาบดี ภทั ทากณุ ฑลเกสา พระมหาสาวกิ าองคผนวชเปน ภิกษณุ แี ลว นางไดม าบวชอยู หน่ึง เปนธิดาของเศรษฐีในพระนครในสํานักของพระมหาปชาบดี เจริญ ราชคฤห เคยเปนภรรยาของโจรผูเปนวปิ ส สนากมั มฏั ฐานดว ยความไมป ระมาท นักโทษประหารชีวิต โจรคิดจะฆานางไดบ รรลพุ ระอรหตั ไดร บั ยกยอ งวา เปน เพื่อเอาทรัพยสมบัติ แตนางใชปญญาเอตทคั คะในทางปพุ เพนวิ าสานสุ ติ เรยี ก คิดแกไขกําจัดโจรได แลว บวชในสาํ นกัภทั ทากาปล านี บา ง ภทั ทากปล านี บา ง นิครนถ ตอมาไดพบกับพระสารีบุตร

ภทั ทิยะ ๒๗๙ ภาณยักษไดถาม-ตอบปญหากัน จนนางมีความ ปญหากะพระศาสดา ที่ปาสาณเจดยี เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ตอมาไดฟ ง ภนั เต “ขาแตท านผูเ จรญิ ” เปน คาํ ที่ภกิ ษุพระธรรมเทศนาท่ีพระศาสดาทรงแสดง ผูออนพรรษากวาเรียกภิกษุผูแกพรรษาไดสําเร็จพระอรหัต แลวบวชในสํานัก กวา (ผนู อยเรยี กผใู หญ) หรือคฤหสั ถ ภิกษุณี ไดรับยกยองวาเปนเอตทคั คะ กลาวเรียกพระภิกษุ, คูกับคําวา ในทางขปิ ปาภญิ ญา คอื ตรสั รฉู ับพลัน อาวุโส; บัดนี้ใชเลือนกันไปกลายเปนภทั ทยิ ะ 1. ชอ่ื ภกิ ษรุ ปู หนง่ึ ในคณะปญ จ- คาํ แทนตัวบุคคล กม็ ี วัคคีย เปนพระอรหันตรุนแรก 2. ภัพพบุคคล คนที่ควรบรรลธุ รรมพิเศษ กษัตริยศากยวงศ โอรสของนางกาฬิ- ได; เทียบ อภพั บุคคล โคธา สละราชสมบตั ทิ มี่ าถงึ ตามวาระแลว ภัลลิกะ พอคาที่มาจากอุกกลชนบท คู ออกบวชพรอมกับพระอนรุ ทุ ธะ สาํ เร็จ กับ ตปุสสะ พบพระพุทธเจาขณะอรหตั ตผล ไดร บั ยกยอ งวา เปน เอตทคั คะ ประทบั อยู ณ ภายใตต น ไมร าชายตนะในบรรดาภกิ ษผุ มู าจากตระกลู สงู และจดั ไดถ วายเสบยี งเดนิ ทาง คือ ขาวสัตตุผงเปน มหาสาวกองคห นงึ่ ในจาํ นวน ๘๐ ขา วสตั ตกุ อน แลว แสดงตนเปนอบุ าสกภัททยิ ศากยะ ดู ภทั ทยิ ะ 2. ถึงพระพุทธเจากับพระธรรมเปนสรณะภทั เทกรตั ตสตู ร ชอ่ื สตู รหนง่ึ ในมชั ฌมิ - นับเปนปฐมอบุ าสกประเภทเทฺววาจกินิกาย อุปริปณณาสก แหงพระ ภาคี ผูมสี ว น, ผมู ีสวนรวม, ผูมีสวนแบง ,สุตตนั ตปฎก แสดงเรอ่ื งบคุ คลผมู ีราตรี ผูรว มได, ผเู ขา รว มเดยี วเจรญิ คือ คนทเ่ี วลาวันคืนหน่ึงๆ ภาชกะ ผแู จก, ผจู ัดแบงมแี ตค วามดงี ามความเจรญิ กา วหนา ได ภาณพระ ดู ภาณยักษแก ผูทีไ่ มมวั ครนุ คาํ นงึ อดตี ไมเ พอ หวัง ภาณยักษ บทสวดของยกั ษ, คําบอกของอนาคต ใชปญญาพิจารณาใหเห็นแจง ยักษ, สวดหรอื บอกแบบยกั ษ; เปนคาํ ที่ประจักษส่ิงท่ีเปนปจจุบัน ทําความดี คนไทยเรยี กอาฏานาฏยิ สตู ร ท่ีนํามาใชเพิ่มพูนข้ึนเร่ือยไป มีความเพียร เปนบทสวดมนตในจําพวกพระปริตรพยายาม ทํากิจทีค่ วรทําเสียแตวันนี้ไม (เปนพระสตู รขนาดยาวสตู รหนึง่ นยิ มรอวนั พรุง คัดตัดมาเฉพาะตอนที่มีสาระเกี่ยวกับภทั ราวุธมาณพ ศษิ ยคนหน่ึงในจํานวน ความคุมครองปองกันโดยตรง และ๑๖ คน ของพราหมณพ าวรี ทไ่ี ปทลู ถาม เ รี ย ก ส ว น ท่ี ตั ด ต อ น ม า ใ ช นั้ น ว า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook