Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:56:40

Description: dictionary_of_buddhism_vocabulary_version พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Search

Read the Text Version

๕๘๐พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร กอ นจนเสรจ็ แลวเริ่มดาํ เนนิ การเกย่ี วกบั การจดั พิมพ ระหวางนัน้ มงี านอืน่ แทรกอยูเรอ่ื ยๆตอ งรอโอกาสทจ่ี ะปรับปรุงอกี เลม หนงึ่ ทเ่ี หลอื อยู และไดต ้ังใจวาจะพมิ พต ามลาํ ดับเลม ทปี่ รบั ปรงุ กอ นหลัง ในการพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร มขี อ พจิ ารณาทจี่ ะตอ งตดั สนิ ใจและปญ หาทจี่ ะตอ งแกไ ขหลายอยา ง รวมทั้งการทดลองและตรวจสอบเก่ยี วกบั ความสามารถในการพิมพด วย ซึง่ ลวนเพ่ิมความลา ชา ใหแกก ารจัดพิมพ โดยเฉพาะคอื การพิมพภ าษาบาลีดว ยอักษรโรมัน ซึง่ ในการพมิ พค ร้ังใหมนี้มตี วั บาลีโรมนั เพ่มิ ขนึ้ เกินเทาตัว หลงั จากผา นพนเวลาชา นานในการปรึกษาสอบถามและศกึ ษางานกบั โรงพมิ พใ หญโ ตบางแหงแลว ก็พอยตุ ิไดวา ในประเทศไทยคงมีโรงพมิ พเ พยี ง ๒ แหงเทา นั้นที่มอี ุปกรณครบครันพอจะพิมพอักษรบาลโี รมันไดตรงตามแบบนยิ มอยางแทจ รงิแตก็ตดิ ขดั ปญ หาใหญวา แหงหนง่ึ ตองใชท ุนพิมพอ ยา งมหาศาล อกี แหงหนึง่ คงจะตอ งพมิ พอยางชา เปนเวลาแรมป เมอ่ื ไดพ ยายามหาทางแกป ญ หาตอ ไปอกี ระยะหนงึ่ กม็ าลงเอยทที่ างออกใหม คอื สงั่ ซอื้ อปุ กรณป ระกอบดว ยจานบนั ทกึ และแถบฟล ม ตน แบบสาํ หรบั ใชพ มิ พอ กั ษรบาลโี รมนั จากบรษิ ทั คอมพวิ กราฟค สนิ้ เงนิ ๒๔,๐๐๐ บาท และสน้ิ เวลารออกี ๒ เดอื นเศษ อปุ กรณจ งึ มาถงึ ครนั้ ไดอ ปุ กรณม าแลว กป็ รากฏวา ยงั ใชง านไดไ มส มบรู ณ ตอ งใหน กั เรยี งพมิ พผ สู ามารถหาวธิ ยี กั เยอื้ งใชใ หส าํ เรจ็ ผล สน้ิ เวลาพลกิ แพลงทดลองอกี ระยะหนงึ่ และแมจ ะแกไ ขปญ หาสาํ เรจ็ ถงึ ขนั้ ท่ีพอนบั วา ใชไ ด กย็ งั เปน การเรยี งพมิ พท ยี่ ากมาก นกั เรยี งพมิ พค อมพวิ กราฟค สว นมากพากนั หลกี เลยี่ งงานน้ี แมจ ะมีนกั เรยี งพมิ พท ชี่ าํ นาญยอมรบั ทาํ งานนด้ี ว ยมใี จสู กย็ งั ออกปากวา เปน งานยากทส่ี ดุ ทเ่ี คยประสบมา ตอ งทาํ ดว ยความระมดั ระวงั ตง้ั ใจเปน พเิ ศษ และกนิ เวลามากถงึ ประมาณ ๓ เทา ตวั ของการเรยี งพมิ พห นงั สอื ทวั่ ๆ ไป ระหวา งระยะเวลาเพียรแกป ญ หาขางตน น้ี ในชวงเดอื น เมษายน – มิถุนายน ๒๕๒๗ มลู นธิ ิ “ทนุ พระพทุ ธ-ยอดฟา” ในพระบรมราชปู ถัมภ ณ วดั พระเชตุพน ไดข อพมิ พหนังสือ Thai Buddhism in the Buddhist Worldของพระราชวรมุนี ในงานพระราชทานเพลงิ ศพ พล ต.อ. ประเสริฐ รจุ ิรวงศ หนังสือเลม นีม้ เี น้อื หาที่ตองใชอักษรพมิ พบาลแี บบโรมันกระจายอยูทั่วไป แมจะไมม ากมายนัก แตก ็ไดก ลายเปนดังสนามทดสอบและแกป ญ หาในการใชอปุ กรณท ่ีสงั่ ซือ้ มาน้ี เปน สนามแรก และนับวา ใชไดผ ลพอสมควร พอวา หนงั สอื Thai Buddhism สาํ เรจ็ แตย งั ไมท นั เสรจ็ สน้ิ กถ็ งึ ชว งที่ ดร. สจุ นิ ต ทงั สบุ ตุ ร ตดิ ตอ ขอพมิ พพจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ครู นกั เรยี น นกั ธรรม ในงานพระราชทานเพลงิ ศพ อาจารยจ ติ ร ทงั สบุ ตุ ร ผเู ปน บดิ า เวลานนั้ พจนานกุ รมเลม หลงั นไี้ ดเ คยปรบั ปรงุ เพมิ่ เตมิ ไวบ า งแลว เลก็ นอ ย แตย งั ไมถ งึ เวลาทจี่ ะปรบั ปรงุ จรงิ จงั ตามลาํ ดบั ในโครงการ จงึ ตกลงวา จะพมิ พต ามฉบบั เดมิ โดยใชว ธิ ถี า ยจากฉบบั พมิ พ พ.ศ. ๒๕๒๒ แกไ ขแทรกลงบา งเทา ทจ่ี าํ เปน แตเมอ่ื ตน ฉบบั ถงึ โรงพมิ พ โรงพมิ พอ า งวา ฉบบั เดมิ ไมช ดั พอทจ่ี ะใชว ธิ ถี า ย จะตอ งเรยี งพมิ พใ หม จงึ กลายเปน เครอ่ื งบงั คบัวา จะตอ งพยายามปรบั ปรงุ เพม่ิ เตมิ ใหเ สรจ็ สน้ิ ไปเสยี ในการพมิ พค ราวนที้ เี ดยี ว เพอื่ หลกี เลยี่ งการลงทนุ ลงแรงและเปลอื งเวลาซา้ํ ซอ นหลายคราว พอดีเกดิ ขอ ยุงยากติดขัดทางดา นโรงพมิ พเ ปน อนั มาก จนหนงั สอื เสรจ็ ไมท นั งานและตอ มาเจา ภาพตอ งเปลยี่ นโรงพมิ พ กลายเปน โอกาสใหร บี เรง งานปรบั ปรงุ เพมิ่ เตมิ แขง ไปกบั กระบวนการพมิ พ แมจ ะไมอ าจทาํใหส มบรู ณเ ตม็ ตามโครงการ แตก ส็ าํ เรจ็ ไปอกี ชนั้ หนงึ่ และทาํ ใหเ ปลย่ี นลาํ ดบั กลายเปน วา เลม ทกี่ ะจะพมิ พท หี ลงั กลบั มาสาํ เรจ็ กอ น นอกจากนนั้ การพมิ พข องเจา ภาพครงั้ น้ี ไดก ลายเปน การอปุ ถมั ภม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไปดว ย เพราะไดลงทนุ สาํ หรบั กระบวนการพมิ พข น้ั ตน และขน้ั กลางเสรจ็ สนิ้ ไปแลว เมอ่ื พมิ พใ หมไ มต อ งเสยี คา เรยี งพมิ พแ ละคา ทาํ แผนแบบพมิ พใ หมอ กี ลงทนุ เฉพาะขนั้ กระดาษขนึ้ แทน พมิ พแ ละทาํ เลม เปน การประหยดั คา ใชจ า ยลงไปเปน อนั มาก อนง่ึ ในการพิมพค ร้งั นี้ ไดม ขี อยุตทิ สี่ ําคัญอยา งหนึ่งดวย คอื การปรับปรุงช่ือของพจนานุกรมท้งั สองใหเรียกงา ย พรอ มท้งั ใหแสดงลักษณะที่แตกตางกัน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบบั ครู นกั เรียน นกั ธรรม เปล่ียนเปนพจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท สว น พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร เรยี กใหมว า พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบัประมวลธรรม

๕๘๑ งานปรบั ปรุงและจดั พมิ พ พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม ผานเวลามาถงึ บัดนี้ ๑ ปเศษแลวกะวาจะเสรจ็ สิน้ ในระยะตน พ.ศ. ๒๕๒๘ ระหวางนี้ หนังสืออนื่ ๆ แมแตเ ลมทนี่ บั วา พิมพยาก ดงั เชนเลม ทอ่ี อกชอ่ืแลว ขางตน กส็ ําเร็จภายในเวลาอนั สมควร ไมตอ งนับหนังสือที่งานพิมพอ ยูในระดับสามัญ ซ่ึงปลอ ยงานใหผ ูทีข่ อพมิ พร ับภาระเองได เวนแตต ามปกติจะตองขอพิสูจนอักษรเพือ่ ความมน่ั ใจสักเท่ยี วหนึ่ง งานพมิ พระดับสามัญท่ผี า นไปในชว งเวลาน้ี รวมท้งั การพิมพซ ํา้ ธรรมนญู ชวี ติ ประมาณ ๑๒ ครัง้ สมาคมศษิ ยเ กา มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั พมิ พซ า้ํ ชาวพทุ ธกบั ชะตากรรมของสงั คม ธรรมสถาน จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัยพมิ พซ าํ้ (๒ ครง้ั ) พทุ ธธรรมฉบบั ปรบั ปรงุ และขยายความ มลู นธิ โิ กมลคมี ทอง รวบรวมพมิ พ ลกั ษณะสังคมพทุ ธ และสถาบันสงฆกับสงั คมไทย สํานกั พิมพเทยี นวรรณพมิ พ คานิยมแบบพทุ ธ และ รากฐานพทุ ธจรยิ ศาสตรท างสงั คมเพื่อสังคมไทยรวมสมัย ซึ่งวีระ สมบูรณ แปลจากขอเขียนภาษาอังกฤษของพระราชวรมุนี ทต่ี อมา CSWRมหาวทิ ยาลัยฮารวารด นําลงพิมพใ นหนังสอื Attitudes Toward Wealth and Poverty in TheravadaBuddhism (ในชดุ CSWR Studies in World Religions) ซ่งึ จะพมิ พเ สรจ็ ในตน ป ๒๕๒๘ ความที่กลา วมาน้ี เปนเคร่อื งแสดงใหเ หน็ การเกิดขึ้นของ พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ทา มกลางงานคเู คียงและงานแทรกซอ นทงั้ หลาย พรอ มทงั้ ความยากและความละเอยี ดซบั ซอ นของงานพมิ พพ จนานกุ รมน้ี ทตี่ า งจากหนงั สอื เลมอนื่ ๆ แมว า พจนานกุ รมทงั้ สองน้ี จะเปน ผลงานธรรมทาน อทุ ศิ แดพ ระศาสนา เชน เดยี วกบั หนงั สอื อน่ื ทกุ เลม ของผเู รยี บเรยี งเทา ทเ่ี คยพมิ พเ ผยแพรม าแลว ผปู ระสงคส ามารถพมิ พไ ดโ ดยไมม คี า ลขิ สทิ ธหิ์ รอื คา ตอบแทนสมนาคณุ ใดๆกจ็ รงิ แตผ เู รยี บเรยี งกม็ ไิ ดส ละลขิ สทิ ธทิ์ จี่ ะปลอ ยใหใ ครๆ จะพมิ พอ ยา งไรกไ็ ดต ามปรารถนา ทงั้ นี้ เพอื่ จะไดม โี อกาสควบคมุ ดแู ลความถกู ตอ งเรยี บรอ ยของงาน ซง่ึ ผเู รยี บเรยี งถอื เปน สาํ คญั อยา งยงิ่ ไมว าการพิมพจ ะยากลําบากและลา ชา ปานใด เมอื่ ดาํ เนนิ มาถงึ เพยี งนี้ ก็มัน่ ใจไดวา จะสําเร็จอยางแนน อนเจา ภาพทงั้ หลายผูม ศี รทั ธาจัดพมิ พเผยแพร ก็ไดสละทนุ ทรัพยบ ําเพ็ญกศุ ลธรรมทานใหส าํ เรจ็ เปน อันลลุ วงกจิ โปรงโลง ไป คงเหลอื แตเ พียงมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั เทา น้นั ท่มี เี คา จะประสบปญหาและกลายเปน ปญหา เนือ่ งจากไดแจง ขอพิมพพจนานุกรมทัง้ สองนน้ั อยา งละ ๑๐,๐๐๐ เลม ทั้งทตี่ ามความเปน จริงยังไมม ีทนุ ทรัพยท จ่ี ะจายเพ่อืการนี้เลย ทั้งนเ้ี พราะเหตุวา แมแตเงินทนุ สําหรบั ใชจายในการดาํ เนนิ การศกึ ษาทเ่ี ปนงานหลกั ประจาํ ในแตละวัน ก็ยังมีไมเพียงพอ การทต่ี กลงใจพิมพพ จนานุกรมจาํ นวนมากมายเชน นนั้ กเ็ ปนเพยี งการแสดงใจกลาบอกความปรารถนาออกไปกอ น แลว คอ ยคิดแกป ญหาเอาทีหลงั

ทนุ พิมพพ จนานกุ รมพทุ ธศาสน เมอ่ื เดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๕๒๗ พระราชวรมนุ ไี ดเ พยี รพยายามครง้ั ลา สดุ ในการหาโรงพมิ พท สี่ ามารถพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร แตก ป็ ระสบปญ หาเกยี่ วกบั ราคาคา พมิ พท สี่ งู เกนิ ไปบา ง การพมิ พภ าษาบาลดี ว ยอกั ษรโรมนั ใหส มบรู ณไ มไ ดบ า ง ในทสี่ ดุ จงึหาทางออกดว ยการใหส ง่ั ซอื้ อปุ กรณส าํ หรบั เรยี งพมิ พค อมพวิ กราฟค ชุดที่พอจะพิมพอักษรโรมนั ไดม าเปน กรณพี ิเศษ (ประกอบดว ยจานบนั ทึกและแถบฟลม ตน แบบ) ชว งเวลานนั้ ประจวบเปน ระยะทคี่ ณุ หญงิ กระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ บงั เอญิ ไดท ราบเรอื่ งราวเกยี่ วกบั พระราชวรมนุ ี และดว ยความมีนา้ํ ใจศรทั ธาใฝอ ปุ ถมั ภพ ระศาสนาและเกอ้ื กลู แกพ ระสงฆ กไ็ ดม าถวายกาํ ลงั ในการบาํ เพญ็ ศาสนกจิ ดว ยการอปุ ถมั ภเ กยี่ วกบั ภตั ตาหารและยานพาหนะเปน ตน อยเู นอื งนติ ย ครนั้ ไดท ราบเรอื่ งทพ่ี ระราชวรมนุ เี พยี รแกป ญ หาอยู จงึ ไดข วนขวายชว ยเหลอื ทกุ อยา งเทา ทโี่ ยมอปุ ถมั ภจ ะทาํ ไดโดยเฉพาะดว ยการชว ยตดิ ตอ กบั โรงพมิ พ และอาํ นวยความสะดวกในการเดนิ ทาง ครน้ั ไดท ราบตอ ไปอกี วา มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ซง่ึเปน หนว ยทขี่ อพมิ พพ จนานกุ รมนน้ั มเี พยี งกาํ ลงั ใจทจี่ ะขอพมิ พห นงั สอื แตย งั ไมม ที นุ ทรพั ยท จี่ ะใชพ มิ พ คณุ หญงิ กระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ กไ็ ดเออื้ อาํ นวยความอปุ ถมั ภใ นเรอื่ งนแี้ กม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ดว ย เบอ้ื งแรก คณุ หญงิ กระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ ไดแ สดงจาคเจตนาทจี่ ะจดั หาทนุ มาชว ยบา งสว นหนง่ึ ซง่ึ คงจะพอเปน ทนุ สาํ หรบั จา ยคา อปุ กรณส าํ หรบั ชว ยการเรยี งพมิ พอ กั ษรบาลแี บบโรมนั ทไ่ี ดข อใหบ รษิ ทั อสี ตเ อเชยี ตคิ จาํ กดั สงั่ ซอ้ื จากประเทศสหรฐั อเมรกิ า มลู คา๒๔,๐๐๐ บาท แตต อ มาอกี เพยี งสองสามวนั คอื ในวนั ท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๒๗ ทา นกไ็ ดข ยายความอปุ ถมั ภอ อกไปอกี โดยไดแ จง แกผ ูเรยี บเรยี งคอื พระราชวรมนุ ี วา จะขอรบั ภาระดาํ เนนิ การรวบรวมทนุ จดั พมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ใหท ง้ั หมด ภายในวงเงนิ ๓๐๐,๐๐๐บาท โดยทา นจะทาํ หนา ทเี่ ปน ผปู ระสานงานบอกกลา วกนั ในหมญู าตมิ ติ รและผสู นทิ สนมคนุ เคยใหร ว มกนั บรจิ าคดว ยวธิ จี ดั เปน ทนุ ราม๓๐๐ ทนุ ๆ ละ ๑,๐๐๐ บาท พระราชวรมนุ จี งึ ไดน ดั หมายพระเถระทางฝา ยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไปรบั ทราบกศุ ลเจตนานนั้ และจดัเตรยี มอนโุ มทนาบตั รใหส าํ หรบั มอบแกผ บู รจิ าค คณุ หญงิ กระจางศรี รักตะกนิษฐ ไดบ อกกลาวเชิญชวนทา นผศู รทั ธาในวงความรจู กั ของทาน ขอความทีท่ า นใชบ อกกลาวเชิญชวนตอนหนง่ึ วา “นบั วาเปนโอกาสอันดขี องเราท้ังหลาย ทจ่ี ะไดม สี ว นเปน ผูพ ิมพหนังสือทางวิชาการทสี่ าํ คัญเลม นี้ ฝากไวเ ปนอนุสรณใ นพระพุทธศาสนา เปนเคร่อื งบชู าพระรตั นตรัยรวมกนั อนั จะยงั ประโยชนใ หเ กิดอานสิ งสท างปญญาบารมี แกตวั ผบู รจิ าคเองและบุตรหลาน ท้ังยังเปนการชวยสงเคราะหพระเณรใหไ ดม ีหนังสือท่จี าํ เปน ยิง่ นไี้ วใชโ ดยเร็ว นอกจากนั้นผลท่ีจะตามมากค็ อืรายไดจ ากการจําหนายหนงั สือน้ี ก็จะไดใชป ระโยชนในการบาํ รุงการศกึ ษาของพระเณร ...” การเชญิ ชวนบรจิ าคทนุ สรา งพจนานกุ รมฯ นี้ คณุ หญงิ กระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ ไดเ รมิ่ บอกกลา วในหมญู าตมิ ติ รสนทิ กอ น ปรากฏวา มผี ศู รทั ธาในงานบญุ นม้ี ากเกนิ คาด การเชญิ ชวนจงึ ขยายวงกวา งออกไปจนไดเ งนิ เกนิ กวา ทกี่ าํ หนดไวใ นเวลาอนั รวดเรว็ อนงึ่ ในระหวา งเวลารอคอยการพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม น้ี มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัยกไ็ ดขอพมิ พ พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท เพิม่ เขา มาอีก และกย็ ังไมม ีทุนที่จะพมิ พฉบับหลงั นอ้ี กี เชนกนั ผูเชญิ ชวนและรวบรวมทุนเห็นเปนโอกาสอันดที ที่ านผูมีศรัทธาบรจิ าคทัง้ หลายจะไดบุญกุศลจากการน้ีกวา งขวางยง่ิ ขึ้น จงึ ไดเสนอพระราชวรมุนขี อใหใชเ งนิ บริจาคซ่งึ มีจํานวนมากพอน้ีเปนทนุ พมิ พ พจนานุกรมฯ ฉบับประมวลศัพท มอบใหมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั เพื่อจาํ หนา ยหาผลกําไรบาํ รุงกิจการของมหาวิทยาลยั อกี เลม หน่ึงดวย และถาหากยงั คงมีเงนิ เหลอื อยบู า ง ก็ขอใหเ ก็บไวใ นบัญชีเดมิ น้ีเพือ่ สมทบเปน ทนุ พมิ พในคราวตอๆ ไป อนง่ึ ทนุ พมิ พพ จนานกุ รมฯ นี้ ผรู วบรวมทนุ ไดแ สดงความประสงคท จี่ ะใหเ กบ็ ไวเ ปน ทนุ สาํ รองถาวร ของมหาจฬุ าลงกรณ-ราชวิทยาลัย สําหรับพมิ พ พจนานกุ รมฯ ทั้งสองเลม นโี้ ดยเฉพาะ เพอ่ื จะไดมีทุนพรอมที่จะพิมพเพ่ิมเตมิ ไดโดยไมข าดระยะ ฉะนัน้จงึ ไดข อความรวมมือจากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ใหช วยสงวนรกั ษาทุนน้ไี ว โดยในการจดั จาํ หนา ย ขอใหหักตน ทนุ หนังสือทกุเลม ทีจ่ ําหนายไดส งคนื เขา บัญชี “ทนุ พิมพพจนานุกรมพทุ ธศาสน” ซง่ึ ไดเ ปด อยแู ลว ทธ่ี นาคารกรงุ ศรอี ยธุ ยา สาํ นกั งานใหญ ดงั กลา วขา งตน สว นผลกาํ ไรทงั้ หมด มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัยก็จะไดน าํ ไปใชในกจิ การของมหาวทิ ยาลัยตามตอ งการ ทง้ั นีผ้ ูร วบรวมไดขออาราธนาพระราชวรมุนี ซ่ึงการทาํ งานของทานไดเ ปน เหตุใหผ รู วบรวมเกิดความดาํ ริท่ีจะตงั้ ทุนนี้ ใหโ ปรดเปนหลกั ในการรักษาบญั ชีรว มกับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยสืบตอไป “ทุนพมิ พพจนานุกรมพุทธศาสน” นี้ เปน ผลแหงความเสียสละและความสามคั คี อันเกดิ จากความมจี ิตศรทั ธาในพระพุทธศาสนา และธรรมฉนั ทะทีจ่ ะสงเสริมความรูค วามเขา ใจในธรรมใหแ พรห ลาย ซ่ึงจะใหสําเร็จเปน ธรรมทานอนั อํานวยประโยชนแกช นจาํ นวนมาก ขอกศุ ลเจตนาและบญุ กริ ยิ าที่กลาวมานจ้ี งเปน ปจ จยั ดลใหผ ูรวมบรจิ าคทกุ ทาน เจริญงอกงามในธรรมย่ิงๆ ขึน้ ไปเพอื่ ไดป ระสบแตค วามสุขและสรรพพร และขออัครทานคือการใหธรรมแจกจา ยความรแู ละเผยแพรค วามดีงามคร้ังน้ี จงเปน เครื่องคํ้าชสู ทั ธรรมใหด ํารงม่ันและแผไ พศาล เพอ่ื ชกั นาํ มหาชนใหบ รรลปุ ระโยชนส ุขอนั ไพบูลยต ราบชว่ั กาลนาน

รายนามผูรว มพมิ พเปน ธรรมทาน (ในการพมิ พค รง้ั ที่ ๑๐) ก. ผรู ะบุจาํ นวนเงิน (บาท)ศาสตราจารย น.พ. ศภุ ชยั ไชยธีระพันธ และครอบครวั น.พ.พนัส เฉลมิ แสนยากร 10,000 2,000 200,000 น.พ.จรญู เจตศรีสุภาพคุณนิรนั ดร–คณุ สุธี ชโยดม 20,000คณุ หญิงกระจา งศรี รักตะกนิษฐ 10,000


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook