596 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๓) พวกท่ีท�ำท้ังตนให้เดือดร้อนท้ังผู้อ่ืนให้เดือดร้อน ได้แก่บุคคลบางคน เป็นกษัตริย์ผู้ได้รับมูรธาภิเษก (พิธีรดน�้ำบนศีรษะเสวยราชย์)๑ หรือ พราหมณมหาศาล ที่สร้างเรือนโถงขึ้นใหม่ โกนผม โกนหนวด นุ่งหนังเสือ บูชาไฟ ท�ำให้สตั วต์ ่าง ๆ ถกู ฆา่ บูชายญั ทาสและกรรมกรกถ็ กู ลงโทษ รอ้ งไห้ ท�ำการงาน (ในยัญญพธิ ี) (๔) พวกที่ไม่ท�ำทั้งตนท้ังผู้อื่นให้เดือดร้อน คือผู้ออกบวชประพฤติพรหมจรรย์ ตง้ั อยู่ในศลี สมาธิ ได้ญาน ๓ มีญาณอนั ทำ� อาสวะใหส้ ้ินเปน็ ทส่ี ดุ ๒. อัฏฐกนาครสูตร (สูตรว่าดว้ ยคฤหบดีชาวเมอื งอฏั ฐกะ) ๑. พระอานนทอ์ ยู่ ณ เวฬวุ คาม ใกล้กรุงเวสาลี สมัยน้นั คฤหบดชี ือ่ ทสมะ ชาวเมือง อัฏฐกะ ไปธุระท่ีกรุงปาตลิบุตร และได้ไปยังกุกกุฏาราม ถามหาพระอานนท์กับภิกษุรูปหนึ่ง ทราบว่าท่านอยู่ในเวฬุวคาม ใกล้กรุงเวสาลี เม่ือเสร็จธุระในกรุงปาตลิบุตรแล้ว จึงเดินทาง ไปหาพระอานนท์ ถามถึงธรรมะข้อหน่ึงที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงไว้ ซ่ึงภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร ส่งใจไปในธรรมน้ันแล้ว จิตที่ไม่หลุดพ้นก็จะหลุดพ้น อาสวะท่ียังไม่สิ้นก็จะถึง ความส้นิ ไป ผู้น้ันยอ่ มบรรลธุ รรมอันยอดเยี่ยม อันปลอดโปร่งจากกเิ ลสทผ่ี กู มัด ๒. พระอานนท์ตอบว่า มีธรรมะเช่นน้ัน และอธิบายว่า ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจาก อกุศลธรรมได้ฌานท่ี ๑ ถึง ๔ ได้เจโตวิมุติอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ๔ ได้อรูปฌาน ถึงอากิญจัญญายตนะ (อรูปฌานที่ ๓) ต้ังอยู่ในธรรมะที่ได้น้ัน ๆ แล้ว ก็อาจส้ินอาสวะได้ แต่ถ้าไม่ส้ินก็จะละสัญโญชน์ ๕ ได้ เป็นอุปปาติกะ (เกิดขึ้นใหญ่โตขึ้นทันที) ปรินิพพานในช้ัน สทุ ธาวาสนั้น (ทีอ่ ยูข่ องพระอนาคามี) ไมก่ ลบั มาจากโลกนน้ั ๓. ทสมคฤหบดชี น่ื ชมภาษิตของพระเถระ กล่าวว่า ตนแสวงประตูอมตะประตเู ดยี ว แต่ได้พบถึง ๑๑ ประตู เปรียบเหมือนคนแสวงหาปากขุมทรัพย์แห่งเดียว แต่ได้พบ ปากขุมทรัพย์ถึง ๑๑ แห่ง (รูปฌาน ๔ ฌานประกอบด้วยพรหมวิหาร ๔ และอรูปฌาน ๓ = ๔ + ๔ + ๓ = ๑๑) เปรียบเหมือนอาคารมี ๑๑ ประตู เม่ือไฟไหม้ บุคคลก็อาจท�ำตน ปลอดภัยได้โดยอาศัยประตูใดประตูหนึ่ง ตนก็อาจท�ำตนให้ปลอดภัยได้โดยอาศัยประตูอมตะ ๑ เฉพาะพระราชาท่ีเป็นใหญ่ แต่พระราชาเมืองขึ้น ซึ่งได้รับมอบหมายให้ครองราชย์ไม่ปรากฏพิธีมูรธาภิเษก จงึ เรยี กว่าราชัญญะ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 596 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหปติวรรค 597 ประตูใดประตูหนึ่งฉันนั้น ก็พวกเดียรถีย์เหล่าอื่นยังแสวงหาทรัพย์บูชาอาจารย์ได้ ไฉนตนจะ ัมช ิฌม ินกาย บูชาพระอานนท์บ้างไม่ได้ จึงนิมนต์ภิกษุชาวกรุงปาตลิบุตรและชาวเวสาลี ประชุมกันถวาย อาหาร ถวายผ้าคู่แก่ภิกษุทุกรูป ถวายไตรจีวรแก่พระอานนท์ และให้สร้างวิหาร ๕๐๐ แห่ง๑ ถวายพระอานนท์ (หมายเหตุ : สันนิษฐานว่า พระสูตรน้ีแสดงเหตุการณ์ภายหลังพุทธปรินิพพาน เมอ่ื กรุงปาตลบิ ุตรเปน็ ราชธานีมคธแทนราชคฤห์แล้ว) ๓. เสขปฏปิ ทาสตู ร (สูตรวา่ ดว้ ยขอ้ ปฏบิ ัตขิ องพระเสขะ) ๑. พระผู้มพี ระภาคประทบั ณ นิโครธาราม ใกลก้ รุงกบลิ พสั ด์ุ แควน้ สกั กะ สมยั นัน้ เจา้ ศากยะชาวกรุงกบลิ พัสดใ์ุ หส้ รา้ งสนั ถาคาร (โรงโถง - โรงประชุม) ข้ึนใหม่ ยังไมม่ ีใครได้ใช้ จึงนิมนต์พระผู้มีพระภาคให้ทรงใช้ก่อน พระผู้มีพระภาคทรงรับนิมนต์ด้วยดุษณีภาพแล้ว เสด็จไปเมื่อเขากราบทูลเวลา เม่ือเสด็จถึงจึงประทับพิงเสากลาง ภิกษุสงฆ์น่ังพิงฝาด้าน ตะวันตก เจ้าศากยะชาวกรุงกบิลพัสดุ์ทรงพิงฝาด้านตะวันออก พระผู้มีพระภาคทรงแสดง ธรรมจนดึก แล้วตรัสสั่งให้พระอานนท์แสดงเสขปฏิปทา (ข้อปฏิบัติของพระเสขะ คือ พระอรยิ บุคคลผยู้ งั ศกึ ษา) สว่ นพระองค์ทรงพักผ่อนสำ� เร็จสีหไสยา ๒. พระอานนทจ์ งึ เรียกมหานามศากยะ (เขา้ ใจว่าจะเป็นประธานอยใู่ นคณะเจ้าศากยะ) กล่าวถึงการที่พระอริยสาวกสมบูรณ์ด้วยศีล คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย (ส�ำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย) รู้ประมาณในการบริโภค ประกอบเนือง ๆ ซ่ึงธรรมเป็นเครื่องตื่น (ไม่เห็นแก่ นอน) ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ อย่าง๒ ได้ฌาน ๔ อันเป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบันตาม ตอ้ งการ แล้วอธบิ ายขยายความเป็นข้อ ๆ ไป ๓. ครั้นแล้วได้สรูปว่า อริยสาวกผู้ประกอบด้วยคุณธรรมดังกล่าวมาแล้ว ก็ควรจะ ตรัสรู้ได้ เปรียบเหมือนแม่ไก่กกไข่ดี แม้ไม่ต้องปรารถนาให้ไข่เป็นตัวออกมาโดยสวัสดี ก็คง จะออกมาได้โดยสวัสดี แล้วแสดงการได้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ญาณอันระลึกชาติได้) ๒๑ ค�ำว่า ๕๐๐ นี้ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งหมายวา่ เปน็ จริงตามตัวเลข หมายความว่าหลายแห่งก็ได้ (๕) ลงมอื ทำ� ความเพยี ร สทั ธรรม ๗ อยา่ งคอื (๑) ศรทั ธา (๒) หริ ิ (๓) โอตตปั ปะ (๔) พาหสุ จั จะ (สดบั ตรบั ฟงั มาก) (๖) สติ (๗) ปญั ญา PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 597 5/4/18 2:25 PM
598 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ จุตูปปาตญาณ (ญาณอันเห็นความตายความเกิด) และอาสวักขยญาณ (ญาณอันท�ำอาสวะ ให้สิน้ ) ว่า เปรียบเหมอื นลูกไก่ทำ� ลายกะเปาะไขอ่ อกจากไข่เป็นข้นั ๆ ๓ ข้ันด้วยกนั ๔. แล้วได้สรูปอีกตอนหน่ึงว่า คุณธรรมท่ีกล่าวข้างต้นเป็นจรณะ (ความประพฤติ) แต่ละอย่างของอริยสาวกนั้น ส่วนญาณทั้งสามมีปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เป็นต้น ก็เป็น วิชชา (ความรู้) แต่ละอย่างของอริยสาวกนั้น อริยสาวกน้ีจึงเรียกว่าผู้สมบูรณ์ด้วยวิชชาก็ได้ ผู้สมบูรณ์ด้วยจรณะก็ได้ ผู้สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ (ความรู้และความประพฤติ) ก็ได้ แล้วได้อ้างภาษิตของสนังกุมารพรหมที่ว่า กษัตริย์เป็นผู้ประเสริฐสุดในหมู่ชนผู้ถือโคตร แต่ ผู้ใดสมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ผู้น้ันเป็นผู้ประเสริฐสุดในเทวดาและมนุษย์ พระผู้มีพระภาค เสดจ็ ลกุ ขึ้นประทานสาธกุ ารในพระธรรมเทศนานขี้ องพระอานนท์ ๔. โปตลยิ สูตร (สตู รวา่ ดว้ ยโปตลยิ คฤหบดี) ๑. พระผ้มู พี ระภาคประทับ ณ นคิ มแห่งแคว้นองั คตุ ตราปะช่อื อาปณะ โปตลิยคฤหบดี เข้าไปเฝ้าในขณะที่ประทับพักผ่อนในเวลากลางวัน ณ โคนไม้แห่งหนึ่ง เม่ือปราศรัยกัน พอสมควรแล้วตรัสเชิญให้น่ัง แต่คฤหบดีโกรธท่ีเรียกว่าคฤหบดี จึงน่ิงเสีย ต่อมาเมื่อตรัสอีก ถึง ๓ คร้ัง จึงประท้วงว่า เรียกตนเช่นนั้นไม่สมควร พระผู้มีพระภาคตรัสว่า อาการ เพศ เคร่ืองก�ำหนดหมายของท่าน เป็นอย่างของคฤหบดี โปตลิยะตอบว่า ถึงเช่นนั้นตนก็ห้าม การงานทั้งปวง ตัดขาดโวหารท้ังปวงเสียแล้ว เมื่อตรัสถามให้อธิบาย จึงอธิบายว่า ตนได้ มอบทรัพย์สินท้ังปวงให้เป็นมรดกแก่บุตรทั้งหลายแล้ว ตนไม่เก่ียวข้องด้วย อยู่อย่างเพียง มีกินมีนุ่งห่มจึงช่ือว่าห้ามการงานท้ังปวง ตัดขาดโวหารเสียแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ท่าน กล่าวการตัดขาดโวหารไปอย่างหนึ่ง แต่การตัดขาดโวหารในอริยวินัยเป็นอีกอย่างหน่ึง เม่ือ คฤหบดีขอให้ทรงอธิบาย จึงตรัสอธบิ าย ๒. ทรงแสดงธรรมะ ๘ ประการ ทีเ่ ปน็ ไปเพ่ือตัดขาดโวหารในอรยิ วินยั คือ (๑) อาศยั การไมฆ่ า่ สัตว์ ละการฆ่าสัตว์ (๒) อาศยั การไมล่ ักทรพั ย์ ละการลักทรพั ย์ (๓) อาศยั วาจาจริง ละการพดู เทจ็ (๔) อาศยั วาจาไม่สอ่ เสยี ด ละวาจาสอ่ เสยี ด (๕) อาศัยการไม่โลภเพราะความตดิ ละความโลภเพราะความติด (๖) อาศัยการไม่ติเตยี นดา่ ว่า ละการติเตียนด่าวา่ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 598 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหปติวรรค 599 (๗) อาศัยการไมโ่ กรธคับแคน้ ใจ ละความโกรธคบั แคน้ ใจ ัมช ิฌม ินกาย (๘) อาศัยการไมด่ ูหมน่ิ ทา่ น ละการดูหมิ่นท่าน เม่ือคฤหบดีขอให้ทรงอธิบายท้ังแปดข้อ จึงตรัสอธิบายแต่ละข้อ โดยวางหลักว่าตน กไ็ ม่พึงติเตยี นตนเองได้ ผู้รพู้ ิจารณาแลว้ ก็ไมพ่ ึงตไิ ด้ เพราะเหตแุ หง่ ความชั่วน้ัน ๆ เป็นปจั จัย ๓. คร้ันแล้วตรัสอธิบายการตัดโวหารอย่างเด็ดขาดด้วยประการทั้งปวงในอริยวินัย โดยทรงเปรียบเทยี บว่า อรยิ สาวกยอ่ มเหน็ กามเหมือน (๑) ชิน้ กระดูกท่ีไม่มีเน้ือตดิ (๒) ช้ินเนือ้ (ท่แี ร้ง เหยย่ี ว แย่งกัน) (๓) คบหญา้ มไี ฟลุก (ท่ถี อื ไปทวนลม) (๔) หลมุ ถ่านเพลิง (๕) สิง่ ท่ฝี ันเหน็ (๖) ของท่ขี อยมื เขามา (๗) ผลไม้ เมอ่ื พจิ ารณาเหน็ ดว้ ยปญั ญาอนั ชอบอยา่ งนแ้ี ลว้ กเ็ จรญิ อเุ บกขา (ความวางเฉย) ทคี่ วาม ยึดมั่นในโลกามิส (เหย่ีอล่อของโลก) ดับไปโดยไม่มีส่วนเหลือ เม่ืออาศัยความบริสุทธ์ิแห่งสติ เพราะมคี วามวางเฉยอยา่ งน้ี กไ็ ดป้ พุ เพนวิ าสานสุ สตญิ าณ (ญาณอนั ระลกึ ชาตไิ ด)้ จตุ ปู ปาตญาณ หรือทิพยจักษุญาณ (ญาณเห็นความตาย ความเกิด หรือตาทิพย์) และเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ (ความหลดุ พ้นเพราะสมาธิและปญั ญา) อนั ไมม่ อี าสวะ โปตลิยคฤหบดีก็สรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัย เป็นสรณะตลอดชวี ิต ๕. ชีวกสูตร (สตู รว่าดว้ ยหมอชีวก) ๑. พระผมู้ ีพระภาคประทบั ณ ป่ามะม่วงของหมอชีวก โกมารภจั จ์ ใกลก้ รงุ ราชคฤห์ หมอชีวกเข้าไปเฝ้ากราบทูลถามว่า ท่ีเขาพูดกันว่า พระสมณโคดมทรงทราบอยู่ก็เสวยเนื้อสัตว์ ที่เขาฆ่าเจาะจงถวายน้ัน เป็นความจริงเพียงไร ตรัสตอบว่า ทรงกล่าวถึงเน้ือสัตว์ท่ีไม่ควร บรโิ ภคโดยฐานะ ๓ คือ ท่ไี ด้เหน็ ท่ไี ด้ฟงั ทนี่ กึ รงั เกียจ (ว่าเขาฆ่าเจาะจงตน) และทรงกล่าวถงึ เนื้อสัตว์ที่ควรบริโภคโดยฐานะ ๓ คือ ที่ไม่ได้เห็น ไม่ได้ฟัง ไม่ได้นึกรังเกียจ (ว่าเขาฆ่า เจาะจงตน) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 599 5/4/18 2:25 PM
600 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๒. ตรัสอธิบายต่อไปว่า ภิกษุแผ่เมตตาจิต (จนถึงอุเบกขาจิตเป็นที่สุด) ไปทั่วโลก อยู่ด้วยจิตอันไม่มีเวร ไม่พยาบาท คฤหบดีหรือบุตรคฤหบดีนิมนต์เพ่ือฉันในวันรุ่งขึ้น ถ้าปรารถนาก็รับนิมนต์ได้ ครั้นรุ่งข้ึนไปฉัน เธอย่อมไม่คิดให้เขาถวายอาหารอันประณีต หรือ ถวายอีกในกาลต่อไป เธอไม่ติดบิณฑบาต มีปัญญาถ่ายถอน (ไม่ยึดถือ) ย่อมบริโภค บิณฑบาตน้ัน เมื่อเป็นเช่นนี้ ภิกษุน้ันจะคิดเบียดเบียนตน เบียดเบียนคนอ่ืน หรือเบียดเบียน ท้ังตนทั้งคนอ่ืนหรือไม่ หมอชีวกกราบทูลรับว่า ไม่ ตรัสถามว่า เธอย่อมบริโภคอาหารอันไม่มี โทษมิใช่หรือ กราบทูลว่า เป็นเช่นน้ัน และกราบทูลต่อไปว่า ตนเคยได้ฟังว่า พระพรหม เป็น ผู้อยู่ด้วยเมตตา ข้าพระองค์เห็นว่าพระผู้มีพระภาคทรงเป็นพยานท่ีเห็นได้ เพราะทรงอยู่ด้วย เมตตา ตรัสตอบว่า บุคคลมีความพยาบาทเพราะราคะ โทสะ โมหะ อันใด ตถาคตละราคะ โทสะ โมหะ น้ันได้เด็ดขาดแล้ว ถ้าท่านหมายความข้อน้ี เราก็อนุมัติค�ำกล่าวนั้น หมอชีวก กราบทูลวา่ หมายอย่างนั้น แม้ในเรื่องกรณุ า มุทิตา อเุ บกขา กเ็ ชน่ กนั ๓. ตรัสว่า ผู้ฆ่าสัตว์อุทิศพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต ย่อมประสบสิ่งมิใช่ บุญเปน็ อนั มากโดยฐานะ ๕ คือ (๑) ประสบส่ิงมิใช่บุญเป็นอันมากโดยฐานะท่ี ๑ คือข้อที่กล่าวว่า จงไปน�ำสัตว์ตัว โนน้ มา (๒) โดยฐานะที่ ๒ คือสตั วน์ ้นั ถูกลากคอมายอ่ มเสวยทกุ ข์โทมนัส (๓) โดยฐานะที่ ๓ คือขอ้ ท่กี ลา่ ววา่ จงฆ่าสัตวน์ ้ี (๔) โดยฐานะท่ี ๔ คอื เมอ่ื สตั วถ์ ูกฆ่ายอ่ มได้เสวยทกุ ข์โทมนสั (๕) โดยฐานะท่ี ๕ คือคนย่อมพูดรุกรานพระตถาคตหรือสาวกแห่งพระตถาคต ดว้ ยเรอ่ื งเน้อื อันไม่สมควร๑ เมื่อจบพระธรรมเทศนา หมอชีวกกราบทูลรับว่า ภิกษุท้ังหลายฉันอาหารอันไม่มีโทษ แล้วกราบทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ตลอดชีวิต ๖. อุปาลวิ าทสูตร (สูตรวา่ ดว้ ยอบุ าลคี ฤหบดี) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่ามะม่วงของเศรษฐีขายผ้า ใกล้เมืองนาฬันทา สมัยนั้น นิครนถนาฏบุตรอาศัยอยู่ในเมืองนาฬันทา พร้อมด้วยบริษัทใหญ่ ทีฆตปัสสีนิครนถ์เข้าไป ๑ นแ้ี ปลตามอรรถกถา แตเ่ คา้ ศัพยม์ ีทางให้แปลได้ว่าท�ำใหเ้ ขา้ ใจว่า ควรด้วยของทไ่ี ม่ควร PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 600 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหปติวรรค 601 เฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ เม่ือตรัสเชิญให้น่ัง จึงถือเอาอาสนะต่�ำกว่า นั่ง ณ ที่สมควร ัมช ิฌม ินกาย สว่ นหนง่ึ ๑. พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า นิครนถนาฏบุตรบัญญัติกรรมกี่อย่าง ในการท�ำ กรรมอนั เปน็ บาป ทฆี ตปสั สนี คิ รนถท์ ลู วา่ นคิ รนถนาฏบตุ รไมเ่ คยบญั ญตั วิ า่ กรรม เคยแต่บัญญัติว่า ”ทัณฑ์„ ตรัสถามว่า นิครนถนาฏบุตรบัญญัติทัณฑ์ก่ีอย่าง ใน การท�ำกรรมอันเป็นบาป ทูลตอบว่า ๓ อย่าง คือทัณฑ์ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ตรัสถามว่า ทัณฑ์ท้ังสามทางเป็นของอ่ืน (จากกันแลกัน มิใช่อันเดียวกัน) ใช่ หรือไม่ ทลู ตอบวา่ ใช่ ตรสั ถามวา่ เมอ่ื แจกออกไปแลว้ นิครนถนาฏบตุ รบญั ญตั ิ ทัณฑ์อย่างไรว่ามีโทษมาก ทูลตอบว่า ทัณฑ์ทางกาย เมื่อตรัสถามย�้ำถึง ๓ ครั้ง ก็ทูลตอบย�ำ้ ถงึ ๓ คร้งั ว่า ทณั ฑ์ทางกาย (มีโทษมาก) ๒. เมื่อทีฆตปัสสีนิครนถ์ย้อนทูลถามบ้างว่า พระสมณโคดมบัญญัติทัณฑ์ก่ีอย่าง ในการทำ� กรรมอนั เปน็ บาป กต็ รสั ตอบวา่ ไมเ่ คยทรงบญั ญตั วิ า่ ทณั ฑ์ เคยแตบ่ ญั ญตั ิ ว่ากรรม เมื่อเขาถามก็ทรงแจกออกเป็น ๓ อย่างเช่นเดียวกัน แต่ทรงแสดงว่า กรรมทางใจมโี ทษมากกวา่ และทรงยำ�้ ตอบเชน่ นนั้ ถงึ ๓ ครง้ั เมอ่ื ทฆี ตปสั สนี คิ รนถ์ ย้�ำถามถึง ๓ คร้ัง แล้วทีฆตปัสสีนิครนถ์ก็ลุกจากอาสนะหลีกไป เล่าความให้ นคิ รนถนาฏบตุ รผนู้ ง่ั อยกู่ บั บรษิ ทั ทเ่ี ปน็ คฤหสั ถช์ าวพาลกุ คาม มอี บุ าลคี ฤหบดเี ปน็ ประมุขฟังทุกประการ นิครนถนาฏบุตรก็ชมเชยทีฆตปัสสีนิครนถ์ว่า ตอบถูก และย�ำ้ วา่ ทณั ฑ์ทางกายมีโทษมากกว่า ๓. อุบาลีคฤหบดีได้ฟัง ก็แสดงความประสงค์จะไปยกวาทะในเร่ืองนี้ จะฟัดฟาดเสีย เหมือนคนมีก�ำลังดึงขนแกะไปมา เป็นต้น แต่ทีฆตปัสสีนิครนถ์คัดค้าน อ้างว่า พระสมณโคดมรู้มายากลับใจคน ย่อมกลับใจสาวกเดียรถีย์ได้ นิครนถนาฏบุตร กลา่ ววา่ เปน็ ไปไมไ่ ดท้ อ่ี บุ าลคี ฤหบดจี ะไปเปน็ สาวกพระสมณโคดม มแี ตพ่ ระสมณ โคดมจะมาเป็นสาวกของอุบาลีคฤหบดี ต่างค้าน ต่างยืนยันกันอยู่อย่างนั้นถึง ๓ ครั้ง ในท่ีสดุ นิครนถนาฏบตุ รก็ยใุ ห้อบุ าลีคฤหบดีไปยกวาทะจนได้ ๔. อบุ าลีคฤหบดกี ราบลานิครนถนาฏบตุ รไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค เมื่อไดถ้ วายบงั คม และทูลถามถึงถ้อยค�ำสนทนาระหว่างพระองค์กับทีฆตปัสสีนิครนถ์ ซ่ึงพระผู้มี พระภาคก็ตรัสเล่าความให้ฟัง อุบาลีคฤหบดีกล่าวชมทีฆตปัสสีว่าพูดโต้ตอบตรง ตามหลัก (ของศาสนานิครนถ์) และได้กล่าวย�้ำว่า ทัณฑ์ทางกายมีโทษมากว่า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ถ้าอุบาลีคฤหบดีจะยอมตั้งอยู่ในสัจจะพูดจากัน ก็จะมี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 601 5/4/18 2:25 PM
602 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ การสนทนากันในเร่ืองนี้ อุบาลีคฤหบดียอมรับ จึงตรัสถามว่า นิครนถ์เจ็บหนัก หา้ มนำ�้ เยน็ รบั แตน่ �ำ้ รอ้ น เมอ่ื ไมไ่ ดน้ ำ้� เย็นกต็ ายดงั น้ี นคิ รนถนาฏบตุ รบญั ญตั ผิ นู้ ี้ ว่า จะเกิดในท่ีไหน ทูลตอบว่า เกิดในเทพท่ีช่ือว่า มโนสัตตะ (ผู้ข้องอยู่ในจิตใจ) เพราะเก่ียวเกาะอยู่ในเร่ืองจิตใจตายไป ตรัสเตือนให้คิดให้ดีก่อนแล้วจึงตอบ ค�ำต้นกับค�ำท้ายไม่ต่อกัน (คือเดิมชี้ว่า โทษหรือทัณฑ์ทางกายมีโทษมากกว่า แตต่ อบวา่ มใี จเปน็ เหต)ุ แตอ่ บุ าลคี ฤหบดกี ย็ งั ยนื ยนั วา่ ทณั ฑท์ างกายมโี ทษมากกวา่ ๕. ตรัสถามว่า นิครนถ์ส�ำรวมระวังแล้ว๑ แต่เดินไปเดินมายังท�ำสัตว์เล็ก ๆ ให้ตาย ดังนี้ นิครนถนาฏบุตรจะบัญญัติผลของผู้นั้นอย่างไร ทูลตอบว่า ไม่บัญญัติการ กระท�ำท่ไี มม่ เี จตนาวา่ มีโทษมาก ตรัสถามว่า มีเจตนาเลา่ ทลู ตอบว่า ก็มโี ทษมาก ตรัสถามว่า นิครนถนาฏบุตรบัญญัติเจตนาเข้าในอะไร ทูลตอบว่า ในมโนทัณฑ์ (โทษทางใจ) ตรัสเตือนอีกว่า ให้คิดให้ดีก่อนแล้วจึงตอบ เพราะค�ำต้นกับค�ำท้าย ไมต่ อ่ กนั (คอื เดมิ ชวี้ า่ ทณั ฑท์ างกายมโี ทษมากกวา่ แตก่ ลบั ชไี้ ปทเ่ี จตนาวา่ สำ� คญั ) แตอ่ บุ าลคี ฤหบดกี ย็ ังยืนยันวา่ ทณั ฑ์ทางกายมีโทษมากกว่า ๖. ตรัสถามว่า เมืองนาฬันทานี้ม่ันคง เฟื่องฟู มีชนมาก มีมนุษย์เกลื่อนกล่น ใชห่ รอื ไม่ ทลู ตอบวา่ ใช่ ตรสั ถามวา่ ชายคนหนง่ึ เงอ้ื ดาบมา พดู วา่ จะทำ� สตั วม์ ชี วี ติ ทั้งปวงในเมืองนาฬันทาให้เป็นเน้ือก้อนเดียวโดยขณะเดียว ครู่เดียว (จะสับรวม ให้เป็นเนื้อช้ินเดียวในขณะเดียวกัน) ดังน้ี ท่านเห็นว่าจะท�ำได้หรือไม่ ทูลตอบว่า แมช้ าย ๑๐ คน ๒๐ คน ๓๐ คน ๕๐ คน ก็ไม่พอท่ีจะทำ� เช่นนั้นได้ (ทำ� ไม่ทนั ใน ขณะเดียวกัน) ตรัสตอบว่า สมณพราหมณ์ผู้มีฤทธิ์ มีความเช่ียวชาญทางจิต อาจจะทำ� เมืองนาฬนั ทานี้ให้เปน็ เถ้าถ่านด้วยใจคิดประทุษร้ายครั้งเดยี วได้หรือไม่ ทูลตอบว่า ได้ ตรัสเตือนอีกว่า ให้คิดให้ดีเสียก่อนแล้วจึงตอบ เพราะค�ำต้นกับ ค�ำท้ายไม่ต่อกัน (คือเดิมช้ีว่า ทัณฑ์ทางกายมีโทษมากกว่า แต่กลับยอมรับว่า ผู้มีอ�ำนาจจิต ท�ำลายเมืองได้ทันที แต่ผู้ใช้ก�ำลังกายท�ำไม่ได้เช่นนั้น) แต่อุบาลี คฤหบดีก็ยงั ยนื ยันตามเดิม ๗. ตรัสถามตอ่ ไปวา่ เคยได้ยินไหมว่า ป่าทณั ฑกี ปา่ กาลิงคะ ป่าเมชฌะ ป่ามาตงั คะ ทก่ี ลายเปน็ ปา่ ไปจรงิ ๆ ทูลตอบวา่ เคยได้ยนิ ตรสั ถามวา่ เคยไดย้ ินว่าเปน็ ปา่ ไป ๑ มคี ำ� พเิ ศษสำ� หรบั พวกนคิ รนถ์ คอื จาตยุ ามสวํ รสวํ โุ ต ผสู้ ำ� รวมแลว้ ดว้ ยการสำ� รวม ๔ ทาง คอื ไมฆ่ า่ สตั ว์ ลกั ทรพั ย์ พูดปด ไม่หวังกามคุณ ๕ อนงึ่ พวกนิครนถไ์ มใ่ ชน้ �้ำเย็น เพราะถือวา่ มสี ัตว์ จึงใช้แต่น้�ำร้อน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 602 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหปติวรรค 603 เพราะอะไร ทลู ตอบวา่ เพราะใจคดิ ประทษุ รา้ ยของฤษี จงึ ตรสั เตอื นใหค้ ดิ ใหด้ กี อ่ น ัมช ิฌม ินกาย แล้วจงึ ตอบเชน่ เดิมอีก ๘. อุบาลีคฤหบดีทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัย เปน็ สรณะตลอดชวี ติ แตพ่ ระผมู้ พี ระภาคตรสั เตอื นใหพ้ จิ ารณาเสยี กอ่ น เพราะการ พิจารณาแล้วจึงท�ำ เป็นการดีสำ� หรับอุบาลีคฤหบดีทมี่ ีคนรูจ้ กั มาก อุบาลีคฤหบดี ก็กลับเล่ือมใสยิ่งข้ึน แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต เป็นครง้ั ที่ ๒ ตรัสเตอื นใหใ้ ห้บณิ ฑบาตแก่พวกนิครนถท์ ่มี าสเู่ รอื น เพราะตระกูล ของท่านเคยเป็นท่ีเสมือนท่าน้�ำส�ำหรับลงดื่มของนิครนถ์ทั้งหลายมานานแล้ว อุบาลีคฤหบดีกราบทูลแสดงความเลื่อมใสยิ่งข้ึน เพราะตนเคยได้ยินแต่ว่า พระสมณโคดมตรัสให้ถวายทานแก่พระองค์และสาวกของพระองค์เท่าน้ัน ไม่ควรให้แก่ผู้อ่ืนและสาวกของผู้อ่ืน ทานท่ีให้แก่พระองค์และสาวกของพระองค์ เทา่ นนั้ จงึ มผี ลมาก ทใ่ี หแ้ กผ่ อู้ น่ื และสาวกของผอู้ นื่ ไมม่ ผี ลมาก แตน่ พี่ ระผมู้ พี ระภาค กลบั ทรงชกั ชวนใหใ้ หท้ านในพวกนคิ รนถ์ ซงึ่ ตนจะรกู้ าลในขอ้ นเี้ อง แลว้ แสดงตน เปน็ อุบาสกถงึ พระรัตนตรยั เปน็ สรณะตลอดชวี ติ เป็นครงั้ ที่ ๓ ๙. พระผู้มีพระภาคจึงตรัสแสดงอนุบุพพิกถาอริยสัจจ์ ๔ อุบาลีคฤหบดีได้ดวงตา เหน็ ธรรม (เปน็ โสดาบนั บคุ คล) แลว้ กก็ ราบทลู ลากลบั ไป เมอื่ ถงึ บา้ นกส็ ง่ั นายประตู ใหห้ า้ มนคิ รนถช์ ายหญงิ มใิ หเ้ ขา้ บา้ น ไมห่ า้ มภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อบุ าสกิ า และให้ แจ้งว่า อุบาลีคฤหบดีเป็นสาวกของพระสมณโคดมแล้ว ทีฆตปัสสีนิครนถ์ทราบ เร่ือง จึงไปเล่าความให้นิครนถนาฏบุตรฟัง นิครนถนาฏบุตรไม่เชื่อ แม้จะเล่าย้�ำ ถึง ๓ คร้ัง เป็นแต่ใช้ให้ทีฆตปัสสีไปดูให้รู้ด้วยตนเอง เม่ือทีฆตปัสสีนิครนถ์ ไปด้วยตนเอง นายประตูก็ห้ามเข้าจึงกลับมาเล่าให้นิครนถนาฏบุตรฟัง แต่ นคิ รนถนาฏบตุ รกย็ ืนยนั ไม่เชื่อถึง ๓ ครงั้ แต่ในที่สุดก็กลา่ วว่าตนจะไปดเู อง ๑๐. นคิ รนถนาฏบตุ ร พรอ้ มดว้ ยบรษิ ทั นคิ รนถไ์ ปยงั ทอี่ ยขู่ องอบุ าลคี ฤหบดี นายประตู กห็ า้ มเขา้ อา้ งวา่ อบุ าลคี ฤหบดเี ปน็ สาวกของพระสมณโคดมแลว้ นคิ รนถนาฏบตุ ร จงึ ใชใ้ หน้ ายประตไู ปบอกวา่ ตนมายนื อยทู่ ภ่ี ายนอกซมุ้ ประตู เมอ่ื นายประตไู ปบอก อุบาลีคฤหบดีก็สั่งให้ปูอาสนะท่ีศาลาใกล้ประตูด้านกลาง แล้วอุบาลีคฤหบดีก็ มา ณ ท่ีน้ัน เลือกน่ังอาสนะที่ดีที่เลิศ พร้อมท้ังส่ังนายประตูให้ไปบอก นิครนถนาฏบุตรว่า ถ้าปรารถนาก็ให้เข้ามาได้ นิครนถนาฏบุตรพร้อมด้วยบริษัท ก็เขา้ ไป ในสมัยกอ่ นพอเหน็ นิครนถนาฏบตุ รมาแตไ่ กล อบุ าลคี ฤหบดีก็จะลุกขึน้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 603 5/4/18 2:25 PM
604 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ต้อนรับ เอาผ้าห่มเช็ดอาสนะที่ดีท่ีเลิศ เชิญให้น่ัง แต่บัดนี้กลับน่ังบนอาสนะท่ีดี ท่ีเลิศเสียเอง แล้วกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ อาสนะมีอยู่ ถ้าท่านปรารถนาก็จงนั่ง นิครนถนาฏบุตรจึงกล่าวว่าท่านเป็นบ้า เป็นคนเขลาไปแล้วหรือ และได้พูด เปรียบเปรยหยาบ ๆ อีก พร้อมกับกล่าวว่า ท่านถูกพระสมณโคดมกลับใจด้วย มายาส�ำหรับกลับใจเสียแล้วหรือ อุบาลีคฤหบดีกลับตอบว่า มายากลับใจน้ีเป็น ของดี แม้ใคร ๆ จะกลับใจด้วยมายานี้ ก็จะเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุข สน้ิ กาลนาน ๑๑. แล้วอุบาลีคฤหบดีได้เปรียบเทียบให้ฟังว่า ค�ำสอนของนิครนถ์ อดทนต่อความ ยินดีของคนโง่ ไม่อดทนต่อความยินดีของบัณฑิต ไม่อดทนต่อการซักไซ้ขัดสี เปรยี บเหมอื นลกู ลงิ ทนการยอ้ มสไี ด้ แตจ่ ะเอามาทบุ ตี เอามาขดั สเี หมอื นผา้ ใหมท่ ี่ จะย้อมสี ย่อมทนไม่ได้ นิครนถนาฏบุตรเตือนว่า บริษัท (ประชุมชน) พร้อมทั้ง พระราชาก็ทราบกันอยู่ว่า อุบาลีคฤหบดีเป็นสาวกของนิครนถนาฏบุตร แล้วพวก เราจะทรงจำ� วา่ ทา่ นเปน็ สาวกของใครกนั อบุ าลคี ฤหบดจี งึ ทำ� ผา้ หม่ เฉวยี งบา่ ประคอง อัญชลีไปในทิศทางท่ีพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ประกาศตนเป็นสาวกของ พระผู้มีพระภาค พร้อมด้วยค�ำสรรเสริญพระคุณอย่างยืดยาว เม่ือถูกถามว่า รวบรวมคำ� สรรเสริญพระคุณไดแ้ ตเ่ มือ่ ไร กต็ อบวา่ ตนเปรียบเหมอื นชา่ งดอกไม้ ท่ีร้อยพวงมาลัยอันวิจิตรจากดอกไม้ใหญ่ อันมีดอกไม้ต่าง ๆ ฉะนั้น นคิ รนถนาฏบุตรถึงแก่อาเจยี นเปน็ โลหิตในท่ีน้นั ๗. กุกกุโรวาทสตู ร (สตู รว่าดว้ ยโอวาทแกผ่ ู้ทำ� ตวั ดั่งสุนขั ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ นิคมแห่งชาวโกลิยะชื่อหลิททวสนะ ในแคว้นโกลิยะ ปุณณะบุตรแห่งโกลิยะ ผู้ประพฤติวัตรด่ังโค๑ กับชีเปลือยช่ือเสนิยะ ผู้ประพฤติวัตรด่ังสุนัข เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคกล่าวปราศรัยเสร็จแล้ว ปุณณะโกลิยบุตรก็ทูลถามถึงชีเปลือยช่ือ เสนิยะ ผู้ประพฤติวัตรด่ังสุนัข ว่าจะมีคติเป็นอย่างไร พระผู้มีพระภาคทรงห้ามว่า อย่าถาม เลย แต่ก็ถามย้�ำถึง ๓ ครั้ง จึงตรัสตอบว่า ถ้าประพฤติเคยชินอย่างสุนัข ตายไปก็จะเกิดเป็น ๑ อรรถกถาเล่าว่า เอาเขาโคมาติดศีรษะ เอาหางมาผูก เที่ยวกินหญ้าไปกับโคทั้งหลาย ส่วนที่ว่า ประพฤติวัตรด่ัง สนุ ัข คอื ท�ำอาการกิรยิ าทัง้ ปวงให้เหมือนสนุ ขั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 604 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหปติวรรค 605 สนุ ขั แตถ่ ้าประพฤตดิ ว้ ยความคิดว่าจะเป็นเทวดา ดว้ ยศีลด้วยวัตรอยา่ งนี้ ก็นบั ว่ามีความเห็น ัมช ิฌม ินกาย ผิด ซึ่งจะมีคติ ๒ อย่าง คือนรก หรือก�ำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน พระด�ำรัสตอบนี้ ท�ำให้ชีเปลือย ช่อื เสนยิ ะร้องไห้ ๒. ชีเปลือยช่ือเสนิยะ จึงทูลถามถึงปุณณะโกลิยบุตร ผู้ประพฤติวัตรด่ังโคบ้างว่า จะมีคติเป็นอย่างไร ก็ตรัสตอบท�ำนองเดียวกับเรื่องสุนัข ซ่ึงท�ำให้ปุณณะโกลิยบุตรร้องไห้ เช่นเดยี วกนั ๓. ปุณณะโกลิยบุตรจึงทูลขอให้พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมเพื่อตนและเสนิยะ จะได้ละการประพฤตวิ ตั รดง่ั นน้ั เสยี จึงตรสั แสดงกรรม ๔ อย่าง คือ (๑) กรรมด�ำ มีวิบากด�ำ คือบางคนปรุงแต่งความคิดหรือเจตนาทางกายวาจาใจ อนั ประกอบดว้ ยการเบยี ดเบยี น จงึ เขา้ ถงึ (เกดิ ใน) โลกทม่ี กี ารเบยี ดเบยี น ได้ รับสัมผัสท่ีมีการเบียดเบียน ได้เสวยเวทนาที่มีการเบียดเบียน อันเป็นทุกข์ โดยส่วนเดยี ว ดังเช่นสัตว์ทเ่ี กดิ ในนรก (๒) กรรมขาว มวี บิ ากขาว คอื บางคนปรงุ แตง่ ความคดิ หรอื เจตนาทางกายวาจาใจ อนั ไมม่ กี ารเบยี ดเบยี น ไดร้ บั สมั ผสั ทไ่ี มม่ กี ารเบยี ดเบยี น ไดเ้ สวยเวทนาทไี่ มม่ ี การเบียดเบียน อันเป็นสุขโดยส่วนเดียว ดังเช่นเทพช้ันสุภภิณหะ (พรหมมี รปู ชัน้ ท่ี ๙ ในรปู พรหม ๑๖ ช้ัน ดหู น้า ๕๗๔) (๓) กรรมท้ังด�ำทั้งขาว มีวิบากท้ังด�ำท้ังขาว คือบางคนปรุงแต่งความคิดหรือ เจตนาทางกายวาจาใจที่มีการเบียดเบียนบ้าง ไม่มีการเบียดเบียนบ้าง จึงเข้า ถึง (เกดิ ใน) โลกที่มกี ารเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ ีการเบยี ดเบยี นบ้าง ได้รบั สัมผัส อันมีการเบียดเบียนบ้าง ไม่มีการเบียดเบียนบ้าง ได้เสวยเวทนาท่ีมีการ เบียดเบยี นบา้ ง ไมม่ ีการเบียดเบียนบา้ ง อันมีท้งั สขุ ทั้งทกุ ขค์ ละกันไป ดังเช่น มนษุ ยบ์ างเหลา่ เทพบางเหลา่ วินิปาติกะ๑ บางเหล่า ๑ อรรถกถา คือค�ำอธิบายพระไตรปิฎกตอนน้ี ขยายความว่า ความสุขและความทุกข์ท่ีเกิดข้ึนเป็นคร้ังคราวของ มนุษย์ย่อมปรากฏ ส่วนของเทวดา ได้แก่ภุมมเทวดา คือเทพที่อยู่บนพื้นดิน และของพวกวินิปาติกะ ได้แก่ พวกเวมานิกเปรตที่อยู่วิมาน มีความสุขและความทุกข์เป็นครั้งคราว ทั้งนี้ย่อมเป็นไปในสัตว์ดิรัจฉานมีช้าง เป็นต้นดว้ ย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 605 5/4/18 2:25 PM
606 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๔) กรรมไมด่ ำ� ไมข่ าว มวี บิ ากไมด่ ำ� ไมข่ าว ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ สนิ้ กรรม คอื เจตนาเพอ่ื ละกรรมด�ำซ่ึงมีวิบากด�ำ เจตนาเพ่ือละกรรมขาวซึ่งมีวิบากขาว เจตนา๑ เพื่อ ละกรรมทง้ั ดำ� ทง้ั ขาว ซง่ึ มวี บิ ากทงั้ ดำ� ทง้ั ขาว (เปน็ เจตนาทไ่ี มต่ อ้ งการเวยี นวา่ ย ตายเกิด ไม่ปรารถนาจะท�ำกรรมใด ๆ อกี ตอ่ ไป) ๔. เม่ือจบพระธรรมเทศนา ปุณณะโกลิยบุตรกราบทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต ส่วนชีเปลือยชื่อเสนิยะกราบทูล สรรเสริญพระธรรมเทศนาถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะและขอบวช เมื่อทราบว่าผู้เคยเป็น เดียรถีย์มาก่อน ประสงค์จะบวชในพระธรรมวินัยจะต้องอบรมก่อน ๔ เดือน ก็มีศรัทธา จะขออบรมถึง ๔ ปี เม่อื บวชแลว้ กไ็ ดส้ �ำเรจ็ เปน็ พระอรหนั ต์ ๘. อภยราชกมุ ารสตู ร (สตู รวา่ ดว้ ยอภยราชกมุ าร) ๑. สมยั หนง่ึ พระผมู้ พี ระภาคประทบั ณ เวฬวุ นาราม ใกลก้ รงุ ราชคฤห์ อภยราชกมุ าร๒ ไปหานิครนถนาฏบุตร ก็ได้รับชักชวนเสี้ยมสอนให้ไปยกวาทะพระผู้มีพระภาคเก่ียวกับการ กล่าววาจา ซ่ึงนิครนถนาฏบุตรกล่าวว่า ถ้าถามปัญหา ๒ เงื่อนอย่างน้ีแล้ว พระสมณโคดม จะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกคล้ายมีกระจับเหล็กติดอยู่ในคอฉะน้ัน คือให้ถามว่า พระตถาคต กล่าววาจาที่ไม่เป็นท่ีรัก ไม่เป็นท่ีพอใจของคนอ่ืนหรือไม่ ถ้าตอบว่า กล่าว ก็จะย้อนได้ว่า ทา่ นกบั บถุ ุชนจะตา่ งอะไรกนั เพราะแม้บถุ ุชนก็กลา่ ววาจาเชน่ นั้น ถ้าตอบว่า ไม่กล่าว ก็จะย้อน ไดว้ ่า เหตไุ ฉนจึงว่ากล่าวพระเทวทัตอยา่ งรุนแรง จนพระเทวทัตโกรธไมพ่ อใจ ๒. อภยราชกุมารไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค มองดูดวงอาทิตย์เห็นยังไม่ใช่กาลอัน สมควรที่จะยกวาทะจึงนิมนต์พระผู้มีพระภาคให้ไปฉันในวันรุ่งข้ึน โดยมีพระองค์เองเป็นท่ี ๔ (คือมีภิกษุอ่ืนด้วยอีก ๓ รูป) เม่ือพระผู้มีพระภาคทรงรับนิมนต์ และเสด็จไปฉันเสร็จแล้ว อภยราชกุมารก็กราบทูลถามขึ้นว่า พระตถาคตตรัสวาจาอันไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นท่ีพอใจของคน อนื่ หรอื ไม่ ตรสั ตอบวา่ ในข้อนี้ มิใชป่ ัญหาทีพ่ ึงตอบโดยแงเ่ ดยี ว (คอื ตรัสทง้ั สองอยา่ งโดยควร แกเ่ หต)ุ ๑ อรรถกถาอธิบายว่า มัคคเจตนา เจตนาท่ีเป็นไปในมรรค (ค�ำว่า มรรค หมายถึงปัญญาอันตัดกิเลสได้เด็ดขาด ๒ ตัง้ แตบ่ างส่วนจนถึงหมดสิน้ ข้อไหนละไดแ้ ล้วไม่ต้องละใหมอ่ กี เปน็ อันละไดเ้ ด็ดขาดไปเลย) อภยราชกุมารเป็นโอรสของพระเจ้าพมิ พสิ าร PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 606 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหปติวรรค 607 ๓. พอตรัสตอบเท่าน้ี อภยราชกุมารก็กราบทูลว่า ในข้อน้ี พวกนิครนถ์ฉิบหายแล้ว ัมช ิฌม ินกาย พร้อมท้ังเล่าความจริงที่นิครถนาฏบุตรสอนให้มาไต่ถามทุกประการ พระผู้มีพระภาคจึงตรัส ถามว่า เด็กที่อมเอาไม้หรือกระเบื้องเข้าไปในปาก เพราะความพล้ังเผลอของท่านหรือแม่นม ท่านจะท�ำอย่างไร กราบทูลตอบว่า ถ้าน�ำออกในเบื้องแรกไม่ได้ ก็ต้องประคองจับศีรษะด้วย มือซ้าย งอน้ิวน�ำของออกมาด้วยมือขวา แม้จะพร้อมกับโลหิตด้วย เพราะมีความอนุเคราะห์ ในเด็ก พระผู้มพี ระภาคจงึ ตรัสวา่ ตถาคตก็ฉันนัน้ เหมอื นกัน ทราบว่าวาจาใดไมจ่ รงิ ไม่แท้ ไม่ประกอบดว้ ยประโยชน์ หรอื จรงิ แท้ แตไ่ มป่ ระกอบ ดว้ ยประโยชน์ และไม่เป็นทรี่ ักไมเ่ ป็นท่ีพอใจของคนอ่ืน ก็ไมก่ ล่าววาจานนั้ คำ� ใดจรงิ แท้ ประกอบดว้ ยประโยชน์ และไมเ่ ปน็ ทร่ี กั ไมเ่ ปน็ ทพี่ อใจของคนอน่ื ตถาคต ยอ่ มรู้กาลทีจ่ ะกล่าววาจานน้ั คำ� ใดไมจ่ รงิ ไมแ่ ท้ ไมป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ หรอื จรงิ แท้ แตไ่ มป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ และเปน็ ที่รัก เป็นท่พี อใจของคนอื่น ตถาตคกไ็ ม่กล่าววาจานั้น คำ� ใดจรงิ แท้ ประกอบดว้ ยประโยชน์ และเปน็ ทร่ี กั เปน็ ทพี่ อใจของคนอน่ื ตถาคตยอ่ ม ร้กู าลทจ่ี ะกลา่ ววาจาน้นั ทง้ั น้ีเพราะตถาคตมีความอนเุ คราะห์ในสัตว์ท้ังหลาย ๔. อภยราชกุมารกราบทูลถามว่า มีผู้แต่งปัญหามาทูลถาม พระผู้มีพระภาคจะต้อง ทรงคิดก่อนหรือไม่ว่า ถ้าเขาถามอย่างนี้ จักตรัสตอบอย่างน้ี หรือว่าเรื่องน้ันแจ่มแจ้งแก่ พระตถาคตโดยฐานะทีเดียว ตรัสย้อนถามว่า ท่านเป็นผู้ฉลาดในส่วนประกอบน้อยใหญ่ของ รถใช่หรือไม่ กราบทูลว่า ฉลาดในส่วนประกอบของรถ ตรัสถามต่อไปว่า เมื่อมีผู้มาถามว่า นี้เป็นส่วนประกอบน้อยใหญ่อะไรของรถ ท่านจะต้องคิดก่อนหรือไม่ว่า ถ้าเขาถามอย่างน้ี จักตอบอย่างนี้ หรือว่าเรื่องน้ันแจ่มแจ้งแก่ท่านโดยฐานะทีเดียว กราบทูลตอบว่า ข้าพระองค์ เป็นช่างท�ำรถ รู้เจนจบในส่วนประกอบน้อยใหญ่ของรถ เรื่องน้ันแจ่มแจ้งแก่ข้าพระองค์โดย ฐานะทีเดียว จึงตรัสว่า แม้พระองค์ก็ฉันน้ัน ทรงรู้แจ้งแทงตลอดธรรมธาตุแล้ว เรื่องนั้นจึง แจม่ แจง้ แก่พระองคโ์ ดยฐานะทีเดยี ว อภยราชกุมารกราบทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงพระองค์เป็นอุบาสกถึง พระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดพระชนมชพี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 607 5/4/18 2:25 PM
608 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๙. พหเุ วทนิยสูตร (สตู รว่าด้วยเวทนามากอย่าง) ๑. พระผู้มพี ระภาคประทบั ณ เชตวนาราม ช่างไมช้ ่ือปญั จงั คะ กบั พระอทุ ายี กล่าว ไมต่ รงกันในข้อวา่ พระผู้มพี ระภาคตรัสเวทนาไว้ก่ีอยา่ ง พระอทุ ายีว่า มี ๓ อยา่ ง คอื สขุ ทุกข์ ไม่ทุกข์ไม่สุข ช่างไม้ช่ือปัญจังคะกล่าวว่า มี ๒ อย่าง คือ สุข กับ ทุกข์ ส่วนไม่ทุกข์ไม่สุข พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ในสุขประณีต ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถจะตกลงกันได้ พระอานนท์ได้ฟัง ขอ้ สนทนาของทั้งสองฝา่ ย จึงนำ� ความกราบทูลพระผูม้ พี ระภาค ๒. พระผมู้ ีพระภาคตรสั ว่า มีปริยายทตี่ า่ งฝา่ ย ต่างไม่อนโุ มทนา แลว้ ตรัสว่า เวทนา ๒ ก็ทรงแสดงไว้โดยปริยาย เวทนา ๓ เวทนา ๔ เวทนา ๕ เวทนา ๖ เวทนา ๑๘ เวทนา ๓๖ เวทนา ๑๐๘ ก็ทรงแสดงไว้โดยปริยาย๑ ธรรมะที่ทรงแสดงไว้โดยปริยาย (เพียงแง่ใดแง่หนึ่ง) มีอยู่อย่างนี้ ผู้ที่ไม่ยินยอมรับรองค�ำท่ีกล่าวดี พูดดี ของกันแลกันในธรรมะที่ทรงแสดงแล้ว โดยปริยาย ก็หวังได้ว่าจะบาดหมางทะเลาะวิวาทกันทิ่มแทงกันด้วยหอกคือปาก แต่ถ้า ตรงกันข้าม ก็จะพร้อมเพรียงไม่วิวาทกัน เป็นเหมือนน�้ำนมกับน้�ำท่า (เข้ากันได้) มองกัน และกนั ด้วยดวงตาท่ีแสดงความรัก ๓. ครั้นแล้วตรัสถึงความสุขที่เป็นขั้น ๆ ๑๐ อย่างที่ประณีตข้ึนไปกว่ากันโดยล�ำดับ เร่มิ แต่กามคุณ ๕ จนถงึ สัญญาเวทยิตนิโรธ๒ (สมาบตั ทิ ่ดี ับสัญญาและเวทนา) ๑๐. อปณั ณกสูตร (สตู รว่าดว้ ยธรรมะทไี่ มผ่ ิด) ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปแคว้นโกศล พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จ แวะพัก ณ บ้านพราหมณ์ชื่อ ”สาละ„ (ในสาเลยยกสูตรที่ ๔๑ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ที่ ย่อไว้แล้ว หน้า ๕๗๓ ว่าช่ือ ”สาละ„ ณ ที่น้ัน ได้ตรัสถามพราหมณ์คฤหบดีชาวบ้านสาลาว่า ท่านมศี าสดาใด ๆ ท่ีนา่ พอใจ ทที่ า่ นไดศ้ รัทธามอี าการ (อันด)ี บ้างหรือไม่ เม่อื เขาตอบวา่ ไม่มี ๑ ในมหาสติปัฏฐานสูตร ทรงแสดงเวทนา ๙ ไว้ด้วย ดูหน้า ๔๗๔ และเวทนาเหล่านี้ แจกออกเป็นอะไรบ้าง ๒ ดูหน้า ๑๘๘ ข้อ ๒๑๑ หน้า ๑๙๐ หมายเลข ๒๑๓ แม้ในที่นั้นจะน�ำมาแปลจากเล่ม ๑๘ แต่ข้อความ เรื่องนี้แปลไว้แล้วอย่างละเอียด ก็ตรงกนั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 608 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คหปติวรรค 609 จึงตรัสว่า เม่ือพวกท่านไม่ได้ศาสดาท่ีน่าพอใจ ก็จงสมาทานประพฤติธรรมะที่ไม่ผิด ธรรมะ ัมช ิฌม ินกาย ที่ไมผ่ ิด ทีส่ มบูรณ์แล้ว สมาทานแล้ว จกั เป็นไปเพอ่ื ประโยชน์และความสขุ แก่ทา่ น ธรรมท่ีไม่ผดิ ๕ ข้อ ธรรมะทไี่ ม่ผิดข้อท่ี ๑ ๒. ครั้นแล้วตรัสขยายความเรื่องธรรมะที่ไม่ผิดต่อไป ทรงแสดงถึงสมณพราหมณ์ ท่ีเห็นว่า ”ไม่มี„ (นัตถิกทิฏฐิ) เช่น ไม่มีผลของกรรมดีกรรมชั่ว กับสมณพราหมณ์ท่ีเห็นเป็น ปฏิปักษ์กัน คือเห็นว่า ”มี„ พวกที่เห็นว่า ”ไม่มี„ หวังได้ว่าจะเพิกถอนสุจริตทางกาย วาจา ใจ สมาทาน ประพฤตทิ จุ จรติ ทางกาย วาจา ใจ เพราะไม่เห็นโทษของอกศุ ลธรรม ไม่เห็นอานสิ งส์ ของกุศลธรรม ความเห็น ความด�ำริ และค�ำพูดถึงโลกหน้า ซึ่งมีอยู่ว่า ”ไม่มี„ ดังนี้ ย่อมเป็น ความเห็นผิด ความด�ำริผิด และค�ำพูดผิด เขาย่อมกล่าวเป็นปฏิปักษ์ต่อพระอรหันต์ผู้รู้จัก โลกหน้า ย่อมท�ำให้ผู้อ่ืนเข้าใจว่าโลกหน้าไม่มี อันเป็นการบัญญัติอสัทธรรมและยกตนข่มผู้อื่น เพราะเหตุนั้น เดิมมีศีลดีก็ละเสีย ตั้งความเป็นผู้ทุศีล มีความเห็นผิด ความด�ำริผิด ค�ำพูดผิด มีความเป็นปฏิปักษ์ต่อพระอริยเจ้า มีการบัญญัติอสัทธรรม มีการยกตนข่มผู้อื่น ฉะนี้ อกุศลธรรมจึงชื่อว่าเกิดมีขึ้นเพราะความเห็นผิดเป็นปัจจัย ในข้อนั้นวิญญูชนพิจารณาเห็นว่า ถ้าโลกหน้าไม่มี คนคนน้ีตายแล้วจักท�ำตนให้ปลอดภัยได้ แต่ถ้าโลกหน้ามี ก็จักเข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก แม้สมณพราหมณ์จะกล่าวไว้ว่า ”โลกหน้ามี ถ้อยค�ำของสมณพราหมณ์ เหลา่ นน้ั จะเปน็ จรงิ หรอื ไม่ จงยกไว้ แตค่ นคนนท้ี ท่ี ศุ ลี มคี วามเหน็ ผดิ พดู วา่ ผลของบญุ บาปไมม่ ี ย่อมถูกวิญญูชนติเตียนในปัจจุบัน ถ้าโลกหน้ามี คนคนน้ันก็ถือเอาโทษ๑ ทั้งสองฝ่าย คือ ถูกติเตียนในปจั จุบนั และตายไปกจ็ ักเข้าถึงอบาย ทคุ คติ วนิ ิบาต นรก„ คนคนนัน้ ชื่อว่าถอื ผิด สมาทานผดิ ซ่งึ อปณั ณกธรรม (ธรรมะท่ไี มผ่ ดิ ) แผ่ไปแตค่ วามเห็นแง่เดียวของตน เวน้ ฐานะอนั เป็นกุศล ส่วนผ้เู ห็นวา่ ”มี„ (ซง่ึ เป็นทางตรงกนั ขา้ ม) ชอื่ ว่าถือถูก สมาทานถกู ซง่ึ อปัณณกธรรม แผไ่ ปซึง่ ส่วนทั้งสอง (ทง้ั วาทะของตนและวาทะของคนอ่ืน) เว้นฐานะอนั เป็นอกุศล ธรรมะทไี่ มผ่ ดิ ขอ้ ที่ ๒ ๓. สมณพราหมณ์บางพวกกล่าวว่า ท�ำไม่เป็นอันท�ำ (อกิริยทิฏฐิ) เช่น ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ก็ไม่เป็นอันฆ่า ไม่เป็นอันลัก ชื่อว่าเป็นฝ่ายถือผิด ส่วนท่ีเห็นว่า ท�ำเป็นอันท�ำ ชื่อว่า ถอื ถกู สมาทานถกู ซงึ่ อปัณณกธรรม ฯ ล ฯ ๑ กลิคคฺ าโห ถอื เอาโทษหรือถือเอาลูกโทษเปน็ ส�ำนวนสกา หมายความว่าแพ้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 609 5/4/18 2:25 PM
610 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ธรรมะท่ไี มผ่ ิดข้อที่ ๓ ๔. สมณพราหมณบ์ างพวกกลา่ ววา่ ไมม่ เี หตปุ จั จยั แหง่ ความเศรา้ หมองหรอื ผอ่ งแผว้ ของสัตวท์ ง้ั หลาย (อเหตุกทิฏฐิ) สตั วท์ ้งั หลายเศรา้ หมองหรอื ผ่องแผว้ (เอง) โดยไม่มเี หตปุ ัจจัย ชอ่ื วา่ เป็นฝา่ ยถือผดิ สว่ นท่ีเหน็ ว่ามีเหตปุ ัจจัย ชอ่ื วา่ ถือถกู สมาทานถูกซึง่ อปัณณกธรรม ฯ ล ฯ ธรรมะทไี่ มผ่ ิดขอ้ ท่ี ๔ ๕. สมณพราหมณ์บางพวกกล่าวว่า ไม่มีพรหมโลกท่ีไม่มีรูปด้วยประการท้ังปวง แต่บางพวกกล่าวว่า มีด้วยประการท้ังปวง พวกที่เห็นว่ามี ย่อมปฏิบัติเพื่อเบื่อหน่ายคลาย ก�ำหนดั เพ่อื ดบั รปู ท้งั หลาย (เปน็ ฝ่ายไม่ผิด) ธรรมะทไี่ มผ่ ิดขอ้ ท่ี ๕ ๖. สมณพราหมณ์บางพวกกล่าวว่า ความดับภพไม่มีด้วยประการท้ังปวง แต่ บางพวกกล่าวว่ามีด้วยประการท้ังปวง พวกท่ีเห็นว่ามี ย่อมปฎิบัติเพ่ือเบ่ือหน่ายคลายก�ำหนัด เพอื่ ดับภพ (ความมีความเปน็ ) ทง้ั หลาย บุคคล ๔ ประเภท ๗. ครนั้ แลว้ ตรสั แจกบุคคล ๔ ประเภท (๑) ท�ำตนให้เดอื ดรอ้ น (๒) ท�ำผอู้ น่ื ให้เดือดร้อน (๓) ทำ� ทัง้ ตนทั้งผูอ้ ่นื ให้เดือดรอ้ น (๔) ไม่ท�ำทัง้ ตนท้งั ผอู้ ื่นให้เดอื ดร้อน พร้อมทั้งค�ำอธิบาย (ด่ังที่ตรัสแก่ภิกษุท้ังหลายในภาคหลังของกันทรกสูตรท่ี ๑ แห่ง พระไตรปฎิ ก เลม่ ท่ี ๑๓ ซึ่งกำ� ลังยอ่ อยนู่ ี)้ เม่ือจบพระธรรมเทศนา พราหมณคฤหบดีชาวบ้านสาลากราบทูลสรรเสริญ พระธรรมเทศนาแสดงตนเปน็ อบุ าสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชวี ติ ภิกขุวรรค คอื วรรคทีว่ า่ ด้วยภิกษุ มี ๑๐ สูตร ๑๑. จูฬราหโุ ลวาทสตู ร (สตู รวา่ ดว้ ยการประทานโอวาทแก่พระราหลุ สูตรเล็ก) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เวฬุวนาราม ใกล้กรุงราชคฤห์ ในเวลาเย็น พระผู้มีพระภาคเสด็จไปยังสวนมะม่วงหนุ่ม ซึ่งพระราหุลอาศัยอยู่ พระราหุลเห็น พระผู้มีพระภาคเสด็จมาแต่ไกล ก็ปูอาสนะตั้งน้�ำล้างพระบาทไว้ พระผู้มีพระภาคประทับ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 610 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค 611 บนอาสนะท่ีปูไว้แล้ว ล้างพระบาท เหลือน�้ำไว้หน่อยหน่ึงในภาชนะน้�ำ คร้ันแล้วตรัสเปรียบว่า ัมช ิฌม ินกาย ผู้ใดไม่มีความละอายในการพูดปดท้ัง ๆ รู้ ความเป็นสมณะของผู้น้ัน ย่อมเป็นของน้อย เหมือนน้�ำที่มีอยู่ในภาชนะน�้ำ ทรงเทน�้ำท่ีเหลืออยู่ท้ิงแล้วตรัสเปรียบว่า ผู้ใดไม่มีความละอาย ในการพดู ปดท้ัง ๆ รู้ ความเปน็ สมณะของผนู้ ัน้ ชอื่ ว่าเปน็ อันท้ิงเสียแล้ว ทรงคว�่ำภาชนะน�ำ้ แล้ว ตรสั เปรยี บวา่ ผใู้ ดไม่มีความละอายในการพูดปดทั้ง ๆ รู้ ความเป็นสมณะของผนู้ ้นั ช่อื วา่ เปน็ อนั คว�่ำเสยี แล้ว ๒. ตรัสว่า ผู้ใดไม่มีความละอายในการพูดปดท้ัง ๆ รู้ พระองค์ย่อมไม่ตรัสว่า จะมี บาปกรรมอะไรที่ผนู้ ัน้ จะพึงท�ำไมไ่ ด้ (คอื ทำ� ความช่วั ได้ทุกชนดิ ) เปรียบเหมอื นช้างสงครามของ พระราชาที่ใช้อวัยวะทุกส่วนในการรบ เว้นแต่งวง ก็ยังไม่ช่ือว่าสละชีวิตเพื่อพระราชา แต่ถ้าใช้ งวงด้วย ก็ชื่อว่าสละชีวิตเพ่ือพระราชา จึงไม่มีอะไรที่ช้างจะท�ำเพ่ือพระราชาไม่ได้ ครั้นแล้วได้ ตรสั สอนให้สำ� เหนยี กว่า จะไมพ่ ดู ปดแม้เพื่อจะหวั เราะเล่น ๓. ตรัสถามว่า แว่นมีไว้ท�ำอะไร พระราหุลกราบทูลว่า มีไว้ส่องดู จึงตรัสสอนว่า การกระท�ำทางกาย วาจา ใจ ก็พึงพิจารณาแล้วด้วยดี จึงค่อยท�ำฉันนั้น คร้ันแล้วตรัสอธิบาย ถึงการพิจารณาการกระท�ำทางกาย วาจา ใจ ในทางท่ีไม่เป็นไปเพ่ือเบียดเบียนตนและผู้อื่น แล้วตรัสว่า สมณพราหมณ์ในอดีต อนาคต หรือปัจจุบัน ที่ช�ำระการกระท�ำทางกาย วาจา ใจ ให้บริสุทธิ์ ก็พิจารณาแล้วด้วยดี จึงช�ำระให้บริสุทธ์ิ แล้วตรัสสอนให้ส�ำเหนียกว่า จักพิจารณา ด้วยดี ช�ำระการกระท�ำทางกาย วาจา ใจ ให้บริสุทธ์ิ ๑๒. มหาราหุโลวาทสูตร (สตู รว่าดว้ ยการประทานโอวาทแก่พระราหุล สตู รใหญ)่ ๑. พระผ้มู ีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรสั สอนพระราหลุ ในระหวา่ งที่ท่านตาม เสด็จไปบิณฑบาตในเวลาเช้าว่า พึงพิจารณาเห็นรูปทุกชนิด ทั้งอดีต อนาคต ปัจจุบัน ภายใน ภายนอก หยาบละเอียด เลว ดี ไกล ใกล้ ว่ารูปทั้งหมดนั้น มิใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น น่ัน ไม่ใชต่ ัวตนของเรา พระราหลุ กลับจากท่ีนัน้ นั่งค้บู ลั ลงก์ (ขัดสมาธิ) ณ โคนไมต้ ้นหน่ึง ต้งั กาย ตรง ด�ำรงสติเฉพาะหน้า พระสาริบุตรเห็นเข้าจึงสอนให้เจริญอานาปานสติ (สติก�ำหนดลม หายใจเข้าออก) ในเวลาเย็นพระราหุลออกจากท่ีเร้น เข้าไปเฝ้ากราบทูลถามถึงวิธีเจริญ อานาปานสติทจี่ ะมีผลมาก มอี านสิ งส์มาก ๒. พระผูม้ ีพระภาคตรัสสอนเรือ่ งรูปภายใน (รา่ งกาย) ที่แขน้ แขง็ มผี ม ขน เปน็ ต้น ที่เรียกว่าธาตุดินภายใน ตลอดจนธาตุน�้ำ ไฟ ลม อากาศ ทั้งภายนอกภายใน ให้เห็นเป็น PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 611 5/4/18 2:25 PM
612 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ แตส่ กั ว่าธาตุ ไมใ่ ชข่ องเรา เราไม่ไดเ้ ปน็ นนั่ น่ันไมใ่ ช่ตัวตนของเรา เมือ่ ร้เู ห็นตามเป็นจริงอยา่ งน้ี ยอ่ มเบอ่ื หน่ายธาตเุ หลา่ นนั้ ท�ำจติ ให้คลายก�ำหนดั (หรือความติดใจ) ในธาตุเหล่านั้น ๓. ครนั้ แล้วตรสั สอนใหเ้ จรญิ ภาวนา (อบรมจติ ) เสมอดว้ ยธาตแุ ตล่ ะอย่าง ซงึ่ ผสั สะ ท่ีน่าพอใจและไม่น่าพอใจเกิดขึ้นแล้ว จักไม่ครอบง�ำ จิตต้ังอยู่ได้ โดยช้ีให้เห็นว่า ธาตุเหล่านั้น ย่อมไม่แสดงอาการผิดปกติ เช่น เบื่อหน่าย เกลียดชังสิ่งสะอาดหรือสกปรกท่ีทิ้งลงไปใส่หรือ ทีธ่ าตเุ หลา่ นัน้ ผา่ นไป ๔. ตรสั สอนใหเ้ จรญิ เมตตาภาวนา (ไมตรจี ติ คิดจะให้เปน็ สุข) ซึง่ จะเป็นเหตุให้ละพยาบาท (ความคดิ ปองรา้ ย) ได้ กรุณาภาวนา (เอ็นดู คดิ จะช่วยใหพ้ น้ ทกุ ข์) ซง่ึ จะเป็นเหตุให้ละวิเหสา (การคดิ เบียดเบยี น) ได้ มทุ ิตาภาวนา (พลอยยินดีเม่ือผู้อ่ืนไดด้ ี) ซง่ึ จะเป็นเหตใุ ห้ละอรติ (ความไม่ยนิ ดหี รอื ริษยา) ได้ อเุ บกขาภาวนา (วางใจเป็นกลาง) ซง่ึ จะเป็นเหตุใหล้ ะปฎิฆะ (ความขัดใจ) ได้๑ อสภุ ภาวนา (เหน็ ความไมง่ าม) ซง่ึ จะเป็นเหตุใหล้ ะราคะ (ความกำ� หนัดยินด)ี ได้ อนิจจสญั ญาภาวนา (กำ� หนดหมายสิง่ ที่ไมเ่ ที่ยง) ซ่ึงเป็นเหตใุ ห้ละอสั มิมานะ (ความถอื ตัวถอื ตน) ได้ ๕. คร้ันแล้วตรัสสอนวิธีเจริญสติก�ำหนดลมหายใจเข้าออกท่ีมีผลมาก มี อานิสงส์มาก (แบบเดียวกับที่ตรัสไว้ในอานาปานบรรพ คือหมวดว่าด้วยลมหายใจเข้าออกใน มหาสตปิ ฎั ฐานสตู ร ท่ยี อ่ มาแลว้ หนา้ ๔๗๓) ๑ ในที่นี้แสดงว่า อุเบกขา ความวางใจเป็นกลาง ท�ำให้ละปฎิฆะ (ความขัดใจ) แต่ในท่ีบางแห่ง เช่น ในสังคีติสูตร (ท.ี ปา. ๑๑/๔๒๘/๒๖๑) แสดงวา่ อเุ บกขา เจโตวมิ ตุ ิ เปน็ ความถอนตัวได้จากราคะ นบั เปน็ หลักวิชาทนี่ ่าสนใจ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 612 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค 613 ๑๓. จูฬมาลุงกโยวาทสูตร ัมช ิฌม ินกาย (สตู รวา่ ด้วยการประทานโอวาทแกพ่ ระมาลุงกยะ สูตรเล็ก) ๑. พระผู้มีพระภาคประทบั ณ เชตวนาราม พระมาลงุ กยบุตรคิดวา่ พระผ้มู พี ระภาค ไม่ทรงตอบปัญหาเรื่องทิฏฐิ (๑๐ ประการ) มีเร่ืองโลกเท่ียงหรือไม่เท่ียง เป็นต้น (ดูหน้า ๔๓๕ หมายเลข ๖) นนั้ เราไมพ่ อใจเลย ถา้ ทรงตอบปญั หา เรากจ็ กั ประพฤตพิ รหมจรรย์ ถา้ ไมท่ รงตอบ เราจะสกึ เธอจึงเข้าไปเฝ้ากราบทูลพระผมู้ พี ระภาคตามทคี่ ดิ นนั้ ๒. ตรัสถามว่า พระองค์เคยทรงชวนให้เธอมาบวชเพื่อจะตอบปัญหาน้ีหรือ เธอ เข้ามาบวช ก็พูดว่าจะบวชเพ่ือให้เราตอบปัญหาน้ีหรือ เมื่อเธอตอบว่า เปล่าท้ังสองประการ จึงตรัสว่า เม่ือท้ังสองฝ่ายไม่ได้กล่าวว่ามุ่งตอบปัญหานี้ เธอจะมาบอกคืนเอาแก่ใครเล่า ผู้ใด กล่าวว่า จักไม่ประพฤติพรหมจรรย์ ถ้าเราไม่ตอบปัญหาเร่ืองโลกเท่ียง เป็นต้น เราก็ไม่ตอบ ปัญหาน้ัน ผนู้ น้ั ก็คงจะตายเปล่า ๓. ครั้นแล้วตรัสเปรียบเหมือนคนถูกยิงด้วยลูกศรอาบยาพิษ ญาติพี่น้องหาหมอ ผ่าตัดลูกศรมาก็ไม่ยอมให้ผ่าเอาลูกศรออก จนกว่าจะรู้ว่าผู้ยิงเป็นใคร (กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ หรือศูทร) ช่ือไร โคตรไร สูงต่�ำ หรือด�ำขาวอย่างไร อยู่บ้านไหน เมืองไหน ธนูที่ใช้ยิง นัน้ เปน็ ธนูแลง่ (หนา้ ไม้) หรือเกาทัณฑ์ (ไมใ่ ช้แล่ง) และรายละเอยี ดอน่ื ๆ อกี ยืดยาว ซ่ึงก็คง จะตายเปลา่ ๔. แล้วตรัสถามว่า เม่ือมีความเห็นว่าโลกเท่ียงหรือไม่เที่ยง เป็นต้น จะช่ือว่ามีการ อยปู่ ระพฤติพรหมจรรยห์ รอื ไม่ กราบทลู ว่า ไม่มี ตรัสต่อไปวา่ เม่ือมคี วามเหน็ ว่าสัตวต์ ายแล้ว มีหรือไม่มี หรือมีก็ไม่ใช่ ไม่มีก็ไม่ใช่ดังน้ี ก็ยังคงมีความเกิด ความแก่ ความตาย มีความ เศรา้ โศกพไิ รรำ� พนั ทกุ ขก์ าย ทกุ ขใ์ จ และความคบั แคน้ ใจ ซง่ึ เราบญั ญตั ใิ หท้ ำ� ลายเสยี ในปจั จบุ นั ๕. ตรัสสรปู ให้ทรงจ�ำไวถ้ งึ ส่งิ ท่ีไม่ทรงตอบและทรงตอบ (พยากรณ์) แล้วตรสั ชี้ไปถงึ ทิฏฐิ (๑๐ ประการ) มีเรื่องโลกเที่ยง เป็นต้น ว่าไม่ทรงตอบ เพราะไม่มีประโยชน์ ไม่เป็นไป เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ส่วนเร่ืองท่ีทรงตอบ คืออริยสัจจ์ ๔ เพราะมีประโยชน์ เป็นไปเพื่อ ตรสั รู้ เพอื่ นพิ พาน ๑๔. มหามาลุงกโยวาทสูตร (สตู รวา่ ด้วยการประทานโอวาทแก่พระมาลุงกยะ สตู รใหญ่) ๑. พระผมู้ พี ระภาคประทบั ณ เชตวนาราม ตรสั สอนใหภ้ กิ ษทุ งั้ หลายทรงจำ� สญั โญชน์ (กิเลสเครอื่ งรอ้ ยรดั ) เบอ้ื งตำ�่ ๕ ประการซง่ึ ทรงแสดงไว้ พระมาลุงกยบุตรกราบทลู วา่ ทา่ นทรง PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 613 5/4/18 2:25 PM
614 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ จ�ำได้ เม่อื พระผูม้ ีพระภาคตรัสถามวา่ ทรงจำ� ไดอ้ ยา่ งไร จงึ กราบทูลว่า ได้แก่ (๑) สกั กายทิฏฐิ (ความเห็นเป็นเหตุยึดกายของตน) (๒) วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) (๓) สีลัพพตปรามาส (การลูบคล�ำศีลแลพรต คือเชื่อว่าจะเกิดผลดีด้วยศีลพรตน้ัน ๆ หรือติดลัทธิพิธีโชคลาง) (๔) กามฉนั ท์ (ความพอใจในกาม) (๕) พยาบาท (ความคดิ ปองรา้ ย) ๒. ตรัสกับพระมาลุงกยบุตร๑ ว่า ท่านทรงจ�ำไว้ว่า เราแสดงแก่ใคร พวกนักบวช ลัทธิอื่นจักพูดแข่งดีด้วยการเปรียบเทียบกับเด็กอ่อนมิใช่หรือ เพราะว่าเด็กอ่อนนอนหงาย ย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า ”กายของตน„ ความเห็นเป็นเหตุยึดถือกายของตนจักเกิดข้ึนได้ อย่างไร แต่ว่าอนุสัย (กิเลสท่ีแฝงตัว) คือความเห็นเป็นเหตุยึดถือกายของตน ของเด็กน้ัน ย่อมแฝงตัวตามไป แล้วตรัสแสดงต่อไปอีกเป็นข้อ ๆ เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า ”ธรรม ท้ังหลาย„ ความสังสัยในธรรมท้ังหลายจักมีได้อย่างไร แต่ว่าอนุสัยคือความสงสัยของเด็กนั้น ย่อมแฝงตัวตามไป เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า ”ศีล„ การลูบคล�ำศีลแลพรตจักมีได้อย่างไร แต่ว่าอนุสัยคือการลูบคล�ำศีลพรตของเด็กนั้นย่อมแฝงตัวตามไป เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า ”กาม„ ความพอใจในกามจักเกิดได้อย่างไร แต่ว่าอนุสัยคือความพอใจในกามของเด็กน้ันย่อม แฝงตัวตามไป เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า ”สัตว์ท้ังหลาย„ ความพยาบาทในสัตว์ทั้งหลาย จกั เกดิ ไดอ้ ยา่ งไร แต่วา่ อนสุ ยั คือความพยาบาทของเดก็ นน้ั ย่อมแฝงตวั ตามไป ๓. พระอานนท์จึงกราบทูลอาราธนาให้ทรงแสดงเร่ืองสัญโญชน์เบ้ืองต่�ำ ๕ ภิกษุ ทั้งหลายจักได้ทรงจ�ำไว้ จึงตรัสอธิบายว่า บุถุชนผู้มิได้สดับ มีจิตถูกสัญโญชน์ ๕ รึงรัด ไม่รู้ การถอนตัวจากสัญโญชน์ ๕ ตามเป็นจริง สัญโญชน์นั้น ๆ จึงมีก�ำลัง จัดเป็นสัญโญชน์เบ้ืองต�่ำ ส่วนอริยสาวกผู้ได้สดับ มีจิตไม่ถูกสัญโญชน์ ๕ รึงรัด รู้การถอนตัวจากสัญโญชน์ ๕ ตามเป็นจรงิ อริยสาวกนั้นจึงละสญั โญชน์ ๕ พร้อมท้ังอนสุ ยั (กเิ ลสทีแ่ ฝงตวั ตาม) เสยี ได้ ๔. ตรัสว่า มรรคา ปฏิปทา ที่ทรงแสดงเพ่ือละสัญโญชน์เบ้ืองต�่ำ ๕ ประการ บุคคล ไม่อาศัยมรรคา ปฏิปทานั้น จักละสัญโญชน์เหล่านั้นได้ มิใช่ฐานะท่ีมีได้ เปรียบเหมือน การตัดแก่นไม้ของต้นไม้ใหญ่ที่มีแก่นโดยไม่ตัดเปลือก ไม่ตัดกระพ้ีนั้น มิใช่ฐานะท่ีมีได้๒ ๑ อรรถกถาว่า ”พระมาลุงกยบุตรมีความเห็นผิดว่า บุคคลจะประกอบด้วยกิเลสก็เฉพาะตอนท่ีถูกกิเลสครอบง�ำ เท่านั้น ในขณะอ่ืนไม่ชื่อว่าประกอบด้วยกิเลส„ จึงเป็นการเหมาะสมท่ีตรัสอธิบายให้เห็นว่าเด็กไม่มีกิเลสจริง ๒ หรอื ไม่ โดยตรสั วา่ กิเลสประเภทแฝงตวั ยังตดิ ตามอยู่ อนึ่ง การตัดเปลือก ตัดกะพ้ีนั้น อรรถกถา เทียบด้วย ฐานะที่เป็นไปได้ พึงทราบในทางตรงกันข้ามทั้งสองแห่ง สมถะ วปิ ัสสนา สว่ นตดั แก่น เทยี บดว้ ยมรรค PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 614 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค 615 หรือเปรียบเหมือนคนมีก�ำลังทรามกล่าวว่า จะใช้มือว่ายข้ามแม่น้�ำคงคา ซ่ึงมีน�้ำเต็มฝั่งไปสู่ ัมช ิฌม ินกาย ฝง่ั โนน้ ได้โดยสวัสดี ก็ไมพ่ งึ ทำ� เชน่ นัน้ ได้ฉันใด เม่อื แสดงธรรมแก่ใคร ๆ เพอ่ื ละ ”กายของตน„ แตจ่ ติ ของผนู้ ้นั ไม่ส่งไปตาม ไม่เลอ่ื มใส ไมต่ ้ังม่ัน ไมห่ ลุดพน้ ก็พงึ เห็นเปน็ ฉันนนั้ ๕. ตรัสแสดงมรรคา ปฏิปทา เพื่อละสัญโญชน์เบ้ืองต�่ำ ๕ ประการ คือการที่ภิกษุ สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าฌานท่ี ๑ ถึงที่ ๔ (อันเป็นรูปฌาน ฌานมีรูปเป็นอารมณ์) กบั เขา้ อรปู ฌานที่ ๑ ถึงที่ ๓ (อากิญจัญญายตนะ) พิจารณาขนั ธ์ ๕ โดยความเปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง เป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นฝี เป็นลูกศร เป็นของไม่สบาย เป็นเครื่องเบียดเบียน เป็นฝ่ายอื่น เป็นของทรุดโทรม เป็นของไม่ใช่ตัวตน เปลื้องจิตจากธรรมเหล่าน้ัน (ขันธ์ ๕) น้อมจิตไปเพ่ือ ธาตุอันเป็นอมตะคือนิพพาน ผู้น้ันตั้งอยู่ในฌานแต่ละข้อน้ันย่อมถึงความส้ินอาสวะได้ ถ้าละอาสวะไมไ่ ด้ กจ็ ะไดเ้ ป็นพระอนาคามี ๖. พระอานนท์กราบทูลถามว่า มรรคา ปฏิปทา เพ่ือละสัญโญชน์เหล่าน้ันก็อย่าง เดียวกัน เหตุไฉนภิกษุบางรูปจึงเป็นผู้หลุดพ้นเพราะสมาธิ (เจโตวิมุติ) บางรูปหลุดพ้นเพราะ ปัญญา (ปัญญาวิมุติ) ตรัสตอบว่า เพราะอินทรีย์ต่างกัน (ค�ำว่า อินทรีย์ หมายถึงธรรม อนั เป็นใหญ่ มี ๕ คอื ศรัทธา ความเพยี ร สติ สมาธิ และปัญญา) ๑๕. ภทั ทาลสิ ูตร (สูตรวา่ ด้วยพระภทั ทาลิ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสสอนพระภัททาลิผู้ไม่กระท�ำให้ บริบูรณ์ในสิกขาโดยทรงเตือนให้ส�ำนึกว่า พระผู้มีพระภาค ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา สมณพราหมณ์ลัทธิอ่ืน จักรู้ว่า พระภัททาลิไม่กระท�ำให้บริบูรณ์ในสิกขา ซึ่งพระภัททาลิก็ได้ ส�ำนึกตนกราบทูลขอขมา พระผู้มีพระภาคตรัสรับขมาแล้ว ได้ตรัสแสดงความประพฤติของ ภกิ ษุสองฝา่ ย คอื ฝา่ ยที่ไม่ทำ� ให้บริบรู ณใ์ นสิกขา ซึ่งถกู ตเิ ตยี น กบั ฝา่ ยท่ีทำ� ใหบ้ รบิ ูรณ์ในสิกขา ซึ่งไม่ถูกติเตียน และบ�ำเพ็ญคุณธรรมได้ต้ังแต่ฌาน ๔ ญาณ ๓ มีอาสวักขยญาณ (ญาณอัน ทำ� อาสวะให้สิน้ ) เป็นทส่ี ดุ ๒. ตรัสแสดงถึงภิกษุสองฝ่าย คือฝ่ายที่ต้องอาบัติบ่อย ๆ มากไปด้วยอาบัติ เม่ือ ภิกษุท้ังหลายว่ากล่าว ก็พูดหลีกเลี่ยงไปต่าง ๆ ภิกษุทั้งหลายก็จะพิจารณา (จัดการกับ) เธอ ในทางที่อธิกรณ์จะไม่สงบระงับไปโดยพลัน แต่บางรูปต้องอาบัติบ่อย ๆ เป็นต้นแล้ว ไม่พูด หลีกเล่ียงไปต่าง ๆ ภิกษุทั้งหลายก็จะพิจารณา (จัดการกับ) เธอ ในทางที่อธิกรณ์จะสงบระงับ ไปโดยพลัน อีกฝ่ายหนึ่งต้องอาบัติเป็นคร้ังคราว ไม่มากไปด้วยอาบัติ แต่พูดหลีกเลี่ยงก็มี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 615 5/4/18 2:25 PM
616 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ไม่หลีกเลี่ยงก็มี ภิกษุทั้งหลายก็จะพิจารณา (จัดการกับ) เธอ ในทางท่ีอธิกรณ์จะไม่สงบระงับ หรอื สงบระงบั โดยพลนั (สุดแต่ความประพฤตเิ มอื่ ถูกวา่ กลา่ วของเธอ) ๓. ทรงแสดงถึงการที่ภิกษุบางรูปเป็นอยู่ด้วยศรัทธา ด้วยความรัก (คือบวชใหม่ ยังไม่รู้เรื่องศาสนาดี ก็อยู่ด้วยอาศัยศรัทธา และความรักในอุปัชฌายะอาจารย์) ภิกษุ ทั้งหลายคิดสงเคราะห์เธอด้วยเกรงว่าศรัทธาและความรักของเธอจะเสื่อมไป เหมือนญาติมิตร ช่วยกันรักษาตาข้างเดียวของชายผู้มีตาข้างเดียวฉะนั้น เม่ือภิกษุทั้งหลายกราบทูลถามถึงเหตุ ที่สิกขาบทมีน้อย ในกาลก่อนมีภิกษุมากรูปต้ังอยู่ในอรหัตตผล แต่ในบัดน้ีสิกขาบทกลับ มากขึ้น ภิกษุผู้ต้ังอยู่ในอรหัตตผลกลับน้อยลง จึงตรัสตอบว่า เป็นด้วยสัตว์ท้ังหลายก�ำลัง เส่อื ม สัทธรรมกำ� ลงั อันตรธาน ๔. คร้ันแล้วได้ตรัสว่า พระศาสดาย่อมไม่บัญญัติสิกขาบทจนกว่าธรรมอันเป็นที่ตั้ง แห่งอาสวะ (กิเลสอันดองสนั ดาน) จะปรากฏในภิกษสุ งฆ์ ธรรมอนั เป็นท่ตี ้งั แห่งอาสวะจะยังไม่ ปรากฏในภิกษุสงฆ์ ตราบใดที่สงฆ์ยังไม่เป็นกลุ่มใหญ่ ยังไม่มีลาภ ยศ ไม่มีการสดับตรับฟัง มาก ไม่รู้ราตรีนานข้ึน (ล่วงเวลานานข้ึน) และในท่ีสุด ตรัสแสดงธรรมเปรียบด้วยม้าอาชาไนย ท่ีได้รับการฝึก ๑๐ ประการ๑ จนมีคุณสมบัติครบ ๑๐ อย่าง ควรแก่พระราชาฉันใด ภิกษุ ผู้ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) เป็นต้น จนถึงสัมมาวิมุติ (ความหลุดพ้นชอบ) เปน็ ท่ี ๑๐ ก็เปน็ ผูค้ วรแกก่ ารบูชา จนถงึ เปน็ นาบญุ อันยอดเย่ยี มของโลกฉนั นัน้ ๑๖. ลฑกุ ิโกปมสตู ร (สตู รแสดงข้อเปรยี บเทียบดว้ ยนางนกไส)้ ๑. พระผมู้ พี ระภาคประทบั อยใู่ นนคิ มชอื่ อาปณะ แควน้ องั คตุ ตราปะ พระอทุ ายเี ขา้ ไป เฝ้ากราบทูลสรรเสริญว่า ทรงน�ำธรรมท่ีเป็นทุกข์มากหลายออกไป ทรงน�ำเข้าไปซ่ึงธรรมท่ีเป็น สขุ มากหลาย แลว้ ไดเ้ ลา่ ถงึ สมยั กอ่ นทท่ี า่ นเคยบรโิ ภคอาหาร ทงั้ ในเวลาเยน็ ทงั้ ในเวลาเชา้ ทงั้ ใน เวลาวกิ าลกลางวนั (เทีย่ งแล้วไป) ต่อมาเม่ือพระผ้มู ีพระภาคตรสั ให้ภกิ ษุทง้ั หลายเลกิ ฉันอาหาร ในเวลาวกิ าลกลางวนั (เทย่ี งแลว้ ไป) ทา่ นกเ็ สยี ใจทพี่ ระผมู้ พี ระภาคตรสั สงั่ ใหล้ ะอาหารทคี่ ฤหบดี ผมู้ ศี รทั ธาถวายในเวลาวกิ าลกลางวนั แตด่ ว้ ยความรกั ความเคารพ เปน็ ตน้ ในพระผมู้ พี ระภาค ก็ละการฉนั อาหารในเวลาวกิ าลกลางวันนัน้ เสยี คงฉันแตเ่ วลาเย็นและเวลาเช้า ๑ พงึ สงั เกตวา่ ในพระสตู รน้ี ทรงใชค้ ำ� วา่ ปรนิ พิ พฺ ายติ (สงบระงบั ) แกม่ า้ ทห่ี มดพยศ ทง้ั ๆ ทคี่ ำ� นใี้ ชไ้ ดใ้ นความหมาย สูงถึงปรินพิ พาน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 616 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค 617 ต่อมาตรัสสอนให้ภิกษุท้ังหลายเลิกฉันอาหารในเวลาวิกาลกลางคืน ท่านก็เสียใจ แต่ ัมช ิฌม ินกาย ด้วยความรัก ความเคารพ เป็นต้น ในพระผู้มีพระภาค ท่านก็ละการฉันอาหารในเวลาวิกาล กลางคืนเสีย แล้วกราบทูลถึงการบิณฑบาตในเวลากลางคืนที่ท�ำให้เหยียบน้�ำคร�ำบ้าง ตกหลุม โสโครกบา้ ง ถกู หนามตำ� บา้ ง จนถงึ ถกู ผหู้ ญงิ นกึ วา่ ผหี ลอกรอ้ งโวยวาย และเมอ่ื ทราบวา่ เปน็ ภกิ ษุ ก็ด่าเอา (อันแสดงวา่ การทที่ รงหา้ มนนั้ เป็นการด)ี ๒. พระผู้มพี ระภาคตรสั ตอบว่า โมฆบุรษุ บางคนเมื่อเรากล่าววา่ จงละสิง่ นี้ กก็ ล่าวว่า จะมาขัดเกลาอะไรกัน เพราะเหตุเร่ืองเล็กน้อยเท่าน้ี จึงไม่ยอมละ และตั้งความไม่พอใจในเรา และในภกิ ษผุ ใู้ ครก่ ารศกึ ษา ขอ้ หา้ มนนั้ กจ็ ะเปน็ เครอ่ื งผกู อนั มกี ำ� ลงั มน่ั คงสำ� หรบั เธอ เหมอื นนาง นกไส้ ซ่ึงผูกด้วยเถาไม้ ก็ผูกไว้อยู่หรือถึงแก่ความตาย เพราะเครื่องผูกน้ันมีก�ำลังม่ันคง (นกตัวเล็กผูกด้วยเถาไม้ก็รู้สึกว่าเป็นเคร่ืองผูกใหญ่ คนท่ีไม่ดีก็เห็นข้อห้ามเล็ก ๆ ว่าเป็นของ ใหญโ่ ต ซ่ึงยากจะปฏบิ ตั ติ ามหรือละตามท่หี ้ามได้ เพราะศรัทธานอ้ ยมีปัญญานอ้ ย) ส่วนบุคคล บางคนเมื่อเรากลา่ ววา่ จงละสง่ิ นี้ ก็กลา่ ววา่ พระผูม้ พี ระภาคตรัสส่ังใหล้ ะเรื่องเลก็ น้อยจงึ ยอม ละ และไมต่ ง้ั ความไมพ่ อใจในเรา และในภกิ ษผุ ใู้ ครก่ ารศกึ ษา ขอ้ หา้ มนนั้ กจ็ ะเปน็ เหมอื นเครอื่ ง ผูกอันไม่มีก�ำลัง ไม่มั่นคงส�ำหรับเธอ เหมือนช้างสงครามของพระราชาสลัดเคร่ืองผูกท่ีท�ำด้วย หนังอย่างม่ันคงให้ขาดได้ (ส�ำหรับภิกษุผู้มีศรัทธาและปัญญามาก แม้ข้อห้ามใหญ่ ๆ ก็ละ ตามได้ ย่ิงข้อห้ามเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ยิ่งปฏบิ ตั ติ ามได้ไมย่ าก เหมอื นช้างสงครามทที่ �ำลายเชอื กหนงั ไดส้ บาย) และไดต้ รสั เปรยี บเรอื่ งทำ� นองเดยี วกนั ดว้ ยคนจนทจ่ี ะสละเรอื นจวนจะพงั ไดโ้ ดยยาก สว่ นคนมงั่ มสี ละทรัพยไ์ ดง้ า่ ยกวา่ ๓. ตรัสถึงบุคคล ๔ ประเภทที่ปฏิบัติเพ่ือละ เพื่อสละอุปธิ (มี ๔ อย่าง คือ ขันธ์ กเิ ลส เจตนา กามคุณ) แต่ (๑) บางพวกถกู กเิ ลส๑ ครอบง�ำ และไม่ละ ไม่บนั เทา (๒) บางพวก ถกู กเิ ลสครอบงำ� กล็ ะ ก็บนั เทา (๓) บางพวกถูกกิเลสครอบงำ� เพยี งครง้ั เดียว เพราะหลงลืมสติ สติมาช้า แต่พอได้สติก็รีบละและบันเทา (๔) บางพวกรู้ว่า อุปธิ เป็นมูลเหตุแห่งทุกข์ จึงท�ำ ตนใหไ้ มม่ อี ปุ ธิ ๔. คร้ันแล้วตรัสแสดงความสุขที่เกิดแต่กามคุณ ซ่ึงทรงสอนให้ละข้ึนไปเป็นชั้น ๆ จนถึงความสุขในรูปฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ แล้วตรัสถามว่า เห็นว่ามีสัญโญชน์ (กิเลส เคร่อื งร้อยรัด) อะไรบ้างไหม ไม่วา่ นอ้ ยหรือมาก ที่ไม่ทรงสอนให้ละเสีย (โดยใจความวา่ แม้จะ ๑ ภาษาบาลีใช้ค�ำว่า สรสงฺกปฺปา อรรถกถาแก้ว่า ได้แก่วิตก ความตรึก (ซ่ึงคงเป็นพวกอกุศล หรือกามวิตก พยาบาทวิตก วหิ ิงสาวติ ก) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 617 5/4/18 2:25 PM
618 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ มีความสุขเป็นชั้น ๆ แต่ถ้ายังมีอะไรแม้แต่น้อย ที่ยังไม่บริสุทธ์ิแท้ ก็ยังตรัสสอนให้ละไป โดยลำ� ดับ จนบริสทุ ธส์ิ มบรู ณ์ในที่สดุ ) ๑๗. จาตุมสูตร (สูตรว่าด้วยเหตุการณใ์ นตำ� บลบ้านชือ่ จาตุมา) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่ามะขามป้อม ใกล้ต�ำบลบ้านชื่อจาตุมา ตรัสสั่ง ประณาม (ขับไล่) ภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป ท่ีเดินทางมากับพระสาริบุตรและพระโมคคัลลานะ มาถึงหมู่บ้านจาตุมา ก็ส่งเสียงเอะอะปราศรัยร่าเริงกับภิกษุเจ้าถิ่น บรรดาเจ้าศากยะชาวบ้าน จาตุมาทรงทราบจึงไปกราบทูลขอให้ทรงอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ์ เพราะมี (บางรูป) บวชใหม่ เมื่อ ไม่ได้เฝ้าพระผู้มีพระภาคก็จะปรวนแปรไป เปรียบเหมือนพืชอ่อนไม่ได้น้�ำ หรือลูกโคอ่อน ที่ไม่เห็นแม่ ท้าวสหัมบดีพรหมก็มากราบทูลขอให้ทรงอนุเคราะห์ ด้วยอ้างข้ออุปมาในท�ำนอง เดียวกัน เป็นอันบรรดาเจ้าศากยะชาวบ้านจาตุมาและท้าวสหัมบดีพรหม ท�ำให้พระผู้มีพระภาค ทรงพอพระหฤทัยได้ ๒. พระมหาโมคคัลลานะไปบอกให้ภิกษุเหล่าน้ันมาเฝ้า พระผู้มีพระภาคตรัสถาม พระสารบิ ุตรว่า เธอคดิ อยา่ งไร เมื่อเราประณามภกิ ษสุ งฆ์ พระสาริบุตรกราบทลู วา่ ขา้ พระองค์ คิดว่า บัดน้ีพระผู้มีพระภาคทรงขวนขวายน้อย ประกอบการอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน แม้เราก็จัก ขวนขวายนอ้ ย ประกอบการอยเู่ ปน็ สขุ ในปจั จบุ นั บา้ ง (คอื ไมย่ งุ่ เกยี่ วกบั หมคู่ ณะ) พระผมู้ พี ระภาค จงึ ตรสั วา่ อยา่ เพงิ่ คดิ อยา่ งนนั้ กอ่ น แลว้ จงึ ตรสั ถามพระมหาโมคคลั ลานะบา้ ง พระเถระกราบทลู ว่า ข้าพระองค์คิดว่า บัดนี้พระผู้มีพระภาคทรงขวนขวายน้อย ประกอบการอยู่เป็นสุขใน ปจั จบุ นั บดั นเี้ ราและสารบิ ตุ รจกั บรหิ ารภกิ ษสุ งฆเ์ อง พระผมู้ พี ระภาคจงึ ประทานสาธกุ ารรบั รอง วา่ เรา (พระองคเ์ อง) หรือสาริบตุ รกบั โมคคัลลานะพึงบรหิ ารภกิ ษุสงฆไ์ ด้ ๓. คร้ันแล้วตรัสสอนภิกษุทั้งหลายถึงภัย ๔ ประการ ที่พึงหวังได้ในการลงน�้ำ คือ (๑) คลืน่ (๒) จระเข้ (๓) วงั วน (๔) ปลาร้าย ทรงเปรยี บความไม่อดทนต่อโอวาทเมื่อเขา้ มาบวชด้วยภยั คอื คลน่ื ทรงเปรยี บความเหน็ แกป่ ากแก่ทอ้ งด้วยภัยคอื จระเข้ ทรงเปรียบกามคุณ ๕ ดว้ ยภยั คอื วงั วน และ ทรงเปรียบเทียบมาตุคามด้วยปลาร้าย ว่าเป็นภัยอันภิกษุผู้บวชในพระธรรมวินัย นี้พึงหวังได้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 618 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค 619 (หมายเหตุ : พระสูตรน้ีแสดงว่าพระผู้มีพระภาคทรงให้บทเรียนแก่ภิกษุผู้ส่งเสียง ัมช ิฌม ินกาย อ้ืออึงเหล่าน้ันอย่างแรง แต่เมื่อมีเหตุผลสมควร ก็ทรงเลิกการลงโทษ คือมิใช่ลงโทษให้ เสียคน แต่ให้กลับตัว) ๑๘. นฬกปานสตู ร (สตู รว่าดว้ ยเหตุการณใ์ นหมู่บ้านชื่อนฬกปานะ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่าไม้ทองกวาว ใกล้หมู่บ้านช่ือนฬกปานะ สมัยนั้น กุลบุตรผู้มีช่ือเสียงออกบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคหลายท่านด้วยกัน คือ พระอนุรุทธ์ พระภทั ทยิ ะ พระกิมพิละ พระภัคคุ พระโกณฑัญญะ พระเรวตะ พระอานนท์ และกุลบุตรผู้มี ช่อื เสียงอ่ืน ๆ พระผู้มพี ระภาคมภี ิกษสุ งฆ์แวดล้อมประทับในกลางแจง้ ตรัสถามภิกษุเหลา่ น้ัน ว่า ผู้ที่ออกบวชอุทิศเรา ยินดียิ่งในพรหมจรรย์ละหรือ ตรัสถามถึง ๓ คร้ัง ภิกษุเหล่านั้น กน็ งิ่ อยู่ ๒. พระผู้มีพระภาคจึงตรัสระบุพวกพระอนุรุทธ์ (มีรายนามดั่งที่กล่าวข้างต้น แต่ใช้ ค�ำว่า ”อนุรุทฺธา„ อนุรุทธ์และพวก) ซึ่งพระอนุรุทธ์ก็กราบทูลว่า ข้าพระองค์ทั้งหลายยินดีย่ิง ในพรหมจรรย์ จึงตรัสว่า ดีแล้ว แล้วตรัสถามว่า ออกบวชเพ่ือท�ำที่สุดทุกข์ใช่หรือไม่ พระอนรุ ทุ ธก์ ก็ ราบทลู รบั วา่ ใช่ จงึ ตรสั ถงึ หนา้ ทที่ ผ่ี บู้ วชแลว้ พงึ กระทำ� วา่ ถา้ มไิ ดบ้ รรลปุ ตี แิ ละสขุ อันสงัดจากกาม อันสงัดจากอกุศลธรรม หรือปีติสุขที่สงบระงับกว่านั้นแล้ว ความโลภ (อภิชฌา) ความคิดปองร้าย ความหดหู่ง่วงงุน ความลังเลสงสัย ความฟุ้งสร้าน ร�ำคาญใจ ความไม่ยินดี (ในกุศลธรรม) ความเกียจคร้านก็จะครอบง�ำจิตต้ังอยู่ได้ ต่อได้บรรลุปีติและสุข เช่นนั้น หรอื อย่างอนื่ ทสี่ งบระงับกว่าน้นั กิเลสดงั กล่าวจงึ ไมค่ รอบง�ำจติ ตั้งอยูไ่ ด้ ๓. ตรัสถามว่า เธอคิดว่า ตถาคตละอาสวะไม่ได้จึงพิจารณาแล้วเสพ พิจารณาแล้ว อดทน พิจารณาแล้วเว้น พิจารณาแล้วบันเทา (ท�ำให้น้อยลง) ใช่หรือไม่ กราบทูลว่า ไม่ได้คิด อย่างน้ัน พระตถาคตทรงละอาสวะได้แล้ว จึงทรงท�ำเช่นนั้น ตรัสรับรองว่าเป็นเช่นนั้น ตรัสถามต่อไปว่า ตถาคตเห็นอ�ำนาจประโยชน์อะไร จึงพยากรณ์เมื่อสาวกตายไปว่า ผู้น้ีไป เกิดในท่ีโน้น ๆ พระอนุรุทธ์กราบทูลขอให้ทรงตอบ จึงตรัสตอบว่า ท่ีทรงพยากรณ์เช่นน้ัน มิใช่เพ่ือหลอกลวงคน มิใช่เพ่ือเรียกร้องคนให้มานับถือ มิใช่เพื่ออานิสงส์ลาภสักการะ หรือ ช่ือเสียง มิใช่เพ่ือให้คนรู้จักเราว่าเป็นอย่างนั้นอย่างน้ี แต่มีกุลบุตรผู้มีศรัทธา มีความยินดี และปราโมทย์อันกว้างขวาง ได้สดับแล้ว ก็จะน้อมจิตไปเพ่ือความเป็นเช่นน้ัน (ตามท่ีทรง พยากรณ์ว่าไปเกิดในท่ีดี ๆ อย่างไร) ข้อนั้นย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขของกุลบุตร PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 619 5/4/18 2:25 PM
620 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ เหล่าน้ัน แล้วตรัสขยายความในเร่ืองน้ีว่า จะเป็นการเอาอย่างในทางที่ดีในเร่ืองศรัทธา ศีล สุตะ (การสดับฟงั หรือการศกึ ษา) จาคะ (การสละ) และปัญญา ๑๙. โคลิสสานสิ ตู ร (สตู รวา่ ด้วยภิกษชุ ่อื โคลิสสานิ) สมัยหน่ึงพระผู้มีพระภาคประทับ ณ เวฬุวนาราม ใกล้กรุงราชคฤห์ พระสาริบุตร ปรารภภิกษุชื่อโคลิสสานิผู้อยู่ป่า แต่มีความประพฤติย่อหย่อน (เห็นแก่ปัจจัย) มีธุระเข้ามา ในที่ประชมุ สงฆ์ จึงแสดงข้อปฏิบัตสิ �ำหรบั ภกิ ษุผ้อู ยปู่ ่า ๑๗ ขอ้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ปฏิบตั ิสำ� หรับภกิ ษุผ้อู ยู่ป่า ๑๗ ข้อ ๑. ภกิ ษุผอู้ ยูป่ า่ ไปในสงฆ์ พงึ เคารพในเพือ่ นพรหมจารี ๒. พงึ ฉลาดในอาสนะ ไม่นั่งเบียดภิกษผุ ูแ้ กก่ วา่ ไมน่ ัง่ กันภิกษุผอู้ อ่ นกวา่ ๓. ไม่พึงเขา้ บ้านเกินเวลา พงึ กลับแตย่ งั วนั ๔. ไมพ่ งึ เทย่ี วไปในสกุลก่อนหรือหลังอาหาร๑ ๕. ไม่พึงฟุ้งสร้านและขบี้ น่ ๖. ไม่พงึ เป็นคนปากกลา้ พดู มาก ๗. พงึ เปน็ ผ้วู ่าง่ายและคบมิตรท่ดี ี ๘. พงึ สำ� รวมทวารในอินทรยี ท์ ้งั หลาย (สำ� รวมตา หู เป็นตน้ ) ๙. พงึ รปู้ ระมาณในการบรโิ ภคอาหาร ๑๐. พงึ ประกอบความเปน็ ผตู้ นื่ (ไมเ่ ห็นแกน่ อน) ๑๑. พงึ ลงมือท�ำความเพียร ๑๒. พึงมสี ตติ ้ังม่นั ๑๓. พึงมจี ิตต้งั ม่ัน ๑๔. พงึ มปี ัญญา ๑๕. พงึ ประกอบความเพียรในอภิธรรม อภิวินยั เพอ่ื สามารถตอบชแ้ี จงไดเ้ ม่ือมผี ้ถู าม ๑๖. พึงประกอบความเพียรในวิโมกข์อันสงบระงับ อันมิใช่รูป ก้าวล่วงรูป เพื่อ สามารถตอบชีแ้ จงได้เม่ือมผี ถู้ าม ๑๗. พงึ ประกอบความเพยี รในอตุ ตรมิ นสุ สธรรม (ธรรมอนั ยงิ่ ของมนษุ ย)์ เพอ่ื สามารถ ตอบชแ้ี จงไดเ้ ม่อื มผี ูถ้ าม ๑ เพื่อไม่ละเมิดสกิ ขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจติ ติยกณั ฑ์ ดูหนา้ ๒๕๓ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 620 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค 621 พระมหาโมคคัลลานะถามว่า ภิกษุผู้อยู่ป่าเท่านั้นหรือจึงควรประพฤติ หรือว่าแม้ ัมช ิฌม ินกาย ภิกษุผู้อยู่ชายบ้าน (เขตรอบ ๆ หมู่บ้าน) ก็ควรประพฤติด้วย พระสาริบุตรตอบว่า แม้ภิกษุ ผ้อู ยปู่ ่ายงั ควรประพฤติ จงึ ไมจ่ ำ� เปน็ ต้องกล่าวว่า ภิกษุผู้อยชู่ ายบา้ นจะไม่ควรประพฤติ ๒๐. กีฏาคิริสูตร (สตู รว่าด้วยเหตุการณท์ เี่ กดิ ข้ึนในนคิ มชอ่ื กฏี าคิริ) ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นกาสี พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ตรัสสอนภิกษุทั้งหลายเรื่องการเว้นบริโภคอาหารในเวลากลางคืนว่า ท�ำให้มีอาพาธน้อย มีโรคน้อย เบาสบาย มีก�ำลัง อยู่เป็นผาสุก เมื่อเสด็จไปโดยล�ำดับก็เสด็จแวะพัก ณ นิคม ชอื่ กฎี าคริ ิ ภกิ ษพุ วกพระอสั สช๑ิ และพระปนุ พั พสกุ ะเปน็ ภกิ ษเุ จา้ ถนิ่ อยใู่ นกฎี าคริ นิ คิ ม กลบั พดู ในทางตรงกนั ขา้ ม คอื กลา่ ววา่ พวกตนฉนั อาหารในเวลาเยน็ เวลาเชา้ เวลาวกิ าล กลางวนั กร็ สู้ กึ วา่ มอี าพาธนอ้ ย มีโรคนอ้ ย เป็นตน้ ๒. พระผู้มีพระภาคทรงทราบ ตรัสส่ังให้เรียกภิกษุพวกน้ันมาเฝ้า ตรัสถามได้ความ ตามจริงแล้วจึงตรัสถามว่า พวกเธอรู้หรือไม่ถึงธรรมที่เราแสดงแล้วว่า อกุศลธรรมย่อมเสื่อม กุศลธรรมย่อมเจริญแก่บุคคลผู้เสวยสุข หรือทุกข์ หรือไม่ทุกข์ไม่สุข อย่างไรกัน กราบทูลว่า ไม่รู้ ตรัสถามต่อไปอีกว่า รู้หรือไม่ว่า อกุศลธรรมและกุศลธรรมเจริญหรือเสื่อมแก่บุคคลผู้ เสวยเวทนาอะไรทีละข้อ กก็ ราบทลู ตอบวา่ ไม่รู้ จงึ ตรสั อธิบายโดยพิสดารทลี ะข้อ โดยใจความ ว่า ทรงทราบแล้วถึงเร่ืองเหล่าน้ี จึงทรงแนะน�ำให้เข้าถึงสุขเวทนาบ้าง ทุกขเวทนาบ้าง อทุกขมสขุ เวทนาบ้าง ตามความเหมาะสม ๓. ทรงช้ีแจงต่อไปว่า ไม่ตรัสสอนให้ภิกษุทุกรูปกระท�ำการด้วยความไม่ประมาท แต่ก็ไม่ตรัสสอนให้ภิกษุทุกรูปกระท�ำด้วยความประมาท ภิกษุเหล่าใดเป็นพระอรหันต์ ส้ิน อาสวะ ท�ำหน้าท่ีเสร็จแล้ว เราย่อมสอนภิกษุเหล่าน้ันให้ท�ำการด้วยความไม่ประมาทก็หาไม่ เพราะเธอท�ำการด้วยความไม่ประมาทอยู่แล้ว เธอเป็นผู้ไม่ควรที่จะประมาท ส่วนภิกษุเหล่าใด ยังต้องศึกษา ยังไม่บรรลุอรหัตตผล เราย่อมสอนภิกษุเหล่าน้ันให้ท�ำการด้วยความไม่ ประมาท เพราะคิดว่า เธอเหลา่ นี้เสพเสนาสนะอนั สมควร คบกัลยาณมติ รแลว้ กอ็ าจท�ำให้แจ้ง ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ได้ในปัจจุบัน เราเห็นผลแห่งความไม่ประมาทของภิกษุเหล่านี้ จึงสอน ใหท้ �ำการดว้ ยความไม่ประมาท ๑ พระอสั สชิ รปู น้ี มใิ ชร่ ูปท่ีเปน็ อาจารย์พระสาริบุตร - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 621 5/4/18 2:25 PM
622 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๔. ตรัสอธิบายถึงบุคคล (ผไู้ ดบ้ รรลคุ ุณธรรม) ๗ ประเภท พร้อมทั้งแจกรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) อภุ โตภาควมิ ตุ ผพู้ น้ โดยสว่ นทงั้ สอง (อรรถกถาอธบิ ายวา่ พน้ จากรปู กายดว้ ย อรปู สมาบตั ิ พน้ จากนามกายดว้ ยมรรค) ไดแ้ กผ่ ู้ ถกู ตอ้ ง วโิ มกขอ์ นั สงบระงบั ด้วยกาย (คือนามกาย) สิ้นอาสวะเพราะเหน็ ดว้ ยปญั ญา๑ (๒) ปญั ญาวมิ ตุ ผพู้ น้ ดว้ ยปญั ญา ไดแ้ กผ่ ู้ ไมไ่ ดถ้ กู ตอ้ ง วโิ มกขอ์ นั สงบระงบั ดว้ ย นามกาย สนิ้ อาสวะเพราะเหน็ ดว้ ยปัญญา๒ ทงั้ สองประเภทนไ้ี มต่ อ้ งทรงสอนใหท้ ำ� การดว้ ยความไมป่ ระมาท เพราะทำ� การ ด้วยความไม่ประมาทอยู่แล้ว (คือเป็นพระอรหันต์อยู่แล้ว ไม่เป็นไปได้ที่จะ ประมาทอีก) (๓) กายสกั ขี ผ้ถู ูกต้องผัสสะแห่งฌานกอ่ นแลว้ จึงทำ� ใหแ้ จ้งนิพพานในภายหลัง ไดแ้ กผ่ ถู้ กู ตอ้ งวโิ มกขอ์ นั สงบระงบั ดว้ ยนามกาย แตส่ นิ้ อาสวะเพยี งบางสว่ น๓ (๔) ทฏิ ฐปิ ตั ตะ ผบู้ รรลเุ พราะเหน็ ธรรมดว้ ยปญั ญา ไดแ้ กผ่ มู้ ไิ ดถ้ กู ตอ้ งวโิ มกขอ์ นั สงบระงับ ด้วยนามกาย ส้ินอาสวะเพียงบางส่วน เห็นธรรมท่ีตถาคตแสดง แล้วอยา่ งแจม่ แจง้ ดว้ ยปญั ญา๔ (๕) สัทธาวิมุต ผู้พ้นเพราะศรัทธา ได้แก่ผู้มิได้ถูกต้องวิโมกข์อันสงบระงับด้วย นามกาย สนิ้ อาสวะเพยี งบางส่วน มีศรทั ธาต้ังมนั่ ในตถาคต๕ (๖) ธัมมานุสารี ผู้แล่นไปตามธรรมะ ได้แก่ผู้มิได้ถูกต้องวิโมกข์อันสงบระงับ ด้วยนามกาย สิ้นอาสวะเพียงบางส่วน เพ่งพอประมาณซ่ึงธรรมะท่ีตถาคต แสดงแลว้ ดว้ ยปญั ญา๖ (๗) สทั ธานสุ ารี ผแู้ ลน่ ไปตามศรทั ธา ไดแ้ กผ่ มู้ ไิ ดถ้ กู ตอ้ งวโิ มกขอ์ นั สงบระงบั ดว้ ย นามกาย มศี รทั ธามีความรกั ในตถาคต ๑ ได้แก่พระอรหันต์ ๕ ประเภท คือ ๔ ประเภทที่ออกจากอรูปสมาบัติ ๔ แต่ละข้อ แล้วพิจารณาสังขารบรรลุ ๒ อรหตั ตผล กบั พระอนาคามีท่บี รรลอุ รหตั ตผล จึงรวมเปน็ ๕ ประเภท แล้วได้บรรลุอรหัตตผลอีก ๔ จึงรวมเป็น ได้แก่พระอรหันต์ ๕ ประเภท คือ สุขวิปัสสก ๑ ผู้ออกจากฌาน ๔ ๓๔๕๖ ๕ ประเภท ไดแ้ กผ่ ้ตู ง้ั อยใู่ นโสดาปตั ตผิ ลจนถึงอรหัตตมรรค รวม ๖ ประเภท ไดแ้ กพ่ ระอริยบุคคล ๖ ประเภท เชน่ เดียวกบั กายสกั ขี ไดแ้ ก่พระอรยิ บุคคล ๖ ประเภท เช่นเดยี วกับกายสักขี ธมั มานุสารี และสทั ธานสุ ารี (ข้อ ๖ - ๗) ไดแ้ กพ่ ระอริยบคุ คลผู้ต้งั อยู่ในโสดาปตั ตมิ รรค PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 622 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ภิกขุวรรค 623 ต้ังแต่กายสักขีถึงสัทธานุสารี รวม ๕ ประเภท เป็นพระอริยบุคคลท่ียังไม่ถึงขั้น ัมช ิฌม ินกาย พระอรหันต์ พระผู้มีพระภาคยังทรงสอนให้ท�ำการด้วยความไม่ประมาท เพราะทรงเห็นผล ของความไมป่ ระมาท (หมายเหตุ : พระอริยบุคคล ๗ ประเภทน้ี ก�ำหนดด้วยคุณสมบัติพิเศษทางจิตใจ ท่ีต่างกันเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ มีอธิบายไว้พิสดารในคัมภีร์วิสุทธิมรรค และอรรถกถาท่ัวไป ในท่ีน้จี ึงแสดงไว้พอรจู้ ักชอ่ื และคุณสมบตั ติ ามควร) ๕. คร้ันแล้วตรัสว่า พระองค์มิได้ตรัสว่า จะตั้งอยู่ในอรหัตตผลได้ในช้ันแรกทีเดียว แตจ่ ะตง้ั อยใู่ นอรหตั ตผลไดด้ ว้ ยการศกึ ษาโดยลำ� ดบั การกระทำ� โดยลำ� ดบั การปฏบิ ตั โิ ดยลำ� ดบั แล้วตรัสอธิบายว่า บุคคลมีศรัทธาแล้ว ก็เข้าไปหา น่ังใกล้ เง่ียโสตสดับธรรม แล้วทรงจ�ำไว้ พิจารณาเนอื้ ความ ธรรมะยอ่ มทนตอ่ การเพ่ง ครนั้ แล้วกเ็ กิดฉันทะอตุ สาหะ ความช่งั ใจ การตง้ั ความเพยี ร ครนั้ แลว้ ยอ่ มทำ� ใหแ้ จง้ บรมสจั จะดว้ ยนามกาย ยอ่ มแทงทะลุ เหน็ แจง้ บรมสจั จะนนั้ ด้วยปัญญา ถ้าไม่มีศรัทธาก็ไม่มีข้ออื่น ๆ มีการเข้าไปหาเป็นต้น ท่านท้ังหลาย (หมายถึงภิกษุ พวกพระอัสสชิ๑ และพระปุนัพพสุกะที่ประพฤติไม่ดีเหล่าน้ัน) ปฏิบัติพลาด ปฏิบัติผิดแล้ว โมฆบุรุษเหล่าน้หี ลกี หา่ งไปจากพระธรรมวนิ ัยนี้ (ไมร่ ้วู า่ ) ไกลสกั เพียงไร ๖. ตรสั ตอ่ ไปว่า มีค�ำเวยยากรณ์ (คำ� ร้อยแก้วหรือค�ำชแี้ จง) อันมีบท ๔ (อริยสัจจ์ ๔) วิญญูบุรุษพึงรู้ได้ไม่นานด้วยปัญญา ซ่ึงเนื้อความแห่งธรรมใดท่ีเรายกขึ้นแสดงแล้ว เราจัก แสดงธรรมน้ันแก่ท่าน ท่านทั้งหลายจักรู้ธรรมะนั้นได้ ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลถามว่า พวกตน กับผู้รู้ธรรมเป็นอย่างไรกัน ตรัสตอบว่า ศาสดาใดหนักในอามิส อยู่อย่างคลุกคลีด้วยอามิส ศาสดาน้ันย่อมไม่มีราคาท่ีจะพึงประเมินหรือต่อรอง (ส�ำนวนการค้า หมายความว่าไม่มีใคร ถามราคา ตั้งราคาหรือต่อรองราคา เพราะไม่มีราคาที่ควรสนใจ) แล้วตรัสถึงพระตถาคตว่า ไมท่ รงคลุกคลีดว้ ยอามิสด้วยประการท้ังปวง สาวกผมู้ ศี รทั ธา สอบสวน๒ แล้วปฏบิ ตั ิตาม (๑) ย่อมรสู้ ึกวา่ พระผมู้ พี ระภาคเป็นศาสดา ตนเป็นสาวก (๒) ยอ่ มรูส้ กึ ว่า ศาสนาของพระศาสดางอกงาม มีโอชะ (น่าเลือ่ มใส) (๓) ยอ่ มรูส้ กึ พากเพียรเพอ่ื บรรลจุ ดุ ท่มี งุ่ หมายโดยไม่หยดุ ความเพียร (๔) ย่อมหวงั ผลได้อย่างใดอยา่ งหน่ึงในสองอยา่ ง คอื อรหตั ตผลในปจั จุบัน ถ้ามี กิเลสยังเหลอื ก็จะได้เปน็ พระอนาคามี ๑๒ พระอัสสชิ รปู นี้ มิใชร่ ปู ที่เป็นอาจารย์พระสาริบุตร - ม.พ.ป. นยิ มให้สอบสวนหาความจริงกอ่ น ค�ำว่า สอบสวนนี้ แสดงวา่ ทางพระพทุ ธศาสนาไม่นิยมใหม้ ศี รัทธาอย่างงมงาย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 623 5/4/18 2:25 PM
624 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ปรพิ พาชกวรรค คอื วรรคทว่ี า่ ดว้ ยปรพิ พาชกหรอื นกั บวชนอกพระพทุ ธศาสนาประเภทหนงึ่ มี ๑๐ สตู ร ๒๑. จฬู วจั ฉโคตตสูตร (สตู รว่าดว้ ยวัจฉโคตตปริพพาชก สูตรเล็ก) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ศาลาเรือนยอด ในป่าใหญ่ ใกล้กรุงเวสาลี เสด็จไป บิณฑบาตในเวลาเช้า แวะสนทนากับวัจฉโคตตปริพพาชก ณ อารามของปริพพาชกชื่อ เอกปุณฑรีกะ วัจฉโคตตปริพพาชกทูลเชิญให้ประทับ ณ อาสนะ ตนเองถือเอาอาสนะต่�ำกว่า แล้วทูลถามว่า มีผู้พูดกันว่า พระสมณโคดมเป็นสัพพัญญู รู้สิ่งท้ังปวง เห็นสิ่งท้ังปวง มี ญาณทัสนะปรากฏสมบูรณ์ทุกอิริยาบถดังน้ี จะเป็นการกล่าวตู่หรือไม่ ตรัสตอบว่า ไม่เป็น การกลา่ วตู่ ๒. ตรสั ตอ่ ไปวา่ ผกู้ ลา่ ววา่ พระสมณโคดมรวู้ ชิ ชา ๓ กก็ ลา่ วได้ เพราะพระองคท์ รงได้ (๑) ปพุ เพนวิ าสานุสสตญิ าณ (ญาณระลกึ ชาติได)้ (๒) จตุ ปู ปาตญาณ (ญาณเหน็ ความตายความเกดิ หรือท่เี รียกวา่ ทิพยจักษุ) (๓) อาสวกั ขยญาณ (ญาณอนั ท�ำอาสวะให้สิน้ ) ๓. วัจฉโคตตปรพิ พาชกทลู ถามอีกเปน็ ข้อ ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี คอื (๑) คฤหัสถ์ยังไม่ละกิเลสเคร่ืองร้อยรัดของคฤหัสถ์ ตายไปจะท�ำท่ีสุดทุกข์ได้ มหี รือไม่ ตรัสตอบวา่ ไม่มี (๒) คฤหัสถ์ยังไม่ละกิเลสเคร่ืองร้อยรัดของคฤหัสถ์ ตายไปจะเข้าถึงสวรรค์ มีหรือไม่ ตรัสตอบว่า มี มิใช่หน่ึง มิใช่ร้อย สองร้อย สามร้อย ส่ีร้อย หรือ หา้ ร้อย แตโ่ ดยท่ีแท้ มีมากกว่านัน้ ท่คี ฤหสั ถย์ ังไม่ละกเิ ลสเคร่อื งรอ้ ยรดั ของ คฤหัสถ์ ตายไปเข้าถึงสวรรค์ได้ (๓) อาชีวก (นักบวชนอกศาสนาประเภทหน่ึง) ตายไปจะท�ำท่ีสุดทุกข์ได้ มหี รอื ไม่ ตรัสตอบว่า ไม่มี (๔) อาชีวกตายไปจะเข้าถึงสวรรค์มีหรือไม่ ตรัสตอบว่า เท่าที่ทรงระลึกได้ ๙๐ กัปป์ ยังไม่ทรงเห็นอาชีวกเข้าถึงสวรรค์เลย เว้นแต่อาชีวกพวกหน่ึงท่ีเป็น กมั มวาที (กลา่ ววา่ ทำ� ดไี ดด้ ี ทำ� ชวั่ ไดช้ ว่ั ) และกริ ยิ วาที (กลา่ ววา่ ทำ� เปน็ อนั ทำ� )๑ ๑ ขอ้ น้วี ่าโดยเหตุผลทางสามัญส�ำนกึ ก็พอจะเหน็ ได้ว่า พวกที่สอนให้คนอื่นไมส่ นใจในความดคี วามชวั่ เพราะถอื ว่า ไม่เป็นอันท�ำและไม่ให้ผลดีชั่ว ก็เท่ากับชักชวนในทางผิด ท�ำให้เสียศีลธรรม คนเช่นนี้จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ได้ อยา่ งไร PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 624 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค 625 ๒๒. อคั ควิ ัจฉโคตตสูตร ัมช ิฌม ินกาย (สตู รว่าด้วยวจั ฉโคตตปรพิ พาชกผฟู้ ังข้อเปรยี บเทียบเรอ่ื งไฟ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม วัจฉโคตตปริพพาชกเข้าไปเฝ้าทูลถามถึง ทิฏฐิ ๑๐ มีโลกเที่ยง โลกไม่เท่ียง เป็นต้น ว่าทรงเห็นอย่างน้ันหรือไม่ ตรัสตอบปฏิเสธว่า มิได้ทรงเห็นอย่างน้ัน วัจฉโคตตปริพพาชกจึงทูลถามว่า ทรงเห็นโทษอะไรจึงไม่ทรงเข้าไป ติดทิฏฐิเหล่าน้ีด้วยประการท้ังปวง ตรัสตอบว่า เป็นเหมือนป่า เหมือนเคร่ืองผูกมัด เป็นต้น ซึ่งก่อทุกข์ให้ ทั้งไม่เป็นไปเพ่ือเบื่อหน่ายคลายก�ำหนัดเพื่อความตรัสรู้ เพ่ือนิพพาน ตถาคต น�ำออกซ่ึงค�ำว่า ทิฏฐิ เพราะตถาคตเห็นความเกิดขึ้น ความดับไปของขันธ์ ๕ (มีรูป เป็นต้น) จึงหลุดพ้นอย่างไม่ถือมั่น เพราะสิ้นความยึดถือ ส้ินความคิดว่าเรา ความคิดของเราและกิเลส ประเภทแฝงตัว คือความถือตวั เพราะคลายก�ำหนดั ดบั ได้ สละได้ สลัดได้ (ซึ่งกิเลสเหลา่ นั้น) ๒. วจั ฉโคตตปรพิ พาชกทูลถามเป็นขอ้ ๆ ว่า (๑) ภกิ ษผุ มู้ จี ิตหลดุ พ้นอยา่ งน้ี จะเกดิ ในท่ีไหน ตรัสตอบวา่ ไม่มีคำ� วา่ ”เกดิ „ (๒) ถา้ อย่างนน้ั ”ไม่เกดิ „ ใชห่ รือไม่ ตรัสตอบว่า ไมม่ ีคำ� วา่ ”ไม่เกิด„ (๓) ถ้าอย่างนั้น ”เกิดด้วย ไม่เกิดด้วย„ ใช่หรือไม่ ตรัสตอบว่า ไม่มีค�ำว่า ”เกดิ ด้วย ไมเ่ กิดด้วย„ (๔) ถ้าอยา่ งน้นั ”เกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช„่ ใชห่ รอื ไม่ ตรัสตอบปฏิเสธอีก ๓. เม่ือทูลถามถึงเหตุผลท่ีตรัสตอบปฏิเสธ และแสดงความรู้สึกครั้งแรกก็เลื่อมใส แต่บัดนี้หมดความเล่ือมใสเสียแล้ว พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า ธรรมะน้ีลึกซึ้ง ยากท่ีท่านผู้มี ความเหน็ อยา่ งอนื่ มคี วามพอใจอยา่ งอนื่ มคี วามเพยี รทางอนื่ มอี าจารยอ์ น่ื จะรไู้ ด้ เราจะขอถาม ใหท้ า่ นตอบ คอื (๑) ถา้ ไฟลกุ โพลงอยู่เบอ้ื งหนา้ ท่าน ทา่ นรหู้ รือไม่ ทลู ตอบว่า รู้ (๒) ไฟลกุ โพลงเพราะอาศยั อะไร ทูลตอบว่า เพราะอาศัยเช้ือคือหญ้าและไม้ (๓) ถา้ ไฟดับเบื้องหน้าท่าน ท่านรู้หรอื ไม่ ทลู ตอบว่า รู้ (๔) ไฟไปทางทิศไหน ทูลตอบว่า ไม่มีค�ำตอบ เพราะไฟน้ันลุกโพลงข้ึนเพราะ อาศัยเชื้อ เพราะหมดเช้ือและไม่เติมเช้ืออ่ืนอีก ก็ไม่มี ”อาหาร„ นับได้ว่า ”ดบั แล้ว„ จึงตรัสว่า ตถาคตก็ฉันนั้น ละขันธ์ ๕ ท�ำไม่ให้มีการเกิดอีกแล้ว ก็พ้นจากการนับว่า เป็นขันธ์ ๕ เป็นผู้ลึกซึ้ง นับไม่ได้ หย่ังไม่ได้ เปรียบเหมือนมหาสมุทรไม่มีค�ำว่า เกิดหรือ ไม่เกดิ เปน็ ต้น PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 625 5/4/18 2:25 PM
626 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ วัจฉโคตตปริพพาชกกราบทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนาว่า มีแก่นสาร และแสดง ตนเปน็ อบุ าสกถงึ พระรัตนตรยั เป็นสรณะตลอดชวี ติ ๒๓. มหาวจั ฉโคตตสตู ร (สูตรว่าด้วยวจั ฉโคตตปรพิ พาชก สตู รใหญ)่ ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เวฬุวนาราม ใกล้กรุงราชคฤห์ วัจฉโคตตปริพพาชก เขา้ ไปเฝ้า ขอใหท้ รงแสดงกุศลและอกศุ ลโดยย่อ ซ่งึ ไดต้ รสั แสดงดงั นี้ (๑) ธรรมอนั เป็นอกศุ ล ๓ คือความโลภ ความคดิ ประทุษรา้ ย ความหลง (๒) ธรรมอันเป็นกุศล ๓ อย่าง คือความไม่โลภ ความไม่คิดประทุษร้าย ความ ไมห่ ลง (๓) ธรรมอันเป็นอกุศล ๑๐ อย่าง คือฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดปด พดู สอ่ เสียด (ยใุ หเ้ ขาแตกร้าวกัน) พดู ค�ำหยาบ พดู เพ้อเจอ้ อยากได้ ของเขา ปองรา้ ยเขา เห็นผดิ (จากคลองธรรม) (๔) ธรรมอันเป็นกุศล ๑๐ อยา่ ง คือทต่ี รงกนั ข้ามกบั อกศุ ล ๑๐ อยา่ ง ภกิ ษลุ ะตณั หาไดเ้ ดด็ ขาด ยอ่ มเปน็ พระอรหนั ต์ สน้ิ อาสวะ หลดุ พน้ เพราะรโู้ ดยชอบ ๒. ปริพพาชกทูลถามว่า ภิกษุสาวกของพระโคดมมีสักรูปหนึ่งหรือไม่ ท่ีท�ำให้แจ้ง เจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะอยู่ในปัจจุบัน (เป็นพระอรหันต์) ตรัสตอบว่า มีมิใช่น้อย กว่า ๕๐๐ รูป เมื่อทูลถามถึงนางภิกษุณีผู้เป็นสาวิกา ที่เป็นพระอรหันต์เช่นนั้น ก็ตรัสตอบว่า มีมากกว่า ๕๐๐ เช่นเดียวกัน ต่อจากน้ันทูลถามถึงอุบาสกอุบาสิกาผู้ละสัญโญชน์ ๕ ได้ (เป็น พระอนาคามี) และผู้ปราศจากความสงสัย ไม่ต้องอาศัยผู้อื่นเป็นปัจจัยอยู่ในสัตถุศาสนา (เปน็ พระโสดาบัน) ว่ามสี กั ผู้หน่ึงหรือไม่ ตรสั ตอบวา่ มมี ากกวา่ ๕๐๐ ๓. ปริพพาชกทูลว่า ถ้าได้บรรลุธรรมนั้นเพียงพระสมณโคดม แต่ยังขาดสาวก สาวิกา ท่ีเป็นภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ผู้ได้บรรลุธรรมนั้น พรหมจรรย์ก็ยังช่ือว่าไม่ บริบูรณ์ด้วยองค์น้ัน (ท่ียังขาด) แต่นี่บรรลุธรรมนั้นทุกฝ่ายแล้ว พรหมจรรย์จึงช่ือว่าบริบูรณ์ ด้วยองค์นั้น แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ขอถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต พร้อมทั้งขอบรรพชาอุปสมบท เมื่อทราบว่านักบวชศาสนาอ่ืนจะต้องอบรมก่อนถึง ๔ เดือน ก็แสดงความพอใจจะอบรมถึง ๔ ป๑ี ๑ ในกรณีท่ีทรงพิจารณาเห็นเหมาะสมเป็นพิเศษเฉพาะรายก็ทรงยกเว้นให้ไม่ต้องอบรม ท้ังนี้เป็นไปตามจริตอัธยาศัย ของบุคคลเปน็ ราย ๆ ไป PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 626 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค 627 ๔. เมื่ออุปสมบทแล้วได้ก่ึงเดือน ภิกษุวัจฉโคตตก็เข้าไปเฝ้ากราบทูลว่า ท่านได้ ัมช ิฌม ินกาย บรรลุธรรมที่พึงบรรลุด้วยญาณ ด้วยวิชชาของพระเสขะหมดส้ินแล้ว (เป็นพระอริยบุคคล ผ่านมาทุกชั้นแล้ว เพียงแต่ยังมิได้เป็นพระอรหันต์) ขอให้ทรงแสดงธรรมให้ยิ่งข้ึนไป จึงทรง แสดงธรรม ๒ อยา่ ง คอื สมถะ (การทำ� ใจให้สงบ) และวปิ ัสสนา (การเหน็ แจม่ แจง้ ) และตรสั วา่ ธรรม ๒ อยา่ งนี้ ย่อมเปน็ ไปเพือ่ แทงทะลธุ าตเุ ปน็ อเนก ๕. ครั้นแล้วทรงแสดงว่า ภิกษุวัจฉโคตตปรารถนาจะท�ำอะไร ก็ท�ำได้ในความ สามารถทาง (๑) อิทธิวธิ ิ แสดงฤทธ์ไิ ด้ (๒) ทพิ ยโสต หูทิพย์ (๓) เจโตปรยิ ญาณ (ญาณก�ำหนดรู้ใจของผ้อู ื่น) (๔) ปุพเพนวิ าสานสุ สติญาณ (ญาณระลึกชาตไิ ด้) (๕) จตุ ปู ปาตญาณ (ญาณรู้ความตายความเกิด) หรือทพิ ยจกั ษุ (ตาทพิ ย์) (๖) อาสวักขยญาน (ญาณอนั ท�ำอาสวะให้ส้ิน) ภิกษุวัจฉโคตตกราบลาหลีกไปบ�ำเพ็ญเพียร ในไม่ช้าก็ได้ส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์ เมื่อ ภิกษุท้ังหลายจะไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค ทา่ นจึงฝากไปกราบนมสั การ ซึ่งพระผมู้ พี ระภาคก็ตรัส สรรเสรญิ ให้ภกิ ษุท้ังหลายฟังวา่ ทา่ นเป็นผู้มวี ิชชา ๓ มฤี ทธิ์ มีอานภุ าพมาก ๒๔. ทีฆนขสูตร (สูตรว่าดว้ ยปรพิ พาชกชื่อทฆี นขะ) ๑. พระผมู้ พี ระภาคประทบั ณ ถำ้� สกู รขาตา (ถำ�้ สกุ รขดุ ) เขาคชิ ฌกฏู ใกลก้ รงุ ราชคฤห์ ปรพิ พาชก ช่ือทฆี นขะ (ไวเ้ ล็บยาว) มาเฝ้า แสดงความเหน็ ว่า ทกุ อยา่ งไม่ควรแก่ตน๑ ตรสั ตอบ วา่ ถา้ อยา่ งนนั้ ความเห็นนนั้ กไ็ มค่ วรแกท่ า่ นด้วย ทลู ต่อไปว่า ตนชอบใจความเหน็ ทว่ี า่ สิ่งนนั้ เหมอื นกนั หมด๒ ตรสั ตอบวา่ คนทพ่ี ดู อยา่ งน้ี ยงั ไมล่ ะทฏิ ฐนิ นั้ ซำ้� ยงั ไปถอื ทฏิ ฐอิ น่ื อกี ดว้ ย มอี ยู่ มาก แตค่ นทพ่ี ูดอย่างนี้แลว้ ละทฏิ ฐนิ นั้ ไม่ถือทฏิ ฐิอื่น มนี อ้ ยมาก ๒๑ เป็นการพูดกระทบว่า แม้พระผูม้ พี ระภาคกไ็ ม่ควรแก่เขา อะไร ๆ กแ็ คน่ ั้นแหละ หรือราคาเดยี วกัน เพ่ือจะช้วี ่า เมอ่ื พระผูม้ ีพระภาคตรัสตอบเอาจ�ำนน ก็เล่ยี งไปทางอ่นื วา่ อย่านึกว่าใครสูงต�่ำกว่าใคร ปริพพาชกผู้น้ีโกรธเคืองว่า พระผู้มีพระภาคจูงเอาพระสาริบุตร ซ่ึงเป็นลุงของตนมาบวช PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 627 5/4/18 2:25 PM
628 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๒. ครั้นแล้วตรัสแสดงถึงสมณพราหมณ์บางพวกท่ีเห็นว่า ทุกส่ิงควรแก่ตนบ้าง ทุกส่ิงไม่ควรแก่ตนบ้าง เห็นว่า บางอย่างควร บางอย่างไม่ควรบ้าง ฝ่ายท่ีเห็นว่า ทุกส่ิงควร แก่ตน ใกล้ไปทางยินดี ยึดม่ัน ยึดถือ ฝ่ายท่ีเห็นว่าทุกส่ิงไม่ควรแก่ตน ใกล้ไปในทางไม่ยินดี ไม่ยึดม่ัน ไม่ยึดถือ ปริพพาชกจึงกล่าวว่า พระสมณโคดมยกย่องความเห็นของตน พระผู้มี พระภาคจึงตรัสต่อไปว่า ฝ่ายที่เห็นว่า บางอย่างควร บางอย่างไม่ควร ก็ใกล้ไปทางยินดีบ้าง ไม่ยินดีบ้าง เป็นต้น แล้วตรัสต่อไปว่า วิญญูชนย่อมพิจารณาเห็นว่า การยึดถือทิฏฐิเหล่านี้ ย่อมทำ� ใหท้ ะเลาะววิ าทกนั ท�ำให้เบยี ดเบยี นกัน จงึ ละทฏิ ฐิเหล่าน้ัน และไม่ยึดถือทฏิ ฐอิ นื่ ๓. ตรัสสอนว่า ควรพิจารณาเห็นกายน้ีโดยความเป็นของไม่เท่ียง เป็นทุกข์ เป็นโรค เปน็ ต้น จนถงึ ไมใ่ ชต่ ัวตน เมื่อพิจารณาอย่างนี้ กจ็ ะละความพอใจในกายเสียได้ ๔. คร้ันแลว้ ตรสั เรื่องเวทนา ๓ คือ สขุ ทุกข์ ไมท่ ุกขไ์ มส่ ขุ และชีใ้ ห้เหน็ ความไม่เท่ียง อาศัยปัจจัยเกิดข้ึน เป็นต้น ของเวทนาเหล่าน้ัน เม่ือรู้เห็นอย่างนี้ อริยสาวกย่อมเบื่อหน่ายใน เวทนาท้ังสามและเม่ือเบ่ือหน่ายก็คลายกำ� หนัด และหลุดพ้น รู้ว่าหลุดพ้นแล้ว สิ้นชาติ อยู่จบ พรหมจรรย์ ท�ำหนา้ ทีเ่ สร็จแล้ว ฯ ล ฯ ผมู้ จี ติ หลดุ พ้นอยา่ งน้ี ย่อมไมว่ ิวาทกบั ใคร ๆ ส่ิงใดที่เขา พูดกันในโลก กพ็ ดู ตามโวหารนัน้ แตไ่ มย่ ดึ ถือ ๕. พระสาริบุตรน่ังพัดอยู่เบ้ืองพระปฤษฎางค์พระผู้มีพระภาค มีจิตหลุดพ้นจาก อาสวะ ไม่ถือม่ันด้วยอุปาทาน (เป็นพระอรหันต์) ส่วนปริพพาชกชื่อทีฆนขะ ได้ดวงตาเห็น ธรรม (เป็นโสดาบันบุคคล) เม่ือเห็นธรรมแล้ว ปริพพาชกช่ือทีฆนขะกราบทูลสรรเสริญ พระธรรมเทศนา แสดงตนเป็นอบุ าสกถึงพระรตั นตรยั เปน็ สรณะตลอดชวี ิต ๒๕. มาคณั ฑิยสูตร (สตู รวา่ ดว้ ยมาคัณฑยิ ปรพิ พาชก) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เคร่ืองลาดท�ำด้วยหญ้า ในโรงบูชาไฟของพราหมณ์ ภารทวาชโคตร ในนิคมแห่งแคว้นกุรุช่ือกัมมาสธัมมะ ตรัสโต้ตอบกับมาคัณฑิยปริพพาชก ผู้กล่าวหาพระผู้มีพระภาคว่า ทรงก�ำจัดความเจริญ เพราะตรัสสอนให้ส�ำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ๑ ครั้งแรกตรัสถามว่า คนบางคนเคยได้รับบ�ำเรอด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ๑ ลัทธิของมาคัณฑิยปริพพาชกนั้นมีอยู่ว่า ควรเจริญตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ควรเห็น ควรฟัง ควรดม ควรล้ิม ควรถูกตอ้ ง และควรรู้สงิ่ ที่ยงั ไมเ่ คย เมื่อไดเ้ หน็ ไดฟ้ ัง เปน็ ตน้ แล้ว จงึ ควรกา้ วล่วงเสีย เป็นการบญั ญัตคิ วามเจริญ ในเร่ืองของตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 628 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค 629 (สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย) อันน่าปรารถนารักใคร่ชอบใจ แล้วภายหลังรู้ความจริงท้ังฝ่ายเกิด ัมช ิฌม ินกาย ฝ่ายดับ รู้โทษ รู้ความพอใจ รู้การถอนตัวออก จึงบันเทาความทะยานอยากในรูป ความ เร่าร้อนเพราะรูป ปราศจากความระหาย๑ มีจิตสงบระงับในภายในดังน้ี ท่านจะกล่าวถึงผู้น้ีว่า อยา่ งไร ทูลตอบว่า ไม่กล่าวว่าอยา่ งไร ๒. ตรัสเล่าเรื่องพระองค์เองผู้พรั่งพร้อมด้วยกามคุณ ๕ (รูป เสียง เป็นต้น) มี ปราสาท ๓ หลัง ส�ำหรับฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูร้อน พระองค์ได้รับการบ�ำเรอด้วยดนตรี ไม่มี บุรุษเจือปน ไม่ต้องลงช้ันล่างของปราสาทตลอด ๔ เดือนในปราสาทส�ำหรับฤดูฝน สมัยอ่ืน ทรงทราบความจริงเก่ียวกับกามคุณด่ังกล่าวข้างต้น จึงทรงบันเทาความทะยานอยาก เป็นต้น มีจิตสงบระงับภายใน เม่ือทรงเห็นผู้อื่นยังไม่ปราศจากราคะ ถูกความทะยานอยากในกาม บีบคั้น ถูกความเร่าร้อนเพราะกามเผาไหม้ เสพกามอยู่ ก็ไม่ทรงกระหย่ิมยินดีไปตาม เพราะ ทรงยนิ ดีดว้ ยความยินดอี นั อ่ืนจากกามอ่นื จากอกุศลธรรม จงึ ไมท่ รงยนิ ดีต่อสิ่งทีเ่ ลวกวา่ ๓. ตรสั เปรยี บตามทม่ี าคัณฑิยปริพพาชกทลู รับรองว่าเป็นเช่นน้ัน เป็นขอ้ ๆ คือ (๑) คนท่เี คยเพียบพรอ้ มด้วยกามคุณในโลกนี้ ภายหลงั ท�ำความดี ไดไ้ ปเกิดเปน็ เทพชนั้ ดาวดงึ ส์ เพยี บพรอ้ มดว้ ยกามคณุ อนั เปน็ ทพิ ย์ ยอ่ มไมเ่ หน็ กามสขุ ของ มนษุ ย์ดกี ว่า ท่ตี นควรกลับไปหาอีก (๒) คนเป็นโรคเรื้อน ถูกหนอนไช เกาปากแผลด้วยเล็บ ย่างตัวที่หลุมถ่านเพลิง เมอ่ื รกั ษาหายแลว้ ยอ่ มไมก่ ระหยมิ่ ยนิ ดตี อ่ คนเปน็ โรคเรอ้ื นคนอนื่ เพอ่ื ยา่ งตวั ทีห่ ลมุ ถา่ นเพลิงและกินยา (๓) คนเป็นโรคเรื้อน ที่รักษาหายแล้ว ถูกผู้มีก�ำลังกว่าจับแขนให้เข้าไปหาหลุม ถ่านเพลิง จะพยายามเบ่ียงตัวไปทางโน้นทางนี้ เพราะการย่างตัวมีสัมผัส เป็นทุกข์ มีความเร่าร้อนมาก แต่ที่เคยส�ำคัญว่าเป็นสุขในการย่างตัวที่ไฟ กเ็ พราะถูกโรคครอบงำ� (๔) คนเป็นโรคเรื้อน ยิ่งเกาย่ิงย่างตัว ปากแผลก็ไม่สะอาดย่ิงข้ึน มีกล่ินเหม็น ยงิ่ ข้นึ เน่าย่งิ ขึน้ ความเอร็ดอรอ่ ยพอใจ ย่อมมีเพราะเหตคุ ือการเกาปากแผล ความเอรด็ อรอ่ ยพอใจ เพราะอาศยั กามคณุ ๕ กฉ็ นั นั้น ๔. ตรัสถามว่า เคยเห็นพระราชาหรือมหาอ�ำมาตย์ของพระราชาผู้เพียบพร้อมด้วย กามคุณ ไม่ละกามตัณหา แต่มีจิตสงบระงับภายใน ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคตหรือไม่ ทูล ๑ ระหาย หมายความวา่ อยากหรือหิว - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 629 5/4/18 2:25 PM
630 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตอบว่า ไม่เคยเห็น ตรัสว่า แม้พระองค์ก็ไม่ทรงเคยเห็นหรือเคยฟังว่ามีเช่นน้ัน จึงตรัสสรูปว่า ตอ้ งรูค้ วามจรงิ และละกามตณั หาจึงมจี ิตสงบ ระงบั ภายในอยู่ แล้วทรงเปลง่ อุทานว่า ลาภมคี วามไม่มีโรคเป็นอย่างยง่ิ พระนพิ พานเปน็ สุขอยา่ งยง่ิ บรรดาหนทางไปสพู่ ระนิพพาน หนทางมอี งค์ ๘ เปน็ ทางอันเกษม มาคัณฑิยปริพพาชกกล่าวว่า ตนเคยได้ยินครูบาอาจารย์ปริพพาชกรุ่นก่อน ๆ กล่าว อย่างน้ีเหมือนกัน จึงตรัสถามความหมายว่า ความไม่มีโรคกับนิพพานเป็นอย่างไร มาคัณฑิย ปริพพาชกเอามือลูบตัวแล้วทูลว่า นี่แหละความไม่มีโรค น่ีแหละนิพพาน ข้าพเจ้าไม่มีโรค มีความสขุ อะไร ๆ ก็ไม่เบียดเบียนในบัดน้ี ๕. ตรัสตอบวา่ คนตาบอดแตก่ �ำเนดิ ไมเ่ คยเหน็ สีต่าง ๆ ไม่เคยเห็นสิ่งราบเรียบและ ไม่สม่�ำเสมอ ไม่เคยเห็นดวงดาว พระจันทร์ พระอาทิตย์ ได้ยินคนตาดีเขาพูดว่า ผ้าสีขาวดี ก็แสวงหาผ้าขาว แต่ถูกคนบางคนหลอกเอาผ้าสกปรกเปื้อนน้�ำมันมาให้ว่า นี่แหละผ้าขาว ก็หลงห่มและช่ืนชมว่าผ้าสะอาด มิใช่เพราะรู้เห็น แต่เพราะเช่ือคนตาดีเขาว่า พวกปริพพาชก ลัทธิอื่นก็ฉันน้ัน ไม่รู้จักความไม่มีโรค ไม่เห็นพระนิพพาน แต่ก็กล่าวคาถาน้ี ที่ว่าลาภมีความ ไม่มีโรคเป็นอย่างยิ่ง พระนิพพานเป็นสุขอย่างย่ิง คาถานี้พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าใน กาลก่อนตรัสไว้ แต่ปัจจุบันน้ี กลายเป็นคาถาของบุถุชนไปโดยล�ำดับ ท่านกล่าวถึงกายน้ีอัน เป็นโรค เป็นฝี แล้วชี้ความไม่มีโรคและนิพพานไปท่ีกายนี้ ก็เพราะท่านไม่มีอริยจักษุ ท่ีจะ รจู้ กั ความไมม่ ีโรค ที่จะเหน็ พระนิพพานได้ ๖. มาคณั ฑยิ ปรพิ พาชกทลู ขอใหท้ รงแสดงธรรมทจี่ ะเปน็ เหตใุ หต้ นรจู้ กั ความไมม่ โี รค เห็นพระนิพพานได้ ก็ทรงแสดงเร่ืองความเกิดความดับแห่งกองทุกข์ อันอาจรู้เห็นได้ด้วย ตนเองโดยการฟังและปฏิบัติธรรม ซึ่งท�ำให้มาคัณฑิยปริพพาชกเลื่อมใสสรรเสริญพระธรรม เทศนา ขอถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ และขอบรรพชาอุปสมบท เมื่อทราบว่าจะต้องอบรม ก่อน ๔ เดือน ก็แสดงความจ�ำนงจะรับการอบรมถึง ๔ ปี และเมื่อได้บรรพชาอุปสมบทแล้ว ไม่นาน บ�ำเพ็ญเพยี รก็ได้ส�ำเรจ็ เป็นพระอรหนั ต์ ๒๖. สนั ทกสูตร (สูตรว่าดว้ ยสนั ทกปริพพาชก) ๑. พระผ้มู พี ระภาคประทับ ณ โฆสติ าราม ใกลก้ รงุ โกสมั พ ี พระอานนทเถระ พรอ้ ม ด้วยภิกษุมากหลายไปสนทนากับสันทกปริพพาชก พร้อมด้วยบริษัท สันทกปริพพาชกน่ังบน อาสนะต�่ำกว่า ขอให้พระอานนท์แสดงธรรมตามคติแห่งอาจารย์ของพระอานนท์ ท่านจึง PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 630 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค 631 แสดงเร่ืองที่พระผู้มีพระภาคตรัสบอกถึงการไม่ประพฤติพรหมจรรย์ ๔ อย่าง การประพฤติ ัมช ิฌม ินกาย พรหมจรรยท์ ี่ไม่น่าพอใจ ๔ อยา่ ง ๒. การไม่ประพฤติพรหมจรรย์ ๔ อยา่ ง คือ (๑) ศาสดาเป็นนัตถิกวาทะ ผู้มีความเห็นว่า ”ไม่มี„ เช่น ไม่มีผลของกรรมดี กรรมชั่ว (๒) ศาสดาเปน็ อกิรยิ วาทะ ผมู้ คี วามเหน็ วา่ ”ไม่เปน็ อันทำ� „ เชน่ ฆา่ สัตว์ก็ไม่เปน็ อนั ฆ่า (๓) ศาสดาเปน็ อเหตกุ วาทะ ผมู้ คี วามเหน็ วา่ ”ไมม่ เี หต„ุ คอื บญุ บาปไมม่ เี หตปุ จั จยั (๔) ศาสดาเป็นผู้มีความเห็นในเร่ือง ”สังสารสุทธิ๑„ คือไม่ว่าพาลหรือบัณฑิต เมอ่ื เวยี นวา่ ยตายเกดิ แลว้ ก็จะทำ� ที่สุดแหง่ ทกุ ข์ได้เหมอื นกนั ศาสดาท้ังส่ีประเภทน้ี วิญญูบุรุษพิจารณาแล้ว ย่อมไม่เลื่อมใสประพฤติพรหมจรรย์ เพราะเห็นว่าเมื่อบุญไม่มี บาปไม่มี เป็นต้น เราไม่ต้องการบวชประพฤติพรหมจรรย์ ก็จะมีคติ เทา่ เทยี มกับศาสดา ๓. สว่ นการประพฤตพิ รหมจรรย์ทไ่ี มน่ า่ พอใจ ๔ อยา่ ง (๑) ศาสดาอ้างว่าตนเองเป็นสัพพัญญู มีญาณทัสสนะสมบูรณ์ แต่ช่วยตัวเอง ไม่ได้ (๒) ศาสดาเป็นคนถือความจริงตามท่ีฟังมา สอนตามที่ฟังมาตามท่ีสืบต่อมา สอนโดยอา้ งต�ำรา (๓) ศาสดาเป็นนกั เดา (๔) ศาสดาเป็นคนโง่ เมอ่ื ถกู ถามกต็ อบซดั ส่ายไปมา วิญญูบุรุษพิจารณาแล้ว รู้ความจริงแล้วก็เบื่อหน่ายหลีกไป จัดเป็นการประพฤติ พรหมจรรย์ที่ไม่น่าพอใจ ที่วิญญูบุรุษไม่อยู่ประพฤติพรหมจรรย์เลย และอยู่ประพฤติก็ไม่ได้ บรรลุธรรมที่ถกู ตอ้ งที่เปน็ กศุ ล ๔. แล้วพระอานนท์ได้กล่าวถึงการประพฤติพรหมจรรย์ท่ีได้ผล คือที่ผู้ออกบวช สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ได้บรรลุฌาน ๔ วิชชา ๓ เป็นพรหมจรรย์ที่สาวกจะได้ ๑ ค�ำนีไ้ มม่ ใี นบาลี ขอยืมมาใชจ้ ากขอ้ ความในสูตรอื่น เพอื่ ใหไ้ ดศ้ ัพทเ์ ฉพาะ แม้คำ� ว่า นัตถิกวาทะ เป็นต้น ก็ใชเ้ พ่ือ ใหต้ รงกับเน้อื ความ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 631 5/4/18 2:25 PM
632 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ บรรลุคุณวิเศษอันโอฬาร ซ่ึงวิญญูบุรุษอยู่ประพฤติพรหมจรรย์โดยแท้ และเม่ืออยู่ประพฤติ กไ็ ด้บรรลธุ รรมทถี่ ูกต้องทเี่ ปน็ กุศล ๕. สันทกปริพพาชกกล่าวว่า พระอรหันต์ยังบริโภคกาม พระอานนท์ตอบว่า พระอรหันต์เป็นผู้ไม่ควรท่ีจะประพฤติล่วงฐานะ ๕ คือ ไม่จงใจฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไมเ่ สพเมถนุ ไมพ่ ดู ปดทง้ั ๆ รู้ และไมท่ ำ� การสะสมบรโิ ภคกาม ปรพิ พาชกกลา่ วอกี วา่ พระอรหนั ต์ มีญาณทัสสนะว่า อาสวะของเราสิ้นแล้ว ใช่หรือไม่ พระอานนท์ตอบว่า เหมือนคนมีมือเท้า ขาดอยู่โดยปกติ เม่ือพิจารณาก็รู้ว่ามือเท้าของเราขาดฉันใด แม้พระอรหันต์สิ้นอาสวะแล้ว โดยปกติ เมอ่ื พิจารณากร็ ูว้ ่าอาสวะของเราสิ้นแลว้ ฉันน้ัน ๖. ปริพพาชกถามถึงผู้ท่ีน�ำตนให้พ้นจากทุกข์ได้ว่า มีเท่าไรในพระธรรมวินัยน้ี พระอานนทต์ อบวา่ มมี ากกวา่ ๕๐๐ ปรพิ พาชกกส็ รรเสรญิ พระอานนทว์ า่ แสดงธรรมไมย่ กธรรมะ ของตน ไม่ข่มธรรมะของคนอ่ืน เป็นการแสดงธรรมตามเหตุ๑ แต่ก็มีผู้น�ำตนออกจากทุกข์ ได้มากถึงเพียงนั้น ส่วนอาชีวกที่บัญญัติกันว่า เป็นผู้น�ำตนออกจากทุกข์ได้มีเพียง ๓ คน คือ นันทะ วจั ฉโคตร กิสะ สงั กิจจโคตร และ มักขลิ โคสาละ แลว้ กล่าวกะบริษทั ของตน อนญุ าต ให้ประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณโคดมได้ ส่วนตนเองยากท่ีจะสละลาภสักการะช่ือเสียง ไปได้โดยงา่ ย เม่ือกลา่ วแล้วก็ส่งบรษิ ทั ของตนไปประพฤติพรหมจรรยใ์ นพระผูม้ ีพระภาค ๒๗. มหาสกลุ ทุ ายสิ ูตร (สตู รว่าดว้ ยสกลุ ุทายิปริพพาชก สตู รใหญ)่ ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เวฬุวนาราม ใกล้กรุงราชคฤห์ คร้ังน้ันปริพพาชก ที่มีชื่อเสียง อาศัยอยู่ในปริพพาชการาม อันเป็นที่ให้เหยื่อแก่นกยูง หลายคนด้วยกัน เช่น อันนภารปริพพาชก วรตรปริพพาชก สกุลุทายิปริพพาชก และปริพพาชกท่ีมีชื่อเสียงอื่น ๆ ในเวลาเช้าพระผู้มีพระภาคเสด็จไปบิณฑบาตในกรุงราชคฤห์ ได้เสด็จแวะ ณ อารามของ ปริพพาชกน้ัน สกุลุทายิปริพพาชกทูลเชิญให้ประทับ ณ อาสนะท่ีปูไว้ ตนเองนั่งบนอาสนะ ทต่ี ำ่� กวา่ แลว้ เลา่ ถวายถงึ ขอ้ ความสนทนากนั ของสมณพราหมณล์ ทั ธติ า่ ง ๆ ซงึ่ ประชมุ กนั ในศาลา ฟังความคิดเห็น (ตามศัพท์ กุตูหลศาลา แปลว่า ศาลาต่ืนข่าว แต่อรรถกถาแสดงไปในรูปว่า คนส่วนใหญป่ ระชุมกนั เพือ่ จะฟังวา่ ใครจะพดู อะไร) ในวนั ก่อน ๆ ที่วา่ เป็นลาภของชาวองั คะ ๑ อายตเนว ธมฺมเทสนา อรรถกถามิได้แก้ไว้ แต่ค�ำว่า อายตนะ อรรถกถาอธิบายไว้หลายแห่งว่า ได้แก่ การณะ ดอู รรถกถา ป.ส.ู ๓/๒๒๙ และ ๓/๕๖๖ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 632 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค 633 มคธะ ที่มีสมณพราหมณ์เจ้าหมู่ เจ้าคณะ เป็นคณาจารย์ มีคนรู้จัก มียศ เป็นเจ้าลัทธิ อันคน ัมช ิฌม ินกาย ส่วนมากนับถือกันว่าเป็นผู้ดีงาม จ�ำพรรษาอยู่ในกรุงราชคฤห์ แล้วระบุชื่อครูท้ังหกมี ปูรณกัสสป เป็นต้น มีนิครนถนาฏบุตรเป็นที่สุด และพระสมณโคดม แล้วได้เกิดปัญหาว่า ใน ทา่ นเหล่านี้ ใครเป็นผ้ทู ีส่ าวกสกั การะเคารพบชู าอาศยั อยู่ ๒. แล้วได้ทูลเล่าต่อไปว่า บางคนได้พูดถึงเจ้าลัทธิท้ังหกแต่ละคนว่า สาวกได้ คัดค้านหาว่าปฏิบัติผิด ไม่แสดงความเคารพสักการะ แต่เมื่อกล่าวถึงพระสมณโคดมก็พากัน สรรเสริญว่า ในขณะที่ทรงแสดงธรรม ถ้าสาวกรูปใดไอ ก็จะมีเพื่อนพรหมจารีใช้เข่ากระตุ้น ไม่ให้ท�ำเสียง จึงไม่มีเสียงจามเสียงไอจากสาวกของพระสมณโคดมในขณะท่ีทรงแสดงธรรม หมู่มหาชนประสงค์จะฟัง ก็จะได้ฟังตามพอใจ แม้สาวกของพระสมณะโคดมท่ีบอกคืนสิกขา สึกออกไป ก็กล่าวสรรเสริญศาสดา สรรเสริญพระธรรม สรรเสริญพระสงฆ์ เป็นคนท�ำงาน วัดบ้าง เป็นอุบาสกบ้าง สมาทานศึกษาในสิกขาบท ๕ (ศีล ๕) พระสมณโคดมจึงเป็นผู้อัน สาวกสักการะเคารพนบั ถอื บชู า อาศยั อยู่อยา่ งน้ี ๓. ตรัสถามว่า ท่านเห็นว่าสาวกของเราเห็นธรรมก่ีอย่างในเราจึงสักการะเคารพ เป็นต้น สกลุ ทุ ายปิ ริพพาชกทลู วา่ ๕ อย่าง คือพระผมู้ ีพระภาคเปน็ ผู้ (๑) มอี าหารนอ้ ย พรรณนาคณุ แห่งความเป็นผูม้ อี าหารน้อย (๒) ถงึ (๔) (รวม ๓ ข้อ) สันโดษด้วยจีวร (เครื่องนุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) และเสนาสนะ (ท่ีนอนท่ีน่ังหรือที่อยู่อาศัย) ตามมีตามได้ พรรณนาคุณแห่ง ความสันโดษนัน้ ๆ (๕) เปน็ ผู้สงัด พรรณนาคุณแหง่ ความสงัด ๔. ตรัสตอบช้ีแจงถึงธรรม ๕ ประการที่สาวกเห็นแล้วสักการะเคารพ เป็นต้น ใน พระองค์โดยละเอยี ด แล้วตรัสชข้ี ้อธรรมอืน่ อกี ๕ ขอ้ คือ (๑) เหน็ ว่าทรงมีศลี (๒) เห็นว่าทรงแสดงธรรม เพ่ือความรู้ย่ิง มิใช่เพ่ือไม่รู้ยิ่ง มีเหตุ มิใช่ไม่มีเหต ุ มีปาฏหิ ารยิ ์ มใิ ชไ่ ม่มีปาฏิหารยิ ์ (๓) เห็นว่าทรงมีปญั ญา (๔) เห็นว่าทรงตอบปญั หาเรื่องอรยิ สัจจ์ ๔ อย่างน่าพอใจ (๕) เราไดบ้ อกปฏปิ ทาแก่สาวกของเรา สาวกของเราปฏบิ ตั ิตามแล้ว กเ็ จรญิ สตปิ ฏั ฐาน (การตัง้ สติ) ๔ อย่าง สัมมัปปธาน (ความเพยี รชอบ) ๔ อยา่ ง PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 633 5/4/18 2:25 PM
634 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ อทิ ธบิ าท (ธรรมะใหบ้ รรลุความสำ� เรจ็ ) ๔ อยา่ ง อินทรยี ์ (ธรรมะอนั เป็นใหญ่มีศรัทธา เปน็ ตน้ ) ๕ อย่าง พละ (ธรรมะอนั เป็นกำ� ลัง) ๕ อยา่ ง โพชฌงค์ (องคแ์ ห่งปัญญาเคร่ืองตรสั รู้) ๗ อย่าง อริยมรรค (ทางอนั ประเสริฐ) มอี งค์ ๘ วิโมกข์ (ความหลดุ พน้ ) ๘ อย่าง๑ อภิภายตนะ (อายตนะอันเปน็ ใหญ)่ ๘ อยา่ ง (มคี วามสำ� คญั ในรปู ภายในเหน็ รปู ภายนอกครอบงำ� รปู เหลา่ นน้ั รเู้ หน็ เปน็ ตน้ ) กสณิ ายตนะ (อายตนะคือกสิณ๒) ๑๐ อย่าง (มีปฐวีกสิณ คอื กสณิ มีดนิ เปน็ อารมณ์ เป็นต้น) ฌาน ๔ (มีฌานท่ี ๑ เปน็ ต้น) รู้ว่ากายมีรูปไม่เท่ียง มีความแตกดับไปเป็นธรรมดา วิญญาณอาศัยเนื่องกับกายนั้น นิรมิตกายอื่นได้ (มโนยิทธิฤทธิ์ทางใจ) แสดงฤทธิ์ได้ มีหูทิพย์ รู้ใจคนอ่ืน (เจโตปริยญาณ) ระลึกชาติได้ มีตาทิพย์ หรือเห็นความตายความเกิด ได้บรรลุความหลุดพ้นเพราะสมาธิและ เพราะปญั ญา อนั ไมม่ อี าสวะ (ขอ้ ท่ี ๔ นยี้ าวมากเพราะปรารภธรรมะทส่ี าวกเจรญิ และไดบ้ รรลุ หลายอยา่ ง) สกุลุทายิปริพพาชกก็ชื่นชมภาษติ ของพระผมู้ ีพระภาค ๒๘. สมณมุณฑิกสูตร (สูตรวา่ ด้วยปรพิ พาชกผเู้ ปน็ บุตรแหง่ นางสมณะผโู้ กนผม) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ปริพพาชกช่ืออุคคาหมานะ (ผู้เรียนเก่ง เป็นชื่อฉายา ช่ือปกติว่าสุมนะ) ผู้เป็นบุตรแห่งนางสมณะผู้โกนผม อาศัยอยู่ในมัลลิการาม พร้อมด้วยบริษัทบริพพาชกประมาณ ๕๐๐ ช่างไม้ชื่อปัญจังคะไปยังมัลลิการามสนทนา ปราศรัยกัน อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวว่า ตนบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่างว่า เปน็ สมณะ สมบรู ณ์ด้วยกุศล มกี ศุ ลยอดเยยี่ ม บรรลุความเป็นเลศิ ไมม่ ใี ครรบชนะได้ คอื ๒๑ ดคู วามละเอยี ดที่ซ�ำ้ กัน หนา้ ๔๕๔ เพื่อเพ่งท�ำจิตให้เป็นสมาธิ มี ๑๐ คือ ดิน น้�ำ ไฟ ลม สีเขียว สีเหลือง สีแดง ค�ำว่า กสิณ หมายถึงแบบท่ีท�ำขึ้น สีขาว อากาศ วิญญาณ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 634 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค 635 (๑) ไมท่ �ำกรรมชั่วทางกาย (๒) ไม่ท�ำกรรมช่ัวทางวาจา (๓) ไมท่ �ำกรรมชว่ั ทางใจ (๔) ไม่ประกอบอาชีพช่ัว ชา่ งไมช้ ่อื ปญั จังคะได้ฟงั กน็ ำ� มาเลา่ ถวายใหพ้ ระผมู้ พี ระภาคทรงทราบทุกประการ ๒. ตรัสตอบว่า เม่ือเปน็ เช่นน้นั เดก็ เลก็ ๆ ท่ียังนอนหงาย (ในเบาะ) ก็จะเป็นสมณะ สมบูรณ์ด้วยกุศล เป็นต้น ตามค�ำของปริพพาชกน้ัน เพราะเด็กนั้นท�ำความช่ัว ๔ อย่างนั้น ไม่ได้ นอกจากดิ้นรน (ทางกาย) ร้องไห้ (ทางวาจา) แสดงอาการชอบหรือไม่ชอบ๑ (ทางใจ) และนอกจากดื่มนมมารดา (ทางอาชพี ) จงึ เป็นอนั ยังไม่ทรงรับรองถ้อยค�ำของปริพพาชกผนู้ ้นั ๓. ตรสั แสดงธรรมะ ๑๐ ประการท่ที �ำให้เปน็ ผู้สมบูรณ์ดว้ ยกศุ ล เปน็ ตน้ คอื (๑) ควรรู้ศีลอันเป็นอกุศล พร้อมท้ังรู้สมุฏฐาน ควรรู้ความดับ ควรรู้ว่าปฏิบัติ อยา่ งน้ี ช่อื ว่าปฏิบตั ิเพ่อื ดบั ศีลอนั เป็นอกศุ ล (๒) ควรรู้ศีลอันเป็นกุศล ควรรู้สมุฏฐาน ควรรู้ความดับ ควรรู้ว่าปฏิบัติอย่างน้ี ชอื่ ว่าปฏบิ ัตเิ พ่ือดบั ศีลอนั เป็นกศุ ล (๓) ควรรคู้ วามดำ� ริท้งั ฝ่ายอกุศลและฝ่ายกุศลเชน่ เดียวกับศลี ครน้ั แล้วแจกรายละเอียดออกไปว่า ัมช ิฌม ินกาย จิต เป็นสมุฏฐานของศีล สัญญา (ความจ�ำ) เป็นสมุฏฐานของความด�ำริ ความดบั แหง่ ศีลท่เี ปน็ อกุศล คือเวน้ ทจุ จริตทางกาย วาจา ใจ เว้นอาชพี ท่ผี ดิ สำ� เร็จชีวติ ดว้ ยอาชพี ทช่ี อบ ความดบั แหง่ ศลี ท่ีเปน็ กศุ ล คือรู้เจโตวมิ ตุ ิ ปัญญาวมิ ุติ ตามเป็นจรงิ ความดับแห่งความด�ำรอิ นั เป็นอกุศล คือเข้าฌานที่ ๑ ความดบั แหง่ ความด�ำรอิ นั เปน็ กศุ ล คอื เข้าฌานท่ี ๒ ปฏิบตั เิ พือ่ ความดับศีลอนั เปน็ อกศุ ลและกศุ ลก็คอื ตงั้ ความเพยี รชอบ ๔ ประการ (สมั มัปปธาน หนา้ ๓๒๖ เสดจ็ ปา่ มหาวนั ประชมุ ภกิ ษสุ งฆ์) ปฏิบตั ิเพ่ือดบั ความด�ำริอนั เปน็ อกศุ ลและกุศลกค็ ือ ตง้ั ความเพยี รชอบ ๔ ประการ เชน่ เดยี วกนั ๑ วิกุชฺชิตมตฺตา ฝร่งั แปลว่า นอกจากแสดงความโกรธ อรรถกถาอธิบายวา่ นอกจากร้องไห้และหัวเราะ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 635 5/4/18 2:25 PM
636 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๔. ครน้ั แลว้ ทรงแสดงธรรมะ ๑๐ ประการทที่ รงบญั ญตั วิ า่ สมบรู ณด์ ว้ ยกศุ ล เปน็ ตน้ จนถงึ อนั ใครรบชนะไมไ่ ด้ คอื ภกิ ษปุ ระกอบดว้ ยมรรคมอี งค์ ๘ และสมั มาญาณะ (ญาณเหน็ ชอบ) และสัมมาวิมุติ (ความหลุดพน้ ชอบ) อันเปน็ ของพระอเสขะ (พระอรหนั ต)์ ๒๙. จฬู สกุลุทายิสูตร (สูตรวา่ ดว้ ยสกลุ ทุ ายิปรพิ พาชก สตู รเลก็ ) พระผมู้ พี ระภาคประทบั ณ เวฬวุ นาราม ใกลก้ รงุ ราชคฤห์ เชา้ วนั หนงึ่ เสดจ็ ไปบณิ ฑบาต ในกรุงราชคฤห์ ไดเ้ สด็จแวะ ณ อารามของปรพิ พาชก อนั เปน็ ทใี่ หเ้ หยอื่ แกน่ กยูง ตรัสสนทนา กับสกุลุทายิปริพพาชก ถึงเรื่องผู้ปฏิบัติตนว่าเป็นสัพพัญญู (รู้สิ่งท้ังปวง) แต่เมื่อถูกถามเข้า ก็ตอบเล่ียงไปมาและแสดงความโกรธให้ปรากฏ ตลอดจนเรื่องคุณพิเศษมีการระลึกชาติได้ เป็นต้น กับเรื่องวรรณะอันยอดเยี่ยม จนถึงเรื่องข้อปฏิบัติเพ่ือบรรลุโลกที่มีความสุขโดยส่วน เดียว ซึ่งพระผู้มีพระภาคได้ตรัสแสดงข้อปฏิบัติต้ังแต่ต�่ำจนถึงสูง คืออาสวักขยญาณ (ญาณ อนั ท�ำอาสวะให้ส้ิน) เมื่อจบพระธรรมเทศนา สกุลุทายิปริพพาชกทูลสรรเสริญ แสดงตนเป็นผู้ถึงพระ รัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต และขอบรรพชาอุปสมบท แต่บริษัท (ศิษยานุศิษย์) ขอร้องไว้ มิให้ออกบวช ด้วยให้เหตุผลว่า เคยอยู่อย่างเป็นอาจารย์ อย่าไปอยู่อย่างเป็นศิษย์เลย จึงมิได้ ออกบวช ๓๐. เวขณสสตู ร (สูตรว่าด้วยปริพพาชกช่อื เวขณสะ) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ปริพพาชกช่ือเวขณสะเข้าไปเฝ้า ทูลเรื่อง ”วรรณะอันยอดเยี่ยม„ แต่ชี้ไม่ได้ชัดลงไปว่า วรรณะไหน ซึ่งพระผู้มีพระภาคได้ตรัสช้ีแจง ใหเ้ ห็นวา่ มสี ิ่งที่เลิศกว่ากนั เป็นชั้น ๆ รวมทั้งกามสุข สุขในกาม สขุ ทเ่ี ลิศกว่าสขุ ในกาม เม่ือจบธรรมเทศนา เวขณสปริพพาชกทูลสรรเสริญ แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระ รัตนตรัยเปน็ สรณะตลอดชวี ติ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 636 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค 637 ราชวรรค คอื วรรควา่ ดว้ ยพระราชา มี ๑๐ สตู ร ัมช ิฌม ินกาย ๓๑. ฆฏิการสูตร (สูตรว่าด้วยช่างหม้อชื่อฆฏกิ าระ) ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นโกศล พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จ แวะจากทาง ทรงท�ำพระอาการย้ิมแย้มให้ปรากฏ พระอานนท์กราบทูลถามถึงเหตุที่ทรงยิ้ม จึงตรัสเล่าว่า ในท่ีน้ี เคยมีนิคมชื่อเวภฬิคะ ม่ังคั่งรุ่งเรือง มีคนมาก มีมนุษย์เกล่ือนกล่น พระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอาศัยนิคมน้ีอยู่ อารามของพระองค์ต้ังอยู่ ณ ท่ีน้ี พระองค์ ประทับนั่งส่ังสอนภิกษุสงฆ์ในอารามนี้ มีช่างหม้อช่ือฆฏิการะเป็นอุปฐาก (ผู้รับใช้) ท่ีเลิศ ของ พระกัสสปสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ช่างหมอ้ มมี าณพชอ่ื โชติปาละเป็นสหายรกั ๒. ช่างหม้อชื่อฆฏิการะชวนโชติปาลมาณพไปเฝ้าพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้าถึง ๓ คร้ัง มาณพก็ตอบปฏิเสธว่า จะมีประโยชน์อะไรท่ีเห็นสมณะศีรษะโล้นผู้น้ัน จึงเปล่ียนเป็น ชวนให้เอาเชือก๑ (คลุกผงส�ำหรับถูตัว) ไปสู่แม่น�้ำ เพ่ือสนานกาย โชติปาลมาณพก็รับค�ำ เมื่อเห็นมาณพไปสนานกายแล้ว ช่างหม้อช่ือฆฏิการะก็ชวนไปเฝ้าพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้า อีก อ้างว่าอารามอยู่ไม่ไกล โชติปาลมาณพก็คัดค้านเช่นเดิมถึง ๓ คร้ัง ช่างหม้อจึงจับเข็มขัด ของมาณพแล้วชวนอีก มาณพก็คัดค้านอีก คราวนี้ช่างหม้อจับผมชวนอีก โชติปาลมาณพ นึกแปลกใจว่า ตนสนานศีรษะแล้ว ช่างหม้อซ่ึงเป็นคนต่างชาติกัน (ต่างวรรณะ มีวรรณะ ต่�ำกว่า) กลับมาจับผม คงไม่ใช่เร่ืองเล็กน้อย จึงบอกให้ปล่อยผมแล้วชวนกันไปฟังธรรม เม่ือ ฟังธรรมแล้วโชติปาลมาณพออกบวช ส่วนช่างหม้อจ�ำเป็นต้องเล้ียงมารดาบิดาผู้เสียจักษุ และ เปน็ คนชรา จงึ มไิ ดอ้ อกบวช ๓. ต่อมาพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับ ณ ป่าอิสิปตนะ แขวงกรุงพาราณสี พระราชาแห่งแคว้นกาสีพระนามว่า กิกิ เสด็จไปเฝ้า สดับพระธรรมเทศนา มีความเลื่อมใส ทูลเชิญเสด็จเสวย พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ ในวันรุ่งขึ้น และได้ทูลอาราธนาให้ทรงจ�ำพรรษา ตรัส ปฏิเสธ อ้างว่าทรงรับอาราธนาไว้ก่อนแล้ว เม่ือพระราชาทูลถามว่า มีใครจะเป็นอุปฐากยิ่งกว่า พระองค์หรือ จึงตรัสพรรณนาคุณของช่างหม้อชื่อฆฏิการะ ซึ่งมีคุณธรรมและมีความใกล้ชิด ๑ เวลาถูตัวใชม้ อื ดึงชายสองข้าง ตรงกลางโรยฝนุ่ เพื่อใช้ถูตัว PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 637 5/4/18 2:25 PM
638 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ คุ้นเคย พระเจ้ากิกิมีความเล่ือมใส จึงตรัสให้ส่งข้าวสารแห่งข้าวสาลีซ่ึงเกิดในดินเหลือง ๕๐๐ หาบ๑ พร้อมทั้งกับข้าวพอสมควรแก่ข้าวสารน้ันไปพระราชทาน แต่ช่างหม้อไม่รับ ส่ังให้ ถวายคืน ตรัสสรูปแก่พระอานนทว์ ่า พระองค์เองเปน็ โชติปาลมาณพในสมัยน้นั (หมายเหตุ : การที่ช่างหม้อฆฏิการะไม่รับข้าวสาลีและกับอันมากมายนั้น เห็นว่า ท�ำได้โดยไม่ผิด เพราะช่างหม้อเป็นชาวโกศล พระราชาเป็นชาวกาสี ไม่ได้อยู่ในปกครองหรือ เปน็ ผูป้ กครองกนั ถา้ อยแู่ คว้นเดยี วกันคงจะถือเป็นความผดิ ได)้ ๓๒. รฏั ฐปาลสตู ร (สตู รวา่ ด้วยกลุ บุตรชือ่ รฏั ฐปาละ) ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นกุรุ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จ แวะพัก ณ นิคมแห่งแคว้นกุรุ ช่ือว่าถุลลโกฏฐิตะ รัฏฐปาละบุตรแห่งสกุลผู้มั่งมีแห่งนิคมนั้น สดบั พระธรรมเทศนาของพระผมู้ พี ระภาค มคี วามเลอื่ มใสขอบรรพชาอปุ สมบท พระผมู้ พี ระภาค ตรัสให้ไปขออนุญาตมารดาบิดาก่อน เมื่อไปขออนุญาต มารดาบิดาปฏิเสธ จึงลงนอนกับ พื้น อดอาหารถึง ๗ วัน มารดาบิดาจึงอนุญาต ในที่สุดเมื่อบวชแล้ว ติดตามพระศาสดาไปยัง กรงุ สาวัตถี ท่านบำ� เพ็ญเพียรไดส้ ำ� เร็จเปน็ พระอรหันต์ ๒. ต่อมาท่านได้ลาพระผู้มีพระภาคไปเย่ียมมารดาบิดา เมื่อไปถึงบ้านก็ถูกขับไล่ ไม่ได้อาหารทั้งยังถูกด่าเพราะไม่มีผู้จ�ำได้ ภายหลังนางทาสีจ�ำได้ จึงเล่าความแก่มารดาของ พระรัฏฐปาละ มารดาจึงปล่อยให้นางทาสีพ้นจากความเป็นทาส และบอกแก่บิดา บิดาออก ตามพบแล้วนิมนต์ไปฉันท่ีบ้านในวันรุ่งข้ึน เม่ือท่านไปฉันก็เอาทรัพย์มาล่อ ท่านก็ไม่แสดง ความยินดี ภริยาของท่านถามว่า ท่านประพฤติพรหมจรรย์เพื่อนางอัปสรที่ (สวยงาม) เช่นไร ท่านตอบวา่ มไิ ด้ประพฤติพรหมจรรยเ์ พื่อนางอปั สร เมื่อฉันเสร็จแลว้ ไดก้ ล่าวธรรมภาษิต แล้ว ไปพกั อยู่ ณ ราชอุทยานชอ่ื มคิ าจรี ะ ของพระเจ้าโกรัพยะ ๑ มีปัญหาเร่ืองค�ำว่า ปณฺฑุมุทิกสฺส เกิดในดินมีสีเหลือง ค้นหาค�ำอธิบายในบาลีไม่พบ ได้สอบในภาษาสันสกฤตมี ค�ำว่า ปาณฺฑุมฺฤท ดินเหลือง อนึ่ง ค�ำว่า ๕๐๐ หาบนั้น บาลีว่า ๕๐๐ วาหะ พระอรรถกถาจารย์ แก้ว่า ๑ วาหะ เท่ากับ ๒๐๐ เกวียน ส่วนกับข้าวน้ัน อรรถกถาแก้ว่า ได้แก่น�้ำมัน น้�ำอ้อย เป็นต้น อนึ่ง ค�ำว่า ปณฺฑุมุทิกสฺส มีทางสันนิษฐานตามศัพท์อีกอย่างหน่ึง คือข้าวสาลีท่ีหุงแล้วมีสีเหลืองและอ่อนนุ่ม แม้ค�ำว่า เกิดในดินสีเหลือง ก็เปน็ เรอื่ งสันนิษฐานท้ังสน้ิ ดนิ สเี หลอื งจะดีสำ� หรบั ข้าวสาลอี ยา่ งไร กย็ งั ไม่ได้สอบสวน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 638 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค 639 ๓. ณ พระราชอุทยานนั้น ท่านได้แสดงธรรมแด่พระเจ้าโกรัพยะผู้ตรัสว่า บางคน ัมช ิฌม ินกาย ออกบวชเพราะประกอบด้วยความเส่ือม อันเนื่องมาจากความแก่ ความเจ็บไข้ ความเสื่อมจาก ทรัพย์ และความเส่ือมจากญาติ (รวม ๔ ประการ) ท่านออกบวชเพราะอะไร พระรัฏฐปาละ จึงแสดงธมั มทุ เทส (ขอ้ ธรรม) ๔ ประการ ซง่ึ พระผมู้ ีพระภาคทรงแสดงไว้ คือ (๑) โลกอันความแกน่ ำ� เขา้ ไปใกล้ ไม่ย่ังยนื (๒) โลกไมม่ เี คร่ืองต้านทาน ไม่เปน็ ใหญเ่ ฉพาะตน (๓) โลกไม่มเี จา้ ของ จำ� ละสงิ่ ท้ังปวงไป (๔) โลกพรอ่ ง ไมร่ จู้ ักอมิ่ เป็นทาสแหง่ ตัณหา เม่อื พระเจ้าโกรัพยะตรัสถามถึงความหมาย กอ็ ธบิ ายโดยละเอียด ซึ่งพระเจ้าโกรัพยะ กท็ รงเลื่อมใส ๓๓. มฆเทวสูตร (สตู รว่าดว้ ยพระเจ้ามฆเทพ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่ามะม่วงของพระเจ้ามฆเทพ ใกล้กรุงมิถิลา ทรง ท�ำพระอาการยิ้มแย้มให้ปรากฏ เม่ือพระอานนท์กราบทูลถามถึงเหตุท่ีทรงยิ้ม จึงตรัสเล่าว่า กรุงมิถิลาน้ีเคยมีพระราชาพระนามว่ามฆเทพ เป็นผู้ต้ังอยู่ในธรรม ทรงประพฤติธรรมใน พราหมณคฤหบดี ชาวนิคมชนบทท้ังหลายทรงอยู่จ�ำอุโบสถในวัน ๑๔ ค�่ำ ๑๕ ค่�ำ และ ๘ ค่�ำ แห่งปักษ์ ตรัสสั่งช่างกัลบกว่า ถ้าเห็นเส้นพระเกสาหงอกเม่ือไรให้บอก เมื่อล่วงกาลมานาน ชา่ งกลั บกเหน็ เสน้ พระเกสาหงอกกก็ ราบทลู ใหท้ รงทราบ ตรสั ใหเ้ อาแหนบถอนใหท้ อดพระเนตร ครั้นแล้วพระเจ้ามฆเทพจึงตรัสเรียกเชฏฐโอรส (ลูกชายคนโต) มา ทรงมอบราชสมบัติให้แล้ว ตรัสสั่งให้ปฏิบัติท�ำนองเดียวกับพระองค์ (คือเมื่อเส้นพระเกสาหงอกให้ออกผนวช) ให้รักษา กัลยาณวัตรอนั น้ี อยา่ เป็นคนสุดทา้ ยที่ท�ำให้กัลยาณวัตรนีข้ าดสูญ แล้วจงึ ออกผนวช ๒. ทรงแผ่เมตตาจิต กรุณาจิต มุทิตาจิต และอุเบกขาจิตไปทั้งหกทิศ สู่โลกท้ังปวง เจริญพรหมวหิ าร ๔ ดงั กลา่ วมาน้ี เม่อื สวรรคตก็เข้าถึงพรหมโลก พระโอรสของพระเจา้ มฆเทพ พระราชนัดดาของพระเจ้ามฆเทพ ก็ทรงประพฤติสบื ตอ่ กันมาโดยนัยนี้ สบื มาจนถึงพระเจา้ นมิ ิ ซ่ึงเป็นพระธัมมิกราชา องค์สุดท้าย เมื่อมาถึงพระราชบุตรของพระเจ้านิมิ ผู้ทรงพระนามว่า พระเจา้ กฬารชนกะ กท็ รงตดั กลั ยาณวตั รนน้ั ไมเ่ สดจ็ ออกผนวช จงึ นบั เปน็ พระองคส์ ดุ ทา้ ยแหง่ กษตั รยิ เ์ หลา่ นน้ั ตรสั สรปู วา่ วตั รนน้ั เพยี งใหถ้ งึ พรหมโลก แตก่ ลั ยาณวตั รทที่ รงตงั้ ไวใ้ นปจั จบุ นั น้ี คืออริยมรรคมอี งค์ ๘ ท�ำให้ตรัสรู้ และใหไ้ ด้นิพพาน ในทีส่ ุดตรสั เตือนให้รกั ษากัลยาณวตั ร ของพระองค์ อยา่ เป็นคนสุดทา้ ย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 639 5/4/18 2:25 PM
640 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๓๔. มธุรสตู ร (สตู รวา่ ดว้ ยพระเจา้ มธรุ ราช อวันตีบตุ ร) ๑. พระมหากัจจานะอยู่ในป่าไม้คุนธา๑ พระเจ้ามธุรราช อวันตีบุตรเข้าไปหา ตรัส ถามถึงเร่ืองท่ีพวกพราหมณ์ถือว่า วรรณะพราหมณ์ประเสริฐสุด วรรณะอื่นเลว วรรณะ พราหมณ์ขาว วรรณะอ่ืนด�ำ วรรณะพราหมณ์บริสุทธ์ิ วรรณะอ่ืนไม่บริสุทธ์ิ วรรณะพราหมณ์ เป็นบุตรของพรหม เกิดจากปากพรหม อันพระพรหมสร้างสรรค์ เป็นพรหมทายาท พระเถระ ตอบว่า เป็นเพียงค�ำอวดอ้าง (โฆโสเยว) เท่านั้น แล้วได้อธิบายว่า วรรณะใดม่ังมี วรรณะอื่น กย็ อมเป็นคนรบั ใช้ ซ่งึ ท�ำใหพ้ ระเจ้ามธุรราชยอมรับว่าวรรณะทงั้ สี่เสมอกนั ๒. พระเถระอธิบายต่อไปว่า วรรณะใดประพฤติชั่ว (ทางกาย วาจา ใจ) วรรณะน้ัน เม่ือตายไปก็เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก เสมอกัน วรรณะใดเว้นจากประพฤติชั่ว (ทาง กาย วาจา ใจ) วรรณะนั้นเม่ือตายไปก็เขา้ ถึงสคุ ตโิ ลกสวรรค์เหมือนกนั วรรณะใดประพฤตผิ ิด เช่น ตัดช่อง ปล้นสะดม ล่วงเกินภริยาผู้อื่น วรรณะน้ันก็ต้องถูกลงโทษเสมอกัน วรรณะใด ออกบวช ก็มีผู้อภิวาทต้อนรับ นิมนต์ให้น่ังบนอาสนะ นิมนต์ให้รับปัจจัย ๔ หรือได้รับความ คุ้มครองอันเปน็ ธรรมเสมอกนั ๓. พระเจ้ามธุรราชตรัสสรรเสริญพระธรรมเทศนา ถามถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า ประทับ ณ ที่ไหน เมื่อทรงทราบว่าปรินิพพานแล้ว จึงตรัสว่า ถ้าทรงทราบว่ายังทรงพระชนม์ อยกู่ จ็ ะเสด็จไปเฝา้ แม้ไกลถงึ ๑๐๐ โยชน์ แต่เพราะปรินิพพานแล้ว จึงได้แต่ประกาศพระองค์ เป็นอุบาสกถงึ พระรตั นตรัยเปน็ สรณะตลอดพระชนมชพี ๓๕. โพธิราชกุมารสตู ร (สตู รว่าด้วยโพธิราชกมุ าร) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในป่าเนื้อชื่อเภสกฬา ใกล้เมืองสุงสุมารคิระ แคว้น ภัคคะ โพธิราชกุมารให้สร้างปราสาทชื่อโกกนุท เสร็จใหม่ ๆ ยังไม่ได้ใช้ จึงตรัสให้มาณพ สัญชิกาบุตรให้ไปนิมนต์พระผู้มีพระภาค พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ไปฉัน รุ่งขึ้นเม่ือเสด็จไป ๑ คุนธา จะเป็นไม้อะไรยังไม่ทราบ อรรถกถาแก้ว่า ไม้คุนธาด�ำ แต่มีค�ำที่ใกล้เคียงคือคุนหา แปลว่า ต้นกะเม็ง หญ้าปากกา ผเู้ ขียนไม่ร้จู ักตน้ กะเมง็ แตพ่ บค�ำอธบิ ายวา่ มีชอ่ื ภาษาลาตนิ ว่า eclipta alba ใบ ราก ใช้เปน็ ยาถ่าย ทำ� ใหอ้ าเจยี น ราก ก็ใช้เปน็ ยาได้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 640 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค 641 โพธิราชกุมารกราบทลู ขอใหท้ รงเหยียบผา้ (ขาว) ทปี่ ู แต่พระผ้มู พี ระภาคก็ทรงดษุ ณี๑ ถึง ๓ คร้งั ัมช ิฌม ินกาย พระอานนทจ์ ึงขอให้ทรงนำ� ผา้ ออกเสยี ๒ พระผู้มีพระภาคจึงเสด็จเขา้ ไปประทบั น่ังเหนอื อาสนะ ๒. เมื่อพระผู้มีพระภาคฉันเสร็จแล้ว โพธิราชกุมารจึงกราบทูลว่า ตนมีความเห็นว่า ความสุขจะพึงบรรลุได้ด้วยความสุขไม่ได้ พึงบรรลุได้ด้วยความทุกข์ (ต้องแสวงหาด้วย ความทุกข์จึงได้ความสุข) พระผู้มีพระภาคจึงเล่าถึงการที่ทรงแสวงหา ”สันติวรบท„ (ทาง อันประเสริฐไปสู่สันติ) ด้วยวิธีทรมานพระกายต่าง ๆ ก็มิได้ตรัสรู้ ต่อเมื่อทรงบ�ำเพ็ญเพียร ทางจิตใจ จึงตรัสรู้ได้ (ความละเอียดเหมือนมหาสัจจกสูตร ต้ังแต่หน้า ๕๖๓ ข้อที่ ๘ ถึงข้อ ๑๑) แล้วตรัสเล่าถึงการแสดงธรรมแก่ภิกษุปัญจวัคคีย์ (ภิกษุ ๕ รูป จนกระทั่งภิกษุเหล่านั้น ได้ทำ� ให้แจ้งท่ีสดุ แห่งพรหมจรรย์ เปน็ พระอรหันต์) ๓. โพธิราชกุมารกราบทูลถามว่า ภิกษุได้พระตถาคตเป็นผู้แนะน�ำ จะต้องกินเวลา นานสักเท่าไร จึงท�ำให้แจ้งท่ีสุดแห่งพรหมจรรย์ได้ ตรัสย้อนถามโพธิราชกุมารซ่ึงเป็นผู้ช�ำนาญ ในการข้ึนข่ีช้าง จับขอ เมื่อมีผู้มาศึกษาศิลปะนี้ ถ้าไม่ประกอบด้วยคุณสมบัติ ๕ ข้อ จะศึกษา ส�ำเร็จได้หรือไม่ กราบทูลว่า ขาดคุณสมบัติเพียงข้อใดข้อหน่ึงก็ไม่ส�ำเร็จ จึงไม่จ�ำเป็นต้อง กล่าวถึง ๕ ข้อ ในทางตรงกันข้าม ถ้าประกอบด้วยคุณสมบัติเพียงข้อใดข้อหนึ่งก็ส�ำเร็จ จึง ไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งกลา่ วถึง ๕ ขอ้ ๔. จึงตรัสอธิบายถึงคณุ สมบตั ิ ๕ ข้อ คือ (๑) มศี รทั ธา (๒) มีโรคนอ้ ย (๓) ไมโ่ ออ้ วด ไมม่ ีมายา (๔) มคี วามเพยี รไมท่ อดธรุ ะ (๕) มีปัญญา (การขาดคุณสมบัติพึงทราบโดยนัยตรงกันข้าม คุณสมบัติท้ังห้าข้อน้ี ใช้ได้แม้ใน การฝกึ ศลิ ปะขึ้นชา้ งและจับขอ ใช้ไดท้ ้งั ในการประพฤติพรหมจรรย์ อนึง่ คณุ สมบตั ิ ๕ ประการ น้ี ตรัสเรยี กว่า ปธานยิ งั คะ องค์อันเป็นประธาน ๕ อยา่ ง) แล้วตรัสวา่ ภกิ ษุผู้ประกอบด้วยองค์อนั เป็นประธาน ๕ ประการนี้ จะพึงท�ำให้แจ้งซ่ึง ทส่ี ดุ แหง่ พรหมจรรยไ์ ด้ ภายใน ๗ ปี ๖ ปี ๕ ปี ลงมาจนถงึ สง่ั สอนในเวลาเยน็ ไดบ้ รรลคุ ณุ พเิ ศษ ๒๑ หมายถึง อาการนงิ่ เฉย - ม.พ.ป. ถา้ จะได้บุตร ขอให้ทรงเหยียบ ในพระวินัย มขี อ้ ห้ามเหยียบผ้าขาวทป่ี ู อรรถกถาเล่าวา่ โพธริ าชกมุ ารเส่ยี งทายว่า ไวใ้ นบา้ น แตภ่ ายหลงั ทรงอนญุ าตใหเ้ หยยี บได้ ถา้ เจ้าของบ้านประสงคใ์ ห้เปน็ มงคล PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 641 5/4/18 2:25 PM
642 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ในเวลาเชา้ สงั่ สอนในเวลาเชา้ ไดบ้ รรลคุ ณุ พเิ ศษในเวลาเยน็ โพธริ าชกมุ ารกป็ ระกาศความเลอ่ื มใส ในพระพทุ ธ พระธรรม ๕. มาณพสัญชิกาบุตรทูลโพธิราชกุมารว่า ท่านประกาศคุณพระพุทธ พระธรรม ถึงอย่างน้ี ยังไม่ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะอีก โพธิราชกุมารตรัสว่า ท่านอย่ากล่าวอย่างน้ัน ข้าพเจ้าได้ฟังมาจากยายว่า ยายเคยประกาศต้ังแต่ข้าพเจ้ายังอยู่ในท้องว่า ไม่ว่าเป็นหญิงหรือ เป็นชายก็จะเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต แม่นมของข้าพเจ้าก็เคยเข้าไป เฝ้าพระผู้มีพระภาค ประกาศว่า โพธิราชกุมาร เป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอด ชีวิต ขา้ พเจ้าขอประกาศเป็นครง้ั ที่ ๓ วา่ เป็นอุบาสกถงึ พระรัตนตรัยเปน็ สรณะตลอดชีวิต ๓๖. องั คุลมิ าลสูตร (สตู รวา่ ด้วยพระองคุลมิ าล) ๑. พระผ้มู พี ระภาคประทบั ณ เชตวนาราม สมยั น้ันมโี จรช่ือองคุลิมาลในแว่นแควน้ โกศล เที่ยวฆ่ามนุษย์เอานิ้วมือมาร้อยเป็นพวงมาลัยคล้องร่าง เช้าวันหนึ่ง พระผู้มีพระภาค เสด็จไปบิณฑบาตในกรุงสาวัตถี ครั้นเสวยเสร็จ กลับจากบิณฑบาตก็เสด็จเดินทางไกลไปยัง ที่ที่องคุลิมาลอยู่ มีคนเลี้ยงโค เลี้ยงแกะ และชาวนาว่ิงมาห้ามมิให้เสด็จไป อ้างว่าโจร องคุลิมาลอยู่ทางน้ัน ก็คงเสด็จต่อไปโดยดุษณีภาพ โจรองคุลิมาลเห็นเข้าจับอาวุธไล่ตามไป จนสุดก�ำลัง ก็ไม่สามารถตามทันได้ จึงกล่าวว่า ”หยุดก่อนสมณะ„ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ”เราหยุดแล้ว ท่านจงหยุดสิ องคุลิมาล„ องคุลิมาลก็ทูลถามว่า ”ทรงด�ำเนินไป เหตุไฉนจึง ตรัสว่า หยุดแล้ว„ ตรัสตอบว่า ”เราวางอาชญาในสัตว์ท้ังหลายจึงช่ือว่าหยุด ส่วนท่านไม่ ส�ำรวมในสัตว์ท้ังหลายจึงชื่อว่าไม่หยุด„ องคุลิมาลได้คิด ก็เล่ือมใส กราบทูลขอบวช ตาม เสด็จพระผู้มีพระภาคกลับไปกรุงสาวตั ถีและพักอยูใ่ นท่ีนนั้ (เชตวนาราม) ๒. พระเจา้ ปเสนทเิ ตรยี มยกทพั ออกปราบโจรองคลุ มิ าล เสดจ็ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค พร้อมด้วยไพร่พล เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสถาม ก็กราบทูลว่า จะไปปราบโจรองคุลิมาล พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ถ้าพบโจรองคุลิมาลบวชแล้วตั้งอยู่ในคุณธรรมจะทรงทำ� อย่างไร พระเจ้าปเสนทิกราบทูลว่า จะอภิวาทต้อนรับ ถวายปัจจัย ๔ และถวายความคุ้มครอง อันเป็นธรรม พระผู้มีพระภาคจึงช้ีให้ทรงรู้จักภิกษุองคุลิมาลซึ่งน่ังอยู่ในที่เฝ้าด้วย คร้ันทอดพระเนตรเห็นพระเจ้าปเสนทิทรงตกพระทัยกลัว จึงตรัสปลอบไม่ให้กลัว พระเจ้าปเสนทิก็ตรัสปราศรัยกับพระองคุลิมาลเป็นอันดี และตรัสปวารณาที่จะถวาย ปัจจัย ๔ แต่พระองคุลิมาลทูลว่า มีไตรจีวรบริบูรณ์แล้ว พระเจ้าปเสนทิจึงถวายบังคม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 642 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค 643 พระผู้มีพระภาค กราบทูลสรรเสริญว่า พระองค์ไม่สามารถปราบพระองคุลิมาลได้แม้ด้วย ัมช ิฌม ินกาย ท่อนไม้และศัสตรา แต่พระผู้มีพระภาคทรงปราบได้ โดยไม่ต้องใช้ท่อนไม้และศัสตรา แล้ว กราบทลู ลากลบั ๓. พระองคุลิมาลไปบิณฑบาตพบหญิงมีครรภ์แก่ ก็มีความกรุณา เม่ือกลับมา กราบทูล พระผู้มีพระภาคจึงตรัสสอนให้พระองคุลิมาลกล่าวสัจจวาจา พระองคุลิมาลก็ไป กล่าวสัจจวาจา ให้พร ใหม้ ีความสวัสดที ัง้ มารดาและทารก หญิงน้ันกค็ ลอดทารกโดยสวัสดี ๔. ต่อมาท่านบ�ำเพ็ญเพียรก็ได้ส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์ เมื่อท่านไปบิณฑบาตก็ถูก ก้อนดิน ท่อนไม้ ก้อนกรวดท่ีเขาขว้างไป มีศีรษะแตก มีโลหิตไหล มีสังฆาฏิขาดว่ินมาเฝ้า พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคก็ตรัสว่า กรรมท่ีจะให้ผลไปหมกไหม้ในนรกเป็นเวลา หลายหมื่นหลายแสนปี เป็นอันท่านได้รับผลในปัจจุบัน พระองคุลิมาลก็หลีกเร้นเข้าไปอยู่ใน ถ�ำ้ และเปล่งอุทานเป็นธรรมภาษิตในทางส่งเสริมหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๓๗. ปิยชาติกสตู ร (สตู รว่าดว้ ยสงิ่ ท่เี กดิ จากส่ิงทเ่ี ป็นทรี่ ัก) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม บุตรน้อยคนหนึ่งของคฤหบดีผู้หนึ่ง ถึงแก่กรรม คฤหบดีผู้นั้นก็ไม่เป็นอันท�ำงาน ไม่เป็นอันบริโภคอาหาร ไปสู่ป่าช้าคร�่ำครวญถึง บุตรที่รัก แล้วไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสถามทราบความแล้ว จึงตรัส สอนว่า ความโศก ความพิไรร�ำพัน ความทุกข์กาย ทุกข์ใจ เป็นของเกิดจากส่ิงเป็นท่ีรัก แต่ คฤหบดีกล่าวว่า ความยินดี ความดีใจก็เกิดจากสิ่งเป็นที่รักด้วย (เป็นเชิงไม่รับว่าความรักจะ ทำ� ให้ทกุ ข์โดยส่วนเดยี ว ในทางทำ� ใหส้ ขุ ก็มี) ๒. ขณะนั้น นักเลงสกาหลายคนเล่นสกาอยู่ในที่ไม่ไกล คฤหบดีจึงเข้าไปหานักเลง สกาเหล่าน้ัน เล่าความท่ีตนกล่าวโต้ตอบกับพระผู้มีพระภาคทุกประการ นักเลงสกาก็เห็นด้วย ว่า ความยินดี ความดีใจ เกิดจากส่ิงเป็นท่ีรัก คฤหบดีเห็นว่า ความเห็นของตนตรงกับพวก นักเลงสกากจ็ ากไป ๓. เร่ืองที่โต้ตอบกันน้ี ก็เป็นข่าวลือไปถึงราชส�ำนัก พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงสนทนา กับพระนางมัลลิกาถึงเรื่องน้ี เพ่ือท่ีจะให้ทราบแน่ พระนางมัลลิกาจึงส่งนาฬิชังฆพราหมณ์ไป กราบทูลถามพระผู้มีพระภาค พระองค์ก็ตรัสยืนยันว่า ความเศร้าโศก เป็นต้น เป็นของเกิด จากสิ่งที่เป็นท่ีรักจริง และได้ตรัสชี้ตัวอย่างมากหลาย ถึงคนท่ีถึงกับเป็นบ้าไป หรือฆ่าหญิง คนรัก และฆ่าตัวตายเป็นเพราะผู้เป็นที่รักตายไปบ้าง เพราะความรักมีอันปรวนแปรไปบ้าง แล้วนาฬิชังฆพราหมณก์ ็กลับมากราบทูลพระนางมลั ลกิ า PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 643 5/4/18 2:25 PM
644 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๔. พระนางมัลลิกาจึงทูลถามพระเจ้าปเสนทิโกศลถึงบุคคลและแว่นแคว้นต่อไปน้ี คือ กุมารีชื่อ วชิรา นางวาสภขัตติยา วิฑูฑภเสนาบดี พระนางมัลลิกาเอง และแคว้นกาสีและ โกศล ว่าเป็นท่ีรักของพระเจ้าปเสนทิหรือไม่ ตรัสตอบว่า เป็นท่ีรัก ทูลถามว่า ถ้าบุคคลและ แว่นแคว้นเปลี่ยนแปลงไปจะทรงเศร้าโศกหรือไม่ ตรัสตอบว่า เศร้าโศก พระนางมัลลิกาจึง ตรัสสรูปว่า เพราะเหตุผลดังกล่าวน้ี พระผู้มีพระภาคจึงตรัสถึงเรื่องท่ีว่า ความเศร้าโศก เป็นต้น เปน็ ของเกดิ จากสิ่งเป็นทรี่ กั ๕. พระเจ้าปเสนทิโกศลก็ทรงเลื่อมใส เสด็จลุกขึ้นจากท่ีประทับท�ำพระภูษาเฉวียง พระองั สา ประคองพระอญั ชลไี ปทางพระผมู้ พี ระภาค ทรงเปลง่ อุทาน ๓ ครง้ั วา่ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพุทฺธสฺส ขอนอบน้อมแดพ่ ระผมู้ ีพระภาคอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองค์น้ัน ๓๘. พาหติ ิยสูตร (สตู รวา่ ด้วยผา้ ท่ีทอมาจากแคว้นพาหติ )ิ ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม วันหน่ึงพระเจ้าปเสนทิโกศลทรงช้าง เสด็จออกจากกรุงสาวัตถี เห็นพระอานนท์แต่ไกล ก็ตรัสส่ังบุรุษผู้หน่ึงให้ไปกล่าวกะ พระอานนทว์ า่ พระเจา้ ปเสนทนิ มนสั การบาททง้ั สองของพระอานนทด์ ว้ ยเศยี รเกลา้ ถา้ พระอานนท์ ไม่มีธุระรีบด่วนขอได้โปรดรอก่อน แล้วเสด็จลงจากช้าง ชวนพระอานนท์ไปยังริมฝั่ง แม่น�้ำอจิรวดี ต่างประทับน่ังเหนืออาสนะที่ปูไว้ พระเจ้าปเสนทิโกศลได้ตรัสถามถึงว่า พระผู้มีพระภาคทรงประพฤติความประพฤติทางกายวาจาใจ อันเป็นการแข่งดี (ควรแก่การ ยกโทษ) กับสมณพราหมณ์ผรู้ ูห้ รอื ไม่ พระอานนท์ทูลตอบวา่ ไม่ ๒. ตรัสถามว่า ความประพฤติทางกายวาจาใจ อันเป็นการแข่งดี (ควรแก่การ ยกโทษ) กับสมณพราหมณ์ผู้รู้เป็นอย่างไร ทูลตอบว่า ที่เป็นอกุศล ท่ีเป็นอกุศลเป็นอย่างไร ทูลตอบว่า ท่ีมีโทษ ท่ีมีโทษเป็นอย่างไร ทูลตอบว่า ท่ีมีการเบียดเบียน ท่ีมีการเบียดเบียน เป็นอย่างไร ทูลตอบว่า ท่ีมีผลเป็นทุกข์ ท่ีมีผลเป็นทุกข์เป็นอย่างไร ทูลตอบว่า ท่ีเป็นไปเพื่อ เบียดเบียนตนบ้าง เบียดเบียนผู้อื่นบ้าง เบียดเบียนท้ังสองฝ่ายบ้าง อกุศลธรรมย่อมเจริญ กศุ ลธรรมย่อมเสอื่ มเมอ่ื มผี ปู้ ระพฤติเช่นนั้น ส่วนในทางดี พงึ ทราบโดยนัยตรงกนั ข้าม ๓. พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงเลื่อมใสในสุภาษิตของพระอานนท์ ถึงกับตรัสว่า ถ้า พระอานนท์ใช้ช้างแก้ว ม้าแก้ว หรือบ้านส่วย๑ ได้ ก็จะถวายสิ่งเหล่าน้ัน เน่ืองจากส่ิงเหล่านี้ ๑ บา้ นส่วย หมายถงึ บา้ นท่ยี กใหเ้ ปน็ ของขวญั ของก�ำนลั - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 644 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค 645 ไมค่ วรแก่พระอานนท์ จงึ ขอไดโ้ ปรดรบั ผ้าท่ีทอมาจากแควน้ พาหติ ิ ยาว ๑๖ ศอก กวา้ ง ๘ ศอก ัมช ิฌม ินกาย ซ่ึงพระเจ้าอชาตศัตรูทรงใส่หลอดไม้ไผ่ส�ำหรับท�ำฉัตร๑ มาถวาย เพื่อเป็นการอนุเคราะห์ เมอื่ พระอานนทอ์ า้ งวา่ ไตรจวี รของทา่ นบรบิ รู ณแ์ ลว้ จงึ ทลู ออ้ นวอนใหร้ บั พระอานนทก์ ร็ บั แลว้ ไป เฝา้ พระผูม้ ีพระภาค กราบทลู เร่ืองทงั้ ปวงใหท้ รงทราบ แลว้ ถวายผา้ นัน้ แดพ่ ระผ้มู ีพระภาค ๓๙. ธัมมเจติยสตู ร (สูตรวา่ ดว้ ยเจดยี ค์ อื พระธรรม) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เมทฬุปนิคม แคว้นสักกะ พระเจ้าปเสนทิโกศลมี พระราชกรณียกิจเสด็จไปยังนครนั้นโดยล�ำดับ ในการเสด็จไปเฝ้าพระพุทธเจ้าทรงมอบ พระขรรค์และพระอุณหิส (กรอบพระพักตร์) แก่ทีฆการายนอ�ำมาตย์ แล้วเสด็จด�ำเนินไปยัง วิหารซ่ึงปิดประตู ค่อย ๆ เข้าไปสู่ระเบียง ทรงกระแอมแล้วเคาะบานประตู พระผู้มีพระภาคก็ ทรงเปิดประตู จึงเสด็จเข้าไปสู่วิหาร หมอบลงที่พระบาทของพระผู้มีพระภาคด้วยเศียรเกล้า ทรงจุมพิตพระบาทพระผู้มีพระภาคด้วยพระโอษฐ์ ทรงนวดฟั้นฝ่าพระบาทด้วยพระหัตถ์ ประกาศนามของพระองค์ พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ทรงเห็นอ�ำนาจประโยชน์อะไรจึงทรง แสดงความเคารพอย่างยิง่ ในสรีระน้ี ๒. ตรัสตอบสรรเสรญิ ว่า (๑) ไมท่ รงเหน็ พรหมจรรยอ์ น่ื จากพรหมจรรย์น้ที บ่ี ริสุทธบ์ิ รบิ รู ณ์เหน็ ปานนี้ ทรง มคี วามรดู้ ว้ ยญาณอนั ประจกั ษใ์ นพระผมู้ พี ระภาควา่ พระผมู้ พี ระภาคตรสั รดู้ ี โดยชอบ พระธรรมอนั พระผมู้ พี ระภาคตรสั ดแี ลว้ พระสงฆส์ าวกเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิ ดีแลว้ (๒) ทรงเหน็ ภิกษุทง้ั หลายพร้อมเพรียงไม่ววิ าทกนั เข้ากันไดด้ ี (๓) ทรงเห็นภิกษุทั้งหลายร่าเริงยินดี อินทรีย์แช่มชื่น คงจะได้บรรลุคุณพิเศษ อันโอฬาร (๔) พระสาวกเตือนกันและกันมิให้ส่งเสียงเอ็ดอึงแม้ไอจาม ในขณะท่ี พระผู้มีพระภาคแสดงธรรม แสดงว่าทรงฝึกหัดบริษัทได้ดี โดยไม่ต้องใช้ อาชญาและศสั ตรา (๕) - (๘) ทรงเห็นบัณฑิตผู้เป็นกษัตริย์ พราหมณ์ คฤหบดี สมณะ ผูกปัญหามาว่า จะยกวาทะพระสมณโคดม แตแ่ ลว้ กก็ ลายเปน็ สาวกของพระผมู้ พี ระภาคไป ๑ ฉตตฺ นาฬี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 645 5/4/18 2:25 PM
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 622
Pages: