746 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรสั แสดงเร่อื งกิจท่คี วรทำ� ก่อนของผูค้ รองเรอื นทเ่ี ป็นชาวนา ๓ อยา่ ง คือ (๑) ไถพน้ื ให้ดี (๒) ปลกู พืชโดยกาลอันสมควร (๓) น�ำน้ำ� มา (ไขน�ำ้ เข้านา) โดยสมัยอันสมควร ทรงเปรียบเทยี บด้วยกิจที่ควรทำ� ก่อนของภกิ ษุ ๓ อยา่ ง คอื การสมาทานอธศิ ีล อธิจิต อธิปญั ญา ตรัสสอนภิกษุวัชชีบุตร ผู้ปรารภว่าสิกขาบท ๑๕๐ (เท่าที่บัญญัติไว้ในคร้ังนั้น แต่ ต่อมายังทรงบัญญัติไว้มากกว่าน้ัน) ซ่ึงมาสู่อุทเทสทุกก่ึงเดือน (คือที่สวดปาฏิโมกข์ทบทวน กันทุกก่ึงเดือน) มากไป ไม่สามารถจะรักษาได้ พระองค์ตรัสถามว่า เธอจะสามารถศึกษาใน สิกขา ๓ คอื อธิศลี สกิ ขา อธิจติ ตสกิ ขา อธปิ ัญญาสิกขาไดห้ รือไม่ เมอื่ กราบทลู ตอบวา่ รักษาได้ จงึ ตรสั ว่า เม่อื เธอศกึ ษา อธศิ ลี เปน็ ตน้ แลว้ กจ็ ะละราคะ โทสะ โมหะได้ ไม่ท�ำ ไมเ่ สพอกศุ ล ตรัสตอบค�ำถามของภิกษุรูปหนึ่ง เร่ืองพระเสขะ ว่าได้แก่ผู้ศึกษาอธิศีล อธิจิต และ อธปิ ัญญา ตรัสแสดงว่า พระโสดาบัน เป็นผู้ท�ำให้บริบูรณ์ในศีล ท�ำพอประมาณในสมาธิ ท�ำพอ ประมาณในปัญญา แต่ก็อาจต้องอาบัติเล็กน้อยได้ มี ๓ ประเภท คือ เพราะสิ้นสัญโญชน์ ๓ จงึ จะทอ่ งเทยี่ วไปในเทพและมนษุ ยอ์ ยา่ งมากเพยี ง ๗ ครงั้ กท็ ำ� ทสี่ ดุ ทกุ ขไ์ ด้ ทอ่ งเทยี่ วไปสู่ ๒ - ๓ สกุล (๒ - ๓ ชาติ) ก็ท�ำที่สุดทุกข์ได้ เกิดเป็นมนุษย์อีกคร้ังเดียวก็ท�ำท่ีสุดทุกข์ได้ ทรงแสดง พระสกทาคามี พเิ ศษออกไปวา่ เพราะส้ินสญั โญชน์ ๓๑ และเพราะมีราคะ โทสะ โมหะน้อยลง (กว่าพระโสดาบัน) จึงจะมาสู่โลกนี้ เพียงครั้งเดียวแล้วท�ำท่ีสุดทุกข์ได้ ทรงแสดงพระอนาคามี ว่าท�ำให้บริบูรณ์ในศีล ท�ำให้บริบูรณ์ในสมาธิ ท�ำพอประมาณในปัญญา เพราะส้ินสัญโญชน์ ๕ (เพิ่มการละกามราคะ ความก�ำหนัดในกาม และปฏิฆะ ความขัดใจ รวมเป็นข้อท่ี ๔ และท่ี ๕) จึงเปน็ พระอนาคามปี ระเภทใดประเภทหนงึ่ ใน ๕ ประเภท คือ (๑) อทุ ธงั โสโต อกนฏิ ฐคามี (ผู้มีกระแสในเบอื้ งบน ไปสูอ่ กนิฏฐภพ) (๒) สสงั ขารปรนิ ิพพายี (ดบั กิเลสในภพที่เกดิ ตอ้ งใชค้ วามพยายาม) (๓) อสงั ขารปรินพิ พายี (ดบั กิเลสในภพทเี่ กดิ โดยไม่ตอ้ งใช้ความพยายาม) ๑ สัญโญชน์ ๓ คอื สักกายทฏิ ฐิ ความเห็นเปน็ เหตถุ อื ตวั ถอื ตน วจิ กิ ิจฉา ความสงสัยในพระรตั นตรัย และสีลัพพต ปรามาส การลูบคลำ� ศีลและพรต คือถอื โชคลาง หรอื ติดในลัทธพิ ธิ ี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 746 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 747 (๔) อปุ หัจจปรนิ ิพพายี (มีอายเุ กินก่งึ จึงดับกเิ ลส คำ� วา่ ดับกิเลส หมายถึงบรรลุ ัอง ุคตตร ินกาย อรหัตตผล เพ่งถึงกิเลสปรินิพพาน อนึ่ง ค�ำอธิบายพระอนาคามีประเภทน้ี ควรดูอรรถกถาปุคคลบัญญัติในอภิธัมมปิฎกประกอบด้วย เพราะดูเหมือน ค�ำอธิบายของอรรถกถาอังคุตตรนิกายตรงน้ีค�ำบาลีเคลื่อนคลาด อาจท�ำให้ ตีความหมายผิด) (๕) อนั ตราปรนิ พิ พายี (มอี ายไุ มถ่ งึ กึ่งดับกเิ ลสได)้ แลว้ ตรสั แสดงถงึ ทา่ นผทู้ ำ� ใหแ้ จง้ เจโตวมิ ตุ ิ และปญั ญาวมิ ตุ ิ อนั ไมม่ อี าสวะ (พระอรหนั ต)์ ว่าเป็นผ้ทู ำ� ให้บริบูรณ์ในศลี สมาธิ และปญั ญา ตรสั อธบิ าย การมศี ลี สำ� รวมในพระปาฏโิ มกข์ วา่ เปน็ อธศิ ลี สกิ ขา การเจรญิ ฌาน ๔ วา่ เป็นอธิจิตตสิกขา การรู้อริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริง ว่าเป็นอธิปัญญาสิกขา อีกนัยหน่ึงทรงแสดง การทำ� ใหแ้ จง้ เจโตวมิ ตุ ิ ปญั ญาวมิ ตุ ิ อนั ไมม่ อี าสวะ วา่ เปน็ อธปิ ญั ญาสกิ ขา ตรสั สอนภิกษุกัสสปโคตร ผู้อยู่ในนิคมปังกธา ถึงภิกษุที่พระองค์ตรัสสรรเสริญและ ไมต่ รสั สรรเสริญ แมเ้ ป็นภิกษหุ นุ่มถ้าใครก่ ารศกึ ษา สรรเสรญิ การศึกษา ชักชวนเพ่อื การศึกษา เป็นต้น ก็ตรสั สรรเสรญิ วรรคที่ ๕ ช่ือโลณผลวรรค วา่ ด้วยเมล็ดเกลอื ๕. ตรสั ถงึ กจิ รบี ดว่ นของผคู้ รองเรอื นทเี่ ปน็ ชาวนา ๓ ประการ คอื การไถ การปลกู พชื และการไขน�้ำเข้านาเทียบด้วยสิกขา ๓ ตรัสแสดงการบัญญัติปวิเวก (ความสงัด) ๓ ประการ ของนกั บวชลทั ธิอนื่ คอื จีวรวิเวก (ความสงดั จากกเิ ลสท่เี กดิ ขึ้น เพราะผ้านงุ่ หม่ ) ปณิ ฑปาตวิเวก (ความสงดั จากกเิ ลสที่เกิดขน้ึ เพราะอาหาร) เสนาสนปวเิ วก (ความสงัดจากกเิ ลสทเี่ กดิ ขนึ้ เพราะท่อี ยู่อาศัย) โดยก�ำหนดการใชผ้ ้านงุ่ หม่ การบรโิ ภคอาหาร ทีอ่ ยูอ่ าศัยอยา่ งนนั้ อยา่ งนี้ สว่ นปวิเวกในพระธรรมวินยั มี ๓ อย่าง คอื (๑) มศี ีล ละความทศุ ีลได้ สงัดจากกเิ ลสเพราะเหตนุ ั้น (๒) มคี วามเหน็ ถูก ละความเหน็ ผิดได้ สงัดจากกิเลสเพราะเหตนุ ้ัน (๓) สิ้นอาสวะ ละอาสวะได้ สงัดจากกิเลสเพราะเหตุนัน้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 747 5/4/18 2:25 PM
748 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทรงแสดงการท่ีภิกษุละสัญโญชน์ ๓ ได้ ๑ต่อมา น�ำตนออกจากอภิชฌา (ความโลภ) พยาบาท (ความคิดปองร้าย) ได้ เจริญฌานที่ ๑ ได้ ถ้าสิ้นชีวิตในสมัยนั้นก็จะไม่มาสู่โลกน้ี (เปน็ พระอนาคามี) ทรงแสดงบริษัท ๓ ประเภท คือ ทีเ่ ลศิ ที่เปน็ พรรค เปน็ พวก ทสี่ ามคั คีกัน ทรงแสดงมา้ อาชาไนย ทีค่ วรแก่พระราชา คอื สมบรู ณด์ ว้ ยผวิ พรรณ กำ� ลงั และฝเี ท้า เทยี บดว้ ยภกิ ษมุ ศี ลี มคี วามเพยี ร มปี ญั ญารอู้ รยิ สจั จ์ ๔ ตามเปน็ จรงิ อกี นยั หนง่ึ เทยี บดว้ ยภกิ ษุ มศี ลี มีความเพียร ละสัญโญชน์ ๕ ได้ (เปน็ พระอนาคาม)ี อีกนยั หนงึ่ เทยี บด้วยภกิ ษุ มศี ีล มี ความเพียร ท�ำใหแ้ จ้งเจโตวิมตุ ิ และปัญญาวิมุติ อนั ไม่มอี าสวะ ทรงแสดงว่าผ้าเปลือกไม้ แม้จะใหม่ ปานกลาง หรือเก่า ก็มีสีทราม มีสัมผัสหยาบ มีราคาถูก ถ้าเป็นผ้าเก่า เขาก็ใช้เป็นผ้าเช็ดหม้อ หรือท้ิงท่ีกองขยะเปรียบเหมือนภิกษุผู้ทุศีล ไม่ว่าจะเป็นภิกษุใหม่ ปานกลาง หรือผู้เฒ่า การที่ทุศีลเทียบด้วยมีสีทราม ท�ำคนท่ีคบหา ให้ขาดประโยชน์มีทุกข์ เทียบด้วยมีสัมผัสหยาบ การรับปัจจัย ๔ ซ่ึงไม่มีผลมากแก่ผู้ถวาย เทียบด้วยมีราคาถูก สว่ นผา้ กาสตี รงกนั ขา้ ม มสี ดี ี มสี มั ผสั นมุ่ นวล มรี าคาแพง แมเ้ กา่ แลว้ เขากใ็ ชห้ อ่ รตั นะ หรือใส่ไว้ในกรักของหอม แล้วทรงเปรียบด้วยภิกษุผู้มีศีล ในทางตรงกันข้ามกับภิกษุผู้ทุศีล ในทีส่ ุดตรสั สอนให้เป็นอยา่ งผ้ากาสี อย่าเปน็ อยา่ งผ้าเปลอื กไม้ ตรัสแสดงวา่ บคุ คลท�ำกรรมเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ อย่างเดียวกนั ๒ แตก่ รรมสง่ ผลให้บางคน ไปสนู่ รก บางคนไดร้ บั ผลในปจั จบุ ันเพยี งเลก็ นอ้ ยไมม่ าก ทง้ั น้ีขน้ึ อยูแ่ กก่ ารที่บคุ คลอบรมกาย อบรมศีล อบรมจติ อบรมปญั ญาหรือไม่ เปรียบเหมอื นเอาเมล็ดเกลอื ใส่ลงไปในจอกน้ำ� เลก็ ๆ น�้ำในจอกน้ันก็เค็มได้ แต่ถ้าใส่ลงไปในแม่น้�ำคงคากไ็ ม่เค็ม เพราะเป็นหว้ งนำ้� ใหญ่ ทรงแสดงอุปกิเลส (เครื่องเศร้าหมองแห่งจิต ดูหน้า ๕๓๑ วัตถูปมสูตร ข้อ ๒) ของ ภิกษุผู้บ�ำเพ็ญสมาธิ ว่ามี ๓ ชั้น คืออย่างหยาบ ได้แก่ทุจจริตกาย วาจา ใจ อย่างกลางได้แก่ ความตรึก (วิตก) ในกาม ในการคดิ ปองรา้ ย ในการเบยี ดเบยี น อยา่ งละเอียด ได้แกค่ วามตรึก ถึงชาติ ความตรึกถงึ ชนบท และความตรึกที่ไมต่ อ้ งการให้ใครดหู ม่ิน เปรยี บเหมอื นเคร่อื งเศร้า หมองของเงนิ ทองมที ง้ั อยา่ งหยาบ อย่างกลาง และอยา่ งละเอียด ๒๑ ส�ำนวนตรงนก้ี ค็ อื ละกามราคะ กับปฏฆิ ะ อนั เป็นสญั โญชน์อีก ๒ ขอ้ ได้ แตใ่ ชค้ ำ� อื่นแทน พระพุทธภาษิตน้ี แสดงว่าคนท�ำกรรมเหมือนกัน แต่ได้รับผลไม่เหมือนกัน เพราะพ้ืนฐานภายในของบางคน เปรียบเหมือนจอกใส่น้�ำเล็ก ๆ เอาเกลือใส่ลงไปก็เค็มได้ แต่ของบางคนเหมือนแม่น้�ำ เกลือท่ีใส่ลงไปท�ำให้เค็ม ไม่ได้ นับวา่ น่าพจิ ารณามาก PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 748 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 749 แลว้ ทรงแสดงถงึ การทจี่ ติ เปน็ สมาธิ มอี ารมณเ์ ปน็ หนงึ่ เปน็ เหตใุ หบ้ รรลอุ ภญิ ญา ๖ คอื ัอง ุคตตร ินกาย (๑) อทิ ธิวิธิ แสดงฤทธิไ์ ด้ (๒) ทิพพโสต หทู พิ ย์ (๓) เจโตปริยญาณ ก�ำหนดรู้ใจผู้อ่ืน (๔) ปพุ เพนิวาสานุสสตญิ าณ ระลึกชาติได้ (๕) จตุ ปู ปาตญาณ มีทิพยจกั ษุ เหน็ ความตายความเกดิ ของสัตวท์ ้ังหลาย (๖) อาสวักขยญาณ บรรลุเจโตวมิ ตุ ิ ปญั ญาวิมตุ ิ อนั ไม่มีอาสวะ ทรงแสดงวา่ ภกิ ษผุ บู้ ำ� เพญ็ สมาธิ พงึ ใสใ่ จนมิ ติ (เครอื่ งหมายในจติ ใจ) ๓ อยา่ ง โดยกาล อนั สมควร ไดแ้ ก่ สมาธนิ ิมิต (เครอ่ื งหมาย คอื สมาธหิ รอื ความมีอารมณ์เป็นหนึ่ง) ปัคคาหนิมิต (เครื่องหมาย คือความเพยี ร) อุเบกขานมิ ิต (เครือ่ งหมาย คือความวางเฉย) ถ้าใส่ใจแต่สมาธินิมิตอย่างเดียว จิตก็จะน้อมไปเพื่อความเกียจคร้านได้ ถ้าใส่ใจแต่ ปัคคาหนิมิตอย่างเดียว จิตก็น้อมไปเพ่ือความฟุ้งสร้านได้ ถ้าใส่ใจแต่อุเบกขานิมิตอย่างเดียว จิตก็ไม่พึงต้ังม่ันโดยชอบเพ่ือส้ินอาสวะได้ ต่อเม่ือใส่ใจนิมิตท้ังสามโดยกาลอันสมควร จิตจึง ออ่ น ควรแกก่ ารงาน ผอ่ งใสตง้ั มน่ั โดยชอบเพอ่ื สนิ้ อาสวะ เปรยี บเหมอื นชา่ งทองทหี่ ลอมทองเงนิ ยอ่ มสูบ (เป่าลม) โดยกาลอันสมควร พรมน้ำ� โดยกาลอนั สมควร วางเฉยโดยกาลอันสมควร* ตติยปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๓ (ในหมวด ๕๐ ที่ ๓ น้ี คงแบ่งออกเป็น ๕ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สูตร เช่นเดียวกับหมวด ๕๐ ท่ีแล้ว ๆ มา วรรคที่ ๑ ชื่อสัมโพธิวรรค ว่าด้วยการตรัสรู้ วรรคท่ี ๒ ช่ืออาปายิกวรรค ว่าด้วยผู้ที่เกิดในอบาย วรรคท่ี ๓ ช่ือกุสินารวรรค ว่าด้วยเหตุการณ์ใน กรงุ กสุ นิ ารา วรรคท่ี ๔ ช่ือโยธาชีววรรค วา่ ดว้ ยทหารหรอื นกั รบ วรรคที่ ๕ ชื่อมังคลวรรค วา่ ดว้ ยมงคล หมายเลขหนา้ ข้อความ พึงทราบวา่ หมายถึงล�ำดบั วรรคด้วยเชน่ เคย)๑ วรรคท่ี ๑ ชอ่ื สัมโพธิวรรค วา่ ดว้ ยการตรัสรู้ ๑. ตรัสว่า เม่ือก่อนตรัสรู้ขณะที่พระองค์ยังทรงเป็นพระโพธิสัตว์ ทรงคิดว่าอะไร หนอเป็นความพอใจ เปน็ โทษ เป็นความพน้ ไปในโลก แลว้ ทรงคดิ วา่ ๑ ฉบบั เดิม ไม่ได้ใสช่ ่ือวรรค ในการพมิ พค์ รงั้ นี้ (พ.ศ. ๒๕๖๐) ได้ใสช่ อ่ื วรรคให้ด้วย - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 749 5/4/18 2:25 PM
750 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ความสขุ กายสุขใจท่ีเกดิ ขนึ้ เพราะอาศยั โลก ช่ือว่าความพอใจในโลก ขอ้ ท่โี ลกไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทุกข์ มีความแปรปรวนเปน็ ธรรมดา ชอื่ วา่ โทษในโลก การน�ำออก การละความกำ� หนัด เพราะความพอใจในโลกเสยี ได้ ช่ือว่าความพ้นไปในโลก แลว้ ตรสั วา่ ตราบใดทย่ี งั ไมท่ รงรเู้ รอื่ งทงั้ สามนตี้ ามเปน็ จรงิ กไ็ มท่ รงปฏญิ ญาพระองค์ ว่าได้ตรสั รู้อนตุ ตรสมั มาสัมโพธิญาณ ตรัสแสดงยักย้ายนัย เรื่องอัสสาทะ (ความพอใจ) อาทีนวะ (โทษ) และนิสสรณะ (ความพ้นไป) ในโลกและของโลกอกี ๒ นยั ทรงแสดงว่า การรอ้ งเพลง เป็นการรอ้ งไหใ้ นอริยวินัย การฟ้อนรำ� เปน็ การกระท�ำของคนบา้ ในอรยิ วินยั การหัวเราะจนเห็นไรฟนั เกนิ ขอบเขต เปน็ การกระท�ำของเดก็ ในอรยิ วินยั (ในท่ีนี้มุ่งถึงการที่ภิกษุท�ำการเช่นนั้น เพราะฉะน้ัน จึงไม่เป็นการกระทบกระเทือน ต่อชาวโลก หรือคฤหสั ถท์ ่วั ๆ ไปผจู้ ะหวั เราะ รอ้ งเพลง หรอื ฟ้อนร�ำ) คร้ันแล้วตรัสสอนให้ชักสะพาน (เลิกเด็ดขาด) ในการร้องเพลงและฟ้อนร�ำ เมื่อมี ความบันเทิงในธรรมก็ควรทำ� แต่เพียงยม้ิ แยม้ ตรสั แสดงว่า ไมม่ คี วามอ่มิ ในการเสพของ ๓ อยา่ ง คอื ในการเสพความหลับ ในการ เสพสรุ าเมรยั และในการเสพเมถุน ต รัสแสดงธรรมแก่อนาถปิณฑิกคฤหบดี ว่าเม่ือมิได้รักษาจิตแล้ว แม้การกระท�ำ ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ก็เป็นอันไม่ได้รักษา เมื่อไม่เป็นอันรักษาจึงเหมือนถูกฝนตกรดเป็น ของเน่า และมีการตายอันไม่เจริญ (ไม่ดีงาม) เปรียบเหมือนเรือนยอดที่มุงไม่ดี ยอดเรือน กลอนเรอื น (ไมท้ ร่ี บั ส่งิ มุง) ขา้ งฝา จงึ ชอื่ ว่าไมเ่ ป็นอันรกั ษา ถกู ฝนรัว่ รด เป็นของผุ เมอื่ รกั ษาจิต แลว้ พงึ ทราบโดยนัยตรงกันข้าม พรอ้ มทงั้ ข้ออุปมา ตรสั แสดงธรรมแก่อนาถปณิ ฑิกคฤหบดี ว่าเมอ่ื จติ ผิดปกติ (พยาปันนะ นา่ จะแปลวา่ พยาบาท แต่อรรถกถาอธิบายวา่ ละปกตภิ าพ และผู้เขียนเหน็ ดว้ ย เพราะแปลว่าผดิ ปกติได้ท้ัง โดยใจความและโดยพยัญชนะ) แม้กระท�ำทางกาย ทางวาจา ทางใจ ก็เป็นอันผิดปกติได้ด้วย เมื่อเป็นเช่นน้ัน ก็จะมีการตายท่ีไม่เจริญ แล้วทรงอุปมาด้วยเรือนยอดท่ีมุงไม่ดีดังข้อแรก พร้อมทง้ั แสดงในทางตรงกนั ข้าม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 750 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 751 ทรงแสดงต้นเหตุท่ีให้เกิดการกระท�ำ (กัมมนิทาน) ๓ ประการ (ฝ่ายช่ัว) คือความโลภ ัอง ุคตตร ินกาย ความคดิ ประทษุ รา้ ย ความหลง และทรงแสดงตน้ เหตุท่ีใหเ้ กดิ การกระท�ำ (ฝา่ ยดี) อีก ๓ ประการ คอื ความไมโ่ ลภ ความไมค่ ดิ ประทษุ รา้ ย ความไม่หลง ทรงแสดงต้นเหตุที่ให้เกิดการกระท�ำนัยอ่ืน อีก ๓ ประการ (ฝ่ายช่ัว) คือฉันทะ ความพอใจอนั เกดิ เพราะปรารภธรรมะอนั เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ ความกำ� หนดั ดว้ ยอำ� นาจแหง่ ความพอใจ ท่เี ปน็ อดตี อนาคต ปจั จบุ ัน พร้อมท้ังทรงแสดงฝ่ายดที ี่ตรงกันข้าม วรรคที่ ๒ อาปายกิ วรรค ว่าด้วยผทู้ ีเ่ กดิ ในอบาย ๒. ทรงแสดงบุคคล ๓ ประเภท ท่ีถ้าไม่ละการกระท�ำดังจะกล่าวต่อไปว่า จะไปเกิด ในอบาย ในนรก คือ (๑) ไม่ประพฤตพิ รหมจรรย์ แตป่ ฏิญญาว่าประพฤติพรหมจรรย์ (๒) โจทฟ้องผู้ประพฤติพรหมจรรย์บริสุทธิ์ ด้วยข้อกล่าวหาว่าไม่ประพฤติ พรหมจรรย์ (เสพกาม) อันไมม่ มี ลู (๓) มวี าทะ มีทฏิ ฐิว่า กามไมม่ โี ทษ จงึ เสพกาม ทรงแสดงวา่ ความปรากฏแหง่ บคุ คล ๓ ประเภท หาไดย้ ากในโลก คอื พระอรหนั ตสมั มา สัมพทุ ธเจา้ บุคคลผูแ้ สดงธรรมวนิ ัยทพี่ ระตถาคตประกาศแล้ว และบุคคลทกี่ ตญั ญกู ตเวที ทรงแสดงบคุ คล ๓ ประเภท คอื ผ้ปู ระมาณไดง้ ่าย ได้แก่ผูฟ้ ้งุ สรา้ น เปน็ ต้น ผปู้ ระมาณยาก ไดแ้ ก่ผ้ไู มฟ่ งุ้ สรา้ น เป็นต้น (ตรงกันขา้ ม) ผปู้ ระมาณไมไ่ ด้ ไดแ้ ก่พระอรหันตข์ ีณาสพ (ผู้หมดกิเลส) ทรงแสดงบุคคล ๓ ประเภท คือ ผู้เกดิ ในเทพชั้นอากาสานญั จายตนะ มอี ายุ ๒ หมื่นกปั ป์ ผ้เู กิดในเทพชน้ั วญิ ญาณญั จายตนะ มีอายุ ๔ หมืน่ กปั ป์ ผเู้ กดิ ในเทพชน้ั อากญิ จัญญายตนะ มอี ายุ ๖ หมน่ื กปั ป์ บถุ ุชนเกดิ ในเทพเหลา่ น้นั ตง้ั อยู่ตลอดอายุน้ัน ๆ แล้ว กไ็ ปสนู่ รกบา้ ง กำ� เนดิ ดริ ัจฉาน บ้าง เปรตวสิ ัยบา้ ง สว่ นสาวกของพระผ้มู ีพระภาคต้ังอย่ตู ลอดอายุนน้ั แลว้ ก็นพิ พานในภพนั้น นี้คอื ความตา่ งกันระหว่างอริยสาวกผูไ้ ด้สดับ กับบุถชุ นผู้มิได้สดับ ทรงแสดงวิบัติ ๓ คือความวิบัติแห่งศีล ความวิบัติแห่งจิต ความวิบัติแห่งทิฏฐิ (ความเห็น) ความวิบตั แิ หง่ ศลี ไดแ้ ก่การประพฤตกิ ายทุจจริต ๓ วจที จุ จรติ ๔ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 751 5/4/18 2:25 PM
752 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ความวิบัตแิ ห่งจติ ได้แกก่ ารมคี วามโลภ กบั การคดิ ปองร้าย สว่ นความวิบตั ิแห่งทิฏฐิ ไดแ้ กก่ ารเหน็ ผิดจากคลองธรรม (เช่น เห็นวา่ ทานทใี่ หไ้ มม่ ีผล บญุ บาปไมม่ ี เปน็ ตน้ ) แล้วทรงแสดงสัมปทา (สมบัติตรงกันข้ามกับวิบัติ) อีก ๓ อย่าง คือ ศีลสัมปทา จิตตสัมปทา ทิฏฐสิ มั ปทา ทรงแสดงวิบัติ ๓ และสัมปทา ๓ ตามชื่อเดิมตามค�ำอธิบายเดิม แต่เพ่ิมว่า วิบัติ เป็นเหตุให้ไปสู่อบาย ทุคคติ วินบิ าต นรก สมั ปทาเป็นเหตุใหไ้ ปสูส่ ุคตโิ ลกสวรรค์ ทรงแสดงวิบตั ิ ๓ อกี นยั หนงึ่ คือ (๑) กมั มนั ตวบิ ตั ิ (ความวิบตั ิแห่งการงาน) ไดแ้ ก่กายทุจจริต วจที จุ จรติ (๒) อาชวี วบิ ตั ิ (ความวบิ ตั แิ ห่งอาชพี ) ได้แกเ่ ลยี้ งชีพในทางท่ีผดิ (๓) ทฏิ ฐวิ บิ ตั ิ (ความวบิ ตั แิ หง่ ความเหน็ ) ไดแ้ กเ่ หน็ ผดิ จากคลองธรรมดงั กลา่ วแลว้ แล้วทรงแสดงสัมปทาหรือสมบัติ ๓ ในทางตรงกันข้าม ทรงแสดงความสะอาด (โสเจยยะ) ๓ ประการ คือความสะอาดกายได้แก่กายสุจริต สะอาดวาจาได้แก่วจีสุจริต สะอาดใจได้แก่มโนสุจริต แล้วทรงแสดงความสะอาด ๓ ตามชื่อเดิม แต่อธิบายในทางท่ีสูง กว่าเดิม คือสะอาดกายที่ได้แก่กายสุจริตนั้น แต่เฉพาะข้อ ๓ ของกายสุจริต๑ เป็นการเว้นจาก ประพฤติผิดพรหมจรรย์ (เสพเมถุน) ส่วนสะอาดใจ ได้แก่รู้ว่านีวรณ์ ๕ (กิเลสอันก้ันจิตมิให้ บรรลคุ วามดี มกี ามฉนั ท์ เปน็ ตน้ ) มอี ยใู่ นภายในหรอื ไมม่ ี รวู้ า่ ละนวี รณ์ ๕ ทเี่ กดิ ขน้ึ แลว้ และจะ ไม่เกิดอีกต่อไป ทรงแสดงความเปน็ มนุ ี ๓ อยา่ ง (อรรถกถาแกว้ า่ ความเปน็ มนุ ี คอื ความเปน็ คนดหี รอื เปน็ บัณฑิต) คือ ความเปน็ มนุ ที างกาย ไดแ้ กเ่ วน้ จากฆา่ สตั ว์ ลกั ทรพั ย์ และประพฤตผิ ดิ พรหมจรรย์ ความเปน็ มนุ ที างวาจา ไดแ้ กเ่ วน้ จากพดู เทจ็ พดู สอ่ เสยี ด พดู คำ� หยาบ พดู เพอ้ เจอ้ ความเป็นมนุ ีทางใจ คอื ทำ� ให้แจง้ เจโตวมิ ตุ ิ ปญั ญาวิมตุ ิ อันไมม่ ีอาสวะ วรรคที่ ๓ ชือ่ กุสินารวรรค วา่ ดว้ ยเหตุการณ์ในกรุงกสุ นิ ารา ๓. ทรงแสดงถึงภิกษุ ผู้ติดในบิณฑบาต ปรารถนาจะได้อย่างนั้นอย่างน้ี เกิดอกุศล วิตก๒ ๓ ทานที่ให้แก่ภิกษุเช่นน้ีไม่มีผลมาก เพราะเป็นผู้อยู่อย่างประมาท ส่วนภิกษุผู้ไม่ติด ๒๑ ขอ้ ๓ ของกายสุจริต โดยทวั่ ไปคอื เวน้ จากกาเมสมุ จิ ฉาจาร กศุ ลวิตก ๓ คือการตรึกในการออกจาก อกศุ ลวิตก ๓ คือตรึกในกาม ตรึกในการปองร้าย ตรึกในการเบยี ดเบยี น กาม ตรกึ ในการไมป่ องร้าย ตรกึ ในการไมเ่ บียดเบียน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 752 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 753 ในบิณฑบาต ไม่ปรารถนาจะได้อย่างน้ันอย่างนี้ มีกุศลวิตก ๓ ทานท่ีให้แก่ภิกษุเช่นนี้มีผล ัอง ุคตตร ินกาย มาก เพราะเปน็ ผู้อยอู่ ยา่ งไมป่ ระมาท ทรงแสดงวา่ เพยี งแตค่ ดิ ไป ในทศิ ทม่ี ภี กิ ษทุ ะเลาะววิ าทกนั กไ็ มผ่ าสกุ เสยี แลว้ จะกลา่ ว ไยถงึ การไปในทศิ นนั้ และทำ� ใหป้ ลงใจวา่ ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ ละกศุ ลวติ ก ทำ� ใหม้ ากซง่ึ อกศุ ลวติ ก สว่ น ภิกษผุ ูส้ ามัคคกี นั พงึ ทราบโดยนยั ตรงกนั ขา้ ม ทรงแสดงวา่ พระองคแ์ สดงธรรม เพ่ือความรู้ยิง่ มีเหตุ (สนทิ าน) มปี าฏหิ ารยิ ์ ตรสั แกม่ หานามศากยะ ว่ามศี าสดา ๓ ประเภท คอื (๑) บญั ญตั ใิ ห้ก�ำหนดรกู้ าม แตไ่ มบ่ ญั ญตั ใิ ห้ก�ำหนดรรู้ ปู และเวทนา (๒) บัญญตั ิใหก้ ำ� หนดรกู้ าม และรูป แตไ่ ม่บญั ญตั ใิ ห้รู้ก�ำหนดเวทนา (๓) บัญญัตใิ ห้กำ� หนดรทู้ ั้งสามอย่าง แล้วตรัสถามว่าคติของศาสดาทั้งสามประเภทนี้ เหมือนกันหรือต่างกัน ภรัณฑุ กาลามโคตรพูดแนะมหานามศากยะให้ตอบว่ามีคติอย่างเดียว พระผู้มีพระภาคตรัสแนะ ให้ตอบวา่ มคี ติตา่ งกัน ต่างฝ่ายตา่ งแนะนำ� อย่างนัน้ ถึง ๓ คร้งั ภรัณฑุ กาลามโคตรจงึ หลกี ไป ไม่กลับมาสูก่ รงุ กบิลพัสด์ุอกี หัตถกเทพบุตรกราบทูลพระผู้มีพระภาค ว่าตนไม่อ่ิมด้วยธรรม ๓ ประการ (จน) ถึงแก่กรรม (ซึ่งเป็นคุณธรรมท่ีสืบเนื่องมาแต่อดีตชาติ และท�ำอยู่แม้ในปัจจุบัน) คือไม่อ่ิม ด้วยการเฝ้าพระผ้มู ีพระภาค ไมอ่ มิ่ ด้วยการฟังพระสทั ธรรม ไม่อิม่ ด้วยการอุปฐากพระสงฆ์ ตรสั สอนภิกษรุ ปู หน่ึง มิให้ท�ำตนเปน็ เดน (อาหาร) ท่เี ขาทง้ิ ส่งกลนิ่ คาว มีแมลงวันตอม โดยตรัสอธิบายแก่ท่ีประชุมภิกษุทั้งหลายว่า ความโลภเปรียบเหมือนเดน (อาหาร) ความคิด ปองร้ายเปรียบเหมอื นกลน่ิ คาว วติ กหรือความตรึกทีเ่ ปน็ บาปอกุศลเปรียบด้วยแมลงวัน ตรัสตอบค�ำถามของพระอนุรุทธเถระ ว่า มาตุคาม (ผู้หญิง) ประกอบด้วยธรรม ๓ อย่าง เมื่อตายไปจะสู่คติที่ชั่ว คือเวลาเช้ามีจิตถูกรึงรัดด้วยมลทิน คือความตระหน่ี เวลา กลางวันมจี ติ ถูกรึงรดั ด้วยความรษิ ยา เวลาเยน็ มจี ิตถกู รึงรัดดว้ ยกามราคะ พระสารบิ ตุ รแนะนำ� แกพ่ ระอนรุ ทุ ธเถระ ผกู้ ลา่ ววา่ ขา้ พเจา้ มองดโู ลกตงั้ พนั ดว้ ยทพิ ยจกั ษุ ปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ตั้งสติมั่นไม่หลงลืม มีกายสงบไม่กระสับกระส่าย มีจิตตั้งม่ัน มอี ารมณเ์ ป็นหนง่ึ แตจ่ ติ ของข้าพเจ้ามิไดห้ ลุดพน้ จากอาสวะ ไมถ่ อื มน่ั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 753 5/4/18 2:25 PM
754 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ พระสาริบุตรชี้แจงว่า๑ การที่ท่านคิดว่าเรามองดูโลกต้ังพันด้วยทิพยจักษุน้ีจัดเข้าใน ความถือตัวของท่าน การท่ีท่านคิดว่าเราปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ตั้งสติม่ันไม่หลงลืม มีกายสงบไม่กระสับกระส่าย มีจิตต้ังมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง น้ีจัดเข้าในความฟุ้งสร้านของท่าน การท่ีท่านคิดว่า แต่จิตของเรามิได้หลุดพ้นจากอาสวะไม่ถือม่ัน นี้จัดเข้าในความร�ำคาญใจ ของทา่ น ทา่ นจงละธรรม ๓ ประการนเ้ี สยี อยา่ ใสใ่ จ จงนอ้ มไปในอมตธาตเุ ถดิ พระอนรุ ทุ ธเถระ ท�ำตามกไ็ ดส้ �ำเร็จเปน็ พระอรหันต์ ตรัสแสดงสิ่ง ๓ ประการ ที่คนน�ำไปอย่างปกปิด ไม่เปิดเผย คือมาตุคาม มนต์ของ พราหมณ์ ความเหน็ ผดิ แลว้ ตรสั แสดงสงิ่ ทเ่ี ปดิ เผยแลว้ รงุ่ โรจน์ คอื มณฑลแหง่ ดวงจนั ทร์ มณฑล แห่งดวงอาทิตย์ และพระธรรมวนิ ัยที่พระตถาคตประกาศแลว้ ทรงแสดงบคุ คล ๓ ประเภท คอื (๑) ผ้เู หมอื นรอยขีดบนหนิ ได้แกค่ นมกั โกรธและมีความโกรธตั้งอยูน่ าน (๒) ผู้เหมือนรอยขีดบนดนิ ไดแ้ กค่ นมกั โกรธ แต่มีความโกรธไม่ต้ังอย่นู าน (๓) ผู้เหมือนรอยขีดบนน้�ำ ได้แก่คนท่ีถูกว่ากล่าวด้วยค�ำหยาบช้าไม่น่าพอใจ ก็ ยังเป็นไปได้ (ทนได)้ แช่มชืน่ อยู่ได้ วรรคท่ี ๔ ชอ่ื โยธาชีววรรค วา่ ดว้ ยทหารหรอื นักรบ ๔. ทรงแสดงนกั รบที่ประกอบด้วยองค์ ๓ วา่ ควรแกพ่ ระราชา คอื (๑) ยงิ ไกล เทียบด้วยภกิ ษผุ พู้ จิ ารณาเห็นขนั ธ์ ๕ ตามเป็นจรงิ แลว้ ไม่ยึดถือ (๒) ยิงไว เทียบดว้ ยภิกษผุ ้รู ้อู ริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจรงิ (๓) ทำ� ลายกายใหญไ่ ด้ เทียบดว้ ยภิกษุผูท้ ำ� ลายกองอวชิ ชาใหญ่ได้ ทรงแสดงบริษทั ๓ คือทีแ่ นะนำ� ยาก แนะน�ำง่าย ทีต่ อ้ งรูอ้ ธั ยาศยั แล้วแนะน�ำ ทรงแสดงถงึ มติ รที่ประกอบดว้ ยองค์ ๓ วา่ ควรคบ คอื (๑) ให้ส่ิงทใี่ ห้ได้ยาก (๒) ทำ� สิ่งทที่ ำ� ได้ยาก (๓) อดทนสง่ิ ทีท่ นไดย้ าก ๑ ข้อความท่ีเรียงด้วยตัวเอนเป็นพิเศษน้ี เพ่ือช้ีว่า ตราบใดท่ียังละทิ้งค�ำว่า ”เรา„ ”เขา„ อันเป็นความยึดม่ันถือม่ัน ไมไ่ ด้ กย็ ากทีจ่ ะตรสั รู้ ภาษติ เช่นนพี้ ุทธศาสนิกชนท่สี นใจธรรมะชัน้ สูงคงพอใจมาก PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 754 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 755 ทรงแสดงว่า พระตถาคตจะเกิดข้ึนหรอื ไมก่ ็ตาม ทำ� นองคลองธรรมก็คงมอี ยแู่ ล้ว คือ ัอง ุคตตร ินกาย ข้อท่ีสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน) เป็นแต่พระตถาคตเป็นผตู้ รัสรู้ บอกเลา่ แสดง เปิดเผย จ�ำแนก ท�ำใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย ทรงแสดงว่า บรรดาวาทะของสมณะเป็นอันมาก วาทะของมักขลิเลวท่ีสุด คือมีวาทะ และความเห็นว่า กรรม (การกระท�ำ) ไม่มี กริ ยิ า (อาการท่ีท�ำ) ไม่มี วริ ยิ ะ (ความเพียร) ไม่มี เปน็ การคดั คา้ นพระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทง้ั อดตี อนาคต และปจั จบุ นั ผกู้ ลา่ ววา่ กรรม กิรยิ า ความเพยี ร มี ทรงแสดงสมั ปทา (ความถงึ พรอ้ มหรอื ความสมบรู ณ)์ ๓ อยา่ ง และวฑุ ฒิ (ความเจรญิ ) ๓ อยา่ ง คอื ความถงึ พร้อม และความเจรญิ ด้วยศรทั ธา ศีลและปญั ญา ทรงแสดงบุคคลประเภทด้อย กับประเภทดี เทียบด้วยม้าด้อย กับม้าดี อย่างละ ๓ ประเภท คอื ประเภทดอ้ ย (๑) สมบูรณ์ด้วยฝีเท้า แต่ไม่สมบูรณ์ด้วยสีกาย ไม่สมบูรณ์ด้วยความสูง และ ความสมส่วน ได้แกภ่ ิกษทุ ีร่ ู้อรยิ สจั จ์ ๔ ตามเป็นจรงิ แตเ่ มอื่ ถกู ถามปญั หา ในอภธิ รรม อภวิ นิ ยั ก็พูดตะกุกตะกกั ตอบไม่ได้และเปน็ ผู้ไม่มลี าภปจั จยั ๔ (๒) สมบูรณ์ด้วยฝีเท้า สมบูรณ์ด้วยสีกาย แต่ไม่สมบูรณ์ด้วยความสูง และ ความสมส่วน ได้แก่ภิกษุท่ีรู้อริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริง เมื่อถูกถามปัญหา ดงั กล่าวก็ตอบได้ ไม่พูดตะกกุ ตะกกั แต่ไม่มีลาภปัจจยั ๔ (๓) สมบูรณ์ทั้งสามอยา่ ง ได้แกภ่ ิกษุผู้รูอ้ ริยสจั จ์ ๔ ตามเป็นจริง ตอบปัญหาได้ ทงั้ มลี าภปัจจยั ๔ สว่ นประเภทดี (๑) สมบูรณ์ด้วยฝีเท้า แต่ไม่สมบูรณ์ด้วยสีกาย ไม่สมบูรณ์ด้วยความสูง และ ความสมสว่ น ไดแ้ กภ่ กิ ษผุ เู้ ปน็ พระอนาคามี แตต่ อบปญั หาไมไ่ ด้ ทงั้ ไมม่ ลี าภ ปัจจัย ๔ (๒) สมบูรณ์ด้วยฝีเท้า ด้วยสีกาย แต่ไม่สมบูรณ์ด้วยความสูง และความ สมส่วน ได้แกภ่ กิ ษผุ ้เู ปน็ พระอนาคามี ตอบปญั หาได้ แตไ่ มม่ ลี าภปัจจัย ๔ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 755 5/4/18 2:25 PM
756 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๓) สมบูรณ์ท้ังสามอย่าง ได้แก่ภิกษุผู้เป็นพระอนาคามี ตอบปัญหาได้ และมี ลาภปจั จัย ๔ ( หมายเหตุ : ในทน่ี แี้ สดงคนเทยี บดว้ ยมา้ ทง้ั ประเภทดอ้ ยประเภทดี มา้ ประเภทดอ้ ยใช้ ค�ำว่า อสฺสขลุํโก ซึ่งเมืองไทยเราแปลกันว่า ม้ากระจอก ส่วนม้าประเภทดีใช้ค�ำว่า สทสฺโส (สตฺ = ด ี อสสฺ = มา้ ) เวลากลา่ วถงึ คุณสมบตั ิของมา้ กลบั แสดงคุณสมบัติแบบเดียวกันทัง้ สาม ประเภท พึงเห็นว่า ม้าประเภทด้อยน้ัน แม้จะมีคุณสมบัติดีก็ดีอย่างม้าด้อยหรือม้ากระจอก แตเ่ วลาเเสดงถงึ คณุ สมบตั ขิ องคนประเภทดอ้ ยกบั ประเภทดี แมจ้ ะกลา่ วถงึ คณุ สมบตั เิ ทยี บดว้ ย ม้าที่สมบูรณ์ด้วยฝีเท้า เป็นต้น อย่างเดียวกัน แต่ก็แบ่งประเภทด้อยว่ารู้อริยสัจจ์ ๔ ส่วน ประเภทดีเป็นพระอนาคาม)ี ทรงแสดงบคุ คลประเภทดเี ลศิ (บุรษุ อาชาไนย) เทียบดว้ ยม้าอาชาไนย โดยคณุ สมบัติ ของมา้ อาชาไนยทส่ี มบรู ณท์ งั้ สามประการ แตแ่ สดงคณุ สมบตั ขิ องบคุ คลตา่ งออกไปในขอ้ สมบรู ณ์ ดว้ ยฝีเทา้ คือเปน็ พระอรหันต์ (ท�ำใหแ้ จง้ เจโตวิมุติ ปัญญาวิมตุ ิ อนั ไม่มอี าสวะ) สว่ นที่สามารถ ตอบปัญหา กบั มลี าภ คงเหมือนกัน ทรงแสดงถึงภิกษุผู้ประกอบด้วย ธรรม ๓ อย่าง คือกองศีล สมาธิ ปัญญา อันเป็น อเสขะ (ศลี สมาธิ ปญั ญา ของพระอรหนั ต)์ วา่ เปน็ ผสู้ ำ� เรจ็ ลว่ งสว่ น อยจู่ บพรหมจรรย์ ประเสรฐิ กว่าเทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย แลว้ ทรงแสดงถงึ ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบดว้ ย ธรรม ๓ อยา่ งอกี ๒ ประเภท คอื อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ์ (แสดงฤทธ์ิได้เป็นอัศจรรย์) อาเทสนาปาฏิหาริย์ (ทายใจได้เป็นอัศจรรย์) อนุสาสนีปาฏิหาริย์ (ส่ังสอนได้เป็นอัศจรรย์) กับอีกประเภทหน่ึงประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) สัมมาญาณะ (ความรู้ชอบ) สัมมาวิมุติ๑ (ความหลุดพ้นชอบ) ว่าเป็นผู้ส�ำเร็จล่วงส่วน อยจู่ บพรหมจรรย์ ประเสริฐกวา่ เทวดาและมนษุ ยท์ งั้ หลาย วรรคท่ี ๕ ชื่อมังคลวรรค วา่ ด้วยมงคล ๕. ทรงแสดงว่า บุคคลประกอบด้วยธรรม ๓ อย่าง ในทางชั่วทางดี จะเป็นเหมือน ถูกน�ำไปต้ังไว้ในนรกหรือในสวรรค์ ในฝ่ายชั่ว คือประกอบด้วยการกระท�ำทางกาย วาจา ใจ อันเป็นอกศุ ล มีโทษ ไมส่ ม�่ำเสมอ ไมส่ ะอาด ในฝ่ายดี พงึ ทราบโดยนยั ตรงกนั ข้าม ๑ พระอรรถกถาจารย์อธิบายว่า สัมมาทิฏฐิ ได้แก่วิปัสสนาสัมมาทิฏฐิ สัมมาญาณ ได้แก่ผลญาณ สัมมาวิมุติ ไดแ้ กธ่ รรม คอื ผลสมาบัตทิ ่ีเหลือ อนั เป็นเรอ่ื งของคุณธรรมภายใน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 756 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 757 ทรงแสดงถงึ คนพาลผู้ประกอบดว้ ยธรรม ๓ อยา่ ง (แยกตามการกระทำ� ทางกาย วาจา ัอง ุคตตร ินกาย ใจ ทเ่ี ปน็ อกศุ ล มโี ทษ ไมส่ มำ�่ เสมอ ไมส่ ะอาด ดงั กลา่ วขา้ งตน้ ) วา่ เปน็ ผบู้ รหิ ารตนอยา่ งถกู ขดุ มี โทษ ถกู ตเิ ตียน ประสบสิ่งมิใช่บุญเปน็ อันมาก สว่ นบัณฑติ ตรงกนั ข้าม ทรงแสดงการไหว้ ๓ อย่าง คือทางกาย วาจา ใจ และ สุจริต ๓ อย่าง คือทางกาย วาจา ใจ พระสูตรทไ่ี มจ่ ดั เขา้ ในหมวด ๕๐ (หมายความว่า เป็นพระสตู รทเี่ ปน็ เศษจาก ๑๕๐ สูตรทีก่ ล่าวมาแล้ว) พระผู้มีพระภาคทรงแสดงปฏปิ ทา ๓ อย่าง คอื ๑. หยาบช้า ๒. เผาตน ๓. สายกลาง โดยทรงอธิบายว่า ปฏิปทาอย่างหยาบช้า ได้แก่ที่เห็นว่า กามไม่มีโทษ จึงบริโภคกาม อย่างเผา ตน ได้แก่ทรมานตนมีเปลือยกาย เป็นต้น อย่างสายกลาง ได้แก่การเจริญสติปัฏฐาน (การ ต้ังสติ) ๔ อย่าง ทรงแสดงปฏิปทา ๓ อย่างตามช่ือเดิมอีก เป็นแต่อธิบายต่างออกไปว่า อย่าง หยาบช้า อย่างเผาตนเหมือนอย่างข้างต้น แต่อย่างสายกลาง ได้แก่ความเพียรชอบ ๔ อย่าง โดยนัยนี้ได้ทรงแสดงปฏิปทา ๓ อย่าง เฉพาะข้อสุดท้าย โดยแสดงหมวดธรรมในโพธิปักขิย ธรรม (ดเู สด็จปา่ มหาวนั หน้า ๔๕๙) ทลี ะหัวข้อจนจบถงึ มรรคมีองค์ ๘ อนงึ่ ทรงแสดงผปู้ ระกอบดว้ ยธรรมะฝา่ ยชวั่ ๓ อยา่ ง ฝา่ ยดี ๓ อยา่ ง คอื ตวั เองประกอบ อกุศลกรรมบถ ๑๐ (มฆี ่าสัตวเ์ ป็นต้น) แต่ละขอ้ ด้วยตนเอง ชกั ชวนผอู้ นื่ ให้ท�ำ มีความยนิ ดีใน อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ แตล่ ะขอ้ หรอื ประกอบกศุ ลกรรมบท ๑๐ แตล่ ะขอ้ ดว้ ยตนเอง ชกั ชวนผอู้ นื่ มีความยินดีในกุศลกรรมบถแต่ละข้อ ว่าเป็นผู้เหมือนถูกน�ำไปต้ังไว้ในนรก ในสวรรค์ สุดแต่ เปน็ ฝา่ ยดีหรอื ฝา่ ยชวั่ ทรงแสดงสุญญตสมาธิ (สมาธิมีความว่างเปล่าเป็นอารมณ์) อนิมิตตสมาธิ (สมาธิ มีความไม่มีเครื่องหมายเป็นอารมณ์) อัปปณิหิตสมาธิ (สมาธิมีความไม่มีที่ต้ังเป็นอารมณ์) เพอื่ กำ� หนดรู้ เพอื่ ละราคะ โทสะ โมหะ เปน็ ตน้ (คือละอุปกิเลส ๑๖ ดู หนา้ ๕๓๑ วัตถปู มสูตร ข้อ ๒) จบความยอ่ แหง่ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๐ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 757 5/4/18 2:25 PM
เล่ม ๒๑ องั คุตตรนกิ าย จตกุ กนิบาต พระไตรปิฎกเล่มน้ี ตลอดเล่มว่าด้วยธรรมะจ�ำนวน ๔ พิจารณาดูจากหมวดใหญ่ท่ี แบ่งแยกออกเป็นส่วน ๆ แล้ว พอประมาณได้ว่า มีพระสูตรราว ๓๐๐ สูตร กล่าวคือในเล่มนี้ แบ่งออกเปน็ หมวด ๕๐ (ปัณณาสก)์ ๔ หมวด หมวดนอก ๕๐ (ขนาดยาวมี ๗ วรรค ประมาณ ๗๐ สตู ร) ๑ หมวด หมวดนอก ๕๐ (ขนาดสัน้ ) ๑ หมวด คำ� วา่ นอก ๕๐ คือไม่สงเคราะหเ์ ข้าใน หมวด ๕๐ (ปัณณาสกาสังคหิตะ) ขยายความ จตกุ กนิบาต ชุมนมุ ธรรมะท่มี ี ๔ ข้อ ปฐมปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ท่ี ๑ (ในหมวดนี้มี ๕ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สูตร คือ ๑. ภัณฑคามวรรค ว่าด้วย เหตุการณ์ในภัณฑคาม หรือหมู่บ้านช่ือภัณฑะ ๒. จรวรรค ว่าด้วยอิริยาบถเดิน ๓. อุรุเวลวรรค ว่าด้วยเหตุการณ์ในต�ำบลอุรุเวลา ๔. จักกวรรค ว่าด้วยล้อรถ ล้อธรรม ๕. โรหิตัสสวรรค ว่าดว้ ยโรหติ ัสสเทพบุตร) วรรคที่ ๑ ช่ือภณั ฑคามวรรค ว่าด้วยเหตกุ ารณใ์ นภัณฑคาม หรือหมู่บา้ นช่ือภณั ฑะ ๑. ตรัสว่า ท่ีเราและท่านท้ังหลาย เวียนว่ายท่องเท่ียวอยู่ตลอดกาลนาน ก็เพราะ ไมต่ รสั รศู้ ลี สมาธิ ปญั ญา วมิ ตุ ิ (ความหลดุ พน้ ) อนั เปน็ อรยิ ะ ตอ่ เมอื่ ไดต้ รสั รแู้ ลว้ จงึ ถอนตณั หา เสียได้ ไม่มกี ารเกดิ อกี ตรัสว่า ถ้าไม่ประกอบด้วยธรรมะ ๔ อย่าง ข้างต้น ชื่อว่าตกจากพระธรรมวินัยน้ี ตอ่ ประกอบด้วยธรรมะ ๔ อยา่ งน้ัน จงึ ชื่อวา่ ไม่ตกจากพระธรรมวนิ ยั น้ี ตรัสว่า คนพาลประกอบด้วยธรรมะ ๔ อย่าง ชื่อว่าบริหารตนให้ถูกขุด มีโทษควร ตเิ ตยี น ประสบส่งิ มใิ ชบ่ ญุ เปน็ อนั มาก คือไม่พจิ ารณาสอบสวน (๑) ชมผู้ท่ีควรติ (๒) ติผทู้ ีค่ วรชม (๓) แสดงความเล่อื มใสในฐานะท่ีไมค่ วรเล่ือมใส (๔) แสดงความไม่เล่ือมใสในฐานะท่ีควรเลื่อมใส PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 758 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 759 ส่วนบณั ฑติ ตรงกนั ขา้ ม ัอง ุคตตร ินกาย ทรงแสดงวา่ คนพาลปฏบิ ตั ผิ ดิ ในบคุ คล ๔ ประเภท คอื มารดา บดิ า พระตถาคต สาวก ของพระตถาคต ส่วนบัณฑติ ตรงกันขา้ ม ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คือ (๑) ผู้ไปตามกระแส ไดแ้ ก่ผู้เสพกาม ท�ำบาป (๒) ผู้ทวนกระแส ได้แก่ผู้ไม่เสพกาม ไม่ท�ำบาป แต่ประพฤติพรหมจรรย์ด้วย ความทกุ ข์ โทมนสั รอ้ งไห้ (๓) ผู้มีตนใหต้ ัง้ อยู่ได้ (ลอยน�้ำ) ไดแ้ กพ่ ระอนาคามี (๔) ผ้ขู า้ มฝงั่ ได้ ยืนอยูบ่ นบก ไดแ้ กพ่ ระอรหนั ต์ ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คอื (๑) ผู้สดับน้อย ทั้งไม่เข้าถึงด้วยการสดับ ได้แก่ผู้สดับน้อย ทั้งไม่ปฏิบัติธรรม สมควรแกธ่ รรม (๒) ผสู้ ดบั นอ้ ย แตเ่ ขา้ ถงึ ดว้ ยการสดบั ไดแ้ กผ่ สู้ ดบั นอ้ ย แตป่ ฏบิ ตั ธิ รรมสมควร แกธ่ รรม (๓) ผู้สดับมาก แต่ไม่เข้าถึงด้วยการสดับ ได้แก่ผู้สดับมาก แต่ไม่ปฏิบัติธรรม สมควรแกธ่ รรม (๔) ผู้สดบั มาก ทัง้ เขา้ ถงึ ด้วยการสดบั ไดแ้ กผ่ ู้สดับมาก ท้งั ปฏิบัตธิ รรมสมควร แกธ่ รรม ทรงแสดงคนฉลาด ที่ไดร้ ับการแนะน�ำ เป็นผูก้ ล้าหาญ สดับฟงั มาก ทรงธรรม ปฏบิ ัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ชือ่ วา่ ทำ� หม่ใู หง้ าม ๔ ประเภท คือ ภกิ ษุ ภกิ ษุณี อบุ าสก อบุ าสิกา ทรงแสดงความเปน็ ผแู้ กลว้ กลา้ ๔ อยา่ งของพระตถาคต ทที่ รงบรรลอื สหี นาทหมนุ ลอ้ ธรรมอนั ประเสรฐิ คอื (๑) ทรงปฏญิ ญาวา่ ตรัสรู้แล้ว ไม่มีใครคัดคา้ นได้ว่า ไมไ่ ด้ตรัสรู้ (๒) ทรงปฏิญญาว่าสิ้นอาสวะแลว้ ไมม่ ีใครคดั ค้านได้วา่ ยงั ไม่สน้ิ อาสวะ (๓) ตรสั วา่ ธรรมเหลา่ ใดเปน็ อนั ตราย ไมม่ ใี ครคดั คา้ นไดว้ า่ ธรรมเหลา่ นน้ั ไมค่ วร เป็นอันตรายแกผ่ เู้ สพ (๔) ตรสั แสดงธรรมเพอื่ ประโยชนแ์ กผ่ ใู้ ด ไมม่ ใี ครคดั คา้ นไดว้ า่ ธรรมนน้ั ไมน่ ำ� ผู้ ทำ� ตามใหส้ น้ิ ทุกข์โดยชอบไดจ้ รงิ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 759 5/4/18 2:25 PM
760 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทรงแสดงความเกิดแห่งตัณหา ๔ ประการ คือตัณหาเกิด เพราะเหตุแห่งเคร่ือง นงุ่ หม่ อาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั ความเปน็ หรอื ความไมเ่ ปน็ อยา่ งนน้ั อยา่ งนี้ (อรรถกถาแกว้ า่ เพราะเหตุ แหง่ สิง่ ทีป่ ระณีตและสง่ิ ทป่ี ระณตี ขึน้ ไปกว่า) ทรงแสดงเคร่อื งประกอบสตั ว์ (ผูกมัด) สตั ว์ไวใ้ นภพ ๔ ประการ คอื กาม (ความใครแ่ ละสงิ่ ท่นี ่าใคร)่ ภพ (ความมีความเป็น) ทฏิ ฐิ (ความเหน็ ) อวชิ ชา (ความไม่รู้อายตนะ ๖ ตามเป็นจริง๑) แลว้ ทรงแสดงธรรมอกี ๔ อยา่ ง ท่ีตรงกนั ข้ามชื่อวิสงั โยคะ (เคร่ืองคลายมดั ) วรรคที่ ๒ ชอ่ื จรวรรค วา่ ดว้ ยอริ ยิ าบถเดนิ ๒. ตรัสว่า เม่ือภิกษุเดิน ยืน นั่ง นอน ถ้าความตรึกในกาม ในการพยาบาท ในการ เบียดเบียนเกิดขึ้น เธอรับไว้ไม่ละเสีย เธอก็ช่ือว่าไม่มีความเพียร เป็นผู้เกียจคร้าน แต่ถ้า ไมร่ บั ไว้ ละเสยี เธอก็จะชื่อวา่ มีความเพียรไมเ่ กียจครา้ น ทรงชักชวนภิกษุท้ังหลาย ให้มีศีลสมบูรณ์ มีปาฏิโมกข์สมบูรณ์ ให้ส�ำรวมด้วยดีใน พระปาฏิโมกข์ (ศลี อันเปน็ ใหญเ่ ป็นประธานของภกิ ษุท่สี วดทกุ กง่ึ เดอื น) ให้สมบรู ณ์ดว้ ยมารยาท และโคจร (การรู้จักไปในที่ควร) ให้เห็นภัยในโทษเพียงเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบท ทั้งหลาย แล้วแสดงอิริยาบถ ๔ ที่มีนีวรณ์ ๕ เกิดข้ึน ถ้าไม่ละนีวรณ์ก็ชื่อว่าเกียจคร้าน ถ้าละก็ ช่อื วา่ ไมเ่ กยี จครา้ นดัง่ ขา้ งตน้ ทรงแสดงการตั้งความเพียรชอบ (สัมมัปปธาน) และการตั้งความเพียร (ปธาน) อยา่ งละ ๔ ประการ คอื เพยี รระวงั บาปมใิ หเ้ กดิ ขน้ึ เพยี รละบาปทเ่ี กดิ ขนึ้ แลว้ เพยี รทำ� ความดใี ห้ เกิดข้นึ เพียรรกั ษาความดที เี่ กิดข้ึนแล้ว เป็นแต่ในภาคอธบิ ายของปธาน ทรงอธบิ ายว่า (๑) ไดแ้ ก่การส�ำรวมอนิ ทรีย์ ๖ คอื ตา หู เป็นต้น (๒) ได้แกก่ ารละอกุศลวิตก (๓) ไดแ้ กก่ ารเจรญิ โพชฌงค์ ๗ มสี ติ เป็นตน้ (๔) ได้แก่การรักษาสมาธินิมิต (เครื่องหมายในใจท่ีท�ำให้เกิดสมาธิ) มีความ กำ� หนดหมายในกระดูก (อฏั ฐิกสญั ญา) เป็นตน้ ๑ นบั เปน็ หลักฐานท่ีอธิบายอวิชชาตา่ งออกไปจากที่อน่ื ซ่งึ โดยมากแก้ว่า อวชิ ชา คอื ไมร่ ู้อริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริง ๑. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 760 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 761 ทรงแสดงการบัญญัติสงิ่ ทีเ่ ลิศ ๔ ประการ คอื ัอง ุคตตร ินกาย (๑) บรรดาผู้มอี ัตตภาพ อสุรนิ ทราหูเปน็ เลิศ (๒) บรรดาผู้บรโิ ภคกาม พระเจา้ มันธาตรุ าชเปน็ เลิศ (๓) บรรดาผู้มคี วามเปน็ ใหญ่ พญามารเป็นเลศิ (๔) พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นผู้เลิศในโลก พร้อมท้ังเทวโลก ท้งั มาร ท้ังพรหม ทรงแสดงถึงญาณท่ีรู้ลักษณะอันสุขุม (ละเอียดอ่อน) ๔ ประการ คือความสุขุม แหง่ รปู เวทนา สัญญา สังขาร ซงึ่ ภกิ ษุผู้มีสง่ิ เหล่าน้ีแล้ว ยอ่ มไมเ่ หน็ สิง่ อน่ื ยง่ิ กว่า ประณีตกวา่ ไมป่ รารถนาส่งิ อื่น (รปู เวทนา สัญญา สังขารอนั สขุ มุ ) ที่ย่ิงกว่า ประณีตกวา่ ทรงแสดงการลุอ�ำนาจแก่ความล�ำเอียง ๔ (อคติคมนะ) คือล�ำเอียงเพราะรัก ล�ำเอียงเพราะชัง ล�ำเอียงเพราะหลง ล�ำเอียงเพราะกลัว แล้วทรงแสดงในทางตรงกันข้าม คือ การไม่ลุอำ� นาจแก่ความลำ� เอียง ๔ ทรงแสดงถึงภิกษุผู้แจกอาหาร (ภัตตุทเทสกะ) ผู้ตกนรก หรือข้ึนสวรรค์ เพราะ ต้งั อยูใ่ นความลำ� เอียง หรอื ไม่ต้งั อย่ใู นความล�ำเอียงท้งั สีน่ ี้ วรรคที่ ๓ ช่ืออรุ ุเวลววรค วา่ ดว้ ยเหตกุ ารณใ์ นต�ำบลอุรเุ วลา ๓. ทรงแสดงว่า ทรงพิจารณาแล้วไม่เห็นใครย่ิงกว่าพระองค์ โดยกองศีล สมาธิ ปัญญา วิมุติ จึงทรงตกลงเคารพธรรมท่ีทรงตรัสรู้ ทันใดน้ัน ท้าวสหัมบดีพรหมก็มากราบทูล ว่า พระพุทธเจ้าในอดีต อนาคต และพระองค์เองในปัจจุบันก็เคารพธรรมท้ังสิ้น ตรัสบอก ภิกษุทั้งหลายต่อไปว่า ทรงเคารพธรรมแล้ว เม่ือสงฆ์ถึงความเป็นใหญ่๑ ก็ทรงเคารพในสงฆ์ ด้วย ทรงเล่าเรื่องพราหมณ์ผู้เฒ่าสูงอายุหลายคน ผู้พากันกล่าวหาพระองค์ เมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ ณ ริมฝัง่ น้�ำเนรัญชราวา่ ไม่กราบไหว้ ตอ้ นรบั พราหมณผ์ เู้ ฒ่า ผูส้ ูงอายุ พระองค์ทรงพระดำ� ริว่า แม้จะเจริญโดยชาติ มีอายุสูง ถ้าไม่มีคุณธรรมก็นับว่าเป็นผู้ใหญ่ (เถระ) ที่เป็นพาล ต่อมี คุณธรรม แม้จะอยู่ในปฐมวัยก็นับได้ว่าผู้ใหญ่ (เถระ) ผู้เป็นบัณฑิต แล้วทรงแสดงธรรมที่ ท�ำใหเ้ ปน็ ผใู้ หญ่ ๔ ประเภท คือ ๑ อรรถกถาแก้ว่า ความเป็นใหญ่มี ๔ อย่าง คือ (๑) เป็นใหญ่โดยรู้ราตรีนานคือเก่าแก่ (๒) เป็นใหญ่โดยไพบูล (๓) เป็น ใหญโ่ ดยพรหมจรรย์ (๔) เปน็ ใหญ่โดยเลิศดว้ ยลาภ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 761 5/4/18 2:25 PM
762 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๑) มีศลี (๒) สดับตรบั รบั ฟังมาก (๓) ไดฌ้ านตามปรารถนาโดยง่าย (๔) บรรลุเจโตวมิ ุติ ปญั ญาวมิ ุติ อนั ไม่มีอาสวะ ทรงแสดงว่า พระตถาคต ตรัสรู้โลก เหตุเกิดแห่งโลก ความดับโลก ข้อปฏิบัติให้ถึง ความดบั โลก แลว้ แสดงคณุ ธรรมของพระตถาคต ทรงแสดงว่า พระตถาคตเป็นผู้คงที่ ในสิ่งท่ีเห็นได้ ฟังได้ ทราบได้ รู้ได้ (ค�ำว่า ทราบได้ หมายความถงึ ดมกลิน่ ล้มิ รส ถูกตอ้ งสัมผัส ส่วนร้ไู ด้ หมายถึงร้ไู ด้ดว้ ยใจ) ทรงแสดงวา่ ทรงประพฤตพิ รหมจรรย์ มใิ ชเ่ พอ่ื หลอกลวงคน มใิ ชเ่ พอื่ เรยี กรอ้ งคนให้ มานบั ถอื มใิ ชเ่ พอื่ ประโยชนแ์ กล่ าภ สกั การะและชอื่ เสยี ง ทแี่ ทเ้ พอ่ื สำ� รวม เพอ่ื ละกเิ ลส เพอื่ คลาย ก�ำหนัดยินดี เพอ่ื ดับทกุ ข์ ทรงแสดงว่า ภิกษุผู้พูดปด กระด้าง พูดพล่าม มีกิเลสหลายทาง เหมือนทางสี่แพร่ง ถือตัว มีจิตไม่ต้ังม่ัน ช่ือว่าไม่นับถือพระองค์ เป็นผู้ห่างจากพระธรรมวินัยน้ี ไม่เจริญงอกงาม ในพระธรรมวนิ ัยนี้ ทรงแสดงถึงของน้อยท่ีหาไดง้ า่ ยและไมม่ โี ทษ คือ (๑) ผา้ บังสุกลุ (ผา้ เปอ้ื นฝ่นุ คือเศษผ้าท่ีเขาทิง้ ในท่ตี ่าง ๆ) (๒) อาหารที่เดินหาด้วยล�ำแข้ง (บิณฑบาต) (๓) ทีน่ อนท่นี ่ังคือโคนไม้ (๔) ยาดองด้วยนำ้� มตู รเน่า ทรงแสดงวงศ์ของพระอรยิ ะ ท่เี ป็นของเก่า ไมเ่ ปน็ ที่รงั เกยี จใน ๓ กาล คอื (๑) สนั โดษดว้ ยจวี รตามมีตามได้ (๒) สนั โดษด้วยบิณฑบาตตามมีตามได้ (๓) สนั โดษดว้ ยเสนาสนะตามมตี ามได้ ไมท่ ำ� การแสวงหาอนั ไมส่ มควร เพราะสงิ่ ท้ังสามนั้นไม่ได้ก็ไม่เดือดร้อน ได้ก็ไม่ติด ไม่ยกตนข่มผู้อ่ืน เพราะความ สันโดษทัง้ สามข้อน้นั (๔) ยนิ ดใี นการเจริญกศุ ลธรรม ในการละอกุศลธรรม เธอก็จะครอบง�ำความไม่ ยนิ ดเี สียได้ ทรงแสดงบทธรรม ๔ ประการ คือ ความไม่โลภ ความไม่พยาบาท ความระลึกชอบ ความตง้ั ใจม่นั ชอบ ว่าเป็นของเก่า ไมม่ ใี ครรงั เกยี จทง้ั สามกาล PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 762 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 763 ทรงแสดงธรรมแก่ปริพพาชกที่มีช่ือเสียงหลายคน ณ ฝั่งแม่น�้ำสัปปินี ถึงบท ัอง ุคตตร ินกาย แห่งธรรม ๔ ดังกล่าวแล้ว เป็นแต่มีค�ำอธิบายละเอียดมากข้ึน โดยท�ำนองว่า ถ้าใครคัดค้าน กจ็ ะถูกกลา่ วหาวา่ เป็นคนโลภ คนพยาบาท คนหลงลืมสติ คนมีจิตไมต่ ั้งมัน่ วรรคท่ี ๔ ช่ือจักกวรรค ว่าดว้ ยลอ้ รถ ลอ้ ธรรม ๔. ทรงแสดงจักร ๔ (ธรรมเปรียบเหมอื นล้อรถ) คือ (๑) การอยู่ในสถานที่อันสมควร (๒) การพง่ึ (คบ) สัตบุรุษ (คนดี) (๓) การต้ังตนไวช้ อบ (๔) ความเปน็ ผ้มู บี ญุ อันทำ� ไว้ในกาลก่อน ทรงแสดงสังคหวัตถุ ๔ (เรื่องของการสงเคราะห)์ คอื (๑) การให้ (๒) การเจรจาอ่อนหวาน (๓) การบ�ำเพ็ญประโยชน์ (๔) การวางตนสมำ่� เสมอหรอื เหมาะสม ทรงแสดงวา่ พระตถาคตอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงแสดงธรรมใหร้ จู้ กั กายของตน (สกั กายะ) ความเกดิ แหง่ กายของตน ความดบั แหง่ กายของตน ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั กายของ ตนเหมือนราชสีห์บรรลือสีหนาท ทรงแสดงความเลื่อมใส ๔ ประการ คอื (๑) พระตถาคตเป็นเลศิ แหง่ สตั วท์ ้ังหลาย (๒) อรยิ มรรคมีองค์ ๘ เปน็ เลิศแห่งธรรมทปี่ ัจจัยปรุงแตง่ (๓) วิราคธรรม (ความคลายก�ำหนัดยินดี) อนั ไดแ้ กน่ พิ พานเปน็ เลิศแห่งธรรมที่ ปัจจยั ไม่ปรงุ แตง่ (๔) พระอรยิ สงฆ์ ๔ คู่ ๘ บคุ คล เป็นเลศิ แห่งหมู่ท้งั หลาย ผ้ใู ดเล่ือมใสใน ๔ อย่างน้ี ช่อื วา่ เล่อื มใสในส่ิงทีเ่ ลศิ อันจะมีผลเลิศ วสั สการพราหมณ์ กราบทลู แสดงความคดิ เห็นเร่อื งมหาบรุ ษุ ผมู้ ีปญั ญามากว่า ได้แก่ ผู้สดับตรับฟังมาก ผู้รู้เน้ือความของภาษิต ผู้มีสติทรงจ�ำดี ผู้ขยันในการงาน พระผู้มีพระภาค ตรัสตอบว่า มหาบุรุษผู้มีปัญญามาก คือผู้ที่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์สุขแก่คนเป็นอันมาก ท�ำชน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 763 5/4/18 2:25 PM
764 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ หมู่ใหญ่ให้ต้ังอยู่ในธรรมที่ถูกอันเป็นกุศล เป็นผู้มีความช�ำนาญในเรื่องของการตรึกคือคิด หรือไม่คิดเรื่องใด ๆ ได้ตามปรารถนา ได้ฌาน ๔ ตามต้องการ ท�ำให้แจ้งเจโตวิมุติอันไม่มี อาสวะ (เป็นพระอรหนั ต)์ โทณพราหมณเ์ หน็ พระผมู้ พี ระภาค ประทบั ณ โคนไมต้ น้ หนง่ึ นา่ เลอ่ื มใส จงึ เขา้ ไปเฝา้ ทูลถามว่า พระองค์เป็นเทพ คนธรรพ์ ยักษ์ มนุษย์หรือ ทีละข้อ พระองค์ปฏิเสธทุกข้อ แลว้ ทรงอธบิ ายวา่ ถา้ ยงั ละอาสวะไมไ่ ด้ กจ็ ะเปน็ ตามทถี่ ามนนั้ พระองคล์ ะอาสวะไดเ้ ดด็ ขาดแลว้ จึงเป็นพุทธะ เปรียบเหมือนดอกบวั เกิดในนำ้� โผล่พน้ น�้ำ ไมเ่ ปียกน้�ำ ทรงแสดงว่า ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง ไม่ควรจะเสื่อม ช่ือว่าอยู่ใกล้พระ นิพพาน คือ (๑) มีศีล (๒) สำ� รวมอนิ ทรีย์ (มีตา หู เปน็ ต้น) (๓) รู้ประมาณในอาหาร (๔) ประกอบความเพียรเปน็ เคร่อื งต่ืน (ไมเ่ ห็นแก่นอน) ทรงแสดงว่า ภิกษุผู้ละความยึดถือว่าเป็นจริงในเร่ืองเฉพาะเร่ือง (เช่น ไม่เห็นว่าโลก เที่ยง) ช่ือว่าเป็นผู้มีการแสวงหาอันประเสริฐ ไม่บกพร่อง มีกายสังขารอันสงบระงับ (ได้ ฌานที่ ๔ ลมหายใจซ่ึงมีกายสังขารเครื่องปรุงกายดับ) เป็นผู้หลีกเร้นแล้ว (ละอัสมิมานะ ความถอื ตวั ได้) ตรัสตอบอุชชยพราหมณ์ ผู้กล่าวว่า พระสมณโคดมไม่ทรงสรรเสริญยัญ โดย ทรงช้แี จงวา่ พระองค์มิไดส้ รรเสริญยัญทกุ ชนิด แต่ก็มไิ ด้ตยิ ัญทุกชนิด คือไมส่ รรเสรญิ ยัญทีม่ ี การฆา่ สตั ว์ เพราะพระอรหนั ตห์ รอื ผบู้ รรลอุ รหตั ตมรรค ยอ่ มไมเ่ ขา้ ไปสยู่ ญั เชน่ นนั้ แตส่ รรเสรญิ ยญั ทไี่ มม่ กี ารฆา่ สตั ว์ เชน่ นจิ จทาน (ทานทใ่ี หเ้ ปน็ ประจำ� ) อนกุ ลุ ยญั (ยญั ทเ่ี ปน็ ไปตามลำ� ดบั สกลุ คือการให้ทานตามจารีตของสกุลสืบ ๆ มา) เพราะพระอรหันต์ หรือผู้บรรลุอรหัตตมรรคย่อม เข้าไปสู่ยญั เชน่ นัน้ ตรัสตอบอุทายิพราหมณ์ ในท�ำนองเดียวกับอุชชยพราหมณ์ (เป็นแต่นิคมคาถา คอื บทกวีสรูปข้อธรรมทา้ ยสูตรตา่ งกัน) วรรคที่ ๕ ชือ่ โรหติ ัสสวรรค วา่ ดว้ ยโรหิตัสสเทพบุตร ๕. ตรัสแสดงการเจริญสมาธิ (สมาธิภาวนา) ๔ อย่าง ท่ีเป็นไปเพื่ออยู่เป็นสุขใน ปจั จุบัน ไดแ้ กเ่ จรญิ ฌาน ๔ ทเ่ี ป็นไปเพ่ือได้ญาณทสั สนะ (การเหน็ ด้วยญาณ) ไดแ้ ก่การใส่ใจใน ความก�ำหนดหมายแสงสว่าง ตั้งความก�ำหนดหมายว่าเป็นกลางวัน คืออบรมจิตให้มีแสงสว่าง PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 764 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 765 ด้วยจิตสงัดไม่ถูกรึงรัด ว่าเหมือนกันท้ังกลางวันกลางคืน ที่เป็นไปเพ่ือสติสัมปชัญญะ ได้แก่ ัอง ุคตตร ินกาย ร้แู จ้งเวทนา สัญญา วิตก (ความตรึก) ทเี่ กิดขน้ึ ตัง้ อยูด่ ับไป ท่ีเปน็ ไปเพ่ือสน้ิ อาสวะ ได้แกเ่ หน็ ความเกิดขน้ึ ดบั ไปแห่งขนั ธ์ ๕ ทรงแสดงการตอบปัญหา ๔ อยา่ ง คอื ปัญหาท่ีควรตอบโดย (๑) แง่เดียว (๒) แยกตอบ (ตามเหตผุ ล) (๓) ยอ้ นถาม (๔) หยดุ ไว้ (ไม่ตอบ) ทรงแสดงบคุ คล ๔ ประเภท คอื ผหู้ นกั ในความโกรธ ในการลบหลบู่ ญุ คณุ ทา่ น ในลาภ ในสกั การะ ไมห่ นกั ในสัทธรรม สว่ นฝา่ ยดอี ีก ๔ ประเภท คอื ผูห้ นกั ในสัทธรรม ไม่หนกั ใน ๔ ขอ้ ฝา่ ยช่วั นน้ั ทรงแสดงอสัทธรรม ๔ คือความเป็นผู้หนักในความโกรธ เป็นต้นดังกล่าวแล้ว และทรงแสดงสทั ธรรม ๔ ในทางตรงกนั ข้าม โรหิตัสสเทพบุตรกราบทูลถามว่า ในท่ีใดไม่มีผู้เกิด แก่ ตาย เคล่ือน (จุติ) เข้าถึง (อุปปัติ) อาจหรือไม่ท่ีจะรู้จะเห็นจะบรรลุท่ีสุดแห่งโลกนั้นด้วยการไป ตรัสตอบว่า ไม่อาจ โรหติ สั สเทพบตุ รกราบทลู แสดงความอศั จรรยใ์ จและเลา่ ความวา่ ในสมยั หนง่ึ ตนเคยเปน็ ฤษชี อ่ื โรหิตสั สะ มีฤทธเิ์ หาะไปในอากาศไดร้ วดเร็ว ขนาดกา้ วเดียวข้ามมหาสมุทรตลอดเวลา ๑๐๐ ปี ยังไมถ่ ึงท่ีสุดแห่งโลก๑ ก็ถงึ แก่กรรมเสยี ในระหวา่ ง พระผู้มีพระภาคตรัสวา่ พระองคไ์ มต่ รสั ว่า ทสี่ ดุ แหง่ โลก ทไี่ มม่ ผี เู้ กดิ แก่ ตาย เคลอ่ื น เขา้ ถงึ ทพี่ งึ รู้ พงึ เหน็ พงึ บรรลดุ ว้ ยการไปจะมไี ด้ และ ไมต่ รสั วา่ บคุ คล ไมบ่ รรลทุ สี่ ดุ แหง่ โลกแลว้ จะทำ� ทกุ ขใ์ หส้ นิ้ ไปได้ (ทำ� ทส่ี ดุ ทกุ ข)์ กแ็ ตว่ า่ พระองค์ ทรงบัญญัตโิ ลก เหตเุ กิดแหง่ โลก ความดบั โลก ขอ้ ปฏบิ ัติใหถ้ ึงความดับโลก ในรา่ งกายน้แี หละ อันมปี ระมาณวาหน่งึ มสี ญั ญา (ความจ�ำได้ หมายรู)้ มใี จครอง๒ คร้ันวันรงุ่ ขึ้นพระผมู้ ีพระภาค จงึ ตรัสเล่าให้ภิกษุท้งั หลายทราบถงึ การโตต้ อบนนั้ ๒๑ อรรถกถาแก้วา่ จักกวาฬโลก โลกคือจกั รวาล (อันเว้ิงวางไม่มที ่ีสิน้ สดุ ) ก็ไม่สามารถค้นหาท่สี ดุ แหง่ พระสูตรนีใ้ ห้ข้อคดิ ทส่ี �ำคญั ย่ิงหลายประการ เช่น แสดงว่า แมม้ ีฤทธม์ิ ากเหาะไปได้ไว โลกจกั รวาลได้ เทยี บทฤษฎวี ทิ ยาศาสตร์ ทวี่ ่าแสงซง่ึ เดินทางวินาทีละ ๑๘๖,๒๗๒ ไมล์ แสงของดาวบางดวงต้อง ใช้เวลาเดินทางถึง ๖๕๐ ปี จึงมาถึงโลกเรา หลักวิชาด่ังกล่าวจึงรับรองภาษิตของโรหิตัสสเทพบุตร แต่พระผู้มี พระภาคก็ทรงแสดงโลกอีกชนิดหน่ึง ที่เรียกว่าสังขารโลก โดยช้ีมาท่ีร่างกายมนุษย์น้ีเองว่า ถ้ารู้แล้วก็ท�ำทุกข์ให้ ส้ินไปได้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 765 5/4/18 2:25 PM
766 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ พระผู้มพี ระภาคตรสั ถงึ สิ่งทไ่ี กลกันย่ิง ๔ อย่าง คอื ทอ้ งฟา้ กบั แผน่ ดิน ฝง่ั นก้ี ับฝ่ังโนน้ ของมหาสมทุ ร ทางทีด่ วงอาทติ ย์ขึ้นและอัสดง ธรรมะของคนดกี บั คนชวั่ ตรัสชมเชยพระวิสาขะ ปัญจาลิบุตร ผู้แสดงธรรมในโรงฉันด้วยถ้อยค�ำอันสมบูรณ์ สละสลวย ไม่มีโทษ เข้าใจง่าย เน่ืองด้วยความไม่เวียนว่ายตายเกิด ไม่อาศัยความเวียนว่าย ตายเกดิ ทรงแสดงความวปิ ลาส (ความผดิ พลาด ความคลาดเคลอื่ น) ๔ อยา่ ง คอื สญั ญาวปิ ลาส จติ ตวิปลาส ทิฏฐวิ ปิ ลาส (ความวปิ ลาสแห่งความก�ำหนดหมาย แหง่ จติ แหง่ ความเห็น) (๑) ในสิง่ ไม่เทย่ี งวา่ เทย่ี ง (๒) ในทกุ ข์ว่าสขุ (๓) ในสง่ิ มใิ ช่ตนวา่ ตน (๔) ในสิ่งไม่งามวา่ งาม ตรสั แสดงเครือ่ งเศรา้ หมองของสมณพราหมณ์ ๔ อย่าง คือ (๑) ด่มื สุราเมรัย (๒) เสพเมถุนธรรม (ธรรมของคนคู)่ (๓) ยนิ ดรี บั ทองเงิน ไม่เวน้ จากการรบั ทองเงิน (๔) เล้ียงชีวิตด้วยมิจฉาชีพ เปรียบเหมือนหมอก หิมะ ธุลีควัน อสุรินทราหู เปน็ เครอื่ งเศรา้ หมองแหง่ พระจันทรพ์ ระอาทติ ย์ฉะนั้น ทุติยปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๒ (ในหมวดใหญ่น้ี แบ่งออกเป็น ๕ วรรค ๆ ละประมาณ ๑๐ สูตรเช่นเคย วรรคที่ ๑ ซอื่ ปญุ ญาภิสณั ฑวรรค วา่ ดว้ ยความไหลมาแหง่ บญุ วรรคที่ ๒ ชอื่ ปัตตกมั มวรรค วา่ ดว้ ยกรรม หรือ การกระท�ำอันสมควร วรรคท่ี ๓ ช่ืออปัณณกวรรค ว่าด้วยข้อปฏิบัติไม่ผิด วรรคท่ี ๔ ชอ่ื มจลวรรค วา่ ดว้ ยสมณะผไู้ มห่ วน่ั ไหว วรรคที่ ๕ ชอื่ อสรุ วรรค วา่ ดว้ ยอสรู โปรดทราบวา่ ตวั เลข หน้าข้อความที่จะย่อต่อไปนี้ เปน็ เคร่อื งบอกวรรคไปในตวั ด้วย) วรรคที่ ๑ ช่ือปญุ ญาภิสณั ฑวรรค วา่ ดว้ ยความไหลมาแห่งบุญ ๑. ทรงแสดงความไหลมาแห่งบุญ แห่งกุศล มีความสุขเป็นอาหาร ซ่ึงเป็นไปเพื่อ สงิ่ ทน่ี ่าปรารถนา นา่ ใคร่ น่าพอใจ เพ่ือประโยชนแ์ ละความสขุ ๔ อยา่ ง คือภิกษุผ้บู รโิ ภคปัจจัย ๔ ของผู้ใด แล้วเข้าสู่เจโตสมาธิอันไม่มีประมาณอยู่ ความไหลมาแห่งบุญของผู้นั้น ย่อมไม่มี ประมาณ (ล�ำดบั ปัจจยั ๔ แตล่ ะข้อนับเป็น ๑ ขอ้ ) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 766 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 767 ทรงแสดงความไหลมาแห่งบุญ แห่งกุศล อีก ๔ อย่าง คืออริยสาวกประกอบด้วย ัอง ุคตตร ินกาย ความเลอื่ มใสอนั ไมห่ วน่ั ไหวในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ประกอบดว้ ยศลี ทพี่ ระอรยิ เจา้ ใคร่ คอื ศลี ท่ีไมข่ าด ไม่ทะลุ ไมด่ า่ ง ไมพ่ รอ้ ย เปน็ ไท เป็นไปเพอื่ สมาธิ ตรสั แสดงธรรมแกค่ ฤหบดี คฤหปตานี ผ้เู ดนิ ทางระหว่างเมืองมธุรา กับเมอื งเวรัญชา เรือ่ งการอยรู่ ว่ มกัน ๔ อยา่ ง คือ (๑) ศพอยูร่ ว่ มกับศพ ได้แกส่ ามแี ละภรยิ าทุศีล มธี รรมอันเลวดว้ ยกนั (๒) ศพอยู่รว่ มกบั เทพี ได้แกส่ ามีทศุ ลี แต่ภรยิ ามศี ีลธรรม (๓) เทพอยู่รว่ มกบั ศพ ได้แก่สามีมศี ีลธรรม แตภ่ ริยาทุศลี (๔) เทพอยรู่ ่วมกบั เทพี ได้แก่สามภี รยิ ามีศลี ธรรมดว้ ยกนั ตรสั แสดงเรอ่ื งการอยู่ร่วมกนั ๔ อย่าง เช่นเดยี วกับข้างตน้ เป็นแตอ่ ธบิ ายตา่ งออกไป กำ� หนดทจุ จรติ สจุ รติ กาย วาจา ใจ (รวมฝา่ ยละ ๑๐ ทเ่ี รยี กวา่ อกศุ ลกรรมบถ และกศุ ลกรรมบถ) เป็นฝา่ ยชั่วและฝ่ายดี ตรสั แสดงธรรมแกบ่ ดิ าและมารดาของนกลุ มาณพ ผมู้ คี วามปรารถนาจะเหน็ กนั ทงั้ ใน ปัจจุบันและอนาคตว่า ถ้าสองฝ่ายมีศรัทธา ศีล การบริจาคและปัญญาเสมอกัน ก็จะเห็นกัน ท้ังในปจั จุบนั และอนาคต (ไดอ้ ยู่รว่ มกนั อีก) คร้ังเสด็จประทับ ณ นิคมช่ือปัชชเนละแห่งโกลิยกษัตริย์ ตรัสแสดงธรรมแก่ นางสุปปวาสา ธิดาโกลิยกษัตริย์ เรื่องอริยสาวิกาถวายอาหารแก่ปฏิคาหก (ผู้รับ) ช่ือว่าให้อายุ ผิวพรรณ ความสุขและกำ� ลัง ครั้นให้แล้วก็จะเป็นผู้มสี ว่ นไดส้ ิ่งทง้ั สอ่ี ย่างน้นั ทเ่ี ปน็ ทิพย์ ตรสั แสดงธรรมแกอ่ นาถปณิ ฑกิ คฤหบดี ทำ� นองเดยี วกบั นางสปุ ปวาสา และแสดงเรอื่ ง ข้อปฏบิ ัตชิ อบ ของคฤหัสถผ์ ูป้ ระกอบด้วยธรรม ๔ ประการ อนั ท�ำใหไ้ ดย้ ศ เปน็ ไปเพอ่ื สวรรค์ คอื อปุ ฐากภกิ ษุสงฆด์ ้วยปัจจยั ๔ วรรคท่ี ๒ ช่อื ปัตตกัมมวรรค วา่ ดว้ ยกรรมหรอื การกระท�ำอนั สมควร ๒. ตรัสแก่อนาถปิณฑิกคฤหบดี ถึงธรรมะท่ีปรารถนารักใคร่ชอบใจ อันหาได้ยาก (ยากจะสมหวงั ) ๔ ประการ คอื (๑) ขอให้มที รัพย์ (๒) ขอให้มียศ (๓) ขอใหอ้ ายยุ นื (๔) ขอใหต้ ายแล้วไปสสู่ ุคตโิ ลกสวรรค์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 767 5/4/18 2:25 PM
768 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ แล้วทรงแสดงข้อปฏิบัติที่ให้ส�ำเร็จประสงค์ ๔ ประการคอื (๑) ถึงพร้อมด้วยความเช่ือ (๒) ถึงพรอ้ มดว้ ยศลี (๓) ถึงพร้อมดว้ ยการบริจาค (๔) ถึงพรอ้ มด้วยปัญญา โดยเฉพาะขอ้ ปญั ญา ตรัสอธิบายวา่ ได้แกร่ ู้เท่าทันนวี รณ์๑ ๕ วา่ เป็นเครื่องเศร้าหมอง แห่งจิตแล้วละได้ ผู้เช่นนั้นย่อมท�ำกรรมท่ีควร ๔ อย่าง คือเม่ือได้ทรัพย์มาด้วยความเพียรอัน ชอบธรรมแลว้ (๑) ยอ่ มทำ� ตวั เอง มารดา บดิ า บตุ ร ภริยา ทาส กรรมกร มิตรสหายให้เป็นสุข (๒) เมอ่ื มีอันตรายเกิดข้นึ ใช้ทรพั ยน์ น้ั ป้องกนั ทำ� ตนใหม้ ีความสวัสดี (๓) ทำ� พลี ๕ คือ ญาตพิ ล ี สงเคราะห์ญาติ อติถิพลี ต้อนรบั แขก ปุพฺพเปตพลี ทำ� บญุ อทุ ศิ ให้ผู้ตาย ราชพลี เสยี ภาษีอากรแก่หลวง เทวตาพลี ทำ� บุญอุทศิ ใหเ้ ทวดา (หรอื เสียสละเพ่ือบูชาคณุ ความดีทที่ ำ� มนษุ ย์ใหเ้ ปน็ เทวดา) (๔) ถวายทานแดส่ มณพราหมณ์ ผ้ปู ระพฤตชิ อบ ถ้าทรัพย์หมดไป เพราะใช้จ่ายนอกจากกรรมอันควร ๔ อย่างน้ี ช่ือว่าหมดไป อยา่ งไมส่ มควร ตอ่ หมดไปตามหลักน้ี จึงชื่อว่าหมดไปอยา่ งสมควร ตรัสแสดงความสุขท่ีคฤหัสถ์ผู้บริโภคกามจะพึงได้รับตามกาลอันสมควร (สุข ของผู้ครองเรอื น) ๔ ประการ คอื (๑) สุขเกดิ จากการมที รพั ย์ (๒) สุขจากการใช้จา่ ยทรพั ย์ (๓) สขุ จากการไมเ่ ปน็ หนี้ (๔) สุขจากการงานทไ่ี มม่ ีโทษ ตรัสว่า สกุลที่บูชามารดาบิดาในเรือนของตน ช่ือว่า มีพรหม มีบูรพาจารย์ มี บูรพเทพ (เทวดาผู้เป็นต้นเดิม) มีผู้ควรของค�ำนับ ค�ำเหล่านี้เป็นชื่อของมารดาบิดา เพราะ ท่านเปน็ ผู้มีอุปการะมาก เป็นผ้เู ล้ียงดู แสดงโลกนแ้ี ก่บุตร ๑ นีวรณ์คือกิเลสอันกั้นจิตให้บรรลุความดี โดยปกติแสดงว่ากามฉันท์ความพอใจเป็นข้อแรก บางแห่งก็ใช้ค�ำว่า อภชิ ฌา (ความเพ่งเล็งหรือโลภ) ในท่ีนใ้ี ช้อภชิ ฌาวิสมโลภ (โลภขนาดรนุ แรง) เป็นข้อแรก PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 768 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 769 ตรสั วา่ ผฆู้ า่ สตั ว์ ลกั ทรพั ย์ ประพฤตผิ ดิ ในกาม พดู ปด เปน็ ผเู้ หมอื นถกู นำ� ไปตง้ั ไวใ้ นนรก ัอง ุคตตร ินกาย ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คือ (๑) ถอื รปู เปน็ ประมาณ เลื่อมใสในรปู (๒) ถอื เสียงเป็นประมาณ เลือ่ มใสในเสียง (๓) ถือความปอน คือ ความเศรา้ หมองเป็นประมาณ เลื่อมใสในความปอน (๔) ถอื ธรรมะเปน็ ประมาณ เลอื่ มใสในธรรมะ ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คือผูม้ รี าคะ โทสะ โมหะ มานะ (ความถอื ตวั ) งูกัดภิกษุรูปหน่ึงตาย ตรัสสอนให้แผ่เมตตาจิตในสกุลพญางูทั้งส่ี แต่ใน บทกวที า้ ยสูตรสอนใหแ้ ผ่เมตตาในสัตว์ทกุ ประเภท ทรงปรารภพระเทวทตั ตรสั วา่ ลาภ สกั การะ ชอื่ เสยี ง เกดิ ขน้ึ แกพ่ ระเทวทตั เพอ่ื ฆา่ ตน เพอื่ ความเสื่อม เปรียบเหมอื นตน้ กล้วยตกเครอื ตน้ ไผ่ตกขุย ต้นอ้อตกขยุ มา้ อัสดรตกลูกเพือ่ ฆ่าตน เพื่อความเส่ือมฉะนัน้ ตรัสแสดงความเพียร ๔ อย่าง คือเพียรระงับบาปมิให้เกิดขึ้น เพียรละบาปที่เกิดข้ึน แล้ว เพียรทำ� ความดใี หเ้ กิดข้ึน เพียรรกั ษาความดีทเ่ี กดิ แล้ว ตรัสแสดงว่า ในสมัยใดพระราชาไม่ตั้งอยู่ในธรรม ในสมัยน้ันข้าราชการ พราหมณ์ คฤหบดี ชาวนิคมชนบท ก็พลอยไม่ต้ังอยู่ในธรรมด้วย พระจันทร์ พระอาทิตย์ ดาวฤกษ์ กลางคืน กลางวัน ฤดู เป็นต้น ก็แปรปรวนได้ด้วย แต่ถ้าพระราชาต้ังอยู่ในธรรม ผู้อื่นก็ พลอยตั้งอยูใ่ นธรรมด้วย ฤดู เดอื น ปี เปน็ ตน้ กไ็ มป่ รวนแปร แล้วตรัสสรูปในท้ายพระสูตรว่า ในหมู่มนุษย์ ผู้ใดได้รับยกย่องว่าประเสริฐ ถ้าไม่ประพฤติธรรม ประชาชนก็พลอยไม่ประพฤติตามด้วย แว่นแคว้นทั้งปวงก็อยู่เป็นทุกข์ ถ้าตรงกันข้าม ก็อยู่เป็นสุข เปรียบเหมือนโคหัวหน้าฝูง เมื่อข้ามน้�ำว่ายไปคดเคี้ยว โคท้ังปวง ก็ว่ายน้ำ� คดไปตาม ถ้าไปตรง โคทงั้ ปวงก็วา่ ยน�้ำไปตรง วรรคที่ ๓ ชือ่ อปัณณกวรรค ว่าด้วยขอ้ ปฏบิ ัติไมผ่ ิด ๓. ทรงแสดงขอ้ ปฏิบตั ิไม่ผดิ ของผู้ริเร่มิ เพ่ือท�ำอาสวะใหส้ น้ิ ๔ ประการ คอื (๑) มศี ีล (๒) สดบั ตรับฟงั มาก (๓) ปรารภความเพยี ร (๔) มปี ญั ญา PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 769 5/4/18 2:25 PM
770 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ และอกี ๔ ประการ คอื ประกอบด้วยความตรกึ ในการออกจากกาม ในการไมพ่ ยาบาท ในการไมเ่ บยี ดเบียน ความเห็นชอบ ตรสั ว่า อสัตบุรุษ (คนชว่ั ) ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ คือ (๑) ไมต่ อ้ งถามกเ็ ปดิ เผยความชวั่ ของคนอน่ื ยงิ่ ถกู ถามกย็ ง่ิ กลา่ วความชว่ั ของคน อ่ืนอย่างบรบิ ูรณ์ พสิ ดาร (๒) แม้ถูกถามก็ไม่เปิดเผยคุณความดีของคนอื่น หรือเปิดเผยก็ไม่บริบูรณ์ ไมพ่ ิสดาร (๓) แม้ถูกถามกไ็ ม่เปดิ เผยความชวั่ ของตน หรือเปิดเผยกไ็ ม่บรบิ รู ณ์ไมพ่ ิสดาร (๔) ไมต่ อ้ งถามกเ็ ปดิ เผยคุณความดขี องตน ยิง่ ถกู ถามก็ย่งิ กล่าวความดีของตน อยา่ งบริบรู ณ์พิสดาร สว่ นสตั บุรุษ (คนดี) ทรงแสดงโดยนยั ตรงกันขา้ ม ตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลาย ท�ำตนเหมือนหญิงสาวท่ีน�ำมา (สู่สกุลสามี) ใหม่ ๆ ซงึ่ มีความละอาย ความเกรงกลวั มากในแมผ่ ัว พอ่ ผวั ในสามี โดยทส่ี ดุ แมใ้ นทาสและกรรมกร แต่เมื่ออยู่ร่วมกันนานเข้าก็พูดรุกรานเอา ภิกษุบวชใหม่ก็ฉันน้ัน ย่อมมีความละอาย ความ เกรงกลัวมากในภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา โดยท่ีสุดแม้ในคนท�ำงานวัดและสามเณร แต่ เมอ่ื อย่รู ่วมกนั นานเขา้ ก็รุกรานเอา ทรงแสดงส่ิงที่เลิศ ๔ อย่างคือ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุติ (ความหลุดพ้น) และอีก ๔ อยา่ งคอื รปู เวทนา (ความรสู้ กึ อารมณ)์ สญั ญา (ความจำ� ไดห้ มายร)ู้ และภพ (ความมคี วามเปน็ ) เม่ือใกล้จะปรินิพพาน ตรัสเปิดโอกาสให้ภิกษุท้ังหลาย ผู้มีความสงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ในมรรค ในขอ้ ปฏบิ ตั ิ กราบทลู ถามได้ อยา่ เดอื ดรอ้ นภายหลงั วา่ อยตู่ อ่ หนา้ พระศาสดา แต่มไิ ดถ้ าม แมต้ รสั ถงึ ๓ คร้ังก็ไม่มผี ถู้ าม จงึ ตรสั วา่ ถ้าไมถ่ ามเพราะความเคารพ ในพระศาสดา ก็ให้บอกแก่สหาย (ถามแทนได้) แต่ก็ไม่มีใครถาม พระอานนท์แสดงความ อัศจรรย์ใจ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ภิกษุที่ประชุมอยู่นี้อย่างต�่ำเป็นพระโสดาบัน เท่ียง๑ ท่ีจะไดต้ รสั รูใ้ นภายหนา้ ตรัสเร่ืองท่ีไม่ควรคิด (อจินไตย) ๔ อย่าง คือวิสัยของพระพุทธเจ้า วิสัยของฌาน (การทำ� จิตให้เป็นสมาธิแนว่ แน่) ผลของกรรม ความคิดเร่อื งโลก (เชน่ ใครสร้างโลก เป็นตน้ ) ตรสั เรือ่ งความบรสิ ทุ ธ์ิของทกั ขิณา (ของถวาย) ๔ อย่าง คือ ๑ เท่ยี ง หมายถึง แน่นอน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 770 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 771 (๑) บริสทุ ธิ์ฝา่ ยผใู้ ห้ ไมบ่ ริสทุ ธิ์ฝ่ายผ้รู ับ ัอง ุคตตร ินกาย (๒) บรสิ ุทธฝิ์ ่ายผรู้ ับ ไมบ่ ริสทุ ธฝ์ิ ่ายผใู้ ห้ (๓) ไมบ่ ริสุทธ์ิทงั้ ฝา่ ยผู้ให้ ผูร้ บั (๔) บรสิ ทุ ธทิ์ งั้ ฝา่ ยผใู้ ห้ ผรู้ บั (ทรงอธบิ ายความบรสิ ทุ ธดิ์ ว้ ยการมศี ลี และกลั ยาณธรรม) ตรสั ตอบพระสารบิ ตุ ร แสดงการกระท�ำในชาติก่อน ของบคุ คล ๔ ประเภทที่ปวารณา สมณพราหมณ์ (อนญุ าตใหข้ อ) แล้ว ไมใ่ ห้ตามท่ีขอ ไม่ให้ตามท่ตี ้องการ ใหต้ ามตอ้ งการ ใหย้ งิ่ กวา่ ความตอ้ งการ (ขอนอ้ ยใหม้ าก) เปน็ เหตใุ หเ้ ปน็ พอ่ คา้ ทข่ี าดทนุ ไมไ่ ดผ้ ลตามทต่ี อ้ งการ ไดผ้ ล ตามต้องการ ไดผ้ ลดียง่ิ กว่าท่ตี ้องการโดยลำ� ดับ ตรัสตอบค�ำถามของพระอานนท์ เรื่องความชั่ว คือ ความโกรธ ความริษยา ความ ตระหน่ี ความมีปัญญาทรามว่าเป็นเหตุให้มาตุคามไม่ได้นั่งในสภา ไม่ได้ท�ำการงาน ไม่ได้ถึง กัมโมชะ คือโอชะแห่งการงาน (อรรถกถาอธิบายว่า ไม่ได้เดินทางไกลไปแคว้นกัมโพชะหรือ ไปนอกแว่นแควน้ ) วรรคท่ี ๔ ชอ่ื มจลวรรค วา่ ด้วยสมณะผู้ไมห่ วนั่ ไหว ๔. ทรงแสดงความช่ัวความดีฝ่ายละ ๔ ที่เป็นเหตุให้บุคคลตกนรกข้ึนสวรรค์ เหมือนถูกน�ำไปต้ังไว้ (เช่น เกี่ยวกับศีล ทุศีล สุจริต ทุจจริต หนักในความช่ัว ไม่หนักใน ความด)ี ทรงแสดงบคุ คล ๔ ประเภท คอื ผมู้ ดื มามดื ไป มืดมาสว่างไป สว่างมามืดไป สวา่ งมา สว่างไป โดยทรงแสดงว่า เกิดมาไม่ดี แล้วท�ำความช่ัว เกิดมาไม่ดี แต่ท�ำความดี เกิดมาดี แตท่ �ำความชว่ั เกิดมาดี และท�ำความดี (ดีชวั่ กำ� หนดด้วยสจุ ริต ทจุ จริต) ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คือพร่องมาพร่องไป พร่องมาเต็มไป เต็มมาพร่องไป เต็มมาเตม็ ไป โดยอธบิ ายเชน่ เดียวกบั พวกมดื และสวา่ งขา้ งตน้ ตรสั เรอื่ งบคุ คล ๔ ประเภท คือ (๑) สมณะผไู้ มห่ วนั่ ไหวไดแ้ กพ่ ระเสขะ (พระอรยิ บคุ คลผยู้ งั ตอ้ งศกึ ษา) ผปู้ รารถนา ความปลอดโปร่งจากกเิ ลสอย่างยอดเยยี่ ม (๒) สมณะดอกบัวขาว ได้แก่ภิกษุผู้ท�ำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มี อาสวะ (เป็นพระอรหนั ต์) แต่มไิ ดถ้ ูกตอ้ งวโิ มกข์ ๘ ดว้ ยนามกาย๑ (๓) สมณะดอกปทมุ (บวั หลวง) ไดแ้ กภ่ กิ ษผุ ทู้ ำ� ใหแ้ จง้ วมิ ตุ ทิ ง้ั สองนน้ั แลว้ ไดถ้ กู ต้องวโิ มกข์ ๘ ดว้ ยนามกาย ๑ วิโมกข์ ๘ มอี ะไรบ้าง เร่ืองทำ� นองนีเ้ คยมีรายละเอยี ดมาแลว้ ดหู น้า ๔๕๔ ขอ้ ๑ ถงึ ๗ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 771 5/4/18 2:25 PM
772 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๔) สมณะผู้ละเอียด (สุขุมาล) ในสมณะทั้งหลาย ได้แก่ภิกษุผู้ไม่มักมากใน ปัจจัย ๔ ต่อเม่ือมีผู้ขอร้องจึงใช้สอยมาก ไม่มีผู้ขอร้องก็ใช้สอยน้อย มี โรคน้อย ได้ฌาน ๔ ตามต้องการ ทำ� ให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มี อาสวะ แล้วทรงแสดงสมณะ ๔ ประเภท ตามชื่อเดิมอีก ต่างแต่ค�ำอธิบายตามล�ำดับข้อ คือ พระโสดาบนั พระสกทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ อกี ปรยิ ายหนง่ึ ไดแ้ กภ่ กิ ษผุ มู้ มี รรค ๘ ผมู้ สี มั มตั ตะ ๑๐ (เพมิ่ สมั มาญาณะ สมั มาวมิ ตุ )ิ แตไ่ มไ่ ดถ้ กู ตอ้ งวโิ มกข์ ๘ ดว้ ยนามกาย ผมู้ สี มั มตั ตะ ๑๐ ทง้ั ไดถ้ กู ตอ้ ง วโิ มกข์ ๘ ดว้ ยนามกาย ผไู้ ม่มีความมกั มากในปัจจัย ๔ และอกี นยั หน่งึ ทรงแสดงสมณะ ๔ ประเภท ตามช่อื เดมิ ดังกล่าวข้างตน้ วา่ ไดแ้ ก่ภกิ ษุ ผู้เป็นพระเสขะ ผู้เห็นความเกิดความดับในขันธ์ ๕ แต่ไม่ได้ถูกต้องวิโมกข์ ๘ ด้วยนามกาย ผเู้ หน็ ความเกดิ ความดบั ในขนั ธ์ ๕ ทง้ั ไดถ้ กู ตอ้ งวโิ มกข์ ๘ ดว้ ยนามกาย ผไู้ มม่ กั มากในปจั จยั ๔ วรรคที่ ๕ ชอ่ื อสุรวรรค ว่าดว้ ยอสรู ๕. ตรสั แสดงอสูร ๔ ประเภท คือ (๑) อสรู ทมี่ ีอสูร เปน็ บรวิ าร ได้แกบ่ ุคคลผ้ทู ุศลี มบี าปธรรม มีบรษิ ทั เป็นผูท้ ศุ ีล มีบาปธรรม (๒) อสูรท่มี เี ทพเปน็ บรวิ าร ไดแ้ ก่ บุคคลผทู้ ุศีล มีบาปธรรม แตม่ ีบริษทั เป็นผู้มี ศลี มกี ลั ยาณธรรม (๓) เทพที่มีอสูรเป็นบริวาร ได้แก่บุคคลผู้มีศีล มีกัลยาณธรรม แต่มีบริษัท เปน็ ผทู้ ศุ ีล มบี าปธรรม (๔) เทพท่ีมีเทพเป็นบริวาร ได้แก่บุคคลผู้มีศีล มีกัลยาณธรรม ท้ังมีบริษัทเป็น เชน่ นน้ั ดว้ ย (พระสตู รนแี้ สดงความเปน็ ยกั ษเ์ ปน็ เทวดาดว้ ยคณุ ธรรม อนั นบั เป็นพระธรรมเทศนาทที่ ันสมัยอยู่ตลอดกาล) ทรงแสดงบคุ คล ๔ ประเภท คือ (๑) ผไู้ ดเ้ จโตสมถะ (ความสงบแหง่ จติ ) ภายใน แตไ่ มไ่ ดอ้ ธปิ ญั ญา ธมั มวปิ สั สนา (ความเห็นแจง้ ธรรมะ อันเป็นอธปิ ัญญา) (๒) ผไู้ ด้อธิปัญญา ธมั มวปิ สั สนา แตไ่ ม่ได้เจโตสมถะในภายใน (๓) ผไู้ มไ่ ด้ทงั้ สองอยา่ ง (๔) ผ้ไู ด้ท้ังสองอย่าง PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 772 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 773 ตรัสอธิบายขยายความ บคุ คล ๔ ประเภทข้างตน้ อีกหลายนยั ัอง ุคตตร ินกาย ตรัสแสดงบุคคล ๔ ประเภท คอื (๑) ผู้ไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตนประโยชน์ผู้อ่ืน เปรียบเหมือนดุ้นฟืนถูกไฟไหม้ สองข้าง ตรงกลางก็เปื้อนอจุ จาระ ใช้ประโยชน์ของไมใ้ นบา้ นกไ็ ม่ได้ ในปา่ ก็ ไม่ได้ (๒) ผ้ปู ฏบิ ตั เิ พ่อื ประโยชนผ์ ูอ้ ่นื ไมเ่ พอื่ ประโยชนต์ น ยังดกี วา่ ข้อแรก (๓) ผู้ปฏบิ ตั ิเพ่ือประโยชนต์ น ไม่เพอื่ ประโยชน์ผูอ้ ืน่ ยังดีกว่า ๒ ข้อข้างต้น (๔) ผปู้ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนต์ นและประโยชนผ์ อู้ น่ื นบั วา่ ดกี วา่ ทกุ ขอ้ (พงึ สงั เกตวา่ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน หมายความว่า ท�ำตนให้บรรลุมรรคผล จึงยกย่อง ว่าสูงกว่าประโยชน์ผู้อื่น เพราะถ้าตนเองได้บรรลุ ก็อาจบ�ำเพ็ญประโยชน์ ผอู้ น่ื ไดด้ ยี ง่ิ ขนึ้ ยกตวั อยา่ ง ถา้ พระพทุ ธเจา้ ไมไ่ ดต้ รสั รู้ แตต่ ง้ั ศาสนาขนึ้ เพอ่ื สอนให้ผอู้ นื่ ตรสั รู้ ยอ่ มไม่ไดผ้ ลจริงจงั เหมือนตรสั รดู้ ้วยพระองค์เองก่อน) แลว้ ตรสั อธบิ ายบคุ คล ๔ ประเภทในชอ่ื เดมิ อกี หลายนยั เชน่ ปฏบิ ตั เิ พอื่ นำ� ออกซง่ึ ราคะ โทสะ โมหะ ชักชวนผอู้ น่ื เพื่อการนั้นนยั หนงึ่ อีกนัยหน่ึง พิจารณาได้เร็วในกุศลธรรม ทรงจ�ำธรรมะท่ีสดับแล้วได้ดี พิจารณาเนื้อ ความแหง่ ธรรมะทท่ี รงจำ� ไวแ้ ลว้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื รอู้ รรถรธู้ รรม นเ้ี ปน็ ฝา่ ยประโยชนต์ น สว่ นประโยชน์ ผอู้ น่ื คือชักชวนแนะน�ำเพอื่ เป็นเชน่ น้ัน อีกนัยหน่ึง ประโยชน์ตน คอื เวน้ จากการลว่ งละเมิดศีล ๕ ประโยชน์ผ้อู ื่น คือชักชวน ผอู้ น่ื ใหเ้ วน้ จากการลว่ งละเมิดศลี ๕ (แมใ้ นนัยหลังนี้ การที่ตนอย่ใู นศลี ธรรมก่อนผู้อ่ืน กย็ ังนับ วา่ สูงกว่าการดีแตช่ วนให้ผอู้ ่นื อยู่ในศลี ธรรม แตต่ นเองลว่ งละเมิด) ตรัสแสดงบคุ คล ๔ ประเภท แก่โปตลยิ ปริพพาชก คอื (๑) ผตู้ ิคนท่ีควรติ แตไ่ ม่ชมคนท่คี วรชม (๒) ชมคนทคี่ วรชม แตไ่ ม่ตคิ นทค่ี วรติ (๓) ไมต่ คิ นทค่ี วรติ ไมช่ มคนท่คี วรชม (๔) ตคิ นทีค่ วรติ ชมคนทค่ี วรชม ทง้ั สปี่ ระเภทน้ี มขี อ้ แมอ้ ยวู่ า่ เปน็ ไปโดยกาละและตชิ มตามความจรงิ ปรพิ พาชกทลู วา่ ตนชอบพอใจบุคคลประเภทท่ี ๓ เพราะวางเฉย พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พระองค์ชอบ บคุ คลประเภทที่ ๔ เพราะรู้กาลในที่นั้น ๆ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 773 5/4/18 2:25 PM
774 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตตยิ ปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ท่ี ๓ (ในหมวดนี้มี ๕ วรรคเช่นกัน วรรคที่ ๑ ชื่อวลาหกวรรค ว่าด้วยฝน หมวดที่ ๒ ชื่อเกสีวรรค ว่าด้วยนายเกสีผู้ฝึกม้า หมวดที่ ๓ ช่ือภยวรรค ว่าด้วยภัย หมวดท่ี ๔ ชื่อ ปุคคลวรรค วา่ ดว้ ยบคุ คล หมวดที่ ๕ ชื่ออาภาวรรค วา่ ดว้ ยแสงสวา่ ง) วรรคที่ ๑ ชือ่ วลาหกวรรค ว่าด้วยฝน ๑. ทรงแสดงเรอ่ื งฝน ๔ อย่าง คอื (๑) คำ� ราม แต่ไม่ตก ไดแ้ ก่บุคคลผพู้ ูด แต่ไม่ท�ำ (๒) ตก แตไ่ ม่ค�ำราม ไดแ้ ก่บคุ คลผทู้ ำ� แตไ่ มพ่ ูด (๓) ทง้ั ไม่ค�ำรามทง้ั ไม่ตก ไดแ้ ก่ บุคคลผทู้ ัง้ ไมพ่ ูดทั้งไมท่ ำ� (๔) ทั้งคำ� รามท้ังตก ได้แก่บคุ คลผ้ทู ้ังพูดท้งั ทำ� ทรงแสดงเร่ืองฝนในลักษณะเดิมอีก ๔ อย่าง แต่อธิบายถึงคุณสมบัติของบุคคล ต่างออกไป ประเภทที่ ๑ ได้แก่ผู้เรียนรู้ธรรมะ (ศาสนาของพระศาสดามีองค์ ๙) แต่ไม่รู้ อริยสจั จ์ ๔ ตามเปน็ จรงิ ประเภทท่ี ๒ ได้แก่ผู้ไมเ่ รยี นรธู้ รรมะ แต่รู้อริยสจั จ์ ๔ ตามเป็นจรงิ ประเภทที่ ๓ ได้แก่ผทู้ ั้งไมเ่ รียนรธู้ รรมะ ทง้ั ไม่รู้อริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจรงิ ประเภทที่ ๔ ไดแ้ ก่ผู้ทง้ั เรียนรู้ธรรมมะ ทัง้ รูอ้ ริยสจั จ์ ๔ ตามเป็นจริง ทรงแสดงเรื่องหม้อ ๔ อย่าง คือหม้อท่ีเปล่า แต่ปิด เต็ม แต่เปิด เปล่าและเปิด เตม็ และปิด (หม้อเปลา่ เทียบดว้ ยไมร่ ูอ้ รยิ สจั จ์ ๔ หมอ้ เตม็ เทยี บด้วยรู้อรยิ สจั จ์ ๔ หม้อเปิด เทยี บด้วยมีกริ ยิ าอาการไมน่ ่าเลื่อมใส หมอ้ ปดิ เทยี บด้วยมีกิรยิ าอาการน่าเลือ่ มใส) ทรงแสดงเรอ่ื งหว้ งน้ำ� ๔ อยา่ ง คือหว้ งนำ้� ทต่ี ืน้ มีเงาลึก ทล่ี กึ มีเงาต้นื ที่ต้นื มีเงาตน้ื ท่ีลกึ มเี งาลึก (ลึก ตน้ื เทยี บดว้ ยไม่รู้ หรอื รอู้ รยิ สจั จ์ ๔ เงาตื้น เงาลกึ เทยี บด้วยมกี ิรยิ าอาการ ไม่น่าเล่ือมใสหรอื น่าเล่อื มใส) ทรงแสดงมะม่วง ๔ อย่าง คือดิบข้างใน สุกข้างนอก สุกข้างใน ดิบข้างนอก ดิบข้างใน ดิบข้างนอก สุกข้างใน สุกข้างนอก (ดิบ หรือสุกข้างใน เทียบด้วยไม่รู้ หรือ รู้อริยสัจจ์ ๔ ดบิ หรอื สกุ ข้างนอก เทยี บด้วยมีกิรยิ าอาการไมน่ ่าเลอื่ มใสหรือน่าเลือ่ มใส) ทรงแสดงหนู ๔ ประเภท คือขุดรู แต่ไม่อยู่ อยู่ แต่ไม่ขุดรู ไม่ขุดรูและไม่อยู่ ขุดรูและอยู่ (ขุดรูหรือไม่ขุดรู เทียบด้วยเรียนหรือไม่เรียนธรรมะ อยู่หรือไม่อยู่ เทียบด้วยรู้ อริยสจั จ์ ๔ หรอื ไม)่ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 774 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 775 ทรงแสดงโคถึก (โคมีก�ำลัง) ๔ ประเภท คือร้ายต่อโคของตน ไม่ร้ายต่อโคของผู้อื่น ัอง ุคตตร ินกาย รา้ ยตอ่ โคของผอู้ น่ื ไมร่ า้ ยตอ่ โคของตน รา้ ยตอ่ โคของตน และรา้ ยตอ่ โคของผอู้ นื่ ไมร่ า้ ยตอ่ โค ของตน และไมร่ า้ ยตอ่ โคของผ้อู นื่ (รา้ ย เทียบดว้ ยรกุ รานหรอื ท�ำให้หวาดกลวั โคของตนของผู้ อ่นื เทยี บดว้ ยบรษิ ทั ของตนหรือของผู้อ่ืน) ทรงแสดงตน้ ไม้ ๔ อย่าง คอื ไมก้ ะพี้มีไมก้ ะพเ้ี ป็นบรวิ าร ไมก้ ะพ้ีมไี ม้แกน่ เปน็ บริวาร ไมแ้ กน่ มไี มก้ ะพเ้ี ปน็ บรวิ าร ไมแ้ กน่ มไี มแ้ กน่ เปน็ บรวิ าร ไมก้ ะพี้ เทยี บดว้ ยบคุ คลทที่ ศุ ลี ไมแ้ กน่ เทยี บดว้ ยบุคคลผู้มศี ลี ทรงแสดงงูพิษ ๔ อย่าง คือพิษแล่น แต่ไม่ร้าย พิษร้าย แต่ไม่แล่น พิษทั้งแล่น ท้ังรา้ ย พิษท้งั ไม่แลน่ ไมร่ า้ ย (พษิ แล่นหรอื ไม่แล่น เทียบดว้ ยขโ้ี กรธหรอื ไม่ พษิ รา้ ยหรอื ไม่ร้าย เทยี บดว้ ยมคี วามโกรธคงอย่นู านหรอื ไม่) วรรคท่ี ๒ ชอื่ เกสวี รรค วา่ ด้วยนายเกสผี ู้ฝกึ มา้ ๒. ตรัสถามนายเกสี สารถีฝึกม้า ว่า ฝึกอย่างไรบ้าง เขาตอบว่า ฝึกโดยวิธีหยาบบ้าง ละเอียดบ้าง ท้ังหยาบท้ังละเอียดบ้าง ถ้าฝึกไม่ได้ก็ฆ่าเสีย เพ่ือมิให้เสียช่ือสกุลอาจารย์ เม่ือ เขาถามว่า ทรงฝึกคนอย่างไร ก็ตรัสตอบอย่างท่ีเขาตอบ โดยอธิบายว่า ฝึกโดยวิธีหยาบ คือ ชี้ความช่ัวและผลของความช่ัว วิธีละเอียด คือช้ีความดีและผลของความดี วิธีท้ังหยาบทั้ง ละเอยี ด คอื ชีท้ ้งั สองอยา่ ง ฆ่าเสีย คือท้งั ตถาคตและเพ่อื นพรหมจารไี มว่ ่ากล่าวสงั่ สอนผู้น้นั ทรงแสดงม้าอาชาไนย ที่ดีของพระราชาประกอบด้วยองค์ ๔ คือความซือ่ ตรง ฝเี ทา้ ๑ ความอดทน ความเสงี่ยม เปรียบด้วยภิกษุประกอบด้วยคุณธรรมท้ังสี่น้ี ก็เป็นเน้ือนาบุญอัน ยอดเย่ยี มของโลก ทรงแสดงมา้ อาชาไนยที่ดี ๔ ประเภท คือ (๑) เหน็ เงาปฏักกส็ ำ� นึกตน (๒) ถกู ปฏักแทงถึงขมุ ขนจึงส�ำนกึ ตน (๓) ถกู ปฏกั แทงถึงหนงั จึงส�ำนกึ ตน (๔) ถูกปฏกั แทงถงึ กระดกู จงึ ส�ำนกึ ตน ๑ ค�ำว่า ฝเี ทา้ เม่อื เทียบด้วยคุณธรรม ในพระสตู รน้ไี ม่ได้แสดงไว้ แต่ในพระสตู รอ่ืนเคยเทียบด้วยญาณ อรรถกถา แห่งพระสูตรนี้ ก็แก้ว่า ได้แก่ญาณเช่นเดยี วกนั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 775 5/4/18 2:25 PM
776 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ เทียบด้วยบรุ ษุ อาชาไนย ๔ ประเภท คอื (๑) เพียงได้ฟังข่าวว่าคนอื่นมีทุกข์หรือตาย ก็เกิดความสังเวช ต้ังความเพียร ท�ำใหแ้ จง้ สัจจธรรมอนั ยงิ่ (๒) ต้องเห็นเองจงึ เกดิ ความสงั เวช แล้วต้งั ความเพยี ร เปน็ ต้น (๓) ต้องเป็นญาติสายโลหิตของตน มีทุกข์หรือตายจึงเกิดความสังเวช แล้วตั้ง ความเพยี ร เป็นตน้ (๔) ต้องตัวเองได้รับทุกขเวทนากล้าแข็งเจ็บปวดจึงเกิดความสังเวช แล้วต้ัง ความเพียร เปน็ ตน้ ทรงแสดงช้างของพระราชาประกอบด้วยองค์ ๔ จึงนบั ว่าควรแก่พระราชา คือรจู้ กั ฟงั รู้จักฆ่า รู้จักอดทน รู้จักไป เทียบด้วยภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ เช่นเดียวกัน ช่ือว่าเป็น เน้ือนาบุญอันยอดเยยี่ มของโลก (รู้จักฟงั คือฟังธรรม ร้จู กั ฆา่ คือฆา่ ความคิดท่ีชว่ั ร้จู กั อดทน คอื อดทนหนาว รอ้ น สมั ผสั เหลอื บ ยงุ เปน็ ตน้ รจู้ กั ไป คอื ไปในทศิ ทไ่ี มเ่ คยไป คอื ไปพระนพิ พาน) ทรงแสดงฐานะ ๔ คอื (๑) ฐานะท่ีไม่นา่ พอใจ ทำ� เข้าก็เปน็ ไปเพอ่ื ไม่เป็นประโยชน์ (๒) ฐานะทไี่ มน่ า่ พอใจ แต่ทำ� เขา้ เป็นไปเพื่อประโยชน์ (๓) ฐานะทน่ี า่ พอใจ แต่ทำ� เข้าเป็นไปเพือ่ ไมเ่ ปน็ ประโยชน์ (๔) ฐานะทนี่ า่ พอใจ ทง้ั ทำ� เข้าก็เป็นไปเพอ่ื ประโยชน์ ทรงแสดงวา่ ควรทำ� ความไมป่ ระมาทในฐานะ ๔ คอื ในการละทจุ จรติ ๓ และมจิ ฉาทฏิ ฐิ ในการเจรญิ สจุ รติ ๓ และสมั มาทฏิ ฐิ เมือ่ ทำ� เช่นนัน้ ได้ ยอ่ มไม่กลัวความตายในอนาคต และควรท�ำความไม่ประมาทในฐานะ ๔ คือไม่ก�ำหนัดในอารมณ์เป็นที่ต้ังแห่งความ ก�ำหนัด ไม่คิดประทุษร้ายในอารมณ์เป็นท่ีตั้งแห่งความคิดประทุษร้าย ไม่หลงในอารมณ์เป็นที่ ต้ังแห่งความหลง ไม่มัวเมาในอารมณ์เป็นท่ีต้ังแห่งความมัวเมา เม่ือท�ำเช่นนั้นได้ ก็จะไม่สะดุ้ง หวาดหว่นั ไมต่ อ้ งไปตามถ้อยค�ำของสมณะ (ไม่ถกู จงู ไปตามชอบใจ) ทรงแสดงเรื่องสถานท่ีควรสังเวช แตก่ ค็ วรดู๑ ของกุลบุตรผ้มู ีศรัทธา ๔ แหง่ คอื ที่ซง่ึ พระตถาคตประสตู ิ ตรสั รู้ แสดงธรรมจักร (แสดงธรรมครั้งแรก) ปรนิ ิพพาน ทรงแสดงเรื่องภัย (ส่ิงท่ีน่ากลัว) ๔ อย่าง คือความเกิด ความแก่ ความเจ็บไข้ ความตาย และภัยอกี ๔ อยา่ ง คอื ภัยอันเกดิ จากไฟ น�้ำ พระราชา โจร ๑ หมายความวา่ เป็นเรื่องทค่ี วรสังเวช แตก่ เ็ ป็นเรื่องท่กี ุลบุตรควรดู - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 776 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 777 วรรคท่ี ๓ ชื่อภยวรรค ว่าดว้ ยภยั ัอง ุคตตร ินกาย ๓. ทรงแสดงเรอ่ื งภยั ๔ อยา่ ง คอื ภยั อนั เกดิ จากการตติ วั เองได้ ผอู้ นื่ ตไิ ด้ การลงโทษ ทคุ คติ (คตทิ ชี่ ว่ั ) ภยั ๔ อยา่ งสำ� หรบั ผลู้ งนำ้� คอื ภยั อนั เกดิ จากคลนื่ จระเข้ วงั วน ปลารา้ ย (คลน่ื เปรียบดว้ ยความโกรธ จระเข้เปรยี บดว้ ยความเหน็ แก่ปากแกท่ อ้ ง วังวนเปรยี บด้วยกามคณุ ๕ คอื รปู เสยี ง เปน็ ตน้ ทนี่ า่ ปรารถนารกั ใครช่ อบใจ ปลารา้ ยเปรยี บดว้ ยมาตคุ ามหรอื หญงิ ขอ้ เปรยี บ เทียบเหลา่ น้สี ำ� หรับภกิ ษ)ุ ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คอื ผไู้ ดฌ้ านที่ ๑ ถึงฐานท่ี ๔ แล้วตดิ ใจในฌานทัง้ ส่ีนน้ั เมื่อส้ินชีวิต ก็ไปเกิดเป็นพรหมมีอายุ ๑ กัปป์ เกิดเป็นอาภัสสรพรหมมีอายุ ๒ กัปป์ เกิดเป็น สุภกิณหพรหมมีอายุ ๔ กัปป์ เกิดเป็นเวหัปผลพรหมมีอายุ ๕๐๐ กัปป์ (ตามล�ำดับฌานที่ ๑ ถงึ ๔) หมดอายแุ ลว้ กอ็ าจไปสนู่ รก กำ� เนดิ ดริ จั ฉานและภมู แิ หง่ เปรตไดอ้ กี สว่ นอรยิ สาวกไปเกดิ ในทน่ี นั้ แลว้ หมดอายแุ ลว้ กป็ รนิ พิ พานในภพนน้ั นเ้ี ปน็ ความตา่ งกนั ระหวา่ งบถุ ชุ นผมู้ ไิ ดส้ ดบั กบั อรยิ สาวกผู้ได้สดับ ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คือผูไ้ ดฌ้ านที่ ๑ ถึงฌานท่ี ๔ แล้วพจิ ารณาขนั ธ์ ๕ โดย ความเป็นของไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ จนถงึ ไมใ่ ช่ตัวตน เมือ่ ส้ินชวี ติ ย่อมเกดิ ในเทพช้ันสทุ ธาวาส อนั ไมท่ ่ัวไปแกบ่ ถุ ุชน ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท ผู้เจริญพรหมวิหาร ๔ เม่ือส้ินชีวิตแล้วได้ไปเกิดใน พรหมโลกตามล�ำดับชั้น (เหมือนฌานท่ี ๑ ถึงฌานที่ ๔) เม่ือหมดอายุแล้ว อาจไปสู่นรก กำ� เนิดดิรัจฉานและภูมแิ หง่ เปรตได้อีก ส่วนอรยิ สาวกเม่ือหมดอายแุ ล้วกน็ ิพพานในภพนนั้ ทรงแสดงบคุ คล ๔ ประเภท ผเู้ จรญิ พรหมวหิ าร ๔ แลว้ พจิ ารณาขนั ธ์ ๕ โดยความเปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ ไมใ่ ชต่ วั ตน เมอื่ สน้ิ ชวี ติ ยอ่ มเกดิ ในเทพชนั้ สทุ ธาวาส อนั ไมท่ วั่ ไปแกบ่ ถุ ชุ น ทรงแสดงวา่ ความอศั จรรย์ ๔ อย่าง ย่อมปรากฏ เพราะความปรากฏแห่งพระตถาคต อรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ คือ (๑) เมอ่ื กา้ วลงสู่พระครรภ์ (๒) เม่อื ประสตู ิ (๓) เมอ่ื ตรสั รู้ (๔) เม่อื ทรงแสดงธรรมจกั ร จะมีแสงสว่างอันโอฬารปรากฏข้ึน ก้าวล่วงเทวานุภาพ ส่องไปในที่แสงพระจันทร์ พระอาทติ ยส์ อ่ งไปไมถ่ งึ ทำ� ใหส้ ตั วท์ งั้ หลายทเี่ กดิ ในทนี่ นั้ ๆ จำ� กนั และกนั ไดด้ ว้ ยแสงสวา่ งนนั้ วา่ แมผ้ ูอ้ น่ื ก็มมี าเกดิ ในทีน่ ี้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 777 5/4/18 2:25 PM
778 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทรงแสดงความอัศจรรย์ ๔ ประการ ทปี่ รากฏ เพราะเหตเุ ช่นเดียวกันอีก คอื สตั ว์ท่ีมี ความยนิ ดใี นอาลยั (กามคณุ ๕) มคี วามยนิ ดใี นมานะ (ความถอื ตวั ) มคี วามยนิ ดใี นความไมส่ งบ ระงับ มคี วามยินดใี นอวิชชา (ความไม่รู้) เมื่อฟังธรรมท่ีพระตถาคตทรงแสดง อนั เปน็ เคร่อื งน�ำ ออกซงึ่ สง่ิ เหลา่ นั้น ย่อมตั้งจติ เพือ่ รู้ทว่ั ถงึ (ธรรมเหล่าน้ัน) ทรงแสดงความอัศจรรย์ ๔ อย่างในพระอานนท์ คือ บริษัทท่ีเป็นภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เข้าไปหา ก็ช่ืนใจด้วยการดู ช่ืนใจด้วยการกล่าวธรรม ยังไม่ทันอิ่ม พระอานนท์ก็นง่ิ เสีย (ก่อน) ทรงแสดงความอศั จรรย์ ๔ อย่างในพระเจ้าจกั รพรรดิ เชน่ เดียวกับพระอานนท์ เป็น แต่เปลย่ี นบริษทั เปน็ กษัตรยิ ์ พราหมณ์ คฤหบดี สมณะ เปล่ียนจากกลา่ วธรรมเปน็ มีพระด�ำรัส แล้วตรสั เปรยี บพระอานนท์ว่าเป็นเช่นนนั้ วรรคท่ี ๔ ช่ือปุคคลวรรค ว่าดว้ ยบคุ คล ๔. ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท ตามคุณธรรม คือพระสกทาคามี พระอนาคามี ประเภทมีกระแสในเบื้องบนเข้าถึงอกนิฏฐภพ พระอนาคามีประเภทปรินิพพานในระหว่าง และพระอรหันต์ ก�ำหนดคุณธรรมของท่านเหล่านี้ด้วยการละสัญโญชน์ (กิเลสที่ผูกสัตว์ไว้ ในภพ) บคุ คล ๔ ประเภทอกี อยา่ งหนงึ่ คอื ผมู้ ปี ฏภิ าณสมควร แตไ่ มเ่ ปรอ่ื งปราด ผมู้ ปี ฏภิ าณ เปรือ่ งปราด แตไ่ มส่ มควร ผู้มปี ฏิภาณสมควรดว้ ยเปรือ่ งปราดดว้ ย ผ้มู ีปฏภิ าณทั้งไม่สมควร ท้ังไม่เปรื่องปราด๑ (ยุตตปฏิภาณในท่ีนี้ ผู้เขียนแปลว่า ปฏิภาณอันสมควร มุตตปฏิภาณ แปลว่า ปฏิภาณเปร่ืองปราด ฉบับฝรั่งเป็นปฏิภาน แปลว่า มีปัญญาถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ชา้ หรือเรว็ แลว้ แต่ค�ำว่า ยตุ ต มุตต ทนี่ ำ� มาประกอบข้างหนา้ ) บคุ คล ๔ ประเภท คอื รไู้ ดไ้ ว ตอ้ งอธบิ ายจงึ รไู้ ด้ พอแนะนำ� ได้ ไมม่ ที างจะรู้ (ตรสั ร)ู้ ได้ บุคคล ๔ ประเภท คือท่ีเปน็ อยู่ด้วยอาศยั ผลของความหมนั่ มใิ ช่อาศยั ผลของกรรม อาศัยผล ของกรรม ไมอ่ าศัยผลของความหมน่ั อาศยั ท้งั สองอย่าง ไมอ่ าศัยทั้งสองอย่าง (อาศัยผลของ ความหมั่น คือท�ำเอาในชาตินี้ ไม่อาศัยผลบุญเก่า อาศัยผลของกรรม คืออาศัยผลของบุญ และบาปเกา่ ) ๑ คำ� วา่ ปฏภิ าน และ ปฏภิ าณ มคี วามหมายตา่ งกนั ปฏภิ าน หมายถงึ เชาวนป์ ญั ญา สว่ นปฏภิ าณ หมายถงึ การโตต้ อบ คำ� บาลใี นพระไตรปฎิ กยงั ไมย่ ตุ นิ กั เพราะผคู้ วบคมุ การพมิ พ์ อาจแกต้ วั อกั ษรเปน็ ปฏภิ าณแบบเดยี วกนั หมด อรรถกถา แกว้ ่า ยตุ ตปฏิภาณ คือถามปัญหาทีค่ วร มุตตปฏภิ าณ คอื ถามไว PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 778 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 779 บุคคล ๔ ประเภท คือทม่ี ีโทษ มีโทษมาก มโี ทษน้อย ไม่มีโทษ ัอง ุคตตร ินกาย บคุ คล ๔ ประเภท คือไมท่ ำ� ใหบ้ ริบรู ณใ์ นศลี สมาธิ และปญั ญา ทำ� ให้บรบิ รู ณ์ในศีล แต่ไม่ท�ำให้บริบูรณ์ในสมาธิและปัญญา ท�ำให้บริบูรณ์ในศีล สมาธิ แต่ไม่ท�ำให้บริบูรณ์ใน ปัญญา ทำ� ให้บริบูรณ์ทง้ั ในศีล สมาธิ และปญั ญา บคุ คล ๔ ประเภท คือผไู้ ม่หนกั ในศีล สมาธิ ปัญญา ไมม่ ีศีล สมาธิ ปัญญาเปน็ ใหญ่ ผู้หนักในศีล ไม่หนักในสมาธิ ปัญญา มีศลี เปน็ ใหญ่ ไม่มีสมาธิ ปญั ญาเปน็ ใหญ ่ ผูห้ นกั ในศลี สมาธิ ไมห่ นกั ในปัญญา มศี ลี สมาธเิ ป็นใหญ่ ไม่มีปัญญาเปน็ ใหญ่ ผู้หนกั ในทงั้ สาม มีทงั้ สาม เป็นใหญ่ บุคคล ๔ ประเภท คือผู้มีกายหลีกออกแต่มีจิตไม่หลีกออก ผู้มีกายไม่หลีกออก แตม่ ีจิตหลีกออก ผมู้ กี ายและจิตไม่หลกี ออก ผูม้ กี ายและจิตหลกี ออก บคุ คล ๔ ประเภท คือ ผู้แสดงธรรมพดู นอ้ ย พูดไมม่ ีประโยชน์ บริษัทกไ็ ม่ฉลาดในประโยชน์และมใิ ช่ประโยชน์ ผู้แสดงธรรมพูดนอ้ ย แต่พูดมีประโยชน์ บริษทั ก็ฉลาดในประโยชนแ์ ละมิใชป่ ระโยชน์ ผแู้ สดงธรรมพดู มาก พดู ไมม่ ีประโยชน์ บรษิ ทั ก็ไม่ฉลาดในประโยชน์ และมิใชป่ ระโยชน์ ผู้แสดงธรรมพดู มาก พูดมีประโยชน์ บรษิ ทั กฉ็ ลาดในประโยชน์และมิใชป่ ระโยชน์ ผู้แสดงธรรมแตล่ ะประเภทย่อมนบั ได้วา่ เป็นผแู้ สดงธรรมของบรษิ ัทชนิดนนั้ ๆ ผู้พูด ๔ ประเภท คือผู้พูดที่ถือเอาเนื้อความได้ แต่ถือเอาพยัญชนะไม่ได้ ผู้พูดที่ ถอื เอาพยัญชนะได้ แต่ถอื เอาเนือ้ ความไม่ได ้ ผ้พู ดู ท่ถี อื เอาไดท้ ั้งสองอยา่ ง ผูพ้ ูดท่ีถือเอาไม่ได้ ทงั้ สองอยา่ ง วรรคท่ี ๕ ชื่ออาภาวรรค วา่ ดว้ ยแสงสว่าง ๕. ทรงแสดงแสงสว่าง ๔ อย่าง คือแสงจันทร์ แสงอาทิตย์ แสงไฟ แสงปัญญา ในแสงทง้ั สน่ี ี้แสงปัญญาเป็นเลิศ๑ ๑ ในทน่ี ที้ รงใชค้ ำ� เปลย่ี นไปหลายอยา่ ง ทมี่ คี วามหมายถงึ แสงสวา่ งทง้ั สน้ิ คอื อาภา ปภา อาโลกะ โอภาสะ ปชั โชตะ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 779 5/4/18 2:25 PM
780 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทรงแสดงกาล ๔ คือการฟังธรรมตามกาล การสนทนาธรรมตามกาล การสงบระงับ (สมถะ) ตามกาล การเหน็ แจ้ง (วปิ สั สนา) ตามกาล แลว้ ทรงแสดงวา่ เม่ืออบรม ๔ อย่างนใี้ หด้ ีแล้วก็จะทำ� ให้อาสวะสิ้นไปไดโ้ ดยล�ำดบั ทรงแสดงวจีทุจจริต ๔ คือพูดปด พูดส่อเสียด พูดค�ำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ กับวจี สจุ ริต ๔ คือพูดจริง พดู ไม่สอ่ เสยี ด พดู ละเอยี ดอ่อน พูดมีคติ (มนตฺ าภาสา)๑ ทรงแสดงสาระ ๔ คือ สาระ อนั ไดแ้ ก่ศลี สมาธิ ปัญญา วมิ ตุ ิ (ความหลดุ พ้น) จตตุ ถปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๔ (มี ๕ วรรคเช่นเคย วรรคท่ี ๑ ชอ่ื อนิ ทริยวรรค วา่ ด้วยธรรมอันเปน็ ใหญ่ วรรคท่ี ๒ ช่ือปฏิปทาวรรค ว่าด้วยข้อปฏิบัติ วรรคที่ ๓ ชื่อสัญเจตนิยวรรค ว่าด้วยความจงใจ วรรคที่ ๔ ชือ่ โยธาชวี วรรค วา่ ดว้ ยนักรบ วรรคท่ี ๕ ช่ือมหาวรรค วา่ ด้วยเรือ่ งใหญ)่ วรรคที่ ๑ ชอื่ อินทริยวรรค วา่ ดว้ ยธรรมอันเป็นใหญ่ ๑. ทรงแสดงอินทรยี ์ (ธรรมอันเป็นใหญ่) ๔ คอื ความเช่อื ความเพียร ความต้งั ใจมัน่ ปญั ญา ทรงแสดงก�ำลัง ๔ อยา่ ง แบง่ เปน็ ๔ นยั คอื (๑) กำ� ลงั คอื ความเชื่อ ความเพยี ร ความตั้งใจม่นั ปัญญา (๒) ก�ำลังคอื ปญั ญา ความเพียร ความไม่มโี ทษ การสงเคราะห์ (๓) ก�ำลงั คอื ความระลกึ ได้ ความต้ังใจมั่น ความไม่มีโทษ การสงเคราะห์ (๔) กำ� ลังคอื การพิจารณา การอบรม ความไมม่ โี ทษ การสงเคราะห์ ทรงแสดงกัปป์ท่ีนับไม่ได้ ๔ อย่าง๒ คือสังวัฏฏกัปป์ สังวัฏฏัฏฐายีกัปป์ วิวัฏฏกัปป์ วิวฏั ฏัฏฐายีกัปป์ ทง้ั สี่กัปป์น้ีนบั ไมไ่ ดโ้ ดยง่ายวา่ เท่าน้ปี ี เทา่ น้รี อ้ ยปี พนั ปี แสนปี ทรงแสดงโรค ๒ อย่าง คือโรคทางกายและโรคทางจิต แล้วตรัสว่า ผู้ท่ียืนยัน ความไม่มีโรคทางกายต้ังแต่ ๑ ปี ๒ ปี เปน็ ต้น ถงึ ๕๐ ปี หรอื แม้ยง่ิ กว่า ๑๐๐ ปี ยังพอเหน็ ได้ แตผ่ ทู้ จี่ ะยนื ยนั ความไมม่ โี รคทางจติ แมเ้ พยี งครหู่ นง่ึ นอกจากพระขณี าสพ (ผสู้ น้ิ อาสวะคอื กเิ ลส อันดองสนั ดาน) แล้ว กห็ าไดย้ ากในโลก ๒๑ ทมี่ าอื่น ๆ กลา่ วถงึ สุจริตเพียงปฏเิ สธวา่ ไมท่ ำ� ทุจจรติ แต่ในทน่ี ้ชี ดั กวา่ น้นั วิวัฏฏกัปป์ คือกัปป์เจริญ สังวัฏฏกัปป์ คือกัปป์เสื่อม สังวัฏฏัฏฐายีกัปป์ คือกัปป์ที่ยังต้ังอยู่ในความเส่ือม วิวัฏฏัฏฐายีกัปป์ คือกัปป์ท่ียังต้ังอยู่ในความเจริญ รวม ๔ กัปป์ เป็นมหากัปป์ ดูบันทึกหน้า ๔๙๔ - ๔๙๗ ประกอบดว้ ย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 780 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 781 แลว้ ทรงแสดงโรคของบรรพชติ ๔ อยา่ ง คอื การทภี่ กิ ษมุ คี วามปรารถนามาก ไมส่ นั โดษ ัอง ุคตตร ินกาย ดว้ ยปจั จัย ๔ ต้งั ความปรารถนาเพียรพยายาม เพอ่ื ไมถ่ ูกดูหมิ่น เพือ่ ไดล้ าภสักการะ ชือ่ เสยี ง (๑) เข้าสสู่ กลุ (๒) นัง่ (๓) กลา่ วธรรม (๔) กลนั้ อจุ จาระปสั สาวะ เพอื่ ใหเ้ ขารจู้ ักตน พระสารบิ ตุ รแสดงธรรมแกภ่ กิ ษทุ งั้ หลาย วา่ ภกิ ษุ ภกิ ษณุ จี ะรวู้ า่ เสอื่ มจากอกศุ ลธรรม หรอื ไม่ ใหพ้ จิ ารณาธรรม ๔ อยา่ งในตน คอื ความเปน็ ผไู้ พบลู ดว้ ยราคะ โทสะ โมหะ และปญั ญา จักษขุ องผู้นั้นไม่เป็นไปในฐานะท่คี วรและไมค่ วรอันลกึ ซึง้ พระอานนท์แสดงธรรมแก่นางภิกษุณีรูปหนึ่ง ผู้ใช้คนไปนิมนต์ อ้างว่าตนเป็นไข้ โดยชี้แจงว่ากายเกิดขึ้นเพราะอาหาร ตัณหา มานะ (ความถือตัว) และเมถุน บุคคลพึงอาศัย อาหาร ละอาหาร อาศัยตัณหา ละตัณหา อาศัยมานะ ละมานะได้ แต่เมถุนบุคคลพึงละ พระผมู้ พี ระภาคตรสั วา่ พงึ ชกั สะพานเสยี (ละโดยเดด็ ขาด) นางภกิ ษณุ ไี ดส้ ดบั กล็ กุ ขน้ึ จากเตยี ง กล่าวขอขมา พระผู้มีพระภาคตรัสวา่ พระตถาคตและพระวินัยของพระตถาคตเมือ่ ตง้ั อยู่ ย่อมเป็น ไปเพอ่ื ประโยชน์ เพอ่ื ความสขุ แกค่ นเปน็ อนั มาก เพอื่ อนเุ คราะหโ์ ลก (ตรสั อธบิ ายวา่ ธรรม ทพี่ ระ ตถาคตแสดงแลว้ เรยี กพระวินัยของพระตถาคต) ตรัสแสดงธรรม ๔ อย่างว่า เป็นไปเพื่อความเลอะเลือน เพื่ออันตรธาน แห่งพระ สทั ธรรม คือ (๑) ภิกษุท้ังหลายเรียนพระสูตรด้วยบทพยัญชนะท่ียกขึ้นผิด มีเนื้อความอัน แนะน�ำผิด (๒) ภกิ ษทุ ้ังหลายเปน็ ผวู้ า่ ยาก (๓) ภกิ ษผุ สู้ ดบั ตรบั ฟงั มากไมส่ อนผอู้ นื่ ใหท้ อ่ งจำ� พระสตู รโดยเคารพ เมอื่ ภกิ ษผุ ู้ สดบั ฟงั มากเหล่านัน้ ล่วงลับไป พระสูตรกช็ ือ่ วา่ มมี ลู รากอันขาด (ไม่มผี ู้ทรง จ�ำได้) กไ็ ม่เป็นที่พง่ึ (๔) ภิกษุผู้เป็นเถระเป็นผู้มักมาก ย่อหย่อน เอาแต่นอนหลับ ทอดธุระใน ความสงัด ไม่ปรารภความเพียรเพื่อบรรลุธรรมท่ียังมิได้บรรลุ ท�ำให้คน ร่นุ หลงั ถือเปน็ ตัวอยา่ ง ในทางดีทรงแสดงโดยนยั ตรงกันข้าม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 781 5/4/18 2:25 PM
782 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ วรรคท่ี ๒ ช่อื ปฏปิ ทาวรรค ว่าดว้ ยข้อปฏิบัติ ๒. ทรงแสดงปฏิปทา ๔ อย่าง มชี อื่ เดียวกัน แต่ต่างนยั คือ (๑) ปฏบิ ตั ลิ ำ� บาก ท้งั รไู้ ดช้ า้ (๒) ปฏิบัตลิ �ำบาก แต่รไู้ ดเ้ ร็ว (๓) ปฏิบัตสิ ะดวก แต่รูไ้ ดช้ า้ (๔) ปฏบิ ัตสิ ะดวก ทงั้ รไู้ ดเ้ รว็ ทรงแสดงปฏิปทา ๔ อยา่ ง มีชอื่ เดียวกัน แตต่ า่ งนยั คอื (๑) ปฏบิ ตั ิไม่อดทน (๒) ปฏบิ ัตอิ ดทน (๓) ปฏิบตั ขิ ม่ (๔) ปฏิบัตสิ งบ พระมหาโมคคัลลานะตอบพระสาริบุตร ว่า ท่านอาศัยการปฏิบัติล�ำบาก และรู้ได้ช้า มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ พระสาริบุตรตอบพระมหาโมคคัลลานะว่า ท่านอาศัยการปฏิบัติ สะดวก และร้ไู ดเ้ รว็ มีจิตหลดุ พ้นจากอาสวะ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงบคุ คล ๔ ประเภท คอื (๑) ผ้ตู อ้ งใชค้ วามเพยี ร ดบั กเิ ลสได้ในปจั จุบัน (๒) ผตู้ ้องใชค้ วามเพียร ดบั กเิ ลสได้เมือ่ สิ้นชีวติ แล้ว (๓) ผไู้ มต่ ้องใชค้ วามเพียร ดับกิเลสได้ในปจั จบุ นั (๔) ผไู้ มต่ ้องใชค้ วามเพียร ดบั กเิ ลสได้เม่ือสนิ้ ชีวิตแล้ว (สองประเภทแรกตรสั อธบิ ายในทางผปู้ ฏบิ ตั สิ ายวปิ สั สนา สองประเภทหลงั ตรสั อธบิ าย ในทางผู้ปฏิบัติสายสมถะ ส่วนท่ีดับกิเลสได้ในปัจจุบัน หรือเมื่อตายไปแล้ว ขึ้นอยู่แก่อินทรีย์ คอื ธรรมอนั เปน็ ใหญ่ มกี �ำลังแรงหรืออ่อน) พระอานนท์แสดงธรรมแก่ภิกษุท้ังหลายว่า ภิกษุภิกษุณีที่พยากรณ์การบรรลุความ เป็นพระอรหันต์ (พูดว่าได้บรรลุ) ในส�ำนักของเรา ย่อมมีทางเป็นไปได้อย่างใดอย่างหน่ึง รวม ๔ ทาง คอื (๑) เจริญวิปัสสนา (ปัญญาอันเห็นแจ้ง) มีสมถะเป็นหัวหน้า มรรคเกิดข้ึน เม่ือ เจริญมรรคก็ละสัญโญชน์ (กิเลสท่ีร้อยรัดหรือผูกมัด) ได้ กิเลสพวกอนุสัย (แฝงตวั หรือนอนอยู่ในสนั ดาน) ยอ่ มหมดไป (๒) เจริญสมถะ (ความสงบใจ) มีวปิ สั สนาเปน็ หวั หน้า แลว้ หมดกเิ ลส PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 782 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 783 (๓) เจรญิ ท้ังสมถะและวปิ ัสสนาคกู่ ัน แล้วหมดกเิ ลส ัอง ุคตตร ินกาย (๔) มีจิตแยกจากความฟุ้งสร้านในธรรม (วิปัสสนูปกิเลส = เคร่ืองท�ำวิปัสสนา ให้เศร้าหมอง เช่น ส่ิงที่ท�ำให้หลงเข้าใจผิด มีแสงสว่าง เป็นต้น) จิตสงบ ตั้งม่นั ในภายใน มีอารมณ์เปน็ หน่ึงแล้วหมดกิเลส วรรคที่ ๓ ช่อื สัญเจตนยิ วรรค วา่ ด้วยความจงใจ ๓. ทรงแสดงว่า เม่ือมีกาย วาจา ใจ สุขทุกข์ภายในย่อมเกิดข้ึน เพราะมีเจตนาทาง กาย วาจา ใจ เป็นเหตุ หรือเพราะอวชิ ชา (ความไมร่ )ู้ เปน็ ปจั จยั เกดิ สุขทกุ ขภ์ ายในขึ้น เพราะ ปรุงกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร (ปรุงเจตนาทางกาย วาจา ใจ) เองก็ตาม ผู้อ่ืนปรุงก็ตาม (ผู้อื่นชักชวน) รู้ตัวก็ตาม (ท�ำไปอย่างรู้ผิดชอบ) ไม่รู้ตัวก็ตาม (ท�ำไปอย่างไม่รู้ผิดชอบ) อวชิ ชาชอื่ วา่ ตกไปตามในธรรมเหลา่ นนั้ คอื เกย่ี วขอ้ งอยทู่ วั่ ไป)๑ เพราะดบั อวชิ ชาไดโ้ ดยไมเ่ หลอื อ่นื ๆ ก็ดับไปด้วย แล้วทรงแสดงการได้อัตตภาพ ๔ อยา่ ง ทเ่ี นือ่ งด้วยเจตนาของตนบ้าง ของผู้ อ่ืนบา้ ง แล้วตรสั ตอบปัญหาของพระสาริบุตร เร่ืองผ้ทู มี่ าเกดิ และไมม่ าเกิดอีก พระสาริบุตรแสดงธรรมแก่ภิกษุท้ังหลาย ถึงปฏิสัมภิทา (ความแตกฉาน) ๔ อย่างที่ ท่านท�ำใหแ้ จง้ คอื ความแตกฉานในอรรถ (เนอื้ ความ) ในธรรม (ค�ำสอน) ในนิรตุ ติ (ภาษาพดู ) และในปฏิภาณ (ญาณความร)ู้ เปน็ เหตุให้ท่านตอบปญั หาไดใ้ นทีเ่ ฉพาะพระพักตรพ์ ระศาสดา พระสาริบุตรตอบปัญหาของพระมหาโกฏฐิตะ ผู้ถามว่า เพราะดับอายตนะส�ำหรับถูก ต้อง ๖ (ตา หู เป็นต้น) โดยไม่เหลือ ยังมีอะไรอย่างอ่ืนอยู่อีก โดยตอบว่า ไม่ควรกล่าวว่า มีอะไรอื่น ไม่มอี ะไรอน่ื มกี ็ไม่ใช่ ไม่มกี ไ็ ม่ใช่ เพราะเมือ่ พูดเชน่ นนั้ ก็จะช่อื วา่ กล่าวถึงธรรมทไ่ี ม่ ๑ ข้อความตอนนี้ค่อนข้างเป็นธรรมะช้ันสูง ยากจะเข้าใจ เจตนาที่เป็นเหตุให้ท�ำการต่าง ๆ ทางกาย วาจา ใจ ท�ำให้ เกิดสุขทุกข์ได้ และอวิชชาย่อมเป็นต้นเหตุใหญ่ ท่ีให้เกิดการปรุงแต่งเจตนา แล้วเป็นเหตุให้เกิดสุขทุกข์อีก ต่อหนึ่ง ดับอวิชชาได้อย่างเดียว ก็ดับได้หมดเป็นทิวแถว ในทางวิชาการ กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร ในท่ีน้ี หมายเจตนาทางกาย วาจา ใจ ท้ัง ๆ ที่ในท่ีอ่ืน กายสังขาร (เครื่องปรุงกาย) หมายถึงลมหายใจเข้าออก วจีสงั ขาร (เครอ่ื งปรุงวาจา) หมายถึงวิตก ความตรึก วจิ าร ความตรอง มโนสังขาร หรือจติ ตสังขาร (เครื่องปรุงจิต) หมายถึงสัญญา ความจ�ำได้หมายรู้ และเวทนา ความรู้สุข ทุกข์ หรือไม่ทุกข์ไม่สุข ซ่ึงต่างจากความหมายในท่ีนี้ เพราะในทน่ี ้ี เม่ือมคี วามหมายวา่ เจตนาทางกาย วาจา ใจ กห็ มายถงึ เจตนาที่เปน็ ต้นเหตใุ ห้มีการกระทำ� ท้ังดีและ ชั่วทางกาย วาจา ใจนนั้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 783 5/4/18 2:25 PM
784 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ เนิ่นช้า ให้กลายเป็นเนิ่นช้า (ค�ำว่า เน่ินช้า หมายถึงโลกิยธรรม ยังห่างจากพระนิพพาน) แล้ว เฉลยวา่ เพราะดบั อายตนะสำ� หรบั ถกู ตอ้ ง ๖ กเ็ ปน็ ความดบั ความสงบระงบั แหง่ ธรรมทใ่ี หเ้ นน่ิ ชา้ พระมหาโกฏฐิตะตอบปัญหาของพระอานนท์ ในทำ� นองเดยี วกบั ที่พระสาริบุตรตอบ พระสารบิ ตุ รตอบปัญหาของพระอุปวานะ ผู้ถามวา่ ภกิ ษุทำ� ที่สุดทุกขไ์ ด ้ ด้วยวิชชา ใช่หรือไม่ ด้วยจรณะ (ความประพฤติ ๑๕ อยา่ ง) ใชห่ รอื ไม่ ด้วยท้ังวชิ ชาและจรณะ ใช่หรอื ไม่ เว้นจากท้งั สองอย่าง ใช่หรอื ไม่ โดยตอบปฏิเสธว่า ไม่ใช่เช่นนั้นสักข้อเดียว เพราะถ้าเป็นอย่าง ๓ ข้อแรก ผู้ท�ำท่ีสุด ทุกข์ (ผู้ทำ� ให้ทกุ ข์สน้ิ ไป) ก็ยังมอี ปุ าทาน (ความยดึ ถอื ) ถา้ เปน็ อยา่ งข้อหลัง บุถชุ นกจ็ ะทำ� ท่สี ดุ ทุกข์ได้ เพราะบุถุชนเป็นผ้เู วน้ จากวชิ ชาและจรณะ ผู้วบิ ัติจากจรณะ ยอ่ มไม่รูเ้ หน็ ตามเป็นจริง ผสู้ มบรู ณด์ ว้ ยจรณะ ยอ่ มรเู้ หน็ ตามจรงิ ยอ่ มทำ� ทส่ี ดุ ทกุ ขไ์ ด้ (ธรรมะทโ่ี ตต้ อบกนั นล้ี ะเอยี ดออ่ น มาก ท่านผอู้ า่ นโปรดใชว้ ิจารณญาณตามไปดว้ ยดี) พระผู้มีพระภาค ตรสั สอนใหเ้ อาอยา่ งพระสาริบุตรและพระโมคคัลลานะ เปน็ ต้นดง่ั ที่ กล่าวมาแล้วในเอกนบิ าต (ธรรมะจำ� นวน ๑) ตรัสสอนพระราหุล มิให้ยึดถือธาตุ ๔ ว่าเป็นของเรา เราเป็นน่ัน น่ันเป็นตัวตน ของเรา ให้เหน็ ธาตุ ๔ ว่า มใิ ช่ตน มิใช่สงิ่ ทีเ่ น่ืองด้วยตน ทรงแสดงบคุ คล ๔ ประเภท คอื (๑) ภิกษุผู้เข้าเจโตวิมุติ๑ อันสงบระงับอย่างใดอย่างหน่ึง ใส่ใจความดับกาย ของตน๒ จิตของเธอไม่แล่นไป ไม่ต้ังอยู่ในความดับกายของตน เธอจึง หวังความดับกายของตนไมไ่ ด้ (๒) ภกิ ษผุ เู้ ขา้ เจโตวมิ ตุ ิ (เหมอื นขอ้ ๑) จติ ของเธอแลน่ ไป ตงั้ อยใู่ นความดบั กาย ของตน เธอจงึ หวังความดบั กายของตนได้ (๓) ภกิ ษผุ เู้ ขา้ เจโตวมิ ตุ ิ อนั สงบระงบั อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ใสใ่ จในการทำ� ลายอวชิ ชา จิตของเธอไม่แล่นไป ไม่ตั้งอยู่ในการท�ำลายอวิชชา เธอจึงหวังการท�ำลาย อวชิ ชาไมไ่ ด้ ๑๒ เจโตวมิ ตุ ิ ความหลดุ พน้ แหง่ จติ ในทน่ี ห้ี มายเอาสมาบตั หิ รอื ฌาน ๘ คอื ฌานมรี ปู เปน็ อารมณ์ ๔ มนี ามเปน็ อารมณ์ ๔ สักกายนโิ รธ ความดบั กายของตน อรรถกถาแกว้ า่ ได้แก่ดับความเวยี นวา่ ยตายเกิดในภมู ิ ๓ ไดแ้ ก่นพิ พาน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 784 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 785 (๔) ภิกษุผู้เข้าเจโตวิมุติ (เหมือนข้อ ๓) จิตของเธอแล่นไป ตั้งอยู่ในการท�ำลาย ัอง ุคตตร ินกาย อวิชชา เธอจงึ หวังการท�ำลายอวชิ ชาได้ พระสารบิ ตุ รตอบปญั หาของพระอานนท์ ทว่ี า่ เหตไุ รสตั วบ์ างเหลา่ ในโลกนจ้ี งึ ไมน่ พิ พาน ในปจั จุบนั โดยช้แี จงวา่ เพราะสตั ว์เหลา่ น้นั ไมร่ ตู้ ามความจริงว่า (๑) ธรรมเหล่านเ้ี ป็นฝา่ ยเส่อื ม (๒) ธรรมเหล่าน้ีเปน็ ฝา่ ยเสมอตัว (๓) ธรรมเหล่านเ้ี ปน็ ฝ่ายได้ก�ำไร (๔) ธรรมเหล่านีเ้ ปน็ ฝา่ ยทำ� ลายกเิ ลส๑ เมอ่ื ประทับ ณ โภคนคร พระผู้มพี ระภาคตรสั มหาปเทส (ขอ้ อ้างใหญ่) ส�ำหรับตดั สิน พระธรรมวินัย ๔ ประการ คอื ไมพ่ ึงรบั รอง ไมพ่ งึ คัดคา้ น (๑) เมือ่ ภิกษอุ ้างว่าไดส้ ดับ ได้รับมาเฉพาะพระพกั ตรพ์ ระผู้มีพระภาค (๒) เมอ่ื ภกิ ษอุ า้ งวา่ พระสงฆใ์ นอาวาสโนน้ พรอ้ มดว้ ยพระเถระ และผเู้ ปน็ หวั หนา้ ได้สดับ ได้รับมาในที่เฉพาะพระพักตร์พระผมู้ ีพระภาค (๓) เม่ือภิกษุอ้างว่าตนได้สดับได้รับมาในท่ีเฉพาะหน้าของพระเถระมากหลาย ในอาวาสโน้น ซง่ึ เปน็ ผู้สดบั ตรับฟงั มาก จ�ำพระสูตรได้ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาตกิ า (๔) เมื่อภิกษุอ้างว่าตนได้สดับ ได้รับมาในที่เฉพาะหน้าของพระเถระรูปหน่ึงใน อาวาสโนน้ ซึง่ เปน็ ผู้สดับตรบั ฟังมาก (เหมือนขอ้ ๓) การได้สดับ ได้รับมาทั้งสี่ข้อนั้น มีใจความว่านี้เป็นธรรม เป็นวินัย เป็นค�ำสอนของ พระศาสดา พึงทรงจำ� บทพยัญชนะนั้น ๆ ใหด้ ีแลว้ สอบในพระสตู ร เทียบในพระวินยั ถา้ ไม่เขา้ กัน ก็พึงแน่ใจว่า ไม่ใช่ถ้อยค�ำของพระผู้มีพระภาค ภิกษุนี้ถือมาผิด พึงท้ิงเสีย ถ้าเข้ากันได้ (กับพระสตู รพระวินยั ) พึงแน่ใจว่า ใช่ถอ้ ยค�ำของพระผู้มีพระภาค ภิกษุนีถ้ อื มาถกู แลว้ วรรคท่ี ๔ ชอื่ โยธาชีววรรค วา่ ดว้ ยนกั รบ ๔. ทรงแสดงนกั รบประกอบดว้ ยองค์ ๔ ว่า ควรแกพ่ ระราชา คอื (๑) ฉลาดในภูมิประเทศ เทยี บด้วยภกิ ษุผมู้ ีศลี (๒) ยงิ ไกล เทียบด้วยภกิ ษผุ เู้ ห็นด้วยปญั ญาตามเปน็ จริง ไม่ยดึ ถอื ขนั ธ์ ๕ ๑ คำ� บาลีว่า หานภาคยิ ะ ฐติ ิภาคยิ ะ วเิ สสภาคิยะ นิพเพธภาคิยะ ตามล�ำดบั - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 785 5/4/18 2:25 PM
786 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๓) ยงิ ไว เทียบดว้ ยภิกษผุ รู้ ู้อรยิ สจั จ์ ๔ ตามเป็นจริง (๔) ทำ� ลายกายใหญ่๑ เทยี บด้วยภิกษผุ ้ทู ำ� ลายกองแห่งอวชิ ชาใหญไ่ ด้ ทรงแสดงว่า ไม่มีใคร ๆ เป็นประกันได้ ถึงสิ่งท่ีมีความแก่ ความเจ็บ ความตายเป็น ธรรมดา มิใหแ้ ก่ เจบ็ ตายได้ กับไม่มใี ครเป็นประกนั ได้ ถึงผลของกรรมชว่ั มใิ หเ้ กดิ ขนึ้ ได้ ตรสั ตอบวสั สการพราหมณ์ มหาอำ� มาตย์ แคว้นมคธ ผ้กู ลา่ วว่า ตนมคี วามเห็นวา่ ผู้ กลา่ วถงึ ส่งิ ที่ได้เหน็ ไดฟ้ งั ไดท้ ราบ ไดร้ ู้ เป็นผูไ้ มม่ ีโทษ โดยทรงช้แี จงวา่ พระองคไ์ ม่ตรัสวา่ สง่ิ ทีไ่ ดเ้ ห็น ไดฟ้ งั เปน็ ต้นนน้ั ควรกล่าว หรอื ไมค่ วรกลา่ วท้งั หมด ถ้ากลา่ วเข้า อกุศลธรรมเจรญิ กุศลธรรมเสื่อม ก็ไมค่ วรกล่าว ถา้ กล่าวเขา้ อกุศลธรรมเสื่อม กุศลธรรมเจริญ ก็ควรกล่าว ตรัสตอบชาณสุ โสณิพราหมณ์ ผ้กู ลา่ วว่า ตนเห็นว่าไม่มีใครทีจ่ ะต้องตายเปน็ ธรรมดา ไม่กลัวไม่หวาดสะดุ้งต่อความตาย ฝ่ายท่ีกลัว ท่ีหวาดสะดุ้ง คือยังไม่ปราศจากราคะตัณหาใน กาย ยังรักกาม รกั กาย ไม่ไดท้ ำ� ความดีไว้ มีความสงสยั ในพระสัทธรรม ฝ่ายทไ่ี ม่กลัว ไมห่ วาด สะด้งุ คอื ทต่ี รงกันขา้ ม ตรัสแสดงสัจจะของพราหมณ์ ๔ ประการ๒ แก่นกั บวชลทั ธิอน่ื คือ (๑) สตั ว์ท้ังปวงไม่ควรฆา่ (๒) กามไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา (๓) ภพทั้งปวงไมเ่ ทยี่ ง เป็นทุกข์ มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา (๔) พราหมณ์ไม่ยดึ ถอื สงิ่ ใด ๆ ตรัสตอบปัญหาของภิกษุรปู หน่งึ ดังต่อไปน้ี (๑) โลกอันจิตย่อมน�ำไป ย่อมคร่าไป ไปส่อู ำ� นาจของจิตทเ่ี กิดขึ้นแลว้ (๒) พระองค์แสดงธรรมไว้มาก (มีถึง ๙ ลักษณะ ที่เรียกว่านวังคสัตถุศาสนา มีพระสูตร เป็นต้น) ภิกษุรู้เนื้อความรู้ธรรมะแห่งคาถาแม้เพียง ๔ บท แต่ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ก็ควรแก่ค�ำว่า สดับตรับฟังมาก เป็นผู้ทรง ธรรมได้ (๓) ผเู้ ขา้ ใจตลอดเนอ้ื ความ เหน็ อรยิ สจั จ์ ๔ ดว้ ยปญั ญา ชอ่ื วา่ ผมู้ นี พิ เพธกิ ปญั ญา (ปญั ญาช�ำแรกหรือท�ำลายกเิ ลส) ๒๑ คำ� ว่า กายใหญ่ หมายถึง ข้าศึกหมใู่ หญ่ - ม.พ.ป. มิใช่ตามหลักของพราหมณ์จริง ๆ เห็นได้ว่า เป็นการแสดงความหมายของพราหมณ์ตามหลักพระพุทธศาสนา เพราะพราหมณจ์ รงิ ๆ ประพฤติตรงกนั ข้าม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 786 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 787 (๔) ผชู้ อื่ วา่ เปน็ บณั ฑติ มปี ญั ญามาก คอื ผไู้ มค่ ดิ เบยี ดเบยี นตน ไมค่ ดิ เบยี ดเบยี น ัอง ุคตตร ินกาย ผู้อ่ืน ไม่คิดเบียดเบียนท้ังสองฝ่าย คิดแต่ประโยชน์ตน ประโยชน์ผู้อ่ืน ประโยชนท์ งั้ สองฝ่าย ประโยชนแ์ ก่โลกทง้ั ปวง ตรสั ตอบคำ� ถามของวัสสการพราหมณ์ ว่า ไมเ่ ปน็ ไปไดท้ ี่คนชวั่ ๑ จะรูจ้ กั คนช่วั วา่ เปน็ คนชวั่ จะรจู้ กั คนดวี า่ เป็นคนดี แต่เป็นไปไดท้ ีค่ นดีจะรู้จกั คนดวี า่ เป็นคนดี จะรจู้ ักคนชว่ั วา่ เปน็ คนชั่ว วัสสการพราหมณ์กราบทูลแสดงความพอใจ แล้วยกตัวอย่างจริง ๆ ประกอบ พุทธดำ� รสั ๒ อุปกะบุตรแห่งนางมัณฑิกา (ผู้เป็นฝักฝ่ายของพระเทวทัต) ทูลพระผู้มีพระภาคว่า ตนเหน็ วา่ ผตู้ เิ ตยี นผอู้ นื่ ยอ่ มไมท่ ำ� ความดใี หเ้ กดิ ขน้ึ นบั เปน็ คนควรถกู ตเิ ตยี นวา่ กลา่ ว (ทพี่ ดู เชน่ นี้ เพอื่ จะเสยี ดสที พ่ี ระผมู้ พี ระภาคทรงตเิ ตยี นพระเทวทตั ) พระผมู้ พี ระภาคตรสั ตอบวา่ ถา้ อยา่ ง น้ัน ท่านก็ท�ำเช่นนั้น และควรถูกติเตียนว่ากล่าว (เพราะการที่พูดเช่นนี้ ก็เพ่ือหาทางจะติเตียน ผู้อื่น) อุปกะก็ได้สติ ยอมรับว่าพระผู้มีพระภาคทรงน�ำบ่วง คือวาทะคล้องตัวเขา ซ่ึงก�ำลังโผล่ พ้นน้�ำข้ึนมา พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ทรงบัญญัติเร่ืองอกุศล เร่ืองควรละอกุศล เรื่องกุศล เรื่องควรเจริญกุศล อุปกะน�ำความนั้นไปกราบทูลพระเจ้าอชาตศัตรุก็ถูกพิโรธขับไล่ไม่ต้องการ จะทรงเห็นอกี เพราะรกุ รานพระผูม้ พี ระภาค ทรงแสดงธรรมทค่ี วรทำ� ใหแ้ จ้ง ๔ ประการ คือ (๑) ธรรมท่ีควรท�ำให้แจ้งด้วยนามกาย ได้แก่วิโมกข์ ๘ (ดูหน้า ๔๕๔ - ๔๕๕ ประกอบดว้ ย) (๒) ธรรมทีค่ วรทำ� ให้แจง้ ดว้ ยสติ ได้แก่ปพุ เพนิวาส (ความเปน็ อยูใ่ นชาติกอ่ น) (๓) ธรรมท่ีควรท�ำให้แจ้งด้วยจักษุ ได้แก่จุตูปปาตะ (การเคล่ือน การเข้าถึง หรือการตาย การเกดิ เหน็ ไดด้ ้วยทิพยจักษุ) (๔) ธรรมที่ควรท�ำให้แจ้งด้วยปัญญาได้แก่อาสวักขยะ (ความส้ินไปแห่งอาสวะ คอื หมดกเิ ลส) ๒๑ คนชั่ว คนดี ในท่ีน้ใี ชค้ ำ� บาลีว่า อสปั ปรุ สิ ะ สปั ปรุ ิสะ คนตาบอดน้ันย่อมมองไม่เห็นท้ังคนตาดีท้ังคนตาบอด อรรถกถาแก้ไว้น่าฟังว่า คนชั่วเปรียบเหมือนคนตาบอด ส่วนคนดีเปรียบเหมือนคนตาดี ซง่ึ มองเหน็ ทั้งคนตาดที ั้งคนตาบอด PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 787 5/4/18 2:25 PM
788 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรัสสรรเสริญภกิ ษสุ งฆ์ ท่ปี ระชุมกนั ในวนั อุโบสถว่า ในหมภู่ กิ ษุนน้ั มภี กิ ษุที่บรรลุความเปน็ เทพ คอื ผูไ้ ด้ฌาน ๔ มภี ิกษทุ บ่ี รรลุความเปน็ พรหม คอื ผ้เู จริญพรหมวหิ าร ๔ มีภิกษุท่ีบรรลุความเป็นผู้ไม่หวั่นไหว (อาเนญชัปปัตตะ) ได้แก่ภิกษุผู้เจริญ อรูปฌาน ๔ (ตรงน้ีเป็นอันยืนยันว่า อาเนญชะน้ัน ได้แก่อรูปฌาน ๔ แต่ ในที่อื่นตรัสแสดงถึงรูปฌาน ๔ ด้วย โปรดดูบันทึก หน้า ๖๖๖) มีภิกษุผู้ บรรลคุ วามเปน็ อรยิ ะ ไดแ้ ก่ ผรู้ อู้ ริยสจั จ์ ๔ ตามเป็นจรงิ วรรคที่ ๕ ชื่อมหาวรรค วา่ ดว้ ยเรื่องใหญ่ ๕. ทรงแสดงอานิสงส์ (ผลดี) ๔ ประการ แห่งธรรมทไ่ี ดส้ ดับ ท่ขี ึน้ ปาก ท่เี พง่ ดว้ ยใจ ทขี่ บดว้ ยทฏิ ฐิ คือ (๑) ภิกษเุ รียนธรรมแลว้ หลงลืมสติ ท�ำกาละ (ตาย) เข้าถึงเทพนิกายพวกใด พวกหนง่ึ บทแห่งธรรมของเธอผูม้ ีความสุขย่อมแจม่ ชัด สติเกดิ ขึ้นชา้ เธอ ยอ่ มกา้ วหนา้ ไปสู่คุณวิเศษโดยรวดเร็ว (วิเสสคามี) (๒) ภิกษเุ รยี นธรรมแลว้ หลงลมื สติ ท�ำกาละ เข้าถึงเทพนิกายพวกใดพวกหนึง่ บทแห่งธรรมของเธอผู้มีความสุขไม่แจ่มชัด แต่ว่าเธอมีฤทธ์ิ บรรลุความ เป็นผู้เช่ียวชาญทางจิต (เจโตวสิปตฺโต) ย่อมแสดงธรรมแก่เทวบริษัท สติ เกดิ ขน้ึ ชา้ เธอยอ่ มกา้ วหนา้ ไปสคู่ ณุ วิเศษโดยรวดเร็ว (๓) เหมอื นขอ้ ๒ แตบ่ ทแหง่ ธรรมไมป่ รากฏ เธอไมม่ ฤี ทธ์ิ ไมบ่ รรลคุ วามเชยี่ วชาญ ทางจิตแสดงธรรม แต่ได้แสดงธรรมแก่เทวบริษัท สติเกิดข้ึนช้า เธอย่อม ก้าวหนา้ ไปสู่คุณวเิ ศษโดยรวดเร็ว (๔) เหมือนข้อ ๓ เธอไม่มีคุณสมบัติ ทั้งสามอย่าง แต่เตือนผู้เกิดภายหลังให้ ระลึกได้ว่าเคยประพฤติพรหมจรรย์ สติเกิดข้ึนช้า เธอย่อมก้าวหน้าไปสู่ คณุ วเิ ศษโดยรวดเร็ว ทรงแสดงฐานะ ๔ ทพี่ งึ ทราบได้โดยฐานะ ๔ คือ (๑) ศีล พงึ ทราบได้ดว้ ยการอยู่ร่วมกนั (๒) ความสะอาดพงึ ทราบได้ด้วยการสนทนา (๓) กำ� ลงั (ใจ) พึงทราบไดใ้ นเวลามีอันตรายเกดิ ขน้ึ (๔) ปัญญา พงึ ทราบไดด้ ้วยการถาม การตอบ ทัง้ สีข่ อ้ นี้ ต้องอาศัยเวลานาน และผทู้ ราบก็ต้องใสใ่ จและมปี ญั ญา PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 788 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 789 ตรัสแสดงธรรมแก่เจ้าลิจฉวีช่ือภัททิยะ ผู้มาทูลถามว่า มีคนเขาพูดกันว่า พระองค์มี ัอง ุคตตร ินกาย มายา รมู้ ายาเปน็ เครอ่ื งกลบั ใจคน ซง่ึ ใชเ้ ปน็ เครอื่ งกลบั ใจสาวกเดยี รถยี อ์ นื่ ๆ จะเปน็ การหาความ หรือไม่ ตรัสตอบว่า ไม่ควรเช่ือโดยฟังตามกันมา เป็นต้น (๑๐ ประการดั่งกล่าวไว้แล้ว ดูหน้า ๗๔๑) ตอ่ เมอ่ื รู้ได้ดว้ ยตนเองว่า ชวั่ ดีอย่างไร จงึ คอ่ ยละหรือท�ำใหเ้ กิดมขี ึน้ แลว้ ตรสั ถามใหเ้ หน็ โทษของโลภะ โทสะ โมหะ และคณุ ของอโลภะ อโทสะ อโมหะ ดว้ ย ตนเอง ครนั้ แล้วตรัสว่า ผใู้ ดเปน็ คนดี ผู้นัน้ ย่อมชกั ชวนสาวกใหล้ ะโลภะ โทสะ โมหะ สารมั ภะ (ความแข่งดี) เจ้าลิจฉวีชื่อภัททิยะ ก็เล่ือมใสในพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสกถึง พระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า เราได้กล่าวหรือเปล่าว่า จงมา เป็นสาวกของเรา เราจักเป็นศาสดาของท่าน ภัททิยะลิจฉวีกราบทูลว่า มิได้ตรัสดังน้ัน แล้ว กราบทูลสรรเสริญว่า มายากลับใจน้ี (ถ้าเป็นมายาจริง) ก็ดีและเป็นไปเพ่ือประโยชน์และ ความสุขแกท่ ุกคน พระอานนทแ์ สดงธรรมแกร่ าชบตุ รแหง่ โกลยิ กษตั รยิ ช์ าวสาปคุ นคิ มหลายองค์ ถงึ องค์ แห่งความเพียร เพ่ือความบริสุทธิ์ ๔ อย่าง คือองค์แห่งความเพียรเพื่อความบริสุทธ์ิแห่งศีล แห่งจิต แห่งทิฏฐิ (ความเห็น) และแห่งวิมุติ (ความหลุดพ้น) โดยช้ีไปที่การส�ำรวมใน พระปาฏโิ มกข์ การเข้าฌาน ๔ การรู้อริยสจั จ์ ๔ ตามเป็นจรงิ การท�ำจติ ใหค้ ลายก�ำหนัดในธรรม เปน็ ท่ีตง้ั แห่งความก�ำหนดั การเปลื้องจิตในธรรมทค่ี วรเปล้ืองโดยลำ� ดบั ครบ ๔ ขอ้ พระมหาโมคคลั ลานะ ถามวปั ปศากยะผเู้ ปน็ สาวกของนคิ รนถ์ ถงึ เรอ่ื งฐานะทเี่ ปน็ เหตุ ใหอ้ าสวะอนั เปน็ ปจั จยั แหง่ ทกุ ขเวทนาทว่ มทบั บคุ คลในโลกหนา้ (สมั ปรายภพ) พระผมู้ พี ระภาค เสดจ็ มาตรสั ถามและตรสั โตต้ อบกับวัปปศากยะ โดยทรงต้งั ปญั หาใหต้ อบ และเหน็ จรงิ ได้ด้วย ตนเองวา่ อาสวะทเี่ กดิ ขนึ้ เพราะความรเิ รมิ่ ทางกาย วาจา ใจ และเพราะอวชิ ชาเปน็ ปจั จยั ถา้ บคุ คล เว้นได้ ไม่ท�ำกรรมใหม่ ทั้งท�ำกรรมเก่าให้สิ้นไป ก็จะไม่เห็นฐานะท่ีอาสวะอันเป็นปัจจัยแห่ง ทุกขเวทนาท่วมทับบุคคลในโลกหน้า ในท่ีสุดวัปปศากยะกราบทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงตนเปน็ อบุ าสกถงึ พระรตั นตรยั เปน็ สรณะตลอดชวี ติ ๑ (รวมเปน็ บคุ คลสำ� คญั ๓ คนทเ่ี ปลยี่ น ศาสนาจากนิครนถ์มาเป็นพุทธศาสนิก คือวัปปศากยะ ผู้เป็นอาพระพุทธเจ้า สีหเสนาบดี แห่งกรุงเวสาลี แคว้นวัชชี และอุบาลีคฤหบดีแห่งเมืองนาฬันทา (ดูหน้า ๓๓๕ และหน้า ๖๐๐ ประกอบดว้ ย) ๑ วัปปศากยะไดก้ ราบทูลเปรยี บเทียบวา่ เขา้ ไปหาพวกนคิ รนถไ์ มไ่ ด้กำ� ไร ทงั้ ได้รบั ความลำ� บาก เหมือนหวงั ได้กำ� ไร ซือ้ ลูกมา้ มาเล้ยี ง ก�ำไรก็ไม่ได้ ทัง้ ไดร้ บั ความลำ� บาก (เพราะลูกมา้ เป็นโรคตาย) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 789 5/4/18 2:25 PM
790 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรัสแสดงธรรมแก่เจ้าลิจฉวีช่ือสาฬหะ และอภยะ เรื่อง สมณพราหมณ์ผู้มี ความประพฤตทิ างกาย วาจา ใจ และการเลยี้ งชพี ไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ วา่ เปน็ ผไู้ มค่ วรเพอื่ ตรสั รู้ ตอ่ บรสิ ทุ ธ์ิ จึงควรตรสั รู้ ตรัสตอบพระนางมลั ลกิ า ผกู้ ราบทลู ถามปัญหา ๔ ขอ้ โดยทรงช้แี จงวา่ (๑) มาตุคามผู้มักโกรธ ไม่ให้ทาน มีใจริษยา จะเป็นผู้มีรูปทรามและยากจน มี ศกั ดิน์ ้อย (๒) มาตุคาม ผู้มักโกรธ แต่ให้ทาน ไมม่ ใี จริษยา จะเป็นผูม้ รี ูปทราม แต่มง่ั คง่ั มี ทรพั ย์มาก มีศกั ดใ์ิ หญ่ (๓) มาตุคาม ผู้ไม่มักโกรธ แต่ไม่ใหท้ าน มีใจรษิ ยา จะเป็นผู้มีรปู งาม แต่ยากจน มีศกั ดิน์ ้อย (๔) มาตุคาม ผู้ไม่มักโกรธ ท้ังให้ทานและมีใจไม่ริษยา จะเป็นผู้ท้ังมีรูปงาม ท้ัง ม่งั ค่งั มีทรัพย์มาก มศี ักดใ์ิ หญ่ พระนางมลั ลกิ ากราบทลู วา่ ชะรอยพระนางจะเปน็ คนขโี้ กรธในชาตอิ น่ื จงึ ทรงมรี ปู ทราม ชะรอยจะเคยถวายทานจึงมั่งค่ัง และชะรอยจะไม่มีใจริษยา จึงมีศักด์ิใหญ่เหนือหญิงท้ังปวง ในราชสกุล แล้วทรงแสดงพระประสงค์ว่า จะไม่มักโกรธ ทั้งจะถวายทาน และไม่มีใจริษยา ตัง้ แตว่ ันนไ้ี ป ตรสั แสดงเรือ่ งบุคคล ๔ ประเภท คือผู้ทำ� ตนให้เดือดร้อน เปน็ ตน้ (พอ้ งกบั ข้อความ ในกันทรกสูตร หนา้ ๕๙๔ - ๕๙๕) ตรัสแสดงเร่ืองตัณหา อันเป็นเสมือนข่ายดักสัตว์ โดยทรงแสดง ตัณหาวิจริต (ความท่องเท่ียวไปแห่งตัณหา คือความทะยานอยาก) ที่ปรารภขันธ์ ๕ ที่เป็นไปในภายใน ๑๘ อย่าง ที่ปรารภขันธ์ ๕ ที่เป็นไปในภายนอก ๑๘ อย่าง เป็นไปในกาล ๓ จึงเป็น ๑๐๘ (๑๘ + ๑๘) x ๓ = ๑๐๘ ทรงแสดงสง่ิ ทเี่ กดิ ขึน้ ๔ อยา่ ง คอื (๑) ความรักเกิดจากความรัก (เห็นคนอื่นพูดด้วยถ้อยค�ำที่ดีงามต่อคนท่ีตนรัก ก็เลยรกั คนอ่ืนนน้ั ด้วย) (๒) ความคดิ ประทษุ รา้ ยเกดิ จากความรกั (เหน็ คนอนื่ เขาพดู ดว้ ยถอ้ ยคำ� ไมด่ งี าม ตอ่ คนท่ตี นรัก ก็เลยคดิ ประทุษรา้ ยคนอ่นื นนั้ ดว้ ย) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 790 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 791 (๓) ความรักเกิดจากความคิดประทุษร้าย (เห็นคนอ่ืนเขาพูดด้วยถ้อยคำ� ที่ไม่ดี ัอง ุคตตร ินกาย งามตอ่ คนทต่ี นเกลียด ก็เลยรกั คนอ่นื นั้นดว้ ย) (๔) ความคิดประทุษร้ายเกิดจากความคิดประทุษร้าย (เห็นคนอื่นเขาพูดด้วย ถอ้ ยคำ� อันดงี ามต่อคนท่ีตนเกลยี ด กเ็ ลยเกลียดคนอนื่ นนั้ ดว้ ย) แล้วตรัสต่อไปว่า ภิกษุผู้เข้าฌานท้ังสี่ย่อมไม่เกิดความรัก ความคิดประทุษร้าย ทั้งส่ีประเภทนั้น ย่ิงส้ินอาสวะด้วยความรัก ความคิดประทุษร้ายก็เป็นอันละได้อย่างถอนราก และภิกษุนั้นก็จะไม่ฟุ้งสร้าน (ไม่ถือตน หรือถือกายของตนตามแนวสักกายทิฏฐิ ๒๐ อย่าง ดูหน้า ๕๘๑ หมายเลข ๒) ไม่ฟุ้งตอบ (ไม่ด่าตอบคนท่ีด่า เป็นต้น) ไม่เป็นควัน (เพราะมี ความท่องเทีย่ วแหง่ ตณั หา ปรารภขันธ์ ๕ ภายใน) ไมล่ ุกเปน็ เปลว (เพราะมีความท่องเทย่ี วแห่ง ตัณหา ปรารภขนั ธ์ ๕ ภายนอก) ไมถ่ กู เผา (ละอัสมิมานะ ความถอื ตัววา่ เราเป็นน่ันเป็นนี่ได้) วรรคท่ีไมจ่ ดั เขา้ ในหมวด ๕๐ (หมวดนี้ เรียกว่าปัณณาสกสังคหิตวรรค คือวรรคท่ีไม่จัดเข้าในหมวด ๕๐ จัดเป็น หมวดพิเศษ แบ่งเป็นหมวดย่อยหรือวรรค ๗ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สูตรเช่นกัน คือ วรรคที่ ๑ ชื่ออสัปปุริสวรรค ว่าด้วยคนช่ัว วรรคท่ี ๒ ช่ือโสภณวรรค ว่าด้วยคนดีงาม วรรคที่ ๓ ชื่อทุจจริตวรรค ว่าด้วยความประพฤติชั่ว วรรคที่ ๔ ชื่อกัมมวรรค ว่าด้วยกรรม คือการกระท�ำ วรรคที่ ๕ ช่ืออาปัตติภยวรรค ว่าด้วยภัยคือส่ิงท่ีน่ากลัวแห่งอาบัติ วรรคที่ ๖ ช่ืออภิญญาวรรค ว่าด้วยความรู้แจ้ง วรรคท่ี ๗ ช่ือกัมมปถวรรค ว่าด้วยกรรมบถ คือทาง แหง่ กรรมดกี รรมชั่ว) วรรคท่ี ๑ ชอ่ื อสัปปรุ สิ วรรค วา่ ดว้ ยคนชัว่ ๑. ทรงแสดง คนชั่ว (อสัปปุริสะ) และคนดี (สัปปุริสะ) ด้วยเร่ืองละเมิดศีล ๕ ชักชวนเพ่ือละเมิดศีล ๕ หรือต้ังอยู่ในศีล ๕ ชักชวนเพื่อตั้งอยู่ในศีล ๕ รวมทั้งธรรมะฝ่ายชั่ว ฝา่ ยดอี นื่ ๆ วรรคท่ี ๒ ช่ือโสภนวรรค วา่ ด้วยคนดงี าม ๒. ทรงแสดงคนท่ีประทุษร้ายบริษัท เพราะทุศีล มีบาปธรรม คนที่ท�ำบริษัทให้งาม เพราะมีศีล มีกัลยาณธรรม และ ทรงแสดงความช่ัวความดีอื่น ๆ ที่ท�ำให้ตกนรกหรือขึ้น สวรรคเ์ หมอื นถูกน�ำไปวางไว้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 791 5/4/18 2:25 PM
792 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ วรรคท่ี ๓ ชอื่ ทจุ จริตวรรค ว่าดว้ ยความประพฤตชิ ่วั ๓. ทรงแสดง วจีทุจจริต ๔ คือพูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดค�ำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ แล้วทรงแสดงคนพาลและบัณฑิต ผู้ประกอบด้วยความชั่ว ความดีต่าง ๆ ในที่สุด ทรงแสดง กวี ๔ ประเภท คือจินตากวิ (กวีทางความคิด) สุตกวิ (กวีทางสดับฟัง) อัตถกวิ (กวีทาง เนอ้ื ความ) และปฏภิ าณกวิ (กวที างปญั ญา หรือ ญาณ) วรรคที่ ๔ ชอ่ื กมั มวรรค วา่ ดว้ ยกรรมคือการกระทำ� ๔. ทรงแสดงกรรม ๔ อย่าง คือกรรมด�ำมีวิบาก (ผล) ด�ำ กรรมขาวมีวิบากขาว กรรมทั้งด�ำทั้งขาว มีวิบากทั้งด�ำท้ังขาว กรรมไม่ด�ำไม่ขาวมีวิบากไม่ด�ำไม่ขาว๑ ทรงแสดงว่า สมณะที่ ๑ ได้แก่พระโสดาบัน สมณะท่ี ๒ ได้แก่พระสกทาคามี สมณะที่ ๓ ได้แก่พระ อนาคามี สมณะท่ี ๔ ได้แก่พระอรหันต์ มีเฉพาะในพระธรรมวินัยนี้เท่าน้ัน แล้วทรงแสดงว่า เพราะอาศัยคนดี จึงหวังอานิสงส์ (ผล) ได้ ๔ ประการ คือเจริญด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุติ (ความหลุดพ้น) วรรคที่ ๕ ชือ่ อาปัตตภิ ยวรรค ว่าดว้ ยภัยคือส่งิ ทน่ี า่ กลวั แหง่ อาบัติ ๕. ตรัสกะพระอานนทว์ า่ ภิกษุชัว่ เห็นประโยชน์ ๔ ประการ จึงพอใจดว้ ยการทำ� สงฆ์ ใหแ้ ตกกัน คอื ถ้าภิกษุพรอ้ มเพรยี งกนั กจ็ ะกำ� จดั เรา๒ ผู้ทศุ ีล ผูม้ คี วามเห็นผิด ผ้เู ลย้ี งชีวติ ผดิ ผู้อยากได้ลาภ แตแ่ ตกกนั กจ็ ะกำ� จัดเรา๒ ไมไ่ ด้ แลว้ ทรงแสดงภยั แหง่ อาบตั ิ และอานสิ งสแ์ หง่ การศกึ ษา ทรงแสดงการนอน ๔ อยา่ ง คอื (๑) การนอนของเปรต (นอนหงาย) (๒) การนอนของผู้บริโภคกาม (ตะแคงซา้ ย) (๓) การนอนของราชสหี ์ (ตะแคงขวา ซอ้ นเทา้ เหลอื่ มเทา้ เอาหางสอดไวใ้ นระหวา่ งเทา้ ) (๔) การนอนของพระตถาคต (เข้าฌานท่ี ๔) ทรงแสดงบุคคลผู้ควรแกส่ ตูป ๔ (ดมู หาปรินิพพานสตู ร หนา้ ๔๖๑) ทรงแสดงธรรม ๔ อยา่ งทีเ่ ป็นไปเพอื่ ความเจรญิ ด้วยปญั ญา คอื (๑) คบคนดี (๒) ฟงั ธรรมของทา่ น (๓) ไตรต่ รองโดยแยบคาย (๔) ประพฤติธรรมสมควรแกธ่ รรม ๑๒ โปรดดรู ายละเอียดในกุกกโุ รวาทสูตร หน้า ๖๐๔ เรา ในขอ้ ความนห้ี มายถงึ ภกิ ษชุ ว่ั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 792 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต 793 ทรงแสดงธรรม ๔ อย่างท่ีมีอุปการะมากแก่มนุษย์ (เหมือนกับธรรมท่ีให้เจริญ ัอง ุคตตร ินกาย ด้วยปญั ญา) ทรงแสดงโวหารคอื คำ� พูดที่ไมป่ ระเสรฐิ และประเสรฐิ ฝา่ ยละ ๔ อย่าง คอื พดู ว่า ได้เห็น ได้ฟงั ไดท้ ราบ ได้รู้ ในส่ิงที่มิไดเ้ ห็น มิไดฟ้ ัง มิไดท้ ราบ มิได้รู้ หรือพดู วา่ ไม่ไดเ้ ห็น ไมไ่ ดฟ้ ัง ไม่ไดท้ ราบ ไมไ่ ดร้ ู้ ในสงิ่ ท่ไี ด้เห็น ไดฟ้ งั ได้ทราบ ได้รู้ นี้เป็นฝ่ายไม่ประเสรฐิ ในฝา่ ยประเสริฐกค็ ือตรงกันข้าม ได้แกพ่ ูดตามเป็นจริง วรรคที่ ๖ ชื่ออภิญญาวรรค ว่าดว้ ยความร้แู จ้ง ๖. ทรงแสดง ธรรม ๔ อย่าง คือที่ควรก�ำหนดรู้ด้วยความรู้ย่ิง ได้แก่ขันธ์ ๕ ท่ี บุคคลยึดถือ ท่ีควรละด้วยความรู้ยิ่ง ได้แก่อวิชชา (ความไม่รู้) กับภวตัณหา (ความอยาก เป็นน่ันเป็นน่ี) ท่ีควรเจริญได้แก่สมถะ (ความสงบใจ) และวิปัสสนา (ความเห็นแจ้ง) ที่ควร ทำ� ให้แจ้ง ได้แกว่ ิชชา (ความรู้) และวมิ ตุ ิ (ความหลดุ พ้น) ทรงแสดงการแสวงหาอนั ไมป่ ระเสรฐิ และประเสรฐิ ฝา่ ยละ ๔ อยา่ ง คอื การแสวงหาสงิ่ ท่มี คี วามแก่ ความเจบ็ ความตาย ความเศรา้ หมองเปน็ ธรรมดา ฝ่ายดคี อื ตรงกนั ขา้ ม ทรงแสดงเรอื่ งของการสงเคราะห์ (สงั คหวตั ถ)ุ ๔ คอื การให้ การพดู ไพเราะ การบำ� เพญ็ ประโยชน์ การวางตนสมำ�่ เสมอ ทรงแสดงความเกิดขึ้นแห่งตัณหา ๔ อย่าง คือเกิดข้ึนเพราะปัจจัย ๔ แก่พระ มาลงุ กยบุตร ทรงแสดงว่า ตระกูลอันถึงความเป็นใหญ่ในโภคทรัพย์ จะต้ังอยู่ไม่ได้นานด้วย ฐานะ ๔ คอื ไมแ่ สวงหาของทห่ี าย ไมซ่ อ่ มแซมสง่ิ ทช่ี ำ� รดุ ใชจ้ า่ ย (ดมื่ กนิ ) ไมม่ ปี ระมาณ ตง้ั หญงิ หรอื ชายผ้ทู ศุ ลี ให้เปน็ ใหญ่ ส่วนทจ่ี ะตัง้ อยไู่ ด้นาน คือตรงกนั ขา้ ม ทรงแสดงเร่อื งมา้ อาชาไนย ๔ ประเภท เปรียบด้วยคุณธรรมของภิกษุ (เหมอื นท่ีกล่าว มาแล้วในหมวดที่ ๓ หน้า ๗๗๕ เป็นแต่เพ่ิมขึ้นอีกข้อหนึ่ง คือ สมบูรณ์ด้วยก�ำลัง เทียบด้วย ปรารภความเพยี ร) ทรงแสดงกำ� ลงั ๔ ไดแ้ กก่ ำ� ลงั คือความเพยี ร สติ (ความระลึกได้) สมาธิ ปัญญา ทรงแสดงว่า ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง ไม่ควรอยู่ป่า คือประกอบด้วย ความตรึกในกาม ในการปองร้าย ในการเบียดเบยี น เป็นผมู้ ปี ัญญาทราม ถา้ ตรงกันขา้ มก็ควร อยู่ปา่ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 793 5/4/18 2:25 PM
794 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทรงแสดงคนพาลและบัณฑิตประกอบด้วยธรรมฝ่ายละ ๔ อย่าง คือการกระท�ำทาง กาย วาจา ใจ และความเหน็ อันมโี ทษหรือไมม่ โี ทษ วรรคท่ี ๗ ช่อื กัมมปถวรรค วา่ ดว้ ยกรรมบถคือทางแหง่ กรรมดีกรรมช่ัว ๗. ทรงแสดงว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง จะตกนรกหรือขึ้นสวรรค์ เหมือน ถูกนำ� ไปวางไวค้ ือ (๑) ประพฤติช่ัว (กายทุจจริต ๓ วจีทุจจริต ๔ มโนทุจจริต ๓ รวมเป็น อกศุ ลกรรมบถ ๑๐) ด้วยตนเอง (๒) ชกั ชวนผูอ้ นื่ เพอ่ื ประพฤติชั่ว (๓) ยนิ ดใี นความช่วั (๔) พรรณนาคณุ ของความชวั่ ฝ่ายดคี อื ท่ีตรงกนั ข้าม พระสตู รท่ีไมจ่ ัดเข้าในหมวด ๕๐ หมวดน้ี มีข้อความสั้นที่สุด คือตรัสสอนให้เจริญสติปัฏฐาน (การตั้งสติ) ๔ อย่าง สัมมัปปธาน (ความเพียรชอบ) ๔ อย่าง อิทธิบาท (ธรรมอันให้ถึงความส�ำเร็จ) ๔ อย่าง เพ่ือร้ยู งิ่ เพ่ือกำ� หนดรู้ เพ่อื ความสิน้ ไป เพือ่ ละอุปกิเลส ๑๖ อย่าง มีราคะ เปน็ ต้น (ดูหน้า ๕๓๑ แตใ่ นหน้าน้ันใชค้ ำ� วา่ โลภะ แทนราคะ) จบความยอ่ แหง่ พระไตรปฎิ ก เล่ม ๒๑ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 794 5/4/18 2:25 PM
เล่ม ๒๒ องั คุตตรนกิ าย ปญั จก - ฉกั กนิบาต พระไตรปิฎกเล่มน้ี แบ่งออกเป็น ๒ ตอน คือตอนที่ ๑ ช่ือปัญจกนิบาต ว่าด้วย ธรรมะจำ� นวน ๕ ตอนท่ี ๒ ช่ือฉักกนบิ าต วา่ ดว้ ยธรรมะจำ� นวน ๖ ขยายความ ปัญจกนบิ าต ชุมนมุ ธรรมะทม่ี ี ๕ ขอ้ ในหมวดน้ี จัดเป็นหมวด ๕๐ รวม ๕ หมวด หมวดละ ๕ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สตู ร กบั พระสูตรนอกหมวด ๕๐ อกี ตา่ งหาก รวมท้ังสนิ้ ประมาณเกือบ ๓๐๐ สตู ร ปฐมปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ท่ี ๑ (ในหมวดนี้ มี ๕ วรรค วรรคที่ ๑ ชื่อเสขพลวรรค ว่าด้วยธรรมอันเป็นก�ำลังของ พระเสขะ คือ พระอริยบุคคลผู้ยังศึกษา วรรคที่ ๒ ช่ือพลวรรค ว่าด้วยธรรมอันเป็นก�ำลัง วรรคที่ ๓ ชื่อปัญจังคิกวรรค ว่าด้วยธรรมะมีองค์ ๕ วรรคท่ี ๔ ชื่อสุมนวรรค ว่าด้วย นางสมุ นาราชกมุ ารี วรรคท่ี ๕ ชือ่ มณุ ฑราชวรรค ว่าด้วยพระเจา้ มุณฑะ) วรรคท่ี ๑ ช่อื เสขพลวรรค ว่าดว้ ยธรรมอนั เป็นก�ำลังของพระเสขะ ๑. ตรสั แสดงกำ� ลังของพระเสขะ ๕ อย่าง อันได้แก่กำ� ลังคอื ความเช่ือ ความละอาย ต่อบาป ความเกรงกลัวต่อบาป ความเพียร และปัญญา และได้ตรัสแสดงธรรมยักย้าย นัยต่าง ๆ โดยอาศัยหลักธรรม ๕ ประการที่กล่าวนี้ เช่น ถ้าขาดธรรมเหล่าน้ีจะอยู่เป็นทุกข์ ในปัจจุบัน และหวังทุคคติได้เม่ือสิ้นชีวิตไป แต่ถ้ามีธรรมเหล่าน้ีจะอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน และ หวงั สุคตไิ ด้เมอื่ สนิ้ ชวี ิตไป วรรคท่ี ๒ ชอ่ื พลวรรค ว่าด้วยธรรมอันเป็นกำ� ลงั ๒. ตรัสแสดงก�ำลัง ๕ ของพระตถาคต เช่นเดียวกับข้อ ๑ และได้ตรัสถึงธรรม อันเป็นก�ำลัง ๕ อย่าง อันได้แก่ก�ำลังคือความเช่ือ ความเพียร ความระลึกได้ ความต้ังใจม่ัน และปัญญา กับได้ตรัสว่าภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ อย่าง ช่ือว่าปฏิบัติเพ่ือประโยชน์ตน และประโยชน์ผู้อื่น คือตนเองสมบูรณ์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุติ วิมุตติญาณทัสสนะ๑ ๑ ธรรม ๕ อย่างนี้ เคยให้ความหมายไว้บ้างแล้ว ศีล คือการรกั ษากายวาจาใหเ้ รียบรอ้ ย สมาธิ คอื การทำ� ใจใหต้ ง้ั มนั่ ปัญญา คือการรู้เท่าทันความจริง วิมุติ คือความหลุดพ้น วิมุตติญาณทัสสะ คือการรู้ด้วยญาณว่าหลุดพ้นแล้ว เรียกวา่ ธัมมขนั ธ์ ๕ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 795 5/4/18 2:25 PM
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 622
Pages: