796 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ และชักชวนผู้อ่ืนเพื่อให้สมบูรณ์ด้วยธรรมเหล่าน้ัน ถ้าขาดในด้านตนเอง หรือในด้านชักชวน ผ้อู ่นื ในทางใดทางหน่งึ หรือขาดท้งั สองอย่าง กช็ ่ือว่าบกพรอ่ งในทางนน้ั ๆ วรรคที่ ๓ ช่ือปญั จงั คิกวรรค ว่าด้วยธรรมมีองค์ ๕ ๓. ตรัสวา่ ภกิ ษผุ ไู้ ม่มีความเคารพ ไม่มที ่ีพ่งึ ประพฤติไม่สมสว่ นในเพื่อนพรหมจารี เป็นไปไม่ได้ที่จะบ�ำเพ็ญธรรมะที่เป็นมารยาท ธรรมของพระเสขะ ศีล ความเห็นชอบ และ ความตั้งใจมั่นชอบให้บริบูรณ์ได้ และเป็นไปไม่ได้ที่จะบ�ำเพ็ญธรรมะที่เป็นมารยาท ธรรมของ พระเสขะ กองศีล กองสมาธิ และกองปัญญาให้บริบูรณ์ได้ ต่อเมื่อมีความเคารพ มีที่พ่ึง ประพฤตสิ มส่วนในเพ่อื นพรหมจารี จึงเปน็ ไปได้ทจ่ี ะบำ� เพญ็ ธรรมเหลา่ นั้นให้บริบูรณไ์ ด้ ทรงแสดงวา่ ความเศรา้ หมองแหง่ จติ ๕ อยา่ ง คอื ความพอใจในกาม ความคดิ ปองรา้ ย ความหดห่งู ว่ งงุน ความฟุ้งสรา้ นรำ� คาญใจ และความลังเลสงสัย (ซ่ึงเรียกวา่ นวี รณ์ ๕ ในทอ่ี ่นื ) ท�ำให้จิตไม่อ่อน ไม่ควรแก่การงาน ไม่ผ่องใสเปล่งปลั่ง ไม่ต้ังม่ันด้วยดีเพ่ือความสิ้นไปแห่ง อาสวะ เปรียบเหมือนเหล็ก โลหะ ดีบุก ตะก่ัว และเงิน เป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งทองฉะนั้น เมือ่ จิตปราศจากเคร่อื งเศรา้ หมองเหล่านี้ย่อมเปน็ ไปเพ่อื อภญิ ญา ๖ มีการแสดงฤทธ์ไิ ด้ เปน็ ต้น มกี ารท�ำให้แจง้ เจโตวมิ ตุ ิ ปัญญาวิมตุ ิ อันไมม่ อี าสวะเปน็ ทสี่ ดุ ทรงแสดงว่า บคุ คลผทู้ ศุ ีล มีศีลวบิ ัติ ยอ่ มไมม่ ีคุณธรรมดงั ตอ่ ไปน้ี ขาดอปุ นิสสัย คือ สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจมั่นชอบ) ยถาภูตญาณทัสสนะ (ความเห็นด้วยญาณตามเป็นจริง) นพิ พทิ า (ความเบอ่ื หนา่ ย) วริ าคะ (ความคลายกำ� หนดั ) วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะ (ความเหน็ ดว้ ยญาณ ซึ่งความหลุดพ้น) ถ้ามีศีลกต็ รงกันขา้ ม คอื มคี ุณธรรมเหลา่ นี้ มอี ปุ นสิ สัยสมบูรณ์ ทรงแสดงว่า สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) ที่องค์ ๕ อนุเคราะห์แล้ว ย่อมมีเจโตวิมุติ และปัญญาวมิ ตุ ิ เป็นผล เป็นอานิสงส์ คอื ศลี การสดับตรบั ฟัง การไต่ถามโตต้ อบ สมถะ (ความ สงบจิต) และวิปัสสนา (ความเหน็ แจง้ ) ทรงแสดงวิมุตตายตนะ (เหตุแห่งความหลุดพ้น) ๕ ประการ ท่ีภิกษุผู้ไม่ประมาท มคี วามเพียร จะมจี ิตทย่ี งั ไมห่ ลุดพ้นไดห้ ลดุ พ้น จะมีอาสวะทย่ี งั ไมส่ ้ินถงึ ความสน้ิ ไป คอื (๑) ศาสดาหรือเพื่อนพรหมจารีท่ีเคารพแสดงธรรมให้ฟัง ภิกษุก็เห็นอรรถ เห็นธรรม เกิดปีตปิ ราโมทย์ มกี ายสงบ เสวยสุข มจี ิตตัง้ มั่น (๒) ภิกษุแสดงธรรมที่ได้ฟังแล้ว เรียนแล้วแก่ผู้อื่นโดยพิสดาร ก็เห็นอรรถ เหน็ ธรรม จนถึงมจี ติ ต้ังม่ัน (๓) ภกิ ษสุ าธยาย (ท่องบ่น) ธรรมท่ไี ด้ฟังแลว้ เรยี นแลว้ โดยพสิ ดาร กเ็ หน็ อรรถ เหน็ ธรรม จนถงึ มจี ิตตงั้ มน่ั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 796 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 797 (๔) ภกิ ษตุ รกึ ตรองเพง่ ดว้ ยใจซง่ึ ธรรมทไี่ ดฟ้ งั แลว้ เรยี นแลว้ กเ็ หน็ อรรถเหน็ ธรรม ัอง ุคตตร ินกาย จนถงึ มจี ติ ต้งั มนั่ (๕) ภิกษุถือเอาสมาธินิมิตอันใดอันหน่ึงไว้ด้วยดี ใส่ใจด้วยดี ทรงจ�ำด้วยดี แทงทะลุด้วยดดี ้วยปัญญา ก็เห็นอรรถเหน็ ธรรม จนถึงมีจติ ตัง้ มั่น ทรงแสดงว่า ญาณ ๕ ย่อมเกิดข้ึนเฉพาะตน แก่ผู้เจริญสมาธิ อันไม่มีประมาณ๑ ผู้มปี ัญญารกั ษาตน มีสตเิ ฉพาะหนา้ คอื ความรเู้ กิดขน้ึ เฉพาะตนว่า (๑) สมาธินี้ มสี ขุ ในปจั จุบัน มีสขุ เปน็ วิบาก (ผล) ตอ่ ไป (๒) สมาธิน้ีประเสรฐิ ไม่มีอามสิ (เหย่ือลอ่ ) (๓) สมาธนิ ีค้ นชัว่ ส้องเสพไม่ได้ (๔) สมาธิน้ีสงบประณีต ได้มาด้วยความสงบระงับกิเลส บรรลุความเป็นธรรม อนั เอกเกดิ ขน้ึ ไมต่ อ้ งบรรลดุ ว้ ยใชค้ วามเพยี รขม่ ธรรมอนั เปน็ ขา้ ศกึ หา้ มกเิ ลส (๕) สมาธินเี้ ราเขา้ ออกอย่างมสี ติ ทรงแสดงการเจริญสมั มาสมาธิอนั เป็นอรยิ ะมีองค์ ๕ คือ (๑) ภกิ ษเุ ขา้ สฌู่ านที่ ๑ มกี ายนเี้ ตม็ ไปดว้ ยปตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แตว่ เิ วก (ความสงดั ) (๒) ภิกษุเขา้ สูฌ่ านที่ ๒ มกี ายนี้เต็มไปดว้ ยปตี แิ ละสขุ อันเกดิ แตส่ มาธิ (๓) ภกิ ษเุ ข้าสฌู่ านท่ี ๓ มีกายนอี้ นั เตม็ ไปด้วยสขุ ทไี่ มม่ ปี ตี ิ (๔) ภกิ ษเุ ข้าสู่ฌานที่ ๔ แผ่จติ อนั บริสทุ ธ์ผิ อ่ งแผว้ ไปสู่กายน้ี (๕) ภิกษุถือเอานิมิตในการพิจารณาด้วยดี ใส่ใจด้วยดี ทรงจ�ำด้วยดี แทงทะลุ ดว้ ยดดี ว้ ยปญั ญา (ซงึ่ นมิ ติ ในการพจิ ารณานน้ั ) เมอ่ื เจรญิ ทำ� ใหม้ ากซง่ึ สมั มา สมาธิอนั เป็นอรยิ ะนี้ ยอ่ มเป็นไปเพือ่ อภิญญา ๖ มีการแสดงฤทธ์ไิ ด้ เป็นตน้ ทรงแสดงอานสิ งสใ์ นการเดนิ จงกรม (เดนิ กลบั ไปกลบั มา) ๕ ประการ คอื อดทนตอ่ การ เดนิ ทางไกล อดทนตอ่ ความเพียร มอี าพาธนอ้ ย อาหารทีก่ นิ ดื่ม เคีย้ ว ลม้ิ รสแล้ว ยอ่ มยอ่ ยไป ด้วยดี สมาธทิ ไ่ี ดใ้ นขณะจงกรม ย่อมตั้งอย่นู าน ตรสั แก่พระนาคติ ะ แสดงพระประสงคไ์ ม่รับรองพราหมณคฤหบดีชาวอจิ ฉานังคละผู้ เตรียมของเคี้ยวของฉันมาท่ีป่าอิจฉานังคละ ส่งเสียงเอ็ดอึงอยู่ที่ซุ้มประตู โดยทรงแสดงว่า ๑ ไมม่ ปี ระมาณ อรรถกถาแก้วา่ เปน็ โลกตุ ตรธรรม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 797 5/4/18 2:25 PM
798 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ผใู้ ดไมไ่ ดร้ บั โดยงา่ ยซง่ึ ความสขุ อนั เกดิ จากเนกขมั มะ (การออกจากกาม) จากความสงบ จากการ ตรสั รู้ ผนู้ ้นั ยอ่ มยินดคี วามสขุ อันไมส่ ะอาด ความสขุ เกดิ จากการนอนหลับ และความสขุ อันเกิด จากลาภสกั การะชอื่ เสยี ง แล้วทรงแสดงวา่ (๑) อุจจาระปัสสาวะย่อมมีแกผ่ ทู้ กี่ นิ ดื่ม เคีย้ ว ล้ิมรส (๒) ความเศร้าโศก เป็นต้น ยอ่ มเกิดเพราะความปรวนแปรเป็นอื่นแห่งสิง่ ทร่ี ัก (๓) ความเปน็ ของปฏกิ ลู (นา่ เกลยี ด) ในนมิ ติ (เครอื่ งหมาย) ทไี่ มง่ าม ยอ่ มตงั้ อยู่ แก่ผู้ประกอบเนือง ๆ ซึง่ นิมติ วา่ ไมง่ าม (๔) ความเปน็ ของปฏกิ ลู ในผสั สะ (ความถกู ตอ้ งอารมณม์ รี ปู เสยี ง เปน็ ตน้ ) ยอ่ ม ต้ังอยู่แก่ผู้พิจารณาเห็นว่าไม่เที่ยงในอายตนะส�ำหรับถูกต้อง ๖ อย่าง (มีตา หู เป็นตน้ ) (๕) ความเปน็ ของปฏกิ ลู ในความยดึ ถอื ยอ่ มตง้ั อยแู่ กบ่ คุ คลผพู้ จิ ารณาเหน็ ความ เกิดขึ้นความดับไปในขันธ์ ๕ ทีย่ ึดถือ น้ีเปน็ ผลแต่ละข้อของ ๕ ขอ้ น้ัน วรรคท่ี ๔ ชอื่ สมุ นวรรค ว่าดว้ ยนางสมุ นาราชกมุ ารี ๔. ตรัสตอบปุจฉาของพระนางสุมนาราชกุมารี๑ ว่า สาวกของพระองค์ ๒ รูป มี ศรัทธา ศีล ปัญญาเสมอกัน แต่รูปหน่ึงเป็นผู้ให้ อีกรูปหนึ่งไม่เป็นผู้ให้ ถ้าไปเกิดเป็นเทพ เป็นมนุษย์ รูปที่เป็นผู้ให้ย่อมได้รับส่ิง ๕ สิ่งอันเป็นของทิพย์อันเป็นของมนุษย์ เหนือกว่า รูปท่ีไม่เป็นผู้ให้ คือ อายุ ผิวพรรณ ความสุข ยศ และความเป็นใหญ่ ถ้าออกบวชเป็น บรรพชิต รูปที่เป็นผู้ให้ ก็จะเหนือกว่าโดยฐานะ ๕ คือ ต่อเม่ือมีผู้ขอร้องจึงบริโภคปัจจัย ๔ มาก ถ้าไม่มีผู้ขอร้องก็บริโภคน้อย ถ้าอยู่ร่วมกับเพื่อนพรหมจารี ๆ ก็ประพฤติต่อเธอด้วย กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันน่าพอใจโดยมาก ท่ีไม่น่าพอใจมีน้อย ย่อมน�ำมาให้แต่สิ่ง ที่น่าพอใจโดยมาก สิ่งไม่น่าพอใจมีน้อย แต่ถ้าบรรลุความเป็นพระอรหันต์ ไม่มีอะไรต่างกัน ระหว่างความหลดุ พ้นของผู้หน่ึง กับความหลุดพ้นของอีกผู้หน่ึง ตรัสตอบพระนางจุนทีราชกุมารี๒ ถึงผู้เล่ือมใสในพระรัตนตรัย โดยรู้ว่าเลิศอย่างไร (ตามแนวแห่งความเลื่อมใส ๔ ประการ ท่ีกล่าวไว้แล้วใน หน้า ๗๖๓) และมีศีลท่ีพระอริยเจ้า ใคร่ว่า จะเขา้ ถึงสุคติ ไม่เข้าถึงทคุ คติเมือ่ ลว่ งลับไป ๑๒ เปน็ พระราชธิดาของพระเจา้ ปเสนทิโกศล แต่ข้อความในพระสูตรแสดงว่าอยู่ในกรุงราชคฤห์ จึงเห็นได้ว่า อรรถกถาไม่ได้เล่าว่า เป็นพระราชธิดาของใคร เปน็ พระราชธิดาของพระเจา้ พิมพิสาร PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 798 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 799 หลานชายของเมณฑกเศรษฐีชื่ออุคคหะ นิมนต์พระผู้มีพระภาค พร้อมท้ังภิกษุรวม ัอง ุคตตร ินกาย ๔ รปู ไปฉนั แลว้ ขอใหต้ รสั สอนหญงิ สาว (หลายคน) ทจี่ ะไปสสู่ กลุ แหง่ สามี จงึ ประทานโอวาท ๕ คอื (๑) พงึ ปรารถนาดี รบั ใชป้ ฏบิ ัตแิ ละพูดจาด้วยดีตอ่ มารดาบดิ าของสามี (๒) แสดงความเคารพต่อบุคคลที่สามีเคารพ เช่น มารดา บิดา สมณพราหมณ์ รวมท้งั จัดท่นี ่งั และน้ำ� ใหเ้ มื่อมาถงึ บา้ น (๓) ขยันไม่เกียจคร้าน พิจารณาจัดท�ำการงานภายในบ้านของสามี ไม่ว่าจะเป็น งานเกย่ี วกับขนแกะหรือฝ้าย (๔) รู้การที่ควรท�ำและไม่ควรท�ำต่อคนภายในบ้านของสามี เช่น ทาส คนรับใช้ กรรมกร ดแู ลคนเหลา่ นน้ั เมื่อเจ็บไข้ จัดแบง่ อาหารใหต้ ามสว่ น (๕) รกั ษาทรพั ย์ ขา้ วเปลอื ก เงนิ ทอง ทสี่ ามหี ามาใหด้ ี ไมท่ ำ� ตนใหเ้ ปน็ คนเสยี หาย เชน่ เป็นนกั เลง เป็นขโมย หรอื ท�ำลายทรัพย์ (หมายเหตุ : ข้อความในพระสูตรน้ี แสดงว่าการนิมนต์พระ ๔ รูป ไปฉันถือเป็นการ มงคล อรรถกถาก็อธิบายอย่างนั้น แสดงว่ากิจการงานภายในบ้านของคนสมัยนั้น มีเกี่ยวกับ ขนแกะและฝ้าย แสดงวา่ บา้ นใหญ่ ๆ ปั่นดา้ ย ทอผา้ ใช้เอง และแสดงวา่ สตรมี สี ่วนรบั ผดิ ชอบ การเงนิ ด้วย) ตรัสตอบสีหเสนาบดี ถงึ เร่ืองผใู้ ห้ทาน ยอ่ มไดร้ ับผลปจั จบุ ัน ๔ ข้อ คือ (๑) เปน็ ที่รกั ของคนเป็นอันมาก (๒) สัตบรุ ุษย่อมคบหา (๓) มเี กยี รติศพั ท์ฟงุ้ ไป (๔) เข้าสสู่ มาคมองอาจไมเ่ ก้อเขนิ ส่วนผลในอนาคตมี ๑ ขอ้ คอื ตายไปแลว้ เข้าถงึ สุคติโลกสวรรค์ สหี เสนาบดีกราบทลู ว่า ๔ ขอ้ แรกมไิ ดเ้ ชอื่ เพราะพระผู้มีพระภาคตรัส แตเ่ ช่ือเพราะเห็นจริงดว้ ยตนเอง สว่ นขอ้ หลงั ไมท่ ราบ จงึ ต้องเชอ่ื ตามพระผู้มพี ระภาค ตรัสแสดงอานิสงสข์ องทานซ�ำ้ กบั ข้างต้นแลว้ ตรสั เรือ่ งทานที่ใหต้ ามกาล ๕ คอื (๑) ทานทใี่ ห้แก่ผ้มู า (๒) ทานทใ่ี ห้แกผ่ ู้ไป (๓) ทานท่ใี หใ้ นเวลาข้าวยาก (๔) ขา้ วออกใหม่ (๕) ผลไมอ้ อกใหมท่ ถ่ี วายในผู้มศี ลี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 799 5/4/18 2:25 PM
800 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรัสวา่ ผูใ้ หโ้ ภชนะ (อาหาร) ช่ือว่าใหอ้ ายุ ผวิ พรรณ สุข ก�ำลัง และปฏิภาณ และตนก็ จะได้สงิ่ เหล่าน้นั อนั เปน็ ทพิ ย์บา้ ง เป็นของมนษุ ย์บา้ ง ทรงแสดงวา่ กลุ บุตรผ้มู ีศรัทธา มอี านิสงส์ ๕ คือ (๑) สัตบรุ ุษยอ่ มอนุเคราะห์กอ่ น (๒) ย่อมเข้าไปหาก่อน (๓) ย่อมรับ (ของถวาย) กอ่ น (๔) ย่อมแสดงธรรมใหฟ้ งั กอ่ น (๕) ผู้นัน้ ตายไปย่อมเขา้ ส่สู คุ ติโลกสวรรค์ ผู้มีศรัทธาย่อมเป็นท่ีพ่ึงของคนหมู่มาก คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เหมือนต้นไทรใหญ่ ท่เี กดิ ในพืน้ ดี ในทางสีแ่ พร่ง เป็นท่ีพึ่งของนกทงั้ หลายฉะนั้น ทรงแสดงวา่ มารดาบดิ าเห็นฐานะ ๕ จงึ ปรารถนาบตุ ร คือ (๑) บตุ รที่เราเล้ยี งแล้วจกั เลี้ยงเรา (๒) จักท�ำกจิ ให้ (๓) สกุลวงศ์จกั ตั้งอยูย่ งั่ ยืน (๔) บุตรจักปฏิบัติตนให้สมเปน็ ทายาท (ผ้รู ับมรดก) (๕) เมอ่ื เราตายแลว้ จกั เพมิ่ ใหซ้ งึ่ ทกั ขณิ า (ในขอ้ ท่ี ๕ นี้ รสู้ กึ วา่ จะถอื เปน็ ธรรมเนยี ม สำ� คัญของชาวอนิ เดยี สมยั นัน้ ) ตรัสว่า อันโตชน (คนที่อาศยั อยู่ในบ้าน) อาศัยหวั หน้าสกลุ ผู้มีศรัทธา ย่อมเจริญดว้ ย ศรทั ธา ศีล การสดับ การบรจิ าค และปัญญา วรรคที่ ๕ ชอื่ มุณฑราชวรรค วา่ ด้วยพระเจา้ มณุ ฑะ ๕. ตรัสแสดงส่งิ ท่ีพึงไดจ้ ากโภคทรพั ย์ ๕ ประการ คอื (๑) เล้ยี งมารดา บดิ า บุตร ภรยิ า ทาส กรรมกรให้เปน็ สขุ (๒) เล้ียงเพือ่ นฝงู ใหเ้ ปน็ สขุ (๓) ใช้จา่ ยในคราวมีอนั ตรายเกิดขนึ้ เพื่อทำ� ตนให้มีความสวสั ดี (๔) ทำ� พลี ๕ มญี าตพิ ลี เปน็ ต้น๑ (๕) ถวายทานแดส่ มณพราหมณ์ผูป้ ระพฤติชอบ ๑ พลี ๕ โดยละเอียดโปรดดูหนา้ ๗๖๘ วรรคที่ ๒ ปัตตกมั มวรรค กรรมทคี่ วรทำ� ๔ อย่าง (๓) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 800 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 801 ตรัสแสดงว่า สัตบุรุษเกิดในสกุล ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่คน ัอง ุคตตร ินกาย เปน็ อันมาก คอื แกม่ ารดา บิดา บตุ ร ภรยิ า ทาส กรรมกร เพ่ือนฝูง สมณพราหมณ์ ตรสั แสดงสงิ่ ที่น่าปรารถนารักใคร่ชอบใจ แต่ไดโ้ ดยยาก ๕ อยา่ ง คอื อายุ ผิวพรรณ สุข ยศ สวรรค์ แล้วทรงแสดงว่า ไม่ตรัสว่า จะได้สิ่งเหล่านี้เพราะเหตุเพียงอ้อนวอนหรือ ปรารถนา เพราะถ้าได้เพราะเหตุอ้อนวอนหรือปรารถนาแล้ว ใครเล่าในโลกนี้จะเสื่อมจากอะไร (คงได้สิ่งท่ตี อ้ งการหมด) ผใู้ ครจ่ ะได้สงิ่ เหล่านี้ ควรบำ� เพ็ญปฏปิ ทาที่ทำ� ใหไ้ ด้สง่ิ เหล่านี้จงึ จะได้ ตรัสว่า ผู้ให้สิ่งท่ีน่าพอใจ ย่อมได้สิ่งท่ีน่าพอใจ ผู้ให้สิ่งที่เลิศ ประเสริฐ และ ประเสริฐสุด ย่อมได้ส่ิงท่ีเลิศ ประเสริฐ และประเสริฐสุด และเป็นผู้มีอายุยืน มียศในท่ี ท่ีเกดิ นั้น ๆ ตรสั แสดงความไหลมาแหง่ บญุ กศุ ล ๕ อยา่ ง คอื ภกิ ษบุ รโิ ภคจวี ร บณิ ฑบาต ทอี่ ยอู่ าศยั เตียงต่ัง ยาแก้โรคของผู้ใด เข้าเจโตสมาธิอันไม่มีประมาณอยู่ ความไหลมาแห่งบุญกุศลอันให้ ผลเป็นสุข เป็นไปเพื่อสวรรค์อันไม่มีประมาณ ย่อมเป็นไปเพ่ือส่ิงน่าปรารถนารักใคร่ชอบใจ แกผ่ ้นู ้ันอย่างนับไม่ได้ ประมาณไม่ได้ ทรงแสดงความถงึ พรอ้ ม และทรพั ยอ์ ยา่ งละ ๕ ประการ อนั ไดแ้ กศ่ รทั ธา ศลี การสดบั การสละ และปญั ญา ทรงแสดงฐานะทใ่ี คร ๆ ไมพ่ งึ ไดใ้ นโลก ๕ อยา่ ง คอื ขอใหส้ ง่ิ ทม่ี คี วามแก่ ความเจบ็ ไข้ ความตาย ความสิ้นไป ความพินาศไปเป็นธรรมดา อย่าแก่ อย่าเจ็บไข้ อย่าตาย อย่าส้ินไป อย่าพินาศไปเลย บุถุชนผู้มิได้สดับ เมื่อสิ่งเหล่านี้เกิดข้ึน ย่อมไม่พิจารณา ย่อมเศร้าโศก ส่วนอริยสาวกผู้ได้สดับ ยอ่ มตรงกนั ข้าม ตรัสสอนพระเจ้าปเสนทิโกศล ผู้ทรงมีความทุกข์ เสียพระทัยเกี่ยวกับการสวรรคต ของพระนางมัลลิกา ในท�ำนองเดียวกับข้อความข้างต้น พระนารทะ๑ อยู่ในกุกกุฏาราม กรงุ ปาตลบิ ตุ ร ทลู พระเจา้ มณุ ฑะ ผไู้ มเ่ ปน็ อนั สรงเสวยเมอื่ พระนางภทั ทาเทวสี วรรคต ในทำ� นอง เดยี วกับที่พระผู้มพี ระภาคตรสั แล้วขา้ งตน้ ๑ เรือ่ งน้ีเหน็ ชัดว่า เป็นเหตุการณ์ภายหลังปรนิ ิพพาน เม่ือสรา้ งกรุงปาตลบิ ตุ รแล้ว แต่เน้อื ธรรมะยกของเกา่ มาแสดง PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 801 5/4/18 2:25 PM
802 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทตุ ิยปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๒ (หมวดน้ี มี ๕ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สูตรเช่นเคย วรรคที่ ๑ ช่ือนีวรณวรรค ว่าด้วยนีวรณ์ วรรคที่ ๒ ช่ือสัญญาวรรค ว่าด้วยความก�ำหนดหมายในใจ วรรคที่ ๓ ชื่อโยธาชีววรรค ว่าด้วยนักรบ วรรคที่ ๔ ช่ือเถรวรรค ว่าด้วยภิกษุผู้เป็นเถระ หรือผู้เฒ่า วรรคท่ี ๕ ช่อื กกธุ วรรค ว่าด้วยบุตรแห่งโกลยิ กษตั ริยพ์ ระนามวา่ กกุธะ) วรรคที่ ๑ ชือ่ นวี รณวรรค ว่าด้วยนวี รณ์ ๑. ทรงแสดงนีวรณ์ ๕ ว่า ท่วมทับจิตแล้วท�ำให้ปัญญาอ่อนก�ำลัง และตรัสเรียกว่า อกุศลราศี (กองแห่งอกุศล) คือความพอใจในกาม ความคิดปองร้าย ความคิดหดหู่ง่วงงุน ความฟงุ้ สรา้ นรำ� คาญใจ ความลงั เลสงสยั เมอ่ื ภกิ ษลุ ะไมไ่ ด้ กเ็ ปน็ ไปไมไ่ ดท้ จี่ ะรจู้ กั ประโยชนต์ น ประโยชน์ผู้อ่ืน หรือประโยชน์ทั้งสองอย่าง หรือจักท�ำให้แจ้งญาณทัสสนะวิเศษอันควรแก่ พระอรยิ ะอนั ยง่ิ กวา่ ธรรมดาของมนษุ ย์ ตอ่ เมอ่ื ละได้ จงึ เปน็ ไปไดท้ จ่ี ะรจู้ กั ประโยชนต์ น เปน็ ตน้ ตรัสแสดงองค์ของภิกษุผู้มีความเพียร๑ ๕ อย่าง คือมีศรัทธา เชื่อปัญญาตรัสรู้ของ พระพุทธเจ้า มีอาพาธน้อย ไม่โอ้อวด ไม่มีมายา ท�ำตนให้ปรากฏตามความจริงในพระศาสดา และในเพื่อนพรหมจารีผู้รู้ มีความเพยี ร มปี ญั ญา ทรงแสดงสมยั ทไ่ี มส่ มควรตงั้ ความเพยี ร ๕ ประการ คอื เปน็ คนแก่ ถกู โรคเบยี ดเบยี น หาอาหารไดย้ าก เกิดจลาจลประชาชนอพยพ สงฆ์แตกกัน ถ้าตรงกนั ขา้ มกเ็ ป็นสมัยอนั สมควร มารดาและบตุ รออกบวชเปน็ ภกิ ษณุ ี ภกิ ษุ คลกุ คลกี นั มาก ในทสี่ ดุ ลาสกิ ขาออกมาอยู่ ร่วมกันอย่างสามีภริยา พระผู้มีพระภาคทรงทราบ ตรัสว่า รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ของ หญิงเปน็ ที่ตั้งแหง่ ความก�ำหนดั ความผูกพัน ย่งิ กวา่ สิง่ อืน่ ๆ ตรัสสอนภกิ ษรุ ปู หนง่ึ ใหส้ ำ� รวมอนิ ทรีย์ รปู้ ระมาณในอาหาร ประกอบความเพียรเป็น เครอ่ื งตน่ื (ไมเ่ หน็ แกน่ อน) มปี ญั ญาเหน็ แจง้ เจรญิ โพธปิ กั ขยิ ธรรม (ธรรมอนั เปน็ ฝา่ ยแหง่ ปญั ญา ตรัสร)ู้ เธอท�ำตาม ก็ได้ส�ำเรจ็ เปน็ พระอรหนั ต์ ตรสั สอนวา่ หญิง ชาย คฤหสั ถ์ บรรพชติ ควรพิจารณาฐานะ ๕ เนือง ๆ คอื (๑) เรามคี วามแกเ่ ปน็ ธรรมดา ไมล่ ว่ งพน้ ความแกไ่ ปได้ (อนั จะทำ� ใหล้ ะความเมา ในความเปน็ หนุ่มสาวได)้ ๑ ปธานยิ ังคะ แปลตามอรรถกถา ท่ีแลว้ มาเคยแปลวา่ องค์ ๕ ทีค่ วรตั้งไว้เป็นประธาน (ดูหนา้ ๕๑๘ หมวด ๕) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 802 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 803 (๒) เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ (อันจะท�ำให้ละ ัอง ุคตตร ินกาย ความเมาในความเป็นผู้ไม่มโี รคได)้ (๓) เรามคี วามตายเปน็ ธรรมดา ไมล่ ่วงพน้ ความตายไปได้ (อนั จะทำ� ให้ละความ เมาในชีวติ ได)้ (๔) เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจท้ังส้ิน (อันจะท�ำให้ละความติด หรือความกำ� หนดั ด้วยอ�ำนาจแหง่ ความพอใจหรอื ฉนั ทราคะได้) (๕) เรามีกรรมเป็นของตน ท�ำกรรมใดไว้จักได้รับผลของกรรมนั้น (อันจะท�ำให้ ละทุจจรติ กาย วาจา ใจ ได)้ เจา้ ลจิ ฉวพี ระนามวา่ มหานามะ เปลง่ อทุ านวา่ ชาววชั ชจี กั รอด ชาววชั ชจี กั รอด๑ และได้ กราบทูลพระผู้มีพระภาค ให้เหตุผลที่เปล่งอุทานเช่นนั้น เพราะทรงเห็นลิจฉวีกุมารทั้งหลาย ซึ่งเป็นผู้ดุร้าย แย่งปล้นของขาย เช่น อ้อย พุทรา ขนม มากิน เดินเขี่ยเท้าผู้หญิงข้างหลัง แต่ กลับมายืนพนมมือนิ่งเข้าไปใกล้พระผู้มีพระภาค จึงตรัสว่า ผู้ใดก็ตาม ใช้ทรัพย์ให้ได้ถูกทาง ๕ ประการ (ดง่ั ทต่ี รัสสอนไว้ในหนา้ ๘๐๐) ผนู้ ้ันยอ่ มหวังความเจริญได้ไม่มีเส่อื ม ตรัสว่าผู้บวชเมื่อแก่ ประกอบด้วยธรรม ๕ อย่าง หาได้ยาก คือเป็นผู้ละเอียดอ่อน เปน็ ตน้ (แปลไวอ้ ยา่ งละเอียดแลว้ หน้า ๑๑๒ - ๑๑๓ ข้อ ๖๙ และ ๗๐) วรรคท่ี ๒ ชื่อสญั ญาวรรค วา่ ดว้ ยความกำ� หนดหมายในใจ ๒. ทรงแสดงสัญญา ๕ สองชุด ว่า ถ้าเจริญ ท�ำให้มาก จะมีผล อานิสงส์มาก มีพระนพิ พาน (อมตะ) เป็นที่สุด คือ ชุดแรก ความก�ำหนดหมายว่าไม่งาม ว่ามีโทษ ในความตาย ว่าน่าเกลียดใน อาหาร ว่าไมน่ า่ ยินดีในโลกทง้ั ปวง ชดุ ที่สอง ก�ำหนดหมายว่าไม่เท่ียง ว่าไม่ใช่ตัวตน ในความตาย ว่าน่าเกลียดใน อาหาร วา่ ไมน่ ่ายินดใี นโลกทั้งปวง (ฉบบั ไทยซำ้� กันทงั้ สองชุด แตฉ่ บับ ยโุ รปและพม่าแยกกนั จงึ แยกใหเ้ ห็นทงั้ สองชุด) ตรัสว่า อริยสาวก อริยสาวิกา (สาวกชายหญิงของพระอริยะ) เจริญด้วยความเจริญ อันประเสริฐ ชื่อว่าถือเอาสาระ ถือเอาส่วนประเสริฐของกายไว้ได้ คือเจริญด้วยศรัทธา ศีล การสดับ การสละ และปัญญา ๑ ตามศพั ทว์ ่า ชาววัชชีจักเป็น ภวิสฺสนฺติ วชชฺ ี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 803 5/4/18 2:25 PM
804 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรัสวา่ ภิกษทุ ป่ี ระกอบด้วยองค์ ๕ ควรทเ่ี พอ่ื นพรหมจารีจะสนทนาดว้ ย อยูร่ ว่ มด้วย คือตนเองสมบูรณด์ ้วยศลี สมาธิ ปัญญา วมิ ตุ ิ วมิ ุตติญาณทัสสนะ และตอบปญั หาที่ตัง้ ข้ึนดว้ ย ถอ้ ยคำ� ทชี่ กั ชวนใหถ้ ึงพรอ้ มด้วยศีล สมาธิ เปน็ ตน้ ตรัสว่า ภิกษุภิกษุณีเจริญ ท�ำให้มากซ่ึงธรรม ๕ อย่าง ย่อมหวังผล ๒ อย่างได้ คือ อรหัตตผลในปัจจุบัน กับถ้ายังมีกิเลสเหลือก็เป็นพระอนาคามี ธรรม ๕ อย่าง คือ ฉนั ทะ พอใจ วริ ยิ ะ เพยี ร จติ ตะ เอาใจใส ่ วมิ งั สา พจิ ารณาสอบสวน และอสุ โสฬหิ กระตอื รอื รน้ (อรรถกถาแกว้ ่า ความเพียรอย่างแรงกลา้ ) ตรสั ว่า เมอ่ื ก่อนตรสั รู้ ได้ทรงเจริญธรรม ๕ อยา่ งข้างตน้ (มีฉันทะ เปน็ ต้น) มาแลว้ ไดท้ รงบรรลคุ วามเปน็ ผู้ควรเป็นพยาน ในธรรมนนั้ ๆ คอื อภญิ ญา ๖ (มแี สดงฤทธ์ิได้ เป็นตน้ ท�ำใหแ้ จง้ เจโตวิมุติ ปัญญาวมิ ุติ อนั ไม่มอี าสวะเป็นทีส่ ดุ ) ตรสั ว่า ธรรม ๕ อย่างท่เี จรญิ ทำ� ใหม้ ากแลว้ เปน็ ไปเพือ่ พระนพิ พาน คือเห็นว่าไม่งาม ในกาย ก�ำหนดหมายว่าน่าเกลียดในอาหาร ว่าไม่น่ายินดีในโลกท้ังปวง ว่าไม่เที่ยงในสังขาร ท้ังปวง ก�ำหนดหมายในความตาย แล้วทรงแสดงธรรม ๕ อย่างน้ัน ว่าเป็นไปเพ่ือสิ้นอาสวะ (กิเลสทดี่ องสนั ดาน) วรรคท่ี ๓ ชอ่ื โยธาชวี วรรค ว่าด้วยนกั รบ ๓. ตรัสแสดงธรรม ๕ อย่างขา้ งตน้ (มเี หน็ วา่ ไมง่ ามในกาย เป็นต้น) ว่า เจรญิ ท�ำให้ มากแล้วจะท�ำให้มีเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ เป็นผลเป็นอานิสงส์ เม่ือภิกษุเป็นผู้หลุดพ้นเพราะ สมาธิ (เจโตวมิ ตุ )ิ และหลดุ พน้ เพราะปญั ญา (ปญั ญาวมิ ตุ )ิ กช็ อ่ื วา่ (เหมอื นตเี มอื งขา้ ศกึ ได๑้ คอื ) (๑) ถอนลมิ่ (เครื่องกดี ขวาง) เทียบดว้ ยละอวชิ ชาอยา่ งถอนราก (๒) ถมคู เทยี บดว้ ยละความเวยี นว่ายตายเกดิ (๓) ถอนเสาระเนยี ด เทยี บด้วยละตัณหาอยา่ งถอนราก (๔) ถอดกลอน (อรรถกถาแก้ว่า ท�ำลายบานประตู) เทียบด้วยละสัญโญชน์ (กเิ ลสเคร่ืองผูกมดั ) เบอื้ งตำ่� ๕ อย่างถอนราก (๕) เปน็ ผู้ประเสริฐ วางธง วางภาระ พกั พล เทยี บดว้ ยละความถอื ตัวว่า เราเป็น น่ัน เป็นนี่ อยา่ งถอนราก ๑ ขอ้ อปุ มาในการตเี มอื งขา้ ศกึ ไดน้ ้ี หมายความวา่ จะตอ้ งทำ� ลายเครอื่ งกดี ขวางทกุ ชนดิ ทฝี่ า่ ยรบั ทำ� ไว้ คอื (๑) ทำ� ลาย เครื่องกีดขวางรอบนอกก่อนถึงคูเมือง (๒) ถมคูเมือง (๓) ถอนเสาระเนียด คือเสาท่ีปักไว้อย่างแข็งแรงด้านนอก ของประตู (๔) ถอดกลอนประตูเมือง เปิดบานประตูออกไป (๕) วางธง วางสิ่งแบกหาม พักพล PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 804 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 805 ภิกษุรูปหนึ่งกราบทูลถามว่า ด้วยเหตุเพียงเท่าไร ภิกษุช่ือว่ามีธรรมะเป็นเครื่องอยู่ ัอง ุคตตร ินกาย ตรัสตอบวา่ (๑) ผเู้ รยี นธรรม แต่เวน้ วา่ งการหลีกเรน้ ไม่ประกอบความสงบแห่งจติ ภายใน เนือง ๆ เรียกว่าผู้มากด้วยปริยัติ (การเรียน) แต่ไม่เรียกว่าผู้มีธรรมเป็น เคร่อื งอยู่ (๒) ผู้แสดงธรรมตามท่ีฟังแล้วเรียนแล้วแก่ผู้อ่ืน แต่ไม่ปฏิบัติ (เหมือนข้อ ๑) เรยี กว่าผมู้ ากด้วยบัญญัติ แตไ่ ม่เรียกว่ามธี รรมเปน็ เคร่อื งอยู่ (๓) รู้สาธยาย (ท่องบ่น) ธรรมตามท่ีฟังแล้ว เรียนแล้ว แต่ไม่ปฏิบัติ เรียกว่าผู้ มากไปดว้ ยการสาธยาย แต่ไม่เรยี กว่าผมู้ ีธรรมเปน็ เคร่อื งอยู่ (๔) ผู้ตรึก ตรอง เพ่งด้วยใจ ซึ่งธรรมตามท่ีฟังแล้ว เรียนแล้ว แต่ไม่ปฏิบัติ เรยี กวา่ ผมู้ ากไปดว้ ยการตรกึ แตไ่ มเ่ รียกว่าผมู้ ีธรรมเป็นเคร่ืองอยู่ (๕) ผู้เรียนธรรม ไม่ท�ำวันท้ังวันให้ล่วงไปด้วยการเรียน ไม่เว้นว่างการหลีกเร้น ประกอบดว้ ยความสงบแห่งจิตภายในเนอื ง ๆ (คือเรียนแลว้ ปฏบิ ตั )ิ เรียกวา่ ผมู้ ีธรรมเปน็ เคร่อื งอยู่ อีกนัยหนึ่งทรงแสดงว่า ผู้รู้อรรถ (เน้ือความ) แห่งธรรมนั้นย่ิงขึ้นไปด้วยปัญญา ช่ือวา่ ผมู้ ีธรรมเปน็ เครอื่ งอยู่ ทรงแสดงนกั รบ ๕ ประเภท คอื (๑) เห็นฝ่นุ ฟุ้ง ก็ไมก่ ล้าเข้าสสู่ งคราม (๒) เหน็ ยอดธง กไ็ ม่กล้าเข้าสู่สงคราม (๓) ไดย้ ินเสียงกึกกอ้ งของกองทัพ กไ็ มก่ ล้าเข้าสสู่ งคราม (๔) ถูกฆา่ ตายในสงคราม (๕) เอาชนะข้าศกึ ได้ แต่ละขอ้ เทยี บด้วยการประพฤตพิ รหมจรรย์ของภิกษุ ทรงแสดงนักรบอกี ๕ ประเภทคอื (๑) ที่ถกู ฆา่ ตายในสงคราม (๒) ทีถ่ ูกยิง (ดว้ ยลูกศร) ญาตนิ �ำมาตายกลางทาง (๓) ที่ถูกยิงญาติน�ำมาพยาบาล ตายในภายหลัง (๔) ทีถ่ กู ยงิ ญาตนิ ำ� มาพยาบาลและหาย (๕) ทช่ี นะสงคราม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 805 5/4/18 2:25 PM
806 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ แต่ละขอ้ เทยี บด้วยการประพฤตพิ รหมจรรยข์ องภกิ ษเุ ชน่ กัน ทรงแสดงอนาคตภัย (ภยั ในอนาคต) ๕ อย่าง ซึง่ ภิกษผุ ู้อยปู่ ่าเม่อื มองเห็น ก็ควรเปน็ ผ้ไู ม่ประมาท พากเพยี ร เพอื่ บรรลุธรรมทย่ี งั ไมบ่ รรลุ คอื (๑) เราอยู่ปา่ คนเดียวอาจถูกแมลงป่องต่อย หรอื ตะขาบกัดตายได้ (๒) เราอาจพลาดลม้ อาหารทบ่ี รโิ ภคอาจเปน็ พษิ ดขี องเราอาจกำ� เรบิ เสมหะของ เราอาจก�ำเริบ ลมเพียงดังศัสตราอาจกำ� เรบิ เราอาจตายไดเ้ พราะเหตุนน้ั (๓) เราอาจพบกบั สตั วร์ า้ ย เชน่ ราชสหี ์ เสอื โครง่ เปน็ ตน้ สตั วเ์ หลา่ นนั้ อาจทำ� ลาย ชีวติ เราให้ตายได้ (๔) เราอาจพบกับพวกโจรท่ปี ล้นแล้วหรือยังมิไดป้ ลน้ มันอาจฆา่ เราใหต้ ายได้ (๕) อมนุษยร์ ้ายทอ่ี ย่ใู นป่า อาจฆ่าเราให้ตายได้ ทรงแสดงอนาคตภยั อกี ๕ อยา่ ง ทภ่ี กิ ษเุ มอื่ มองเหน็ กค็ วรเปน็ ผไู้ มป่ ระมาท พากเพยี ร เพ่ือบรรลุธรรมท่ียงั ไม่บรรลุ คือ (๑) ขณะนี้เรายังหนมุ่ แตก่ จ็ ะมีสมัยที่ความแกจ่ ะมาถงึ ร่างกายนี้ ทำ� ใหย้ ากท่ีจะ ใสใ่ จคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ จะเสพเสนาสนะอันสงดั (๒) ขณะนเ้ี รายงั มีโรคนอ้ ย แตก่ จ็ ะมสี มัยทคี่ วามเจบ็ ไข้จะมาถึงรา่ งกายนี้ (๓) ขณะนขี้ า้ วหางา่ ย แตก่ จ็ ะมสี มยั ทข่ี า้ วหายาก มนษุ ยจ์ ะอพยพไปหาสถานทหี่ า อาหารงา่ ย และการอยปู่ ะปนคลกุ คลที ำ� ใหย้ ากจะใสใ่ จคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ จะเสพเสนาสนะอันสงัด (๔) ขณะนม้ี นษุ ยย์ งั พรอ้ มเพรยี งกนั แตก่ จ็ ะมสี มยั ทเ่ี กดิ ภยั คอื การกอ่ การกำ� เรบิ ในดง ชาวชนบทขน้ึ เกวยี นเดนิ ทางกระจดั กระจายไป พวกมนษุ ยอ์ พยพไปสู่ ทท่ี ป่ี ลอดภยั และการอยปู่ ะปนคลกุ คลที ำ� ใหย้ ากจะใสใ่ จคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ จะเสพเสนาสนะอนั สงัด (๕) บัดน้ีสงฆ์ยังพร้อมเพรียงกัน แต่ก็จะมีสมัยท่ีสงฆ์แตกกัน ซึ่งยากที่จะใส่ใจ คำ� สอนของพระพุทธเจ้า จะเสพเสนาสนะอันสงดั แลว้ ทรงแสดงอนาคตภยั อ่ืนเก่ยี วกบั การทีภ่ ิกษุจะประพฤติไม่ดีไมง่ าม วรรคที่ ๔ ช่ือเถรวรรค ว่าด้วยภิกษผุ เู้ ป็นเถระหรอื ผู้เฒ่า ๔. ตรัสแสดงธรรมฝ่ายชั่ว ๕ ประการ ของภิกษุผู้เป็นเถระ ซ่ึงจะท�ำให้ไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นท่ีพอใจของเพื่อนพรหมจารี คือก�ำหนัด คิดประทุษร้าย หลง ก�ำเริบ มัวเมาในอารมณ์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 806 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 807 อันเปน็ ท่ีต้งั แหง่ ความก�ำหนัด เป็นต้น ในฝา่ ยดที รงแสดงโดยนยั ตรงกนั ข้าม และได้ทรงแสดง ัอง ุคตตร ินกาย ธรรมฝ่ายชัว่ ฝา่ ยดีท�ำนองเดียวกันน้อี ีกหลายนยั ทรงแสดงธรรมะที่เป็นไปเพ่ือความเสื่อมของภิกษุผู้เป็นเสขะ (ยังศึกษาเพื่อคุณ ความดสี งู ข้ึนไป) ๕ ประการ คอื ความยินดีในการงาน๑ ในการพดู มาก ในการนอนหลบั ในการ คลุกคลีด้วยหมู่ ไม่พิจารณาจิตตามที่หลุดพ้นแล้ว และฝ่ายดีทรงแสดงโดยนัยตรงกันข้าม และได้ทรงแสดงธรรมฝ่ายช่วั ฝ่ายดที ำ� นองนใี้ นนัยอืน่ อกี วรรคท่ี ๕ ชอ่ื กกุธวรรค วา่ ด้วยบตุ รแห่งโกลิยกษัตรยิ พ์ ระนามวา่ กกธุ ะ ๕. ทรงแสดงสัมปทา (ความถึงพร้อมหรือความสมบูรณ์ ๕ อย่าง หลายนัย ซ้�ำกับที่ ตรสั ไวใ้ นตอนตน้ ๆ (หมวด ๕๐ ที่ ๑)) แล้วทรงแสดงการพยากรณ์ (อ้างว่าได้บรรลุ) อรหัตตผล ๕ อย่าง คือ พยากรณ์ เพราะโง่เขลา ปรารถนาลามกจึงพยากรณ์ พยากรณ์เพราะเป็นบ้า พยากรณ์ด้วยเข้าใจผิด วา่ ไดบ้ รรลุ พยากรณโ์ ดยชอบ (คือได้บรรลจุ รงิ ) ทรงแสดงการอยู่เป็นสุข ๕ อย่าง คือเข้าฌานท่ี ๑ ถึงที่ ๔ และท�ำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มอี าสวะ ทรงแสดงวา่ ภกิ ษปุ ระกอบด้วยธรรม ๕ ประการ จะตรัสรู้ธรรมท่ีไมก่ �ำเรบิ ไม่นานเลย คือบรรลคุ วามเปน็ ผูแ้ ตกฉานในอรรถ ในธรรม ในภาษาพูด ในปฏิภาณ และพจิ ารณาจติ ตามที่ หลุดพ้นแลว้ ทรงแสดงว่า ภิกษุเสพสติก�ำหนดลมหายใจเข้าออก ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ จะบรรลุธรรมท่ีไม่ก�ำเริบไม่นานเลย คือมีความริเริ่มในการงานน้อย มีกิจน้อย เลี้ยงง่าย สันโดษดีในเคร่ืองประกอบแห่งชีวิต มีอาหารน้อย ไม่เห็นแก่ท้อง หลับน้อย ประกอบธรรม เปน็ เคร่อื งตื่น สดบั ตรบั ฟงั มาก ทรงจำ� ไวไ้ ด้ พจิ ารณาจิตตามทห่ี ลุดพ้นแล้ว และทรงแสดงยกั ย้ายอีกหลายนัยคลา้ ยคลึงกนั ทรงแสดงว่าพระตถาคตยอ่ มแสดงธรรมด้วยความเคารพ (ดว้ ยอาการอันดีงาม ไม่ใช่ ท�ำอย่างเสียไม่ได้) แก่ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา แก่คนส่วนใหญ่ และแม้แก่พวก เนสาท (ขอทานและพรานนก มคี วามหมายรวมในคำ� วา่ เนสาท) ทน่ี ำ� ขา้ วตดิ ตวั ไป๒ เปรยี บเหมอื น ราชสีห์ เม่อื จะประหารเหยอ่ื ก็ประหารดว้ ยความเคารพ (ด้วยอาการอันดงี าม ผึง่ ผาย) ๒๑ หมายถงึ การงานทเ่ี ป็นแบบคฤหัสถ์ หรือการงานทีไ่ ม่เนือ่ งด้วยการอบรมจิตใจ อันนภาระ มีภาระเรอ่ื งขา้ ว คอื แบกข้าว น�ำข้าวตดิ ตัวไป หรือเอาข้าวทนู หวั ไป PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 807 5/4/18 2:25 PM
808 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรสั กะพระมหาโมคคลั ลานะถงึ ศาสดา ๕ ประเภท ทต่ี อ้ งอาศยั หรอื หวงั ความคมุ้ ครอง จากสาวก๑ ส่วนพระองค์ไม่ตอ้ งหวงั เชน่ นนั้ ตตยิ ปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๓ (ในหมวดนี้มี ๕ วรรค วรรคท่ี ๑ ชื่อผาสุวิหารวรรค ว่าด้วยความอยู่เป็นผาสุก วรรคท่ี ๒ ชื่ออันธกวินทวรรค ว่าด้วยเหตุการณ์ในเมืองอันธกวินทะ วรรคท่ี ๓ ช่ือคิลานวรรค ว่าด้วยคนไข้ วรรคท่ี ๔ ช่ือราชวรรค ว่าด้วยพระราชา วรรคท่ี ๕ ชื่อติกัณฑกีวรรค ว่าด้วย เหตุการณ์ในป่าตกิ ัณฑกี) วรรคท่ี ๑ ชอ่ื ผาสวุ ิหารวรรค วา่ ดว้ ยความอยู่เป็นผาสกุ ๑. ตรัสแสดงธรรมะท่ีท�ำให้แกล้วกล้า ๕ อย่าง คือการท่ีมีศรัทธา มีศีล มีการสดับ ตรบั ฟงั มาก ปรารภความเพียร มีปญั ญา ตรัสว่า ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ อย่าง ท�ำให้ถูกรังเกียจว่าเป็นภิกษุช่ัว แม้จะเป็น พระอรหนั ตก์ ไ็ มพ่ น้ ถกู รงั เกยี จ คอื (๑) เทย่ี วไปในทอี่ ยขู่ องหญงิ แพศยา (๒) เทย่ี วไปในทอ่ี ยขู่ อง หญงิ หม้าย (๓) เที่ยวไปในทีอ่ ยูข่ องสาวใหญ่ (โบราณเรยี กว่าหญิงเทือ้ ) (๔) เทยี่ วไปในที่อย่ขู อง กะเทย (๕) เทยี่ วไปในทอี่ ยขู่ องนางภกิ ษณุ ี (อรรถกถาแกว้ า่ ไปเสมอ ๆ อนั แสดงวา่ ถา้ มธี รุ ะเปน็ กจิ จะลกั ษณะ และมีเหตุสมควรไปได)้ ตรสั วา่ ภกิ ษชุ ว่ั เปรยี บเหมอื นโจร อาศยั สงิ่ ตา่ ง ๆ ๕ อยา่ ง มที างอนั ไมส่ มำ่� เสมอ เปน็ ตน้ (ทางไม่สม�่ำเสมอเทียบด้วยการกระท�ำทางกาย วาจา ใจ อันไม่สม�่ำเสมอคล้ายกับที่ย่อไว้ใน หนา้ ๗๓๘) ทรงแสดงว่า ภกิ ษผุ ้ปู ระกอบดว้ ยธรรม ๕ อยา่ ง เป็นสมณะละเอยี ดออ่ น คือ (๑) มีคนขอรอ้ งจงึ บรโิ ภคปัจจัย ๔ มาก ไม่มคี นขอรอ้ งก็บริโภคนอ้ ย (๒) เพื่อนพรหมจารีประพฤติต่อเธอด้วยกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันน่า พอใจ น�ำเขา้ ไปแต่สง่ิ ทน่ี ่าพอใจโดยมาก ในทางไม่นา่ พอใจน้อย (๓) มโี รคน้อย (๔) เขา้ ฌานท่ี ๑ ถึง ๔ ได้ตามปรารถนา (๕) ท�ำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมตุ ิ อนั ไม่มอี าสวะ ๒ ถอดความไว้แลว้ ในหนา้ ๓๘๐ (พระเทวทัตคดิ การใหญ)่ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 808 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 809 ทรงแสดงวา่ เมือ่ กลา่ วโดยชอบกอ็ าจกล่าวถึงพระองคไ์ ดว้ ่า สมณะละเอยี ดออ่ น ัอง ุคตตร ินกาย ทรงแสดงการอยเู่ ปน็ สขุ ๕ อยา่ ง คือต้งั กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม อันประกอบ ดว้ ยเมตตา มศี ลี อนั ดเี สมอกนั กบั เพอ่ื นพรหมจาร ี มคี วามเหน็ อนั ดเี สมอกนั กบั เพอ่ื นพรหมจารี ตรัสกะพระอานนท์ว่า เพียงด้วยเหตุข้อใดข้อหน่ึงดังต่อไปน้ี ภิกษุสงฆ์ก็จะพึงอยู่ ผาสุก คือ (๑) ภิกษุสมบูรณด์ ว้ ยศลี ดว้ ยตนเอง ไมท่ ำ� ผู้อืน่ ให้เป็นไป (ตง้ั อย่)ู ในอธิศีล๑ (๒) ภิกษุเพง่ เลง็ ตัวตนเอง ไมเ่ พง่ เล็งบคุ คลอืน่ ๒ (๓) ภิกษุไม่มีใครรู้จกั มาก แต่กไ็ มส่ ะดุง้ กลัวด้วยขอ้ นั้น (๔) ได้ฌานท่ี ๑ ถึงท่ี ๔ ตามปรารถนา (๕) ทำ� ใหแ้ จง้ เจโตวิมุติ ปญั ญาวมิ ุติ อันไม่มีอาสวะ ทรงแสดง ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะว่า ท�ำให้ภิกษุเป็นผู้ควร ของค�ำนบั ของต้อนรบั เป็นเนื้อนาบญุ ของโลก และตรัสว่า ภิกษผุ ปู้ ระกอบด้วยธรรม ๕ อยา่ งชอ่ื ว่าเป็นผู้ไม่ตดิ ขัดใน ๔ ทศิ คือมีศลี มกี ารสดบั ตรบั ฟงั ยนิ ดดี ว้ ยปจั จยั ๔ ตามมตี ามได้ ไดฌ้ าน ๔ ตามปรารถนา ทำ� ใหแ้ จง้ เจโตวมิ ตุ ิ ปญั ญาวิมุติ อนั ไมม่ ีอาสวะ และทรงแสดงว่า ภกิ ษุเช่นน้นั ควรเสพเสนาสนะปา่ อันสงัด วรรคที่ ๒ ชือ่ อนั ธกวินทวรรค ว่าดว้ ยเหตกุ ารณ์ในเมอื งอนั ธกวนิ ทะ ๒. ตรัสว่า ภิกษุผู้เข้าสกุล (เข้าไปฉันเป็นประจ�ำ) ประกอบด้วยธรรม ๕ อย่าง ย่อม ไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นท่ีพอใจในสกุล คือสนิทสนมกับผู้ไม่คุ้นเคย ไม่เป็นใหญ่แต่ท�ำเป็นเจ้าก้ี เจ้าการ ชอบคนสกุลท่ีแตกกัน ชอบกระซิบท่ีหู ขอมากเกินไป แล้วทรงแสดงฝ่ายดีในทาง ตรงกันขา้ ม ตรัสว่า ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ อย่าง ไม่ควรถือเอาเป็นปัจฉาสมณะ (พระ เดินตามหลัง) คือไปไกล หรือใกล้เกินไป ไม่รับส่ิงที่มีอยู่ในบาตร ไม่ห้ามเม่ือพูดใกล้จะเป็น อาบตั ิ พดู ขดั ในระหวา่ งท่ีก�ำลงั พดู มีปญั ญาทราม แล้วทรงแสดงฝา่ ยดใี นทางตรงกนั ข้าม ตรัสว่า ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ อย่างไม่ควรเข้าสัมมาสมาธิ คือไม่อดทนต่อรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ แลว้ ทรงแสดงฝา่ ยดใี นทางตรงกันขา้ ม ๒๑ แม้ไมต่ อ้ งชักชวนคนอ่นื ก็ดพี อแล้ว แมไ้ มเ่ พ่งเลง็ คนอน่ื เพยี งแต่เพ่งเล็งตัวเองก็พอแล้ว PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 809 5/4/18 2:25 PM
810 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรสั สอนพระอานนทใ์ ห้ชกั ชวนภิกษบุ วชใหม่ให้ตั้งอยูใ่ นธรรม ๕ ประการ คอื ใหม้ ีศลี ส�ำรวมในพระปาฏโิ มกข์ ให้สำ� รวมอนิ ทรีย์ (มตี า หู เป็นตน้ ) ใหพ้ ูดแตน่ ้อย ให้เสพเสนาสนะอนั สงดั ใหม้ ีความเหน็ ชอบ ตรัสวา่ นางภิกษณุ ีประกอบดว้ ยธรรม ๕ ประการ ยอ่ มตกนรกหรือข้ึนสวรรค์ เหมอื น ถูกน�ำไปต้ังไว้ คือตระหนี่อาวาส ตระหน่ีสกุล (ไม่อยากให้สกุลท่ีเก่ียวข้องกับตนอุปการะผู้อื่น) ตระหนล่ี าภ ตระหนคี่ วามดี (ทนฟงั เขาสรรเสรญิ ผอู้ นื่ ไมไ่ ด)้ ตระหนธี่ รรม (ไมส่ อนธรรมแกผ่ อู้ นื่ ) หรือตรงกันข้าม กับแสดงความช่ัวความดีของนางภิกษุณี ผู้จะช่ือว่าตกนรกหรือขึ้นสวรรค์ อกี หลายนยั วรรคที่ ๓ ชื่อคลิ านวรรค วา่ ด้วยคนไข้ ๓. ตรัสสอนภกิ ษไุ ขว้ า่ ถ้ามีธรรม ๕ อยา่ งก็มีหวังวา่ จะทำ� ใหแ้ จ้งเจโตวมิ ุติ ปัญญาวิมตุ ิ ไม่นาน คือพิจารณาเห็นในกายว่าไม่งาม ก�ำหนดหมายว่าปฏิกูลในอาหาร ก�ำหนดหมายว่า ไมน่ ่ายนิ ดใี นโลกท้งั ปวง พิจารณาเห็นในสังขารทงั้ ปวงว่าไมเ่ ทีย่ ง ก�ำหนดหมายในความตาย ตรสั วา่ ภกิ ษหุ รอื ภกิ ษณุ ผี เู้ จรญิ ธรรมะ ๕ อยา่ ง ยอ่ มหวงั ผลได้ ๒ อยา่ ง คอื อรหตั ตผล ในปัจจุบัน หรือถ้ายังมีกิเลสเหลือก็จะได้เป็นพระอนาคามี คือต้ังสติภายในเพื่อมีปัญญาเห็น ความเกดิ ดับแห่งธรรม นอกนนั้ เหมอื นขอ้ ธรรมของภกิ ษุไขข้ ้อ ๑ ถึง ๔ ตรัสถึงคนไข้ที่พยาบาลยากและพยาบาลง่าย คนพยาบาลไข้ที่ไม่ดีและดี (แปลไว้ ละเอียดแลว้ หนา้ ๑๐๒ ขอ้ ๔๖) ทรงแสดงธรรมทตี่ ดั รอนอายุ ๕ ประการ คอื ทำ� สง่ิ ทไ่ี มส่ บาย ไมร่ ปู้ ระมาณในสงิ่ ทส่ี บาย กินของท่ไี ม่ยอ่ ย (ยอ่ ยยาก) เทีย่ วไปผดิ เวลา ไม่ประพฤตพิ รหมจรรย์ แลว้ ทรงแสดงธรรมทีใ่ ห้ อายุยืน ในทางตรงกันข้าม กับทรงแสดงธรรมะที่ตัดรอนและท�ำให้อายุยืนอ่ืนอีก เปลี่ยนแต่ ตอนท้าย ๒ ขอ้ คือ ๔ ทุศลี ๕ คบคนชั่วเป็นมิตรหรือตรงกันขา้ ม ทรงแสดงวา่ ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๕ อยา่ ง ไมค่ วรอยตู่ ามลำ� พงั แยกจากพระสงฆ์ คือไม่สันโดษ๑ ด้วยปัจจยั ๔ และมากดว้ ยความตรกึ ในกาม กับทรงแสดงฝ่ายดที ่ีตรงกันข้าม ทรงแสดงทกุ ขข์ องสมณะ ๕ อยา่ ง คอื ไมส่ นั โดษดว้ ยปจั จยั ๔ กบั ประพฤตพิ รหมจรรย์ อยา่ งไมย่ นิ ดี สว่ นสุขของสมณะตรงกนั ขา้ ม ๑ สันโดษ คอื ยนิ ดตี ามมตี ามได้ หรือยินดดี ว้ ยของของตน ไม่ยินดีของของคนอ่ืน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 810 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 811 ทรงแสดงบุคคล ๕ ประเภทที่จะต้องไปอบายนรกอย่างไม่มีทางแก้ คือผู้ฆ่ามารดา ัอง ุคตตร ินกาย ฆ่าบดิ า ฆา่ พระอรหนั ต์ ทำ� ใหพ้ ระโลหติ ของพระตถาคตใหห้ อ้ ดว้ ยจติ คดิ ประทษุ รา้ ย ทำ� สงฆใ์ ห้ แตกกนั ทรงแสดงความเสื่อม ๕ อย่าง คือ ความเสื่อมญาติ เสื่อมทรัพย์ เส่ือมเพราะโรค เส่ือมศีล เสื่อมเพราะทิฏฐิ แล้วตรัสว่า ๓ ข้อต้น ไม่ท�ำให้เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก แต่ความเส่ือมศีล เส่ือมเพราะทิฏฐิ ท�ำให้เขาถึงอบาย เป็นต้น แล้วทรงแสดงความถึงพร้อม ในทางตรงกนั ข้าม และวา่ ๒ ขอ้ หลังทำ� ใหเ้ ขา้ ถึงโลกสวรรค์ วรรคที่ ๔ ชือ่ ราชวรรค ว่าดว้ ยพระราชา ๔. ทรงแสดงองค์ ๕ ว่า ท�ำให้พระเจ้าจักรพรรดิทรงหมุนจักรไปได้ โดยไม่มีใคร หมุนกลับ และท�ำให้พระตถาคตหมุนธรรมจักรไปได้ ไม่มีใครหมุนกลับ คือความเป็นผู้ รู้อรรถ รู้ธรรม รู้ประมาณ รู้กาล รู้บริษัท (ประชุมชน) และทรงแสดงว่า องค์ ๕ นี้ ท�ำให้ โอรสของพระเจ้าจักรพรรดิท�ำได้เช่นเดียวกับพระราชบิดาและท�ำให้พระสาริบุตรท�ำได้เช่น พระตถาคต ต่อจากน้ันทรงแสดงคุณธรรมของพระเจ้าจักรพรรดิเทียบกับของพระตถาคต คุณธรรมของพระราชา คุณธรรมของเชฏฐโอรสแห่งพระราชา เทยี บกับของภิกษุ๑ ทรงแสดงถงึ ผูห้ ลับนอ้ ยต่ืนมาก ๕ ประเภท (แปลไว้แล้ว หน้า ๑๐๔ ขอ้ ๔๙) ทรงแสดงถงึ ชา้ งของพระราชา ทอ่ี ดทนตอ่ รปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ เทยี บดว้ ยภกิ ษุ ผมู้ คี ณุ ธรรมเชน่ นน้ั และแสดงคณุ สมบตั อิ นื่ อกี เชน่ รจู้ กั ฟงั รจู้ กั ฆา่ รจู้ กั รกั ษา รจู้ กั อดทน รจู้ กั ไป เทียบคุณธรรมของภกิ ษุ วรรคที่ ๕ ชื่อตกิ ณั ฑกวี รรค ว่าด้วยเหตกุ ารณใ์ นป่าติกัณฑกี ๕. ทรงแสดงบุคคล ๕ ประเภท คือให้แล้วดูหมิ่น อยู่ด้วยกันแล้วดูหมิ่น มีหน้า รบั เอา (หูเบาเชือ่ งา่ ย) โลเล โง่เง่า (ไม่รู้ธรรมอันเปน็ กุศล อกศุ ล) ตรสั แสดงบคุ คล ๕ ประเภท คอื ผรู้ เิ รม่ิ ดว้ ยเดอื ดรอ้ น ผรู้ เิ รม่ิ แตไ่ มเ่ ดอื ดรอ้ น ไมร่ เิ รมิ่ และเดือดรอ้ น ไมร่ เิ รม่ิ ไมเ่ ดือดรอ้ น (อย่างแรก) ไมร่ เิ รม่ิ ไม่เดือดร้อน (อยา่ งหลัง) โดยอธบิ ายว่า ริเริ่มหรือ ไม่ริเร่ิม ได้แก่รู้หรือไม่รู้เจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ ตามเป็นจริง เดือดร้อนหรือไม่ ๑ คณุ ธรรม ๕ ประการของภกิ ษซุ ำ้� กบั ทเ่ี คยกลา่ วมาแลว้ ในปธานยิ งั คะ ๕ (ดหู นา้ ๕๑๘ หมวด ๕) และมศี ลี สดบั มาก เปน็ ต้น PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 811 5/4/18 2:25 PM
812 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ เดอื ดรอ้ น ไดแ้ ก่อกุศลบาปธรรมดบั ไปโดยไมเ่ หลือ หรือไม่ดับ มีค�ำอธิบายพเิ ศษเฉพาะขอ้ หลงั ที่ว่า ไม่ริเริ่ม และไม่เดือดร้อนนั้น คือท้ังรู้วิมุติตามเป็นจริง และอกุศลบาปธรรมดับไปโดย ไม่เหลอื เจ้าลิจฉวีสนทนากันว่า ความปรากฏขึ้นแห่งรัตนะ ๕ คือ ช้างแก้ว ม้าแก้ว แก้วมณี นางแกว้ ขุนพลแก้ว หาไดย้ ากในโลก ตรสั ตอบวา่ ความปรากฏข้ึนแหง่ รตั นะ ๕ คอื พระตถาคต พระธรรมวินัยท่ีพระตถาคตประกาศแล้ว ผู้แสดงพระธรรมวินัยน้ัน ผู้รู้พระธรรมวินัยนั้น และผู้ที่รูแ้ ล้วปฏบิ ตั ติ ามพระธรรมวินยั น้ัน หาไดย้ ากในโลก ตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายพิจารณา ในเร่ืองปฏิกูลและไม่ปฏิกูล ในส่ิงที่ไม่ปฏิกูล และปฏิกูล เป็นต้น ยักย้ายหลายนัย เพื่อมิให้เกิดราคะ โทสะ โมหะ และให้มีสติสัมปชัญญะ วางเฉยได้ในสง่ิ เหลา่ นั้น ตรัสเร่อื งผลู้ ะเมิดศลี ๕ เป็นผ้ตู กนรก ผปู้ ฏิบตั ิตามศลี ๕ เป็นผ้ขู ้นึ สวรรค์ และภิกษุผู้เป็นมิตรท่ีไม่ควรคบและควรคบ ผู้ไม่ควรคบ คือให้ท�ำการงาน (มีท�ำนา เปน็ ตน้ )๑กอ่ อธกิ รณ์ ประพฤตผิ ดิ ในภกิ ษผุ เู้ ปน็ ใหญเ่ ปน็ ประธาน เดนิ ทางนาน เดนิ ทางโดยไมม่ ี จดุ หมาย (ใช้เวลาให้ล่วงไปในการเดินทาง) ไม่สามารถชกั ชวนปลอบใจผอู้ ื่นด้วยธรรมิกถาตาม กาลอันสมควร ฝา่ ยดีคอื ทตี่ รงข้าม ตรสั แสดงอสปั ปรุ สิ ทาน และสปั ปรุ สิ ทาน (ทาน ของคนชวั่ คนด)ี อยา่ งละ ๕ คอื ใหท้ าน ด้วยไม่เคารพ ให้ไม่ดีงาม ไม่ให้ด้วยมือของตน ให้ส่ิงท่ีเป็นเดน (หรือให้เหมือนอย่างท้ิงขว้าง) ให้โดยไมเ่ หน็ อนาคต (ปราศจากความเชื่อในผลของทาน) ส่วนทด่ี ีคอื ตรงกันขา้ ม ตรัสแสดงสัปปุริสทาน พร้อมทง้ั ผลอีก ๕ อย่าง คือ ให้ทานดว้ ยศรทั ธา ทำ� ใหร้ ูปงาม ใหท้ านดว้ ยความเคารพ ท�ำใหบ้ ุตร ภรยิ า บา่ วไพร่ เชอื่ ถ้อยฟังคำ� ใหท้ านตามกาล ทำ� ใหค้ วาม ต้องการที่เกิดขึ้นตามกาลบริบูรณ์ ให้ทานด้วยจิตอนุเคราะห์ ท�ำให้มีจิตน้อมไปเพ่ือบริโภค ในกามคณุ ๕ อนั โอฬาร (มที รพั ย์แล้วได้ใช้ ไม่เหมอื นบางคนท่ีมง่ั มี แตไ่ มค่ ดิ ใช้ ยอมอดอยาก) ให้ทานไม่กระทบตน ไม่กระทบผู้อื่น ท�ำให้ทรัพย์ที่เกิดขึ้นไม่ถึงความวิบัติจากไฟ จากน้�ำ จากพระราชา จากโจร จากผไู้ มช่ อบกนั จากทายาท (ก่อนท่ีจะตรสั แสดงผลพิเศษของแต่ละข้อ ไดแ้ สดงผลเหมอื น ๆ กนั ทุกขอ้ อย่างหนึง่ คอื ทำ� ให้ม่งั คั่งทรัพยม์ าก) ๑ ทำ� เอง หรอื คุมใหท้ ำ� สัง่ ใหท้ �ำก็จัดอยใู่ นประเภทเดียวกนั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 812 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 813 ทรงแสดงว่า ธรรม ๕ อยา่ ง คอื ความยนิ ดใี นการงาน ในการพดู มาก ในการนอนหลบั ัอง ุคตตร ินกาย ในการคลุกคลีด้วยหมู่ การไม่พิจารณาจิตตามท่ีหลุดพ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเสื่อมของภิกษุ ผู้หลุดพน้ เปน็ ครั้งคราว (ยงั ไมห่ ลุดพ้นเด็ดขาด) ฝ่ายดตี รงกันข้าม และทรงแสดงธรรมะ ๕ ท่ีเป็นไปเพ่ือความเสื่อมเช่นนั้นอีก เป็นแต่เปล่ียนข้อ ๔ กบั ข้อ ๕ เปน็ ไมส่ ำ� รวมอนิ ทรยี ์ กบั ไม่รปู้ ระมาณในโภชนะ แล้วทรงแสดงฝา่ ยดตี รงกนั ขา้ ม จตุตถปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ท่ี ๔ (แบ่งออกเป็น ๕ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สูตรเช่นเดิม วรรคที่ ๑ ชื่อสัทธัมมวรรค ว่าด้วยสัทธรรม วรรคที่ ๒ ช่ืออาฆาตวรรค ว่าด้วยความอาฆาต วรรคที่ ๓ ช่ืออุปาสกวรรค ว่าด้วยอุบาสก วรรคที่ ๔ ชื่อ อรัญญวรรค ว่าด้วยป่า วรรคท่ี ๕ ชื่อพราหมณวรรค ว่าดว้ ยพราหมณ)์ วรรคท่ี ๑ ชอื่ สทั ธมั มวรรค วา่ ดว้ ยสัทธรรม ๑. ตรัสแสดงถึงผู้ฟังธรรมท่ีไม่ด๑ี และท่ีดีหลายนัย ที่ไม่ดี เช่น ข่มหรือดูหมิ่นเร่ือง ที่แสดง ผู้แสดง ตัวเอง มีจิตฟุ้งสร้าน มีจิตไม่มีอารมณ์เป็นหน่ึง ไม่ใส่ใจโดยแยบคาย ที่ดีคือ ตรงกันขา้ ม เปน็ ตน้ วรรคที่ ๒ ชอ่ื อาฆาตวรรค วา่ ด้วยความอาฆาต ๒. ตรัสสอนวธิ นี ำ� ออกซ่งึ ความอาฆาต ๕ อย่าง คือ พงึ เจรญิ เมตตา กรณุ า อุเบกขา ในผู้ท่ีตนคิดอาฆาต พึงไม่สนใจในบุคคลน้ัน พึงคิดไปในทางท่ีว่า ใครท�ำกรรมคนนั้นก็จะ ได้รับผล (สตั ว์มกี รรมเปน็ ของของตน) ต่อจากนั้นเป็นคำ� สอนของพระสาริบตุ ร ในเรอื่ งท�ำนอง เดยี วกนั เปน็ แตย่ กั ยา้ ยนัย วรรคที่ ๓ ช่อื อปุ าสกวรรค ว่าดว้ ยอบุ าสก ๓. ตรัสแสดงอุบาสกผู้ประกอบด้วยศีล ๕ ว่า เป็นผู้ก้าวลงสู่ความแกล้วกล้า ตลอดจนได้ตรัสถึงการค้าขายที่อุบาสกไม่ควรท�ำ คือค้าขายเคร่ืองประหาร (ศัสตรา) ค้าขาย สัตว์เป็น ค้าขายเน้ือสัตว์ ค้าขายน�้ำเมา ค้าขายยาพิษ พร้อมท้ังตรัสแสดงคุณของศีล ๕ และ โทษของการล่วงละเมิด เป็นต้น ในที่สุดตรัสเล่าถึงเร่ืองภเวสีอุบาสก พร้อมด้วยอุบาสกท่ีเป็น บริวารอีก ๕๐๐ ต่างแข่งขันท�ำความดี ต้ังอยู่ในศีล ๕ ให้ดีกว่ากันข้ึนโดยล�ำดับ จนถึงออกบวช ส�ำเร็จเป็นพระอรหนั ต์ ๑ ทีไ่ มด่ ี คอื ที่ไม่ควรจะกา้ วลงสู่ทำ� นองคลองธรรม อนั ถูกต้องในกุศลธรรม ท่ดี ีคอื ตรงกันขา้ ม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 813 5/4/18 2:25 PM
814 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ วรรคท่ี ๔ ชอ่ื อรัญญวรรค วา่ ดว้ ยป่า ๔. ตรัสแสดงเรื่องภิกษุผู้อยู่ป่า ๕ ประเภท คืออยู่ป่าเพราะโง่ เพราะปรารถนา ลามก (เช่น ต้องการให้คนนับถือ) เพราะเป็นบ้า มีจิตฟุ้งสร้าน เพราะเห็นว่าพระพุทธเจ้าและ พระสาวกสรรเสริญการอยปู่ ่า เพราะมีคุณธรรม มีมกั นอ้ ย สันโดษ เป็นตน้ แลว้ ตรัสสรรเสรญิ ว่า อยู่ป่าเพราะมีคุณธรรมเป็นเลิศ นอกจากน้ันทรงแสดงถึงผู้บ�ำเพ็ญธุดงค์๑ อ่ืน ๆ อีก มี ทรงผ้าบังสกุ ุล (ผา้ เป้อื นฝนุ่ ทเ่ี กบ็ ตก) เป็นตน้ ในท�ำนองเดียวกนั วรรคที่ ๕ ชอ่ื พราหมณวรรค ว่าดว้ ยพราหมณ์ ๕. ตรัสแสดงธรรมเก่าแก่ของพราหมณ์ ๕ ประการ ซ่ึงในบัดนี้ไม่ปรากฏใน พราหมณ์ คอื (๑) พราหมณย์ อ่ มอยู่ร่วมกบั พราหมณี ไมอ่ ยู่ร่วมกบั คนท่มี ิใชพ่ ราหมณี (๒) พราหมณย์ อ่ มอยรู่ ว่ มกบั พราหมณี ผมู้ รี ะดู ไมอ่ ยรู่ ว่ มกบั พราหมณผี ไู้ มม่ รี ะดู (ยงั เดก็ เกินไป ถือความสมควรเมอื่ มีระดแู ล้ว คอื สามารถมีบตุ รได)้ (๓) พราหมณย์ อ่ มไมซ่ อ้ื ขายพราหมณี ยอ่ มอยรู่ ว่ มกนั ดว้ ยความรกั ใคร่ สมั พนั ธก์ นั (๔) พราหมณ์ย่อมไม่สะสมทรพั ย์ ข้าวเปลอื ก ทองเงนิ (๕) พราหมณ์ย่อมหาอาหารเย็นกินเย็น หาอาหารเช้ากินเช้า (ถือการภิกขาจาร ไมส่ ะสมหรือขอเอาไว้กนิ ในมื้ออน่ื ) ตรัสแสดงธรรมแก่โทณพราหมณ์ เรื่องคุณธรรมของพราหมณ์ในทางท่ีเน่ืองด้วยการ อบรมจิต ตรสั แสดงธรรมแกส่ งั คารวพราหมณ์ เรอื่ งคณุ ธรรมทที่ ำ� ใหม้ นตแ์ มท้ ไ่ี มท่ อ่ งบน่ ยงั คง แจม่ แจ้งอยตู่ ลอดกาลนาน โดยชไ้ี ปทกี่ ารท�ำให้จิตปราศจากนีวรณ์ ๕ (เฉพาะขอ้ ๑ ทรงใชค้ ำ� วา่ กามราคะ แทนคำ� ว่า กามฉันท์ ดูหน้า ๑๑๒ ข้อ ๖๘ หน้า ๔๙๐ ข้อ ๕ และหน้า ๗๖๘) พราหมณ์ช่ือการณปาลี ถามพราหมณ์ช่ือปิงคิยานีถึงคุณงามความดีของพระพุทธเจ้า เมอ่ื ไดฟ้ ังคำ� อธบิ ายก็เล่อื มใส แสดงตนเป็นอุบาสก ตรัสแสดงความปรากฏแห่งรัตนะ ๕ ที่หาได้ยากแก่เจ้าลิจฉวี มีความปรากฏแห่ง พระพทุ ธเจ้า เป็นตน้ ๑ คำ� ว่า ธุดงค์ หมายถงึ ข้อปฏบิ ตั ขิ ดั เกลากิเลส มอี ยู่ ๑๓ ข้อ มีการอยปู่ ่า เป็นตน้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 814 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 815 ตรสั แสดงความฝนั เรอ่ื งใหญ่ (มหาสุบิน) ๕ ประการ ก่อนทจ่ี ะตรสั รู้ คอื (๑) ทรงฝนั วา่ มมี หาปฐพเี ปน็ ทบ่ี รรทม มขี นุ เขาหมิ พานตเ์ ปน็ หมอน พระหตั ถซ์ า้ ย ขวาพาดมหาสมทุ รดา้ นตะวนั ออกตะวนั ตก พระบาททงั้ คพู่ าดมหาสมทุ รดา้ นใต้ (๒) ทรงฝันว่ามหี ญา้ ชอื่ ติรยิ า๑ เกดิ ข้นึ จากพระนาภี สูงขึ้นไปจดท้องฟา้ (๓) ทรงฝนั วา่ มหี นอนสขี าวมหี วั ดำ� ไตข่ น้ึ มาจากพระบาทปกคลมุ จนถงึ ชานมุ ณฑล (บรเิ วณเขา่ ) (๔) ทรงฝันว่ามีนก ๔ ชนิดมีสีต่าง ๆ มาจาก ๔ ทิศ ตกลงมาแทบบาทมูลแล้ว กลายเป็นสีขาวท้งั หมด (๕) ทรงฝันวา่ ทรงเดินไปมาบนภเู ขาอจุ จาระลกู ใหญ่ แต่ไม่เปอ้ื นอจุ จาระ แล้วทรงอธบิ ายว่า ขอ้ ที่ ๑ หมายความวา่ จะไดต้ รสั รู้อนุตตรสัมมาสมั โพธิญาณ ข้อที่ ๒ หมายความว่า จะได้ตรสั รู้ อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ ขอ้ ท่ี ๓ หมายความวา่ พวกคฤหัสถ์นุ่งผ้าขาวจะมาถึงพระตถาคตเป็น สรณะตลอดชีวติ ขอ้ ท่ี ๔ หมายความวา่ วรรณะทั้งสี่มีกษัตริย์ เป็นต้น จะมาบวชในพระ ธรรมวินัยท่ีพระตถาคตประกาศแล้ว และได้ ทำ� ใหแ้ จง้ วิมตุ ิอันยอดเย่ียม ข้อที่ ๕ หมายความวา่ พระองค์จะได้ลาภปัจจัย ๔ แต่ไม่ติดอยู่ในส่ิง เหล่านั้น และได้ตรัสแสดงเร่ืองอื่น ๆ เช่น ลักษณะ ๕ ของวาจาสุภาษิต (ซ่ึงได้แปลไว้ ัอง ุคตตร ินกาย แล้วหน้า ๑๐๖ ข้อ ๕๓) และนิสสารณธาตุ (ธาตุคือความแล่นออก ได้แก่พ้นไป) คือการที่จิต ของบคุ คลแล่นออกไป (หรอื พ้นไป) จากกาม (ความใคร่) พยาบาท (ความคิดปองร้าย) วิเหสา (ความคิดเบียดเบยี น) รูปสกั กายะ (กายของตน) ปญั จมปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๕ (แบง่ ออกเปน็ ๕ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สูตร วรรคท่ี ๑ ชอื่ กมิ พิลวรรค วา่ ดว้ ย พระกิมพิละ วรรคท่ี ๒ ชอื่ อกั โกสกวรรค ว่าดว้ ยผู้ดา่ วรรคท่ี ๓ ช่อื ทฆี จารกิ วรรค ว่าด้วยการ ๑ อรรถกถาแกว้ ่า หญา้ คา (ทพั พติณะ) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 815 5/4/18 2:25 PM
816 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ เที่ยวไป (เดินทาง) นาน วรรคท่ี ๔ ชื่ออาวาสิกวรรค ว่าด้วยภิกษุผู้เป็นเจ้าถิ่น วรรคท่ี ๕ ชอื่ ทจุ จริตวรรค ว่าดว้ ยทุจจรติ ) วรรคท่ี ๑ ชือ่ กิมพลิ วรรค วา่ ด้วยพระกิมพิละ ๑. ตรัสแสดงธรรมะแก่พระกิมพิละ ถึงเหตุที่พระสัทธรรมจะตั้งอยู่ไม่นาน หรือ ตั้งอยู่นาน เมื่อพระตถาคตปรินิพพานแล้ว โดยชี้ไปที่ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ไม่มี ความเคารพในพระพุทธ ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในการศกึ ษา ในกนั และกัน และตรัสแสดง ถึงเร่ืองอ่ืน ๆ (ทแ่ี ปลไวห้ นา้ ๑๐๗ ข้อ ๕๕ แล้วโดยมาก) วรรคที่ ๒ ชื่ออักโกสกวรรค วา่ ด้วยผ้ดู า่ ๒. ตรัสว่า ภิกษุด่าบริภาษเพ่ือนพรหมจารี ผู้กล่าวร้ายพระอริยเจ้า เป็นผู้หวังโทษ ๕ อย่าง คือ ต้องอาบัติปาราชิก ต้องอาบัติช่ัวหยาบ มีโรคอย่างหนัก หลงท�ำกาละ ตายไปแล้ว เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก แล้วได้ตรัสแสดงโทษของภิกษุผู้ก่อการทะเลาะวิวาท โทษ ของการพดู มาก เป็นต้น วรรคท่ี ๓ ช่ือทีฆจาริกวรรค วา่ ดว้ ยการเที่ยวไป (เดินทาง) นาน ๓. ตรัสแสดงโทษของการจาริกไปนาน โดยไม่มีจุดหมายว่า มีอยู่ ๕ อย่าง คือ ไม่ได้ฟังส่ิงที่ยังมิได้ฟัง ที่ฟังแล้วก็ไม่เข้าใจชัดข้ึน ไม่แกล้วกล้า เพราะได้ฟังเพียงเล็กน้อย มีโรคอยา่ งหนกั ไมม่ มี ิตร ในทางดตี รงกันขา้ ม ตรสั แสดงโทษของการอยปู่ ระจำ� ทน่ี านเกนิ ไป ๕ อยา่ ง คอื มขี า้ วของมาก สง่ั สมขา้ วของ มาก มเี ภสชั มาก สั่งสมเภสชั มาก มกี ิจกรณียะมาก ไม่ฉลาดในการงาน คลุกคลกี ับคฤหสั ถ์ และบรรพชิต ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ในทางท่ีไม่สมควร ออกจากอาวาสไปไหน ก็มี ความหว่ งใย แลว้ ตรัสแสดงอานสิ งส์ของการไมอ่ ยู่ประจำ� ทีน่ านเกนิ ไป ในทางตรงกนั ข้าม แล้วได้ตรัสแสดงโทษของการอยู่ประจ�ำท่ีนานเกินไปอีก ๕ ข้อ คือท�ำให้ตระหนี่๑ ในท่ีอยู่ ในตระกลู ในลาภ ในคณุ ความดี (ชอื่ เสยี ง) ในธรรม ทรงแสดงโทษของการเข้าสู่สกุล (ไปฉันเป็นประจ�ำในบ้าน) ซ่ึงมักท�ำให้ต้องอาบัติ ตา่ ง ๆ และโทษของการคลกุ คลีในสกลุ เกินขอบเขต เปน็ ตน้ ๑ หวงท่ีอยู่ มีทวี่ ่างก็ไม่อยากรับใครไว้ ตระหนใ่ี นตระกูล คือไมต่ อ้ งการให้ตระกูลท่ีอุปฐากตนไปอปุ ฐากผอู้ ่ืน เร่อื งน้ี นา่ คดิ ถงึ สภาพปัจจบุ ันดดู ้วย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 816 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต 817 วรรคที่ ๔ ชื่ออาวาสกิ วรรค ว่าดว้ ยภิกษผุ ู้เป็นเจ้าถนิ่ ัอง ุคตตร ินกาย ๔. ตรัสแสดงถึงภิกษุผู้เป็นเจ้าถ่ินท่ีประกอบด้วยธรรม ๕ อย่างว่าเป็นผู้ไม่ควร สรรเสริญ (อรรถกถาแกว้ า่ ไมเ่ ป็นทีต่ ้งั แห่งความเจริญ) คอื ไมส่ มบูรณ์ด้วยอากปั กริ ยิ าและวตั ร ไม่สดับตรับฟังมาก ไม่ทรงจ�ำ ไม่ขัดเกลากิเลส ไม่ยินดีในการขัดเกลา ไม่ยินดีในความดี ไม่มวี าจาไพเราะ มปี ญั ญาทราม แล้วทรงแสดงฝ่ายดีตรงกันขา้ ม กับทรงแสดงถึงภิกษุผู้เป็นเจ้าถ่ินท่ีเป็นท่ีรักเป็นที่พอใจของเพ่ือนพรหมจารี และตรง กนั ข้ามอน่ื ๆ อกี จนจบวรรค ขอ้ ความคล้ายคลงึ กัน เป็นแต่เปล่ยี นคณุ ธรรมบางขอ้ วรรคที่ ๕ ชือ่ ทุจจริตวรรค วา่ ด้วยทจุ จริต ๕. ตรัสแสดงโทษของทุจจริต ๕ อย่าง คือตนเองติเตียนตนได้ ผู้รู้พิจารณาแล้ว ติเตียนได้ กิตติศัพท์อันชั่วย่อมฟุ้งไป เป็นผู้หลงตาย เมื่อตายแล้วก็เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก ในฝ่ายดีทรงแสดงตรงกนั ขา้ ม ตลอดจนโทษของความเลื่อมใสเจาะจงตัวบคุ คล ๕ ประการ คอื (๑) เมอื่ ผนู้ นั้ ตอ้ งอาบตั ิ สงฆย์ กเสยี จากหมู่ กเ็ ลยไมเ่ ลอ่ื มใสในภกิ ษทุ ง้ั หลายเปน็ เหตุให้ไมค่ บ ไม่ฟังธรรม และเส่อื มจากสัทธรรม (เพราะเข้ากบั คนผิด) (๒) เม่ือผู้นั้นต้องอาบัติ สงฆ์ลงโทษให้นั่งปลายแถว ก็เลยไม่เล่ือมใสในภิกษุ ท้งั หลาย (เหมือนขอ้ แรก) (๓) เม่ือผนู้ น้ั หลกี ไปท่อี น่ื (๔) เมือ่ ผนู้ น้ั สึกไป (๕) เม่ือผนู้ ั้นตายไป ก็เลยไมค่ บภิกษุอ่ืน (หมายเหตุ : ค�ำสอนนี้ดีมาก ไม่ให้ติดในบุคคล แต่ถ้าจะเลื่อมใส ควรเล่ือมใสใน หลักธรรม เพราะคนอาจเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าเข้าใจในหลกั ธรรมหรอื หลกั การแล้ว ก็จะไม่วนุ่ วาย ในเรื่องบคุ คล) พระสูตรทีไ่ ม่จัดเขา้ ในวรรค ในหมวดนี้ ถือไดว้ า่ เป็นหมวดพิเศษ แสดงเรอ่ื งธรรมขนั ธ์ (ศลี สมาธิ ปญั ญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ) และเร่ืองอื่น ๆ ที่คล้ายคลึงหรือพ้องกับวินัยปิฎกบ้าง ที่แสดงมาแล้วใน ชุมนุมธรรมะท่ีมี ๕ ข้อ (ดูหน้า ๗๙๕) บ้าง (พึงสังเกตว่า ตั้งแต่หมวด ๕๐ ท่ี ๔ มาจนจบน้ี ได้ยอ่ ความอย่างรวบรดั และแสดงเฉพาะข้อธรรมทีไ่ มพ่ อ้ งกันโดยมาก) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 817 5/4/18 2:25 PM
818 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ฉักกนบิ าต ชมุ นุมธรรมะที่มี ๖ ข้อ ในหมวดนี้ จัดเป็นหมวด ๕๐ รวม ๒ หมวด หมวดพิเศษนอก ๕๐ อีก ๒ หมวด จึงมีพระสตู ร ประมาณ ๑๐๐ สตู รเศษ ปฐมปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ท่ี ๑ (ในหมวดน้ี มี ๕ วรรค ๆ ละ ๑๐ สตู รเชน่ เคย วรรคที่ ๑ ชื่ออาหุเนยยวรรค ว่าด้วย ผู้ควรของค�ำนับ วรรคท่ี ๒ ชื่อสาราณิยาทิวรรค ว่าด้วยธรรมที่ให้ระลึกถึงกัน เป็นต้น วรรคที่ ๓ ช่ืออนุตตริยวรรค ว่าด้วยธรรมอันยอดเย่ียม วรรคท่ี ๔ ช่ือเสกขปริหานิยวรรค ว่าด้วยธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเส่ือมของผู้ยังศึกษา วรรคท่ี ๕ ช่ือธัมมิกวรรค ว่าด้วยผู้ตั้งอยู่ ในธรรม) วรรคที่ ๑ ช่อื อาหุเนยยวรรค ว่าดว้ ยผ้คู วรของค�ำนบั ๑. ตรัสว่า ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ อย่าง เป็นผู้ควรของค�ำนับ ควรของต้อนรับ ควรแก่ทักขิณา (ของถวาย) ควรท�ำอัญชลี เป็นเนื้อนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก คือเห็นรูป ฟังเสียง ดมกล่ิน ล้ิมรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมะ แล้วไม่ดีใจ ไม่เสียใจ มีสติสัมปชัญญะ วางเฉย แล้วทรงแสดงภิกษุท่ีประกอบด้วยธรรมะ ๖ อย่าง (อภิญญา ๖ มีอิทธิวิธิ แสดง ฤทธิ์ได้ เป็นตน้ ) วา่ เปน็ ผู้ควรของคำ� นับ กับแสดงธรรม ๒ อย่าง คืออินทรยี ์ ๕ พละ ๕ (ศรทั ธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา) เพิ่ม ท�ำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะ เป็น ๖ ข้อว่า ทำ� ใหภ้ กิ ษคุ วรแก่ของคำ� นับ เปน็ ต้น ตรัสแสดงม้าอาชาไนยประกอบดว้ ยองค์ ๖ วา่ ควรแก่พระราชา คืออดทนตอ่ รปู เสยี ง กลิ่น รส โผฏฐพั พะ และสมบรู ณด์ ว้ ยสกี าย อกี นยั หน่ึงเปลย่ี นแต่ขอ้ สุดทา้ ย คือสมบรู ณ์ ด้วยก�ำลัง อีกนัยหน่ึงสมบูรณ์ด้วยฝีเท้า เทียบด้วยคุณธรรมของภิกษุ คืออดทนต่ออารมณ์ ๖ มีรปู เป็นตน้ ตรัสแสดงส่ิงยอดเยี่ยม (อนุตตริยะ) ๖ คือการเห็น การฟัง การได้ การศึกษา การบำ� เรอ การระลึก อนั ยอดเย่ยี ม ตรัสแสดงท่ีต้ังแห่งการระลึก ๖ อย่าง คือการระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ศลี การบรจิ าค เทวดา (หรอื คุณธรรมทที่ ำ� ให้เปน็ เทวดา)๑ ๑ ในคำ� อธบิ ายตรัสถงึ ศรัทธา ศีล สุตะ (การสดบั ) จาคะ (การสละ) และปญั ญา PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 818 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต 819 ตรัสแสดงธรรมแก่มหานามศากยะถึงอนสุ สติ (การระลกึ ) ๖ ว่า เป็นธรรมเคร่ือง ัอง ุคตตร ินกาย อยู่ของพระอรยิ สาวกผูบ้ รรลุผลแลว้ รูแ้ จ้งศาสนาแลว้ (พระโสดาบันบคุ คล) วรรคที่ ๒ ช่ือสาราณิยาทิวรรค ว่าดว้ ยธรรมทีใ่ หร้ ะลกึ ถงึ กนั เป็นต้น ๒. ตรสั แสดงธรรมที่ใหร้ ะลึกถึงกนั (ของภกิ ษุ) ๖ ประการ คอื (๑) ตั้งกายกรรม อนั ประกอบดว้ ยเมตตาในเพือ่ นพรหมจารี (๒) วจีกรรม อันประกอบด้วยเมตตาในเพ่ือนพรหมจารี (๓) มโนกรรม อนั ประกอบด้วยเมตตาในเพอื่ นพรหมจารี (๔) แบง่ ปันลาภแกเ่ พือ่ นพรหมจารี (๕) มศี ีลทด่ี เี สมอกัน (๖) มคี วามเหน็ ที่ดีเสมอกนั กับเพอ่ื นพรหมจารี ตรสั แสดงนสิ สารณยี ธาตุ (ธาตคุ ือการพน้ ไป) ๖ อยา่ ง คอื (๑) เมตตาที่เป็นเจโตวิมุติ (เป็นฌาน) เป็นความพ้นไปแห่งพยาบาท (ความคิด ปองร้าย) (๒) กรุณาที่เป็นเจโตวมิ ุติ เปน็ ความพ้นไปแห่งวิเหสา (ความคิดเบยี ดเบียน) (๓) มุทิตาทีเ่ ปน็ เจโตวิมุติ เป็นความพน้ ไปแห่งอรติ (ความรษิ ยา) (๔) อเุ บกขาที่เปน็ เจโตวิมตุ ิ เป็นความพ้นไปแหง่ ราคะ (ความกำ� หนดั ยินดี)๑ (๕) เจโตวมิ ตุ ทิ ไี่ มม่ นี มิ ติ (เครอื่ งกำ� หนดหมาย) เปน็ ความพน้ ไปแหง่ นมิ ติ ทง้ั ปวง (๖) การถอนอัสมิมานะ (ความถือตัวว่าเป็นน่ันเป็นน่ี) เป็นความพ้นไปแห่ง ความสงสัย พระสารบิ ตุ รแสดงธรรมแกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายถงึ ความตายทไ่ี มด่ ขี องภกิ ษผุ ทู้ ำ� การ ๖ อยา่ ง คอื ยนิ ดใี นการงาน (ทมี่ ใิ ชข่ องบรรพชติ ) ยนิ ดใี นการพดู มาก ยนิ ดใี นการหลบั ยนิ ดใี นการคลกุ คลี ดว้ ยหมู่ ยินดใี นการเก่ียวขอ้ ง ยินดีในธรรมทใ่ี ห้เนนิ่ ชา้ ในทางดแี สดงตรงกันข้าม คฤหปตานผี ู้ เปน็ มารดาของนกลุ มาณพ พดู กบั สามผี เู้ ปน็ ไขห้ นกั ไมใ่ หต้ ายอยา่ งมคี วามเพง่ เลง็ (กงั วลหว่ งใย) ทง้ั ในการครองเรอื นและในทางศลี ธรรม เมอ่ื คฤหบดหี ายแลว้ กถ็ อื ไมเ้ ทา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค กราบทลู ให้ทรงทราบ ตรัสชมเชยคฤหปตานเี ปน็ อนั มาก ๑ ในมหาราหุโลวาทสตู ร หน้า ๖๑๒ หมายเลข ๔ ทรงแสดงว่า อเุ บกขาเปน็ เหตใุ ห้ละปฏิฆะ (ความขัดใจ) ได้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 819 5/4/18 2:25 PM
820 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรสั ปรารภภกิ ษบุ วชใหมผ่ นู้ อนกรนหลบั อยจู่ นตะวนั ขนึ้ แสดงวา่ พระราชา และผเู้ ปน็ หัวหน้าอ่นื ๆ เชน่ เสนาบดี นายบา้ น ทเี่ หน็ แกน่ อน ยอ่ มไม่เป็นทีร่ กั ของชนบทและของกลุ่มชน ส่วนสมณพราหมณ์ที่เหน็ แก่นอน ย่อมไมท่ ำ� ใหแ้ จ้งเจโตวมิ ุติ ปญั ญาวมิ ุติ อันไม่มีอาสวะได้ ตรัสแสดงว่า ผู้หากินทางฆา่ สตั ว์ไมเ่ จรญิ มีทรพั ย์มงั่ คั่ง ตรสั สอนใหเ้ จรญิ มรณสั สติ (การระลกึ ถงึ ความตาย) ทกุ ลมหายใจเขา้ ออก จงึ จะชอื่ วา่ ไม่ประมาท กบั อกี นยั หนงึ่ ตรสั สอนใหร้ ะลกึ ถงึ ความตาย แลว้ มฉี นั ทะ มคี วามเพยี รพยายาม ความ อตุ สาหะ ความกระตือรอื ร้นทจ่ี ะละอกศุ ลธรรม วรรคท่ี ๓ ช่ืออนุตตริยวรรค วา่ ดว้ ยธรรมอนั ยอดเยี่ยม ๓. ตรัสแสดงธรรม ๖ อย่าง ว่า เป็นไปเพ่ือความเส่ือม (ของภิกษุ) ในกาลทั้งสาม (อดีต อนาคต ปัจจุบัน) คือความยินดีในการงาน ในการพูดมาก ในการนอนหลับ ในการ คลุกคลีดว้ ยหมู่ ความเปน็ คนวา่ ยาก การคบคนชัว่ เปน็ มิตร ในฝ่ายดตี รสั แสดงตรงกันข้าม ตรสั แสดงวา่ คำ� วา่ ภยั โรค ฝี ความขอ้ ง หลม่ เปน็ ชอ่ื ของกาม ตรสั วา่ ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบ ด้วยธรรม ๖ อย่าง พึงท�ำลายขุนเขาหิมพานต์เสียได้ จึงไม่ต้องกล่าวถึงการท�ำลายอวิชชาอัน ต�่ำทราม ธรรม ๖ อย่าง คือฉลาดในการเข้าสมาธิ ในการตั้งอยู่ในสมาธิ ในการออกจากสมาธิ ในความควรแก่กาลของสมาธิ ในอารมณ์ของสมาธิ ในการเขา้ สมาธิสูง ๆ ขึ้นไป ตรัสแสดงท่ีตั้งแหง่ ความระลึก ๖ ประการ มกี ารระลึกถึงพระพทุ ธเจา้ เปน็ ตน้ พระมหากัจจานะสอนภกิ ษุท้ังหลาย ถึงเร่อื งทต่ี ้ังแห่งความระลึก ๖ อยา่ ง ข้างตน้ ตรัสแสดงว่า ภกิ ษคุ วรเข้าไปหาภกิ ษุผอู้ บรมจิต ๖ สมัย คอื เมื่อถกู นีวรณ์ ๕ ครอบง�ำ และเม่ือใส่ใจในนิมิตใดเป็นเหตุให้อาสวะไม่สิ้น ภิกษุก็ยังไม่รู้ไม่เห็นนิมิตนั้น เข้าไปแล้วจะได้ ขอให้สงั่ สอน ภิกษทุ ้ังหลายสนทนากนั ถึงสมยั ที่ควรเขา้ ไปหาภกิ ษุผู้อบรมจิต ตามความเหน็ ของตน พระมหากจั จานะแสดงสมัย ๖ ตามทพี่ ระผมู้ ีพระภาคตรสั ไว้ ตรัสถามพระอุทายีเร่ืองที่ต้ังแห่งความระลึก พระอุทายีตอบไม่ได้ และตอบเลี่ยงไป อย่างอ่ืน เมื่อตรัสถามพระอานนท์ พระอานนท์ตอบช้ีไปท่ีการเข้าฌาน การใส่ใจอาโลกสัญญา (ความกำ� หนดหมายวา่ มแี สงสวา่ ง) การพจิ ารณาโดยความเปน็ ของนา่ เกลยี ด การพจิ ารณาซากศพ ต่างชนิด การเข้าฌานท่ี ๔ พระผู้มีพระภาคตรัสประทานสาธุการ แล้วตรัสสอนเพ่ิมอีกข้อหนึ่ง คอื ให้มสี ตเิ ม่อื ก้าวไป ถอยกลบั ยืน นั่ง นอน ทำ� การงาน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 820 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต 821 ตรัสรายละเอียดเร่ืองอนุตตริยะ ๖ เป็นการขยายความจากท่ีประทานหัวข้อไว้ โดย ใจความว่า การเห็น การฟัง เป็นต้น อันนับว่ายอดเยี่ยมนั้น คือท่ีเป็นไปในทางธรรม (เห็น พระพทุ ธเจา้ ฟงั ธรรม) เปน็ ตน้ วรรคที่ ๔ ชอ่ื เสกขปรหิ านิยวรรค ว่าด้วยธรรมเปน็ ท่ตี ้ังแห่งความเสือ่ มของผยู้ ังศึกษา ๔. ตรัสแสดงว่า ธรรม ๖ อย่าง คือความยินดีในการงาน ในการพูดมาก ในการ นอนหลับ ในการคลุกคลีด้วยหมู่ ไม่ส�ำรวมอินทรีย์ (มีตา หู เป็นต้น) ไม่รู้ประมาณในโภชนะ ว่า เปน็ ไปเพือ่ ความเสื่อมแห่งภิกษุผ้ยู งั ศึกษา และตรัสแสดงธรรม ๖ อย่าง ทเี่ ป็นไปเพ่อื ความไมเ่ ส่อื มของภกิ ษุ คอื ความเคารพใน พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ การศกึ ษา ความไมป่ ระมาท การปฏสิ นั ถาร (ตอ้ นรบั ) ตรสั ยกั ยา้ ย นยั เปลย่ี นขอ้ ๕ เปน็ ขอ้ ๖ เปน็ ความเคารพในหริ ิ (ความละอายตอ่ บาป) ความเคารพในโอตตปั ปะ (ในความเกรงกลวั ต่อบาป) พระมหาโมคคัลลานะสนทนากับพรหมช่ือติสสะ เร่ือง ญาณของเทวดาที่เกิดข้ึนว่า เราเป็นโสดาบัน พรหมตอบว่า เทวดาในสวรรค์ ๖ ชน้ั ไม่ได้เกิดญาณอย่างน้ีทกุ ผู้ ต่อเมอ่ื ผใู้ ด มีความเล่ือมใสอันไม่หวั่นไหว ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มีศีลท่ีพระอริยเจ้าใคร่ (โสดาปัตติยังคะ องคแ์ ห่งพระโสดาบนั ๔) ผู้นั้นจงึ เกดิ ญาณเชน่ นั้น ตรสั แสดงธรรม ๖ อยา่ ง ที่เปน็ ไปในส่วนแห่งวิชชา (วิชชาภาคิยะ) คอื อนจิ จสัญญา (ความก�ำหนดหมายวา่ ไมเ่ ทยี่ ง) อนจิ เจ ทกุ ขสญั ญา (ความก�ำหนดหมายว่าเปน็ ทกุ ข์ในสง่ิ ทีไ่ ม่เท่ียง) ทกุ เข อนัตตสญั ญา (ความก�ำหนดหมายว่าไมใ่ ชต่ วั ตนในสิง่ ทเี่ ปน็ ทกุ ข์) ัอง ุคตตร ินกาย ปหานสญั ญา (ความกำ� หนดหมายในการละ) วริ าคสัญญา (ความก�ำหนดหมายในการคลายความก�ำหนัดยินด)ี นิโรธสญั ญา (ความกำ� หนดหมายในการดับ) ตรัสแสดงว่า มลู เหตุแหง่ วิวาทมี ๖ อย่าง คอื ภิกษุเป็นผโู้ กรธ ผูกโกรธ ลบหลู่บญุ คณุ ทา่ น ตเี สมอ รษิ ยา ตระหนี่ โอ้อวด มมี ายา PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 821 5/4/18 2:25 PM
822 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ มคี วามปรารถนาลามก มคี วามเห็นผดิ ยดึ ทิฏฐขิ องตนมั่น สละยาก เมื่อมีความไม่ดี ๖ ส่วนเหล่าน้ีแล้ว ก็ขาดความเคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ไมท่ ำ� ใหบ้ ริบูรณ์ในสกิ ขา กอ่ วิวาทข้ึนในสงฆ์ อบุ าสิกาชือ่ เวฬกุ ัณฑกีผูเ้ ปน็ มารดาของนันทมาณพ๑ ประดษิ ฐานทกั ขณิ ามอี งค์ ๖ ใน ภกิ ษสุ งฆ์ มพี ระสารบิ ตุ รและพระโมคคลั ลานะเปน็ ประมขุ พระผมู้ พี ระภาคทรงทราบ ตรสั ชแ้ี จง แกภ่ กิ ษุทง้ั หลายวา่ องค์ ๖ คือองค์ ๓ ฝ่ายทายก (ผู้ให)้ ไดแ้ กม่ จี ิตผอ่ งใสกอ่ นให้ ก�ำลงั ให้ ให้ เสรจ็ แล้ว องค์ ๓ ฝ่ายปฏิคาหก (ผูร้ ับ) ไดแ้ ก่ผู้รับเปน็ ผูป้ ราศจากราคะ หรอื ปฏิบตั เิ พื่อละราคะ ปราศจากโทสะ หรือปฏิบัติเพ่ือละโทสะ ปราศจากโมหะ หรือปฏิบัติเพ่ือละโมหะ ทักขิณาที่ ประกอบดว้ ยองค์ ๖ เหล่าน้ี มีบญุ อันไมง่ า่ ยท่จี ะนบั จะประมาณ ทรงแสดงธาตุ ๖ คือ อารัพภธาตุ (ความริเร่มิ ) นกิ กมธาตุ (ความกา้ วออก) ปรกั กมธาตุ (ความบากบ่ัน) ถามธาตุ (เรี่ยวแรง) ธติ ิธาตุ (ความอดทน) อปุ ักกมธาตุ (ความพยายาม) ท้ัง ๖ ข้อนี้เป็นช่ือของความเพียร เพื่อชี้แจงให้พราหมณ์ผู้หนึ่งละท้ิงความเห็นผิด ปฏเิ สธการกระทำ� ของตนและของคนอ่ืนว่าไม่มี ตรัสแสดงโลภะ โทสะ โมหะ และอโลภะ อโทสะ อโมหะ ว่าเป็นต้นเหตุให้เกิดการ กระท�ำฝ่ายช่วั ฝ่ายดี ฝ่ายละ ๓ ข้อ ตรัสตอบพระกิมมิละ๒ เร่ืองของสัทธรรมไม่ต้ังอยู่นาน เพราะพุทธบริษัทไม่มี ความเคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ในการศึกษา ในความไมป่ ระมาท ในการตอ้ นรบั ฝ่ายดีทรงแสดงในทางตรงกนั ข้าม ๒๑ ดขู อ้ ความหน้า ๗๒๙ วรรคที่ ๒ ประกอบด้วย และแสดงความเคารพ ๕ ข้อ ช่ือที่เพี้ยนกันเล็กน้อยเช่นนี้ ในธรรมะหมวด ๕ ท่ีแล้วมา ใช้ค�ำว่า พระกิมพิละ เข้าใจวา่ เปน็ ด้วยต้นฉบบั มากกว่า แตก่ อ็ าจเป็นไปได้วา่ คนละรูป PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 822 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต 823 พระสาริบุตรกล่าวกะภิกษุทั้งหลาย ว่าภิกษุผู้มีฤทธ์ิ มีความเชี่ยวชาญทางจิต ัอง ุคตตร ินกาย อาจอธิษฐานให้ท่อนฟนื เป็นดิน เปน็ น�้ำ เป็นไฟ เป็นลม ให้งาม ใหไ้ มง่ าม อย่างใดอย่างหนึง่ ได้ เพราะมีธาตุท้ังหก (ปฐวธี าตุ ถึงอสุภธาต)ุ อย่ใู นท่อนไม้น้นั ตรัสกะพระนาคิตะ เร่ืองไม่มีพระพุทธประสงค์ จะต้อนรับพราหมณคฤหบดี ชาวอจิ ฉานงั คละทำ� นองเดยี วกบั ในธรรมะหมวด ๕ (ดหู นา้ ๗๙๗) ทต่ี รสั ไวแ้ ลว้ แตม่ รี ายละเอยี ด ตา่ งไปเล็กน้อย วรรคที่ ๕ ชอ่ื ธมั มกิ วรรค ว่าด้วยผู้ต้ังอยู่ในธรรม ๕. ตรัสกะพระอุทายี ว่า คนท่ัวไปเห็นสัตว์ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่ หรือมนุษย์ใหญ่ ก็ เรียกว่านาคะ (สิ่งที่ย่ิงใหญ่) แต่พระองค์ตรัสว่า ผู้ไม่ท�ำความช่ัวด้วยกาย วาจา ใจ ว่าเป็น นาคะ (หมายเหตุ คำ� ว่า นาคะ มาจากค�ำว่า นคะ ซ่งึ แปลวา่ ภูเขา จงึ ใช้เรยี กสง่ิ ใหญ่ ๆ ได้) ตรสั แสดงถึงบคุ คล ๓ ประเภท คือ (๑) ประเภททีเ่ ว้นจากความชวั่ (๒) ประเภททเี่ อาชนะความโกรธและความถอื ตวั ได้ แตเ่ กดิ ความโลภเปน็ ครงั้ คราว (๓) ประเภททเ่ี อาชนะความโกรธและความถอื ตวั ได้ แตย่ งั มวี จสี งั ขาร๑ เกดิ ขนึ้ เปน็ ครงั้ คราว บุคคล ๓ ประเภทนแี้ บง่ ออกเปน็ ประเภทละ ๒ พวก คือพวกทมี่ ไิ ดบ้ รรลวุ มิ ตุ ิ ตายไป แล้วก็มีแต่เส่ือมลงไม่สูงขึ้น อีกพวกหน่ึงได้บรรลุวิมุติ ตายไปแล้วมีแต่สูงข้ึนไม่เส่ือมลง (ตรัส แสดงแก่พระอานนท์เป็นการแก้ความข้องใจของมิคสาลาอุบาสิกา ผู้ได้ฟังว่าพระพุทธเจ้าตรัสถึง อุบาสก ๒ คนที่ประพฤติพรหมจรรย์ กับไม่ประพฤติพรหมจรรย์ ถึงแก่กรรมว่า ได้เป็น พระสกทาคามเี หมอื นกนั เปน็ การชว้ี า่ อยา่ วา่ แตป่ ระพฤตติ า่ งกนั เลย แมแ้ ตป่ ระพฤตเิ หมอื นกนั ในช้ันเดียวกัน แต่ฝ่ายหน่ึงก้าวหน้าก็มี ไม่ก้าวหน้าก็มี คนประพฤติต่างชั้นก็อาจเสมอกันได้ เพราะมีบางส่วนบกพรอ่ ง แตบ่ างสว่ นสมบูรณ)์ ตรัสว่า ความจนเป็นทุกข์ในโลก โดยแสดงผลร้ายของความจน ๖ ข้อ (แปลไว้แล้ว หนา้ ๑๔๕ ข้อ ๑๒๕) พระมหาจุนทะ๒ สอนภิกษุท้ังหลาย มิให้ภิกษุผู้บ�ำเพ็ญฌาน กับภิกษุผู้เป็น ธรรมกถึก๓ (ผู้แสดงธรรม) รุกรานกันและกัน เพราะทั้งสองฝ่ายต่างก็ชื่อว่าหาได้ยากด้วยกัน ๒๓๑ อรรถกถาว่า ไดแ้ ก่การเจรจาปราศรัย พระธรรมกถกึ น้องชายพระสาริบตุ ร บาลใี ชค้ �ำว่า ธมมฺ โยคา อรรถกถาแกว้ ่า PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 823 5/4/18 2:25 PM
824 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (พงึ สังเกตว่า พระมหาจนุ ทะรูปน้ี จะพดู จะสอนอะไร มกั จะเพ่อื สมานสามคั คี เพ่อื ความตั้งมนั่ แหง่ พระพทุ ธศาสนาเสมอ โปรดดหู น้า ๘ ประกอบดว้ ย) ตรัสแสดงธรรมแก่ปริพพาชกชื่อโมฬิยสิวกะ ผู้ทูลถามถึงธรรมที่เห็นได้ด้วยตัวเอง ไมป่ ระกอบด้วยกาล ควรเรยี กมาดู ควรน้อมเข้ามาในตน ผู้รเู้ หน็ ไดจ้ ำ� เพาะตน โดยตรสั ถามวา่ เม่ือโลภะ โทสะ โมหะ มีในภายใน ก็รู้ว่ามีในภายใน ไม่มีในภายใน ก็รู้ว่าไม่มี ใช่หรือไม่ เมอ่ื ตอบว่า ใช่ จงึ ตรสั ว่า น่ันคือธรรมที่เหน็ ดว้ ยตนเอง ไม่ประกอบด้วยกาล เป็นต้น ตรัสตอบพราหมณ์ผู้หน่ึง ในท�ำนองเดียวกับปริพพาชก เป็นแต่ตรัสถามให้ตอบใน เรอื่ งราคะ (ความก�ำหนดั ยินดี) และสนั โทสะ (การประทุษร้ายทางกาย วาจา ใจ) พระเขมะกับพระสุมนะ เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ต่างกราบทูลเป็นสุภาษิต คือ พระเขมะกราบทูลว่า ภกิ ษผุ ู้เปน็ พระอรหันตข์ ีณาสพไม่คดิ วา่ มีผปู้ ระเสรฐิ กวา่ เรา มผี ูเ้ สมอเรา มผี เู้ ลวกวา่ เรา สว่ นพระสมุ นะกราบทลู วา่ ภกิ ษผุ เู้ ปน็ พระอรหนั ตข์ ณี าสพไมค่ ดิ วา่ ไมม่ ผี ปู้ ระเสรฐิ กว่าเรา ไม่มผี ูเ้ สมอเรา ไมม่ ผี ูเ้ ลวกว่าเรา (ไมย่ ึดถอื ดว้ ยมานะความถอื ตัว) ตรัสว่า ความส�ำรวมอินทรีย์ ศีล สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจม่ันชอบ) ญาณทัสสนะ (ความเห็นด้วยญาณ) นิพพิทา วิราคะ (ความเบ่ือหน่ายคลายก�ำหนัด) วิมุตติญาณทัสสนะ (ความเห็นดว้ ยญาณถึงความหลดุ พ้น) เกยี่ วเนอ่ื งสง่ เสรมิ กันให้บริบูรณ์โดยลำ� ดบั พระสาริบุตรกับพระอานนท์สนทนาธรรมกัน พระสาริบุตรสรรเสริญพระอานนท์ (รวม ๖ ข้อ คอื ) (๑) เรยี นธรรมะ (๒) แสดงธรรมตามทฟ่ี งั แล้วเรยี นแลว้ แก่ผ้อู ่ืน (๓) บอกธรรมตามท่ฟี งั แลว้ เรียนแล้ว แกผ่ อู้ ื่น (๔) ตรึกตรองเพ่งดว้ ยใจซ่ึงธรรมะน้ัน (๕) จำ� พรรษาอยู่ในอาวาสที่มพี ระเถระผสู้ ดับตรบั ฟงั มาก (๖) เข้าไปหาพระเถระเหล่านัน้ ไต่ถามปญั หาเปน็ คร้ังคราว ซง่ึ ท่านเหล่านั้นกเ็ ปดิ เผยชีเ้ แจงบันเทาความสงสัยใหไ้ ด้ ตรสั ตอบชาณุสโสณิพราหมณถ์ งึ บคุ คล ๖ ประเภท ตามทถ่ี าม คือ (๑) กษัตริย์ประสงค์ทรัพย์ พิจารถึงปัญญา ตั้งจิตถึงก�ำลัง (พลกาย) ใส่ใจถึง แผน่ ดนิ มีความเป็นใหญเ่ ป็นทสี่ ดุ (เป็นขอ้ มุ่งหมายสดุ ท้าย) (๒) พราหมณ์ประสงค์ทรัพย์ พิจารถึงปัญญา ตั้งจิตถึงมนต์ ใส่ใจถึงยัญ มี พรหมโลกเปน็ ขอ้ มงุ่ หมายสดุ ทา้ ย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 824 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต 825 (๓) คฤหบดี (ผคู้ รองเรอื น หรอื พอ่ เจา้ เรือน) ประสงค์ทรพั ย์ พิจารถงึ ปญั ญา ตงั้ ัอง ุคตตร ินกาย จติ ถงึ ศลิ ปะ ใสใ่ จถึงการงาน มีการงานทีส่ ำ� เร็จเป็นข้อมงุ่ หมายสุดทา้ ย (๔) สตรปี ระสงคบ์ รุ ษุ พจิ ารถงึ เครอื่ งประดบั ตงั้ จติ ถงึ บตุ ร ใสใ่ จทจ่ี ะไมม่ สี ตรอี น่ื มารว่ มสามี มคี วามเป็นใหญ่เปน็ ขอ้ มุ่งหมายสดุ ทา้ ย (๕) โจรประสงคจ์ ะขโมย พจิ ารถงึ ปา่ รก ตงั้ จติ ถงึ ศสั ตรา ใสใ่ จถงึ ความมดื มกี าร ไมถ่ กู เห็นเปน็ ขอ้ ม่งุ หมายสุดท้าย (๖) สมณะประสงค์ขันติ (ความอดทน) และโสรจั จะ (ความสงบเสง่ียม) พจิ ารถงึ ปญั ญา ตง้ั จติ ถงึ ศลี ใสใ่ จถงึ ความไมก่ งั วล มนี พิ พานเปน็ ขอ้ มงุ่ หมายสดุ ทา้ ย ตรัสวา่ ความไม่ประมาท เป็นธรรมขอ้ หน่ึง ทเี่ จริญ ทำ� ใหม้ ากแลว้ ทำ� ใหบ้ รรลุประโยชน์ ทั้งสอง คือประโยชน์ปัจจบุ ันและอนาคต พระธมั มกิ ะ เปน็ ภกิ ษเุ จา้ ถนิ่ ใน ๗ วดั ในชาตภิ มู ิ เปน็ คนปากรา้ ย ดา่ วา่ ภกิ ษอุ าคนั ตกุ ะ จนหนีไปหมด พวกอุบาสกจึงพากันขับไล่ไม่ให้อยู่ในวัดทั้งเจ็ดวัด จึงต้องเดินทางไปเฝ้า พระผู้มีพระภาค พระองค์ตรัสว่า เม่ือถูกไล่จากที่ต่าง ๆ ก็ต้องมาหาพระองค์ เหมือนพ่อค้า เดนิ ทางเรอื สสู่ มทุ ร เมอ่ื ไมเ่ หน็ ฝง่ั กป็ ลอ่ ยนกหาฝง่ั ไป นกกบ็ นิ ไปทง้ั สที่ ศิ ทง้ั ทศิ เบอื้ งบนและทศิ เฉยี ง ถา้ เห็นฝัง่ กบ็ ินไปเลย ถา้ ไมเ่ หน็ ฝั่งกบ็ นิ กลับมาสู่เรืออกี แลว้ ตรสั เล่าเรอื่ งในอดีตอีกหลายเรื่อง ทตุ ยิ ปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๒ (หมวดน้ีมี ๕ วรรค วรรคท่ี ๑ ชื่อมหาวรรค ว่าด้วยเรื่องใหญ่ วรรคท่ี ๒ ชื่อเทวตา วรรค ว่าด้วยเทวดา วรรคท่ี ๓ ช่ืออรหันตวรรค ว่าด้วยพระอรหันต์ วรรคที่ ๔ ชื่อสีติวรรค วา่ ด้วยความเยน็ วรรคที่ ๕ ชอ่ื อานิสงั สวรรค ว่าด้วยผลดี) วรรคที่ ๑ ชื่อมหาวรรค ว่าดว้ ยเรือ่ งใหญ่ ๑. ตรัสสอนพระโสณะ ผู้ท�ำความเพียรมากเกินไป แต่ก็ไม่ได้ตรัสรู้ โดยตรัสอุปมา ด้วยสายพิณทต่ี ึงเกินไป หยอ่ นเกินไป เสยี งไมด่ ี ต่อขึงพอดี ไมต่ ึงไป ไม่หย่อนไป จงึ มีเสยี งดี พระโสณะปฏิบัติตามก็ได้ส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์ แล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคถึงข้อ ธรรมหลายประการ โดยเฉพาะได้กล่าวถึง พระอรหันต์ขีณาสพว่า น้อมไปสู่ฐานะ ๖ ประการ คือ เนกขัมมะ (การออกจากกาม) ปวิเวกะ (ความสงัด) อัพยาปัชฌะ (ความไม่เบียดเบียน) ตัณหักขยะ (ความสิ้นไปแห่งตัณหา) อุปาทานักขยะ (ความส้ินไปแห่งอุปาทานหรือความ ยึดมัน่ ถอื มั่น) อสมั โมหะ (ความไมห่ ลง) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 825 5/4/18 2:25 PM
826 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ พระผัคคุณะอาพาธหนกั พระอานนทไ์ ปกราบทูลพระผู้มพี ระภาคขอใหเ้ สดจ็ ไปเยย่ี ม พระองค์เสด็จไปแสดงธรรมโปรด เม่ือเสด็จกลับไม่นานพระผัคคุณะก็ถึงมรณภาพ เม่ือ พระอานนท์ไปกราบทูล จึงตรัสว่า จิตของพระผัคคุณะภายหลังฟังธรรมได้หลุดพ้นจาก สญั โญชนเ์ บอ้ื งตำ่� ๕ ประการ (เปน็ พระอนาคาม)ี แลว้ ไดต้ รสั ถงึ อานสิ งส์ (ผลด)ี ในการฟงั ธรรม ตามกาล ในการพจิ ารณาเน้อื ความตามกาล มี ๖ อย่าง คือ (๑) ฟังธรรมทีพ่ ระตถาคตแสดง จิตหลดุ พน้ จากสญั โญชนเ์ บ้ืองตำ่� ๕ ประการ (๒) ฟงั ธรรมที่สาวกพระตถาคตแสดง จิตพน้ จากสญั โญชนเ์ บือ้ งต�ำ่ ๕ ประการ (๓) ตรึกตรองเพง่ ด้วยใจซึ่งธรรม จติ พ้นจากสญั โญชน์เบอ้ื งตำ�่ ๕ ประการ (๔) ฟังธรรมที่พระตถาคตแสดง จิตหลุดพ้นในธรรมเป็นท่ีสิ้นกิเลสอย่าง ยอดเยีย่ ม (๕) ฟังธรรมท่ีสาวกพระตถาคตแสดง จิตหลุดพ้นในธรรมเป็นท่ีสิ้นกิเลส อย่างยอดเยีย่ ม (๖) ตรกึ ตรองเพง่ ดว้ ยใจซงึ่ ธรรม จติ หลดุ พน้ ในธรรมเปน็ ทสี่ น้ิ กเิ ลสอยา่ งยอดเยย่ี ม ตรสั แสดงอภิชาติ ๖ ประการ เปรยี บเทียบกบั ข้อบัญญตั ขิ องปูรณะ กสั สปะ คือ (๑) คนมอี ภชิ าตดิ ำ� ทำ� ใหเ้ กดิ ธรรมอนั ดำ� ไดแ้ กผ่ เู้ กดิ ในตระกลู ตำ่� แลว้ ประพฤติ ทจุ จรติ (๒) คนมอี ภชิ าตดิ ำ� ทำ� ใหเ้ กดิ ธรรมอนั ขาว ไดแ้ กผ่ เู้ กดิ ในตระกลู ตำ่� แตป่ ระพฤตสิ จุ รติ (๓) คนมอี ภิชาตดิ ำ� ท�ำให้เกดิ พระนิพพานอนั ไม่ด�ำไมข่ าว ไดแ้ กผ่ ู้เกิดในตระกลู ตำ่� ออกบวชตงั้ อยู่ในคณุ ธรรม ท�ำนพิ พานให้เกดิ ขน้ึ (๔) คนมอี ภชิ าตขิ าว ทำ� ใหเ้ กดิ ธรรมอนั ดำ� ไดแ้ กผ่ เู้ กดิ ในตระกลู สงู แตป่ ระพฤติ ทจุ จริต (๕) คนมอี ภชิ าตขิ าว ทำ� ใหเ้ กดิ ธรรมอนั ขาว ไดแ้ กผ่ เู้ กดิ ในตระกลู สงู ประพฤตสิ จุ รติ (๖) คนมีอภชิ าติขาว ท�ำใหเ้ กิดนพิ พานอันไมด่ ำ� ไมข่ าว ได้แก่ ผูเ้ กดิ ในตระกูลสูง ออกบวชตง้ั อยู่ในคุณธรรม ท�ำนพิ พานให้เกิดข้นึ ตรสั แสดงคุณธรรมของภิกษผุ ู้เป็นเนื้อนาบญุ ของโลก ว่า ละอาสวะได้ ๖ อยา่ ง (มีละ ด้วยการสำ� รวม เปน็ ต้น โปรดดทู แ่ี ปลไว้แล้ว หน้า ๑๓๘ หมายเลข ๑๑๗ เปน็ แต่ในน้นั แสดงวิธี การ ๗ อยา่ ง ในทีน่ ้แี สดง ๖ อย่าง ยกขอ้ ว่าด้วยทัสสนะออกเสีย) ตรสั ถึงภกิ ษุ ๖ ประเภท คืออยู่ป่า อยู่ท้ายบ้าน ถอื บณิ ฑบาต รบั นิมนต์ ทรงผ้าบงั สุกลุ ทรงคฤหบดจี ีวร (ผ้าทคี่ ฤหบดีถวาย) ซง่ึ มที ั้งชั่วท้ังดี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 826 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต 827 พระจิตตหัตถิสาริบุตร พูดแทรกขึ้นในเม่ือพระเถระทั้งหลายก�ำลังกล่าวอภิธัมมกถา ัอง ุคตตร ินกาย กนั อยู่ พระมหาโกฏฐติ ะจงึ หา้ มปราม ภกิ ษทุ เ่ี ปน็ มติ รสหายของผพู้ ดู แทรกจงึ เตอื นวา่ พระจติ ตหตั ถิ สาริบุตรเป็นผู้ฉลาด อาจจะพูดอภิธรรมกับพระเถระท้ังหลายได้ พระมหาโกฏฐิตะกล่าวว่า ถ้า ไม่รู้ปริยายแหง่ จติ ของผู้อ่ืน ก็ยากจะร้ไู ด้ แล้วกลา่ วว่า คนทเี่ สง่ียมเจียมตวั สงบระงบั ในเมอื่ อยู่ อาศัยศาสดาหรือเพ่ือนพรหมจารีที่เคารพน้ัน ถ้าแยกออกไปก็อาจถูกราคะครอบง�ำจิตได้ เหมือนโคที่ผูกไว้ จะว่าไม่กินข้าวกล้าไม่ได้ แม้บุคคลได้ฌานทั้งสี่และได้เจโตสมาธิท่ีไม่มีนิมิต (เคร่ืองหมาย) ก็อาจเส่ือม ถูกราคะครอบง�ำ ลาสิกขาไปได้ ต่อมา พระจิตตหัตถิสาริบุตร ลาสิกขาไปจริง ๆ พระผู้มีพระภาคทรงทราบ จึงตรัสว่า ไม่ช้าจิตตะก็จะระลึกได้ถึงเนกขัมมะ ในไมช่ า้ จติ ตหตั ถสิ ารบิ ตุ รกบ็ วชอกี และไดส้ ำ� เรจ็ เปน็ พระอรหนั ต์ (ดหู นา้ ๔๓๕ วรรคลา่ งสดุ ดว้ ย) พระเถระหลายรปู สนทนากนั ถงึ ปญั หาวา่ อะไรเปน็ สว่ นสดุ ๒ ฝา่ ย อะไรเปน็ ทา่ มกลาง อะไรเปน็ เครอื่ งเยบ็ ใหต้ ดิ กนั ตา่ งแสดงความเหน็ ชไี้ ปทผ่ี สั สะ ความเกดิ ขนึ้ แหง่ ผสั สะ วา่ เปน็ สว่ น สุด ๒ ฝา่ ย ความดับตณั หาเป็นเครอ่ื งเย็บใหต้ ดิ กนั ดงั นเี้ ปน็ ตน้ (รวม ๖ นัย)ฺ พระผมู้ ีพระภาค เสด็จมาตรัสวา่ คำ� ตอบเหล่านั้นทงั้ ปวงถกู โดยปริยาย แต่ทพี่ ระองค์ทรงมงุ่ หมาย (ตรงกบั ท่ีรูป แรกกล่าวไว)้ คอื ผัสสะ ความเกิดแห่งผัสสะ เป็นส่วนสุด ๒ ฝ่าย เปน็ ตน้ ตรสั แสดงธรรมแก่พระอานนท์ ถึงบคุ คล ๖ ประเภท แบ่งเป็น ๓ ประเภทแรก กบั ๓ ประเภทหลัง คือ ประเภทแรก ได้แกผ่ ้มู ธี รรมอนั ไมเ่ สื่อม ผู้มีธรรมอนั เสื่อม ผจู้ ะไปสูอ่ บายนรก ๓ ประเภทหลัง ได้แก่ผ้มู ธี รรมอนั ไม่เสื่อม ผู้มธี รรมอนั เสอื่ ม ผมู้ ธี รรมคอื พระนิพพาน ตรัสแสดงธรรมปริยายว่าด้วยนิพเพธิกะ (ช�ำแรกหรือท�ำลายกิเลส) คือควรทราบ ธรรม ๖ อยา่ ง คอื กาม เวทนา สญั ญา อาสวะ กรรม ทกุ ข์ พรอ้ มดว้ ยความเกดิ ขนึ้ ความตา่ งกนั วิบาก (ผล) ความดับ ข้อปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดับแห่งธรรมทัง้ หกนนั้ ๑ ตรัสแสดงก�ำลงั ของพระตถาคต ๖ ประการ คอื (๑) ทรงร้ฐู านะและอฐานะ (สง่ิ ท่เี ปน็ ไปได้และเปน็ ไปไม่ได้) ตามความเป็นจรงิ (๒) ทรงรผู้ ลโดยฐานะ โดยเหตุ ตามเปน็ จรงิ แหง่ การทำ� กรรมทเี่ ปน็ อดตี อนาคต และปัจจุบนั (๓) ทรงรู้ความ เศรา้ หมอง ความผ่องแผว้ การออกแห่งฌาน วิโมกข์ สมาธิ และ สมาบตั ิ ๑ กาม คือความใคร่ เวทนา ความรู้สึกอารมณ์เปน็ สขุ ทุกข์ ไม่สขุ ไม่ทกุ ข์ สญั ญา ความจำ� ได้หมายร ู้ อาสวะ กิเลส ท่ีดองสนั ดาน กรรม การกระทำ� ทกุ ข์ หมายเอาทง้ั ทกุ ข์ประจ�ำและทุกข์จร PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 827 5/4/18 2:25 PM
828 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๔) ทรงระลึกชาติได้ (๕) ทรงไดท้ พิ ยจักษุ (๖) ทรงท�ำใหแ้ จ้งเจโตวมิ ตุ ิ ปัญญาวมิ ตุ ิ อนั ไม่มีอาสวะ กำ� ลงั ทงั้ หกขอ้ ของพระตถาคตเหลา่ นท้ี ำ� ใหท้ รงปฏญิ ญาความเปน็ หวั หนา้ (อาสภณั ฐานะ ฐานะแหง่ โคอสุ ภะ หรอื โคผนู้ ำ� ฝงู ) บรรลือสหี นาท หมุนพรหมจักร (ล้อธรรมอนั ประเสรฐิ ) วรรคท่ี ๒ ช่อื เทวตาวรรค วา่ ด้วยเทวดา ๒. ตรสั ว่า ผู้ละธรรม ๖ อย่างไมไ่ ด้ ไมค่ วรทำ� ให้แจ้งอนาคามผิ ล คือความไมศ่ รัทธา (เชอื่ สงิ่ ทคี่ วรเชอ่ื ) ความไมล่ ะอาย ความไมเ่ กรงกลวั ตอ่ บาป ความเกยี จครา้ น ความหลงลมื สติ ความมปี ญั ญทราม ฝา่ ยดที รงแสดงตรงกนั ขา้ ม ทรงแสดงว่า บุคคลละธรรม ๖ อย่างไมไ่ ด้ ไมค่ วรท�ำใหแ้ จ้งความเป็นพระอรหันต์ คือ ความหดหู่ ความง่วงงนุ ความฟุง้ สรา้ น ความร�ำคาญใจ ความไม่ศรทั ธา ความประมาท ฝ่ายดี ทรงแสดงตรงกันข้าม ตรัสว่า ภิกษุคบมิตรช่ัว ด�ำเนินตามมิตรชั่ว เป็นไปไม่ได้ท่ีจะท�ำธรรมะเก่ียวกับความ ประพฤตแิ ละมารยาท (อภสิ มาจารกิ ธรรม) ธรรมของพระเสขะ และทำ� ศลี ใหบ้ รบิ รู ณ์ และเปน็ ไป ไม่ได้ที่จะละกามราคะ (ความก�ำหนัดในกาม) รูปราคะ (ความก�ำหนัดในรูป) อรูปราคะ (ความ ก�ำหนดั ในสิ่งท่มี ใิ ช่รูป) ในทางดที รงแสดงตรงกันขา้ ม ตรสั วา่ ภกิ ษผุ คู้ ลกุ คลดี ว้ ยหมู่ เปน็ ไปไมไ่ ดท้ จี่ ะยนิ ดใี นความสงดั ทจี่ ะถอื เอานมิ ติ แหง่ จิตไว้๑ ทจี่ ะท�ำสมั มาทิฏฐิ (ความเหน็ ชอบ) ให้บริบรู ณ์ ท่จี ะท�ำสมั มาสมาธิ (ความตงั้ ใจมนั่ ชอบ) ให้บริบูรณ์ ที่จะละสัญโญชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัด) ได้ ที่จะท�ำให้แจ้งซ่ึงพระนิพพานได้ ฝ่ายดี ทรงแสดงตรงกันขา้ ม เทวดากราบทูลถึงธรรม ๖ อย่างท่ีเป็นไปเพ่ือความไม่เส่ือมของภิกษุ คือความเคารพ ในพระศาสดา พระธรรม พระสงฆ์ การศึกษา ความเป็นผู้ว่าง่าย และการคบเพื่อนท่ีดี เม่ือ พระผู้มีพระภาคตรัสเล่า พระสาริบุตรจึงกราบทูลว่า ท่านเข้าใจว่าขยายความได้ คือท�ำเช่นน้ัน ด้วยตนเอง พรรณนาคุณของการนั้น ชักชวนผู้อ่ืนเพื่อท�ำเช่นนั้น รวมท้ังสรรเสริญผู้ท�ำเช่นนั้น ตามความจริงตามกาลอันสมควร ตรัสว่า ถ้าไม่มีสมาธิอันสงบระงับ ประณีต ก็ไม่ได้เสวยอภิญญา ๖ (มีแสดงฤทธ์ิได้ เปน็ ต้น) ต่อมสี มาธิเชน่ นั้นจงึ ได้อภญิ ญา ๖ ๑ นมิ ติ คอื เครอ่ื งหมายแห่งสมาธจิ ิต และวปิ สั สนาจติ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 828 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต 829 ตรัสว่า ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ อย่าง ไม่ควรบรรลุความเป็นผู้เห็นแจ่มแจ้งใน ัอง ุคตตร ินกาย คุณวิเศษน้ัน ๆ คือไม่รู้จักธรรมท่ีเป็นส่วนแห่งความเส่ือม ความเสมอตัว ความก้าวหน้า๑ การทำ� ลายกเิ ลสตามความเปน็ จรงิ ไมท่ ำ� การโดยเคารพ ไมท่ ำ� การใหเ้ ปน็ ทส่ี บาย (ไมเ่ ปน็ อปุ การะ แก่การปฏิบัตธิ รรม) ในฝ่ายดที รงแสดงตรงกนั ข้าม ตรสั วา่ ภิกษุประกอบดว้ ยธรรม ๖ อยา่ ง ไม่ควรบรรลุความเปน็ ผมู้ กี ำ� ลงั ในสมาธิ คือ ไม่ฉลาดในการเข้า ในการต้ังอยู่ ในการออกเกี่ยวกับสมาธิ ไม่ท�ำการโดยเคารพ ไม่ท�ำการโดย ตดิ ตอ่ ไมท่ �ำการใหเ้ ป็นท่สี บาย ในฝ่ายดีทรงแสดงตรงกันข้าม ตรัสว่า ภกิ ษลุ ะธรรม ๖ อยา่ งไม่ได้ ไม่ควรเข้าฌานที่ ๑ คอื นีวรณ์ ๕ กับไมเ่ ห็นโทษ ของกามตามเปน็ จรงิ ด้วยปญั ญาอันชอบ ในฝ่ายดีทรงแสดงตรงกันข้าม ตรสั วา่ ภิกษลุ ะธรรม ๖ อยา่ งไมไ่ ด้ ไมค่ วรเข้าฌานที่ ๑ อกี อยา่ งหนง่ึ คอื ความตรกึ ในกาม ในการพยาบาท ในการเบียดเบียน ความก�ำหนดหมายในกาม ในการพยาบาท ในการ เบียดเบยี น และฝ่ายดที รงแสดงตรงกันขา้ ม วรรคท่ี ๓ ชือ่ อรหนั ตวรรค ว่าดว้ ยพระอรหนั ต์ ๓. ตรัสว่า ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ อย่าง ย่อมอยู่เป็นทุกข์ในปัจจุบัน คือ ประกอบดว้ ยความตรกึ ในกาม (เปน็ ต้น เหมือนข้างบนนี้) ฝ่ายดีตรสั ในทางตรงกนั ข้าม ตรัสว่า ภิกษุผู้ไม่ละธรรม ๖ อย่าง ไม่ควรท�ำให้แจ้งความเป็นพระอรหันต์ คือความ ถอื ตวั (มานะ) ความดหู มนิ่ ตวั เอง (โอมานะ) ความดหู มน่ิ ผอู้ นื่ ๒ (อตมิ านะ) ความสำ� คญั ผดิ วา่ ได้ บรรลุ (อธิมานะ) ความกระด้าง (ถัมภะ) ความถือตัวว่าเลวยิ่ง (อตินิปาตะ) ในทางดีคือตรง กันข้าม ตรัสว่า ภิกษุไม่ละธรรม ๖ อย่าง ไม่ควรท�ำให้แจ้งธรรมอันยิ่งของมนุษย์ คือความ หลงลืมสติ ความไมม่ ีสมั ปชญั ญะ (ความรตู้ วั ) ความไม่สำ� รวมอนิ ทรยี ์ (มีตาเปน็ ตน้ ) ความไมร่ ู้ ประมาณในโภชนะ พูดปด พูดเลยี บเคยี งหาลาภ ในทางดคี อื ตรงกันขา้ ม ตรัสว่า ภิกษุผู้ตั้งความเพียรเพื่อบรรลุความส้ินไปแห่งอาสวะ ประกอบด้วยธรรม ๖ อย่าง เปน็ ผมู้ ากไปด้วยความสขุ กายสขุ ใจในปจั จุบนั คอื ยินดใี นธรรม ยนิ ดีในการทำ� ความดใี ห้ เกิดข้ึน (ภาวนา) ยินดีในการละความช่ัว ยินดีในความสงัด ยินดีในความไม่พยาบาท ยินดีใน ธรรมท่ไี ม่ทำ� ให้เนนิ่ ชา้ ๑๒ ความขาดทุน เสมอตัว ไดก้ ำ� ไร อรรถกถาแก้ว่า ความถือตวั วา่ สงู กว่าเขา PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 829 5/4/18 2:25 PM
830 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรสั วา่ ภกิ ษปุ ระกอบดว้ ยธรรม ๖ อยา่ ง ไมค่ วรบรรลกุ ศุ ลธรรมทย่ี งั มไิ ดบ้ รรลุ ไมค่ วร ทำ� กศุ ลธรรมทบ่ี รรลแุ ลว้ ใหเ้ จรญิ คอื ไมฉ่ ลาดในความเจรญิ ไมฉ่ ลาดในความเสอ่ื ม ไมฉ่ ลาดใน อบุ าย ไมป่ ลกู ความพอใจเพอื่ บรรลกุ ศุ ลธรรมทย่ี งั มไิ ดบ้ รรลุ ไมร่ กั ษากศุ ลธรรมทบี่ รรลแุ ลว้ ไม่ ดำ� เนินการดว้ ยการกระทำ� อันตดิ ต่อ ฝ่ายดคี อื ทตี่ รงกนั ข้าม ตรัสวา่ ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ อย่างจะบรรลคุ วามย่งิ ใหญไ่ พบูลในธรรมทงั้ หลาย ไมน่ าน คอื มากด้วยแสงสว่าง (คอื ความรู้ถงึ ญาณ) มากด้วยความเพยี ร (โยคะ) มากดว้ ยความ รสู้ กึ (เวทะ อรรถกถาแกว้ า่ ปตี ปิ ราโมทย)์ มากดว้ ยความไมส่ นั โดษ (ในกศุ ลกรรม)๑ ไม่ทอดธรุ ะใน กุศลธรรม ท�ำความเพียรยงิ่ ๆ ข้นึ ไป ทรงแสดงถงึ ผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ อยา่ ง จะตกนรกเหมือนน�ำไปวางไว้ และตรงกัน ข้ามจึงขึน้ สวรรคเ์ หมือนน�ำไปวางไว้ คือฆา่ สตั ว์ ลักทรพั ย์ ประพฤติผดิ ในกาม พูดปด มีความ ปรารถนาลามก มีความเห็นผิด อีกนัยหน่ึง คือพูดปด พูดส่อเสียด พูดค�ำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ โลภ คะนอง ตรสั วา่ ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ อยา่ ง ไมค่ วรทำ� ให้เแจ้งความเปน็ พระอรหันต์ อัน เป็นธรรมที่เลิศ คือไม่มีศรัทธา ไม่มีความละอาย ไม่มีความเกรงกลัวต่อบาป เกียจคร้าน๒ มปี ัญญาทราม ห่วงใยในกายในชวี ติ ฝ่ายดีคอื ทตี่ รงกันข้าม ตรัสว่า ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ อย่าง หวังความเสื่อมในกุศลธรรมได้ ไม่มีความ เจริญในอนาคต คือปรารถนามาก ทุกข์ร้อน (เพราะความปรารถนามากนั้น) ไม่สันโดษด้วย ปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ ไม่มีศรัทธา ทุศีล เกียจคร้าน หลงลืมสติ มีปัญญาทราม ฝ่ายดี คือทตี่ รงกันข้าม วรรคที่ ๔ ช่ือสีติวรรค วา่ ด้วยความเย็น ๔. ตรัสว่า ภิกษุประกอบดว้ ยธรรม ๖ อยา่ ง ไม่ควรทำ� ใหแ้ จง้ ความเห็นอันยอดเยย่ี ม คือไม่ข่มจิต ไม่ประคองจิต ไม่ปลอบจิต ไม่เพ่งจิตในสมัยที่ควรท�ำเช่นนั้น น้อมไปในธรรม อนั เลว ยินดใี นกายของตน ฝ่ายดคี อื ทตี่ รงกันข้าม ตรัสว่า ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ อย่าง แม้ฟังธรรม ก็ไม่ควรเพ่ือจะก้าวลงสู่ ท�ำนองธรรมอันถูกต้องในกุศลธรรม คือประกอบด้วยเคร่ืองปิดก้ันคือกรรม (ท�ำกรรมที่เป็น ๑ คิดก้าวหนา้ ในความดอี ยเู่ สมอ ไม่พอใจอยเู่ พยี งเทา่ ท่ีมอี ยู่ ฉบับไทยไม่มีข้อนี้ ฉบบั พม่าและยโุ รปมี ๒ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 830 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต 831 อนันตริยกรรม)๑ ประกอบด้วยเคร่ืองปิดกั้นคือกิเลส (มีความเห็นผิดอย่างแรง) ประกอบด้วย ัอง ุคตตร ินกาย เครื่องปิดกั้นคือวิบาก (ผลแห่งกรรมส่งให้ไปเกิดในที่ไม่สมควร) ไม่มีศรัทธา ไม่มีฉันทะ (ความพอใจ) มีปัญญาทราม อีกนัยหน่ึง ท�ำอนันตริยกรรม ๕ กับมีปัญญาทราม อีกนัยหน่ึง ไม่ฟงั ธรรม ไม่ตั้งโสต ส่งใจไปทอ่ี ื่น ถือเอาแตส่ ิง่ ไม่เปน็ ประโยชน์ ทอดทง้ิ ส่งิ ท่เี ปน็ ประโยชน์ ประกอบดว้ ยความพอใจทีไ่ มส่ มควร ฝ่ายดีคือทต่ี รงกันขา้ ม ตรัสว่า ละธรรม ๖ อย่างไม่ได้ ไม่ควรท�ำให้แจ้งซึ่งความสมบูรณ์ด้วยทิฏฐิ คือความ เหน็ เป็นเหตุยดึ กายของตน ความลังเลสงสัย การลูบคลำ� ศลี และพรต (ติดลทั ธพิ ธิ หี รอื โชคลาง) ราคะ โทสะ โมหะ ทท่ี �ำใหไ้ ปสูอ่ บาย ฝา่ ยดีคอื ที่ตรงกนั ขา้ ม ตรสั วา่ ผสู้ มบรู ณด์ ว้ ยทฏิ ฐิ ละธรรม ๖ อยา่ งทก่ี ลา่ วมานไี้ ด้ และไมค่ วรทำ� ธรรม ๖ อยา่ ง เหล่านี้ใหเ้ กิดขึ้น ตรสั แสดงอภพั พฐาน (ฐานะทไี่ มค่ วรหรอื ทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ด)้ ๖ ประการ คอื ผสู้ มบรู ณด์ ว้ ย ทฏิ ฐิ ยอ่ มไมอ่ ยู่อย่างขาดความเคารพในพระศาสดา พระธรรม พระสงฆ ์ การศกึ ษา ไมค่ วรก้าว ล่วงอคมนยี วตั ถุ (สิ่งทีไ่ ม่ควรถึง อรรถกถาแก้วา่ ทิฏฐิ ๖๒) ไมค่ วรยังภพที่ ๘ ใหเ้ กิดขน้ึ (ไม่เกิด อกี เปน็ ครง้ั ที่ ๘) ตรัสแสดงอภัพพฐาน ๖ ประการ คือ ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฏฐิ ไม่สมควรเห็นว่าสังขาร ใด ๆ เท่ียง เป็นสุข ธรรมใด ๆ เป็นอัตตาตัวตน ไม่ควรท�ำอนันตริยกรรม ไม่ควรถือมงคล ต่ืนข่าว ไม่ควรแสวงหาทักขิเณยยบุคคลนอกพระพุทธศาสนา อีกนัยหน่ึง คือไม่ควรท�ำ อนันตริยกรรม ๕ และถือศาสดาอ่ืน อีกนัยหน่ึง คือไม่ควรเห็นว่าสุข ทุกข์ ตนเองท�ำข้ึน คนอื่นท�ำข้ึน ท้ังตนเองและคนอ่ืนท�ำขึ้น ไม่ใช่ตนเองท�ำขึ้นแต่เกิดข้ึนเอง ไม่ใช่คนอ่ืนท�ำข้ึน แต่เกิดข้ึนเอง ไม่ใช่ท้ังตนเองและคนอื่นท�ำข้ึนแต่เกิดขึ้นเอง ท้ังน้ีเพราะบุคคลผู้สมบูรณ์ด้วย ทฏิ ฐิ เปน็ ผเู้ ห็นดว้ ยดีซ่งึ เหตุ และธรรมอันเกิดขน้ึ แต่เหตุ วรรคท่ี ๕ ช่อื อานิสังสวรรค วา่ ดว้ ยผลดี ๕. ตรัสว่า ความปรากฏข้ึนแห่งส่ิง ๖ สิ่ง หาได้ยากในโลก คือพระพุทธเจ้า ผู้แสดง ธรรมของพระพุทธเจ้า ผู้เกิดในแดนอันประเสริฐ (อริยายตนะ)๒ ความเป็นผู้ไม่มีอินทรีย์วิกล (ตา หู เปน็ ต้น ไมพ่ กิ าร) ไมโ่ ง่เง่า หรอื เปน็ ใบ้ มีความพอใจในกุศลธรรม ๒๑ มีการฆา่ มารดา บิดา เป็นตน้ ซ่ึงถ้าจะถอดความ ก็คือเกิดในท่ีซึ่งมีความเจริญหรือแวดล้อมด้วยเหตุที่จะให้ อรรถกถาแก้ว่า ในมัธยมประเทศ ตั้งอยู่ในศลี ธรรมท่ีดงี าม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 831 5/4/18 2:25 PM
832 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรสั แสดงอานสิ งส์ ๖ ประการ ในการทำ� ใหแ้ จง้ โสดาปตั ตผิ ล คอื เทย่ี งในพระสทั ธรรม มีธรรมะอันไม่เสื่อม เม่อื ท�ำท่สี ุดทกุ ขไ์ ด้ก็ไมม่ ีทกุ ข์ (น่าจะหมายความวา่ ทกุ ขช์ นดิ ไหนละได้แล้ว กจ็ ะไมเ่ กดิ อกี ) ประกอบดว้ ยญาณ (ความร)ู้ อนั ไมท่ วั่ ไป (แกบ่ ถุ ชุ น) เหน็ ดว้ ยดซี ง่ึ เหตแุ ละธรรม อันเกดิ ข้ึนแตเ่ หตุ ตรัสแสดงฐานะท่ีเป็นไปไม่ได้ ๖ อย่าง คือเป็นไปไม่ได้ที่ผู้เห็นว่าสังขารเที่ยง จะ ประกอบด้วยความพอใจอันสมควร จะก้าวลงสู่ท�ำนองคลองธรรมอันถูกต้อง จักท�ำให้แจ้ง โสดาปัตตผิ ลถึงอรหัตตผล (ผล ๔) แลว้ ทรงแสดงวา่ ผเู้ หน็ วา่ สงั ขารเปน็ สขุ เหน็ ธรรมวา่ เปน็ ตวั ตน เหน็ นพิ พานวา่ เปน็ ทกุ ข์ กม็ ีนยั เดยี วกับข้างบนนี้ ฝ่ายดคี อื ท่ีตรงกนั ขา้ ม ตรัสว่า ภิกษุเห็นอานิสงส์ ๖ อย่าง ควรตั้งความก�ำหนดหมายว่าไม่เท่ียงในสังขาร ท้งั ปวงโดยไมก่ ำ� หนดขอบเขต (ว่าส่วนน้ีไมเ่ ทีย่ ง สว่ นอ่ืนเท่ียง) คือสงั ขารทงั้ ปวงจักปรากฏโดย ความเป็นของไม่มีทีต่ ้งั ใจของเราจกั ไม่นอ้ มไปในโลกทงั้ ปวง ใจของเราจกั ออกจากโลกทัง้ ปวง ใจของเราจักน้อมไปสู่พระนิพพาน เราจักละสัญโญชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดหรือผูกมัด) ได้ เราจักประกอบด้วยคุณเคร่ืองเป็นสมณะอันยอดเยี่ยม ตรัสวา่ ภิกษุผ้เู ห็นอานสิ งส์ ๖ อยา่ ง ควรตง้ั ความก�ำหนดหมายว่าเปน็ ทุกข์ ในสงั ขาร ทง้ั ปวงโดยไมก่ ำ� หนดขอบเขต คอื ความกำ� หนดหมายในพระนพิ พานของเราจกั ปรากฏในสงั ขาร ทั้งปวง ใจของเราจักออกจากโลกท้ังปวง เราจักเห็นสันติในพระนิพพาน เราจักถอนกิเลสที่ แฝงตัว (อนสุ ัย) ได้ เราจักช่ือว่าทำ� กจิ ทค่ี วรท�ำ เราจกั ชือ่ วา่ ได้บ�ำเรอพระศาสดา ด้วยการบำ� เรอ อันประกอบดว้ ยเมตตา ตรัสว่า ภิกษุเห็นอานิสงส์ ๖ อย่าง ควรต้ังความก�ำหนดหมายว่าไม่ใช่ตนในธรรม ทงั้ ปวงโดยไม่ก�ำหนดขอบเขต คือเราจักไม่มีตณั หาและทฏิ ฐิ (ความทะยานอยากและความเห็น เปน็ เหตยุ ึดถือ) ในโลกทง้ั ปวง เราจกั ดบั ความถอื ว่าเป็นเรา ความถือวา่ เป็นของเราเสียได้ เราจกั ประกอบดว้ ยญาณอนั ไมส่ าธารณะ เราจักเห็นด้วยดีซงึ่ เหตแุ ละธรรมอันเกดิ แตเ่ หตุ ตรัสว่า ควรละภพ ๓ คอื กามภพ รูปภพ อรูปภพ ควรเจริญสกิ ขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา อธิจติ สกิ ขา อธิปัญญาสิกขา ตรสั วา่ ควรละตณั หา ๓ คอื กามตณั หา ภวตณั หา วภิ วตณั หา ควรละมานะ ๓ คอื มานะ (ความถอื ตวั ) โอมานะ (การดหู มิ่นตัวเอง) อตมิ านะ (การดหู มิ่นผอู้ นื่ หรอื ถอื ตัวว่าสงู กว่าผ้อู ่ืน) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 832 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต 833 วรรคท่ไี มจ่ ดั เข้าในหมวด ๕๐ ัอง ุคตตร ินกาย (หมวดนี้มีข้อความส้ัน ๆ พอจะจัดเป็นวรรคได้ วรรคหนึ่ง เรียกว่าติกวรรค คือ วรรคท่ีว่าด้วยธรรมะจ�ำนวน ๓ แต่เมื่อกล่าวถึงธรรมะจ�ำนวน ๓ ในแต่ละสูตร ๒ จ�ำนวน ดว้ ยกนั จึงเทา่ กับว่า แต่ละสูตร ก็กล่าวถึงธรรมจำ� นวน ๖ นั่นเอง) ตรัสแสดงราคะ โทสะ โมหะ แล้วตรัสว่า ควรเจริญอสุภะ (ความไม่งาม) เพื่อละ ราคะ ควรเจริญเมตตา (ไมตรีจิตคิดจะให้เป็นสุข) เพื่อละโทสะ ควรเจริญปัญญา เพ่ือละ โมหะ ตรัสแสดงทจุ จริต ๓ แล้วตรสั ว่า ควรเจริญสจุ รติ ๓ ตรสั แสดงวติ ก ๓ คือความตรึก ในกาม ในการพยาบาท ในการเบยี ดเบยี น แลว้ ตรสั วา่ ควรเจรญิ ความตรกึ ในการออกจากกาม เพอื่ ละความตรกึ ในกาม ควรเจรญิ ความตรกึ ในการไมพ่ ยาบาท เพอื่ ละความตรกึ ในการพยาบาท ควรเจรญิ ความตรกึ ในการไม่เบียดเบียน เพื่อละความตรกึ ในการเบยี ดเบียน ตรัสแสดงสัญญา (ความก�ำหนดหมาย) ท้ังฝ่ายชั่วฝ่ายดี และธาตุทั้งฝ่ายช่ัวฝ่ายดี เหมือนความตรึกข้างต้น ตรัสแสดงธรรม ๓ อย่าง คือความเห็นเป็นเหตุพอใจ ความเห็นเป็นเหตุยึดตัวตน ความเห็นผิด แล้วตรัสแสดงว่า ควรเจริญธรรมะ ๓ ประการ คือความก�ำหนดหมายว่าไม่เที่ยง ว่า ไมใ่ ชต่ วั ตน ความเหน็ ชอบ วา่ เปน็ คปู่ รบั สำ� หรบั ละธรรมฝา่ ยชว่ั ๓ ขอ้ ตน้ เปน็ คกู่ นั ตามลำ� ดบั ขอ้ ตรัสแสดงธรรมะ ๓ อย่าง คืออรติ (ความริษยา) วิหิงสา (ความเบียดเบียน) อธัมมจรยิ า (การประพฤตอิ ธรรม) แล้วตรสั แสดงว่า ควรเจริญธรรม ๓ อย่าง คอื ความพลอยยินดี ความไมเ่ บียดเบียน การประพฤติธรรม เพือ่ ละธรรมฝ่ายชั่วแตล่ ะข้อโดยลำ� ดบั ตรัสแสดงธรรมะ ๓ อย่าง คือความไม่สันโดษ (ยินดีด้วยของของตน) ความไม่รู้ตัว ความปรารถนามาก แลว้ ตรสั วา่ ควรเจรญิ ธรรมะ ๓ อยา่ ง คอื ความสนั โดษ ความรตู้ วั ความปรารถนานอ้ ย เพอื่ ละธรรมแตล่ ะขอ้ เหลา่ นัน้ ตรสั แสดงธรรมะ ๓ อยา่ ง คอื ความวา่ ยาก การคบคนชวั่ เปน็ มติ ร ความฟงุ้ สรา้ นแหง่ จติ แลว้ ตรสั วา่ ควรเจรญิ ธรรมะ ๓ อยา่ ง คอื ความวา่ งา่ ย การคบคนดเี ปน็ มติ ร การตงั้ สติ กำ� หนดลมหายใจเขา้ ออก เพื่อละธรรม ๓ อยา่ งเหล่านั้น PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 833 5/4/18 2:25 PM
834 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรสั แสดงธรรมะ ๓ อยา่ ง คือความฟุ้งสร้าน ความไมส่ ำ� รวม ความประมาท แลว้ ตรสั แสดงวา่ ควรเจรญิ ธรรมะ ๓ อยา่ ง คอื ความสงบระงบั ความสำ� รวม ความไม่ ประมาท เพอ่ื ละธรรมะ ๓ อย่างเหลา่ นัน้ พระสตู รทีไ่ มจ่ ัดเขา้ ในวรรค ตรัสแสดงธรรม ๖ อย่าง คือ ความยินดีในการงาน ยินดีในการพูดมาก ยินดีใน การนอนหลับ ยินดีในการคลุกคลี ไม่ส�ำรวมอินทรีย์ ไม่รู้ประมาณในโภชนะว่า ถ้าละธรรมะ ๖ อย่างนไ้ี มไ่ ด้ กไ็ ม่ควรเจรญิ สตปิ ัฏฐาน ๔ มสี ติก�ำหนดพิจารณากายในกาย เปน็ ตน้ ตรัสว่า ตปสุ สคฤหบดี (ผ้ถู วายข้าวสัตตกุ อ้ นและสตั ตผุ ง) รวมท้งั คฤหบดอี ื่น ๆ เช่น ภทั ลิกะ สทุ ตั ตะ ผูใ้ ห้กอ้ นขา้ วแกค่ นยาก (อนาถปณิ ฑกิ ะ) เป็นตน้ ประกอบดว้ ยธรรม ๖ อย่าง จึงเป็นผู้ถึงความตกลงใจในพระตถาคต เห็นอมตะ ท�ำให้แจ้งอมตะ คือมีความเลื่อมใสอันไม่ หวนั่ ไหวในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มีศีล มญี าณ มีวมิ ตุ ิ อนั เป็นอรยิ ะ ตรสั วา่ ควรเจรญิ ธรรม ๖ อยา่ ง เพอื่ รยู้ ง่ิ ซงึ่ อปุ กเิ ลส ๑๖ (ดหู นา้ ๕๓๑) มรี าคะ เปน็ ตน้ คืออนุตตริยะ ๖ (ดูหน้า ๘๑๘ วรรคท่ี ๑) อนุสสติ ๖ (ดูหน้า ๘๑๘ วรรคท่ี ๑) สัญญา ๖๑ ตามทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น จบความย่อแห่งพระไตรปฎิ ก เล่ม ๒๒ ๑ อนุตตริยะ ๖ กับอนุสสติ ๖ กล่าวไว้แล้วหลายครั้ง ส่วนสัญญา ๖ ประการ คือความก�ำหนดหมายว่าไม่เท่ียง ความก�ำหนดหมายว่าทุกข์ในสิ่งไม่เที่ยง ความก�ำหนดหมายว่าไม่ใช่ตนในส่ิงที่เป็นทุกข์ ความก�ำหนดหมายถึง การละ ถงึ ความคลายก�ำหนดั ถึงการดบั กิเลส PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 834 5/4/18 2:25 PM
เล่ม ๒๓ อังคตุ ตรนิกาย สตั ตก - อัฏฐก - นวกนบิ าต พระไตรปฎิ กเล่มนี้ ว่าดว้ ยชมุ นมุ ธรรมะ จำ� นวน ๗ - ๘ - ๙ รวมทัง้ เล่ม มพี ระสูตร ประมาณ ๓๐๐ สูตร ต่อไปน้ีจะย่อตามล�ำดับจ�ำนวน คือเร่ิมแต่ชุมนุมธรรมะจ�ำนวน ๗ เป็นต้นไป ขยายความ สัตตกนิบาต ชุมนุมธรรมะทีม่ ี ๗ ขอ้ ในหมวดน้ี แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ส่วนแรกจัดเป็นหมวด ๕๐ ส่วนท่ี ๒ จัดเป็น หมวดนอก ๕๐ ทงั้ หมดดว้ ยกนั มีประมาณ ๘๐ สตู รเศษ ปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ (หมวดนี้มี ๕ วรรค ๆ ละประมาณ ๑๐ สูตร วรรคท่ี ๑ ชื่อธนวรรค ว่าด้วยทรัพย์ วรรคท่ี ๒ ชื่ออนุสยวรรค ว่าด้วยอนุสัย คือกิเลสท่ีแฝงตัวหรือท่ีนอนเน่ืองในสันดาน วรรคท่ี ๓ ชือ่ วัชชวี รรค ว่าด้วยเหตกุ ารณใ์ นแควน้ วัชชี วรรคท่ี ๔ ชอ่ื เทวตาวรรค ว่าด้วยเทวดา วรรคท่ี ๕ ช่อื มหายญั ญวรรค วา่ ดว้ ยการบูชายัญใหญ)่ วรรคที่ ๑ ชอ่ื ธนวรรค วา่ ดว้ ยทรพั ย์ ๑. ตรสั ว่า ภกิ ษปุ ระกอบด้วยธรรม ๗ อย่าง ยอ่ มไม่เปน็ ทีร่ ัก ไมเ่ ป็นทีพ่ อใจ ไมเ่ ป็น ที่เคารพและยกย่องของเพ่ือนพรหมจารี คือใคร่จะได้ลาภ ใคร่จะได้สักการะ ใคร่จะไม่ให้ใคร ดูหมิ่น ไม่ละอาย ไม่เกรงกลัวต่อบาป ปรารถนาลามก เห็นผิด อีกนัยหน่ึง คือเปล่ียนเฉพาะ ขอ้ ๖ ๗ คือรษิ ยา ตระหนี่ ฝา่ ยดคี ือที่ตรงกนั ขา้ ม ตรสั แสดงกำ� ลงั ๗ อยา่ ง คอื ความเชอ่ื ความเพยี ร ความละอาย ความเกรงกลวั ตอ่ บาป ความระลึกได้ ความตง้ั ใจม่นั ปัญญา ตรัสแสดงทรัพย์ ๗ อย่าง คือความเช่ือ ศีล ความละอาย ความเกรงกลัวต่อบาป การสดับตรบั ฟงั การสละ ปญั ญา ตรัสกะราชมหาอ�ำมาตย์ชื่ออุคคะ ว่า ทรัพย์ (ทางโลก) เป็นของสาธารณ์แก่ไฟ แกน่ ้�ำ เป็นตน้ ส่วนทรพั ย์ ๗ อยา่ งขา้ งตน้ ไมเ่ ป็นของสาธารณ์แกไ่ ฟ แก่นำ�้ เป็นต้น ตรสั แสดงสญั โญชน์ (กเิ ลสเครอ่ื งรอ้ ยรดั หรอื ผกู มดั ) ๗ อยา่ ง คอื อนนุ ยะ (ความพอใจ ในกาม) ปฏิฆะ (ความขัดใจ) ทฏิ ฐิ (ความเหน็ ) วิจกิ จิ ฉา (ความสงสัย) มานะ (ความถือตวั ) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 835 5/4/18 2:25 PM
836 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ภวราคะ (ความก�ำหนัดยินดีหรือความติดในภพ คือความมีความเป็น) อวิชชา (ความไม่รู้ อรยิ สจั จ์ ๔) ตรัสแสดงว่า พรหมจรรย์ อันบุคคลประพฤติเพ่ือละสัญโญชน์ ๗ และตรัสแสดง สัญโญชน์ ๗ อกี นัยหนึ่ง ต่างเฉพาะข้อ ๖ - ๗ ความรษิ ยา ความตระหนี่ วรรคที่ ๒ ชอ่ื อนุสยวรรค ว่าดว้ ยอนสุ ยั คอื กิเลสที่แฝงตัว หรอื ทีน่ อนเนือ่ งในสนั ดาน ๒. ตรัสแสดงอนุสัย (กิเลสที่แฝงตัว หรือที่นอนเน่ืองในสันดาน) ๗ ประการ อย่าง เดียวกับสัญโญชน์ ๗ มีความพอใจในกาม (กามราคะ) เป็นข้อแรก มีอวิชชาเป็นข้อสุดท้าย แล้วตรสั แสดงว่า พรหมจรรย์อนั บุคคลประพฤติเพือ่ ละอนุสัย ๗ ตรัสแสดงว่า ตระกลู ทปี่ ระกอบดว้ ยองค์ ๗ ไมค่ วรเข้าไป เข้าไปแล้วไม่ควรน่งั คอื ไม่ ต้อนรับ ไม่อภิวาท ไม่ให้อาสนะด้วยอาการที่น่าพอใจ ปกปิดของท่ีมีอยู่ ให้น้อยในของมาก ใหข้ องเศรา้ หมองในประณีต ให้โดยไมเ่ คารพ ฝา่ ยดคี อื ท่ตี รงกนั ข้าม ตรัสแสดงบุคคล ๗ ประเภทที่ควรของค�ำนับ เป็นนาบุญอันยอดเย่ียมของโลก คือ อภุ โตภาควมิ ตุ (ผู้พ้นโดยสว่ นทัง้ สอง) เป็นตน้ (โปรดดหู นา้ ๖๒๒ ข้อ ๔ (๑)) ตรสั แสดงบคุ คลเปรียบดว้ ยน้ำ� ๗ ประเภท คือ (๑) จมลงไปคร้ังเดียวก็จมลงไปเลย ได้แก่บุคคลผู้ประกอบด้วยอกุศลธรรม ฝา่ ยด�ำลว้ น (๒) โผลข่ น้ึ แลว้ จม ไดแ้ ก่บคุ คลผ้มู คี ุณธรรม แตค่ ณุ ธรรมเสอื่ มไป (๓) โผล่ขนึ้ แลว้ ลอยอยูไ่ ด้ ไดแ้ ก่ผู้มีคณุ ธรรมไมเ่ สอื่ ม (๔) โผล่ขึน้ แลว้ เห็นแจ่มแจ้ง เหลียวดู ได้แกพ่ ระโสดาบนั (๕) โผล่ข้นึ แลว้ วา่ ยเข้าหาฝ่งั ได้แก่พระสกทาคามี (๖) โผล่ขน้ึ แลว้ ไปถึงทีต่ ้ืน ไดแ้ ก่พระอนาคามี (๗) โผล่ขึ้นแล้ว ข้ามฝั่งได้ ยืนอยู่บนบก ได้แก่พระอรหันต์ (ผู้ท�ำให้แจ้ง เจโตวิมตุ ิ ปัญญาวมิ ตุ ิ อันไมม่ อี าสวะ) ตรัสแสดงบุคคล ๗ ประเภทว่า ควรแก่ของค�ำนับ เป็นเน้ือนาบุญอันยอดเย่ียม ของโลก คอื (๑) ผู้เหน็ ว่าไมเ่ ทยี่ งในสังขารทั้งปวง ทำ� ใหแ้ จง้ วิมตุ ทิ ง้ั สองอันไม่มอี าสวะ (๒) ผู้เห็นวา่ ไมเ่ ทยี่ งในสังขารท้ังปวง สนิ้ อาสวะและสิ้นชีวติ พรอ้ มกนั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 836 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๓ อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต 837 (๓) ผเู้ หน็ ว่าไมเ่ ท่ยี งในสงั ขารทง้ั ปวง เป็นพระอนาคามี อันตราปรินพิ พายี ัอง ุคตตร ินกาย (๔) อปุ หัจจปรนิ พิ พาย๑ี (๕) อสงั ขารปรนิ ิพพายี (๖) สสังขารปรินิพพายี (๗) อุทธังโสโต อกนฏิ ฐคามี (ดคู �ำอธิบายในหน้า ๗๔๖) ตรสั แสดงบคุ คล ๗ ประเภทวา่ ควรแกข่ องคำ� นบั เปน็ เนอ้ื นาบญุ อนั ยอดเยยี่ มของโลก อยา่ งเดียวกบั ข้างต้น ต่างแต่กำ� หนดวา่ เปน็ ผู้เหน็ ว่าเปน็ ทุกขใ์ นสงั ขารทง้ั ปวง เห็นวา่ ไมใ่ ช่ตนใน ธรรมท้งั ปวง เหน็ วา่ สุขในพระนพิ พาน ส่วนล�ำดบั ขอ้ ๔ ถึงข้อ ๗ ซ�้ำกัน ตรัสแสดงนิททสวัตถุ (คือท่ีต้ังแห่งการท่ีจะไม่มีอายุ ๑๐ ปีต่อไปอีก โดยอธิบายว่า จะไม่เกดิ อีก) ๗ ประการ คือภิกษุเปน็ ผู้มีฉันทะ (ความพอใจ) แรงกลา้ ในการสมาทานสิกขาบท และมคี วามรกั อนั ยงิ่ ในการสมาทานสกิ ขาบทตอ่ ไป ในการพจิ ารณาธรรม ในการนำ� ความปรารถนา ออก ในการหลีกเร้น ในการปรารภความเพียร ในสติและปัญญาเป็นเคร่ืองรักษาตน ในการ แทงทะลุความเห็น (ตรัสรู้ด้วยมรรค) และมคี วามรักอนั ย่งิ ในการนน้ั ๆ (๕ ขอ้ หลัง) ต่อไป วรรคท่ี ๓ ชื่อวชั ชวี รรค ว่าด้วยเหตุการณใ์ นแคว้นวัชชี ๓. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ สารันททเจดีย์ ใกล้กรุงเวสาลี ตรัสแสดงอปริหา นยิ ธรรม (ธรรมไม่เป็นที่ตง้ั แห่งความเสอื่ ม) ๗ อยา่ งแกเ่ จา้ ลิจฉวี คอื ชาววชั ชี (๑) จักประชมุ กันเนืองนิตย์ (๒) จกั พร้อมเพรยี งกันประชมุ เลกิ ประชุม และกระท�ำกิจท่ีควรทำ� (๓) จักไม่บัญญัติสิ่งที่ยังมิได้บัญญัติ จักไม่ตัดรอนสิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว ยอมรับ ศกึ ษาในธรรมะของชาววัชชตี ามท่บี ัญญัตไิ วแ้ ลว้ (๔) จักเคารพนบั ถอื ชาววัชชที เ่ี ป็นผ้ใู หญ่ ผู้เฒ่า (๕) จักไม่ข่มเหงลว่ งเกนิ สตรที ม่ี สี ามแี ล้ว และสตรสี าว (๖) จักสกั การะเคารพเจดยี ข์ องชาววชั ชี (๗) จกั จดั แจงใหก้ ารอารกั ขาคมุ้ ครองอนั เปน็ ธรรมในพระอรหนั ต์ และปรารภให้ พระอรหนั ต์ทยี่ งั ไมม่ าไดม้ า ทม่ี าแลว้ ขอให้อยู่เปน็ สขุ ๑ ขอ้ (๔) (๕) (๖) (๗) ทา่ นละขอ้ ความ ”ผเู้ หน็ วา่ ไมเ่ ทย่ี งในสงั ขารทง้ั ปวง เปน็ พระอนาคาม„ี ไวใ้ นฐานเปน็ ทเี่ ขา้ ใจ - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 837 5/4/18 2:25 PM
838 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรัสแสดงอปริหานิยธรรมของชาววัชชี ๗ ข้อนี้ แก่วัสสการพราหมณ์ มหาอ�ำมาตย์ ของแควน้ มคธ ตรสั แสดงอปรหิ านยิ ธรรม (ธรรมเปน็ ทตี่ ง้ั แหง่ ความไมเ่ สอื่ ม) ของภกิ ษุ ๗ ประการ คอื (๑) จักประชมุ กันเนืองนติ ย์ (๒) จักพร้อมเพรียงกนั ประชมุ เป็นตน้ (๓) จกั ไมบ่ ัญญตั สิ ิ่งทมี่ ิได้บัญญัติ เป็นต้น (๔) จกั เคารพนบั ถือภกิ ษุที่เป็นผู้ใหญ่ ผู้เฒ่า (๕) จกั ไม่ลุอำ� นาจแก่ความอยากท่ีเกิดขึน้ (๖) จกั ยนิ ดีในเสนาสนะปา่ (๗) จักตง้ั ความปรารถนาดีในภิกษุผมู้ ศี ีลเป็นทร่ี กั ใหม้ า ทม่ี าแล้วใหอ้ ย่เู ป็นสุข แล้วทรงแสดงอปริหานิยธรรมของภิกษุโดยนัยอื่นอีกหลายนัย ตลอดจนได้ตรัสถึง ธรรมที่เปน็ ไปเพือ่ ความเสอ่ื มของภกิ ษุผู้เปน็ เสขะ คล้ายกับธรรมในหมวด ๖ กับตรสั ถงึ ธรรมะ ๗ อย่างท่ีเป็นไปเพื่อความเสื่อม ความวิบัติของอุบาสก คือไม่ค่อยได้เห็นภิกษุ ประมาทการ ฟังธรรม ไม่ศึกษาในอธิศีล มากไปด้วยความไม่เล่ือมใสในภิกษุท่ีเป็นเถระ บวชใหม่ ปูนกลาง ฟงั ธรรมดว้ ยจติ คดิ จบั ผดิ แสวงหาทกั ขเิ ณยยบคุ คลนอกพระพทุ ธศาสนา ทำ� การอนั ควรทำ� กอ่ น ใหท้ กั ขเิ ณยยบุคคลนอกพระพุทธศาสนาน้นั ฝ่ายดที รงแสดงโดยนัยตรงกันขา้ ม วรรคท่ี ๔ ชือ่ เทวตาวรรค ว่าด้วยเทวดา ๔. ตรัสแสดงคารวะ (ความเคารพ) ๗ อย่าง ตามท่เี ทวดามากราบทลู ว่า เปน็ ไปเพ่ือ ความไม่เส่ือมแห่งภิกษุ คือความเคารพในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในการศึกษา ในสมาธิ ในความไม่ประมาท ในการต้อนรบั แล้วตรสั แสดงถงึ ธรรม ๗ ประการ ท่เี ป็นไปเพ่ือความไมเ่ สอื่ มของภกิ ษุ คือ ๕ ข้อแรก พอ้ งกนั กบั คารวะทแี่ สดงมาแลว้ เปลยี่ นแตข่ อ้ ๖ - ๗ คอื เคารพในความละอาย ในความเกรงกลวั ตอ่ บาป อกี นยั หนงึ่ เปลยี่ นเฉพาะขอ้ ๖ - ๗ อกี คอื วา่ งา่ ย คบคนดเี ปน็ มติ ร พระสารบิ ตุ รกราบทลู ขยายความตามความเข้าใจของท่าน (เช่นเดยี วกบั ขอ้ ความหนา้ ๘๒๘) ตรัสประทานสาธุการ ตรัสว่า มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ควรคบ คือให้ส่ิงท่ีให้ยาก ท�ำส่ิงท่ีท�ำยาก อดทน ส่ิงท่ีทนยาก เปิดเผยความลับแก่เพ่ือน ปกปิดความลับของเพ่ือน ไม่ละทิ้งในยามมีอันตราย ไมด่ ูหม่ินเพ่อื นเพราะส้นิ ทรัพย์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 838 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๓ อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต 839 ตรัสว่า ภิกษปุ ระกอบดว้ ยองค์ ๗ ควรคบเปน็ มิตร แมจ้ ะถกู กีดกนั (ให้ออกห่าง) คอื ัอง ุคตตร ินกาย เปน็ ที่รักเปน็ ทพี่ อใจ เป็นทเ่ี คารพ เป็นทสี่ รรเสริญ เปน็ ผูว้ า่ กล่าว เปน็ ผู้อดทนต่อถอ้ ยค�ำ เป็นผู้ กลา่ วถอ้ ยค�ำอันลกึ ซึ้ง (ในทางธรรม) ไมช่ ักชวนในฐานะอนั ไมส่ มควร๑ ตรสั วา่ ภกิ ษปุ ระกอบดว้ ยธรรม ๗ อยา่ ง จะทำ� ใหแ้ จง้ ปฏสิ มั ภทิ า (ความแตกฉาน) โดย กาลไม่นาน คือ (๑) - (๓) รู้ตามความจริงว่าจติ ท้อแท้ หดหู่ ฟงุ้ สร้าน (๔) - (๖) เวทนา สัญญา ความตรกึ ของเธอ เกดิ ขนึ้ ตงั้ อยู่ ดบั ไป อนั เธอรแู้ จง้ แลว้ (๗) เธอถอื เอาดว้ ยดี ใสใ่ จดว้ ยดี ทรง จ�ำดี ใช้ปัญญาแทงทะลุด้วยดีซึ่งนิมิตในธรรมอันเป็นท่ีสบาย และไม่เป็นท่ีสบาย ดีเลว ด�ำขาว และมีสว่ นเปรยี บ ตรัสสรรเสรญิ พระสาริบุตรว่ามคี ุณธรรมข้างบนท้งั เจด็ ข้อ ตรสั วา่ ภกิ ษุประกอบดว้ ย องค์ ๗ ย่อมท�ำจิตไว้ในอ�ำนาจได้ ไม่เป็นไปตามอ�ำนาจของจิต คือฉลาดในสมาธิ ในการเข้า ในการตงั้ อยู่ ในการออก ในความสมควรแกก่ าล ในโคจร (อารมณ์) และในอภินหิ ารของสมาธิ ตรัสสรรเสรญิ พระสารบิ ตุ รวา่ มคี ณุ ธรรมข้างบนทง้ั ๗ ข้อ นักบวชศาสนาอื่นสนทนากันว่า ผู้ประพฤติพรหมจรรย์บริสุทธ์ิบริบูรณ์ตลอด ๑๒ ปี ย่อมเป็นผู้ควรแก่ถ้อยค�ำว่าภิกษุ ”ผู้ไม่มีสิบ„ (ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดมาให้ถูกนับอายุอีก อรรถกถา) พระสาริบุตรน�ำความมากราบทูล พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ภิกษุท่ีจะชื่อว่านิททสะ (ผู้ไม่มีสิบ) ในพระธรรมวินัยนี้ มิใช่ด้วยการนับพรรษา (แต่ด้วยคุณธรรม) แล้วตรัสแสดง นทิ ทสวัตถุ ๗ ประการ (ดังที่ตรัสไวแ้ ล้วในวรรคท่ี ๒ ในหน้า ๘๓๗) ตรสั แสดงนิททสวัตถอุ กี ๗ ประการ แกพ่ ระอานนทผ์ ู้ไดฟ้ ังนักบวชศาสนาอื่น พดู กัน ทำ� นองเดยี วกบั พระสารบิ ตุ ร เปน็ แตเ่ ปลยี่ นแสดงคณุ ธรรม คอื มศี รทั ธา มคี วามละอาย มคี วาม เกรงกลวั ต่อบาป มกี ารสดับมาก ปรารภความเพยี ร มีสติ มปี ัญญา วรรคท่ี ๕ ชือ่ มหายัญญวรรค ว่าดว้ ยการบชู ายัญใหญ่ ๕. ตรัสแสดงท่ีต้งั แหง่ วิญญาณ (วิญญาณฐติ ิ) ๗ อยา่ ง คือ (๑) สัตว์เหล่าหน่ึงมีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่มนุษย์ เทพบางจ�ำพวก เปรตบางจ�ำพวก (๒) สัตว์เหล่าหนึ่งมีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน ได้แก่เทพพวกพรหม ท่เี กิดด้วยปฐมฌาน ๑ ในภาษาบาลี มี ”จ„ ศัพท์ ถึง ๘ แห่ง แสดงว่าแบ่งออกเป็น ๘ ข้อ แต่ข้อความข้างต้นบังคับให้มี ๗ ข้อ จึงได้ รวมคำ� วา่ เป็นท่รี ัก เปน็ ทพี่ อใจเขา้ ด้วยกนั เป็นขอ้ เดยี วกนั (”จ„ แปลว่า และ เปน็ ศัพท์ที่ใช้แยกขอ้ ความ - ม.พ.ป.) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 839 5/4/18 2:25 PM
840 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๓) สัตว์เหล่าหนึ่งมีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาต่างกัน ได้แก่เทพพวกอาภัสสร พรหม (๔) สัตว์เหล่าหนึ่งมีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน ได้แก่เทพพวก สุภกณิ หพรหม (๕) สัตวเ์ หลา่ หนงึ่ เข้าถึงอากาสานญั จายตนะ (๖) สัตวเ์ หลา่ หนึ่งเขา้ ถึงวิญญาณัญจายตนะ (๗) สตั ว์เหลา่ หน่ึงเขา้ ถึงอากญิ จัญญายตนะ๑ ตรัสแสดงธรรมท่ีเป็นบริขาร (เครื่องประกอบ) ของสมาธิ ๗ อย่าง มีความเห็นชอบ เป็นต้น มคี วามระลึกชอบเป็นทส่ี ดุ ตรัสแสดงไฟ ๗ อย่าง คือ ราคะ โทสะ โมหะ ผู้ควรของค�ำนับ คฤหบดี (บุคคลใน ครอบครัว) ผ้คู วรทักขณิ า (ของถวาย) และไฟอันเกดิ จากไม้ ตรัสสอนอุคคตสรรี พราหมณ์ ผเู้ ตรยี มบชู ายัญ น�ำสัตวต์ ่าง ๆ อย่างละ ๕๐๐ ผูกกับ เสาเตรยี มเพอื่ จะฆา่ โดยทรงชวี้ า่ การบชู ายญั แบบนไ้ี ดส้ งิ่ ทมี่ ใิ ชบ่ ญุ เพราะเปน็ การยกศสั ตราขนึ้ ทางกาย วาจา และใจ แล้วตรัสว่า ควรละไฟ ๓ อย่าง ไม่ควรเสพ คือราคะ โทสะ โมหะ และควรสักการะ เคารพไฟ ๓ อย่าง คือ อาหุเนยยัคคิ (ไฟคือผู้ควรของค�ำนับ) ได้แก่มารดาบิดา คหปตัคคิ (ไฟคือคฤหบดี) ได้แก่บุตร ภริยา ทาส คนใช้ ทักขิเณยยัคคิ (ไฟคือผู้ควรแก่ทักขิณา) ได้แก่สมณพราหมณ์ ผู้เว้นจากความประมาท ตั้งอยู่ในขันติ (ความอดทน) โสรัจจะ (ความสงบเสง่ยี ม) ฝกึ ตน ทำ� ตนให้สม�่ำเสมอ ทำ� ตนให้ปรนิ ิพพาน สว่ นไฟทเี่ กดิ จากไม้ ควรกอ่ ใหต้ ดิ ควรวางเฉย ควรดบั ควรเกบ็ ไวต้ ามกาลอนั สมควร พราหมณ์ก็เล่อื มใส แสดงตนเปน็ อุบาสก ปล่อยสัตว์เหลา่ น้นั ไป ตรัสแสดงสญั ญา (ความก�ำหนดหมาย) ๗ ประการ ว่ามีอมตะเป็นท่สี ุด คือ อสภุ สญั ญา (ความกำ� หนดหมายวา่ ไมง่ าม) มรณสญั ญา (ความก�ำหนดหมายในความตาย) อาหาเร ปฏกิ ลู สัญญา (ความกำ� หนดหมายวา่ นา่ เกลยี ดในอาหาร) สพั พโลเก อนภิรตสัญญา (ความกำ� หนดหมายว่าไม่น่ายนิ ดีในโลกทัง้ ปวง) ๑ ดใู นหนา้ ๔๕๓ (ทต่ี ง้ั แหง่ วญิ ญาณ ๗ อยา่ ง) ประกอบดว้ ย ในทนี่ น้ั มเี พม่ิ ขอ้ ๒ วา่ ไดแ้ กส่ ตั วท์ ม่ี อี ยใู่ นอบาย ๔ ดว้ ย และดูคำ� อธิบายศพั ทใ์ นหนา้ ๑๙๓ - ๑๙๕ ข้อ (๗) (๘) (๙) (๑๐) ประกอบด้วย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 840 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๓ อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต 841 อนจิ จสัญญา (ความกำ� หนดหมายวา่ ไมเ่ ท่ียง) ัอง ุคตตร ินกาย อนิจเจ ทกุ ขสัญญา (ความกำ� หนดหมายว่าเปน็ ทุกข์ในสิ่งท่ีไม่เที่ยง) ทกุ เข อนัตตสัญญา (ความกำ� หนดหมายว่าไมใ่ ชต่ นในสิง่ ท่เี ปน็ ทุกข)์ ครั้นแล้วตรัสอธบิ ายรายละเอียดในเรือ่ งนี้ ตรัสกะชาณุสโสณิพราหมณ์ถึงเมถุนสัญโญค (ความเกี่ยวข้องกับธรรมะของคนคู่) ๗ ประการ คือ สมณะกด็ ี พราหมณ์กด็ ี บางคนปฏญิ ญาตนวา่ เป็นพรหมจารจี รงิ ๆ หาได้เสพ เมถุนกับมาตุคามไม่ แต่ยังยินดี ปล้ืมใจ ชื่นใจด้วยเมถุนสัญโญค คือความเก่ียวข้องกับเมถุน ๗ อย่าง คอื (๑) ยินดีในการลูบไล้ การประคบ การให้อาบน�ำ้ การนวดแหง่ มาตคุ าม ปลืม้ ใจ ดว้ ยการบำ� เรอนนั้ (๒) ไมถ่ งึ อยา่ งนนั้ แตซ่ กิ ซเ้ี ลน่ หวั สพั ยอกกบั มาตคุ าม ปลมื้ ใจดว้ ยการเสสรวลนน้ั (๓) ไม่ถึงอย่างนั้น แต่เพ่งจ้องดูจักษุของมาตุคามด้วยจักษุของตน ปล้ืมใจด้วย การเล็งแลน้นั (๔) ไม่ถึงอย่างน้ัน แต่ฟังเสียงแห่งมาตุคามหัวเราะหรือพูดกับขับร้อง เป็นต้น ปลม้ื ใจด้วยเสยี งนั้น (๕) ไมถ่ งึ อยา่ งนน้ั แต่นึกย้อนไปถงึ เร่ืองเกา่ ทไ่ี ดเ้ คยหวั เราะพูดเล่นกบั มาตุคาม แลว้ ปล้มื ใจ (๖) ไมถ่ งึ อยา่ งนน้ั แตเ่ หน็ คฤหบดหี รอื บตุ รแหง่ คฤหบดี ผเู้ อบิ อม่ิ พรงั่ พรอ้ มดว้ ย กามคณุ ๕ แลว้ ปลืม้ ใจ (๗) ไม่ถึงอย่างนั้น แต่ประพฤติพรหมจรรย์ ต้ังความปรารถนาเพื่อจะได้เป็น เทพเจา้ หรอื เทพองค์ใดองคห์ น่งึ แล้วปลม้ื ใจ พรหมจรรยข์ องผู้นนั้ ชื่อวา่ ขาด ทะลุ ด่าง พร้อย ผนู้ ้ันประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสทุ ธ์ิ ไมพ่ น้ ไปจากทุกข์ได้ ตรสั แสดงธรรมปรยิ ายทช่ี อื่ วา่ สญั โญควสิ ญั โญค (ความผกู พนั และความคลค่ี ลาย) คอื สตรีพอใจภาวะต่าง ๆ ของสตรีและบุรุษ ย่อมไม่ก้าวล่วงความเป็นสตรีได้ บุรุษพอใจภาวะ ตา่ ง ๆ ของบรุ ษุ และสตรี (พอใจในภาวะของตน ตดิ อกตดิ ใจในเพศตรงกนั ขา้ ม) ยอ่ มไมก่ า้ วลว่ ง ความเป็นบรุ ุษได้ ตอ่ ตรงกันข้ามคอื ไมพ่ อใจ จงึ ก้าวลว่ งภาวะทง้ั สองได๑้ ๑ ธรรมะเรื่องน้ี มเี นื้อความไม่พาดพงิ ถึงเรอื่ งราว ๗ ข้อ แตพ่ ยญั ชนะพาดพงิ ถึง โดยแจกภาวะต่าง ๆ ของหญงิ ชาย ออกไปฝ่ายละ ๗ คือ อนิ ทรีย์ กริ ยิ า อาการ ประเภท ความพอใจ เสียง เคร่ืองประดบั ของสตรหี รือของบรุ ุษ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 841 5/4/18 2:25 PM
842 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ตรัสตอบพระสาริบุตรถึงเหตุที่ทานของบางคนมีผลมาก แต่ไม่มีอานิสงส์มาก สว่ นของบางคนมที งั้ ผลมาก ท้งั อานสิ งสม์ าก โดยตรสั ชี้ไปทก่ี ารใหท้ านด้วยมีความเพ่งเลง็ มีจิต ปฏิพัทธ์ มุ่งสะสม คิดว่าตายแล้วจักบริโภค (ผลของทานน้ัน) หรือตรงกันข้าม คือไม่คิด เชน่ นั้นว่าเปน็ ตน้ เหตุตามท่ถี าม อุบาสกิ าชอื่ เวฬุกณั ฏกี ผเู้ ปน็ มารดาของนนั ทมาณพ กราบเรียนพระสาริบตุ รถึงเรือ่ งนา่ อัศจรรย์ ๗ ประการ คือ (๑) นางสนทนากบั ท้าวเวสสวณั (๒) พระราชาขม่ เหงฆา่ บตุ รของนางตาย แตน่ างไมม่ ีจติ ผดิ ปกติ (๓) สามตี ายไปเกดิ ในกำ� เนดิ ยกั ษม์ าแสดงตนดว้ ยอตั ตภาพเดมิ นางไมม่ จี ติ ผดิ ปกติ (๔) สามี (เมื่อมีชีวิตอยู่) ยังหนุ่ม น�ำหญิงสาวมา (เป็นภริยาน้อย) นางไม่มีจิต ผิดปกติ (๕) ต้งั แต่ปฏญิ ญาตนเป็นอบุ าสกิ า ไม่เคยมจี ิตคดิ ล่วงสกิ ขาบท (๖) เข้าฌานท่ี ๑ ถึงฌานท่ี ๔ ไดต้ ามปรารถนา (๗) ละสัญโญชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัด) เบื้องต�่ำ ๕ อย่างได้ (โปรดดูหน้า ๒๐๑ ข้อ ๒๒๐ เชงิ อรรถหนา้ ๕๐๘ และหน้า ๖๑๓ มหามาลงุ กโยวาทสตู ร ด้วย) วรรคทีไ่ ม่จัดเข้าในหมวด ๕๐ (ในหมวดนี้ มีวรรคเล็ก ๓ วรรค ๆ ละประมาณ ๑๐ สูตร วรรคแรกชื่อ อพั ยากตวรรค ว่าดว้ ยสงิ่ ทีพ่ ระพุทธเจ้าไม่พยากรณ์ วรรคที่ ๒ ช่อื มหาวรรค วา่ ดว้ ยเรอ่ื งใหญ่ วรรคท่ี ๓ ช่อื วนิ ยวรรค วา่ ดว้ ยวินัย) วรรคที่ ๑ ชอ่ื อพั ยากตวรรค ว่าด้วยสิ่งที่พระพทุ ธเจ้าไมพ่ ยากรณ์ ๑. ตรัสตอบค�ำถามของภิกษุรูปหน่ึง ถึงเหตุปัจจัยที่อริยสาวกผู้ได้สดับไม่เกิดความ สงสัยในเรื่องท่ีพระผู้มีพระภาคไม่ตรัสพยากรณ์ โดยทรงช้ีไปว่า ข้อท่ีว่าสัตว์ตายแล้วเกิด หรือไม่เกิด หรือเกิดด้วยไม่เกิดด้วย หรือเกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่ น้ันเป็นทิฏฐิ (ความเห็น) เป็นตัณหา (ความทะยานอยาก) เป็นสัญญา (ความก�ำหนดหมาย) เป็นมัญญิตะ (ความส�ำคัญ ในใจ) เป็นปปัญจิตะ (ความเนิ่นช้า) เป็นอุปาทาน (ความยึดมั่น) และเป็นวิปปฏิสาร (ความ เดือดร้อน) ซ่ึงบุถุชนผู้มิได้สดับ ย่อมไม่รู้ส่ิง (ท้ังเจ็ด) น้ัน ไม่รู้ความเกิด ความดับ ข้อปฏิบัติ ให้ถึงความดับของสิ่งเหล่านั้น แต่อริยสาวกผู้ได้สดับย่อมรู้ จึงไม่เกิดความสงสัยในเร่ือง ทพี่ ระองค์ไมท่ รงพยากรณ์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 842 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๓ อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต 843 ตรสั แสดงคตขิ องบรุ ษุ ๗ และอนปุ าทาปรนิ พิ พาน (ดับกเิ ลสอยา่ งไมม่ เี ชอื้ กเิ ลสเหลอื ) ัอง ุคตตร ินกาย คือพระอนาคามีประเภทอันตราปรินิพพายี ๓ อุปหัจจปรินิพพายี ๑ อสังขารปรินิพพายี ๑ สสังขารปรินิพพายี ๑ อุทธังโสโตอกนิฏฐคาม๑ี ๑ (รวมเป็น ๗) และตรัสถึงพระอรหันต์ผู้ท�ำให้ แจ้งเจโตวมิ ุติ ปญั ญาวิมุติ อันไมม่ อี าสวะ วา่ เป็นอนุปาทาปรินิพพาน (ดบั กิเลสหมดไม่มเี หลือ) พรหมชื่อติสสะ กล่าวกะพระมหาโมคคัลลานะว่า เทพท่ีมีญาณหยั่งรู้ในผู้ยังมีกิเลส เหลือ วา่ มีกิเลสเหลือ หรือในผไู้ มม่ กี เิ ลสเหลอื วา่ ไมม่ ีกิเลสเหลือ (ตามความจรงิ ) น้ัน ไดแ้ ก่ พวกพรหม แตก่ ไ็ มใ่ ชพ่ รหมทกุ ผู้ พรหมผยู้ นิ ดดี ว้ ยอายุ วรรณะ สขุ ยศ ความเปน็ ใหญข่ องพรหม (ยังยดึ ถือ) ยอ่ มไม่รู้ ส่วนที่ไม่ยนิ ดีด้วยส่งิ เหลา่ นน้ั (ไมย่ ดึ ถือ) จึงรู้ และรถู้ งึ พระอริยบคุ คล ๖ ประเภท (เว้นสทั ธานสุ ารีขอ้ ที่ ๗ ด่งั ทย่ี อ่ ไว้ในหน้า ๖๒๒ ดว้ ย อน่ึง โปรดดเู รอื่ งของพรหมชื่อ ติสสะนี้ในหน้า ๘๒๑ ววรคที่ ๔ ด้วย) พระโมคคัลลานะมากราบทูลพระผู้มีพระภาค จึงตรัส เติมถึงข้อ ๗ คือ รู้ถึงภิกษุผู้เข้าอนิมิตตเจโตสมาธิ (ความต้ังม่ันแห่งจิตท่ีไม่มีเคร่ืองหมาย) ผู้ท�ำใหแ้ จ้ง (บรรลุ) ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ตรสั แสดงผลของทานท่เี หน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง ๗ ขอ้ แก่สหี เสนาบดี คือ (๑) พระอรหนั ต์ย่อมอนเุ คราะห์เขาก่อน (๒) ยอ่ มเขา้ ไปหาเขาก่อน (๓) ย่อมรับ (ทานของเขา) กอ่ น (๔) ยอ่ มแสดงธรรมแกเ่ ขาก่อน (๕) เขาย่อมมีกิตติศพั ท์อนั ดีงามฟุ้งไป (๖) เขาย่อมองอาจไม่เกอ้ เขินเข้าสู่ชุมนุมชน (๗) เม่อื ตายไปเขายอ่ มเขา้ ถงึ สคุ ติโลกสวรรค์ สีหเสนาบดีกราบทูลว่า ๖ ข้อแรกมิได้เช่ือต่อพระผู้มีพระภาค เพราะรู้ได้ด้วยตนเอง (เหน็ จรงิ เอง) ส่วนขอ้ สุดทา้ ย ตนไม่รูจ้ งึ เชอื่ ต่อพระผูม้ พี ระภาค ตรัสแสดงถึงสิง่ ๔ ประการที่พระตถาคตไม่ต้องรักษา และตถาคตไมถ่ กู ว่ากล่าวโดย ฐานะ ๓ คอื ตถาคตมคี วามประพฤตทิ างกาย วาจา ใจ บรสิ ทุ ธิ์ มอี าชวี ะบรสิ ทุ ธิ์ ไมม่ ที จุ จรติ ทาง กาย วาจา ใจ ไมม่ กี ารเลยี้ งชวี ติ ผดิ ซงึ่ จะตอ้ งรกั ษามใิ หค้ นอนื่ รู้ (รวมเปน็ ๔ ขอ้ ) ตถาคตมธี รรม ๑ ค�ำอธิบายเรื่องพระอนาคามีตามศัพท์เหล่านี้ โปรดดูหน้า ๗๔๕ - ๗๔๗ วรรคท่ี ๔ มีข้อน่าสังเกต คือ อันตราปรินิพพายี ๓ ประเภทนั้น เปรียบเหมือนประกายไฟจากแผ่นเหล็กที่ถูกตี (๑) เกิดขึ้นแล้วดับไป (๒) เกิดขึน้ ลอยข้นึ ไปแล้วดับ (๓) เกิดข้นึ ลอยขนึ้ ตกลงมายังไมถ่ ึงพืน้ กด็ ับไป PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 843 5/4/18 2:25 PM
844 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ อันกลา่ วดีแล้ว ไมม่ ีใครคา้ นไดว้ า่ กลา่ วไว้ไม่ดี ปฏิปทาอันไปสพู่ ระนพิ พานอันตถาคตบัญญัตไิ ว้ ดีแล้วแก่สาวก ไม่มีใครคัดค้านได้ว่าบัญญัติไว้ไม่ดี บริษัทสาวกของพระองค์หลายร้อยท�ำให้ แจง้ เจโตวิมุติ ปัญญาวมิ ตุ ิ อันไม่มีอาสวะ ไม่มีใครคดั คา้ นได้ว่าไมไ่ ดท้ �ำใหแ้ จ้ง (รวมเปน็ ๓ ข้อ) ตรัสตอบพระกิมิละ (ฉบับยุโรปเป็นกิมพิละ) ถึงเหตุปัจจัยที่ท�ำให้พระสัทธรรมไม่ตั้ง อยนู่ านเมอื่ พระตถาคตปรนิ พิ พานแลว้ (๗ ขอ้ ) คอื บรษิ ทั ๔ ไมเ่ คารพในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในการศกึ ษา ในสมาธิ ในความไมป่ ระมาท ในการตอ้ นรับ ตรัสว่า ภิกษุประกอบด้วยธรรมะ ๗ ประการจะท�ำให้แจ้งวิมุติทั้งสองอันไม่มีอาสวะ โดยกาลไม่นาน คือมศี รทั ธา มีศลี สดบั ตรับฟงั มาก หลกี เรน้ ปรารภความเพยี ร มสี ติ มีปัญญา ตรสั แสดงธรรมแกพ่ ระมหาโมคคลั ลานะ เรอื่ งวธิ แี กง้ ว่ ง ๗ ประการ และตรสั สอนมใิ ห้ ชูงวง (ถือตัว) เข้าสู่สกุล มิให้กล่าวถ้อยค�ำก่อการทะเลาะวิวาท ไม่ควรคลุกคลีด้วยคฤหัสถ์ บรรพชิต แต่ควรคลุกคลีด้วยเสนาสนะอันสงัด แล้วตรัสตอบปัญหาที่ว่า ภิกษุช่ือว่าหลุดพ้น เพราะสนิ้ ตณั หา อยจู่ บพรหมจรรยล์ ว่ งสว่ น ดว้ ยเหตคุ อื เมอ่ื ภกิ ษไุ ดส้ ดบั วา่ ธรรมทง้ั ปวงไมค่ วร ยึดถือก็รู้ย่ิง ก�ำหนดรู้ธรรมทั้งปวง พิจารณาเห็นว่าไม่เท่ียง พิจารณาความคลายก�ำหนัด ความดับ ความสละคืน ในเวทนาท้ังสามคอื สุข ทกุ ข์ ไม่ทกุ ข์ไม่สุข เมอื่ เปน็ เช่นน้นั กจ็ ะไมย่ ดึ ถอื ส่ิงใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งด้ินรน ดบั สนทิ เฉพาะตน ตรัสสอนว่า อย่ากลัวบุญ เพราะค�ำว่า บุญ เป็นช่ือของความสุข แล้วตรัสว่า ได้เคย ทรงเห็นผลท่ีน่าพอใจมาแล้ว คือทรงเจริญเมตตาจิต ๗ ปี ไม่ต้องเสด็จมาสู่โลกนี้ถึง ๗ สังวัฏฏวิวัฏฏกัปป์ (กัปป์เสื่อมกัปป์เจริญ ๗ สมัย) ในสังวัฏฏโลก (โลกเส่ือม) ทรงเกิดใน อาภัสสรพรหม ในวิวัฏฏโลก (โลกเจริญ) ทรงเกิดในพรหมวิมานอันว่าง เป็นท้าวมหาพรหม ทรงเคยเกดิ เป็นทา้ วสักกะ ๓๖ ครง้ั เป็นพระเจา้ จักรพรรดิผตู้ งั้ อยู่ในธรรมหลายร้อยครงั้ ตรัสแสดงภริยา ๗ ประเภท คือภริยาเสมอด้วยผู้ฆ่า เสมอด้วยโจร เสมอด้วยนาย เสมอด้วยแม่ เสมอด้วยนอ้ งสาว เสมอดว้ ยเพ่ือน เสมอดว้ ยทาสี ตรัสแสดงธรรม ๗ อย่างที่ศัตรูชอบ ที่เป็นเหตุแห่งศัตรู มาสู่หญิงหรือชายผู้มี ความโกรธ คอื (๑) ศัตรูย่อมปรารถนาต่อศัตรูให้มีผิวพรรณทราม คนมักโกรธถูกความโกรธ ครอบงำ� แมจ้ ะอาบน้�ำลูบไล้ ตดั ผม โกนหนวด นุง่ ผา้ ขาว ผิวพรรณกท็ ราม (๒) ศตั รยู อ่ มปรารถนาตอ่ ศตั รใู หน้ อนเปน็ ทกุ ข์ คนมกั โกรธถกู ความโกรธครอบงำ� แมจ้ ะนอนบนบัลลังก์ มเี ครื่องประดับงดงาม กน็ อนเป็นทกุ ข์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 844 5/4/18 2:25 PM
สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๓ อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต 845 (๓) ศัตรูย่อมปรารถนาต่อศัตรูมิให้มีประโยชน์มาก คนมักโกรธที่ถูกความโกรธ ัอง ุคตตร ินกาย ครอบง�ำ ก็ถือเอาส่ิงมิใช่ประโยชน์ว่าเป็นประโยชน์ ส่ิงเป็นประโยชน์ว่ามิใช่ ประโยชน์ ธรรมคือการเปน็ ศตั รูของกนั และกัน ทยี่ ึดไว้ ย่อมเปน็ ไปเพื่อมิใช่ ประโยชน์ เพอ่ื ความทุกข์ตลอดกาลนาน (๔) ศัตรยู อ่ มปรารถนาตอ่ ศตั รมู ใิ ห้มที รพั ย์ คนมักโกรธทถ่ี กู ความโกรธครอบงำ� ก็ถกู พระราชาท�ำใหท้ รัพย์เข้าไปสพู่ ระคลงั หลวง (๕) ศัตรูย่อมปรารถนาต่อศัตรูมิให้มียศ คนมักโกรธที่ถูกความโกรธครอบง�ำ ยอ่ มเสื่อมจากยศ (๖) ศัตรูย่อมปรารถนาต่อศัตรูมิให้มีมิตร คนมักโกรธที่ถูกความโกรธครอบง�ำ ญาตมิ ติ รย่อมเวน้ ไกล (๗) ศัตรูย่อมปรารถนาต่อศัตรูให้ตาย แล้วเข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก คนมกั โกรธทถ่ี กู ความโกรธครอบงำ� ประพฤตทิ จุ จรติ ตายไปแลว้ ก็จะเข้าถงึ อบาย ทุคคติ วินบิ าต นรก วรรคที่ ๒ ช่อื มหาวรรค วา่ ดว้ ยเรอื่ งใหญ่ ๒. ตรัสแสดงว่า ถ้าขาดธรรมอย่างหน่ึง ก็ขาดธรรมข้ออ่ืน ๆ ต่อกันไปเป็นล�ำดับ คือความละอาย ความเกรงกลัวต่อบาป การส�ำรวมอินทรีย์ ศีล สัมมาสมาธิ (ความต้ังใจม่ัน ชอบ) ยถาภูตญาณทัสสนะ (ความรดู้ ว้ ยญาณ ตามเปน็ จรงิ ) นพิ พิทา (ความเบอ่ื หนา่ ย) วริ าคะ (ความคลายก�ำหนัด) วมิ ุตตญิ าณทสั สนะ (ความเหน็ ดว้ ยญาณถึงความหลดุ พ้น) ตรัสกะภิกษุทั้งหลาย ถึงเร่ืองที่สังขารไม่เที่ยง ไม่น่าไว้ใจ ควรที่จะเบ่ือหน่ายก�ำหนัด ควรท่ีจะพน้ ไปเสยี แล้วตรัสถงึ ระยะกาลทีล่ ว่ งไปหลายแสนปี ทีจ่ ะมีสมยั ซ่ึงฝนไม่ตก พืชต้นไม้ ใบหญ้า จะเหยี่ วแห้งไมม่ ีเหลอื แล้วกถ็ ึงสมัยท่อี าทิตย์ขนึ้ ๒ ดวง ๓ ดวง ๔ ดวง ๕ ดวง ๖ ดวง จนถึง ๗ ดวง ซ่ึงมหาปฐพีนี้และขุนเขาสเิ นรุจะลกุ ไหมม้ เี ปลวไฟพลุ่งขึ้นไปถึงพรหมโลก๑ ๑ ข้อความตรงน้ีได้ท�ำเครื่องหมายพิเศษใช้ตัวหนังสือตัวเอน เพ่ือให้เห็นข้อความตอนน้ีชัดเจนขึ้น ในหนังสือ วิทยาศาสตร์ ฝ่ายดาราศาสตร์บางเล่มกล่าวว่า ดวงอาทิตย์ของเรามิใช่อยู่เด่ียวโดด แต่นับเนื่องในกลุ่มดวงอาทิตย์ อื่น ๆ รวมกนั แลว้ ๙๓ กลุม่ จึงเปน็ โครงสร้างของทางชา้ งเผอื ก (Milky way) อันมีเส้นผา่ ศนู ย์กลางถงึ ๒๐๐๐๐๐ ปีแสง คือแสงท่ีเดินทางวินาทีละ ๑๘๖,๒๗๒ ไมล์ จะต้องใช้เวลาเดินทางถึง ๒ แสนปี และยังมีความคิดกันถึง ดวงดาว (ดวงอาทิตย์) ดวงอื่น ๆ ซึ่งอาจเดินทางเข้ามาใกล้สุริยะระบบได้ในลักษณะเช่นน้ันก็ไม่มีปัญหาว่า ที่ว่า อาทิตย์ขึ้นหลายดวงจนเป็นเหตุให้โลกลุกเป็นไฟน้ัน มีทางเป็นไปได้จริงในทางวิทยาศาสตร์ ท่านผู้ใคร่ค้นคว้า โปรดอ่านหนังสือ THE MARVELS AND MYTERIES OF SCIENCE หน้า ๖๑ และ ๖๒ ประกอบการ พจิ ารณา และโปรดอา่ นบันทกึ หน้า ๕๐๑ (หมายเหต)ุ และดูเชงิ อรรถ ๒ หนา้ ๗๖๕ ดว้ ย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 845 5/4/18 2:25 PM
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 622
Pages: