Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore suttantapitaka

suttantapitaka

Published by pim, 2019-11-02 02:56:34

Description: suttantapitaka

Search

Read the Text Version

696 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย) และธรรมะ (สิ่งที่รู้ ได้ด้วยใจ) มีจิตยังไม่สงบระงับในภายใน ยังประพฤติเสมอบ้าง ไม่เสมอบ้าง (ลุ่ม ๆ ดอน ๆ) ทางกาย วาจา ใจ ท้ังนี้เพราะพวกเราเอง (ท่ีเป็นคฤหัสถ์) ก็มีความประพฤติเช่นนั้น เม่ือไม่เห็น ความประพฤติสม�่ำเสมอ (เรียบร้อย) หรือคุณธรรมท่ีย่ิงข้ึนไปของสมณพราหมณ์เหล่าน้ัน จึงไมค่ วรสักการะเคารพบชู าสมณพราหมณ์เหล่าน้ัน ถ้านักบวชลัทธิอื่นจะพึงถามถึงสมณพราหมณ์ที่ควรสักการะเคารพนับถือบูชา ก็พึง ทราบโดยนัยตรงกันข้าม (คือท่ปี ราศจากราคะ โทสะ โมหะ) ๒. ครั้นแล้วตรัสต่อไปถึงการที่นักบวชลัทธิอื่นจะพึงถามอาการและความเป็นไป ของสมณพราหมณ์ ท่ีพวกท่านกล่าวว่า เป็นผู้ปราศจากราคะ ปฏิบัติเพ่ือน�ำออกซ่ึงราคะ ปราศจากโทสะ ปฏิบัติเพ่ือน�ำออกซึ่งโทสะ ปราศจากโมหะ ปฏิบัติเพื่อน�ำออกซ่ึงโมหะ พวกท่านพึงตอบว่า สมณพราหมณ์เหล่าน้ันเสพเสนาสนะป่าอันสงัด ไม่มีรูป เสียง เป็นต้น ทเี่ หน็ แลว้ ฟงั แล้ว เปน็ ต้น จะท�ำใหย้ นิ ดียิง่ พราหมณ์คฤหบดีชาวบ้านนครวินทะ กราบทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงตน เป็นอุบาสกถงึ พระรตั นตรัยเป็นสรณะตลอดชีวติ ๕๑. ปิณฑปาตปารสิ ุทธสิ ตู ร (สตู รวา่ ด้วยความบริสุทธ์ิแหง่ บิณฑบาต) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เวฬวุ นาราม ใกล้กรงุ ราชคฤห์ เวลาเยน็ พระสาริบตุ ร ออกจากทีเ่ รน้ มาเฝ้าถวายบงั คมแล้วน่งั ณ ทีค่ วรสว่ นหนึ่ง จงึ ตรสั ถามพระสารบิ ตุ รวา่ อินทรีย์ ของท่านผ่องใส ฉวีวรรณของท่านบริสุทธ์ิ ท่านอยู่ด้วยธรรมเป็นเครื่องอยู่อะไรมาก เมื่อ พระสาริบุตรกราบทูลว่า อยู่ด้วยสุญญตาวิหาร (ธรรมเป็นเครื่องอยู่มีความว่างเปล่าเป็น อารมณ)์ จงึ ตรัสว่า ดีแล้วท่ีอยู่ดว้ ยธรรมเป็นเครือ่ งอยู่แหง่ มหาบรุ ุษ ๒. ครั้นแล้วตรัสถึงการทภ่ี กิ ษุผ้หู วังจะอยูม่ ากดว้ ยสุญญตาวิหาร พงึ พิจารณาว่า เราเข้าสู่หมู่บ้าน เพื่อบิณฑบาตโดยทางใด เที่ยวไปในที่ใด กลับจากบิณฑบาต โดยทางใด ในทางน้ัน ท่ีน้ัน เรามีความพอใจ มีความก�ำหนัดยินดี มีความคิดประทุษร้าย ความหลง ความขดั ข้องแห่งจติ ในรูป เสียง เป็นต้นหรอื ไม่ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 696 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค 697 เมอื่ พจิ ารณารวู้ า่ เรายงั มคี วามพอใจในรปู เสยี ง เปน็ ตน้ กพ็ งึ พยายามเพอื่ ละอกศุ ลบาป ัมช ิฌม ินกาย ธรรมเหลา่ น้นั ถา้ พจิ ารณาเหน็ วา่ เราไมม่ คี วามพอใจในรปู เสยี ง เปน็ ตน้ กพ็ งึ อยดู่ ว้ ยปตี ปิ ราโมทยน์ นั้ ศกึ ษาอยู่ในกศุ ลธรรมทั้งหลายทั้งกลางวนั กลางคืน ๓. ต่อจากนนั้ พึงพจิ ารณาว่า เราละกามคุณ ๕ (รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่น่าปรารถนา รักใคร่พอใจ) และนีวรณ์ ๕ (กิเลสอนั กั้นจติ มิใหบ้ รรลุความด)ี ได้แล้วหรือยัง เมื่อพจิ ารณาเหน็ ว่ายังละไมไ่ ด้ ก็พึงพยายามเพือ่ ละ เม่ือพิจารณาเห็นว่าละได้แล้ว ก็พึงอยู่ด้วยปีติปราโมทย์นั้น ศึกษาอยู่ในกุศลธรรม ทัง้ หลายทง้ั กลางวันกลางคนื ๔. ครัน้ แล้วทรงแสดงการพิจารณาข้อธรรมอ่ืนอกี คอื อุปาทานขันธ์ ๕ ก�ำหนดรู้แลว้ หรือยงั สตปิ ัฏฐาน ๔ เจรญิ แล้วหรอื ยงั ความเพียรชอบ ๔ เจริญแลว้ หรือยงั ธรรมะอันใหบ้ รรลคุ วามส�ำเรจ็ ๔ อยา่ ง ธรรมอนั เปน็ ใหญ่ในหนา้ ทข่ี องตน ๕ อย่าง ธรรมอนั เป็นกำ� ลงั ๕ อยา่ ง ธรรมะอนั เปน็ องค์แหง่ ปญั ญาเคร่ืองตรัสรู้ ๗ อยา่ ง ทางมอี งค์ ๘ อนั ประเสริฐ สมถะ (การท�ำจิตให้สงบ) และวิปัสสนา (การท�ำปัญญาให้เห็นแจ้ง) เจริญแล้ว หรอื ยงั วิชชา (ความรูอ้ รยิ สจั จ์ ๔) วิมุติ (ความหลดุ พ้น) ท�ำใหแ้ จง้ แล้วหรือยงั เมื่อพิจารณาเห็นว่าอะไรยัง ก็พึงพยายามเพ่ือท�ำการน้ัน ๆ เมื่อเห็นว่าท�ำเสร็จแล้ว ก็พึงอยู่ด้วยปีติปราโมทย์นั้น ศึกษาอยู่ในกุศลธรรมท้ังหลายท้ังกลางวันกลางคืน (ดูหน้า ๘๖ ขอ้ ๕ และหน้า ๔๗๓ มหาสตปิ ัฏฐานสูตร ประกอบดว้ ย) ๕. ตรัสสรูปในท่ีสุดว่า สมณะหรือพราหมณ์ในอดีตกาล อนาคตกาลนานไกล หรือ ในบดั นี้ที่ท�ำบณิ ฑบาตใหบ้ ริสทุ ธิ์ก็พิจารณาแลว้ อยา่ งน้ี ทำ� ให้บณิ ฑบาตบรสิ ทุ ธอิ์ ยา่ งน้ี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 697 5/4/18 2:25 PM

698 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๕๒. อินทรยิ ภาวนาสตู ร (สูตรว่าด้วยการอบรมอนิ ทรยี ์) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่าไผ่ ใกล้นิคม ช่ือกัชชังคลา ตรัสถามอุตตรมาณพ ผู้เป็นศิษย์ของปาราสิริยพราหมณ์ว่า พราหมณ์ผู้นั้นแสดงถึงการอบรมอินทรีย์๑ แก่สาวก อย่างไร มาณพกราบทูลว่า พราหมณ์สอนไม่ให้เห็นรูป ไม่ให้ฟังเสียง พระผู้มีพระภาคจึง ตรัสว่า ถ้าอย่างน้ัน คนตาบอดหูหนวกก็จักชื่อว่าได้อบรมอินทรีย์ด้วย มาณพก็เก้อเขิน นิง่ ก้มหน้า ๒. จึงตรัสกะพระอานนท์ว่า ปาราสิริยพราหมณ์แสดงการอบรมอินทรีย์แก่สาวก ต่างจากการอบรมอินทรีย์ในอริยวินัย (วินัยของพระอริยเจ้า) เมื่อพระอานนท์กราบทูลขอให้ ทรงอธิบาย จึงตรัสแสดงถึงการอบรมอินทรีย์ เม่ือเห็นรูป ฟังเสียง ดมกล่ิน ล้ิมรส ถูกต้อง โผฏฐพั พะ และรธู้ รรมะวา่ ความพอใจ ความไม่พอใจ หรือทั้งพอใจและไม่พอใจเกิดขึ้น ก็ให้รู้เท่าทันว่าเกิดข้ึน แล้ว แตเ่ ป็นของหยาบอันปจั จัยปรุงแตง่ ส่วนความวางเฉยเปน็ ของสงบระงบั และประณตี ทรงสรูปวา่ ทำ� อย่างนเ้ี ปน็ การอบรมอินทรีย์อันยอดเย่ียมในอรยิ วนิ ยั ๓. แลว้ ทรงแสดงขอ้ ปฏิบัตขิ องเสขะ (พระอริยบุคคลท่ียงั มไิ ด้ส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์ ยังศึกษาอยู่) ว่า เม่ือเห็นรูป เสียง เป็นต้น เกิดความพอใจ ไม่พอใจ หรือท้ังพอใจและไม่พอใจข้ึน กเ็ บื่อหนา่ ยเกลียดชัง ความรสู้ กึ พอใจ เปน็ ต้น ท่เี กิดขน้ึ นั้น ๔. ทรงแสดงการที่พระอริยเจ้าอบรมอินทรีย์แล้ว คือเมื่อเห็นรูป ฟังเสียง เป็นต้น เกิดความพอใจ เปน็ ตน้ ใคร่จะอยอู่ ยา่ ง กำ� หนดหมายวา่ ไมป่ ฏิกูล (นา่ เกลยี ด) ในสง่ิ ปฏกิ ลู ก�ำหนดหมายวา่ ปฏกิ ลู ในสิ่งไม่ปฏิกูล ก�ำหนดหมายวา่ ไม่ปฏกิ ลู ในสงิ่ ปฏกิ ลู และไม่ปฏกิ ูล กำ� หนดหมายว่า ปฏกิ ูลในส่ิงทไ่ี มป่ ฏกิ ูลและปฏกิ ูล หรือ ๑ คำ� วา่ อินทรยี ์ ในที่น้ี หมายถึงสงิ่ ทีเ่ ปน็ ใหญ่ในหนา้ ที่ของตน คือ ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 698 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค 699 ใครจ่ ะเพิกถอนทัง้ สิง่ ปฏกิ ูลและไม่ปฏกิ ูล อย่อู ยา่ งวางเฉย มีสตสิ มั ปชัญญะ กท็ �ำ ไดท้ กุ อย่าง จบความย่อแห่งพระไตรปฎิ ก เลม่ ๑๔ ัมช ิฌม ินกาย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 699 5/4/18 2:25 PM

สงั ยตุ ตนกิ าย๑ สคาถวรรค นทิ านวรรค ขนั ธวารวรรค สฬายตนวรรค มหาวารวรรค • เทวตาสงั ยตุ ต์ • อภสิ มยสงั ยตุ ต์ • ขันธสงั ยตุ ต์ • สฬายตนสงั ยตุ ต์ • มัคคสงั ยุตต์ • เทวปุตตสังยตุ ต์ • ธาตสุ งั ยตุ ต์ • ราธสงั ยุตต์ • เวทนาสังยตุ ต์ • โพชฌงคสังยตุ ต์ • โกสลสังยตุ ต์ • อนมตัคคสงั ยตุ ต์ • ทิฏฐิสังยตุ ต์ • มาตคุ ามสังยุตต์ • สติปัฏฐาน - • มารสังยุตต์ • กัสสปสงั ยุตต์ • โอกกนั ต - • ชมั พขุ าทกสงั ยุตต์ สงั ยตุ ต์ • ภกิ ขุนีสงั ยตุ ต์ • ลาภสักการ - สังยตุ ต์ • สามณฑกสงั ยตุ ต์ • อนิ ทรยี สงั ยุตต์ • พรหมสงั ยตุ ต์ สงั ยตุ ต์ • อุปปาทสังยุตต์ • โมคคลั ลาน - • สัมมปั ปธาน - • พราหมณสังยตุ ต์ • ราหลุ สังยตุ ต์ • กิเลสสงั ยตุ ต์ สงั ยุตต์ สงั ยุตต์ • วังคสี สังยตุ ต์ • ลกั ขณสังยตุ ต์ • สารปิ ตุ ต - • จิตตคหปติปจุ ฉา - • พลสังยตุ ต์ • วนสงั ยุตต์ • โอปัมมสงั ยตุ ต์ สังยุตต์ สงั ยุตต์ • อิทธิปาทสงั ยุตต์ • ยกั ขสังยตุ ต์ • ภิกขสุ งั ยุตต์ • นาคสงั ยตุ ต์ • คามณิสังยตุ ต์ • อนุรทุ ธสงั ยุตต์ • สักกสงั ยุตต์ • สุปณั ณสงั ยตุ ต์ • อสงั ขตสังยุตต์ • ฌานสังยตุ ต์ • คนั ธัพพกาย - • อพั ยากตสังยตุ ต์ • อานาปานสงั ยตุ ต์ สงั ยุตต์ • โสตาปัตติสงั ยุตต์ • วลาหกสงั ยตุ ต์ • สัจจสังยตุ ต์ • วัจฉโคตตสังยตุ ต์ • สมาธิสงั ยตุ ต์ ๑ สังยุตตนิกาย เป็นนิกายที่ ๓ ในสุตตันตปิฎก เป็นพระสูตรที่รวมพระธรรมเทศนาท่ีมีเนื้อหาเดียวกันเข้าด้วยกัน รวม ๕๕ สงั ยตุ ต์ เป็นพระสตู ร ๗,๗๖๒ สตู ร จดั พิมพเ์ ป็นคมั ภรี ์ ๖ เล่ม คือ พระไตรปิฎก เล่ม ๑๕ ถึง เล่ม ๑๙ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 700 5/4/18 2:25 PM

เล่ม ๑๕ สงั ยตุ ตนิกาย สคาถวรรค ท่านผู้อ่านได้ทราบมาแล้วว่า พระสุตตันตปิฎก เท่าท่ีย่อมาแล้วมี ๖ เล่ม เป็นหมวด ยาว คือ ทีฆนิกาย ๓ เล่ม เป็นหมวดขนาดกลาง คือมัชฌิมนิกาย ๓ เล่ม พระสุตตันตปิฎก เร่ิมแต่เล่ม ๙ เม่ือจบมัชฌิมนิกายจึงถึงเล่ม ๑๔ บัดนี้มาถึงสังยุตตนิกาย ซึ่งเป็นหมวด ประมวลเรอ่ื งต่าง ๆ ไว้เป็นหมวดหมู่ เรม่ิ แตเ่ ล่ม ๑๕ ถงึ เล่ม ๑๙ รวม ๕ เล่ม เม่ือมาถึงหมวดประมวลหรือสังยุตตนิกายน้ี ผู้เขียนมีความเสียใจท่ีจะต้องย่อ อย่างส้ันที่สุด เพ่ือให้สามารถย่อเล่ม ๒๐ ถึงเล่ม ๔๕ รวม ๒๖ เล่ม ให้รวบรัดลงได้ใน ๒ เล่ม๑ ที่ยังค้างอยู่ แต่การย่อสังยุตตนิกายอย่างสั้นที่สุดน้ี ก็เป็นโอกาสดีอย่างหนึ่ง คือในการ พิมพ์คร้ังต่อไป ก็อาจจะย่อเพิ่มเป็นอีกเล่ม ๑ ต่างหาก ส�ำหรับสังยุตตนิกายโดยเฉพาะ แต่ ทัง้ น้ีตอ้ งสดุ แตค่ วามเหมาะสม สังยุตตนกิ าย ๕ เล่ม แบง่ ออกเปน็ เล่ม ๑๕ ชื่อสังยุตตนิกาย สคาถวรรค หมายความว่าทุกสูตรในเล่มน้ี (ซึ่งมีถึง ๒๗๑ สตู ร) เป็นสูตรท่ีมี ”คาถา„ หรือคำ� สอน อันเปน็ ”บทกวี„ ทงั้ ส้ิน คำ� วา่ สคาถวรรค วรรคที่มี คาถา จงึ เป็นช่ือของเลม่ ๑๕ นี้ เล่ม ๑๖ ชอ่ื สังยตุ ตนกิ าย นทิ านวรรค ค�ำว่า นทิ านวรรค แปลวา่ วรรควา่ ดว้ ยต้นเหตุ คอื อธบิ ายถงึ ธรรมะท่ีเปน็ เหตปุ จั จัยของความเวยี นวา่ ยตายเกดิ ท่ีเรยี กวา่ ปฏิจจสมปุ บาท เลม่ ๑๗ ชอื่ สงั ยตุ ตนกิ าย ขนั ธวารวรรค คำ� วา่ ขนั ธวารวรรค แปลวา่ วรรควา่ ดว้ ยวาระ ทก่ี ลา่ วถงึ ขนั ธ์ คอื กองรปู กองนาม หมายความวา่ รา่ งกายจติ ใจของคนเราแบง่ ออกเปน็ ๒ สว่ น เปน็ ส่วนรูปธรรมกองหนึง่ เปน็ ส่วนจิตใจหรือนามธรรมอีกกองหนงึ่ เล่ม ๑๘ ช่ือสังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค ค�ำว่า สฬายตนวรรค แปลว่า วรรคว่า ดว้ ยอายตนะ ๖ คือ ตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ เปน็ อันรวมกลา่ วเร่ืองตา หู เป็นต้น ในเลม่ ๑๘ นี้ ทัง้ เลม่ ส่วนเล่ม ๑๙ ชื่อมหาวารวรรค ค�ำว่า มหาวารวรรค แปลว่า วรรคว่าด้วยวาระใหญ่ หมายความวา่ ธรรมะเรอ่ื งส�ำคญั ๆ เชน่ มรรค โพชฌงค์ อนิ ทรยี ์ เป็นตน้ ได้นำ� มากล่าวไว้ใน เลม่ ๑๙ นที้ ั้งสนิ้ ๑ ข้อความน้ี หมายความว่า ในการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน คร้ังแรกน้ัน อ.สุชีพ ปุญญานุภาพ ก�ำหนดไวเ้ ปน็ ๕ เลม่ - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 701 5/4/18 2:25 PM

702 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ มีข้อท่ีควรสังเกตอีกอย่างหนึ่ง ก็คือว่าในแต่ละเล่มของ ๕ เล่มน้ี ซ่ึงเรียกว่า วรรค (ใหญ)่ แต่ละวรรคประจำ� เลม่ แล้วยังแบง่ เป็นส่วนใหญ่ เรียกว่าสงั ยตุ ต์ แบ่งเป็นสว่ นยอ่ ย เรียกว่าวรรค (โดยมากมีวรรคละ ๑๐ สูตร) หรือถ้าท�ำเป็นแผนผังวิธีแบ่งส่วน จะเห็นได้ดังน้ี วรรค (ใหญ)่ รวมทง้ั เลม่ เป็น ๑ วรรคใหญ่ สงั ยุตต์ (รวมเรือ่ งใดเรือ่ งหนง่ึ ) วรรค (เลก็ ) รวมสูตรประมาณ ๑๐ สตู รต่อ ๑ วรรค เฉพาะเลม่ ๑๕ หรอื สงั ยตุ ตนกิ าย สคาถวรรค แบง่ ออกเปน็ ๑๑ สงั ยุตต์ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. เทวตาสังยุตต์ ประมวลเรื่องเทวดา ทไี่ ปทลู ถามปัญหาตอ่ พระพุทธเจ้า มที ั้งหมด ๘๑ สูตร แสดงค�ำถามของเทวดา ค�ำตอบของพระพุทธเจ้า ที่เป็นคาถาหรือบทกวี ทัง้ ค�ำถามคำ� ตอบ ๒. เทวปุตตสังยุตต์ ประมวลเร่ืองเทพบุตร ท่ีไปทูลถามปัญหาต่อพระพุทธเจ้า มี ทั้งหมด ๓๐ สูตร แสดงค�ำถามของเทพบุตร ค�ำตอบของพระพุทธเจ้า ท่ีเป็น คาถาหรือบทกวีท้งั คำ� ถามคำ� ตอบ ๓. โกสลสังยุตต์ ประมวลเร่ืองที่ตรัสโต้ตอบกับพระเจ้าปเสนทิโกศล มีท้ังหมด ๒๕ สูตร ๔. มารสังยุตต์ ประมวลเร่ืองมาร ซึ่งไปปรากฏกายในลักษณะต่าง ๆ กัน บางคร้ัง ไดม้ กี ารโตต้ อบกบั พระพทุ ธเจา้ บางครงั้ มไิ ดพ้ ดู แตพ่ ระผมู้ พี ระภาคไดต้ รสั ภาษติ ในเมอ่ื ทรงทราบว่าเปน็ มาร ในสังยุตตน์ มี้ ี ๒๕ สูตร ๕. ภิกขุนีสังยุตต์ ประมวลเร่ืองนางภิกษุณี แสดงถึงการที่พระผู้มีพระภาคทรง แสดงธรรมแก่นางภิกษุณตี ่างรปู มี ๑๐ สตู ร ๖. พรหมสังยุตต์ ประมวลเร่ืองพรหม แสดงการที่พระพรหมมาเฝ้า พระผู้มีพระภาค ตรสั ภาษติ โต้ตอบ มี ๑๕ สูตร ๗. พราหมณสังยุตต์ ประมวลเรื่องพราหมณ์ มีพราหมณ์ต่าง ๆ ตั้งปัญหาถามบ้าง กล่าววาจาก้าวร้าวบ้าง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสโต้ตอบเป็นภาษิตให้ได้เห็นธรรม มี ๒๒ สูตร ส่วนใหญ่มีผลเป็น ๒ คือพราหมณ์ออกบวชส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์ กบั พราหมณเ์ ลอื่ มใสปฏญิ ญาตนเปน็ อบุ าสกถงึ พระรตั นตรยั เปน็ สรณะตลอดชวี ติ ๘. วังคสี สงั ยุตต์ ประมวลเรื่องเกย่ี วกบั พระวงั คีสเถระ มี ๑๒ สูตร ๙. วนสังยุตต์ ประมวลเร่ืองเกี่ยวกับป่า คือพระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมแก่ พระเถระต่าง ๆ ทอ่ี ยู่ในปา่ มี ๑๔ สตู ร PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 702 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๕ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค 703 ๑๐. ยักขสังยุตต์ ประมวลเรื่องยักษ์ ที่มาเฝ้าพระผู้มีพระภาค และพระองค์ได้ตรัส โต้ตอบ มี ๑๒ สูตร ๑๑. สักกสังยุตต์ ประมวลเร่ืองท้าวสักกะจอมเทพชั้นดาวดึงส์ ที่มาเฝ้า และพระ ผมู้ พี ระภาคทรงแสดงธรรม มี ๒๕ สตู ร สาระส�ำคัญของค�ำสอนในเล่ม ๑๕ น้ี อยู่ท่ีภาษิตส้ัน ๆ จับใจ มากกว่าเร่ืองที่จะให้ ตดิ ในเรื่องเทวดา หรอื มาร พรหม อนึง่ จำ� นวนพระสูตรน้ี รวมแล้วได้ ๒๗๑ สูตร จบความยอ่ แห่งพระไตรปิฎก เลม่ ๑๕ ัสง ุยตตร ินกาย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 703 5/4/18 2:25 PM

เลม่ ๑๖ สงั ยุตตนิกาย นิทานวรรค ได้กล่าวแล้วว่า พระไตรปิฏกเล่มนี้ กล่าวด้วยเรื่องปฏิจจสมุปบาท คือความเกิดขึ้น โดยอาศัยเหตุปัจจัย รวมท้ังเม่ือกล่าวถึงความดับ ก็แสดงเหตุปัจจัยท่ีดับเป็นต่อ ๆ กันไป คำ� ว่า นทิ าน เล็งถงึ เหตุปัจจยั จงึ ใช้เปน็ ชือ่ ของเลม่ นว้ี า่ นทิ านวรรค รวมท้ังเล่มมี ๙ สังยตุ ต์ คือ ๑. อภิสมยสังยุตต์ ประมวลเรื่องเก่ียวกับการตรัสรู้ โดยแสดงถึงเหตุปัจจัยส่งผล ต่อ ๆ กนั ใหม้ ีการเวยี นวา่ ยตายเกิด และในทางตรงกนั ข้าม เมอ่ื ดับเหตปุ ัจจัยก็ส่ง ผลต่อ ๆ กนั ใหด้ บั ความเวยี นวา่ ยตายเกิดได้ ๒. ธาตุสังยุตต์ ประมวลเร่ืองธาตุ กล่าวถึงธาตุในทางธรรมหลายชนิด เช่น ธาตุท่ี เนื่องดว้ ย ตา หู จมูก ลิ้น เปน็ ตน้ รวมถึงการท่ีสตั วท์ ัง้ หลายเขา้ กันได้โดยธาต ุ ๓. อนมตคั คสงั ยตุ ต์ ประมวลเรอ่ื งสงสารวฏั ฏ์ หรอื ความเวยี นวา่ ยตายเกดิ มเี บอื้ งตน้ และท่ีสุดอันตามไม่พบ จึงควรที่จะเบ่ือหน่ายคลายก�ำหนัดในสังขาร ควรท่ีจะ หลดุ พน้ ไป ๔. กัสสปสังยุตต์ ประมวลเรื่องพระมหากัสสปะ แสดงถึงการที่พระมหากัสสปะ ไปเฝ้าพระผ้มู พี ระภาคและมีพระพทุ ธด�ำรัสด้วย รวมทัง้ เหตุการณอ์ ่ืน ๆ เกย่ี วกับ พระมหากัสสปะ เชน่ การสง่ั สอนนางภกิ ษณุ ี เป็นตน้ ๕. ลาภสักการสังยุตต์ ประมวลเรื่องลาภสักการะ ที่ท�ำให้คนเสียคน ท�ำให้อยู่ ไม่เป็นสุข จึงไม่ควรปล่อยให้ลาภสักการะชื่อเสียงครอบง�ำจิตจนลืมตัว เพราะถ้า ไม่รู้เทา่ กจ็ ะเปน็ เสมือนหนึ่งเบด็ ทีม่ ีเหยื่อลอ่ ให้หลงกลนื เขา้ ไป ๖. ราหุลสังยุตต์ ประมวลเรื่องพระราหุล เกี่ยวด้วยการท่ีพระผู้มีพระภาคทรง แสดงธรรมเรื่องตา่ ง ๆ แก่พระราหลุ ๗. ลักขณสังยุตต์ ประมวลเร่ืองพระลักขณะ ท่านผู้เดินทางไกลไปกับพระ มหาโมคคัลลานะผู้ได้เห็นส่ิงแปลก ๆ ต่าง ๆ แต่พระลักขณะไม่เห็น พระ มหาโมคคัลลานะจึงชวนท่านไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคกราบทูลเล่าถวาย พระผ้มู ีพระภาคตรัสตอบชีแ้ จงเหตุผล ๘. โอปัมมสังยุตต์ ประมวลเร่ืองเปรียบเทียบ เป็นค�ำสอนต่าง ๆ เช่น เร่ือง สุนัขข้เี รือ้ นอยทู่ ี่ไหนก็ไมส่ บาย คนชวั่ บางคนกม็ ีลกั ษณะเปน็ เช่นนน้ั ๙. ภกิ ขุสงั ยตุ ต์ ประมวลเรื่องภิกษุ แสดงถึงการที่พระผมู้ ีพระภาคบ้าง พระสาริบตุ ร และพระโมคคลั ลานะบา้ ง แสดงธรรมสั่งสอนภกิ ษุทั้งหลาย จบความยอ่ แห่งพระไตรปฎิ ก เลม่ ๑๖ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 704 5/4/18 2:25 PM

เล่ม ๑๗ สงั ยุตตนิกาย ขันธวารวรรค พระไตรปฏิ กเลม่ นี้ สว่ นใหญว่ า่ ด้วยเรอื่ งขนั ธ์ ๕ คือ ๑. รูป (ธาตุท้ังส่ีประชุมกันเป็นกาย และรูปอาศัย คืออาการอ่ืน ๆ ท่ีอาศัยธาตุทั้งส่ี ปรากฏข้นึ เชน่ ตา หู จมกู เป็นต้น)๑ ๒. เวทนา (ความรู้สึกอารมณ์เป็นสุข เป็นทุกข์ และมิใช่ทุกข์มิใช่สุข ซึ่งเกิดจาก สัมผัส ๖ มีสมั ผัสทางตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ) ๓. สัญญา (ความจ�ำไดห้ มายรู้ เชน่ จ�ำรูป จำ� เสยี ง เป็นตน้ ) ๔. สังขาร (ความคดิ หรอื เจตนาทเ่ี ป็นไปในรูป เสยี ง เปน็ ต้น) ๕. วิญญาณ (ความรแู้ จง้ อารมณ์ หมายถงึ รูส้ ึกว่า เหน็ รปู ฟังเสียง เป็นตน้ ) พระไตรปิฏกเลม่ น้ี รวมท้งั หมดมี ๑๓ สังยุตต์ คอื ๑. ขนั ธสงั ยตุ ต์ ประมวลเรอ่ื งขันธ์ กล่าวถงึ ขนั ธ์ ๕ พร้อมท้งั รายละเอียดต่าง ๆ ๒. ราธสังยุตต์ ประมวลเร่ืองพระราธะ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมส่ังสอน พระราธะผเู้ ดมิ เปน็ พราหมณ์ ภายหลงั มาบวชในพระพทุ ธศาสนา ทา่ นเปน็ ผวู้ า่ งา่ ย รบั ฟังโอวาทด้วยความเคารพ ๓. ทฏิ ฐิสงั ยตุ ต์ ประมวลเรือ่ งทฏิ ฐิ คอื ความคิดเห็นทเ่ี น่ืองดว้ ยขนั ธ์ ๕ ๔. โอกกนั ตสงั ยุตต์ ประมวลเรอื่ งขา้ มพน้ ภมู ชิ นั้ ต�่ำหรือภูมบิ ุถชุ น ๕. อุปปาทสังยุตต์ ประมวลเร่ืองความเกิดขึ้น แห่งตา หู เป็นต้น เท่ากับเป็น ความเกดิ ข้นึ แหง่ ทุกข์ ๖. กิเลสสังยตุ ต์ ประมวลเรือ่ งกิเลส คอื ความชัว่ ภายในจติ ใจทที่ �ำใจให้เศรา้ หมอง ๗. สาริปตุ ตสังยตุ ต์ ประมวลเรือ่ งพระสารบิ ตุ ร ๘. นาคสังยตุ ต์ ประมวลเร่อื งนาค คอื สตั ว์ประเภทงู ๙. สปุ ณั ณสังยตุ ต์ ประมวลเรื่องครฑุ คอื สัตว์ประเภทนก ๑๐. คันธัพพกายสังยุตต์ ประมวลเรื่องเทพพวกคนธรรพ์ คือ เทพที่สิงอยู่ ณ กล่ิน แห่งรากไม้ แก่นไม้ กะพี้ไม้ เปลือกไม้ สะเก็ดไม้ ใบไม้ ดอกไม้ ผลไม้ รสไม้ กลิน่ ไม้ ๑ รูปเกิดขน้ึ เพราะอาหาร ถา้ ดบั อาหาร รูปกด็ บั คำ� อธบิ ายตอนนีป้ รากฏในเลม่ ๑๖ หนา้ ๗๒ ถงึ ๗๕ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 705 5/4/18 2:25 PM

706 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๑๑. วลาหกสังยุตต์ ประมวลเร่ืองวลาหกคือเมฆ คือเมฆหนาว เมฆร้อน เมฆหมอก เมฆลม และเมฆฝน ๑๒. วัจฉโคตตสังยุตต์ ประมวลเร่ืองวัจฉโคตตปริพพาชก (ควรดูข้อความหน้า ๖๒๔ - ๖๒๗ ประกอบด้วย) ๑๓. สมาธิสงั ยตุ ต์ ประมวลเรือ่ งสมาธิ คอื การทำ� ใจใหต้ ง้ั มน่ั จบความยอ่ แห่งพระไตรปฎิ ก เล่ม ๑๗ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 706 5/4/18 2:25 PM

เลม่ ๑๘ สงั ยุตตนิกาย สฬายตนวรรค พระไตรปิฏกเล่มน้ี ว่าด้วยเรื่องอายตนะ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ในชั้นแรก ไม่จัดเป็นสังยุตต์ แต่จัดเป็นหมวด ๕๐ (ปัณณาสกะ๑) รวม ๔ หมวด คือปัณณาสกะท่ี ๑ ถึงที่ ๔ รวมท้ังสิ้นประมาณ ๒๐๐ สูตร ว่าด้วยเร่ืองตา หู เป็นต้น๒ ต่อไปจึงจัดเป็นสังยุตต์ รวม ๑๐ สังยุตต์ คือ ๑. สฬายตนสงั ยตุ ต์ ประมวลเร่ืองอายตนะ ๖ ๒. เวทนาสังยุตต์ ประมวลเร่ืองเวทนา แสดงถึงเวทนา ๒ ประการ ถึงเวทนา ๑๐๘ ประการ ๓. มาตุคามสังยุตต์ ประมวลเร่ืองมาตุคาม คือผู้หญิง ๔. ชัมพุขาทกสังยุตต์ ประมวลเรื่องปริพพาชกช่ือชัมพุขาทกะ ผู้โต้ตอบกับ พระสารบิ ตุ ร ๕. สามณั ฑกสงั ยตุ ต์ (ประมวลเรอื่ งปรพิ พาชก ชอื่ สามณั ฑก) ๖. โมคคลั ลานสังยตุ ต์ ประมวลเรอื่ งพระโมคคลั ลานะ ๗. จิตตคหปตปิ จุ ฉาสงั ยตุ ต์ ประมวลเรอ่ื งค�ำถามของจิตตคฤหบดี ๘. คามณิสังยุตต์ ประมวลเร่ืองนายบ้าน คือผู้ปกครองหมู่บ้านมีช่ือต่าง ๆ กัน แสดงถึงการทพ่ี ระผูม้ ีพระภาคตรัสส่งั สอนนายบา้ นเหลา่ นั้น ๙. อสงั ขตสงั ยุตต์ ประมวลเรอื่ งอสังขตะ คือส่ิงท่มี ไิ ด้ถกู ปจั จัยปรุงแตง่ ๑๐. อัพยากตสังยุตต์ ประมวลเร่ืองท่ีพระผู้มีพระภาคไม่ตรัสช้ีชัด คือเร่ืองท่ีไม่มี ประโยชน์ ท�ำใหโ้ ตเ้ ถยี งกนั เปล่า ๆ จบความย่อแห่งพระไตรปิฎก เลม่ ๑๘ ๒๑ ปัณณาสกะ บางครง้ั เขียนเป็น ปณั ณาสก์ ซ่งึ มีความหายว่า ๕๐ - ม.พ.ป. ๖ ทัง้ หมด ๔ หมวดน้ี นา่ จะเรียกวา่ สฬายตนสงั ยตุ ต์ ประมวลเรอื่ งอายตนะ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 707 5/4/18 2:25 PM

เล่ม ๑๙ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค พระไตรปฎิ กเล่ม ๑๙ น้ี ว่าดว้ ยธรรมะส�ำคัญเรอื่ งใหญ่ ๆ รวม ๑๒ สังยตุ ต์ คือ ๑. มคั คสงั ยุตต์ ประมวลเรือ่ งมรรคมอี งค์ ๘ อันเป็นทางปฏบิ ัตใิ ห้ถึงความดับทกุ ข์ ๒. โพชฌงคสังยุตต์ ประมวลเร่ืองโพชฌงค์ ๗ คือองค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ มสี ติ เป็นตน้ ๓. สติปัฏฐานสังยุตต์ ประมวลเรื่องสติปัฏฐาน ๔ คือการต้ังสติ ๔ ประการ มตี ้ังสติไวท้ ก่ี าย เป็นตน้ ๔. อินทรียสังยุตต์ ประมวลเรื่องอินทรีย์ ๕ คือธรรมอันเป็นใหญ่ในหน้าท่ีของตน มีศรัทธาความเชื่อ เป็นต้น ๕. สัมมัปปธานสังยุตต์ ประมวลเรื่องความเพียรชอบ ๔ ประการ มีเพียรท�ำไม่ให้ เกิดความช่วั ทีย่ งั ไม่เกิด เป็นต้น ๖. พลสังยุตต์ ประมวลเรื่องพละ ๕ คือธรรมะอันเป็นก�ำลัง ๕ ประการ มีศรัทธา ความเช่ือ เปน็ ต้น ๗. อิทธิปาทสังยุตต์ ประมวลเร่ืองอิทธิบาท ๔ คือธรรมะอันให้บรรลุความส�ำเร็จ ๔ ประการ มฉี ันทะความพอใจ เปน็ ตน้ (พึงสงั เกตว่า ตง้ั แตส่ ังยุตต์ท่ี ๑ ถึงที่ ๗ น้ี วา่ ด้วยโพธิปกั ขิยธรรม ๓๗ ประการ เปน็ แต่ไมเ่ รยี งลำ� ดบั ตามหมวดเท่านน้ั ) ๘. อนรุ ทุ ธสังยุตต์ ประมวลเรื่องพระอนรุ ทุ ธ์ ผู้เปน็ พทุ ธอนชุ า ๙. ฌานสังยุตต์ ประมวลเรือ่ งฌาน คือการเพง่ อารมณจ์ นจติ สงบได้ฌานที่ ๑ ถงึ ที่ ๔ ๑๐. อานาปานสังยุตต์ ประมวลเร่ืองสติก�ำหนดลมหายใจเข้าออก ซ่ึงเป็นวิธีท�ำจิต ใหส้ งบประการหนงึ่ ทน่ี ับวา่ ส�ำคญั ๑๑. โสตาปัตติสังยุตต์ ประมวลเรื่องการที่จะเป็นพระโสดาบัน คือพระอริยบุคคล ชน้ั ท่ี ๑ ซ่งึ นับเป็นชัน้ แรกใน ๔ ช้นั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 708 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๙ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค 709 ๑๒. สัจจสังยุตต์ ประมวลเรื่องอริยสัจจ์ ซึ่งเป็นธรรมะที่เป็นหลักส�ำคัญทาง พระพทุ ธศาสนา จบความยอ่ แหง่ พระไตรปฏิ ก เล่ม ๑๙ ัสง ุยตตร ินกาย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 709 5/4/18 2:25 PM

องั คุตตรนิกาย๑ เอกนิบาต ตกิ นบิ าต ปัญจกนบิ าต สัตตกนบิ าต นวกนิบาต เอกาทสกนิบาต ชุมนมุ ธรรมะ ชมุ นมุ ธรรมะ ชุมนุมธรรมะ ชุมนุมธรรมะ ชุมนุมธรรมะ ชุมนุมธรรมะ ท่มี ี ๑ ขอ้ ที่มี ๓ ขอ้ ทีม่ ี ๕ ขอ้ ที่มี ๗ ขอ้ ท่มี ี ๙ ขอ้ ทม่ี ี ๑๑ ขอ้ ทกุ นิบาต จตุกกนิบาต ฉักกนบิ าต อัฏฐกนบิ าต ทสกนบิ าต ชุมนมุ ธรรมะ ชมุ นมุ ธรรมะ ชมุ นุมธรรมะ ชมุ นมุ ธรรมะ ชมุ นมุ ธรรมะ ทีม่ ี ๒ ขอ้ ทีม่ ี ๔ ข้อ ทมี่ ี ๖ ข้อ ทีม่ ี ๘ ขอ้ ทม่ี ี ๑๐ ขอ้ ๑ อังคุตตรนิกาย เป็นนิกายท่ี ๔ ในสุตตันตปิฎก เป็นพระสูตรหรือพระธรรมเทศนาเป็นข้อ ๆ ตามล�ำดับจ�ำนวน ตั้งแต่หลักธรรมท่ีมี ๑ ข้อ ถึงหลักธรรมที่มี ๑๑ ข้อ รวมเป็นพระสูตร ๙,๕๕๗ สูตร จัดพิมพ์เป็นคัมภีร์ ๕ เล่ม คือ พระไตรปฎิ ก เลม่ ๒๐ ถงึ เล่ม ๒๔ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 710 5/4/18 2:25 PM

เล่ม ๒๐ องั คุตตรนกิ าย เอก - ทกุ - ตกิ นิบาต เมอื่ จบหมวดประมวลเรอ่ื งราวหรอื สงั ยตุ ตนกิ ายแลว้ จงึ มาถงึ หมวดทแ่ี สดงหลกั ธรรม เปน็ จำ� นวนซึ่งเรียกว่าองั คตุ ตรนกิ าย พระไตรปิฎกในหมวดนยี้ งั คงเป็นสตุ ตันตปฎิ ก มีดว้ ยกัน ทั้งหมด ๕ เลม่ เรมิ่ ด้วย เลม่ ๒๐ จนถงึ เลม่ ๒๔ ในการน้ี เล่ม ๒๐ วา่ ดว้ ยหลกั ธรรมจ�ำนวน ๑ - ๒ - ๓ จงึ ใชค้ ำ� บาลวี า่ เอก - ทกุ - ตกิ นบิ าต เลม่ ๒๑ ว่าดว้ ยหลกั ธรรมจำ� นวน ๔ จึงใช้ค�ำบาลีว่า จตุกกนบิ าต เล่ม ๒๒ ว่าดว้ ยหลกั ธรรมจำ� นวน ๕ - ๖ จงึ ใช้ค�ำบาลีวา่ ปญั จก - ฉกั กนิบาต เลม่ ๒๓ ว่าดว้ ยหลักธรรมจ�ำนวน ๗ - ๘ - ๙ จึงใช้ค�ำบาลีว่า สตั ตก - อัฏฐก - นวกนบิ าต เล่ม ๒๔ ว่าด้วยหลักธรรมจำ� นวน ๑๐ - ๑๑ จงึ ใช้ค�ำบาลีวา่ ทสก - เอกาทสกนบิ าต การกำ� หนดจ�ำนวนพระสูตรวา่ ในหมวดไหน หรือนิกายไหน มกี ีส่ ตู รนน้ั ในตอนแรก ๆ ก็ก�ำหนดง่ายนับง่าย เพราะแต่ละสูตรก็มีข้อความยืดยาว คือ ๑๐ สูตรหรือกว่าน้ันเล็กน้อย ก็รวมเป็น ๑ เล่ม แต่ในตอนหลังนี้ แต่ละเล่มมีกว่าพันสูตร เพราะข้อความไม่กี่บรรทัดก็ นับได้ว่าเป็นสูตรหน่ึงแล้ว เพราะฉะน้ันต้ังแต่สังยุตตนิกาย เป็นต้นมา จึงควรก�ำหนดประเภท ของหลักธรรม และในอังคุตตรนิกายน้ีควรก�ำหนดจ�ำนวนเป็นเกณฑ์ว่า จ�ำนวน ๑ มีธรรมะ อะไรบ้าง จ�ำนวน ๑๐ มีอะไรบ้าง ดังน้ี ก็จะสะดวกขึ้น อย่างไรก็ตามเพ่ือให้มองเห็นจ�ำนวน พระสตู รในแต่ละนกิ ายอีกครัง้ หนึ่ง ขอน�ำมากล่าวไวใ้ นทีน่ ้ี เพ่ือใหพ้ ิจารณาดังต่อไปน้ ี ๑. ทฆี นกิ าย หมวดพระสูตรขนาดยาว (เลม่ ๙ ถงึ ๑๑ รวม ๓ เลม่ ) มี ๓๔ สตู ร ๒. มชั ฌมิ นกิ าย หมวดพระสตู รขนาดกลาง (เลม่ ๑๒ ถงึ ๑๔ รวม ๓ เลม่ ) มี ๑๕๒ สตู ร ๓. สงั ยตุ ตนกิ าย หมวดพระสูตรทป่ี ระมวลเร่อื งราว (เลม่ ๑๕ ถงึ ๑๙ รวม ๕ เล่ม) มี ๗๗๖๒ สตู ร ๔. อังคุตตรนิกาย หมวดพระสูตรแสดงหลักธรรมเป็นจ�ำนวน (เล่ม ๒๐ ถึง ๒๔ รวม ๕ เลม่ ) มี ๙๕๕๗ สตู ร ๕. ขุททกนิกาย หมวดพระสูตรเล็กน้อยหรือเบ็ดเตล็ด (เล่ม ๒๕ ถึง ๓๓ รวม ๙ เลม่ ) ไม่ไดแ้ สดงจ�ำนวนสตู รไว้ แต่มีคำ� กลา่ ววา่ สูตรท่ีเหลือจาก ๔ นิกาย ขา้ งตน้ กน็ บั เขา้ ในขุททกนิกายท้ังสิน้ เมื่อเทียบดูจ�ำนวนสูตร ในพระสุตตันตปิฎกท้ังห้านิกาย ก็จะเห็นได้ว่ามาถึงนิกาย หลัง ๆ ตั้งแต่นิกายท่ี ๓ (สังยุตตนิกาย) มา เร่ืองเบ็ดเตล็ดหรือเร่ืองย่อย ๆ มีมากข้ึนจนไม่ สามารถจะย่อไดท้ กุ สูตรด่ังแต่กอ่ น จงึ ต้องย่ออยา่ งจบั สาระส�ำคญั เปน็ หมวดใหญ่ ๆ ไว้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 711 5/4/18 2:25 PM

712 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ เฉพาะในเลม่ ๒๐ คอื องั คตุ ตรนกิ าย ทว่ี า่ ดว้ ยหลกั ธรรมเปน็ จำ� นวน ๑ - ๒ - ๓ นี้ ทา่ น ผู้อ่านย่อมเห็นได้ชัดว่า ควรจะได้แบ่งส่วนส�ำคัญออกเป็น ๓ ส่วนตามจ�ำนวนเลขนั้น คือ รวมหลักธรรมจ�ำนวน ๑ เรียก เอกนิบาต รวมหลักธรรมจ�ำนวน ๒ เรียก ทุกนิบาต รวม หลักธรรมจ�ำนวน ๓ เรียก ติกนิบาต ก่อนที่จะกล่าวรายละเอียดพอสมควร จะขอชี้แจง สว่ นใหญ่หรือความส�ำคญั ใน ๓ ชัน้ นัน้ เป็นการน�ำทางไวใ้ นเบอื้ งแรก คอื เอกนิบาต ชุมนุมธรรมะทีม่ ี ๑ ขอ้ ในหมวดน้ี แบง่ เปน็ หมวดใหญ่ ๖ หมวดดว้ ยกัน คอื ๑. เอกธมั มาทิปาลิ บาลวี า่ ด้วยธรรมะข้อ ๑ เป็นต้น พระพทุ ธเจ้าตรัสวา่ ธรรมะขอ้ ๑ หรือ ๑ ขอ้ มคี วามสำ� คญั ในทางต่าง ๆ กัน ทางไหนบ้าง ๒. เอกปุคคลปาลิ บาลีว่าด้วยบุคคลคนหน่ึง จะเป็นใครก็ตาม ท่ีมีลักษณะอย่างน้ัน อยา่ งน้ี นบั วา่ เป็นผูห้ ายากหรือคนอัศจรรย์ เป็นต้น ๓. เอตทัคคปาลิ บาลีว่าด้วยเอตทัคคะ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ที่ พระผู้มีพระภาคทรงยกย่องให้เป็นเลิศในทางต่าง ๆ ตามความรู้ ความสามารถ ความประพฤติ และความถนัด ๔. อัฏฐานปาลิ บาลีว่าด้วยส่ิงท่ีเป็นไปไม่ได้ เช่น เป็นไปไม่ได้ที่คนผู้สมบูรณ์ด้วย ทิฏฐิ (ผไู้ มม่ คี วามคดิ เหน็ วิปลาสหรือพระโสดาบันขึน้ ไป) จะฆ่ามารดาบิดา ๕. อปรา เอกธัมมาทิปาลิ บาลีว่าด้วยธรรมะข้อ ๑ เป็นต้น อีกส่วนหนึ่ง เป็นการ กลา่ วเพิ่มเตมิ จาก หมวดที่ ๑ ๖. ปสาทกรธมั มาทิปาลิ บาลีวา่ ดว้ ยธรรมะท่ีท�ำใหเ้ กดิ ความเลื่อมใส เป็นต้น ธรรมะทัง้ หกหมวดนี้ รวมกันแลว้ มี ๑๐๐๐ สตู รพอดี บางหมวดก็มมี าก บางหมวด กม็ นี อ้ ย โดยปกติจดั ๑๐ สตู รเปน็ ๑ วรรค ๕๐ สูตรเป็น ๑ ปัณณาสกะ๑ ซึง่ ในการยอ่ ต่อไป จะไมก่ ลา่ วถึงวรรคและปัณณาสกะ จะกลา่ วแต่เนอ้ื หาธรรมะในหมวดน้นั ๆ ๑ ปัณณาสกะ บางครงั้ เขยี นเป็น ปณั ณาสก์ ซงึ่ มีความหมายว่า ๕๐ - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 712 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต 713 ทุกนบิ าต ชุมนุมธรรมะที่มี ๒ ข้อ ัอง ุคตตร ินกาย ในหมวดนี้ แบ่งส่วนใหญ่ออกเป็น ๔ ส่วน แต่ไม่กล่าวถึงเน้ือธรรมะ หากกล่าวถึง หมวด ๕๐ ท่ี ๑ ที่ ๒ ท่ี ๓ และหมวดพิเศษที่ไม่นับเข้าในหมวด ๕๐ แต่ในหมวด ๕๐ น้ัน (ซ่ึงหมายความว่ามี ๕๐ สูตร) ยังแบ่งเป็นวรรคอีกหมวดละ ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ สูตร ชื่อ วรรคกลา่ วตามประเภทธรรมะ เชน่ กมั มกรณวรรค (วรรคว่าด้วยเคร่ืองลงโทษ) ตกิ นบิ าต ชมุ นมุ ธรรมะท่มี ี ๓ ข้อ ในหมวดนี้ แบ่งส่วนใหญ่ออกเป็น ๔ ส่วน เช่นเดียวกับทุกนิบาต คงแปลกออกไป แต่ช่ือวรรคเท่าน้ัน ตอ่ ไปน้ีจะเป็นการยอ่ อยา่ งขยายความ ขยายความ เอกนิบาต ชมุ นมุ ธรรมะทม่ี ี ๑ ขอ้ ในการขยายความแห่งพระไตรปิฎกเล่ม ๒๐ น้ี เน่ืองด้วยไม่สามารถจะกล่าวโดย พิสดารทุกเน้ือถ้อยกระทงความ จึงจะใช้วิธีพิจารณาดูว่า ในหมวดไหนมีความส�ำคัญอย่าง ธรรมดา ก็จะน�ำมากล่าวพอเป็นตัวอย่างไม่น้อยกว่า ๑๐ ข้อ เร่ืองไหนมีความส�ำคัญทาง หลักฐานจริง ๆ เช่น เรื่องเอตทัคคะ ท่ีพระผู้มีพระภาคทรงยกย่องผู้น้ันผู้น้ีว่าเลิศทางไหน ก็ จำ� เป็นท่จี ะต้องระบนุ ามหมดทุกทา่ น ๑. เอกธมั มาทปิ าลิ (บาลวี ่าด้วยธรรมะ ๑ ขอ้ เปน็ ต้น) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ไมท่ รงเหน็ รปู อยา่ งอน่ื แมร้ ูปหนง่ึ ทร่ี ึงรดั จติ ของบุรษุ ได้เหมอื นรูปของหญิงเลย ต่อจากนั้นทรงแสดงทีละข้อถึงเสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะของหญิงท่ีรึงรัดจิตของ บรุ ษุ ไดอ้ ย่างไมม่ เี สียง กล่นิ รส โผฏฐพั พะอื่นเสมอเหมอื น โดยท�ำนองเดียวกัน ทรงแสดงรูป เสียง เป็นต้น ของบุรุษว่ารึงรัดจิตของหญิงได้ อย่างไม่มีรูป เสียงอื่น เป็นต้น เสมอเหมอื น ๒. ทรงแสดงว่า ไม่ทรงเห็นธรรมอื่นแม้ข้อหนึ่ง ที่เป็นเหตุให้ความพอใจในกามที่ยัง ไมเ่ กดิ เกิดขนึ้ ท่ีเกดิ แลว้ เจรญิ ไพบูลยิง่ ข้นึ เหมอื นสุภนมิ ติ (เคร่ืองหมายว่างาม คอื การกำ� หนด จติ ถึงสิง่ สวยงาม) ท่บี ุคคลไมใ่ สใ่ จโดยแยบคาย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 713 5/4/18 2:25 PM

714 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทรงแสดงตอ่ ไปวา่ ปฏิฆนิมิต (เคร่อื งหมายทเี่ ปน็ เหตขุ ดั ใจ) เปน็ เหตุให้เกิด พยาบาท (ความคดิ ปองรา้ ย) ความไมย่ นิ ดี ความเกยี จคร้าน ความซบเซา ความเมาอาหาร ความทอ้ แท้แหง่ จติ เปน็ เหตุให้เกิด ความหดหูง่ ่วงงนุ ความไม่สงบแห่งจิต เป็นเหตุใหเ้ กดิ ความฟ้งุ ซา่ นรำ� คาญใจ การไมใ่ ส่ใจโดยแยบคาย (ไมพ่ ิจารณาโดยละเอียดถี่ถว้ น) เป็นเหตุให้เกดิ ความลงั เลสงสัย ทรงแสดงในทางตรงกันข้าม คือแสดงถึงธรรมะที่เป็นเหตุไม่ให้นีวรณ์ ๕ ที่กล่าวมา แลว้ เกิดขึ้น ทีเ่ กิดขน้ึ แลว้ ก็จะละได้เปน็ ข้อ ๆ คอื อสุภนิมิต (เคร่อื งหมายหรือการก�ำหนดหมายถงึ สิ่งไม่งาม) เปน็ คปู่ รบั กบั กามฉนั ท์ (ความพอใจในกาม) เมตตา (ไมตรจี ิตคดิ จะใหเ้ ป็นสขุ ) เป็นคู่ปรบั กบั พยาบาท (ความคดิ ปองร้าย) ธาตคุ อื ความรเิ รมิ่ ความกา้ วออก ความกา้ วไปขา้ งหนา้ (อารมั ภธาตุ นกิ กมธาตุ ปรกั กมธาต)ุ เปน็ ค่ปู รับกับถีนมทิ ธะ (ความหดหงู่ ว่ งงนุ ) ความสงบแห่งจิต (เจตโส วูปสมะ) เป็นคปู่ รับกบั อุทธัจจกุกกุจจะ (ความฟุ้งซา่ นรำ� คาญใจ) การใสใ่ จโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) เป็นคปู่ รบั กบั วจิ ิกจิ ฉา (ความลงั เลสงสัย) ๓. ทรงแสดงว่า ไม่ทรงเห็นธรรมะอื่นแม้ข้อหน่ึง ท่ีถ้าไม่อบรมแล้วก็ใช้งานไม่ได้ เหมือนจิต แล้วทรงแสดงจิตอกี ๙ ลักษณะ คือ ธรรมะท่ีอบรมแลว้ ยอ่ มใชง้ านได้ ไมอ่ บรมแลว้ เป็นไปเพอื่ อนตั ถะ (ความพนิ าศ) อบรมแล้ว เป็นไปเพอื่ อัตถะ (ประโยชน์) ไม่อบรมแลว้ ไมป่ รากฏแลว้ เป็นไปเพือ่ อนัตถะใหญ่ อบรมแล้ว ปรากฏแลว้ เปน็ ไปเพอ่ื อัตถะใหญ่ ไม่อบรมแล้ว ไม่ทำ� ใหม้ ากแล้ว เป็นไปเพ่อื อนตั ถะใหญ่ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 714 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต 715 อบรมแล้ว ท�ำให้มากแล้ว เป็นไปเพื่ออัตถะใหญ่ ัอง ุคตตร ินกาย ไม่อบรมแล้ว ไม่ท�ำให้มากแล้ว นำ� ทุกข์มาให้ อบรมแลว้ ท�ำให้มากแล้ว นำ� ความสขุ มาให้ ธรรมะแต่ละขอ้ นี้ไมม่ อี ะไรเสมอเหมอื นจิต ๔. ทรงแสดงเรื่องจิตอีก ๑๐ ข้อ คือไม่ทรงเห็นธรรมอื่นแม้ข้อหนึ่ง ที่บุคคลไม่ฝึก แล้ว เป็นไปเพื่ออนัตถะใหญ่ ฝึกแล้ว เป็นไปเพ่ืออัตถะใหญ่ ไม่คุ้มครองแล้ว ไม่รักษาแล้ว ไม่ส�ำรวมระวังแล้ว ไม่ฝึก ไม่คุ้มครอง ไม่รักษา ไม่ส�ำรวมระวัง (กล่าวรวมถึง ๔ ข้อ) เป็นไป เพอื่ อนตั ถะใหญ่ ถ้าตรงกนั ข้าม คอื ค้มุ ครองแล้ว เปน็ ตน้ กเ็ ป็นไปเพือ่ อัตถะใหญ่ ๕. ทรงแสดงเร่ืองจิตต่อไปอีก เปรียบเหมือนข้าวเปลือกแห่งข้าวสาลีหรือข้าวเหนียว ถ้าต้ังไว้ผิดก็ต�ำมือต�ำเท้าหรือท�ำให้เลือดออกไม่ได้ ต่อเมื่อตั้งไว้ถูก จึงต�ำมือต�ำเท้า หรือท�ำให้ เลือดออกได้ จิตก็ฉันนั้น ถ้าต้ังไว้ผิดก็ท�ำลายอวิชชา (ความไม่รู้) ไม่ได้ ท�ำวิชชาความรู้ให้ เกิดขึ้นไม่ได้ ต่อตั้งไว้ถูกจึงท�ำลายอวิชชาและท�ำวิชชาให้เกิดข้ึนได้ นอกจากนั้นยังทรงแสดง ถึงการที่จิตอันโทษประทุษร้าย เป็นเหตุให้ไปนรก กับจิตผ่องใส เป็นเหตุให้ไปสวรรค์ จิตขุ่นมัว ท�ำให้ไม่รู้ประโยชน์ตนประโยชน์ผู้อื่น ไม่ท�ำให้แจ้งซึ่งธรรมอันย่ิงของมนุษย์ ส่วน จิตผ่องใสท�ำให้รู้ประโยชน์ดังกล่าวและท�ำให้รู้แจ้งธรรมอันยิ่งของมนุษย์ได้ จิตอ่อน ควรแก่ การงานย่ิงกว่าธรรมอย่างอ่ืน เหมือนไม้จันทน์เลิศกว่าไม้ชนิดอ่ืนเพราะอ่อน ควรแก่การงาน จิตเปล่ียนแปลงเร็วจนอุปมาได้ยาก จิตผ่องใส เศร้าหมองได้เพราะอุปกิเลส๑ ที่จรมา หลดุ พ้นได้จากอปุ กิเลสทจ่ี รมา ๖. ทรงแสดงเรื่องจิตตอ่ ไปอกี วา่ บุถชุ นผ้มู ิได้สดบั ไม่รู้ตามความจรงิ ไมม่ ีการอบรม จิต ส่วนอริยสาวกรู้ตามความจริง มีการอบรมจิต ถ้าภิกษุส้องเสพ อบรมใส่ใจเมตตาจิต แม้เพียงชั่วลัดน้ิวมือ ก็ช่ือว่าอยู่อย่างไม่ว่างจากฌาน ท�ำตามค�ำสอนของศาสดา บริโภคอาหาร ของราษฎรอย่างไม่เสียเปล่า จะกล่าวไยถึงการท�ำให้มากซึ่งเมตตาจิตนั้น ธรรมทั้งฝ่ายอกุศล และกุศลมีใจเป็นหัวหน้า ใจเกิดขึ้นก่อน อกุศลและกุศลจึงตามมา แล้วทรงแสดงความ ประมาท ความเกียจคร้าน ว่าท�ำให้อกุศลธรรมเกิดข้ึน กุศลธรรมเส่ือมไป และความ ไม่ประมาททำ� ให้กุศลธรรมเกดิ ขึ้น อกุศลธรรมเสอ่ื มไป ๑ อุปกิเลส คือเคร่ืองเศร้าหมองแห่งจิต มี ๑๖ อย่าง มีความโลภ ความคิดประทุษร้าย ความโกรธ เป็นต้น ดหู น้า ๕๓๑ วัตถปู มสูตร ข้อ ๒ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 715 5/4/18 2:25 PM

716 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๗. ทรงแสดงถึงการริเร่ิมความเพียรในท�ำนองเดียวกับความไม่ประมาท แล้วทรง แสดงธรรมฝ่ายช่ัว ฝ่ายดีเป็นคู่ ๆ ไป ท่ีท�ำให้อกุศลเกิดข้ึน หรือกุศลเกิดข้ึน เช่นเดียวกับ ความประมาท ความไม่ประมาท คือความปรารถนามาก ความปรารถนาน้อย ความไม่สันโดษ (ไม่ยินดีด้วยของของตน) ความสันโดษ ความไม่ใส่ใจโดยแยบคาย ความใส่ใจโดยแยบคาย ความไม่ร้ตู วั ความรตู้ วั ความเปน็ ผู้คบคนช่วั เปน็ มติ ร คบคนดีเป็นมิตร (ทรงแสดงโดยทำ� นองน้ี จนครบ ๑๒ ข้อใหญ่ หรอื ประมาณ ๑๒๐ หวั ข้อย่อย) ๒. เอกปุคคลปาลิ (บาลีว่าด้วยบุคคลคนหนง่ึ ) ทรงแสดงว่าบุคคลผู้หนึ่งท่ีเกิดมาในโลก เพ่ือประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ยากที่จะปรากฏขึ้นในโลก เกิดข้ึนก็เป็นอัจฉริยมนุษย์ การท�ำกาละ (ตาย) ก็ท�ำให้ชนเป็นอันมากเดือดร้อนใจถึง เกิดขึ้นก็ไม่มีผู้ใดเทียม เกิดข้ึน ก็เหมือนเกิดดวงตา แสงสว่าง ท�ำให้มีการบรรลุคุณธรรมต่าง ๆ จนถึงอรหัตตผล ในท่ีสุด ทรงแสดงว่า ไม่ทรงเห็นบุคคลอ่ืนแม้คนหน่ึง ที่จะแสดงธรรมจักรได้ดีตามท่ีพระตถาคตแสดง แลว้ ไดเ้ หมือนพระสาริบตุ ร ๓. เอตทัคคปาลิ (บาลีว่าดว้ ยเอตทัคคะ คือบคุ คลที่ได้รบั ยกยอ่ งวา่ เปน็ ผ้เู ลิศ) เอตทคั คะฝา่ ยภิกษุ ๑. พระอัญญาโกณฑัญญะ เป็นผู้เลิศในทางรู้ราตรี (รัตตัญญูเป็นคนเก่าแก่เห็น เหตุการณม์ ามาก) ๒. พระสารบิ ตุ ร เปน็ ผเู้ ลิศในทางมปี ญั ญามาก ๓. พระมหาโมคคลั ลานะ เป็นผ้เู ลิศในทางมฤี ทธิ์ ๔. พระมหากสั สปะ เปน็ ผ้เู ลิศในทางกลา่ วขดั เกลา (ธูตวาทะ พดู ยกย่องธุดงค์) ๕. พระอนรุ ทุ ธะ เป็นผู้เลศิ ในทางมที ิพยจักษุ ๖. พระภทั ทิยะ กาฬิโคธายบุตร เปน็ ผ้เู ลิศในทางมีสกลุ สูง ๗. พระลกณุ ฏกะ ภทั ทยิ ะ เป็นผเู้ ลศิ ในทางมีเสยี งไพเราะ ๘. พระปณิ โฑละ ภารทวาชะ เปน็ ผู้เลิศในทางบนั ลอื สหี นาท (เปล่งวาจาอย่างองอาจ) ๙. พระปุณณะ มนั ตานบี ตุ ร เปน็ ผเู้ ลิศในทางแสดงธรรม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 716 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต 717 ๑๐. พระมหากจั จานะ เป็นผูเ้ ลิศในทางจำ� แนกอรรถแหง่ ภาษติ โดยพิสดาร ัอง ุคตตร ินกาย ๑๑. พระจลุ ลปันถกะ เปน็ ผู้เลิศในทางนิรมิตกายอันส�ำเรจ็ ดว้ ยใจ ๑๒. พระจลุ ลปันถกะ เป็นผเู้ ลศิ ในทางฉลาดในววิ ฏั ฏะ (ธรรมทไี่ ม่เวียนว่าย) ฝ่ายสมาธิ ๑๓. พระมหาปันถกะ เปน็ ผูเ้ ลิศในทางฉลาดในวิวัฏฏะฝ่ายปญั ญา ๑๔. พระสภุ ตู ิ เปน็ ผ้เู ลศิ ในทางมีอรณวิหาร (ธรรมเป็นเครอื่ งอย่ทู ีไ่ มม่ ขี า้ ศกึ ) ๑๕. พระสภุ ตู ิ เป็นผู้เลศิ ในทางควรแกข่ องถวาย (ทกั ขิเณยยะ) ๑๖. พระเรวตะ ขทิรวนิยะ เป็นผู้เลศิ ในทางอย่ปู ่า ๑๗. พระกงั ขาเรวตะ เปน็ ผ้เู ลิศในทางเข้าฌาน ๑๘. พระโสณะ โกลิวิสะ เป็นผเู้ ลิศในทางปรารภความเพียร ๑๙. พระโสณะ กฏุ ิกณั ณะ เป็นผู้เลศิ ในทางกล่าววาจาไพเราะ ๒๐. พระสวี ลี เป็นผูเ้ ลศิ ในทางมีลาภ ๒๑. พระวกั กลิ เป็นผเู้ ลศิ ในทางน้อมใจไปตามความเชือ่ (สทั ธาธิมุต) ๒๒. พระราหุล เปน็ ผ้เู ลิศในทางใคร่ตอ่ การศึกษา ๒๓. พระรัฏฐปาละ เปน็ ผูเ้ ลิศในทางบวชด้วยศรทั ธา ๒๔. พระกุณฑธานะ เป็นผูเ้ ลศิ ในทางจับสลาก๑ เป็นองคแ์ รก ๒๕. พระวงั คสี ะ เป็นผู้เลศิ ในทางมปี ฏิภาณ ๒๖. พระอปุ เสนะ วังคนั ตบุตร เป็นผู้เลศิ ในทางทำ� ใหเ้ กดิ ความเล่ือมใสทว่ั ไป ๒๗. พระทพั พะ มัลลบตุ ร เป็นผู้เลิศในทางจดั เสนาสนะ (จดั ทอี่ ยู่อาศยั ) ๒๘. พระปลิ ินทวจั ฉะ เป็นผ้เู ลิศในทางเปน็ ทรี่ ักเป็นทพี่ อใจของเทวดา ๒๙. พระพาหยิ ะ ทารจุ รี ิยะ เปน็ ผเู้ ลิศในทางตรัสรไู้ ด้เร็ว ๓๐. พระกมุ ารกสั สปะ เปน็ ผู้เลิศในทางกลา่ วธรรมะอนั วจิ ิตร (ดว้ ยอุปมา) ๓๑. พระมหาโกฏฐิตะ เป็นผู้เลิศในทางบรรลปุ ฏิสัมภทิ า (ความแตกฉาน) ๓๒. พระอานนท์ เป็นผเู้ ลิศในทางพหุสุต (สดับตรับฟงั มาก) ๓๓. พระอานนท์ เปน็ ผู้เลศิ ในทางมีสติ (ความระลกึ ได้ ความทรงจำ� ) ๑ ค�ำว่า สลาก แปลว่า ซ่ีไม้ เม่ือมีของถวายไม่เหมือนกันหรือไม่พอจ�ำนวนแก่พระก็ต้องใช้วิธีจับสลาก ด้วย คณุ ความดีของท่าน ท่านจบั สลากได้เปน็ องค์แรก PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 717 5/4/18 2:25 PM

718 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๓๔. พระอานนท์ เป็นผู้เลิศในทางมีคติ (คติ แปลว่า ทางไปหรือที่ไป อรรถกถาอธิบาย วา่ ตั้งอย่ใู นบทเดียว เรียนได้หกพนั บท จำ� ไดท้ กุ บทตามท่พี ระพุทธเจา้ ตรสั นา่ จะ หมายความวา่ เปน็ ผรู้ จู้ กั หลกั การในการเรยี นรู้ คอื เมอื่ จบั หลกั ไดอ้ ยา่ งหนงึ่ แลว้ แม้ จะอธิบายยักย้ายนัยไปอย่างไร ก็เข้าใจและจ�ำได้หมด รวมความว่า เมื่อได้หลัก เพยี งขอ้ เดียวก็มีทางเขา้ ใจไปไดม้ ากขอ้ ) ๓๕. พระอานนท์ เป็นผเู้ ลศิ ในทางมธี ิติ (ธิติ โดยทวั่ ไปแปลว่า ความอดทน อรรถกถา แกว้ า่ ความเพยี ร คอื เพยี รในการเรยี น การทอ่ งจำ� การทรงจำ� การอปุ ฐาก หรอื รบั ใช้ พระศาสดา) ๓๖. พระอานนท์ เปน็ ผู้เลศิ ในทางอุปฐาก (รบั ใชพ้ ระพทุ ธเจ้า) ๓๗. พระอรุ เุ วลกัสสปะ เปน็ ผู้เลิศในทางมีบรษิ ทั (บริวาร) มาก ๓๘. พระกาฬทุ ายี เปน็ ผูเ้ ลิศในทางท�ำสกลุ ใหเ้ ลือ่ มใส ๓๙. พระพกั กลุ ะ เป็นผ้เู ลศิ ในทางมีอาพาธน้อย ๔๐. พระโสภติ ะ เป็นผ้เู ลศิ ในทางระลกึ ชาตไิ ด้ ๔๑. พระอบุ าลี เปน็ ผ้เู ลิศในทางทรงจ�ำพระวนิ ยั ๔๒. พระนนั ทกะ เปน็ ผู้เลศิ ในทางให้โอวาทแกน่ างภิกษณุ ี ๔๓. พระนันทะ เปน็ ผเู้ ลศิ ในทางส�ำรวมอนิ ทรีย์ (คือ ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ) ๔๔. พระมหากัปปนิ ะ เปน็ ผู้เลศิ ในทางใหโ้ อวาทแกภ่ ิกษุ ๔๕. พระสาคตะ เป็นผู้เลิศในทางฉลาดในธาตุไฟ (หมายถึงฉลาดในการเข้าสมาบัติ มีธาตุไฟเปน็ อารมณ์ท�ำใหเ้ กดิ ธาตไุ ฟขึน้ ได้) ๔๖. พระราธะ เป็นผู้เลิศในทางท�ำให้เกิดปฏิภาณ (ในการแสดงพระธรรมเทศนาของ พระพทุ ธเจ้า) ๔๗. พระโมฆราชะ เป็นผ้เู ลศิ ในทางทรงจวี รสีหมอง (หมายเหตุ : นับตามทางท่ีเลิศได้ ๔๗ ทาง แต่นับจ�ำนวนบุคคล จะได้เพียง ๔๑ ท่าน เพราะบางท่านไดร้ ับยกย่องว่าเป็นผเู้ ลิศหลายทาง) เอตทคั คะฝ่ายภกิ ษณุ ี ๑. พระนางมหาปชาบดี โคตมี เป็นผู้เลิศในทางรู้ราตรี (รัตตัญญู เพราะเป็นภิกษุณี องค์แรก) ๒. พระนางเขมา เป็นผู้เลิศในทางมีปัญญามาก (พระมเหสีของพระเจ้าพิมพิสาร ออกทรงผนวช) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 718 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต 719 ๓. นางอุปปลวณั ณา เปน็ ผเู้ ลิศในทางมฤี ทธิ์ ัอง ุคตตร ินกาย ๔. นางปฏาจารา เปน็ ผู้เลิศในทางทรงจำ� พระวินัย ๕. นางธมั มทนิ นา เป็นผเู้ ลศิ ในทางแสดงธรรม ๖. พระนางนนั ทา (นอ้ งพระอนรุ ทุ ธ)์ เปน็ ผเู้ ลิศในทางเข้าฌาน ๗. นางโสณา เปน็ ผ้เู ลศิ ในทางปรารภความเพยี ร ๘. นางสกุลา เป็นผเู้ ลิศในทางมที พิ ยจักษุ ๙. นางกุณฑลเกสา เป็นผูเ้ ลิศในทางตรัสรไู้ ดเ้ รว็ ๑๐. นางภัททา กาปลิ านี เปน็ ผเู้ ลิศในทางระลึกชาติได้ ๑๑. พระนางภัททา กัจจานา (พระนางยโสธรา) เป็นผู้เลิศในทางบรรลุอภิญญาใหญ่ (อรรถกถาแสดงว่ามีความสามารถระลึกเหตุการณ์ในกัปป์ต่าง ๆ ย้อนหลังไปได้ มากนบั ไมถ่ ้วน) ๑๒. นางกิสาโคตมี เป็นผเู้ ลศิ ในทางทรงจวี รสหี มอง ๑๓. นางสคิ าลมาตา เปน็ ผูเ้ ลศิ ในทางนอ้ มไปตามความเชื่อ (สทั ธาธิมุต) เอตทัคคะฝา่ ยอบุ าสก (สาวกท่มี ไิ ดบ้ วช) ๑. พอ่ ค้าชอื่ ตปุสสะ และภัลลกิ ะ เป็นผเู้ ลิศในทางถงึ สรณะ (ถึงพระพุทธ พระธรรม เป็นสรณะ) รายแรก ๒. อนาถปิณฑิกะ คฤหบดี (ผูม้ ีชอ่ื เดิมวา่ สทุ ตั ตะ) เปน็ ผเู้ ลศิ ในทางถวายทาน ๓. จิตตะ คฤหบดี ผ้อู ยู่ ณ นครมัจฉิกาสณฑ์ เปน็ ผู้เลิศในทางแสดงธรรม ๔. หตั ถกะ อาฬวกะ (ชาวอาฬว)ี เปน็ ผเู้ ลศิ ในทางสงเคราะหบ์ รษิ ทั ดว้ ยสงั คหวตั ถุ ๔๑ ๕. มหานาม ศากยะ เป็นผเู้ ลิศในทางถวายของท่ปี ระณตี ๖. อุคคะ คฤหบดี ชาวกรุงเวสาลี เป็นผู้เลิศในทางถวายของที่ชอบใจ ๗. อุคคตะ คฤหบดี เปน็ ผู้เลิศในทางอปุ ฐาก (รับใช)้ พระสงฆ์ ๘. สูระ อัมพฏั ฐะ เปน็ ผู้เลศิ ในทางมีความเลือ่ มใสไมห่ วัน่ ไหว ๙. ชีวก โกมารภัจจ์ เป็นผู้เลิศในทางเล่ือมใสในบุคคล (เจาะจงเฉพาะผู้ที่ตนเห็นว่า ดงี าม) ๑๐. คฤหบดี ผเู้ ปน็ บดิ าของนกลุ มาณพ เปน็ ผเู้ ลศิ ในทางมคี วามคนุ้ เคย (กบั พระพทุ ธเจา้ ) ๑ สังคหวัตถุ เรื่องของการสงเคราะห์ ๔ อย่าง คือ (๑) การให้ (๒) การพูดไพเราะ (๓) การบ�ำเพ็ญประโยชน์ (๔) การวางตวั ให้เหมาะสมคอื ใหเ้ ขา้ กนั ไดต้ ามฐานะ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 719 5/4/18 2:25 PM

720 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ เอตทัคคะฝา่ ยอุบาสิกา (สาวิกาทีม่ ไิ ดบ้ วช) ๑. นางสุชาดา ผู้เป็นธิดาของกุฏุมพี (เศรษฐี) ช่ือเสนิยะ เป็นผู้เลิศในทางถึงสรณะ เป็นคนแรก (นางสุชาดาคนน้ีเป็นผู้ถวายข้าวมธุปายาสแด่พระผู้มีพระภาค และ เป็นมารดาของยสกุลบตุ ร) ๒. นางวิสาขา มิคารมาตา๑ เปน็ ผ้เู ลศิ ในทางถวายทาน ๓. นางขชุ ชุตตรา เป็นผูเ้ ลศิ ในทางสดบั ตรับฟงั มาก ๔. นางสามาวดี เป็นผู้เลศิ ในทางมเี มตตาเปน็ ธรรมเครื่องอยู่ ๕. นางอุตตรา ผูเ้ ป็นมารดาของนนั ทมาณพ เป็นผเู้ ลิศในทางเขา้ ฌาน ๖. นางสปุ ปวาสา ธดิ าของโกลิยกษตั รยิ ์ เป็นผเู้ ลศิ ในทางถวายของประณตี ๗. นางสุปปิยา อบุ าสิกา เป็นผู้เลิศในทางพยาบาลไข้ ๘. นางกาติยานี เปน็ ผเู้ ลิศในทางเล่ือมใสไม่หวนั่ ไหว ๙. คฤหปตานี ผู้เป็นมารดาของนกุลมาณพ เป็นผู้เลิศในทางมีความคุ้นเคย (กับ พระพทุ ธเจ้า) ๑๐. นางกาลี อุบาสิกา เปน็ ผเู้ ลิศในทางเล่อื มใส เพราะฟงั จากผู้อ่ืน (ฟังผ้อู ่นื สรรเสรญิ พระรตั นตรัยได้บรรลุโสดาปัตติผล) ๔. อัฏฐานปาลิ (บาลวี า่ ดว้ ยสิ่งท่เี ปน็ ไปไม่ได้) ทรงแสดงฐานะที่เป็นไปไม่ได้ แล้วแสดงฐานะที่เป็นไปได้ ประกอบรวมประมาณ ๓๐ ข้อ โดยใจความเร่ืองคนชั่วคนดี ความชั่วความดีเป็นไปไม่ได้ที่จะปรากฏผลในทาง ตรงกันข้าม เช่น ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฏฐิ (พระอริยบุคคลช้ันโสดาบันข้ึนไป) เป็นไปไม่ได้ที่จะเห็น สังขารว่าเที่ยง ว่าเป็นสุข เห็นธรรมะว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) แต่เป็นไปได้ที่บุถุชนจะเห็นสังขาร ว่าเท่ียง ว่าเป็นสุข เห็นธรรมะว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฏฐิ เป็นไปไม่ได้ท่ีจะฆ่า มารดา ฆ่าบิดา ฆ่าพระอรหันต์ ท�ำโลหิตของพระตถาคตให้ห้อด้วยจิตคิดประทุษร้าย ท�ำลาย สงฆใ์ หแ้ ตกกนั อุทศิ ศาสดาอืน่ (หนั ไปนับถอื ศาสนาอืน่ ) แตเ่ ปน็ ไปไดท้ ีบ่ ุถชุ นจะท�ำการเช่นน้ัน ๑ คำ� น้ี แปลวา่ มารดาของมิคารเศรษฐี ความจริงเศรษฐผี ้นู ี้เปน็ บดิ าของสามีนางวิสาขาและค่อนขา้ งเกเร นางวิสาขา เอาความดีชนะจนบดิ าของสามียอมใหเ้ กยี รตเิ รียกเปน็ มารดา PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 720 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต 721 เป็นไปไม่ได้ที่ในโลกธาตุเดียวกันจะมีพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพร้อม ๆ กัน ๒ พระองค์ ัอง ุคตตร ินกาย แต่เป็นไปไดท้ ใ่ี นโลกธาตเุ ดียวจะมีพระอรหนั ตสัมมาสัมพทุ ธเจา้ พระองคเ์ ดียว ๕. อปรา เอกธัมมาทปิ าลิ (บาลวี ่าด้วยธรรมะขอ้ หนึ่ง เปน็ ตน้ อื่นอกี ) ทรงแสดงธรรมะขอ้ เดียวท่เี ปน็ ไปเพื่อเหตผุ ลในทางทด่ี ีทชี่ ว่ั ต่าง ๆ รวมประมาณ ๔๐ ข้อ เช่น ล�ำดับอนุสสติ ๑๐ ทีละข้อ มีพุทธานุสสติ (การระลึกถึงพระพุทธเจ้า) เป็นต้นว่า เจริญ ท�ำให้มากแล้ว เป็นไปเพื่อเบ่ือหน่าย คลายก�ำหนัด ดับทุกข์ สงบระงับ รู้ย่ิง ตรัสรู้ และ นิพพานได้ นอกจากน้ัน ทรงแสดงถึงมิจฉาทิฏฐิ (ความเห็นผิด) ว่าเป็นเหตุให้อกุศลธรรม เกิดข้ึนและเจริญขึ้น ส่วนสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) เป็นเหตุให้กุศลธรรมเกิดข้ึนและ เจรญิ ขึน้ เป็นตน้ ๖. ปสาทกรธมั มาทิปาลิ (บาลีว่าด้วยธรรมะทท่ี ำ� ให้เกดิ ความเลื่อมใส เปน็ ต้น) ทรงแสดงลาภอย่างแน่นอน (เป็นลาภโดยส่วนเดียว) (ของภิกษุ) คือการอยู่ป่า การ ถอื บิณฑบาต การทรงไตรจวี ร (ไม่สะสมมาก) การเป็นผูแ้ สดงธรรม การเปน็ ผทู้ รงจ�ำวินยั การ สดับตรับฟังมาก การบวชได้ย่ังยืน การสมบูรณ์ด้วยอากัปปกิริยา (มารยาท) การสมบูรณ์ด้วย บริวาร การมีบริวารมาก ความเป็นกุลบุตร (ผู้ชาย) ความเป็นผู้มีผิวพรรณงาม ความเป็นผู้มี ถ้อยคำ� ไพเราะ ความเปน็ ผ้ปู รารถนาน้อย ความเปน็ ผมู้ อี าพาธ (โรคภยั ไขเ้ จบ็ ) นอ้ ย ทรงแสดงว่า ถา้ ภกิ ษุเจรญิ ฌานที่ ๑ ที่ ๒ ท่ี ๓ ท่ี ๔ เจริญเจโตวิมุติ (ความหลุดพ้นจากกิเลสเพราะสมาธิ) อันประกอบด้วยเมตตา กรุณา มุทติ า อุเบกขา เจริญสติปัฏฐาน (การต้ังสต)ิ ๔ เจริญอทิ ธิบาท (คณุ ให้บรรลคุ วามสำ� เร็จ) ๔ เจรญิ อินทรีย์ (ธรรมอันเปน็ ใหญม่ ีศรทั ธาและความเพียร เปน็ ต้น) ๕ เจริญธรรมอนั เปน็ กำ� ลัง ๕ เจรญิ ธรรมอันเปน็ องคแ์ หง่ ปัญญาเครอื่ งตรัสรู้ ๗ (โพชฌงค์ มสี ติ เปน็ ต้น) เจริญมรรคมอี งค์ ๘ (มคี วามเห็นชอบ เป็นต้น) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 721 5/4/18 2:25 PM

722 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ แม้ช่ัวลัดน้ิวมือเดียว ก็ช่ือว่าไม่ว่างจากฌาน ท�ำตามค�ำสอนของศาสดา บริโภคอาหาร ของราษฏรไม่เสียเปล่า จะกล่าวไยถึงการท�ำธรรมะดัง่ กลา่ วแต่ละขอ้ น้ันให้มาก ในตอนสุดทา้ ยทรงสรรเสริญกายคตาสติ คือสตทิ เี่ ป็นไปในกาย (รูต้ วั ในความเป็นไป ของกายต่าง ๆ ดหู น้า ๖๗๖) ว่าเปน็ เหตใุ หไ้ ด้บรรลอุ มตธรรม ทกุ นบิ าต ชุมนมุ ธรรมะที่มี ๒ ขอ้ ปฐมปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๑ วรรคที่ ๑ ชอ่ื กัมมกรณวรรค ว่าดว้ ยเคร่อื งลงโทษ ๑. พระผมู้ ีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรสั แสดงธรรมแกภ่ กิ ษุท้ังหลายถงึ โทษ ๒ อย่าง คือโทษในปัจจุบันและโทษในภพหน้า โทษในปัจจุบัน เช่น การจับโจรได้แล้วลงโทษ โบยด้วยแส้ โบยด้วยหวาย ตัดมือ ตัดเท้า ตัดศีรษะ เป็นต้น๑ ส่วนโทษในภพหน้า ได้แก่ผล ของทุจจริตทางกาย วาจา ใจ ซึ่งจะท�ำให้เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก เม่ือตายไปแล้ว ตรัสสอนให้กลัวโทษ เหน็ ภยั ในโทษ กจ็ ะพน้ จากโทษท้งั ปวงได้ ๒. ทรงแสดงถึงความเพียร ๒ อย่าง คือความเพียรในการท�ำปัจจัย ๔ ให้เกิดขึ้น ของคฤหสถ์ กับความเพียรเพื่อสละกิเลสทั้งปวงของบรรพชิต ทรงยกย่องความเพียรของ บรรพชติ ว่าเป็นเลิศ (ในทางศาสนา) แลว้ สอนใหภ้ กิ ษตุ ้ังความเพยี รเพื่อสละกเิ ลสทั้งปวง ๓. ทรงแสดงธรรมะ ๒ อย่างท่ีท�ำให้เดือดร้อน คือเม่ือท�ำทุจจริตทางกาย วาจา ใจ ไมท่ ำ� สจุ รติ ทางกาย วาจา ใจ กเ็ ดอื ดรอ้ นวา่ ไดท้ ำ� ทจุ จรติ เดอื ดรอ้ นวา่ ไมไ่ ดท้ ำ� สจุ รติ สว่ นธรรมะ ๒ อย่างทท่ี �ำไมใ่ ห้เดอื ดรอ้ น พึงทราบโดยนัยตรงกันข้าม ๔. ทรงแสดงว่า ทรงเห็นคุณของธรรมะ ๒ อย่าง คือความไม่สันโดษในกุศลธรรม (คือไม่หยุดย้ังยินดีเพียงคุณความดีอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่พยายามก้าวหน้าเร่ือยไปจนถึงท่ีสุด คอื อรหัตตผล) กบั ความเปน็ ผู้ไมถ่ อยหลงั ในความเพียร แลว้ ทรงแสดงผลดที ท่ี รงไดร้ ับมาจาก คุณธรรมที่กลา่ วน้ี แลว้ ตรัสสอนภิกษทุ ง้ั หลายเน้นใหไ้ ม่ถอยหลงั ในความเพยี ร ๕. ทรงแสดงธรรม ๒ อย่าง คือการพิจารณาเห็นด้วยความพอใจในธรรมอันเป็น ทต่ี ง้ั แห่งกเิ ลสที่ผกู มัด กบั การพิจารณาเหน็ ดว้ ยความเบื่อหน่ายในธรรมเช่นนัน้ ทรงแสดงโทษ ๑ ที่แสดงไวใ้ นบาลมี ถี งึ ๒๖ อยา่ ง PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 722 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต 723 ของการพิจารณาเห็นด้วยความพอใจ คือการละกิเลสและหลุดพ้นจากทุกข์ไม่ได้ ส่วนการ ัอง ุคตตร ินกาย พจิ ารณาเห็นดว้ ยความเบอื่ หนา่ ย ท�ำใหล้ ะกิเลสและหลุดพน้ จากทกุ ขไ์ ด้ ๖. ทรงแสดงธรรมฝ่ายด�ำ ๒ อย่าง คือความไม่ละอาย และความไม่เกรงกลัว (ตอ่ บาป) และทรงแสดงธรรมฝา่ ยขาว คอื ความละอาย และความเกรงกลัว (ตอ่ บาป) ๗. ทรงแสดงธรรมฝ่ายขาวท่ีคุ้มครองโลก คือความละอาย และความเกรงกลัว ต่อบาป ถ้าธรรมทั้งสองนี้ไม่คุ้มครองโลก ก็จะไม่รู้ว่าใครเป็นมารดา น้า ป้า ภริยาของอาจารย์ ของครู โลกจะปนเปกันเหมือน แพะ ไก่ สกุ ร สนุ ัขบา้ น สุนขั ป่า ๘. ทรงแสดงการเข้าพรรษา ๒ อย่าง คือการเข้าพรรษาแรก กับการเข้าพรรษาหลัง (ดูหน้า ๒๓๑) วรรคท่ี ๒ ช่ืออธิกรณวรรค วา่ ด้วยอธกิ รณ์ ๑. ทรงแสดงก�ำลัง ๒ อย่าง คือ กำ� ลังคอื การพจิ ารณา (ปฏิสังขานพละ) กบั กำ� ลังคือ การอบรม (ภาวนาพละ) แล้วตรัสอธิบายก�ำลังคือการพิจารณาว่า ได้แก่การพิจารณาเห็นโทษ ของทุจจริต แล้วละทุจจริต เจริญสุจริตบริหารตนให้บริสุทธิ์ได้ ส่วนก�ำลังคือการอบรม ได้แก่ ก�ำลังของพระเสขะ (พระอริยบุคคลผู้ยังศึกษา) ซ่ึงเป็นเหตุให้ละราคะ โทสะ โมหะ ไม่ท�ำ อกุศล ไม่เสพบาป คร้ันแล้วทรงอธิบายก�ำลังท้ังสองอย่างน้ี ยักย้ายนัยต่อไปอีก ๒ แนว โดย อธิบายถึงก�ำลังการพิจารณาตามแนวเดิม ส่วนก�ำลังคือการอบรมได้แก่การเจริญโพชฌงค์ (องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ ๗ อย่าง) มีสติ เป็นต้น แนวหน่ึง กับอีกแนวหน่ึงได้แก่ การเจรญิ ฌาน (การเพ่งอารมณ)์ ทงั้ ส่ี ๒. ทรงแสดงธรรมเทศนาของพระตถาคตว่า มี ๒ อย่าง คืออย่างย่อ กับอย่าง พสิ ดาร ๓. ทรงแสดงถึงภิกษุท่ีถูกกล่าวหาในอธิกรณ์ กับภิกษุผู้โจทฟ้องว่า ถ้าไม่พิจารณา ตนให้ดี เร่ืองก็จะยืดเยื้อแรงร้ายขึ้น และภิกษุท้ังหลายก็จะอยู่ไม่ผาสุก แล้วทรงแสดง รายละเอยี ดในการพจิ าณาตนของภิกษุทง้ั สองฝ่ายนั้น ๔. ทรงแสดงธรรมแก่พราหมณ์ผู้หนึ่งถึงเหตุคือการประพฤติอธรรม ประพฤติไม่ เรียบร้อย ว่าเป็นเหตุให้เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรกเมื่อตายแล้ว ส่วนการประพฤติธรรม ประพฤตเิ รียบร้อย เป็นเหตใุ หเ้ ข้าถงึ สุคตโิ ลกสวรรค์เม่ือตายแล้ว ๕. ทรงแสดงธรรมแก่ชาณุสโสณิพราหมณ์เร่ืองการเข้าถึงนรก สวรรค์ โดยชี้ไปท่ี การกระท�ำทจุ จริตและการกระทำ� สจุ รติ โดยล�ำดับ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 723 5/4/18 2:25 PM

724 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๖. ทรงแสดงธรรมแก่พระอานนท์ว่า ทุจจริตไม่ควรท�ำโดยเด็ดขาด (ไม่มีทางผ่อนให้) เพราะเม่ือท�ำเข้าตนก็ติตนได้ ผู้รู้พิจารณาแล้วก็ติได้ กิตติศัพท์อันช่ัวย่อมฟุ้งไป เป็นผู้หลง เม่ือตาย ตายแล้วก็เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก ส่วนสุจริตทรงแสดงโดยประการ ตรงกันข้าม ๗. ทรงสอนให้ละอกุศล เพราะอาจจะละได้ ถ้าละไม่ได้ หรือถ้าละแล้วไม่เป็น ประโยชน์ เป็นทุกข์ ก็จะไม่ทรงสอนให้ละ แล้วทรงสอนให้เจริญกุศล เพราะอาจจะเจริญได้ ถา้ เจริญไมไ่ ด้ หรือเจรญิ แล้ว ไม่เปน็ ประโยชน์ เปน็ ทุกข์ ก็จะไมท่ รงสอนให้เจริญ ๘. ทรงแสดงถึงธรรมะ ๒ อย่าง ที่ท�ำให้พระสัทธรรมเลอะเลือนอันตรธาน คือการ ยกบทพยัญชนะผิด กับการแนะน�ำความหมายผิด ส่วนธรรม ๒ อย่างที่ไม่ท�ำให้พระสัทธรรม เลอะเลอื นอนั ตรธาน คอื การยกบทพยญั ชนะถกู กับการแนะนำ� ความหมายถูก วรรคที่ ๓ ชอื่ พาลวรรค วา่ ด้วยคนพาล ๑. ทรงแสดงคนพาล ๒ ประเภท คือไม่เห็นโทษ (ของตน) กับเมื่อผู้อื่นแสดงคืน โทษ (ผอู้ นื่ ขอโทษ) ไม่ยอมรับ แล้วทรงแสดงบัณฑติ ๒ ประเภทในทางตรงกันข้าม ๒. ทรงแสดงบุคคลที่กล่าวต่พู ระตถาคต ๒ ประเภท คือ (๑) ผูค้ ดิ ประทุษรา้ ย ตกอยใู่ นอ�ำนาจความคดิ ประทุษรา้ ย (๒) ผมู้ ศี รัทธาถอื เอาผิด (จำ� ผดิ เข้าใจผิด) ๓. ทรงแสดงบคุ คลท่กี ลา่ วตพู่ ระตถาคต ๒ ประเภทอีก ๒ ข้อ คือขอ้ แรก ผูท้ ีแ่ สดง ถ้อยค�ำท่ีพระตถาคตมิได้กล่าว มิได้พูด ว่าพระตถาคตกล่าวไว้ พูดไว้ กับผู้ท่ีแสดงถ้อยค�ำท่ี พระตถาคตกล่าวไว้ พูดไว้ ว่าตถาคตมิได้กล่าวไว้ มิได้พูดไว้ กับอีกข้อหนึ่ง ผู้แสดงพระสูตร ที่มีอรรถอันควรแนะน�ำว่า มีอรรถอันแนะน�ำแล้ว แสดงพระสูตรท่ีมีอรรถอันแนะน�ำแล้ว วา่ มีอรรถอันควรแนะน�ำ (แสดงสบั สนไปจากหลักธรรม) ๔. ทรงแสดงคตขิ องคนทที่ ำ� กรรมซงึ่ ตอ้ งปกปดิ (กรรมชว่ั ) วา่ ไดแ้ กน่ รก หรอื กำ� เนดิ ดิรัจฉาน ส่วนผู้ทำ� กรรมไม่ตอ้ งปกปิด (กรรมด)ี มีคติเป็น ๒ คอื เทพ หรือมนุษย์ ๕. ทรงแสดงว่า ผู้เห็นผิด และผู้ทุศีล มีคติเป็น ๒ ในทางชั่ว ส่วนผู้เห็นชอบและ ผู้มศี ลี กม็ ีคติ เป็น ๒ ในทางดี เช่นเดยี วกับข้อ ๔ ๖. ทรงแสดงธรรมทเี่ ปน็ ไปในสว่ นแหง่ วิชชา (ความรู้) ๒ อยา่ ง คอื สมถะ (การท�ำจติ ให้สงบ) และวิปัสสนา (การท�ำปัญญาให้เห็นแจ้ง) แล้วทรงแสดงผลว่า อบรมสมถะ ช่ือว่า อบรมจิต อบรมจิต (สมาธิ) แล้วท�ำให้ละราคะ (ความก�ำหนัดยินดี) ได้ อบรมวิปัสสนาแล้ว ช่ือวา่ อบรมปัญญา อบรมปญั ญาแลว้ ทำ� ใหล้ ะอวชิ ชา (ความไม่รูจ้ ริง) ได้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 724 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต 725 ๗. ทรงแสดงว่า จิตที่เศร้าหมองเพราะราคะ ย่อมไม่หลุดพ้น ปัญญาท่ีเศร้าหมอง ัอง ุคตตร ินกาย เพราะอวิชชา ย่อมช่ือว่าไม่ได้รับการอบรม ด้วยเหตุนี้ เพราะคลายราคะ จึงชื่อว่าเจโตวิมุติ (ความหลดุ พน้ เพราะสมาธ)ิ เพราะคลายอวชิ ชา จงึ ชอื่ วา่ ปญั ญาวมิ ตุ ิ (ความหลดุ พน้ เพราะปญั ญา) วรรคท่ี ๔ ชื่อสมจิตตวรรค วา่ ด้วยจติ สม�่ำเสมอ ๑. ทรงแสดงภูมิของอสัตบุรุษ (คนชั่ว) และภูมิของสัตบุรุษ (คนดี) โดยช้ีไปท่ีความ เป็นผู้ไม่กตัญญูกตเวที หรือความเป็นผู้กตัญญูกตเวที (รู้คุณท่ีผู้อื่นท�ำแล้ว ช่ือกตัญญู ตอบแทนหรือประกาศคุณทีผ่ ู้อน่ื ท�ำแล้ว ช่ือกตเวท)ี ๒. ทรงแสดงว่า บุคคล ๒ ท่าน คือมารดาบิดาเป็นผู้ท่ีจะสนองคุณได้โดยยาก แม้ บตุ รจะแบกมารดาบดิ าไวบ้ นบ่าคนละข้างตง้ั ๑๐๐ ปี ปฏิบตั บิ ำ� รุงดว้ ยประการตา่ ง ๆ ใหม้ ารดา บิดาถ่ายอุจจาระปัสสาวะบนบ่าน้ัน หรือท�ำให้มารดาบิดาเสวยราชสมบัติ ก็ยังไม่ชื่อว่า ตอบแทนคุณได้ เพราะมารดาบิดามีอุปการะมาก เป็นผู้เลี้ยงดู แสดงโลกนี้แก่บุตร แล้วทรง แสดงการแทนคุณ คือท�ำมารดาบิดาที่ไม่มีศรัทธา ที่ทุศีล ท่ีตระหนี่ ท่ีมีปัญญาทราม ให้มี ศรทั ธา ใหม้ ีศีล ให้รู้จักเสียสละ ให้มีปัญญา (ใหต้ ้ังอยใู่ นศลี ธรรม) ๓. ตรสั แสดงธรรมแกพ่ ราหมณ์ผู้หนงึ่ วา่ พระองค์เป็นท้งั กิริยวาที (ผพู้ ูดวา่ ทำ� ) และ อกริ ยิ วาที (ผู้พูดว่าไม่ทำ� ) คือให้ทำ� สุจริต แตไ่ มใ่ ห้ท�ำทุจจริต ๔. ทรงแสดงธรรมแก่อนาถปิณฑิกคฤหบดีว่า ทักขิเณยยบุคคล (บุคคลผู้ควรแก่ ทกั ษณิ าหรอื ของถวาย) คอื พระเสขะ (พระอรยิ บคุ คลทย่ี งั ศกึ ษา คอื ตงั้ แตผ่ ตู้ ง้ั อยใู่ นโสดาปตั ตมิ รรค ข้ึนไปถึงอรหัตตมรรค) กับพระอเสขะ (พระอรหันต์ ผู้ไม่ต้องศึกษา เพราะบรรลุถึงฐานะอัน สงู สุดแลว้ ) ควรถวายทานในท่านเหล่านี้ ๕. พระสารบิ ตุ รแสดงธรรมแก่ภิกษทุ ั้งหลายถึงบคุ คล ๒ ประเภท คอื ผู้มสี ัญโญชน์ ภายใน (มีกิเลสเครื่องร้อยรัดภายใน) มีศีลสมบูรณ์ เม่ือตายแล้วก็เกิดใหม่ในหมู่เทพ พวกใดพวกหนึ่ง และจะกลับมาสู่โลกน้ีอีก ส่วนผู้มีสัญโญชน์ภายนอก มี ๒ ประเภท คือ ผู้มีศีลสมบูรณ์ เข้าสู่เจโตวิมุติ (ฌานหรือสมาบัติ) อันใดอันหน่ึง เกิดในหมู่เทพพวกใด พวกหน่ึงแล้วไม่กลับมาสู่โลกนี้อีก กับอีกประเภทหนึ่งคือมีศีลสมบูรณ์ ปฏิบัติเพ่ือดับกาม (ความใคร่) เพื่อดับภพ (ความเป็นน้ันเป็นนี่) เพื่อสิ้นตัณหา เพื่อสิ้นความโลภ เม่ือตายไปแล้ว เกิดในหมเู่ ทพพวกใดพวกหนึง่ แลว้ ไมก่ ลับมาสโู่ ลกน้อี กี ๖. พราหมณ์ชื่ออารามทัณฑะถามพระมหากัจจานะถึงเหตุให้กษัตริย์ พราหมณ์ คฤหบดีทะเลาะกันเองกับพวกของตน พระเถระตอบช้ีไปท่ีความยึดในกามราคะ (ความ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 725 5/4/18 2:25 PM

726 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ก�ำหนัดหรือความติดในกาม) เม่ือถามถึง สมณะทะเลาะกันเองกับสมณะเพราะเหตุไร ก็ ตอบว่า เพราะติดทิฏฐิราคะ (ความติดในทิฏฐิความเห็น) เมื่อถามว่า มีท่านผู้ก้าวล่วง ความยึดในกามราคะและทิฏฐิราคะหรือไม่ ก็ตอบว่า มี และช้ีให้ทราบว่าพระผู้มีพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ประทับอยู่ ณ กรุงสาวัตถี พราหมณ์เล่ือมใส แสดงตนเป็นอุบาสก ถงึ พระรัตนตรัยเป็นสรณะ ๗. พระมหากัจจานะแสดงธรรมแก่กัณฑรายนพราหมณ์ ชี้ให้เห็นว่า คนมีอายุแม้ มาก แต่ยังบริโภคกาม ก็ยังไม่ช่ือว่าเป็นเถระ (ผู้เฒ่าผู้ใหญ่) ส่วนคนหนุ่มตั้งอยู่ในปฐมวัย ถ้า ไม่บริโภคกาม ก็ชื่อว่าเปน็ เถระได้ ๘. พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมเปรียบภิกษุชั่วด้วยโจร เปรียบภิกษุผู้รักศีลว่า เหมือนพระราชา ท่ีท�ำให้ชนบทไม่มีความผาสุกหรือมีความผาสุกได้ สุดแต่ฝ่ายไหนจะมีก�ำลัง กว่ากนั ๙. ตรัสวา่ ไมท่ รงสรรเสริญการปฏิบัตขิ องคฤหัสถ์ หรือบรรพชิต (นักบวช) คฤหสั ถ์ ก็ตาม บรรพชิตก็ตาม ปฏิบัติผิดแล้ว ก็ไม่ได้บรรลุกุศลธรรมท่ีถูก ทรงสรรเสริญการปฏิบัติ ชอบของคฤหัสถ์หรือบรรพชิต คฤหัสถ์ก็ตาม บรรพชิตก็ตาม ปฏิบัติชอบแล้ว ย่อมได้บรรลุ กุศลธรรมที่ถกู ๑๐. ตรัสว่า ภิกษุท่ีคัดค้านอรรถะธรรมะด้วยพระสูตรท่ีจ�ำมาผิด มีพยัญชนะวิจิตร ชื่อว่าปฏิบัติเพ่ือไม่เป็นประโยชน์และความสุข และประสบส่ิงมิใช่บุญเป็นอันมาก ทั้งท�ำให้ พระสัทธรรมอันตรธาน แล้วทรงแสดงถึงภิกษุท่ีรับรองอรรถะธรรมะด้วยพระสูตรท่ีทรงจำ� ไว้ดี มีพยัญชนะวิจิตร ชื่อว่าปฏิบัติเพ่ือประโยชน์และความสุข และประสบบุญเป็นอันมาก ท้ัง ด�ำรงพระสัทธรรมไว้ วรรคที่ ๕ ช่อื ปรสิ วรรค วา่ ด้วยบริษทั ทรงแสดงถึงบริษัท ๒ อย่าง คือตื้นอย่างหน่ึง ลึกอย่างหน่ึง ท่ีชื่อว่าตื้นเพราะขาด คุณธรรม๑ ที่ชอื่ ว่าลึกเพราะมีคุณธรรม ๑ คำ� วา่ ขาดคุณธรรม หมายความรวม ในบาลีแสดงวา่ ทฟี่ ุ้งสร้าน ถือตัว พูดเพอ้ ปากกลา้ พดู ไม่สำ� รวม หลงลมื สติ ไม่มสี ัมปชญั ญะ มีจติ ไม่ตงั้ มั่น มีจิตหมนุ ไปผดิ ไม่ส�ำรวมอนิ ทรีย์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 726 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต 727 บริษทั ๒ อยา่ ง คอื ท่ี (แตก) เป็นพวก กบั ที่พรอ้ มเพรยี งกนั ัอง ุคตตร ินกาย บริษัท ๒ อยา่ ง ทีม่ ีคนเลิศ กับไม่มีคนเลิศ ท่ีไม่มคี นเลิศ คอื ที่มักมาก ยอ่ หยอ่ น เหน็ แกน่ อน ทอดธรุ ะในความสงดั เป็นตน้ ที่มคี นเลศิ คอื ทต่ี รง กันขา้ ม บรษิ ทั ๒ อยา่ ง คอื ท่ีไมป่ ระเสริฐ กับประเสรฐิ เพราะไม่ร้หู รือเพราะรอู้ ริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริง บริษทั ๒ อยา่ ง คือบริษัทขยะ กับบริษัทที่มีแก่นสาร บริษัทขยะ คือที่ล�ำเอียง เพราะรัก เพราะชัง เพราะหลง เพราะกลัว บริษัทท่ีมีแก่นสาร คอื ที่ไม่ล�ำเอยี งเพราะรัก เป็นต้น บรษิ ัท ๒ อยา่ ง คือ บริษทั ทแ่ี นะนำ� ยาก๑ กับบรษิ ทั ท่ีแนะน�ำงา่ ย บริษทั ๒ อย่าง คอื ทห่ี นักในอามิส (เหน็ แกล่ าภ) ไมห่ นกั ในสทั ธรรม กบั ทหี่ นกั ใน สทั ธรรม ไม่หนักในอามสิ บรษิ ัท ๒ อย่าง คอื ทไี่ มส่ มำ�่ เสมอ กบั ทสี่ มำ�่ เสมอ (กำ� หนดดว้ ยบรษิ ทั ทมี่ กี ารกระทำ� ไม่ถูกธรรมวินัยหรือถกู ธรรมวินยั ) บรษิ ัท ๒ อย่าง คือที่ไมป่ ระกอบด้วยธรรม กับทีป่ ระกอบดว้ ยธรรม บรษิ ัท ๒ อยา่ ง คือทีก่ ล่าวเปน็ อธรรม กบั ท่ีกล่าวเปน็ ธรรม (หมายเหตุ ในหมวด ๕๐ ที่ ๑ ซ่ึงมี ๕ วรรค มี ๕๐ สูตรนี้ ได้ย่อมากล่าว ให้เห็นทกุ สูตร ส่วนหมวด ๕๐ ตอ่ ๆ ไป จะยอ่ พอเหน็ ความทส่ี �ำคัญ) ทุติยปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ท่ี ๒ (แบ่งออกเป็น ๕ วรรค ๆ ละ ๑๐ สูตร เช่นเดียวกัน วรรคท่ี ๑ ว่าด้วยบุคคล วรรคท่ี ๒ ว่าด้วยความสุข วรรคที่ ๓ ว่าด้วยส่ิงที่มีเครื่องหมาย วรรคท่ี ๔ ว่าด้วยธรรม และวรรคท่ี ๕ วา่ ด้วยคนพาล) วรรคที่ ๑ ช่อื ปุคคลวรรค วา่ ดว้ ยบคุ คล ๑. ทรงแสดงบุคคล ๒ ประเภท ในลักษณะต่าง ๆ เช่น พระตถาคตอรหันตสัมมา สมั พทุ ธเจา้ กบั พระเจา้ จกั รพรรดิ เปน็ ผเู้ กดิ เพอ่ื ประโยชนแ์ ละความสขุ แกโ่ ลก เปน็ อจั ฉรยิ มนษุ ย์ สิ้นชีวิตก็ท�ำให้คนส่วนมากเดือดร้อนถึง เป็นผู้ควรแก่สตูป (ก่อเจดีย์ไว้ใส่อัฏฐิธาตุหรือกระดูก เม่อื สน้ิ ชวี ติ แลว้ ) เปน็ ต้น ๑ ค�ำวา่ แนะนำ� ยาก แนะน�ำงา่ ย เปน็ ค�ำแปลหักใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 727 5/4/18 2:25 PM

728 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ วรรคที่ ๒ ช่ือสุขวรรค วา่ ดว้ ยความสขุ ๒. ทรงแสดงความสุข ๒ อย่าง หลายประเภท เช่น ความสุขของคฤหัสถ์ กับ ความสุขในการบรรพชา ความสุขในกาม กับความสุขในการออกจากกาม ความสุขท่ีมีกิเลส กับความสุขท่ีไม่มีกิเลส ความสุขที่มีอาสวะ (กิเลสท่ีดองอยู่ในสันดาน) กับความสุขที่ไม่มี อาสวะ ความสุขท่ีมีอามิส กับความสุขที่ไม่มีอามิส ความสุขท่ีประเสริฐ (อริยะ) กับความสุข ที่ไม่ประเสริฐ ความสุขทางกาย กับความสุขทางใจ ความสุขท่ีมีปีติ (ความอิ่มใจ) กับความสุข ท่ีไม่มีปีติ ความสุขท่ีมีความส�ำราญ กับความสุขท่ีมีความวางเฉย ความสุขท่ีเนื่องด้วยสมาธิ กับความสุขท่ีไม่เน่ืองดว้ ยสมาธิ เป็นต้น วรรคท่ี ๓ ชอ่ื สนมิ ติ ตวรรค ว่าด้วยสงิ่ ทม่ี ีเครื่องหมาย ๓. ทรงแสดงว่า อกุศลบาปธรรมย่อมเกิดขึ้นเพราะมีนิมิต (เครื่องหมายในจิตใจ) มิใช่เกิดขึ้นโดยไม่มีนิมิต เพราะละนิมิตได้ อกุศลบาปธรรมก็จะไม่มี แล้วทรงแสดงหลักการ โดยท�ำนองเดียวกันว่า อกุศลบาปธรรมย่อมเกิดข้ึนเพราะมีต้นเหตุ (นิทาน) มีเหตุ มีเคร่ือง ปรุง มีปัจจัย มีรูป มีเวทนา มีสัญญา (ความจ�ำได้หมายรู้) มีวิญญาณ (ความรู้แจ้งอารมณ์) มีอารมณท์ ป่ี จั จัยปรุงแต่ง วรรคท่ี ๔ ช่อื ธมั มวรรค ว่าด้วยธรรม ๔. ทรงแสดงธรรมที่เป็นคู่กัน ๒ อย่าง หลายประเภท คือเจโตวิมุติ (ความหลุดพ้น เพราะสมาธิ) กับปัญญาวิมุติ (ความหลุดพ้นเพราะปัญญา) ความเพียร กับความท่ีจิตมี อารมณ์เป็นหนึ่ง นาม กับรูป วิชชา (ความรู้) กับวิมุติ (ความหลุดพ้น) ภวทิฏฐิ (ความเห็นว่า เที่ยง) กับวิภวทิฏฐิ (ความเห็นว่าขาดสูญ) ความไม่มีหิริ กับความไม่มีโอตตัปปะ หิริ (ความ ละอายต่อปาป) กับโอตตัปปะ (ความเกรงกลัวต่อบาป) ความเป็นผู้ว่ายาก กับการคบ คนช่ัวเป็นมิตร ความเป็นผู้ว่าง่าย กับการคบคนดีเป็นมิตร ความเป็นผู้ฉลาดในธาตุ กับ ความเป็นผู้ฉลาดในมนสิการ (ความใส่ใจหรือท�ำในใจ) ความเป็นผู้ฉลาดในอาบัติ กับความ เปน็ ผฉู้ ลาดในการออกจากอาบตั ิ วรรคที่ ๕ ชือ่ พาลวรรค วา่ ดว้ ยคนพาล ๕. ทรงแสดงคนพาลกับบัณฑิต ๒ ประเภท หลายอย่าง โดยแบ่งไปตามลักษณะ คือผู้เอาภาระที่ยังไม่มาถึงกับไม่เอาภาระที่มาถึง เป็นพาล ท่ีตรงกันข้ามเป็นบัณฑิต ผู้ส�ำคัญ ว่าควรในของที่ไม่ควรกับส�ำคัญว่าไม่ควรในของที่ควร เป็นพาล ท่ีตรงกันข้ามเป็นบัณฑิต ผู้ส�ำคัญผิดในเร่ืองต่าง ๆ เช่น อาบัติ ธรรมะ วินัย ว่าไม่เป็นอาบัติ ไม่เป็นธรรมะ ไม่เป็นวินัย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 728 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต 729 เป็นคนพาล ท่ีตรงกันข้ามเป็นบัณฑิต แล้วทรงแสดงว่าอาสวะ (กิเลสท่ีดองอยู่ในสันดาน) ัอง ุคตตร ินกาย ยอ่ มเจรญิ และไมเ่ จรญิ แกบ่ คุ คล ๒ ประเภท ทส่ี ำ� คญั ผดิ ตา่ ง ๆ กบั ทไี่ มส่ ำ� คญั ผดิ ตา่ ง ๆ ในเรอื่ ง ที่ควรรังเกียจเรื่องอาบตั ิ ธรรมะและวินัย ตตยิ ปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๓ (มี ๕๐ สูตร และ ๕ วรรค เช่นเดียวกนั วรรคที่ ๑ วา่ ดว้ ยความหวงั วรรคที่ ๒ วา่ ดว้ ย การขอร้อง วรรคท่ี ๓ ว่าด้วยทานการให้ วรรคที่ ๔ ว่าด้วยการต้อนรับ วรรคท่ี ๕ ว่าด้วย สมาบตั ิ) วรรคท่ี ๑ ชื่ออาสาวรรค ว่าด้วยความหวงั ๑. ทรงแสดงความหวังท่ีละไดย้ าก คือความหวังในลาภ กบั ความหวังในชีวิต บคุ คล ที่หาได้ยาก คือบุพพการี (ผู้ท�ำคุณก่อน) กตัญญูกตเวที (ผู้รู้คุณและตอบแทน) บุคคลที่หา ได้ยาก คือผู้อิ่ม กับผู้ท�ำให้คนอ่ืนอ่ิม บุคคลท่ีท�ำให้อิ่มได้ยาก คือผู้เก็บไว้ (ไม่ใช้เอง ไม่ให้ ใคร) กับผู้สละส่ิงที่ได้มาแล้ว ส่วนบุคคลที่ท�ำให้อิ่มได้ง่าย คือที่ตรงกันข้าม ปัจจัยให้เกิด ราคะ (ความก�ำหนัดยินดี) คือความก�ำหนดเครื่องหมายส่ิงท่ีงาม (สุภนิมิต) กับการไม่ใส่ใจ โดยแยบคาย ปัจจัยให้เกิดโทสะ คือความก�ำหนดเครื่องหมายส่ิงท่ีขัดใจ (ปฏิฆนิมิต) กับการ ไม่ใส่ใจโดยแยบคาย ปัจจัยให้เกิดความเห็นผิด คือเสียงโฆษณาจากคนอื่น กับการไม่ใส่ใจ โดยแยบคาย อาบตั ิ ๒ อย่าง ๓ ประเภท คืออาบตั เิ บา กบั อาบตั ิหนัก อาบตั ชิ ่ัวหยาบ กบั อาบัติ ไม่ช่ัวหยาบ อาบัติมีส่วนเหลือ (ต้องเข้าแล้วยังไม่ขาดจากความเป็นภิกษุ) กับอาบัติไม่มีส่วน เหลอื (ต้องเข้าแล้วขาดจากความเป็นภิกษ)ุ วรรคที่ ๒ ชอื่ อายาจนวรรค วา่ ด้วยการขอร้อง ๒. ทรงแสดงว่า ภิกษุผู้มีศรัทธาขอร้องโดยชอบ พึงขอร้องให้ (ตนเอง) เป็นเช่น พระสาริบุตรกับพระโมคคัลลานะ เพราะทั้งสองท่านนั้นเป็นเครื่องชั่ง เป็นเครื่องประมาณ (เป็นมาตรฐาน) แห่งภกิ ษทุ ัง้ หลายทีเ่ ปน็ สาวกของพระองค์ ส่วนภิกษณุ ผี ้มู ศี รัทธา พงึ ขอรอ้ งใหเ้ ป็นเชน่ นางเขมา กับนางอุปปลวณั ณา อบุ าสกผ้มู ศี รทั ธา พึงขอร้องให้เป็นเชน่ จิตตคฤหบดี กับหตั ถกะ อาฬวกะ อุบาสิกาผู้มีศรัทธา พึงขอร้องให้เป็นเช่นขุชชุตตรา อุบาสิกา กับนางเวฬุกัณฏกิยา ผู้ เป็นมารดาของนันทมาณพ (ถ้าดูหน้า ๗๒๐ ฝ่ายอุบาสิกา หมายเลข ๕ จะเห็นว่า ในท่ีนั้นช่ือ อตุ ตรา ผเู้ ปน็ มารดาของนนั ทมาณพ ถา้ เปน็ คนเดยี วกนั กน็ า่ จะมชี อื่ นำ� หนา้ หลายอยา่ ง อรรถกถา แก้ว่า นางขุชชุตตรา เป็นผู้เลิศทางปัญญา นันทมาตา (มารดาของนันทมาณพ) เป็นผู้เลิศใน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 729 5/4/18 2:25 PM

730 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทางมฤี ทธ)์ิ ต่อจากนัน้ ทรงแสดงว่า คนพาลกับบัณฑิตตา่ งประกอบด้วยธรรม ๒ อย่าง ในทางที่ ตรงกันขา้ ม เชน่ คนพาลไม่พจิ ารณาสอบสวน ชมผู้ไมค่ วรชม ติผู้ไม่ควรติ สว่ นบัณฑติ ตรงกัน ขา้ ม เปน็ ตน้ วรรคท่ี ๓ ชอ่ื ทานวรรค วา่ ดว้ ยทานการให้ ๓. ทรงแสดงถึงการให้ การบูชา การสละ เป็นต้น ว่ามี ๒ อย่าง คือการให้อามิส (สิ่งของ) กบั การให้ธรรม วรรคที่ ๔ ชื่อสนั ถารวรรค ว่าดว้ ยการตอ้ นรับ ๔. ทรงแสดงถงึ การต้อนรบั การแสวงหา เป็นต้น วา่ มี ๒ อยา่ ง คอื การตอ้ นรับด้วย อามสิ (สงิ่ ของ) กบั การต้อนรบั ดว้ ยธรรม วรรคท่ี ๕ ช่อื สมาปัตติวรรค ว่าด้วยการเขา้ สมาบตั ิ ๕. ทรงแสดงถึงความเป็นผู้ฉลาดในการเข้าสมาบัติ (เข้าฌาน) กับความเป็นผู้ฉลาด ในการออกจากสมาบัติ และธรรมฝ่ายดี ฝา่ ยช่วั เปน็ คู่ ๆ กันไป พระสตู รท่ีไม่จดั เขา้ ในหมวด ๕๐ (หมายความว่า หมวดน้ีประมวลพระสูตรที่เป็นพระสูตรท่ีเป็นเศษของ ๕๐ อันเหลือ มาจากท่ีประมวลไว้ในหมวด ๕๐ รวม ๓ หมวดท่ีแล้วมา หรือเท่ากับเป็นหมวดรวบรวม พระสตู รทีเ่ ป็นเศษของ ๑๕๐ สูตร) ใจความในหมวดน้ี คงกลา่ วถึงธรรมที่มจี ำ� นวน ๒ ข้อ ฝา่ ยชั่วฝ่ายดคี ูก่ นั เช่น ความ โกรธกับความผูกโกรธ ความลบหลู่บุญคุณท่าน กับการตีเสมอ ความริษยา กับความตระหนี่ มายา กับความโอ้อวด ความไม่ละอาย กับความไม่เกรงกลัว ในฝ่ายดีพึงทราบโดยนัย ตรงกนั ข้าม ตกิ นบิ าต ชุมนมุ ธรรมะท่มี ี ๓ ข้อ ปฐมปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ท่ี ๑ วรรคท่ี ๑ ชอื่ พาลวรรค วา่ ด้วยคนพาล ทรงแสดงว่า ภัย (ส่ิงที่น่ากลัว) อุปัทวะ (ส่ิงที่เบียดเบียนหรือเป็นอันตราย) อุปสัค (สิง่ ที่ขดั ขอ้ ง) ทงั้ ปวง ย่อมเกดิ จากคนพาล ไมเ่ กดิ จากบัณฑิต ทั้งพาลท้ังบัณฑิตมีกรรม (การกระท�ำ) เป็นลักษณะ พึงทราบคนพาลด้วยธรรม ๓ ประการ คือทุจจรติ ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ส่วนบัณฑิตพงึ ทราบโดยนยั ตรงกนั ข้าม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 730 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 731 ลักษณะ เคร่ืองหมายและความประพฤติของคนพาลมี ๓ อย่าง คือ คิดชั่ว พูดชั่ว ัอง ุคตตร ินกาย ทำ� ชัว่ ส่วนบณั ฑติ พึงทราบโดยนัยตรงกนั ข้าม นอกจากน้นั ทรงแสดงวา่ คนพาลประกอบดว้ ยธรรมะ ๓ ประการ หลายประเภท เชน่ ไมเ่ หน็ โทษลว่ งเกิน (ทีต่ นท�ำ) เหน็ แลว้ ไมท่ ำ� คืน เมอื่ ผ้อู นื่ แสดงโทษลว่ งเกนิ (ขอโทษ) ไม่รบั ตง้ั ปญั หาโดยไมแ่ ยบคาย ตอบปญั หาไมแ่ ยบคาย เมอ่ื คนอนื่ ตอบปญั หาโดยแยบคาย ไมอ่ นโุ มทนา (ไม่รบั รองว่าถกู ต้อง) มกี ารกระทำ� ทางกาย ทางวาจา ทางใจ อนั เปน็ อกศุ ล อนั เปน็ โทษ อนั มกี ารเบยี ดเบยี น สว่ นบัณฑติ พึงทราบโดยนยั ตรงกนั ขา้ ม ทรงแสดงทุจจริต ๓ ว่าเป็นเหตุบริหารตนอย่างขุดรากตัวเอง ก�ำจัดตัวเอง มีโทษ อันผรู้ ้ตู ามวา่ กลา่ วได้ ท�ำให้ประสบสง่ิ มิใชบ่ ุญเปน็ อนั มาก ทรงแสดงมลทิน คือความเปน็ ผู้ทุศีล ความรษิ ยา ความตระหนวี่ า่ ทำ� ให้เหมือนน�ำตน ไปตงั้ ไวใ้ นนรก กบั ตรงกนั ขา้ มท�ำให้เหมือนนำ� ตนไปตัง้ ไว้ในสวรรค์ วรรคท่ี ๒ ช่ือรถการวรรค วา่ ดว้ ยชา่ งท�ำรถ ทรงแสดงถึงการท่ีภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ อย่างว่า ปฏิบัติมิใช่เพื่อประโยชน์ ความสุขแก่คนมาก คอื ผชู้ กั ชวนในการกระทำ� ทางกาย ทางวาจา ทางใจ อนั ไมส่ มควร แลว้ ทรง แสดงฝ่ายดีทางตรงกันข้าม การทภี่ กิ ษบุ วช รอู้ รยิ สจั จ์ ๔ ตามเปน็ จรงิ ทำ� ใหแ้ จง้ เจโตวมิ ตุ ิ และปญั ญาวมิ ตุ ิ อนั ไมม่ ี อาสวะอยใู่ นปจั จุบนั นบั เป็นท่ตี ้ังแห่งความระลึกตลอดชีวติ บุคคล ๓ ประเภท คอื ผ้ไู มม่ คี วามหวัง ผ้มู ีความหวงั ผูป้ ราศจากความหวงั ผู้ไม่มีความหวัง คือผู้ตกต่�ำ ผู้มีความหวัง คือราชบุตรผู้รอการอภิเษก ผู้ปราศจาก ความหวังคือพระราชาผู้ได้รับอภิเษกแล้ว เทียบกับคดีธรรม ผู้ไม่มีความหวัง คือผู้ทุศีล ผู้มี ความหวงั คอื ผมู้ ศี ีล ผปู้ ราศจากความหวัง คือผู้ทำ� ให้แจง้ เจโตวมิ ตุ ิ ปญั ญาวิมุติ อนั ไมม่ ีอาสวะ อยใู่ นปัจจุบนั (ผู้เปน็ อรหนั ตแ์ ล้ว) พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นธรรมราชา อาศัยธรรม เคารพธรรม ทรง ใหก้ ารรกั ษาคมุ้ ครองการกระทำ� ทางกาย ทางวาจา และทางใจ วา่ อยา่ งนคี้ วรเสพ ไมค่ วรเสพ ยอ่ ม ทรงหมุนธรรมจักร ซึ่งสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ปฏวิ ัติไม่ได้ (ทำ� ให้ย้อน กลับไมไ่ ด้) ในโลก เปรียบเหมือนพระเจา้ จักรพรรดิ (ทางโลก) ทอ่ี าศยั ธรรม เคารพธรรม ให้การ รักษาคุ้มครองอันเป็นธรรมแก่มนุษย์และสัตว์ ย่อมหมุนล้อรถได้โดยธรรม ซ่ึงข้าศึกจะปฏิวัติ หรือหมนุ กลบั ไม่ได้ดว้ ยมือ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 731 5/4/18 2:25 PM

732 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทรงเล่าเรอ่ื งช่างท�ำรถที่ท�ำล้อรถขา้ งหนง่ึ กินเวลา ๖ เดือน ขาด ๖ คนื แตล่ ้อรถอีกขา้ ง หนึ่งเสรจ็ ภายใน ๖ วัน พระราชาตรสั ถาม ก็ทดลองให้ดลู อ้ รถขา้ งทที่ �ำนานหมนุ ไปได้ เมอ่ื หยดุ หมนุ ก็ไมล่ ม้ แต่ข้างท่ีเสรจ็ ไว เม่อื หยดุ หมุนก็ล้ม เพราะมคี วามคด ทรงสอนให้ละความคดทาง กาย วาจา ใจ เมื่อเปรยี บเทยี บกบั เร่ืองนัน้ ทรงแสดงข้อปฏิบัติไม่ผิด ๓ ประการ คือส�ำรวมอินทรีย์ (คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ) ร้ปู ระมาณในการบริโภคอาหาร ประกอบความเพยี รเป็นเครอ่ื งตนื่ (ไม่เหน็ แก่การนอน มากนกั ) ทรงแสดงทุจจริตทางกาย วาจา ใจ ว่าเป็นไปเพ่ือเบียดเบียนตนเบียดเบียนผู้อ่ืน เบียดเบยี นทั้งสองฝา่ ย สว่ นสุจริตกาย วาจา ใจ ตรงกันขา้ ม ทรงแสดงธรรมแกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายวา่ ทา่ นทง้ั หลายเบอ่ื หนา่ ยดว้ ยอายุ วรรณะ (ผวิ พรรณ) สขุ ยศ และความเปน็ ใหญอ่ ันเป็นทิพย์ แตก่ ็พึงเบอ่ื หน่ายทุจจรติ กาย วาจา ใจกอ่ น พ่อค้าท่ีประกอบด้วยองค์ ๓ คือไม่ตรวจตราการงานด้วยดีในเวลาเช้า เท่ียง เย็น ก็ไมค่ วรจะไดร้ บั โภคทรพั ย์ที่ยงั ไม่เกดิ ข้ึน หรือท�ำโภคทรพั ย์ที่ไดม้ าแล้วใหเ้ จริญข้ึน ทรงแสดงว่า ภิกษุผู้ไม่ตรวจสมาธินิมิต (เครื่องหมายในสมาธิ) ด้วยดีในเวลาเช้า เที่ยง เย็น กไ็ มค่ วรได้บรรลุ กศุ ลธรรมทยี่ งั มไิ ด้บรรลุ หรอื ทำ� กศุ ลธรรมทีบ่ รรลแุ ลว้ ให้เจรญิ ข้นึ ฉันนน้ั พ่อค้าที่ประกอบด้วยองค์ ๓ ย่อมถงึ ความเปน็ ผ้ยู ิ่งใหญ่ ความไพบูลในโภคทรพั ยใ์ น เวลาไม่นาน คอื มตี าดี ขยนั ถงึ พรอ้ มด้วยท่อี าศยั (รูจ้ กั คนกว้างขวาง) ทรงแสดงว่า ภกิ ษมุ ตี าดี คอื รอู้ รยิ สจั จ์ ๔ ขยนั คอื ไมท่ อดธรุ ะในกศุ ลธรรม ถงึ พรอ้ มดว้ ยทอี่ าศยั คอื เขา้ ไปหาทา่ นผรู้ เู้ ปน็ คร้ังคราว เพ่ือไต่ถามปญั หา ก็จะถึงความเป็นผ้ยู งิ่ ใหญ่ ความไพบูลในกศุ ลธรรมฉันน้นั วรรคท่ี ๓ ชอื่ ปุคคลวรรค ว่าดว้ ยบุคคล พระสวิฏฐะ กับพระมหาโกฏฐิตะ ไปหาพระสาริบุตร พระสาริบุตรจึงถามพระสวิฏฐะ วา่ บคุ คล ๓ ประเภท คอื กายสกั ขี (ผู้บรรลุฌานก่อนแล้วจึงท�ำนิพพานใหแ้ จ้ง ได้แกพ่ ระอรยิ บุคคล ๖ ประเภท ท่ีตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล จนถงึ ต้งั อยใู่ นอรหัตตมรรค๑) ๑ อธิบายตามอรรถกถาปุคคลบัญญัติ อภธิ ัมมปฎิ ก ป.อ. ๖๔ - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 732 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 733 ทิฏฐปิ ตั ตะ (ผู้ถึงท่สี ุดแห่งทิฏฐิ คือรูแ้ จง้ อรยิ สจั จ์ ๔ ไดแ้ กพ่ ระอรยิ บคุ คล ๖ ประเภท ัอง ุคตตร ินกาย เหมือนกายสักข)ี สัทธาวิมุต (ผู้หลุดพ้นเพราะศรัทธา ได้แก่พระอริยบุคคล ๖ ประเภทเช่นเดียวกัน ท่ี ต่างกนั ก็คือ ลักษณะเฉพาะกอ่ นทจี่ ะได้บรรลุมรรคผล) ในบุคคล ๓ ประเภทนี้ พระสวิฏฐะชอบว่าใครจะดีกว่า ประณีตกว่ากัน พระสวิฏฐะ ตอบวา่ ชอบ สทั ธาวมิ ตุ วา่ ดกี วา่ ประณตี กวา่ เพราะมอี นิ ทรยี ์ คอื ศรทั ธามปี ระมาณยง่ิ แลว้ พระ สาริบุตรจงึ ยอ้ นถามพระมหาโกฏฐิตะว่า ชอบบคุ คลประเภทไหน พระมหาโกฏฐติ ะตอบว่า ชอบ กายสกั ขี เพราะมีอนิ ทรยี ์ คือสมาธิมปี ระมาณยิ่ง พระมหาโกฏฐติ ะถามพระสาริบุตรบา้ งวา่ ชอบ บคุ คลประเภทไหน พระสารบิ ตุ รตอบวา่ ชอบ ทฏิ ฐปิ ตั ตะ เพราะมอี นิ ทรยี ์ คอื ปญั ญามปี ระมาณ ยง่ิ แลว้ ทง้ั สามทา่ นจงึ พากนั ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค กราบทลู ใหท้ รงทราบ ตรสั ตอบวา่ ยากทจ่ี ะชี้ ลงไปโดยสว่ นเดยี ววา่ ใครจะดกี วา่ ประณตี กวา่ กนั เพราะตา่ งกป็ ฏบิ ตั เิ พอื่ อรหตั ต (ผล) และเปน็ พระสกทาคามหี รอื พระอนาคามดี ้วยกนั (หมายเหตุ : ค�ำอธิบายในวงเล็บว่า บุคคลทั้งสามประเภท ได้แก่พระอริยบุคคล ๖ ประเภท คือ ผู้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล จนถึงอรหัตตมรรคน้ัน เป็นค�ำอธิบายตามอรรถกถา ปุคคลบัญญัติ แต่สังเกตตามพระพุทธภาษิตในตอนท้ายคล้ายกับว่า ตั้งแต่สกทาคามี อนาคามี ข้ึนไปถึงท่านผู้ตั้งอยู่ในอรหัตตมรรค มิได้กล่าวถึงพระอริยบุคคลช้ันโสดาบันเลย จึงน่าสังเกต เป็นหลักวชิ าประกอบการคน้ คว้าต่อไป) ต่อจากนัน้ ทรงแสดงถึงคนไข้ ๓ ประเภท คือ ๑. ไดอ้ าหาร ยา คนพยาบาล ซงึ่ เป็นท่สี บายหรือไมก่ ต็ าม ก็ไมห่ ายจากอาพาธนั้น ๒. ได้อาหาร ยา คนพยาบาล ซ่ึงเป็นท่สี บายหรือไม่กต็ าม ก็หายจากอาพาธน้ัน ๓. ตอ่ เมื่อได้อาหาร ยา คนพยาบาล ซึง่ เป็นทส่ี บายจงึ หายจากอาพาธนัน้ ทรงอาศัยบคุ คลประเภทหลงั จงึ ทรงอนญุ าตอาหาร ยา คนพยาบาล ส�ำหรบั ผ้เู ปน็ ไข้ และอาศยั คนไข้ (ประเภทหลงั ) นี้ จงึ พยาบาลคนไข้อ่นื ๆ (๒ ประเภทแรก) ดว้ ย แลว้ ทรงแสดงธรรมเปรียบเทียบถงึ บุคคล ๓ ประเภท (ในทางธรรม) คือ ๑. ได้เหน็ พระตถาคตหรอื ไมก่ ็ตาม ได้ฟังพระธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศ แลว้ หรอื ไมก่ ต็ าม กไ็ ม่กา้ วลงสูท่ ำ� นองอันชอบในกุศลธรรม ๒. ไดเ้ หน็ พระตถาคตหรือไมก่ ต็ าม ไดฟ้ งั พระธรรมวินัยทพี่ ระตถาคตประกาศ แลว้ หรอื ไม่กต็ าม กก็ ้าวลงสู่ทำ� นองอันชอบในกศุ ลธรรมได้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 733 5/4/18 2:25 PM

734 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๓. ตอ่ เมอื่ ได้เห็นพระตถาคต ไดฟ้ งั พระธรรมวินยั อนั พระตถาคตประกาศ แลว้ จงึ กา้ วลงสทู่ ำ� นองอันชอบในกุศลธรรมได้ เพราะอาศยั บุคคล (ประเภทหลัง) นี้ จึงทรงอนุญาตการแสดงธรรม และเพราะอาศัยบุคคล (ประเภทหลัง) นี้ จงึ ควรแสดงธรรมแกค่ นอน่ื (๒ ประเภทแรก) ด้วย ทรงแสดงบุคคล ๓ ประเภท คือผู้ปรุงกายสังขาร (เจตนาทางกาย) ปรุงวจีสังขาร (เจตนาทางวาจา) และปรุงมโนสังขาร (เจตนาทางใจ) อันมีการเบียดเบียน ย่อมเข้าสู่ (เกิดใน) โลกท่ีมีการเบียดเบียนถูกต้องผัสสะ อันมีการเบียดเบียน เสวยเวทนาอันมีการเบียดเบียน มีทุกข์โดยส่วนเดียว เช่น สัตว์นรก ส่วนที่ตรงกันข้าม คือไม่เกี่ยวกับการเบียดเบียนเลย ก็ ได้รับผลตรงกันข้าม เช่น เทพสุภกิณหะ พวกท่ีปรุงกายสังขาร เป็นต้น มีการเบียดเบียนบ้าง ไม่เบียดเบียนบ้าง ก็ได้รับผลผสมกัน (ทุกข์บ้าง สุขบ้าง) เช่น มนุษย์บางพวก เทพบางพวก วนิ ิบาต (เปรตทีอ่ ยวู่ ิมาน) บางพวก ทรงแสดงบคุ คล ๓ ประเภททม่ี ีอปุ การะมาก คือ ๑. ผูท้ ี่เป็นเหตุใหบ้ คุ คลถงึ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆเ์ ปน็ สรณะ ๒. ผทู้ ่เี ป็นเหตุใหบ้ คุ คลรอู้ ริยสัจจ์ ๔ ตามความเปน็ จริง ๓. ผทู้ เ่ี ปน็ เหตใุ หบ้ คุ คลทำ� ใหแ้ จง้ ซงึ่ เจโตวมิ ตุ ิ และปญั ญาวมิ ตุ ิ อนั ไมม่ อี าสวะอยใู่ น ปัจจบุ นั ไม่มีบุคคลอ่ืนจะมีอุปการะยิ่งกว่าบุคคลทั้งสามประเภทนี้ และบุคคลทั้งสามประเภท นี้ มิใชจ่ ะตอบแทนคณุ ได้โดยง่ายดว้ ยการแสดงความเคารพหรือให้ปัจจยั ๔ ทรงแสดงบุคคล ๓ ประเภท คือ ๑. คนมีจิตเปรียบด้วยแผล คือคนขี้โกรธ ถูกว่ากล่าวเล็กน้อย ก็แสดงอาการ โกรธเคือง เหมอื นแผลถูกไมห้ รอื กระเบ้ือง ก็มเี ลือดหรอื หนองไหล ๒. คนมีจิตเปรียบด้วยสายฟ้า คือรู้อริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริง เหมือนคนตาดี เหน็ รปู ในเวลากลางคืนอนั มืดสนทิ ในระหว่างที่ฟา้ แลบ ๓. คนมีจิตเปรียบด้วยเพชร คือท�ำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะ อยใู่ นปัจจบุ นั เหมือนเพชรท�ำลาย (ตดั ) แกว้ มณี หรอื แผ่นหินได้ ทรงแสดงบคุ คล ๓ ประเภท คือ ๑. คนที่ไม่ควรคบ ได้แก่คนทีเ่ สือ่ มจากศีล สมาธิ ปัญญา๑ ๑ มีเงื่อนไขพิเศษส�ำหรับบุคคลประเภทน้ี ท่ีว่าไม่ควรคบนั้น เว้นไว้แต่จะเอ็นดู จะอนุเคราะห์ คือคบเพ่ือช่วยให้เขา ดีขึ้นกว่าเดิม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 734 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 735 ๒. คนทคี่ วรคบ ได้แก่คนท่ีเสมอกันโดยศีล สมาธิ ปญั ญา ัอง ุคตตร ินกาย ๓. คนท่ีควรคบอยา่ งสักการะเคารพ ไดแ้ กค่ นทย่ี ิง่ กวา่ โดยศีล สมาธิ ปัญญา ทรงแสดงบุคคล ๓ ประเภท คอื ๑. คนท่ีควรเกลียด ไม่ควรคบ ได้แก่คนทุศีล ไม่เป็นสมณะ แต่ปฏิญญาว่าเป็น สมณะ เป็นคนเนา่ ใน ๒. คนท่ีควรวางเฉย ไมค่ วรคบ ไดแ้ กค่ นขโ้ี กรธ ถกู ว่ากลา่ วเล็กน้อย กแ็ สดงอาการ โกรธเคือง ๓. คนที่ควรคบ ได้แก่คนท่ีมีศีล มีกัลยาณธรรม (ตรัสเปรียบเทียบข�ำ ๆ ส�ำหรับ บุคคลประเภท ๑ และ ๒ คอื ประเภทที่ ๑ เปรียบเหมอื นงทู เี่ ล้ือยลงไปในอุจจาระ แม้ไม่กัดก็เปื้อน ประเภทที่ ๒ เหมือนเอาไม้หรือกระเบ้ืองไปเขี่ยหลุมอุจจาระ รงั แต่จะเกดิ กลน่ิ เหมน็ ยง่ิ ขึ้น) ทรงแสดงบคุ คล ๓ ประเภท คอื ๑. คนพูดเหม็น (พูดเป็นอุจจาระ) ได้แก่ผู้พูดปดท้ัง ๆ รู้ เพ่ือตน เพื่อผู้อื่นหรือ เพราะเหน็ แกอ่ ามิส ๒. คนพูดหอม (พูดเป็นดอกไม้) ได้แก่ผู้ไม่พูดปดท้ัง ๆ รู้ เพื่อตน เพื่อผู้อื่น หรือเพราะเหน็ แก่อามิส ๓. คนพูดหวาน (พูดเป็นน�้ำผึ้ง) ได้แก่ผู้ที่เว้นจากการพูดค�ำหยาบ พูดแต่ค�ำท่ี รนื่ หู เป็นที่พอใจแหง่ คนมาก ทรงแสดงบุคคล ๓ ประเภท คือ ๑. คนตาบอด ได้แก่ผู้ไม่มีตาท่ีจะท�ำโภคทรัพย์ให้เกิด ที่จะท�ำโภคทรัพย์ท่ีเกิด แลว้ ใหเ้ จรญิ กบั ไม่มตี าท่ีจะรธู้ รรมอันเป็นกศุ ลหรืออกุศล ๒. คนมีตาข้างเดียว ได้แก่ผู้มีตาที่จะท�ำโภคทรัพย์ให้เกิด ที่จะท�ำโภคทรัพย์ท่ีเกิด แลว้ ใหเ้ จริญแตอ่ ย่างเดียว แต่ไม่มตี าท่ีจะรู้กุศลธรรมหรอื อกุศลธรรม ๓. คนมีตาทั้งสองข้าง ไดแ้ ก่คนทีม่ ีตาทง้ั สองประเภทน้นั (ตาทางโลก ตาทางธรรม) ทรงแสดงบคุ คล ๓ ประเภท คือ ๑. ผู้มีปัญญาเหมือนหม้อคว่�ำท่ีกรอกน้�ำไม่ลง ได้แก่คนที่ไม่สนใจฟังธรรมทั้งใน ขณะแสดงและขณะที่ตนลกุ ไปแลว้ ๒. คนมีปัญญาเหมือนชายพกท่ีใส่ของไว้ เวลาลุกข้ึนก็หล่นเรี่ยราด ได้แก่คนท่ี สนใจฟังธรรมขณะแสดง ลกุ ข้ึนแล้วไมส่ นใจ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 735 5/4/18 2:25 PM

736 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๓. คนมีปัญญาหนาแน่น (เหมือนหมอ้ น�้ำหงายเปิดฝากรอกน�้ำลงไปไดไ้ ม่หก) ได้แก่ คนท่ีสนใจฟังธรรม ลกุ ไปแลว้ กส็ นใจ (พจิ ารณาเบ้ืองต้น ท่ามกลางและท่ีสุด) วรรคท่ี ๔ ช่อื เทวทตู วรรค วา่ ดว้ ยทูตของเทวดา ทรงแสดงว่า ตระกูลท่ีบุตรบูชามารดาบิดาในเรือนของตน ช่ือว่าเป็นตระกูลท่ีมี พรหม มีบูรพาจารย์ (อาจารย์คนแรก) มีผู้ควรแก่ของค�ำนับ ค�ำทั้งสามค�ำนี้เป็นชื่อของมารดา บิดา เพราะท่านเป็นผูม้ ีอปุ การะมากเป็นผู้เลีย้ งดแู สดงโลกนแี้ ก่บตุ ร ตรัสตอบค�ำถามของพระอานนท์ โดยทรงแสดงว่า มีภิกษุที่ได้สมาธิ โดยประการ ที่จะไม่มีการถือเรา ถือของเราและถือตัว ในร่างกายอันมีวิญญาณครองน้ี จะไม่มีการถือเรา เปน็ ตน้ ในนิมติ (เคร่อื งหมาย) ทงั้ ปวง ภายนอก จะเข้าถึงเจโตวมิ ตุ ิ ปัญญาวิมุติอยู่ ตรัสกับพระสาริบุตรว่า ทรงแสดงธรรมโดยย่อบ้าง โดยพิสดารบ้าง ท้ังโดยย่อท้ัง พิสดารบา้ ง แต่ผรู้ ธู้ รรมะหาได้ยาก เมื่อพระสารบิ ตุ รกราบทูลขอร้องใหท้ รงแสดง จึงทรงแสดง ใหส้ �ำเหนยี กวา่ จกั มคี ณุ ธรรมอยา่ งทีต่ รสั ตอบพระอานนท์ (ข้างบนน้ี) แล้วตรสั ว่า ภกิ ษผุ ูท้ �ำได้ อย่างน้ี ชื่อว่าตัดตัณหาได้ แก้เคร่ืองผูกมัดได้ ท�ำท่ีสุดได้ เพราะตรัสรู้ธรรมเป็นเหตุละมานะ ได้โดยชอบ ทรงแสดงโลภะ โทสะ โมหะ ว่าเป็นต้นเหตุให้เกิดกรรม (การกระท�ำ) ซึ่งจะเป็นเหตุ ให้ได้รับผลในชาติปัจจุบัน ชาติหน้า หรือชาติต่อ ๆ ไป และทรงแสดงอโลภะ อโทสะ อโมหะ วา่ เป็นตน้ เหตใุ หเ้ กดิ กรรม (การกระทำ� ) เช่นเดียวกนั (แต่เป็นไปในทางด)ี ตรัสตอบค�ำถามของหัตถกะ อาฬวกะ (ชาวแคว้นอาฬวี) ว่าทรงบรรทมเป็นสุขคนหนึ่ง ในโลก แม้ราตรีฤดูหนาวจะเย็น หิมะจะตก ดินจะแตกระแหง เครื่องปูลาดจะน้อย ใบไม้ จะโปร่ง ผ้ากาสายะจะเย็น ลมจะพัด เพราะทรงละราคะ โทสะ โมหะ (อันท�ำให้เกิดความ เดอื ดร้อนทางกาย ทางจิต) ได้เดด็ ขาดแลว้ ทรงแสดงเร่ืองเทวทูต ๓ คือคนแก่ คนเจ็บ คนตาย ซึ่งควรเป็นเครื่องเตือนใจคน ให้ตง้ั อยู่ในความไมป่ ระมาท แลว้ แสดงการทผ่ี ทู้ ำ� กรรมชัว่ จะถกู ทรมานในนรกอย่างไร ทรงแสดงการท่ีเทพช้ันดาวดึงส์ไม่พอใจ เมื่อทราบว่ามนุษย์ไม่ปฏิบัติต่อมารดาบิดา เปน็ ตน้ ไมร่ ักษาอุโบสถ และพอใจเมื่อทราบว่ามนษุ ย์ปฏิบัติดี ทรงแสดงว่า ท้าวสักกะสอนเทพช้ันดาวดึงส์ สรรเสริญการรักษาอุโบสถมีองค์ ๘ ในวันอโุ บสถ ทรงแสดงความท่ีพระองค์เป็น (กษัตริย์) สุขุมาลชาติ แล้วทรงละความเมาในความ เปน็ หนุ่มสาว ความเมาในความไม่มโี รค ความเมาในชวี ติ เสยี ได้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 736 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 737 ทรงแสดงอธิปไตย (ความเป็นใหญ่) ๓ อย่าง คือ อัตตาธิปไตย (ถือตนเป็นใหญ่) ัอง ุคตตร ินกาย โลกาธปิ ไตย (ถอื โลกเปน็ ใหญ)่ และธมั มาธปิ ไตย (ถือธรรมะเปน็ ใหญ)่ แลว้ ทรงอธิบายถึงคนที่ เวน้ ความชวั่ ประพฤตคิ วามดี เพราะปรารภตนบ้าง ปรารภโลกบา้ ง ปรารภธรรมะบา้ ง วรรคที่ ๕ ชอ่ื จูฬวรรค วา่ ดว้ ยเรื่องเลก็ น้อย ทรงแสดงวา่ กุลบุตรผมู้ ศี รัทธา ยอ่ มได้บุญมาก เพราะพร้อมหน้าธรรมะ ๓ อย่าง คือ ๑. พรอ้ มหน้าศรัทธา ๒. พร้อมหนา้ ไทยธรรม (ของถวาย) ๓. พรอ้ มหนา้ ผูค้ วรแก่ของถวาย (ทกั ขิไณยบุคคล) คนมศี รทั ธาพงึ ทราบโดยฐานะ ๓ คอื ๑. ใคร่เหน็ ทา่ นผู้มศี ลี ๒. ใคร่ฟังพระสทั ธรรม ๓. ยนิ ดีในการบริจาคทาน บุคคลเหน็ อ�ำนาจประโยชน์ ๓ อยา่ ง จงึ ควรแสดงธรรม คือ ๑. ผู้แสดงยอ่ มรูอ้ รรถร้ธู รรม ๒. ผฟู้ งั ยอ่ มร้อู รรถรู้ธรรม ๓. ทั้งผ้แู สดงท้ังผู้ฟังสองฝา่ ยย่อมรูอ้ รรถรูธ้ รรม กถา (ถอ้ ยคำ� ) ยอ่ มเปน็ ไปโดยฐานะ ๓ คือ ๑. ผแู้ สดงธรรม ๒. ผู้ฟงั ธรรม ๓. ท้งั ผู้แสดงท้ังผูฟ้ ังย่อมร้อู รรถรธู้ รรม ส่งิ ท่บี ัณฑิตบัญญัติ ทีส่ ตั บรุ ษุ (คนดี) บญั ญัติ ๓ อย่าง คือ ๑. ทาน การให้ ๒. บรรพชา การถอื บวช ๓. มาตาปิตปุ ฏั ฐาน บำ� รงุ เล้ียงมารดาบิดา มนุษย์ย่อมได้บุญมาก ในที่ที่บรรพชิตผู้มีศีลอาศัยอยู่ เป็นการได้บุญโดยฐานะ ๓ คือทางกาย ทางวาจา ทางใจ ลักษณะของส่ิงที่ปัจจัยปรุงแต่ง (สังขตลักษณะ) ๓ อย่าง คือความเกิดข้ึนปรากฏ ความเส่ือมปรากฏ ความแปรปรวนปรากฏ ส่วนลักษณะของส่ิงท่ีปัจจัยมิได้ปรุงแต่ง (อสงั ขตลักษณะ) ตรงกนั ข้าม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 737 5/4/18 2:25 PM

738 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ อันโตชน (คนภายใน) ท่ีอาศัยหัวหน้าครอบครัว ผู้มีศรัทธา ย่อมเจริญด้วยความ เจริญ ๓ อย่าง คือเจริญดว้ ยศรัทธา ดว้ ยศีล ดว้ ยปญั ญา เหมอื นไม้สาละใหญ่ เจรญิ ดว้ ยก่ิงใบ ด้วยเปลือกและสะเก็ด ด้วยกะพ้ีและแก่น ควรท�ำความเพยี รโดยฐานะ ๓ คือ ๑. เพอ่ื มใิ หเ้ กดิ อกุศลบาปธรรมที่ยงั ไมเ่ กดิ ๒. เพื่อให้เกดิ กศุ ลธรรมที่ยังไมเ่ กดิ ๓. เพอื่ อดทนต่อทกุ ขเวทนากลา้ ภกิ ษผุ ทู้ ำ� ไดอ้ ยา่ งนี้ ชอ่ื วา่ มคี วามเพยี ร มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ เพอื่ ทำ� ความทกุ ขใ์ หถ้ งึ ทส่ี ดุ โดยชอบ มหาโจรประกอบด้วยองค์ ๓ จึงทำ� การของโจรได้ คอื ๑. อาศยั ทางอันไมส่ ม่ำ� เสมอ ๒. อาศยั ป่ารก ๓. อาศยั ก�ำลัง ภกิ ษชุ ่ัวก็ประกอบด้วยองค์ ๓ คอื อาศยั ทางอนั ไม่สม�ำ่ เสมอ เทียบดว้ ยการกระทำ� ทาง กาย วาจา ใจ อันไม่เรียบร้อย อาศัยปา่ ชฏั เทียบด้วยมคี วามเห็นผดิ อาศยั ก�ำลัง เทยี บดว้ ย อาศยั พระราชาหรอื มหาอำ� มาตยข์ องพระราชา (สนับสนุน) ทุตยิ ปณั ณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๒ ในหมวด ๕๐ น้ี คงมี ๕ วรรค วรรคละประมาณ ๑๐ สูตร เช่นเดียวกับหมวด ๕๐ ท่แี ล้วมา วรรคทั้งหา้ คือ ๑. พราหมณวรรค วา่ ดว้ ยพราหมณ์ ๒. มหาวรรค ว่าด้วยเร่อื งใหญ่ ๓. อานันทวรรค ว่าด้วยพระอานนท์ ๔. สมณวรรค ว่าด้วยสมณะ ๕. โลณผลวรรค ว่าด้วย เมล็ดเกลือ ท่านผู้อ่านจะสังเกตได้ว่า ในหมวด ๕๐ ที่ ๑ ย่อไว้ค่อนข้างพิสดาร พอถึงหมวด ๕๐ ตอ่ ไป กย็ อ่ สน้ั ลงไปอกี ดงั ทเ่ี ปน็ มาแลว้ ในทกุ นบิ าต ชมุ นมุ ธรรมะทม่ี ี ๒ ขอ้ ในตกิ นบิ าต ชุมนุมธรรมะที่มี ๓ ข้อน้ี ก็จะท�ำเช่นเดียวกัน หมายเลขข้างหน้าข้อความจึงเท่ากับเป็น เครอื่ งหมายวรรคท่ี เทา่ นัน้ เทา่ น้ีดว้ ย๑ วรรคที่ ๑ ชอ่ื พราหมณวรรค วา่ ด้วยพราหมณ์ ๑. ตรัสสอนพราหมณ์ชรา อายุประมาณ ๑๒๐ ปี ๒ คน ที่มาเฝ้าขอให้ทรงสั่งสอน จงึ ตรสั วา่ โลกอนั ความแก่ ความเจบ็ ความตาย นำ� เขา้ ไปใกล้ จงึ ควรสำ� รวมทางกาย วาจา ใจ เพอื่ เป็นเครอื่ งตา้ นทาน เป็นทีเ่ รน้ เป็นเกาะ เปน็ ท่พี ่งึ เปน็ ทไ่ี ปในเบ้ืองหน้าของผูท้ ล่ี ะโลกนไี้ ป และ ๑ ฉบบั เดิม ไม่ไดใ้ ส่ช่อื วรรค ในการพิมพค์ รั้งนี้ (พ.ศ. ๒๕๖๐) ไดใ้ ส่ชอื่ วรรคใหด้ ้วย - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 738 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 739 ทรงสอนพราหมณ์ชราท้ังสองคน ในท�ำนองเดียวกัน เป็นแต่แสดงว่า โลกร้อน (ลุกเป็นไฟ) ัอง ุคตตร ินกาย เพราะความแก่ ความเจบ็ ความตาย ตรสั ตอบปัญหาของพราหมณผ์ ้หู นึ่ง เรือ่ งธรรมะทเ่ี ห็นได้ ด้วยตนเอง (สันทิฏฐิกะ) ไม่ประกอบด้วยกาล ควรเรียกให้มาดู ควรน้อมเข้ามาในตน อันผู้รู้ พึงทราบจ�ำเพาะตน โดยช้ีให้เห็นว่า เมื่อคนก�ำหนัดแล้ว คิดประทุษร้ายแล้ว หลงแล้ว ย่อม คิดเบียดเบียนตน คนอ่ืน ท้ังตนท้ังผู้อ่ืน ได้ประสบความทุกข์โทมนัส เมื่อละราคะ โทสะ โมหะได้ ก็ไม่เปน็ เช่นน้นั และน่ีเเหละคอื ธรรมท่เี หน็ ไดด้ ้วยตนเอง เป็นต้น ตรสั ตอบปญั หาของพราหมณป์ รพิ พาชกผหู้ นงึ่ เรอื่ งธรรมะทเ่ี หน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง เปน็ ตน้ โดยชไี้ ปทร่ี าคะ โทสะ โมหะเชน่ เดมิ เปน็ แตย่ า้ ยสำ� นวนวา่ ผกู้ ำ� หนดั แลว้ คดิ ประทษุ รา้ ยแลว้ หลง แล้ว ยอ่ มคดิ เบียดเบียนดั่งกล่าวขา้ งต้น ยอ่ มประพฤตทิ ุจจรติ กาย วาจา ใจ ยอ่ มไมร่ ปู้ ระโยชน์ ตน ประโยชน์ผูอ้ ืน่ ประโยชนท์ ั้งของตนทงั้ ของผอู้ ่ืนตามความเปน็ จรงิ ตรสั ตอบปญั หาของชาณสุ โสณพิ ราหมณ์ เรอ่ื งนพิ พานทเี่ หน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง (สนั ทฏิ ฐกิ ะ) ไมป่ ระกอบดว้ ยกาล ควรเรยี กใหม้ าดู เปน็ ตน้ โดยชไ้ี ปทกี่ ารทบ่ี คุ คลถกู ราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ� จติ ยอ่ มคิดเบียดเบยี นตนและผู้อ่ืน หรอื คิดเบียดเบยี นท้งั ตนท้ังผ้อู นื่ ด่งั กลา่ วข้างตน้ ตรัสตอบปัญหาของพราหมณมหาศาลคนหน่ึง ถึงเรื่องความเสื่อมของมนุษย์และ บา้ นเมอื ง โดยชไ้ี ปทก่ี ารทมี่ นษุ ยย์ นิ ดใี นอธรรม โลภอยา่ งไมเ่ ลอื กทาง (วสิ มโลภ) มธี รรมะทผี่ ดิ นำ� ทาง ตรัสตอบปัญหาของวัจฉโคตรปริพพาชก ผู้ได้ฟังมาว่า พระองค์สอนให้ถวายทานแก่ พระองค์และสาวกของพระองค์เท่าน้ัน ไม่ควรให้แก่ผู้อ่ืนและสาวกของผู้อื่น ทานท่ีถวายแก่ พระองคแ์ ละสาวกของพระองคม์ ผี ลมาก ทใ่ี หแ้ กผ่ อู้ น่ื และสาวกของผอู้ น่ื ไมม่ ผี ลมาก ตรสั ปฏเิ สธ วา่ ไมเ่ ป็นความจริง ผูใ้ ดห้ามผู้ให้ทาน ผู้น้ันช่อื วา่ ท�ำอนั ตรายแก่คน ๓ ประเภท คือ แกผ่ ู้ให้ แก่ ผรู้ บั และทำ� ลายตนเองกอ่ น แลว้ ตรสั วา่ ผใู้ ดเทนำ้� ลา้ งถาดหรอื นำ�้ ลา้ งชามลงไปในนำ�้ ครำ� หรอื ใน หลุมโสโครก ดว้ ยคดิ ว่า สัตว์ท่ีอาศยั อยูใ่ นน้นั จะได้ยังชพี กย็ งั ไดบ้ ญุ จงึ ไมต่ ้องกล่าวถึงการให้ ทานแกม่ นษุ ย์ แตต่ รสั วา่ ทานทใี่ หแ้ กผ่ มู้ ศี ลี มผี ลมาก ใหแ้ กผ่ ทู้ ศุ ลี ไมม่ ผี ลมาก ทานทใี่ หแ้ กผ่ ลู้ ะ องค์ ๕ (นวี รณก์ เิ ลสอนั กนั้ จติ มใิ หบ้ รรลคุ วามดี ๕) ผปู้ ระกอบดว้ ยองค์ ๕ (ศลี สมาธิ ปญั ญา วมิ ตุ ิ วมิ ุตตญิ าณทสั สนะ) มีผลมาก ตรัสแสดงธรรมแก่ติกัณณพราหมณ์ ผู้สรรเสริญพราหมณ์ผู้รู้วิชชา ๓ (พระเวท ท้ังสาม) โดยอธิบายวิชชา ๓ ในพระพุทธศาสนา คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ระลึกชาติได้) จตุ ปู ปาตญาณ (เหน็ ความตายความเกดิ หรอื มที พิ ยจกั ษ)ุ และอาสวกั ขยญาณ (ญาณอนั ทำ� อาสวะ ให้สิ้น) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 739 5/4/18 2:25 PM

740 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ทรงแสดงธรรมแก่ชาณุสโสณิพราหมณ์ โดยอธิบายเร่ืองวิชชา ๓ ในพระพุทธศาสนา ด่งั กลา่ วขา้ งตน้ ต่างจากพระเวททงั้ สามของพราหมณ์ ทรงแสดงธรรมแก่สังคารวพราหมณ์ เร่ืองการบูชายัญ และปาฏิหาริย์ ๓ คือ อิทธิ ปาฏหิ าริย์ (แสดงฤทธ์ไิ ด้เป็นอัศจรรย)์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ (ดักใจทายใจไดเ้ ปน็ อศั จรรย)์ และ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ (สั่งสอนเป็นอัศจรรย์) เม่ือตรัสอธิบายและตรัสถามให้พราหมณ์ตอบ พราหมณก์ ต็ อบแสดงความพอใจในอนสุ าสนปี าฏหิ ารยิ ์ (สงั่ สอนเปน็ อศั จรรย)์ วา่ ดงี ามกวา่ ประณตี กวา่ วรรคท่ี ๒ ชือ่ มหาวรรค วา่ ด้วยเรื่องใหญ่ ๒. ทรงแสดงตติ ถายตนะ (ลทั ธศิ าสนา ลัทธิเดียรถีย์) ๓ ประเภท คอื ถือวา่ สุข ทกุ ข์ มใิ ชท่ กุ ข์ มิใช่สขุ ทบ่ี ุคคลเสวยทั้งปวงเกิดขึ้น (๑) เพราะเหตุทีท่ �ำไว้ในกาลก่อน (๒) เพราะพระผูเ้ ปน็ เจ้าบันดาล (อิสสรนิมมานเหต)ุ (๓) เพราะไมม่ ีเหตไุ ม่มีปัจจยั ทรงค้านลัทธิศาสนาท้ังสามน้ันว่า ถ้าเป็นเช่นน้ัน ท่ีบุคคลประพฤติทุจจริตกาย วาจา ใจ ก็คงจะเน่ืองมาจากเหตสุ ามประการนี้ แล้วทรงแจกธาตุ ๖ อายตนะ ๖ มโนปวจิ าร ๑๘ (ความท่องเที่ยวไปแห่งใจในอารมณ์ ๖ มีรูป เสียง เป็นต้น ซ่ึงเป็นท่ีตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา จึงเป็น ๑๘ คืออารมณ์ ๖ × เวทนา ๓ = ๑๘) อริยสัจจ์ ๔ (มีข้อน่าสังเกตใน การอธบิ ายอรยิ สจั จ์ ๔ ทรงอธบิ ายอรยิ สจั จข์ อ้ ที่ ๑ กบั ท่ี ๔ คอื ทกุ ข์ กบั ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา ตามแนวทวั่ ไป แตอ่ ริยสจั จ์ขอ้ ที่ ๒ กับท่ี ๓ คอื ทกุ ข์ สมุทัย ทรงแสดงปฏิจจสมุปบาทสายเกิด ตลอดสาย ว่าเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ สว่ นทกุ ขนิโรธ ทรงแสดงปฏจิ จสมุปบาทสายดบั ตลอดสาย วา่ เปน็ ความดบั ทกุ ข)์ ทรงแสดงอมาตาปุตติกภัย คือภัยท่ีแม่ลูกพลัดกัน ตามความเข้าใจของบุถุชน (คนท่ี ยังหนาไปด้วยกิเลส) ว่าได้แก่ไฟไหม้ น�้ำท่วม โจรปล้นและทรงช้ีว่า บางครั้งแม่ลูกก็พบกันได้ สว่ นภยั ท่แี ม่ลกู พลัดกัน คือความแก่ ความเจ็บ ความตาย ซง่ึ แม่หรอื ลกู จะปรารถนาให้อีกฝ่าย หนึง่ ไม่แก่ ไม่เจบ็ ไม่ตายไม่ได้ แล้วทรงแสดงมรรคมอี งค์ ๘ วา่ เป็นข้อปฏิบัตเิ พื่อละ เพอ่ื กา้ ว ลว่ งภยั ทง้ั สามน้ี ตรสั ตอบคำ� ถามของพราหมณคฤหบดี ชาวบา้ นพราหมณ์ ชอ่ื เวนาคปรุ ะ ผเู้ หน็ อนิ ทรยี ์ และพระฉวีวรรณของพระผู้มีพระภาคบริสุทธ์ิผ่องใส จึงกราบทูลถามว่า ทรงใช้ท่ีน่ังที่นอนสูง ใหญ่ มอี าสันทิ บัลลงั ก์ เปน็ ต้น ได้ตามต้องการใช่หรือไม่ ทรงชีแ้ จงว่า ทน่ี ั่งหรือทน่ี อนสงู ใหญ่ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 740 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 741 แบบนั้นไม่ควรแก่สมณะ แต่มีอยู่ ๓ อย่างที่ทรงได้ตามต้องการ คือท่ีนั่งที่นอนสูงใหญ่ ที่เป็น ัอง ุคตตร ินกาย ทิพย์ อนั ได้แก่การเข้าฌาน ๑ ท่ีเป็นพรหม อันได้แก่การเจรญิ พรหมวหิ าร ๔ มีเมตตา เปน็ ต้น ทเ่ี ปน็ อรยิ ะ อนั ไดแ้ ก่การละ ราคะ โทสะ โมหะ ตรสั ปรารภสรภปริพพาชก ผูเ้ ข้ามาบวชแลว้ หลกี ไปจากพระธรรมวินัย เท่ียวอวดอ้าง ว่าตนรู้ท่ัวถึงธรรมของสมณศากยบุตรแล้ว เมื่อรู้ทั่วถึงแล้ว จึงหลีกไปจากพระธรรมวินัยนั้น พระผู้มีพระภาคจึงเสด็จไปยังอารามของปริพพาชก ถามให้สรภปริพพาชกตอบในที่ประชุม ปริพพาชกว่า รู้ท่ัวถึงธรรมของสมณศากยบุตรอย่างไร ถ้าบกพร่องก็จะช่วยเติมให้ ตรัสถาม ถึง ๓ ครั้ง สรภปริพพาชกก็ไม่ตอบ นั่งนิ่งเก้อเขิน ก้มหน้า จึงตรัสว่า ผู้ที่พูดโอ้อวดเช่นน้ี เมือ่ ตรสั สอบถามเขา้ ก็มที างไปอยู่ ๓ ทาง คือ (๑) พดู เล่ยี งไปเลี่ยงมา (๒) แสดงอาการโกรธเคอื ง (๓) นั่งนง่ิ เกอ้ เขนิ ก้มหน้า ตรัสแสดงธรรมแก่ชาวนิคมเกสปุตตะแคว้นกาลามะ ผู้ทูลถามถึงสมณพราหมณ์ ต่าง ๆ ทย่ี กย่องวาทะของตนข่มผู้อ่นื ตรสั สอนมิใหเ้ ชอื่ (๑) โดยฟงั ตามกนั มา (๒) โดยน�ำสบื กันมา (๓) โดยตื่นขา่ วลือ (๔) โดยอ้างต�ำรา (๕) โดยนกึ เดาเอา (๖) โดยคาดคะเน (๗) โดยตรึกตามอาการ (๘) โดยพอใจวา่ ชอบแก่ความเหน็ ของตน (๙) โดยเหน็ วา่ พอเชอ่ื ได้ (๑๐) โดยเห็นวา่ สมณะผู้นี้เปน็ ครูของเรา แตใ่ ห้สอบสวนจนรไู้ ดด้ ้วยตนเอง แล้วตรัสถามให้เห็นจริงในโทษของความโลภ ความคิดประทุษร้าย ความหลง และ คณุ ของความไม่โลภ ไม่คดิ ประทุษรา้ ย ไมห่ ลง ตรสั เรอื่ งการเจรญิ พรหมวหิ าร ๔ คอื เมตตา (ไมตรจี ติ คดิ จะใหเ้ ปน็ สขุ ) กรณุ า (สงสาร คิดจะชว่ ยให้พน้ ทุกข)์ มทุ ติ า (ยินดเี ม่ือผอู้ ื่นไดด้ ี ไมร่ ษิ ยา) อเุ บกขา (วางใจเป็นกลาง) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 741 5/4/18 2:25 PM

742 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ แล้วแสดงว่า ผู้มีจิตไม่ผูกเวร ไม่พยาบาท ไม่เศร้าหมอง มีจิตบริสุทธิ์ ย่อมวางใจ (หรือเบาใจสบายใจได)้ ๔ อย่าง คือ (๑) ถ้าผลของความดีความชั่วมี ตนก็จะเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ (เพราะตนท�ำ ความดี) (๒) ถา้ ผลของความดคี วามชว่ั ไม่มี ก็รักษาตัวให้มคี วามสุขไดใ้ นปัจจบุ นั (๓) ถา้ ทำ� บาปเป็นอนั ท�ำ ตนไมท่ ำ� บาปก็คงจะไม่ประสบทุกข์ (๔) ถ้าท�ำบาปไม่เป็นอันท�ำ ก็เห็นตัวเองว่าบริสุทธ์ิทั้งสองทาง (คือไม่ว่าจะทาง ท�ำบาปเป็นอันท�ำ หรือท�ำบาปแล้วไม่เป็นอันท�ำ ตนก็ไม่มีข้อเสียหายทาง ไหนเลย) ชาวกาลามะกราบทูลเห็นด้วยกับความวางใจหรือความอุ่นใจ ๔ ประการเก่ียวกับ โลกหนา้ ของผ้มู ีจติ อันไม่ผูกเวร เป็นตน้ คือ (๑) ถ้าโลกหน้ามี ถ้าผลแห่งกรรมดีกรรมช่ัวมี ก็มีฐานะอยู่ที่เราจะเข้าถึง สคุ ตโิ ลกสวรรค์ (๒) ถ้าโลกหน้าไม่มี ถ้าผลแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี เราก็บริหารตนให้ไม่มีเวร อย่เู ป็นสขุ ไดใ้ นปจั จุบัน (๓) ถา้ ท�ำบาปเป็นอนั ท�ำ เราไม่ได้ทำ� บาปกค็ งจะไม่ได้รบั ทกุ ข์ (๔) ถ้าท�ำบาปไมเ่ ป็นอนั ท�ำ เรากม็ องเหน็ ตวั เองบรสิ ทุ ธทิ์ งั้ สองทาง พระนนั ทกะแสดงธรรมสอน สาฬหะ หลานมิคารเศรษฐี และโรหนะ หลานเปขุณิย เศรษฐี (อรรถกถาวา่ เขณยิ เศรษฐ)ี มใิ หเ้ ชอื่ ตามทฟี่ งั ตามกนั มา เปน็ ตน้ คลา้ ยคลงึ กบั ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ตรสั สอนชาวกาลามะ ต่างแต่แสดงโลภะ คกู่ ับอภิชฌา โทสะ คกู่ ับพยาบาท โมหะ คกู่ ับอวชิ ชา (วา่ เป็นพวกเดียวกนั ในคูน่ ้นั ๆ) แลว้ แสดงถงึ ข้อปฏิบตั พิ รหมวิหาร ๔ มเี มตตา เปน็ ต้น จนจติ หลดุ พ้นจากอาสวะ นพิ พานได้ในปัจจบุ นั พระผมู้ พี ระภาคตรสั แสดงเรอ่ื งกถาวตั ถุ (เรอื่ งของคำ� พดู ) ๓ อยา่ ง คอื ถอ้ ยคำ� ทป่ี รารภ อดตี อนาคต และปจั จบุ นั และเรอื่ งบคุ คลผคู้ วรพดู ดว้ ย ไมค่ วรพดู ดว้ ย พงึ ทราบดว้ ยการเผชญิ ถ้อยค�ำ คือปัญหาที่ควรตอบแง่เดียว ควรตอบแยกตามเหตุผล (หลายแง่) ควรย้อนถาม หรือ ควรระงบั ไวไ้ มต่ อบ ถา้ บคุ คลไมต่ อบตามทคี่ วร กไ็ มค่ วรพดู ดว้ ย ถา้ ตอบตามทคี่ วร กค็ วรพดู ดว้ ย นอกจากน้ันยงั ทรงแสดงผูค้ วรพูดดว้ ย ไมค่ วรพดู ด้วย ทีม่ ลี กั ษณะอน่ื ๆ อีก ตรสั สอนภกิ ษทุ ง้ั หลายวา่ ถ้านกั บวชลทั ธิอน่ื ถามวา่ ราคะ โทสะ โมหะ ตา่ งกันอย่างไร พงึ ตอบวา่ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 742 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 743 ราคะมีโทษนอ้ ย แต่คลายชา้ ัอง ุคตตร ินกาย โทสะมีโทษมาก แตค่ ลายเร็ว โมหะมโี ทษมาก และคลายชา้ สภุ นิมติ (เครอ่ื งหมายท่สี วยงาม) ทำ� ราคะที่ยังไมเ่ กดิ ให้เกิดขึ้น ทเี่ กิดแล้วให้เจรญิ ยงิ่ ขึ้น ปฏฆิ นิมิต (เครอ่ื งหมายท่ที ำ� ใหข้ ดั ใจ) ท�ำโทสะท่ียงั ไม่เกดิ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ที่เกิดแลว้ ใหเ้ จริญยงิ่ ขึน้ อโยนโิ สมนสกิ าร (การไม่ท�ำไวใ้ นใจคือไม่พจิ ารณาโดยแยบคาย) ท�ำโมหะทยี่ ังไม่เกิดใหเ้ กดิ ขนึ้ ที่เกิดแล้วใหเ้ จรญิ ย่ิงขึน้ ทรงแสดงโลภะ โทสะ โมหะ ว่าเป็นอกุศลมูล (มูลรากแห่งอกุศล) อโลภะ อโทสะ อโมหะ วา่ เป็นกศุ ลมูล (มลู รากแห่งกุศล) ทรงแสดงธรรมแกน่ างวสิ าขา เรอ่ื งอุโบสถ ๓ อยา่ ง คือ โคปาลอุโบสถ (อุโบสถ หรือการรักษาศีล หรือจ�ำศีลแบบคนเล้ียงโค) ได้แก่ การรกั ษาอโุ บสถดว้ ยความโลภ คดิ แตจ่ ะกนิ สง่ิ นน้ั สง่ิ น้ี เหมอื นคนเลย้ี งโค คิดแต่เร่อื งการหากนิ ของโค นคิ คัณฐอโุ บสถ (อโุ บสถของนักบวชพวกนคิ รนถ์) ไดแ้ กอ่ โุ บสถแบบนคิ รนถ์ คือ ให้ชักชวนให้เว้นจากการฆ่าสัตว์เจาะจงอุทิศ เจาะจงบางประเภท ไม่นุ่งผ้าด้วยคิดว่าหมดกิเลส ชักชวนให้พูดปดในสมัยท่ีควรชักจูงให้ พูดจริง บริโภคของที่ไม่มีผู้ให้ (ไม่ได้ประเคน) ในเวลารงุ่ เช้า อุโบสถท้งั สองแบบนี้ไม่มผี ลมาก ไมม่ อี านิสงส์มาก สว่ นอุโบสถประเภทท่ี ๓ คือ อริยอุโบสถ (อุโบสถแบบพระอริยเจ้า) ได้แก่เพียรช�ำระจิตที่เศร้าหมองด้วย ความพยายาม และระลึกถึง (คุณของ) พระพุทธเจ้า ระลึกถึง (คุณของ) พระธรรม ระลึกถึง (คุณของ) พระสงฆ์ ระลึกถึงศีลของตน ระลึกคุณท่ี ทำ� ใหเ้ ปน็ เทวดา และพจิ ารณาองคอ์ โุ บสถทลี ะขอ้ ซง่ึ ตนตงั้ ใจรกั ษาคนื หนงึ่ กบั วันหน่ึงเทียบกบั พระอรหันต์ แลว้ ตรสั แสดงอานสิ งสข์ องอรยิ อโุ บสถวา่ มากยงิ่ กวา่ การครองราชยใ์ นชนบททง้ั สบิ หก PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 743 5/4/18 2:25 PM

744 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ วรรคท่ี ๓ ช่อื อานันทวรรค วา่ ดว้ ยพระอานนท์ ๓. พระอานนท์โต้ตอบกับฉันทปริพพาชก อธิบายการละราคะ โทสะ โมหะ พร้อมทั้ง ข้อปฏิบตั เิ พ่ือละใหฟ้ ัง ปรพิ พาชกกล่าวชมเชย พระอานนทโ์ ตต้ อบกบั คฤหบดคี นหนงึ่ ผเู้ ปน็ สาวกของอาชวี กผถู้ ามวา่ ใครกลา่ วธรรม ไวด้ แี ลว้ ใครปฏบิ ตั ดิ ใี นโลก ใครเปน็ พระสคุ ต (ผไู้ ปด)ี ในโลก พระอานนทถ์ ามวา่ ผใู้ ดแสดงธรรม เพื่อละราคะ โทสะ โมหะ ผ้นู ั้นจะเช่ือวา่ กล่าวธรรมไวด้ ีแล้วหรอื ไม่ ตอบวา่ กล่าวธรรมไว้ดแี ล้ว ถามว่า ผูใ้ ดปฏบิ ตั ิเพอื่ ละราคะ โทสะ โมหะ ผนู้ ัน้ ช่อื วา่ ปฏบิ ัตดิ ีในโลกหรือไม่ ตอบว่า ใช่ ถามว่า ผใู้ ดละราคะ โทสะ โมหะ ไดเ้ ดด็ ขาด ผนู้ นั้ ชอ่ื วา่ เปน็ พระสคุ ตในโลกหรอื ไม่ ตอบวา่ เปน็ พระอานนท์ จงึ ตอบสรปุ วา่ เปน็ อนั ทา่ นตอบปญั หาของทา่ นดว้ ยตนเองแลว้ คฤหบดสี าวกของอาชวี กกช็ มเชย วา่ แสดงธรรมไม่ยกตนไมข่ ่มผู้อนื่ จึงแสดงตนเปน็ อบุ าสกถงึ พระรตั นตรยั ตลอดชีวติ พระผมู้ พี ระภาค ทรงหายประชวรจากไขไ้ มน่ านนกั มหานามศากยะ (พพี่ ระอนรุ ทุ ธเถระ มศี กั ดิ์เป็นน้องพระผู้มีพระภาค) เขา้ ไปเฝา้ กราบทลู ถามปญั หาเรอ่ื งสมาธิกบั ญาณ อยา่ งไหนจะ เกดิ กอ่ น พระอานนทเ์ กรงจะเปน็ การรบกวนพระผมู้ พี ระภาค จงึ จบั แขนชวนมหานามศากยะไป สนทนากนั ทอี่ น่ื แลว้ กลา่ ววา่ พระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงศลี สมาธิ ปญั ญา ไวท้ ง้ั อยา่ งทเ่ี ปน็ เสขะ (ของผยู้ งั ศกึ ษา) ทงั้ ทเ่ี ปน็ อเสขะ (ของผไู้ มต่ อ้ งศกึ ษา คอื ทเ่ี ปน็ พระอรหนั ต)์ พรอ้ มทง้ั แสดงรายการ เรือ่ งศีล สมาธิ ปญั ญา ท่ีเป็นเสขะ พระอานนท์แสดงธรรมแก่เจ้าลิจฉวี ๒ องค์ คือ อภัยกับปัณฑิตกุมารกะ ผู้เล่าถึง เร่ืองนิครนถนาฏบุตร ผู้ปฏิญญาถึงญาณทัสสนะของตนว่ารู้รอบไม่มีส่วนเหลือไม่ว่าจะเดิน ยืน หลับ ต่ืน ญาณทัสสนะจะปรากฏติดต่อสมบูรณ์ตลอดเวลา นิครนถนาฏบุตรน้ัน บัญญัติความสิ้นสุดแห่งกรรมเก่าด้วยตบะ (ความเพียร ทรมานตน) การชักสะพาน (งดเว้น เลิกท�ำ) กรรมใหม่ด้วยการไม่ท�ำ เพราะสิ้นกรรม ก็สิ้นทุกข์ เพราะส้ินทุกข์ จึงส้ินเวทนา เพราะสิ้นเวทนา ความทุกข์ท้ังปวงจึงหมดสิ้นไป ความก้าวล่วงทุกข์ ย่อมมีได้ด้วยความ บรสิ ุทธอ์ิ นั ไม่เสอ่ื มโทรม เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเองดังน้ี ในขอ้ น้ี พระผู้มีพระภาคตรสั อย่างไร พระอานนท์ตอบว่า พระผู้มีพระภาคทรงแสดงนิชชราวิสุทธิ (ความบริสุทธิ์อันไม่ชรา ไม่เสื่อมโทรม) ๓ ประการ เพื่อดับทุกข์ เพื่อท�ำให้แจ้งพระนิพพาน คือภิกษุตั้งอยู่ในศีล (ปาฏิ โมกข)์ เจรญิ ฌาน ๔ (สมบรู ณด์ ว้ ยสมาธ)ิ ทำ� ใหแ้ จง้ เจโตวมิ ตุ ิ และปญั ญาวมิ ตุ ิ อนั ไมม่ อี าสวะอยู่ ในปัจจบุ นั สองมาณพก็ช่ืนชมภาษติ ของพระเถระ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 744 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต 745 พระผู้มีพระภาคตรัสแสดงธรรมแก่พระอานนท์ว่า ท่านท้ังหลายจงอนุเคราะห์ ัอง ุคตตร ินกาย ญาติมติ รสาโลหติ ๑ ใหต้ งั้ อยู่ในความเชอื่ อันไมห่ วน่ั ไหวในพระรัตนตรยั พระผู้มีพระภาคทรงตอบค�ำถามของพระอานนท์ ผู้กราบทูลถามเร่ืองเหตุท่ีให้มีภพ (คอื ความมคี วามเปน็ ) โดยทรงชว้ี า่ กรรมเปน็ นา วญิ ญาณเปน็ พชื ตณั หาเปน็ ยางเหนยี ว (ในพชื ) ตรัสชมเชยพระอานนท์ว่า เป็นพระเสขะ ยากที่จะมีผู้เสมอในทางปัญญา เม่ือตรัสเร่ืองศีล พรต พรหมจรรย์ เปน็ ตน้ วา่ มแี กน่ สาร มผี ลทกุ อยา่ งหรอื พระอานนทต์ อบแบง่ วา่ อยา่ งไหนเมอื่ เสพเข้าอกุศลธรรมเจริญ แต่กุศลธรรมเส่ือม อย่างน้ันก็ไม่มีแก่นสาร ไม่มีผล อย่างไหน เมือ่ เสพเขา้ อกศุ ลธรรมเส่ือม กุศลธรรมเจรญิ อย่างน้นั กม็ แี ก่นสาร มผี ล ตรสั ตอบคำ� ถามของพระอานนท์ เรอื่ งกลน่ิ ทไี่ ปไดท้ งั้ ตามลมและทวนลม โดยทรงชไี้ ป ที่กลน่ิ ศลี ตรัสแสดงธรรมแก่พระอานนท์ เร่ืองมีโลกธาตุขนาดเล็ก จ�ำนวนพัน ขนาดกลาง จำ� นวน ๒ พนั ขนาดใหญ่ จ�ำนวน ๓ พัน มีพระจนั ทร์ พระอาทิตย์ จำ� นวนพัน ๆ๒ วรรคที่ ๔ ช่อื สมณวรรค ว่าดว้ ยสมณะ ๔. พระผู้มีพระภาคทรงแสดงถึงกรณียกิจของสมณะ คือการสมาทานอธิศีล อธิจิต และอธปิ ัญญา (อรรถกถา อธิบายค�ำว่า อธิศลี อธจิ ิต อธปิ ญั ญาไวน้ ่าฟงั มาก คอื กลา่ วว่า เรอ่ื งนี้ ก็คือ เรื่องของศีล การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย จิตที่ประกอบด้วยคุณธรรมคือสมาธิ และ ปัญญาความรอบรู้น้ันเอง ถ้าจะรู้ว่าเป็น ”อธิ„ คือ ”ย่ิง„ ก็ให้ต้ังเกณฑ์ศีล จิต หรือปัญญา ธรรมดา แล้วเทียบกับศีล จิต ปัญญา ท่ีสูงกว่า อันท่ีสูงกว่า ก็เป็นอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา เช่นเม่ือเทียบกับศีล ๕ ศีล ๑๐ ก็เป็นอธิศีล เมื่อเทียบกับศีล ๑๐ ปาริสุทธิศีล ก็เป็นอธิศีล เมื่อเทียบกับโลกิยศีล โลกุตตรศีล ก็เป็นอธิศีล เม่ือเทียบกับกามาวจรจิต รูปาวจรจิตก็ เป็นอธิจิต เมอื่ เทยี บกบั รูปาวจรจิต อรปู าวจรจติ ก็เปน็ อธจิ ิต ดังนเ้ี ปน็ ตน้ ) ตรัสแสดงธรรมเร่ืองลาเดินตามหลังโค ร้องว่า ฉันเป็นโค ฉันเป็นโค แต่สีกาย เสียง และรอยเท้ากไ็ ม่เหมอื นของโคฉนั ใด ภิกษุบางรูปที่เดนิ ตามหลงั ภกิ ษสุ งฆ์ กล่าววา่ ฉันเปน็ ภกิ ษุ ฉนั เปน็ ภกิ ษุ แตค่ วามพอใจในการสมาทาน อธศิ ลี อธจิ ติ อธปิ ญั ญา ของภกิ ษนุ น้ั ยอ่ มไมเ่ หมอื น ของภกิ ษเุ หล่าอน่ื จึงได้แต่ตามหลังเทา่ นั้น ๒๑ ญาติทีม่ ีความผกู พันทางสายโลหติ - ม.พ.ป. ๒๕๐๐ ปีมาแล้ว แสดงว่าพระพุทธเจ้าทรงชี้แจงว่า ข้อน้ีนักดาราศาสตร์คงจะพอใจที่พบว่า หลักฐานเม่ือ ยงั มีโลกอ่นื มพี ระจนั ทร์ พระอาทิตยอ์ ่ืนอกี มาก PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 745 5/4/18 2:25 PM


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook