Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore suttantapitaka

suttantapitaka

Published by pim, 2019-11-02 02:56:34

Description: suttantapitaka

Search

Read the Text Version

646 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๙) ชา่ งไมช้ อื่ อสิ ทิ นั ตะ กบั ปรุ าณะ ไดร้ บั การเลยี้ งดเู ปน็ อยา่ งดจี ากพระเจา้ ปเสนทิ โกศล แต่กไ็ ม่แสดงความเคารพในพระองคเ์ ท่าในพระพทุ ธเจา้ คร้งั หนึ่งทรง ทดลองอยู่ในโรงพักแคบ ๆ ช่างไม้สองคนทราบว่าพระพุทธเจ้าอยู่ทางไหน ก็นอนหันศรี ษะไปทางน้ัน หันเทา้ ไปทางพระเจ้าปเสนทโิ กศล (๑๐) ตรัสช้ีให้เห็นว่าพระผู้มีพระภาคและพระองค์ก็เป็นกษัตริย์เหมือนกัน มี อายุ ๘๐ เหมือนกัน เป็นชาวโกศลเหมือนกัน เพราะเหตุนี้จึงทรงแสดง ความเคารพอยา่ งย่งิ ในพระผมู้ พี ระภาค เม่ือพระเจ้าปเสนทิโกศลเสด็จจากไปแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภาษิตของ พระเจ้าปเสนทิโกศลว่า ธัมมเจดีย์ ทรงถือว่ามีประโยชน์และเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ทรงสอนให้ภิกษุท้งั หลายเลา่ เรียนทรงจำ� ไว้ ๔๐. กณั ณกัตถลสตู ร (สูตรวา่ ดว้ ยเหตกุ ารณใ์ นป่าเนื้อชอ่ื กณั ณกตั ถละ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่าเนื้อ (ป่าเป็นที่ให้อภัยแก่เนื้อ) ช่ือกัณณกัตถละ ใกล้นครอุทัญญา พระเจ้าปเสนทิโกศลมีพระราชกรณียกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง เสด็จไปถึง นครนั้นโดยล�ำดับ ทรงทราบว่าพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ที่น้ัน จึงส่งราชบุรุษไปกราบทูล วา่ จะเสดจ็ ไปเฝา้ หลงั เวลาเสวยแลว้ พระนางโสมาและพระนางสกลุ าซง่ึ เปน็ พระภคนิ ี จงึ กราบทลู ขอให้พระเจ้าปเสนทิโกศลถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าและทูลถามถึงความผาสุกแทน พระนางด้วย พระเจ้าปเสนทิโกศลไปเฝ้ากราบทูลข้อที่พระนางท้ังสองสั่งให้กราบทูล พระผู้มี พระภาคตรัสถามว่า สองพระนางหาทูตอ่ืนไม่ได้หรือ ตรัสตอบว่า พระนางทั้งสองเห็นว่า หม่อมฉันจะมาเฝ้าจึงฝากกราบทูล พระผู้มีพระภาคจึงตรัสประทานพรให้พระนางท้ังสองมี ความสุข ๒. พระเจา้ ปเสนทิไดก้ ราบทลู ถามถงึ เรือ่ ง ๔ เรอื่ ง คือ (๑) เรือ่ งความเปน็ ผูร้ สู้ ง่ิ ทงั้ ปวง (สพั พญั ญุตา) (๒) เร่ืองวรรณะ ๔ (๓) เร่อื งอธิเทพ (๔) เรอ่ื งอธพิ รหม๑ ๑ ในเนอื้ เรอ่ื งใชค้ ำ� วา่ เทพ วา่ พรหม ธรรมดา ในตอนสรปู ใชค้ ำ� วา่ อธเิ ทพ อธพิ รหม คำ� วา่ อธิ แปลไดว้ า่ ใหญ่ หรอื ยง่ิ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 646 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค 647 ซง่ึ พระผมู้ พี ระภาคกไ็ ดต้ รสั ตอบ และพระเจา้ ปเสนทโิ กศลกไ็ ดท้ รงแสดงความพอ ัมช ิฌม ินกาย พระทัยช่ืนชม ๓. ในเร่ืองท่ีเก่ียวกับความเป็นผู้รู้ส่ิงทั้งปวง พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ไม่มีสมณะ หรือพราหมณ์ท่รี ูเ้ หน็ ทกุ ส่งิ ทุกอย่างคราวเดยี วกนั ในเรอ่ื งเกย่ี วกบั ความแตกตา่ งกนั ของวรรณะทงั้ สี่ ตรสั ตอบวา่ ถอื กนั วา่ วรรณะ กษตั รยิ ์ และพราหมณ์ เปน็ เลศิ ทางการอภวิ าท การลกุ ขนึ้ ตอ้ นรบั การทำ� อญั ชลกี รรม การทำ� สามจี กิ รรม (การปฏบิ ตั ชิ อบโดยอธั ยาศยั ไมตร)ี แตใ่ นทางปฏบิ ตั ิ (องคห์ รอื คณุ ธรรมอนั เปน็ ประธาน ๕ อยา่ ง เชน่ เดยี วกบั ท่ตี รัสไว้ในโพธิราชกุมารสตู ร หน้า ๖๔๐) วรรณะทงั้ สี่มีคณุ ธรรมเหลา่ นย้ี ่อมไดผ้ ล เสมอกนั ทรงเปรียบดว้ ยไฟ แม้เกดิ จากไม้ตา่ งชนดิ แตเ่ ปลวไฟ สไี ฟ แสงไฟ ยอ่ มไมต่ ่างกนั ในเรอื่ งทเี่ กยี่ วกบั เทวดา ตรสั วา่ เทวดาทมี่ คี วามคดิ เบยี ดเบยี น ยอ่ มมาสโู่ ลกนอ้ี กี สว่ น ท่ีไม่มีความคิดเบียดเบียน ย่อมไม่มาสู่โลกนี้อีก (ตอนนี้วิฑูฑภะผู้เป็นเสนาบดี ได้ถามสอดขึ้น วา่ เทวดาทมี่ คี วามคดิ เบยี ดเบยี นทม่ี าสโู่ ลกนี้ จะทำ� ใหเ้ ทวดาทไ่ี มค่ ดิ เบยี ดเบยี นเคลอื่ นจากฐานะ (จตุ )ิ หรอื ขบั ไลไ่ ปไดห้ รอื ไม่ พระอานนท๑์ กต็ อบโดยอปุ มาอปุ ไมยใหเ้ หน็ วา่ จะขบั ไล่ หรอื ทำ� ให้ จตุ ไิ มไ่ ด้ แมแ้ ตใ่ นโลกน้ี พระเจา้ ปเสนทโิ กศลทรงครอบครองราชสมบตั ใิ นเขตใด กท็ รงมอี ำ� นาจ เฉพาะในเขตน้ัน) ในเร่ืองท่ีเกย่ี วกบั พรหม (ดหู นา้ ๕๗๔ สาเลยยกสูตร) กต็ รสั ทำ� นองเดียวกับ เรือ่ งเทวดา พราหมณวรรค คอื วรรคทวี่ ่าด้วยพราหมณ์ มี ๑๐ สูตร ๔๑. พรหมายุสตู ร (สูตรว่าด้วยพราหมณ์ชอื่ พรหมายุ) ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นวิเทหะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ พรหมายุพราหมณ์ซ่ึงเป็นผู้เฒ่า เป็นพราหมณ์ผู้ใหญ่ เช่ียวชาญไตรเวท รู้จักศาสตร์ ว่าด้วย คดีโลกและมหาปุริสลักษณะ ได้ยินกิตติศัพท์เก่ียวกับพระผู้มีพระภาค จึงใช้อุตตรมาณพ (ผู้เป็นศิษย์) ให้ไปติดตามดูมหาปุริสลักษณะ เม่ืออุตตรมาณพได้ไปสังเกตเห็นเป็นส่วนมาก บางส่วนที่เห็นยาก พระผู้มีพระภาคก็ทรงแสดงอิทธาภิสังขาร (แสดงโดยฤทธิ์) ให้เห็น และ ๑ พระอานนท์เห็นวิฑูฑภเสนาบดี ซึ่งเป็นโอรสของพระเจ้าปเสนทิสอดถาม จึงตอบสอดบ้าง ถือว่าเป็นเรื่องของลูก กลับลูกควรจะพูดกัน พระเจ้าปเสนทิยังไม่รู้จัก ถึงกับทูลถามช่ือต่อพระผู้มีพระภาค และตรัสชมเชยค�ำตอบของ พระอานนท์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 647 5/4/18 2:25 PM

648 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ บางข้อก็ไม่ต้องแสดงฤทธ์ิ เพียงแต่เปิดโอกาสให้เห็นอย่างธรรมดา นอกจากนั้นอุตตรมาณพ ยังติดตามดูความเป็นไปของพระผู้มีพระภาคทุกอิริยาบถตลอดเวลา ๗ เดือน แล้วไปแจ้ง ให้พรหมายพุ ราหมณ์ทราบถึงลักษณะ ๓๒ ประการ และความเป็นไปแห่งอิรยิ าบถทง้ั ปวง ๒. พรหมายุพราหมณ์ก็ลุกจากอาสนะ ท�ำผ้าห่มเฉวียงบ่า ประคองอัญชลีไปยังทิศท่ี พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ เปล่งอุทานนอบน้อมพระผู้มีพระภาค (นโม ตสฺส ฯ ล ฯ ๓ คร้ัง) แล้วได้เดินทางไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงป่ามะม่วงของพระเจ้ามฆเทพ เมื่อไปถึงแล้วได้ใช้ อุตตรมาณพเข้าไปกราบทูลก่อน (ด้วยถือว่าเป็นมารยาทที่จะเข้าไปเฝ้าต่อเม่ือได้รับอนุญาต หรือเช้ือเชิญ) เม่ือมาณพไปเฝ้ากราบทูล และพระผู้มีพระภาคทรงเปิดโอกาสแล้ว จึงเข้าไป เฝา้ พิจารณาดูมหาปุริสลกั ษณะ เม่ือไดเ้ ห็นครบทงั้ สามสบิ สองประการแล้ว จงึ ทูลถามปัญหา ๓. ปัญหาท่ีทูลถามน้ันเก่ียวกับคุณธรรมของพราหมณ์ผู้รู้เวท ผู้มีไตรวิชชา ผู้มี ความสวัสดี ผู้เป็นพระอรหันต์ เป็นเกวลี (ผู้มีความบริบูรณ์สิ้นเชิง) ผู้เป็นมุนี ผู้เป็นพุทธะ พระผมู้ พี ระภาคตรสั ตอบแสดงคณุ ธรรมเหลา่ นน้ั แลว้ พรหมายพุ ราหมณก์ ห็ มอบแทบพระบาท ดว้ ยเศียรเกลา้ เอาปากจุมพติ พระบาท เอามอื นวดฟั้นพระบาท ประกาศนามของตน ๔. พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอนุปุพพิกถา (ถ้อยค�ำท่ีกล่าวโดยล�ำดับ) และเรื่อง อริยสัจจ์ ๔ พรหมายุพราหมณ์ได้บรรลุธรรมะแล้ว จึงนิมนต์พระผู้มีพระภาค พร้อมด้วย ภิกษุสงฆ์ไปฉันในวันรุ่งข้ึน เมื่อเสด็จไปฉันแล้วพักอยู่ในแคว้นวิเทหะน้ันอีก ๗ วัน ก็เสด็จ จากไป ต่อมาไม่ช้าพรหมายุพราหมณ์ก็ถึงแก่กรรม เม่ือภิกษุท้ังหลายกราบทูลถามถึงคติ จึง ตรสั ตอบวา่ เปน็ อนาคามีบคุ คล ไมก่ ลบั มาสูโ่ ลกนอ้ี กี ๔๒. เสลสตู ร (สตู รวา่ ดว้ ยเสลพราหมณ)์ ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นอังคุตตราปะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จแวะประทับ ณ นิคมชื่ออาปณะแห่งแคว้นน้ัน เกณิยชฎิล (นักบวชเกล้าผมเป็นเซิงช่ือ เกณิยะ) ได้สดับกิตติศัพท์เกี่ยวกับพระผู้มีพระภาคก็ไปเฝ้า ได้ฟังธรรม มีความเลื่อมใส จึง นิมนต์พระผู้มีพระภาค พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ไปฉัน พระผู้มีพระภาคทรงเตือนว่า ภิกษุสงฆ์ มีจ�ำนวนมากถึง ๑๒๕๐ รูป ถึง ๒ ครั้ง เกณิยชฎิลก็ยังคงยืนยันตามเดิม๑ พระผู้มีพระภาค จึงทรงรบั นิมนต์ดว้ ยดุษณีภาพ ๑ การเล้ียงพระแบบอินเดีย แม้พระมาก ก็ไม่ต้องเตรียมภาชนะส�ำหรับพระเลย เพราะมีอะไรกี่อย่างก็ใส่ลงไปใน บาตรทั้งหมด พระคงฉันในบาตรทั้งของคาวหวาน ท่ีต้องเตรียมก็มีบ้าง เช่น ภาชนะอาหาร เตาหุงหาอาหาร ภาชนะใส่น้ำ� การปูอาสนะ การเตรยี มฟนื ท�ำเชือ้ ไฟ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 648 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค 649 ๒. เกณียชฎิลเตรียมบอกญาติมิตรให้ไปช่วยงาน ต่างก็ช่วยเหลือเป็นอันดี ครั้งน้ัน ัมช ิฌม ินกาย พราหมณ์ชื่อเสละ ผู้เชี่ยวชาญในพระเวท เป็นอาจารย์สอนมนต์แก่มาณพ ๓๐๐ คนใน อาปณนิคม ทราบจากเกณิยชฎิลถึงพระพุทธเจ้าก็เลื่อมใส พาหมู่มาณพไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค พิจารณาดูพระพุทธลักษณะเห็นต้องตามมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ แล้วได้กราบทูล โต้ตอบกับพระผู้มีพระภาคโดยทูลเชิญให้เสวยราชย์ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า พระองค์ เป็นพระราชาในทางธรรม ทรงหมุนล้อรถไปโดยธรรม เป็นล้อที่ใครจะให้หมุนกลับ (ปฏิวัติ) ไม่ได้ ทูลถามถึงแม่ทัพธรรม ทรงชี้ไปที่พระสาริบุตร และได้ทรงแสดงธรรมสอนใจเร่ืองอื่นอีก เสลพราหมณ์ พรอ้ มดว้ ยบรษิ ทั ก็ได้บรรพชาอปุ สมบท ๓. เกณิยชฎิลก็นิมนต์พระผู้มีพระภาค พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ไปฉัน ทรงอนุโมทนา ปรารภเรื่องการบูชาไฟว่าเป็นประธานของยัญ (ตามแบบของพราหมณ์) สาวิตติฉันท์เป็น ประธานของฉนั ท์ เป็นต้น พระสงฆเ์ ปน็ ประธานของผูบ้ ชู ายญั ผหู้ วงั บญุ ส่วนพระเสละพรอ้ มด้วยบรษิ ทั บวชแลว้ ไม่นานกไ็ ดส้ ำ� เรจ็ เป็นพระอรหันต์ ๔๓. อัสสลายนสตู ร (สูตรว่าดว้ ยมาณพช่ืออสั สลายนะ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม คร้ังน้ันพวกพราหมณ์ชาวแว่นแคว้น ต่าง ๆ ประมาณ ๕๐๐ มาพักอยู่ในกรุงสาวัตถีด้วยกรณียกิจบางอย่าง ต่างปรึกษากันว่า พระสมณโคดมบัญญัติความบริสุทธ์ิทั้งสี่วรรณะ (ไม่กดพวกวรรณะต�่ำ) ใครหนอจะสามารถ โต้ตอบกับพระสมณโคดมในเรื่องน้ี คร้ังนั้นมาณพหนุ่มอายุ ๑๖ ช่ืออัสสลายนะ ซ่ึงเป็นผู้ เช่ียวชาญไตรเวท พร้อมด้วยคัมภีร์ประกอบ พักอยู่ในกรุงสาวัตถีน้ัน พวกพราหมณ์เหล่านั้น จึงไปหามาณพนั้น ขอให้ไปโต้ตอบ มาณพไม่ยอม อ้างว่าพระสมณโคดมเป็นธรรมวาที (ผู้ กล่าวเป็นธรรม) พวกพราหมณ์ก็แค่นไค้จนถึง ๓ ครั้ง และในท้ายแห่งครั้งที่ ๓ ได้กล่าวว่า อย่าแพ้ท้ังที่ยังไม่ทันได้รบ มาณพก็ยืนยันตามเดิมว่า ไม่สามารถโต้ตอบกับพระสมณโคดม แต่จะไปตามถ้อยคำ� ของพวกพราหมณ์ ๒. มาณพจึงไปพร้อมด้วยพราหมณ์คณะใหญ่ เมื่อได้เข้าเฝ้าแล้วจึงถามพระมติว่า จะทรงคิดเห็นอย่างไร ในข้อท่ีพราหมณ์ท้ังหลายกล่าวว่า วรรณะพราหมณ์เท่านั้นประเสริฐ เป็นฝ่ายขาว บริสุทธ์ิ ส่วนวรรณะอ่ืนตรงกันข้าม พระผู้มีพระภาคตรัสตอบ อ้างว่าพราหมณ์ เกิดจากองค์ก�ำเนิดของนางพราหมณ์ จะว่าเกิดจากปากพรหมเป็นผู้ประเสริฐได้อย่างไร แล้ว ได้ตรัสถึงประเพณีในแคว้นโยนกกับกัมโพช และชนบทชายแดนอ่ืน ๆ ท่ีมีคนเพียง ๒ วรรณะ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 649 5/4/18 2:25 PM

650 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ คืออัยยะ (นาย) กับทาส คนเป็นนายแล้วเป็นทาสก็ได้ คนเป็นทาสแล้วเป็นนายก็ได้ ในกรณี เช่นนี้ พวกพราหมณ์จะเอาก�ำลัง เอาความสะดวกใจอะไรมาอ้างในข้อที่ว่า พราหมณ์เป็น ผู้ประเสริฐ เป็นต้น แต่มาณพก็ยังยืนยันถ้อยค�ำตามเดิมว่า แม้เช่นนั้นพวกพราหมณ์ก็ยัง ถือวา่ วรรณะพราหมณ์ประเสรฐิ ๓. ตรัสถามว่า ผู้ประพฤติช่ัวทางกาย วาจา ใจ เม่ือตายไปก็เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก เพียงวรรณะใดวรรณะหน่ึง เช่น กษัตริย์ ส่วนวรรณะอื่นไม่เป็นเช่นนั้นหรือ ทูล ตอบว่า เปล่า ตรัสถามท�ำนองเดียวกันในทางท�ำดีว่า วรรณะใดวรรณะหนึ่งเม่ือตายไปก็เข้าถึง สุคติโลกสวรรค์ วรรณะอ่ืนไม่เป็นเช่นน้ันหรือ ทูลตอบว่า เปล่า จึงตรัสสรูปท้ังสองตอนว่า เมื่อเป็นเช่นนี้ จะกล่าวว่าวรรณะพราหมณ์ประเสริฐสุดได้อย่างไร (เม่ือไม่มีอะไรพิเศษ คง ได้รับผลเท่าเทียมกับวรรณะอื่น) แต่อัสสลายนมาณพก็ยังคงยืนกรานว่า พวกพราหมณ์ กลา่ วว่า วรรณะพราหมณ์ประเสรฐิ ๔. ตรัสถามว่า วรรณะใดวรรณะหน่ึงเท่านั้นหรือจึงควรเจริญพรหมวิหาร ๔ ควร ถือด้ายถูตัวไปอาบน�้ำลอยธุลีละออง ควรสีไฟให้ติดได้มีเปลวไฟ มีสี มีแสง ก็ตอบว่า ท�ำได้ ด้วยกัน จึงตรัสสรูปทั้งสามตอนนี้อีกให้เห็นว่า จะกล่าวว่าวรรณะพราหมณ์ประเสริฐสุดได้ อย่างไร แต่มาณพกย็ ังยืนยนั ตามเดมิ ๕. ตรัสถามว่า ชายหนุ่มที่เป็นกษัตริย์อยู่ร่วมกับหญิงสาวที่เป็นพราหมณ์ หรือ ชายหนุ่มท่ีเป็นพราหมณ์อยู่ร่วมกับหญิงสาวที่เป็นกษัตริย์ มีบุตรออกมา จะเรียกว่ากษัตริย์ ก็ได้ พราหมณก์ ไ็ ด้ ใชห่ รือไม่ ทูลรบั รอง (แสดงวา่ พราหมณ์ไมป่ ระเสรฐิ จริง) ๖. ตรสั ถามวา่ แมม่ า้ กบั พอ่ ฬาอยรู่ ว่ มกนั เกดิ ลกู ขน้ึ เรยี กวา่ มา้ กไ็ ด้ ฬากไ็ ด้ ใชห่ รอื ไม่ ทลู ตอบวา่ ลกู ทเ่ี กดิ แตส่ ตั วท์ งั้ สองนน้ั เปน็ มา้ อสั ดร ตนเหน็ ความตา่ งกนั ในขอ้ นี้ แตไ่ มเ่ หน็ ความ ตา่ งกันแห่งบคุ คลในรายกอ่ น (ขอ้ ๕) ๗. ตรสั ถามวา่ มาณพสองคนเปน็ พีน่ ้องร่วมอุทร คนหน่งึ สาธยายมนต์ได้ ได้รบั การ ฝึกหัด อีกคนหนึ่งมิใช่ผู้สาธยายมนต์ มิใช่ผู้ได้รับการฝึกหัด พวกพราหมณ์จะเชิญให้คนไหน บริโภคก่อนในพิธีสารท (อุทิศให้ผู้ตาย) ในอาหารบรรณาการ ในยัญญพิธีและในของต้อนรับ ทูลตอบว่า เชิญให้ผู้สาธยายมนต์ผู้ได้รับการฝึกหัดให้บริโภคก่อน เพราะของท่ีให้ในผู้ไม่ สาธยายมนต์ ผู้มิได้รบั การฝึกหดั จะมผี ลมากได้อย่างไร ๘. ตรสั ถามวา่ มาณพสองคนเป็นพ่นี ้องร่วมอทุ ร คนหน่ึงสาธยายมนตไ์ ด้ ไดร้ บั การ ฝึกหัด แต่เป็นคนทุศีล มีบาปธรรม อีกคนหน่ึงไม่สาธยายมนต์ ไม่ได้รับการฝึกหัด แต่มีศีล PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 650 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค 651 มีกัลยาณธรรม พวกพราหมณ์จะเชิญให้คนไหนบริโภคก่อน ทูลตอบว่า เชิญผู้มีศีล มี ัมช ิฌม ินกาย กลั ยาณธรรมใหบ้ ริโภคกอ่ น เพราะของทีใ่ หผ้ ู้ทศุ ีลมีบาปธรรม จะมผี ลมากได้อยา่ งไร ๙. ตรสั สรูปวา่ คร้ังแรกท่านกลา่ วถงึ ชาติ (ว่าสำ� คญั ) ครน้ั แล้วกล่าวถงึ มนต์ (ว่าส�ำคญั ) คร้ันแล้วก็ยกมนต์นั้นเสีย กล่าวถึงความบริสุทธ์ิที่มีในวรรณะท้ังส่ีตามที่เราบัญญัติไว้ (แสดง ว่าทรงยกเหตุผลต้อนให้มาณพยอมแสดงว่า ชาติไม่ส�ำคัญเท่ามนต์ มนต์ไม่ส�ำคัญเท่าความ ประพฤติ เปน็ การจ�ำนนต่อเหตผุ ลอยา่ งสมบรู ณ์) อสั สลายนมาณพกน็ ง่ิ เก้อเขนิ กม้ หน้า ๑๐. จึงตรัสเล่าเร่ืองอสิตะ เทวลฤษี ไปปราบพราหมณฤษี ๗ ตน ผู้มีความเห็นผิด ในเรื่องวรรณะพราหมณ์ว่าประเสริฐสุด ด้วยการแสดงเหตุผล จนฤษีทั้งเจ็ดนั้นยอมจ�ำนน (เป็นการยกประวัตศิ าสตรม์ าสอนวา่ ในครัง้ โบราณกม็ ผี ้ปู ราบคนเห็นผิดเรอ่ื งชาติวรรณะมาแล้ว) เมื่อจบพระธรรมเทศนา อัสสลายนมาณพกราบทูลสรรเสริญ แสดงตนเป็นอุบาสก ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต ๔๔. โฆฏมขุ สูตร (สูตรว่าดว้ ยพราหมณช์ ่ือโฆฏมุขะ) ๑. ท่านพระอุเทนะอยู่ในป่ามะม่วงชื่อเขมิยะ ใกล้กรุงพาราณสี โฆฏมุขพราหมณ์ มธี รุ ะไปสกู่ รงุ พาราณสี ไปพบพระอเุ ทนะทปี่ า่ มะมว่ งนน้ั จงึ สนทนาดว้ ย โดยแสดงความคดิ เหน็ ว่า การบวชที่เป็นธรรมไม่มี พระอุเทนะจึงเข้าไปสู่วิหาร และพราหมณ์ก็ตามเข้าไปสนทนากัน ในวิหาร พราหมณ์ได้พูดย้�ำความคิดเห็นเดิมอีก พระอุเทนะตกลงกับพราหมณ์ว่า ถ้ายอมรับ ในข้อท่ีควรยอมรับ ถ้าคัดค้านในข้อท่ีควรคัดค้านก็จะสนทนากันได้ พราหมณ์ยอมรับ ข้อเสนอนั้น ๒. พระอุเทนะจึงกลา่ วว่า มบี ุคคล ๔ ประเภท คือ (๑) ทำ� ตนให้เดอื ดร้อน (๒) ท�ำคนอื่นให้เดือดรอ้ น (๓) ท�ำตนใหเ้ ดอื ดร้อนดว้ ย ทำ� ผ้อู ่ืนใหเ้ ดอื ดรอ้ นดว้ ย (๔) ไม่ท�ำตัวเองให้เดือดร้อน ท้ังไม่ท�ำผู้อื่นให้เดือดร้อน เป็นผู้ดับเย็น อยู่เป็นสุข ในปจั จบุ ัน ในบุคคล ๔ ประเภทนี้ ประเภทไหนเป็นท่ีพอใจของพราหมณ์ พราหมณ์ตอบว่า ตนไม่พอใจ ๓ ประเภทแรก พอใจประเภทหลงั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 651 5/4/18 2:25 PM

652 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๓. พระอุเทนะถามว่า มีบริษัท ๒ ประเภท คือพวกหน่ึงก�ำหนัดยินดีในทรัพย์สิน สิ่งต่าง ๆ อีกพวกหน่ึงไม่ก�ำหนัดยินดี ออกบวช ในบริษัท ๒ ประเภทน้ี พราหมณ์เห็นว่าคน ท่ีไม่เบียดเบียนตน ท้ังไม่เบียดเบียนคนอื่น มีอยู่มากในบริษัทประเภทไหน พราหมณ์ตอบว่า มีมากในประเภทที่ไม่ก�ำหนัดยินดีในทรัพย์สินส่ิงต่าง ๆ ท่านพระอุเทนะจึงกล่าวช้ีให้เห็นว่า บัดนี้เราก็ได้รู้ถ้อยค�ำของท่านที่ว่า การบวชที่เป็นธรรมไม่มี (เมื่อพราหมณ์ยอมรับว่า พวก ออกบวช ซ่ึงไม่ก�ำหนัดยินดี เป็นพวกไม่เบียดเบียนตน ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืนโดยมาก ก็เป็นอัน ชอ้ี ยู่ในตวั วา่ การบวชทเี่ ปน็ ธรรมมอี ยู)่ พราหมณย์ อมรับวา่ การบวชที่เป็นธรรมมีและไดข้ อให้ แจกประเภทบคุ คลทงั้ สโ่ี ดยพสิ ดาร ๔. พระเถระจึงแจกอธิบายทั้งสี่ประเภท (ตามนัยที่พระผู้มีพระภาคเคยทรงอธิบาย อนั ปรากฏในกนั ทรกสตู รท่ี ๑ หนา้ ๕๙๕ หมายเลข ๓ ที่ยอ่ ไวแ้ ล้วขา้ งต้น) ๕. โฆฏมุขพราหมณ์แสดงความเลื่อมใส สรรเสริญภาษิตของท่านพระอุเทนะ ประกาศตนเป็นอุบาสกถึงพระอุเทนะ กับพระธรรมพระสงฆ์เป็นสรณะตลอดชีวิต แต่ พระเถระห้ามไว้ ขอให้ถึงพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นสรณะของท่านเป็นสรณะเถิด พราหมณ์จึงถามถึง พระพุทธเจ้า เมื่อทราบว่าปรินิพพานแล้ว จึงกล่าวว่าถ้ายังทรงพระชนม์อยู่ แม้จะต้องเดินทาง ต้ังร้อยโยชน์ก็จะไปเฝ้า แต่เมื่อปรินิพพานแล้ว จึงขอถึงพระสมณโคดมและพระธรรม พระสงฆ์เป็นสรณะ ขอพระอุเทนะจงทรงจ�ำว่าตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ตลอดชีวิต พร้อมกับได้แสดงความจ�ำนงขอถวายภิกษาเป็นนิตย์ (ถวายอาหารประจ�ำ) แด่ พระเถระ พระเถระถามว่า พระราชาแคว้นอังคะทรงถวายนิจจภิกขา๑ ทุก ๆ วันอย่างไร พราหมณ์ตอบว่า ถวายวันละ ๕๐๐ กหาปณะ พระเถระตอบว่า การรับเงินทองไม่ควรแก่ ท่าน พราหมณ์จึงเปลี่ยนเป็นจะสร้างวิหารถวายท่าน ท่านจึงแนะให้สร้างอุปฐานศาลา (โรงฉัน) สำ� หรบั สงฆ์ ในกรงุ ปาฏลิบตุ ร ซ่งึ พราหมณก์ ็ได้ปฏบิ ัตติ ามดว้ ยความเล่อื มใสยง่ิ ๔๕. จงั กีสูตร (สูตรว่าดว้ ยจงั กีพราหมณ์) ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นโกศล พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จ แวะพัก ณ หมู่บ้านพราหมณ์ชื่อโอปาสาทะ ประทับ ณ ป่าไม้สาละ อันเป็นที่ท�ำพลีกรรมแด่ เทพ ด้านเหนอื ของหมบู่ า้ นพราหมณน์ นั้ สมยั นน้ั จงั กพี ราหมณค์ รอบครองหมบู่ า้ นพราหมณช์ อื่ ๑ เข้าลกั ษณะถวายนิตยภตั ต์ และพึงเห็นเป็นหลกั ฐานในพระไตรปิฎกที่ใช้ค�ำว่า นิจจภกิ ขา แทนคำ� วา่ เงนิ ประจ�ำ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 652 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค 653 โอปาสาทะ ซ่ึงพระเจ้าปเสนทิโกศลพระราชทานให้ครอบครอง จังกีพราหมณ์เห็นพราหมณ ัมช ิฌม ินกาย คฤหบดีเดินทางไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเป็นกลุ่ม ๆ ถามทราบความก็จะไปบ้าง แต่ก็ถูกพวก พราหมณ์ชาวต่างถิ่นท่ีไปในท่ีนั้นคัดค้าน จังกีพราหมณ์ก็โต้ตอบ (เช่นเดียวกับโสณทัณฑ พราหมณ์ ดูหน้า ๔๒๑) ในท่ีสุดได้ไปเฝ้า ในท่ีเฝ้านั้นมีมาณพหนุ่มคนหนึ่งอายุ ๑๖ ปี ช่ือ กาปทิกะ เป็นผู้เชี่ยวชาญในเวททั้งสาม พร้อมทั้งคัมภีร์ประกอบ พูดสอดแทรกการสนทนา ระหว่างพระผู้มีพระภาคกับพราหมณ์ผู้ใหญ่ เมื่อตรัสให้รอก่อน ก็หาทางไล่เลียง (เป็นการ ลองดเี พือ่ ใหจ้ �ำนน) ๒. เมอ่ื พระผู้มีพระภาคทรงเปิดโอกาส จงึ ทลู ถามปญั หาเปน็ ข้อ ๆ คือ (๑) พวกพราหมณ์เชื่อถือบทแห่งมนต์ โดยอ้างต�ำราว่า น้ีเป็นจริง อย่างอื่นเป็น โมฆะ จะทรงเห็นอยา่ งไร (๒) ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ ไรชอ่ื ว่ามกี ารรักษาสัจจะ (๓) ดว้ ยเหตุเพียงเท่าไรชอ่ื วา่ มกี ารตรัสรสู้ จั จะ (๔) ด้วยเหตเุ พียงเท่าไรชอ่ื วา่ มีการบรรลุสจั จะ ๓. ในข้อ ๑ ตรัสย้อนถามให้ยอมรับว่าไม่มีใครเลยในพวกพราหมณ์และครูบาอาจารย์ ของพราหมณ์ท่ียืนยันว่าตนรู้ความจริง เมื่อเป็นเช่นนี้จึงเหมือนคนตาบอดจูงคนตาบอด มีธรรม ๕ อย่าง คือความเช่ือ ความพอใจ การฟังสืบ ๆ มา การตรึกตามอาการ ความชอบใจ เพราะตรงกับความเห็นของตน ธรรมเหล่านี้มีผล ๒ ประการ คือส่ิงท่ีเช่ือ เป็นต้นนั้น อาจ ไม่จริงก็ได้ อาจจริงก็ได้ จึงไม่ควรยึดตามความเชื่อ เป็นต้นว่าน้ีแลจริง อย่างอ่ืนเป็นโมฆะ (ข้อน้ีไม่เชิงปฏิเสธศรัทธาหรือความเช่ือ แต่นิยมให้รู้แจ้งประจักษ์มากกว่าใช้หลักเพียงเชื่อ ผู้อ่นื หรอื ชอบใจวา่ ถกู กบั ความเหน็ ของตน เป็นตน้ ) ในขอ้ ๒ เรอ่ื งการรกั ษาสจั จะ ตรสั วา่ ใหร้ กั ษาสจั จะ โดยยอมรบั วา่ มคี วามเชอื่ อยา่ ง นี้ มีความพอใจอยา่ งนี้ เป็นตน้ อยา่ เพิ่งปลงใจวา่ อนั น้จี รงิ อย่างอน่ื เป็นโมฆะ๑ ในข้อ ๓ เรื่องการตรัสรู้สัจจะ ทรงแสดงถึงการรู้เท่าทันธรรมะอันเป็นที่ต้ังแห่ง ความโลภ ความคดิ ประทษุ ร้ายและความหลง สดับฟงั ธรรมะ ทรงจำ� ไวไ้ ด้ มีความอตุ สาหะ ต้งั ความเพียรตรัสรู้ ”ปรมตั ถสจั จะ„ (ความจรงิ โดยปรมัตถ์ คือจรงิ แท้ ไมใ่ ชจ่ ริงเพียงสมมติ) ด้วย ปญั ญา ๑ เมื่อยังไม่รู้แจ้งเห็นจริง เพียงแต่มีความเชื่อ ก็ควรพูดเพียงว่า มีความเชื่ออย่างน้ี อย่าเพ่ิงยืนยันเด็ดขาดลงไปว่า นีจ่ ริง อยา่ งอ่นื ไม่จรงิ เป็นการสอนเร่ืองความเช่อื อย่างดียง่ิ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 653 5/4/18 2:25 PM

654 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ในข้อ ๔ เรื่องการบรรลุความจริง ทรงแสดงถึงการส้องเสพ ท�ำให้มากซ่ึงธรรมะ (ท่ไี ดส้ ดับ ได้ทรงจำ� ไว้ได้เหล่านั้น) และได้ทรงแสดงธรรมอันเป็นอุปการะแก่การบรรลุสัจจะ มีความเพียร การชั่ง หรือ ไตร่ตรอง เปน็ ต้น ตามท่ีมาณพทลู ถาม ๔. มาณพทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ยอมรับว่าเคยนึกดูหม่ินสมณะมาก่อน แต่พระผู้มีพระภาคท�ำให้เกิดความรักความเคารพในสมณะ แล้วแสดงตนเป็นอุบาสกถึง พระรัตนตรัยเปน็ สรณะตลอดชวี ติ ๔๖. เอสุการสี ูตร (สูตรวา่ ด้วยเอสุการพี ราหมณ์) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม เอสุการีพราหมณ์เข้าไปเฝ้าทูลถึง เรอื่ งทีพ่ วกพราหมณ์บัญญตั ิการบ�ำเรอ ๔ ประการ คือ (๑) วรรณะทัง้ สี่ควรบ�ำเรอพราหมณ์ (๒) กษตั รยิ ์ แพศย์ ศทู ร ควรบ�ำเรอกษัตรยิ ์ (๓) แพศย์ ศูทร ควรบำ� เรอแพศย์ (๔) ศทู รเทา่ นนั้ ควรบำ� เรอศทู ร (สูงกว่าบ�ำเรอพวกต่�ำกว่าไม่ได้) ในขอ้ นพี้ ระสมณโคดมตรสั วา่ อยา่ งไร ตรสั ถามวา่ ทว่ั โลกยอมรบั รองขอ้ บญั ญตั นิ ้ี ของพราหมณห์ รอื ไม่ ทลู ตอบวา่ ไมร่ บั รอง จงึ ตรสั วา่ พวกพราหมณบ์ ญั ญตั เิ อาเอง เหมอื นบงั คบั คนไมก่ ินเนือ้ ให้กินเน้ือแล้วยงั เรยี กรอ้ งเอามูลคา่ (ของเนอ้ื ) อกี ดว้ ย ๒. ตรัสว่า ไม่ทรงกล่าวว่าควรบ�ำเรอทุกอย่าง แต่ก็ไม่ทรงกล่าวว่าไม่ควรบ�ำเรอ ทุกอย่าง เมื่อบ�ำเรอแล้วเกิดความชั่วไม่เกิดความดีงามก็ไม่ควรบ�ำเรอ เม่ือบ�ำเรอแล้วเกิด ความดีงามไมเ่ กดิ วามช่ัวก็ควรบ�ำเรอ ๓. ตรัสว่า ไม่ทรงกล่าวว่าความเป็นผู้มีตระกูลสูง ความเป็นผู้มีวรรณะโอฬาร หรือ ความเป็นผู้มีทรัพย์มาก ว่าดีหรือเลว เพราะคนท่ีมีสกุลสูง มีวรรณะโอฬาร (คือวรรณะ ท้ังสาม ยกเว้นศูทร) และคนท่ีมีทรัพย์มาก อาจท�ำได้ท้ังความชั่วความดี (ความช่ัวความดี จึงอยู่ท่ีการกระท�ำ ไม่ใชอ่ ยูท่ ี่สกุลสูง เปน็ ต้น) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 654 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค 655 ๔. เอสุการีพราหมณท์ ลู ถงึ การทพี่ วกพราหมณ์บัญญัตทิ รพั ย์ ๔ ประการ คือ ัมช ิฌม ินกาย (๑) ทรพั ยท์ ีด่ ีของพราหมณ์คอื การเทยี่ วภิกขาจาร๑ (เทยี่ วขออาหาร) (๒) ทรัพย์ที่ดีของกษัตรยิ ์คือธนู และกระบอกลกู ธนู (๓) ทรัพย์ที่ดีของแพศยค์ อื กสกิ รรม และโครักขกรรม (การเลย้ี งโครดี นม) (๔) ทรัพยท์ ดี่ ีของศทู รคือการเกยี่ วหญ้า การหาบหาม แตว่ รรณะทงั้ สน่ี นั้ กด็ หู มนิ่ ทรพั ยท์ ด่ี ี ไปทำ� กจิ อนั ไมส่ มควร (คอื ประกอบอาชพี อน่ื นอกจากอาชพี เดมิ ประจำ� วรรณะ) ในขอ้ นพ้ี ระสมณโคดมตรสั วา่ อยา่ งไร ตรสั วา่ เปน็ การบญั ญตั ิ เอาเองแบบเร่ืองการบำ� เรอ แล้วตรัสว่า ทรงบัญญัติโลกุตตรธรรมอันประเสริฐว่าเป็นทรัพย์ท่ีดี ของคน คนทจี่ ะเรยี กว่า กษตั รยิ ์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร กเ็ พราะเกดิ ขึ้นในสกุลนัน้ ๆ ๕. แล้วทรงแสดงว่า บุคคลทุกวรรณะออกบวช ท�ำตามพระธรรมวินัยท่ีตถาคต ประกาศแลว้ เวน้ ความช่วั ก็ยอ่ มได้บรรลุธรรมะทถี่ กู ต้องเสมอกนั และเม่ือตรัสถามพราหมณ์ ก็ยอมรับว่า วรรณะทั้งส่ีสามารถเจริญเมตตาจิตไปในถิ่นท่ีน้ัน ๆ ได้เหมือนกัน อาจถือด้าย ถูตัวไปสนานกายไดเ้ ทา่ กัน อาจก่อไฟให้ติดไดเ้ หมอื นกนั เอสุการีพราหมณ์ทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัย เปน็ สรณะตลอดชีวิต ๔๗. ธนญั ชานสิ ูตร (สตู รว่าดว้ ยธนัญชานพิ ราหมณ)์ ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เวฬุวนาราม ใกล้กรุงราชคฤห์ สมัยน้ันท่านพระ สาริบุตรจาริกไปในชนบท ”ทักขิณาคิริ„ (ภูเขาภาคใต้) พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ มีภิกษุ รูปหน่ึงจ�ำพรรษาในกรุงราชคฤห์แล้วเดินทางไปทักขิณาคิริชนบท เข้าไปหาพระสาริบุตร สนทนากัน พระสาริบุตรถามถึงธนัญชานิพราหมณ์ ก็เล่าให้ฟัง ว่าเป็นผู้ประมาท อาศัย พระราชา ”ปล้น„ พราหมณ์คฤหบดี อาศัยพราหมณคฤหบดี ”ปล้น„ พระราชา เป็นต้น เมื่อ พระสาริบุตรไปสู่กรุงราชคฤห์ได้พบกับธนัญชานิพราหมณ์ ก็ไต่ถามว่า ยังไม่ประมาทอยู่หรือ พราหมณต์ อบว่า จะไม่ประมาทไดอ้ ย่างไร เพราะตนมีภาระจะต้องเล้ยี งดูมารดาบดิ า บตุ รภรยิ า และบ่าวไพร่ เปน็ ตน้ ๑ อรรถกถาอธิบายวา่ พราหมณแ์ ม้มที รัพยน์ บั จ�ำนวนโกฏิ กค็ วรเท่ียวขออาหารบรโิ ภค PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 655 5/4/18 2:25 PM

656 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๒. พระสาริบุตรจึงถามว่า ผู้ประะพฤติไม่เป็นธรรม ประพฤติผิด เพราะเหตุแห่ง มารดาบิดา เป็นต้น นายนิรยบาลจะยอมให้แก้ตัวอย่างนั้นหรือไม่ ตอบว่า ไม่ได้ ถามว่า ผู้ ประพฤติไม่เป็นธรรม ประพฤติผิด กับผู้ประพฤติเป็นธรรม ประพฤติไม่ผิด เพราะเหตุแห่ง มารดาบิดา ใครจะดีกว่าใคร ธนัญชานิพราหมณ์ยอมรับว่า ผู้ประพฤติเป็นธรรม ประพฤติ ไม่ผิดดีกว่า พระสาริบุตรจึงกล่าวสรูปว่า ยังมีการงานที่ถูกต้องตามธรรมะอย่างอ่ืนท่ีจะพึง กระท�ำกรณียกิจแก่มารดาบิดา เป็นต้นโดยไม่ต้องท�ำบาป และได้บ�ำเพ็ญปฏิปทาอันเป็น บุญดว้ ย ๓. ต่อมาธนัญชานิพราหมณ์เจ็บหนัก จึงใช้คนไปกราบทูลพระผู้มีพระภาค และกราบเรียนพระสาริบุตรและอาราธนาพระสาริบุตรไปสู่ที่อยู่ของตนเพื่ออนุเคราะห์ พระสาริบุตรก็ถามพราหมณ์ว่า นรก กับก�ำเนิดดิรัจฉานอันไหนจะดีกว่ากัน พราหมณ์ตอบว่า กำ� เนิดดริ ัจฉานดีกว่า จงึ ถามเปรียบเทยี บเรื่อยไปจากตำ่� จนถึงสูง คอื เปรตวิสัย มนุษย์ เทพช้ัน จาตุมมหาราช ช้ันดาวดงึ ส์ ช้นั ยามะ ชนั้ ดสุ ิต ช้ันนมิ มานรดี ช้ันปรนมิ มิตวสวตั ตีและพรหมโลก เมื่อเห็นวา่ พวกพราหมณม์ ีจติ นอ้ มไปเพอ่ื พรหมโลก จึงแสดงข้อปฏบิ ตั ิเพ่ือไปเกดิ ในพรหมโลก ให้ธนัญชานิพราหมณฟ์ ัง คือการเจริญพรหมวหิ าร ๔ ประการ ๔. ธนัญชานิพราหมณ์ส่ังฝากพระสาริบุตรกราบพระบาทพระผู้มีพระภาคด้วย เม่ือ พระสาริบุตรกลับไม่นานก็ถึงแก่กรรม แล้วไปเกิดในพรหมโลก เมื่อพระสาริบุตรไปเฝ้า พระผู้มีพระภาค และเมื่อตรัสถามว่า เมื่อยังมีกิจท่ีจะต้องท�ำให้ย่ิงขึ้นไป เหตุไฉนจึงแนะ ธนัญชานิพราหมณ์ให้ต้ังอยู่ในพรหมโลกอันต่�ำทรามแล้วหลีกไปเสีย พระสาริบุตรกราบทูลว่า เพราะท่านคิดวา่ พวกพราหมณน์ ้อมจติ ไปเพื่อพรหมโลก (โดยมาก) พระผมู้ ีพระภาคจงึ ตรสั ว่า ธนญั ชานิพราหมณ์ถึงแก่กรรมไปเกดิ ในพรหมโลกแลว้ ๔๘. วาเสฏฐสูตร (สตู รว่าดว้ ยวาเสฏฐมาณพ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่าอิจฉานังคละ ใกล้หมู่บ้านชื่ออิจฉานังคละ สมัยน้ัน พราหมณมหาศาล (ผู้ม่ังคั่งมีทรัพย์มาก) ที่มีชื่อเสียง เช่น จังกีพราหมณ์ เป็นต้น ก็อาศัยอยู่ ในหมู่บ้านชื่ออิจฉานังคละ มาณพ ๒ คน คือวาเสฏฐะ กับภารทวาชะสนทนากันว่า บุคคล จะเป็นพราหมณ์ได้อย่างไร ภารทวาชะกล่าวว่า ผู้เกิดจากมารดาบิดา เป็นพราหมณ์สืบต่อมา ๗ ช่ัวอายุคน ไม่มีใครคัดค้านได้ (ในเร่ืองวงศ์สกุล) จึงเป็นพราหมณ์ได้ แต่วาเสฏฐมาณพ ค้านว่า ต้องมีศีล สมบูรณ์ด้วยวัตร จึงเป็นพราหมณ์ได้ ทั้งสองไม่สามารถตกลงกันได้ จึง ตกลงกันวา่ จะไปทูลถามพระผมู้ พี ระภาค PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 656 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค 657 ๒. เม่ือไปทูลถาม จึงกล่าวเป็นคาถา (ค�ำกวี) ใจความว่า จะเป็นพราหมณ์ได้ เพราะ ัมช ิฌม ินกาย ชาติ หรือเพราะการกระท�ำ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นคาถาเช่นเดียวกัน โดยใจความว่า เป็นพราหมณ์ มิใช่เพราะชาติ แต่เพราะการกระท�ำท่ีดีงามต่าง ๆ เมื่อจบธรรมเทศนา มาณพ ท้งั สองทูลสรรเสริญ แสดงตนเป็นอบุ าสกถงึ พระรัตนตรัยเปน็ สรณะตลอดชีวิต ๔๙. สุภสตู ร (สตู รว่าด้วยสภุ มาณพบตุ รโตเทยยพราหมณ์) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม สมัยน้ันสุภมาณพบุตรโตเทยยพราหมณ์ มีธุระบางอย่างไปพักในกรุงสาวัตถี ทราบว่าพระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม จึงไปเฝ้า ทูลถามว่า พวกพราหมณ์กล่าวว่า คฤหัสถ์จึงได้บรรลุญายธรรม (ธรรมที่ถูกต้อง) อันเป็นกุศล ส่วนบรรพชิตมิได้บรรลุดังน้ี๑ พระสมณโคดมตรัสในเรื่องนี้อย่างไร ตรัสตอบว่า พระองค์เป็น ”วิภชวาทะ„ (ผู้กล่าวจ�ำแนกตามเหตุผล) มิใช่ ”เอกังสวาทะ„ (ผู้พูดในแง่เดียว) ในเรื่องนี้ แลว้ ตรสั วา่ พระองคไ์ มต่ รสั สรรเสรญิ การปฏบิ ตั ผิ ดิ คฤหสั ถก์ ต็ าม บรรพชติ กต็ าม ถา้ ปฏบิ ตั ผิ ดิ ก็ไม่ได้บรรลุญายธรรม (ธรรมที่ถูกต้อง) อันเป็นกุศล เพราะเหตุมีความปฏิบัติผิดเป็นมูล พระองค์ตรัสสรรเสริญการปฏิบัติชอบ คฤหัสถ์ก็ตาม บรรพชิตก็ตาม ถ้าปฏิบัติชอบก็ได้บรรลุ ญายธรรมอนั เป็นกุศล เพราะเหตุมีการปฏบิ ัติชอบเปน็ มลู ๒. มาณพทูลถามอีกว่า พวกพราหมณ์เขากล่าวว่า การงานในการครองเรือนเป็น งานใหญ่ มีการริเริ่มมาก มีผลมาก แต่การงานในการบวชเป็นการงานน้อย มีการริเร่ิมน้อย มีผลน้อย จะตรัสในข้อนี้อย่างไร ตรัสตอบว่า แม้ในข้อนี้ก็ทรงกล่าวจ�ำแนก ไม่กล่าวยืนยัน ลงไปอย่างเดียว แล้วทรงแสดงว่า การงานท่ีใหญ่แต่มีผลน้อยก็มี การงานที่ใหญ่มีผลมาก ก็มี ทง้ั สองอย่างนี้ทรงชไ้ี ปทีก่ ารท�ำนา และตรัสตอ่ ไปว่า การงานท่นี อ้ ย มผี ลน้อยกม็ ี มผี ลมาก ก็มี ท้ังสองอย่างนี้ทรงช้ีไปที่การค้า แล้วตรัสว่า การงานในการครองเรือนเป็นงานใหญ่ แต่มี ผลน้อยก็มี มีผลมากก็มี การงานในการบวชเป็นงานน้อย มีผลน้อยก็มี มีผลมากก็มี เปรียบเหมอื นการท�ำนาและการคา้ นัน้ ๓. แลว้ มาณพได้ทูลอีกถงึ ข้อทพี่ วกพราหมณ์บัญญตั ธิ รรม ๕ อย่าง เพือ่ บำ� เพ็ญบุญ เพ่ือบรรลุกุศลคือสัจจะ ตบะ (ความเพียร) พรหมจรรย์ (ไม่เสพกาม) อัชเฌนะ (การสาธยาย มนต์) จาคะ (การสละ) ตรัสถามว่า พวกพราหมณ์เหล่าน้ัน พร้อมทั้งครูบาอาจารย์ เคยมี ๑ พวกพราหมณร์ งั เกียจบรรพชิตทโ่ี กนศีรษะ มักใหร้ ้ายตา่ ง ๆ ถอื วา่ เปน็ ชาติตำ�่ เลวทราม เกดิ จากเทา้ ของพระพรหม PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 657 5/4/18 2:25 PM

658 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ สักคนหนึ่งหรือไม่ท่ีกล่าวว่าได้รู้แจ้งเห็นจริงผลแห่งธรรมะท้ังห้าน้ันด้วยตนเองด้วยปัญญา อันย่ิง เมื่อมาณพทูลตอบว่า ไม่มีใคร ก็ตรัสเปรียบเหมือนคนตาบอดจูงคนตาบอด ซ่ึงท�ำให้ มาณพโกรธเคือง ถึงกับใช้ถ้อยค�ำรุนแรง อ้างพราหมณ์มีชื่อต่าง ๆ มาข่ม เช่น โปกขรสาติ พราหมณ์ เปน็ ต้น ๔. พระผู้มีพระภาคจึงตรัสช้ีให้เห็นว่า พราหมณ์เหล่านั้นยังพูดด้วยพิจารณาบ้าง ไม่พจิ ารณาบ้าง มปี ระโยชนบ์ า้ ง ไม่มีประโยชนบ์ ้าง เป็นตน้ ตามท่ีมาณพรบั รอง ยังมีนีวรณ์ ๕ (กิเลสอันก้ันจิต) ยังติดกามคุณ ๕ (มีรูป เสียง เป็นต้น) แล้วทรงย้อนถามถึงคุณธรรม ๕ ประการท่ีพราหมณ์บัญญัตินั้นว่ามีในคฤหัสถ์มากหรือมีในบรรพชิตมาก ซึ่งมาณพได้ ยอมรบั วา่ มใี นบรรพชติ มาก มใี นคฤหสั ถน์ อ้ ย (เรม่ิ แยง้ กบั ขอ้ กลา่ วในตอนแรกทว่ี า่ งานคฤหสั ถ์ เป็นงานใหญ่ มผี ลมาก) ๕. แล้วตรัสแสดงว่า ธรรม ๕ อย่างน้ัน เป็นเพียงบริขาร (เคร่ืองใช้) ของจิต จิตจึง ส�ำคัญกว่า ทรงสอนให้เจริญจิตท่ีไม่มีเวร ไม่มีความคิดเบียดเบียน เม่ือมาณพขอให้ทรง แสดงทางทจี่ ะไปอยรู่ ว่ มกับพรหม ก็ตรสั แสดงการแผพ่ รหมวิหารจิต (มีเมตตา เป็นต้น) ๖. สุภมาณพทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัย ตลอดชีวิต เมื่อเดินทางกลับได้พบชาณุสโสณิพราหมณ์และเล่าให้ฟังถึงการท่ีพระผู้มีพระภาค ทรงยบุ ธรรมะ ๕ อยา่ งมาไวท้ ีจ่ ิต เป็นบรขิ ารของจิต อันไม่มเี วร ไมค่ ดิ เบยี ดเบียน ชาณุสโสณิ พราหมณ์ก็ลงจากรถเทียมด้วยม้าขาว ท�ำผ้าห่มเฉวียงบ่า ประคองอัญชลีไปยังทิศทางที่ พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ เปล่งอุทานว่า เป็นลาภของพระเจ้าปเสนทิโกศลท่ีมีพระตถาคต อรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ประทบั อยใู่ นแว่นแควน้ ๕๐. สคารวสูตร (สูตรวา่ ดว้ ยสคารวมาณพ) ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นโกศล พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ สมัย น้ันนางพราหมณีมีนามว่า ธนัญชานี อาศัยอยู่ในหมู่บ้านชื่อปัจจลกัปปะ นางเป็นผู้เล่ือมใสใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เมื่อพลาดลม้ ก็เปล่งอทุ าน ๓ ครงั้ ว่า นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพุทฺธสฺส สมัยน้ัน สคารวมาณพซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในเวทท้ังสามได้ฟังว่า นางพราหมณี ธนัญชานี กล่าวถ้อยค�ำอย่างน้ัน ก็กล่าวว่า นางพราหมณี ธนัญชานีเป็นผู้ตกต่�ำล่มจม ทั้ง ๆ ที่มีพราหมณ์ผู้รู้ไตรเวท ก็ยังกล่าวคุณของสมณะศีรษะโล้น นางตอบว่า ถ้าท่านรู้ถึงศีลและ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 658 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พราหมณวรรค 659 ปัญญาของพระผ้มู พี ระภาค กจ็ ะไมส่ ำ� คัญเห็นวา่ พระผมู้ ีพระภาคเปน็ ผู้ควรด่า ควรบรภิ าษเลย ัมช ิฌม ินกาย มาณพจึงสงั่ วา่ ถา้ สมณะมาหมบู่ า้ นนี้ กพ็ ึงบอกแกข่ า้ พเจา้ นางพราหมณกี ็รบั คำ� ๒. ต่อมาเม่ือพระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นโกศล ทรงแวะพัก ณ หมู่บ้าน ชื่อปจั จลกัปปะ ประทับ ณ ปา่ มะมว่ งของโตเทยยพราหมณ์ นางธนัญชานพี ราหมณจี ึงไปแจ้งให้ สคารวมาณพทราบ สคารวมาณพได้ทราบก็ไปเฝ้าทูลถามว่า พระโคดมเป็นพวกไหนของ สมณพราหมณ์ ที่ปฏิญญาถึงเบ้ืองต้นแห่งพรหมจรรย์ว่าตนรู้แจ้งในปัจจุบัน อยู่จบพรหมจรรย์ บรรลุถึงความเป็นผู้ถึงฝั่งอย่างสมบูรณ์ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า พระองค์ตรัสว่า สมณพราหมณ์เหล่าน้ันมีต่าง ๆ กัน คือท่ีเป็นพวกฟังสืบ ๆ กันมาก็มี เช่น พวกพราหมณ์ท่ีรู้ วิชชา ๓ (รู้ไตรเวท) ที่ปฏิญญาถึงเบ้ืองต้นแห่งพรหมจรรย์ ด้วยเหตุสักว่า ความเช่ือก็มี เช่น พวกนักเดา นักคิดพิจารณา ท่ีรู้แจ้งธรรมด้วยตนเองในธรรมที่ไม่เคยได้ฟังมาก่อนก็มี พระองคอ์ ยู่ในพวกหลังน้ี ๓. ครน้ั แลว้ ตรสั เลา่ พระดำ� รติ งั้ แตย่ งั มไิ ดเ้ สดจ็ ออกผนวช เหน็ โทษของการครองเรอื น แล้วเสด็จออกผนวชจนถึงทรงบ�ำเพ็ญทุกกรกิริยา แล้วทรงเลิกทุกกรกิริยาจนได้บ�ำเพ็ญฌาน และได้วิชชา ๓ ใน ๓ ยามแห่งราตรี (ข้อความพิสดารเช่นเดียวกับในมหาสัจจกสูตร หน้า ๕๖๓ - ๕๖๖) ๔. มาณพได้ทูลถามถึงเร่ืองเทวดาอีกเล็กน้อย เมื่อตรัสตอบแล้ว ก็ทูลสรรเสริญ พระธรรมเทศนา แสดงตนเปน็ อบุ าสกถึงพระรตั นตรยั เป็นสรณะตลอดชวี ิต จบความย่อแห่งพระไตรปิฎก เลม่ ๑๓ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 659 5/4/18 2:25 PM

เล่ม ๑๔ มัชฌมิ นิกาย อุปริปณั ณาสก์ พระไตรปิฎกเล่มน้ี เป็นเล่มท่ี ๓ หรือเล่มสุดท้ายของมัชฌิมนิกาย หรือนัยหน่ึงสูตร ขนาดกลาง เม่ือเร่ิมล�ำดับมัชฌิมนิกายจากเล่มแรกเป็นโคน (มูล) เล่มต่อมาเป็นท่อนกลาง (มัชฌิมะ) เล่มน้ีซึ่งเป็นเล่มสุดท้าย จึงชื่อว่ามัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ (๕๐ สูตรเบื้องบน อันเทียบได้กับส่วนปลายของต้นไม้) ในเล่มน้ีมี ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ สูตร คงมีพิเศษอยู่ วรรคเดียว คือ วิภังควรรค ซ่ึงมีถึง ๑๒ สูตร เมื่อรวมจ�ำนวนสูตรในมัชฌิมนิกายท้ังสาม เลม่ เขา้ ดว้ ยกัน เล่ม ๑๒ มี ๕๐ สูตร เล่ม ๑๓ มี ๕๐ สูตร และเล่มนี้ คอื เลม่ ๑๔ มี ๕๒ สูตร จงึ เป็น ๑๕๒ สตู ร ขยายความ เทวทหวรรค คอื วรรคท่มี ีเทวทหสูตร เปน็ สูตรแรก มี ๑๐ สูตร ๑. เทวทหสูตร (สตู รวา่ ด้วยเหตกุ ารณใ์ นเทวทหนคิ ม) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับในนิคมเทวทหะ แคว้นสักกะ ณ ที่น้ันได้ตรัสสอนภิกษุ ท้ังหลายว่า มีสมณพราหมณ์บางพวกมีความเห็นว่า สุข ทุกข์ หรือไม่ทุกข์ไม่สุขท่ีบุคคลเสวย ทั้งปวง เนื่องมาจากเหตุที่ท�ำไว้ในกาลก่อน เมื่อกรรมเก่าหมดไป ไม่ท�ำกรรมใหม่ ไม่มีกิเลส ต่อไปอีก ก็สิ้นกรรม เพราะส้ินกรรม ก็สิ้นทุกข์ เพราะสิ้นทุกข์ก็สิ้นเวทนา เพราะส้ินเวทนา ทุกข์ท้ังปวงก็ท�ำลายไปหมด ผู้มีวาทะอย่างน้ีเป็นพวกนิครนถ์ (นักบวชพวกหน่ึง มีนิครนถ นาฏบุตรเปน็ หัวหน้า) ๒. ตรัสเล่าว่า พระองค์เคยเสด็จเข้าไปหาพวกนิครนถ์เหล่านั้น ถามว่า พวกท่านมี ความเห็นอย่างน้ันจริงหรือ ถ้าพวกน้ันรับว่าจริง ก็จะตรัสถามว่า รู้หรือไม่ว่าได้เคยเป็นอะไร หรือไม่เคยเป็นอะไรในกาลก่อน เคยท�ำบาปกรรมหรือไม่เคยท�ำในกาลก่อน รู้หรือไม่ว่าทุกข์ท่ี หมดไปแลว้ มีเท่านี้ ทุกขท์ ่จี ะพึงทำ� ใหห้ มดไปมีเทา่ นี้ เม่ือทุกขห์ มดไปเทา่ น้ีแล้ว ทกุ ข์ทงั้ ปวงจงึ จักหมดไป รู้หรือไม่ว่าการละอกุศลธรรม การท�ำกุศลธรรมให้ถึงพร้อมย่อมมีได้ในปัจจุบัน ก็ตอบว่า ไม่รู้ทุกค�ำถาม พระองค์จึงตรัสต่อไปว่า เมื่อไม่รู้ก็ไม่ควรจะยืนยันว่า สุข ทุกข์ หรือ ไม่ทุกข์ไม่สุขท้ังปวง เนื่องมาจากเหตุที่ท�ำไว้ในกาลก่อน เปรียบเหมือนคนที่ถูกยิงด้วยลูกศร เมื่อหมอผ่าตัดถอนลูกศรออก เอาไฟย่างปากแผล เมื่อหายแล้วก็ยังนึกออกถึงทุกขเวทนาท่ี เคยไดร้ ับในการถกู ยิง ในการผ่าตัดและในการยา่ งปากแผล แต่พวกนิครนถไ์ มร่ ู้เร่อื งอะไรเลย PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 660 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค 661 เก่ียวกับการเกิดหรือกระท�ำในกาลก่อน จะกล่าวยืนยันว่า เวทนาที่ได้รับ เนื่องมาจากเหตุที่ ัมช ิฌม ินกาย ท�ำไว้ในกาลกอ่ นอย่างไร ๓. พวกนิครนถ์แย้งว่า นิครนถนาฏบุตรเป็นสัพพัญญู รู้เเจ้งเห็นจริงส่ิงทั้งปวง กล่าวไว้อย่างน้ี และพวกเราก็พอใจเห็นด้วย จึงตรัสตอบนิครนถ์พวกน้ันว่า ธรรม ๕ ประการ คือ ความเชื่อ ความพอใจ การฟังสืบ ๆ มา การตรึกตามอาการ ความชอบใจตรงกับความ เห็นของตน มีผลเปน็ ๒ ทาง (คอื ผิดก็ได้ ถกู ก็ได้ เป็นการเตือนไม่ใหต้ ดิ ความเช่ือ ความพอใจ เปน็ ตน้ ) ๔. ครัน้ แล้วตรสั ถามวา่ ในสมยั ใดมีความพยายาม ความเพียรกล้า ในสมัยนั้นย่อม ได้เสวยทุกขเวทนากล้า แต่สมัยใดความพยายาม ความเพียรไม่กล้า ในสมัยน้ันก็มิได้เสวย ทุกขเวทนากล้าใช่หรือไม่ เม่ือพวกนิครนถ์ยอมรับว่าเป็นเช่นนั้น (อันเป็นการยอมรับว่าตน สร้างทุกขเวทนาขึ้นเองในปัจจุบัน ขัดกันกับหลักการท่ีว่า เวทนาเกิดมาจากการกระท�ำใน กาลก่อน) พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า ถ้าอย่างนั้นก็ไม่ควรกล่าวว่า เวทนาทุกชนิด เนื่องมาจาก เหตทุ ่กี ระทำ� ไวใ้ นกาลกอ่ น ๕. ตรัสถามพวกนิครนถ์ว่า ด้วยความพยายามและความเพียร จะสามารถเปลี่ยน กรรมท่ีจะให้ผลในปัจจุบันหรือให้ผลในชาติหน้าหรือให้ผลเป็นทุกข์ กลายเป็นตรงกันข้าม จะได้หรือไม่ ตอบว่า ไม่ได้ จึงตรัสว่า ถ้าอย่างน้ันความพยายามความเพียรของพวกนิครนถ์ ก็ชือ่ ว่าไร้ผล ๖. ตรัสกับภิกษุท้ังหลายต่อไปว่า พวกนิครนถ์ท่ีมีความเห็นอย่างน้ี ย่อมถูกติเตียน โดยฐานะ ๑๐ คอื (๑) ถ้าสัตว์เสวยสุขทุกข์ เพราะเหตุท่ีท�ำไว้ในกาลก่อน พวกนิครนถ์ (ที่ได้รับทุกข์ หนักเพราะทรมานตัว) ก็คงท�ำกรรมชว่ั ไว้ (๒) ถ้าสัตว์เสวยสุขทุกข์ เพราะท่านผู้เป็นใหญ่สร้าง (หรือบันดาล) ท่านผู้เป็น ใหญก่ ค็ งจะชั่วชาติ จึงสรา้ งใหพ้ วกนิครนถ์ไดร้ ับทกุ ข์ (๓) ถ้าสัตว์เสวยสุขทุกข์ เพราะเหตุบังเอิญ พวกนิครนถ์ก็ประสบเหตุบังเอิญที่ ชวั่ เพราะต้องไดร้ บั ทกุ ขเวทนาอยา่ งหนกั (๔) ถ้าสัตว์เสวยสุขทุกข์ เพราะชาติก�ำเนิด ชาติก�ำเนิดของนิครนถ์ก็คงจะช่ัว จงึ ท�ำใหเ้ สวยทุกขเวทนาหนัก (๕) ถ้าสัตว์เสวยสุขทุกข์ เพราะความพยายามในปัจจุบัน ความพยายามใน ปจั จุบนั ของพวกนคิ รนถ์ก็คงจะชวั่ จึงทำ� ให้เสวยทกุ ขเวทนาหนกั PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 661 5/4/18 2:25 PM

662 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๖) ถา้ สตั ว์เสวยสขุ ทกุ ข์ เพราะเหตุที่ทำ� ไว้ในกาลกอ่ น หรือมิใช่เพราะเหตุทีท่ ำ� ไว้ ในกาลกอ่ น พวกนิครนถ์ก็ถูกติเตียน (๗) ถ้าสัตว์เสวยสุขทุกข์ เพราะท่านผู้เป็นใหญ่สร้างหรือไม่ก็ตาม พวกนิครนถ์ ก็ถกู ตเิ ตยี น (๘) ถา้ สตั วเ์ สวยสขุ ทกุ ข์ เพราะเหตบุ งั เอญิ หรอื ไมก่ ต็ าม พวกนคิ รนถก์ ถ็ กู ตเิ ตยี น (๙) ถ้าสัตว์เสวยสุขทุกข์ เพราะชาติก�ำเนิดหรือไม่ก็ตาม พวกนิครนถ์ก็คงถูก ตเิ ตยี น (๑๐) ถา้ สตั วเ์ สวยสขุ ทกุ ข์ เพราะความพยายามในปจั จบุ นั หรอื ไมก่ ต็ าม พวกนคิ รนถ์ ก็คงถูกติเตยี น (เพราะลัทธขิ องพวกนี้คือทรมานตัวใหไ้ ด้รบั ความล�ำบาก) ๗. ครั้นแล้วทรงแสดงวิธีที่ความพยายาม ความเพียรจะมีผล คือไม่ปล่อยตัวให้ ทุกข์ครอบง�ำ ไม่สละสุขท่ีถูกธรรม ไม่ติดอยู่ในสุขนั้น มีปัญญารู้เห็นตามเป็นจริง ก็จะคลาย ความก�ำหนัดยินดีเสียได้ ความทุกข์ก็จะหมดไปได้ ความพยายาม ความเพียร จึงชื่อว่า มีผล (ตอนน้เี ปน็ การแสดงหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา) ๘. ทรงแสดงต่อไปว่า ภิกษุพิจารณาเห็นอย่างน้ีว่า ถ้าอยู่สบาย อกุศลธรรมจะเจริญ กุศลธรรมจะเส่ือม ถ้าตั้งตนไว้ในทุกข์ อกุศลธรรมจะเสื่อม กุศลธรรมจะเจริญ ก็จะตั้งตนไว้ ในทุกข์ เพ่ือให้อกุศลธรรมเส่ือม และเพื่อให้กุศลธรรมเจริญ แต่ในสมัยอ่ืนจะไม่ท�ำเช่นนั้น เพราะส�ำเร็จประโยนช์แล้วจึงไม่ต้องท�ำเช่นนั้นอีก เปรียบเหมือนช่างศรย่างลูกศร ดัดลูกศรที่ ง่ามไม้ ท�ำให้ตรงใช้การได้ ภายหลังก็ไม่ต้องย่าง หรือดัดซ้�ำ อีกอย่างน้ีก็เป็นอีกประการหน่ึง ที่ความพยายาม ความเพยี ร ชือ่ ว่ามผี ล ๙. คร้ันแล้วทรงแสดงถึงการมีบุคคลออกบวช เว้นความช่ัว มีศีล ส�ำรวมอินทรีย์ เจรญิ สมาธิ ละนีวรณ์ ๕ บำ� เพ็ญฌาณท้งั สี่ ไดว้ ิชชา ๓ มอี าสวักขยญาณ (ความรู้อันทำ� ใหส้ ิ้น อาสวะ) เป็นท่ีสดุ ความพยายาม ความเพยี ร กช็ ่ือวา่ มีผลเป็นขอ้ ๆ มา ๑๐. ทรงแสดงในที่สุดว่า พระตถาคตได้เสวยสุขเวทนาอันไม่มีอาสวะ (ตรงกันข้าม กับนคิ รนถท์ ่ีเสวยทุกขเวทนาอันหนกั ) จึงได้รับการสรรเสรญิ ทั้ง ๑๐ ฐานะ (ตรงกนั ข้ามกับการ ทีพ่ วกนคิ รนถถ์ ูกตเิ ตียนทั้ง ๑๐ ฐานะดัง่ กลา่ วมาแล้ว ตามข้อ ๖) ๒. ปญั จัตตยสูตร (สตู รว่าดว้ ยความเห็น ๕ ประการท่จี ัดเปน็ ประเภทได้ ๓) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงธรรมแก่ภิกษุท้ังหลายถึง สมณพราหมณบ์ างพวกทม่ี คี วามเหน็ ปรารภส่วนสดุ เบอื้ งปลาย (เมื่อตาย) คือ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 662 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค 663 (๑) อตั ตาทีม่ คี วามจำ� ไดห้ มายรู้ ย่อมไม่มโี รคหลงั จากตายแลว้ ัมช ิฌม ินกาย (๒) อัตตาทไี่ ม่มีความจ�ำได้หมายรู้ ย่อมไม่มโี รคหลงั จากตายแลว้ (๓) อตั ตาทม่ี คี วามจำ� ไดห้ มายรกู้ ไ็ มใ่ ช่ ไมม่ คี วามจำ� ไดห้ มายรกู้ ไ็ มใ่ ช่ ยอ่ มไมม่ โี รค หลงั จากตายแลว้ (๔) บางพวกบัญญตั คิ วามขาดสญู ของสตั ว์ทีเ่ ปน็ อยู่ (๕) บางพวกบัญญตั นิ พิ พานในปัจจุบนั ๑ ความเหน็ ท้งั หา้ ประการนี้จดั ได้เป็น ๓ ประเภท คอื (๑) บญั ญัตติ นวา่ ไม่มโี รคหลังจากตาย (๒) บัญญัตคิ วามขาดสูญของสัตว์ (๓) บญั ญัตนิ ิพพานในปัจจุบนั ๒. คร้ันแล้วทรงแจกรายละเอียดแห่งความเห็น ๕ ประการนั้น และตรัสรูปใน ตอนท้ายว่า ตถาคตรู้เท่า เห็นความถอนตัวจากความเห็นน้ัน ๆ ได้ จึงก้าวล่วงความเห็นนั้น แล้วได้ทรงแสดงถึงความเห็นปรารภเบื้องปลาย และความเห็นปรารภเบ้ืองต้น แล้วช้ีให้เห็นว่า ตถาคตมีความไมย่ ดึ มั่นถือม่นั หลดุ พ้น (อนปุ าทาวโิ มกข์) ๓. กนิ ติสตู ร (สตู รวา่ ด้วยความคดิ วา่ ”เปน็ อยา่ งไร„) ๑. พระผมู้ พี ระภาคประทบั ณ ราวปา่ อนั เปน็ ทน่ี ำ� พลกี รรมไปทำ� พธิ ี ใกลก้ รงุ กสุ นิ ารา ณ ท่ีน้ัน ไดต้ รสั ถามภิกษุทัง้ หลายว่า มคี วามคดิ เหน็ ในพระองคเ์ ป็นอยา่ งไร คือเหน็ ว่าพระองค์ ทรงแสดงธรรม เพราะเหตแุ หง่ จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ ความเปน็ นน่ั เปน็ น่ี หรอื ไมเ่ ปน็ นนั่ เปน็ นอี่ ย่างนัน้ หรือ ภกิ ษุท้งั หลายกราบทูลวา่ มิได้คิดเช่นนัน้ ๒. ตรัสต่อไปว่า เมื่อไม่คิดเช่นน้ัน เธอคิดอย่างไรเล่า กราบทูลว่า คิดว่า พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมด้วยความอนุเคราะห์ จึงตรัสว่า ถ้าเป็นเช่นน้ัน ท่านท้ังหลาย ทั้งปวงก็พึงพร้อมเพรียงไม่วิวาทกัน ศึกษาในสติปัฏฐาน ๔ เป็นต้น จนถึงอริยมรรคมีองค์ ๘ (โพธปิ ักขยิ ธรรม ๓๗) เมอื่ ศึกษาอย่างน้ี ถ้าภกิ ษุ ๒ รูป มีวาทะต่างกันในอภธิ รรม๒ กพ็ ึงเข้าไป ๑ คำ� วา่ นพิ พานในปจั จบุ นั พระพทุ ธศาสนากแ็ สดงถงึ เหมอื นกนั แตใ่ นทนี่ ี้ หมายถงึ เขา้ ใจผดิ วา่ ความสขุ บางชนั้ เชน่ ๒ สุขในกาม สขุ ในฌาน ว่าเปน็ นพิ พานในปัจจบุ ัน คือโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ (ดูหน้า ๔๕๙ เสด็จ ค�ำว่า อภิธรรม ในท่ีนี้ อรรถกถาแก้ว่า ธรรมอันวิเศษย่ิง ปา่ มหาวนั ประชุมภกิ ษสุ งฆ)์ มสี ตปิ ัฏฐาน ๔ (ดหู นา้ ๔๗๓) เปน็ ตน้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 663 5/4/18 2:25 PM

664 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ หาภกิ ษทุ ีว่ ่างา่ ยกวา่ พดู ให้รูถ้ งึ ความตา่ งกนั โดยอรรถะพยญั ชนะ เตอื นอย่าให้วิวาทกนั อันไหน ถือมาผดิ (หรือเรยี นมาผิด) ก็พึงทรงจำ� ไว้แล้วกลา่ วแต่ที่เป็นธรรมเป็นวินยั ๓. ต่อจากน้ันทรงแสดงเง่ือนไขต่าง ๆ ท่ีภิกษุผู้มีวาทะต่างกันโดยอรรถะ เสมอกัน โดยพยัญชนะบ้าง เสมอกันโดยอรรถะ ต่างกันโดยพยัญชนะบ้าง เสมอกันทั้งโดยอรรถะ ท้ังโดยพยัญชนะบ้าง ควรเข้าไปหาฝ่ายท่ีว่าง่าย แล้วช้ีแจงและทรงจ�ำไว้ให้ดี กล่าวแต่ท่ีเป็น ธรรมเป็นวินยั ๔. ต่อจากนั้นทรงแสดงว่า เม่ือภิกษุพร้อมเพรียงกันศึกษาอยู่ มีภิกษุรูปใดรูปหน่ึง ต้องอาบัติ ก็ยังไม่พึงโจทท้วง พึงพิจารณาตัวบุคคลก่อน ถ้าพอว่ากล่าวได้ไม่ยุ่งยาก ก็พึงว่า กลา่ ว ถ้าจะยงุ่ ยาก เกิดการเบยี ดเบยี น กพ็ งึ วางเฉย ๕. ถ้ามีปากเสียงกัน มีความไม่พอใจเกิดขึ้น ก็พึงกล่าวกะภิกษุผู้ว่าง่าย ให้เห็นโทษ ว่าพระสมณะพึงติเตียน ไม่ท�ำให้แจ้งซ่ึงพระนิพพาน เมื่อภิกษุอ่ืนถามว่า อาจจะท�ำให้ภิกษุ เหล่าน้ันออกจากอกุศล ต้ังอยู่ในกุศลได้หรือไม่ ถ้าจะตอบให้ดีก็พึงตอบว่า เข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาค สดับธรรมท่ีทรงแสดงแล้ว กล่าวธรรมน้ันแก่ภิกษุเหล่าน้ัน พวกเธอก็ ออกจากอกศุ ล ตัง้ อยู่ในกุศลได้ ตอบอย่างน้ไี ม่เปน็ การยกตน (วา่ สามารถ) ไมเ่ ป็นการขม่ ผู้อ่นื (ว่าไม่สามารถ) และก็จะไม่ถูกต�ำหนิ ๔. สามคามสตู ร (สตู รวา่ ดว้ ยเหตุการณท์ ี่เกดิ ในหมบู่ ้านชื่อสามะ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ สามคาม แควน้ สักกะ ครัง้ น้ันนิครนถนาฏบตุ รถึงแก่ กรรมในกรุงปาวาแล้วไม่นาน สาวกก็แตกกัน ทะเลาะวิวาทกัน พระจุนทะเข้าไปหาพระอานนท์ เลา่ ความใหฟ้ งั พระอานนทจ์ งึ นำ� เขา้ เฝา้ พระผมู้ พี ระภาคกราบทลู เรอื่ งราว และแสดงความปรารถนา ท่ีจะเห็นวา่ ไมม่ กี ารวิวาทเกดิ ข้นึ ในสงฆ์ ซึง่ จะเป็นไปเพ่ือไม่เปน็ ประโยชน์ ไม่เป็นความสุขแก่ชน เปน็ อันมาก ๒. พระผู้มีพระภาคจึงตรัสแก่พระอานนท์ ทรงแสดงโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ มลู เหตแุ หง่ การทะเลาะววิ าท ๖ ประการ อธกิ รณ์ ๔ อยา่ ง วธิ รี ะงบั อธกิ รณ์ ๗ อย่าง และในทสี่ ุด ไดท้ รงแสดงธรรมสำ� หรบั อยรู่ ว่ มกนั ๖ ประการทเี่ รยี กวา่ สาราณยิ ธรรม อนั เปน็ ไปเพอ่ื สงเคราะห์ อนเุ คราะห์และมีเมตตาต่อกนั เพอื่ สามัคคเี ป็นน�้ำหนงึ่ ใจเดยี วกัน๑ ๑ ความสำ� คญั แหง่ สตู รนี้ ไดก้ ลา่ วไวแ้ ลว้ หนา้ ๙ เร่อื งพระจนุ ทเถระผ้ปู รารถนาดี PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 664 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค 665 ๕. สนุ ักขัตตสูตร ัมช ิฌม ินกาย (สตู รวา่ ดว้ ยสนุ ักขตั ตลิจฉว)ี ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ศาลาเรือนยอด ในป่าใหญ่ใกล้กรุงเวสาลี สมัยนั้น ภิกษุหลายรูปพยากรณ์อรหัตตผลในส�ำนักพระผู้มีพระภาค (คือพูดว่าตนเป็นพระอรหันต์) สุนักขัตตลิจฉวีได้ทราบ จึงเข้าไปกราบทูลถามว่า ภิกษุพวกน้ันพยากรณ์โดยชอบ (ได้บรรลุ จริง ๆ) หรือส�ำคัญผิดว่าได้บรรลุ ตรัสตอบว่า มีท้ังสองประเภท แต่ประเภทที่ส�ำคัญผิดว่าได้ บรรลุ ตถาคตก็คิดว่าจักแสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่าน้ัน ส่วนผู้ท่ีแต่งปัญหาเข้ามาถามตถาคต (เพื่อลองดี) แม้ตถาคตคิดว่าจักแสดงธรรมแก่เขา ความคิดนั้นก็เป็นอย่างอ่ืน (คือรู้สึกว่า ฝ่ายหนึง่ เขา้ ใจผดิ อีกฝา่ ยหนึง่ ตงั้ อย่ใู นอจิ ฉาจาร คอื มคี วามอยาก ความปรารถนาเปน็ ตวั น�ำ) ๒. เมอื่ สนุ กั ขตั ตลจิ ฉวกี ราบทลู ขอใหท้ รงแสดงธรรมเพอื่ ภกิ ษทุ งั้ หลายจกั ไดท้ รงจำ� ไว้ พระผู้มีพระภาคจึงทรงแสดงเร่ืองกาม ๕ คือ รูป เสียง เป็นต้น ท่ีน่าปรารถนารักใคร่ชอบใจ แล้วทรงแสดงถึงฐานะที่อาจเป็นไปได้ท่ีบุคคลผู้น้อมใจไปในโลกามิส (เหย่ือล่อของโลก มีรูป เสียง เป็นต้น) ย่อมพูดย่อมตรึกตรองแต่เร่ืองประเภทนั้น คบบุคคลท่ีน้อมจิตไปใน โลกามิสด้วยกัน ไม่สนใจฟังถ้อยค�ำท่ีเนื่องด้วย (ฌานสมาบัติที่เป็น) อาเนญชะ๑ (คือไม่ หวนั่ ไหว) ไม่คบบคุ คลท่มี ีใจนอ้ มไปในอาเนญชะนัน้ จึงพงึ ทราบไดว้ า่ เปน็ ผนู้ อ้ มไปในโลกามสิ ๓. คร้ันแล้วได้ทรงแสดงต่อไปถึงฐานะที่อาจเป็นไปได้ ท่ีผู้น้อมจิตไปในอาเนญชะ ในอากิญจัญญายตนะ (อรูปสมาบัติท่ี ๓) ในเนวสัญญานาสัญญายตนะ (อรูปสมาบัติที่ ๔)๒ และในสัมมานิพพาน (สภาพท่ีดับกิเลสและความทุกข์โดยชอบ) แต่ละข้อ ย่อมพูด ย่อม ตรกึ ตรองแตเ่ ร่อื งทีต่ นสนใจ ไมส่ นใจฟงั ในเรือ่ งท่ีตำ่� กวา่ (ระบุช่ือเป็นช้ัน ๆ จนถงึ สมั มานพิ พาน ซึ่งถือว่าสูงสุด) จึงพึงทราบได้ว่าเป็นผู้น้อมไปในอาเนญชะ ในอากิญจัญญายตนะ เป็นต้น จนถึงสมั มานพิ พาน ๔. แล้วทรงแสดงถึงฐานะท่ีอาจเป็นไปได้ที่ภิกษุบางรูปรู้ว่า ลูกศรคือตัณหาอัน พระสมณะ (พระพทุ ธเจา้ ) ไดต้ รสั ไว้ พษิ รา้ ยคอื อวชิ ชา ยอ่ มกำ� เรบิ เพราะฉนั ทราคะ (ความกำ� หนดั เพราะพอใจ) และพยาบาท (ความคิดปองร้าย) ถ้าละลูกศรคือตัณหาได้ น�ำพิษร้ายคือ อวิชชาออกได้ ตนก็จะน้อมไปในสัมมานิพพาน แต่ก็ประกอบเนือง ๆ ในทางที่แสลงต่อ ๒๑ อรรถกถาแกว้ ่า สมาบัติ ๖ เบ้ืองต�่ำ (รูปฌาน ๔ อรปู ฌานที่ ๑ ท่ี ๒ รวมเปน็ ๖) ความหมายของอรปู สมาบัตทิ ั้งสองข้อน้ี ดหู นา้ ๑๙๔ หมายเลข ๘ และ ๙ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 665 5/4/18 2:25 PM

666 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ สัมมานิพพาน จึงถูกราคะครอบง�ำจิตถึงความตาย (จากศาสนา) หรือทุกข์ปางตาย (ต้อง อาบัติเศรา้ หมองอน่ื ๆ) และทรงแสดงภกิ ษทุ ต่ี รงกนั ข้าม คือรแู้ ลว้ ไมป่ ระกอบเนือง ๆ ในทางท่ี แสลงต่อสัมมานิพพานจึงไม่เป็นเช่นน้ัน ทรงเปรียบเหมือนคนถูกลูกศร ไปให้หมอผ่าตัดถอน เอาลูกศรออกแล้ว แต่กินของแสลง และไม่รักษาปากแผลให้ดี แผลก็อาจก�ำเริบท�ำให้ถึงตาย หรอื ทุกข์ปางตายได้ และเหมือนบุคคลทีไ่ ม่กนิ ของแสลง รักษาปากแผลดี แผลก็ไมก่ �ำเริบ ๕. ตรัสต่อไปว่า ภิกษุผู้ส�ำรวมในอายตนะ ๖ (มี ตา หู เป็นต้น) รู้ว่ากิเลสเป็นราก ของความทุกข์ เป็นผู้ไม่มีกิเลส หลุดพ้นเพราะส้ินกิเลสแล้ว ก็มิใช่ฐานะที่จะน�ำกายเข้าไป เกลือกกลั้วในสิ่งเป็นท่ีต้ังแห่งกิเลสและคิดในทางท่ีเป็นกิเลส เปรียบเหมือนคนผู้รักชีวิตย่อม ไมด่ ืม่ ยาพิษ ไมย่ น่ื มือ หรอื หวั แมม่ ือ หัวแม่เทา้ เขา้ หางูพิษ ๖. อาเนญชสปั ปายสตู ร (สูตรวา่ ด้วยปฏปิ ทาเปน็ ทีส่ บายแกอ่ าเนญชะ๑) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ นิคมชื่อกัมมาสธัมมะ แคว้นกุรุ ณ ท่ีน้ัน ได้ตรัสช้ี ให้เห็นโทษของกามและกามสัญญา (ความก�ำหนดหมายเกี่ยวกับกาม) ว่า ทั้งสองอย่างนี้เป็น บ่วงมาร เปน็ วสิ ัยของมาร เป็นเหยือ่ หลอ่ ของมาร เป็นทโ่ี คจรของมาร ๒. ทรงแสดงว่าอริยสาวกพิจารณาเห็นอย่างน้ี อยู่ด้วยจิตอันเป็นมหัคคตะ (เป็น ฌาน) เม่ือตายไปก็มีฐานะที่วิญญาณพึงเข้าถึงอาเนญชะ (ความเป็นสภาพท่ีไม่หวั่นไหว) น้ี จัดเป็นขอ้ ปฏิบตั ทิ ่ี ๑ อนั เปน็ ที่สบายแก่ (เข้ากันไดก้ ับ) อาเนญชะ ๓. ทรงแสดงข้อปฏิบัติท่ี ๒ อันเป็นท่ีสบายแก่อาเนญชะ เช่นข้อแรก แต่เพิ่มการ พิจารณารูป ทั้งมหาภูตรูป (รูปใหญ่ได้แก่ธาตุทั้งส่ี) และอุปาทายรูป (รูปท่ีปรากฏเพราะอาศัย ธาตทุ ้งั ส่ี) ๔. ทรงแสดงข้อปฏิบัติท่ี ๓ อันเป็นท่ีสบายแก่อาเนญชะ แต่เพ่ิมการพิจารณาเรื่อง รปู และรปู สญั ญา (ความก�ำหนดหมายรปู ) ให้เหน็ ไมเ่ ท่ียง ไม่ควรยินดี ๑ คำ� ว่า อาเนญชะนจ้ี ะได้แก่อะไร เป็นปัญหาส�ำคัญย่งิ ทางวิชาการ ในสนุ กั ขตั ตสตู รท่ี ๕ แสดงว่าฌานหรอื สมาบตั ิ ๖ เป็นอาเนญชะ (รูปฌาน ๔ อรูปฌานที่ ๑ ท่ี ๒) แต่เวลาอธิบายอเนญชาภิสังขาร พระอรรถกถาจารย์ได้ อธบิ ายวา่ เจตนาในอรปู ฌาน ๔ เปน็ อเนญชาภสิ งั ขาร ไมพ่ ดู ถงึ รปู ฌานเลย คงเอารปู ฌานไปไวใ้ น ปญุ ญาภสิ งั ขาร แต่ลีลาพระพุทธภาษิตท่ีแสดงในสูตรนี้และในสุนักขัตตสูตร ก่อนถึงสูตรน้ี อาเนญชะ มีความหมายคลุมท้ัง รูปฌาน ๔ และอรูปฌานท่ี ๑ ท่ี ๒ ดังกล่าวแล้ว อน่ึง ค�ำว่า อาเนญชะ แปลว่า ความเป็นสภาพไม่หวั่นไหว แตใ่ นเลม่ ๒๑ จตกุ กนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย ทรงอธิบายอาเนญชะว่า ไดแ้ กร่ ปู ฌาน ๔ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 666 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค 667 ๕. ทรงแสดงข้อปฏิบัติท่ี ๑ ที่ ๒ ท่ี ๓ อันเป็นท่ีสบายแก่อากิญจัญญายตนะ ัมช ิฌม ินกาย (อรปู สมาบัตทิ ี่ ๓) ว่า ไดแ้ ก่ (๑) การทอ่ี รยิ สาวกพจิ ารณาเหน็ วา่ กาม กามสญั ญา รปู รปู สญั ญา อาเนญชสญั ญา ดบั ไมม่ เี หลอื ในอากญิ จญั ญายตนะ (สมาบตั หิ รอื ฌานทมี่ คี วามไมม่ อี ะไรเปน็ อารมณ)์ (๒) พจิ ารณาเห็นว่าอากิญจญั ญายตนะวา่ งจากตน จากสง่ิ ทีเ่ นอื่ งด้วยตน และ (๓) พิจารณาเห็นว่า เราไม่มีในที่ไหน ๆ เราไม่เก่ียวข้องกับใครในที่ไหน ๆ ใคร ๆ ไมเ่ ก่ยี วข้องกับเราในท่ีไหน ๆ เราไมม่ ีเกยี่ วข้องอะไรเลย (พิจารณา ความไมม่ อี ะไร ๔ แง่) ๖. ทรงแสดงขอ้ ปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ ทส่ี บายแกเ่ นวสญั ญานาสญั ญายตนะ (อรปู สมาบตั ทิ ี่ ๔) ว่า ได้แก่การที่อริยสาวกพิจารณาเห็นว่า กาม กามสัญญา รูป รูปสัญญา อาเนญชสัญญา ดบั ไมม่ ีเหลอื ในเนวสัญญานาสัญญายตนะ (สมาบัตทิ ี่มสี ัญญาก็ไมใ่ ช่ ไมม่ สี ัญญากไ็ มใ่ ช่) ๗. พระอานนท์กราบทูลถามว่า ภิกษุผู้ปฏิบัติอย่างน้ีวางเฉยได้ จะพึงปรินิพพาน หรือไม่ปรินิพพาน ตรัสตอบว่า ปรินิพพานก็มี ไม่ปรินิพพานก็มี ที่ไม่ปรินิพพานก็เพราะยังมี อปุ าทาน คอื ยืดมนั่ เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ ทป่ี รินพิ พานกเ็ พราะไมม่ ีอุปาทาน ๘. พระอานนท์กราบทูลถามว่า ความหลุดพ้นอันเป็นอริยะ (อริยวิโมกข์) เป็น อย่างไร ตรัสตอบว่า ได้แก่อมตะ คือความหลุดพ้นแห่งจิต เพราะไม่ยืดม่ันส่ิงต่าง ๆ ท่ีรวม เรียกว่าสักกายะ (กายของตน) คือ กาม กามสัญญา รูป รูปสัญญา อาเนญชสัญญา อากญิ จัญญายตนสญั ญาและเนวสญั ญานาสัญญายตนสัญญา ๙. คร้ันแล้วตรัสชี้ว่า น่ันโคนไม้ น่ันเรือนว่าง ท่านท้ังหลายจงเพ่ง จงอย่าประมาท จงอย่าเดือดร้อนในภายหลัง น้แี ลคืออนุสาสนีของเรา ๗. คณกโมคคลั ลานสูตร (สูตรว่าดว้ ยพราหมณช์ ือ่ คณกโมคคัลลานะ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ปราสาทของนางวิสาขาในบุพพาราม ใกล้กรุงสาวัตถี ตรัสตอบเรื่องอนุปุพพสิกขา (ข้อศึกษาโดยล�ำดับ) อนุปุพพปฏิปทา (ข้อปฏิบัติโดยล�ำดับ) ใน พระธรรมวินยั นี้ แกค่ ณกโมคคลั ลานพราหมณ์ผทู้ ูลถาม โดยชไ้ี ปท่ี (๑) การมีศีลส�ำรวมในปาฏโิ มกข์ (ศลี ทเี่ ป็นประธาน) (๒) การสำ� รวมอนิ ทรยี ์ คอื ตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 667 5/4/18 2:25 PM

668 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๓) ความเปน็ ผรู้ ปู้ ระมาณในอาหาร (๔) การประกอบความเพียรเป็นเครอื่ งตืน่ (ไม่เหน็ แกน่ อนมากนัก) (๕) การมีสตสิ ัมปชัญญะ (๖) การบ�ำเพ็ญสมาธิชำ� ระจิตจากนวี รณ์ ๕ (๗) การสงบจากกาม จากอกศุ ลธรรม บำ� เพญ็ ฌานท่ี ๑ ถึงฌานท่ี ๔ ๒. พราหมณ์ถามว่า พระนิพพานมีอยู่ ทางไปสู่พระนิพพานมีอยู่ พระสมณโคดมผู้ ทรงชักชวนให้ไปก็มีอยู่ เหตุไฉนบางคนท่ีได้รับคำ� สั่งสอนแล้วจึงได้บรรลุ บางคนจึงมิได้บรรลุ ตรัสตอบว่า เหมือนชี้ทางให้คนไปกรุงราชคฤห์ แต่ไปทางอื่นเสียก็ไปไม่ถึง ถ้าไปถูกทางตามท่ี ช้ีก็ถึงได้ คณกโมคคัลลานพราหมณ์ กราบทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงตนเป็น อบุ าสกถึงพระรตั นตรัยเปน็ สรณะตลอดชีวิต ๘. โคปกโมคคัลลานสูตร (สูตรว่าด้วยพราหมณ์ช่ือโคปกโมคคลั ลานะ) ๑. พระผู้มีพระภาคปรินิพพานแล้วไม่นาน พระอานนท์อยู่ในเวฬุวนาราม ใกล้กรุง ราชคฤห์ พระเจ้าอชาตศัตรูก�ำลังให้ซ่อมแซมกรุงราชคฤห์ เพื่อทรงต้อนรับพระเจ้า (จัณฑ) ปัชโชต (ผู้เป็นสหายของพระเจ้าพิมพิสารพระราชบิดา) พระอานนท์แวะไปสนทนากับ โคปกโมคคัลลานพราหมณ์ (ซ่ึงก�ำลังอยู่ที่โรงงาน) พราหมณ์ถามถึงภิกษุผู้มีคุณธรรมเท่า พระพุทธเจ้าว่า มีหรือไม่ ตอบว่า ไม่มี แล้วช้ีว่า พระพุทธเจ้าทรงช้ีทาง พระสาวกเป็นผู้ด�ำเนิน ตามทาง ๒. วัสสการพราหมณ์ตรวจงานมาพบ จึงถามว่า พระศาสดาทรงต้ังใครเป็นท่ีพ่ึง ท่ีระลึกแทนพระองค์ ตอบว่า ไม่ได้ทรงตั้งใคร ถามว่า มีใครที่สงฆ์แต่งต้ังให้เเทนหรือไม่ ตอบว่า ไม่มี ถามวา่ ถ้าอยา่ งนน้ั กไ็ มม่ ีทพี่ งึ่ ทร่ี ะลึก ตอบวา่ มี คือมพี ระธรรมเป็นทีพ่ ึ่งทีร่ ะลึก พราหมณ์ขอให้อธิบาย จึงอธิบายถึงการที่ภิกษุประชุมกันสวดปาฏิโมกข์ จัดการกับภิกษุที่ต้อง อาบัติ ไม่ใช่ถือว่าบุคคลจัดการ แต่พระธรรมจัดการ เม่ือถามว่า มีภิกษุสักรูปหน่ึงไหมท่ีท่าน เคารพนับถืออยู่อาศัย ตอบว่า มี ถามว่า เมื่อตอบปฏิเสธว่า ไม่มีใครแทนพระพุทธเจ้า แล้ว กลบั ตอบรับว่า มีผู้ทที่ า่ นเคารพนบั ถอื อย่อู าศยั จะหมายความอยา่ งไร ๓. พระอานนท์จึงตอบว่า พระผู้มีพระภาคตรัสธรรมะท่ีน่าเลื่อมใส ๑๐ ประการไว้ ธรรมเหลา่ น้ี มีในผูใ้ ด เราย่อมเคารพนบั ถืออยู่อาศยั ผนู้ ้นั ธรรมะ ๑๐ ประการ คอื PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 668 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค 669 (๑) มศี ีล ัมช ิฌม ินกาย (๒) มีการสดับมาก (๓) ยินดีดว้ ยปจั จัยตามมีตามได้ (สนั โดษ) (๔) ได้ฌาน ๔ ตามตอ้ งการ (๕) แสดงฤทธ์ไิ ด้ (๖) มหี ูทิพย์ (๗) กำ� หนดรจู้ ติ ใจของผู้อื่น (๘) ระลึกชาตไิ ด้ (๙) มตี าทิพย์ (๑๐) ท�ำอาสวะใหส้ ิน้ ๔. วัสสการพราหมณ์ถามอุปนนทเสนาบดีว่า ท่านเหล่านี้ ช่ือว่าเคารพบูชาผู้ควร เคารพบูชาหรือไม่ เสนาบดียอมรับว่า เคารพบูชาผู้สมควร วัสสการพราหมณ์จึงถาม พระอานนทถ์ ึงทอ่ี ยู่ เมอ่ื ทราบว่าอยู่ ณ เวฬุวนาราม กพ็ ูดเทา้ ความถึงพระผู้มพี ระภาคเรอ่ื งการ บ�ำเพ็ญฌาน โดยถามว่า พระโคดมทรงสรรเสริญฌานทุกชนิดหรือไม่ ตอบว่า มิได้ทรง สรรเสริญฌานทุกชนิด แต่จะไม่สรรเสริญฌานเสียท้ังหมดก็หาไม่ พระผู้มีพระภาคไม่ตรัส สรรเสริญผู้บ�ำเพ็ญฌานอย่างไม่รู้ความจริงเก่ียวกับนีวรณ์ ๕ (กิเลสอันกั้นจิตมิให้บรรลุ ความดี) ปล่อยให้นีวรณ์ครอบง�ำ ตรัสสรรเสริญภิกษุผู้สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บ�ำเพ็ญฌานท่ี ๑ ถึงฌานท่ี ๔ ๕. วัสสการพราหมณ์ยอมรับว่า พระโคดมทรงติฌานที่ควรติ ทรงสรรเสริญฌานที่ ควรสรรเสริญ แล้วลาไป โคปกโมคคัลลานพราหมณ์พูดกับพระอานนท์ว่า ยังไม่ตอบค�ำของ ตน (ในข้อ ๑) พระอานนทว์ ่าตอบแลว้ คอื ไม่มภี ิกษุที่มคี ณุ ธรรมเทา่ พระพทุ ธเจา้ พระองคเ์ ปน็ ผชู้ ที้ าง พระสาวกเป็นผูด้ �ำเนนิ ตามทาง ๙. มหาปณุ ณมสตู ร (สูตรวา่ ด้วยคืนพระจนั ทรเ์ ต็มดวง สูตรใหญ่) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ปราสาทของนางวิสาขาในบุพพาราม ใกล้กรุงสาวัตถี ประทับนั่งในท่ีแจ้ง แวดล้อมด้วยภิกษุสงฆ์ในคืนพระจันทร์เต็มดวง ๑๕ ค่�ำ ภิกษุรูปหนึ่ง กราบทลู ถามเรอ่ื งอปุ าทานขนั ธ์ (ขนั ธท์ ย่ี ดึ ถอื ) ๕ อยา่ ง พระผมู้ พี ระภาคตรสั ตอบโดยใจความ คอื PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 669 5/4/18 2:25 PM

670 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๑) ขนั ธ์ ๕ มคี วามพอใจเปน็ มลู (๒) อุปาทานกับอุปาทานขันธ์ ๕ เป็นอันเดียวกัน อุปาทานไม่อ่ืนจากอุปาทาน ขนั ธ์ ๕ คอื ความกำ� หนัดเพราะพอใจในอปุ าทานขันธ์ ๕ จดั เปน็ อุปาทาน (๓) มคี วามตา่ งกนั แหง่ ความกำ� หนดั เพราะพอใจในอปุ าทานขนั ธ์ ๕ เชน่ ความคดิ ปรารถนาใหเ้ ปน็ อย่างน้ันอย่างนีใ้ นอนาคต (๔) ค�ำวา่ ขนั ธ์ หมายถึงขนั ธ์ ๕ ทง้ั สามกาล ทัง้ ภายใน ภายนอก หยาบ ละเอยี ด เลว ประณีต ไกล ใกล้ (๕) เหตุปัจจัยที่ให้บัญญัติขันธ์ ๕ คือ ธาตุ ๔ เป็นเหตุปัจจัยให้บัญญัติ รูปขันธ์ (กองรูป) ผัสสะ เป็นเหตุปัจจัยให้บัญญัติเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขนั ธ์ นามรปู เปน็ ปจั จยั ให้บญั ญตั วิ ิญญาณ (๖) สกั กายทิฏฐ๑ิ คอื ความเห็นรปู เปน็ ตน เปน็ ต้น (ดูหน้า ๕๘๑ หมายเลข ๒) (๗) สักกายทฏิ ฐิ จะไม่มไี ด้ ด้วยไม่เห็นว่ารปู เป็นตน เปน็ ต้น (๘) ความสุขกาย สุขใจ เป็นอัสสาทะ (ความพอใจ) ในขันธ์ ๕ ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ แปรปรวน เป็นโทษในขันธ์ ๕ การละความก�ำหนัดเพราะพอใจ เป็นการหลดุ พ้น หรอื การถอนตวั ในขนั ธ์ ๕ (๙) ภิกษุรู้เห็นขันธ์ ๕ ตามเป็นจริง ไม่ยึดถือ ก็จะไม่มีอหังการ (ความถือว่า เป็นเรา) มมังการ (ความถือว่าเป็นของเรา) และมานะ (ความถือตัว) ซ่ึงเป็น กเิ ลสแฝงตวั ๒. ภิกษุรูปหนึ่งเกิดสงสัยว่า ถ้าขันธ์ ๕ เป็นอนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน) กรรมที่อนัตตา เป็นผู้ท�ำ จะถูกต้องอัตตาอะไร จึงตรัสถามให้เธอเห็นทีละข้อว่า ขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใชต่ วั ตน ไมค่ วรยดึ ถอื อยา่ งไร เมื่อจบพระธรรมเทศนา ภิกษุประมาณ ๖๐ รูป มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ ไม่ถือม่ัน ดว้ ยอปุ าทาน (เปน็ พระอรหันต์) ๑๐. จูฬปุณณมสูตร (สตู รว่าด้วยคนื พระจนั ทรเ์ ต็มดวง สตู รเล็ก) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ปราสาทของนางวิสาขาในบุพพาราม ใกล้กรุงสาวัตถี ประทับนั่งในท่ีแจ้ง แวดล้อมด้วยภิกษุสงฆ์ในคืนพระจันทร์เต็มดวง ๑๕ ค่�ำ ตรัสสอนเร่ือง ๑ ความเหน็ เปน็ เหตุยดึ กายของตน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 670 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค 671 อสัตบุรุษ (คนช่ัว) และสัตบุรุษ (คนดี) โดยแสดงว่าอสัตบุรุษประกอบด้วยอสัทธรรม ๗ ัมช ิฌม ินกาย ประการ คือ ๑. คบอสตั บรุ ษุ ๒. คดิ อยา่ งอสตั บรุ ษุ ๓. ปรกึ ษาอยา่ งอสัตบรุ ษุ ๔. พูดอย่างอสัตบรุ ุษ ๕. ท�ำอย่างอสตั บรุ ุษ ๖. เห็นอยา่ งอสตั บุรุษ ๗. ใหอ้ ย่างอสตั บุรษุ พร้อมทั้งแสดงรายละเอียด ส่วนสัตบุรุษ ทรงแสดงโดยนัยตรงกันข้าม คติของ อสัตบุรุษคือนรกหรือก�ำเนิดดิรัจฉาน ส่วนคติของสัตบุรุษ คือความเป็นใหญ่ในเทพหรือ ความเปน็ ใหญใ่ นมนุษย์ อนปุ ทวรรค คือวรรคที่มีอนปุ ทสูตร เป็นสตู รแรก มี ๑๐ สตู ร ๑๑. อนุปทสูตร (สูตรว่าดว้ ยลำ� ดบั บทธรรม) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสสรรเสริญพระสาริบุตรว่ามีปัญญาและ เห็นแจ้งบทธรรมตามล�ำดับภายในครึ่งเดือน คือรูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ สัญญาเวทยิตนิโรธ มีความช�ำนาญและบรรลุถึงฝั่งแห่งศีล สมาธิ ปัญญา วิมุติ วิมุตติญาณทัสสนะ หมุน ธรรมจักร ตามท่ีพระตถาคตหมุนไปแล้วได้๑ ๑๒. ฉวโิ สธนสูตร (สูตรว่าด้วยขอ้ สอบสวน ๖ อย่าง) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสสอนวิธีสอบสวนภิกษุผู้พยาการณ์ อรหตั ตผล (ผู้พูดวา่ ตนเปน็ พระอรหันต)์ โดยวิธีต้ังปญั หาให้ตอบรวม ๖ ขอ้ คือ ๑ ศพั ทต์ า่ ง ๆ ในสตู รนี้ มใี นทอ่ี นื่ ทผี่ า่ นมาแลว้ ทงั้ สนิ้ เชน่ ในหนา้ ๑๙๐ หมายเลข ๒๑๓ และหนา้ ๙๘ หมายเลข ๓๘ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 671 5/4/18 2:25 PM

672 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๑. รู้เห็นอย่างไรในโวหาร ๔ คือการพูดว่า ได้เห็น ได้ฟัง ได้ทราบ ได้รู้แจ้ง ในส่ิงท่ี ไดเ้ ห็น ได้ฟงั ไดท้ ราบ ไดร้ แู้ จ้ง ๒. ร้เู หน็ อยา่ งไรในขันธ์ ๕ ทยี่ ดึ ถือ ๓. รเู้ หน็ อย่างไรในธาตุ ๖ ๔. รเู้ ห็นอยา่ งไรในอายตนะภายในภายนอก ๖ คู่ คอื ตาคูก่ บั รูป หูคู่กบั เสยี ง เป็นต้น ๕. รเู้ หน็ อย่างไรในกายที่มวี ิญญาณครองของตน ๖. รเู้ หน็ อย่างไรในนิมติ ทั้งปวงภายนอก จิตจึงหลุดพ้นจากอาสวะ ถอนอหังการ (ความถือเรา) มมังการ (ความถือว่าของเรา) และมานะ (ความถือตัว) ซึ่งเป็นอนุสัย (กิเลสท่ีแฝงตัว) เสียได้ พร้อมทั้งแสดงค�ำตอบในทาง รเู้ ทา่ และตง้ั อยใู่ นศลี สมาธิ ปญั ญา จนไดอ้ าสวกั ขยญาณ คอื ญาณอนั ทำ� อาสวะใหส้ น้ิ เปน็ ทส่ี ดุ ๑ ๑๓. สัปปรุ สิ ธมั มสตู ร (สตู รวา่ ด้วยธรรมะของคนด)ี พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงท้ังธรรมะของคนดีและธรรมะ ของคนชั่ว (สัปปุริสธรรม อสัปปุริสธรรม) โดยแสดงธรรมะของคนช่ัวก่อน แล้วแสดงธรรมะ ของคนดีก�ำกับ เป็นคู่ ๆ ไป รวม ๒๐ คู่ ในท่ีนี้จะแสดงแต่ฝ่ายช่ัว (ฝ่ายดีพึงทราบโดยนัย ตรงกันขา้ ม) คอื ยกตนขม่ ผ้อู น่ื เพราะ ๑. ออกบวชจากตระกลู สงู ๒. ออกบวชจากตระกูลใหญ่ ๓. มีคนรจู้ กั มยี ศ ๔. มลี าภปัจจัย ๔ ๕. สดบั ตรับฟงั มาก ๖. ทรงจ�ำวินัยได้ ๗. เป็นนักกลา่ วธรรม ๘. อยปู่ ่า ๙. ทรงผ้าบังสกุ ุล (ผา้ เปอ้ื นฝุน่ ทีเ่ ก็บตกเอามาปะติดปะต่อเป็นจวี ร) ๑ ในพระไตรปฎิ กแสดงไวช้ ัดเพยี ง ๕ ขอ้ ส่วนข้อ ๖ แสดงตามมตอิ รรถกถาท่ีใหแ้ ยกปญั หาเรอ่ื งกายของตนกับกาย ของผู้อืน่ นอกจากนน้ั อรรถกถายงั แสดงมตอิ ่ืนอีก PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 672 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค 673 ๑๐. ถือบณิ ฑบาต ัมช ิฌม ินกาย ๑๑. อย่โู คนไม้ ๑๒. อยปู่ ่าชา้ ๑๓. - ๑๖. ได้รูปฌาน ที่ ๑ ถึงท่ี ๔ ๑๗. - ๒๐. ไดอ้ รูปฌาน ท่ี ๑ ถงึ ที่ ๔ ส่วนภิกษุผู้ก้าวล่วงอรูปฌานที่ ๔ เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธได้ ย่อมส้ินอาสวะ ไม่ ยึดถอื สิง่ ใด ๆ ๑๔. เสวติ พั พาเสวิตัพพสูตร (สตู รว่าด้วยธรรมะท่คี วรเสพและไม่ควรเสพ) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงธรรมะท่ีควรเสพและไม่ควร เสพเป็น ๓ ตอน พระสาริบุตรกราบทูลขยายความย่อให้พิสดารท้ังสามตอนนั้น ตรัสรับรองว่า ถกู ตอ้ ง คอื ๑. ความประพฤติทางกาย ความประพฤติทางวาจา ความประพฤติทางใจ ความคิด การไดส้ ญั ญา (ความกำ� หนดหมาย) การไดท้ ฏิ ฐิ (ความเหน็ ) การไดอ้ ตั ตภาพ (รวม ๗ หวั ข้อ) แต่ละข้อมที ้งั ควรเสพและไมค่ วรเสพ ๒. รปู เสียง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ และธรรมะ ท่พี ึงรแู้ จ้งไดท้ างตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ แต่ละขอ้ มที ง้ั ควรเสพและไมค่ วรเสพ ๓. ปัจจัย ๔ มีจีวร เป็นต้น คาม นิคม นคร ชนบท และบุคคล แต่ละข้อมีท้ังควร เสพและไมค่ วรเสพ พระสาริบุตรอธิบายในหลักใหญ่ท่ีว่า ถ้าเสพเข้าอกุศลธรรมเจริญ กุศลธรรมเส่ือม ก็ไม่ควรเสพ ถ้าอกุศลธรรมเสื่อม กุศลธรรมเจริญ ก็ควรเสพ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ผู้ใดรู้อรรถ (เน้ือความ) แห่งค�ำที่ตรัสไว้อย่างย่อ ๆ โดยพิสดาร ผู้นั้นย่อมได้รับประโยชน์และ ความสขุ ๑๕. พหุธาตุกสตู ร (สูตรว่าดว้ ยธาตหุ ลายอย่าง) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสสอนภิกษุท้ังหลายว่า ภัย อันตราย อุปสัคเกิดจากคนพาล มิใช่เกิดจากบัณฑิต พระอานนท์กราบทูลถามว่า ด้วยเหตุเพียงไรภิกษุ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 673 5/4/18 2:25 PM

674 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ จึงควรแก่ถ้อยค�ำว่า ภิกษุผู้เป็นบัณฑิต เป็นผู้พิจารณาสอบสวน ตรัสตอบว่า ภิกษุผู้ฉลาดใน ธาตุ ฉลาดในอายตนะ ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท และฉลาดในฐานะ (ส่ิงที่เป็นไปได้) และอฐานะ (ส่งิ ทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ด้) ๒. ในขอ้ ฉลาดในธาตุ ทรงแสดงความเปน็ ผฉู้ ลาดในธาตุ ๑๘ (อายตนะภายในมตี า เปน็ ตน้ ๖ อายตนะ ภายนอกมรี ปู เปน็ ตน้ ๖ วญิ ญาณมจี กั ขวุ ญิ ญาณ เปน็ ตน้ ๖ รวมเปน็ ๑๘) ธาตุ ๖ คอื ดิน นำ้� ไฟ ลม อากาศ วิญญาณ ธาตุ ๖ คอื สขุ กาย ทกุ ขก์ าย สขุ ใจ ทกุ ข์ใจ เฉย ๆ อวิชชา (ความไมร่ ู)้ ธาตุ ๖ คอื กาม เนกขัมมะ (ออกจากกาม) พยาบาท ไม่พยาบาท เบียดเบียน ไมเ่ บียดเบียน ธาตุ ๓ คอื กาม รปู อรปู ธาตุ ๒ คอื ธาตทุ ปี่ จั จยั ปรงุ แตง่ (สงั ขตาธาต)ุ ธาตทุ ปี่ จั จยั มไิ ดป้ รงุ แตง่ (อสงั ขตา ธาต)ุ ๓. ในขอ้ ฉลาดในอายตนะ ทรงแสดงความเปน็ ผฉู้ ลาดในอายตนะภายใน ๖ ภายนอก ๖ ๔. ในข้อฉลาดในปฏิจจสมุปบาท (ความอาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น) ทรงแสดงความ เป็นผู้ฉลาดท้ังในเหตุปัจจัยสายเกิด คือเพราะมีส่ิงน้ี จึงมีสิ่งต่อ ๆ ไป ท้ังในเหตุปัจจัยสายดับ คือเพราะดับส่ิงน้ี สง่ิ ต่อ ๆ ไปจงึ ดับ ๕. ในข้อฉลาดในฐานะและอฐานะ ทรงแสดงความเป็นผู้ฉลาดในสิ่งท่ีเป็นไปได้ และเป็นไปไม่ได้ สิ่งท่ีเป็นไปไม่ได้ เช่น ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฏฐิเป็นไปไม่ได้ ท่ีจะเห็นสังขารว่า เที่ยง เปน็ สขุ เป็นตวั ตน และส่ิงทเี่ ป็นไปได้ เชน่ บุถชุ นเปน็ ไปไดท้ ่จี ะเหน็ สงั ขารว่าเที่ยง เปน็ สุข เปน็ ตวั ตน ๑๖. อสิ คิ ิลิสตู ร (สตู รว่าด้วยภเู ขาชอ่ื อสิ ิคลิ )ิ พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ภูเขาช่ืออิสิคิลิ ใกล้กรุงราชคฤห์ ตรัสเล่าว่า ช่ือของภูเขา ลูกต่าง ๆ เคยเปลี่ยนเป็นอย่างอื่น แต่ภูเขาอิสิคิลิมีช่ือนี้มาไม่เปล่ียนแปลง แล้วตรัสเล่าเร่ือง พระปจั จเจกพทุ ธเจา้ (พระพทุ ธเจา้ ผตู้ รสั รเู้ ฉพาะพระองค์ มไิ ดต้ งั้ ศาสนาขนึ้ ) ประมาณ ๕๐๐ รปู PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 674 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ อนุปทวรรค 675 ท่ีอาศัยอยู่ ณ ภูเขาน้ี มนุษย์ทั้งหลายเห็นแต่ท่านเข้าไป ไม่เห็นออกมา เลยตั้งช่ือว่า ัมช ิฌม ินกาย ภูเขาอิสิคิลิ (ภูเขากลืนฤษี) แล้วได้แสดงพระนามของพระปัจเจกพุทธเจ้าพระองค์ต่าง ๆ มีพระอรฏิ ฐะ เป็นตน้ ๑๗. มหาจตั ตาฬสี กสูตร (สูตรว่าดว้ ยธรรมะหมวด ๔๐ หมวดใหญ)่ พระผมู้ พี ระภาคประทบั ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงธรรมแกภ่ ิกษุทั้งหลาย มีใจความ ส�ำคญั เปน็ ๓ ตอน คือ ๑. ทรงแสดงสัมมาสมาธิ (ความตั้งใจม่ันชอบ) ที่มีท่ีอาศัย มีคุณธรรมอ่ืน ๆ อีก ๗ ข้อ เป็นเครื่องประกอบ (บริขาร) คือความเห็นชอบ ความด�ำริชอบ เจรจา ชอบ กระท�ำชอบ เลี้ยงชวี ิตชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ ๒. ทรงแสดงสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) ว่าเป็นหัวหน้าและว่า รู้จักทั้งฝ่ายเห็นชอบ และฝ่ายเห็นผิด ทรงอธิบายความเห็นผิดว่า ได้แก่เห็นว่า ทานที่ให้ไม่มี ผลกรรมดี กรรมช่ัวไม่มี เป็นต้น แล้วทรงแสดงสัมมาทิฏฐิว่ามี ๒ อย่าง คือที่มี อาสวะ กับที่ไม่มีอาสวะ (ช้ันต่�ำส�ำหรับบุถุชน ช้ันสูงส�ำหรับพระอริยะ) แล้วทรง แสดงสมั มาทิฏฐิในฐานะเป็นหัวหนา้ ในการแจกรายละเอียดของข้ออน่ื ๆ ๓. ทรงแสดงว่า ธรรมปริยายที่เรียกว่า ”มหาจัตตาฬีสกะ„ ”หมวด ๔๐ หมวดใหญ่„ คือเป็นฝ่ายกศุ ล ๒๐ ฝา่ ยอกุศล ๒๐ (ตง้ั หลักมรรค ๘ เตมิ สมั มาญาณะ ความรู้ โดยชอบ สัมมาวิมุติ ความหลุดพ้นโดยชอบ เป็น ๑๐ กุศลธรรมเป็นอเนก เหล่าอื่นท่ีถึงความเกิดมีบริบูรณ์ เพราะธรรมะฝ่ายถูกทั้ง ๑๐ ข้อน้ันเป็นปัจจัย จัดเป็นฝ่ายกุศล ๒๐ ตั้งหลักมิจฉัตตะ ความผิด มีความเห็นผิด เป็นต้น มคี วามหลดุ พน้ ผดิ เปน็ ทส่ี ดุ เปน็ ๑๐ อกศุ ลธรรมเปน็ อเนก เหลา่ อนื่ ทถี่ งึ ความเกดิ มบี ริบรู ณ์ เพราะธรรมะฝ่ายผดิ ๑๐ ข้อน้นั เปน็ ปจั จยั จัดเปน็ ฝ่ายอกศุ ล ๒๐) ๑๘. อานาปานสตสิ ูตร (สูตรวา่ ดว้ ยการต้ังสตกิ ำ� หนดลมหายใจเขา้ ออก) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ปราสาทของนางวิสาขาในบุพพาราม ใกล้กรุงสาวัตถี ตรัสแสดงธรรมในท่ามกลางพระเถระผู้มีช่ือเสียง พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ โดยแสดงว่า อานาปานสติที่เจริญ ท�ำให้มากแล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มาก ท�ำสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 675 5/4/18 2:25 PM

676 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ สติปัฏฐาน (การตั้งสติ) ๔ ท่ีเจริญ ท�ำให้มากแล้ว ท�ำโพชฌงค์ (องค์แห่งปัญญาตรัสรู้) ๗ ให้ บริบูรณ์ โพชฌงค์ ๗ ที่เจริญ ท�ำให้มากแล้ว ท�ำให้วิชชา (ความรู้) และวิมุติ (ความหลุดพ้น) ใหบ้ รบิ รู ณ์ ๒. ต่อจากนั้นทรงแสดงรายละเอียดในการเจริญอานาปานสติอย่างธรรมดา (เช่น ท่ีแสดงในอานาปานบรรพ มหาสติปัฏฐานสูตร หน้า ๔๗๓) การเจริญอานาปานสติให้เกี่ยวกับ กาย เวทนา จติ และธรรม การเจรญิ สติปัฏฐาน ๔ ใหเ้ กยี่ วกับโพชฌงค์ ๗ มสี ติ เป็นต้น ๑๙. กายคตาสตสิ ตู ร (สตู รวา่ ด้วยสตกิ ำ� หนดพจิ ารณากาย) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ภิกษุท้ังหลายสนทนากันถึงเร่ืองท่ี พระผมู้ ีพระภาคตรัสวา่ กายคตาสติ (สตกิ �ำหนดพจิ ารณากาย) ทเี่ จรญิ ทำ� ใหม้ ากแลว้ มีผลมาก มีอานิสงส์มาก พระผู้มีพระภาคเสด็จมาตรัสถาม ทราบความจึงทรงแสดงรายละเอียด (แบบที่ทรงแสดงในมหาสติปัฏฐานสูตร หน้า ๓๓๖) คือ การก�ำหนดพิจารณากายแบ่งออก เปน็ ๖ ส่วน คอื (๑) พจิ ารณาลมหายใจเขา้ ออก (๒) พิจารณาอริ ิยาบถของกาย เช่น ยนื เดิน (๓) พิจารณาความเคลอ่ื นไหวของกาย เชน่ ค้แู ขน เหยยี ดแขน เปน็ ตน้ (๔) พจิ ารณาความน่าเกลยี ดของกาย (๕) พิจารณาร่างกายโดยความเปน็ ธาตุ (๖) พิจารณาร่างกายท่ีเป็นศพมลี กั ษณะตา่ ง ๆ ๒. ครั้นแล้วทรงแสดงการเจริญกายคตาสติ จนได้ฌานที่ ๑ ถึงฌานท่ี ๔ แล้วตรัส แสดงอานสิ งสข์ องกายคตาสตวิ า่ เปน็ สว่ นแหง่ วชิ ชา เปน็ ตน้ พรอ้ มดว้ ยอปุ มาตา่ ง ๆ และในทส่ี ดุ ได้แสดงว่า ทำ� ให้มีอานสิ งส์ ๑๐ อยา่ ง คอื (๑) อดทนความไมย่ ินดแี ละความยินดี (๒) ครอบง�ำความหวาดกลวั ได้ (๓) อดทนตอ่ หนาวรอ้ น ถ้อยคำ� ล่วงเกนิ และทกุ ขเวทนา เปน็ ตน้ (๔) ไดฌ้ าน ๔ ตามปรารถนา (๕) ได้อทิ ธิวธิ ิ (แสดงฤทธไิ์ ด้) (๖) ได้หูทิพย์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 676 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค 677 (๗) ได้เจโตปรยิ ญาณ (ญาณก�ำหนดรู้ใจผอู้ น่ื ) ัมช ิฌม ินกาย (๘) ระลึกชาติได้ (๙) เหน็ ความตายความเกดิ ของสัตว์ทัง้ หลาย (ทิพยจักษุ) (๑๐) ทำ� อาสวะให้ส้นิ ได้ ๒๐. สังขารูปปัตตสิ ตู ร (สตู รวา่ ดว้ ยความคดิ ๑ กบั การเขา้ ถงึ สภาพตามที่คดิ ไว)้ พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงธรรมแก่ภิกษุท้ังหลาย ถึงการที่ ภิกษุประกอบด้วยศรัทธา (ความเช่ือ) ศีล (การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย) สุตะ (การ สดับตรับฟัง) จาคะ (การสละ) และปัญญา ว่าตั้งจิตจะไปเกิดในที่ดี ๆ อย่างไร เมื่ออบรม ความคิดหรือเจตนากับธรรมะเป็นเครื่องอยู่ (มีศรัทธาเป็นต้น) ให้มากแล้ว ก็จะเกิดในฐานะ นั้น ๆ ได้ตามปรารถนา ตั้งแต่ความเป็นกษัตริย์มหาศาล พราหมณมหาศาล จนถึงเทพ พรหมท้งั รปู พรหมและอรูปพรหม และในท่สี ุด ถึงทำ� อาสวะให้สิ้นได้ สุญญตวรรค คือ วรรคทีม่ ีสญุ ญสูตร เป็นสตู รแรก มี ๑๐ สตู ร ๒๑. จูฬสญุ ญตสูตร (สตู รว่าด้วยความว่างเปลา่ สตู รเลก็ ) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ปราสาทของนางวิสาขาในบุพพาราม ใกล้กรุงสาวัตถี ตรัสตอบค�ำถามของพระอานนท์ถึงเร่ืองที่ในสมัยก่อนและสมัยปัจจุบัน (ขณะนั้น) ทรงอยู่โดย มากด้วยสุญญตาวิหาร (ธรรมะเป็นเคร่ืองอยู่ คือการท�ำในใจถึงความว่างเปล่า) พร้อมทั้ง ทรงแสดงรายละเอยี ดในทางปฏิบัติ โดยการไมใ่ ส่ใจถงึ สัญญา (ความก�ำหนดหมาย) อย่างหนึ่ง แล้วใส่ใจความเป็นหนึ่งโดยอาศัยสัญญาอีกอย่างหน่ึง สูงขึ้นไปโดยล�ำดับแล้วพิจารณาถึง สัญญาท่ีไม่ใส่ใจว่าสูญ แต่นึกว่าสัญญาท่ีก�ำลังใส่ใจ (อันมีอารมณ์สูงกว่า) ว่าเป็นของไม่สูญ เริ่มต้นแต่ไม่ใส่ใจมนุสสสัญญา (ความก�ำหนดหมายในมนุษย์) แล้วใส่ใจในอรัญญสัญญา (ความก�ำหนดหมายในป่า) เล่ือนระดับสูงข้ึนไป จนถึงท�ำอาสวะให้สิ้นได้เป็นท่ีสุด แล้วตรัสว่า ๑ คำ� ว่า สังขาร ทแี่ ปลว่าความคดิ เป็นการแปลถอื เอาความ มพี ระพทุ ธภาษิตบ่งชัดว่า ไดแ้ ก่เจตนาในพระไตรปิฎก เล่ม ๑๗ ซ่ึงจะย่อไว้ในเลม่ ตอ่ ๆ ไป PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 677 5/4/18 2:25 PM

678 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ สมณะหรือพราหมณ์ในอดีต อนาคต ปัจจุบัน ที่เข้าสู่สุญญตาอันบริสุทธิ์ยอดเยี่ยม ก็จะเข้าสู่ สญุ ญตา (ตามทที่ รงแสดงมาแลว้ ) นี้อยู่ ๒๒. มหาสุญญตสตู ร (สตู รวา่ ด้วยความว่างเปล่า สูตรใหญ)่ ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ นิโครธาราม ใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ ตรัส กับพระอานนท์ถึงเรื่อง ”การเข้าสุญญตาภายใน„ เพราะไม่ใส่ใจนิมิตท้ังปวง (ท�ำใจให้ว่างจาก ความเกาะเกี่ยว) เข้าฌานท่ี ๑ ถึงฌานที่ ๔ แล้วใส่ใจสุญญตาภายใน มีความรู้ตัวอยู่เสมอ แล้วใส่ใจสุญญตาภายนอก สุญญตาทั้งภายในทั้งภายนอก ใส่ใจอาเนญชา๑ แล้วคอยก�ำหนด ดูว่าจิตจะน้อมไป เพ่ือสุญญตาภายใน เพ่ืออาเนญชาหรือไม่ คร้ันแล้วตรัสสอนให้มีความรู้ตัว ในความเคลื่อนไหวตา่ ง ๆ ท้ังกาย วาจา ใจ ๒. ต่อจากน้ันทรงแสดงอุปัทวะ (อันตราย) แห่งอาจารย์แห่งศิษย์และแห่งการ ประพฤติพรหมจรรย์และตรัสว่า อันตรายแห่งการประพฤติพรหมจรรย์ มีผลร้ายมากกว่า อันตรายทั้งสองข้างต้น และตรัสสอนให้ปฏิบัติต่อศาสดาฉันมิตร มิใช่ฉันศัตรู คือให้ตั้งใจฟัง ธรรม ก็จะเป็นไปเพ่ือประโยชน์ความสุขสิ้นกาลนาน ในที่สุดตรัสว่า พระองค์ทรงว่ากล่าวทั้ง ในทางข่ม ท้ังในทางประคอง (ไม่ใช่มุ่งแต่ลงโทษหรือมุ่งแต่ยกย่องเพียงอย่างเดียว) ผู้ใดมี สาระกจ็ ะด�ำรงอยู่ได้ ๒๓. อัจฉริยัพภูตธมั มสูตร (สูตรวา่ ด้วยส่ิงอศั จรรยแ์ ละไม่เคยมกี ม็ ขี ้นึ ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ภิกษุทั้งหลายสนทนากันถึงเร่ือง ความอัศจรรย์ในการที่พระผู้มีพระภาคทรงระลึกพระชาติได้ว่าเคยเป็นอย่างนั้น ๆ มา เม่ือ พระผู้มีพระภาคเสด็จมาตรัสถามทราบความ ก็ตรัสให้พระอานนท์กล่าวถึงความอัศจรรย์ เท่าที่ทราบ พระอานนท์ก็กราบทูลตามท่ีเคยสดับมาในท่ีเฉพาะพระพักตร์ ถึงความอัศจรรย์ ต่าง ๆ ของพระโพธิสัตว์ เมื่อเกิดเม่ือด�ำรงอยู่ในเทพชั้นดุสิต ก็ทรงมีสติสัมปชัญญะ เป็นต้น จนถึงความอัศจรรย์ เมื่อประสูติจากพระครรภ์มารดา (โปรดดูข้อความที่ย่อไว้แล้วใน มหาปทานสตู ร หนา้ ๔๔๘ ธรรมดาของพระโพธิสัตย์ ข้อ ๑ ถงึ ๑๕) ๑ อาเนญชาหรืออาเนญชะ ดูค�ำอธิบายในอาเนญชสัปปายสูตร หนา้ ๖๖๖ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 678 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค 679 ๒. ตรัสเพ่ิมเติมว่า เวทนา (ความเสวยหรือรู้สึกอารมณ์) สัญญา (ความก�ำหนด ัมช ิฌม ินกาย หมาย) และวติ ก (ความตรึก) ทีต่ ถาคตรแู้ จ้งแลว้ ยอ่ มเกิดข้นึ ย่อมปรากฏ ยอ่ มดับไป๑ ๒๔. พักกุลตั เถรจั ฉริยพั ภตู ธัมมสตู ร (สตู รว่าด้วยสิ่งอศั จรรย์และไม่เคยมีกม็ ขี ึน้ ของพระพกั กลุ เถระ) ท่านพระพักกุละอยู่ในเวฬุวนาราม ใกล้กรุงราชคฤห์ ชีเปลือยช่ือกัสสปะ เคยเป็น สหายต้ังแต่คร้ังเป็นคฤหัสถ์ของท่านพระพักกุละ เข้าไปหาท่านพระพักกุละ ถามทราบความ ว่าบวชมาถึง ๘๐ ปี แล้วได้ถามถึงปัญหาเร่ืองเคยเสพเมถุนก่ีครั้ง พระพักกุละตอบว่า ไม่ควร ถามเช่นนั้น ควรจะถามว่า กามสัญญา (ความก�ำหนดหมายในกาม) เกิดข้ึนกี่คร้ัง แล้วก็เล่า ให้ฟังว่า ตลอด ๘๐ ปีน้ี ท่านไม่เคยมีกามสัญญา รวมทั้งสัญญาในการพยาบาท ในการ เบียดเบียนเลย แล้วท่านได้เล่าถึงสิ่งที่ท่านไม่เคยต่าง ๆ (อันแสดงความเป็นผู้บริสุทธิ์พิเศษ) ของท่านตลอดเวลา ๘๐ ปี ชีเปลือยเล่ือมใสขอบวช บ�ำเพ็ญเพียรไม่นานก็ได้ส�ำเร็จเป็น พระอรหันต์ ต่อมาไม่ช้าท่านพระพักกุละถือลูกกุญแจเข้าไปสู่วิหาร บอกแก่ภิกษุท้ังหลายว่า ท่านจะปรินิพพานในวันน้ี แล้วได้นั่งปรินิพพานในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ ซ่ึงเป็นความน่าอัศจรรย์ (เรื่องนี้เปน็ เหตกุ ารณภ์ ายหลังพทุ ธปรินพิ พาน) ๒๕. ทันตภมู สิ ตู ร (สตู รวา่ ดว้ ยภมู หิ รอื สถานทท่ี ี่ฝกึ ไว)้ ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เวฬุวนาราม ชยเสนราชกุมาร (ราชโอรสของพระเจ้า พิมพิสาร) เสด็จด�ำเนินเล่น ตรัสสนทนากับสามเณรรูปหนึ่งผู้บวชไม่นาน ผู้อาศัยอยู่ในกุฎี ในป่า เม่ือทรงขอให้สามเณรแสดงธรรม สามเณรออกตัวต่าง ๆ ในที่สุดก็ทรงแค่นไค้ให้แสดง จนได้ เมื่อแสดงจบแล้ว ราชกุมารตรัสว่า เป็นไปไม่ได้ท่ีภิกษุผู้ไม่ประมาทบ�ำเพ็ญเพียรจะ บรรลคุ วามเปน็ ผมู้ จี ติ มอี ารมณเ์ ปน็ หนง่ึ สามเณรจงึ นำ� ความมากราบทลู พระผมู้ พี ระภาค พระองค์ ตรัสว่า ชยเสนราชกุมารอยู่ในท่ามกลางกาม ที่จะรู้เห็นถึงสิ่งที่พึงรู้เห็นได้ด้วยเนกขัมมะ (การ ออกจากกามนนั้ ) ยอ่ มเป็นไปไมไ่ ด้ ๑ อรรถกถาอธิบายว่า มีโอกาสพิจารณาสังขารธรรมได้ตลอดเวลา ๗ วัน ไม่เหมือนสาวกท่ีพิจารณาได้เฉพาะ เม่ือประจวบกับส่งิ เหล่านัน้ เฉพาะหนา้ เมื่อถงึ โอกาส PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 679 5/4/18 2:25 PM

680 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๒. คร้ันแล้วทรงแสดงธรรมแก่สามเณร เปรียบเทียบให้เห็นความต่างกัน ระหว่าง ช้าง ม้า โค ที่ได้รับการฝึกกับที่มิได้รับการฝึก ว่าจะให้ไปสู่ที่หมายได้ ต่างกันอย่างไร หรือ เปรียบเหมือนคนหนึ่งยืนบนยอดเขา อีกคนหน่ึงยืนอยู่เชิงเขา จะให้เห็นอะไร ๆ เหมือนผู้ยืน อยู่บนยอดเขาอย่างไร แล้วได้ทรงแสดงข้อเปรียบเทียบอื่นอีก รวมท้ังข้อท่ีผู้ออกบวชบ�ำเพ็ญ สติปัฏฐาน ๔ บำ� เพ็ญฌานได้วชิ ชา ๓ มีความส้นิ อาสวะในทสี่ ุด ๒๖. ภูมชิ สตู ร (สูตรว่าด้วยพระเถระชื่อภมู ิชะ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เวฬุวนาราม เช้าวันหน่ึง ท่านพระภูมิชะเข้าไปยังท่ี ประทับของชยเสนราชกุมาร น่ังเหนืออาสนะที่ปูลาดไว้ ชยเสนราชกุมารกล่าวว่า บุคคลจะท�ำ ความหวังหรือไม่ก็ตามประพฤติพรหมจรรย์ก็ไม่ควรจะบรรลุผลได้ ท่านพระภูมิชะทูลตอบว่า ท่านไม่ได้ฟังมาจากพระผู้มีพระภาค แต่ก็เช่ือว่าจะทรงตอบว่า ไม่ส�ำคัญท่ีท�ำความหวังหรือ ไม่ท�ำ ถ้าประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่แยบคาย (อโยนิโส) ก็ไม่ควรบรรลุผล แต่ถ้าประพฤติ พรหมจรรย์โดยแยบคาย ก็ควรบรรลุผลได้ ราชกุมารกล่าวว่า ถ้าอย่างนั้นศาสดาของท่านก็ เหมือนยืนอยู่บนศีรษะของสมณพราหมณ์ท้ังปวง แล้วได้ถวายอาหารของพระองค์ให้ท่าน พระภมู ชิ ะฉัน ๒. ท่านพระภูมิชะกลับมากราบทูลพระผู้มีพระภาค ตรัสตอบว่า ที่ตอบไปน้ันไม่ผิด และได้ทรงช้ีแจงเพ่ิมเติม เปรียบสมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด จนถึงมีความต้ังใจม่ันผิด ประพฤติพรหมจรรย์ จึงไม่ควรบรรลุผล ว่าเหมือนคนต้องการน�้ำมัน แต่ไปค้ันน้�ำมันจาก ทราย หรือตอ้ งการนมโค แต่รีดนมจากเขาโค ต้องการไฟ แตเ่ อาไม้สดชุ่มดว้ ยยางมาสใี หไ้ ฟตดิ ครน้ั แลว้ ทรงแสดงการปฏบิ ัติถูกในทางท่ตี รงกันขา้ ม ๒๗. อนุรุทธสตู ร (สตู รว่าด้วยพระอนรุ ุทธเถระ) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ช่างไม้ชื่อปัญจกังคะ ส่งคนไปนิมนต์ พระอนุรุทธ์พร้อมด้วยภิกษุอ่ืนอีก ๓ รูป๑ (รวม ๔ รูป) ไปฉันที่บ้าน เมื่อฉันเสร็จแล้ว จึงถาม ๑ ในเมืองไทยมักมีผู้ถือกันว่านิมนต์พระ ๔ รูปเฉพาะไปสวดศพ แต่หลักฐานในพระไตรปิฎกนอกจากสูตรน้ีแล้ว ยงั มใี นอภยั ราชกุมารสูตรหน้า ๖๐๖ เเสดงว่าไม่มกี ารถือ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 680 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค 681 ปญั หาถึงเร่อื ง อัปปมาณาเจโตวิมุติ (ความหลดุ พน้ แห่งจิตอนั ไม่มีประมาณ) กบั มหัคคตาเจโต ัมช ิฌม ินกาย วิมุติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตที่เป็นฌาน) มีอรรถะ (ความหมาย) และพยัญชนะ (ตัวอักษร) ต่างกัน หรือว่ามีอรรถะอย่างเดียวกัน มีพยัญชนะต่างกัน พระเถระตอบว่า มีอรรถะและ พยัญชนะต่างกัน โดยอธิบายว่า อัปปมาณาเจโตวิมุติ ได้แก่การแผ่จิต อันประกอบไปด้วย พรหมวิหาร ๔ มีเมตตา เป็นต้น อันหาประมาณจ�ำกัดมิได้ไปยังโลกท้ังปวง ทั้งหกทิศ (รวมทั้งเบื้องบนเบื้องล่าง) ส่วนมหัคคตาเจโตวิมุติ ได้แก่การเจริญฌาน (แผ่กสิณนิมิตไป) กำ� หนดขอบเขตเพยี งโคนไม้แหง่ เดยี วบา้ ง ๒ - ๓ แหง่ บา้ ง กำ� หนด ๒ - ๓ เขตบา้ นบ้าง ก�ำหนด แว่นแคว้นใหญ่ ๑ บ้าง ๒ - ๓ บ้าง ก�ำหนดแผ่นดินมีสมุทรเป็นขอบเขตบ้าง แล้วได้อธิบาย เพิ่มเติมและตอบปญั หาของพระอภยิ ะกจั จานะอกี เกยี่ วกบั เร่อื งเทพทมี่ ีแสงสวา่ ง ๒๘. อุปักกิเลสสูตร (สูตรวา่ ดว้ ยเครอื่ งเศร้าหมองแหง่ จิต) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ โฆสิตาราม ใกล้กรุงโกสัมพี สมัยน้ันภิกษุชาวกรุง โกสัมพีแตกกัน ต่างว่ากล่าวเสียดสีกันต่าง ๆ พระผู้มีพระภาคทรงห้ามปรามก็ไม่ฟัง จึงตรัส แสดงธรรมเป็นคติเรื่องการทะเลาะวิวาท แล้วเสด็จไปสู่พาลกโลณการคาม (หมู่บ้านท�ำเกลือ ช่ือพาลกะ) ณ ที่นั้นได้ทรงแสดงธรรมแก่พระภคุ แล้วเสด็จไปสู่ป่าช่ือปาจีนวังสะ ผู้เฝ้าป่า ไม่ยอมให้เข้า พระอนุรุทธ์ได้ทราบจึงแจ้งแก่คนเฝ้าป่ามิให้ห้าม เพราะท่านเป็นพระศาสดา ของพวกเรา และได้บอกให้พระนันทิยะ พระกิมพิละมาเฝ้าต้อนรับ พระผู้มีพระภาคตรัส ถามถึงความผาสุก ความสามัคคี ความไม่ประมาท และคุณพิเศษ (โปรดดูจูฬโคสิงคสาลสูตร หน้า ๕๕๗ เทยี บดดู ว้ ย) ท่านเหลา่ น้นั กลา่ วตอบในทางทด่ี งี าม ๒. ในส่วนที่เกี่ยวกับคุณพิเศษ กราบทูลว่า รู้สึกว่ามีแสงสว่าง และเห็นรูป แต่ ไม่นาน แสงสว่างน้ันและการเห็นรูปก็หายไป ไม่ได้บรรลุนิมิตนั้นอีก ตรัสตอบว่า ควรบรรลุ นิมิตน้ัน แล้วตรัสเล่าถึงเหตุการณ์ เมื่อก่อนตรัสรู้ว่าเคยทรงประสบภาวะเช่นน้ันเหมือนกัน แต่ทรงสอบสวนถึงต้นเหตุ ซึ่งทรงแก้ทีละอย่าง ๆ เหตุเหล่าน้ันคือความสงสัย การไม่ท�ำในใจ ความหดหู่ง่วงงุน ความหวาดสะดุ้ง ความต่ืนเต้น ความย่อหย่อน ความเพียรตึงเกินไป ความ เพียรหย่อนเกินไป ความอยาก ความก�ำหนดหมายต่าง ๆ การเพ่งรูปมากเกินไป (รวมเป็น ความเศร้าหมองแห่งจิต ๑๑ อย่าง)๑ ในท่ีสุด เมื่อทรงทราบว่าเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต กท็ รงละไดห้ มดทกุ อยา่ ง ๑ ความเศร้าหมองแห่งจิตหรืออุปกิเลสทั้งสิบเอ็ดอย่างน้ี เป็นเรื่องของการปฏิบัติธรรมะช้ันสูง ผู้ต้องการทราบ คำ� อธบิ ายละเอียด โปรดดูคำ� อธบิ ายของพระอรรถกถาจรรย์ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 681 5/4/18 2:25 PM

682 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๓. ตรัสเล่าต่อไปอีกว่า เม่ือทรงบ�ำเพ็ญเพียรไป ก็ทรงรู้สึกว่ามีแสงสว่าง แต่ไม่ทรง เห็นรูปบ้าง ทรงเห็นรูป แต่ไม่ทรงรู้สึกว่ามีแสงสว่างบ้าง ตลอดคืนบ้าง ตลอดวันบ้าง ตลอด ทั้งวันท้ังคืนบ้าง เมื่อทรงสอบสวนถึงเหตุปัจจัย ก็ทรงคิดว่า ในสมัยใดไม่สนใจรูปนิมิต (เครื่องหมายคือรูป) สนใจแต่โอภาสนิมิต (เคร่ืองหมายคือแสงสว่าง) ในสมัยน้ันก็รู้สึกว่ามี แสงสว่าง แต่ไม่เห็นรูป ในสมัยใดไม่สนใจโอภาสนิมิต สนใจแต่รูปนิมิต ในสมัยนั้นย่อมเห็น รูป แตไ่ มร่ ู้สึกว่ามีแสงสวา่ ง ๔. ต่อจากน้ันทรงแสดงถึงการที่ทรงรู้สึกว่ามีแสงสว่างน้อย เห็นรูปน้อย ทรงรู้สึกว่า มีแสงสว่างไม่มีประมาณ เห็นรูปไม่มีประมาณ เมื่อทรงสอบสวนถึงเหตุปัจจัย ก็ทรงคิดว่า ในสมยั ใดสมาธิน้อย ในสมัยน้ันจกั ษุกน็ อ้ ย ทำ� ให้รูส้ ึกวา่ มีแสงสวา่ งน้อย เหน็ รปู นอ้ ย ดว้ ยจักษุ น้อย แต่ในสมัยใดสมาธิไม่มีประมาณ ในสมัยน้ันจักษุก็ไม่มีประมาณ ท�ำให้รู้สึกว่าแสงสว่าง ไม่มีประมาณ เห็นรูปไม่มีประมาณ (แสดงว่าก�ำลังของสมาธิเป็นส�ำคัญ ถ้าก�ำลังน้อยก็ท�ำให้ ทิพยจกั ษมุ ีความสามารถน้อยไปดว้ ย) คร้นั ทรงทราบวา่ ไดท้ รงละอุปกเิ ลสแห่งจติ (ทง้ั สบิ เอ็ด) ไดแ้ ล้ว กท็ รงคิดวา่ ได้เจริญสมาธโิ ดยสว่ น ๓ แลว้ ในบดั นี้ ๕. ต่อจากนัน้ ทรงแสดงว่า ไดท้ รงเจริญ (๑) สมาธทิ ม่ี ีทั้งวติ กวจิ าร (ไดแ้ ก่ฌานท่ี ๑) (๒) สมาธทิ ่ไี ม่มวี ิตก แต่มีวจิ าร (ไดแ้ ก่ฌานที่ ๒ ในฌาน ๕) (๓) สมาธิทไี่ ม่มีวิตกวจิ าร (ไดแ้ กฌ่ านที่ ๒ ๓ ๔ ในฌาน ๔ และฌานท่ี ๓ ๔ ๕ ในฌาน ๕) (๔) สมาธิท่ีมปี ตี ิ (ไดแ้ ก่ฌานที่ ๑ ๒ ในฌาน ๔ และฌานที่ ๑ ๒ ๓ ในฌาน ๕) (๕) สมาธทิ ไ่ี มม่ ปี ีติ (ไดแ้ ก่ฌานท่ี ๓ ๔ ในฌาน ๔ และฌานท่ี ๔ ๕ ในฌาน ๕) (๖) สมาธิท่ีประกอบด้วยความสุข (ได้แก่ฌานที่ ๑ ๒ ๓ ในฌาน ๔ และฌาน ที่ ๑ ถึง ๔ ในฌาน ๕) (๗) สมาธิท่ีประกอบด้วยอุเบกขา (ได้แก่ฌานที่ ๔ ในฌาน ๔ และฌานที่ ๕ ใน ฌาน ๕)๑ เมื่อได้เจริญสมาธิอย่างนี้แล้วก็เกิดญาณทัสสนะ (ความเห็นด้วยญาณ) ขึ้นว่า ความ หลดุ พ้นของพระองคไ์ ม่กำ� เริบ ชาติน้เี ป็นชาติสดุ ทา้ ย บัดนไี้ ม่มกี ารเกดิ อกี (หมายเหตุ : สูตรนี้แสดงหลักวิชาในการปฏิบัติจิตใจชั้นสูง ซึ่งเกิดปัญหาแก่พระ สาวก แต่พระองค์ก็ทรงแสดงว่าได้แก้ปัญหาตกมาแล้ว ก่อนตรัสรู้ ในท่ีนี้ไม่ค่อยได้อธิบาย ๑ ข้อความเรื่องฌาน ๔ และฌาน ๕ ดูค�ำอธิบายท่ีเชงิ อรรถหน้า ๘๕๘ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 682 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค 683 ศัพท์ไว้พิสดาร เพราะเห็นว่าจะต้องอธิบายยืดยาวและใช้หน้ากระดาษมาก อย่างไรก็ตาม ัมช ิฌม ินกาย สูตรน้ีน่าเล่ือมใสเป็นพิเศษในทางปฏิบัติท่ีแสดงว่า พระพุทธศาสนาน้ันมิใช่เร่ืองส�ำหรับพูด เท่านั้น แต่จะต้องอาศัยความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงในทางปฏิบัติด้วย และพึงสังเกตว่าในสูตรน้ี นับเป็นหลักฐานแรกทแี่ สดงฌาน ๕ เพราะทีแ่ ล้วมาแสดงแตฌ่ าน ๔ เท่าน้นั ) ๒๙. พาลบัณฑิตสูตร (สตู รวา่ ดว้ ยพาลและบณั ฑิต) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงลักษณะของคนพาล ๓ อย่าง คอื คิดชวั่ พดู ชว่ั ทำ� ชัว่ คนพาลจะต้องประสบทกุ ขโ์ ทมนัสถึง ๓ ประการในปัจจุนับ และตาย ไปก็จะเข้าสู่นรก ก�ำเนิดดิรัจฉาน หรือถ้าเกิดในมนุษย์ ก็เกิดในตระกูลต่�ำ ยากจน มีผิวพรรณ ทราม มีโรคเบียดเบียน ไม่มีลาภ ส่วนบัณฑิตมีลักษณะ ๓ คือ คิดดี พูดดี ท�ำดี บัณฑิต ย่อมได้เสวยสุขโสมนัสถึง ๓ ประการในปัจจุบัน และตายไปก็จะเข้าสู่สุคติโลกสวรรค์ แล้ว ทรงแสดงสมบัติจักรพรรดิ์โดยละเอียดว่า เทียบกันไม่ได้เลย กับสมบัติทิพย์ หรือถ้าเกิด เปน็ มนุษย์ กเ็ กดิ ในตระกูลสูงมั่งคัง่ รูปงาม มีลาภ ๓๐. เทวทตู สูตร (สูตรวา่ ด้วยเทวทตู ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงธรรมว่า ผู้มีทิพยจักษุ ย่อม เห็นสัตว์ท้ังหลายตาย เกิด เลว ประณีต ผิวพรรณดี ผิวพรรณทราม มีคติดี มีคติชั่ว เข้าถึง ฐานะต่าง ๆ ตามกรรม เปรียบเหมือนคนมีตาดียืนอยู่ตรงกลาง (ระหว่างเรือน ๒ หลัง) ย่อม มองเหน็ คนเขา้ ออก เดนิ ไปเดนิ มาสูเ่ รอื นฉะน้นั ๒. ทรงแสดงถึงนายนิรยบาล (ผู้รักษานรก) หลายคน จับคนท่ีไม่ดีไปแสดงแก่ พญายมขอให้ลงโทษ พญายมถามถึงเทวทูต ๕ คือ เด็ก คนแก่ คนเจ็บไข้ คนถูกลงโทษ เพราะท�ำความผิด และคนตาย แล้วชี้แจงให้เห็นว่าจะต้องได้รับผลแห่งการกระท�ำ (ที่ชั่ว) นั้น ๆ แล้วทรงแสดงการลงโทษต่าง ๆ ท่ีนายนิรยบาลเป็นผู้ท�ำ รวมทั้งแสดงถึงมหานรก นรกคูถ (อจุ จาระ) และนรกช่ือกกุ กลุ ะ ซ่ึงมกี ารลงโทษทรมานอย่างน่าสยดสยอง PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 683 5/4/18 2:25 PM

684 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ วิภงั ควรรค คือ วรรคกำ� หนดด้วยการแจกแจง มี ๑๒ สตู ร ๓๑. ภัทเทกรัตตสูตร (สูตรว่าด้วยราตรเี ดียวทด่ี )ี พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงบทตั้ง (อุทเทส) และค�ำอธิบาย หรือการแจกแจง (วิภังค์) เก่ียวกับบุคคลผู้มีราตรีเดียวอันดี โดยใจความคือไม่ให้ติดตาม เร่ืองล่วงมาแล้ว ไม่ให้หวังเฉพาะเร่ืองท่ียังมาไม่ถึง ให้เห็นแจ้งปัจจุบัน ให้รีบเร่งท�ำความเพียร เสียในวันนี้ ใครจะรู้ว่าความตายจะมีในวันพรุ่ง เพราะจะผัดเพ้ียนต่อมฤตยูผู้มีเสนาใหญ่ ย่อมไม่ได้ คนที่มีความเพียรอย่างน้ีไม่เกียจคร้านท้ังกลางวันกลางคืน เรียกว่ามีราตรีเดียว อันดี (อันเจริญ) การไม่ติดตามอดีต การไม่หวังเฉพาะอนาคต ตรัสอธิบายว่า ไม่ให้มีความ ยนิ ดีเพลิดเพลินในอดีตและอนาคตนน้ั ๓๒. อานันทภัทเทกรัตตสตู ร (สตู รวา่ ด้วยพระอานนทอ์ ธิบายภทั เทกรัตตสตู ร) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม สมัยนั้นพระอานนท์กล่าวธรรมแก่ภิกษุ ท้ังหลายในโรงฉัน (อุปฐานศาลา) โดยอธิบายท้ังบทตั้ง และค�ำอธิบายแห่งภัทเทกรัตตสูตร พระผมู้ พี ระภาคเสด็จมาตรสั ถามทราบความ ทรงรบั รองค�ำอธบิ ายนัน้ ๓๓. มหากัจจานภทั เทกรตั ตสูตร (สูตรว่าดว้ ยพระมหากจั จานะอธบิ ายภทั เทกรัตตสตู ร) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม มีเรื่องเล่าถึงพระมหากัจจานะแสดงธรรม อธิบายขยายความ แห่งภัทเทกรัตตสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ย่อ ๆ ให้พิสดาร เม่ือ พระผู้มีพระภาคทรงทราบ ก็ตรัสชมเชยและว่า ถ้าถามให้ทรงอธิบาย ก็จะทรงอธิบายใน ทำ� นองเดยี วกนั น้ี ๓๔. โลมสกงั คิยสูตร (สตู รวา่ ด้วยพระโลมสกังคิยะ) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม เรื่องเล่าว่า เทพบุตรถามพระโลมสกังคิยะ เร่ืองภัทเทกรัตตสูตร ทั้งบทต้ังท้ังค�ำอธิบาย ท่านตอบไม่ได้ จึงไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค กราบทูล ถามให้ทรงแสดงทง้ั บทตง้ั และค�ำอธิบาย ใจความกอ็ ย่างเดียวกบั สตู รที่ ๓๑ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 684 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ วิภังควรรค 685 ๓๕. จฬู กัมมวิภงั คสูตร ัมช ิฌม ินกาย (สตู รวา่ ดว้ ยการจ�ำแนกกรรม สูตรเล็ก) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ทรงตอบค�ำถามของสุภมาณพบุตรแห่ง โตเทยยพราหมณ์ เกี่ยวกับผลร้ายผลดีต่าง ๆ ๗ คู่ว่า เน่ืองมาจากกรรมคือการกระท�ำของ สัตว์ คอื ๑. มีอายนุ ้อย เพราะฆา่ สตั ว์ มีอายยุ ืน เพราะไมฆ่ ่าสัตว์ ๒. มีโรคมาก เพราะเบยี ดเบียนสตั ว ์ มโี รคน้อย เพราะไม่เบียดเบยี นสัตว์ ๓. มีผวิ พรรณทราม เพราะข้โี กรธ มผี ิวพรรณดี เพราะไม่ขีโ้ กรธ ๔. มีศกั ดาน้อย เพราะมักริษยา มีศกั ดามาก เพราะไมม่ ักริษยา ๕. มีโภคทรัพยน์ อ้ ย เพราะไมใ่ ห้ทาน มโี ภคทรพั ย์มาก เพราะใหท้ าน ๖. เกิดในตระกูลต่�ำ เพราะกระด้างถือตัวไม่อ่อนน้อม เกิดในตระกูลสูง เพราะไม่ กระดา้ งถือตัว แต่รจู้ ักอ่อนนอ้ ม ๗. มีปัญญาทราม เพราะไมเ่ ขา้ ไปหาสมณพราหมณ์ ไต่ถามเร่ืองกศุ ล อกุศล เปน็ ต้น มีปญั ญาดี เพราะเข้าไปหาสมณพราหมณ์ ไตถ่ ามเรอ่ื งกุศล อกศุ ล เปน็ ต้น สุภมาณพบุตรโตเทยยพราหมณ์กราบทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา แสดงตนเป็น อบุ าสกถึงพระรตั นตรัยเปน็ สรณะตลอดชวี ิต ๓๖. มหากมั มวภิ งั คสูตร (สูตรว่าด้วยการจ�ำแนกกรรม สูตรใหญ)่ พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เวฬุวนาราม ใกล้กรุงราชคฤห์ ตรัสแสดงธรรมแก่ พระอานนท์ ภายหลงั ทตี่ รัสปรารภเรือ่ งพระสมทิ ธิตอบค�ำถามของปรพิ พาชกโปตลบิ ตุ รแงเ่ ดียว แทนทจ่ี ะตอบแบง่ ตามเหตผุ ล เมอ่ื พระอานนทก์ ราบทลู ขอรอ้ ง จงึ ทรงแสดงเรอื่ งการจำ� แนกกรรม เรอื่ งใหญ่ โดยแสดงถงึ บคุ คล ๔ ประเภท คอื ๑. ท�ำช่ัวแลว้ ไปเกิดในอบาย ทุคคติ วนิ บิ าต นรก ๒. ทำ� ชั่วแลว้ ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ ๓. ท�ำดแี ลว้ ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ ๔. ท�ำดแี ลว้ ไปเกิดในอบาย ทคุ คติ วนิ บิ าต นรก ซงึ่ ทำ� ใหส้ มณพราหมณบ์ างพวกผเู้ หน็ ไมต่ ลอดสายเขา้ ใจผดิ ทรงรบั รองเฉพาะคำ� กลา่ ว ที่ถูกต้อง ท่ีไม่ถูกต้องก็ไม่ตรัสรับรอง นอกจากน้ัน ทรงแสดงเหตุผล คือกรรมดีกรรมช่ัวที่ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 685 5/4/18 2:25 PM

686 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ท�ำก่อนท�ำหลัง และการมีความเห็นถูกเห็นผิดก่อนตายว่า อาจแทรกส่งผลให้คนเข้าใจผิดได้ แตค่ วามจริงกรรมทุกอย่างจะสง่ ผลทั้งสนิ้ (เพยี งแต่ให้เขา้ ใจใหต้ ลอดสายและไม่สบั เหตุผล)๑ ๓๗. สฬายตนวิภงั คสตู ร (สตู รวา่ ด้วยการแจกอายตนะ ๖) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงธรรมเร่ืองการแจกอายตนะ ๖ โดยต้งั บทต้งั (อุทเทส) ว่า ค วรทราบอายตนะภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖ หมวดวิญญาณ ๖ หมวดผสั สะ ๖ มโนปวิจาร (ความท่องเท่ียวไปแห่งใจ) ๑๘ ทางไปของสัตว์ (สัตตบท) ๓๖ เป็นต้น คร้ันแล้ว ทรงแจกอายตนะภายใน ๖ ว่ามีตา เป็นต้น อายตนะภายนอก ๖ ว่ามีรูป เป็นต้น วญิ ญาณกาย ๖ มจี ักขวุ ิญญาณ เป็นต้น ผัสสกาย ๖ มีจักขสุ มั ผสั เป็นตน้ มโนปวิจาร ๑๘ คอื เหน็ รปู ฟงั เสยี ง เปน็ ตน้ แลว้ ใจกท็ อ่ งเทย่ี วไปสรู่ ปู ทเี่ ปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ โสมนสั โทมนสั และอเุ บกขา (เวทนาทางใจ ๓ × อายตนะ ๖ = ๑๘) ส่วนสัตตบทหรือทางไปของสัตว์ ๓๖ ทรงแสดง โสมนัส (ความดีใจ) ท่ีอาศัยเรือน ๖ อาศัยเนกขัมมะ (การออกจากกาม) ๖ โทมนัส (ความ เสียใจ) ท่ีอาศัยเรือน ๖ อาศัยเนกขัมมะ ๖ อุเบกขาท่ีอาศัยเรือน ๖ อาศัยเนกขัมมะ ๖ (เวทนาทางใจ ๓ × เรอื นกับเนกขมั มะ ๒ × อายตนะ ๖ = ๓ × ๒ × ๖ = ๓๖) ครั้นแล้วทรงแสดงธรรมให้อาศัยส่วนท่ีอาศัยเนกขัมมะ ให้ละส่วนท่ีอาศัยเรือน แล้ว ทรงแสดงคุณลักษณะของศาสดา ๓๘. อทุ เทสวภิ งั คสตู ร (สตู รวา่ ด้วยบทตง้ั และคำ� อธบิ าย) ๑. พระผ้มู ีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรสั แสดงอุทเทสวิภงั ค์ คือบทต้ัง พร้อม ทงั้ คำ� อธบิ ายทวี่ า่ ภกิ ษพุ งึ พจิ ารณาโดยประการทวี่ ญิ ญานของเธอจะไมซ่ ดั สา่ ยไปภายนอก ไมต่ งั้ อยใู่ นภายใน ไมย่ ดึ ม่ันถือมนั่ ไมส่ ะดงุ้ เม่อื เป็นเชน่ นี้ ก็จะไมม่ ีความเกดิ ขน้ึ แห่งชาติ ชรา มรณะ และเหตใุ ห้ทกุ ขเ์ กดิ อกี ตอ่ ไป ตรสั เพียงยอ่ ๆ เทา่ นแี้ ลว้ กเ็ สดจ็ ลกุ ขึน้ เขา้ สูพ่ ระวิหาร ๒. ภิกษุทั้งหลายจึงไปหาพระมหากัจจานเถระ ขอให้อธิบายขยายความโดยพิสดาร ซึง่ ท่านกไ็ ดอ้ ธิบายช้ีแจงเป็นข้อ ๆ ไป (แตม่ ขี อ้ นา่ สงั เกตว่า ในประโยควา่ วิญญาณไม่ตั้งอยูใ่ น ๑ สับ หมายถึง สับสน ปะปน - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 686 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ วิภังควรรค 687 ภายใน ท่านใช้ค�ำว่า จิต แทนค�ำว่า วิญญาณ ว่าไม่ติดอยู่ในองค์ฌาน) เมื่อภิกษุทั้งหลายไป ัมช ิฌม ินกาย กราบทูลพระผู้มีพระภาค ก็ตรัสชมเชยพระมหากัจจานเถระ และตรัสสอนให้ทรงไว้อย่างที่ ได้แสดงไวแ้ ลว้ ๓๙. อรณวภิ ังคสูตร (สตู รว่าด้วยการแจกธรรมที่ไม่มขี า้ ศึก) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสแสดงอรณวิภังค์ คือการแจกธรรมที่ ไม่เป็นข้าศกึ มีใจความสำ� คญั คอื ไม่พึงประกอบเนือง ๆ ซ่ึงกามสุข และการทรมานตัวให้ล�ำบาก พระตถาคตตรัสรู้ ทางสายกลาง ที่ไม่อาศัยส่วนสุดทั้งสอง อันท�ำให้เกิดดวงตา เกิดญาณ เป็นไปเพ่ือตรัสรู้ และนิพพาน พึงรกู้ ารยกยอ่ ง การรุกราน แลว้ ไมพ่ ึงแสดงธรรมยกยอ่ งหรือรกุ รานบคุ คล ไม่พึง กล่าววาจาในที่ลับ (ไม่พูดส่อเสียด) ไม่พึงกล่าววาจาเลอะเทอะในท่ีพร้อมหน้า พึงพูดโดย ไม่รีบด่วน ไม่พึงยึดถือถ้อยค�ำในพื้นชนบท ไม่พึงข้ามบัญญัติทางโลก (คือไม่ยึดม่ันถือม่ัน โวหารทางโลก แต่ในขณะเดียวกัน ก็ไม่ขวางโลกโดยไม่ยอมพูดรู้เร่ืองกับชาวโลก๑) พร้อมท้ัง ตรสั อธิบายโดยละเอยี ดว่า ข้อปฏิบัติหรอื ธรรมะทก่ี ล่าวมานเี้ ป็นธรรมะท่ีไม่มีข้าศกึ ตรัสสอนภิกษุทั้งหลายให้รู้จักธรรมทั้งที่มีข้าศึกและไม่มีข้าศึก และให้ปฏิบัติข้อ ปฏบิ ัติทไ่ี มม่ ขี ้าศกึ แลว้ ตรัสสรรเสริญว่า กุลบุตรช่ือสุภตู เิ ป็นผ้ปู ฏบิ ัติข้อปฏิบัติทไ่ี มม่ ขี ้าศึก ๔๐. ธาตวุ ภิ ังคสตู ร (สูตรวา่ ด้วยการแจกธาตุ) ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นมคธ เสด็จแวะพัก ณ กรุงราชคฤห์ ทรง อาศัยท่ีอยู่ของช่างหม้อชื่อภัคคะพักแรมคืน ตรัสแสดงธรรมแก่กุลบุตรช่ือปุกกุสาติผู้บวช อทุ ิศพระองค์ แตไ่ ม่รจู้ ักพระองค์ โดยใจความส�ำคัญ คอื บุรุษนี้มีธาตุ ๖ มีอายตนะส�ำหรับถูกต้อง ๖ มีความท่องเท่ียวไปแห่งใจ ๑๘ (มโนปวิจาร) มีธรรมท่ีควรต้ังใจไว้ในใจ ๔ บุคคลตั้งอยู่ในธรรมที่ควรต้ังไว้ในใจแล้ว กิเลส ๑ ไมย่ อมพูดร้เู รื่องกับชาวโลก หมายถึง อาการของคนขวางโลก - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 687 5/4/18 2:25 PM

688 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ย่อมไม่เป็นไป เม่ือกิเลสไม่เป็นไป ก็เรียกได้ว่า มุนีผู้สงบระงับ ไม่ควรประมาทปัญญา ควรตามรกั ษาสจั จะ ควรเจริญการสละ ควรศกึ ษาความสงบ แลว้ ได้ตรสั อธิบายรายละเอยี ด ๒. ในการแจกรายละเอยี ด ทรงแสดง ธาตุ ๖ คอื ดนิ นำ้� ไฟ ลม อากาศ วญิ ญาณ อายตนะ ส�ำหรบั ถูกตอ้ ง ๖ คือ ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ มโนปวิจาร ๑๘ คือความท่องเที่ยวไปแหง่ ใจในโสมนัส (ความดีใจ) ๖ ในโทมนสั (ความเสียใจ) ๖ ในอุเบกขา (ความรสู้ กึ เฉย ๆ) ๖ รวมเป็น ๑๘ ธรรมที่ควรต้ังไว้ในใจ ๔ คือ ปัญญา สัจจะ จาคะ (การสละกิเลส) และอุปสมะ (ความสงบระงับ) แลว้ ตรสั อธบิ ายแตล่ ะขอ้ โดยพสิ ดารตอ่ ไปอกี โดยเฉพาะวญิ ญาณ ตรสั อธบิ ายวา่ ไดแ้ ก่ สงิ่ ท่รี แู้ จง้ สุข ทุกข์ และไม่ทุกขไ์ ม่สขุ (ดูมหาเวทลั ลสตู ร หน้า ๕๗๕ เทียบดดู ้วย) ๓. พระปุกกุสาติก็รู้ได้ทันทีว่าตนพบพระศาสดาแล้ว จึงลงกราบขอประทานอภัยโทษ พระผู้มีพระภาคตรัสประทานอภัย พระปุกกุสาติ (ซึ่งเดิมบวชเอาเอง) จึงกราบทูลขอบรรพชา อุปสมบท ตรัสสั่งให้หาบาตรจีวร ในขณะท่ีหาบาตรจีวรนั้น ก็ถูกแม่โคขวิดถึงแก่ชีวิต เมื่อมีผู้ กราบทูลถามถึงคติในสัมปรายภพ (ภพเบ้ืองหน้า) ของปุกกุสาติ ก็ตรัสตอบว่า เป็นอนาคามี เพราะละสัญโญชนเ์ บอ้ื งต�ำ่ ๕ ประการได้ ๔๑. สจั จวิภงั คสูตร (สูตรวา่ ดว้ ยการแจกอริยสัจจ์) ๑. พระผมู้ พี ระภาคประทบั ณ ปา่ อสิ ปิ ตนมคิ ทายวนั ๑ แขวงกรงุ พาราณสี ตรสั เลา่ เรอื่ ง ท่ีทรงแสดงธรรมจักร ณ ป่าอิสิปตนมิคทายวัน แล้วตรัสแนะให้คบพระสาริบุตรและ พระโมคคัลลานะ ซึ่งเป็นบัณฑิต เป็นผู้อนุเคราะห์เพื่อนพรหมจารี (คือเพื่อนผู้ร่วมประพฤติ พรหมจรรย์ หรือเพื่อนภิกษุด้วยกัน) ตรัสเปรียบพระสาริบุตรด้วยผู้ให้ก�ำเนิด เปรียบ พระโมคคัลลานะด้วยผู้เล้ียงดู (แม่นม) พระสาริบุตรแนะน�ำให้ต้ังอยู่ในโสดาปัตติผล พระโมคคัลลานะก็แนะนำ� ใหต้ ้งั อย่ใู นมรรคผลทส่ี ูง ๆ ขึ้นไป และพระสาริบุตรเป็นผอู้ าจอธิบาย อริยสจั จ์ ๔ โดยพิสดาร ๒. เม่ือพระผู้มีพระภาคตรัสด่ังน้ีแล้ว ก็เสด็จลุกข้ึนเข้าไปสู่พระวิหาร พระสาริบุตรก็ แสดงธรรมแก่ภิกษทุ ง้ั หลาย อธิบายเรื่องอรยิ สัจจ์ ๔ โดยพสิ ดาร ๑ คำ� วา่ มิคทายวนั เป็นคำ� บาลี เขียนแบบสนั สกฤตเป็น มฤคทายวัน - ม.พ.ป. PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 688 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ วิภังควรรค 689 ๔๒. ทกั ขิณาวิภังคสูตร ัมช ิฌม ินกาย (สตู รว่าดว้ ยการแจกทกั ษณิ า ของทำ� ทาน) ๑. พระผู้มพี ระภาคประทับ ณ นิโครธาราม ใกล้กรุงกบิลพสั ด์ุ แควน้ สักกะ พระนาง มหาปชาบดี โคตมี นำ� คูผ่ า้ ใหมซ่ งึ่ ทรงกรอดา้ ยเองทอเองไปถวายพระผ้มู พี ระภาค ขอให้ทรงรบั เพ่ือเป็นการอนุเคราะห์ พระผู้มีพระภาคตรัสแนะให้ถวายในสงฆ์ อันจะช่ือว่าบูชาท้ังพระองค์ และพระสงฆ์ พระนางมหาปชาบดี โคตมี ทรงยืนยันขอถวายพระผู้มีพระภาคตามเดิมเป็น ครงั้ ท่ี ๒ และครั้งท่ี ๓ พระผูม้ พี ระภาคกท็ รงแนะน�ำตามเดมิ แม้ครงั้ ท่ี ๒ แมค้ รง้ั ท่ี ๓ ๒. พระอานนทจ์ งึ กราบทลู ขอใหพ้ ระผมู้ พี ระภาคทรงรบั โดยอา้ งอปุ การคณุ ซง่ึ พระนาง มหาปชาบดี โคตมี เคยมีต่อพระผู้มีพระภาคในการท่ีทรงเล้ียงดู ทรงให้ดื่มถัญญ์ (น�้ำนม) ภายหลังที่พระพุทธมารดาสวรรคต และอ้างอุปการคุณที่พระผู้มีพระภาคทรงมีต่อพระนาง มหาปชาบดี โคตมี เป็นเหตุให้พระนางถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เป็นสรณะ ทรงเว้น จากการฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดปด ด่ืมน้�ำเมาคือสุราและเมรัย ทรง ประกอบด้วยความเล่ือมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ประกอบด้วยศีลท่ี พระอริยเจ้าใคร่ ทรงหมดความสงสัยในอริยสัจจ์ ๔ ประการ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า บุคคลอาศัยผู้ใด แล้วตั้งอยู่ในคุณธรรมตามท่ีพระอานนท์กล่าวมาน้ัน พระองค์ไม่ตรัสการ ที่บุคคลน้ันกราบไหว้ ลุกขึ้นต้อนรับ ท�ำอัญชลีกรรม (พนมมือไหว้) สามีจิกรรม (การแสดง อัธยาศัยไมตรีให้เหมาะสมแก่ฐานะ) และการให้ปัจจัย ๔ มีผ้านุ่งห่ม เป็นต้น ว่าเป็นการ ตอบแทนอันดีต่อผทู้ ต่ี นอาศยั นน้ั ๓. แล้วทรงแสดงทักษิณา (ของให้หรือของถวาย) ท่ีเจาะจงบุคคล ๑๔ ประเภทเป็น ขอ้ ๆ ไป คือ การที่บุคคลถวายทานหรือใหท้ าน (๑) ในพระตถาคตอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจ้า (๒) ในพระปจั เจกพุทธเจา้ (๓) ในพระอรหันตสาวกของพระตถาคต (๔) ในท่านผู้ปฏบิ ตั เิ พ่อื ท�ำใหแ้ จ้งซ่ึงอรหัตตผล (๕) ในพระอนาคามี (๖) ในท่านผู้ปฏบิ ัติเพื่อทำ� ให้แจ้งซ่งึ อนาคามิผล (๗) ในพระสกทาคามี (๘) ในทา่ นผูป้ ฏบิ ัตเิ พอ่ื ทำ� ให้แจง้ ซ่งึ สกทาคามผิ ล (๙) ในพระโสดาบัน PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 689 5/4/18 2:25 PM

690 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ (๑๐) ในทา่ นผูป้ ฏิบตั ิเพือ่ ทำ� ใหแ้ จง้ ซ่ึงโสดาปัตตผิ ล (๑๑) ในทา่ นผปู้ ราศจากความก�ำหนดั ในกาม ภายนอก (พระพุทธศาสนา) (๑๒) ในบุถชุ น (คนยงั หนาด้วยกเิ ลส) ผมู้ ีศลี (๑๓) ในบุถุชนผทู้ ศุ ีล (๑๔) ในสตั ว์ดริ จั ฉาน ๔. แล้วทรงแสดงว่า ทกั ษณิ า มคี ณุ อันพึงหวงั ได้ คือทานทีใ่ หใ้ นสัตวด์ ิรัจฉาน มีคุณ ถงึ รอ้ ย ในบุถชุ นผ้ทู ศุ ลี มีคุณถึงพัน ในบถุ ชุ นผู้มศี ลี มีคุณถงึ แสน ในทา่ นผปู้ ราศจากความ ก�ำหนัดในกาม ภายนอก (พระพทุ ธศาสนา) มคี ณุ ถึงแสนโกฏิ ในท่านผูป้ ฏิบตั ิเพือ่ ทำ� ให้แจง้ ซึ่ง โสดาปตั ตผิ ล มคี ุณเปน็ อสงไขย (นับไม่ได)้ อัปไมย (ประมาณไม่ได้) จงึ ไม่จำ� เป็นตอ้ งกลา่ วถึง ทานทถ่ี วายในบุคคลท่สี งู ขึน้ ไปกว่าน้ี ๕. แลว้ ทรงแสดงทกั ษณิ า (ของถวาย) ท่เี ป็นไปในสงฆ์ ๗ ประเภท คอื (๑) ในสงฆส์ องฝ่าย (ภกิ ษุสงฆ์ ภิกษณุ ีสงฆ)์ มีพระพทุ ธเจ้าเป็นประมขุ (๒) ในสงฆส์ องฝา่ ย เมือ่ พระตถาคตปรนิ พิ พานแล้ว (๓) ในภิกษุสงฆ์ (๔) ในภกิ ษุณีสงฆ์ (๕) ทกั ษิณาทเ่ี จาะจงภิกษุ หรอื ภกิ ษณุ จี ำ� นวนเท่านน้ั เทา่ น้จี ากสงฆ์ (๖) ทกั ษิณาที่เจาะจงภิกษเุ ทา่ นน้ั เทา่ น้ีจากสงฆ์ (๗) ทักษิณาทเ่ี จาะจงภิกษณุ เี ทา่ น้นั เทา่ นจี้ ากสงฆ์ ๖. ตรัสว่า ในอนาคตกาลนานไกล จักมีโคตรภู๑ (สงฆ์) ผู้มีผ้ากาสาวะที่คอ เป็นผู้ ทุศีล มีบาปธรรม บุคคลจักถวายทานอุทิศสงฆ์ในโคตรภู (สงฆ์) ผู้ทุศีลเหล่านั้น แม้ทักษิณา ท่ีเป็นไปในสงฆ์นั้น เราก็กล่าวว่านับไม่ได้ประมาณไม่ได้ เราไม่กล่าวว่า ทานที่เจาะจงบุคคล มผี ลมากกวา่ ทักษิณาทีเ่ ปน็ ไปในสงฆโ์ ดยปรยิ ายไร ๆ เลย ๗. ตรสั แสดงความบริสทุ ธแ์ิ หง่ ทักษณิ า ๔ อยา่ ง คอื ทกั ษิณาที่ (๑) บริสทุ ธ์ิฝา่ ยทายก (ผใู้ ห)้ ไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิฝ่ายปฏิคาหก (ผ้รู ับ) (๒) บรสิ ุทธิฝ์ า่ ยปฏิคาหก ไมบ่ ริสทุ ธิฝ์ ่ายทายก ๑ โคตรภูสงฆ์ หมายถงึ สงฆ์โดยชือ่ แต่ความประพฤตยิ ่อหย่อน อรรถกถาแสดงว่า ไดแ้ ก่ผู้มผี ้ากาสาวะพันท่ีมือหรอื ทีค่ อ พอเป็นเคร่ืองหมาย แตม่ บี ุตรภริยา และประกอบอาชีพตา่ ง ๆ เช่น กสกิ รรม พาณิชยกรรม ตามปกติ อน่ึง ค�ำว่า โคตรภู นี้ ยังหมายถงึ ผู้อยกู่ ึ่งกลางระหวา่ งพระอรยิ เจา้ กับบถุ ชุ น คือคนที่ยงั หนาไปดว้ ยกเิ ลส PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 690 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค 691 (๓) ไมบ่ รสิ ุทธ์ิท้งั ฝ่ายทายก ท้งั ฝ่ายปฏคิ าหก ัมช ิฌม ินกาย (๔) บรสิ ุทธท์ ง้ั ฝา่ ยทายก ทง้ั ฝา่ ยปฏิคาหก พร้อมทั้งทรงแสดงรายละเอียดก�ำหนดความบริสุทธิ์และไม่บริสุทธิ์ ด้วยการท่ีบุคคล มศี ลี มีกลั ยาณธรรม และทุศลี มีบาปธรรม สฬายตนวรรค คอื วรรคทกี่ �ำหนดดว้ ยอายตนะ ๖ มี ๑๐ สตู ร ๔๓. อนาถปิณฑโิ กวาทสูตร (สูตรวา่ ด้วยการให้โอวาทแกอ่ นาถปณิ ฑกิ คฤหบด)ี พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม สมัยนั้นอนาถปิณฑิกคฤหบดีไม่สบาย เป็น ไข้หนัก จึงส่งคนไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ และให้ถวายบังคมแทนตน กับ ส่งคนไปอาราธนาพระสาริบุตรไปยังท่ีอยู่ของตน เพื่อเป็นการอนุเคราะห์ พระสาริบุตรรับ นิมนต์แล้วก็ไปเย่ียมไต่ถาม โดยมีพระอานนท์ตามไปด้วย เป็นปัจฉาสมณะ (ภิกษุผู้ติดตาม) คฤหบดกี ล่าวตอบว่า มีทุกขเวทนากล้า จงึ กล่าวธรรมส่ังสอน คอื ๑. ท่านพึงส�ำเนียกว่า จักไม่ยึดถือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ และวิญญาณของท่าน จกั ไม่อาศยั ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ๒. ท่านพึงส�ำเนียกว่า จักไม่ยึดถือรูป กล่ิน เสียง รส โผฏฐัพพะ (สิ่งท่ีพึงถูกต้อง ด้วยกาย) ธรรมะ (ส่ิงท่ีพึงรู้แจ้งได้ด้วยใจ) และวิญญาณของท่านจักไม่อาศัยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพั พะ ธรรมะ ๓. ทา่ นพึงสำ� เนียกวา่ จกั ไมย่ ดึ ถอื วญิ ญาณ (๖) มีจกั ขวุ ญิ ญาณ (ความร้แู จง้ อารมณ์ ทางตา) เป็นต้น และวิญญาณของท่านจักไม่อาศัยวิญญาณ (๖) มีจักขุวิญญาณ เปน็ ต้น ๔. ท่านพึงส�ำเนียกว่า จักไม่ยึดถือสัมผัส (ความถูกต้อง ๖) มีจักขุสัมผัส (ความ ถกู ตอ้ งทางตา) เปน็ ต้น และวญิ ญาณของท่านจักไมอ่ าศัยสัมผัส (๖) มีจกั ขสุ มั ผสั เป็นตน้ ๕. ท่านพึงส�ำเนียกว่า จักไม่ยึดถือเวทนา (ความรู้สึกหรือเสวยอารมณ์ ๖) มีจักขุ สมั ผสั สชาเวทนา (ความรสู้ กึ อารมณอ์ นั เกดิ แตส่ มั ผสั ทางตา) เปน็ ตน้ และวญิ ญาณ ของทา่ นจักไม่อาศัยเวทนา (๖) มจี ักขุสมั ผสั สชาเวทนา เปน็ ตน้ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 691 5/4/18 2:25 PM

692 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ ๖. ท่านพึงส�ำเนียกว่า จักไม่ยึดถือธาตุดิน ธาตุน้�ำ ธาตุไฟ ธาตุลม ธาตุอากาศ และ ธาตุรู้ (วญิ ญาณธาตุ) และวิญญาณของท่านจักไม่อาศยั ธาตดุ ิน เป็นตน้ ๗. ท่านพึงส�ำเนียกว่า จักไม่ยึดถือ (ขันธ์ ๕) รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และวญิ ญาณของทา่ นจักไม่อาศัยรปู เปน็ ต้น ๘. ท่านพึงส�ำเนียกว่า จักไม่ยึดถือ (อรูปฌาน ๔ คือ) อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานาสัญญายตนะ๑ และวญิ ญาณของทา่ นจกั ไม่อาศัยอากาสานญั จายตนะ เป็นต้น ๙. ท่านพึงส�ำเนียกว่า จักไม่ยึดถือโลกน้ีโลกหน้า และวิญญาณของท่านจักไม่ อาศยั โลกนี้โลกหนา้ ๑๐. ท่านพึงส�ำเนียกว่า จักไม่ยึดถือส่ิงที่ได้เห็น ได้ฟัง ได้ทราบ ได้รู้แจ้ง ได้แสวงหา ได้ตดิ ตามดว้ ยใจ และวญิ ญาณของทา่ นจักไมอ่ าศยั สิง่ นั้น อนาถปิณฑิกคฤหหบดีได้ฟัง ก็ร้องไห้ พระอานนท์จึงถามว่า ท่านยังติดยังอาลัย อยู่หรือ คฤหบดีตอบว่า มิได้ติด มิได้อาลัย แต่ไม่เคยได้ฟังธรรมิกถาอย่างนี้ เมื่อทราบว่า ธรรมิกถาเช่นน้ี ไม่ได้แสดงแก่คฤหัสถ์ผู้นุ่งผ้าขาว แต่แสดงแก่บรรพชิต จึงขอร้อง พระสาริบุตรให้แสดงแก่คฤหัสถ์บ้าง เพราะกุลบุตรที่มีกิเลสน้อยมีอยู่จะเป็นผู้รู้ธรรมะได้ ไม่ได้ฟังก็จะเสื่อมจากธรรมะไป พอพระสาริบุตรและพระอานนท์กลับแล้วไม่นาน อนาถปิณฑิกคฤหบดีก็ถึงแก่กรรมไปเกิดในสวรรค์ช้ันดุสิต แล้วกลับมาปรากฏตน ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค กลา่ วสภุ าษิตและชมเชยพระสาริบุตร ๔๔. ฉันโนวาทสูตร (สูตรว่าด้วยการใหโ้ อวาทพระฉนั นะ) พระผมู้ พี ระภาคประทบั ณ เวฬวุ นาราม ใกลก้ รงุ ราชคฤห์ พระสารบิ ตุ ร พระมหาจนุ ทะ และพระฉันนะ๒ อยทู่ ีเ่ ขาคิชฌกฏู พระฉนั นะไมส่ บาย เป็นไข้หนกั พระสารบิ ตุ รจงึ ชวนพระมหา จนุ ทะไปเยย่ี มถามอาการ พระฉนั นะเลา่ ทกุ ขเวทนากลา้ ใหฟ้ งั และแสดงความจำ� นงจะฆา่ ตวั ตาย พระสาริบตุ รกห็ ้ามไวแ้ ละแสดงธรรมใหฟ้ งั มิใหย้ ดึ ถืออายตนะภายในมีตา เป็นตน้ วิญญาณมี จกั ขุวิญญาณ เปน็ ตน้ อายตนะภายนอกมรี ปู (ทีพ่ งึ รแู้ จง้ ได้ด้วยจกั ขวุ ิญญาณ) เปน็ ตน้ ว่าเป็น ของเรา เราเป็นน้ัน นั่นเป็นตัวตนของเรา เมื่อพระสาริบุตรกับพระมหาจุนทะกลับไปแล้ว ๒๑ โปรดดูค�ำอธิบายหน้า ๑๙๓ ข้อ ๒๑๓ หมายเลข ๗ เมอื่ เสดจ็ ออกบวช - ม.พ.ป. พระฉันนะ คนละรปู กับพระฉนั นะทต่ี ามเสด็จเจา้ ชายสทิ ธตั ถะ PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 692 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค 693 พระฉันนะกฆ็ ่าตัวตาย พระสารบี ุตรไปกราบทลู ถาม พระผมู้ ีพระภาคกต็ รัสตอบโดยใจความว่า ัมช ิฌม ินกาย ผู้ใดละทิง้ กายน้ี ยดึ ถือกายอนื่ เรากลา่ ววา่ มโี ทษ แตภ่ ิกษฉุ ันนะเปน็ ผไู้ มม่ ีโทษ (อรรถกถาแก้ว่า สำ� เรจ็ เปน็ พระอรหันต์พรอ้ มกบั การสิน้ ชีวิต ท่เี รียกว่าสมสสี ี) ๔๕. ปณุ โณวาทสตู ร (สตู รวา่ ด้วยการประทานโอวาทแกพ่ ระปุณณะ) ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม พระปุณณะเข้าไปเฝ้ากราบทูลขอให้ ประทานโอวาท จึงทรงแสดงธรรมสอนให้ไม่เพลิดเพลินยินดีในรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ และธรรมะทนี่ า่ ปรารถนา รกั ใครช่ อบใจ เม่ือดบั ความเพลิดเพลินได้กด็ บั ทุกข์ได้ ๒. พระปุณณะกราบทูลว่า ท่านจักไปอยู่ในชนบทชื่อสุนาปรันตะ พระผู้มีพระภาค ตรัสว่า ชาวสุนาปรันตะดุร้าย ถ้าเขาด่าว่า เธอจะท�ำอย่างไร กราบทูลว่า ข้าพระองค์จักคิดว่า ดา่ ยังดีกว่าท�ำร้ายดว้ ยมอื ตรสั ถามวา่ ถ้าเขาทำ� รา้ ยดว้ ยมอื จะท�ำอยา่ งไร กราบทูลวา่ ยังดกี ว่า ใช้ก้อนดินท�ำร้าย ตรัสถามว่า ถ้าเขาใช้ก้อนดินท�ำร้าย จะท�ำอย่างไร กราบทูลว่า ยังดีกว่าใช้ ท่อนไม้ท�ำร้าย ตรัสถามว่า ถ้าเขาใช้ท่อนไม้ท�ำร้าย จะท�ำอย่างไร กราบทูลว่า ยังดีกว่าท�ำร้าย ด้วยศัสตรา ตรัสถามว่า ถ้าเขาท�ำร้ายด้วยศัสตรา จะท�ำอย่างไร กราบทูลตอบว่า ยังดีกว่าฆ่า ด้วยศัสตราที่คม ตรัสถามว่า ถ้าเขาฆ่าด้วยศัสตราที่คม จะท�ำอย่างไร กราบทูลว่า บุคคล บางคนยงั ต้องหาคนมาฆ่า แต่น่ีดที ไ่ี มต่ อ้ งหา ได้คนที่มาฆ่าให้ ๓. พระผู้มีพระภาคทรงอนุโมทนา และตรัสอนุญาตให้ไปได้ ท่านไปอยู่ในที่นั้น ได้ แสดงธรรมให้มีผู้ประกาศตนเป็นอุบาสก ๕๐๐ คน และท่านเองก็ได้บรรลุวิชชา ๓ (ระลึกชาติ ได้ ทิพยจักษุเห็นสัตว์เกิดตาย ท�ำอาสวะให้สิ้น) ภายในพรรษาน้ัน และได้ปรินิพพานในกาล ตอ่ มา ๔๖. นนั ทโกวาทสูตร (สตู รว่าดว้ ยการให้โอวาทของพระนนั ทกะ) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม พระนางมหาปชาบดี โคตมี พร้อมด้วย นางภิกษุณีทั้งหลายเข้าไปเฝ้ากราบทูลขอให้ประทานโอวาท จึงทรงมอบหมายให้พระนันทกะผู้ ไม่ประสงค์จะให้โอวาทแก่นางภิกษุณี เป็นผู้ท�ำหน้าที่นี้ ท่านจึงไปสอน ให้เห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ (ทนอยูไ่ ม่ได้) ไมใ่ ชต่ ัวตน ของอายตนะภายใน มตี า เป็นตน้ อายตนะภายนอก มีรูป PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 693 5/4/18 2:25 PM

694 พระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ภาค ๔ เป็นต้น วิญญาณ (ความรแู้ จง้ อารมณ์) มจี กั ขุวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางตา) เปน็ ตน้ พรอ้ มดว้ ย ค�ำซักถามให้ตอบด้วยความเห็นจริงของผู้ฟังเอง และพร้อมด้วยค�ำเปรียบเทียบหลายข้อ พระผู้มีพระภาคตรัสชมเชยมาก ๔๗. จูฬราหุโลวาทสตู ร (สูตรวา่ ดว้ ยการประทานโอวาทแก่พระราหลุ สตู รเลก็ ) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสสอนพระราหุลให้เห็นความเป็นของ ไม่เท่ียง เป็นทุกข์ (ทนอยู่ไม่ได้) และไม่ใช่ตัวตนของอายนตะภายใน มีตา เป็นต้น อายตนะ ภายนอกมีรูป เป็นต้น วิญญาณ มีจักขุวิญญาณ (ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยตา) เป็นต้น สัมผัส (ความถูกต้อง) มีจักขุสัมผัส เป็นต้น เวทนา (ความรู้สึกอารมณ์) มีเวทนาท่ีเกิดจาก จกั ขุสัมผัสเป็นปจั จัย เป็นต้น พระราหลุ ก็มจี ติ หลุดพน้ จากอาสวะไมถ่ ือมนั่ ด้วยอปุ าทาน ๔๘. ฉฉกั กสตู ร (สตู รวา่ ดว้ ยธรรมะหมวด ๖ รวม ๖ ข้อ) พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสสอนภิกษุทั้งหลายถึงธรรมะหมวด ๖ รวม ๖ ข้อ คือ ๑. อายตนะภายใน ๖ มตี า เป็นตน้ ๒. อายตนะภายนอก ๖ มรี ปู เป็นตน้ ๓. วญิ ญาณกาย (หมวดวญิ ญาณ) ๖ มีจกั ขุวญิ ญาณ เป็นตน้ ๔. ผัสสกาย (หมวดความถกู ต้อง) ๖ มีจักขุสมั ผสั เปน็ ตน้ ๕. เวทนากาย (หมวดเวทนาคอื ความรู้สกึ อารมณ)์ ๖ มเี วทนาท่เี กดิ เพราะจักขสุ ัมผัส เปน็ ปัจจยั เปน็ ต้น ๖. ตณั หากาย (หมวดตณั หา ความทะยานอยาก) ๖ มตี ณั หาทเี่ กดิ จากเวทนาอนั เนอื่ ง มาแตจ่ กั ขสุ มั ผัสเปน็ ปจั จยั เป็นต้น พร้อมทั้งตรัสสอนให้เห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของส่ิงเหล่าน้ัน เม่ือจบ พระธรรมเทศนา ภิกษุประมาณ ๖๐ รูป มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน (เปน็ พระอรหนั ต์) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 694 5/4/18 2:25 PM

สุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค 695 ๔๙. สฬายตนวิภังคสตู ร ัมช ิฌม ินกาย (สตู รว่าดว้ ยการแจกอายตนะ ๖) ๑. พระผมู้ ีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ทรงแสดงธรรมช่อื วา่ ”มหาสฬายตนกิ ะ„ (ธรรมที่เก่ียวด้วยอายตนะ ๖ อย่างพิสดาร) โดยทรงแสดงว่า เม่ือไม่รู้ไม่เห็นธรรม ๖ หมวด ด่ังที่ทรงแสดงในฉฉักกสูตร (ก่อนหน้าสูตรนี้สูตรเดียว) ตามเป็นจริง ความล�ำบาก เดือดร้อน กระวนกระวาย ทั้งทางกายและทางจิตก็จะเจริญข้ึน ผู้ไม่รู้นั้น ย่อมได้เสวยท้ังทุกข์กาย ทุกข์ใจ แล้วทรงแสดงให้เห็นว่า ถ้ารู้เห็นตามเป็นจริง ไม่ก�ำหนัดยินดี ก็จะช่ือว่าท�ำมรรค มอี งค์ ๘ ให้บรบิ ณู ์ เมอื่ ทำ� ได้อย่างนัน้ กจ็ ะชือ่ วา่ ท�ำธรรมะอ่ืน (ในโพธิปกั ขิยธรรม ดหู น้า ๔๕๙ เสด็จป่ามหาวันประชุมภิกษสุ งฆ)์ ใหบ้ รบิ รู ณ์ดว้ ย ๒. คร้ันแล้วทรงแสดงธรรมะท่เี ทียมคู่ คอื สมถะ (การท�ำใจให้สงบ) และวปิ สั สนา (การท�ำปัญญาให้เห็นแจ้ง) และแสดง ธรรมท่คี วรกำ� หนดรู้ คือ ขนั ธ์ ๕ ธรรมท่คี วรละ คอื อวชิ ชา (ความไม่รอู้ ริยสัจจ์ ๔) และ ภวตัณหา (ความอยากเป็นน่นั เป็นน)ี่ ธรรมท่คี วรเจริญ คอื สมถะและวิปสั สนา ธรรมทคี่ วรทำ� ใหแ้ จ้ง คือ วชิ ชา (ความรูอ้ รยิ สัจจ์ ๔) และ วิมตุ ิ (ความหลดุ พน้ ) ๕๐. นครวนิ เทยยสูตร (สูตรวา่ ดว้ ยพราหมณค์ ฤหบดชี าวบ้านนครวินทะ) ๑. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นโกศล พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสดจ็ แวะพกั ณ หมู่บ้านพราหมณแ์ ควน้ โกศลชอื่ นครวินทะ ตรสั แสดงธรรมแก่พราหมคฤหบดี เหล่านั้น ผู้มาเฝ้าว่า ถ้านักบวชลัทธิอ่ืนถามท่านว่า สมณพราหมณ์เช่นไร ไม่ควรสักการะ เคารพนับถือบูชา กพ็ ึงตอบว่า ได้แก่สมณพราหมณพ์ วกทย่ี งั ไมป่ ราศจาก ราคะ (ความกำ� หนดั ยินดี) โทสะ (ความคิดประทษุ ร้าย) โมหะ (ความหลง) PTF-MRF new09. PART 4 ����������� ��� � p.403-964 OK.indd 695 5/4/18 2:25 PM


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook