Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-08-คู่มื่อครู ภาษาไทย ป.5.-3

64-08-08-คู่มื่อครู ภาษาไทย ป.5.-3

Published by elibraryraja33, 2021-08-08 08:54:45

Description: 64-08-08-คู่มื่อครู ภาษาไทย ป.5.-3

Search

Read the Text Version

๘๓๑ รู้ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 รอ่ื ง วิชาเหมือนสนิ ค้า จานวน 10 ชว่ั โมง งกาพย์ยานี 11 (2) จานวน 1 ชั่วโมง แนวการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมิน รู กจิ กรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ ร้อยกรอง 1. นักเรียนรว่ มกนั อา่ นบท - กาพยย์ านี 11 านี 11 รอ้ ยกรอง เร่อื ง การแตง่ กาพย์ ยานี 11 ดังคากาพยท์ ว่ี า่ นา กาพยย์ านีลานา คลาย สบิ เอด็ คาจาอย่าคลาย มาย วรรคหนา้ หา้ คาหมาย สดง วรรคหลงั หกยกแสดง ครุลหุนน้ั วง ไม่สาคญั อย่าระแวง สมั ผสั ต้องจดั แจง ใหถ้ ูกตอ้ งตามวิธี าพย์ยานี 2. นกั เรยี นร่วมกันทบทวน - คาถาม - สงั เกตการตอบ ชัว่ โมงที่ เรือ่ ง กาพยย์ านี 11 จาก อยู่ในสื่อ PPT คาถามของ กการแต่ง การเรียนในช่ัวโมงท่ีแลว้ และ นกั เรยี น ตอบคาถาม

๘๓๒ คู่มอื ลาดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ กิจกรรมคร 2. ขั้นสอน 3. จากนั้นครูพูดแสด ความคดิ เห็นสรปุ ทา้ ย เขา้ สูบ่ ทเรียน 10 1. ครูกาหนดให้นกั เร นาที กลมุ่ คดิ หัวเร่ืองทส่ี นใจ แตง่ กาพยย์ านี 11 แล วางแผนการแต่งกาพย 11 โดยกาหนดโครงเ คร่าว ๆ พอสังเขป จา รว่ มกนั แสดงความคดิ ร่างการแตง่ กาพย์ยาน 2. ครู : นกั เรียนได้หัว กนั บ้าง 3. 2. แต่งกาพยย์ านี 11 ขัน้ ปฏบิ ัติ 30 3. ครูแสดงความคิดเห ตามหวั ข้อทส่ี นใจได้ นาที เก่ียวกบั หัวขอ้ เรอื่ งเพ 3. เหน็ คณุ ค่าและ ความไพเราะของ และให้นักเรยี นลงมอื แ กาพยย์ านี 11 กาพยย์ านี 11 ตามห สนใจ

อครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมิน รู กจิ กรรมนักเรียน การเรยี นรู้ ดง 3. นักเรียนเขา้ สบู่ ทเรยี น ยแล้ว พร้อมกัน 1. ประเมนิ การอภปิ ราย รยี นจบั 1. นักเรยี นจับกลุ่มสนทนาคิด หลกั การ จ เพอ่ื หวั เรอ่ื งทส่ี นใจ เพอื่ แต่งกาพย์ ละ ยานี 11 และวางแผนการแตง่ ย์ยานี กาพยย์ านี 11 โดยกาหนด เรือ่ งอย่าง โครงเรอ่ื งอยา่ งคร่าว ๆ พอ ากนน้ั สงั เขป จากนัน้ ร่วมกนั แสดง ดเหน็ ยก ความคิด เหน็ ยกร่างการแตง่ นี ๑๑ กาพยย์ านี ๑๑ วขอ้ อะไร 2. นักเรยี น : เช่น ดอกไม้ ธรรมชาติ บา้ นในฝัน ครอบครวั ของเรา ฯลฯ เห็น 3. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ลงมอื - คาถาม - สงั เกตการตอบ พมิ่ เตมิ แตง่ กาพยย์ านี 11 โดยดใู บ คาถามของ แต่ง ความรู้ที่ 10 นักเรยี น หวั ข้อที่

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรอ่ื ง วชิ าเหมอื นสนิ คา้ ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขนั้ ตอนการจดั เวลา แ ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กิจกรรมคร (ครขู ้นึ กจิ กรรมในจอ วา่ : นกั เรียนทาใบงา การแต่งกาพย์ยานี 11 ๔. ครเู ดินดกู ารทางาน นกั เรียนและให้คาแนะ ขอ้ เสนอแนะสาหรบั ก กาพย์ยานี 11 4. ขน้ั สรุป 5 1. ครูมอบหมายให้น นาที ละกลมุ่ วาดภาพประก ทีแ่ ตง่ แล้วนามาสง่ เพ นิทรรศการผลงานกา บทรอ้ ยกรอง ทีป่ ้ายน ห้องเรยี น

๘๓๓ แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมิน รู กิจกรรมนกั เรียน การเรียนรู้ PPT (นักเรยี นทั้งตน้ ทาง/ปลายทาง - ใบความรทู้ ี่ 10 2. ตรวจใบงาน านท่ี 10 แตง่ กาพยย์ านี 11) พร้อมกัน 3. สังเกต 1) พฤตกิ รรม ของนักเรยี น นของ ะนาและ การแต่ง นกั เรียนแต่ 1. นกั เรยี นชว่ ยกนั สรุปความรู้ - สือ่ PPT - สังเกตการตอบ กอบเร่อื ง และประโยชน์เรื่อง การแต่ง คาถามของ พื่อจัด กาพย์ยานี 11 นักเรยี น ารเขยี น นเิ ทศหนา้

834 คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) 8. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้ 1. ใบความรู้ที่ 10 เร่อื ง การแตง่ กาพย์ยานี 11 2. ใบงานท่ี 10 เร่ือง การแตง่ กาพยย์ านี 11 3. สื่อ PPT เร่ือง การแตง่ กาพย์ยานี 11 4. ตวั อยา่ งกาพย์ยานี 11 5. แผนผงั กาพยย์ านี 11 9. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน - ใบงานท่ี 10 เรอ่ื ง การแตง่ กาพยย์ านี 11 สง่ิ ทต่ี ้องการวดั / ประเมนิ วธิ ีการ เครอื่ งมือท่ใี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) ร้อยละ ๖๐ - บอกหลกั การแตง่ กาพยย์ านี - พิจารณาจากการตอบ - คาถาม/ใบงาน 11 คาถามของนกั เรียน ขึ้นไป ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P) - แตง่ กาพย์ยานี 11 ตามหัวข้อท่ี - ตรวจใบงานที่ 10 - แบบประเมินการแตง่ ร้อยละ ๖๐ สนใจ เร่อื ง การแต่งกาพยย์ านี กาพย์ยานี 11 ขน้ึ ไป 11 ดา้ นคุณลักษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) - เหน็ คณุ คา่ และความไพเราะ - สังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี น - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม รอ้ ยละ ๖๐ ของกาพย์ยานี 11 ของนกั เรยี น ข้ึนไป คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ระดับคุณภาพ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มุ่งม่ันในการทางาน อันพงึ ประสงค์ ผ่าน 3. รกั ความเป็นไทย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ระดบั คณุ ภาพ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร - สังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน - แบบประเมนิ 2. ความสามารถในการคิด สมรรถนะสาคัญของ ผา่ น 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะ ผเู้ รยี น ชวี ิต

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๕ เรือ่ ง วชิ าเหมอื นสนิ ค้า 835 เกณฑ์ประเมนิ : การทาใบงานที่ 10 การแตง่ กาพย์ยานี 11 รายการ ระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน ประเมนิ 1. รปู แบบ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) ฉนั ทลกั ษณ์ รปู แบบฉนั ทลกั ษณ์ รูปแบบฉนั ทลกั ษณ์ 2. เน้ือหาสาระ ถูกตอ้ ง ดีมาก รูปแบบฉนั ทลักษณ์ รูปแบบฉนั ทลกั ษณ์ ไม่ถูกต้อง ท่นี าเสนอ ถูกตอ้ งเป็นส่วนมาก ถูกต้องเพยี ง เน้ือหาสาระท่ี บางส่วน เน้อื หาสาระท่ี 3. ความไพเราะ นาเสนอถูกตอ้ ง นาเสนอ สาระไม่ ของการเลน่ คา ครบถ้วน เนอ้ื หาสาระที่ เนื้อหาสาระท่ี ชัดเจน การเล่นอักษร ความไพเราะ นาเสนอ มีสาระอยู่ นาเสนอ มสี าระ ขาดความไพเราะ และการเลน่ สระ การเล่นคา เลน่ ในเกณฑ์ดี ไมม่ ีการเลน่ คา อกั ษร เลน่ สระ อยใู่ นเกณฑ์พอใช้ เลน่ อกั ษร หรือเลน่ 4. การเสนอ อย่างใดอยา่ งหนง่ึ สระ ขาดสมั ผสั แนวความคดิ อยู่ในระดบั ดมี าก ความไพเราะ ความไพเราะ ในวรรค การเลน่ คา เลน่ การเลน่ คา เลน่ การเสนอ 5. การเขยี น อกั ษร เลน่ สระ อักษร เลน่ สระ แนวความคิด สะกดคา อย่างใดอยา่ งหนงึ่ อย่างใดอยา่ งหนง่ึ ไมน่ ่าสนใจ อยใู่ นระดับดี อยใู่ นระดบั พอใช้ ไม่มคี วามคดิ ใหม่ เขยี นสะกดคาตาม การเสนอ การเสนอ การเสนอ พจนานุกรม มีผดิ แนวความคดิ โดด แนวความคดิ แนวความคดิ มากกว่า ๔ คา เด่น แปลกใหม่ ค่อนข้างโดดเดน่ ไมโ่ ดดเดน่ เขยี นสะกดคา เขยี นสะกดคาตาม เขยี นสะกดคาตาม ถูกต้องตาม พจนานกุ รม พจนานุกรม พจนานกุ รมทกุ คา ผดิ 1-2 คา ผดิ ๓-๔ คา หมายเหตุ : คา่ นา้ หนักข้อละ ๕ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ ๑8-๒๐ ดมี าก 15-๑7 ดี ๑2-๑4 พอใช้ ต่ากว่า 12 ปรับปรงุ เกณฑก์ ารตดั สิน : ผา่ นเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๖๐ ขนึ้ ไป (ต้องไดร้ ะดับพอใชข้ ึ้นไป)

836 คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แบบประเมินการทาใบงานท่ี 10 การแตง่ กาพย์ยานี 11 คาชี้แจง ให้ครูผสู้ อนประเมนิ การทากจิ กรรม/ใบงาน โดยเขียนคะแนน ลงในชอ่ งทก่ี าหนดให้ถกู ตอ้ ง ลาดับ ช่อื - สกุล คะแนน คิดเป็น สรปุ ผล ท่ี ท่ไี ด้ ร้อยละ การประเมิน ๒๐ คะแนน ๑๐๐ ผ่าน ไมผ่ า่ น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ รวม (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ ผลการประเมนิ  ดีมาก ..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ...............  ดี ..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ................  พอใช้ ..........คน คดิ เปน็ ร้อยละ...............  ปรับปรงุ .........คน คิดเป็นร้อยละ................ สรปุ ผลการประเมนิ รายชั้นเรยี น  นกั เรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จานวน......................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.........................  นักเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน จานวน......................... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ......................... ลงชื่อ.................................................ผปู้ ระเมนิ (..............................................) ........../..................../..........

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ เร่อื ง วชิ าเหมอื นสินคา้ 837 10. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อจากัดการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................ผสู้ อน (.......................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผ้ทู ี่ไดร้ ับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ...................................................... ผตู้ รวจ (.......................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

838 คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ใบความรู้ที่ 10 เรอ่ื ง การแตง่ กาพยย์ านี 11 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง วชิ าเหมอื นสนิ ค้า แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 10 เร่ือง การแต่งกาพย์ยานี 11 (2) รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ คาํ คลอ้ งจอง คือ คําทีม่ เี สยี งรบั สัมผสั กนั ลกั ษณะคาํ คล้องจอง มดี ังน้ี ๑. สระเดยี วกัน เชน่ กา – นา เรา – เขา ใจ – ใส เสือ – เรือ ๒. สระเดยี วกนั และมีมาตราตวั สะกดเดยี วกนั เชน่ กิน – ดนิ ลม – จม ขาว – สาว ตวั อยา่ งคําคลอ้ งจอง มาลี สีสวย รวยรนิ กลิ่นหอม กาพยย์ านี ๑๑ เปน็ บทร้อยกรองชนดิ หนง่ึ มขี ้อกําหนดในการแตง่ ดังน้ี จาํ นวนคํา บทหนึ่ง มี ๒ บาท แต่ละบาทมี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คาํ วรรคหลัง ๖ คาํ การสัมผสั - คาํ สดุ ทา้ ยของวรรคท่ี ๑ ตอ้ งสมั ผัสกับคําท่ี ๓ ของวรรคที่ ๒ - คาํ สุดท้ายของวรรคท่ี ๒ ตอ้ งสัมผัสกับคาํ สดุ ทา้ ย ของวรรคที่ ๓ - คําสดุ ท้ายของวรรคท่ี ๓ อาจสัมผสั กบั คาํ ท่ี ๑ หรือคาํ ท่ี ๓ ของวรรคท่ี ๔ หรอื ไม่ มสี ัมผสั ก็ได้ - หากจะเขยี นบทต่อไป ให้คาํ สดุ ทา้ ยของวรรคท่ี ๔ ในบทหนา้ สมั ผสั กับคาํ สุดทา้ ย วรรคท่ี ๒ ในบทตอ่ ไป แผนผังกาพยย์ านี ๑๑ (จํานวน ๒ บท) บทท่ี ๑  บทที่ ๒ 

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๕ เร่อื ง วิชาเหมือนสินคา้ 839 ตวั อยา่ ง กาพยย์ านี ๑๑ มวลผู้ชปู รชี า เสาะวทิ ยาไมห่ ่างเหิน ผดิ ชอบกอบไม่เกิน รู้ดําเนินตามเหตผุ ล ชื่อว่าปรชี าดี ผดิ ชอบมีพิจารณย์ ล ผู้น้นั จกั พลนั ดล พพิ ฒั น์พ้นจกั พรรณนา ประพันธโ์ ดย พระยาอปุ กติ ศิลปสาร (นม่ิ กาญจนาชวี ะ) เร่อื ง หน้าทีเ่ ริ่มจากตน ชวี ติ จะมคี ่า เมอ่ื เกิดมาทําหนา้ ที่ สรา้ งสขุ ประโยชน์มี เป็นศักด์ิศรที ุกเวลา ต้องรีบเร่งการศึกษา หน้าทตี่ ่อตนเอง สร้างปญั ญาวชิ าชาญ รกั เรียนเพยี รคน้ คว้า จากหนังสอื เรียนภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ชุดพ้นื ฐานภาษา เล่ม ๒ เรื่อง เตือนตัวเอง ลมื ตาเวลาเชา้ เตอื นตวั เราก่อนอื่นใด ทําจิตให้แจ่มใส ตั้งสติมใิ หลหลง ต้องคิดสอู้ ย่างวยงง งานหนักรอเราอยู่ คงจักเสรจ็ สําเรจ็ การ มงุ่ มั่นปญั ญายง ฐะปะนีย์ นาครทรรพ. ๒๕๕๓. วรรณศลิ ปใ์ นดวงใจ ภาษาไทยทร่ี กั . กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทอมรินทร์พร้ินต้ิงแอนด์พบั ลชิ ช่ิง จาํ กัด (มหาชน)

840 คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ตวั อย่าง กาพย์ยานี ๑๑ วิชาเหมอื นสินค้า วิชาเหมอื นสินคา้ อันมีคา่ อยเู่ มืองไกล ต้องยากลาบากไป จึงจะได้สินค้ามา จงต้ังเอากายเจ้า เปน็ สาเภาอนั โสภา ความเพียรเป็นโยธา แขนซ้ายขวาเป็นเสาใบ น้ิวเปน็ สายระยาง สองเท้าตา่ งสมอใหญ่ ปากเป็นนายงานไป อัชฌาสยั เป็นเสบยี ง สตเิ ป็นหางเสือ ถือท้ายเรือไว้ให้เทย่ี ง ถอื ไว้อย่าให้เอียง ตัดแล่นเลย่ี งขา้ มคงคา ปัญญาเปน็ กล้องแก้ว ส่องดูแถวแนวหนิ ผา เจ้าจงเอาหตู า เปน็ ลา้ ตา้ ฟงั ดูลม ข้ีเกียจคอื ปลาร้าย จะทาลายใหเ้ รือจม เอาใจเปน็ ปนื คม ยงิ ระดมใหจ้ มไป จึงจะได้สนิ คา้ มา คือวชิ าอนั พิสมัย จงหม่นั ม่ันหมายใจ อยา่ ได้ครา้ นการวิชา จากหนงั สือเรยี นวรรณกรรม ชั้น ป.5 หน้า 43

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ เร่ือง วิชาเหมอื นสนิ คา้ 841 ใบงานที่ 10 เร่ือง การแตง่ กาพย์ยานี 11 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 เรอื่ ง วชิ าเหมือนสินค้า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง การแต่งกาพยย์ านี 11 (2) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ คาช้ีแจง ให้นักเรยี นจบั กล่มุ ช่วยกันแต่งกาพย์ยานี 11 ตามหัวข้อทส่ี นใจ จานวน 2 บท เร่อื ง ชื่อ.....................................................นามสกุล...............................................ช้ัน.................เลขท.่ี ..............

842 คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แบบประเมินตนเอง ชอื่ : ____________________ สกลุ : __________________วนั ____ เดอื น_________พ.ศ. ____ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี___๕___เรอื่ ง วชิ าเหมอื นสนิ ค้า ๑. ประเมินการเรียนรู้ของตนเอง กาเครื่องหมาย  ในช่องระดับความสามารถของแต่ละกิจกรรมที่นักเรียนคิดว่าทาได้ตามระดับ การประเมนิ เหล่านี้ ระดบั ความสามารถ : ดมี าก คอ่ นขา้ งดี ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ที่ รายการ ระดบั ความสามารถ ดีมาก คอ่ น ดี พอใช้ ปรับปรงุ ข้างดี ๑ อา่ นกาพยย์ านี 11 เปน็ ทานองเสนาะได้ ๒ วิเคราะหค์ ุณค่าและข้อคิดจากเรอื่ ง วิชาเหมอื นสินค้าได้ ๓ แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เห็นจากเร่ืองท่อี า่ นได้ ๔ ใชส้ านวนเปรียบเทยี บได้ถูกตอ้ ง ๕ แตง่ กาพย์ยานี 11 ได้ 2. สิง่ ทฉ่ี นั ยังไม่เขา้ ใจ / ยังทาไดไ้ ม่ดี คือ…… (สามารถเขียนได้มากกว่า 1 อย่าง) ……………………………………………................................................................................................ .................................................................................................................................................. ..............…………………………………………….................................................................................. .................................................................................................................................................. 3. สง่ิ ทฉ่ี ันตง้ั ใจจะทาใหด้ ขี ้นึ ในการเรียนหน่วยตอ่ ไป (สามารถเขยี นได้มากกว่า 1 อย่าง) ……………………………………………................................................................................................ .................................................................................................................................................. ..............…………………………………………….................................................................................. ..................................................................................................................................................

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๖ เร่อื ง นทิ านอา่ นสนกุ ๘๔๓ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๖ เรอื่ ง นิทานอ่านสนุก

๘๔๔ คูม่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๖ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ นิทานอ่านสนกุ รหัสวชิ า ท๑๕๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖ เวลา ๑๑ ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี ดั สาระที่ ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพอื่ นาไปใชต้ ดั สินใจ แก้ปญั หาในการดาเนนิ ชวี ิต และมนี สิ ัยรักการอา่ น ตัวชว้ี ัด ป.๕/๗ อ่านหนงั สอื ท่ีมคี ุณคา่ ตามความสนใจอยา่ งสมา่ เสมอและแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับเร่ืองที่อ่าน ป.๕/๘ มีมารยาทในการอ่าน สาระที่ ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสอื่ สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวในรปู แบบ ต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชีว้ ดั ป.๕/๔ เขยี นย่อความจากเร่อื งท่อี ่าน ป.๕/๘ เขยี นเร่อื งตามจนิ ตนาการ ป.๕/๙ มีมารยาทในการเขยี น สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังขอ ภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ ตวั ชี้วัด ป.๕/๕ บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ ตัวชี้วัด ป.๕/๑ สรุปเรื่องจากวรรณคดหี รอื วรรณกรรมท่ีอา่ น ป.๕/๒ ระบุความรูแ้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่สามารถนาไปใช้ในชวี ิตจรงิ ป.๕/๓ อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ๒. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด ๑. นิทานเป็นเรื่องเล่าสืบต่อกันมามีอยู่ในทุกชาติทุกภาษา นิทานท่ีเล่ากันในกลุ่มประเทศอาเซียน เรียกวา่ นทิ านอาเซยี น และการเลือกอา่ นหนงั สือเหลา่ น้ี ตอ้ งเลอื กใหเ้ หมาะสมกับความต้องการและวยั จึงจะ ทาให้ได้รับคณุ คา่ สามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ย่างแท้จริง

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๖ เร่ือง นิทานอา่ นสนกุ ๘๔๕ ๒. การเขียนยอ่ ความเปน็ การนาใจความสาคญั ของเรือ่ งมาเรียบเรยี งโดยใชส้ านวนของผูเ้ ขียน เพือ่ ให้ เข้าใจเรื่องทีต่ ้องการสื่อสารไดง้ ่ายยิง่ ขึ้นการเขียนย่อความสามารถนามาใชใ้ นการเรียนและชีวติ ประจาวันได้ จงึ ควรฝกึ ฝนให้คล่องแคลว่ ๓. การเขียนเรื่องตามจินตนาการ เป็นการเขียนเร่ืองราวที่เกิดจากความคิดคานึง ความคิดฝัน การเขียนเรื่องตามจินตนาการท่ีดตี ้องหม่ันฝึกคิด ฝึกสงั เกต และมีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ และมีมารยาทใน การเขยี น ๔. คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยมีจานวนมาก การรู้จักความหมายของคา ทาให้นาไปใช้ใน การติดตอ่ สื่อสารในชีวิตประจาวนั ได้ถกู ตอ้ ง ๕. นิทานพ้ืนบ้าน เป็นเรื่องเล่าสืบต่อกันมาในท้องถิ่นท่ีสมมุติขึ้น การอ่านนิทานพื้นบ้านทาให้เกิด ความสนุกสนานเพลดิ เพลิน เสรมิ สร้างจินตนาการ ไดข้ ้อคิด คตสิ อนใจทส่ี ามารถนาไปใช้ในชีวติ จรงิ ๖. นิทานท้องถิ่น เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่า แสดงให้เห็นวถิ ีชีวิต ความคิด ความเชื่อ สภาพ สังคมและภมู ปิ ัญญาไทย ๗. การสรุปเร่ือง เป็นการนาความคดิ หลักหรอื ประเดน็ สาคญั ของเรื่องมากลา่ วให้เห็นเดน่ ชัด พดู หรือ เขียนเป็นประโยคสัน้ ๆ ทไี่ ดใ้ จความชัดเจน เป็นการสรปุ เรอ่ื งทอี่ ่าน และจบั ใจความสาคัญของเรือ่ ง ๘. การวิเคราะห์คุณค่าของบทร้อยกรอง ผู้อ่านควรรู้จักพิจารณา วิเคราะห์คุณค่า ข้อคิดและ ประโยชน์ในการนาไปใช้ในชีวิต โดยต้องศกึ ษาเนื้อเรื่องใหเ้ ข้าใจ ซึ่งเปน็ การพฒั นาความรู้ ความคิดในระดับที่ สงู ข้ึน ๙. บทอาขยานเป็นบทร้อยกรองที่มีความไพเราะ มีคุณค่าและให้ข้อคิดท่ีดี ควรหม่ันท่องจาให้ คลอ่ งแคล่ว เพ่อื นาไปใช้อ้างอิงและเปน็ การอนรุ กั ษ์บทรอ้ ยกรอง ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ๑. บอกลักษณะของนทิ านพื้นบ้านได้ ๒. บอกลกั ษณะของนทิ านท้องถ่นิ ได้ ๓. บอกลักษณะของนทิ านอาเซียนได้ ๔. บอกหลกั การสรปุ เรือ่ งจากวรรณคดี และวรรณกรรมท่อี า่ นได้ ๕. บอกหลักการเขยี นย่อความได้ ๖. บอกความสาคัญของการเขยี นย่อความได้ ๗. บอกหลักการเขียนเรอื่ งตามจนิ ตนาการได้ ๘. อธิบายความหมายของบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ณุ คา่ ตามความสนใจได้ ๙. บอกหลักการวิเคราะห์คณุ ค่าและข้อคิดจากบทรอ้ ยกรองได้ ๑๐. บอกลักษณะของคาทีม่ าจากภาษาต่างประเทศได้ ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. เขยี นสรปุ ความรู้และข้อคิดจากนทิ านพืน้ บ้านท่อี ่านได้ ๒. เขยี นอธบิ ายคุณคา่ ของนิทานท้องถ่ินได้ ๓. เขยี นสรุปความรแู้ ละขอ้ คดิ ของนิทานอาเซียนทอี่ ่านและแนวทางการนาไปใชไ้ ด้ ๔. เขียนสรปุ เร่ืองจากวรรณคดี และวรรณกรรมทีอ่ ่านได้ ๕. เขยี นสรปุ หลกั การเขียนยอ่ ความได้ ๖. เขยี นยอ่ ความจากเรือ่ งท่อี ่านได้

๘๔๖ ค่มู อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ๗. เขยี นสรปุ หลกั การเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการได้ ๘. เขียนเรอื่ งตามจนิ ตนาการได้ ๙. เขียนสรปุ ความรู้และข้อคดิ จากบทร้อยกรองทมี่ ีคุณค่าได้ ๑๐. วเิ คราะหแ์ ละเขยี นอธิบายคณุ คา่ และข้อคดิ จากบทรอ้ ยกรองได้ ๑๑. จาแนกคาภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทยได้ เจตคติ ๑. มมี ารยาทในการอ่าน ๒. มีมารยาทในการเขียน ๔. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุง่ มั่นในการทางาน ๓. รักความเป็นไทย ๖. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน ๑. ใบงานที่ ๑ การอา่ นนทิ านพน้ื บา้ น ๒. ใบงานท่ี ๒ การอา่ นนิทานทอ้ งถิ่น ๓. ใบงานที่ ๓ การอา่ นนทิ านอาเซยี น ๔. ใบงานท่ี 4 การสรปุ เรื่องจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ๕. ใบงานที่ ๕ หลักการเขียนยอ่ ความ ๖. ใบงานที่ ๖ การเขียนย่อความจากเรือ่ งท่ีอ่าน ๗. ใบงานท่ี ๗ หลกั การเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ ๘. ใบงานท่ี ๘ การเขยี นเรือ่ งตามจินตนาการ ๙. ใบงานท่ี ๙ บทร้อยกรองทม่ี ีคุณคา่ ๑๐. ใบงานที่ ๑๐ การวเิ คราะหค์ ณุ ค่าและขอ้ คดิ จากบทรอ้ ยกรอง ๑๑. ใบงานที่ 11 คาทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๖ เร่อื ง นทิ านอ่านสนกุ ๘๔๗ เกณฑก์ ารประเมินการวิเคราะห์ สรปุ ความรู้ คุณค่าและขอ้ คดิ จากการอา่ นนิทาน ประเด็น ระดบั คุณภาพ การประเมนิ ๔ (ดีมาก) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) สรปุ ความรู้ได้ ๑. การสรุปความรู้ สรปุ ความร้ไู ด้ สรปุ ความร้ไู ด้ สรปุ ความรไู้ ด้ ตรงประเด็นและ ตรงประเด็นและ ตรงประเด็นและ ตรงประเด็นและ ไมต่ รงประเดน็ ถูกตอ้ งตามเนอื้ หา ถูกต้องเป็นสว่ น ถูกต้องเปน็ เพียง เทา่ ท่คี วร ของเรอื่ งทอ่ี า่ น ใหญ่ บางสว่ น อธิบายข้อคดิ อธบิ ายข้อคดิ อธิบายขอ้ คิด และสรปุ เรอื่ งได้ ๒. การอธิบาย อธบิ ายขอ้ คิด และ และสรุปเรอื่ งไดต้ รง และสรุปเรอ่ื งได้ น้อยมากและ ขอ้ คดิ และ สรปุ เรือ่ งไดต้ รง ประเด็นและถกู ตอ้ ง ตรงประเด็นและ ไม่ตรงประเด็น การสรุปเรอื่ ง ประเดน็ และถูกตอ้ ง เปน็ ส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นเพียง เทา่ ท่ีควร ทัง้ หมดตามเน้ือหา สามารถนาขอ้ คดิ ของเรอื่ งทอี่ า่ น บางส่วน ท่ีไดไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวิตประจาวนั ได้ ๓. การนาข้อคดิ สามารถนาข้อคดิ สามารถนาข้อคดิ สามารถนาขอ้ คิด นอ้ ยมาก ไปใช้ใน ทไ่ี ดไ้ ปประยกุ ต์ใช้ ท่ไี ด้ไปประยกุ ตใ์ ช้ ทีไ่ ดไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ ชวี ติ ประจาวนั ในชวี ิตประจาวันได้ ในชีวติ ประจาวันได้ ในชีวิตประจาวันได้ อธบิ ายคณุ ค่า อย่างถูกต้องและ อยา่ งเหมาะสม เป็นเพยี งบางสว่ น ไดน้ อ้ ยมากและ เหมาะสม ไมต่ รงประเด็น เทา่ ที่ควร ๔. การอธบิ าย อธิบายคุณคา่ อธบิ ายคณุ คา่ อธิบายคณุ ค่า คณุ ค่า ไดต้ รงประเด็น ไดต้ รงประเดน็ ไดต้ รงประเด็น สามารถคิด และถูกตอ้ งท้ังหมด และถกู ตอ้ ง และถกู ตอ้ ง วเิ คราะห์ได้อย่าง ตามเนื้อหาของเรอื่ ง เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ เพียงบางส่วน สรา้ งสรรคน์ ้อยมาก ทอ่ี า่ น ๕. การคดิ สามารถคิด สามารถคิด สามารถคดิ วเิ คราะห์ วเิ คราะหไ์ ดอ้ ยา่ ง วิเคราะหไ์ ดอ้ ยา่ ง วเิ คราะห์ไดอ้ ย่าง สรา้ งสรรค์ใน สร้างสรรคไ์ ด้ สรา้ งสรรค์ได้ ด้านบวกไดท้ ้ังหมด เป็นส่วนใหญ่ เพยี งบางส่วน เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๗-๒๐ ดีมาก ๑๓-๑๖ ดี ๑๐-๑๒ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารตดั สิน : ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ขึน้ ไป

๘๔๘ คูม่ ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) เกณฑ์การประเมนิ การอธิบายคุณคา่ และสรปุ ข้อคดิ จากวรรณคดแี ละวรรณกรรม ประเด็น ๔ (ดีมาก) ระดับคุณภาพ ๑ (ปรับปรุง) การประเมนิ ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) การวิเคราะห์ - อธบิ ายคุณค่า ขาดองคป์ ระกอบไป ขาดองค์ประกอบ ขาดองค์ประกอบ คณุ คา่ และสรปุ ด้านวรรณศลิ ปไ์ ด้ ๑ องคป์ ระกอบ ไป ๒ องคป์ ระกอบ ไป ๓ องค์ประกอบ ขอ้ คิด - อธิบายคณุ ค่าดา้ น จากเรอื่ งที่อ่าน เน้ือหาสาระได้ ไปใช้ในชวี ิต - อธิบายคณุ คา่ คุณคา่ ด้านสังคม และวฒั นธรรมได้ - อธิบายการ นาความรู้ ขอ้ คิด และคุณคา่ ทไ่ี ดร้ บั จากเรือ่ งทอี่ า่ นไปใช้ ในการดาเนนิ ชีวติ ได้ เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๗-๒๐ ดมี าก ๑๓-๑๖ ดี ๑๐-๑๒ พอใช้ ต่ากวา่ ๑๐ ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารตัดสิน : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ข้นึ ไป

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๖ เรอ่ื ง นิทานอา่ นสนกุ ๘๔๙ เกณฑ์การประเมินการเขยี นยอ่ ความ ประเดน็ ๔ (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ ๑ (ปรับปรุง) การประเมิน ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) การเขยี นยอ่ ความ - เขียนรูปแบบ - เขยี นรปู แบบ - เขยี นรูปแบบ - เขยี นย่อความ การเขียนย่อความ การเขียนยอ่ ความ การเขียนยอ่ ความได้ ถูกต้องตาม ไดถ้ ูกตอ้ ง ได้ถกู ตอ้ ง ถูกต้อง รปู แบบ แต่เปน็ - สรปุ ใจความสาคัญ - สรุปใจความสาคญั - สรุปใจความสาคัญ การคดั ลอก จากเร่อื งไดค้ รบถ้วน จากเร่อื งได้ครบถ้วน จากเรอื่ งได้ครบถว้ น ขอ้ ความมา ชดั เจน โดยใช้ภาษาของ แต่ขอ้ ความทน่ี ามา ทง้ั หมด - ใช้ภาษาของ ผู้ย่อความเองเปน็ ยอ่ ความเปน็ ขอ้ ความ ผยู้ อ่ ความเอง สว่ นใหญ่ จากการนาเรอื่ งทย่ี อ่ - เขียนสะกดคา มาตดั ต่อกันโดยใช้ ถกู ตอ้ งลายมืสวยงาม คาเช่อื ม เป็นระเบียบ - ตรงต่อเวลา เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๗-๒๐ ดมี าก ๑๓-๑๖ ดี ๑๐-๑๒ พอใช้ ตา่ กว่า ๑๐ ปรับปรงุ เกณฑ์การตดั สิน : ผ่านเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ ๖๐ ขน้ึ ไป

๘๕๐ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ประเดน็ เกณฑ์การประเมนิ การเขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการ การประเมิน การเขยี นเร่ือง ระดับคุณภาพ ตามจนิ ตนาการ ๔ (ดีมาก) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรงุ ) - เขยี นเรอื่ งตาม - เขียนเร่อื งตาม จินตนาการ โดยนา จนิ ตนาการ โดยนา - เขยี นเร่ืองตาม - เขียนเรอื่ งตาม แผนภาพมาใชไ้ ด้ แผนภาพมาใชไ้ ด้ จินตนาการ โดยนา จนิ ตนาการ ครบถ้วน ครบถ้วน แผนภาพมาใช้ได้ โดยนาแผนภาพ - เนื้อเร่ืองสมบรู ณ์ - เน้อื เร่ืองมีความ ครบถว้ น มาใช้ไดค้ รบถว้ น มีความต่อเนือ่ ง ตอ่ เนือ่ งสอดคลอ้ ง - เน้ือเรื่องเปน็ ไปใน แต่การใชค้ าบางคา สมั พันธก์ ันตง้ั แตต่ น้ กบั หวั ขอ้ สามารถ แนวเดียวกัน ประโยค ไมส่ อดคลอ้ งกบั จนจบ เรยี บเรียงประโยค ท่ีนามาเรยี บเรยี งเปน็ เนือ้ เรือ่ ง - เลอื กใชค้ าถกู ตอ้ ง สั้น ๆ มาเชื่อมตอ่ ขอ้ ความอาจไม่ - เนอ้ื เรอ่ื งไม่ เหมาะสม เปน็ ขอ้ ความ สมบรู ณ์นกั แต่ก็ได้ ต่อเนือ่ ง - มคี วามคดิ - เลอื กใช้คาได้ ใจความ การเรยี บเรยี ง สรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสม - เลอื กใช้คาไดถ้ กู ต้อง ข้อความไม่ - เขยี นสะกดคา เหมาะสม สละสลวย เปน็ ถูกต้อง และลายมือ ประโยคทไ่ี ม่ สวยงามเป็นระเบยี บ สมบรู ณ์ แตย่ ัง สามารถเขา้ ใจ เนือ้ ความโดยรวมได้ เกณฑก์ ารประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๗-๒๐ ดีมาก ๑๓-๑๖ ดี ๑๐-๑๒ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ เกณฑ์การตัดสนิ : ผ่านเกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ข้ึนไป

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๖ เรอ่ื ง นทิ านอ่านสนกุ ๘๕๑ เกณฑก์ ารประเมนิ การทางานกลมุ่ ประเดน็ ๔ (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) การประเมิน ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ขาดข้ันตอน ๓ ขน้ั ตอนขนึ้ ไป 1. กระบวนการ 1. มีประธาน ขาดข้นั ตอน 1 ขาดข้ันตอน 2 หรอื ไมช่ ดั เจน ทางานกลมุ่ เลขานุการ ผู้ร่วมงาน ขน้ั ตอน หรอื ไม่ ขน้ั ตอน ขน้ึ ไป ผูน้ าเสนอ ชดั เจน หรือไม่ชัดเจน มีผู้มหี น้าที่ 2. มีการวางแผนงาน มีผู้มหี น้าทแี่ ต่ไม่ แตไ่ ม่รับผิดชอบ 3. เตรยี มวัสดุ รบั ผิดชอบ 2 คน ๓ คนขึน้ ไป อปุ กรณ์ ขึน้ ไป สมาชิกไมใ่ ห้ 4. ปฏิบัติตามแผน ความรว่ มมอื ใน และพฒั นางาน การแสดงความ คิดเหน็ 2. ความ ทุกคนทาหน้าท่ขี อง มผี มู้ หี น้าทีแ่ ตไ่ ม่ รอ้ ยละ ๕๐ ของ รับผดิ ชอบต่อ ตนเอง อยา่ ง รบั ผดิ ชอบ 1 คน กล่มุ รว่ มกจิ กรรม หน้าท่ี รับผดิ ชอบเตม็ กลุม่ อยา่ งมคี วามสขุ ความสามารถ ผลงานไม่มีคุณภาพ เสรจ็ ไมท่ ันตาม 3. การแสดง สมาชิกทุกคน สมาชิกส่วนใหญ่ สมาชกิ มากกวา่ กาหนดเวลา ความคิดเห็น รว่ มแสดงความ รว่ มแสดงความ คร่ึงร่วมแสดง คิดเห็น คดิ เหน็ ความคดิ เหน็ 4. การรว่ มงาน ทกุ คนรว่ มกจิ กรรม ร้อยละ 80 ของ รอ้ ยละ 60 ของ กลมุ่ อย่าง กล่มุ อยา่ งมคี วามสขุ กลุม่ ร่วมกจิ กรรม กลุ่มรว่ มกจิ กรรม มคี วามสขุ ผลงานมคี ณุ ภาพ กลุ่มอย่างมคี วามสุข กล่มุ อยา่ งมี 5. ความสาเรจ็ และเสรจ็ ตาม ของผลงาน กาหนดเวลา ความสขุ ผลงานมคี ณุ ภาพ ผลงานมีคุณภาพ เสรจ็ ชา้ กว่าเวลาที่ เสร็จไมท่ นั ตาม กาหนดเลก็ นอ้ ย กาหนดเวลา รวม ๒๐ เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๗-๒๐ ดมี าก ๑๓-๑๖ ดี ๑๐-๑๒ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารตัดสิน : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

๘๕๒ คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ประเด็น ระดับคุณภาพ การประเมิน 1. ความตง้ั ใจใน ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรงุ ) การเรยี น สนใจในการเรียน สนใจในการเรยี น ไมส่ นใจในการเรียน 2. ความสนใจ ไม่คยุ หรือเลน่ กนั คยุ กันเล็กนอ้ ย สนใจในการเรียน คุยและเลน่ กนั และการซักถาม ในขณะเรยี น ในขณะเรยี น คยุ กันและเลน่ กัน ในขณะเรยี น 3. การตอบ ในขณะเรยี นเปน็ ไม่ถามในหัวข้อท่ตี น คาถาม มกี ารถามใน มกี ารถามในหัวขอ้ บางครงั้ ไมเ่ ข้าใจและไมก่ ลา้ หัวข้อท่ตี นไม่ ท่ีตนไมเ่ ข้าใจเปน็ มีการถามในหัวขอ้ ท่ี แสดงออก 4. มสี ่วนรว่ มใน เขา้ ใจทกุ เร่อื งและ ส่วนมากและกล้า ตนไมเ่ ขา้ ใจเปน็ ไม่ตอบคาถาม กจิ กรรม กล้าแสดงออก แสดงออก บางครง้ั และไมค่ อ่ ย กลา้ แสดงออก ไมม่ ีความรว่ มมอื ร่วมตอบคาถาม รว่ มตอบคาถามใน รว่ มตอบคาถามใน ในขณะทากิจกรรม ในเรื่องทค่ี รูถาม เรื่องท่ีครถู ามและ เรอื่ งที่ครูถามเป็น และตอบคาถาม ตอบคาถาม บางครง้ั และตอบ ถกู ทกุ ข้อ สว่ นมากถูกตอ้ ง คาถามถกู เป็น บางครงั้ รว่ มมอื และ รว่ มมอื และ รว่ มมอื และ ชว่ ยเหลอื เพ่ือนใน ชว่ ยเหลือเพอื่ น ช่วยเหลอื เพ่อื นใน การทากจิ กรรม เปน็ ส่วนใหญใ่ น การทากจิ กรรมเป็น บางครงั้ การทากจิ กรรม เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14-16 ดีมาก (4) 11-13 ดี (3) 8-10 พอใช้ (2) 0-7 ปรับปรงุ (1) เกณฑก์ ารตัดสิน : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินรอ้ ยละ ๖๐ ขึน้ ไป

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๖ เรื่อง นิทานอ่านสนกุ ๘๕๓ เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ตวั ชี้วัดที่ ๔.๑ ตง้ั ใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ พฤติกรรมบ่งช้ี ดีเย่ยี ม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไมผ่ า่ น (๐) ๔.๑.๑ ตัง้ ใจเรียน ตั้งใจเรยี น เอาใจ ตง้ั ใจเรยี น เอาใจ ตัง้ ใจเรยี น เอาใจ ไมต่ ้งั ใจเรียน ๔.๑.๒ เอาใจใสแ่ ละ ใส่และมคี วาม ใส่และมคี วาม ใส่และมคี วาม มีความเพยี รพยายาม เพยี รพยายามใน เพยี รพยายามใน เพยี รพยายามใน ในการเรยี นรู้ การเรียนรู้ เขา้ รว่ ม การเรียนรู้ การเรยี นรู้ เข้ารว่ ม ๔.๑.๓ สนใจเขา้ รว่ มกิจกรรม กจิ กรรมการเรยี น เขา้ รว่ มกจิ กรรม กจิ กรรมการเรียนรู้ การเรยี นรูต้ า่ ง ๆ รตู้ า่ ง ๆ เป็น การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ตา่ ง ๆ บางคร้งั ประจา บ่อยครั้ง มุง่ ม่นั ในการทางาน ตัวชว้ี ัดที่ ๖.๑ ตงั้ ใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัตหิ น้าทกี่ ารงาน พฤติกรรมบง่ ชี้ ดเี ย่ียม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไม่ผ่าน (๐) ตัง้ ใจและ ไมต่ ั้งใจปฏบิ ตั ิ ๖.๑.๑ เอาใจใส่ตอ่ การ ตั้งใจและ ตั้งใจและ รบั ผดิ ชอบ หนา้ ทีก่ ารงาน ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ท่ีได้รบั รบั ผิดชอบ รับผิดชอบ ในการปฏิบัติ ในการปฏบิ ัติ ในการปฏบิ ัติ หนา้ ที่ทไี่ ด้รบั มอบหมาย มอบหมาย ๖.๑.๒ ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบ หน้าทที่ ่ไี ด้รบั หนา้ ที่ทไ่ี ด้รบั ให้สาเรจ็ ในการทางานใหส้ าเรจ็ มอบหมาย มอบหมาย ๖.๑.๓ ปรบั ปรงุ และพัฒนา ใหส้ าเร็จ มกี าร ใหส้ าเรจ็ มกี าร การทางานด้วย ปรบั ปรงุ และ ปรับปรงุ การ ตนเอง พฒั นาการทางาน ทางานใหด้ ขี ้นึ ให้ดีข้นึ ด้วยตนเอง ตัวชีว้ ดั ท่ี ๖.๒ ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพอื่ ใหง้ านสาเร็จตามเป้าหมาย พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ดเี ย่ียม (๓) ดี (๒) ผา่ น (๑) ไมผ่ ่าน (๐) ๖.๒.๑ ทมุ่ เททางาน อดทน ทางานดว้ ย ไมข่ ยนั อดทน ทางานดว้ ย ทางานด้วย ความขยนั ในการทางาน ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อปญั หา ความขยนั อดทน ความขยนั อดทน พยายามใหง้ าน และอปุ สรรค ไมย่ ่อทอ้ ต่อปญั หา พยายามให้งาน สาเรจ็ ตาม ในการทางาน ในการทางาน สาเร็จตาม เปา้ หมาย ๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหา พยายามใหง้ าน เปา้ หมาย ชืน่ ชม และอุปสรรคใน สาเรจ็ ตาม ผลงานด้วยความ การทางานให้สาเรจ็ เปา้ หมาย ช่ืนชม ภาคภมู ใิ จ ๖.๒.๓ ช่นื ชมผลงานด้วย ผลงานด้วยความ ความภาคภูมิใจ ภาคภมู ใิ จ

๘๕๔ คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) รักความเป็นไทย ตัวช้วี ัดท่ี ๗.๒ เห็นคณุ คา่ และใชภ้ าษาไทยในการสือ่ สารได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม พฤตกิ รรมบ่งชี้ ดเี ยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไมผ่ า่ น (๐) ๗.๒.๑ ใชภ้ าษาไทยและ ใช้ภาษาไทย เลข ใช้ภาษาไทย เลข ใช้ภาษาไทย เลข ไม่สนใจใช้ภาษา เลขไทยในการ ไทยในการสอื่ สาร ไทยในการส่ือสาร ไทยในการสือ่ สาร ไทยอยา่ งถกู ต้อง สื่อสารได้อยา่ ง ได้ถกู ตอ้ ง ได้ถูกตอ้ ง แนะนาให้ผูอ้ ่นื ถกู ต้องเหมาะสม เหมาะสม แนะนา เหมาะสม แนะนา ใชภ้ าษาไทย ๗.๒.๒ ชักชวน แนะนาให้ ใหผ้ ู้อนื่ ใช้ภาษา ให้ผอู้ ่นื ใชภ้ าษา ท่ถี ูกต้อง ผู้อน่ื เห็นคณุ ค่าของ ไทยทถ่ี กู ตอ้ งเปน็ ไทยท่ถี กู ตอ้ ง การใชภ้ าษาไทยที่ ประจา เป็น ถูกตอ้ ง แบบอยา่ งทีด่ ีดา้ น การใช้ภาษาไทย

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๖ เรือ่ ง นิทานอา่ นสนกุ ๘๕๕ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การอา่ นนทิ านพน้ื บ้าน เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 เรอื่ ง นทิ านอ่านสนกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจริง ตัวช้วี ดั ป.๕/๑ สรุปเรอ่ื งจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีอ่าน ป.๕/๒ ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมท่สี ามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ จริง ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด นิทานพ้ืนบ้าน เป็นเรื่องเล่าสืบต่อกันมาที่แสดงถึงวัฒนธรรมและวิถีชีวิต มักเป็นเรื่องเล่าจาก จินตนาการ และความเชื่อของชาวบ้าน ชุมชน ทาให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ได้ข้อคิด คติสอนใจ ท่สี ามารถนาไปใช้ในชวี ิตจริง ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) บอกความหมายและลกั ษณะของนทิ านพน้ื บ้านได้ 3.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) เขยี นสรุปเรอ่ื งและขอ้ คดิ ของนทิ านพื้นบา้ นท่อี ่านได้ 3.3 ดา้ นคุณลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) นาขอ้ คดิ ท่ไี ดไ้ ปใชใ้ นชีวิตจรงิ ๔. สาระการเรยี นรู้ การอ่านนทิ านพน้ื บ้าน ๕. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 5.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ๖. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 ใฝเ่ รียนรู้ 6.2 รกั ความเป็นไทย 7. กจิ กรรมการเรียนรู้

๘๕๖ คมู่ อื การจัดกิจกรรมการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง การอ ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขน้ั ตอนการจัด เวลา แ ท่ี จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรมคร 1. ขอบเขตเนอื้ หา ขั้นนา 5 1. ครูตงั้ ถามทบทวนค นาที เดมิ ของนกั เรยี น ดังน 1. ความหมายของ - นักเรียนรจู้ ักนิทานพ นิทานพนื้ บา้ น หรือไม่ เรื่องอะไรบ้าง - นกั เรยี นคิดว่า นทิ าน 2. ลกั ษณะของนิทาน เปน็ เรือ่ งราวมาจากไห พืน้ บา้ น เกดิ ข้นึ ไดอ้ ย่างไร 3. การเขยี นสรปุ เร่ือง - นทิ านพ้นื บ้านจาเป็น ต้องมที ุกหมบู่ า้ น และขอ้ คดิ ของนทิ าน - นกั เรยี นคดิ วา่ มคี วา พ้นื บา้ น อย่างไร 4. การนาขอ้ คดิ ท่ไี ด้ ไปใช้ในชวี ติ จรงิ 2. ครูเปิดคลิปวิดีโอน พ้นื บ้านให้นกั เรียนฟัง และนาดว้ ยคาถาม เช - นกั เรยี นคดิ ว่านทิ าน เร่ืองนีเ้ ป็นของภาคใด อะไร

อครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) นรู้ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เรอ่ื ง นิทานอา่ นสนกุ จานวน 10 ชัว่ โมง อา่ นนทิ านพนื้ บ้าน จานวน 1 ชั่วโมง แนวการจัดการเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ รู กจิ กรรมนักเรยี น - สังเกตการตอบ คาถามของ ความรู้ 1. นักเรยี นร่วมกนั ตอบคาถาม - คาถาม นักเรียน น้ี ตามความเข้าใจและ พน้ื บ้าน ประสบการณ์ความรเู้ ดมิ ง นพ้นื บ้าน หน และ นไหมวา่ ามสาคญั นทิ าน 2. นักเรยี นฟงั และดูคลปิ วดิ โี อ - คลิปวิดีโอนทิ าน - สงั เกตการตอบ งและดู นิทานพ้ืนบ้าน พนื้ บ้าน คาถามของ ชน่ - คาถาม นักเรียน นพื้นบา้ น ด หมบู่ ้าน

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๖ เร่อื ง นทิ านอา่ นสนกุ ลาดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ กจิ กรรมคร - นิทานเรื่องน้ีมีความ หรือไม่ บอกเลา่ ถึงเรอ่ื อะไร 3. ครตู ้ังคาถามนาเขา้ บทเรยี นว่าดังน้ี - นักเรียนทราบหรือไ นิทานทุกเรือ่ งมีขอ้ คดิ สอดแทรก และเราส นาไปใช้ได้ 4. ครูเชื่อมโยงเขา้ สบู่ วา่ วนั นจี้ ะเรยี นเรือ่ ง ก นทิ านพ้นื บา้ น 2. ข้นั สอน 25 ๑. ครูยกตัวอยา่ งนิทา นาที พนื้ บา้ นของแตล่ ะภาค นักเรยี นทายว่า จดั อย ๒. ครใู หน้ กั เรยี นอภิป วเิ คราะหป์ ระเดน็ หลกั - การอ่านนิทานพนื้ บ - ความสาคญั ของนิทาน

แนวการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ ๘๕๗ รู กิจกรรมนักเรยี น การประเมิน มสนุก การเรียนรู้ องราว าสู่ 3. นักเรียนทุกคนรว่ มกันตอบ ไม่ว่า คาถาม ด สามารถ บทเรยี น 4. นักเรยี นเข้าส่บู ทเรยี น การอ่าน าน ๑. นักเรยี นดูตัวอย่างนทิ าน - สือ่ PPT เรอ่ื ง คมาให้ พนื้ บา้ นของแต่ละภาค การอา่ นนทิ าน ยใู่ นภาคใด พนื้ บา้ น ปราย ๒. นักเรยี นอภปิ รายวเิ คราะห์ ก ดังน้ี ประเดน็ หลกั ดงั น้ี บ้าน - การอ่านนทิ านพ้ืนบ้าน นพนื้ บ้าน - ความสาคัญของนิทานพื้นบ้าน

๘๕๘ คมู่ อื ลาดับ ขอบเขตเน้ือหา/ ขน้ั ตอนการจัด เวลา แ ที่ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมคร - นิทานพน้ื บา้ น 4 ภา (เหนอื กลาง อสี าน ใต - การเขียนสรปุ เรื่องแ ของนทิ านพ้นื บ้าน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขนั้ ปฏบิ ตั ิ 4. หลังจากน้ันครูถาม 1. บอกความหมาย ว่า และลกั ษณะของ ครู : ถ้าครูตอ้ งการทจ่ี นิทานพืน้ บ้านได้ ข้อคิดจากเร่อื งทอี่ ่าน วิธีการอย่างไร 3. 2. เขียนสรปุ เรอื่ งและ 5. ครใู หน้ กั เรียนอ่าน ข้อคิดของนิทาน พน้ื บ้าน เร่อื ง สมบตั ิข พนื้ บ้านท่ีอ่านได้ 15 6. ครชู ้ีแจงการทากจิ นาที และกาหนดใหน้ กั เรีย งานท่ี 1 การอา่ นนทิ า พ้ืนบ้าน (ครขู ้ึนกจิ กรรมในจอ นักเรียนทาใบงานท่ี 1 การอา่ นนิทานพื้นบา้ น 7. ครสู รปุ การทากจิ ก และประเมินการทางา

อครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมิน รู กิจกรรมนักเรียน การเรยี นรู้ าค - นทิ านพ้ืนบา้ น 4 ภาค ต้) (เหนอื กลาง อสี าน ใต)้ 1. ประเมนิ และข้อคดิ - การเขยี นสรปุ เรอ่ื งและ การตอบคาถาม ข้อคดิ ของนิทานพ้นื บ้าน มนกั เรยี น 4. นกั เรียน : ตอบคาถามและ ช่วยกนั สรปุ หลกั การค้นหา จะค้นหา ข้อคดิ และการนาข้อคดิ จาก จะมี การอ่านนิทานพืน้ บ้านไป นนิทาน 5. นกั เรียนอ่านนทิ าน เรื่อง - นทิ านเรือ่ ง 2. ตรวจใบงานท่ี ของพอ่ สมบตั ขิ องพ่อ สมบตั ิของพอ่ 1 เรือ่ ง การอ่าน จกรรม 6. นกั เรียนทากิจกรรมในใบ - ใบงานที่ 1 นทิ านพ้นื บ้าน ยนทาใบ งานที่ 1 การอา่ นนทิ าน าน พืน้ บ้าน PPT วา่ : (นักเรียนทั้งต้นทาง/ปลายทาง 1 ทาใบงานท่ี 1 การอ่านนิทาน น) พนื้ บ้าน) พรอ้ มกนั กรรม 7. นักเรยี นสรปุ การทา าน กจิ กรรมร่วมกนั

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เรอื่ ง นทิ านอ่านสนกุ ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ขั้นตอนการจัด เวลา แ ท่ี จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กจิ กรรมคร 4. 3. นาขอ้ คิดทไ่ี ดไ้ ปใช้ ขั้นสรุป 5 1. ครกู าหนดใหน้ กั เร ในชีวติ จริง นาที ช่วยกนั สรุปความรู้เร่ือ การอา่ นนทิ านพน้ื บ้าน

๘๕๙ แนวการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ รู กจิ กรรมนกั เรยี น 3. สงั เกต การตอบคาถาม รียน 1. นักเรยี นช่วยกนั สรปุ ความรู้ - สื่อ PPT ของนักเรยี น อง เป็นแผนภาพความคดิ เรอ่ื ง สรปุ ความรู้ น การอ่านนทิ านพ้นื บ้าน คือ การนิทานพน้ื บา้ น เปน็ เรือ่ ง เล่าสบื ตอ่ กนั มาในท้องถน่ิ ที่ สมมตุ ิขนึ้ การอา่ นนิทาน พืน้ บ้านทาใหเ้ กิด ความสนกุ สนาน เสรมิ สร้าง จินตนาการไดข้ อ้ คดิ คติ สอนใจ ทส่ี ามารถนาไปใช้ใน ชีวิตจรงิ 2. นักเรียนนาขอ้ คดิ ท่ไี ดจ้ าก การอ่านนทิ านพ้นื บา้ นไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั

860 คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) 8. ส่ือการเรียนรู/้ แหลง่ เรียนรู้ 1. ใบความรู้ท่ี 1 เรอื่ ง การอา่ นนทิ านพน้ื บ้าน 2. ใบงานท่ี 1 เรื่อง การอา่ นนทิ านพ้ืนบา้ น 3. ส่อื PPT เร่ือง การอา่ นนทิ านพืน้ บ้าน 4. คาถาม 5. แถบประโยค 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน - ใบงานที่ 1 เร่ือง การอา่ นนทิ านพ้ืนบ้าน ส่งิ ทีต่ ้องการวัด / ประเมิน วธิ ีการ เครื่องมอื ที่ใช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) - คาถาม - บอกความหมายและลกั ษณะ - พิจารณาจากการตอบ รอ้ ยละ ๖๐ ของนิทานพน้ื บ้าน คาถามของนักเรียน ขึ้นไป ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) - เขียนสรปุ เรอื่ งและข้อคดิ ของ - ตรวจใบงานที่ 1 เรือ่ ง - แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ นทิ านพืน้ บา้ นท่อี า่ น การอ่านนทิ านพ้ืนบา้ น การประเมนิ การวเิ คราะห์ ขน้ึ ไป สรปุ ความรู้ คุณคา่ และ ข้อคดิ จากการอา่ นนทิ าน ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - นาข้อคดิ ทไี่ ด้ไปใชใ้ นชีวติ จรงิ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ร้อยละ ๖๐ นักเรยี น ของนักเรยี น ขึ้นไป ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - สงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ - แบบประเมนิ ผ่าน 2. รกั ความเป็นไทย นักเรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมินสมรรถนะ ระดับคุณภาพ 1. ความสามารถในการส่ือสาร นกั เรียน สาคญั ของผ้เู รยี น ผ่าน 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะ ชวี ิต

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๖ เรือ่ ง นิทานอา่ นสนกุ 861 เกณฑป์ ระเมิน : การประเมินการวเิ คราะห์ สรุปความรู้ คุณคา่ และขอ้ คดิ จากการอ่านนทิ าน ประเด็น ระดบั คุณภาพ การประเมิน ๔ (ดีมาก) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรงุ ) สามารถคิด 1. การคิดวเิ คราะห์ สามารถคดิ สามารถคิด สามารถคิด วิเคราะหไ์ ดอ้ ยา่ ง วิเคราะหไ์ ดอ้ ยา่ ง วเิ คราะห์ไดอ้ ย่าง วิเคราะห์ได้อยา่ ง สรา้ งสรรค์นอ้ ย สร้างสรรค์ใน สรา้ งสรรคไ์ ด้ สร้างสรรคไ์ ด้ มาก ด้านบวกได้ เป็นสว่ นใหญ่ เพียงบางส่วน ทง้ั หมด 2. การสรุปความรู้ สรปุ ความรตู้ รง สรปุ ความรู้ตรง สรปุ ความรู้ตรง สรปุ ความรไู้ มต่ รง ประเด็นถกู ต้อง ประเดน็ ถกู ต้อง ประเดน็ ถูกตอ้ ง ประเด็นถูกตอ้ ง ครบถว้ นตาม ร้อยละ ๘๐ ของ รอ้ ยละ ๖๐ ของ รอ้ ยละ ๔๐ ของ เนอ้ื หาของเรือ่ ง เน้ือหาของเร่อื ง เน้ือหาของเรอื่ ง เนื้อหาของเร่ือง 3. การอธิบาย เขียนบอก เขียนบอก เขยี นบอก เขยี นบอก คณุ ค่า ความสาคัญของ ความสาคัญของ ความสาคญั ของ ความสาคัญของ เนือ้ หาตรง เน้อื หาตรง เน้ือหาตรงประเดน็ เนอ้ื หาไม่ตรง ประเด็น ประเด็น บางสว่ น และวกวน ประเด็นและเขียน และยกตวั อย่าง วกวน 4. การเขยี น เขยี นขอ้ คิดตรง เขยี นข้อคิดตรง เขียนข้อคิดได้ เขียนข้อคดิ ได้ อธิบายข้อคดิ ประเด็นแสดง ประเดน็ บางสว่ นสอดคล้อง นอ้ ยมากและไม่ เหตผุ ลสอดคลอ้ ง สอดคล้องกบั เร่ือง กับเร่ืองบางส่วน ตรงประเดน็ กับเรื่อง 5. การนาขอ้ คดิ เขยี นขอ้ คดิ ไปใช้ เขียนข้อคิดไปใช้ เขียนขอ้ คดิ ไปใชใ้ น เขียนข้อคิดไปใช้ ไปใชใ้ น ในชวี ติ ประจาวัน ในชีวิตประจาวัน ชวี ิตประจาวนั ได้ ในชวี ิตประจาวัน ชีวติ ประจาวัน ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ไดแ้ ละใชไ้ ดจ้ ริง บางสว่ น ไดน้ อ้ ย และใชไ้ ด้จรงิ เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑8-๒๐ ดีมาก 15-๑7 ดี ๑2-๑4 พอใช้ ตา่ กว่า 12 ปรับปรงุ เกณฑก์ ารตดั สิน : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ขึน้ ไป (ตอ้ งไดร้ ะดับพอใช้ขึ้นไป)

862 คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แบบประเมนิ การประเมินการวิเคราะห์ สรปุ ความรู้ คุณค่าและข้อคดิ จากการอา่ นนทิ าน คาช้แี จง ให้ครูผูส้ อนประเมินผลการทากิจกรรม/ใบงาน โดยเขียนคะแนน ลงในช่องที่กาหนดใหถ้ ูกตอ้ ง ลาดับ ชื่อ - สกุล คะแนน คดิ เปน็ สรปุ ผล ที่ ทีไ่ ด้ ร้อยละ การประเมิน ๒๐ คะแนน ๑๐๐ ผ่าน ไมผ่ า่ น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ รวม (คน) คิดเปน็ ร้อยละ ผลการประเมิน  ดมี าก ..........คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ...............  ดี ..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ................  พอใช้ ..........คน คิดเปน็ ร้อยละ...............  ปรบั ปรงุ .........คน คดิ เป็นร้อยละ................ สรุปผลการประเมนิ รายชน้ั เรยี น  นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จานวน......................... คน คิดเปน็ ร้อยละ.........................  นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จานวน......................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ........................ . ลงชอื่ .................................................ผปู้ ระเมนิ (..............................................) ........../..................../..........

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เรือ่ ง นิทานอา่ นสนกุ 863 10. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

864 คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ใบความรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง การอา่ นนิทานพื้นบ้าน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 เร่ือง นิทานอ่านสนกุ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เร่อื ง การอา่ นนิทานพ้ืนบา้ น รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๕๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕ ความหมายของนทิ าน เป็นเร่ืองสมมุติ มีตัวละครดาเนินเร่ือง ซึ่งอาจเป็นมนุษย์หรือสัตว์ก็ได้ มีเหตุการณ์หรือ การดาเนินเรอื่ งที่แสดงความขดั แย้งของตัวละคร เช่น นทิ านเรื่องหนูกบั ราชสีห์ ราชสีหข์ ัดแย้งกับ หนูตอ่ มาเรอ่ื งคลีค่ ลายเมอ่ื หนูมาช่วยกัดบ่วงช่วยชีวิตราชสหี ์ นทิ านพื้นบา้ น เปน็ วรรณกรรมท้องถ่ิน ที่แสดงถึงวัฒนธรรมและวิถีชวี ิตของคนในแตล่ ะท้องถนิ่ สืบทอดกัน มาหลายช่ัวอายคุ น ดว้ ยภาษา คาพดู และการบันทึกเป็นลายลกั ษณ์อักษร ทาใหเ้ ขา้ ใจถึงความรูส้ ึก นึกคดิ ความเชอ่ื อารมณ์ ความรูส้ ึกและหลักคุณธรรมในสงั คม คุณคา่ ของการศกึ ษานิทานพ้ืนบา้ น ดังน้ี 1. คุณคา่ ดา้ นอารมณ์ มีจุดมุ่งหมายสาคญั ให้ความเพลิดเพลินแกผ่ ู้ฟัง 2. คุณคา่ ด้านการใหข้ อ้ คิดและคตเิ ตือนใจ ขดั เกลาคนใหม้ ีค่านิยมของสังคมตามท่ีวางไว้ 3. คุณค่าด้านสติปัญญา เป็นคลังความรู้มาหลายช่ัวอายุคน มีคุณค่าทาให้เกิดภูมิรู้ สติปญั ญา 4. คุณค่าด้านภาษา นิทานถ่ายทอดโดยการเล่าจนกระทั่งการเขียน การพิมพ์เจริญขึ้น จงึ ได้มีการบนั ทึกไวเ้ ป็นลายลักษณอ์ กั ษร คุณคา่ ด้านภาษาจงึ มี 2 ประการคอื 4.1 ภาษามุขปาฐะ เป็นการพดู การเลา่ ทส่ี อ่ื สารในระดบั ทอ้ งถน่ิ คาและสาเนยี งภาษา จงึ แตกต่างไปจากภาษาเขียน เป็นภาษาท่ีถ่ายทอดอารมณ์ความรสู้ ึกไดอ้ ย่างลึกซึ้งกว่าภาษาเขียน 4.2 ภาษาลายลักษณ์ นทิ านไดร้ ับการเรียบเรียงผ่านการเขียน ภาษาที่ใช้แม้บางคายัง คงภาษาถ่ินไวเ้ พ่อื คงความหมาย ความสละสลวย การลาดบั เรื่องและลาดับความคดิ เป็นระบบกว่า การเล่าเร่ือง ภาษาในนิทานบางคาไม่มีใช้ในปัจจุบัน บางคาใช้ภาษากลางแทนคาและสานวน ดง้ั เดิม

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ เร่อื ง นิทานอ่านสนกุ 865 การเขยี นสรปุ ความรู้ การเขียนสรุปความรู้จากการอ่าน การฟัง หรือการดูสื่อต่าง ๆ เพื่อกันลืม จะได้จดจา เรื่องราวนน้ั ๆ ได้ และสามารถนาเรื่องราวนน้ั ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพูดและการเขยี นได้ วธิ ีการอ่านเพ่ือสรุปความ ควรอ่านเร่อื งน้ันอย่างคร่าวๆ ก่อน แล้วจึงอ่านซ้าอกี ครั้งเพื่อ จับใจ ความสาคัญว่า “ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ผลเป็นอย่างไร” แล้วเขียนสรุปเป็น ขอ้ ความส้ัน ๆ วธิ กี ารอา่ นเพื่อสรปุ ความรู้ ๑. อ่านเรอ่ื งใหจ้ บทง้ั เรอื่ ง ตอ้ งมีความเข้าใจเรือ่ งแลว้ จับสาระสาคญั ๒. จดสาระสาคัญของเรอ่ื งทีอ่ ่าน เป็นคาพูดของตนเอง ๓. เขียนสรปุ สาระสาคัญทีเ่ ป็นความรู้ ตัวอยา่ งท่ี ๑ การเขยี นสรุปความรูจ้ ากนทิ าน ชายคนหน่ึงเดินทางไปพบสระน้าแห่งหนึ่งที่มีน้าใสสะอาด เขาอยากเขียน ข้อความให้คนอ่ืนรู้ว่าสระน้านี้เป็นอย่างไร แต่เขาเป็นคนเขียนหนังสือไม่ค่อยถูก เขาเขียน ปา้ ยประกาศว่า “ทีนี่มีน้า” บังเอิญตอ่ มาไม่นานมีชายคนหนึ่งอ่านหนังสือไม่ค่อยได้ จงู คน ตาบอดเดินผ่านมา คนอ่านหนงั สอื ไม่ค่อยออกจึงอ่านข้อความท่ปี า้ ยประกาศใหค้ นตาบอดฟัง ว่า “ทีน่ ่มี ีหมีนา” คนตาบอดไดฟ้ งั ไมท่ ันคิด เกิดความกลัวจงึ ว่ิงหนไี ปชนตน้ ไมไ้ ด้รบั บาดเจ็บ สรุปความรู้จากนทิ าน นทิ านเรื่องน้ี เป็นการกล่าวถึงโทษของการเขยี น การอา่ นหนังสือไม่คล่อง และการไม่รู้จัก คิดให้รอบคอบ

866 คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ตวั อยา่ งท่ี ๒ การเขยี นสรปุ ความรูจ้ ากนทิ าน เร่ือง ฉนั ตอ้ งให้แมก่ ินกอ่ น มีลูกช้างตัวหนึ่งอยู่ในป่ากับแม่ช้างที่มีดวงตาท้ังสองข้างบอดสนิท ลูกช้างจึงดูแล ปรนนิบัติรับใช้แมเ่ ป็นอย่างดี ท้งั สองอาศัยหนา้ ปากถ้าแหง่ หน่ึง มสี ระนา้ กวา้ งใหญ่นา้ ใสเตม็ เปย่ี ม ปร่ิมฝัง่ เมื่อใดที่ลูกช้างได้อาหารมาจะนามาให้แม่ช้างกินกอ่ น จึงค่อยกินสว่ นท่เี หลอื ยามมีเวลา วา่ งลกู ชา้ งจะเลา่ เร่ืองราวเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ รอบตัวใหแ้ ม่ช้างฟังตลอด วนั เวลาผ่านไปลูกช้างโตข้ึนมี ร่างกายใหญโ่ ตสงา่ งาม เป็นพญาชา้ งและมคี วามเฉลียวฉลาดมากข้ึน ตอ่ มามพี รานปา่ จบั พญาชา้ ง ไปถวายให้พระราชา พระราชาสร้างโรงช้างท่ีสวยงามและให้อาหารทีด่ ที ีส่ ุดแก่พญาชา้ ง พญาช้าง ยืนนงิ่ ไม่กนิ อาหาร และพูดวา่ “ถ้าไมม่ แี ม่ชา้ ง ฉันจะไมก่ นิ อะไรทงั้ สน้ิ ” พระราชารกั และสงสารพญาช้างมาก ส่ังให้ควาญชา้ งและทหารนาพญาชา้ งกลับคนื สู่ป่า กลับไปหาแม่ช้าง พญาช้างส่งเสียงเรียกแม่ แม่ช้างดีใจที่ลูกกลับมา พญาช้างรีบนาผลไม้มาให้ แม่กิน และรอกินส่วนท่เี หลือ เมื่อมเี วลาวา่ งพระราชาจะนาผลไม้และพวงมาลัยมาให้แม่ลูกคนู่ ้ี สรปุ ความรู้จากนทิ าน นิทานเรอื่ งน้ี เป็นการกลา่ วถึง การใช้ชีวิตของช้างปา่ และความกตัญญกู ตเวทีที่เปน็ เครื่อง นาพาใหท้ กุ คนอยู่ร่วมกันอย่างไม่เบยี ดเบียนใคร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ๒๕๔๑. เล่านิทานใหห้ นูฟังหน่อย. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว.

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๖ เรอ่ื ง นทิ านอ่านสนกุ 867 ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง การอา่ นนิทานพ้ืนบ้าน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 เรอ่ื ง นิทานอา่ นสนุก แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 เรือ่ ง การอ่านนิทานพื้นบ้าน รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนอา่ นนิทานพนื้ บ้านเรื่อง สมบัติพ่อ แลว้ ตอบคาถามตามหวั ขอ้ ทกี่ าหนดให้ นิทานพืน้ บา้ นเรอื่ ง นทิ านพืน้ บา้ นภาคใด สถานท่ี ขอ้ คดิ ทไี่ ดจ้ ากเรอ่ื ง แหล่งข้อมูล ตัวละครสาคญั สรุปความร้จู ากนิทานพนื้ บ้าน ชอื่ ....................................................นามสกลุ ...............................................ชั้น.................เลขท.่ี ..............

868 คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) นิทานพืน้ บ้าน เรอ่ื ง สมบตั ิของพอ่ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 6 เร่ือง นทิ านอา่ นสนุก แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 เรือ่ ง การอ่านนิทานพ้ืนบา้ น รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ นทิ านไทย เรอ่ื ง สมบตั ิของพอ่ กาลครั้งหน่ึง ยังมชี ายชราคนหนงึ่ ฐานะร่ารวย อยู่กบั ลูกชายสองคนในหมบู่ ้านแห่งหนง่ึ ทอ่ี ยู่ห่างไกล จากตวั เมืองมาก ชายผนู้ เ้ี จบ็ ไขไ้ ด้ป่วยมาเน่ินนานแลว้ ก่อนจะสน้ิ ลมหายใจ เขาเรียกลกู ชายทรี่ กั ใคร่ทัง้ สองเขา้ มา แล้วยกทรพั ย์สมบตั ใิ ห้ พร้อมบอกปรศิ นา ๓ บท แนะนาวิธีการรักษาทรัพยส์ นิ มิใหห้ มดสน้ิ ไปโดยงา่ ย ข้อแรก เจ้าจงกินอาหารมอ้ื คา่ กบั ไฟดวงใหญ่ ข้อสองเจา้ จงล้อมรว้ั บา้ นด้วยฟนั สตั ว์ และข้อสาม พ่อ ใหเ้ มล็ดมะขามจานวนหนึ่งให้ และตอ้ งรู้วธิ ีกนิ จึงจะกินเมล็ดมะขามเหลา่ นีไ้ ดน้ าน ๆ ลกู ท้ังสองรับสญั ญา ชายชราจงึ แบ่งสมบตั ิให้คนละเท่า ๆ กันจากน้ันไมน่ านเขาก็ตายลกู ชายคนเล็ก ยงั คงอยใู่ นบ้านหลังเดมิ ของพ่อ พช่ี ายเมอ่ื ไดส้ มบตั ิในส่วนของตนกไ็ ปปลูกบ้านสรา้ งฐานะใหม่อยู่ในเมือง ลูกชายคนเล็กเป็นคนโง่เขลาเบาปัญญา ไม่คิดให้ลึกซึ้ง จึงสั่งคนใช้จุดตะเกียงดวงใหญ่ให้แสงสว่าง กอ่ นกินอาหารมอ้ื คา และสรา้ งรั้วทาด้วยงาชา้ งล้อมรอบบา้ นไว้ทง้ั หมด ลกู ชายคนเล็กยงั คัว่ เมล็ดมะขามกินทุก วนั ไมน่ านนา้ มนั ตะเกียงกห็ มดเกลยี้ ง และโจรยงั มาขโมยรว้ั ทเี่ ป็นงาช้างไปจนหมด ชายผู้นีจ้ ึงยากจนลง วนั หนึ่งเขาระลึกถึงพชี่ าย และคิดว่าคงจะยากจนเหมือนเขา เพราะพ่อแบ่งสมบัติให้เท่ากัน คิดแล้ว ชาย ผู้นอ้ งจึงเดินทางไปหาพี่ชายท่ีอยู่ในตวั เมือง เมื่อยา่ งเท้าก้าวเขา้ มาในบ้านของพ่ชี าย ผเู้ ป็นน้องกลบั รู้สึก แปลกใจยงิ่ นักทีเ่ ห็นบา้ นของพ่ชี ายใหญ่โตกวา้ งขวาง มผี ูค้ นอยู่มากมาย “โอ้ โฮ Ị พ่ี ... ทาไมพ่ถี งึ รา่ รวยเชน่ น้ี พีท่ าอย่างไรน่ี ฉนั ทาตามคาสงั่ ของพ่อ แต่ฉนั กลับจนลง...จนลง จนแทบสนิ้ เน้อื ประดาตวั ” นอ้ งชายร้องราพันให้พช่ี ายฟงั “ระหวา่ งทางท่ีพเี่ ดนิ ทางเข้ามาในเมือง พค่ี รุน่ คิดถึงปริศนาทพี่ ่อบอกเราทัง้ สอง ปรศิ นาข้อแรก...คือ ...กินอาหารม้ือค่ากับไฟดวงโต หมายความว่า...ให้กินอาหารก่อนดวงอาทิตย์ตก จะได้ประหยัดน้ามันจุด ตะเกียง ปริศนาขอ้ ท่ีสอง คือ ลอ้ มรั้วบ้านด้วยฟันสัตว์ พี่ตีความว่าให้เลี้ยงสุนัขไวป้ ้องกันบ้านจากโจร ปริศนา ข้อท่ีสาม พี่ไขความว่า ถา้ เราร้จู ักวิธกี ารกินมะขามเราจะมีอาหารกินได้นาน ระหว่างที่เดินทางเข้าเมอื ง พี่ค่ัว มะขามกินบ้าง ทีเ่ หลือ...พ่ีเกบ็ เอามาโยนไว้รอบบ้าน ไมช่ ้ามนั เจริญเตบิ โตออกฝกั ออกเมลด็ ใหพ้ ่ีเกบ็ ไปขายได้ เงนิ มาทกุ ปี นี่แหละน้อง พไ่ี ด้ทาตามคาสอนพอ่ แลว้ และเปน็ จริงดว้ ย พ่ีจะเปน็ คนร่ารวยไปตลอดชีวิต” พ่ชี าย พูดอยา่ งเบกิ บานใจ (ผู้เขียน : จฑุ ารัตน์ สขุ สถิตย์ นทิ านไทย เร่ือง สมบัตขิ องพอ่ จากหนงั สอื เล่านทิ านใหห้ นฟู งั หน่อย หน้า ๑๓๘ – ๑๔๑)

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๖ เร่อื ง นิทานอา่ นสนกุ 869 แนวคาตอบใบงานท่ี 1 เรอื่ ง การอ่านนิทานพ้ืนบ้าน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรอื่ ง นิทานอ่านสนกุ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง การอา่ นนิทานพื้นบ้าน รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นอ่านนิทานพน้ื บ้านเรือ่ ง สมบตั พิ ่อ แลว้ ตอบคาถามตามหัวขอ้ ท่ีกาหนดให้ นทิ านพ้นื บา้ นเรอ่ื ง สมบตั ิของพอ่ นิทานพ้ืนบา้ นภาคใด ภาคกลาง แหลง่ ขอ้ มลู จากหนังสือเล่านทิ านให้หนฟู ังหน่อย ตัวละครสาคัญ สถานที่ ข้อคดิ ท่ไี ดจ้ ากเร่อื ง ชายชรา บ้านของชายชรา ถา้ เราขยันตง้ั หนา้ ตั้งตา ลกู ชายสองคน หมู่บ้านแหง่ หน่งึ ทางาน เปน็ อย่างดีแลว้ ละก็ สงิ่ ทจี่ ะไดม้ าก็คอื ความสุข, ความสมหวงั สรุปความรู้จากนิทานพน้ื บา้ น สมบัติของพ่อ เปน็ นิทานทใ่ี ห้ความร้เู กี่ยวกับการใช้ปญั ญาในการทางาน ผนวกกบั ความขยนั ทางาน และทาความดปี ระกอบการดาเนินชวี ิตอย่างถูกต้องและเหมาะสม

๘๗๐ คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรื่อง การอา่ นนทิ านทอ้ งถิ่น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 เร่อื ง นทิ านอ่านสนุก เวลา 1 ชว่ั โมง กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง ตวั ช้ีวดั ป.๕/๑ สรุปเร่ืองจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่อี า่ น ป.๕/๒ ระบุความรู้และข้อคดิ จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมท่สี ามารถนาไปใช้ในชีวติ จริง ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด นทิ านท้องถ่ิน เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มคี ุณคา่ แสดงให้เห็นวิถชี ีวิต ความคิด ความเช่ือ สภาพของ สังคมและภมู ิปญั ญาไทย ทาให้เกิดความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ไดข้ ้อคดิ คติสอนใจ สามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ จริง ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) บอกความหมายและลกั ษณะของนิทานท้องถนิ่ ได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) เขียนสรุปเร่อื งและข้อคิดของนิทานท้องถ่ินทอ่ี ่านได้ 3.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) นาข้อคิดท่ไี ด้ไปใช้ในชีวิตจรงิ ๔. สาระการเรยี นรู้ การอา่ นนิทานทอ้ งถิ่น ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการส่ือสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 ใฝเ่ รยี นรู้ 6.2 รกั ความเป็นไทย 7. กจิ กรรมการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรอ่ื ง นิทานอ่านสนกุ การจดั กจิ กรรมการเรยี น รายวชิ า ภาษาไทย หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 2 เรือ่ ง การอ ลาดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา แ ท่ี จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทีใ่ ช้ กจิ กรรมคร 1. ขอบเขตเนื้อหา ขั้นนา 5 1. ครูต้ังคาถามเพ่ือท 1. ความหมายของ นาที ประสบการณก์ ารอ่าน นทิ านท้องถิ่น กบั นกั เรียน ดงั นี้ 2. ลักษณะของนทิ าน - นกั เรียนรจู้ ักนิทานท ทอ้ งถนิ่ หรือไม่ ถา้ รจู้ ัก เรอื่ งอ 3. การนาข้อคิดที่ได้ - นทิ านท้องถ่ินในจงั ห ไปใช้ในชีวติ จริง เราได้แก่เรื่องอะไรบ้า 2. ครขู ออาสาสมคั รอ เลา่ นทิ านท้องถน่ิ 1 เ เพือ่ น ๆ ฟงั 3. ครูต้งั คาถามเกยี่ วก ทีเ่ พ่ือนออกมาเลา่ ดัง - เป็นเรื่องของหมบู่ ้าน - นาเสนอเรอ่ื งราวเก่ีย อะไร - มอี ยูจ่ ริงหรอื ไม่ เพร

871 นรู้ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 เรือ่ ง นิทานอ่านสนกุ จานวน 10 ชวั่ โมง อา่ นนทิ านทอ้ งถ่ิน จานวน 1 ชั่วโมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ รู กิจกรรมนักเรียน - สงั เกตการตอบ คาถามของ ทบทวน 1. นกั เรยี นตอบคาถามและ - คาถาม นักเรยี น นนิทาน สนทนารว่ มกนั กับครู เก่ยี วกบั คาถาม ดังนี้ ทอ้ งถน่ิ - นักเรียนรจู้ ักนิทานทอ้ งถิ่น อะไรบา้ ง หรือไม่ ถา้ รจู้ ัก เรอ่ื งอะไรบ้าง หวดั ของ - นทิ านท้องถิน่ ในจงั หวัดของ าง เราได้แก่เรอ่ื งอะไรบ้าง ออกมา 2. นกั เรยี นท่เี ป็นอาสาสมคั ร - นทิ านของ เรอ่ื ง ให้ ออกมาเลา่ นิทานท้องถิ่น 1 นกั เรยี น เร่ือง ให้เพอื่ น ๆ ฟัง กบั นทิ าน 3. นกั เรียนรว่ มกนั ตอบคาถาม - คาถาม - สงั เกตการตอบ งนี้ คาถามของ นใด นกั เรียน ยวกบั ราะอะไร

872 ขอบเขตเนื้อหา/ ขั้นตอนการจดั เวลา คมู่ ลําดบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ แ ท่ี ขนั้ สอน 25 กิจกรรมคร นาที 4. ครูแสดงความคิดเห 2. ทา้ ยและเชอ่ื มโยงเข้าส 1. ครตู ั้งคาํ ถามอีกคร ความเขา้ ใจของนักเรีย ครู : นิทานท้องถิ่นคือ ครู : มีลักษณะอย่างไร จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2. ครูยกตัวอยา่ งชอื่ น 1. บอกความหมาย ทอ้ งถนิ่ มาใหน้ กั เรยี นด และลกั ษณะของ ภาพประกอบ เชน่ ปล นิทานทอ้ งถน่ิ ได้ ผาแดงนางไอ่ เกาะหน 3. ครูถามนักเรยี น ดงั ครู : นทิ านท้องถิน่ ขอ ประจวบครี ีขันธ์คอื เรือ่ - เนอ้ื หาเล่าถึงเรือ่ งรา - นกั เรยี นได้รบั ความรอู้ 4. ครูใหน้ กั เรยี นอภปิ วเิ คราะหป์ ระเดน็ หลัก

อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมิน รู กจิ กรรมนกั เรยี น - สอ่ื PPT การเรียนรู้ เร่ือง การอา่ น ห็นสรปุ 4. นกั เรียนเขา้ สูใ่ บทเรียน นทิ านทอ้ งถน่ิ - สงั เกตการตอบ สู่บทเรยี น - คาํ ถาม คาํ ถามของ นกั เรียน รั้งเพ่อื ยํา้ 1. นกั เรยี นแบง่ กลุ่มร่วมกนั - คําถาม ยนว่า อภปิ รายวิเคราะห์จากใบความรู้ - สอ่ื PPT - สงั เกตการตอบ ออะไร เรอื่ ง การอ่านนทิ านทอ้ งถิ่น เรื่อง การอา่ น คําถามของ ร - ความหมายของนิทานทอ้ งถ่ิน นกั เรยี น - ลกั ษณะของนทิ านทอ้ งถ่นิ 1. ประเมิน การตอบคําถาม นิทาน 2. นกั เรียนดตู ัวอย่างนิทาน ดู พรอ้ ม ท้องถนิ่ ลาบทู่ อง นูเกาะแมว งน้ี 3. นกั เรยี นตอบคําถาม เชน่ องจงั หวัด นกั เรยี น : นิทานท้องถ่ินของ องอะไร จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ คอื าวอะไร ตามอ่ งลา่ ย อะไรบ้าง ปราย 4. นักเรียนอภิปรายวิเคราะห์ ก ดงั นี้ ประเด็นหลกั ดังน้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook