Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-08-คู่มื่อครู ภาษาไทย ป.5.-3

64-08-08-คู่มื่อครู ภาษาไทย ป.5.-3

Published by elibraryraja33, 2021-08-08 08:54:45

Description: 64-08-08-คู่มื่อครู ภาษาไทย ป.5.-3

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๖ เร่อื ง นิทานอ่านสนกุ ลําดบั ขอบเขตเนือ้ หา/ ขั้นตอนการจดั เวลา แ ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ กิจกรรมคร - การอ่านนทิ านทอ้ งถ 3. 2. เขยี นสรปุ เร่ืองและ ข้ันปฏบิ ตั ิ 15 - ความสาํ คญั ของนทิ า ข้อคดิ ของนิทาน นาที - การเขียนสรปุ เรื่องแ ท้องถน่ิ ทอ่ี า่ นได้ 5. หลังจากน้นั ครถู าม ว่า ครู : ถา้ ครูตอ้ งการท่จี ข้อคดิ จากเรื่องทอี่ ่าน วธิ ีการอยา่ งไร 6. ครูให้นกั เรยี นอา่ น ทอ้ งถนิ่ ท่สี นใจ 1 เรอ่ื นักเรยี นนาํ มาจากบ้าน ใครไมม่ ี ครใู หอ้ ่านเรื่อ สํารองไวใ้ ห้ 7. ครชู ี้แจงการทํากจิ และกาํ หนดใหน้ ักเรยี น งานที่ 2 การอา่ นนิทาน (ครูขนึ้ กิจกรรมในจอ วา่ : นกั เรียนทาํ ใบงาน การอ่านนิทานทอ้ งถนิ่

แนวการจดั การเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ 873 รู กจิ กรรมนกั เรยี น นทิ านท้องถน่ิ ถิ่น - การอ่านนิทานท้องถนิ่ การประเมนิ านท้องถ่ิน - ความสําคญั ของนิทานทอ้ งถ่ิน การเรยี นรู้ และข้อคิด - การเขียนสรุปเร่ืองและข้อคิด มนกั เรียน 5. นกั เรยี น : ตอบคําถามและ จะคน้ หา ช่วยกนั สรปุ หลักการค้นหา ข้อคิดและการนาํ ข้อคิดจาก จะมี การอา่ นนทิ านทอ้ งถ่นิ ไป นนทิ าน 6. นักเรียนอ่านนทิ านท่สี นใจ - ใบงานท่ี 2  2. ตรวจใบงาน อง โดยให้ น แต่ถา้ 7. นกั เรียนทาํ กิจกรรมในใบ องทคี่ รู งานที่ 2 การอา่ นนทิ านทอ้ งถนิ่ จกรรม (นักเรียนท้งั ตน้ ทาง/ปลายทาง ทาํ ใบงานที่ 2 การอ่านนิทาน นทําใบ ท้องถิ่น) พร้อมกนั นท้องถิน่ PPT นที่ 2 น)

874 คู่มอื ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ข้นั ตอนการจัด เวลา แ ที่ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมคร 8. ครูสรปุ การทากจิ ก และประเมินการทางา 4. 3. นาขอ้ คดิ ท่ไี ด้ไปใช้ ขั้นสรุป 5 1. ครูกาหนดให้นกั เร ในชวี ิตจริง นาที ชว่ ยกนั สรปุ ความรู้เรือ่ การอ่านนทิ านทอ้ งถ่ิน

อครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ รู กิจกรรมนักเรียน 3. สังเกต กรรม 8. นักเรยี นสรปุ การทา การตอบคาถาม าน กิจกรรมร่วมกัน ของนักเรียน รยี น 1. นกั เรียนท้งั หอ้ งช่วยกันสรุป - สอ่ื PPT อง ความรู้เปน็ แผนภาพความคดิ สรปุ ความรู้ น เรื่อง การอ่านนิทานท้องถิน่ คอื นิทานท้องถิน่ เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมทมี่ คี ุณคา่ แสดงใหเ้ หน็ วิถชี ีวติ ความคดิ ความเช่อื สภาพสังคมและ ภมู ปิ ัญญาไทย 2. นักเรียนนาข้อคิดทไี่ ดจ้ าก การอ่านนิทานทอ้ งถิ่นไป ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๖ เรื่อง นิทานอ่านสนกุ 875 8. สอื่ การเรียนร้/ู แหลง่ เรยี นรู้ 1. ใบความรู้ท่ี 2 เร่อื ง การอ่านนทิ านทอ้ งถิ่น 2. ใบงานท่ี 2 เรื่อง การอา่ นนทิ านทอ้ งถน่ิ 3. ส่ือ PPT เร่อื ง การอ่านนทิ านทอ้ งถิน่ 4. คาถาม 5. ตัวอย่างนทิ านทอ้ งถน่ิ 6. การเลา่ นทิ านของเพ่อื น 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน - ใบงานที่ 2 เร่อื ง การอ่านนิทานท้องถน่ิ ส่ิงท่ีต้องการวดั / ประเมนิ วธิ กี าร เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ เกณฑ์ - คาถาม ร้อยละ ๖๐ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) ข้นึ ไป - บอกความหมายและลักษณะ - พจิ ารณาจากการตอบ - แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ของนิทานทอ้ งถนิ่ คาถามของนกั เรยี น ข้ึนไป ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P) - เขยี นสรุปเร่ืองและข้อคิดของ - ตรวจใบงานท่ี 2 เร่ือง นิทานทอ้ งถ่ินทอี่ ่าน การอ่านนทิ านท้องถนิ่ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) - นาข้อคิดท่ไี ด้ไปใช้ในชีวิตจรงิ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ร้อยละ ๖๐ ขนึ้ ไป ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ระดบั คณภาพ 1. ใฝ่เรียนรู้ นักเรยี น อันพึงประสงค์ ผา่ น 2. รักความเป็นไทย - สงั เกตพฤติกรรม สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น นกั เรียน - แบบประเมนิ สมรรถนะ ระดบั คณภาพ 1. ความสามารถในการส่อื สาร สาคญั ของผเู้ รยี น ผา่ น 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะ ชวี ิต

876 คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) เกณฑ์ประเมิน : การประเมนิ การวิเคราะห์ สรปุ ความรู้ คุณคา่ และขอ้ คิดจากการอา่ นนิทาน ประเดน็ ๔ (ดมี าก) ระดบั คุณภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) การประเมิน ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) 1. การคิดวเิ คราะห์ สามารถคิด สามารถคิด สามารถคิด สามารถคิดวเิ คราะห์ วเิ คราะห์ได้อยา่ ง วิเคราะหไ์ ดอ้ ยา่ ง วิเคราะหไ์ ดอ้ ย่าง ได้อย่างสร้างสรรค์ สร้างสรรค์ใน สรา้ งสรรคไ์ ด้ สร้างสรรค์ได้ น้อยมาก ด้านบวกได้ เปน็ สว่ นใหญ่ เพยี งบางส่วน ทัง้ หมด สรปุ ความรตู้ รง 2. การสรุป สรปุ ความรูต้ รง ประเดน็ ถกู ตอ้ ง สรปุ ความรูต้ รง สรปุ ความร้ไู มต่ รง ความรู้ ประเด็นถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ ของ ประเด็นถูกต้อง ประเดน็ ถกู ต้อง ครบถว้ นตาม เนื้อหาของเรือ่ ง ร้อยละ ๖๐ ของ รอ้ ยละ ๔๐ ของ เนอื้ หาของเร่ือง เขียนบอกความ เน้อื หาของเรื่อง เน้อื หาของเรอื่ ง สาคญั ของเนอื้ หา 3. การอธิบาย เขียนบอกความ ตรงประเดน็ เขยี นบอกความ เขียนบอกความ คณุ ค่า สาคญั ของเน้อื หา สาคัญของเน้อื หาตรง สาคัญของเนื้อหาไม่ ตรงประเดน็ และ เขียนข้อคดิ ตรง ประเด็นบางสว่ น ตรงประเดน็ และ ยกตัวอย่าง ประเดน็ สอดคลอ้ ง และวกวน เขยี นวกวน กับเรอ่ื ง 4. การเขยี น เขยี นข้อคิดตรง เขียนข้อคดิ ได้ เขียนข้อคดิ ได้ อธิบายข้อคิด ประเด็นแสดง เขียนขอ้ คดิ ไปใช้ใน บางส่วนสอดคล้อง นอ้ ยมากและไม่ เหตผุ ลสอดคลอ้ ง ชวี ิตประจาวันได้ กับเรอ่ื งบางสว่ น ตรงประเด็น กับเร่อื ง และใชไ้ ด้จรงิ 5. การนาขอ้ คิด เขียนข้อคิดไปใช้ เขียนขอ้ คดิ ไปใช้ใน เขียนข้อคดิ ไปใช้ใน ไปใชใ้ น ในชวี ิตประจาวัน ชีวิตประจาวนั ได้ ชวี ิตประจาวันได้ ชีวิตประจาวนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง บางสว่ น น้อย และใชไ้ ดจ้ ริง เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑8-๒๐ ดีมาก 15-๑7 ดี ๑2-๑4 พอใช้ ตา่ กวา่ 12 ปรบั ปรงุ เกณฑ์การตัดสนิ : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ ๖๐ ข้นึ ไป (ตอ้ งไดร้ ะดบั พอใชข้ ึ้นไป)

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๖ เรอ่ื ง นิทานอา่ นสนกุ 877 แบบประเมินการประเมินการวิเคราะห์ สรุปความรู้ คุณค่าและขอ้ คิดจากการอา่ นนทิ าน คาชแ้ี จง ให้ครูผู้สอนประเมนิ ผลการทากจิ กรรม/ใบงาน โดยเขียนคะแนน ลงในชอ่ งท่ีกาหนดใหถ้ ูกตอ้ ง ลาดับ ช่อื - สกุล คะแนน คดิ เป็น สรปุ ผล ที่ ทไี่ ด้ ร้อยละ การประเมิน ๒๐ คะแนน ๑๐๐ ผ่าน ไมผ่ า่ น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ รวม (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ ผลการประเมนิ  ดมี าก ..........คน คดิ เป็นรอ้ ยละ............... ดี ..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ................  พอใช้ ..........คน คดิ เปน็ ร้อยละ............... ปรับปรงุ .........คน คดิ เป็นร้อยละ................. สรุปผลการประเมินรายช้ันเรยี น  นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมิน จานวน......................... คน คดิ เป็นร้อยละ.........................  นกั เรยี นไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ จานวน......................... คน คิดเปน็ ร้อยละ........................ . ลงชือ่ .................................................ผปู้ ระเมนิ (..............................................) ........../..................../..........

878 ค่มู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) 10. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากัดการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ เรือ่ ง นิทานอ่านสนกุ 879 ใบความรูท้ ี่ 2 เรอ่ื ง การอ่านนทิ านท้องถิน่ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 เร่อื ง นทิ านอา่ นสนุก แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การอา่ นนิทานท้องถ่ิน รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ นทิ านทอ้ งถ่ิน คือ เรื่องเล่าท่ีมีการดาเนินเรื่องอย่างง่าย ๆ โครงเรื่องไม่ซับซ้อน เล่าเรื่องอย่าง ตรงไปตรงมา มักเริ่มเร่ืองโดยกล่าวถึงตัวละครสาคัญของเรื่อง ซ่ึงอาจจะเป็นรุ่นพ่อ-แม่ของ พระเอกหรือนางเอก แล้วดาเนินเร่ืองไปตามลาดับเหตุการณ์ ตัวละครเอกพบอุปสรรคปัญหา แล้วกฟ็ ันฝา่ อุปสรรคหรือแก้ปญั หาลลุ ่วงไปจนจบเร่ือง มักจะจบแบบมีความสขุ ถา้ เป็นนทิ านคติ ก็ มกั จะจบลงวา่ “นิทานเรื่องนสี้ อนใหร้ วู้ า่ …..” ลักษณะของนิทานทอ้ งถิ่น ๑. เป็นเร่ืองเก่าท่ีเล่ากันด้วยปากด้วยถ้อยคาธรรมดาเป็นภาษาร้อยแก้ว สืบทอดกันมา เป็นเวลาช้านาน ไม่ปรากฏผู้เล่าดั้งเดิมเป็นใครอ้างแต่ว่าเป็นของเก่าฟังมาจากผู้เล่า (กุหลาบ มลั ลิกะมาส 2518, หน้า 99-100) ๒. แสดงความคิด ความเชอื่ ของชาวบา้ น นทิ านพน้ื บา้ นท้องถ่ิน แบ่งได้เป็น 4 ภาค ไดแ้ ก่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคใต้ ตัวอย่างช่อื นิทานทอ้ งถิ่นของแต่ละภาค ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคอสี าน ภาคใต้ - ลานนางคอย - เจา้ แม่ลมิ้ กอเนีย้ ว - เชียงดาว - แมน่ ากพระโขนง - ผาแดงนางไอ่ - ลกู เนรคณุ - เมอื งลับแล - สงั ข์ทอง - ปปู่ ะหลาน - ปลาแกม้ ชา้ - เชีย่ งเหมี่ยง - ปลาบ่ทู อง - ซิ่นสองตอ่ น - เกาะหนูเกาะแมว - อา้ นกอ้ งขีจ้ ุ๊ - ศรธี นชัย - ยายหมาขาว - ตาม่องลา่ ย - ควายลงุ คา - โสนน้อยเรอื นงาม - กอ่ งขา้ วนอ้ ยฆา่ แม่ - ไกรทอง - พญาคันคาก - ทา้ วแสนปม พิกุลทอง - กุดนางใย

880 คู่มือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) นิทานทอ้ งถ่ิน มีความสาคัญและมีคุณค่า ต่อชีวติ มนุษย์และสังคมในหลายด้าน ดงั นี้ 1. ช่วยให้เข้าใจสภาพของคนโดยท่ัวไป ประมวลแห่งความรู้สึกนึกคิด ความเช่ือ ความ นิยม ความบันเทิง 2. เป็นเสมือนกรอบล้อมชีวิตให้อยู่ในขอบเขตท่ีสังคมน้ันๆนิยมว่าดีหรือถูกต้อง ได้ฟัง การอบรมในวิถีชีวติ ต้ังแตเ่ ดก็ 3. ทาให้จักสภาพชีวิตท้องถิ่น ตามหลักที่ว่าคติชาวบ้านเป็นพื้นฐานชีวิตของคนชาติ หน่งึ ๆ หรือชนกลุ่มน้ัน ๆ 4. เป็นมรดกทางวฒั นธรรมประจาชาติ เป็นเร่ืองราวเก่ียวกับชีวิตมนุษย์ มีการจดจาและ ถือปฏบิ ัตกิ ันตอ่ ๆ มา 5. เป็นทั้งศิลป์และศาสตร์ เป็นต้นเค้าแห่งศาสตร์ต่าง ๆ และช่วยให้การศึกษาใน สาขาวิชาอนื่ กวา้ งขวางย่ิงขน้ึ 6. ทาให้เกดิ ความภาคภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ ของตน 7. นทิ านพืน้ บา้ นเป็นเคร่ืองบนั เทงิ ใจยามว่างของมนุษย์ แหล่งทมี่ า : มรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม www. Ich.cuture.go.th

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๖ เรือ่ ง นิทานอ่านสนกุ 881 ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง การอ่านนิทานทอ้ งถนิ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 เร่อื ง นทิ านอ่านสนุก แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่ือง การอา่ นนิทานท้องถ่ิน รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นอา่ นนิทานท้องถิ่น 1 เร่อื ง แล้วตอบคาถามตามหัวข้อท่กี าหนด นทิ านท้องถ่นิ เรื่อง แหล่งข้อมลู สถานท่ี ขอ้ คดิ ท่ีได้จากเรื่อง ตัวละครสาคญั คณุ คา่ ของนิทาน ชอื่ ......................................................นามสกลุ ...............................................ชน้ั ................เลขท่ี.............

882 คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวคาตอบใบงานที่ 2 เรือ่ ง การอา่ นนิทานทอ้ งถ่ิน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 เรอื่ ง นิทานอา่ นสนกุ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การอา่ นนทิ านท้องถ่ิน รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ คาชี้แจง ให้นกั เรยี นอ่านนิทานท้องถ่ิน 1 เรอื่ ง แล้วตอบคาถามตามหวั ขอ้ ที่กาหนด ตัวอย่างนทิ านท้องถ่นิ เร่อื ง ตามอ่ งล่าย แหลง่ ขอ้ มลู เวบ็ ไซต์อินเทอรเ์ น็ต http//www.google.com/wrmkmmphunban ตัวละครสาคัญ สถานที่ ข้อคดิ ที่ได้จากเรอ่ื ง ตามอ่ งล่าย ยายราพงึ สถานท่ีหลักคอื บ้านรมิ ทะเล ๑. การลงมอื ทาสิง่ ใด ต้อง นางยมโดย เจา้ สาย เจา้ กรงุ จีน ใครค่ รวญ ให้ดเี สียก่อน จะได้ ไม่เกิดขอ้ ผดิ พลาดภายหลัง ๒. พอ่ แม่ ไม่ควรคลมุ ถุงชนลกู ควรใหล้ กู เปน็ ฝา่ ยตดั สินใจเอง จะไดไ้ มเ่ กิดปญั หาขน้ึ ใน ภายหลงั คณุ คา่ ของนทิ าน แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ระหว่างเพ่ือนบ้านใกล้เคียง การติดต่อค้าขายกับต่างชาติ ต่างภาษา ตา่ งอาชีพและภูมิประเทศแถบชายฝั่งทะเลของจังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ ซึ่งประกอบด้วยภูเขา เกาะแก่ง ใหญ่น้อยสวยงาม แปลกตา ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเท่ียวสาคัญ ทาให้เกิดจินตนาการนามาผูกเป็นเร่ือง เชือ่ มโยงกบั ตวั ละครซ่งึ เล่าขานสบื ตอ่ กนั มาแตอ่ ดตี ทาให้คนรุ่นหลงั ได้เรียนรสู้ ภาพภมู ิศาสตร์ สภาพภูมิ ประเทศไปกบั นทิ านพื้นบา้ นเร่ืองน้ไี ดอ้ ย่างนา่ สนใจ หมายเหตุ การตรวจข้นึ อยกู่ บั นทิ านทอ้ งถน่ิ ของแต่ละโรงเรียน การตรวจให้อยู่ในดลุ พนิ ิจของครผู สู้ อน ซึ่งแต่ละทอ้ งถน่ิ นิทานจะมีความแตกตา่ งกัน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เร่อื ง นทิ านอา่ นสนกุ ๘๘๓ แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๓ เรือ่ ง การอา่ นนิทานอาเซยี น เวลา 1 ชัว่ โมง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เร่ือง นทิ านอา่ นสนุก กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริง ตวั ช้ีวัด ป.๕/๑ สรปุ เรื่องจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมท่อี ่าน ป.๕/๒ ระบคุ วามรแู้ ละขอ้ คิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมทส่ี ามารถนาไปใช้ในชีวิตจรงิ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด นิทานเป็นเร่ืองเล่าสืบต่อกันมา ให้ความสุนกสนานเพลิดเพลินและแฝงด้วยความรู้ ข้อคิดเตือนใจ จึงต้องเลอื กให้เหมาะสมกับจดุ ประสงค์และวัย จงึ จะทาให้ไดร้ ับคุณคา่ สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตจรงิ ได้ ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) บอกความหมายและลกั ษณะของนทิ านอาเซียนได้ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เขยี นสรปุ เรอ่ื งและขอ้ คิดของนทิ านอาเซยี นทอ่ี า่ นได้ 3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) นาข้อคิดทไ่ี ดไ้ ปใชใ้ นชีวติ จริง ๔. สาระการเรยี นรู้ การอ่านนิทานอาเซยี น ๕. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ ๖. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรยี นรู้ 6.2 มุ่งมัน่ ในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

๘๘๔ คู่มือ การจัดกิจกรรมการเรียน รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เรอื่ ง การอ ลาดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมคร 1. ขอบเขตเนอื้ หา ขน้ั นา 10 1. ครตู ง้ั คาถามเพอื่ ท 1. ความหมายของ นาที ประสบการณก์ ารอา่ น กับนักเรยี น ดังนี้ นิทานอาเซยี น - นักเรียนรู้จักนิทานอา 2. ลักษณะของนทิ าน อาเซยี น หรอื ไม่ ถ้ารจู้ กั เรื่องอะ จากประเทศใด 3. การนาขอ้ คิดท่ไี ด้ - นักเรยี นเคยอ่านนทิ า ไปใชใ้ นชีวิตจริง เรือ่ งใดบา้ ง ของประเท 2. ครูเล่านทิ านอาเซยี ประเทศกมั พชู า “เรอ่ื ป่ากบั กงุ้ ฝอย” 3. ครตู งั้ คาถาม ดงั น้ี - นิทานเร่ืองน้ีใหข้ อ้ ค แก่นกั เรยี น - นักเรยี นจะนาข้อคดิ ไ

อครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) นรู้ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 เร่อื ง นิทานอ่านสนุก จานวน 10 ชวั่ โมง อา่ นนิทานอาเซียน จานวน 1 ช่ัวโมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมิน รู กิจกรรมนกั เรยี น การเรียนรู้ - สงั เกตการตอบ ทบทวน 1. นกั เรยี นตอบคาถามและ - คาถาม คาถามของ นนทิ าน สนทนาร่วมกนั กบั ครู เกีย่ วกบั นกั เรยี น คาถาม าเซียน ะไรบา้ ง านอาเซยี น ทศใด ยนของ 2. นักเรียนฟงั ครเู ล่านทิ าน - นิทานอาเซยี น อง หมา อาเซียน “เรอ่ื ง หมาป่ากบั กงุ้ เรอ่ื ง หมาป่ากบั ฝอย” และสรุปใจความสาคัญ กงุ้ ฝอย รว่ มกนั 3. นกั เรียนรว่ มกันตอบคาถาม - คาถาม - สงั เกตการตอบ คิดอะไร และแสดงความคดิ เหน็ สรปุ คาถามของ นกั เรียน ทา้ ย จากนั้นเข้าสบู่ ทเรียน ไปใชอ้ ยา่ งไร พรอ้ มกัน

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๖ เร่ือง นทิ านอา่ นสนกุ ลาดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ข้ันตอนการจดั เวลา แ ท่ี จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ กิจกรรมคร 2. ขั้นสอน 20 1. ครูตง้ั คาถามอีกคร นาที ความเข้าใจของนักเรีย ครู : นักเรียนคิดวา่ น หมาปา่ กบั กงุ้ ฝอย นา่ นทิ านอาเซยี นจากประ (ถา้ นักเรยี นตอบไม่ถูก อธบิ าย เชน่ บอกชอ่ื เ สาเนยี งภาษาของประเ ครู : นทิ านอาเซียนค จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2. ครูยกตวั อยา่ งนทิ า 1. บอกความหมาย อาเซียนมาให้นกั เรยี น และลกั ษณะของ ลูกกระจงนอ้ ยกบั จระ นิทานอาเซียนได้ ผ้ทู รงพลงั ภูทา้ วภูนา 3. ครูถามนกั เรยี น ดงั - นิทานเรอ่ื งนเี้ ป็นนทิ ประเทศใด - นิทานอาเซียนมีลกั ษณ 4. ครูให้นักเรียนอภิป วิเคราะหป์ ระเดน็ หลัก

๘๘๕ แนวการจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ รู กจิ กรรมนักเรยี น การเรียนรู้ - สังเกตการตอบ รงั้ เพ่ือยา้ 1. นักเรียนรว่ มกนั ตอบคาถาม - คาถาม คาถามของ ยนวา่ นักเรยี น นิทานเร่อื ง นักเรยี น : ประเทศกัมพูชา าจะเปน็ ะเทศใด ก ครูนา เมอื งหรือ เทศนนั้ ๆ คอื อะไร นักเรยี น : นกั เรียนสามารถ อธิบายได้หลากหลาย าน 2. นกั เรียนดตู ัวอยา่ งนทิ าน - นิทานอาเซียน นดู เช่น อาเซยี น ะเข้ บาดัง าง งนี้ 3. นกั เรยี นตอบคาถาม เชน่ - คาถาม - สงั เกตการตอบ ทานจาก - จากประเทศ..... - ใบความร้ทู ี่ ๓ คาถามของ นกั เรียน - อธบิ ายลักษณะของนิทาน 1. ประเมนิ ณะอย่างไร อาเซยี น การตอบคาถาม ปราย 4. นักเรยี นอภปิ รายประเด็น กจากใบ หลกั จากใบความรูท้ ่ี ๓ เรอ่ื ง

๘๘๖ ค่มู อื ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ข้ันตอนการจดั เวลา แ ที่ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมคร ความรทู้ ่ี ๓ ดงั นี้ - การอา่ นนทิ านอาเซ - ความสาคญั ของนิทา อาเซยี น - การเขียนสรปุ เรือ่ งแ 5. หลังจากนนั้ ครถู าม ว่า ครู : ถา้ ครูต้องการทจี่ ขอ้ คดิ จากเร่อื งทอ่ี ่าน วิธีการอย่างไร 6. ครใู หน้ ักเรียนอา่ น อาเซียนทสี่ นใจ 1 เร่ือ 3. 2. เขียนสรปุ เรื่องและ ขนั้ ปฏิบตั ิ 15 7. ครูชแ้ี จงการทากจิ ข้อคิดของนิทาน นาที กาหนดให้นักเรยี นทา อาเซียนทอ่ี ่านได้ ท่ี 3 การอ่านนิทาน (ครขู น้ึ กิจกรรมในจอ นกั เรยี นทาใบงานท่ี 3

อครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจดั การเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ การประเมนิ รู กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู้ การอ่านนิทานอาเซยี น ดังนี้ ซยี น - การอ่านนิทานอาเซียน าน - ความสาคัญของนิทาน อาเซียน และข้อคดิ - การเขียนสรุปเรื่องและขอ้ คิด มนักเรียน 5. นกั เรียน : ตอบคาถามและ ช่วยกนั สรุปหลกั การค้นหา จะค้นหา ข้อคดิ และการนาขอ้ คิดจาก จะมี การอ่านนิทานอาเซยี นไป นนทิ าน 6. นกั เรียนอา่ นนทิ านทส่ี นใจ - ส่ือ PPT อง เรื่อง การอ่าน นิทานอาเซียน จกรรมและ 7. นกั เรยี นทากิจกรรมในใบ - ใบงานท่ี 3 2. ตรวจใบงาน าใบงาน งานที่ 3 การอา่ นนทิ าน การอา่ นนิทาน นอาเซียน อาเซยี น อาเซยี น PPT ว่า : (นักเรยี นท้ังต้นทาง/ปลายทาง 3 การอา่ น ทาใบงานที่ 3 การอา่ นนทิ าน

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๖ เร่อื ง นทิ านอา่ นสนกุ ลาดบั ขอบเขตเนื้อหา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทีใ่ ช้ กจิ กรรมคร นทิ านอาเซียน) 8. ครสู รปุ การทากจิ ก และประเมนิ การทางา 4. 3. นาข้อคดิ ทไี่ ด้ไปใช้ ข้ันสรุป 5 1. ครูกาหนดให้นกั เร ในชวี ติ จรงิ นาที ช่วยกันสรุปความร้เู รื่อ การอา่ นนทิ านอาเซยี น

๘๘๗ แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมิน รู กิจกรรมนกั เรียน การเรยี นรู้ อาเซียน) พรอ้ มกนั 3. สงั เกต กรรม 8. นกั เรยี นสรปุ การทา การตอบคาถาม าน กิจกรรมรว่ มกัน ของนักเรียน รยี น 1. นกั เรียนทั้งหอ้ งชว่ ยกนั สรปุ - สื่อ PPT อง ความรู้เป็นแผนภาพความคดิ น เร่อื ง การอ่านนิทานอาเซียน คือ นทิ านเป็นเรอื่ งเล่าสบื ตอ่ กนั มามีอยู่ในทกุ ชาติทกุ ภาษา นิทานทเ่ี ล่ากนั ในกลมุ่ ประเทศ อาเซยี นเรียกว่า นทิ านอาเซียน และการเลอื กอา่ นหนงั สือ ตอ้ ง เลอื กใหเ้ หมาะสมกับ ความต้องการและวยั จงึ จะ ทาใหไ้ ด้รบั คุณคา่ สามารถ นาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่าง แทจ้ รงิ 2. นักเรียนนาข้อคิดทไ่ี ดจ้ าก การอา่ นนิทานอาเซียนไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน

888 คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) 8. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ 1. ใบความรู้ท่ี 3 เรื่อง การอ่านนทิ านอาเซยี น 2. ใบงานท่ี 3 เรอื่ ง การอา่ นนทิ านอาเซียน 3. สือ่ PPT เรือ่ ง การอา่ นนทิ านอาเซียน 4. คาถาม 5. ตัวอย่างนิทานอาเซียน 9. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน - ใบงานที่ 3 เรอื่ ง การอ่านนทิ านอาเซยี น สง่ิ ที่ตอ้ งการวัด / ประเมิน วธิ กี าร เครอื่ งมอื ที่ใช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - คาถาม ร้อยละ ๖๐ - บอกความหมายและลักษณะ - พิจารณาจากการตอบ ขน้ึ ไป ของนิทานอาเซียน คาถามของนกั เรยี น ด้านทักษะและกระบวนการ (P) - เขียนสรุปเรือ่ งและขอ้ คดิ ของ - ตรวจใบงานท่ี 3 เรอื่ ง - แบบประเมิน รอ้ ยละ ๖๐ นิทานอาเซียนทีอ่ า่ น การอา่ นนทิ านอาเซยี น การประเมนิ การวิเคราะห์ ขน้ึ ไป สรปุ ความรู้ คณุ ค่าและ ข้อคดิ จากการอ่านนทิ าน ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - นาขอ้ คดิ ทไี่ ดไ้ ปใช้ในชวี ติ จริง - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ร้อยละ ๖๐ นักเรียน ของนกั เรียน ขนึ้ ไป ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ระดบั คณุ ภาพ 1. ใฝ่เรยี นรู้ - สังเกตพฤติกรรม 2. มุ่งมัน่ ในการทางาน นกั เรยี น อนั พงึ ประสงค์ ผา่ น สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน - แบบประเมนิ สมรรถนะ ระดับคุณภาพ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร - สังเกตพฤตกิ รรม 2. ความสามารถในการคดิ นักเรยี น สาคัญของผู้เรยี น ผา่ น 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะ ชีวิต

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๖ เร่อื ง นิทานอา่ นสนกุ 889 เกณฑ์ประเมิน : การประเมนิ การวิเคราะห์ สรปุ ความรู้ คุณค่า และข้อคิดจากการอา่ นนิทาน ประเดน็ ๔ (ดมี าก) ระดบั คุณภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) การประเมิน ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) 1. การคิดวเิ คราะห์ สามารถคดิ สามารถคิด สามารถคิด สามารถคดิ วเิ คราะหไ์ ดอ้ ย่าง วเิ คราะห์ได้อยา่ ง วเิ คราะหไ์ ด้อย่าง วิเคราะห์ไดอ้ ย่าง สรา้ งสรรคใ์ น สร้างสรรคไ์ ด้ สร้างสรรคไ์ ด้ สร้างสรรค์น้อยมาก ดา้ นบวกไดท้ ง้ั หมด เป็นสว่ นใหญ่ เพียงบางส่วน 2. การสรุป สรปุ ความรตู้ รง สรปุ ความรตู้ รง สรปุ ความรูต้ รง สรปุ ความรู้ไม่ตรง ความรู้ ประเดน็ ถูกตอ้ ง ประเด็นถูกตอ้ ง ประเด็นถกู ต้อง ประเดน็ ถูกต้อง ครบถ้วนตาม ร้อยละ ๘๐ ของ รอ้ ยละ ๖๐ ของ รอ้ ยละ ๔๐ ของ เนอื้ หาของเร่ือง เนื้อหาของเรอื่ ง เนื้อหาของเรอื่ ง เนือ้ หาของเรือ่ ง 3. การอธบิ าย เขยี นบอกความ เขยี นบอกความ เขียนบอกความ เขียนบอกความ คณุ ค่า สาคญั ของเนอื้ หา สาคัญของเนือ้ หา สาคัญของเนื้อหา สาคญั ของเนือ้ หา ตรงประเดน็ ตรงประเด็น ตรงประเดน็ ไมต่ รงประเด็นและ และยกตวั อยา่ ง บางส่วน และวกวน เขียนวกวน 4. การเขียน เขยี นขอ้ คิดตรง เขียนขอ้ คิดตรง เขยี นข้อคดิ ได้ เขยี นข้อคิดได้ อธบิ ายขอ้ คดิ ประเด็นแสดง ประเด็น สอดคลอ้ ง บางส่วนสอดคล้อง น้อยมากและไม่ เหตผุ ลสอดคลอ้ ง กับเรอื่ ง กับเรื่องบางส่วน ตรงประเด็น กบั เรอ่ื ง 5. การนาข้อคดิ เขยี นข้อคิดไปใชใ้ น เขยี นขอ้ คิดไปใช้ใน เขียนขอ้ คิดไปใชใ้ น เขยี นขอ้ คดิ ไปใชใ้ น ไปใชใ้ นชีวิต ชีวติ ประจาวันได้ ชีวติ ประจาวนั ได้ ชีวิตประจาวนั ได้ ชวี ติ ประจาวันได้ ประจาวัน อย่างถกู ต้องและ และใช้ไดจ้ ริง บางสว่ น น้อย ใชไ้ ด้จริง เกณฑก์ ารประเมินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑8-๒๐ ดีมาก 15-๑7 ดี ๑2-๑4 พอใช้ ตา่ กว่า 12 ปรบั ปรงุ เกณฑ์การตัดสนิ : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินรอ้ ยละ ๖๐ ขน้ึ ไป (ตอ้ งไดร้ ะดบั พอใช้ขึน้ ไป)

890 คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แบบประเมนิ การประเมินการวเิ คราะห์ สรปุ ความรู้ คณุ ค่าและขอ้ คิดจากการอา่ นนิทาน คาช้แี จง ให้ครูผู้สอนประเมินผลการทากิจกรรม/ใบงาน โดยเขียนคะแนน ลงในชอ่ งที่กาหนดให้ถกู ตอ้ ง ลาดบั ชื่อ - สกลุ คะแนน คิดเปน็ สรปุ ผล ท่ี ทีไ่ ด้ รอ้ ยละ การประเมนิ ๒๐ คะแนน ๑๐๐ ผา่ น ไม่ผ่าน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ รวม (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ ผลการประเมนิ  ดีมาก ..........คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ...............  ดี ..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ................  พอใช้ ..........คน คดิ เปน็ ร้อยละ...............  ปรบั ปรงุ .........คน คิดเป็นร้อยละ............... สรุปผลการประเมนิ รายชัน้ เรยี น  นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมิน จานวน......................... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.........................  นกั เรียนไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน จานวน......................... คน คิดเป็นรอ้ ยละ........................ . ลงชอื่ .................................................ผปู้ ระเมนิ (..............................................) ........../..................../..........

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๖ เร่ือง นทิ านอ่านสนกุ 891 10. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อจากัดการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ...................................................... ผ้ตู รวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

892 ค่มู ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ใบความร้ทู ี่ 3 เรอื่ ง การอา่ นนทิ านอาเซียน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เร่ือง นทิ านอ่านสนุก แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่ือง การอา่ นนิทานอาเซยี น รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ การอา่ นและศกึ ษานทิ านอาเซียน เป็นการอ่านเสริมพัฒนาการความรู้เสริมจิตนาการ สอดแทรกคุณธรรม และเตรียมความ พร้อมด้านสังคมให้ได้เรียนรู้วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของเพื่อนบ้าน ทาให้รู้จักจิตใจของกัน และกันมากยง่ิ ขึ้น การอ่านเร่ืองท่ีทาให้รู้จักเพื่อนบ้านมากย่ิงข้ึน ประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปนิ ส์ เมียนมาร์ เวยี ดนาม บรูไน ลาว และกมั พูชา คุณคา่ ของการอา่ นนทิ านอาเซียน เป็นเรื่องเลา่ ของแต่ละชาติมีเนื้อหาหลากหลาย บางเร่ืองเลา่ บอกความเป็นมาของสถานท่ี เพราะบางเร่ืองกล่าวถึงสิ่งมหัศจรรย์ บางเร่ืองตลกขบขัน บางเร่ืองเกี่ยวกับผี มีเป็นประโยชน์ สรุปได้ดังนี้ ๑. ความเพลิดเพลิน ตามแต่จินตนาการทาให้เพลิดเพลินไปกับความมหัศจรรย์ต่าง ๆ ท่ี เราทาไม่ได้ในชวี ติ จริงในเรอ่ื งทานองนี้ เช่น ไกรทอง (การแปลงกายของจระเข้) ๒. กาลังใจ ตวั เอกในนิทานมักประสบความทุกขย์ ากลาบาก แต่ก็จะไดร้ ับความสุขสบาย ในที่สุด เช่น บาดังจอมพลัง ตัวเอกเป็นทาส ทางานหนักรับใช้นาย ชีวิตไม่ได้สบายเลย แต่เขามี ความซอ่ื สตั ย์ จรงิ ใจ เรือ่ งแบบน้ใี ห้กาลังใจแก่ผู้ทมี่ ีความทุกข์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ๓. คาอธิบายเกี่ยวกับที่มาของสถานท่ีและส่ิงต่าง ๆ เช่น ไทยตานานท่ีมาของท่าเตียน นิทานเหล่านี้ทาให้เรียนรู้เก่ียวกับธรรมชาติรอบตัว เข้าใจและผูกพันกับท้องถ่ิน ก่อให้เกิดความ ภาคภูมิใจในท้องถน่ิ ๔. วีรบุรุษประจาท้องถิ่น นิทานบางเรื่องทาให้รู้จักวีรบุรุษ หรือบุคคลสาคัญที่ควรแก่ การยกย่อง เชิดชู เกิดความภูมิใจในความเป็นชาติของตน เช่น บาดังจอมพลัง นิทานของชาว สงิ คโปร์ ๕. ข้อคดิ และคติเตือนใจ นิทานบางเรือ่ งสอดแทรกขอ้ คิด คณุ ธรรม ความซ่อื สัตย์ เมื่อเรา ได้อา่ นก็ซึมซับข้อคิดเหล่านี้ไปด้วยตามธรรมชาติ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๖ เรอ่ื ง นทิ านอา่ นสนกุ 893 ใบงานที่ 3 เร่ือง การสรุปความรแู้ ละขอ้ คิดจากการอา่ นนิทานอาเซยี น หนว่ ยเรยี นรู้ท่ี 6 เรือ่ ง นิทานอา่ นสนกุ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 เร่ือง การอ่านนทิ านอาเซยี น รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กนิทานอาเซียน 1 เรื่อง แลว้ ตอบคาถามตามหวั ข้อทกี่ าหนดให้ นทิ านอาเซียนเรื่อง จากประเทศ สถานท่ี ขอ้ คดิ ทไ่ี ด้จากเรือ่ ง แหลง่ ขอ้ มูล ตัวละครสาคัญ คณุ ค่าจากนทิ าน ชือ่ ....................................................นามสกลุ ...............................................ช้ัน.................เลขท.่ี ..............

894 คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวคาตอบใบงานที่ 3 เร่ือง การสรปุ ความรู้และขอ้ คดิ จากการอ่านนิทานอาเซยี น หนว่ ยเรยี นรู้ท่ี 6 เร่อื ง นิทานอ่านสนกุ แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 3 เร่อื ง การอ่านนทิ านอาเซียน รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเลอื กนทิ านอาเซียน 1 เรอ่ื ง แลว้ ตอบคาถามตามหวั ขอ้ ที่กาหนดให้ ตวั อย่างนทิ านอาเซยี นเรอ่ื ง ยายกะตา จากประเทศ ไทย แหลง่ ขอ้ มูล ห้องสมุดโรงเรียน : หนงั สอื รวมนทิ านอาเซยี น ตวั ละครสาคญั สถานท่ี ข้อคดิ ที่ได้จากเร่ือง ไร่ของตากบั ยาย ยาย ตา หลาน นายพราน ๑. ความไมร่ บั ผิดชอบของหลาน แมว หนู ช้าง แมลงหวี คอ้ น ๒. การไม่นงิ่ ดดู ายในความ เดอื ดรอ้ นของผอู้ ืน่ ควรใหค้ วาม ไฟ นา้ ตลงิ่ ชว่ ยเหลอื ซึง่ กันและกัน ๓. วิถีชีวิตของคนไทยในสมยั ก่อน ทเี่ กี่ยวข้องกบั การปลกู พืชไร่ การเกษตร คุณค่าจากนทิ าน ๑. ความเปน็ เอกลกั ษณ์และแสดงถงึ ความเปน็ ไทยในด้านสงั คมเกษตรกรรม ๒. การเนน้ ความกตญั ญู และ การเคารพอาวุโสได้เป็นอย่างดี ๓. เปน็ นิทานลกู โซซ่ งึ่ มลี กั ษณะพเิ ศษ ท่ีเลา่ ตอ่ เนื่องดว้ ยวธิ ีการทวนเรอื่ งซ้าไปมาผูกต่อกันเป็นลกู โซ่

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๖ เรือ่ ง นิทานอ่านสนกุ 895 (การตรวจในเน้อื เรอื่ งนทิ านอาเซยี นอืน่ ๆ อยใู่ นดลุ พินิจของครผู สู้ อน) ตวั อย่างนิทานอาเซียนเร่อื ง หมาป่ากับกงุ้ ฝอย จากประเทศ กัมพูชา แหลง่ ข้อมลู หอ้ งสมุดโรงเรยี น : หนงั สือรวมนิทานอาเซียน ตวั ละครสาคญั สถานที่ ข้อคดิ ทไ่ี ดจ้ ากเรื่อง หมาปา่ หนองนา้ กุ้งฝอย 1. เราไม่ควรคิดปองร้ายชีวิต ผู้อื่นหรือไม่ควรคิดว่าตนฉลาด อยู่ฝ่ายเดียว เพราะผู้อื่นอาจจะ ฉลาดกว่าตนก็เป็นได้ 2. ความฉลาดสามารถนาพา ชวี ิตรอดจากอนั ตรายได้ 3. สัตว์เล็กอาจไม่ได้เป็นเหย่ือ ของสตั ว์ใหญเ่ สมอไป เหตกุ ารณส์ าคญั 1. หมาป่าเดนิ มาเจอฝูงกงุ้ ฝอยอยู่ในหนองนา้ ท่แี ห้งแลง้ ไม่คอ่ ยมนี า้ และคิดจะกนิ ก้งุ ฝอย 2. กงุ้ ฝอยออกอบุ ายวา่ ตวั เองสกปรก มีแตโ่ คลน ถา้ หมาปา่ จะกนิ ก็คงไม่อรอ่ ย 3. หมาป่าจงึ อาสาพากงุ้ ฝอยเดินทางไปทหี่ นองนา้ ใสสะอาด เพอื่ ให้กุ้งฝอยลา้ งตวั ใหส้ ะอาด แลว้ จะไดก้ ินกงุ้ ฝอยอยา่ งเอร็ดอร่อย 4. พอถงึ หนองนา้ เหลา่ กงุ้ ฝอยก็พากนั กระโดดลงน้า แล้วรบี ว่ายนา้ หนีไปจากหมาป่า 5. หมาป่านกึ แคน้ และโทษตนเอง เปน็ เพื่อความโง่ และคดิ รา้ ยต่อผู้อื่น ทาใหอ้ ดกินกงุ้ ฝอย (การตรวจในเน้ือเรอ่ื งนิทานอาเซียนอื่น ๆ อยู่ในดลุ พนิ ิจของครูผสู้ อน)

896 คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ๑. นิทานของประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซีย เรอื่ ง ปลาน้อยหวั รนั้ ครั้งหน่ึงยังมีลูกปลาตัวเล็กกระจ้อยร่อยตัวหน่ึง อาศัยอยู่ในสระแห่งหน่ึง ลูกปลาน้อยมีเพ่ือนเป็น ลูกออ๊ ด ท้ังสองชอบชวนกนั ไปแหวกว่ายเล่นสนกุ และหาอาหารกนั เปน็ ประจา เชา้ วันหนง่ึ ลูกปลาน้อยรู้สึกสงสัยเม่ือมองเห็นขาคู่หนึ่งโผลอ่ อกมาใกล้ ๆ หางของลกู ออ๊ ด จึงถามว่า ทาไมจึงมีขาออกมา “ฉันไม่ใชป่ ลา...เหมือนอย่างเจา้ ฉันเป็นลกู อ๊อด...ลูกกบไงละ่ อกี ไมน่ านฉนั จะตัวโตขึ้น... ใหญ่ขึ้น...ฉันกจ็ ะอาศยั อยู่ในสระนต้ี ่อไปอีกไม่ไดแ้ ลว้ ” ลูกอ๊อดอธิบายให้เพ่ือนฟัง “ไมจ่ รงิ ...เจ้าพูดเท็จ” ลูกปลากล่าวหาเพอ่ื น “ถ้าไมเ่ ชื่อฉัน ก็คอยดซู ิ...คอ่ ย ๆ ดูก็แล้วกัน” ลกู ออ๊ ดตอบแลว้ กว็ ่ายนา้ หายลบั ตาไป สองสามวันมาน้ี ลูกปลานอ้ ยรสู้ ึกวิตกกงั วลใจมาก ด้วยไมร่ ู้ว่าเจ้าลูกออ๊ ดเพื่อนรกั หายหน้าไปอยู่ที่ใด แม้จะเทีย่ วหาสักเท่าไรกไ็ ม่พบ แตต่ ่อมาอกี สองสามวันต่อมา ลกู ออ๊ ดกลับปรากฏตวั ข้ึนตรงหนา้ ลูกปลาน้อย ดใี จท่ีเหน็ เพอ่ื นรักกลับมา และอกี ครั้งหน่งึ ทลี่ กู ปลาน้อยเกดิ ความแปลกใจแกมสงสยั ใครร่ ู้ เม่อื มองเหน็ ลกู อ๊อด มีขางอกออกมาอกี คหู่ น่ึง คราวนี้ขาหนา้ คนู่ ี้อยู่หนา้ ขาคูเ่ ดิม แถมหางทเี่ คยยาวกลับหดส้ันเขา้ ไป “น.่ี ..เจา้ ลูกออ๊ ด เจ้าหายไปไหนมา” ลูกปลานอ้ ยถาม “ฉนั ขึ้นไปบนบก...บนพ้ืนดินนะซี จาไมไ่ ด้หรอื ...ฉันบอกเจ้าว่า ฉันคงอยู่ทนี่ ี่ต่อไปอีกไม่ได้แล้ว น่ีไง... เห็นขาท้ัง ๔ ข้างของฉันไหม ถึงเวลาแล้วนะที่ฉนั ต้องไปอยูบ่ นพนื้ ดนิ บนโนน้ เพื่อจะไดม้ ีชวี ิตต่อไป” ลูกอ๊อด ชแ้ี จงใหเ้ พ่ือนฟัง แลว้ พูดขอรอ้ งวา่ “ต่อจากนี้ไปอย่าเรยี กฉันว่าลกู อ๊อดอีกนะ ให้เรียกฉันวา่ กบ แทน จะได้ ไหม ลากอ่ นนะเพอื่ น...ปลา” ลกู ปลาน้อยพิศวง งงงวยเหลือเกนิ กับการเปลย่ี นแปลงของเพื่อน มันยงั อยู่ในสระ แหง่ นนั้ ในทสี่ ุดมันกเ็ จรญิ เติบโตกลายเปน็ ปลาตวั ใหญ่ วนั หน่ึง ขณะทป่ี ลากาลงั แหวกวา่ ยไปตามสายน้าเพื่อหาอาหารนั้น ฉบั พลนั มกี บตวั หนึ่งกระโดดลงมา ในน้า ...เจ้ากบเพอื่ นเกา่ น่ันเอง เจ้าปลาดีใจทีไ่ ด้พบเพ่อื นอีกครั้ง กบเลา่ เรอ่ื งท่ีมนั พบเห็นมาบนพน้ื ดนิ ให้ปลา ฟงั “ฉันขอขึ้นไปบนพื้นดินกบั เจ้าด้วยไดไ้ หม” ปลารอ้ งขอ “เจา้ ไม่มีเหงือกสาหรับหายใจบนบก ขืนข้ึนไป... เหงอื กแห้งตายแน่ ๆ” กบหา้ มปรามเพื่อน ทั้งสองพูดคยุ กันจนค่ามดื ได้เวลาอาลาจากกัน ปลารู้สึกเศร้าสร้อย อยากติดตามเพื่อนขึน้ บก เช้าวันรุง่ ข้นึ ปลารวบรวมความกล้ากระโดดพุ่งขนึ้ ไปสุดแรงเกิด ...พลั่ก...ปลาตกลงพื้นฝ่ังรมิ น้า แต่ อนิจจาเอ๋ย ปลาเร่ิมหายใจติดขัด...หายใจไม่ออก มันอ้าปากส่งเสียงร้องด้วยความเจ็บปวด โชคดีแท้ ๆ กบ เพื่อนเก่ากาลังหากนิ อยูบ่ รเิ วณน้ันไดย้ ินเสียงร้องของปลา กบไมร่ อช้ากระโดดออกแรงผลักปลาไปยังสระน้า ทนั ที ตมู ปลาไดน้ ้ากระทบผิวกาย พลันไดส้ ติชวี ติ พนื้ กลบั คนื ออกวา่ ยในสายนา้ อกี คร้งั “ฉันบอกเจ้าแล้วไง พื้นดินไม่ใช่ที่อยู่ของเจ้า ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใดก็ตาม บนบกหรือในน้า ทุกที่ล้วน สวยงาม ทาไมเจา้ ไมเ่ ชอื่ ฟงั ฉันบา้ งละ” กบเตอื นปลา “ฉันไม่ชอบทีน่ ี่ ไมเ่ ห็นดีตรงไหน” ปลาบน่ “นี่แน่ะเพอ่ื น เจ้าควรดีใจที่เกิดมาเปน็ ปลา มีสตั วไ์ ม่ก่ีชนดิ ทีอ่ ยูใ่ นนา้ ได้ตลอดเวลาเหมือนพวกปลาอย่างเจ้า ร้ไู หมเพือ่ น” กบ แนะนาปลา ปลาย้ิมรับเป็นเชิงเห็นดว้ ย แล้วออกแหวกว่ายไปตามสายน้าอยา่ งร่าเริงเป็นสุข ลัดเลาะไปตามกอไม้ กอหญา้ ใตน้ า้ ดว้ ยรแู้ น่แก่ใจว่าสิง่ ที่เพ่ือนกบกล่าวไว้ คอื ความจรงิ แท้แนน่ อน (แหลง่ ทีม่ า : ผเู้ ขยี น อะลมิ ะห์ ซะลาม จากหนงั สอื เลา่ นทิ านให้หนูฟงั หนอ่ ย. หนา้ ๑๐๔-๑๑๐ กระทรวงศกึ ษาธิการ. ๒๕๔๑.)

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๖ เร่อื ง นิทานอา่ นสนกุ 897 ๒. นทิ านของประเทศสาธารณรฐั อนิ โดนีเซีย เรอ่ื ง สามพี่น้องผฆู้ ่ายกั ษ์ คร้ังหนึ่งนานมาแล้ว ยังมีพี่น้อง ๓ คน คนโตและคนที่สองเป็นชาย ส่วนคนสุดท้องเป็นหญิง พ่ีชาย คนแรกช่ือวังกาลา น้องชายคนที่สองชื่อ ปังกลาวัง สว่ นน้องหญิงคนสุดท้องชื่อ นียาไบ พ่ีชายและน้องสาว ทัง้ สามคนมีชีวติ ที่สขุ สงบ ต่างช่วยกันทางานทาทกุ ส่ิงทุกอย่างไดส้ าเรจ็ ไปดว้ ยดี ไมว่ ่าจะเป็นงานทาสวน ทาไร่ ไถนา พรวนดิน และงานจปิ าถะอน่ื ๆ ทุก ๆ วัน วังกาลา และปังกลาวังจะออกไปทางานในสวน ให้น้องสาวคนเล็กอยู่เฝ้าบ้านคอยหุงหา อาหาร ทางานบ้านรอท่าเม่ือพี่ชายเสร็จจากงานกลับบ้าน พอมีเวลาว่างหลังหุงข้าวปลาอาหารเสร็จสรรพ นียาไบชอบนงั่ ปนั่ ด้ายกรอไหมทอผ้า ฝีมือทอผา้ ของเธอเรียบละเอยี ดเนียนงามมาก ผ้าทท่ี อยาวออกไปทุกที แตแ่ ลว้ วันหน่ึง เหตกุ ารณ์ร้ายพลันบังเกิดข้นึ มยี ักษต์ นหนง่ึ ปรากฏกายขนึ้ ที่บ้านของพีน่ ้องทัง้ สามคน แล้วแอบจับนียาไบลักพาตัวไปขังไว้ท่บี ้านของมัน ยักษ์คิดจะกินนยี าไบเป็นอาหารในค่านี้ เม่ือพ่ีชายท้ังสอง กลับบ้านไม่พบน้องสาวที่บ้าน ก็รู้สกึ สงสยั แกมประหลาดใจย่งิ นัก ยิ่งเห็นแต่เพียงเสน้ ด้ายทน่ี ียาไบกรอ หล่น ทิ้งทอดยาวเล้ือยไปตามทางเดนิ เช่นนนั้ สองพ่นี ้องสังหรณใ์ จวา่ คงมีเหตรุ ้ายเกิดกบั นอ้ งสาวสุดท่รี ักแน่แท้ จึง เร่ิมต้นออกเดินทางไปตามเสน้ ด้ายทันที ท้ังคู่เช่ือม่ันวา่ น้องสาวของตนมีเจตนาทิ้งด้ายไวใ้ ห้สังเกตและออก ติดตามช่วยเหลอื วังกาลาและปังกลาวัง ตดิ ตามเส้นด้ายอย่างไม่ลดละ จนกระท่ังเดินทางไปถึงบา้ นของยกั ษ์ และรวู้ ่า นอ้ งสาวถูกยกั ษจ์ ับตวั มา จึงวางแผนชว่ ยเหลือน้องสาวทันที ท้ังสองเดนิ ไปหน้าประตบู ้านยกั ษ์ วงั กาลาเคาะ ประตู “น่ันใคร มาทาไม” เสียงดงั ออกมาจากบ้านเป็นเสยี งยักษ์ผู้หญิง พร้อมเปิดประตู นางยักษ์ตนน้ีเป็น เมยี ของยกั ษ์ผูช้ าย ซ่ึงมนี ามว่า วาตวู าเร ยักษ์ผวั เมยี ค่นู ี้มีลกู ช่อื วาเกง็ “เราอยากทางาน ท่านพอจะมีงานให้เราทั้งสองทาไหม” วังกาลาเอ่ยถาม นางยักษ์ดีใจที่มีคนมา เสนอตัวทางานบ้านให้ วังกาลา และปังกลาปัง จึงถูกจ้างให้ทางานในบ้านทันที “เจ้าสองคนเข้าครัวไป ทาอาหารเดี๋ยวน้ี สับเด็กผหู้ ญงิ ทอี่ ยู่ในกรงน่ันออกเปน็ ชิ้น ๆ ใส่จานไว้ มนั จะเปน็ อาหารทแ่ี สนอร่อยสาหรบั ข้า และผัวขา้ ในค่าคนื นี้แน่นอน” นางยกั ษอ์ อกคาสง่ั แลว้ เดินออกจากบา้ นเขา้ ไปในสวน วงั กาลาและปงั กลาวงั รบี เข้าไปปลอ่ ยน้องสาวออกจากที่กกั ขงั และซ่อนเธอไวใ้ นทป่ี ลอดภยั จากน้ัน รบี จับตวั ลูกยักษ์มาปรงุ เปน็ อาหารใหย้ ักษผ์ ูเ้ ป็นพอ่ แมก่ นิ แล้วรีบออกจากบ้านยักษท์ ันที งานสุดทา้ ยทท่ี ง้ั สอง ทา คือ เลื่อยเสาสะพานทยี่ ักษ์ผัวเมียใชข้ า้ มเปน็ ประจาทกุ วัน ให้เกอื บขาดจากกนั ถา้ ยักษ์เดินมาสะพานจะได้ หกั ลงทนั ที ทาให้มนั หล่นลงไปบนหอกไมป้ ลายแหลม ทพ่ี ี่น้องช่วยกันปกั ไว้ใต้สะพาน เม่ือยักษ์ผัวเมียกลับเข้าบ้าน ทั้งคู่หิวมากจึงตะกรุมตะกรามกินอาหารเย็นท่ีจัดวางไว้ ทนั ใดนั้นนกที่ เกาะบนหลังคาก็ร้องเพลงว่า “จิ๊บ จิ๊บ จ๊ิบ จ๊ิบ วาตูวาเร กับนางเมียยักษ์ กินลูกแสนรัก เป็นอาหารเย็น” ยกั ษ์ผัวเมียไดย้ ินเชน่ น้นั จึงก้มดูอาหารทีก่ าลังกิน ก็ร้วู ่าลกู ชายตายแลว้ มันโกรธแค้นแทบกระอักเลอื ด รีบวิ่ง ติดตามไลล่ า่ ทนั ที วังกาลากับน้องชายแอบทป่ี ลายสะพานอกี ฟากหน่งึ เมอ่ื ยักษท์ งั้ สองตนวงิ่ มาถึงกลางสะพาน ได้จังหวะสะพานหกั สะบน้ั ยกั ษ์ท้ังคู่หลน่ ลงไปในหบุ เขาเบือ้ งลา่ ง ตกลงไปบนใบหอกแหลมคม ท้ังคตู่ ายสนทิ วงั กาลาชวนน้องชายกลบั เข้าไปในบา้ นยักษอ์ ีกคร้งั หนึ่ง เพือ่ พาน้องสาวกลับบ้าน ณ ท่นี ้ัน พ่ีนอ้ งสาม คนไดพ้ บชาวบ้านจากหมบู่ า้ นอนื่ ๆ อกี หลายคนถกู จับขังไวใ้ นกรง สามพน่ี อ้ งชว่ ยกนั ปลอ่ ยชาวบ้านทงั้ หมดให้ เปน็ อสิ ระ แล้วเดนิ ทางกลับคืนสูบ่ ้านเรอื นของตน มชี ีวิตทเี่ ปน็ สขุ ตลอดไป (แหลง่ ทมี่ า : ผเู้ ขยี น ดรา เดโลยานา กสุ ุมา จากหนังสอื เล่านทิ านใหห้ นูฟงั หนอ่ ย. หนา้ ๑๑๑-๑๑๔ กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๑.)

898 คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ๓. นิทานประเทศไทย เรื่อง ยายกะตา ยายกะตาปลูกถ่ัวปลูกงาให้หลานเฝ้า หลานไม่เฝ้า กามากินถ่ัวกินงาเจ็ดเมล็ดเจ็ด ทะนาน ยายมายายด่า ตามาตาตี หลานร้องไห้ไปหานายพรานขอให้ช่วยยิงกา นายพรานตอบว่า “ไมใ่ ช่กงการอะไรของขา้ ” หลานจึงไปหาหนู ขอใหช้ ว่ ยกัดสายธนนู ายพราน หนตู อบว่า “ไม่ใชก่ งการอะไรของข้า” หลานจึงไปหาแมว ขอใหแ้ มวชว่ ยกัดหนู แมวตอบวา่ “ไม่ใชก่ งการอะไรของขา้ ” หลานจงึ ไปหาหมา ขอใหช้ ว่ ยกดั แมว หมาตอบว่า “ไมใ่ ช่กงการอะไรของข้า” หลานจึงไปหาไมค้ อ้ นให้ย้อนหัวหมา ไมค้ อ้ นตอบวา่ “ไมใ่ ช่กงการอะไรของข้า” หลานจงึ ไปหาไฟใหช้ ว่ ยไหม้ไม้ค้อน ไฟตอบว่า “ไมใ่ ช่กงการอะไรของข้า” หลานจึงไปหาน้าใหช้ ว่ ยดับไฟ น้าตอบว่า “ไม่ใชก่ งการอะไรของขา้ ” หลานจงึ ไปหาตล่งิ ใหช้ ว่ ยพังทับน้านา้ ไมช่ ว่ ยดับไฟ ตลงิ่ ตอบว่า “ไม่ใช่กงการอะไรของข้า” หลานจึงไปหาช้างให้ช่วยถลม่ ตลง่ิ ชา้ งตอบวา่ “ไม่ใช่กงการอะไรของขา้ ” หลานจึงไปหาแมลงหวี่ให้ช่วยตอมตาช้าง แมลงหวี่ตอบว่า “ข้าจะช่วยตอมตาช้างให้ตา เน่าท้ังสองขา้ ง” ช้างตกใจจงึ รบี ไปช่วยถลม่ ตลิ่ง ตล่งิ จึงรีบไปช่วยพังทับน้า น้าจงึ รีบไปชว่ ยดับไฟ ไฟจึงรีบ ไปช่วยไหม้ไม้ค้อน ไม้ค้อนจึงรีบไปช่วยย้อนหัวหมา หมาจึงรีบไปช่วยกัดแมว แมวจึงรีบไปช่วย กดั หนูหนูจงึ รีบไปช่วยกัดสายธนูของนายพราน นายพรานจึงรบี ไปชว่ ยยิงกา กาจึงเอาถั่วเอางา เจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนานมาคืนหลาน หลานเอาถ่ัวเอางาไปให้แก่ยายกะตา ยายกะตาก็เลิกด่าเลิกตี หลานแตน่ น้ั มา นทิ านเรอ่ื งยายกะตา เป็นตวั อย่างนิทานไทย ทมี่ ีความเป็นเอกลกั ษณ์และแสดงถึงความ เปน็ ไทยในด้านสังคมเกษตรกรรม การเน้นความกตัญญู และ การเคารพอาวุโสไดเ้ ป็นอย่างดี เป็น นิทานลกู โซ่ซ่งึ มลี ักษณะทพี่ เิ ศษคอื เป็นเร่อื งที่เล่าตอ่ เนอื่ งดว้ ยวิธีการทวนเร่อื งซา้ ไปซ้ามาผูกตอ่ กัน เปน็ ลกู โซ่ นิทาน ยายกะตา เป็นนิทานเก่า สืบประวัติเท่าที่หลักฐานได้ในสมัยรัชกาลที่ ๓ เนือ่ งจากปรากฏเปน็ ภาพวาดทเี่ ชงิ บานหนา้ ตา่ งในพระอโุ บสถวัดพระเชตุพนฯ (แหลง่ ท่มี า : www.ich.culture.go.th)

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๖ เร่อื ง นิทานอา่ นสนกุ 899 ๔. นทิ านของประเทศสาธารณรฐั สิงคโปร์ เร่อื ง บาดังผทู้ รงพลงั คร้ังหนึ่งในอาณาจักรยะโฮร์ มีทาสชายคนหนง่ึ ชื่อ บาดัง ทุกวนั เขาทางานหนักในป่าเพ่ือปรับพื้นดิน ให้แกน่ าย โดยตัดโคน่ ต้นไมใ้ หญ่ ๆ ยามว่างก็วางไซดักปลาในแม่นา้ ใกล้ ๆ วนั หนึ่งบาดงั ผดิ หวังเพราะไมม่ ีปลา ในไซเลย เขากม้ ลงดเู ห็นเกล็ดปลาและก้างปลาอยู่ก้นไซ เขาคดิ ว่าต้องมีขโมย วนั หนึ่งเม่ือเขาวางไซแลว้ ก็ไป ซอ่ นตัวอยใู่ นกอกกตน้ สูง ๆ ริมแม่นา้ เขาเหน็ อสุรกายนัยนต์ าแดงก่า ผมดกหนายุ่งเหยงิ เครายาวลงมาถึงเอว กาลังกินปลาของเขา ๆ กระโจนพรวดถึงตัวมันฉวยเครามันเอาไว้แน่น มันร้องวิงวอนขอชีวิตโดยแลกกับ ทรัพย์สิน อานาจ กาลังกาย หรือจะเอาอะไรก็ได้ บาดังคิดอย่างรวดเร็วว่าเขาอยากได้กาลังกาย ถ้าเขา แข็งแรงจะได้ถากถางพ้ืนท่ีเสร็จในเวลาไม่นาน บาดังจึงบอกว่า “ข้าอยากได้กาลังกายท่ีแข็งแรง ถอนต้นไม้ ใหญ่ที่สุดได้ดว้ ยมอื ข้างเดยี ว” อสูรให้ตามบาดังต้องการ แตเ่ ขายังไมย่ อมปลอ่ ยจนกว่าจะได้ทดลองกาลงั ของ เขาก่อน บาดังลากอสูรเดินเข้าไปในป่า เอามือถอนต้นไม้ท่ีใหญ่ท่ีสุดในป่าทั้งรากท้ังโคนง่ายเหมือนถอน ตน้ หญา้ เขาจงึ ปลอ่ ยอสรู นั้นไป บาดังยังคงทางานในป่า เขาทางานเสร็จภายในสองสามนาที ตน้ ไม้ใหญ่ ๆ ถูกดึงถอน ไม่นานปา่ ทบึ ก็ กลายเป็นพืน้ ที่ราบโล่ง พร้อมจะลงมือไถคราดได้ นายถามเขาว่าทาไดอ้ ย่างไร บาดงั เล่าเรือ่ งทั้งหมดใหน้ ายฟัง ว่าเขาเลอื กขอกาลงั กาย เพ่อื จะทางานให้นายให้ดีกวา่ เดมิ นายไดฟ้ ังก็ตน้ื ตนั ใจ จงึ ให้อิสรภาพแก่บาดัง ต้ังแต่ นน้ั มา ชอื่ เสียงของบาดงั เลื่องลือไปทั่วแคว้น รายาแห่งแคว้นสิงคปุระจึงเชิญบาดังไปเป็นแม่ทัพ บาดังรับคา เชิญและได้ทาวรี กรรมทางพลังกายใหแ้ ก่รายาหลายคร้งั ต่อมาราชาแห่งอาณาจักรกลิงคะรู้เรื่องของบาดังผู้ทรงพลัง ก็ส่งคนท่ีแข็งแรงท่ีสุดในแคว้นมาท้า แขง่ ขันยกก้อนหินขนาดใหญ่ทพี่ ระลานในวงั ของรายาสิงคปุระ ผ้คู นมาดูกนั มากมาย องค์ราชาก็เสด็จมาดูดว้ ย โดยตกลงว่าผู้แพ้ตอ้ งยกเรอื ใหญเ่ จด็ ลา พรอ้ มด้วยทรัพย์สินมีค่าเตม็ ลาให้แก่ผู้ท่ชี นะ ฝา่ ยกลงิ คะยกก้อนหนิ ขนึ้ อย่างสุดกาลังแตย่ กไมข่ ึน้ บาดงั ก้มตวั ยกก้อนหินอย่างงา่ ยเหมือนยกหินกอ้ นเล็ก ๆ บาดังเป็นผู้ชนะ เร่ืองราวพลังแกร่งกล้าของบาดังขจรขจายไปถงึ อาณาจักรเปลัค ราชาแห่งแคว้นเปลัค ซ่ึงเปน็ อนุชา ของ รายาแห่งแควน้ สงิ คปุระ ไดส้ ่งเบนเดรงั มาแข่งขนั กับบาดงั ถา้ แพ้จะยกคลังมหาสมบัตใิ ห้ รายาแห่งแควน้ สงิ คปุระเห็นว่าเบนเดรังตัวใหญ่กว่าบาดัง ท่าทางแข็งแรงกว่าจงึ ขอคิดดูก่อน และถามบาดังว่าจะเอาชนะใน การทา้ แข่งครง้ั น้หี รือไม่ บาดังทลู ว่า “พดู ยาก” แล้วทูลแนะว่าควรจัดงานเล้ยี งคนื น้ี เพอื่ จะได้ทดลองกาลงั ของ เบนเดรัง ถา้ เขาแข็งแกรง่ กวา่ พระองคก์ ป็ ฏเิ สธไมแ่ ข่งด้วยจะไม่มฝี ่ายใดเสยี เกียรติ คนื วันนั้นในงานเลย้ี งใหญ่แขกทุกคนน่ังขดั สมาธบิ นพ้ืน บาดังก็เขา้ ไปน่ังใกลเ้ บนเดรงั ๆ เอาขาทับซอ้ น ลงบนขาของบาดัง แล้วทิ้งน้าหนักตัวลงไปสุดแรงเกิด แต่บาดังก็ยกขาของเขางัดขาของเบนเดรังได้อย่าง งา่ ยดาย แลว้ เอาขาทับขาของเบนเดรงั ลงอย่างรวดเร็ว เบนเดรังพยายามยกขาข้นึ อย่างสดุ แรงกไ็ มส่ าเร็จ เมื่อ แขกกลับไปยงั เรอื แลว้ บาดงั บอกวา่ เขาส้กู ับเบนเดรงั ตอ้ งชนะ ในเวลาเดยี วกนั เมือ่ กลับไปถึงเรอื เบนเดรังกพ็ ูด กับอคั รเสนาบดีว่า บาดงั แข็งแรงมากให้ลม้ เลิกการแขง่ ขันเสีย ดว้ ยเกรงว่าจะแพบ้ าดงั แน่นนอน เช้าวันรุ่งขึ้น รายาเสด็จออกขุนนางในท้องพระโรง อัครเสนาบดีของแคว้นเปลัครอเฝ้าอยู่แลว้ รายา กาลงั จะประกาศใหม้ กี ารแข่งขนั แตอ่ ัครเสนาบดที ูลวา่ เป็นการไมเ่ หมาะท่ีจะประลองฝมี อื กนั ระหวา่ งเบนเดรัง กับบาดัง เพราะไม่ว่าฝ่ายไหนจะมีชัยชนะก็ตาม จะกลายเป็นว่าพระองค์กับพระอนุชาทรงท้าแข่ง กันเอง ไมฝ่ า่ ยใดฝ่ายหน่งึ กต็ ้องเสยี พระเกียรติ แลว้ คณะแขกผมู้ าเยอื นก็กลับคืนแคว้นเปลัค จากน้ันก็ไม่มีใครกล้าท้าบาดังอกี เลย ประชาชนทุกแห่งไมว่ ่าในแดนใกล้หรือแดนไกลต่างยอมรับว่า ผู้ท่ีแข็งแกร่งที่สดุ ในโลกนัน้ ไมม่ ใี ครอื่นนอกจากบาดงั ชายที่เคยเปน็ ทาสจากเกาะเลก็ ๆ นามวา่ สงิ คปรุ ะ

900 คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) (แหลง่ ที่มา : www.ich.culture.go.th) ๕. นทิ านของประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เรอื่ ง หนูกรุงกับหนูบา้ นนอก หนกู รุงกบั หนูบา้ นนอกเปน็ ญาติกัน วันหนง่ึ หนูกรุงไปเย่ยี มหนูบ้านนอก ในหม่บู า้ นชนบท หนูบ้านนอกเชิญให้เข้าไปในบ้านหลังเล็ก ท่ีมืดทึม แต่อยู่กลางทุ่งนาข้าวและทุ่งหญ้าเขียวสะอาด อากาศบริสุทธิ์ หนูกรุงไม่พอใจในความเป็นอยู่และอาหารท่ีหนูบ้านนอกนามาให้ “อาหารมีแต่ข้าวโพด ขา้ วเปลือก ฉันไมช่ อบมอี ย่างอ่ืนอีกไหม” หนกู รุงบน่ “มมี ะมว่ งอีกอยา่ งดว้ ยนะ” หนบู า้ นนอกบอก “เจ้าไมม่ เี นยแข็ง เนยเหลวบ้างหรอื ไง เนอ้ื สัตว์ เนือ้ ปลาเลา่ เจา้ เคยกินบา้ งไหม” หนูกรุงถาม “แฮะ...แฮะ...ไมม่ หี รอกพ่ี ท้ังเนยแข็ง เนยเหลว” หนบู ้านนอกตอบเสียงเบา ๆ “นถ่ี ามจรงิ ๆ เจ้าเคยลิ้มชิมรสขนมเค้ก หรือคกุ กี้บา้ งไหม” หนูกรุงซกั ต่อ “ไม่เคยหรอกพี่ แต่บางวันนะ ฉันจะมีผลไม้สุกหอมหวานนานาชนิด เชน่ กล้วย มะม่วง มะละกอ มา ให้พ่ีลิ้มรสเปรีย้ วหวาน พอหายอยาก และมีประโยชน์ต่อร่างกายทาให้ดวงตาแจ่มใส มองเห็นได้ถนัดชัดเจน ยง่ิ ขนึ้ ด้วยนะ” หนบู ้านนอกอธิบาย “พ่ีล่ะเศร้าใจ เสียดายแทนเจ้าที่ไม่มีโอกาสกนิ อาหารท่ีแสนอร่อย จาพวกหมูแฮม ไก่ทอด หรือขนม ปงั ป้ิง อะไรทานองน้ี เอาอย่างนไ้ี หม ไปกับพ่ี ไปเทย่ี วบ้านพ่ใี นเมอื งกรุงกนั แล้วเจา้ จะเห็นเองว่า ตึกรามบา้ น ช่องในเมืองล้วนใหญโ่ ต มีตลาดใหญ่กว้างขวาง อุดมสมบูรณ์ด้วยข้าวปลาอาหารนานาชนิด มีห้างสรรพสินค้า สงู ใหญห่ ลายสิบช้นั ขายเสอื้ ผ้าแพรพรรณ สินคา้ มากมาย ไปนะ” หนกู รงุ ชวนหนบู า้ นนอก “ตกลง ฉนั จะไปกบั พ่ี” หนบู า้ นนอกรบี รบั คาเชญิ ด้วยเหตุน้ี หนูบ้านนอกจึงออกเดินทางไปกับหนูกรุงผเู้ ป็นญาติผู้พ่ี มุ่งหน้าสู่เมืองกรุง จวบจนมืดค่า ยามกลางคืน จึงเขา้ สใู่ จกลางเมืองหลวง “หนวกหจู ังเลย ทาไมมีแตเ่ สยี งเอะอะอกึ ทึกครกึ โครม ปดู๊ ๆ แป๊ด ๆ ดงั สน่ันมาก ทบี่ ้านฉันยามค่าคนื ทุกอยา่ งเงียบสงบ ไรเ้ สยี งอึกทึก” หนูบ้านอกบน่ “นัน่ มนั เสยี งรถที่วิง่ ไปมา ท้ังรถยนต์ รถโดยสาร และรถบรรทุก ผู้คนในเมืองเขาทางานและมธี รุ ะต้อง เดนิ ทางไปตดิ ต่อตลอดวันตลอดคนื จงึ มเี สียงดังแบบนตี้ ลอดเวลาไงละ่ ” หนกู รงุ พูดเลา่ ใหฟ้ งั หนูกรุงและหนูบ้านนอกพากันมาจนถึงบ้านใหญ่หลังหนึ่ง ที่มีแสงสว่างจากหลอดไฟฟ้า มีอาหาร มากมายวางอยู่บนโต๊ะ หนูกรงุ ย่ืนเนยแขง็ ไก่ทอดและหมแู ฮมให้หนูบ้านนอกกนิ ขณะทที่ ั้งสองกาลังกนิ อาหาร พลันสุนัขตวั มหมึ า ๒ ตวั กระโจนเข้ามา หนูทั้งสองตวั วิ่งหนีเขา้ ไปในโพลงมืดมดิ หนบู า้ นนอกตกใจกลวั เนอ้ื ตัว ส่นั งันงกจนพูดไม่ออก หนกู รุงย่ืนหนา้ บอกให้ออกไปกินอาหารต่อเพราะสุนขั ไปแล้ว แต่หนูบ้านนอกสา่ ยหน้า และบอกว่า “ไม่เอาแล้ว กินอะไรไม่ลง ฉันอยากกลับบ้าน ชวี ิตที่นี่ไม่ปลอดภัยมีอันตรายรอบด้าน ที่โน่นสุข สบายกว่า เงยี บสงบกวา่ ฉันขอลาไปก่อนล่ะ” จากน้ันหนูบา้ นนอกจงึ ออกวง่ิ กลับคนื สู่บ้านชนบทหลังเล็กอัน สงบร่มร่ืนของตนทันที (แหลง่ ท่มี า : ผเู้ ขยี น อาราเชลี มาราซกี ัน วลิ ลามิน จากหนงั สือเลา่ นทิ านใหห้ นูฟงั หน่อย. หน้า ๙๕-๑๐๐ กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๔๑.)

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๖ เรอื่ ง นทิ านอ่านสนกุ 901 ๖. นทิ านประเทศสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว เรื่อง สนุ ัขอกตัญญู กาลครัง้ หนึ่งยงั มสี ุนขั เกียจคร้านตัวหน่ึง อยู่กบั นายพราน วันหนึง่ นายพรานพาสุนัขตัวน้ีพรอ้ มสุนัข ตวั อ่ืน ๆ เข้าปา่ ล่าสัตว์ เขา้ สนุ ัขข้เี กยี จวง่ิ ตามอย่างเช่ืองชา้ ไม่นานมันกถ็ ูกท้ิงไว้เบ้อื งหลังและหลงทาง มันเห่า หอนเรียกนายพรานจนมืดค่า มันรู้สกึ หวาดกลัวและหวิ กระหาย จนมันว่ิงไปถึงหน้าอาศรมฤษีตนหนง่ึ มันรีบ คลานเข้าไปนอนใต้ชายคาอาศรม เมอื่ ฤษกี ลบั มาจากป่าเห็นเข้ากร็ ้สู ึกเวทนา จึงเล้ียงเอาไวใ้ ห้อาหารกนิ เจ้า สุนัขกนิ แล้วนอน...นอนแลว้ กก็ ิน สขุ สบายจนมันไมเ่ คยคิดถงึ เจา้ ของเดิมเลย ไม่นานนักฤษีนึกขนึ้ ไดว้ า่ “เจ้าหมาตัวนี้คงหลบหนีทุกขร์ ้อนบางอยา่ ง มาพง่ึ พงิ เราอยทู่ ี่น่ี แตไ่ ม่ดแี น่ หากเราเลย้ี งเอาไว้ชาวบ้านอาจคิดวา่ เราเลี้ยงหมาเอาไว้ลา่ สัตว์กเ็ ป็นได”้ หลงั คดิ ใคร่ครวญอยู่นาน ฤษีตัดสินใจใช้อานาจวเิ ศษเสกร่างสุนัขให้กลายเป็นกวางทองรูปร่างงดงาม เจ้ากวางทองเยอ้ื งย่างและเล็มหญ้าอยู่แถวบริเวณอาศรม ด้วยความลาพองใจท่ีตนเองสามารถว่ิงเร็วได้ไกล รวดเรว็ วันหนึง่ ขณะเล็มหญ้าอย่หู น้าอาศรม บังเอิญมีเสือตัวใหญเ่ ดินผ่านบรเิ วณนนั้ พอเหน็ เสอื กวางทองก็ วิ่งหนีด้วยความกลัว ฤษีเห็นก็รสู้ ึกเวทนาและคดิ ว่าต้องใช้อานาจวิเศษเสกให้เป็นเสือคงดกี ว่า จะได้ป้องกัน ตัวเองได้ ดงั น้นั กวางจงึ กลายเป็นเสอื ตงั้ แต่เปน็ เสอื มันก็ลาพองตวั วา่ สามารถออกไปล่าหาอาหาร ไกลออกไปจากอาศรม เวลาผา่ นไป วัน หนึ่งเจ้าเสือถกู สงิ โตไล่ตะปบ มนั วิ่งหนีมาหาฤษีทีอ่ าศรมอีก และเหมอื นเดิมฤษสี งสารจึงเสกให้เป็นสิงโตเป็น เจา้ แหง่ สัตวป์ ่า และแลว้ เสือก็กลายเป็นสงิ โตทอ่ งเที่ยวไปในป่าไรค้ วามหวาดกลัวต่อสิ่งใด ต่อมาไม่นานมันพบสิงโตสาวแสนสวยและตกหลุมรกั ทนั ที สิงโตสาวให้มนั ไปหาพ่อแม่และสู่ขอ เจ้า สิงโตจึงไปหาพ่อแม่สิงโตสาว แต่พ่อแม่สิงโตสาวบอกว่า ยังไม่ให้แต่งงานในตอนน้ี เพราะยังไม่รู้จักหัวนอน ปลายเท้าว่าเป็นใครมาจากไหน พ่อสิงโตสาวบอกว่า “เราจะไปหาฤษีซึง่ เปน็ เพ่ือนของเจา้ เพอื่ ไตถ่ ามเร่อื งของ เจา้ ถา้ เรารู้ทกุ อย่างแลว้ เราจะไม่ขัดขวางเจา้ แตง่ งานกับลกู ของเรา” เจา้ สงิ โตหนมุ่ วติ กกงั วลดว้ ยรู้ว่า ฤษีเป็นคนดีต้องไมพ่ ดู เทจ็ ฤษีต้องบอกความจริงชีวิตของมันทีเ่ ร่ิมต้น จากสุนัขตวั หน่ึง ความลบั จะต้องถูกเปิดเผยจะไม่ไดแ้ ต่งงานกับสิงโตสาว แล้วความคดิ อันช่ัวร้ายก็แล่นเข้ามา ในหัวมนั “ถ้าเราฆ่าฤษีไดก้ อ่ น ฤษกี ็ไมม่ วี ันบอกความลับของเราได้” แลว้ มนั ก็วง่ิ ไปท่ีอาศรมฤษที ันที ฉบั พลันท่ี ฤษีเห็นสิงโตยืนผงาดด้วยขาหลัง หางพ่งุ ตรงชเี้ ด่ขึ้นไปในอากาศ นึกรทู้ ันทวี ่าเจา้ สงิ โตคิดจะทาอะไร ฤษีพดู กับ ตนเองวา่ “เจ้าสงิ โตตัวนชี้ ่างเนรคุณและอกตัญญูเสียเหลือเกนิ ดูสิ... เราเล้ยี งดูมนั ช่วยเหลือมันให้มชี วี ติ ทด่ี ีมี สขุ เราเปลีย่ นร่างจากหมาเป็นกวาง จากกวางเปน็ เสอื และจากเสือเป็นสงิ โต...สตั วท์ มี่ ีอานาจท่ีสดุ ในป่า เรา ให้มนั ทุกอย่างมนั ยังคิดอยากฆ่าเราอีก” ฤษีจ้องหน้าสิงโตแล้วเอย่ ว่า “ฉันจะไม่สงสารเจ้าอีกต่อไปแลว้ เจ้า เป็นสตั วเ์ หลวไหลใช้ไมไ่ ดจ้ รงิ ๆ จงกลับร่างเป็นหมาเช่นเดมิ เถดิ ” แลว้ ฤษกี ใ็ ช้อานาจวเิ ศษอกี ครงั้ เปลี่ยนร่างสงิ โตใหก้ ลายเปน็ สนุ ัขดงั เดมิ เจ้าสุนขั รู้สกึ อับอายจนไม่อาจ อยสู่ ู้หน้าฤษีได้อีก จึงออกว่ิงเข้าไปในป่า มันถูกหมาป่าว่ิงไล่ล่าและจู่โจมฉีกเนือ้ ออกเปน็ ชิ้น ๆ นี่เหละอวสาน ของสนุ ัขอกตญั ญู (แหลง่ ทีม่ า : ผเู้ ขยี น สมั รดิ บวั สสี ะหวดั จากหนงั สอื เล่านทิ านใหห้ นฟู งั หนอ่ ย. หน้า ๕๔-๕๘ กระทรวงศึกษาธกิ าร. ๒๕๔๑.)

902 คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ๗. นทิ านประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา เรอื่ ง กระตา่ ยผู้ชาญฉลาด กระต่ายตวั หนึ่งชอบกระโดดไปมาท่รี ิมสระน้า มันชอบสถานที่นม้ี าก สตั ว์ปา่ และนกต่าง ๆ กม็ ักจะมา กนิ นา้ ในสระนี้ ทฝี่ ่ังน้ามคี ้นไม้เขียวขจีเจริญเตบิ ใหญอ่ ย่ตู น้ หนึ่ง ใบดกหนาทอดเงาสู่นา้ อนั ใสแจว๋ ประกอบเป็น ภาพสะท้อนทส่ี วยงามตระการตา ตอ่ มามีคนโคน่ เอาต้นไมต้ น้ น้ไี ปทาเรอื มาดลาเรยี วเลก็ จึงเหลือแตต่ อไม้ บน ตอมียางไมส้ เี หลืองอร่ามไหลซมึ ออกมาเปน็ เม็ดใหญ่ ๆ กระตา่ ยน้อยเมอื่ เห็นตอไม้น้ี กก็ ระโดดขน้ึ ไปต้ังใจจะนัง่ สักครู่ ขณะท่ีกระต่ายนง่ั อยูบ่ นตอไมอ้ ยา่ งสุข สบายนนั้ ก้นและหางกถ็ ูกยางไม้ตรึงแน่นตดิ อยู่กบั ตอ ผา่ นไปสักครู่มันคิดจะไปวง่ิ เลน่ ในป่า แต่มนั ไมส่ ามารถ กระโดดออกจากตอไม้ได้ ไมว่ ่ากระต่ายจะออกแรงเท่าไรก็หมดหนทางที่จะดงึ ตัวออกจากตอไม้ มนั จึงได้แต่ หมอบอยทู่ ่ีเดมิ กระดกิ หางอยา่ งจนปญั ญา กระตา่ ยน้อยคิดหาวิธีใหต้ นพ้นภยั ในคร้งั นี้ จงึ หลับตาลงพรอ้ มคร่นุ คิดอย่างจริงจัง ขณะน้ันมีชา้ งใหญ่ ตวั หนึ่งเดินมงุ่ หนา้ มาท่ีริมสระ ช้างกระหายน้าเพราะอากาศร้อนอบอา้ วเหลอื เกิน กระตา่ ยน้อยฟังเสยี งเท้าอนั หนักหน่วงน้อี ยู่พกั หนง่ึ ก็ลมื ตาขน้ึ พอเห็นช้างกน็ ึกในใจวา่ ผู้ช่วยชวี ิตมาแลว้ จงึ รอ้ งตะโกนขน้ึ ว่า “เจ้าช้าง หา้ มกินน้านะ เพราะน้าในสระน้ีเป็นของฉนั ” ช้างทาทา่ เหมือนไม่ได้ยินเสียงของกระต่าย น้อย กลับย่ืนงวงอันยาวลงไปดูดน้าในสระ “แกไม่เห็นฉันน่ังอยู่นี่หรือ ฉันเฝ้าดูน้าในสระนี้อยู่ ถ้าไม่ได้รับ อนุญาตจากฉนั ไม่ว่าใครก็ห้ามกินทั้งน้ัน ไปให้พน้ ” กระต่ายนอ้ ยร้องต่อไป แต่ช้างใหญ่ไม่นาพาต่อเสียงร้อง ของกระต่าย ยงั คงกนิ น้าอยา่ งกระหาย “แกไมเ่ ช่ือฟงั ฉันหรอื ฉันจะหักงวงของแก กะเทาะฟันของแก” กระตา่ ยน้อยรอ้ งขู่ “ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ” ชา้ งอา้ ปากหัวเราะเสียงดงั เม่ือช้างกนิ น้าพอแลว้ กเ็ ริ่มพ่นนา้ “ฉนั จะหักงวงของแก กะเทาะฟนั ของแก” กระตา่ ยนอ้ ยรอ้ งข่อู กี “แกพูดบา้ บอคอแตกอะไรอย่นู ะ” ช้างขึ้นเสียงอยา่ งหมิ่นแคลนว่า “วันนฉ้ี ันไดก้ ินน้าในสระนี้ วันหน้า ฉันก็จะมากินน้าทนี่ ่ีอีกตอ่ ไป เจา้ ของน้าคือสระ ฉันเป็นมติ รเก่ากบั สระมานมนานหลายปแี ลว้ ...” “เจา้ ชา้ ง แกไม่ร้อู ะไรเลย ถ้าแกยังขืนกนิ น้าอีกคา ฉนั จะเหยียบกระดูกแกใหห้ ัก” กระตา่ ยน้อยกลา่ ว อย่างโกรธ ช้างมองดูกระต่ายน้อยด้วยสายตาเหยียดหยาม และพึมพาว่า “เจ้านี่คุยโวเก่งจริงนะ ฉันเพียง เหยียบเจ้าสักทกี ระดูกของเจ้าก็แหลกเป็นผยุ ผงแล้ว” ช้างเดินมาที่หน้าตอไม้แล้วย่ืนงวงอันทรงพลังเก่ียวเจ้ากระต่ายน้อยไว้แน่น แล้วชูงวงขึ้นสูง ทุ่ม กระต่ายนอ้ ยลงพื้นสนามหญ้า “เฉดหัวไปให้พ้น” ช้างยมิ้ เย้ยหยันพร้อมกับพูดว่า “วันหลังห้ามพูดเหลวไหล อีก” กระต่ายน้อยโชคดีท่ีถูกช้างดึงออกจากตอไม้ได้ พอลงถึงพ้ืนก็รีบว่ิงโกยอ้าว ช้างใหญ่จ้องดูกระต่าย นอ้ ยเผน่ หนีเขา้ ป่าราวกับใส่ปีก บนตอไม้อนั ราบเรยี บน้ัน กระต่ายน้อยทิ้งหางไว้และยงั มขี นกระต่ายกระจุก หนึ่งตดิ แน่นอยูก่ บั ยางไม้ ต้ังแต่นั้นมา หางกระต่ายก็กุดเหลือเพียงส้ัน ๆ และขนที่ก้นกระต่ายก็เป็นสีขาว เพราะว่ามันงอก ข้นึ มาใหม่แทนขนที่หลดุ ไปนัน่ เอง (แหลง่ ทีม่ า : หนงั สอื เรยี นสาระการเรียนร้พู ืน้ ฐาน ชุดภาษาเพ่อื ชีวิต : วรรณกรรมปฏิสัมพนั ธ์ ชว่ งชน้ั ที่ ๒ หน้า ๑๑๔-๑๑๖)

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ เร่ือง นิทานอ่านสนกุ 903 ๘. นิทานประเทศสาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม เร่ือง ชาวนากบั เสือ กาลนานมาแล้ว มเี สือตวั หนึง่ เป็นพญาของสตั วป์ า่ ทง้ั หลาย มนั มีขนสีดาพู ตาลุกเปน็ ประกาย ฟนั คม ราวกับมดี พญาเสือตัวนี้เป็นทเ่ี กรงกลวั ไปทว่ั ป่า ฆา่ สัตวก์ ินสัตว์มาเสียมากมาย วนั หน่ึง หลังจากมันกินกวางตวั หน่ึงเป็นอาหารเช้าเสรจ็ แล้ว มันก็ออกมาเดินเลน่ สังเกตดสู ิ่งตา่ ง ๆ รอบตัวมนั ก็เห็นสัตว์นานาชนิดวิง่ หนกี ระเจิดกระเจงิ เมอ่ื เหน็ มัน ทนั ใดนน้ั พญาเสอื ก็เห็นสงิ่ หน่ึงซงึ่ มนั ไมแ่ นใ่ จ ว่าเปน็ อะไร มนั เห็นตัวอะไรในทุ่งนาข้างเชิงเขาลกู หนึ่ง ควายตัวหน่ึงกาลงั ลากคันไถอย่างสงบ ดูมีเร่ยี วแรง มัน่ คง มชี าวนาหนุ่มถือคนั ไถตามหลงั ทัง้ ตวาดทัง้ ตคี วายตวั นน้ั ด้วยเรียวไม้ไผ่ พญาเสอื สงสยั มาก เพราะไมเ่ คยมีผใู้ ดกระทาเช่นน้มี ากอ่ นในอาณาจักรของตน มนั หยดุ คอยแลว้ คอย เลา่ จนกระท่งั ชาวนาและควายหยุดพักไถนา มนั ก็เดินเขา้ ไปใกลค้ วายแลว้ ถามวา่ “บอกหน่อยเถอะสหาย มัน ยงั ไงกัน เจ้าถงึ ยอมให้มนุษย์ตัวเล็ก ๆ ตีด่าตวาดเจ้าได้อย่างไร ข้าเห็นเจ้าก็แข็งแรงใหญ่โต ทั้งยังมีเขาปลาย แหลมราวกับปลายมีด หากเจ้าจะแทงเจ้ามนษุ ย์ตัวน้นั กง็ ่ายนดิ เดยี วท่ีจะทาให้มันตายเม่ือใดก็ได้ ข้าไม่เข้าใจ จรงิ ๆ ว่า ทาไมเจ้ายอมมนั ไดอ้ ย่างไร” ควายเงยมองหน้าดูพญาเสือ แล้วก็ตอบอย่างเศร้า ๆ ว่า “มนุษย์ตัวเล็กก็จริง แต่ท่านไม่รู้เลยรึว่า มนุษย์มีปัญญาความคดิ ฉลาดเฉลียวนัก” “เจ้าว่า มันมีปัญญาความคิดฉลาดอย่างน้ันรึ ไอ้ปัญญาฉลาดเฉลียว หมายถึงอะไร” พญาเสือถาม อย่างประหลาด ควายชกั ราคาญหงดุ หงิด เพราะมันเองกไ็ ม่รูค้ วามหมายของคาน้ี แต่มันไมย่ อมรบั จึงตอบไป ว่า “เจ้าก็ลองไปถามเจ้ามนุษยน์ ่นั เองซิ” พญาเสอื เดนิ เขา้ ไปหาชาวนา ซ่งึ กาลังสูบยากลอ้ งไมไ้ ผอ่ ยู่และพูดวา่ “เจา้ ควายมันบอกแก่ขา้ ว่า เจา้ มี ปญั ญาความฉลาดนกั จริงหรอื เปลา่ ” “จรงิ สิ” ชาวนาตอบ พญาเสือก็ถามอีกว่า “แลว้ ปญั ญาความคิดฉลาดนี่ มันเหมือนกับอะไรเล่า โปรด พาข้าไปดูหนอ่ ยเถอะ” “ข้าเองกอ็ ยากจะอวดมันเหมือนกัน ตาขา้ ทิ้งมนั ไว้ทีบ่ ้านเมือ่ เช้านี้เอง ด้วยกลัวมันจะหล่นหายเสยี ใน ท้องนา”ชาวนาบอก “เจ้ากลบั บ้าน ไปเอามันมาอวดข้าหน่อยได้ไหมล่ะ ข้าอยากเหน็ มนั จรงิ ๆ วา่ จะเหมือน อะไร” เสอื ออ้ นวอน “ตกลงขา้ จะไปเอามา” ชาวนาพูด แล้วก็เดนิ ไปสองสามก้าว ทันใดก็หยุดหันกลับมาพูด วา่ “ขา้ ไปตอนนี้ไม่ได้แลว้ เพราะท่านคงฆา่ ควายของข้า ระหวา่ งท่ขี ้าไม่อยูท่ ่ีน่ีนะซิ” พญาเสือรับปากว่าจะไม่ ทาเพราะมันเพง่ิ กินกวางยงั อ่ิมอยู่ ชาวนาหยุดคดิ อยูค่ รู่หนึง่ แล้วเอ่ยปากวา่ “ตกลงขา้ ไปแน่ ถา้ ท่านยอมใหข้ ้า ผูกท่านไวก้ ับตน้ ไมโ้ นน่ ขา้ จะได้ไมห่ ่วงวา่ ท่านจะกินควายของข้า” อารามทีพ่ ญาเสอื อยากรอู้ ยากเห็นสง่ิ ท่ีเรียกวา่ ปญั ญาปราดเปรื่อง มันยอมให้ชาวนาผูกไว้กับต้นไม้ ชาวนาผกู พญาเสอื ไว้แลว้ ก็เก็บใบไมแ้ ห้งและก่ิงไมเ้ ชอ้ื ไฟ วางล้อมรอบพญาเสือ แลว้ บอกวา่ “นอี่ ย่างไรเล่า ตวั เรียกว่า ปัญญาปราดเปรอ่ื งของข้าละ” แล้วชาวนาก็จุดไฟลุกพรึบ เปลวไฟทั้งร้อนทั้งพุ่งข้ึนสูงพญาเสือไม่อาจกระดิกตัวดิ้นรน ท่าทาง เจ็บปวด ไม่มีทางใดชว่ ยตวั เองได้ อยทู่ ่ามกลางกองไฟร้อนแรงน้ัน เจ้าควายหวั เราะจนตัวโยนโดดกระแทก กอ้ นหินใหญ่ จนฟนั บนร่วง จนเชอื กที่ผูกพญาเสอื ไหมท้ าให้พญาเสือหลดุ วงิ่ หนเี ขา้ ป่าไป ตง้ั แต่นัน้ มาเหล่าลูกหลานของพญาเสือ เวลาเกิดมีขนสดี าบ้าง สีน้าตาลไหม้บ้าง เพราะผลจากต้นสกุล ของมนั เกดิ เหตดุ งั กลา่ ว และลูกเตา้ เหลา่ ควายเกิดมาฟันบนไม่มี

904 คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) (แหลง่ ทม่ี า : ผเู้ ขียน เหวียน กัน เฉา จากหนังสือเลา่ นิทานใหห้ นฟู งั หนอ่ ย. หน้า ๔๖-๔๙ กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๔๑.) ๙. นิทานประเทศสาธารณรฐั แหง่ สหภาพพมา่ เรอื่ ง หอยทากผเู้ ฉียบแหลม มา้ ตัวหน่งึ กาลงั ว่ิงบนถนน ระหว่างทางพบหอยทากตัวหน่ึงกาลังคลานต้วมเต้ียมไปอย่างเชื่องช้าก็ ร้สู กึ ขบขันจึงร้องขน้ึ วา่ “แกวง่ิ เรว็ อะไรปานนี้ ถ้าเดินอยา่ งแก ระยะทางสกั ร้อยก้าวกต็ อ้ งใชเ้ วลานานเปน็ รอ้ ยปี แน”่ หอยทากตอบว่า “ฉันออกมานี่กเ็ พอื่ สดู อากาศสดชนื่ ไม่ได้คิดจะเดินทางไปไหน แลว้ จะใหฉ้ ันว่ิงเรว็ ๆ ไป ทาไมกัน ฉนั กลา้ พดู ว่า ถา้ วงิ่ กนั จริง ๆ ก็ไมล่ า้ หลังแกถึงร้อยก้าวหรอก” “แกนี่คยุ โวเกง่ จริง” มา้ ร้องขึ้นอีก ทากพูดว่า “ถ้าไมเ่ ช่ือกล็ องดู พรงุ่ นพี้ อฟ้าสางแกกม็ าท่ีน่ี แลว้ เราต้ังตน้ วิ่งแข่งขันกัน จากท่ีนถ่ี ้าฉนั วิ่ง ล้าหลังแกรอ้ ยก้าว แกเหยียบฉนั ให้ตายไดเ้ ลย” มา้ เห็นชอบกับขอ้ เสนอของหอยทากทนั ที วนั น้นั เอง หอยทากก็เรียกญาติพ่ีน้องมาท้ังหมด ซ่ึงมีจานวนมากเปน็ หมน่ื ตัว หอยทากให้พ่ีนอ้ งของ เขาซอ่ นตวั ตามทางใหแ้ ต่ละตวั หา่ งกนั ร้อยก้าว รงุ่ ขนึ้ พอฟา้ สาง ม้ากม็ าตามถึงทที ี่นดั หมายไว้ “เจ้าจอมคยุ โว แกอย่าด้ือร้ันที่จะให้ฉันใช้กีบเท้าสงั หารชีวิตแกเลย ฉันขอเตือน แกจะเปล่ียนความ ตัง้ ใจใหม่ก็ยังไม่สายเกินไป” ม้าพูดกับหอยทาก หอยทากตอบว่า “ถ้าแกกลัวจะแพฉ้ ันละก็ฉันไม่เคยี่ วเข็ญให้ แกมาว่ิงแข่งกับฉันหรอก” คาพูดของหอยทากทาให้ม้าอดทนรอต่อไปไม่ไหว จึงตะโกนว่า “เอาละ แกวิ่งไล่ ตามฉันมาซิ” ม้าออกว่ิงไป วิ่งไปได้ร้อยก้าวก็หันมาดูทีหนึ่ง หอยทากอยู่ห่างจากตัวเขาไม่ไกลนัก ม้าวิ่งต่อไปอีก คราวน้ีว่ิงอย่างรวดเร็วถึงสองร้อยก้าว และร้องถามหอยทากด้วยน้าเสียงเยาะเย้ย “แกคลานอยู่ไหนกัน เจ้า จอมคุยโวที่น่าสงสาร” “แกหันหน้ามาดูซิ ดูว่าฉันล้าหลังแกเกินร้อยก้าวไหม” เสียงตอบอย่างหนักแน่น ม้าหันมาดู หอย ทากคลานตามหลังอย่างไม่รีบร้อนห่างออกไปไม่ถึงร้อยก้าวจริง ๆ ม้ารู้สึกประหลาดใจยิ่งนัก รีบวิ่งต่อไป หลงั จากวงิ่ ได้สี่ร้อยกา้ ว มา้ หันมาดขู ้างหลัง กเ็ หน็ หอยทากเหมอื นสองครงั้ กอ่ น คลานต้วมเต้ยี มหา่ งจากเขาไม่ ไกลนกั ม้าเหลือเชอื่ ได้แต่ว่ิงต่อไปข้างหนา้ ทกุ ครัง้ ทม่ี า้ เหลียวมาดู กเ็ ห็นหอยทากอยู่หา่ งจากเขาไม่ไกลนัก ม้าว่ิงไปพลางหอบไปพลาง ยิ่งวิง่ ยิ่งเรว็ แต่วา่ หอยทากยังคงตามหลังอยเู่ หมอื นเดิม ซ่ึงอยู่ห่างจากเขา ไมไ่ กลนัก มา้ ว่งิ จนออ่ นเปลย้ี ไปท้งั ตัว ในท่ีสุดกล็ ม้ ลงกลางถนน เขาไม่มีแรงว่ิงต่อไปได้อีก ขณะน้ันหอยทาก ไดค้ ลานเข้ามาใกล้ ๆ ตัวและพูดย้ิม ๆ ว่า “แกนึกวา่ แกมีสข่ี าก็เอาชนะไดอ้ ย่างน้ันหรือ ตรงกนั ข้าม ผู้ชนะหา ใชม่ ้าอย่างแกที่มสี ข่ี าและว่งิ ไดเ้ ร็วไม่ หากเปน็ หอยทากอย่างฉนั ทมี่ หี ัวสมองรู้จกั ครนุ่ คิดตา่ งหาก” (แหลง่ ทมี่ า : หนังสอื เรียนสาระการเรยี นรพู้ น้ื ฐาน ชดุ ภาษาเพื่อชีวติ : วรรณกรรมปฏสิ มั พันธ์ ช่วงชัน้ ท่ี ๒ หนา้ ๑๕๔-๑๕๕)

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๖ เรอื่ ง นิทานอ่านสนกุ 905 ๑๐. นทิ านประเทศเนการาบรูไนดารุสซาลาม เรอ่ื งแก้ลา ครั้งหนึง่ นานมาแลว้ ในประเทสบรไู นมีชายคนหนึ่ง มาเท่ียวซื้อข้าวของในเมอื ง เขาใช้เงินซื้อข้าวของ อย่างอน่ื หมด จนไม่เหลือเงินซื้ออาหาร เขาร้สู กึ หิวมาก ยิ่งเดินผ่านร้านขายอาหารที่กาลงั ย่างเนอ้ื ส่งกล่นิ หอม อบอวล เม่ือได้กล่ินเนื้อย่าง ชายคนนั้นกลืนน้าลายลงคอด้วยความหิว พลันมีเสียงร้องเอะอะมาจากเจ้าของ รา้ น แล้วชายเจ้าของรา้ นกว็ ง่ิ มายืนช้ีหนา้ ร้องขนึ้ มา “ไอ้คนพเนจร แกขโมยของขา้ ” ชายผถู้ ูกกลา่ วหายนื งนุ งง อยู่ครหู่ นงึ่ จึงตอบโตข้ ึ้นวา่ “ข้าไม่ได้ขโมยอะไรของทา่ น” เขารอ้ งขน้ึ ท่ามกลางสายตาคนอืน่ ๆ ทีก่ าลงั นั่งกิน อาหารอยูใ่ นรา้ น เขารสู้ กึ อับอาย ขณะทเ่ี จ้าของร้านตะโกนขึน้ ดงั ๆ วา่ “แก่ไม่ต้องมาเถียง” เจ้าของร้านอาหารลากตัวผู้ชายผู้นั้นไปทหี่ ้องพิพากษาเพื่อพิจารณาความ “ชายคนน้ีขโมยของอะไร ของเจ้า” ผู้พิพากษาถาม “ท่านผู้พิพากษาทเี่ คารพ ชายคนนี้ขโมยกลิ่นหอมเนอ้ื ย่างในร้านของข้า ขณะท่ีข้า กาลังย่างเนื้อ เขาเดินผ่านหน้ารา้ นของเขา มองแล้วกลืนน้าลาย ขา้ เห็นกับตาของขา้ จริง ๆ” ผู้พิพากษายืน ตะลึงด้วยความงุนงง นับต้งั แต่เป็นผูพ้ พิ ากษามาหลายปี ไม่เคยเจอคาฟอ้ งกล่าวโทษทีแ่ ปลกประหลาดอย่างน้ี จึงหันไปทางชายที่ถูกกล่าวหาพลางถามว่า “เจ้าทาอย่างที่เจ้าของร้านเนื้อย่างตั้งข้อกล่าวหารึป่าว” “จริง ขอรับ ข้ากาลังหิว พอได้กลิ่นเน้ือย่างหอมๆ เลยกลืนน้าลายจริง ๆ” “อือ...” ผู้พิพากษาครางเสียงยาว “ถ้าอยา่ งนน้ั เจ้าก็ขโมยกล่นิ เน้ือยา่ งของเขาจริง ๆ เจา้ ตอ้ งชดใช้ค่าเสยี หายแลว้ ละ” ชายเจ้าของร้านเนือ้ ย่างยิ้มในหน้าอย่างพอใจ เอ่ยขึ้นว่า “ทา่ นผ้พู พิ ากษาผ้ทู รงไว้ซึง่ ความยตุ ิธรรม ข้า ขอขอบคุณ” ผูพ้ ิพากษากล่าวกับชายผู้หิวโหยว่า “เจา้ มีเงินชดใชเ้ ขาหรือเปล่า” “ขา้ ไม่มเี งินเลย เงนิ ที่เตรียม มาจากบา้ นก็ซื้อข้าวของหมดแลว้ ” เขาตอบ ผู้พิพากษาย้ิมในหน้าอยา่ งคนอารมณ์ดี “เอาล่ะ ถ้าไม่มขี ้าให้ยืม ห้าเหรยี ญ” พูดจบ ผู้พพิ ากษาก็ควกั เหรียญออกจากกระเป๋าห้าเหรยี ญทาให้เกิดเสียงดัง กริ๊ก ๆ ๆ แลว้ ย่ืนให้ ผชู้ ายผู้ถูกกล่าวหา เขาย่ืนมือไปรับเหรียญจากมือผู้พิพากษา เหรียญท้ังห้ากระทบกันดังกร๊ิก ๆ ชายเจ้าของ ร้านเน้ือย่างผู้โลภมากยิม้ อย่างพอใจ ท่ไี ด้เงินค่ากลนิ่ เน้อื ย่างตั้งห้าเหรยี ญ ซึ่งเขาร้วู ่าได้เงนิ มาโดยไม่เสียอะไร เลย เขายื่นมือมาจะรบั เงินจากชายผ้ถู ูกกล่าวหา “เด๋ียวก่อน !” ผู้พิพากษาพูดเสยี งเข้มจัด จ้องหน้าชาย เจ้าของร้านเน้ือย่าง พลางเอ่ยข้ึนดัง ๆ ว่า “ทาไมเจ้าขโมยของเขา” ชายเจ้าของร้านเนื้อย่างตกใจ “ท่านผู้ พิพากษา ท่านก็เห็นวา่ ขา้ ไมไ่ ด้ขโมยอะไรของเขา” ผู้พิพากษาถามกลับว่า “เจ้าได้ยนิ เสียงกระทบกนั รึเปลา่ ” “ข้าได้ยินเหรียญกระทบกันดังกริ๊ก ๆ” “น่ันแหละ เจ้าขโมยเสียงเงินกระทบกันเม่ือครู่” ผู้พิพากษาพูด “โธ่ ..กแ็ ค่เสยี งเงินเหรยี ญกระทบกัน คนท่มี ีหไู ดย้ ินท้งั น้ันทาไมถึงกล่าววา่ ข้าขโมยล่ะครับ” ผู้พิพากษาตอบโต้ ว่า “ถ้าเช่นนั้นใคร ๆ มีจมูกก็สูดดมกลิ่นเน้ือย่างได้ แล้วเจ้าจะกล่าวว่าเขาขโมยกลิ่นเน้ือย่างของเจ้าได้ อย่างไร” ชายเจ้าของร้านอ้ึงพูดอะไรไม่ออก ขณะเสียงของผู้พิพากษาดังข้ึนว่า “ศาลตัดสินว่า จาเลยไม่มี ความผดิ ดงั ข้อกลา่ วหา ขอปิดคดี ณ บัดน้ี” ผใู้ ดคดิ จะเอาเปรยี บคนอ่ืน บุคคลผู้นัน้ กาลังตกอยใู่ นหว้ งชองการ เอาเปรยี บแนน่ อน (แหลง่ ทม่ี า : www.ich.culture.go.th)

๙๐๖ คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 4 เรือ่ ง การสรปุ เรอ่ื งจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เร่อื ง นทิ านอ่านสนกุ เวลา 1 ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชว้ี ดั สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง ตัวช้วี ัด ป.๕/๑ สรุปเรอ่ื งจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมท่อี า่ น ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การสรุปเรื่อง เป็นการนาความคดิ หลกั หรอื ประเด็นสาคัญของเร่ือง มาสรปุ ให้ไดใ้ จความชัดเจน กระชบั ด้วยสานวนภาษาของตนเอง ซง่ึ ใจความสาคญั อาจจะอยตู่ อนตน้ ตอนกลาง หรอื ตอนทา้ ยของเรือ่ งกไ็ ด้ ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) บอกหลกั การสรปุ เรอื่ งจากวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี า่ นได้ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เขียนสรปุ เรอื่ งจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ ่านได้ 3.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) นาข้อคดิ ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ ได้ ๔. สาระการเรยี นรู้ การสรปุ เรอ่ื งจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ น ๕. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 5.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ ๖. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 ใฝ่เรยี นรู้ 6.2 มุ่งม่ันในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๖ เรอ่ื ง นิทานอา่ นสนกุ การจัดกิจกรรมการเรยี น รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เร่อื ง การสรปุ เรือ่ งจากว ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ขั้นตอนการจัด เวลา แ ที่ จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรมครู 1. ขอบเขตเนือ้ หา ขน้ั นา 10 1. ครูทบทวนความรขู้ องน - การสรปุ เรื่องจาก นาที โดยใชค้ าถาม ดงั นี้ วรรณคดีและ ครู : นิทานพ้ืนบ้านท่นี กั เร วรรณกรรม ให้ขอ้ คดิ อะไรบา้ งแก่นกั เร ทีอ่ า่ น ครู : นิทานอาเซยี นทเี่ คยอ ความรู้อะไรแก่นกั เรียน 2. ครนู าวรรณคดฉี บับกา ให้นักเรยี นฟงั และดู แล้วต ประเด็นคาถาม ดังน้ี - เร่ืองท่นี ักเรียนดมู เี นอื้ หา - เราสามารถสรปุ ความรจู้ ที่ดูไดห้ รือไม่ อย่างไร 3. ครแู สดงความคดิ เหน็ ส แลว้ เชื่อมโยงเข้าสเู่ น้อื หาใ บทเรียน

๙๐๗ นรู้ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 เร่อื ง นทิ านอ่านสนกุ จานวน 10 ช่วั โมง วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่อี า่ น จานวน 1 ช่วั โมง แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมนิ กจิ กรรมนักเรียน - คาถาม การเรียนรู้ - สงั เกต นักเรียน 1. นกั เรยี นและครทู บทวนความรู้ การตอบคาถาม จากการอา่ นนิทานตา่ ง ๆ ดังนี้ ของนกั เรียน รียนอ่าน นกั เรยี น : ให้ข้อคดิ ในการดาเนนิ รยี น ชีวิตประจาวัน อา่ น ให้ ารต์ ูนมา 2. นกั เรยี นฟงั และดกู ารต์ ูน - การ์ตนู - สงั เกต ตง้ั วรรณคดไี ทยแล้วร่วมกันตอบ วรรณคดีไทย การตอบคาถาม - คาถาม ของนักเรียน คาถาม าอะไร จากเร่ือง สรุปทา้ ย 3. นกั เรียนแสดงความคิดเหน็ สรปุ ใน ท้ายแลว้ เชอ่ื มโยงเขา้ สู่เน้อื หาใน บทเรียน

๙๐๘ ค่มู ือ ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กิจกรรมครู 2. จดุ ประสงค์ ข้นั สอน 20 1. ครตู ั้งคาถามว่า การเรยี นรู้ นาที ครู : นักเรียนคิดว่า การส 1. บอกความหมาย และลกั ษณะของ จากวรรณคดแี ละวรรณกร อา่ น คืออะไร นทิ านพ้ืนบา้ นได้ 2. ครูอธบิ ายความรู้เก่ียวก การสรุปเรอ่ื งจากวรรณคด วรรณกรรมที่อา่ น โดยศกึ ใบความรูท้ ่ี ๔ ดงั นี้ - ประเภทวรรณคดีและวรรณ นกั เรยี นควรไดอ้ ่านและเร - การอ่านวรรณคด/ี วรรณ ทาใหเ้ ข้าใจอะไรบ้าง - การสรปุ เรือ่ งจากวรรณค วรรณกรรม มหี ลกั การอย - การเขยี นสรปุ เร่ืองจากก วรรณคดหี รอื วรรณกรรมไ อย่างไร 3. หลังจากนั้นครถู ามนักเ ครู : การอ่านวรรณคดมี หี สรปุ เรื่องอย่างไร

อครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจัดการเรยี นรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมิน กิจกรรมนกั เรียน - คาถาม การเรียนรู้ - ส่อื PPT - สังเกต 1. นักเรยี นตอบคาถามและ การตอบคาถาม สรุปเรอ่ื ง สนทนาเก่ียวกบั การสรปุ เรอื่ งจาก ของนักเรียน รรมที่ วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น ตามความเขา้ ใจของนักเรยี น กบั 2. นักเรียนร่วมกนั สนทนา - ใบความรทู้ ่ี ๔ 1. ประเมนิ การ ดีและ เกย่ี วกับการสรปุ เรือ่ งจาก ตอบคาถาม กษาจาก วรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี า่ น (ประเมนิ ด้าน K) โดยศึกษาจากใบความรทู้ ี่ ๔ ณกรรมท่ี รียนรู้ ณกรรม คดี / ยา่ งไร การอา่ น ได้ เรยี นว่า 3. นกั เรยี น : ตอบคาถามและช่วย หลกั การ กันสรปุ หลกั การเขยี นสรปุ เรือ่ งจาก วรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่านได้

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เรอื่ ง นิทานอา่ นสนุก ลําดบั ขอบเขตเนอื้ หา/ ขั้นตอนการจดั เวลา แ ท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กิจกรรมครู 5. ครูใหน้ กั เรยี นเลอื กอ่าน วรรณคดแี ละวรรณกรรมท 1 เร่อื ง 3. 2. เขียนสรปุ เรื่อง ขั้นปฏบิ ตั ิ 15 6. ครชู แ้ี จงการทาํ กจิ กรร จากวรรณคดแี ละ ข้ันสรปุ นาที กาํ หนดให้นักเรียนทาํ ใบงา วรรณกรรม การสรุปเร่ืองจากวรรณคด ทอ่ี า่ นได้ 5 วรรณกรรมทอ่ี ่าน นาที 4. 3. นําขอ้ คดิ ไปใชใ้ น (ครขู ้ึนกจิ กรรมในจอ PPT ชีวติ จริงได้ นักเรยี นทาํ ใบงานที่ 4 การส จากวรรณคดแี ละวรรณกรรม 7. ครูสมุ่ ออกมานําเสนอผ ประมาณ 2-3 กลุ่ม 8. - ครูสรุปการทํากจิ กรร - ประเมนิ การทาํ งาน 1. ครูกําหนดใหน้ กั เรยี นช สรุปความรูเ้ ร่อื ง การสรปุ เ

แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ ๙๐๙ การประเมนิ น กิจกรรมนกั เรยี น - สอื่ PPT เรอ่ื ง การเรียนรู้ ทส่ี นใจ 5. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ เลือกอา่ น การสรุปเรอ่ื ง วรรณคดี และวรรณกรรม ตาม จากวรรณคดี 2. ตรวจใบงาน ความสนใจ โดยครูนําเรอื่ งมาให้ และวรรณกรรม เลอื กอ่าน หรือใหค้ ้นหาหนงั สอื ทีอ่ ่าน จากหอ้ งสมุดมาอา่ น - ใบงานที่ 4  รมและ 6. นักเรียนทาํ ในใบงานที่ 4 านท่ี 4 การสรุปเร่อื งจากวรรณคดแี ละ ดีและ วรรณกรรมท่อี า่ น T ว่า : (นกั เรียนทง้ั ตน้ ทาง/ปลายทาง - สื่อ PPT 3. สังเกต สรปุ เรื่อง ทาํ ใบงานที่ 2 การสรปุ เรอ่ื งจาก สรุปความรู้ การตอบคาํ ถาม รมทอี่ า่ น) วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่าน) ผลงาน 7. นกั เรียนออกมานาํ เสนอผลงาน รม ประมาณ 2-3 กลุ่ม ช่วยกัน เรื่องจาก 8. - นักเรยี นสรุปการทํากจิ กรรม - ประเมนิ การทํางาน 1. นักเรยี นท้ังหอ้ งช่วยกนั สรุป ความรู้ เร่อื ง การสรปุ เร่อื งจาก

๙๑๐ คู่มอื ลาดับ ขอบเขตเน้ือหา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กิจกรรมครู วรรณคดแี ละวรรณกรรมท

อครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมิน กิจกรรมนักเรียน การเรยี นรู้ ทอ่ี า่ น วรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่านได้ ของนักเรียน ดังนี้ การสรุปเรอื่ ง เป็นการนา ความคดิ หลักหรือประเดน็ สาคญั ของเรอ่ื งมากลา่ วใหเ้ ห็นเด่นชัด พดู หรือเขยี นเป็นประโยคสน้ั ๆ ท่ี ได้ใจความชัดเจน เปน็ การสรปุ เรอื่ งทอ่ี ่าน และจบั ใจความสาคญั ของเรอ่ื ง 2. นักเรียนนาข้อคิดที่ได้ไป ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวัน

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๖ เรื่อง นทิ านอา่ นสนกุ 911 8. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ 1. ใบความรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง การสรปุ เรอ่ื งจากวรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า่ น 2. ใบงานที่ 4 เรอื่ ง การสรปุ เรื่องจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน 3. สื่อ PPT เรอ่ื ง การสรปุ เร่อื งจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น 4. คาถาม 5. การต์ ูนวรรณคดไี ทย 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรือภาระงาน - ใบงานที่ 4 เร่ือง การสรุปเรือ่ งจากวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี ่าน สงิ่ ทต่ี อ้ งการวดั / ประเมนิ วิธกี าร เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - พิจารณาจากการตอบ - คาถาม ร้อยละ ๖๐ - บอกหลกั การสรปุ เร่อื งจาก คาถามของนักเรยี น ขน้ึ ไป วรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า่ น - ตรวจใบงานท่ี 4 เร่ือง - แบบประเมินการสรปุ ร้อยละ ๖๐ ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P) การสรุปเรอ่ื งจาก เร่ืองจากวรรณคดีและ ข้ึนไป - เขยี นสรปุ เรื่องจากวรรณคดี วรรณคดแี ละวรรณกรรม วรรณกรรมท่อี ่าน และวรรณกรรมทีอ่ า่ น ที่อ่าน ร้อยละ ๖๐ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ขน้ึ ไป ดา้ นคุณลักษณะ เจตคติ - สังเกตพฤตกิ รรม ของนกั เรยี น ระดับคณุ ภาพ คา่ นิยม (A) นักเรยี น - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ผ่าน - นาขอ้ คิดไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้ - สังเกตพฤตกิ รรม อันพงึ ประสงค์ ระดับคุณภาพ นกั เรยี น - แบบประเมนิ สมรรถนะ ผา่ น ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - สังเกตพฤติกรรม สาคญั ของผ้เู รียน 1. ใฝเ่ รยี นรู้ นักเรียน 2. มงุ่ มนั่ ในการทางาน สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะ ชีวติ

912 คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) เกณฑ์ประเมนิ : การสรุปเรื่องจากวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ า่ น ประเดน็ ระดบั คุณภาพ การประเมิน ๑. การสรปุ ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรงุ ) ความรู้ สรปุ ความร้ไู มต่ รง สรปุ ความร้ตู รง สรปุ ความรู้ตรง สรปุ ความรู้ตรง ประเดน็ ถูกตอ้ ง ๒. การเขยี น ประเดน็ ถูกต้อง ประเด็นถูกต้อง ประเด็นถกู ต้อง ร้อยละ ๔๐ ของ อธิบายข้อคิด ครบถว้ นตามเนื้อหา ร้อยละ ๘๐ ของ ร้อยละ ๖๐ ของ เน้อื หาของเร่ือง ของเรอ่ื ง เนื้อหาของเรื่อง เนือ้ หาของเรอ่ื ง เขียนขอ้ คดิ ได้ ๓. การนาข้อคดิ น้อยมากและไม่ ไปใชใ้ นชวี ติ เขียนขอ้ คดิ ตรง เขยี นข้อคดิ ตรง เขียนขอ้ คิดได้ ตรงประเดน็ ประจาวัน ประเด็น แสดง ประเดน็ สอดคลอ้ ง บางสว่ นสอดคลอ้ ง เหตผุ ลสอดคลอ้ ง กบั เรือ่ ง กบั เรื่องบางสว่ น เขยี นขอ้ คิดไปใช้ กับเรื่อง ในชวี ิตประจาวัน ไดน้ ้อย เขยี นข้อคิดไปใชใ้ น เขยี นข้อคิดไปใช้ใน เขียนข้อคิดไปใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ได้ ชวี ติ ประจาวนั ได้ ชีวติ ประจาวันได้ อย่างถูกตอ้ งและ และใชไ้ ดจ้ รงิ บางสว่ น ใช้ไดจ้ รงิ หมายเหตุ : ค่าน้าหนักขอ้ ละ ๕ คะแนน (คะแนนรวม 60 คะแนน หาร 3 จะได้ 20 คะแนน) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑8-๒๐ ดมี าก 15-๑7 ดี ๑2-๑4 พอใช้ ตา่ กวา่ 12 ปรับปรงุ เกณฑก์ ารตดั สนิ : ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ขึน้ ไป (ต้องไดร้ ะดับพอใช้ขน้ึ ไป)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook