Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-08-คู่มื่อครู ภาษาไทย ป.5.-3

64-08-08-คู่มื่อครู ภาษาไทย ป.5.-3

Published by elibraryraja33, 2021-08-08 08:54:45

Description: 64-08-08-คู่มื่อครู ภาษาไทย ป.5.-3

Search

Read the Text Version

เรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) สือ่ การเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ แนวการจัดการเรยี นรู้ รู กิจกรรมนักเรยี น นตนาการ สนทนาร่วมกนั จากนั้นเขา้ สู่ องใช้ บทเรียน ระกอบ ข้าสู่ พอ่ื จะสรปุ 1. นักเรียนตอบคาถามและ - คาถาม - สงั เกตการตอบ ทเรียนวา่ สนทนาเกยี่ วกบั การเขียนเรอ่ื ง คาถามของ กันแน่” ตามจนิ ตนาการ นกั เรยี น ยนเร่อื ง ะไร รยี น 2. นกั เรยี นร่วมกันศกึ ษาใบ - ใบความรทู้ ่ี 7 1. ประเมนิ มรทู้ ่ี 7 ความรู้ท่ี 7 เรือ่ ง การเขียน เร่ือง การเขยี น การตอบคาถาม ตาม เรอ่ื งตามจนิ ตนาการ เร่ืองตาม จินตนาการ กครงั้ ว่า 3. นักเรยี นตอบคาถามและ - กระดาษ A4 าม สรปุ หลกั การเขยี นเรอ่ื งตาม และมี จินตนาการในกระดาษ A4 ท่ี ย่างไร ครูแจกให้

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๖ เรือ่ ง นทิ านอ่านสนกุ ลาดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ข้ันตอนการจัด เวลา แ ท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรมคร 4. จากนน้ั ครสู มุ่ นักเร ออกมานาเสนอหนา้ ช ประมาณ 2 กลมุ่ 5. ครพู ดู สรุปทา้ ยและ ขยายความเพ่ิมเติม ด - หลักการเขียนเร่ืองต จินตนาการ - การใชภ้ าษาและควา สรา้ งสรรคใ์ นการเขียน ตามจนิ ตนาการ 6. ครนู าตัวอยา่ งลักษ งานเขียนประเภทจนิ ต มาให้นกั เรยี นดู เชน่ - โลกและอวกาศอันพ - บา้ นบนใบบัว เพราะ โลก - ธรรมชาตใิ นศตวรรษ - มนุษย์ตา่ งดาวทีฉ่ ันอ

๙๕๕ แนวการจัดการเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ รู กจิ กรรมนกั เรียน - สอ่ื PPT เรื่อง เขียน เรื่องตาม รยี น 4. นกั เรียนประมาณ 2 กลุม่ จนิ ตนาการ ช้นั เรยี น ออกมานาเสนอหน้าช้นั เรยี น ะอธบิ าย 5. นักเรียนฟงั ครอู ธบิ ายสรุป ดังนี้ และจดบันทกึ ประเดน็ สาคญั ตาม ามคดิ นเร่อื ง ษณะของ 6. นกั เรียนดูตัวอยา่ ง เพื่อเป็น - ตวั อย่างงาน ตนาการ แนวทางในการเขียนเร่ืองตาม เขียนประเภท พิศวง จินตนาการ จินตนาการ ะนา้ ทว่ ม ษท่ี 50 อยากร้จู ัก

๙๕๖ ค่มู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเ ลาดับ ขอบเขตเนอ้ื หา/ ข้นั ตอนการจัด เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรมคร 3. 2. เขียนเรือ่ งตาม ขน้ั ปฏบิ ตั ิ 20 1. ครูแจกใบงานนกั เร จินตนาการได้ นาที อธิบายการทาใบงานท 3. มคี วามคิด การเขยี นเรอ่ื งตามจนิ สรา้ งสรรค์ในการเขยี น (ครขู น้ึ กจิ กรรมในจอ ว่า : นกั เรียนทาใบงา การเขยี นเร่ืองตามจิน 2. - ครสู รุปการทากจิ - ประเมินการทาง 4. ขนั้ สรุป 5 1. ครใู ห้นักเรียนสรปุ นาที เกยี่ วกบั การเขยี นเรอ่ื จนิ ตนาการ เป็นแผนผ ความคิดพรอ้ มกบั ครใู PPT

เรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจัดการเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ รู กิจกรรมนักเรยี น 2. ตรวจใบงาน 3. ประเมินจาก รยี นและ 1. นกั เรียนทาใบงานที่ 7 - ใบงานท่ี 7 การงานเขียน ท่ี 7 การเขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ การเขยี น นตนาการ เรื่องตาม จนิ ตนาการ PPT (นกั เรียนท้งั ต้นทาง/ปลายทาง านที่ 7 ทาใบงานท่ี 7 การเขยี นเรื่อง นตนาการ) ตามจินตนาการ) จกรรม 2. - นักเรยี นสรปุ การทา งาน กิจกรรม - ประเมินการทางาน ปความรู้ 1. นกั เรยี นสรปุ ความรเู้ ร่อื ง - สอ่ื PPT องตาม การเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ การเขียนเรื่อง ผงั ดงั นี้ การเขยี นเร่ืองตาม ตามจินตนาการ ในสอื่ จินตนาการเปน็ การเขยี น เรอื่ งราวทเ่ี กิดจากความคิด คานึง ความคิดฝนั การเขียน เรอ่ื งตามจินตนาการที่ดีต้อง หมัน่ ฝกึ คิด ฝึกสงั เกต และมี ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ และ มีมารยาทในการเขยี น

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๖ เร่ือง นทิ านอ่านสนกุ 957 8. สื่อการเรยี นรู/้ แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ท่ี 7 เรื่อง การเขียนเรอื่ งตามจินตนาการ 2. ใบงานที่ 7 เรอ่ื ง การเขียนเรอื่ งตามจินตนาการ 3. สื่อ PPT เรือ่ ง การเขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ 4. คาถาม 5. ตัวอยา่ งงานเขยี นประเภทเรอ่ื งจินตนาการ 6. รปู ภาพอวกาศ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน - ใบงานท่ี 7 เร่อื ง การเขียนเรอื่ งตามจนิ ตนาการ สิ่งท่ีต้องการวดั / ประเมิน วิธกี าร เคร่ืองมือท่ีใช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) - พิจารณาจากการตอบ - คาถาม รอ้ ยละ ๖๐ - บอกหลกั การเขยี นเรอ่ื งตาม คาถามของนกั เรยี น ข้นึ ไป จนิ ตนาการ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P) - แบบประเมินการเขยี น ร้อยละ ๖๐ - เขียนเรือ่ งตามจินตนาการ - ตรวจใบงานท่ี 7 เร่อื งตามจนิ ตนาการ ขน้ึ ไป เรอ่ื ง การเขยี นเรื่องตาม จินตนาการ ดา้ นคุณลักษณะ เจตคติ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม รอ้ ยละ ๖๐ คา่ นิยม (A) ขน้ึ ไป - มีความคิดสรา้ งสรรคใ์ นการ เขยี น ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ระดับคณุ ภาพ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มงุ่ ม่ันในการทางาน นักเรยี น อนั พงึ ประสงค์ ผา่ น สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ สมรรถนะ ระดับคณุ ภาพ 2. ความสามารถในการคดิ นักเรียน สาคญั ของผู้เรยี น ผา่ น

958 คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) เกณฑป์ ระเมิน : การเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ ประเด็น ระดบั คุณภาพ การประเมิน ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 1. การเขยี นเรอื่ ง ขาด 3 ประเด็น ตามจินตนาการ - เขยี นเรือ่ งโดยใช้ ขาด ๑ ประเด็น ขาด 2 ประเดน็ แผนภาพโครงเร่อื ง - การใช้ภาษา เลอื กใช้คาถูกตอ้ ง เหมาะสม - ชือ่ และเรื่องแปลก ใหม่ไมซ่ ้าเร่ืองใคร - เขียนสะกดคา ถูกตอ้ ง และลายมอื สวยงามเปน็ ระเบียบ 2. ความ ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่ สอดคล้องของ และสมั พันธ์กับ และสมั พนั ธ์กับ กับหวั ขอ้ หรอื เรอ่ื งท่ี สอดคล้องกบั เนอ้ื หากบั เรอื่ งที่ หวั ขอ้ หรอื เรอื่ งที่ หวั ขอ้ หรอื เรือ่ งที่ เขียนเป็นบางส่วน หัวขอ้ หรอื เรือ่ งท่ี เรียน เขียน เขยี นเป็นสว่ นใหญ่ เขยี น 3. ความคดิ งานเขียนมีความ งานเขียนมีความ งานเขียนมคี วาม งานเขียนขาด สรา้ งสรรค์และ สร้างสรรคแ์ ละ สร้างสรรค์และ สร้างสรรค์ เนือ้ หามี ความสร้างสรรค์ จินตนาการ เนือ้ หาเป็น เนื้อหาเปน็ จินตนาการบางสว่ น เน้อื หามี จนิ ตนาการท้งั เรอ่ื ง จนิ ตนาการเกอื บท้ัง จินตนาการ เรื่อง เล็กนอ้ ย หมายเหตุ : ค่าน้าหนกั ข้อละ ๕ คะแนน (คะแนนรวม 60 คะแนน หาร 3 จะได้ 20 คะแนน) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑8-๒๐ ดีมาก 15-๑7 ดี ๑2-๑4 พอใช้ ตา่ กว่า 12 ปรับปรงุ เกณฑ์การตัดสิน : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ ๖๐ ข้ึนไป (ต้องไดร้ ะดับพอใช้ขน้ึ ไป)

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๖ เรื่อง นทิ านอา่ นสนกุ 959 แบบประเมนิ การเขยี นเร่อื งตามจินตนาการ คาชีแ้ จง ให้ครูผู้สอนประเมนิ ผลการทากจิ กรรม/ใบงาน โดยเขียนคะแนน ลงในช่องท่ีกาหนดใหถ้ กู ตอ้ ง ลาดับ ชื่อ - สกุล คะแนน คิดเป็น สรปุ ผล ท่ี ทไี่ ด้ ร้อยละ การประเมิน ๒๐ คะแนน ๑๐๐ ผ่าน ไมผ่ า่ น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ รวม (คน) คิดเปน็ ร้อยละ ผลการประเมิน  ดีมาก ..........คน คดิ เป็นรอ้ ยละ...............  ดี ..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ................  พอใช้ ..........คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ...............  ปรบั ปรงุ .........คน คิดเปน็ รอ้ ยละ................ สรปุ ผลการประเมนิ รายช้ันเรยี น  นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จานวน......................... คน คิดเปน็ ร้อยละ.........................  นกั เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ จานวน......................... คน คิดเป็นร้อยละ........................ . ลงช่อื .................................................ผปู้ ระเมนิ (..............................................) ........../..................../..........

960 คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) 10. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากัดการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผทู้ ไี่ ด้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เร่ือง นทิ านอ่านสนกุ 961 ใบความรทู้ ี่ 7 เรอื่ ง หลกั การเขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ หนว่ ยเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง นทิ านอ่านสนกุ แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 7 เร่อื ง หลักการเขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ ความหมายของจนิ ตนาการ เปน็ ความคดิ คานงึ ถึงทีเ่ กดิ ขึ้นในจิตใจ อาจจะเป็นการวาดภาพขึ้นมา ตามความคดิ ฝันหรือ ความคิดคานึงน้ันอาจจะมาจากประสบการณ์ แล้วสร้างภาพใหม่ให้ กว้างและวิจิตรบรรจงกว่า ประสบการณ์เดิม การเขียนเรียงความจากจินตนาการจะต้องอาศัย ศิลปะเฉพาะตัวของผู้เขียน และได้รบั การฝกึ ฝนอยเู่ สมอ การเขียนเรื่องตามจินตนาการ การเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ เป็นความคิดที่เช่ือมโยงประสบการณ์และความจริงในชีวิต จากอดีตไปสู่อนาคต หรือเชื่อมโยงเรื่องราวและเหตุการณ์ต่าง ๆ ในปัจจุบันโดยผูกเป็นเร่ืองราว ข้ึนมา จากความคิดของนักเรียน การเขียนเล่าเรื่องจากภาพ เป็นการใช้ประสบการณ์ร่วมกับ จินตนาการของแต่ละคน โดยดูรายละเอียดต่าง ๆ จากภาพเป็นพื้นฐานในการจินตนาการ เขียน เป็นเร่ืองราวท่ีน่าสนใจหรือให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลินแก่ผู้อ่าน การเขียนเร่ืองจากภาพต้อง เรียบเรียงเรอื่ งราวต่าง ๆ จากภาพให้มคี วามเกีย่ วเนอ่ื งสัมพันธก์ นั หลักการเขียนเรอื่ งจากภาพ ๑. ดูภาพ พิจารณาภาพรายละเอยี ดต่าง ๆ ใหค้ รบถว้ น ๒. จินตนาการผูกเรื่องราวย้อนไปในอดีต คิดไปในอนาคต หรือเช่ือมโยงเหตุการณ์ใด เหตกุ ารณ์หนึ่งในปจั จบุ นั ๓. สร้างความคิดคานงึ โดยใช้ความเปน็ จรงิ หรอื เหตกุ ารณ์ทสี่ มจรงิ เป็นพน้ื ฐาน ๔. ลาดบั เรอื่ งราวใหต้ อ่ เนื่องตงั้ แตต่ น้ จนจบ ๕. เขียนเล่าความให้ต่อเนอ่ื ง ๖. ตัง้ ชื่อเรอื่ งให้นา่ สนใจ ๗. เขยี นลายมอื ใหอ้ ่านง่าย จบประโยคเวน้ วรรคใหช้ ดั เจน แหลง่ ที่มา : จากใบความรสู้ อ่ื 60 พรรษา

962 คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) สรุปหลกั การเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ - คดิ แนวเร่ืองทต่ี อ้ งการจะเขยี น - คิดเรือ่ งตามจินตนาการของ - ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมใน ผู้เขียนว่าจะมีใครทาอะไร เรอื่ งที่จะเขยี น ท่ไี หน อย่างไรบา้ ง - วางแผนและศกึ ษาหลกั การ - วางโครงเร่อื ง ลาดับเหตุการณ์ เขียนเร่อื งจินตนาการ กอ่ นหลัง หลกั การเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ - เขียนเว้นวรรคตอนใหถ้ ูกตอ้ ง - รกั ษาความสะอาดในการเขยี น - เรยี บเรียงเนือ้ หาหรอื - วางรปู สระ วรรณยกุ ต์ และ - เลือกใชภ้ าษาที่สุภาพ ถกู ต้อง เร่อื งราวใหต้ อ่ เนื่องกัน เคร่อื งหมายตา่ ง ๆ ใหถ้ กู ต้อง ตามกาลเทศะ - ในการตัง้ ชื่อเรื่องควร ตามรปู แบบของอกั ษรไทย - เขียนสะกดคาให้ถูกต้อง ต้งั ช่อื เร่ืองให้นา่ สนใจและ - ตรวจทานการเขียนสะกดคา - ช่วยเสรมิ สร้างจินตนาการ สอดคลอ้ งกับเนอื้ เร่อื ง - ช่วยฝกึ ความคดิ สร้างสรรค์ - เขยี นดว้ ยลายมอื บรรจง เรียบร้อย

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๖ เรอื่ ง นิทานอา่ นสนกุ 963 ใบงานที่ 7 เร่ือง การเขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เร่ือง นิทานอ่านสนุก แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7 เรื่อง การเขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการอยา่ งสร้างสรรค์ความยาว 5-8 บรรทดั พรอ้ มตง้ั ชอ่ื เรอื่ ง เรอ่ื ง...................................................................................................................... ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ชอ่ื ........................................................นามสกลุ ..............................................ช้นั ................เลขท.่ี .............

๙๖๔ คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 8 เรื่อง บทร้อยกรองท่มี คี ุณค่า หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 เรื่อง นทิ านอา่ นสนกุ เวลา 1 ชั่วโมง กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ตัวชวี้ ัด ป.๕/๓ อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ป.๕/๔ ทอ่ งจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคุณค่าตามความสนใจ ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด บทร้อยกรองที่มีคุณค่า เป็นบทร้อยกรองที่มีความไพเราะ ให้คุณค่าในด้านต่าง ๆ และให้ข้อคิดที่ดี ทาใหผ้ ู้อ่านเกิดอารมณ์และจินตนาการ สามารถนาขอ้ คิดความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ ๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) อธบิ ายลักษณะของบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ุณค่าได้ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เขยี นสรปุ ขอ้ คดิ และคณุ ค่าของบทรอ้ ยกรองทีก่ าหนดได 3.3 ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) เหน็ คุณคา่ ของบทรอ้ ยกรอง ๔. สาระการเรยี นรู้ บทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณคา่ ได้แก่ - วิชาเหมอื นสินคา้ - ตนเปน็ ทพ่ี งึ่ แหง่ ตน ๕. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 5.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 5.2 ความสามารถในการคดิ ๖. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ 7. กจิ กรรมการเรียนรู้

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๖ เร่อื ง นทิ านอ่านสนกุ การจดั กิจกรรมการเรียน รายวิชา ภาษาไทย หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 เ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 เรอ่ื ง บทร้อ ลาดับ ขอบเขตเนอื้ หา/ ขั้นตอนการจัด เวลา แ ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมคร 5 1. ครูเปิดคลปิ วิดีโอก 1. ขอบเขตเนอ้ื หา ข้นั นา นาที และทอ่ งจาบทอาขยา - บทร้อยกรองที่มี วชิ าเหมอื นสินค้า ใหน้ คณุ ค่า วิชาเหมือน สนิ ค้า และตนเปน็ ท่ี 2. ครถู ามคาถาม ดงั น พง่ึ แห่งตน ครู : จากการดคู ลปิ วดิ ขา้ งตน้ นกั เรียนไดร้ หู้ อ่านบทรอ้ ยกรองอยา่ ครู : นักเรียนฟงั บทรอ้ แลว้ ใหค้ วามรสู้ กึ อย่าง ครู : บทร้อยกรองมเี น เกี่ยวกบั อะไร ครู : นักเรยี นทราบไห ร้อยกรองนอกจากให้ค ไพเราะแล้ว ยังไดข้ ้อค คุณคา่ จากบทรอ้ ยกรอ นักเรียนคิดวา่ บททีฟ่ ัง ใหข้ อ้ คิดอย่างไรบ้าง

๙๖๕ นรู้ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 เรือ่ ง นทิ านอา่ นสนุก จานวน 10 ชวั่ โมง อยกรองที่มคี ุณค่า จานวน 1 ชว่ั โมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ รู กจิ กรรมนกั เรยี น การอ่าน 1. นกั เรยี นดูคลปิ วดิ โี อ - คลิปวิดีโอ เร่อื ง าน เรอื่ ง การอา่ นและท่องจาบทอาขยาน วิชาเหมือนสนิ ค้า นักเรยี นฟงั เรอ่ื ง วชิ าเหมอื นสินค้า น้ี 2. นักเรยี นตอบคาถาม และ - คาถาม - สงั เกตการตอบ ดีโอ สนทนาเกีย่ วกับการดคู ลปิ คาถามของ หลกั การ วดิ โี อขา้ งตน้ และบอกข้อคิด นกั เรียน างไร และคุณคา่ จากบทร้อยกรอง อยกรอง (นกั เรยี นเคยเรยี นเรอ่ื ง งไร นอ้ื หา การอา่ นออกเสยี งกาพย์ยานี 11 เรอื่ ง วิชาเหมอื นสินค้า หมว่าบท มาแลว้ นกั เรียนทบทวน ความ การบอกข้อคิดและคณุ ค่าของ คิดและ บทรอ้ ยกรอง) อง งขา้ งต้น

๙๖๖ ค่มู อื ลาดับ ขอบเขตเนอื้ หา/ ข้ันตอนการจัด เวลา แ ท่ี จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมคร 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ข้นั สอน 3. จากน้ัน ครเู ชือ่ มโย 1. อธิบายลกั ษณะของ การอ่านบทรอ้ ยกรอง บทรอ้ ยกรองทมี่ ีคณุ คา่ คณุ คา่ ได้ 20 1. ครทู บทวนเรอื่ ง กา นาที ขอ้ คิดและคุณค่าของบ ร้อยกรอง ดังน้ี - การสรปุ ขอ้ คดิ ของบท ร้อยกรอง - การสรุปคณุ ค่าของบท ร้อยกรอง 2. ครูถามนกั เรียนว่า “บทร้อยกรองที่มคี ุณ ลกั ษณะอยา่ งไร” 2. เขยี นสรปุ ขอ้ คดิ 3. ครูให้นกั เรยี นออก และคุณคา่ ของบท นาเสนออธบิ ายเก่ียวก ร้อยกรองท่ีกาหนดได้ ลกั ษณะของบทรอ้ ยก คณุ คา่ 4. ครยู กตัวอยา่ งบทร

อครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมนิ รู กจิ กรรมนกั เรียน การเรยี นรู้ ยงเขา้ สู่ 3. นกั เรียนเขา้ สู่บทเรียน งทม่ี ี พร้อมกนั ารสรปุ 1. นักเรยี นฟงั ครอู ธบิ าย - สื่อ PPT เรื่อง บท สนทนาและแสดงความคดิ เหน็ บทรอ้ ยกรองทมี่ ี บท รว่ มกัน คณุ คา่ ท า 2. นักเรยี นชว่ ยกนั ระดม 1. ประเมิน ณคา่ นน้ั มี ความคดิ เพ่ือสร้างองค์ความรู้ การตอบคาถาม รว่ มกนั วา่ บทรอ้ ยกรองทม่ี ี คุณคา่ น้นั มลี ักษณะอย่างไร จากนน้ั ตอบคาถามทค่ี รกู าหนด กมา 3. นักเรยี นออกมานาเสนอ กบั อธิบายเกยี่ วกับลักษณะของ กรองทม่ี ี บทรอ้ ยกรองทมี่ คี ณุ คา่ ประมาณ 2-3 กล่มุ ร้อยกรอง 4. นักเรียนดกู ารสรุปขอ้ คิด

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ เรือ่ ง นทิ านอ่านสนกุ ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ข้ันตอนการจัด เวลา แ ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมคร ทม่ี ีคณุ ค่า เรื่อง “ในโล อะไรเปน็ ไทยแท้” แล ขอ้ คิดและคุณคา่ ใหน้ กั เปน็ แนวทาง 3. ขนั้ ปฏบิ ตั ิ 20 5. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบ นาที บทรอ้ ยกรองทม่ี คี ุณค (ครขู นึ้ กจิ กรรมในจอ นักเรยี นทาใบงานท่ี 8 ร้อยกรองท่ีมคี ุณค่า) 4. 3. เห็นคณุ คา่ ของบท ขั้นสรปุ 6. - ครูพานักเรียนสร รอ้ ยกรอง กจิ กรรม - ประเมินการทาง 5 1. ครูต้งั คาถามวา่ นาที ครู : การเรียนเรื่องบท ร้อยกรองท่มี คี ุณคา่ ช เรียนเปน็ คนอย่างไร

๙๖๗ แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมนิ รู กจิ กรรมนักเรียน การเรียนรู้ ลกน้ีมี และคณุ ค่าจากครู และ - ตัวอย่างบท ล้วสรปุ สนทนาร่วมกัน ร้อยกรองทีม่ ี 1. ตรวจใบงาน กเรยี นดู คณุ คา่ เร่อื ง “ใน 2. ประเมนิ โลกน้ีมอี ะไรเป็น การท่องจาบท บงานที่ 8 5. นกั เรยี นทาใบงานท่ี 8 บท ไทยแท้” อาขยานเปน็ คา่ ร้อยกรองทมี่ คี ณุ ค่า - ใบงานท่ี 8 การประเมินนอก บทรอ้ ยกรองทม่ี ี PPT ว่า : (นักเรยี นทงั้ ตน้ ทาง/ปลายทาง คุณค่า 8 บท ทาใบงานที่ 8 บทร้อยกรองที่ มคี ุณคา่ ) รุปการทา 6. – นกั เรียนรว่ มกันสรปุ 3. สงั เกตจาก งาน การทากจิ กรรม พฤติกรรมของ นกั เรยี น ท - ประเมินการทางาน ช่วยใหผ้ ทู้ ี่ 1. นักเรยี นร่วมกนั ตอบคาถาม - สอื่ PPT ดังนี้ บทรอ้ ยกรองทมี่ ี นักเรียน : ทาใหส้ ามารถนา คณุ คา่ ขอ้ คดิ และคุณคา่ จากเร่ืองไป ปรับใช้ในชวี ิตจรงิ ได้

๙๖๘ คู่มอื ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ขั้นตอนการจัด เวลา แ ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมคร 2. ครูพาสรปุ ความรู้ บทรอ้ ยกรอง ทม่ี คี ณุ ค

อครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจดั การเรยี นรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมนิ รู กจิ กรรมนักเรียน การเรียนรู้ เร่ือง 2. นักเรียนสรปุ ความรู้ ดังน้ี ค่า นกั เรียน : บทร้อยกรองท่ีมี คุณค่า เปน็ บทร้อยกรองทมี่ ี ความไพเราะ มคี ุณคา่ และให้ ขอ้ คิดที่ดี ควรหมนั่ ท่องจาให้ คลอ่ งแคลว่ เพือ่ นาไปใช้ อ้างองิ และเป็นการอนุรกั ษ์บท รอ้ ยกรอง

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๖ เรอื่ ง นทิ านอ่านสนกุ 969 8. สอื่ การเรยี นร้/ู แหลง่ เรียนรู้ 1. ใบความรู้ท่ี 8 เรื่อง บทร้อยกรองทม่ี คี ุณค่า 2. ใบงานที่ 8 เร่อื ง บทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่า 3. สื่อ PPT เร่ือง บทร้อยกรองท่ีมีคณุ ค่า 4. คาถาม 5. ตัวอยา่ งบทรอ้ ยกรองทมี่ ีคณุ คา่ เร่อื ง ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้ 6. คลปิ วดิ โี อ เรือ่ ง วชิ าเหมือนสินคา้ 9. การประเมินผลรวบยอด ช้ินงานหรือภาระงาน - ใบงานที่ 8 เรื่อง บทร้อยกรองทมี่ ีคณุ คา่ สง่ิ ทต่ี ้องการวดั / ประเมิน วธิ ีการ เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ - พจิ ารณาจากการตอบ - คาถาม รอ้ ยละ ๖๐ - อธบิ ายลกั ษณะของบท คาถามของนกั เรียน ขึน้ ไป ร้อยกรองทีม่ ีคณุ ค่า - ตรวจใบงานที่ 8 ด้านทกั ษะและกระบวนการ - ประเมนิ การทอ่ งจาบท - แบบประเมนิ /ใบงานที่ 8 ร้อยละ ๖๐ - เขียนสรุปขอ้ คดิ และคณุ คา่ อาขยาน - แบบประเมินการท่องจา ขน้ึ ไป ของบทรอ้ ยกรองที่กาหนดได้ บทอาขยาน - ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ี - สังเกตพฤตกิ รรม กาหนดได้ - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ ด้านคุณลักษณะ 1. การสงั เกตพฤติกรรม ผา่ น - เหน็ คุณค่าของบทรอ้ ยกรอง 2. การตอบคาถาม 1. แบบประเมินคาถาม ระดับคณุ ภาพ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 2. แบบประเมินการทางาน ผา่ น ๑. ความสามารถในการส่ือสาร กลุม่ ๒. ความสามารถในการคดิ

970 คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) เกณฑป์ ระเมิน : การประเมินการทาใบงานท่ี 8 บทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่า ประเดน็ ระดบั คุณภาพ การประเมิน ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรงุ ) สรปุ ความรู้ไมต่ รง 1. การสรุป สรปุ ความรตู้ รง สรปุ ความรู้ตรง สรปุ ความรูต้ รง ประเด็นถูกต้อง ความรู้และข้อคิด ประเดน็ ถกู ตอ้ ง ประเดน็ ถูกต้อง ประเด็นถกู ตอ้ ง รอ้ ยละ ๔๐ ของ ของบทรอ้ ยกรอง ครบถ้วนตามเนอื้ หา ร้อยละ ๘๐ ของ ร้อยละ ๖๐ ของ เน้อื หาของเรือ่ ง ที่อ่าน ของเรอ่ื ง เนื้อหาของเร่ือง เนื้อหาของเรอื่ ง เขยี นบอก 2. การสรปุ เขียนบอก เขยี นบอก เขียนบอก ความสาคญั ของ คุณคา่ ของบท ความสาคัญของ ความสาคัญของ ความสาคญั ของ เนื้อหาไม่ตรง รอ้ ยกรองท่ีอ่าน เนือ้ หาตรงประเด็น เนื้อหาตรง เนอ้ื หาตรงประเดน็ ประเดน็ และเขยี น และยกตวั อย่าง ประเด็น บางสว่ น และวกวน วกวน หมายเหตุ : คา่ น้าหนักขอ้ ละ ๕ คะแนน (คะแนนเต็ม 40 คะแนน หาร 2 จะได้ 20 คะแนน) เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑8-๒๐ ดีมาก 15-๑7 ดี ๑2-๑4 พอใช้ ต่ากวา่ 12 ปรับปรงุ เกณฑ์การตัดสนิ : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ ๖๐ ขน้ึ ไป (ต้องไดร้ ะดบั พอใช้ขึน้ ไป)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ เรอ่ื ง นทิ านอ่านสนกุ 971 แบบประเมนิ การประเมินการทาใบงานที่ 8 บทรอ้ ยกรองท่มี ีคุณคา่ คาชี้แจง ให้ครูผ้สู อนประเมินผลการทากิจกรรม/ใบงาน โดยเขยี นคะแนน ลงในชอ่ งที่กาหนดใหถ้ กู ตอ้ ง ลาดับ ชอ่ื - สกลุ คะแนน คิดเป็น สรปุ ผล ท่ี ท่ไี ด้ ร้อยละ การประเมนิ ๒๐ คะแนน ๑๐๐ ผ่าน ไม่ผา่ น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ รวม (คน) คดิ เป็นร้อยละ ผลการประเมิน  ดมี าก ..........คน คดิ เป็นรอ้ ยละ...............  ดี ..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ................  พอใช้ ..........คน คิดเป็นร้อยละ...............  ปรบั ปรงุ .........คน คดิ เปน็ ร้อยละ................ สรุปผลการประเมนิ รายชน้ั เรียน  นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จานวน......................... คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.........................  นกั เรยี นไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน จานวน......................... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ........................ . ลงช่ือ.................................................ผปู้ ระเมิน (..............................................) ........../..................../..........

972 คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) 10. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจดั การเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากดั การใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผทู้ ไี่ ด้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ เรอื่ ง นทิ านอา่ นสนกุ 973 ใบความรู้ที่ ๘ เรอื่ ง บทรอ้ ยกรองทีม่ คี ุณคา่ หน่วยเรียนรู้ที่ 6 เรือ่ ง นิทานอ่านสนกุ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 เร่ือง บทรอ้ ยกรองที่มีคณุ คา่ รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๕๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ บทร้อยกรอง หมายถึง คาประพันธ์ที่แต่งข้ึนโดยมีข้อบังคับหรือฉันทลักษณ์ จากัดคาและวรรคตอนให้ สัมผัสกันไพเราะตามเกณฑ์ท่ีได้วางไว้ในฉันทลักษณ์ เช่น กลอนสุภาพ โคลงส่ีสุภาพ กาพย์ยานี 11 และกาพย์ฉบับ 16 ฯลฯ คาวา่ “บทรอ้ ยกรอง” มคี าท่ใี ชเ้ รยี กแตกต่างกนั หลาย ๆ อยา่ ง เช่น คาประพนั ธ์ คาประพันธ์ ร้อยกรอง กาพย์กลอน กวนี พิ นธ์ หรอื บทกวี ซ่งึ มีคุณค่าต่อผอู้ า่ น คณุ ค่าของบทร้อยกรอง ๑. ชว่ ยใหเ้ ข้าถงึ รสและเห็นความงามของบทร้อยกรองท่ีอา่ น ๒. ช่วยใหไ้ ดร้ ับความไพเราะและเกดิ ความซาบซึ้ง ๓. ชว่ ยใหเ้ กิดความสนุกสนานเพลดิ เพลิน ๔. ชว่ ยใหจ้ าบทร้อยกรองไดร้ วดเร็วและแมน่ ยา ๕. ชว่ ยกลอ่ มเกลาจติ ใจให้เป็นคนอ่อนโยนและเยอื กเย็น ๖. ช่วยสบื สานศิลปวัฒนธรรมในการอา่ นทานองเสนาะไวเ้ ป็นมรดกของ

974 คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ใบงานที่ 8 เรอ่ื ง เขียนสรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ คา่ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 เรอ่ื ง นทิ านอา่ นสนุก แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 8 เรือ่ ง บทร้อยกรองท่ีมีคณุ ค่า รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๕๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนอ่านบทร้อยกรอง แลว้ เขยี นสรุปความรู้และข้อคดิ ของบทร้อยกรอง วิชาเหมือนสนิ ค้า วชิ าเหมือนสินค้า อันมีค่าอยเู่ มอื งไกล ต้องยากลาบากไป จึงจะได้สนิ ค้ามา จงตั้งเอากายเจ้า เปน็ สาเภาอันโสภา ความเพยี รเปน็ โยธา แขนซ้ายขวาเป็นเสาใบ นิ้วเป็นสายระยาง สองเท้าตา่ งสมอใหญ่ ปากเป็นนายงานไป อชั ฌาสัยเป็นเสบียง สติเปน็ หางเสอื ถือทา้ ยเรือไวใ้ หเ้ ที่ยง ถอื ไว้อย่าให้เอียง ตัดแลน่ เล่ียงข้ามคงคา ปัญญาเปน็ กล้องแกว้ สอ่ งดแู ถวแนวหนิ ผา เจา้ จงเอาหูตา เป็นล้าต้าฟงั ดลู ม ขเี้ กียจคอื ปลาร้าย จะทาลายใหเ้ รอื จม เอาใจเป็นปนื คม ยงิ ระดมให้จมไป จึงจะไดส้ ินคา้ มา คอื วิชาอนั พิสมยั จงหมน่ั มน่ั หมายใจ อย่าได้ครา้ นการวชิ า จากหนังสือเรียนวรรณคดลี านา ชั้น ป.5 หนา้ 43 สรุปความรู้ ขอ้ คดิ ................................................................... ............................................................... ................................................................... ............................................................... ................................................................... ............................................................... ................................................................... ............................................................... ................................................................... ............................................................... ........... ............................................................... .....

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๖ เร่ือง นทิ านอา่ นสนกุ 975 เราเกดิ มาท้ังทชี ีวติ หนงึ่ อย่าหมายพ่งึ ผู้ใดใหเ้ ขาหยัน ควรคะนึงพึ่งตนทนกดั ฟนั คดิ บากบั่นมุ่งหน้ามานะนาํ กสิกิจพณิชยการงานมีเกยี รติ อย่าหยามเหยยี ดพาลหาวา่ งานต่ํา หรือจะชอบวิชาอตุ สาหกรรม เชญิ เลือกทาํ ตามถนดั อยา่ ผัดวัน เอาดวงใจเปน็ ทุนหนุนนําหน้า เอาปญั ญาเป็นแรงมุ่งแขง่ ขัน เอาความเพยี รเป็นยานประสานกัน ผลจะบรรลุสู่ประตูชยั เงนิ และทองกองอยปู่ ระตูหนา้ คอยเปิดอ้ายม้ิ รบั ไมข่ บั ไส ทรพั ย์ในดินสนิ ในน้าํ ออกคลาํ่ ไป แหลมทองไทยพร้อมจะชว่ ยอาํ นวยเอย จาก หนงั สอื วรรณคดลี าํ นาํ ป.5 หนา้ 70 สรุปความรู้ ขอ้ คิด ................................................................. ................................................................... ................................................................. ................................................................... ................................................................. ................................................................... ................................................................. ................................................................... ................................................................. ................................................................... ................................................................. ................................................................... ................................................................. ................................................................... ................................................................. ................................................................... ชอ่ื ....................................................นามสกุล...............................................ชน้ั .................เลขท่.ี ..............

976 คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕)   แนวคาํ ตอบใบงานท่ี 8 เร่ือง เขียนสรุปความรู้และขอ้ คิดจากบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ ค่า หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรือ่ ง นทิ านอ่านสนกุ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 8 เรอื่ ง บทรอ้ ยกรองทมี่ คี ณุ ค่า รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ คําช้แี จง ใหน้ ักเรียนอ่านบทร้อยกรอง แลว้ เขียนสรปุ ความรู้และขอ้ คิดของบทร้อยกรอง วชิ าเหมอื นสนิ คา้ วิชาเหมือนสนิ ค้า อนั มีคา่ อยเู่ มอื งไกล ตอ้ งยากลําบากไป จึงจะได้สนิ ค้ามา จงต้งั เอากายเจ้า เป็นสําเภาอนั โสภา ความเพยี รเป็นโยธา แขนซา้ ยขวาเป็นเสาใบ น้วิ เป็นสายระยาง สองเท้าตา่ งสมอใหญ่ ปากเปน็ นายงานไป อัชฌาสัยเป็นเสบยี ง สตเิ ป็นหางเสอื ถอื ท้ายเรือไวใ้ ห้เทย่ี ง ถอื ไว้อย่าให้เอียง ตดั แล่นเล่ียงข้ามคงคา ปญั ญาเป็นกลอ้ งแกว้ สอ่ งดแู ถวแนวหนิ ผา เจ้าจงเอาหูตา เปน็ ล้าตา้ ฟังดูลม ข้ีเกยี จคอื ปลาร้าย จะทาํ ลายให้เรอื จม เอาใจเป็นปนื คม ยิงระดมใหจ้ มไป จงึ จะไดส้ นิ คา้ มา คอื วชิ าอนั พิสมยั จงหมน่ั มัน่ หมายใจ อย่าไดค้ ร้านการวชิ า จากหนงั สอื เรียนวรรณคดลี าํ นาํ ช้ัน ป.5 หน้า 43 สรุปความรู้ การมีวิชาเหมือนมีทรัพย์สินเงิน ข้อคิด ใช้สอนผอู้ า่ นได้เป็นอย่างดี มีคติชีวิตใน ทอง เพราะเราสามารถใช้ปัญญา วิชาความรู้ การดําเนินชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ตา่ ง ๆ ที่ติดตัวอยู่นน้ั แสวงหาเงนิ ทอง และเล้ยี งชีพ น่ันคือ การใช้ปัญญา การแสวงหาความรู้ และ ตนเองได้จนเติบใหญ่ และมนั่ คง การมีวิชาความรู้ ความขยัน นั้นมิใช่เพียงแต่ประดับสมองเพียงอย่างเดียว แต่ ห ม า ย ถึ ง ก า ร เ อ า ตั ว ร อ ด ใ น สั ง ค ม ไ ด้ อ ย่ า ง มี ความสขุ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เร่ือง นทิ านอ่านสนกุ 977 เราเกิดมาท้งั ทีชีวิตหนง่ึ อย่าหมายพ่ึงผู้ใดให้เขาหยัน ควรคะนึงพ่ึงตนทนกดั ฟนั คดิ บากบั่นมุง่ หน้ามานะนา กสกิ จิ พณิชยการงานมีเกยี รติ อยา่ หยามเหยียดพาลหาวา่ งานต่า หรอื จะชอบวิชาอตุ สาหกรรม เชญิ เลอื กทาตามถนัดอยา่ ผดั วัน เอาดวงใจเป็นทุนหนุนนาหน้า เอาปญั ญาเป็นแรงมงุ่ แขง่ ขนั เอาความเพียรเป็นยานประสานกนั ผลจะบรรลสุ ู่ประตชู ยั เงินและทองกองอยปู่ ระตหู น้า คอยเปดิ อ้ายิ้มรบั ไม่ขบั ไส ทรพั ย์ในดนิ สินในน้าออกคล่าไป แหลมทองไทยพรอ้ มจะช่วยอานวยเอย จาก หนงั สอื วรรณคดลี านา ป.5 หนา้ 70 สรุป การรู้จักพ่ึงตนเอง และมุ่งมั่นทางานโดย ข้อคิด การพง่ึ พาตนเอง เป็นการฝึกฝนตนให้ ไม่รังเกียจงาน เป็นส่ิงสาคัญของการทางานที่ สามารถดารงชีวติ ไดด้ ว้ ยทกั ษะความสามารถของ ตอ้ งใชท้ งั้ กาลงั ใจและสติปญั ญา ตนเอง และมีความขยันหมั่นเพียรในการงาน ต่าง ๆ ไม่ควรเลอื กงาน ควรตงั้ ใจทางานให้สาเรจ็ เพราะทุกอย่างจะดีขึ้นได้น้ันเพราะเราคือผู้ตั้งใจ ทาสิ่งต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง

๙๗๘ คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๙ เร่ือง คาทม่ี าจากภาษาตา่ งประเทศ (๑) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๖ เร่อื ง นทิ านอา่ นสนุก เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั สาระที่ 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ ตวั ชว้ี ดั ป.๕/๕ บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด คาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ เป็นการยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยหลายภาษา เช่น ภาษาบาลี สนั สกฤต เขมร จนี และภาษาอังกฤษ ทาให้ภาษามคี วามเจรญิ งอกงามและมีคาใช้มากขึน้ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) บอกลกั ษณะของคาภาษาจีนและภาษาอังกฤษได้ ๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ระบุคายมื ภาษาจนี และคาภาษาองั กฤษได้ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) เหน็ ความสาคญั ของการยมื คาภาษาตา่ งประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทย ๔. สาระการเรยี นรู้ - คายืมท่มี าจากภาษาจนี และภาษาอังกฤษ ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการส่อื สาร 5.2 ความสามารถในการคิด ๖. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 ใฝเ่ รียนรู้ 6.2 มุ่งมนั่ ในการทางาน ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๖ เรื่อง นทิ านอา่ นสนกุ การจัดกิจกรรมการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๖ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๙ เรอื่ ง คาที่มาจา ลาดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขัน้ ตอนการจดั เวลา แ ท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ กจิ กรรมครู ๑. ขอบเขตเน้อื หา ขัน้ นา ๕ ๑. ครตู ั้งคาถามนกั เรยี น 1. คายืมที่มาจาก นาที ครู : ในชวี ติ ประจาวนั ภาษาตา่ งประเทศ ใชภ้ าษาอะไรติดต่อส่ือส สว่ นใหญ่ - ภาษาจนี ครู : นักเรยี นทราบกันห - ภาษาอังกฤษ ในภาษาไทยของเรา มีก ภาษาตา่ งประเทศเขา้ ม จานวนมาก 2. ครูนาขอ้ ความส้ัน ๆ ประมาณ 2-3 บรรทดั นักเรียนอ่าน แล้วตั้งคา ดงั น้ี ครู : ข้อความนม้ี กี ารใช อยา่ งไร ครู : นักเรยี นสังเกตเห็น คาตรงไหนบ้าง ทคี่ ิดวา่ ในภาษาไทย ครู : นกั เรยี นทราบไดจ้ า

๙๗๙ นรู้ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 เรอ่ื ง นิทานอ่านสนุก จานวน ๑๐ ช่ัวโมง ากภาษาตา่ งประเทศ (๑) จานวน ๑ ชั่วโมง แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมิน กิจกรรมนกั เรยี น - คาถาม การเรยี นรู้ - สังเกตการตอบ น ดังน้ี 1. นักเรยี นรว่ มกนั ตอบคาถาม คาถามของ นกั เรยี น เช่น นักเรียน สารเปน็ นักเรียน : ภาษาไทย ภาษาไทยถน่ิ หรือไม่วา่ การยมื คา นกั เรียน : นักเรยี นแสดง มาใชเ้ ปน็ ความคิดเหน็ ได้อยา่ งอสิ ระ ความยาว 2. นกั เรยี นรว่ มกนั อ่าน - ขอ้ ความสน้ั ๆ ดมาให้ ขอ้ ความท่กี าหนดให้ จากน้นั าถาม แสดงความคิดเหน็ และตอบ - คาถาม - สังเกตการตอบ คาถามของ คาถามร่วมกัน นกั เรยี น ชค้ า นการใช้ าไมใ่ ช่คา ากอะไร

๙๘๐ คู่ม ลําดบั ขอบเขตเนอื้ หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมครู ๒. จดุ ประสงค์ ขัน้ สอน 25 การเรยี นรู้ นาที 3. ครูเช่ือมโยงเขา้ สเู่ นอื้ 1. บอกลกั ษณะของ บทเรียน คําภาษาจีนและ 1. ครนู ํารูปภาพให้นกั เ ภาษาองั กฤษได้ สงั เกต และใชค้ าํ ถามน น้นั คอื อะไร และเขียนอ ได้แก่ - ภาพกว๋ ยเตย๋ี ว - ภาพรถเกง๋ - ภาพฟตุ บอล - ภาพกวยจ๊ับ - ภาพคลินิก 2. ครถู ามคาํ ถามนกั เรีย ครู : นกั เรยี นทราบหรือ เหล่าน้เี ปน็ คาํ ภาษาอะไ ครู : ทาํ ไมคําเหล่านจ้ี ึง ในภาษาไทย 3. ครูให้นกั เรยี นศึกษา ความรู้ท่ี 9 เรอ่ื ง คําทมี่ ภาษาต่างประเทศ

มอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจดั การเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ กจิ กรรมนกั เรยี น อหาใน 3. นกั เรียนเขา้ สู่บทเรียน เรียน 1. นกั เรยี นสังเกตภาพท่คี รู - รูปภาพ - สังเกตการตอบ นาํ ว่าสง่ิ นาํ เสนอ พิจารณาว่าเป็นภาพ - คาํ ถาม คําถามของ อย่างไร อะไร และช่วยกนั บอก นักเรียน ยน ดังนี้ 2. นักเรยี น : ภาษาจีน ภาษา - คําถาม - สงั เกตการตอบ อไมว่ า่ คาํ อังกฤษ ซง่ึ นกั เรียนอาจตอบ คาํ ถามของ ไร คาํ ถามไดห้ ลากหลาย นกั เรียน งนาํ มาใช้ าใบ 3. นักเรียนศึกษาใบความรทู้ ี่ - ใบความรทู้ ่ี 9 มาจาก 9 เรอื่ ง คําทมี่ าจากภาษา เรื่อง คําท่มี าจาก ตา่ งประเทศจากนน้ั แลกเปลยี่ น ภาษาต่างประเทศ

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๖ เร่อื ง นทิ านอา่ นสนกุ ลาดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ข้นั ตอนการจัด เวลา แ ท่ี จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ กิจกรรมครู - ภาษาจีน - ภาษาอังกฤษ รวมถึงลักษณะการส ภาษาจีนและภาษาองั ก 4. ครยู กตวั อยา่ งคาภา ภาษาจนี ทพ่ี บบอ่ ยในภาษาไทยใ นกั เรยี นฝกึ อา่ น และอธ หลักการสงั เกตคา 3. 2. ระบคุ ายมื ภาษาจนี ขนั้ ปฏิบตั ิ 5. ครูยกตัวอย่างคา ภาษาองั กฤษทพี่ บบอ่ ย และคาภาษาอังกฤษ ภาษาไทยใหน้ ักเรยี นฝกึ ได้ และอธิบายหลักการสงั 15 6. ครชู ีแ้ จงการทากจิ ก นาที งานท่ี 9 เรอื่ ง การระบ ภาษาจีนและคาภาษาอ (ครขู น้ึ กจิ กรรมในจอ P นักเรียนทาใบงานที่ 9

๙๘๑ แนวการจดั การเรยี นรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมิน ในภาษาไทย การเรียนรู้ กิจกรรมนกั เรยี น ความรูก้ บั ครแู ละเพอ่ื นในชัน้ เรียน สังเกตคา กฤษ าษา 4. นักเรยี นฝึกอ่านและสงั เกต - สื่อ PPT คา คาภาษาจีน ที่มาจากภาษา ให้ ต่างประเทศใน ธบิ าย ภาษาไทย - บตั รคา 5. นกั เรยี นฝกึ อ่านและสงั เกต - ใบงานที่ 9 2. ตรวจใบงาน ยใน คาภาษาอังกฤษ กอ่าน งเกตคา กรรมในใบ 6. นกั เรยี นทากจิ กรรมในใบ บุคา งานที่ 9 เรอ่ื ง การระบุคา องั กฤษ ภาษาจนี และคาภาษาอังกฤษ PPT วา่ : นักเรยี นทั้งต้นทาง/ปลายทาง - ส่อื PPT เร่ือง ทาใบงานที่ 9 พรอ้ มกนั

๙๘๒ คูม่ ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขัน้ ตอนการจัด เวลา แ ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมครู การระบคุ าภาษาจนี แล ภาษาองั กฤษ) 7. ครูตรวจใบงานนกั เร การทากจิ กรรม และปร การทางาน 4. 3. เหน็ ความสาคญั ขน้ั สรุป ๕ 1. ครแู ละนกั เรยี นเฉลย ของการยมื คา นาที รว่ มกนั โดยให้นักเรียน ภาษาตา่ งประเทศ เสนอคาภาษาจนี และ ที่ใช้ในภาษาไทย ภาษาองั กฤษคนละ ๑- ๒. ครถู ามคาถามสรปุ บท ดงั น้ี ครู : นกั เรยี นได้เรยี นรู้อ ครู : นักเรียนคิดวา่ การ ภาษาต่างประเทศมาใช ภาษาไทยมีความสาคัญ ๓. ครูให้นักเรียนสรปุ บ โดยให้นักเรียนชว่ ยกันบ หลกั การสังเกตคาภาษา ภาษาองั กฤษ

มือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมิน กจิ กรรมนักเรยี น การเรียนรู้ ละคา รยี น สรปุ 7. นกั เรยี นตรวจใบงานพรอ้ ม ระเมนิ กันและสรปุ กจิ กรรมร่วมกัน ยใบงาน 1. นกั เรยี นช่วยกนั เสนอคา - สือ่ PPT 3. สังเกต นช่วยกนั ภาษาจนี และภาษาอังกฤษ สรปุ ความรู้ การตอบคาถาม -๒ คา คนละ ๑-๒ คา ของนักเรียน ทเรยี น 2. นักเรียนตอบคาถาม เช่น - คาถาม - สังเกตการตอบ อะไรบ้าง นกั เรยี น : คาท่มี าจากภาษา คาถามของ รยืมคา ตา่ งประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย นกั เรียน ชใ้ น ได้แก่ ภาษาจนี และภาษาองั กฤษ ญอย่างไร นกั เรียน : ทาใหม้ คี าใช้ใน ภาษาไทยมากขน้ึ บทเรียน 3. นกั เรียนช่วยกนั บอก บอก หลักการสงั เกตคาภาษาจีนและ าจีนและ ภาษาอังกฤษ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๖ เรอ่ื ง นิทานอ่านสนกุ 983 ๘. ส่อื /แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ที่ 9 เร่อื ง คายืมภาษาจนี และภาษาองั กฤษ 2. ใบงานที่ 9 เรื่อง การระบุคายมื ภาษาจนี และคาภาษาอังกฤษ 3. ส่อื PPT เรอื่ ง คาทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ (๑) 4. ข้อความส้ัน ๆ 2-3 บรรทัด 5. บตั รคา ๙. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน - ใบงานท่ี 9 เรอื่ ง การระบคุ ายืมภาษาจีนและคาภาษาอังกฤษ ส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั / ประเมนิ วิธกี าร เครือ่ งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - พจิ ารณาจากการตอบ - คาถาม ร้อยละ ๖๐ - บอกลกั ษณะของคาภาษาจนี คาถามของนักเรียน ขึ้นไป และภาษาองั กฤษ ด้านทักษะและกระบวนการ (P) - แบบประเมินการทา ร้อยละ ๖๐ - ระบุคายืมภาษาจนี และคา - ตรวจใบงานท่ี 9 ภาษาอังกฤษ เรอื่ ง การระบุคายมื ภาษา ใบงานที่ 9 การระบุคา ข้นึ ไป จนี และคาภาษาอังกฤษ ยืมภาษาจีนและคา ภาษาอังกฤษ ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - เห็นความสาคญั ของการยืมคา - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ร้อยละ ๖๐ ภาษาต่างประเทศทใี่ ชใ้ นภาษาไทย นักเรียน ของนกั เรยี น ขน้ึ ไป ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ - ใฝเ่ รียนรู้ นักเรยี น อนั พึงประสงค์ ผา่ น สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ระดับคุณภาพ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน 2. ความสามารถในการคดิ นกั เรียน สมรรถนะสาคัญของ ผ่าน ผู้เรยี น

984 คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) เกณฑป์ ระเมิน : การทาใบงานที่ 9 เร่อื ง การระบคุ ายืมภาษาจนี และคาภาษาอังกฤษ ประเด็น ระดบั คุณภาพ การประเมิน ๔ (ดมี าก) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ระบคุ าภาษาจีน 1. การระบุคา ระบคุ าภาษาจนี ระบคุ าภาษาจนี ระบุคาภาษาจีน และคาภาษา ภาษาจนี และคา และคาภาษา และคาภาษา และคาภาษา อังกฤษในประโยค ภาษาองั กฤษ อังกฤษในประโยค อังกฤษในประโยค อังกฤษในประโยค ไดถ้ ูกตอ้ งตา่ กวา่ 6 ในประโยค ได้ถูกตอ้ งทั้ง 10 ไดถ้ ูกตอ้ งทงั้ 8-9 ได้ถกู ต้องทง้ั 6-7 ประโยค ประโยค ประโยค ประโยค ยกตัวอย่างคา 2. การยกตัวอย่าง ยกตัวอยา่ งคา ยกตวั อย่างคา ยกตัวอยา่ งคา ภาษาจนี และภาษา คาภาษาจีนและ ภาษาจีนและภาษา ภาษาจีนและภาษา ภาษาจนี และภาษา ต่างประเทศได้ ภาษาต่างประเทศ ต่างประเทศได้ ตา่ งประเทศได้ ต่างประเทศได้ ถูกตอ้ งต่ากวา่ 6 คา ถกู ตอ้ ง 8-9 คา ถูกตอ้ ง 6-7 คา ถูกต้อง 10 คา หมายเหตุ : ค่าน้าหนกั ข้อละ ๕ คะแนน (คะแนนรวม 40 คะแนน หาร 2 จะได้ 20 คะแนน) เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑8-๒๐ ดีมาก 15-๑7 ดี ๑2-๑4 พอใช้ ต่ากว่า 12 ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารตัดสิน : ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ขนึ้ ไป (ตอ้ งไดร้ ะดบั พอใชข้ นึ้ ไป)

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๖ เรอื่ ง นทิ านอ่านสนกุ 985 แบบประเมินการทาใบงานท่ี 9 เร่อื ง การระบุคายมื ภาษาจีนและคาภาษาอังกฤษ คาชแ้ี จง ให้ครูผู้สอนประเมินผลการทากิจกรรม/ใบงาน โดยเขียนคะแนน ลงในชอ่ งที่กาหนดใหถ้ กู ตอ้ ง ลาดบั ชอ่ื - สกุล คะแนน คิดเป็น สรปุ ผล ที่ ท่ไี ด้ รอ้ ยละ การประเมนิ ๒๐ คะแนน ๑๐๐ ผ่าน ไม่ผา่ น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ รวม (คน) คิดเป็นร้อยละ ผลการประเมนิ  ดีมาก ..........คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ..................  ดี ..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ................  พอใช้ ..........คน คิดเป็นร้อยละ..................  ปรับปรงุ .........คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................. สรุปผลการประเมินรายชั้นเรียน  นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน......................... คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.........................  นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน......................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ......................... ลงช่ือ.................................................ผปู้ ระเมิน (..............................................) ........../..................../..........

986 คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ...................................................... ผ้ตู รวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๖ เรือ่ ง นิทานอา่ นสนกุ 987 ใบความรู้ท่ี 9 เรอ่ื ง คายืมภาษาจนี และภาษาองั กฤษ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๖ เร่ือง นิทานอา่ นสนุก แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๙ เรือ่ ง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย (๑) รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ การยืมคาภาษาต่างประเทศ การยืมคาจากภาษาหนึ่งไปใชอ้ ีกภาษาหนึ่ง เป็นลักษณะของทุกภาษา ทกุ ภาษาในโลกนี้ย่อมมกี ารใช้ คาภาษาอ่ืนปะปันกันเป็นเร่ืองธรรมดา เนื่องจากแต่ละชาติจาเป็นต้องมีการติดต่อสัมพันธ์กันมาต้ังแต่อดีต จนถงึ ปจั จบุ ัน จงึ เกิดการนาคาภาษาอ่นื เข้ามาใชใ้ นภาษาของตนเอง สาเหตกุ ารยืมคาภาษาอ่ืน ๆ มาใช้ในภาษาไทย 1. การตัง้ ถ่นิ ฐาน ประเทศไทยมีพ้ืนที่ตดิ ต่อกบั เพอ่ื นบา้ น ทาให้คนไทยนาคาของภาษานนั้ ๆ มาใช้ 2. การค้าขาย ประเทศไทยตดิ ต่อค้าขายกบั ตา่ งประเทศ ทาให้มีการแลกเปลี่ยนสินคา้ 3. ศาสนาและวัฒนธรรม การเผยแผศ่ าสนา การรบั เอาศาสนา ทาใหเ้ ราใชค้ าของศาสนานนั้ 4. การศกึ ษาและการกีฬา ทง้ั ในหนงั สอื เรยี น และข่าวสารตา่ ง ๆ 5. ปัจจยั อ่ืน ๆ เชน่ การแต่งงาน การเข้ารตี การสงคราม การทตู ฯลฯ คาภาษาต่างประเทศทใ่ี ช้ในภาษาไทย ๑. คายมื ภาษาจนี ๑.๑ ท่ีมาของการยืมคาภาษาจนี ไทยกับจีนมีการติดต่อสัมพันธ์ทางการทูตมาต้ังแต่อดีต ผลของการท่ีชาวจีนอพยพมาต้ัง รกรากถ่นิ ฐานทามาหากินในเมืองไทย มกี ารประกอบอาชพี ตา่ ง ๆ ทาให้มกี ารผสมผสานกนั ทางวัฒนธรรมและ ประเพณีต่าง ๆ การยืมคาจีนบางคาเข้ามาใช้ในภาษาไทยส่วนใหญ่เป็นสาเนียงภาษาแต้จ๋ิว และมักเป็นคา เรียกช่ือส่งิ ของเครื่องใช้ อาหาร พืช ผัก ผลไม้ รวมท้งั คาทีเ่ กี่ยวกับวฒั นธรรมจนี เรานิยมใช้คาจนี เปน็ ภาษาพดู แต่ไม่นยิ มใช้เปน็ ภาษาเขียน ๑.๒ หลักการสังเกตคาภาษาจีน คายืมภาษาจีน ส่วนมากเป็นคาโดดและน้าเสียงฟังดูแล้วจะมีเอกลักษณ์เฉพาะ ใช้เสียง วรรณยุกต์ตรีและจตั วา ซ่ึงมีหลกั สงั เกตดงั นี้ ๑. นามาเป็นช่ืออาหารการกิน เชน่ กว๋ ยเตยี๋ ว เต้าทงึ แปะ๊ ซะ เฉาก๊วย จบั ฉา่ ย เป็นตน้ ๒. เป็นคาที่เกี่ยวกับสิ่งของเคร่ืองใช้ท่ีเรารับมาจากชาวจีน เช่น ตะหลิว ตึก เก้าอี้ เก๋ง ฮวงซ้ยุ เปน็ ตน้ ๓. เป็นคาท่ีเกี่ยวกับการค้า และการจดั ระบบทางการค้า เช่น เจง๋ หุ้น ห้าง เปน็ ตน้ ๔. เปน็ คาทีใ่ ช้วรรณยกุ ต์ตรี จัตวา เปน็ ส่วนมาก เช่น กว๋ ยจ๊ับ กยุ๊ เก๊ เกก๊ ก๋ง ตนุ๋ เปน็ ต้น

988 คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ตัวอย่างคาภาษาจีน หมวดอาหารการกิน คายมื ภาษาจนี ความหมาย เต้าหู้ ถั่วทีโ่ ม่เป็นแปง้ แล้วทาเปน็ แผน่ ๆ เต้าเจย้ี ว ถวั่ เหลอื งหมักเกลอื ใช้ปรุงอาหาร เต้าสว่ น ขนมหวานทาดว้ ยแปง้ เปียกกวนกบั ถว่ั เขยี วทีเ่ ปลือกออก แลว้ ราดด้วยกะทิ เตา้ ฮวย ขนมหวานทาด้วยน้าถ่ัวเหลอื งแข็งตวั ปรงุ ด้วยน้าขิงตม้ น้าตาล ก๋วยเต๋ียว ของกนิ ชนิดหน่ึงทาดว้ ยแป้งขา้ วเจ้าเปน็ เส้น ๆ ปรุงอาหารทง้ั แหง้ และน้า กวยจบ๊ั ชอ่ื ของกนิ ทาดว้ ยแปง้ ขา้ วเจา้ ห่ันเป็นช้ินใหญ่ ๆ เกาเหลา แกงมีลกั ษณะอยา่ งแกงจืด ปรงุ รสได้ ไม่ใช่แกงเผ็ดแกงสม้ เกย้ี มอ๋ี ของกินทาด้วยแปง้ ขา้ วเจ้าเปน็ เสน้ สนั้ ๆ กลม ๆ สองปลายแหลมปรงุ แบบกว๋ ยเตย๋ี ว พะโล้ ช่ืออาหารรสเคม็ หวาน ท่ีมไี ขต่ ม้ ปอกเปลอื ก เต้าหู้ หมู ใสเ่ ครอ่ื งปรงุ ที่เรียกวา่ เครื่องพะโล้ ซาลาเปา ขนมชนิดหนงึ่ ของจนี ทาดว้ ยแป้งสาลปี ัน้ เปน็ ลกู กลมมีทงั้ ไสห้ วานและไสเ้ ค็ม บะช่อ เนือ้ หมสู บั ละเอียด มักใสใ่ นแกงจดื บะหมี่ แปง้ ซงึ่ ทาเปน็ เสน้ เล็ก ๆ แลว้ ตากแหง้ เฉาก๊วย ชอ่ื ขนมชนดิ หน่ึงคลา้ ยว้นุ ทาจากเมอื กของพันธ์ไุ มช้ นดิ หนง่ึ มีสีดา เปาะเปี๊ยะ อาหารทาเปน็ แผน่ ทาจากแปง้ สาลหี ่อไสต้ า่ ง ๆ โอเล้ียง กาแฟเยน็ ไม่ใสน่ ม กนุ เชียง ไสก้ รอกจนี เกีย๊ ว ของกินทาดว้ ยแปง้ เป็นแผ่นบาง ๆ ทอดกรอบ หรอื หอ่ หมแู ล้วน่งึ เจ อาหารทที่ าจากพืชผักผลไม้ ยกเว้นผลไม้กลนิ่ ฉุน และไมม่ เี นอื้ สัตว์ โจก๊ ข้าวต้มแบบละเอยี ด ทาจากข้าว แป๊ะซะ ชอื่ อาหารใชป้ ลานงึ่ จ้มิ นา้ สม้ กนิ กบั ผกั ปาท่องโก๋ อาหารทาจากแป้งสาลี ตัดเปน็ ทอ่ น ๆ จบั คูต่ ดิ กนั ทอดน้ามนั ให้พอง เยน็ ตาโฟ อาหารคลา้ ยก๋วยเตี๋ยว ใส่ผกั บงุ้ เต้าหู้ ปลาหมกึ จบั ฉ่าย ชื่อต้มอย่างหนงึ่ ใส่ผกั หลายชนิด

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๖ เร่อื ง นทิ านอ่านสนกุ 989 ตัวอย่างคาภาษาจีน หมวดพชื ผกั ผลไม้ คายืมภาษาจีน ความหมาย แป๊ะก๊วย เมล็ดของตน้ แป๊ะกว๊ ย ใช้ตม้ น้าตาลรับประทาน แปะก๊วย ก็ใช่ เก๊กฮวย ดอกเบญจมาศหนู ใช้เปน็ ยารกั ษาโรคไดห้ ลายอย่าง หรอื ตม้ เปน็ น้าดื่มกินได้ ต้งั โอ๋ ผักจนี ชนดิ หน่งึ ใบเลก็ หนามกี ลนิ่ หอม กุยชา่ ย ผกั ชนิดหนึ่งคล้ายต้นหอมหอมหรอื กระเทยี มใบแบน ๆ มีกลนิ่ หอมฉยุ , กุย๊ ชา่ ย ก็ใช้ กะหล่า ช่อื ไมล้ ้มลกุ มหี ลายพันธุ์ เกาลดั ไม้ต้นขนาดเล็ก เปลอื กผลหนา ไม่มหี นาม เมลด็ เกลย้ี ง ล้ินจ่ี ไมผ้ ล ผลกลมสแี ดง รสเปรยี้ วอมหวาน ลนั เตา ถ่ัวชนิดหน่งึ เป็นไมเ้ ถามมี ือเกาะเปน็ ยอดและฝักออ่ นสามารถกินได้ สาลี่ ไมผ้ ล มเี น้ือกรอบ รสหวานอมเปร้ยี ว กล่ินหอม ตัวอยา่ งคาภาษาจนี หมวดกรยิ า คายืมภาษาจนี ความหมาย เกก๊ วางทา่ เก๋ งานเข้าที เจา๊ เลกิ กันไป หายกนั เจีย๊ บ จัดหนัก มาก ยง่ิ นกั แฉ แบ ตแี ผ่ เปิดเผย ซวย เคราะหร์ ้าย อับโชค เซียน ชานาญ ตุน การเกบ็ หรอื กันสงิ่ ของเอาไว้ในยามขาดแคลน ตนุ๋ การปรงุ อาหาร เอีย่ ว มสี ว่ นร่วม โละ ไมเ่ อา ทิง้ เฮง ดี เจริญ

990 คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ตวั อยา่ งคาภาษาจีน เกี่ยวกับการค้าขาย คายมื ภาษาจีน ความหมาย หุ้น สว่ นทล่ี งทุน ในการคา้ ขาย เชน่ เล่นหุ้น ลงหนุ้ จาหนา่ ยหุน้ หา้ ง สถานทีข่ ายของขนาดใหญ่ หมกึ นา้ หรือแทง่ สาหรบั เขยี น ปกติเป็นสีดา เหลา รา้ นอาหาร ภัตตาคาร โสหุย้ ค่าใชจ้ า่ ย แป๊ะเจยี เงนิ กินเปลา่ เจง๊ ล้มเลิกกิจการเพราะทนุ หมด ย่หี อ้ เคร่อื งหมายการคา้ ตัวอย่างคาภาษาจีน เกี่ยวกับเครอื ญาติ บุคคล คายืมภาษาจีน ความหมาย กง๋ ปู่ ตา อาม่า ยา่ ยาย ซอ้ พส่ี ะใภ้ คาเรยี กผ้หู ญิงเพ่อื ยกยอ่ ง ตี๋ เด็กผชู้ ายจีน เตยี่ พ่อ แปะ สรรพนามใชเ้ รียกคนแกช่ ายชาวจีน มคี วามหมายว่าลงุ หมวย เดก็ หญิงหรือหญงิ สาวลกู จนี ม่วยกใ็ ช่ เฮยี พี่ชาย, คอื ทใี่ ช้เรยี กผ้ชู ายเพ่อื ยกย่อง เจ๊ พส่ี าว, คาเรียกผูห้ ญงิ เพอื่ ยกยอ่ ง ปา๋ พอ่ หรือชายสงู วยั ทมี่ กี าลงั ทรพั ยป์ รนเปรอผู้หญิง

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เร่อื ง นทิ านอ่านสนกุ 991 ตัวอยา่ งคาภาษาจนี หมวดท่ัวไป คายืมภาษาจีน ความหมาย ก๊ก หมู่ เหล่า พวก กงเตก๊ การทาบญุ ใหผ้ ตู้ าย โดยการสวดและเผากระดาษรปู ตา่ ง ๆ เช่น บา้ น รถ เงนิ ของใช้ กังฟู ศิลปะการต่อสู้อย่างหนึง่ กุ๊ย คนเลว นักเลง เก้าอี้ ที่นง่ั มขี า ยกยา้ ยไดม้ หี ลายรปู แบบ โต๊ะ ที่เขยี น ทว่ี างของ ใชค้ ู่กบั เก้าอี้ งิ้ว ละครจีนโบราณ เข่ง ภาชนะสานมรี ปู แบบต่าง ๆ จับกงั กรรมกร ผู้ใช้แรงงาน เซยี น ผสู้ าเรจ็ ผู้ทเี่ กง่ ตะหลวิ เคร่อื งมอื ใชแ้ ซะหรือตกั ของทอก หรอื ใชผ้ ัด ต๋วั บตั รบางอย่างแสดงสิทธิข์ องผใู้ ช้ แต๊ะเอยี เงินทใ่ี ช้ในโอกาสพเิ ศษ ไตฝ้ ุ่น พายุหมุนกาลังแรง 120 กม./ชม. บ๊วย สุดท้าย ทีหลงั เปยี ผมท่ีถักหอ้ ยลงมาอย่างเป็นระเบยี บ โป๊ะ ทุน่ สาหรบั ทอดสะพาน โพย บัญชี ทะเบียน หวย การพนันอยา่ งหน่ึง อั้งโล่ เตาไฟแบบจีน ใชถ้ า่ นกบั ฟืน ฮวงซยุ้ ทบี่ รรจุศพของชาวจีน ฮวงจ้ยุ ลมและนา้ ศาสตรใ์ นการกาหนดท่ีตั้งใหเ้ หมาะสม ปงุ้ ก๋ี เครอื่ งสาน รปู คล้ายหอยแครงใชโ้ กยดิน เตา๋ เรียกลกู บาศกส์ าหรบั ทอดหรอื เขยา่ นบั แต้มเลน่ การพนนั วา่ ลูกเต๋า

992 คูม่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๕) ๒. คายมื ภาษาอังกฤษ ๒.๑ ทีม่ าของการยืมคาภาษาองั กฤษ อังกฤษมีการติดต่อกับไทยมาต้ังแต่สมัยอยุธยา โดยเข้ามาค้าขาย และภาษาอังกฤษเริ่มมี บทบาทในไทยมากข้ึนในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจา้ อยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) เนื่องจาก สหรัฐอเมริกาเข้า มาเผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์ในไทย และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมกล้าเจ้าอยู่หัว (รชั กาลท่ี ๔) ไทยได้มีการติดต่อกับฝร่ังชาติองั กฤษและอเมริกันมากข้ึน อีกทง้ั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว มีความสนพระราชหฤทัยในการศึกษาภาษาอังกฤษจน ทาให้ศกึ ษาภาษาอังกฤษได้อย่างแตกฉาน คายมื จากภาษาอังกฤษจงึ ไดม้ จี านวนเพ่มิ มากขึ้น ๒.๒ หลักการสงั เกตคาภาษาองั กฤษในภาษาไทย คายมื ภาษาอังกฤษที่นามาใชใ้ นภาษาไทย มลี ักษณะและหลกั การสังเกต ดงั น้ี - คายืมภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคาหลายพยางค์ เช่น ช็อกโกแลต แคปซูล โฟกัส เทรนเนอร์ คอมพวิ เตอร์ ไวโอลนิ เทคโนโลยี อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ ต้น - คายืมภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคาทับศัพท์ เชน่ คาทีไ่ ทยใช้ คาองั กฤษ กลูโคส glucose ออกซเิ จน oxygen เค้ก cake คกุ ก้ี cookie ครมี cream ชสี cheese สลัด salad โซดา soda เบยี ร์ beer ฟตุ บอล football โซฟา ไมโครโฟน sofa วิดโี อ microphone กตี าร์ video guitar - คายืมภาษาอังกฤษส่วนใหญเ่ ป็นคาที่มีตัวสะกดหลายตัว และมีเครอ่ื งหมาย ทัณฑฆาต กากับอยู่บนตัวสะกดตัวแรก หรือตัวสะกดตัวสุดท้าย เช่น ฟิล์ม การ์ด ปาล์ม มาร์ก ชอล์ก ฟาร์ม คอร์ส ฟอรม์ เบยี ร์ ออกไซด์ ไวน์ ฟิวส์ กีตาร์

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๖ เร่ือง นิทานอ่านสนกุ 993 - คายืมภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคาท่ีใช้ในกรณีท่ีไม่เป็นทางการ เช่น คาทีไ่ ทยใช้ คาองั กฤษ แอร์ air-conditionner แอร์ (แอรโ์ ฮสเตส) air-hostess แบด (แบดมนิ ตัน) badminton แบต (แบตเตอร)่ี คอม (คอมพวิ เตอร์) battery มอไซค์ (มอเตอรไ์ ซค)์ computer motercycle - คายืมภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคาท่ีมีเสียงพยัญชนะควบกล้า บล บร ดร ฟล ฟร ทร เช่น บล็อก เบรก บร็อกโคลี บรอนซ์ ดรัมเมเยอร์ ดร็อป แอดเดรส แฟลต ฟลุก ฟรี เฟรม แฟรนไชส์ ทรมั เป็ต เทรน อิเล็กทรอนิกส์ - คายืมภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคาท่ีสะกดด้วยพยัญชนะ ฟ ล ส ศ ต เช่น กราฟ กอลฟ์ บอล อเี มล โบนสั โฟกัส แก๊ส ช็อกโกแลต รสี อร์ต แครอต โดนัต ๒.๓ ตวั อยา่ งคาภาษาอังกฤษท่ใี ชใ้ นภาษาไทย คาภาษาอังกฤษท่ไี ทยนามาใชใ้ นวงการตา่ ง ๆ เชน่ - คาศัพท์ในวงการการช่าง เชน่ คลัตซ์ คาร์บูเรเตอร์ โซลา ดีเซล ไดนาโมแทรกเตอร์ น็อต ป๊มั ปาร์เกต์ แปบ๊ มอเตอร์ สปรงิ สวิตซ์ คอนกรตี ฯลฯ - คาศัพท์ในวงการกฬี า เชน่ กอลฟ์ เทนนิส ฟตุ บอล มาราธอน ยิมนาสตกิ วอลเลยบ์ อล สกี สเก็ต สนุกเกอร์ เสิรฟ์ สเตเดียม สปอร์ต เกม ฯลฯ - คาศพั ท์ในวงการแพทย์ เช่น กอซ เกาต์ คลนิ กิ โคมา่ เซร่มุ วคั ซีน ไวรัส ปรสติ - คาศัพท์ในวงการวิทยาศาสตร์ เช่น กลูโคส ก๊าซ แก๊ส คลอรีน แคลเซียม แคลอรี เซลล์ โซดา ตะก่ัว ไนลอน โปรตีน โฟกัส ฟิล์ม ยิปซัม โมเลกุล เลเซอร์ ออกซิเจน อิเล็กทรอนิกส์ แอลกอฮอล์ ฟสิ กิ ส์ ฯลฯ - คาศัพทใ์ นวงการศกึ ษา เชน่ ชอลก์ เทอม ฟงั ก์ชัน สถิติ ฯลฯ - คาศัพท์ในวงการเศรษฐกิจ เช่น เครดิต เคาน์เตอร์ แค็ตตาล็อก เช็ค แชร์ สต็อก สโตร์ อเี มล สเตชัน เฮลิคอปเตอร์ แอรโ์ ฮสเตส ฯลฯ - คาศัพท์เกี่ยวกับอาหาร ผลไม้ และเคร่ืองดื่ม เช่น กาแฟ เค้ก แซนด์วิช ทนู ่า สตรอเบอรี่ ไอศกรีม ไวน์ วสิ กี้ ซอส ซุป ฯลฯ - คาศัพทเ์ ก่ียวกบั เครอื่ งใช้ต่าง ๆ เช่น คลิป คตั เตอร์ โซฟา เน็กไท เช้ิต โน้ตบกุ๊ - คาศัพทอ์ ื่น ๆ เชน่ กปั ตัน แก๊ป ควิ โจ๊ก เซน็ ซิป เต็นท์ ปารต์ ี้ โปสเตอร์ เฟอร์นเิ จอร์ แฟลต แฟช่ัน แฟนซี มะกะโรนี เมนู รบิ บนิ้ สตก๊ิ เกอร์ สไตล์ แอร์ ฮันนีมนู กุ๊ก กอปปี้ แฮปป้ี ฯลฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook