Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม 13 (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม

เล่ม 13 (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม

Published by agenda.ebook, 2022-05-19 01:49:22

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 4 ครั้งที่ 25 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) วันที่ 8 กันยายน 2565

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการพจิ ารณา ตามระเบยี บวาระการประชมุ เรื่องท่ปี ระธาน จะแจ้งต่อทป่ี ระชุม เล่มที่ 13 กล่มุ งานระเบียบวาระ สานกั การประชุม



คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำ�ปี

ทรงพระเจริญ



การสอ่ื สารเปน็ ปจั จยั ทสี่ ำ� คญั ยง่ิ อยา่ งหนงึ่ ในการพฒั นาสรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ ก้าวหน้า รวมท้ังรักษาความม่ันคงและความปลอดภัยของประเทศด้วย ยิ่งในสมัย ปัจจุบัน ท่ีสถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ การติดต่อส่ือสารท่ีรวดเร็ว ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ ยอ่ มมคี วามสำ� คญั มากเปน็ พเิ ศษ ทกุ ฝา่ ยและทกุ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กับการส่ือสารของประเทศ จึงควรจะได้ร่วมมือกัน ด�ำเนินงานและประสานผลงาน กันอย่างใกล้ชิดและสอดคล้อง ส�ำคัญท่ีสุดควรจะได้พยายามศึกษาค้นคว้าวิชาการ และเทคโนโลยีอันทันสมัยให้ลึกและกว้างขวาง แล้วพิจารณาเลือกเฟ้นส่วนท่ีดี มีประสิทธิภาพแน่นอน มาปรับปรุงใช้ด้วยความฉลาดริเร่ิม ให้พอเหมาะพอสมกับ ฐานะและสภาพบ้านเมืองของเรา เพ่ือให้กิจการสื่อสารของชาติ มีโอกาสได้พัฒนา อย่างเต็มท่ี และสามารถอ�ำนวยประโยชน์แก่การสร้างเสริมเศรษฐกิจ สังคม และเสถียรภาพของบ้านเมืองได้อยา่ งสมบรู ณ์แท้จรงิ พระต�ำหนกั จติ รลดารโหฐาน วันท่ี ๑๕ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๖ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานเนื่องในโอกาสครบรอบสถาปนา ๑๐๐ ปี กรมไปรษณยี โ์ ทรเลข และวนั สือ่ สารแห่งชาติ วนั ท่ี ๔ สงิ หาคม ๒๕26

สารบัญ ๑ส่วนที่ หนา้ ค�ำนำ� 7 ขอ้ มลู ทว่ั ไป ๒8 สารประธาน กสทช. อ�ำนาจหนา้ ที่ของ กสทช. 31 สารเลขาธิการ กสทช. 33 คณะกรรมการ กสทช. 8 อ�ำนาจหนา้ ทข่ี องสำ� นักงาน กสทช. บทสรปุ ส�ำหรบั ผู้บริหาร (Executive Summary) วิสัยทศั น์ พันธกิจ ค่านิยมหลัก 36 ๑๐ ประเด็นยุทธศาสตร์ของส�ำนกั งาน กสทช. 37 และความเช่อื มโยงสอดคล้องกบั นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ๑2 และแผนการปฏริ ปู ประเทศ ผู้บรหิ ารระดับสงู ส�ำนักงาน กสทช. 38 17 โครงสร้างและอัตราก�ำลงั ของส�ำนักงาน กสทช. 40 ๒ส่วนที่ ๓หนา้ ส่วนที่ หนา้ ผลการปฏิบตั งิ านทส่ี ำ� คญั ของ กสทช. ประจำ� ปี ๒๕๖๔ 44 ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ส�ำคัญ 92 ของสำ� นกั งาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ด้านการบริหารคลนื่ ความถ ่ี 45 การบรหิ ารงานของส�ำนกั งาน กสทช. 93 การตดิ ตามตรวจสอบการใชค้ ล่นื ความถ่ีใน 97 ดา้ นการบริหารกจิ การดาวเทยี ม 53 กิจการกระจายเสียง กจิ การโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคม 105 ด้านการก�ำกบั ดูแลการประกอบกจิ การ 56 ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการพจิ ารณา โทรคมนาคม เร่ืองร้องเรยี นของผู้บริโภคในกจิ การกระจายเสียง 118 กิจการโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคม ด้านการก�ำกับดแู ลการประกอบกจิ การ 66 การบริหารงานกองทนุ วจิ ัยและพัฒนากิจการ กระจายเสยี งและกิจการโทรทศั น์ กระจายเสยี ง กิจการโทรทศั น์ และกิจการ โทรคมนาคม เพ่อื ประโยชนส์ าธารณะ ด้านการด�ำเนินกจิ กรรมระหว่างประเทศ 82 ในกิจการกระจายเสียง กจิ การโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม การดำ� เนนิ การเพอื่ สนบั สนนุ การขบั เคลอ่ื น 85 นโยบายรัฐบาล ด้านยุทธศาสตรแ์ ละบริหารองคก์ ร 89

สว่ นท่ี หน้า ส่วนที่ การบรหิ ารงบประมาณ หนา้ ประจ�ำปี ๒๕๖๔ รายงานสภาพตลาดและการแข่งขัน 153 ๑๙3 ๔ ๕ในกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมปี ๒๕๖๔ ผลการด�ำเนนิ งานและการใชจ้ า่ ย 194 สภาพตลาดและการแขง่ ขนั ในกจิ การ 154 งบประมาณสำ� นกั งาน กสทช. ปี ๒๕๖๔ กระจายเสียงและกิจการโทรทศั น์ สภาพตลาดและการแขง่ ขนั ในกิจการ งบการเงิน ส�ำนักงาน กสทช. 196 โทรคมนาคม 167 ประจำ� ปี ๒๕๖๔ ข้อสังเกตเกี่ยวกบั การกระทำ� อันมีลักษณะ เป็นการครอบงำ� กิจการกระจายเสียง รายงานการตรวจสอบภายใน สำ� นกั งาน กสทช. 244 กิจการโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม 172 ประจ�ำปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ทมี่ ผี ลกระทบกบั ประโยชน์ของรฐั และ ประชาชน 174 ๖ส่วนที่ แผนการดำ� เนินงาน หนา้ คุณภาพการใหบ้ รกิ ารและอัตราคา่ บริการ และงบประมาณรายจา่ ย โทรคมนาคมประเภทต่าง ๆ ทมี่ ีความส�ำคญั ๒46 กบั ประชาชน ประจ�ำปี ๒๕๖๕ แนวโน้มอตุ สาหกรรมกระจายเสยี ง 191 แผนการดำ� เนนิ งานท่ีส�ำคัญ ประจ�ำปี ๒๕๖๕ 247 อุตสาหกรรมโทรทศั น์ และอุตสาหกรรม แผนงบประมาณรายจา่ ย ส�ำนักงาน กสทช. 248 โทรคมนาคม ปี ๒๕๖๕ ประจำ� ปี ๒๕๖๕ ๗สว่ นท่ี หน้า ปญั หา อุปสรรคในการ ประกอบกิจการกระจายเสียง 259 กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม 262 ทม่ี ีความส�ำคญั ตอ่ ประชาชน ภาคผนวก : คณะผู้บริหารสำ� นักงาน กสทช.



ค�ำน�ำ ตามพระราชบญั ญตั ิองคก์ รจัดสรรคล่นื ความถ่ีและก�ำกบั การประกอบกจิ การวิทยุกระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทศั น์และกจิ การโทรคมนาคมพ.ศ.๒๕๕๓มาตรา๗๖บญั ญตั ใิ หค้ ณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ หรอื กสทช. จดั ทำ� รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านประจำ� ปี ในด้านการบริหารคลื่นความถี่ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แล้วแต่กรณี เพื่อน�ำเสนอต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาภายในหน่ึงร้อยยี่สิบวันนับต้ังแต่วันส้ินปีบัญชี และเปดิ เผยใหป้ ระชาชนทราบ ในปี ๒๕๖๔ กสทช. ไดจ้ ดั ทำ� รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านฯ ประจำ� ปี โดยมสี าระสำ� คญั ประกอบดว้ ย ผลการปฏิบัติงานที่ส�ำคัญของ กสทช. และส�ำนักงาน กสทช. ท่ีมีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และขบั เคลอื่ นแผนระดบั ชาตทิ เ่ี กยี่ วขอ้ ง การรายงานสภาพตลาดและการแขง่ ขนั ดา้ นกจิ การกระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ปัญหา อุปสรรคในการประกอบกิจการกระจายเสียง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมทม่ี คี วามสำ� คญั ตอ่ ประชาชน การบรหิ ารงบประมาณประจำ� ปี ๒๕๖๔ และแผนการดำ� เนนิ งานสำ� คญั และงบประมาณรายจา่ ย ประจำ� ปี ๒๕๖๕ รายละเอยี ดดงั ปรากฏ ในรายงานฉบับน้ี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ จะเป็น ประโยชนแ์ ก่ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องทุกภาคส่วน รวมทัง้ เปน็ ข้อมูลแก่ผูส้ นใจนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีนาคม ๒๕๖๕

8 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ สารประธาน กสทช. พลเอก สุกิจ ขมะสุนทร กสทช. ท�ำหน้าที่ ประธาน กสทช. (๖ ตุลาคม ๒๕๖๐ - ปัจจุบัน) ในปีที่ผ่านมา ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยยัง การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ได้แก่ คงประสบกับสถานการณ์การกลายพันธุ์ของเช้ือไวรัส สนับสนุนการจัดให้มีบริการโทรคมนาคม อุปกรณ์สื่อสาร โคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-19) ไปสู่สายพันธุ์เดลต้าและ และอปุ กรณท์ จี่ ำ� เปน็ เพอ่ื รองรบั การรกั ษาผปู้ ว่ ยและปอ้ งกนั โอมิครอน ซ่ึงสามารถแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วกว่า โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 สนบั สนนุ โรงพยาบาลสนาม สายพันธุ์ดั้งเดิม ส่งผลให้ภาพรวมเศรษฐกิจโลกและ และศูนย์ฉีดวัคซีนกลางของกระทรวงสาธารณสุข ด�ำเนิน ประเทศยงั คงชะลอตวั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง คณะกรรมการกจิ การ มาตรการสนับสนุนการบริหารจัดการดูแลผู้ติดเช้ือไวรัส กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม โคโรนา 2019 ในลักษณะการดูแลรักษาท่ีบ้าน (Home แห่งชาติ (กสทช.) ได้ตระหนักถึงผลกระทบดังกล่าว Isolation) หรือการดูแลรักษาท่ีชุมชน (Community โดยตลอดระยะเวลา ๑ ปีท่ีผ่านมาได้มีการสนับสนุน Isolation) ด�ำเนินมาตรการสนับสนุนการส่งข้อความสั้น นโยบายรัฐบาลและก�ำหนดมาตรการในการแก้ไขปัญหา (SMS) ส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐ (๒) มาตรการสนับสนุน และบรรเทาผลกระทบต่าง ๆ ท้งั ในระยะสน้ั และระยะยาว อินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ส�ำหรับการเรียนออนไลน์ เพื่อช่วยเหลือประชาชน และสร้างความเข้มแข็งให้กับ เ พื่ อ ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ ก า ร แ พ ร ่ ร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค ติ ด เ ชื้ อ อุตสาหกรรมกระจายเสียงและโทรทัศน์ โทรคมนาคม ไวรัสโคโรนา 2019 (๓) มาตรการช่วยเหลือผู้รับ และดาวเทียม ให้สามารถปรับตัวเข้ากับวิถียุคใหม่ ใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการ (New normal) โดยสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหน้ ำ� เทคโนโลยี โทรทัศน์หรือกิจการโทรคมนาคมซ่ึงได้รับผลกระทบ การสือ่ สารมาใช้ประโยชน์ใหไ้ ด้มากที่สดุ โดยในปี ๒๕๖๔ จากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 กสทช. และสำ� นกั งาน กสทช. มีผลการปฏิบัติงานส�ำคัญ ๆ และ (๔) สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การดา้ นสาธารณสขุ ตา่ ง ๆ ดงั นี้ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ ของหน่วยงานภาครัฐที่ท�ำหน้าท่ีติดต่อ ๑. การสนับสนุนนโยบายและมาตรการของ ส่ือสารกับประชาชน พร้อมท้ังอนุมัติเลขหมาย 1516 รฐั บาลในการดำ� เนนิ การปอ้ งกนั ควบคมุ แกไ้ ขปญั หาและ ให้กรุงเทพมหานคร เพ่ือใช้เป็น Call Center ส�ำหรับ บรรเทาผลกระทบจากโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ภารกิจเก่ียวกับการจองฉีดวัคซีนโควิด “ไทยร่วมใจ (โควิด-19) อย่างต่อเนื่อง โดยออกมาตรการต่าง ๆ อาทิ กรงุ เทพฯ ปลอดภัย” เปน็ ต้น (๑) มาตรการช่วยเหลือประชาชนและผู้รับใบอนุญาต และสนับสนุนการป้องกันและรักษาจากสถานการณ์

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง 9 กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ๒. การบริหารคลื่นความถ่ี โดยได้เห็นชอบ ๕. การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและ กรอบระยะเวลาการปรับปรุงการใช้งานคล่ืนความถี่ย่าน พัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ ๓๕๐๐ เมกะเฮิรตซ์ และแนวทางการเยียวยาผู้ที่ได้รับ กิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ ในปี ผลกระทบจากการด�ำเนินการดังกล่าว รวมท้ังได้ปรับปรุง ๒๕๖๔ ได้อนุมัติจัดสรรเงินกองทุนเพื่อส่งเสริมและ ประกาศ กสทช. เร่ือง แผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ สนับสนุนให้ทุนประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ทุนประเภทท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๒) เพ่ือรองรับบทบัญญัติการหลอมรวม โครงการทเี่ กดิ จากผมู้ สี ทิ ธขิ อรบั การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ (Convergence) การด�ำเนินการตามแผนและกรอบ เงินจากกองทุนที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์กองทุนตาม ระยะเวลาในการตราพระราชกฤษฎีกา ตามมาตรา ๓๐ มาตรา ๕๒ (๑) (๒) และ (๓) แห่งพระราชบญั ญัติองคก์ ร แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถ่ีฯ รวมถึง จัดสรรคล่ืนความถ่ีฯ จ�ำนวน ๓๓ โครงการ จ�ำนวน พันธกรณีตามข้อบังคับวิทยุ ค.ศ. ๒๐๒๐ ๒๑๑.๔๘ ล้านบาท ทุนประเภทท่ี ๒ โครงการท่ีมุ่งเน้น การบรรลุความส�ำเร็จตามนโยบายของคณะกรรมการ ๓. การกำ� กบั กจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ บริหารกองทุน โดยก�ำหนดเป็นขอบเขตงานโครงการ กิจการโทรคมนาคม และกิจการดาวเทยี มส่ือสาร โดยได้ จ�ำนวน ๒๕ โครงการ จ�ำนวน ๔๖๖.๐๐ ล้านบาท ออกประกาศเพอื่ กำ� กบั ดแู ลการประกอบกจิ การตา่ ง ๆ อาทิ ทุนประเภทที่ ๓ โครงการหรือการด�ำเนินการที่ กสทช. (๑) ประกาศ กสทช. เรื่องคล่ืนความถ่ีที่อนุญาตให้ใช้โดย ประกาศก�ำหนดเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุน วธิ กี ารอน่ื นอกเหนอื จากการประมลู เพอ่ื กำ� หนดคลนื่ ความถี่ ได้แก่ โครงการทดลองทดสอบ 5G และพัฒนารูปแบบ ท่ีไม่ต้องประมูล (๒) ประกาศ กสทช. เรื่อง หลักเกณฑ์ การใช้งาน (Use Case) ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การเรียกเก็บค่าบริการล่วงหน้าของบริการอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ความเรว็ สูงประจำ� ท่ี (๓) ประกาศ กสทช. เรอ่ื ง มาตรฐาน จำ� นวน ๑๕๐.๐๐ ลา้ นบาท และทนุ ประเภทที่ ๔ สนบั สนนุ การคำ� นวณอัตราค่าตอบแทนการเช่าใช้โครงข่ายโทรทัศน์ กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ จ�ำนวน ประเภททใี่ ชค้ ลน่ื ความถภี่ าคพนื้ ดนิ ในระบบดจิ ติ อล รวมทง้ั ๕๐๐.๐๐ ล้านบาท ได้ออกใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่และประกอบกิจการ โทรทัศน์เพื่อให้บริการโทรทัศน์ภาคพ้ืนดินในระบบดิจิทัล ท้ายน้ี ผมในนามของคณะกรรมการ กสทช. ประเภทกิจการบรกิ ารสาธารณะ เป็นต้น ขอขอบคุณทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างส�ำนักงาน กสทช. ท่ีปฏิบัติหน้าที่ ๔. การบริการด้านโทรคมนาคมอย่างท่ัวถึงและ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และมุ่งมั่นอย่างเต็มก�ำลัง บริการเพื่อสังคม ได้ด�ำเนินโครงการจัดให้มีสัญญาณ ความสามารถตงั้ แต่ปี ๒๕๕๔ จนถงึ ปจั จุบัน ทำ� ให้ กสทช. โทรศัพท์เคล่ือนท่ีและบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และส�ำนักงาน กสทช. เป็นที่ยอมรับจากสังคมให้เป็น ในพ้ืนที่ชายขอบ (Zone C+) โครงการจัดให้มีบริการ องค์กรท่ีร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพ้ืนที่ห่างไกล (Zone C) เพื่อ ให้เจริญก้าวหน้าอย่างย่ังยืน ผมขอให้ค�ำม่ันว่า กสทช. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และ และส�ำนักงาน กสทช. จะปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์สุข ลดความเหลอ่ื มลำ�้ ในการเขา้ ถงึ บรกิ ารโทรคมนาคมพน้ื ฐาน ของประชาชนและประเทศชาตสิ บื ไป ให้เป็นไปโดยทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรม ท้ังในมิติ เชิงพื้นท่ีและมิติเชิงสังคม อันจะน�ำมาซ่ึงการยกระดับ พลเอก คุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไป ครู นักเรียน คนชรา (สกุ จิ ขมะสุนทร) ผู้ป่วยและกลุ่มเป้าหมายท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีชนบทห่างไกล และทรุ กนั ดารอยา่ งต่อเนือ่ ง นอกจากน้ี ยงั อยู่ระหว่างการ กรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กิจการโทรทศั น์ จัดท�ำ (ร่าง) แผนการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพ้ืนฐาน และกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ โดยท่ัวถึงและบริการเพื่อสังคม ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 256๕ - 256๙) และปรบั ปรงุ (รา่ ง) ประกาศ กสทช. เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ ท�ำหนา้ ที่ประธานกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง และวิธีการจัดเก็บรายได้เพื่อน�ำไปใช้ในการจัดให้มีบริการ กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ โทรคมนาคมพื้นฐานโดยท่ัวถึงและบริการเพื่อสังคมแทน ประกาศฉบับเดิมให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่งขณะนอ้ี ยูร่ ะหวา่ งรบั ฟังความคิดเหน็ สาธารณะ

10 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ สารเลขาธกิ าร กสทช. นายไตรรัตน์ วิริยะศิริกุล รองเลขาธิการ รักษาการแทน เลขาธิการ กสทช. (๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ - ปัจจุบัน) ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง ๒. การยกระดบั สำ� นกั งานกสทช.สกู่ ารเปน็ ตน้ แบบ กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นส�ำนักงานดิจิทัล (สำ� นกั งาน กสทช.) ไดป้ ระกาศเจตจำ� นงสจุ รติ ของผบู้ รหิ าร “NBTC Digitalization” อยา่ งเตม็ รูปแบบ ในปี ๒๕๖๔ ในการ “ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความซอื่ สัตย์ สุจริต มคี ณุ ธรรม ส�ำนกั งาน กสทช. ไดร้ บั รางวลั รฐั บาลดจิ ิทลั “DG Awards และโปร่งใส ตามหลักธรรมาภิบาล โดยค�ำนึงถึงความ 2021” ใหเ้ ปน็ ๑ ในหนว่ ยงานภาครฐั ทมี่ ีการปรบั เปลย่ี น คมุ้ คา่ และประโยชนส์ งู สุดตอ่ ประชาชน รวมทัง้ รว่ มมอื องค์กรสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลในระดับสูง และเป็นอันดับ กบั ทกุ ภาคสว่ นในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ” ท่ี ๔ จาก ๑,๙๒๒ หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินฯ โดยในปี ๒๕๖๔ ท่ีผ่านมา ส�ำนักงาน กสทช. ได้ปฏิบัติ ซ่ึงนับเป็นปีที่สองที่ได้รับรางวัลดังกล่าว และจะยกระดับ หนา้ ทต่ี ามนโยบายของคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง ส�ำนักงาน กสทช. ไปสู่การเป็นส�ำนักงานดิจิทัลอย่าง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (กสทช.) เต็มรปู แบบในปตี ่อไป เพอ่ื บรหิ ารคลนื่ ความถ่ีและการกำ� กบั ดแู ลกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ กจิ การโทรคมนาคม และกจิ การดาวเทยี ม ๓. การสนบั สนนุ นโยบายรฐั บาลในชว่ งสถานการณ์ สื่อสาร ด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ตามท่ีได้ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ประกาศเจตจำ� นงไวแ้ ลว้ โดยมผี ลการดำ� เนนิ งานทส่ี ำ� คญั  ๆ และการช่วยเหลือประชาชนอย่างต่อเนื่อง โดยได้ ดงั น้ี ออกมาตรการช่วยเหลือประชาชน ในช่วงสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาระลอกใหม่ ๑. การรักษามาตรฐานการประเมินคุณธรรม ทยี่ งั คงมกี ารแพรร่ ะบาดอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อาทิ สนบั สนนุ การจดั และความโปรง่ ใสในการดำ� เนนิ งานของสำ� นกั งาน กสทช. ให้มีบริการโทรคมนาคม อุปกรณ์ส่ือสาร และอุปกรณ์ (Integrity & Transparency Assessment: ITA) ท่ีจ�ำเป็นเพ่ือสนับสนุนการด�ำเนินงานของศูนย์บูรณาการ ส�ำนักงาน กสทช. ได้เข้าร่วมการประเมิน ITA ประจ�ำปี แก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส ๒๕๖๔ โดยในปนี ีไ้ ด้รักษามาตรฐานการประเมินคุณธรรม โคโรนา ๒๐๑๙ ในพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร การสนับสนุน และความโปร่งใสอยู่ในระดับ AA ด้วยคะแนนร้อยละ เลขหมาย ๑๕๑๖ Call Center “ไทยร่วมใจ กรุงเทพฯ ๙๖.๖๐ นบั เปน็ ปที ส่ี องทไ่ี ดร้ ะดบั ดงั กลา่ ว โดยสำ� นกั งานฯ ปลอดภัย” การสนับสนุนหน่วยงานภาครัฐในการส่ง ยังคงมุ่งมั่นและรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ ขอ้ ความสน้ั (SMS) เกย่ี วกบั ขอ้ มลู วคั ซนี และการสนบั สนนุ บนหลกั คณุ ธรรม และความโปรง่ ใส และจะพฒั นาใหย้ ง่ั ยนื อนิ เทอรเ์ นต็ บรอดแบนดส์ ำ� หรบั การเรยี นออนไลน์ เพอ่ื ลด ตอ่ ไป ผลกระทบการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสฯ เปน็ ต้น

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง 11 กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ๔. ดา้ นการบรหิ ารคลน่ื ความถี่ ไดเ้ ตรยี มความพรอ้ ม ๗. การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ส�ำหรับการจัดสรรคลื่นความถี่ย่าน 3500 MHz เพ่ือน�ำ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ มาใช้ในการประมูลคล่ืนความถ่ี 5G โดยได้ศึกษาวิเคราะห์ โทรคมนาคม เพ่ือประโยชน์สาธารณะ โดยได้รับอนุมัติ ผลกระทบที่อาจจะเกิดจากการปรับปรุงการใช้คล่ืนความถี่ จัดสรรเงินกองทุน กทปส. เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้ ยา่ น 3500 MHz เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ ทุนประเภทต่าง ๆ จ�ำนวน ๖๐ โครงการ เป็นเงินท้ังส้ิน ที่ประเทศได้ผูกพันไว้ในตารางก�ำหนดคลื่นความถ่ีแห่งชาติ ๑,๓๒๗.๔๘ ล้านบาท ซึ่งรายละเอียดของโครงการต่าง ๆ และได้จัดท�ำ (ร่าง) หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาต ปรากฏอย่ใู นรายงานแล้ว และการก�ำกบั ดูแลความถีย่ า่ น 3500 MHz ไวร้ องรบั ๘. การจัดระเบียบสายส่ือสาร โดยได้จัดระเบียบ ๕. การอนุญาตและก�ำกับดูแลการประกอบกิจการ สายสื่อสารในเขตพ้ืนท่ีการไฟฟ้านครหลวงและในเขตพ้ืนที่ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม และ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จ�ำนวน ๓,๘๙๑ เส้นทาง ระยะทาง กิจการดาวเทียมสื่อสาร โดยได้ด�ำเนินการส�ำคัญ อาทิ รวม ๗,๘๖๔.๕๔๒ กโิ ลเมตร รวมทงั้ ไดด้ ำ� เนนิ การจดั ระเบยี บ (๑) ไดอ้ นญุ าตใหใ้ ชค้ ลน่ื ความถแี่ ละประกอบกจิ การโทรทศั น์ สายสอ่ื สารเพม่ิ เตมิ จากแผนทก่ี ำ� หนด จำ� นวน ๑,๒๔๐ เสน้ ทาง เพื่อให้บริการโทรทัศน์ภาคพ้ืนดินในระบบดิจิทัล ประเภท ซึ่งได้ด�ำเนินการแล้วเสร็จตามแผนทุกเส้นทาง นอกจากน้ี กิจการบริการสาธารณะ ให้แก่กรมประชาสัมพันธ์และ ยังได้แก้ไขปัญหาสายส่ือสารที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิต กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา (๒) ได้อนุญาตให้ใช้ และทรพั ย์สนิ ของประชาชนในกรณเี รง่ ดว่ นฉุกเฉนิ กรณีเกดิ สิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมตามประกาศ กสทช. ไฟไหม้สายสื่อสาร กรณีสายรกรุงรังจนอาจเป็นอันตราย เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้สิทธิในการเข้าใช้ และกรณีสายส่ือสารอยู่ในระดับต�่ำในช่วงเสาในเขตพ้ืนที่ วงโคจรดาวเทียม ให้แก่ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ การไฟฟ้านครหลวงและในเขตพื้นที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) บริษัท ไทยคม จ�ำกัด จ�ำนวน ๒,๘๒๑ เร่อื ง (มหาชน) และบริษทั โทรคมนาคมแหง่ ชาติ จำ� กัด (มหาชน) และได้อนุญาตให้ใช้ช่องสัญญาณดาวเทียมต่างชาติในการ ในนามของส�ำนักงาน กสทช. ขอขอบพระคุณ ให้บริการในประเทศ ตามประกาศ กสทช. เรื่องหลักเกณฑ์ คณะกรรมการ กสทช. ผู้บริหาร พนักงาน/ลูกจ้างของ และวิธีการอนุญาตให้ใช้ช่องสัญญาณดาวเทียมต่างชาติ ส�ำนักงาน กสทช. และหน่วยงานที่เก่ียวข้องที่ได้สนับสนุน ในการใหบ้ ริการในประเทศ ให้แก่ บริษทั การบินไทย จำ� กดั การดำ� เนนิ งานและรว่ มขบั เคลอ่ื นภารกจิ สำ� คญั ของสำ� นกั งาน (มหาชน) บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จ�ำกัด ส�ำนักงานพัฒนา กสทช. ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ผมขอให้ค�ำม่ันว่าจะปฏิบัติ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หน้าท่ีอย่างเต็มก�ำลัง ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส กรมประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บริษัท ตรวจสอบได้ เพ่ือเป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคล่ือนนโยบาย โทรคมนาคม จำ� กัด (มหาชน) และบรษิ ทั ทซี ี บรอดคาสติ้ง และภารกิจของ กสทช. ให้บรรลุผลส�ำเร็จ เพ่ือประโยชน์ จ�ำกัด เป็นตน้ ของประชาชนและประเทศชาติ และจะมุ่งม่ันในการพัฒนา กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม ๖. การคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียง และกิจการดาวเทียมสื่อสาร เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีดี กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม โดยได้ยกระดับ ของประชาชน และร่วมพลิกฟื้นเศรษฐกิจและสังคมให้ มาตรการในการด�ำเนินการจัดการปัญหาข้อความหลอกลวง ก้าวผ่านความทา้ ทายต่าง ๆ ไปด้วยกนั และข้อความเข้าข่ายผิดกฎหมายทางข้อความสั้น (SMS) และโทรศัพท์หลอกลวง ซึ่งเป็นการประสานความร่วมมือ (นายไตรรตั น์ วริ ยิ ะศิริกลุ ) กับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (MDES) และ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กองบัญชาการต�ำรวจสืบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (บช.สอท.) และผู้ประกอบการฯ เพ่ือยกระดับมาตรการใน กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ การดำ� เนนิ การจดั การปญั หาขอ้ ความหลอกลวง และขอ้ ความ รกั ษาการแทนเลขาธิการคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง เขา้ ขา่ ยผดิ กฎหมายทางขอ้ ความสน้ั (SMS) และคอลเซน็ เตอร์ โทรหลอกลวง รวมทั้งได้ก�ำหนดมาตรการและแนวปฏิบัติ กจิ การโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ในการรวบรวมข้อมูลและการด�ำเนินการกรณีพบข้อความ ที่ผิดกฎหมายฯ และบทลงโทษผู้ให้บริการเน้ือหาที่ไม่ให้ ความร่วมมอื ในการแก้ไขปญั หาดังกลา่ ว โดยมีการออกค�ำสั่ง ตักเตือน ปรับ พักใบอนุญาต จนถึงเพิกถอนใบอนุญาตฯ ตามล�ำดับ

คณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง 13 กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พลเอก สุกิจ ขมะสนุ ทร กรรมการ กสทช. ทําหน้าท่ี ประธาน กสทช. ประวตั กิ ารศกึ ษา • กรรมการก�ำหนดนโยบายการจัดให้มีบริการโทรคมนาคม พ้ืนฐานโดยท่ัวถึง และบริการเพื่อสังคมในคณะกรรมการ • วิทยาศาสตรบณั ฑติ โรงเรียนนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ กจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ รุ่นท่ี ๒๐ • กรรมการทปี่ รกึ ษาการดำ� เนนิ งานบรหิ ารหลกั สตู รรฐั ศาสตร • รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทรัพยากร ดุษฎบี ัณฑติ มหาวิทยาลัยบูรพา เพ่ือความมั่นคง มหาวทิ ยาลยั บรู พา • ผู้รับผิดชอบ “โครงการก่อสร้างทางเข้าและทางบริการ • หลกั สูตรเสนาธิการ โรงเรียนเสนาธกิ ารทหารบก ภายในสนามบินสวุ รรณภมู ิ” • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร • ผอู้ ำ� นวยการ “โครงการตามพระราชประสงคด์ อนขนุ หว้ ย” วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๔๔ จงั หวัดเพชรบุรี • ผู้ประกอบอาชีพวิศวกรควบคุม (วิศวกรรมโยธา) • ผู้อ�ำนวยการ “โครงการห้วยแม่เพรียง ตามพระราชด�ำริ” คณะกรรมการควบคมุ การประกอบอาชีพวิศวกรรม จงั หวัดเพชรบรุ ี • ประกาศนยี บัตรหลักสตู รผบู้ รหิ ารระดับสงู • ผู้อ�ำนวยการ “โครงการสวนป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จ สถาบนั วิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ ๑๕ พระนางเจา้ สิรกิ ิต์”ิ จงั หวัดราชบรุ ี • ผอู้ ำ� นวยการ“โครงการกอ่ สรา้ งสวนเบญจกติ ”ิ กรงุ เทพมหานคร ประสบการณก์ ารทำ� งาน • หวั หนา้ คณะทำ� งานดา้ นปฏบิ ตั กิ ารจติ วทิ ยาและประชาสมั พนั ธ์ กองทัพบก • ผบู้ งั คบั กองพนั ทหารช่างท่ี ๑ รกั ษาพระองค์ • หวั หนา้ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารกองอำ� นวยการรกั ษาความมนั่ คง • ผูบ้ ญั ชาการกองพลพฒั นาที่ ๑ ภายใน • รองแม่ทพั ภาคท่ี ๑ • ทป่ี รกึ ษาพเิ ศษกองบัญชาการกองทัพไทย • ราชองครักษ์พเิ ศษ • ตลุ าการศาลทหารสงู สุด

14 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ พันเอก ดร.นที ศกุ ลรัตน์ รองประธาน กสทช. รองศาสตราจารย์ประเสรฐิ ศลี พิพฒั น์ กสทช. ประวตั กิ ารศกึ ษา ประวัติการศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม • ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (เศรษฐศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไฟฟ้าสื่อสาร โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า • M.A.(ECONOMICS)MiddleTennesseeStateUniversity, (รางวัลเหรยี ญทอง) USA • ปริญญาโท (MSEE) วิศวกรรมไฟฟ้าส่ือสารโทรคมนาคม • ปรญิ ญาบตั รวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร (วปอ. รนุ่ ที่ ๔๕) University of South Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา • ประกาศนยี บัตร นกั บรหิ ารระดบั สงู (นบส. รุ่น ๓๓) • ปรญิ ญาเอก (Ph.D.) วศิ วกรรมไฟฟา้ สอื่ สารโทรคมนาคม • ประกาศนียบตั รหลักสตู รนกั บริหารยตุ ิธรรมทางปกครอง University of South Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา ระดับสูง (ปยป. รนุ่ ที่ ๓) ประสบการณก์ ารท�ำงาน ประสบการณ์การท�ำงาน • วิศวกรอาวุโสโครงการส่ือสารผ่านดาวเทียมวงโคจรต่�ำ • อาจารยป์ ระจำ� คณะเศรษฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั Global Star เมอื ง San Diego มลรฐั แคลฟิ อรเ์ นยี ประเทศ ปี ๒๕๑๘ - ๒๕๔๔ สหรัฐอเมริกา • รองอธกิ ารบดจี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปี ๒๕๔๐ - ๒๕๔๓ • ทป่ี รึกษาโครงการดาวเทียม iPSTAR • รองเลขาธกิ าร สถาบันพระปกเกล้า ปี ๒๕๔๓ - ๒๕๔๙ • ประธานคณะทป่ี รกึ ษาคณะบรหิ ารโครงการ CDMA บรษิ ทั • ผเู้ชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นเศรษฐศาสตร์ สำ� นกั งานคณะกรรมการ กสท โทรคมนาคม จำ� กดั (มหาชน) กจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ ปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๑ • กรรมการ/กรรมการบรหิ าร บรษิ ทั ทโี อที จำ� กดั (มหาชน) • ผู้จดั การกองทุนพัฒนากิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์ • รกั ษาการแทนกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ บรษิ ทั ทโี อที จำ� กดั สาธารณะสำ� นกั งานคณะกรรมการกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (มหาชน) ปี ๒๕๕๑ - ๒๕๕๓ • วิศวกรศูนย์โทรคมนาคมทหาร กรมการสื่อสารทหาร กองบญั ชาการกองทัพไทย • ประธานคณะทำ� งานด้านกิจการวิทยุกระจายเสียงชมุ ชน • อนุกรรมการวิทยกุ ระจายเสยี งและวทิ ยุโทรทัศน์ • ประธานคณะกรรมการจดั ทำ� แผนแมบ่ ทบรหิ ารคลนื่ ความถี่ และตารางก�ำหนดคล่นื ความถแ่ี หง่ ชาติ • ประธานคณะกรรมการจดั ทำ� แผนแมบ่ ทกจิ การโทรคมนาคม • ประธานคณะกรรมการเพ่ือการอนุญาตประกอบกิจการ สอื่ สารความเรว็ สงู ดว้ ยเทคโนโลยไี รส้ าย (BWA) • ประธานคณะกรรมการเพื่อการอนุญาตประกอบกิจการ โทรศัพท์เคลื่อนท่ี IMT หรอื 3G and beyond • กรรมการกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (กทช.)

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง 15 กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พลโท ดร.พีระพงษ์ มานะกจิ กสทช. ประวตั ิการศึกษา • ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ นายทหารฝา่ ยเสนาธกิ ารประจำ� รองผบู้ ญั ชาการ ทหารสงู สดุ ปี ๒๕๔๗ • ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (ทบ.) โรงเรียนนายร้อย • หวั หนา้ ฝ่ายโทรทศั น์ดาวเทียม ททบ. ๕ ปี ๒๕๔๗ พระจุลจอมเกลา้ ปี ๒๕๒๑ • ผู้ทรงคณุ วฒุ ิกองบัญชาการทหารสูงสดุ ปี ๒๕๔๘ • ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (คณะพฒั นา • รองผอู้ ำ� นวยการศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารจติ วทิ ยา และประชาสมั พนั ธ์ สงั คม) สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ ปี ๒๕๓๐ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ สภาความมน่ั คงแหง่ ชาติ ระหวา่ ง • ปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าสงั คมวทิ ยา มหาวทิ ยาลยั บเี ลเฟลด์ ปี ๒๕๔๘ - ๒๕๔๙ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (โดยทุนรัฐบาลเยอรมนี • รายการวิทยุรกั เมืองไทย ระหวา่ งปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐ โครงการแลกเปล่ียนนักเรียนไทยเยอรมนั ปี ๒๕๓๕) • ท่ีปรึกษาส�ำนักงานสภาความม่ันคงแห่งชาติ ระหว่างปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓ ประสบการณ์การท�ำงาน • โฆษกกระทรวงกลาโหม ปี ๒๕๕๑ • อนกุ รรมการตรวจสอบและคน้ หาความจรงิ ในคณะกรรมการ • ผบู้ งั คบั หมวดปนื เลก็ กองรอ้ ยอาวธุ เบา กองพนั ทหารราบ อิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพ่ือการปรองดอง ที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเลก็ รกั ษาพระองค์ ปี ๒๕๒๑ แห่งชาติ (คอป.) และอนุกรรมการศึกษาวิจัย ใน • นกั วชิ าการสว่ นวจิ ยั และพฒั นายทุ ธศาสตร์ สถาบนั วชิ าการ คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพ่ือ ทหารบกชน้ั สูง ปี ๒๕๓๖ ความปรองดองแหง่ ชาติ (คอป.) ระหวา่ งปี ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒ • ปฏิบัติหน้าท่ีคณะที่ปรึกษาพิเศษ กองอ�ำนวยการรักษา • เลขานุการประจ�ำ ในคณะอนุกรรมาธิการศึกษาและ ความม่ันคงภายใน ระหวา่ งปี ๒๕๔๐ - ๒๕๔๔ พิจารณาโครงการเสริมสร้างศักยภาพและบริหารจัดการ • ผอู้ �ำนวยการกองปฏบิ ตั กิ ารจติ วทิ ยา กรมกิจการพลเรือน กองทพั ในคณะกรรมาธิการการทหาร สภาผ้แู ทนราษฎร ทหาร ปี ๒๕๔๒ ระหวา่ งปี ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ • เลขานุการประจ�ำคณะกรรมาธิการการทหารวุฒิสภา ระหว่างปี ๒๕๔๓ - ๒๕๔๘ • ผู้อ�ำนวยการกองสารนิเทศ กรมกิจการพลเรือนทหาร ปี ๒๕๔๔ • ปฏบิ ตั ริ าชการสนบั สนนุ ทป่ี รกึ ษารฐั มนตรวี า่ การกระทรวง กลาโหม ระหว่างปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๕

16 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ผศ. ดร.ธวัชชยั จติ รภาษน์ ันท์ กสทช. นายประวิทย์ ล่ีสถาพรวงศา กสทช. ประวตั ิการศกึ ษา ประวตั ิการศึกษา • ปรญิ ญาตรี (วศิ วกรรมศาสตร)์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั • แพทยศาสตรบณั ฑติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปี ๒๕๓๐ • ปริญญาโท (การเงนิ ) Georgia State University, USA • รฐั ศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ปี ๒๕๓๕ • ปริญญาเอก (การเงิน) University of Alabama, USA • ผู้มีความรู้ความช�ำนาญด้านเวชศาสตร์ป้องกัน (แขนง สาธารณสุขศาสตร์) แพทยสภา ปี ๒๕๓๕ ประสบการณก์ ารท�ำงาน • สาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑติ สถาบนั เวชศาสตรเ์ ขตรอ้ น ประเทศเบลเยียม ปี ๒๕๔๒ • อาจารยป์ ระจำ� คณะเศรษฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั • ผมู้ คี วามรคู้ วามชำ� นาญดา้ นเวชศาสตรค์ รอบครวั แพทยสภา • อาจารยโ์ ครงการปรญิ ญาเอกทางการเงนิ (วชิ าเศรษฐศาสตร์ ปี ๒๕๔๗ การเงนิ ) สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ • อาจารย์พิเศษโครงการปริญญาเอก (วิชาเศรษฐศาสตร์ ประสบการณ์การทำ� งาน การเงิน) บริหารธุรกิจร่วมของสามมหาวิทยาลัย (JDBA) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ และ • ผอู้ ำ� นวยการโรงพยาบาลหว้ ยทบั ทนั จงั หวดั ศรสี ะเกษ สถาบนั บัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์ • ผู้อำ� นวยการโรงพยาบาลศรรี ตั นะ จังหวัดศรีสะเกษ • ประธานหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (นานาชาติ) • ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลลาดบัวหลวง จังหวัดพระนคร- คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ศรีอยุธยา • ประธานศนู ยพ์ ฒั นาแรงงานและการจดั การคณะเศรษฐศาสตร์ • ผอู้ ำ� นวยการโรงพยาบาลอทุ ยั จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั • ประธานชมรมแพทยช์ นบท • ผู้อ�ำนวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ คณะเศรษฐศาสตร์ • เลขาธกิ ารคณะกรรมการประสานงานองคก์ รเอกชน เพอ่ื การ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั สาธารณสขุ มลู ฐาน • กรรมการคดั เลือกนกั เรยี นทุนของ กสทช. • เลขาธกิ ารมูลนิธเิ พ่อื ผ้บู ริโภค • อาจารย์พิเศษด้านการเงิน หลักสูตรบริหารธุรกิจของ • สมาชกิ สภาทป่ี รกึ ษาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ชดุ ที่ ๒ มหาวทิ ยาลยั เอกชน/รัฐบาลหลายแห่ง • ประธานคณะท�ำงานด้านคุม้ ครองผ้บู รโิ ภค สภาทีป่ รึกษา • ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมาธกิ ารการเงนิ การคลงั การธนาคารและ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ สถาบันการเงนิ วุฒิสภา • ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคในกจิ การโทรคมนาคม • ท่ีปรึกษาคณะกรรมาธิการติดตามบริหารงบประมาณ (สบท.) สภาผู้แทนราษฎร • อนกุ รรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนในคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน • หัวหน้าทีมโครงการดัชนีการส่งออกของสภาผู้ส่งสินค้า แหง่ ชาติ ทางเรือแห่งประเทศไทย (สรท.)

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร (Executive Summary)

18 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ บทสรปุ ส�ำหรับผูบ้ ริหาร (Executive Summary) กสทช. และส�ำนักงาน กสทช. ได้มุ่งมั่นบริหาร ใช้คล่ืนความถ่ี มีผลใช้บังคับรองรับกรณีท่ีสามารถ คล่ืนความถ่ี และก�ำกับดูแลการประกอบกิจการ น�ำไปประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม หรอื กจิ การโทรคมนาคมไดโ้ ดยไมจ่ ำ� กดั เฉพาะกจิ การใด และกิจการดาวเทียม พร้อมทั้งด�ำเนินการสนับสนุน กิจการหนึ่ง อันเป็นการหลอมรวมในมิติคล่ืนความถี่ การขับเคล่ือนนโยบายรัฐบาล เพื่อยกระดับการก�ำกับ และท�ำให้เกิดการใช้คล่ืนความถี่และโครงข่ายอย่างมี ดูแลยุคใหม่ให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับบริบท ประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้ให้บริการสามารถพัฒนาหรือ ท่ีเปล่ียนแปลงไป โดยก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ผลิตการให้บริการใหม่ ๆ ท่ีหลากหลายเพ่ือตอบสนอง ประเทศชาตแิ ละประชาชนในทกุ มติ ขิ องการดำ� เนนิ ชวี ติ ต่อความต้องการของประชาชน อันเป็นการกระตุ้น โดยในปี ๒๕๖๔ ได้มีการปรับปรุงพัฒนาหลักเกณฑ์ การบริโภคของประชาชนและท�ำให้เศรษฐกิจของ ในการก�ำกับดูแลการประกอบกิจการฯ รวมท้ัง ประเทศมีการขยายตัวมากยิ่งข้ึน พร้อมท้ังได้ปรับปรุง ปรับกระบวนทัศน์การท�ำงานให้สอดคล้อง ทันสมัย หลักเกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้อง จ�ำนวน ๔ ฉบับ เพื่อรองรับ พร้อมขับเคล่ือนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้ บทบัญญัติดังกล่าวให้มีความสมบูรณ์ โดยพระราช ก้าวสู่ยุคดิจิทัล พร้อมทั้งได้สนับสนุน และส่งเสริม กฤษฎีกาและหลักเกณฑ์ดังกล่าวได้ประกาศใน มาตรการของรฐั ในการชว่ ยเหลอื ปอ้ งกนั ควบคมุ แกไ้ ข ราชกิจจานเุ บกษาเรียบร้อยแลว้ ปญั หา และบรรเทาผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) ๑.๒ การเตรียมความพร้อมส�ำหรับการ ทส่ี ง่ ผลกระทบใหว้ ถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของผคู้ นในปจั จบุ นั ปรบั ปรงุ การใชง้ านคลน่ื ความถย่ี า่ น ๓๕๐๐ เมกะเฮริ ตซ์ เปล่ียนแปลงไปจากเดิม ไปสู่รูปแบบการด�ำเนินชีวิต โดยได้ด�ำเนินการศึกษาผลกระทบจากการปรับปรุง วิถีใหม่ (New normal) และเกิดการปรับเปลี่ยน การใชง้ านคลืน่ ความถ่ียา่ น ๓๕๐๐ เมกะเฮิรตซ์ ท้งั ใน การด�ำเนินงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งมุ่งเน้น และต่างประเทศ และได้วิเคราะห์ทางเลือกมาตรการ ให้มีการน�ำเทคโนโลยีการสื่อสารมาใช้ประโยชน์ใน ลดผลกระทบจากการปรับปรุงการใช้งานคลื่นความถ่ี การท�ำงาน การเรียน รวมทั้งการค้าและบริการท่ี ดังกล่าว โดยค�ำนึงถึงท้ังปัจจัยเชิงปริมาณและ หลากหลาย ทั้งน้ีเพ่ือให้ทันต่อสภาวการณ์และรูปแบบ เชงิ คณุ ภาพ รวมทงั้ จดั ทำ� กรอบระยะเวลาการปรบั ปรงุ การด�ำเนินชีวิตท่ีเปล่ียนแปลงไปสู่ยุคดิจิทัลดังกล่าว การใช้งานคลื่นความถี่ย่าน ๓๕๐๐ เมกะเฮิรตซ์ โดยสรปุ ผลงานสำ� คญั ได้ดงั น ้ี โดยที่ประชุม กสทช. ครั้งท่ี ๒๓/๒๕๖๔ เม่ือวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๔ ได้มีมติเห็นชอบกรอบระยะเวลา ๑. ดา้ นการบริหารคลน่ื ความถ่ี การปรับปรุงการใช้งานคลื่นความถี่ย่าน ๓๕๐๐ ๑.๑ การตราพระราชกฤษฎกี าตามมาตรา เมกะเฮิรตซ์ พร้อมทั้งเห็นควรให้แต่งตั้งคณะท�ำงาน ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ เพื่อศึกษาผลกระทบจากการปรับปรุงการใช้งาน และก�ำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง คล่ืนความถี่ย่าน ๓๕๐๐ เมกะเฮิรตซ์ รวมท้ังแนวทาง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (ฉบับท่ี ๓) การเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการด�ำเนินการ พ.ศ.๒๕๖๒เพอ่ื ใหบ้ ทบญั ญตั ทิ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั การอนญุ าต ดังกลา่ วตอ่ ไป

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง 19 กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ๑.๓ การจดั ตง้ั ศนู ยต์ รวจสอบคลน่ื ความถ่ี ๒.๒ การอนุญาตให้ใช้สิทธิในการเข้าใช้ แหง่ ชาติ(NationalSpectrumMonitoringCenter) วงโคจรดาวเทียม ดงั นี้ โดยได้จัดต้ังคณะท�ำงานข้ึน เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และจัดท�ำแผนการจัดต้ังศูนย์ตรวจสอบคล่ืนความถ่ี 1) การอนุญาตให้ใช้สิทธิในการให้ แหง่ ชาติ เพอื่ บรหิ ารและตรวจสอบคลนื่ ความถแี่ หง่ ชาติ เขา้ ใชว้ งโคจรดาวเทยี มสำ� หรบั ขา่ ยงานดาวเทยี มประเภท ในสถานการณป์ กติ และการกำ� กบั ควบคมุ การตรวจสอบ วงโคจรประจำ� ท่ี (GSO) ทป่ี ระเทศไทยมสี ทิ ธอิ ยูเ่ ดิม คล่ืนความถี่ในสภาวการณ์ฉุกเฉิน รวมท้ังบูรณาการ ขอ้ มลู ผลการตรวจสอบและขอ้ มลู จากระบบสารสนเทศ • อนญุ าตให้บริษัท ไทยคม จ�ำกัด ท่ีมีชุดข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารคลื่นความถ่ีเพ่ือ น�ำมาใช้ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการ (มหาชน) กรณใี นฐานะเปน็ ผมู้ สี ทิ ธใิ นการดำ� เนนิ กจิ การ บริหารคลื่นความถี่ของประเทศได้อย่างยั่งยืน ซ่ึง ตามสัญญาด�ำเนินกิจการดาวเทียมส่ือสารภายใน ท่ีผ่านมาได้จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดต้ังศูนย์ตรวจสอบ ประเทศ จำ� นวน ๑๐ ข่ายงานดาวเทยี ม การใช้คล่นื ความถี่ของประเทศ (National Spectrum Monitoring Center) แล้วเสรจ็ และได้เริม่ ดำ� เนนิ การ • อนุญาตให้บริษัท โทรคมนาคม ตามแผนดังกล่าว โดยในปี ๒๕๖๔ ได้จัดตั้งศูนย์ ตรวจสอบคล่ืนความถ่ีระดับภาค (NSMR) แล้วเสร็จ แหง่ ชาติ จำ� กดั (มหาชน) กรณใี นฐานะเปน็ ผไู้ ดร้ บั มอบ เพื่อรองรับและเตรียมการไปสู่การต้ังศูนย์ตรวจสอบ สิทธิในการบริหารทรัพย์สินหลังส้ินสุดสัญญาด�ำเนิน คลนื่ ความถแ่ี หง่ ชาติ (National Spectrum Monitoring กิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศจากกระทรวง Center : NSMC) ในการตรวจสอบและก�ำกับดูแล ดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม จ�ำนวน ๕ ข่ายงาน คลื่นความถ่ีและบูรณาการข้อมูลการตรวจสอบ ดาวเทยี ม คลื่นความถ่ีให้สามารถรองรับสถานการณ์ปกติและ สถานการณฉ์ กุ เฉนิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและตอ่ เนอ่ื ง 2) การอนุญาตให้ใช้สิทธิในการให้ เข้าใช้วงโคจรดาวเทียมประเภทวงโคจรไม่ประจ�ำที่ ๒. การก�ำกับดูแลการประกอบกิจการ (NGSO) ส�ำหรับข่ายงานดาวเทียมใหม่ ให้ส�ำนักงาน ดาวเทียมส่ือสาร โดยได้อนุญาตให้ใช้สิทธิในการ พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การ เขา้ ใชว้ งโคจรดาวเทยี ม ดังน้ี มหาชน) จำ� นวน ๒ ขา่ ยงานดาวเทยี ม ๒.๑ การออกประกาศกสทช.เรอ่ื งหลกั เกณฑ์ ๒.๓ การอนุญาตให้ใช้ช่องสัญญาณ และวิธีการอนุญาตให้ใช้สิทธิในการเข้าใช้วงโคจร ดาวเทียมต่างชาติในการให้บรกิ ารในประเทศ ดงั น้ี ดาวเทียมในลักษณะจัดชุด (Package) โดยประกาศ ในราชกจิ จานเุ บกษาเมอ่ื วนั ที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔ 1) อนุญาตให้บริษัท การบินไทย และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันท่ี ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ จำ� กดั (มหาชน) และบรษิ ทั ไทยแอรเ์ อเชยี จำ� กดั ไดร้ บั เพอ่ื เปน็ การอนญุ าตสทิ ธใิ นการใชง้ านขา่ ยงานดาวเทยี ม สิทธใิ ชช้ ่องสญั ญาณดาวเทียมตา่ งชาตใิ นการใหบ้ รกิ าร ประเภทวงโคจรประจ�ำที่ (GSO) ของประเทศไทยท่ี ในประเทศส�ำหรับการประกอบกิจการโทรคมนาคม การอนุญาตเดิมก�ำลังจะสิ้นสุดลง หรือสิ้นสุดลงแล้ว โดยใช้ดาวเทียมต่างชาติบนอากาศยานเพื่อให้บริการ หรือที่ไม่มีผู้ได้รับอนุญาตก่อนที่แผนการบริหารสิทธิ แก่ผู้โดยสาร ตามข้อ ๑๕ ของประกาศ กสทช. เรื่อง ในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมมีผลใช้บังคับ ท้ังนี้ หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้ช่องสัญญาณ ปจั จุบันอย่ใู นระหวา่ งการปรับปรงุ ประกาศฯ และการ ดาวเทียมตา่ งชาติในการให้บริการในประเทศ พิจารณาการคดั เลือกสทิ ธิดังกลา่ ว 2) อ นุ ญ า ต ใ ห ้ ใช ้ ช ่ อ ง สั ญ ญ า ณ ดาวเทียมต่างชาติในการให้บริการในประเทศ กรณี ข้อ ๑๖ ของประกาศ กสทช. เรื่อง หลักเกณฑ์และ วิธีการอนุญาตให้ใช้ช่องสัญญาณดาวเทียมต่างชาติ ในการใหบ้ รกิ ารในประเทศ จำ� นวน ๕ หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) โครงการอาหารโลกแหง่ สหประชาชาติ กรมประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บริษทั โทรคมนาคมแหง่ ชาติ จำ� กัด (มหาชน)

20 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ 3) อนญุ าตใหใ้ ชช้ อ่ งสญั ญาณดาวเทยี ม สายส่ือสารในเขตพื้นที่การไฟฟ้านครหลวงและในเขต ต่างชาติในการให้บริการในประเทศ ให้แก่บริษัท ทีซี พื้นท่ีการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จ�ำนวน ๓,๘๙๑ เส้นทาง บรอดคาสตงิ้ จำ� กดั ส�ำหรบั ดาวเทียม CHINASAT-12 ระยะทางรวม ๗,๘๖๔.๕๔๒ กิโลเมตร โดยได้ ชว่ั คราวไปพลางกอ่ น จนกวา่ กสทช. จะกำ� หนด ภายหลงั ด�ำเนินการจัดระเบียบสายสื่อสารเพ่ิมเติมจากแผนท่ี จากมผี ไู้ ดร้ บั การคดั เลอื กใหใ้ ชส้ ทิ ธใิ นการเขา้ ใชว้ งโคจร ก�ำหนดไว้ จ�ำนวน ๑,๒๔๐ เส้นทาง ท้ังนี้สามารถ ดาวเทียม ส�ำหรับข่ายงานดาวเทียม THAICOM-A2B ด�ำเนินการแล้วเสร็จตามแผนทุกเส้นทาง นอกจากนี้ หรอื กสทช. จะก�ำหนดเปน็ อยา่ งอืน่ ไดด้ ำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หาสายสอ่ื สารทอี่ าจเปน็ อนั ตราย ต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในกรณีเร่งด่วน ๓. การก�ำกับดูแลการประกอบกิจการ ฉุกเฉิน กรณีเกิดไฟไหม้สายส่ือสาร หรือรกรุงรังจน โทรคมนาคม อาจเปน็ อนั ตราย หรืออยู่ในระดบั ตำ�่ ในช่วงเสาในเขต พื้นที่การไฟฟ้านครหลวงและในเขตพื้นท่ีการไฟฟ้า ๓.๑ การส่งเสริมสนับสนุนการประยุกต์ สว่ นภมู ภิ าค จำ� นวน ๒,๘๒๑ เรื่อง รวมทง้ั ได้ประสาน ใช้เทคโนโลยี 5G อย่างต่อเน่ือง โดยสนับสนุน การท�ำงานร่วมกับผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคม การขับเคลื่อนการด�ำเนินงานโครงการส�ำคัญ ๆ เพื่อ เพ่ือร่วมกันน�ำสายส่ือสารลงใต้ดินให้เป็นไปด้วย ให้เกิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 5G และสนับสนุน ความเรยี บรอ้ ย จำ� นวนทง้ั สน้ิ ๒๐ เสน้ ทาง รวมระยะทาง การด�ำเนินการภายใต้คณะกรรมการขับเคลื่อน 5G ๔๒.๙๖ กิโลเมตร สรุปผลการน�ำสายสื่อสารลงใต้ดิน แห่งชาติ ในการผลักดันโครงการน�ำร่องการประยุกต์ ท่ีด�ำเนินการแล้วเสร็จ ปี ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔ จ�ำนวน ใช้เทคโนโลยี 5G และการใช้ประโยชน์ 5G ของ ๗๓ เส้นทาง รวมระยะทาง ๑๑๕.๘๘๒ กิโลเมตร ประเทศไทย รวมท้ังการประสานความร่วมมือกับ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการขับเคล่ือนเศรษฐกิจและสังคม ภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องและสถาบันการศึกษาฯ เพื่อ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความ เตรียมความพร้อมการให้บริการโทรคมนาคมในระบบ ปลอดภัย ตลอดจนร่วมผลักดันประเทศไทยให้พร้อม 5G ของประเทศและเพื่อวางรากฐานที่เข้มแข็งรองรับ กา้ วเขา้ สู่การเป็นมหานครแห่งอาเซียนตอ่ ไป การเปล่ียนแปลงในการเปลี่ยนผ่านไปสู่เทคโนโลยี 5G ผา่ นกลไกความรว่ มมอื ดงั กลา่ ว นอกจากนไ้ี ดส้ นบั สนนุ ๓.๓ การสนับสนุนการขยายโครงข่าย งบประมาณในการดำ� เนนิ โครงการตน้ แบบโรงพยาบาล อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมทั่วประเทศ อัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีเครือข่าย 5G และระบบ อย่างต่อเนื่อง ผ่านการให้บริการโทรคมนาคมอย่าง ปัญญาประดิษฐ์ของโรงพยาบาลศิริราช โดยเมื่อวันที่ ท่ัวถึง (USO) โดยด�ำเนินโครงการส�ำคัญ ได้แก่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๔ ได้จัดพิธีเปิดโครงการ “ศิริราช ๑) โครงการจัดให้มีสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนท่ีและ ต้นแบบโรงพยาบาลอัจฉริยะระดับโลกด้วยเทคโนโลยี บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพื้นที่ชายขอบ เครือข่าย 5G” ซ่ึงเป็นโครงการน�ำร่องโรงพยาบาล (Zone C+) จ�ำนวน ๓,๙๒๐ หมู่บ้าน โดยจัดให้มี อจั ฉรยิ ะ (Smart Hospital) เพอ่ื ใหน้ ำ� ไปสกู่ ารใชง้ านจรงิ บรกิ าร Wi-Fi สาธารณะประจำ� หมบู่ า้ น บรกิ ารสญั ญาณ และขยายผลไปยังโรงพยาบาลอ่ืน ๆ ท่ัวประเทศ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในโรงเรียนและโรงพยาบาล อนั จะเปน็ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการรกั ษาพยาบาลและ ส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล จัดให้มีศูนย์บริการ การสาธารณสุขของประเทศ ลดความเหล่ือมล้�ำและ อินเทอร์เน็ตสาธารณะ (USO Net) และติดต้ังด้วย เพ่ิมโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ตัวขยายความครอบคลุมสัญญาณโทรศัพท์เคล่ือนที่ ขั้นสูงได้อย่างทัว่ ถงึ ซ่ึงขณะนี้อยู่ระหว่างให้บริการต่อเนื่องในระยะท่ี ๒ และ ๒) โครงการจดั ใหม้ บี รกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู ๓.๒ การจัดระเบียบสายสื่อสาร และ ในพื้นท่หี ่างไกล (Zone C) จ�ำนวน ๑๕,๗๓๒ หมู่บา้ น การนำ� สายสื่อสารลงใตด้ ินทั่วประเทศ โดยได้กำ� หนด โดยจัดให้มีบริการ Wi-Fi สาธารณะประจ�ำหมู่บ้าน เป็นนโยบายส�ำคัญและด�ำเนินการต่อเน่ืองมาต้ังแต่ บริการสัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในโรงเรียน ปี ๒๕๕๙ โดยปี ๒๕๖๔ ได้ด�ำเนินการจัดระเบียบ

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง 21 กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล จัดให้มี ๔. การกำ� กบั ดแู ลการประกอบกจิ การกระจาย ศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตสาธารณะ (USO Net) และ เสียงและกิจการโทรทศั น์ ห้องบริการอินเทอร์เน็ตประจ�ำโรงเรียน (USO Wrap) ซึ่งขณะน้ีอยู่ระหว่างให้บริการต่อเน่ืองในระยะท่ี ๒ ๔.๑ การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถ่ีและ โดยโครงการดังกล่าวจะสามารถลดความเหลื่อมล้�ำ ประกอบกิจการโทรทัศน์เพ่ือให้บริการโทรทัศน์ ในการเข้าถึงบริการโทรคมนาคมพื้นฐานอย่างทั่วถึง ภาคพ้ืนดินในระบบดิจิทัล ประเภทกิจการบริการ ท้ังในมิติเชิงพ้ืนที่และมิติเชิงสังคม อันจะน�ำไปสู่การ สาธารณะ โดยได้เห็นชอบหลักการการอนุญาตให้ใช้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน กลุ่มเป้าหมาย คล่ืนความถ่ีและประกอบกิจการโทรทัศน์ เพื่อให้ ท่อี าศยั อยู่ในพ้นื ทช่ี นบท หา่ งไกล และทรุ กนั ดาร บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิทัล ประเภท กิจการบริการสาธารณะ ได้แก่ ๑) ใบอนุญาตให้ใช้ ๓.๔ การสนับสนุนนโยบายและมาตรการ คล่ืนความถ่ีเพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล ของรัฐบาลในการด�ำเนินการป้องกัน ควบคุมแก้ไข บรกิ ารสาธารณะ ประเภททส่ี าม ระดบั ภมู ภิ าค เพอื่ การ ปัญหาและบรรเทาผลกระทบจากโรคติดเช้ือไวรัส กระจายข้อมูลข่าวสาร เพ่ือการส่งเสริมสนับสนุน โคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-19) อย่างต่อเน่ือง โดยออก การเผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนเก่ียวกับ มาตรการต่าง ๆ อาทิ ๑) มาตรการช่วยเหลือประชาชน การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ และผู้รับใบอนุญาต และสนับสนุนการป้องกันและ ทรงเป็นประมุข ๒) ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ รักษาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารโทรทศั นใ์ นระบบดจิ ทิ ลั บรกิ ารสาธารณะ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ไดแ้ ก่ สนบั สนนุ การจดั ใหม้ บี รกิ าร ประเภทที่หนึ่ง เพื่อการส่งเสริมความรู้ การศึกษา โทรคมนาคม อุปกรณ์ส่ือสาร และอุปกรณ์ท่ีจ�ำเป็น ของเด็กและเยาวชน และ ๓) ใบอนุญาตให้ใช้ เพื่อรองรบั การรกั ษาผู้ปว่ ยและปอ้ งกันโรคติดเช้อื ไวรัส คลื่นความถ่ีเพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โคโรนา 2019 สนบั สนนุ โรงพยาบาลสนาม และศูนย์ บริการสาธารณะ ประเภทที่หน่ึง เพื่อการส่งเสริม ฉีดวัคซีนกลางของกระทรวงสาธารณสุข สนับสนุน สุขภาพ อนามัย กีฬา หรือการส่งเสริมคุณภาพชีวิต การบริหารจัดการดูแลผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชน และไดป้ ระกาศเชิญชวนให้ยนื่ คําขอรับ ในลักษณะการดูแลรักษาที่บ้าน (Home Isolation) ใบอนุญาตผ่านระบบการย่ืนคําขอรับอนุญาตทาง หรือการดแู ลรักษาท่ชี ุมชน (Community Isolation) อิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ e-BCS) ซึ่งเป็นบริการยื่นขอ สนับสนนุ การสง่ ขอ้ ความส้นั (SMS) ส�ำหรบั หน่วยงาน อนุญาตผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ในระหว่างวันท่ี ๒๑ ภาครฐั ๒) มาตรการสนบั สนนุ อนิ เทอรเ์ นต็ บรอดแบนด์ ตุลาคม - ๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ โดยทปี่ ระชมุ กสทช. ส�ำหรับการเรียนออนไลน์ เพื่อลดผลกระทบการ ครั้งที่ ๒๒/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ได้มีมติให้กรมประชาสัมพันธ์ และกระทรวงการ ๓) มาตรการชว่ ยเหลอื ผรู้ บั ใบอนญุ าตประกอบกจิ การ ท่องเที่ยวและกีฬา ได้รับอนุญาตให้ใช้คล่ืนความถ่ี โทรคมนาคมซ่ึงได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด และประกอบกิจการโทรทัศน์เพื่อให้บริการโทรทัศน์ ของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 และ ๔) สนบั สนุน ภาคพ้ืนดินในระบบดิจิทัล ประเภทกิจการบริการ การบรหิ ารจดั การดา้ นสาธารณสขุ ตา่ ง ๆ ในสถานการณ์ สาธารณะ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ของหน่วยงานภาครัฐที่ท�ำหน้าที่ติดต่อส่ือสารกับ ๔.๒ การปรับกระบวนการก�ำกับดูแลให้ ประชาชน พร้อมท้ังอนุมัติเลขหมาย 1516 ให้ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ท่ี กรุงเทพมหานคร เพ่ือใช้เป็น Call Center ส�ำหรับ เปล่ียนแปลงไป โดยได้แต่งต้ังคณะท�ำงานปรับปรุง ภารกิจเก่ียวกับการจองฉีดวัคซีนโควิด “ไทยร่วมใจ พัฒนาหลักเกณฑ์และจัดท�ำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กรงุ เทพฯ ปลอดภยั ” เป็นต้น ในการกำ� กบั ดแู ลกจิ การโทรทศั นแ์ ละกจิ การเกย่ี วเนอ่ื งขน้ึ ซึ่งได้มีการก�ำหนดกรอบแนวทางในการด�ำเนินการ

22 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ และศกึ ษาผลกระทบของ OTT ตอ่ กจิ การกระจายเสยี ง ๔.๔ การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถ่ีและ และกจิ การโทรทศั นแ์ ละแนวทางการสง่ เสรมิ และกำ� กบั ประกอบกิจการกระจายเสียง ส�ำหรับคล่ืนความถ่ี ดูแลสภาพการแข่งขันในกิจการโทรทัศน์และระบบ ตามแผนความถี่วิทยุกระจายเสียงระบบเอฟเอ็ม นิเวศของอุตสาหกรรม รวมถึงอยู่ระหว่างการศึกษา และระบบเอเอ็ม เพ่ือให้การให้บริการกระจายเสียง กฎหมายที่เก่ียวข้องและแนวทางการแก้ไขปรับปรุง ของสว่ นราชการ รัฐวิสาหกจิ และหนว่ ยงานอนื่ ของรัฐ และจัดท�ำร่างประกาศหลักเกณฑ์การอนุญาตและ ตามมาตรา ๘๓ แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรร ก�ำกับดูแลการประกอบกิจการ เพ่ือประกอบการ คลนื่ ความถฯ่ี พ.ศ. ๒๕๕๓ ซ่งึ มีระยะเวลาการถือครอง จัดท�ำข้อเสนอแนะการก�ำหนดนโยบายและแนวทาง หรอื ใชง้ านคลน่ื ความถที่ จ่ี ะสน้ิ สดุ ลงในวนั ท่ี ๓ เมษายน การก�ำกับดูแล และส่งเสริมกิจการกระจายเสียง ๒๕๖๕ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ต่อเนื่องและเป็น และกิจการโทรทัศน์ไทยในทุกมิติให้สอดรับกับระบบ การเปิดโอกาสให้กับผู้ประสงค์จะประกอบกิจการ นิเวศของอุตสาหกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงไป ตลอดจน กระจายเสียงรายใหม่สามารถเข้าสู่ระบบการอนุญาต ลดช่องว่างในการก�ำกับดูแลระหว่างผู้ให้บริการ ใช้คลื่นความถ่ีได้ ในปี ๒๕๖๔ จึงได้ออกประกาศ แพรภ่ าพกระจายเสยี งแบบดงั้ เดมิ ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ารกำ� กบั หลักเกณฑ์ที่เก่ียวข้องเพ่ือรองรับการด�ำเนินงาน ดูแลของ กสทช. และกลุ่มผู้ให้บริการ OTT ท่ียัง ตามแผนการพิจารณาอนุญาตให้ใช้คลื่นความถ่ีและ ไมอ่ ยู่ภายใต้การก�ำกบั ดูแลฯ ประกอบกิจการกระจายเสียง (Roadmap) จ�ำนวน ๖ ฉบับ ได้แก่ ๑) ประกาศ กสทช. เร่ือง หลักเกณฑ์ ๔.๓ การสนับสนุนค่าเช่าใช้โครงข่าย และวิธีการอนุญาตให้ใช้คล่ืนความถี่ ส�ำหรับการ โทรทศั นป์ ระเภททใี่ ชค้ ลนื่ ความถภ่ี าคพน้ื ดนิ ในระบบ ให้บริการกระจายเสียง ๒) ประกาศ กสทช. เร่ือง ดิจิทัล (MUX) ระหว่างเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ -  แผนความถี่วิทยุกิจการกระจายเสียงระบบเอฟเอ็ม สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้เบิกจ่ายเงินสนับสนุนค่าเช่าใช้ ๓) ประกาศ กสทช. เร่ือง แผนความถี่วิทยุกิจการ โครงข่ายโทรทัศน์ประเภทท่ีใช้คลื่นความถ่ีภาคพ้ืนดิน กระจายเสียงระบบเอฟเอ็ม ก�ำลังส่งต่�ำ ๔) ประกาศ ในระบบดิจิทัล (MUX) ให้แก่ผู้ให้บริการโครงข่ายฯ กสทช. เรื่อง มาตรฐานทางเทคนิคเคร่ืองส่งวิทยุ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑,๙๗๕.๗๕๓ ล้านบาท ท้ังนี้เป็น กระจายเสียงระบบเอฟเอ็ม ๕) ประกาศ กสทช. ไปตามค�ำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ป้องกันการรบกวนการใช้คล่ืนความถ่ี ที่ ๔/๒๕๖๒ เร่ือง มาตรการแกไ้ ขปญั หาการประกอบ ของสถานีวิทยุกระจายเสียงต่อกิจการวิทยุการบิน กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม ที่ก�ำหนดให้ และ ๖) ประกาศ กสทช. เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ กสทช. ทดแทน ชดใช้ หรือจา่ ยค่าตอบแทนใหก้ บั ผูร้ บั และเง่ือนไขการประมูลคลื่นความถี่ในระบบเอฟเอ็ม ใบอนุญาตให้ใช้คล่ืนความถี่เพื่อให้บริการโทรทัศน์ สำ� หรบั การใหบ้ รกิ ารกระจายเสยี ง ประเภทกจิ การทาง ภาคพื้นดินในระบบดิจิทัลที่ได้รับผลกระทบจาก ธรุ กจิ ซง่ึ ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเรยี บรอ้ ยแลว้ การเรียกคืนคลื่นความถยี่ า่ น 700 MHz ในชว่ งความถ่ี นอกจากนีย้ งั อยรู่ ะหวา่ งการจดั ท�ำรา่ งประกาศ กสทช. 694 - 790 MHz โดยให้น�ำเงินท่ีได้รับจากการจัดสรร เร่ือง การทดสอบการแพร่แปลกปลอมของสถานีวิทยุ คล่ืนความถ่ีดังกล่าวส�ำหรับกิจการโทรคมนาคมมา กระจายเสียงระบบเอฟเอม็ สนับสนุนค่าเช่าใช้โครงข่ายโทรทัศน์ประเภทที่ใช้ คล่ืนความถ่ีภาคพื้นดินในระบบดิจิทัล (MUX) ๔.๕ การจัดท�ำแนวทางการอนุญาตให้ใช้ ตามจ�ำนวนที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งจะต้องไม่เกินอัตราท่ี คลื่นความถี่ในกิจการกระจายเสียง โดยได้เห็นชอบ กสทช. ให้ความเห็นชอบ ตลอดระยะเวลาการได้รับ แนวทางการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ฯ โดยแบ่ง อนุญาตฯ ท่ีเหลืออยู่ การอนุญาต ดงั นี้ ๑) การอนุญาตให้ใช้คล่ืนความถ่ี ในกิจการกระจายเสียงตามแผนความถ่ีวิทยุกิจการ กระจายเสียงระบบเอฟเอ็ม และแผนความถ่ีวิทยุ กิจการกระจายเสียงระบบเอเอ็ม ส�ำหรับส่วนราชการ

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง 23 กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐท่ีได้รับอนุญาตให้ประกอบ และให้น�ำคลื่นความถ่ีส่วนท่ีเหลือมาพิจารณาอนุญาต กิจการกระจายเสียงและใช้งานคลื่นความถี่ตาม ส�ำหรับประเภทบริการทางธุรกิจ ท้ังน้ี การอนุญาต มาตรา ๗๔ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ ให้ใช้คล่ืนความถ่ีส�ำหรับประเภทบริการทางธุรกิจ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และ จะสามารถอนุญาตได้ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ ๗๕ ประกาศ กสทช. เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาต ของความสามารถที่จะอนุญาตได้ในครั้งนี้ โดยได้ การให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๕ ประกาศเชิญชวนให้ย่ืนค�ำขอรับใบอนุญาตให้ใช้ ในประเภทกิจการบริการสาธารณะ จ�ำนวน ๓๙๐ คล่ืนความถ่ีตามแผนความถี่วิทยุกิจการกระจายเสียง คลื่นความถี่ โดยในปี ๒๕๖๔ ได้มีมติอนุญาตภายใต้ ระบบเอฟเอ็มก�ำลังส่งต่�ำส�ำหรับกิจการบริการ เง่ือนไขที่ก�ำหนดให้ส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐ สาธารณะและประเภทบริการชมุ ชนเรยี บร้อยแลว้ จำ� นวน ๒๔ หนว่ ยงาน ๓๘๙ คลนื่ ความถ่ี ใชค้ ลนื่ ความถ่ี ส�ำหรับการให้บริการกระจายเสียง ประเภทกิจการ ๔.๖ การเปล่ียนผ่านการทดลองประกอบ บริการสาธารณะโดยให้มีระยะเวลาการอนุญาต ๕ ปี กจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี งไปสรู่ ะบบการอนญุ าต โดยได้ นับถัดจากวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๕ เป็นต้นไป ทั้งนี้ ออกประกาศส�ำนักงาน กสทช. เรื่อง การเปลี่ยนผ่าน เวน้ แต่ กสทช. ชดุ ใหม่จะกำ� หนดให้มกี ารเปลย่ี นแปลง การทดลองประกอบกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี งไปสรู่ ะบบ การอนญุ าต และแจง้ แนวทางการเปลย่ี นผา่ นไปสรู่ ะบบ ๒) การอนุญาตให้ใช้คล่ืนความถี่ การอนุญาตและผลการพิจารณาต่าง ๆ ไปยังสถานี ในกิจการกระจายเสียงตามแผนความถี่วิทยุกิจการ ทไ่ี ดร้ บั อนญุ าต/ผไู้ ดร้ บั อนญุ าตทดลองประกอบกจิ การ กระจายเสียงระบบเอฟเอ็ม แผนความถ่ีวิทยุกิจการ ให้ทราบและเตรียมความพร้อมในการเปลี่ยนผ่าน กระจายเสียงระบบเอเอ็ม ส�ำหรับผู้ประสงค์จะใช้ ไปสู่ระบบใบอนุญาต โดยผู้ได้รับอนุญาตตามประกาศ คล่ืนความถี่ในกิจการกระจายเสียง รวมท้ังสิ้น ๑๑๙ กสทช. เร่ือง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบ คลื่นความถี่ โดยแบ่งเป็นประเภทกิจการบริการ กิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. ๒๕๕๕ สามารถ สาธารณะ จำ� นวน ๔๕ คลน่ื ความถี่ และประเภทบรกิ าร เปล่ียนผา่ นไปสรู่ ะบบการอนญุ าตได้ ดังนี้ ทางธุรกิจ จ�ำนวน ๗๔ คล่ืนความถ่ี โดยได้ประกาศ เชิญชวนให้ย่ืนค�ำขอรับใบอนุญาตให้ใช้คล่ืนความถี่ • กิจการบริการชุมชน สามารถยื่นค�ำขอ ตามแผนความถ่ีวิทยุกิจการกระจายเสียงระบบเอเอ็ม ส�ำหรับประเภทกิจการบริการสาธารณะ จ�ำนวน ๔๕ รับใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ตามแผนความถ่ีวิทยุ คล่ืนความถี่ และประกาศเชิญชวนให้ย่ืนค�ำขอรับ กิจการกระจายเสียงระบบเอฟเอ็มก�ำลังส่งต�่ำส�ำหรับ ใบอนญุ าตใหใ้ ชค้ ลน่ื ความถต่ี ามแผนความถวี่ ทิ ยกุ จิ การ กิจการบรกิ ารชุมชน กระจายเสียงระบบเอฟเอ็มส�ำหรับประเภทบริการ ทางธรุ กจิ เรียบรอ้ ยแลว้ • กจิ การบรกิ ารสาธารณะสามารถยนื่ คำ� ขอ ๓) ก า ร อ นุ ญ า ต ใ ห ้ ใช ้ ค ลื่ น ค ว า ม ถ่ี รับใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถ่ีตามแผนความถ่ีวิทยุ ในกิจการกระจายเสียงตามแผนความถ่ีวิทยุกิจการ กิจการกระจายเสียงระบบเอฟเอ็มก�ำลังส่งต่�ำส�ำหรับ กระจายเสียงระบบเอฟเอ็มก�ำลังส่งต่�ำ ส�ำหรับผู้ท่ี กจิ การบรกิ ารสาธารณะ หรอื ยนื่ คำ� ขอรบั ใบอนญุ าตใหใ้ ช้ ประสงค์จะใช้คลื่นความถี่ระบบเอฟเอ็ม ก�ำลังส่งต�่ำ คลื่นความถ่ีตามแผนความถ่ีวิทยุกิจการกระจายเสียง ตามการจ�ำลองพ้ืนที่ให้บริการ (Simulation) ซ่ึงเป็น ระบบเอเอ็มส�ำหรับประเภทกจิ การบรกิ ารสาธารณะ ไปตามข้อเสนอแนะของสหภาพโทรคมนาคมระหว่าง ประเทศ (International Telecommunication • กิจการทางธุรกิจ สามารถยื่นค�ำขอรับ Union: ITU) จ�ำนวน ๑,๕๒๒ คลื่นความถ่ี โดย อนญุ าตใหใ้ ชค้ ลน่ื ความถสี่ ำ� หรบั ประเภทกจิ การบรกิ าร ใบอนญุ าตใหใ้ ชค้ ลนื่ ความถตี่ ามแผนความถว่ี ทิ ยกุ จิ การ สาธารณะและประเภทบรกิ ารชมุ ชนกอ่ นเปน็ อนั ดบั แรก กระจายเสียงระบบเอฟเอ็มส�ำหรับกิจการบริการทาง ธุรกิจ หรือยื่นค�ำขอรับใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถ่ี ตามแผนความถว่ี ทิ ยกุ จิ การกระจายเสยี งระบบเอฟเอม็ กำ� ลังสง่ ต�่ำ สำ� หรับประเภทกิจการทางธรุ กิจ

24 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ๕. การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคในกจิ การกระจายเสยี ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคล่ืนความถี่ฯ และกจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคม จ�ำนวน ๓๓ โครงการ จ�ำนวน ๒๑๑.๔๘ ล้านบาท ทุนประเภทที่ ๒ โครงการท่ีมุ่งเน้นการบรรลุความ ๕.๑ การคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการ ส�ำเร็จตามนโยบายของคณะกรรมการบริหารกองทุน กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ผ่านการก�ำกับ โดยกำ� หนดเปน็ ขอบเขตงานโครงการจำ� นวน๒๕โครงการ ดแู ลการกระทำ� ทเ่ี ปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภคในกจิ การ จ�ำนวน ๔๖๖.๐๐ ล้านบาท ทนุ ประเภทท่ี ๓ โครงการ กระจายเสยี งและกิจการโทรทัศน์ ท้ังเชงิ รุกและเชงิ รบั หรือการด�ำเนนิ การท่ี กสทช. ประกาศก�ำหนด เพ่ือให้ การสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธขิ องคนพกิ าร และคนดอ้ ย บรรลวุ ัตถุประสงคข์ องกองทนุ ไดแ้ ก่ โครงการทดลอง โอกาสให้เข้าถึงหรือรับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการ ทดสอบ 5G และพฒั นารปู แบบการใชง้ าน (Use Case) ของกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ รวมท้ัง ของมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ และ การพัฒนาหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์จำ� นวน๑๕๐.๐๐ลา้ นบาท ในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พัฒนา และทุนประเภทท่ี ๔ สนับสนุนกองทุนพัฒนาส่ือ กลไก มาตรการป้องกันการรังแก ข่มขู่ คุกคาม สตรี ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ จ�ำนวน ๕๐๐.๐๐ ลา้ นบาท เดก็ และเยาวชน โดยชอ่ งทางรณรงคผ์ า่ นสอื่ มลั ตมิ เี ดยี ตา่ ง ๆ ๗. การพัฒนาองค์กร กสทช. ให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินการ ๕.๒ การคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กร โทรคมนาคม โดยได้ให้ความส�ำคัญในการสร้างกลไก ท่ีมีธรรมาภิบาลและสมรรถนะสูงอย่างยั่งยืนตาม การทำ� งานรว่ มกบั ภาคสว่ นตา่ ง ๆ เพอ่ื สง่ เสรมิ การกำ� กบั นโยบายการก�ำกับดูแลองค์กรท่ีดี และได้ก�ำหนด ดูแลกิจการโทรคมนาคมและคุ้มครองผู้บริโภคให้มี นโยบายการพฒั นาให้ส�ำนกั งาน กสทช. เปน็ ส�ำนักงาน ประสทิ ธภิ าพ เปน็ ประโยชนต์ อ่ สาธารณะและประชาชน ดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบในอนาคตอันใกล้ เพ่ือปฏิบัติ โดยรวม อาทิ แก้ไขปัญหากรณีถูกเรียกเก็บค่าบริการ หน้าท่ีโดยตอบสนองความต้องการของประชาชนและ ข้อความส้ัน (Short Message Service: SMS) ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยในปี ๒๕๖๔ โดยไม่ได้สมัครใช้บริการ และการถูกรบกวนหรือ มผี ลงานท่สี �ำคัญ ดงั น้ี หลอกลวงจากข้อความโฆษณาสินค้าหรือโฆษณา ๗.๑ การรักษามาตรฐานการประเมิน เชิญชวนสมัครใช้บริการต่าง ๆ การพัฒนาระบบการ คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของ พิสูจน์และยืนยันตัวตนด้วยรูปแบบบัตรประจ�ำตัว ส�ำนักงาน กสทช. และพฒั นาให้ย่ังยืนต่อไป โดยในปี อิเล็กทรอนิกส์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (แทนบัตร หรือ ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความ Mobile ID) การพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูล โปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ สำ� หรบั การรกั ษาสทิ ธกิ ารใชเ้ ลขหมายโทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ ได้รับผลการประเมินในระดับ AA ด้วยคะแนนร้อยละ (แอปพลิเคชัน ๓ ช้ัน) ระยะ ๓ การส่งเสริมความ ๙๖.๖๐ อยใู่ นอนั ดบั ที่ ๔ ของกลมุ่ หนว่ ยงานของรฐั อน่ื  ๆ ตระหนักรู้ และการรักษาสิทธิในการเข้าใช้บริการ ท้ังนี้ ส�ำนักงาน กสทช. ได้วิเคราะห์ผลการประเมิน โทรคมนาคมและสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชน เพื่อน�ำมาปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เปน็ ต้น รวมท้ังน�ำไปใช้ประกอบการจัดท�ำแนวทาง/มาตรการ ปอ้ งกนั การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบตอ่ ไป นอกจากนี้ ๖. การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและ ได้ด�ำเนินการยกร่างประกาศ กสทช. เร่ือง ประมวล พัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ จริยธรรมผู้ปฏิบัติงานของส�ำนักงาน กสทช. เพ่ือเป็น กิจการโทรคมนาคม เพอื่ ประโยชน์สาธารณะ หลกั เกณฑใ์ นการปฏบิ ตั ติ นของบคุ ลากรของสำ� นกั งาน กสทช. ซ่ึงอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการ โดยในปี ๒๕๖๔ ไดอ้ นมุ ตั จิ ดั สรรเงนิ กองทนุ มาตรฐานจริยธรรม เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุนประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ทุนประเภทท่ี ๑ โครงการท่ีเกิดจากผู้มีสิทธิขอรับ การส่งเสริมและสนับสนุนเงินจากกองทุนท่ีเป็นไป ตามวตั ถปุ ระสงคก์ องทนุ ตามมาตรา ๕๒ (๑) (๒) และ

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง 25 กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ๗.๒ การยกระดับส�ำนักงาน กสทช. ภาครัฐอื่น ๆ โดยอยู่ในล�ำดับท่ี ๔ ของประเทศ สู่การเป็นต้นแบบของหน่วยงานภาครัฐในการเป็น จาก ๑,๙๒๒ หนว่ ยงานทเี่ ข้ารว่ มรบั การประเมิน และ ส�ำนักงานดิจิทัล “NBTC Digitalization” อย่าง ส�ำนักงาน กสทช. ยังได้รับรางวัลหน่วยงานดีเด่นด้าน เต็มรูปแบบ โดยในปี ๒๕๖๔ ได้จัดท�ำธรรมาภิบาล การใชธ้ รรมาภบิ าลขอ้ มลู ภาครฐั (Data Governance) ข้อมูลของส�ำนักงาน กสทช. (Data Governance) ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ดว้ ย การพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลจุดเดียว (Single Point Data Searching System) และพัฒนาโครงการ ๗.๓ การบรหิ ารงบประมาณของสำ� นกั งาน ส�ำคัญต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งจัดท�ำมาตรฐาน กสทช. โดยในปี ๒๕๖๔ ได้จัดท�ำงบประมาณ การประเมินคุณภาพ (NBTC Quality Practice) แบบเกินดุล โดยมีรายรับท่ีจัดเก็บได้จ�ำนวน เพอ่ื ใหส้ ำ� นกั งาน กสทช. สามารถกา้ วสกู่ ารเปน็ ตน้ แบบ ๘,๔๖๒.๙๐๘ ล้านบาท และตั้งงบประมาณรายจ่าย ของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นส�ำนักงานดิจิทัล ประจำ� ปี ๒๕๖๔ จำ� นวนทงั้ สนิ้ ๗,๐๓๙.๕๑๒ ลา้ นบาท อย่างเต็มรูปแบบ จากความต้ังใจเหล่านี้ส่งผลให้ มีผลการใช้จ่ายงบประมาณการด�ำเนินงานของ ส�ำนักงาน กสทช. ได้รับการคัดเลือกจากส�ำนักงาน ส�ำนักงาน กสทช. จ�ำนวน ๖,๔๑๑.๐๒๗ ล้านบาท พฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องคก์ ารมหาชน) ใหเ้ ปน็ หนว่ ยงาน และได้น�ำส่งเข้ากองทุนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ ระดับกรมท่ีให้บริการเป็นหลักท่ีได้รับรางวัลรัฐบาล และสังคมแห่งชาติ ตามมาตรา ๒๔ (๔) แห่งพระราช ดิจิทัล ประจ�ำปี ๒๕๖๔ (Digital Government บัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม Awards 2021) ซ่ึงเป็นรางวัลที่มอบให้กับหน่วยงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ตามเกณฑ์เงนิ สด (Cash Basis) จ�ำนวน ภาครัฐท่ีมีการปรับเปล่ียนองค์กรสู่การเป็นรัฐบาล ๑,๒๖๕.๙๙๕ ล้านบาทแล้ว ทั้งน้ี คาดว่าจะสามารถ ดิจิทัลในระดับสูง เพ่ือเป็นต้นแบบที่ดีให้กับหน่วยงาน น�ำส่งเข้าเป็นรายได้รัฐอีกจ�ำนวน ๗๘๕.๘๘๖ ล้านบาท 7,100 ร้อยละ ๙1.07 6,850 7,02379.5.6512 32.24 (ล้านบาท) ร้อยละ ๙๓.๕๓ 6,600 6,548.329 6,411.027 ปี 2564 6,350 6,124.720 6,100 ปี 2563 แผน ผล หมายเหตุ : กสทช. มีมติอนุมัติปรับเพิ่มงบประมาณรายจ่าย ประจ�ำปี ๒๕๖๔ จ�ำนวน ๕๓๐.๐๗๙ ล้านบาท เพ่ือจัดสรรชดเชยคืนให้ แผนงานโครงการทส่ี �ำรองจ่ายชำ� ระคืนเงนิ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตใหใ้ ช้คล่นื ความถ่ีให้แกบ่ ริษทั ไทยทีวี จ�ำกดั ๘. นโยบายและแผนการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีพลวัต และเป็นกลไกส�ำคัญ ประจ�ำปี ๒๕๖๕ ได้ก�ำหนดนโยบายเพ่ือต่อยอดการ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สังคม ให้บรรลุเป้าหมาย ขับเคลื่อนภารกิจส�ำคัญเพ่ือการพัฒนาด้านกิจการ การพฒั นาประเทศอยา่ งมนั่ คง โดยมแี ผนการดำ� เนนิ งาน กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม ทีส่ �ำคัญ ๘ ภารกิจ ดงั น้ี และกิจการดาวเทียมสื่อสาร ให้ก้าวทันเทคโนโลยี

26 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ๑) การก�ำกับดูแลกิจการดาวเทียมให้เกิด ๗) การจัดต้ังศูนย์ตรวจสอบคล่ืนความถ่ี ประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชน ซึ่งเป็น แหง่ ชาติ ผลต่อเน่ืองมาจากนโยบายปี 2564 ที่ได้ริเริ่มให้มี การอนุญาตให้ใช้สิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียม ๘) การส่งเสริมการเข้าถึงและการใช้งาน และ กสทช. ตอ้ งกำ� กบั ดแู ลกจิ การดาวเทยี มเตม็ รปู แบบ อนิ เทอรเ์ นต็ บรอดแบนด์ และขยายบรกิ ารโทรคมนาคม หลังส้ินสดุ สญั ญาสัมปทานในปี 2564 แก่กลุ่มเป้าหมายส�ำหรับการให้บริการอย่างทั่วถึง และเพอ่ื สังคม ๒) การจัดท�ำกฎระเบียบ ด้านการอนุญาต และก�ำกับดูแลการใช้คลื่นความถี่ เพื่อรองรับการตรา ๙. แผนงบประมาณรายจา่ ย สำ� นกั งาน กสทช. พระราชกฤษฎกี า ตามมาตรา 30 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ ประจ�ำปี ๒๕๖๕ องค์กรจัดสรรคลื่นความถฯี่ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562 กสทช. มีมติในคราวการประชุม คร้ังที่ ๓) การทดสอบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ ๒๓/๒๕๖๔ เม่ือวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๔ อนุมัติ ดว้ ยเทคโนโลยี 4K งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ๒๕๖๕ ของส�ำนักงาน กสทช. จำ� นวน ๖,๗๖๕.๗๘๑ ลา้ นบาท โดยพจิ ารณาถงึ ๔) การปรับปรุงหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ความจำ� เปน็ เหมาะสม ในการดำ� เนนิ การตามภารกจิ หลกั กับกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ และกิจการ ของหน่วยงาน และสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์ชาติ โทรคมนาคม เพ่ือให้เหมาะสมกับระบบนิเวศของ นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ า่ ดว้ ยการพฒั นาเศรษฐกจิ อุตสาหกรรม และสังคม และแผนระดับต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ แผนแมบ่ ทของหนว่ ยงานทงั้ ๓แผนและแผนยทุ ธศาสตร์ ๕) การเตรียมความพร้อมในการประมูล สำ� นกั งาน กสทช. รวมทง้ั การดำ� เนนิ ภารกจิ สำ� คญั เรง่ ดว่ น คลื่นความถ่ีท่ีสนับสนุนนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยี ในการขบั เคลอื่ นนโยบายรัฐบาล และนโยบาย กสทช. 5G อย่างตอ่ เนือ่ ง ซงึ่ คำ� นงึ ถงึ ผลสมั ฤทธ์ิ และประโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั เปน็ สำ� คญั ดังน้ี ๖) การพัฒนาส�ำนักงาน กสทช. ให้เป็น ส�ำนักงานดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ พร้อมทั้งรักษา มาตรฐานการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำ� เนนิ งานของสำ� นกั งาน กสทช. ระดบั AA และ พัฒนาให้ย่ังยนื ตอ่ ไป ที่ รายการ จ�ำนวน (ลา้ นบาท) ๑. งบประมาณรายจา่ ยของส�ำนักงาน กสทช. ๕,๗๕๕.๗๘๑ ๓,๘๖๗.๕๑๑ ๑.๑ รายจ่ายส�ำหรับการด�ำเนินงานของ กสทช. และส�ำนักงาน กสทช. ๑,๘๘๘.๔๘๖ รายจ่ายเก่ียวกับบคุ ลากร ๑,๓๘๙.๑๘๘ รายจา่ ยเกย่ี วกบั การจดั การและบริหารองคก์ ร ๒๐๒.๑๙๒ รายจา่ ยเกีย่ วกับครุภัณฑ์ ทดี่ นิ และสิง่ ก่อสรา้ ง ๓๘๗.๖๔๕ รายจ่ายอ่นื ๑,๔๔๗.๒๐๗ ๓๓๘.๐๐๐ ๑.๒ รายจา่ ยโครงการ ๑๐๓.๐๖๓ ๑.๓ งบกลาง ๑,๐๑๐.๐๐๐ ๑.๔ รายจา่ ยสำ� หรบั การดำ� เนนิ งานของคณะกรรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ๑,๐๐๐.๐๐ ๒. เงินจัดสรรเข้ากองทนุ ๑๐.๐๐๐ ๒.๑ กองทุนวิจยั และพัฒนากจิ การกระจายเสียง กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคม ๖,๗๖๕.๗๘๑ เพ่ือประโยชน์สาธารณะ ๒.๒ กองทนุ พัฒนาเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษา รวมทัง้ สิ้น (ขอ้ ๑ -  ๒)



๑ส่วนท่ี ข้อมูลท่ัวไป 3_ 1 3_ 3 _36 อ�ำนาจหน้าที่ของ อ�ำนาจหน้าที่ของ วิสัยทัศน์ พันธกิจ กสทช. ส�ำนักงาน กสทช. ค่านิยมหลัก 3_ 7 _38 4_ 0 ประเด็นยุทธศาสตร์ของ ผู้บริหารระดับสูง โครงสร้าง ส�ำนักงาน กสทช. ส�ำนักงาน กสทช. และอัตราก�ำลัง ของส�ำนักงาน กสทช.

ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลทั่วไป 29 กแลสะสท�ำนชัก.งาน กสทช. เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ ได้มีพระบรมราช ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ีในระหว่างที่ยัง โองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะกรรมการกิจการ มไิ ดแ้ ตง่ ตง้ั กรรมการกสทช.ดงั กลา่ วใหก้ รรมการกสทช. กระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ท่ีเหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ตามท่ีจ�ำเป็นไปพลางก่อน แหง่ ชาติ หรอื เรยี กโดยยอ่ วา่ “กสทช.” ตามมาตรา ๑๗ จนกว่ากรรมการ กสทช. ซ่ึงได้รับการแต่งตั้งตาม แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคล่ืนความถ่ี พระราชบญั ญตั อิ งคก์ รจดั สรรคลน่ื ความถฯ่ี พ.ศ. ๒๕๕๓ และก�ำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ เข้ารับหน้าท่ี วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ในกรณีที่ผู้พ้นจากต�ำแหน่งตามวรรคหนึ่งเป็นผู้ด�ำรง จ�ำนวน ๑๑ คน ประกอบด้วย ประธาน กสทช. ตำ� แหนง่ ประธานกรรมการ กสทช. ใหก้ รรมการ กสทช. รองประธาน กสทช. และกรรมการ กสทช. ท่ีเหลืออยู่เลือกกรรมการ กสทช. คนหนึ่งท�ำหน้าที่ ประธานกรรมการ กสทช. ต่อไป” วันท่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติ องค์กรจัดสรรคล่ืนความถี่และก�ำกับการประกอบ วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๑ หัวหนา้ คณะรกั ษา กิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการ ความสงบแห่งชาติ ได้มีค�ำสั่งที่ ๗/๒๕๖๑ ให้ยกเลิก โทรคมนาคม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้มผี ลใช้บังคบั กระบวนการสรรหาและคัดเลือกบุคคล เพื่อแต่งตั้ง โดยได้ยกเลิกความในมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติ เป็น กสทช. และให้ กสทช. ที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ใน องค์กรจัดสรรคล่นื ความถ่ีฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ และก�ำหนด วันที่ค�ำสั่งน้ีมีผลใช้บังคับยังคงด�ำรงต�ำแหน่งหรือ ให้มี กสทช. จ�ำนวน ๗ คน ซึ่งมาจากผู้มีความรู้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ ามทจ่ี ำ� เปน็ ไปพลางกอ่ นตอ่ ไป ในระหวา่ งน้ี ความเชี่ยวชาญด้านกิจการกระจายเสียง ด้านกิจการ ได้มีการปรับปรุงและประกาศพระราชบัญญัติองค์กร โทรทัศน์ ด้านกิจการโทรคมนาคม ด้านวิศวกรรม จัดสรรคล่ืนความถ่ีและก�ำกับการประกอบกิจการวิทยุ ดา้ นกฎหมาย ดา้ นเศรษฐศาสตร์ และดา้ นการคมุ้ ครอง กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ผู้บริโภคหรือส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพของประชาชน (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. 2562 เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั บทบญั ญตั ิ ด้านละหน่ึงคน ซ่ึงในระหว่างการสรรหา กสทช. ตาม แห่งรัฐธรรมนูญและเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยมีผลใช้บังคับ พระราชบญั ญตั อิ งคก์ รจดั สรรคลนื่ ความถฯ่ี (ฉบบั ท่ี ๒) เมือ่ วันท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ ดังกล่าว ประธาน กสทช. และ กสทช. จ�ำนวน ๙ คน ยังคงปฏิบัติหน้าท่ีต่อเนื่อง ตามบท วันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒ หวั หน้าคณะรักษา เฉพาะกาล มาตรา ๔๒ ท่ีบัญญัติว่า “ให้กรรมการ ความสงบแห่งชาติ ได้มีค�ำสั่งที่ ๘/๒๕๖๒ เรื่อง กสทช. ซ่ึงด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัติน้ี มาตรการแก้ไขปัญหาความต่อเน่ืองของกรรมการ ใช้บังคับยังคงด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปจนกว่าจะครบวาระ กสทช. โดยให้ระงับการสรรหาและคัดเลอื กบคุ คลเพอ่ื หรอื พน้ จากตำ� แหนง่ เพราะเหตอุ น่ื ในกรณที มี่ ตี ำ� แหนง่ แตง่ ตงั้ เปน็ กสทช. ไวก้ อ่ นจนกวา่ จะมพี ระราชบญั ญตั ิ วา่ งลงไมว่ า่ ดว้ ยเหตใุ ด ใหก้ รรมการ กสทช. ประกอบดว้ ย องค์กรจดั สรรคลนื่ ความถ่ฯี ฉบับแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ในสว่ น กรรมการเท่าท่ีเหลืออยู่ เว้นแต่มี กรรมการ กสทช. ที่เก่ียวกับกระบวนการสรรหาและคัดเลือกบุคคล เหลอื ไม่ถงึ สค่ี น ใหก้ รรมการ กสทช. ทเี่ หลอื อยู่พน้ จาก เพอ่ื แตง่ ต้ังให้ด�ำรงตำ� แหน่งกรรมการ กสทช. ใชบ้ ังคับ ต�ำแหน่งโดยถือว่าเป็นการพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระ หรือจนกว่านายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ และให้ด�ำเนินการแต่งต้ังกรรมการ กสทช. ตาม คณะรัฐมนตรีจะมีค�ำส่ังเป็นอย่างอ่ืน โดยให้กรรมการ พระราชบญั ญตั อิ งคก์ รจดั สรรคลน่ื ความถฯี่ พ.ศ. ๒๕๕๓ กสทช. เทา่ ทีเ่ หลืออยู่ปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ่อไปได้

30 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และก�ำกับ องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และก�ำกับการประกอบ การประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ กิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ซ่งึ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โทรคมนาคม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้ประกาศ โดยพระราชบัญญัตินี้ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ ในราชกิจจานุเบกษาและมีผลใช้บังคับ เมื่อวันที่ 1 พระราชบัญญัตนิ ใี้ ชบ้ งั คับ มีนาคม 2564 โดยได้ยกเลิกความในมาตรา ๖ แห่ง พระราชบญั ญตั อิ งคก์ รจดั สรรคลนื่ ความถฯี่ (ฉบบั ท่ี ๒) วันท่ี ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๔ วุฒิสภาได้ลงมติ พ.ศ. ๒๕๖๐ และไดก้ ำ� หนดใหม้ ี กสทช. จ�ำนวน ๗ คน ให้ความเห็นชอบบุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ด�ำรง ซง่ึ มาจากผมู้ คี วามรู้ ความเชยี่ วชาญ และประสบการณ์ ตำ� แหนง่ กรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ ด้านกิจการกระจายเสียง ด้านกิจการโทรทัศน์ และ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กรรมการ กสทช.) ดา้ นกจิ การโทรคมนาคม ดา้ นละหนงึ่ คน ดา้ นการคมุ้ ครอง ๕ ราย ประกอบดว้ ย 1. พลอากาศโท ธนพนั ธ์ุหรา่ ยเจรญิ ผู้บริโภคและด้านการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของ (ด้านกิจการกระจายเสียง) 2. ศาสตราจารย์พิรงรอง ประชาชน ด้านละหน่ึงคน และด้านอื่น ๆ ที่จะยัง รามสตู (ด้านกิจการโทรทศั น์) ๓. ศาสตราจารยค์ ลินกิ ประโยชนต์ อ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องกสทช.จำ� นวนสองคน สรณ บุญใบชัยพฤกษ์ (ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค) ประกอบกบั มาตรา ๑๐ ไดบ้ ญั ญตั วิ า่ “ใหค้ ณะกรรมการ ๔. นายต่อพงศ์ เสลานนท์ (ด้านการส่งเสริมสิทธิ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ เสรีภาพของประชาชน) และ ๕. รองศาสตราจารย์ โทรคมนาคมแห่งชาติ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งหรือปฏิบัติ ศุภัช ศุภชลาศัย (ด้านอื่น ๆ ท่ีจะยังประโยชน์ต่อการ หน้าที่อยู่ในวันก่อนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าท่ีของ กสทช. (ข) ด้านเศรษฐศาสตร์) ยงั คงดำ� รงตำ� แหนง่ หรอื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ อ่ ไป และในกรณี จากผทู้ ไี่ ดร้ บั การเสนอชอื่ ฯ เปน็ กรรมการ กสทช. ๗ ราย ทม่ี ตี ำ� แหนง่ วา่ งลงไมว่ า่ ดว้ ยเหตใุ ดใหค้ ณะกรรมการกจิ การ โดยมีมติไม่เห็นชอบ ๒ ราย ได้แก่ ๑. นายกิตติศักด์ิ กระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ศรีประเสริฐ (ด้านกิจการโทรคมนาคม) และ ๒. รอ้ ยโท แหง่ ชาติประกอบดว้ ยกรรมการเทา่ ทเี่ หลอื อยู่ทง้ั นี้จนกวา่ ธนกฤษฏ์ เอกโยคยะ (ด้านอ่ืน ๆ ท่ีจะยังประโยชน์ จะมคี ณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ ต่อการปฏิบัติหน้าท่ีของ กสทช. (ก) ด้านกฎหมาย) และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ ตามพระราชบญั ญตั ิ ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างกระบวนการท่ีนายกรัฐมนตรี องคก์ รจดั สรรคลน่ื ความถแี่ ละกำ� กบั การประกอบกจิ การ ดำ� เนนิ การนำ� ความขนึ้ กราบบงั คมทลู เพอ่ื ทรงพระกรณุ า วทิ ยกุ ระจายเสยี งวทิ ยโุ ทรทศั น์และกจิ การโทรคมนาคม โปรดเกล้าฯ แต่งต้งั พ.ศ. ๒๕๕๓ ซง่ึ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั นิ ้ี และ ในกรณที ก่ี รรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ ในปี ๒๕๖๔ มีกรรมการ กสทช. จ�ำนวน และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติผู้ใดซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง ๖ ทา่ น ทย่ี ังคงปฏบิ ัติหน้าทีจ่ นกวา่ จะมคี ณะกรรมการ หรือปฏิบัติหน้าที่อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ ใชบ้ ังคับ ได้ดำ� รงตำ� แหนง่ หรอื ปฏิบัตหิ น้าทม่ี าแล้วเป็น โทรคมนาคมแห่งชาติชดุ ใหม่ ดงั นี้ เวลาไม่ถึงสามปี ให้ผู้นั้นเป็นผู้มีสิทธิได้รับการแต่งตั้ง ๑. พลเอก สุกิจ ขมะสนุ ทร กรรมการ ท�ำหน้าที่ เปน็ กรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั นแ์ ละ ประธานกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติอีกวาระหนงึ่ ได้ ๒. พนั เอก นที ศุกลรัตน์ รองประธานกรรมการ ๓. พลโท พีระพงษ์ มานะกิจ กรรมการ ให้ส�ำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาเริ่มด�ำเนินการ ๔. นายประเสริฐ ศลี พพิ ัฒน์ กรรมการ จัดให้มีการสรรหากรรมการกิจการกระจายเสียง ๕. นายธวชั ชยั จติ รภาษน์ นั ท์ กรรมการ กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาตติ าม ๖. นายประวทิ ย์ ลส่ี ถาพรวงศา กรรมการ

ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไป 31 อ�ำนาจหน้าที่ของ กสทช. พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถ่ี ๖. พิจารณาอนุญาตและก�ำกับดูแลการ และก�ำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง ประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ กิจการโทรคมนาคม เพือ่ ให้ผู้ใช้บริการไดร้ ับบรกิ ารทม่ี ี และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๒๗ ก�ำหนดให้ กสทช. คุณภาพ ประสทิ ธภิ าพ รวดเรว็ ถูกตอ้ ง และเปน็ ธรรม มอี ำ� นาจหน้าท่ี ดงั นี้ และกำ� หนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารเกยี่ วกบั การอนญุ าต เง่ือนไข หรอื ค่าธรรมเนยี มการอนุญาตดงั กล่าว ๑. จัดท�ำแผนแม่บทการบริหารคล่ืนความถ่ี ตารางก�ำหนดคลื่นความถ่ีแห่งชาติ แผนแม่บทกิจการ ๗. พิจารณาอนุญาตและก�ำกับดูแลการใช้ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ แผนแม่บทกิจการ เลขหมายโทรคมนาคม และก�ำหนดหลักเกณฑ์และ โทรคมนาคม แผนความถ่ีวิทยุ แผนการบริหารสิทธิ วิธีการเก่ยี วกับการอนญุ าต เง่ือนไข หรอื ค่าธรรมเนียม ในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียม และแผนเลขหมาย การอนุญาตดังกลา่ ว โทรคมนาคม และด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผน ดังกล่าว แต่แผนดังกล่าวต้องสอดคล้องกับนโยบาย ๘. ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการใช้ และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือ หรือเชอ่ื มตอ่ และหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการในการก�ำหนด เศรษฐกจิ และสงั คม อัตราค่าใช้หรือค่าเช่ือมต่อโครงข่ายในการประกอบ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ ๒. ก�ำหนดการจัดสรรคลื่นความถี่ระหว่าง โทรคมนาคม ทั้งในกิจการประเภทเดียวกันและ คลนื่ ความถที่ ใ่ี ชใ้ นกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ ระหว่างกิจการแต่ละประเภท ให้เป็นธรรมต่อผู้ กจิ การวิทยคุ มนาคม และกิจการโทรคมนาคม ใชบ้ รกิ าร ผใู้ หบ้ รกิ ารและผลู้ งทนุ หรอื ระหวา่ งผใู้ หบ้ รกิ าร โทรคมนาคม โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สาธารณะเป็น ๓. ก�ำหนดลักษณะและประเภทของกิจการ ส�ำคัญ กระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ๙. ก�ำหนดโครงสร้างอัตราค่าธรรมเนียมและ ๔. พิจารณาอนุญาตและก�ำกับดูแลการใช้คลื่น โครงสร้างอัตราค่าบริการในกิจการกระจายเสียง ความถแี่ ละเครอ่ื งวทิ ยคุ มนาคมในการประกอบกจิ การ กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ให้เปน็ ธรรม กระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ต่อผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการโดยค�ำนึงถึงประโยชน์ หรือในกิจการวิทยุคมนาคม และก�ำหนดหลักเกณฑ์ สาธารณะเปน็ ส�ำคัญ และวธิ กี ารเกยี่ วกบั การอนญุ าตเงอื่ นไขหรอื คา่ ธรรมเนยี ม การอนุญาตดังกล่าว ในการนี้ กสทช. จะมอบหมาย ๑๐. ก�ำหนดมาตรฐานและลักษณะพึงประสงค์ ใหส้ ำ� นกั งาน กสทช. เปน็ ผอู้ นุญาตแทน กสทช. เฉพาะ ทางด้านเทคนิคในการประกอบกิจการกระจายเสียง การอนุญาตในส่วนที่เกี่ยวกับเคร่ืองวิทยุคมนาคม กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม และในกิจการ ตามหลกั เกณฑ์และเงอ่ื นไขท่ี กสทช. ก�ำหนดกไ็ ด้ วิทยคุ มนาคม ๕. ก�ำหนดหลักเกณฑ์การใช้คลื่นความถี่ให้ ๑๑. กำ� หนดมาตรการเพอื่ ปอ้ งกนั มใิ หม้ กี ารกระทำ� เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปราศจากการรบกวน อันเป็นการผูกขาดหรือก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม ซึ่งกันและกัน ทั้งในกิจการประเภทเดียวกันและ ในการแข่งขันในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ ระหว่างกิจการแต่ละประเภท และกจิ การโทรคมนาคม

32 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ๑๒. ก�ำหนดมาตรการให้มีการกระจายบริการ ในกรณีท่ีการรักษาสิทธิดังกล่าวก่อให้เกิดภาระแก่รัฐ ด้านโทรคมนาคมให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกันตาม เกินประโยชน์ท่ีจะได้รบั กสทช. อาจสละสทิ ธิ์ดงั กล่าว มาตรา ๕๐ ได้ตามท่ีก�ำหนดในแผนการบริหารสิทธิในการเข้าใช้ วงโคจรดาวเทียม และให้รายงานคณะรัฐมนตรี (๑๒/๑) เรียกคืนคล่ืนความถ่ีท่ีไม่ได้ใช้ พรอ้ มทง้ั ประกาศเหตผุ ลโดยละเอยี ดใหป้ ระชาชนทราบ ประโยชน์ หรือใช้ประโยชน์ไม่คุ้มค่าหรือน�ำมาใช้ ในการด�ำเนินการให้มีการใช้สิทธิในการเข้าใช้วงโคจร ประโยชน์ให้คุ้มค่าย่ิงขึ้น ตามท่ีก�ำหนดไว้ในแผน ดาวเทยี มดงั กลา่ ว ให้ กสทช. มอี ำ� นาจกำ� หนดหลกั เกณฑ์ ซ่ึงจัดท�ำข้ึนตาม (๑) จากผู้ที่ได้รับอนุญาตเพ่ือน�ำมา วิธีการ และเง่ือนไขการอนุญาตค่าธรรมเนียมและ จัดสรรใหม่ ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การยกเว้นค่าธรรมเนียมการอนุญาต รวมถึงค่าใช้จ่าย ที่ กสทช. ก�ำหนด โดยเงื่อนไขดังกล่าวต้องก�ำหนดวิธี ต่าง ๆ ในการด�ำเนินการที่เกี่ยวข้องท่ีผู้ขอรับอนุญาต การทดแทน ชดใช้ หรือจ่ายค่าตอบแทนส�ำหรับผู้ท่ี หรือผู้รับอนุญาตแล้วแต่กรณีจะต้องรับภาระโดย ถูกเรียกคืนคล่ืนความถ่ีโดยให้ค�ำนึงถึงสิทธิของผู้ท่ี ค่าธรรมเนียมการอนุญาตดังกล่าวเมื่อหักค่าใช้จ่าย ได้รับผลกระทบจากการถูกเรียกคืนคล่ืนความถี่ใน ในการอนุญาตแล้ว เหลือเท่าใดให้น�ำส่งเป็นรายได้ แตล่ ะกรณีดว้ ย แผ่นดนิ ๑๓. คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน (๑๔/๒) พิจารณาอนุญาตและก�ำกับดูแล มิ ใ ห ้ ถู ก เ อ า เ ป รี ย บ จ า ก ผู ้ ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร แ ล ะ การประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติน้ี โดยใช้ คุ้มครองสิทธิในความเป็นส่วนตัวและเสรีภาพ ชอ่ งสญั ญาณดาวเทยี มตา่ งชาติ และกำ� หนดหลกั เกณฑ์ ของบุคคลในการสื่อสารถึงกันโดยทางโทรคมนาคม และวธิ กี ารเกย่ี วกบั การอนญุ าตเงอื่ นไขและคา่ ธรรมเนยี ม และส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของ การอนุญาตดงั กล่าว ประชาชนในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์คล่ืนความถ่ี ทใี่ ชใ้ นกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การ ๑๕. วินิจฉัยและแก้ไขปัญหาการใช้คล่ืนความถี่ โทรคมนาคม ทีม่ ีการรบกวนซ่ึงกันและกนั ๑๔. ด�ำเนินการในฐานะหน่วยงานอ�ำนวยการ ๑๖. ติดตามตรวจสอบและให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ของรัฐท่ีมีอ�ำนาจในการบริหารกิจการส่ือสารระหว่าง การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ ประเทศกับสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ และกจิ การโทรคมนาคม หรอื กบั องคก์ ารระหวา่ งประเทศอน่ื รฐั บาลและหนว่ ยงาน ต่างประเทศ ตามทีอ่ ยใู่ นหนา้ ท่ีและอ�ำนาจของ กสทช. ๑๗. ก�ำหนดลักษณะควบรวม การครองสิทธิ หรือตามที่รัฐบาลมอบหมาย รวมท้ังสนับสนุนการ ข้ามส่ือ หรือการครอบง�ำกิจการกระจายเสียงและ ด�ำเนินการของรัฐเพื่อให้มีดาวเทียมหรือให้ได้มาซึ่ง กิจการโทรทัศน์ท่ีใช้คล่ืนความถ่ี ระหว่างส่ือมวลชน สิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียม และประสานงาน ด้วยกันเองหรือโดยบุคคลอ่ืนใด ซ่ึงจะมีผลเป็นการ เกี่ยวกับการบริหารคล่ืนความถ่ีทั้งในประเทศและ ขัดขวางเสรีภาพในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารหรือปิดกั้น ระหวา่ งประเทศ ท้งั นี้ เพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามแผนซงึ่ จดั ท�ำ การได้รับขอ้ มลู ข่าวสารทห่ี ลากหลายของประชาชน ตาม (๑) และนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย การพฒั นาดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม ๑๘. ส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้รับใบอนุญาต ผู้ผลิตรายการ และผู้ประกอบวิชาชีพส่ือสารมวลชน (๑๔/๑) ด�ำเนินการให้ได้มาและรักษาไว้ซึ่ง ท่ีเก่ียวกับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ สทิ ธใิ นการเขา้ ใชว้ งโคจรดาวเทยี มอนั เปน็ สมบตั ขิ องชาติ เป็นองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อท�ำหน้าที่จัดท�ำ และด�ำเนินการให้มีการใช้สิทธิดังกล่าวเพื่อให้เกิด มาตรฐานทางจริยธรรมของการประกอบอาชีพหรือ ประโยชน์สูงสุดกับประเทศชาติและประชาชน วิชาชีพ และการควบคุมการประกอบอาชีพหรือ วิชาชพี กันเองภายใตม้ าตรฐานทางจริยธรรม

ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไป 33 ๑๙. ออกระเบียบหรือประกาศเก่ียวกับการ (๒๒/๑) ให้ข้อมูลท่ีเก่ียวกับการด�ำเนินการ บรหิ ารงานทวั่ ไป การบรหิ ารงานบคุ คล การงบประมาณ ของ กสทช. และผู้ประกอบการท่ีได้รับอนุญาตจาก การเงินและทรัพย์สิน และการด�ำเนินการอ่ืนของ กสทช. ท้ังน้ีในส่วนท่ีเก่ียวกับดิจิทัลตามที่ส�ำนักงาน ส�ำนักงาน กสทช. ตามมาตรา ๕๘ คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ร้องขอเพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และจัดท�ำ ๒๐. อนุมัติงบประมาณรายจ่ายของส�ำนักงาน นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล กสทช. รวมทั้งเงินที่จะจัดสรรเข้ากองทุนวิจัยและ เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม พฒั นากจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การ โทรคมนาคม เพ่ือประโยชน์สาธารณะ ตามมาตรา ๕๒ ๒๓. เสนอแนะตอ่ คณะรฐั มนตรเี พอื่ ใหม้ กี ฎหมาย หรือแก้ไขปรับปรุงหรือยกเลิกกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ๒๑. พิจารณาและให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการ กับการจัดสรรคล่ืนความถ่ีและการด�ำเนินการอื่น ๆ จัดสรรเงินกองทุนตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุน ที่เกี่ยวข้องกับคลื่นความถ่ี กิจการกระจายเสียง เสนอ ตามมาตรา ๕๕ กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ๒๒. ให้ข้อมูลและร่วมด�ำเนินการในการเจรจา ๒๔. ออกระเบยี บ ประกาศ หรอื คำ� สง่ั อนั เกยี่ วกบั หรอื ทำ� ความตกลงระหวา่ งรฐั บาลแหง่ ราชอาณาจกั รไทย อ�ำนาจหน้าท่ขี อง กสทช. กับรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ ในเร่ืองที่เก่ียวกับการบริหารคล่ืนความถ่ี กิจการ ๒๕. ปฏบิ ัตกิ ารอนื่ ใดตามท่กี ำ� หนดไวใ้ นพระราช กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม บัญญัติน้หี รือกฎหมายอื่น หรือกจิ การอืน่ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง อ�ำนาจหน้าท่ีของส�ำนักงาน กสทช. ตามมาตรา ๕๖ และมาตรา ๖๐ แห่งพระราช ๑. รับผิดชอบในการรับและจ่ายเงินรายได้ของ บญั ญตั อิ งค์กรจัดสรรคล่ืนความถ่ีฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ และ สำ� นกั งาน กสทช. ท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ได้บัญญัติให้ส�ำนักงานคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ ๒. จัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีของ โทรคมนาคมแหง่ ชาติ หรือเรยี กโดยย่อวา่ “สำ� นักงาน สำ� นกั งาน กสทช. เพอื่ เสนอ กสทช. อนมุ ตั ิ โดยรายจา่ ย กสทช.” เปน็ นติ ิบคุ คล มฐี านะเปน็ หนว่ ยงานของรัฐที่ ประจำ� ปขี องสำ� นักงาน กสทช. ให้มีความหมายรวมถงึ ไมเ่ ปน็ สว่ นราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บบรหิ าร รายจ่ายใด ๆ อันเกี่ยวกับการด�ำเนินการตามอ�ำนาจ ราชการแผ่นดินและไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมาย หน้าที่ของ กสทช. คณะกรรมการติดตามประเมินผล ว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอ่ืน และอยู่ การปฏิบัติงาน และส�ำนักงาน กสทช. งบประมาณ ภายใต้การก�ำกับดูแลของประธานกรรมการ โดยให้ รายจ่ายประจ�ำปีดังกล่าวต้องจัดท�ำโดยค�ำนึงถึง สำ� นกั งานกสทช.มเี ลขาธกิ ารกสทช.คนหนงึ่ รบั ผดิ ชอบ ความคุ้มค่า การประหยัด และประสิทธิภาพ รายการ การปฏิบัติงานของส�ำนักงาน กสทช. ขึ้นตรงต่อ หรอื โครงการใดทต่ี ง้ั งบประมาณไวแ้ ลว้ และมไิ ดจ้ า่ ยเงนิ ประธานกรรมการ และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงาน หรือก่อหน้ีผูกพันภายในปีงบประมาณน้ัน ให้รายการ และลกู จา้ งของสำ� นกั งานกสทช.ประกอบกบั มาตรา๕๗ หรอื โครงการนนั้ เปน็ อนั พบั ไป และใหส้ ำ� นกั งาน กสทช. ได้ก�ำหนดอ�ำนาจหนา้ ท่ี ดงั นี้ นำ� สง่ งบประมาณสำ� หรบั รายการหรอื โครงการดงั กลา่ ว เป็นรายได้แผน่ ดิน

34 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ๓. ตรวจสอบและติดตามการใช้คลื่นความถี่ งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีต่อคณะกรรมการดิจิทัล ๔. รับและพิจารณาเรื่องร้องเรียนเก่ียวกับ เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตกิ อ่ นวนั เรมิ่ ปงี บประมาณ การใช้คลื่นความถ่ี การประกอบกิจการกระจายเสียง ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน และให้คณะกรรมการดิจิทัล กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม เพอื่ ตรวจสอบ เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตพิ ิจารณาให้ความเห็น และแก้ไขปัญหาหรือเสนอความเห็นต่อ กสทช. ให้แล้วเสร็จก่อนวันเร่ิมปีงบประมาณไม่น้อยกว่า เพื่อพิจารณาตามหลกั เกณฑ์ที่ กสทช. ก�ำหนด สามสบิ วนั และเมอื่ ไดร้ บั ความเหน็ หรอื เมอ่ื พน้ ระยะเวลา ๕. ศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับ ดงั กลา่ วแลว้ ใหส้ ำ� นกั งาน กสทช. เสนอรา่ งงบประมาณ คล่ืนความถ่ี การใช้คล่ืนความถ่ี การประกอบกิจการ รายจ่ายประจ�ำปีต่อ กสทช. เพ่อื ดำ� เนนิ การตอ่ ไป กระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ๖. รับผิดชอบงานธุรการของ กสทช. และ รายไดข้ องสำ� นกั งาน กสทช. คณะกรรมการบริหารกองทนุ ตามมาตรา ๖๕ แห่งพระราชบัญญัติองค์กร ๗. ปฏิบัตภิ ารกิจอ่นื ตามท่ี กสทช. มอบหมาย จัดสรรคลื่นความถี่ฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ และท่ีแก้ไข การจัดท�ำงบประมาณรายจา่ ยประจ�ำปี เพ่ิมเติม ก�ำหนดให้รายได้ของส�ำนักงาน กสทช. ในการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ได้แก่ ค่าธรรมเนียมการขออนุญาตและค่าธรรมเนียม ตามมาตรา ๕๗ (๒) ก่อนทส่ี �ำนักงาน กสทช. จะเสนอ ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถ่ีมาตรา ๔๔/๒ วรรคหน่ึง กสทช. อนุมัติ ให้ส�ำนักงาน กสทช. เสนอร่าง ค่าธรรมเนียมการขออนุญาตและค่าธรรมเนียม งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีต่อคณะกรรมการดิจิทัล ใบอนุญาตประกอบกิจการตามมาตรา ๔๕ วรรคหนึ่ง เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติพิจารณาให้ความเห็น และค่าธรรมเนียมการโอนใบอนุญาตให้ใช้คล่ืนความถ่ี และให้ส�ำนักงาน กสทช. พิจารณาด�ำเนินการแก้ไข ตามมาตรา ๔๔/๓ รายได้หรือผลประโยชน์อันได้มา หรอื ปรบั ปรงุ รา่ งงบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปดี งั กลา่ ว จากการด�ำเนินงานตามอ�ำนาจหน้าที่ของ กสทช. เว้นแต่งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีในส่วนของ และส�ำนักงาน กสทช. รายได้จากทรัพย์สินของ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ส�ำนักงาน กสทช. เงินและทรัพย์สินท่ีมีผู้บริจาคให้ ใหส้ �ำนักงาน กสทช. เสนอไปยงั คณะกรรมการติดตาม แก่ส�ำนักงาน กสทช. ตามระเบียบที่ กสทช. ก�ำหนด และประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือด�ำเนินการแก้ไข เพ่ือใช้ในการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน กสทช. และ หรือปรับปรุง ในกรณีท่ีส�ำนักงาน กสทช. หรือ เงินอุดหนุนทั่วไปท่ีรัฐบาลจัดสรรให้ โดยที่รายได้ท่ี คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ได้รับจากค่าธรรมเนียมการขออนุญาต ค่าธรรมเนียม แลว้ แตก่ รณี ไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั ความเหน็ ของคณะกรรมการ ใบอนุญาตให้ใช้คล่ืนความถ่ีค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติให้ส�ำนักงาน ประกอบกิจการและค่าธรรมเนียมการโอนใบอนุญาต กสทช. เสนอร่างงบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปีดงั กล่าว ให้คล่ืนความถี่ฯ และรายได้หรือผลประโยชน์อันได้มา พรอ้ มความเหน็ ของคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ จากการดำ� เนนิ งานตามอำ� นาจหนา้ ท่ขี อง กสทช. และ และสังคมแห่งชาติต่อ กสทช. เพ่ือพิจารณาต่อไป สำ� นกั งานกสทช.เมอ่ื ไดห้ กั รายจา่ ยสำ� หรบั การดำ� เนนิ งาน เม่ือ กสทช. อนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีของ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพของสำ� นกั งาน กสทช. คา่ ภาระตา่ ง ๆ ส�ำนักงาน กสทช. แล้ว ให้ส�ำนักงาน กสทช. เปิดเผย ทจี่ ำ� เปน็ เงนิ ทจ่ี ดั สรรเพอื่ สมทบกองทนุ ตามมาตรา ๕๒ งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีน้ัน พร้อมท้ังรายการ กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามกฎหมาย หรือโครงการท่ีได้รับอนุมัติงบประมาณให้ประชาชน ว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และกองทุนพัฒนาดิจิทัล ทราบทางระบบเครือข่ายสารสนเทศ หรือวิธีการอื่น เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการพฒั นา ทเ่ี ข้าถึงโดยสะดวก โดยให้ส�ำนักงาน กสทช. เสนอร่าง ดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแลว้ เหลอื เทา่ ใดใหน้ ำ� สง่ เปน็ รายไดแ้ ผน่ ดนิ ในกรณรี ายไดข้ องสำ� นกั งาน กสทช.

ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไป 35 มจี ำ� นวนไมพ่ อสำ� หรบั คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ งานอยา่ ง ๔. สนับสนุน ส่งเสริม และคุ้มครองผู้บริโภค มปี ระสทิ ธภิ าพของสำ� นกั งานกสทช.รวมทง้ั คา่ ภาระตา่ ง ๆ ด้านกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ ท่ีจ�ำเป็นและไม่สามารถหาเงินจากแหล่งอื่นได้ รัฐพึง โทรคมนาคม จัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้แก่ส�ำนักงาน กสทช. เทา่ จ�ำนวนทจี่ ำ� เป็น ๕. สนับสนุนการด�ำเนินการตามกฎหมาย ว่าด้วยกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง โดยจัดสรรเงินให้แก่กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและ กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมเพอื่ ประโยชน ์ สรา้ งสรรค์ สาธารณะ ๖. สนับสนุนการใช้คล่ืนความถ่ีให้เกิด ตามมาตรา ๕๒ แห่งพระราชบัญญัติองค์กร ประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งสนับสนุนการเรียกคืนคลื่น จดั สรรคลน่ื ความถฯี่ พ.ศ. ๒๕๕๓ และทแี่ ก้ไขเพ่มิ เตมิ ความถที่ ่ีมีผ้ไู ด้รับอนุญาตไป เพื่อนำ� มาจดั สรรใหม่และ ก�ำหนดให้จัดต้ังกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการ สนับสนนุ การทดแทน ชดใช้ หรอื จา่ ยคา่ ตอบแทนการ กระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ถูกเรียกคืนคล่ืนความถี่ ท้ังนี้ เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยมวี ตั ถุประสงค์ดงั นี้ สงู สดุ ในการใชค้ ลืน่ ความถี่ ๑. ด�ำเนินการให้ประชาชนได้รับบริการด้าน มาตรา ๕๔ ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการบริหาร กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ กองทุนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย ประธาน กสทช. โทรคมนาคมอย่างท่ัวถึง ตลอดจนส่งเสริมชุมชน เป็นประธานกรรมการ ปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี และสนับสนุนผู้ประกอบกิจการบริการชุมชนตาม ปลัดกระทรวงกลาโหม เลขาธิการคณะกรรมการ มาตรา ๕๑ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อ�ำนวยการ สำ� นกั งบประมาณ อธบิ ดกี รมบญั ชกี ลาง และผอู้ ำ� นวยการ ๒. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากร ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ ส่ือสาร การวิจัยและพัฒนาด้านกิจการกระจายเสียง และผทู้ รงคณุ วุฒอิ กี สองคนเปน็ กรรมการ กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม รวมทั้ง ความสามารถในการรู้เท่าทันสื่อเทคโนโลยีด้านการใช้ มาตรา ๕๕ ก�ำหนดให้คณะกรรมการบริหาร คลนื่ ความถ่ี เทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ง่ิ อำ� นวย กองทุนมีอ�ำนาจหน้าที่ในการบริหารกองทุนและ ความสะดวกสำ� หรบั ผพู้ กิ าร ผสู้ งู อายุ หรอื ผดู้ อ้ ยโอกาส เสนอความเห็นเก่ียวกับการจัดสรรทุนเพื่อใช้จ่ายตาม ตลอดจนอุตสาหกรรมโทรคมนาคมและอุตสาหกรรม วัตถุประสงคต์ ามมาตรา ๕๒ ต่อ กสทช. เพ่อื พิจารณา ต่อเน่ือง ใหค้ วามเหน็ ชอบ ในกรณที ่ี กสทช. มคี วามเหน็ แตกตา่ ง จากคณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ กสทช. ตอ้ งใหเ้ หตผุ ล ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร ประกอบการพิจารณาไว้ดว้ ย ด้านกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการ โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจน การด�ำเนินการขององค์กรซ่ึงท�ำหน้าท่ีจัดท�ำมาตรฐาน ทางจริยธรรมของการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพตาม กฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการกระจายเสียง และกจิ การโทรทศั น์

36 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ วิสัยทัศน์ ส�ำนักงาน กสทช. เป็นองค์กรชั้นน�ำในระดับอาเซียน Vision ในการก�ำกับดูแล และพัฒนากิจการส่ือสาร เพ่ือการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน พันธกิจ ส�ำนักงาน กสทช. ท�ำหน้าที่สนับสนุน กสทช. ในการจัดสรรคล่ืนความถี่ การอนุญาต Mission และการก�ำกับการประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการวิทยุโทรคมนาคม และกิจการโทรคมนาคม อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นท่ียอมรับในระดับอาเซียน ค่านิยมหลัก Core Value Navigating to Building Teamwork & Consistent International Innovation Transparency Professionalism ก้าวไกลสู่สากล สนรว้าัตงกสรรรรมค์ ทแำ�ลงาะโนปเปร่ง็นใทสีม อยเช่างี่ยมวือชอาญาชีพ N B T C

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป 37 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ของส�ำนักงาน กสทช. และความเช่ือมโยงสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ กสทช. ได้ก�ำหนดนโยบายส�ำคัญ ซ่ึงมีความสอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติ และขับเคล่ือนภารกิจส�ำคัญในการพัฒนา กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการท่ีมีคุณภาพ ทั่วถึง และเท่าเทียม รวมท้ัง การบริหารกิจการดาวเทียม การจัดสรรคล่ืนความถ่ีซ่ึงเป็นสมบัติของชาติให้เกิดประสิทธิภาพ ตลอดจน การสนับสนุนการด�ำเนินงาน ให้บรรลุเป้าหมายของแผนระดับชาติ เพ่ือสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดความเชี่ยวชาญ และรู้เท่าทันเทคโนโลยีต่าง ๆ และการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพอื่ ยกระดบั ประเทศไปสยู่ คุ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั พรอ้ มทง้ั ไดจ้ ดั ทำ� แผนแมบ่ ทการบรหิ ารคลนื่ ความถ่ี แผนแมบ่ ทกจิ การโทรคมนาคม แผนแมบ่ ท กิจการกระจายเสียงและกจิ การโทรทัศน์ แผนการบริหารสทิ ธิในการเขา้ ใชว้ งโคจรดาวเทยี ม และถา่ ยทอดลงสแู่ ผนยทุ ธศาสตร์ ส�ำนักงาน กสทช. เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการด�ำเนินงานและขับเคล่ือนภารกิจของ กสทช. โดยค�ำนึงถึงความเช่ือมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรปู ประเทศ แผนพัฒนาดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดังนี้ แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี นโยบาย ระดับชาติ ความม่ันคง การสร้าง การพัฒนา การสรา้ งโอกาส การสร้างการ การปรับสมดลุ ความสามารถ และเสรมิ สรา้ ง ความเสมอภาค เติบโตบน และพัฒนาระบบ ๑. Thailand 4.0 ในการแขง่ ขัน คณุ ภาพชีวติ - Smart Enterprise ศกั ยภาพ ทางสงั คม ทีเ่ ป็นมติ ร การบริหาร and Startup ทรพั ยากรมนษุ ย์ จดั การภาครัฐ - High Value ตอ่ ส่ิงแวดล้อม Services - High Skilled แผนแมบ่ ทภายใต้ แผนการ แผนพัฒนา นโยบายและแผน Labours and ยทุ ธศาสตร์ชาติ ปฏริ ปู ประเทศ เศรษฐกิจ ระดับชาติว่าดว้ ย Expertise และสงั คมแหง่ ชาติ ความมน่ั คงแหง่ ชาติ Workforces ๒๓ ประเดน็ ๑3 ด้าน ๒. นโยบายรฐั บาล ๑๒ ดา้ น นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ ่าดว้ ยการพฒั นาดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม แผนระดับหน่วยงาน แผนแมบ่ ท แผนแมบ่ ท แผนแม่บท การบรหิ าร กจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรคมนาคม คลน่ื ความถี่ และกจิ การโทรทศั น์ แผนยทุ ธศาสตร์ สำ�นักงาน กสทช. ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔) ๑ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ยทุ ธศาสตรท์ ่ี พัฒนาองคก์ ร ผลักดันการ เสริมสร้าง ยกระดบั ให้เปน็ องค์กรทม่ี ี ขบั เคล่ือนแผนแมบ่ ท ความเข้มแขง็ การบรหิ ารจดั การ ธรรมาภิบาลและ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งให้เกดิ ด้านดจิ ทิ ลั เพือ่ เชิงยุทธศาสตร์ สมรรถนะสูงอย่าง ผลสัมฤทธ์ิในทศิ ทาง การพฒั นาประเทศ ที่สอดคลอ้ งกับการ อยา่ งย่ังยนื ยัง่ ยืน พฒั นาประเทศ

38 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ผู้บริหารระดับสูง สำ�นกั งาน กสทช. นายไตรรตั น์ วิรยิ ะศริ กิ ุล รองเลขาธกิ าร รกั ษาการแทน เลขาธกิ าร กสทช. (1 กรกฎาคม 2563 - ปจั จบุ นั ) นายไตรรัตน์ วริ ยิ ะศริ กิ ลุ พลอากาศโท ดร.ธนพันธ์ุ หรา่ ยเจรญิ รองเลขาธกิ าร กสทช. รองเลขาธิการ กสทช. สายงานยุทธศาสตร์และกจิ การองค์กร สายงานกิจการภมู ภิ าค ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภมู ศิ ษิ ฐ์ มหาเวสนศ์ ิริ นายสทุ ธศิ กั ด์ิ ตนั ตะโยธิน รองเลขาธิการ กสทช. รองเลขาธกิ าร กสทช. สายงานกจิ การกระจายเสียงและโทรทศั น์ สายงานกิจการโทรคมนาคม

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป 39 ผเู้ ช่ยี วชาญพเิ ศษ นางสพุ ินญา จำ�ปี นายฉนั ทพัทธ์ ขำ�โคกกรวด ผู้เช่ียวชาญพิเศษ ผเู้ ชีย่ วชาญพิเศษ นายสมบัติ ลลี าพตะ นายเสน่ห์ สายวงศ์ ผูเ้ ช่ียวชาญพิเศษ ผ้เู ช่ยี วชาญพิเศษ ผู้ช่วยเลขาธิการ กสทช. นางสาวอัจฉรา ปัณยวณชิ นายเฉลิมชัย ก๊กเกียรติกุล ผชู้ ่วยเลขาธิการ กสทช. ผ้ชู ่วยเลขาธิการ กสทช. สายงานยุทธศาสตร์และกิจการองค์กร สายงานบรหิ ารองคก์ ร นางสาวจติ สถา ศรีประเสริฐสุข นางสาวมณีรัตน์ กำ�จรกจิ การ ผูช้ ว่ ยเลขาธิการ กสทช. ผชู้ ว่ ยเลขาธิการ กสทช. สายงานกจิ การโทรคมนาคม สายงานกิจการกระจายเสียงและโทรทศั น์

40 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ โครงสร้างและอัตราก�ำลังของส�ำนักงาน กสทช. ส�ำนักงาน กสทช. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และคณะกรรมการตรวจสอบภายใน ซึ่งแต่งตั้งข้ึน ตามมาตรา ๕๖ และมาตรา ๕๗ ของพระราชบัญญัติ ตามมาตรา ๖๘ วรรคสอง แหง่ พระราชบญั ญัตอิ งคก์ ร องค์กรจัดสรรคลื่นความถ่ีฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ และท่ีแก้ไข จดั สรรคลนื่ ความถฯี่ ซง่ึ คณะกรรมการตรวจสอบภายใน เพิ่มเติม ซ่ึงมีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ กสทช. มีความเป็นอิสระในการด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าท่ี และสนบั สนุนการปฏิบตั งิ านตามท่ี กสทช. มอบหมาย โดยปราศจากการแทรกแซงจาก กสทช. และสำ� นกั งาน ให้บรรลุภารกิจและหน้าท่ีตามที่ก�ำหนด โดยมี กสทช. และหน่วยงานอื่นใด โดยให้เสนอรายงานผล เลขาธิการ กสทช. เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและ การตรวจสอบต่อ กสทช. ทุกหน่ึงร้อยแปดสิบวัน ลกู จา้ งของสำ� นกั งาน กสทช. ซง่ึ ขนึ้ ตรงและอยภู่ ายใต้ เพ่ือให้การตรวจสอบเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การก�ำกับดแู ลของประธาน กสทช. แมว้ า่ ส�ำนกั งาน การพัสดุ และการบริหารงานของส�ำนักงาน กสทช. กสทช. จะเป็นองค์กรก�ำกับดูแลฯ ท่ีจัดตั้งข้ึนให้มี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งมีการปรับปรุง ความอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญและ คุณภาพในการปฏิบัติงาน และปรับปรุงประสิทธิภาพ กฎหมาย อย่างไรก็ตาม ส�ำนักงาน กสทช. ได้มีการ ของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุม ออกระเบยี บ หลกั เกณฑ์ ทสี่ อดคลอ้ งกบั แนวปฏบิ ตั ขิ อง และก�ำกับดูแลอย่างมีระบบ ซ่ึงถือเป็นกลไกส�ำคัญ หนว่ ยงานภาครฐั เพอื่ นำ� มาบงั คบั ใชภ้ ายในสำ� นกั งานฯ ในการก�ำกับ ตรวจสอบ และถ่วงดุลอ�ำนาจหน้าท ี่ เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ ภารกจิ มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ในการปฏิบัติหน้าท่ีให้เป็นไปโดยสุจริต เท่ียงธรรม พร้อมท้ังมีกระบวนการในการติดตาม ตรวจสอบ กลา้ หาญ และปราศจากอคตทิ ง้ั ปวงในการใชด้ ลุ พนิ จิ การบรหิ ารงานของ กสทช. และส�ำนักงาน กสทช. ให้ สมดงั เจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย เกิดความรัดกุม โปร่งใส จากหน่วยงานท้ังภายในและ ภายนอก ทท่ี ำ� หนา้ ทตี่ ดิ ตาม ตรวจสอบ การดำ� เนนิ งาน โดยในปี ๒๕๖๔ โครงสร้างส�ำนักงาน กสทช. ของ กสทช. และส�ำนักงาน กสทช. อันได้แก่ ประกอบดว้ ย ๕ สายงาน ๔๓ สำ� นกั ๔ สำ� นกั งาน กสทช. คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ภาค และ ๑ สถาบัน มีอัตราก�ำลังทั้งสิ้น ๑,๘๓๘ คน (กตป.) ซึ่งแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของวุฒิสภา ดงั มรี ายละเอียดปรากฏตามแผนภมู ิท่ี ๑

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป 41 แผนภูมทิ ่ี ๑: อัตราก�ำลงั ของส�ำนกั งาน กสทช. ปี ๒๕๖4 ๑,5๐๐ ๑,๔๔๑ 1,0๐๐ จำ�นวน (คน) 5๐๐ ๒๐ ต�ำแหน่งปฏิบัติการ ๖๐ ๓๑๗ ต�ำแหน่งวิชาการ ผู้ปฏิบกัตสิงทานช.ประจ�ำ ๐ ต�ำแหน่งบริหาร อัตราก�ำลังของส�ำนักงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ต�ำแหน่งบริหาร 1 คน ต�ำแหน่งวิชาการ 4 คน 3 คน ๖ คน รักษาการแทน เลขาธิการ กสทช. (บ1) 4 คน ผู้เชย่ี วชาญพิเศษ (ช๑) ๑๐ คน รองเลขาธกิ าร กสทช. (บ๑) 4๘ คน ผเู้ ช่ยี วชาญ (ช2) ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ าร กสทช. (บ2) 2๖๑ คน ผูช้ �ำนาญการ (ช3) ผูอ้ ำ� นวยการ (บ2) ผอู้ �ำนวยการสว่ น (บ3) ต�ำแหน่งปฏิบัติการ 4๔๗ คน ผู้ปฏิบัติงานประจ�ำ กสทช. 4๑๖ คน พนกั งานปฏบิ ตั ิการระดบั สงู (ก1) ๓๐๒ คน ทปี่ รกึ ษา เลขานกุ าร ผูป้ ฏิบัตงิ านฯ 6๐ คน พนักงานปฏบิ ตั ิการระดบั กลาง (ก2) ๒๗๖ คน พนกั งานปฏบิ ตั ิการระดบั ต้น (ก3) ลูกจ้าง หมายเหต:ุ ข้อมลู ณ วันที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ที่มา: ส�ำนักทรัพยากรบุคคล สำ� นักงาน กสทช.

42 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ โครงสร้าง ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ สแลายะโงทารนทกศั ิจนก์ ารกระจายเสียง แสลายะกงาจิ นกยารุทอธงศคาก์สรตร์ สายงานบริหารองคก์ ร รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ สำ�นักประธานกรรมการและการประชุม สำ�นักนโยบายและวิชาการกระจายเสียง สำ�นักยุทธศาสตร์และการงบประมาณ สำ�นักกรรมการและเลขาธิการ และโทรทัศน์ สำ�นักทรัพยากรบุคคล สำ�นักอำ�นวยการกลาง สำ�นักกฎหมายกระจายเสียงและโทรทัศน์ สำ�นักบริหารคดีและนิติการ สำ�นักสื่อสารองค์กร สำ�นักค่าธรรมเนียมและอัตราค่าบริการ สำ�นักการพัสดุและบริหารทรัพย์สิน สำ�นักสนับสนุนการตรวจสอบภายใน ในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ สำ�นักการคลัง ติดตามประเมนิ ผล และต่อตา้ นการทจุ ริต สำ�นักการอนุญาตประกอบกิจการ สำ�นักการต่างประเทศ สำ�นักกองทุนวิจัยและพัฒนา กระจายเสียงและโทรทัศน์ สำ�นักพัฒนาองค์กรดิจิทัล สำ�นักบริหารคลื่นความถี่ สำ�นักการอนุญาตประกอบกิจการโครงข่าย สถาบันวิทยาการ สำ�นักกิจการดาวเทียมสื่อสาร สิ่งอำ�นวยความสะดวก และเครื่องวิทยุคมนาคม สำ�นักบริหารข้อมูลกลาง สำ�นักกำ�กับการใช้คลื่นความถี่ สำ�นักเทคโนโลยีสารสนเทศ ในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ สำ�นักส่งเสริมการแข่งขันและกำ�กับดูแลกันเอง สำ�นักกำ�กับผัง เนื้อหารายการ และพัฒนา ผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ สำ�นักพัฒนาองค์กรวิชาชีพและส่งเสริม การบริการทั่วถึง สำ�นักวิศวกรรมและเทคโนโลยี ในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ สำ�นักรับรองมาตรฐานวิศวกรรม ในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ สำ�นักรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครอง ผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป 43 ประธาน กสทช. ตครณวจะสกอรบรภมกายาใรน เลขาธิการ กสทช. สายงานกจิ การภูมภิ าค สายงานกิจการโทรคมนาคม รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ สำ�นักกิจการภูมิภาค สำ�นักวิชาการและจัดการทรัพยากร สำ�นักงาน กสทช. ภาค ๑ โทรคมนาคม สำ�นักงาน กสทช. ภาค ๒ สำ�นักกฎหมายโทรคมนาคม สำ�นักงาน กสทช. ภาค ๓ สำ�นักค่าธรรมเนียมและอัตราค่าบริการ สำ�นักงาน กสทช. ภาค ๔ ในกิจการโทรคมนาคม สำ�นักการอนุญาตประกอบกิจการ โทรคมนาคม ๑ สำ�นักการอนุญาตประกอบกิจการ โทรคมนาคม ๒ สำ�นักกำ�กับดูแลกิจการโทรคมนาคม สำ�นักเทคโนโลยีและมาตรฐานโทรคมนาคม สำ�นักบริหารและจัดการเลขหมายโทรคมนาคม สำ�นักการอนุญาตวิทยุคมนาคม ๑ สำ�นักการอนุญาตวิทยุคมนาคม ๒ สำ�นักโครงข่ายพื้นฐาน การใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย สำ�นักบริการโทรคมนาคมโดยทั่วถึง และเพื่อสังคม สำ�นักรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครอง ผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม

ส่วนที่ ผลการปฏิบติงาน ท่ีส�ำคัญของ กสทช. ๒ ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ๔_ 5 5_ 3 5_ 6 8_ 9 ด้านการบริหาร ด้านการบริหารกิจการ ด้านการก�ำกับดูแล ด้านยุ ทธศาสตร์ คล่ืนความถ่ี ดาวเทียม การประกอบกิจการ และบริหารองค์กร โทรคมนาคม _66 _82 _85 ด้านการก�ำกับดูแล ด้านการด�ำเนินกิจกรรม การประกอบกิจการ ระหว่างประเทศ ในกิจการ การด�ำเนินการเพ่ือ กระจายเสียงและกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ สนับสนุนการขับเคล่ือน โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม นโยบายรัฐบาล

ส่วนท่ี ๒ ผลการปฏิบัติงานที่ส�ำคัญของ กสทช. 45 ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ผลการปฏบิ ัติงานท่สี ำ� คัญของ กสทช. ประจำ� ปี ๒๕๖๔ ด้านการบริหารคล่ืนความถี่ กสทช. ไดด้ �ำเนนิ ภารกิจการบริหารคลนื่ ความถี่ และก�ำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติและประชาชน วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (ฉบับที่ ๓) โดยก�ำหนดนโยบายด้านการบริหารคลื่นความถี่ พ.ศ.๒๕๖๒พ.ศ.๒๕๖๔ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา การก�ำกับดูแลการใช้งานคล่ืนความถ่ี ตลอดจน เมอื่ วนั ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ทงั้ น้ี กสทช. ได้จัดท�ำ การประสานงานเก่ียวกับการบริหารคล่ืนความถ่ี หลักเกณฑ์ที่เก่ียวข้องเพ่ือรองรับบทบัญญัติดังกล่าว ทั้งในและระหว่างประเทศ เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการ ให้มคี วามสมบรู ณ์ จ�ำนวน ๔ ฉบับ ได้แก่ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านกิจการส่ือสาร ยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชน รวมท้ังการเพิ่มศักยภาพ ๑) ประกาศ กสทช. เร่ือง แผนแม่บท ในการแข่งขันของประเทศ โดยในปี ๒๕๖๔ มีผล การบริหารคลื่นความถ่ี (พ.ศ. ๒๕๖๒) โดยประกาศ การปฏิบตั ิงานที่สำ� คญั และมีผลสมั ฤทธิ์ดงั นี้ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวนั ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ๑. การก�ำหนดนโยบายด้านการบริหารคลื่น ๒) ประกาศ กสทช. เร่ือง คลื่นความถ่ี ความถ่ี ทอี่ นญุ าตใหใ้ ชโ้ ดยวธิ กี ารอนื่ นอกเหนอื จากการประมลู โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เมอ่ื วนั ที่ ๘ ธนั วาคม ๑.๑ การตราพระราชกฤษฎกี าตามมาตรา ๒๕๖๔ ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และก�ำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง ๓) ประกาศ กสทช. เรื่อง หลักเกณฑ์ วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (ฉบับที่ ๓) และวธิ กี ารโอนใบอนญุ าตใหใ้ ชค้ ลน่ื ความถ่ี โดยประกาศ พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่อให้บทบัญญัติท่ีเก่ียวข้องกับ ในราชกจิ จานเุ บกษา เมอ่ื วนั ท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๖๔ การอนุญาตใช้คลื่นความถ่ี มีผลใช้บังคับรองรับกรณี ท่ีสามารถน�ำไปประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการ ๔) ประกาศ กสทช. เร่ือง หลักเกณฑ์ โทรทัศน์ หรือกิจการโทรคมนาคมได้โดยไม่จ�ำกัด และวิธีการขออนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียง เฉพาะกิจการใดกิจการหน่ึง โดยเป็นการหลอมรวม กิจการโทรทัศน์ หรือกิจการโทรคมนาคม เพ่ิมเติม ในมิติคล่ืนความถี่และท�ำให้เกิดการใช้คล่ืนความถ่ี จากการประกอบกิจการที่ได้รับอนุญาต โดยประกาศ และโครงข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลท�ำให้ ในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วนั ท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ผใู้ หบ้ รกิ ารสามารถพฒั นาหรอื ผลติ การใหบ้ รกิ ารใหม ่ ๆ ที่หลากหลาย เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการและ ๑.๒ การออกประกาศ กสทช. เรื่อง แผน กระตนุ้ การบรโิ ภคของประชาชน รวมทง้ั ทำ� ใหเ้ ศรษฐกจิ แมบ่ ทการบรหิ ารคลนื่ ความถ่ี ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๔) ของประเทศขยายตัวมากยิ่งข้ึน โดยพระราชกฤษฎีกา ให้ใช้บังคับบทบัญญัติตามที่ก�ำหนดในมาตรา ๓๐ ได้ปรับปรุงประกาศ กสทช. เร่ือง วรรคหนง่ึ แหง่ พระราชบญั ญตั อิ งคก์ รจดั สรรคลนื่ ความถ่ี แผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ (พ.ศ. ๒๕๖๒) ในส่วนของภาคผนวก ก (รายละเอียดเก่ียวกับ คล่ืนความถี่ท่ีก�ำหนดให้ใช้ในกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม และกิจการอ่ืน) ภาคผนวก ข (แนวทางสำ� หรบั การเรยี กคืนคลนื่ ความถ่ี

46 รายงานผลการปฏิบัติงาน กสทช. ประจ�ำปี ๒๕๖๔ แนวทางในการคืนคล่ืนความถ่ีเพื่อน�ำไปจัดสรรใหม่ • การใชค้ ลนื่ ความถยี่ า่ น ๖ กกิ ะเฮริ ตซ์ และแนวทางในการปรับปรุงการใช้คล่ืนความถี่ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๖)) และตารางกำ� หนดคลน่ื ความถี่ ปัจจุบันการพัฒนาอุปกรณ์ส่ือสารประเภทใหม่เพ่ือ แหง่ ชาติ(พ.ศ.๒๕๖๒)โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา รองรับการใช้งานคลื่นความถ่ีย่าน ๖ กิกะเฮิรตซ์ เม่ือวันท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ เพ่ือให้สอดคล้องกับ (ย่านความถ่ี ๕.๙๒๕ - ๗.๑๒๕ กิกะเฮิรตซ์) ได้รับ บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคล่ืน ความสนใจอย่างแพร่หลายในระดับนานาชาติ และมี ความถฯ่ี (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ และรองรบั บทบญั ญตั ิ บางประเทศไดก้ ำ� หนดแนวทางกำ� กบั ดแู ลและประกาศ การหลอมรวม (Convergence) การด�ำเนินการตาม อนุญาตให้มีการจ�ำหน่ายและใช้งานอุปกรณ์ที่รองรับ แผนและกรอบระยะเวลาในการตราพระราชกฤษฎีกา คล่นื ความถ่ดี ังกลา่ วแล้ว ดังนั้น จึงได้ศึกษาการพฒั นา ตามมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรร เทคโนโลยีใหม่ในระดับสากลท่ีรองรับคลื่นความถ่ีย่าน คล่ืนความถ่ีฯ รวมถึงพันธกรณีตามข้อบังคับวิทยุ ๖ กิกะเฮิรตซ์ เช่น WiFi6E และ 5G NR/NR-U ค.ศ. 2020 ของสหภาพโทรคมนาคมระหวา่ งประเทศ และแนวนโยบายการก�ำกับดูแลการใช้เทคโนโลยีใหม่ ซ่ึงการออกประกาศฯ ดังกล่าว จะส่งผลให้ผู้มีส่วน ของต่างประเทศ การวิเคราะห์แนวโน้มที่เป็นไปได้ เก่ียวข้องในการใช้คลื่นความถ่ีทุกภาคส่วนได้ทราบ ส�ำหรับประเทศไทย รวมทั้งได้จัดการประชุมกลุ่มย่อย กรอบระยะเวลาในการเรียกคืนคล่ืนความถี่ การน�ำ (Focus Group) กบั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งรว่ มพจิ ารณา คลนื่ ความถ่ีเพอ่ื ไปจัดสรรใหม่ และการปรับปรุงการใช้ ข้อเสนอทางเลือกนโยบาย (Policy options) เพื่อ คลนื่ ความถี่ของประเทศในระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๒ -  กำ� หนดนโยบายและพฒั นาหลกั เกณฑก์ ารกำ� กบั ดแู ลให้ ๒๕๖๖) และเตรียมความพร้อมในส่วนที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องและกา้ วทนั เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมต่อไป ของ กสทช. ในภาพรวมทง้ั กจิ การกระจายเสยี ง กจิ การ โทรทศั น์ กจิ การโทรคมนาคม และกจิ การวทิ ยคุ มนาคม • การใช้คลื่นความถี่ย่าน ๔๕๐ - ๔๗๐ ๑.๓ การจัดท�ำแนวทางและพัฒนา เมกะเฮริ ตซ์ และ ๑๔๒๗ - ๑๕๑๘ เมกะเฮริ ตซ์ สำ� หรบั หลักเกณฑ์การใช้งานคลื่นความถี่ท่ีเก่ียวข้องเพ่ือ กิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล (IMT) ได้ศึกษา ก�ำหนดนโยบายในการบริหารจัดการคลื่นความถี่ท ี่ และสำ� รวจสถานะการใช้คลน่ื ความถ่ียา่ น ๔๕๐ - ๔๗๐ เหมาะสม อาทิ เมกะเฮิรตซ์ และ ๑๔๒๗ - ๑๕๑๘ เมกะเฮิรตซ์ ของ ประเทศไทย และต่างประเทศในปัจจุบัน มาตรฐาน • นโยบายเกี่ยวกับ Private 4G/5G ทางเทคโนโลยี กฎระเบียบที่เก่ียวข้อง รวมทั้ง ความพร้อมของอุปกรณ์ท่ีใช้งานส�ำหรับกิจการ IMT โดยได้ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการใช้งานฯ ภายใน ในคลื่นความถี่ย่านดังกล่าว โดยได้จัดการประชุม องค์กรต่าง ๆ รวมทง้ั ไดจ้ ัดประชุมสัมมนาใหค้ วามรู้แก่ กลุ่มย่อยกับภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง (Focus Group) องค์กรที่มีศักยภาพในการน�ำเทคโนโลยี 5G ไปใช้งาน เพ่ือรับฟังความคิดเห็นและได้จัดท�ำรายงานผล ตลอดจนการจดั ประชมุ กล่มุ ย่อย (Focus group) เพื่อ การศึกษาแนวทางและความเป็นไปได้ในการใช้คล่ืน รบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากกลมุ่ องคก์ รในภาคอตุ สาหกรรม ความถย่ี า่ น ๔๕๐ - ๔๗๐ เมกะเฮริ ตซ์ และคลน่ื ความถี่ กลุ่มผู้ผลิตอุปกรณ์ ผู้ให้บริการโทรคมนาคม และ ย่าน ๑๔๒๗ - ๑๕๑๘ เมกะเฮิรตซ์ ส�ำหรับกิจการ หน่วยงานท่ีมีส่วนสนับสนุนการใช้งาน (System โทรคมนาคมเคล่ือนท่ีสากล (IMT) เรียบร้อยแล้ว provider) ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือจัดท�ำแนวทางการใช้งาน โดยผลจากการศึกษาพบว่า ควรรอความพร้อม เทคโนโลยี 5G ในรูปแบบโครงข่ายเฉพาะองค์กร ของอุปกรณ์ก่อนปรับเปลี่ยนการใช้งานคล่ืนความถี่ (Private 5G Network) ส�ำหรับการก�ำหนดนโยบาย ย่าน ๔๕๐ - ๔๗๐ เมกะเฮิรตซ์ ส�ำหรับคลื่นความถ่ี และพัฒนาหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแลท่ีเกี่ยวข้องอย่าง ย่าน ๑๔๒๗ - ๑๕๑๘ เมกะเฮิรตซ์ ควรน�ำความถี่ที่ เหมาะสมตอ่ ไป ใช้ในกิจการประจ�ำที่ที่มีการใช้งานอยู่ในบางพื้นท่ีของ ประเทศไปใช้งานส�ำหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนท่ี สากล (IMT) ซ่ึงจะเป็นการใช้คลื่นความถ่ีได้เต็ม

ส่วนท่ี ๒ ผลการปฏิบัติงานที่ส�ำคัญของ กสทช. 47 ประจ�ำปี ๒๕๖๔ ประสิทธภิ าพและคุม้ ค่ากว่า โดย กสทช. จะน�ำผลที่ได้ ท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังข้อมูลทางเทคนิคในการใช้งาน จากการศกึ ษาดงั กลา่ วไปประกอบการพจิ ารณากำ� หนด คลื่นความถ่ีย่าน ๙๐๐ เมกะเฮิรตซ์ ส�ำหรับโครงข่าย นโยบายและพฒั นาหลกั เกณฑก์ ารปรบั ปรงุ คลนื่ ความถ่ี IMT และระบบอาณัติสัญญาณส�ำหรับระบบคมนาคม และแผนความถว่ี ทิ ยสุ ำ� หรบั กจิ การ IMT ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ให้ ขนส่งทางรางในประเทศไทยและต่างประเทศ เพ่ือ สอดคลอ้ งและกา้ วทนั เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมต่อไป พิจารณามาตรการท่ีเหมาะสมต่อการใช้งานส�ำหรับ กิจการ IMT โดยไม่ก่อให้เกิดการรบกวนต่อระบบ • การทบทวนนโยบายในการก�ำหนด GSM-R และได้จัดประชุมกลุ่มย่อยกับภาคส่วนที่ เก่ียวข้อง (Focus Group) โดย กสทช. จะน�ำผลท่ีได้ คลื่นความถี่ย่าน ๘๐๐ เมกะเฮิรตซ์ ส�ำหรับภารกิจ จากการศกึ ษาดงั กลา่ วไปประกอบการพจิ ารณากำ� หนด ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และในกรณีที่เกิด นโยบายและพฒั นาหลกั เกณฑก์ ารกำ� กบั ดแู ลการใชง้ าน เหตุฉุกเฉินและภัยพิบัติ โดยที่ประกาศ กสทช. เร่ือง คลื่นความถี่ส�ำหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนท่ีสากล หลักเกณฑ์การใช้คลื่นความถี่เพื่อป้องกันและบรรเทา (IMT) ในคลืน่ ความถี่ย่าน ๙๐๐ เมกะเฮริ ตซ์ ทจี่ ดั สรร สาธารณภัย และในกรณีท่ีเกิดเหตุฉุกเฉินและภัยพิบัติ ส�ำหรบั ระบบคมนาคมขนสง่ อย่างเหมาะสมตอ่ ไป ก�ำหนดคล่ืนความถี่ย่าน ๘๐๐ เมกะเฮิรตซ์ ส�ำหรับ ภารกิจป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และในกรณีท่ี • การใชค้ ลน่ื ความถสี่ ำ� หรบั กจิ การทาง เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ เพอ่ื ตดิ ตอ่ สอ่ื สารดว้ ยเสยี ง และข้อมูลความเร็วสูง (Broadband) ดังนั้น วิทยาศาสตร์ในประเทศไทย ปัจจุบันมีการใช้งาน เพื่อให้การก�ำหนดคล่ืนความถ่ีย่าน ๘๐๐ เมกะเฮิรตซ์ คล่ืนความถ่ีส�ำหรับกิจการทางวิทยาศาสตร์ดังกล่าว ส�ำหรับภารกิจป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฯ อยใู่ นวงจำ� กดั หรอื เฉพาะหนว่ ยงานทม่ี ภี ารกจิ เฉพาะดา้ น มีความเหมาะสมสอดคล้องสถานการณ์ปัจจุบัน จึงได้ อาทิ กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา สถาบนั วจิ ยั ดาราศาสตรแ์ หง่ ชาติ ศึกษาและส�ำรวจสถานะการใช้คลื่นความถี่ย่าน (องค์การมหาชน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ๘๐๐ เมกะเฮิรตซ์ ส�ำหรับภารกิจป้องกันและบรรเทา ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ สาธารณภัยฯ ของประเทศไทยในปัจจุบัน และความ (องค์การมหาชน) เป็นต้น ประกอบกับการใช้งานใน สอดคล้องกับสากล พร้อมท้ังจัดประชุมกลุ่มย่อยกับ กิจการทางวิทยาศาสตร์เป็นการใช้งานในหลากหลาย ภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง (Focus Group) เพื่อเสนอแนะ รปู แบบและบางกรณไี มไ่ ดม้ กี ารรวบรวมจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู แนวทางการทบทวนนโยบายในการกำ� หนดคลนื่ ความถ่ี การใช้คลื่นความถี่ของประเทศไทย ดังน้ัน เพ่ือให้ ย่าน ๘๐๐ เมกะเฮิรตซ์ ส�ำหรับภารกิจป้องกันและ ฐานขอ้ มลู การใชง้ านคลน่ื ความถด่ี งั กลา่ วมกี ารปรบั ปรงุ บรรเทาสาธารณภัย และในกรณีท่ีเกิดเหตุฉุกเฉิน ให้เป็นปัจจุบันและสามารถน�ำไปใช้อ้างอิงประกอบ และภัยพิบัติ โดย กสทช. จะน�ำผลที่ได้จากการศึกษา การพิจารณาจัดสรรคลื่นความถี่ รวมท้ังใช้เป็นข้อมูล ดังกล่าวไปประกอบการพิจารณาก�ำหนดนโยบาย ประกอบการจดั ทำ� ทา่ ทขี องประเทศไทยในการประชมุ และพัฒนาหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแลท่ีเก่ียวข้องอย่าง ด้านการบริหารคลื่นความถี่ในระดับสากล จึงได้ เหมาะสมตอ่ ไป ศึกษาและส�ำรวจข้อมูลการใช้คล่ืนความถ่ีส�ำหรับ กิจการทางวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย การรวบรวม • การใชง้ านคลนื่ ความถสี่ ำ� หรบั กจิ การ ข้อมูลการใช้งานคลื่นความถี่ฯ โดยจะได้จัดประชุม ร ่ ว ม กั บ ห น ่ ว ย ง า น ท่ี เ ก่ี ย ว ข ้ อ ง ด ้ า น กิ จ ก า ร ท า ง โทรคมนาคมเคล่ือนท่ีสากล (IMT) ในคล่ืนความถี่ วิทยาศาสตร์เพ่ือหารือแนวทางการรวบรวมข้อมูล ย่าน ๙๐๐ เมกะเฮิรตซ์ ท่ีจัดสรรส�ำหรับระบบ การใช้งานคลื่นความถ่ีฯ ต่อไป โดย กสทช. จะน�ำผล คมนาคมขนส่งทางราง เพ่ือให้การใช้งานคล่ืนความถ่ี ที่ได้จากการศึกษาดังกล่าวไปประกอบการพิจารณา ย่าน ๘๘๕ - ๘๙๐ และ ๙๓๐ - ๙๓๕ เมกะเฮิรตซ์ ก�ำหนดนโยบายและพัฒนาหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแล มีความคุ้มค่าและเกิดประโยชน์อย่างท่ัวถึง จึงได้ ท่เี กีย่ วขอ้ งอย่างเหมาะสมตอ่ ไป ด�ำเนินการศึกษาและส�ำรวจสถานะการใช้คลื่นความถ่ี ย่านดังกล่าวของประเทศไทยในปัจจุบัน กฎระเบียบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook