Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

ส า ร า นุ ก ร ม



๒ สารานกุ รมวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา พระครูศรีป๎ญญาวกิ รม,ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ISBN: พิมพค์ รงั้ แรก ๒๕๖๓ จํานวน ๕๐๐ เล่ม ราคา ๔๐๐ บาท คณะทางาน พระมหาพจน์ สวุ โจ,ผศ.ดร. พระปลัดกติ ติ ยุตธิ โร,ดร. รศ.วเิ ชยี ร ชาบุตรบณุ ฑริก ดร.บรรพต แคไธสง ดร.ภัฏชวัชร์ สุชเสน นายมงคล สอนไธสง National Library of Thailand Cataloging in Publication Data พระครศู รีป๎ญญาวิกรม สารานุกรมวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา –นครปฐม: สาละ พมิ พการ, 2563. 573 หนา้ . 1.----------------I. ชอ่ื เร่ือง. ISBN: จดั ทาํ โดย : บณั ฑติ ศกึ ษา สาขาวชิ าปรชั ญา วทิ ยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ พิมพท์ ่ี : สาละพิมพการ ๙/๖๐๙ ซอยกระท่มุ ลน้ ๖ ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ต.กระทมุ่ ลน้ อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๒๐ โทร.๐๒-๔๒๙-๒๔๕๒ email: [email protected]

๓ คานา ตั้งแต่ปี ๒๕๖๐ เป๐นต้นมา ได้รับผิดชอบบรรยายในรายวิชางานวิจัยและ วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา แดน่ สิ ติ ช้ันปที ่ี ๒ ซง่ึ เป๐นรายวิชาท่ีเป๐นข้อสอบกลาง ทํา ให้มีโอกาสอ่าน และทบทวนงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาหลายเรื่อง ประกอบ ความสนใจพเิ ศษเป๐นการส่วนตัว จงึ ได้ศกึ ษาค้นควา้ งานวรรณกรรมอ่ืนๆ ที่อยู่นอกเหนือ แนวสังเขปรายวิชา เห็นเป๐นประโยชน์ จึงได้จัดทําบันทึกรายละเอียดเอาไว้ บางเร่ืองก็ จัดทําคําอธิบาย หรือกําหนดประเด็นเพื่อนําไปสู่การวิเคราะห์ สังเคราะห์ บางเร่ืองก็ นําเสนอขอ้ มลู ดิบ เพ่อื ใช้ข้อมูลประกอบฝกึ ให้นิสิตได้รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ บางเรื่อง เก็บรายละเอียดจากงานวิจัย บางเรื่องอ่านแล้วก็เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์เขียนลงในเฟส บุคเป๐นตอนๆ เม่ือมีโอกาสจึงได้ประมวลเพ่ือเผยแพร่ ทั้งน้ีมีจุดประสงค์เพียงประการ เดียวคือ เป๐นคู่มอื ให้นิสติ ได้คน้ ควา้ เพม่ิ เติมได้สะดวกขน้ึ เมอ่ื เหน็ วา่ มีขอ้ มลู มากข้ึนเรื่อย มีข้อจํากัดในการนําเสนอ จึงได้ใช้แนวทาง ของนามานุกรม หรือสารานุกรมมาช่วยในการจัดหมวดหมู่เพื่อนําเสนอให้ดูมีระเบียบ แบบแผนขนึ้ อยา่ งไรกต็ าม การนําเสนอในคร้ังนี้ก็มีลักษณะเฉพาะ อาจจะกล่าวว่า เป๐น แบบแผนที่อิสระถือตามความพอใจของผเู้ รียบเรยี งเป๐นเกณฑ์ จงึ ทําให้เน้อื หาอาจมีความ ลักหลน่ั อยูบ่ ้าง ซึ่งจะได้หาทางแก้ไข ปรบั ปรงุ ในโอกาสต่อไป งานครง้ั น้ี ไมอ่ าจสําเรจ็ ลุล่วงได้ หากไม่มีผูบ้ ุกเบิกศึกษาค้นคว้ามาก่อนหน้า นี้ เฉพาะอยา่ งยง่ิ งานวรรณหลายเรือ่ ง ต้นฉบับเป๐นภาษาบาลีก็มี เป๐นภาษาสันสกฤตก็มี เป๐นภาษาขอมก็มี ซ่ึงเหลือวิสัยท่ีผู้เรียบเรียงจะถอดความออกมาเป๐นภาษาไทยเอง ความสําเร็จในการจัดทําคร้ังน้ี จึงขึ้นอยู่กับเจ้าของผลงานเหล่าน้ันด้วย เฉพาะอย่างย่ิง งานวิจัยระดับปริญญาโท และปริญญาเอกที่มีลักษณะเป๐นการตรวจชําระ และแปล ออกมาเป๐นภาษาไทยจากหลายมหาวิทยาลัยที่ปรากฏรายละเอียดอยู่แล้วในเนื้อหา จึง ขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนีเ้ ป๐นอยา่ งยิง่ พระครูศรปี ๎ญญาวิกรม ผู้อาํ นวยการหลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา สาขาวิชาปรัชญา วิทยาลยั สงฆบ์ ุรีรมั ย์

๔ สารบัญ คานา กิตตกิ รรมประกาศ สารบัญ ตอนท่ี ๑ แนวคดิ และทฤษฎกี ารประพนั ธ์วรรณกรรมบาลี ๑.๑ นยิ ามและความหมายวรรณกรรม ๑.๒ ประเภทวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๓ คณุ ลักษณะที่ดขี องวรรณกรรม ๑๐ ประการ ๑.๔ โวหารท่ใี ช้ในวรรณกรรม ๖ ประการ ๑.๕ รสของงานวรรณกรรม ๙ ประการ ๑.๖ แนวทางในการเขียนวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๑๖ ประการ ตอนที่ ๒ สารานกุ รมวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา หมวด ก กังขาวติ รณี กจั จายนสารมญั ชรี กรรมทปี นี หมวด ข หมวด ค คนั ถาภรณมญั ชรี หมวด ฆ หมวด ง หมวด จ จกั รทปี นี จกั กวาฬทปี นี จนั ทสรุ ิยคติทปี นี จามเทววงศ์ จูฬคันถวงศ์, พระคัมภรี ์ หมวด ฉ หมวด ช ชาตกฏั ฐกถา ชินกาลมาลีปกรณ์

๕ ชินจริต,คัมภรี ์ ชนิ มหานิทาน ชินาลงั การ ชินาลงั การฎกี า หมวด ฌ หมวด ญ หมวด ฏ หมวด ฐ หมวด ฑ หมวด ฒ หมวด ณ หมวด ต เตลกฏาหคาถา ตํานานมลู ศาสนา ไตรภมู ิกถา ไตรภมู โิ ลกวนิ จิ ฉัย หมวด ถ ถปู วงศ์ หมวด ท ทันตธาตุนิธาน ทาฐาธาตวุ งศ์ ทีปวงศ์ หมวด ธ ธัมมปทัฏฐกถา หมวด น นมกั การฎกี า เนตตปิ กรณ์ หมวด ป ปปญ๎ จสูทนีอรรถกถา ปฐมสมโพธิกถา ปรมัตถโชติกา

๖ ปรมตั ถทีปนี ปรมตั ถทีปนี ปรติ ตสงั เขป ปช๎ ชมธุ ป๎ญจคติทปี นี ป๎ญจปกรณ์ เปฏโกปเทสปกรณ์ หมวด ผ หมวด พ พระพุทธบาทมงคล พระมาลยั คําหลวง พงษาวดารกรุงศรอี ยธุ ยา โพธจิ รรยาวตาร หมวด ภ หมวด ม มธรุ ัตถวิลาสินี มโนรถปรู ณี มธรุ สวาหนิ ี มังคลัตถทีปนี มาเลยยเทวัตเถรวัตถุ มาลัยยวัตถทุ ีปนฎี กี า มลิ นิ ทป๎ญหา มลิ ินทปญ๎ หาฎกี า หมวด ย โยชนามูลกัจจายนะ หมวด ร รัตนพมิ พวงศ์ หมวด ล โลกทปี นี โลกัปป์ทีปกสาร โลกุปป๎ตติ

๗ โลกเนยยปกรณ์ โลกบัญญัติ โลกสัณฐานโชตรตนคัณฐี หมวด ว วชริ สารัตถสงั คหะ วังสมาลีนี วมิ ุตตมิ รรค วิสทุ ธชนวิลาสินี วสิ ทุ ธมิ รรค วสิ ทุ ธิมคั คคณั ฐี วตุ โตทยั เวสนั ตรทีปนี หมวด ส สมนั ตปาสาทกิ า สยามปู ทสมั ปทา สงั คตี ยิ วงศ์ สงั ขยายปกาสกปกรณ์ สังขยาปกาสกฎีกา สัทธัมมป๎ชโชตกิ า สัทธัมมปกาสินี สัทธรรมสงั คหะ สัมพันธจินดา สัมโมหวิโนทนี สารัตถปกาสนิ ี สตุ ตสังคหะ สโุ พธาลังการ สุมังคลวิลาสนิ ี หมวด ศ ศาสนวงศ์ หมวด ห หมวด ฬ

๘ หมวด อ อเผคคุสารทีปนจี ฬู ฎกี า อนาคตวงศ์ อภิธัมมาวตาร อรุณวดสี ตู ร อฏั ฐสาลนิ ี บรรณานุกรม ประวัติผู้เขยี น

๙ ตอนที่ ๑ ความร้เู บ้อื งตน้ เกยี่ วกบั วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๑ นิยามและความหมายวรรณกรรม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้นิยาม “วรรณกรรม” ว่า งาน หนังสือ, งานประพันธ์, บทประพันธ์ทุกชนิด ทั้งที่เป๐นร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ วรรณกรรมฝร่ังเศส วรรณกรรมประเภทสื่อสารมวลชน และเราเรียกงานวรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดีมี คุณคา่ เชงิ วรรณศิลปถ์ ึงขนาด เช่น พระราชพธิ ีสิบสองเดือน, มัทนะพาธา, สามก๊ก, เสภา เรอื่ งขนุ ชา้ งขุนแผน เป๐นตน้ วา่ วรรณคดี๑ แนวคิดและทฤษฎีในการประพันธ์วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา มี พรรณนาไว้ในคัมภีร์สุโพธาลังการ มีเน้ือหาค่อนข้างจะวิจิตรพิสดาร หากนํามาแสดง ท้ังหมด เน้ือหาก็อาจจะเฝือ เกินกําลัง และเกินวัตถุประสงค์ในที่นี้ จึงคัดเฉพาะท่ี เห็นสมควร เหมาะสม และเพียงพอสําหรับการใช้เป๐นอุปกรณ์สําหรับการวิเคราะห์ วรรณกรรมซงึ่ จะกลา่ วถึงข้างหนา้ ๑.๒ ประเภทวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา บทประพันธ์วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาโดยทั่วไปแล้วมี ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑. ปชั ชะ ประเภทร้อยกรอง/คาถาประพันธ์ ประเภทเรียบเรียงถ้อยคําให้ เปน๐ ระเบียบตามบัญญัตแิ ห่งฉันทลักษณ์ เช่น ธรรมบท, ชาดก, รัตนสูตร, ติโรกุฏฏสูตร, นิธกิ ณั ฑสตู ร, เมตตสตู ร, เป๐นตน้ ป๎ชชะ ยังแบ่งออกเป๐น ๔ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑] มุตตกะ ประเภทร้อยกรองท่ีจบในคาถาเดียว หรือมีเพียง ๔ บาท เท่านนั้ เชน่ คาถาในหมวดเอกนิบาตของชาดก, เถรคาถา เถรีคาถา เป๐นตน้ , ๒] กุลกะ ประเภทร้อยกรองท่ีจบใน ๒-๕ คาถา เช่น คาถาในหมวด ปญ๎ จกนบิ าตของชาดก, เถรคาถา, เถรคี าถา เปน๐ ต้น, ๑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, [กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๖], หนา้ ๑๑๐๐.

๑๐ ๓] โกสะ ประเภทร้อยกรองท่ีมีต้ังแต่ ๖ คาถาข้ึนไป แต่มีหลายเร่ือง เชน่ คาถาในคมั ภีร์อภิธานปั ปทปี ิกา, เอกักขรโกศ, อมรโกศ เป๐นต้น และ ๔] สังฆาตะ ประเภทร้อยกรองท่ีมีตั้งแต่ ๖ คาถาไป แต่เป๐นเร่ือง เดยี วกนั ตลอด เชน่ คาถาในคัมภีรเ์ มฆทูต หมวดฉักกนบิ าตของชาดก เปน๐ ต้น ๒. คัชชะ ประเภทร้อยแก้ว/จุณณิยะ หรือความเรียงที่สละสลวยไพเราะ เหมาะเจาะดว้ ยเสียงและความหมาย เช่น พรหมชาลสูตร, สามญั ญผลสตู ร, อัมพัฏฐสูตร, โสณทัณฑสูตร, กูฏทันตสูตร, มหาลิสูตร,ชาลิยสูตร, มหาสีหนาทสูตร, โปฏฐปาทสูตร เป๐นตน้ แบง่ เปน๐ ๒ ประเภท ได้แก่ ๑] อาขยายิกะ ได้แก่เร่ืองจริงที่กล่าวถึงเหตุการณ์อย่างใดอย่างหน่ึง เช่น ชีวประวัติ เป๐นต้น, ๒] กถา ได้แกเ่ ร่ืองทีแ่ ตง่ ข้นึ เช่น นิทาน เป๐นต้น ๓. วิมิสสะ ประเภทร้อยแก้วผสมร้อยกรอง เช่น มงคลสูตร, ธชัคคสูตร ,ปฐมโพธิสตู ร, พาหิยสูตร, เปน๐ ตน้ ๑.๓ คุณลักษณะที่ดีของวรรณกรรม ๑๐ ประการ งานวรรณกรรมทด่ี ี และได้รับการยอมรบั ควรมีลกั ษณะอย่างไร ในคัมภีร์สโุ พธาลงั การ ซ่งึ ถือกันว่าเป๐นศาสตร์ของการประพันธ์หนังสือของ ปกรณฝ์ ุายบาลี ไดว้ างหลักเกณฑก์ ารประพันธ์ทีด่ ไี ว้ ดงั น้ี ปสาโทโช มธุรตา สมตา สุขุมาลา สิเลโสฬารตา กนฺติ อตฺถพยฺ ตฺติสมาธโยฯ แปล คุณ ๑๐ คือ ปสาทคุณ, โอชคุณ, มธุรตาคุณ, สมตาคุณ, สุข มาลตาคณุ , สเิ ลสคุณ, อทุ ารตาคณุ , กันตคิ ุณ, อัตถพยัตติคุณ, และสมาธิคณุ พระสังฆรักขิตมหาสวามีเถระ ได้ยํ้าว่า ถ้าต้องการจะเป๐นนักประพันธ์ท่ีมี ชื่อเสียง มีคนนิยมนับถือ จะต้องเขียนคาถา หรือเพลง กาพย์ กลอน นวนิยาย เป๐นต้น ใหม้ อี งค์คณุ ทั้ง ๑๐ ประการ ดงั ตอ่ ไปน้ี๒ ๑. ปสาทคณุ คุณทีน่ ่าเลอ่ื มใส คอื สมั พันธ์ใกล้ไม่ยุ่งยาก บทรู้ได้ง่าย คอื เวน้ จากพยากณิ ณโทส [สัมพันธ์ไกล] คือต้องสัมพันธ์บทใกล้กัน และ กิลิฏฐโทส [บท แยกธาตุ วิภตั ติ ป๎จจัยยาก] คือใช้ศพั ท์ที่รูไ้ ด้ง่าย เนื้อความชดั เจน ๒ พระสงั ฆรกั ขติ มหาสามเิ ถระ, คมั ภรี ส์ โุ พธาลังการนิสสยะ, [สงขลา: วดั หาดใหญส่ ิตาราม, ๒๕๔๓], หน้า ๑๔๘.

๑๑ ตัวอยา่ ง อลงฺกโรนตา วทนํ มุนิโน‖ธรรสํ โิ ย, โสภนเฺ ต‖รุณรํสี‖ว สมปฺ ตนตฺ า‖มพฺ โุ ชทเรฯ แปล อ.พระรัศมีแห่งพระโอษฐ์ ท. ของพระจอมมุนี ประดับอยู่ ซึ่ง พระพกั ตร์ ของพระจอมมนุ ี ย่อมงดงาม เพียงดังแสงอรุณ อันตกไปอยู่ ในห้องแห่งปทุม แดง๓ ในที่น้ี การสัมพันธ์ของแต่ละบทใกล้กันคือ อธรรํสิโย สัมพันธ์กับ มุนิโน, อลงฺกโรนตา สัมพันธ์กับ วนทฺ นํ เป๐นตน้ และแต่ละบทรู้ได้ง่าย ไม่ลําบากในการแยกธาตุ ป๎จจัย เป๐นตน้ ลกั ษณะเชน่ น้ี เรยี กว่ามปี สาทคณุ คือคณุ ท่นี า่ เล่ือมใส ๒. โอชาคุณ ซาบซงึ้ ตรงึ ใจ มี ๒ ประเภท คอื ๑] สัททโอชคุณ คือ บทที่มีสมาสมาก, ๒] อัตถโอชคุณ มี ๒ ประเภทคือ สมาสอัตถโอชคุณ ย่อความ, พยาสอัตถโอชคุณ ขยายความ คือการเขียนให้มีบทสมาสมากๆ ในทางประพันธ์ถือว่า เปน๐ การประกาศภูมริ ้ทู างดา้ นการประพันธข์ องผู้ประพันธ์ ตวั อยา่ ง มนุ นิ ฺท มนทฺ สํชฺ าต- หาส จนฺทน ลมิ ฺปิตา, ปลลฺ วา ธวลา ตสฺเส เวโก นาธรปลลฺ โวฯ แปล อ.ใบไม้อ่อน ท. อันถูกไล้ทาแล้วด้วยจันทร์กล่าวคือพระ หรรษาอันแย้มข้ึนหน่อยหนึ่งของพระจอมมุนี [มุนินฺทมนฺทสํฺชาตหาสจนฺทนลิมฺปิตา] อันมีสีขาวดุจดงั เพชร อ.ใบไมอ้ อ่ นคอื รมิ พระโอษฐ์สง่ิ เดยี วเท่านนั้ [เอโก เอว อธรปลฺลโว] ของพระจอมมุนีพระองคน์ ัน้ ไมเ่ ป๐นสีขาวคอื มสี ีแดงดังเดมิ ๔ ตวั อย่างกรณีการเขียนเนอื้ ความพสิ ดารใหย้ อ่ โชตยติ ฺวาน สทฺธมมฺ ํ สนฺตาเรตวฺ า สเทวเก, ชลิตวฺ า อคคฺ ิขนฺโธ‖ว นิพพฺ โุ ต โส สสาวโกฯ แปล อันว่าพระพุทธเจ้าพระองค์น้ัน [โส] ผู้เป็นไปกับด้วยพระ สาวก [สสาวโก] ยังพระสัทธรรม ให้รุ่งเรืองแล้ว ยังชนท้ังหลายอันเป็นไปพร้อมด้วย เทวดา [สเทวเก] ให้ข้ามกระแสแห่งสงั สารวฏั ฏแ์ ลว้ ทรงรงุ่ เรืองแลว้ เพยี งดงั กองแหง่ ไฟ เสดจ็ ดบั ขนั ธ์แล้ว๕ ๓ พระสังฆรกั ขติ มหาสามเิ ถระ, คัมภีร์สโุ พธาลงั การนิสสยะ, หน้า ๑๕๒. ๔ พระสังฆรักขิตมหาสามิเถระ, คัมภีร์สโุ พธาลังการนสิ สยะ, หนา้ ๑๕๔. ๕ พระสังฆรักขติ มหาสามิเถระ, คมั ภีร์สุโพธาลงั การนิสสยะ, หนา้ ๑๕๖.

๑๒ ตัวอยา่ งความพิสดารทาใหย้ อ่ หนทฺ ทานิ ภิกฺขเว อามนตฺ ยามิ โว วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ ฯ๖ บาลีประโยคนี้ แสดงใจความแห่งพระธรรมเทศนาตลอด ๔๕ พรรษา ด้วย การให้ตั้งอยู่ด้วยความไมป่ ระมาท ตวั อย่างการเขียนความยอ่ ใหพ้ สิ ดาร นตฺถิ ชาติ ชรา พยาธิ มรณํจฺ มหามเุ น, อชรามรณํ ปุรํ คมิสฺสามิ อสงฺขตํฯ แปล ข้าแตพ่ ระมหามุนี ความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ไม่ มีอยู่ [ยตฺถ] ในที่ใด หม่อมฉันจักไปสู่เมืองที่ไม่มีความแก่ ความตาย ไม่มีป๎จจัยปรุงแต่ง น้นั ๗ ประโยคน้ี มีความหมายแต่เพียงว่า พระนางยโสธราเถรี ประสงค์จะทูลลา พระพทุ ธเจ้าไปปรินิพพาน แต่แทนที่จะใช้ข้อความว่า ปรินิพฺพายิสฺสามิ คําเดียวเท่าน้ัน แต่กล่าวสภาพของนพิ พานไวอ้ ยา่ งพสิ ดาร ๓. มธุรตาคุณ คุณที่มีความอ่อนหวาน คือ มีเสียงไพเราะ เพราะใช้ อักษรฐานเดียวกันเป๐นต้น หรืออักษรตัวเดียวกัน เช่น โน นานิโน, เมื่อม่ังมี, มิตรหมาย มอง เป๐นต้น มธุรตาคุณ แบ่งออกเป๐น ๒ ประการ คือ ๑] ปทาสตฺติมธุรตาคุณ คุณคือ ความออ่ นหวานแหง่ บทประพันธ์ทมี่ เี สยี งทีฆะ รสั สะ ฐาน สังโยค สิถิล ธนิตใกล้กัน หรือ เหมือนกัน ๒] อนปุ ปฺ าสมธรุ ตาคณุ คณุ คอื ความอ่อนหวานท่ีมีการใช้อักษรตัวเดียวซ้ํากัน บ่อยๆ ตวั อย่าง ปทาสตฺตมิ ธุรตาคุณ ยทา เอโส‖ภิสมฺโพธึ สมฺปตฺโต มนุ ปิ ุงคฺ โว ตทา ปภุติ ธมฺมสสฺ โลเก ชาโต มหสุ สฺ โวฯ แปล พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐพระองค์นั้น ทรงบรรลุแล้ว ซ่ึง อรหัตตมรรคญาณ และสัพพัญํุตญาณ ในกาลใด ความเจริญมาก แห่งพระธรรม เกดิ ข้นึ แล้ว ในโลก จาํ เดิมแตก่ าลนัน้ ๘ ๖ พระสงั ฆรักขติ มหาสามเิ ถระ, คมั ภีร์สโุ พธาลงั การนสิ สยะ, หน้า ๑๕๗. ๗ พระสังฆรักขติ มหาสามเิ ถระ, คมั ภรี ์สุโพธาลงั การนสิ สยะ, หน้า ๑๕๘. ๘ พระสงั ฆรักขติ มหาสามิเถระ, คัมภรี ์สโุ พธาลังการนสิ สยะ, หนา้ ๑๖๑.

๑๓ คาถาน้ี มี อา เอ โอ เปน๐ ทฆี ะเหมือนกนั หลายตวั มี ภิ ธิ เปน๐ ธนิตอักษรเหมือนกนั มี สมฺ สมฺ ปตฺ เปน๐ สงั โยคเหมอื นกัน มี มุ นิ ค เป๐นรัสสะเหมือนกนั มี ส ต เปน๐ ทนั ตชะ เกดิ ทฟี่ ๎นเหมอื นกัน เป๐นต้น สํานวนในภาษาไทย ที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ เช่น “เกิดแก่เจ็บตาย, ทุกข์ ยากมากมาย, แหวกว่ายสายชล, กิเลสตัณหามายาสับสน, ป้วนเปี้ยนเวียนวน, หลง กลสังขาร” ตวั อยา่ ง อนปุ ฺปาทสมธุรตาคณุ ปสสฺ ติ ปสโฺ ส ปสฺสนตฺ ํ อปสฺสนตฺ ํจฺ ปสสฺ ติ อปสสฺ นฺโต อปสสฺ นตฺ ํ ปสฺสนตฺ ํฺจ น ปสสฺ ตฯิ ๙ แปล ผูม้ ตี าดี ย่อมเหน็ ซ่งึ ผมู้ ีตาดดี ว้ ย ยอ่ มเห็น ผู้มีตาบอดด้วย, ผู้มี ตาบอด ยอ่ มไม่เหน็ ซ่ึงคนตาบอดดว้ ย ซ่งึ คนตาดดี ว้ ย คาถาน้ี มีเสียง ปสฺส และ นฺต ซํ้ากันหลายคร้ัง สวดแล้วเสียงไพเราะมาก คลา้ ยกันสาํ นวนในภาษาไทย วา่ เมอ่ื มั่งมีมากมายมิตรหมายมอง เมือ่ มวั หมองมิตรมองเหมือนหม่หู มา เม่อื ไม่มีมิตรเมนิ ไมม่ องมา เมือ่ มอดมว้ ยแม้หมูหมาไม่มามอง๑๐ อน่ึง ตามนัยแห่งคัมภีร์สันกฤต ได้แสดงนัยแห่งการใช้อักษรซํ้านี้ว่า ถึงแม้ จะใช้อักษรซํ้า กไ็ ม่ควรใช้คําสิถิลอกั ษรทั้งหมด ควรมีธนติ อยูบ่ า้ ง ๔. สมตาคุณ คุณที่มีเสียงเสมอกัน คือ ใช้ศัพท์ที่มีเสียงเสมอกัน เพราะใช้สถลิ อักษรมาก จําแนกประเภท ๓ ประการ คอื ๑] เกวลมุทุสมตาคุณ ออกเสียง อ่อน เพราะทั้ง ๔ บาท มีธนิตอักษร ๑ ถึง ๒ ตัว เท่านั้น นอกนั้นเป๐นสิถิลอักษร ๒] เกลวผุฏสมตาคุณ ออกเสียงแข็ง เพราะมีธนิตอักษรได้บาทละ ๓ ตัว และ ๓] มิสสกสม ตาคุณ เสียงผสมกนั ทุกบาทมธี นติ อักษร ๑ ตวั ทเี่ หลอื เปน๐ สิถิลอกั ษร ตัวอยา่ ง เกวลมุทสุ มตาคุณ โกกลิ าลาปสวํ าที มุนินทฺ าลาปวิพฺภโม ๙ พระสงั ฆรักขติ มหาสามเิ ถระ, คมั ภรี ์สโุ พธาลังการนสิ สยะ, หน้า ๑๖๓. ๑๐ พระสังฆรกั ขติ มหาสามเิ ถระ, คมั ภีร์สโุ พธาลงั การนสิ สยะ, หนา้ ๑๖๔.

๑๔ หทยงฺคมตํ ยาติ สตํ เทติ จ นิพพฺ ตุ ึฯ เสยี งกระด้างในบาทนี้ ได้แก่ ภ ในบาทที่ ๒ ตวั อยา่ ง เกลวผุฏสมตาคณุ สมภฺ าวนียสมฺภาวํ ภควนฺตํ ภวนตฺ คุ ํฃ ภวนฺตสาธนากงฺขี โก น สมภฺ าวเย วภิ ํฃ เสียงเข็งในคาถาน้ี ได้แก่ ภา ในบาทแรก และ ภํฃ ในท่ีสุดคาถา ขณะเดียวกัน ทา่ มกลางก็มเี สยี งแขง็ อกี มาก ตวั อยา่ ง มสิ สกสมตาคุณ ลทธฺ จนฺทนสํสคคฺ - สุคนฺธิ มาลยานโิ ล มนทฺ ‖มายาติ ภโี ต‖ว มุนินทฺ มุขมารุตาฯ คณุ คอื ความไพเราะ เพราะออกเสียงอ่อนและเสียงแข็งผสมกนั ในแตล่ ะบาท มอี ักษรเสียงแข็ง ๑ ตัว ในที่ได้แก่ ลทธฺ ในบาทแรก และ มารุต ทส่ี ุดของคาถา ๕. สขุ มุ าลตาคุณ คณุ ที่มคี าํ พูดออ่ นๆ คือ คณุ อนั ไม่มีอักษรสวดยาก ซ่ึง ตามหลกั เกณฑ์จะประกอบด้วย ๓ ลักษณะ คือ ๑] มีธนิต อักษรเสียงแข็งมาก บาทหน่ึง ไม่เกิน ๓ ตัว ๒] มีบทสนธิ สมาส และสังโยคที่สวดง่าย คือมีสิถิลอักษรมากกว่าธนิต อักษร และ ๓] มีอกั ษรปราศจากบทสนธิ สมาส หรือสงั โยคที่ออกเสียงยาก ตวั อย่าง [๑] ปสสฺ นฺตา รูปวิภวํ สณุ นตฺ า มธุรํ คริ ํ จรนตฺ ิ สาธู สมพฺ ทุ ฺธ- กาเล เกฬปิ รมฺมขุ าฯ [๒] อลงฺการวิหนี าปิ สตํ สมฺมขุ เต‖ทสิ ี อาโรหติ วิเสเสน รมณียา ตทชุ ชฺ ลาฯ [๓] โรมํจฺ ปิํฺฉ รจนา สาธุ วาทาหิตทธฺ นี สฬนฺติ‖เม มุนีเมฆมุ ฺ- มทา สาธุ สขิ าวลาฯ ๖. สีเลสคุณ คุณท่ีติดกัน คือ มีลักษณะ ๒ ประการ ได้แก่ ๑] มี บทสังโยคมาก และ ๒] ประกอบด้วยทีฆะ, ธนิต, และครุ ระคนในลักษณะติดกัน ทําให้ เกิดความน่ารืน่ รมย์ ตัวอยา่ ง [๑] พาลินทฺ ุวิพภฺ มจเฺ ฉทิ- นขราวลกิ นฺติภิ สา มนุ นิ ฺทปทมฺโภช- กนฺติ โว วลติ า‖วตํ คาถาน้ี เป๐น สเิ ลสคุณ เพราะสมบรู ณด์ ว้ ยลักษณะทั้งสองคือ บทสังโยคมาก ทีฆะ และธนติ มากในบาทตา่ งๆ เชน่ คําว่า พาลินฺทุ [โอฏฐฐาน,ทันตฐาน], วิพฺภม [ทันต

๑๕ ฐาน,โอฏฐฐาน], นขราวลิ [ทนั ตฐาน,กณั ฑฐาน, มุทธฐาน, โอฏฐฐาน], กนฺติภิ [กัณฐฐาน, ทันตฐาน], สา มนุ นิ ฺท [ทันตฐาน,โอฏฐฐาน, ทันตฐาน], ปทมฺโภช [โอฏฐฐาน, ทันตฐาน, โอฏฐฐาน], กนฺติ โว [กัณฐฐาน, ทันตฐาน, ทันโตฏฐฐาน], วลิตาวตํ [ทันโตฏฐฐาน, ทัน ตฐาน] ๑๑ ๗. โอฬารตาคุณ คณุ ทแ่ี สดงถึงคุณพเิ ศษยงิ่ มีเจตนา ศีล สมาธิ ป๎ญญา เปน๐ ต้น และตอ้ งเว้นโอจิตฺยหนี โทส โดยความก็คอื หากตอ้ งการให้การประพันธ์มี โอฬาร ตาคุณ จะต้องเขียนพรรณนาถึงคุณพิเศษยิ่งให้มากกว่าคนอื่นๆ แต่ต้องมิใช่เป๐นการโอ้ อวด คือตอ้ งเว้นจาก โอจิตฺยหีนโทส ตวั อย่าง [๑] ปาทมฺโภช รโช ลิตฺต- คตฺตา เย ตว โคตม อโห เต ชนตฺ โว ยนฺติ สพฺพถา นิรชตตฺ นฯํ แปล ข้าแต่พระโคดม สตั ว์เหล่าใด มีกายแปดเปื๒อนด้วยฝุนคือเกสร ที่ดอกบัวคือพระบาทของพระองค์ โอ น่าอัศจรรย์ สัตว์เหล่าน้ัน ย่อมถึงความเป๐นผู้ ปราศจากธลุ ีคือกิเลส โดยประการท้งั ปวง ตามปกติผู้เป๒ือนฝุน จะเป๐นผู้สะอาดหมดจดไม่ได้ แต่ในที่แสดงถึงคุณของ พระพทุ ธเจา้ นา่ อัศจรรย์ยิ่ง เพราะคนก้มกราบพระบาทของพระองค์แล้วเปื๒อนฝุน กลับ เปน๐ ผู้หมดจดจากธุลคี อื กิเลสได้ ด้วยการปฏบิ ตั ิตามธรรม ดังน้ัน จงึ เป๐นสิ่งที่น่าแปลก แต่ คณุ ของพระพุทธเจ้าอันใครๆ ไม่สามารถคิดได้ [๒] กามํ มํ สิวโย สพฺเพ ปพพฺ เชนตฺ ุ หนนฺตุ วา เนว ทานา วริ มิสสฺ ํ กามํ ฉินทฺ นตฺ ุ สตฺตธาฯ แปล แมช้ าวสิวที ั้งหลาย จงเนรเทศเรากด็ ี จงฆ่าเราก็ดี แม้จงตัดเรา ออกเปน๐ ๗ สว่ นกด็ ี เรากจ็ ักไมเ่ วน้ จากการใหท้ าน ความในคาถาน้ี แสดงเจตนาในการบริจาคทานว่ายิ่งใหญ่มาก แม้จะต้องถูก เนรเทศ ถกู ฆา่ ถูกห่นั ออกเปน๐ ๗ ทอ่ น กไ็ มล่ ะเจตนาน้ัน ความในสํานวนภาษาไทย เช่น “นํ้าดืม่ ยงั ดบั กระหาย แตด่ มื่ รสพระธรรมไม่รจู้ กั อม่ิ ” เปน๐ ต้น กจ็ ดั เปน๐ คณุ พิเศษของพระ ธรรม จัดเปน๐ โอฬารตาคุณเชน่ กัน ๘. กันติคุณ คุณที่น่าชอบใจ คือ การกล่าวไม่เกินความเป๐นจริง ของโลก, เขียนตามคําของชาวโลก ก็ทําให้เกิดความพอใจ หรือชอบใจได้ เช่นความใน ๑๑ พระสงั ฆรักขติ มหาสามิเถระ, คัมภีร์สุโพธาลังการนิสสยะ, หนา้ ๑๗๘.

๑๖ ภาษาไทยว่า เข็นเรือขึ้นทราย หานายมือเปล่า ถือเป๐นคําธรรมดาของโลก แต่ก็มี ความหมายน่าชอบใจได้ ตัวอยา่ ง ยํ น ทิฏฐฺ ํ ปุราเณหิ ตติ ถฺ กิ าจรเิ ยหิ ปิ ตํ ปทํ สกุ ุมารีหิ สตฺตวสฺเสหิ เวทิตํ แปล พระนพิ พานใด แม้อันเดยี รถยี ท์ ้ังหลายในกาลกอ่ น ไม่เห็นแล้ว พระนิพพานนน้ั อันเด็กหญิงทง้ั หลาย ผู้มอี ายเุ จ็ดขวบ เห็นแล้ว คาถาน้บี อกวา่ เด็กหญิงอายุเจ็ดปีเห็นพระนิพพานได้ กล่าวกล่าวเช่นน้ี ไม่ เป๐นการอวดตัว แตเ่ ป๐นจริง ๆ เรียกว่า กันตคิ ณุ ๙. อัตถัพยตั ติคุณ คุณท่ีมีคําพูดท่ีปรากฎชัด คือการเขียนให้มีศัพท์บ่ง เนื้อความชัดเจน ไมม่ ีการกล่าวโดยตรง แตส่ ามารถรู้เน้อื ความน้ันไดโ้ ดยอ้อม ตัวอย่าง กิเลส หย่งั รากลึก ผลิดอก ออกผล บานสพร่ัง ยิ่งกนิ ยิ่งหิวโหย [บทกวีไฮกุ]๑๒ บทกวีน้ี แสดงนัย หรือความหมายของกิเลสว่า แม้จะปรนเปรอ บํารุง บําเรออย่างไร ก็ไม่มีวันอิ่ม แต่ท่านไม่ได้พูดโดยตรง ให้ผู้ฟ๎งเข้าใจความหมายโดยอ้อม คลา้ ยๆ กบั บทบาลวี า่ นตถฺ ิ ตณหฺ าสมา นที แม่นํ้าเสมอด้วยตณั หาไม่มี หรอื ดาวยม้ิ บนฟากฟูา ทอแสงอยแู่ วววาว อบอนุ่ หมาวดั เห่าเครอื่ งบิน๑๓ [บทกวไี ฮกุ] ความหมายของบทกวนี ี้ ต้องการสะทอ้ นให้เห็นภาพชายหนุ่มท่ีหลงรักหญิง สาว แต่ป๎ญหา หรอื อุปสรรคของความรกั ก็คอื หญิงท่ีตนหลงรักน้ัน มีฐานะสูงส่ง กระท่ัง ไมส่ ามารถเอือ้ มถงึ จึงใช้โวหารเปรยี บเทยี บเหมอื นหมาเห่าเครือ่ งบิน ๑๒ “ ไทเซน”, ธรรมะวิถีไทยเซน มห าสารคาม, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog/taimahayan/๒๐๐๙/๐๘/๒๕/entry-๑ [๑๐ กันยายน ๒๕๖๒]. ๑๓ “ ไทเซน”, ธรรมะวิถีไทยเซน มห าสารคาม, [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา : http://oknation.nationtv.tv/blog/taimahayan/๒๐๐๙/๐๘/๒๕/entry-๑ [๑๐ กันยายน ๒๕๖๒].

๑๗ ๑๐. สมาธิคุณ คณุ ทีใ่ ช้คาํ พดู โดยอ้อม กล่าวสิง่ ทไี่ ม่มใี หเ้ หมอื นมี เช่น การยกเอาสภาพของการนอนหลับของส่ิงมีชีวิต แต่นําไปใช้กับส่ิงที่ไม่มีชีวิต โดยการ นําไปใช้น้ัน ความหมายต้องตรงกับโวหารที่ชาวโลกทั่วไปใช้อยู่ ในคัมภีร์สุโพธาลังการ นิสสยะ ระบุว่า สมาธิคุณเป๐นชีวิต หรือเป๐นสาระของการประพันธ์ [พนฺธสาโร] โดยให้ เหตผุ ลว่า หากบทประพันธ์ไม่มีคุณลกั ษณะดงั กล่าว ก็คือวา่ เปน๐ บทประพนั ธ์ทต่ี ายแลว้ ๑๔ สมาธคิ ุณ มี ๗ ประการ คอื ๑๕ ๑. ปาณิธัมมสมาธิคุณ สภาพท่ีมีชีวิต เอาไปใช้กับกับส่ิงที่ไม่มีชีวิต เช่น ตน้ ไม้นอนหลบั เป๐นตน้ ๒. รปู ธัมมสมาธิคุณ สภาพที่เห็นรูปได้ เอาไปใช้กับสภาพที่เห็นไม่ได้ เช่น แหวกวา่ ยอยูใ่ นสงสาร เปน๐ ต้น ๓. รสธมั มสมาธิคุณ สภาพที่มีรส เอาไปใช้กับสภาพท่ีไม่มีรถ เช่น รสแห่ง พระธรรม ๔. ทรวธัมมสมาธิคณุ สภาพที่ไม่มีนํ้า เอาไปใช้กับสภาพท่ีไม่มีนํ้า เช่น ด่ืม คณุ ของพระพุทธเจ้า เป๐นต้น ๕. กัตตุธัมมสมาธิคุณ สภาพของผู้กระทํา เอาไปใช้กับกับสภาพที่ไม่ใช่ ผูก้ ระทาํ เชน่ ลูกศรของพญามารอายพระพทุ ธเจ้าเลยกลายเป๐นดอกไม้ เปน๐ ตน้ ๖. กฐินธัมมสมาธิคุณ วัตถุแข็งตัดออกจากกันได้ เอาไปใช้กับสภาพที่ไม่ แข็ง เช่น พระพุทธเจ้าผา่ อวชิ ชา เปน๐ ต้น ๗. คันธธัมมสมาธิคุณ สภาพท่ีมีกล่ิน เอาไปใช้กับสภาพท่ีไม่มีกลิ่น เช่น กลิ่นของศลี ฟงูุ ไปตามลมและทวนลม ฉันใด เปน๐ ต้น ๑.๔ โวหารทีใ่ ช้ในงานวรรณกรรม ๕ ประเภท คาํ ว่า โวหาร หมายถึง ถอ้ ยคําท่ใี ชใ้ นการสื่อสารที่เรียบเรียงเป๐นอย่างดี มี วิธีการ มีชั้นเชิงและมีศิลปะ เพ่ือส่ือให้ผู้รับสารรับสารได้อย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจนและ ลกึ ซง้ึ รับสารได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ของผูส้ ง่ สาร การเขียนเรอื่ งราวอาจใชโ้ วหารต่าง ๆ กัน แลว้ แต่ชนิดของข้อความ โวหารอาจจาํ แนก ตามลักษณะ ของข้อความหรือเน้ือหาเป๐น ประเภทต่าง ๆ ได้ ดังนี้ ๑๔ พระสงั ฆรกั ขติ มหาสามเิ ถระ, คมั ภรี ส์ ุโพธาลงั การนสิ สยะ, หน้า ๑๘๘. ๑๕ พระสังฆรกั ขิตมหาสามิเถระ, คมั ภีรส์ ุโพธาลงั การนสิ สยะ, หน้า ๑๙๑.

๑๘ ๑. บรรยายโวหาร คือ โวหารท่ีใช้บอกกล่าว เล่าเรื่อง อธิบาย หรือ บรรยายเรื่องราว เหตุการณ์ ตลอดจนความรู้ต่าง ๆ อย่างละเอียด เป๐นการกล่าวถึง เหตุการณ์ที่ต่อเน่ืองกัน โดยชี้ให้เห็นถึงสถานท่ีที่เกิดเหตุการณ์ สาเหตุที่ก่อให้เกิด เหตุการณ์ สภาพแวดล้อม บุคคลท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่เกิดจากเหตุการณ์ นนั้ เพื่อใหผ้ ูร้ บั สารเข้าใจเน้ือหา สาระอยา่ งแจม่ แจ้งชัดเจน เนื้อหา ที่บรรยายอาจเป๐น เร่ืองท่ีสมมุติหรือเรื่องจริงก็ได้ เร่ืองท่ีใช้บรรยายโวหาร ได้แก่ การเขียน ตาํ รา รายงาน บทความ เร่อื งเลา่ จดหมาย บันทึก ชีวประวัติ ตํานาน เหตุการณ์ บรรยายภาพ บรรยายธรรมชาติ บรรยายบุคลิกลักษณะบุคคล สถานที่ รายงานหรือ จดหมายเหตุ การรายงานขา่ ว การอธิบายความหมายของคํา การอธิบายกระบวนการ การแนะนาํ วธิ ปี ฏิบัตใิ นเรอื่ งต่าง ๆ เป๐นต้น๑๖ ตัวอย่างบรรยายโวหาร นรกใหญ่ทั้ง ๘ ขุมน้ี แต่ละขุมมี ๔ มุม และมีประตูประจําท้ัง ๔ ทิศ พื้น เป๐นเหล็กแดง มีฝาบิดข้างบนเป๐นเหล็กแดงเช่นกัน มีเน้ือที่กว้างและสูงเท่ากันเป๐นรูปสี เหลยี่ มจตั รุ สั แตล่ ะด้านยาว ๑๐๐ โยชน์ และ ๑ โยชน์เท่ากับ ๘,๐๐๐ วา ส่วนหนาของ ผนัง ๔ ด้าน พ้ืนและเพดานส่วนละ ๙ โยชน์ ในนรกไม่มีที่ว่างเปล่า เต็มไปด้วยฝูงสัตว์ นรกซึ่งเบียดเสียดกันอยู่เต็มพื้นที่ ไฟนรกลุกโชนอยู่ตลอดเวลาไม่เคยดับไหม้ คุกรุ่นอยู่ ตลอดกัลป์ บาปกรรมของสตั ว์นรกลกุ ข้นึ เป๐นไฟเผาภายในตัวบุคคลนั้นราวกับเป๐นฟืนซึ่ง ไม่เคยดับเลย นรกใหญ่ท้ัง ๘ ขุมน้ี ล้อมรอบด้วยนรกบ่าว ๑๖ ขุม ด้านละ ๔ ขุม นอกจากนน้ี รกบา่ วยังแบ่งย่อยเป๐นนรกเล็ก เรียกว่ายมโลกอีก ๔๐ ขุม นรกบ่าวมีความ กวา้ ง ๑๐ โยชน์ ทัง้ นรกบ่าวและนรกใหญ่ รวมทั้งส้ินได้ ๔๔๖ ขุม ในนรกใหญ่ทั้ง ๘ ขุม น้ันไม่มียมบาล แต่นรกบ่าวและนรกเล็กมียมบาลอยู่ด้วย นรกบ่าวที่มียมบาลอยู่น้ัน เรยี กช่อื ว่าอุสทุ นรก๑๗ ๒. พรรณนาโวหาร คือ โวหารท่ีใช้กล่าวถึงเรื่องราว สถานท่ี บุคคล ส่ิงของ หรืออารมณ์อย่างละเอียด สอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกลงไปเพ่ือโน้มน้าว ใจ ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ เกิดอารมณ์คล้อยตามไปด้วย ใช้ในการพูดโน้มน้าว ๑๖ “โวหาร” [ออนไลน์], แหล่งที่มา: http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter ๕-๑๐.html [๑๐ กันยายน ๒๕๖๒]. ๑๗ “ไตรภูมกิ ถาฉบบั ถอดความ”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://vajirayana.org/ไตรภูม กถาฉบบั ถอดความ/บทท-่ี ๑-แดนนรก/นรกใหญ่ [๑๐ กันยายน ๒๕๖๒]

๑๙ อารมณ์ของผู้ฟ๎ง หรือเขียนสดุดี ชมเมือง ชมความงามของบุคคล สถานท่ีและแสดง อารมณค์ วามรสู้ กึ ตา่ ง ๆ เป๐นต้น การใช้พรรณนาโวหาร ควรมีความประณีตในการเลือกใช้ถ้อยคําสํานวนที่ ไพเราะเพราะพร้ิง เล่นคํา เล่นอักษร ใช้ถ้อยคําทั้งเสียงและความหมายให้ตรงกับ ความรู้สึกที่ต้องการพรรณนา รู้จักปรุงแต่งถ้อยคํา ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ ใช้โวหาร เปรียบเทียบให้เห็นภาพชัดเจน รู้จักเลือกเฟูนเน้ือหาว่าส่วน ใดควรนํามา พรรณนา ต้องเข้าใจเนื้อหาท่ีจะพรรณนาเป๐นอย่างดี และพรรณนาให้เป๐นไปตาม อารมณ์ความรู้สึก โดยไม่เสแสร้ง บางกรณีอาจต้องใช้อุปมาโวหารหรือสาธกโวหาร ประกอบด้วย๑๘ ตวั อย่างพรรณนาโวหาร กาลวนั หนง่ึ สมเด็จพระเจ้าอทุ ยราชาทรงวา่ งพระราชกิจจึงทรงชักชวนพระ เจ้าอัฑฒมาสกราชซ่ึงบัดนี้เป๐นพระสหายสนิทของพระองค์แล้ว ไปเที่ยวพักผ่อนพระ อิรยิ าบทในพระราชอทุ ยานเป๐นการสว่ นพระองค์หลังจากทรงชมบริเวณพระราชอุทยาน จนเม่ือยล้าแล้ว ก็ทรงเอนองค์เอาพระเศียรหนุนตักของอดีตบุรุษเข็ญใจท่ีพระองค์ทรง อปุ ถัมภใ์ หไ้ ดร้ ับความสขุ น้ัน แล้วกพ็ ลันทรงยา่ งเขา้ สนู่ ิทรารมณ์อย่างสําราญ อัฑฒมาสก ราชราชาอดตี บรุ ุษเขญ็ ใจได้เกิดความคดิ อันจญั ไรขึ้นมาชัว่ ขณะหน่ึงวา่ “การท่ีเราได้เป๐นพระราชา ครองราชย์สมบัติในเมืองพาราณสีแต่เพียงก่ึง หน่ึงน้ี ยังไม่เป๐นการดีแท้ เราควรฉวยโอกาสอันเลิศน้ี ปลงพระชนม์ชีพพระเจ้าอุทย ราชาธิบดีเสยี แลว้ เปน๐ พระราชาแตเ่ พยี งผู้เดียวจักดีกว่า” ฉับพลันท่ีอกุศลจิตเกิดข้ึน ก็เอ้ือมหัตถ์หยิบพระขรรค์ข้ึนทันใด หมาย พระทัยจักแทงกระหน่ําลงไปท่ีเบื้องพระอุระองค์สมเด็จพระเจ้าอุทยราชาธิบดีผู้กําลัง บรรทมหลับสนิทอย่างสขุ ารมณ์ ในวินาทมี หาอบุ าทว์นั้นอุปถัมภกกรรมฝุายกุศลก็เข้าดล บันดาลให้พระเจา้ อัฑฒมาสกราช ผกู้ ําลังจะทรงกระทาํ บาปอยา่ งมหนั ต์นัน้ ไดพ้ ระสติ๑๙ ๓. อุปมาโวหาร คือ โวหารที่กล่าวเปรียบเทียบ เพ่ือให้ผู้รับสารเข้าใจ ความหมาย อารมณ์ความรู้สึก หรือเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น มักใช้ประกอบโวหาร ๑๘ “โวหาร” [ออนไลน์], แหล่งที่มา: http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter ๕-๑๐.html [๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๒]. ๑๙ พระราชวิสทุ ธิโสภณ [วลิ าศ ญาณวโร], กรรมทปี นี, [กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พิฆเนศ, ๒๕๒๐], หนา้ ๓๘.

๒๐ ประเภทอ่ืน เช่น เทศนาโวหาร บรรยายโวหาร โดยเฉพาะพรรณนาโวหาร เพราะจะ ชว่ ยให้รสของถ้อยคาํ และรสของเนือ้ ความไพเราะสละสลวยย่ิงขึ้น ท้ังสารที่เป๐นรูปธรรม และนามธรรม การเปรียบเทียบอาจเปรียบความเหมือนกัน หรือคล้ายคลึง กนั เปรยี บเทยี บความขดั แยง้ หรือลกั ษณะตรงกันข้าม หรือเปรียบเทียบโดยให้ผู้รับสาร โยง ความคิดหนึ่งไปสู่ อีกความคิดหนึ่ง โดยอาจกล่าวลอย ๆ หรืออาจใช้คําแสดงการ เปรียบเทียบ ซง่ึ มอี ยู่หลากหลาย เชน่ เหมอื น เสมือน คล้าย ดุจ ดัง ดั่ง ดุจดั่ง ราว ดูราว ปาน เพียง ประหนง่ึ เชน่ เฉก ฯลฯ การใช้อุปมาโวหารควรเลือกใช้ถ้อยคําที่เข้าใจง่าย และสละสลวย แสดง การเปรยี บเทียบไดถ้ กู ต้อง เหมาะสมกบั เนอื้ หา และจังหวะ ลีลา ซึ่งอาจกล่าวลอย ๆ ก็ ได้ เนอื้ หาทีจ่ ะเปรียบเทียบควรเปน๐ เน้ือหา ที่อธิบายให้เข้าใจได้ยาก เปรียบเทียบกับส่ิง ที่เข้าใจได้ง่าย หรือสิ่งท่ีผู้รับสารรู้ดีอยู่แล้ว และข้อความที่จะยกมา เปรียบเทียบ [อุปไมย] กับข้อความทน่ี ํามาเปรียบเทยี บ [อปุ มา] จะตอ้ งเหมาะสมกนั อปุ มาโวหารใช้ เป๐นโวหาร เสริมบรรยายโวหาร พรรณนาโวหารและเทศนาโวหาร เพ่ือให้ชัดเจนและ น่าอา่ นย่งิ ขน้ึ ๒๐ ตัวอย่างอปุ มาโวหาร ถ้าจะเปรียบ ชนกกรรมนี้ ย่อมเปรียบเสมือนมารดาเป๐นท่ีเกิดแห่งบุตร ธรรมดาว่ามารดา ย่อมมีหน้าท่ียังบุตรให้เกิดข้ึน คือเป๐นผู้ให้กําเนิดแก่บุตรโดยเฉพาะ อยา่ งเดียวเทา่ นั้น บุตรเกิดข้ึนมาแล้ว ยอ่ มเปน๐ หน้าท่ีของนางนมนําเอาไปเลี้ยง นางนมก็ ใส่ใจบํารุงรักษาปฏิบัติ พูดง่ายๆว่ากิจท่ีจะต้องเลี้ยงดูและคอยพิทักษ์รักษาในเม่ือทารก คลอดออกมาแล้วน้ัน เป๐นพนักงานของนางนมมิใช่เป๐นพนักงานของมารดา อุปมานี้ ฉัน ใดชนกกรรมซึ่งเปรียบเสมือนมารดา ก็มีหน้าท่ีเป๐นพนักงานเพียงนําปฏิสนธิ คือยังสัตว์ ทั้งหลายให้เกิดข้ึนเท่านั้นไม่ทําหน้าท่ีอย่างอื่น พอทําหน้าท่ียังสัตว์ให้เกิดแล้วก็หมด หนา้ ทข่ี องชนกกรรม เหมอื นมารดาพอยงั ทารกใหเ้ กิดแลว้ ก็หมดหนา้ ท่ขี องตน ส่วนการที่ จะคอยอุปถัมภ์ค้ําชูหรือคอยเบียดเบียนสัตว์ท้ังหลายผู้เกิดมาแล้วนั้น เป๐นพนักงานของ กรรมอ่ืน เหมือนการเลี้ยงดูและคอยพิทักษ์รักษาในเม่ือทารกน้ันเกิดมาแล้ว เป๐นหน้าท่ี ของนางนมซึ่งเปน๐ คนอน่ื หาใช่เป๐นหนา้ ท่ขี องมารดาผ้ยู งั ทารกให้เกดิ ไม่ ฉะนัน้ ๒๑ ๒๐ “โวหาร” [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter ๕-๑๐.html [๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๒]. ๒๑ พระราชวิสทุ ธิญาณโสภณ์ [วิลาศ ญาณวโร], กรรมทีปนี, หนา้ ๒๐.

๒๑ ๔. สาธกโวหาร คือ โวหารท่ีมุ่งให้ความชัดเจนโดยการยกตัวอย่างหรือ เรื่องราวประกอบการอธิบาย เนื้อหาสาระ เพ่ือสนับสนุน ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ให้หนัก แนน่ สมเหตสุ มผล ทาํ ให้ผ้รู บั สารเขา้ ใจเน้อื หา สาระในสงิ่ ท่ีพูด หรือเขียนอย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจน ดูสมจริง หรือน่าเชื่อถือยิ่งข้ึน ตัวอย่างหรือเรื่องราว ที่ยกขึ้นประกอบอาจเป๐น เรอ่ื งส้นั ๆ หรือเรื่องราวยาว ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสม เช่น ประสบการณ์ตรงของผู้ส่ง สาร เรื่องราวของบุคคล เหตุการณ์ นิทาน ตํานาน วรรณคดี เป๐นต้น สาธกโวหารมักใช้ เปน๐ อุทาหรณ ป์ ระกอบอยู่ในเทศนาโวหาร หรืออธบิ ายโวหาร การใชส้ าธกโวหาร ควรใช้ถอ้ ยคาํ ภาษาที่เข้าใจงา่ ย รู้จักเลือกว่าเนื้อหาตอน ใดควรใช้ตวั อย่าง หรอื เรื่องราวประกอบ และตวั อย่างทย่ี กมา ประกอบตอ้ งสอดคล้องกับ เนื้อหา และเป๐นเร่ืองที่น่าสนใจ สมเหตุสมผล สาธกโวหารมักแทรกอยู่ในโวหารอ่ืน ๆ เช่น บรรยายโวหาร หรือเทศนาโวหาร๒๒ ตัวอยา่ งสาธกโวหาร ก็ในกรณีท่ีอุปถัมภกกรรมฝุายอกุศล ทําหน้าท่ีดลบันดาลให้มนุษย์ประสบ ความทกุ ข์ยากในมนุษยโลกเรานน้ั พึงเห็นตวั อย่างตามเรือ่ งที่จะเล่าให้ฟ๎ง ดังต่อไปน้ี ได้สดับมาว่า ในสมัยพุทธกาล มีเศรษฐีผู้หนึ่งปรากฏนามว่าอานันทเศรษฐี เขามีจิตตระหนี่ครอบงําในสันดาน ทานก็มิได้ให้ ศีลก็มิได้รักษา เหตุที่เขาเกิดมาเป๐น เศรษฐที รพั ยม์ าก ก็เพราะเขาไดเ้ คยถวายอาหารบณิ ฑบาตแก่พระภิกษสุ งฆ์ กุศลกรรมจึง สง่ ผลให้เขาได้เปน๐ เศรษฐีในชาตินี้ แม้เขาจะเป๐นคนมั่งมีร่ํารวยนักหนาแต่เป๐นคนมากไป ดว้ ยโลภเจตนา หาทรพั ย์มาได้เท่าใด ก็พยายามเก็บรักษาเอาไว้ ไม่ยอมใช้จ่ายอะไรเกิน ความจําเป๐นเลย จิตยิ่งคุ้นเคยกับความโลภมากเท่าใด ก็ยิ่งโลภจัดมากข้ึนเท่านั้น ทุกๆ ๑๕ วนั ตะแกย่อมเรียกลกู หลานญาตพิ ีน่ อ้ งมาประชุมกัน แล้วใหโ้ อวาทว่า “ดูกร เจ้าผู้อยู่ในความปกครองของข้าทั้งหลายเอ๋ย! สมบัติของข้าท่ีมีอยู่ ประมาณ ๔๐ โกฏนิ ่ีน่ะพวกเจา้ ทง้ั หลายอย่าไดค้ ดิ เหน็ ว่ามันเป๐นของมากมายเลยเป๐นอัน ขาด ทรพั ย์ท่ีเรามีอยู่แล้ว ไม่ควรจะให้แก่คนท้ังหลายอันมียาจกพวกขอทานและสมณะ หัวโล้นเป๐นอาทิ เพราะให้แก่คนพวกนี้แล้วไม่มีประโยชน์ มีแต่โทษ คือความสิ้นเปลือง ทรพั ย์ของเราไปถา่ ยเดยี ว ไม่มีผลตอบแทน เราต้องพยายามหาทรัพย์มาเพิ่มเติมให้มาก ขึ้นเรื่อยๆทุกครั้งที่เราจ่ายทรัพย์ไปแม้จะเป๐นคร้ังละเล็กละน้อย นั่นคือภาวะที่จะไปสู่ ๒๒ “โวหาร” [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter ๕-๑๐.html [๑๐ กันยายน ๒๕๖๒].

๒๒ ความเป๐นข้ีข้าเขา เพราะทรัพย์จะต้องมีอันหมดลงไปในวันหนึ่ง อันการท่ีพวกเจ้าจะ ครองเรอื นได้เป๐นอยา่ งดนี ้ัน จงจาํ ภาษติ น้ีไวใ้ ห้ม่นั ว่า อํฺชนานํ ขยํ ทิสฺวา... นํ้ามันหยอด ตา เมื่อใชห้ ยอดลงทีละหยด มันก็มีวันหมดไปได้ ทรัพย์สมบัติน้ันไซร้ก็ เหมือนกันใช้มัน ไปทีละสตางค์ ดังฤามันจะคงอยู่ อนงึ่ พวกเจ้าจงดจู อมปลวก กว่ามันจะใหญ่โตเท่าภูเขา เลากา ข้ึนมาได้ก็เพราะอาศัยความพยายามสะสมของปลวกตัวเล็กๆ ซ่ึงมีน้ําอดนํ้าทน มธุรสน้ําหวานในรวงผึ้ง กว่าจะถึงซึ่งความมากมายเป๐นตุ่มเป๐นไห มิเพราะอาศัยความ พยายามสะสมทีละเล็กละนอ้ ยแหง่ หมู่ผ้งึ ตัวเล็กๆ ดอกหรือเจ้าทั้งหลายจงถือเอาสัตว์ทั้ง สองนี้เปน๐ ครู พยายามสะสมทรพั ย์เอาไว้ อยา่ ได้ใชจ้ ่ายทรัพยเ์ ปน๐ อนั ขาด” ต่อมาไม่นาน เศรษฐีเฒ่าน้ันก็ทํากาลกิริยาตาย แต่ก่อนที่จะตาย จิตของตะแก เต็มไปด้วยความหวงและความห่วงในทรัพย์สมบัติ หม่นหมองไปด้วยมลทินคือความ ตระหน่ี เพราะฉะนั้น ชนกกรรมฝุายอกุศลจึงชักนําให้ตะแกไปถือปฏิสนธิในครรภ์แห่ง หญิงจัณฑาลคนหน่ึง ซ่ึงมีความเป๐นอยู่อย่างยากไร้ เสร็จแล้วอุปถัมภกกรรมฝุายอกุศล ของตะแกก็เริ่มสําแดงเดชทันที นั่นคือ ดลบันดาลให้คนจัณฑาลในหมู่บ้านน้ัน ซ่ึงตาม ปรกตธิ รรมดากเ็ ป๐นคนอดอยากอยแู่ ล้ว ใหอ้ ดอยากยากจนหนกั เขา้ ไปอีก จะทาํ อะไรให้มี อันเป๐นขดั ขอ้ งไปหมดในทีส่ ดุ ... ๒๓ ๕. เทศนาโวหาร คือ โวหารที่มุ่งโน้มน้าวใจให้เกิดความรู้สึกคล้อย ตาม เปน๐ การกล่าวในเชิงอบรม แนะนาํ สั่งสอน เสนอทัศนะ ช้ีแนะ หรอื โน้มน้าว ชัก จูงใจโดยยกเหตุผล ตัวอย่าง หลักฐาน ข้อมูล ข้อเท็จจริง สุภาษิต คติธรรมและสัจ ธรรม ต่าง ๆ มาแสดงเพอ่ื ให้ผอู้ า่ นเกดิ ความเข้าใจที่กระจ่างจนยอมรับเชื่อถือมีความเห็น คล้อยตาม และปฏิบัติตาม โวหารประเภทนี้มักใช้ ในการให้โอวาท อบรมสั่งสอน อธิบายหลกั ธรรม และคําช้แี จงเหตุผล ในเรอ่ื งใดเร่อื งหนึง่ การเสนอทศั นะ เปน๐ ตน้ การใชเ้ ทศนาโวหารควรใช้ถ้อยคําภาษาให้เหมาะสมกับผู้รับสาร ใช้ถ้อยคํา ในการช้ีแจงเหตุผลที่กล่าวถึง ให้แจ่มแจ้งชัดเจน และช้ีแจงไปตามลําดับไม่สับสน วกวน ควรใช้โวหารอื่นประกอบด้วยเพื่อให้ชวนติดตาม การเขียนเทศนาโวหารต้องใช้ โวหารประเภทต่าง ๆ มาประกอบอาจจะใช้บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร รวมท้ัง อุปมาโวหารและสาธกโวหารด้วย มักใช้กับงานเขียนประเภทบทความชักจูงใจ หรือ ๒๓ พระราชวิสุทธิญาณโสภณ์ [วลิ าศ ญาณวโร], กรรมทีปนี, หน้า ๓๑.

๒๓ บทความแสดง ความคิดเห็น ความเรียง เป๐นต้น แต่ส่วนใหญ่มักจะเข้าใจว่าเทศนา โวหารเปน๐ โวหารทม่ี งุ่ สง่ั สอน๒๔ ตัวอย่างเทศนาโวหาร เท่าที่เลา่ มาน้ี ทา่ นผู้มปี ๎ญญาทั้งหลายก็คง จักเหน็ แลว้ ว่า อุปปีฬิกกรรมฝุาย อกุศลนี้ เม่ือทําหน้าที่ เบียดเบียน ย่อมเบียดเบียนทําลาย ไม่เลือกว่าเป๐นผู้ใด ทรงคุณ วิเศษสูงส่งเพียงไรก็ตาม ดูแต่สุนักขัตตลิจฉวี น่ันเถิด ท้ังๆ ที่ได้บําเพ็ญสมถภาวนาทรง คณุ วิเศษ ได้สาํ เรจ็ ฌานและทพิ พจักขุอภิญญา ก็ยงั ถูกอุปปฬี กิ กรรม ซง่ึ ตามมาทันเข้าปิด กั้นให้หันเหไปสู่อบาย หากว่าเขาไม่มีกรรมเก่าอันเผล็ดผลเป๐นอุปปีฬิกกรรมฝุายอกุศล เข้า มากางกั้น เขาก็อาจจะได้บรรลุมรรคผลนิพพาน อันเป๐นธรรมวิเศษสูงสุดใน พระพุทธศาสนา ตามความตั้งใจเดิมของเขาก็เป๐นได้ ในกรณีท่ีอุปปีฬิกกรรมฝุายอกุศล เข้าทําหนา้ ท่เี บียดเบียนกศุ ล แลว้ กางกั้นไม่ให้บุคคลได้ บรรลุมรรคผลนพิ พานน้นั ๒๕ ๑.๕ รสของงานวรรณกรรม ๙ ประการ อาหารดี อยูท่ ร่ี สของอาหาร รสดีอยู่ที่พ่อครัวฉลาดในการแต่งรสให้ดี กลม กล่อม วรรณกรรมดี อยู่ที่รสของวรรณกรรม รสดี อยู่ที่ผู้ประพันธ์ฉลาดในวรรณศิลป์ สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ผู้อ่านสามารถสัมผัสแห่งรสน้ัน ผ่านภาษาที่ร้อย เรียงเป๐นวรรณกรรม งานวรรณกรรมท่ีนักประพันธ์ทั้งหลายแต่งขึ้น และได้รับการยกย่องว่าดี นับเน่ืองเป๐นวรรณคดี เพราะมีลีลาการประพันธ์ที่ทําให้ผู้อ่านได้เข้าถึง หรือล้ิมรสแห่ง วรรณกรรมที่ผู้ประพันธ์ต้องการนําเสนอ เปรียบเหมือนพ่อครัวผู้ฉลาดในการปรุงแต่ง อาหารให้มีรสเลิศ งานวรรณกรรมเดียวกัน อาจนําเสนอหลากหลายรสท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ วัตถุประสงคข์ องผูป้ ระพนั ธ์ว่า ตอ้ งการสอ่ื อะไรไปถึงผอู้ ่าน งานวรรณกรรมใดที่สามารถให้ผู้อ่านได้เสพอรรถรสได้อย่างลึกซ้ึง งาน วรรณกรรมน้นั ยอ่ มแสดงถึงความสามารถของผู้ประพนั ธ์ และงานวรรณกรรมทีม่ ีลกั ษณะ ดังกลา่ ว กย็ ่อมเป๐นที่ประทับใจ ไดร้ บั การยกย่อง เชิดชู และยอมรับอย่างกว้างขวาง อาจ เปน๐ ตง้ั แตร่ ะดับประเทศ ระดับนานาชาติ กระท่ังถึงระดบั โลก ๒๔ “โวหาร” [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter ๕-๑๐.html [๑๐ กันยายน ๒๕๖๒]. ๒๕ พระราชวสิ ทุ ธญิ าณโสภณ์ [วิลาศ ญาณวโร], กรรมทีปนี, หน้า ๔๗.

๒๔ รสวรรณกรรมท่ีผู้ประพันธ์สามารถนํามาใช้ในการปรุงแต่งงานวรรณกรรม มี ๙ ประเภท ประกอบดว้ ย ๑. สงิ คารรส รสรัก มี ๓ ลกั ษณะ ได้แก่ ๑] อโยคะ ความรกั ท่ยี งั มิได้ครอง คู่ ๒] ความรกั ในเวลาพลัดพราก ๓] ความรกั ในเวลาอยูร่ ว่ มกัน๒๖ องค์ประกอบท่ีทาํ ให้ เกดิ สิงคารรส ๔ ประการ คือ ๑] อารมั มณวภิ าวะ คอื หนมุ่ สาวทีร่ ักใครก่ ัน เป๐นตน้ ๒] อทุ ทปี นวภิ าวะ คอื สวนดอกไม,้ การฟูอนราํ ขบั ร้อง, คนื เดอื นแจ่ม, การทดั ดอกไม้ ลบู ไลข้ องหอม พดู คาํ หวาน ยิ้มแยม้ เอยี งอาย ออดออ้ น หยอกเยา้ เปน๐ ต้น ๓] พยภิจารภี าวะ คือ ความสงสัยในคนรกั [สงฺกา] และความขวนขวายในการพบ คนรัก [อุสสฺ กุ ฺก] เปน๐ ต้น๔] อนุภาวะ คือ การกอด, การจุมพิต, การเสอื่ มจากฌาน เปน๐ ตน้ ๒. หัสสรส รสขบขัน มี ๔ ลักษณะ ได้แก่ ๑] อารัมมณวิภาวะ คือ อากัปกิริยาซ่ึงวิปริตผิดไปจากสถานท่ี วัย และเพศ พร้อมท้ังอากัปกิริยาทางวาจาอัน ได้แก่การขบั รอ้ ง และการพดู ตลก เป๐นต้น ๒] อทุ ทีปนวภิ าวะ คอื ฉากประกอบเบอ้ื งหลัง ๓] พยภิจารีภาวะ คือความเหน็ดเหนื่อยเพราะหัวเราะมากเกินไป ความสัปงกเม่ือ หัวเราะจนเมื่อย ความเบ่ือหน่ายไม่รู้สึกขําเหมือนตอนแรก ความสลบเพราะขํามากจน ชักสลบไป ๔] การกลอกตาในขณะขํา ๓. กรณุ ารส รสสงสาร มีองค์ประกอบที่ทําให้เกิดรสสงสาร ประเภท ได้แก่ ๑] อารัมมณวิภาวะ คืออฏิ ฐารมณห์ รอื อนฏิ ฐารมณ์อันก่อให้เกิดความเศร้าโศก ๒] อุททีปนวิภาวะ คือการประสบกับอนิฏฐารมย์และการวิบัติไปแห่งอิฏฐารมณ์ ๓] พยภิ จารภี าวะ คอื ความลาํ บากใจ ความเกยี จคร้าน ความตาย ความวิตกกงั วล เป๐นต้น ๔] อนุ ภาวะ คือการร้องไห้ ความหลับไหลทเี่ กิดขน้ึ หลงั การรอ้ งไห้ เปน๐ ต้น ๔. รทุ ทรส รสโกรธ มีองค์ประกอบท่ีทําให้เกิดความโกรธ ๔ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑] อารมั มณวภิ าวะ คือ อนิฏฐารมณ์ ๒] อุททีปนวิภาวะ คือ ความตระหน่ี ความ กีดกัน การล้อเลยี น เปน๐ ต้น ๓] พยภิจารีภาวะ คือ ความตระหนก ความเมามัว ความดุ รา้ ยา ความเร่งรบี เป๐นตน้ ๔] อนุภาวะ คือความมีนัยน์ตาแดง การขมวดคิ้ว การเม้มริม ฝีปาก เปน๐ ต้น ๕. วรี วส รสกล้าหาญ มี ๓ ประเภท ได้แก่ ๑] กล้าหาญในการรบ ๒] กล้าหาญในการให้ ๓] กล้าหาญในการชว่ ยเหลือ ใครรานใครรกุ ด้าว แดนไทย ไทยรบจนสุดใจ ขาดด้ิน ๒๖ พระสังฆรกั ขติ มหาสามเิ ถระ, อลงั การโพธินี, หนา้ ๑๑๔.

๒๕ เสียเน้อื เลอื ดหล่ังไหล ยอมสละ สิ้นแล เสยี ชีพไปุเสียส้นิ ชื่อก้องเกยี รตงิ าม ๖. ภยานกรส รสกลัว มี ๒ ประเภทคือ ความกลัวที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ, ความกลัวท่ีเกิดจากการกระทําของคนอ่ืน มีองค์ประกอบท่ีทําให้เกิดความ กลัว ๔ ประการ ได้แก่ ๑] อารัมมณวิภาวะ คือ เสียงและสัตว์ท่ีพิลึกน่ากลัว เช่น เสียง ฟาู ผ่า เสียงสตั ว์ทนี่ า่ กลวั ตลอดจนสถานที่อันน่ากลัว เช่น ปุาเปล่ียว ปุาช้า เป๐นต้น ๒] อุททีปนวิภาวะ คือ อาการแปลกประหลาดน่ากลัว เช่น ความดั่งสนั่นของเสียง ฟูาผ่า การหลอกหลอนของรากษส เป๐นต้น ๓] พยภิจารีภาวะ คือ อาการท่ีเกิดร่วมกับความ กลัว เช่น ความสะดุ้งกลัว ความ ลังเล เป๐นต้น ๔] อนุภาวะ คือ เหง่ือออก ตัวร้อน ตัว สนั่ เปน๐ ตน้ ๗. พภี ัจฉรส รสเกลยี ด มีองค์ประกอบท่ีทําให้เกิดความเกลียด ๔ ประการ ได้แก่ ๑] อารัมมณวภิ าวะ มี ๓ อย่าง คอื สงิ่ ทนี่ า่ ขยะแขยง ส่งิ ท่มี ีกลิ่นเหม็น และความ คลายความพอใจ ๒] อุททีปนวิภาวะ คอื อาการคลานยั่วเยย้ี ของตวั หนอน และอาการว่ิง ไปมาของหนู สกปรก เปน๐ ต้น ๓] พยภิจารภี าวะ คือ ความลงั เลสงสยั วา่ เปน๐ กลน่ิ อะไร [สงฺกา] ความรบี ร้อนหลบ หลีกให้ห่างไกล [อาเวค] ความหลงไมร่ ูว้ า่ คอื อะไรอย่างแน่ชัด [โมห] เป๐นตน้ ๔] อนภุ าวะ คือ อาการย่นจมูก ปดิ หนา้ ปิดตาในเวลาเห็นสิง่ ท่นี ่า ขยะแขยง ปดิ หู เมือ่ ได้ยินเสียงท่ีไมช่ อบ ปดิ จมูกเม่อื ไดก้ ลน่ิ เหมน็ และถ่มนํา้ ลาย เปน๐ ตน้ ๘. อัพภตุ รส รสพศิ วง มอี งค์ประกอบท่ีทาํ ใหเ้ กิดพศิ วง ๔ ประการ ได้แก่ ๑] อารัมมณวภิ าวะ คือ บุคคลหรอื วตั ถุท่ีน่าพิศวง เชน่ มายากล เรอื นทิพย์ สวนสวรรค์ วิมาน เป๐นตน้ ๒] อทุ ทปี นวิภาวะ คอื ลักษณะทีช่ วนให้พศิ วงของบุคคลหรือวัตถนุ นั้ ๆ ๓] พยภจิ ารภี าวะ คือ ความตืน่ ตระหนก ความผลุนผลัน ความพอใจ และความรู้เป๐นต้น ๔] อนภุ าวะ คือ เหงื่อออก นาํ้ ตาไหล กล่าวสาธุการ ขนลุกชชู นั เปน๐ ตน้ ๙. สันตรส รสสงบ มีลักษณะสงบ ไม่หวัน่ ไหวเหมอื นรสประเภทอื่นที่มี ลักษณะยึดติดหรือปฏิเสธอารมณ์ มอี งค์ประกอบที่ทาํ ให้เกดิ ความสงบ ๔ ประการ ได้แก่ ๑] อารัมมณวิภาวะ คอื เหล่าสตั ว์ที่เปน๐ อารมณ์ของเมตตาและกรุณา ๒] อุททีปน วภิ าวะ คอื เมตตา กรณุ า และปตี ิเปน๐ ตน้ พร้อมทั้งสถานทวี่ เิ วกเหมาะ กบั การปฏบิ ัติ ธรรม ๓] พยภิจารภี าวะ คือ ความเบ่ือหน่ายตอ่ โลกิยสขุ [นิพฺเพท] ความระลกึ ได้ [สติ] ความรู้ [มติ] เปน๐ ตน้ ๔] อนภุ าวะ คอื ขนลกุ ชชู นั เป๐นตน้ ๑.๖ แนวทางในการเขียนวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๑๖ ประการ

๒๖ แนวทางในความดังกล่าวข้างต้น ผู้เขียนหมายเอา หาระ ๑๖ ประการ ท่ี ปราชญ์ในอดตี ไดก้ าํ หนดไวใ้ นคมั ภีร์เนตตปิ กรณ์ อนั ถอื เป๐นหลักสําหรับการยึดถือในการ อธิบายความ หาระ๒๗ หมายถึง แนวทางในการอธิบายรูปศัพท์ในพระพุทธพจน์ คําอธิบายรูปศัพท์น้ี สามารถอธิบายเนื้อความของรูปศัพท์ด้วย ท้ังนี้ เพราะเนื้อความ ปรากฏในรูปศพั ท์ มี ๑๖ ประเภท คอื เทสนาหาระ วิจยหาระ ยุตตหิ าระ ปทัฏฐานหาระ ลักขณะหาระ จตพุ ยหู หาระ อาวฏั ฏหาระ วิภัตติหาระ ปริวัตตนหาระ เววจนหาระ ป๎ญ ญตั ตหิ าระ โอตรณหาระ โสธนหาระ อธิษฐานหาระ ปรกิ ขารหาระ และสมาโรปนหาระ มีคําอธบิ ายพอสังเขปดงั ตอ่ ไปนี้๒๘ ๑. เทสนาหาระ แนวทางแสดงอัสสาทะ [ความยนิ ดี พอใจ หรือหลงติดเป๐น เหตุให้ยินดีพอดใจ หมายถงึ สขุ โสมนัส และอิฏฐารมณ์ที่เป๐นสังขารในภูมิ ๓] โทษ [โทษ ของอสั สาทะ คอื ทุกข์ โทมนสั ] นสิ สรณะ [เหตุแหง่ การออกจากทกุ ข์ หมายถึง อริยมรรค โพธิป๎กขิยธรรม และอนุป๎สสนา] จุดมุ่งหมาย [ผลการแสดงธรรมเกิดข้ึนแก่ผู้ฟ๎งธรรม] อบุ าย [วิธีปฏิบัติเพือ่ ให้บรรลถุ งึ ความดับทุกข์ ได้แก่ ศีล สมาธิ ป๎ญญา] และการชักชวน [การแนะนาํ ให้ละเวน้ ความช่ัว ให้ตัง้ อยใู่ นความดี] ๒. วิจยหาระ แนวทางในการจําแนก ๑๑ อยา่ ง คือ การจําแนกบทโดย อรรถและศัพท์, การจําแนกคําถาม, การแจกแนกคําตอบ, การจําแนกข้อความก่อนและ หลัง, การจําแนกอัสสาทะ, การจําแนกโทษ, การจําแนกนิสสรณะ, การจําแนก จดุ มุ่งหมาย การจาํ แนกอุบาย การจําแนกการชักชวน การจําแนกโดยอา้ งพระพทุ ธพจน์ ๓. ยุตติหาระ แนวทางในการแสดงความเหมาะสมโดยศัพท์ และอรรถ ความเหมาะสมโดยศัพท์คือ ศัพท์ถูกต้องตามหลักภาษา และสามารถส่ือเนื้อความได้ ถูกต้องตามท่ีต้องการ, ความเหมาะสมโดยอรรถคือ ความไม่ขัดแย้งท้ังในแง่ของธรรม และวนิ ยั การศึกษาตามแนวน้ี มีประโยชน์เพื่อปูองกันความคลาดเคลื่อนซ่ึงอาจเกิดขึ้น จากการทรงจําผิด เข้าใจผิด ปอู งกันสัทธรรมปฏริ ปู ทเ่ี กิดจากการอา้ งอ้างพระพทุ ธพจน์ ๒๗ เนตติปกรณ์, พระคันธสารภิวงศ์ ผู้แปล/อธิบาย. [ลําปาง: วัดท่ามะโอ, ๒๕๕๐], หน้า ๒๕-๔๓. ๒๘ ดแู นวทางในการอธิบายหาระ ๑๖ ใน พระราชธรรมเมธี [วิสูติ ปํฺญาทีโป], คาถาธรรม บท: นัยการศึกษาวิเคราะห์, สารนิพนธพ์ ุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์, [บัณฑิต วิทยาลยั : ,มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๖๐], หนา้ ๓๐-๖๒.

๒๗ ๔. ปทัฏฐานหาระ แนวทางในการแสดงปทัฏฐานคือเหตุใกล้ โดยอนุโลม และปฏิโลมนยั เปน๐ แนวทางในการชี้แจงเหตุใกล้ของสิ่งต่างๆ ด้วยการพิจารณาลักษณะ ของสิง่ นน้ั ก่อน เช่น เมื่อพิจารณาว่าลักษณะของตัณหา คือการยึดติดผูกพัน ก็จะเข้าใจ ได้ว่า รูปท่ีชวนหลงไหลเป๐นปทักฐานแก่ตัณหา เป๐นต้น แนวทางข้อนี้เป๐นไปตามหลัก พุทธธรรม คือเร่ิมต้นจากการดูลักษณะของป๎ญหาหรือส่ิงที่ปรากฏตามความเป๐นจริง ต่อจากนัน้ จึงค้นหาสาเหตุของการเกิดข้ึนของสิ่งเหล่านั้น อันจะนําไปสู่การแก้ไขป๎ญหา ดว้ ยการตัดตน้ เหตุของป๎ญหา ๕. ลกั ขณะหาระ แนวทางในการแสดงธรรมอน่ื ทไ่ี มไ่ ด้กลา่ วไว้โดยตรง ซึ่งมี ลกั ษณะเสมอกัน ๕ ลักษณะ ประกอบดว้ ย ๑] สหจาริตา มีการดําเนินไปร่วมกัน ๒] สห กิจจา มีหน้าที่เสมอกัน ๓] สมานเหตุตา มีเหตุเสมอกัน ๔] สมานผลตา มีผลเสมอกัน และ ๕] สมานารัมมณตา มีอารมณเ์ สมอกัน ๖. จตุพยูหหาระ แนวทางในการอธิบายวิธี ๔ กลุ่ม ๑] เนรุตตะ คือ รูป วเิ คราะห์ ๒] อธิปปายะ ความมุ่งหมายของพระพุทธเจ้าหรือพระสาวกในพระสูตรนั้นๆ ๓] นิทานะ เหตขุ องการแสดงธรรม และ ๔] สนธิ คือการเชื่อมโยงพระสูตรที่กําลังกล่าว ถึงกับพระสูตรที่นํามาอ้างอิงเป๐นสาธก จําแนกแนกเป๐น อรรถสนธิ เช่ือมโยงอรรถ, พยัญชนสนธิ เชื่อมโยงศัพท์, เทศนาสนธิ เชื่อมโยงเทศนา, นิทเทสสนธิ เชื่อมโยงนิเทศ ก่อน-หลงั ๗. อาวัฏฏหาระ แนวทางในการอธิบายท่ีแสวงหาเหตุใกล้แล้ว เวียนไปสู่ ธรรมที่เสมอกันและธรรมท่ีไม่เสมอกัน [ธรรมที่ตรงกันข้าม] เช่น เมื่อกล่าวถึงกุศล ก็ สามารถโยงไปหาอกุศล หรือเม่ือกล่าวถึงอกุศล ก็สามารถโยงไปหากุศลได้เช่นเดียวกัน หรอื นยั แห่งธรรมบท/หมวดอื่น เช่น สุคติ-ทุคติ, ทุจริต-สุจริต, อิฏฐารมณ์-อนิฏฐารมณ์, มิจฉาทิฏฐิ-สัมมาทิฏฐิ เป๐นต้น ซึ่งโดยนัยน้ี ก็จะทําให้เข้าใจพระพุทธพจน์ได้ครบถ้วน ชัดเจน ๘.วภิ ัตตหิ าระ แนวทางในการจาํ แนกข้อความในพระพุทธพจน์ออกเป๐น ๕ คอื ๑] สภาวะธรรมที่ตรงกันข้าม ๒] เหตุใกล้ ๓] ภูมิ ๔] ความเป๐นธรรมทั่วไป และ ๕] ความเป๐นธรรมไมท่ ว่ั ไป ๙. ปริวัตตนหาระ แนวทางในการเปลี่ยนไปตรงกันข้าม โดยการนําเสนอ เนือ้ หาหรอื ความคดิ ทต่ี รงกบั เร่ืองทต่ี ้องการอธบิ าย การศกึ ษาพระสูตรตามแนวทางน้ี จะ อํานวยประโยชน์ให้เข้าใจพระพุทธพจน์ได้ดี และกว้างขวางย่ิงข้ึน ทําให้ผู้ศึกษาเข้าใจ ตามความเปน๐ จริงครบถว้ น

๒๘ ๑๐. เววจนหาระ แนวทางในการจําแนกคําที่เป๐นไวพจน์ หรือคําพ้อง ใน พระพทุ ธพจน์ นยิ มใช้คาํ ไวพจน์ทมี่ ีความหมายเหมอื นกัน เพ่ือให้ผู้ฟ๎งธรรมแต่ละท้องถ่ิน สามารถเข้าใจได้อย่างชัดเจน เช่น ในบางแห่งใช้คําว่า ตัณหา [ความอยาก] บ้าง, อาสา [ความต้องการ] บ้าง, ปิหา [ความยินดี] บ้าง, อภินนฺทนา [ความเพลิดเพลิน] บ้าง คํา เหล่านเ้ี หมอื นกนั โดยองค์ธรรม แตม่ ีความหมายตามรากศัพท์ต่างกัน ผู้ที่เข้าใจในการใช้ คาํ ไวพจน์ตามหลกั ของเววจนหาระ ย่อมถอื เอาองค์ธรรมอย่างเดียวกัน ไม่แยกองค์ธรรม ตา่ งกนั ในแตล่ ะศพั ท์ ๑๑. ปัญญัตติหาระ แนวทางในการแสดงบัญญัติต่าง ๆ ท่ีสมควรแก่ ข้อความนั้นๆ เช่น เมื่ออธิบายเรื่องทุกข์ ก็อาจจะขยายความถึงธรรมชาติของขันธ์ ๕ เพ่ือให้มองเห็นทุกข์ได้ชัดเจนยิ่งข้ึน การอธิบายในลักษณะเช่นนี้ จะช่วยให้เข้าใจ ความหมายได้ละเอยี ดทกุ แง่มมุ เพิ่มขึ้น ๑๒. โอตรณหาระ แนวทางในการหยั่งลงสู่ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ และปฏิจจสมุปบาท การศกึ ษาพระสตู รแนวทางน้ี จะอานวยประโยชน์ให้เข้าใจพระพุทธ พจน์ได้ดีท้ังในเชิงปริยัติและปฏิบัติเพราะความเข้าใจธรรมะเรื่องใดเร่ืองหนึ่งอย่าง ละเอียดลึกถึงแก่น ถึงขั้นที่สามารถสงเคราะห์เป๐นขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ และปฏจิ จสมปุ บาทไดน้ ัน้ จะนาไปสู่ความเข้าใจหลักของพุทธธรรมอ่ืนๆ ไดท้ งั้ หมด ๑๓. โสธนหาระ แนวทางในการตรวจสอบบทและใจความของบทใน คําถาม – คําตอบที่บุคคลปรารภถามป๎ญหา และพระศาสดาเป๐นต้นได้วิสัชชนาไว้ตาม สมควร ด้วยการแยกประเภทย่อยของคําถาม หรือความคิดหลักที่ต้องการอธิบาย เพ่ือ แสดงให้ลักษณะหรือความหมายของาธรรมนั้น ๆ อย่างกว้างขวางท้ังที่มีลักษณะร่วม และที่มีลักษณะพเิ ศษ เช่น เมื่อกล่าวถึงอรยิ สจั บางพระสตู รแสดงไว้โดยยอ่ บางพระสูตร แสดงไว้โดยพิสดาร ผู้ศึกษาตอ้ งจําแนกธรรมเหลา่ น้นั ให้ครบถ้วน ไม่พึงจําแนกตามความ เขา้ ใจของตนเอง ๑๔. อธิษฐานหาระ อธิษฐาน ตามศัพท์แปลว่า “เคร่ืองตั้งไว้” หมายถึง แนวทางในการแสดงโดยสามัญท่ัวไปและโดยพิเศษไว้ในพระสูตรน้ันๆ ตามสมควร เช่น ธรรมทั้งหลายมีอรยิ สัจ ๔ เปน๐ ต้น ท่ีพระพุทธเจา้ ทรงแสดงไวน้ ั้น บางสูตรแสดงไว้โดยย่อ บางสูตรแสดงไว้โดยพิสดาร บุคคลพึงจําแนกธรรมเหล่านั้นตามพุทธดํารัส ไม่พึงคิด จําแนกตามความเข้าใจของตน เช่น ชาติทุกข์ ชราทุกข์ และมรณทุกข์ เป๐นต้น เป๐นทุกข์ พิเศษที่มีสภาพตา่ งกนั แตจ่ ัดเปน๐ ทุกขอ์ ริยสจั เหมือนกนั ๑๕. ปริกขารหาระ แนวทางในการแสดงเหตุและป๎จจัย ตามสมควรแก่ ธรรมนั้นๆ เพอื่ ใหท้ ราบวา่ อะไรเป๐นเหตุ อะไรเป๐นป๎จจยั ทัง้ น้เี พ่อื ให้เข้าใจเหตุที่เกิดร่วม

๒๙ และเหตทุ ี่เกดิ ข้ึนอยา่ งตอ่ เน่อื งของธรรมนั้นๆ เช่น ธรรมท่ีเป๐นเหตุมีอวิชชาเป๐นต้น ย่อม ก่อให้เกิดสังขาร เป๐นต้น โดยอวิชชาเป๐นเหตุเกิดท่ีทั่วไป ส่วนอโยนิโสมนสิการเป๐นเหตุ ทวั่ ไป ดังน้ี เป๐นต้น ๑๖. สมาโรปนหาระ แนวทางในการยกขึ้นแสดงด้วยเหตุใกล้ คําไวพจน์ ภาวนา และการละกเิ ลสหาระนี้เป๐นตัวอย่างของการนําเสนอแนวทางท่ีกล่าวไว้ในหาระ อื่นมาใช้อธิบายความเร่ืองใดเรื่องหน่ึงโดยเพิ่มการเจริญกุศลธรรม และการละอกุศล ธรรมมี ๔ ลกั ษณะ คือ ๑] ปทัฏฐาน สิ่งที่เป๐นมูลฐานที่มาของธรรมะนั้น เช่น สีลขันธ์เป๐น ปทัฏฐานแก่สมาธิขันธ์ สมาธิขันธ์เป๐นปทัฏฐานแก่ป๎ญญาขันธ์ ทั้งสีลขันธ์และสมาธิขันธ์ เปน๐ ปทฏั ฐานแกส่ มถะ ปญ๎ ญาขันธเ์ ป๐นปทฏั ฐานแกว่ ปิ ๎สสนา เป๐นตน้ ๒] เววจนะ คําไวพจน์ ๓] ภาวนา วิธีปฏิบัติเพื่อให้เจริญขึ้นในกรณีท่ีเป๐นธรรมควรเจริญ เช่น เมื่อเจริญสติป๎ฏฐาน ๔ สัมมัปธาน ๔ ก็เป๐นอันเจริญไปด้วย เม่ือเจริญสัมมัปปธาน ๔ อทิ ธิบาท ๔ กเ็ ปน๐ อนั เจรญิ ไปดว้ ย เปน๐ ต้น ๔] ปหานะ การขจัดให้หมดสิ้นไปในกรณีที่เป๐นธรรมที่ควรขจัด เช่น เมอ่ื ตามรใู้ นกองรปู วา่ เป๐นกองรปู อยู่ ย่อมละวปิ ๎ลลาสว่าสวยงาม เปน๐ ต้น ๑.๗ ลาดับชน้ั วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ชนั้ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา แบง่ ออกเปน๐ ๕ ช้ัน ไดแ้ ก่ ๑. ช้ันพระบาลี ได้แกพ่ ระไตรปฎิ ก ปจ๎ จุบนั มีการถ่ายทอดเป๐นภาษาต่างๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาพม่า ภาษาอังกฤษ ภาษาทิเบต ภาษาบาลี ภาษาสิงหล เป๐นตน้ ๒. ช้ันอรรถกถา ได้แก่คัมภีร์ท่ีพระอรรถกถาจารย์ได้รจนาข้ึนเพื่ออธิบาย ความ ไขความพระบาลีคือพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะมีคําว่า ทีปนี, โชติกา, ปกาสินี เป๐นต้น ซ่ึงมีอรรถไปในทํานองแสดง หรือทําให้กระจ่าง ต่อท้ายช่ือคัมภีร์ เช่น ปรมัตถ ทีปน,ี ปรมัตถโชตกิ า, สทั ธมั มปกาสินี เปน๐ ตน้ ๓. ช้นั ฎกี า ได้แก่วรรณกรรมบาลีท่ีแต่งข้ึนเพ่ืออธิบายความในคัมภีร์อรรถ กถา หรอื แม้แตอ่ ธิบายความในชัน้ ฎกี าด้วยกันเอง ซึ่งสว่ นใหญ่จะมีคาํ ว่า ฎีกา ต่อท้ายชื่อ คัมภีร์ เช่น อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา, สารัตถทีปนีฎีกา, วิมติวิโนทนีฎีกา, วิสุทธิมัคคมหา ฎีกา เป๐นตน้

๓๐ ๔. ชั้นอนุฎีกา ได้แก่คัมภีร์ที่พระคันถาจารย์ท้ังหลายแต่งแก้ หรืออธิบาย เพม่ิ เติมฎกี า คัมภรี ใ์ นชัน้ นี้ ต้องอาศัยการศึกษา และสังเกตพอสมควร เพราะบางคัมภีร์ ในการต้งั ชอ่ื คมั ภรี จ์ ะมีคําวา่ ฎีกา ท้ายคัมภีร์ อาจทําให้เข้าใจได้ว่าเป๐นชั้นฎีกา แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่ เช่น วนิ ยั ลักขาฎีกา, วมิ ตจิ เฉทฎกี า, ปรมตั ถมญั ชุสา อนุฎีกาอภิธัมมัตถสังคหะ , สจั จสงั เขปฎีกา เปน๐ ตน้ ๕. ช้ันอัตโนมัติ ได้แก่งานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนารุ่นหลัง นอกเหนือจากท่ีกล่าวมาทั้งหมดท่ีแต่งขึ้นเพ่ืออธิบายคําสอนทางพระพุทธศาสนา หรือ เรื่องราวเก่ียวกับพระพุทธศาสนาในมิติใดมิติหน่ึง เช่น พุทธรรม, จักรวาลทีปนี, กัมม ทีปนี, ไตรภูมิกถา, ปฐมสมโพธิกถา, ลลี าวดี, กฎแหง่ กรรม เปน๐ ตน้

๓๑ ตอนท่ี ๒ สารานกุ รมวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา

๓๒ หมวด ก กงั ขาวิตรณี อรรถกถากังขาวิตรณี๒๙ เป๐นผลงานนิพนธ์ของพระพุทธโฆสาจารย์ สาระสําคัญอธิบายปาติโมกข์ ซึ่งเป๐นข้อวัตรปฏิบัติ ตลอดจนสิกขาบทของภิกษุ และ ภิกษุณี โดยเฉพาะในส่วนท่ีเป๐นประเด็นป๎ญหาต่างๆ ท่ีจะก่อให้เกิดความสงสัย เข้าใจ คลาดเคลื่อนจากพุทธประสงค์ เชน่ เม่อื กลา่ วถึงบพุ กรณ์ ๔ ด้วยบทบาลวี า่ สมมฺ ชชฺ นี ปทโี ป จ อทุ กํ อาสเนน จ อุโปสถสฺส เอตานิ ปพุ ฺพกรณนตฺ ิ วจฺจติฯ หากพิจารณาเฉพาะคํา สมฺมชฺชนี แปลวา่ ไม้กวาด, ปทีโป แปลว่า ประทีป, อุทกํ แปลว่า น้ํา และ อาสเนน แปลว่า ด้วยอาสนะ ท้ัง ๔ คําน้ี เป๐นคํานามท้ังหมด แต่ ใชใ้ นความหมายบง่ ถึงกิริยาอาการท่ีเก่ียวข้องกับสิ่งเหล่านี้ เช่น เมื่อระบุถึงไม้กวาด ก็มี ความหมายถงึ การกวาด, เมือ่ ระบุถึง ประทีป ก็หมายถึง การตามประทีป หรือเมื่อระบุ ถึงนํ้า ก็ให้มคี วามหมายถงึ การต้ังนาํ้ ดมื่ น้าํ ใช้ เปน๐ ต้น กังขาวิตรณี อธิบายความในพระปาฏิโมกข์ตามลําดับ เริ่มต้นด้วยบท นมัสการ [บทไหว้ครู] ตอ่ ดว้ ยบทนอบน้อมพระรัตนตรัย คํานอบน้อมบูรพจารย์ ระบุชื่อ คมั ภีร์ท่จี ะอธบิ าย ระบชุ อ่ื บคุ คลท่อี าราธนาให้แตง่ คัมภรี ์ ประโยชนข์ องคมั ภรี ์ ฉบับแปลของมหาจุฬาฯ๓๐ แบ่งเนื้อหาออกเป๐น ๒ ส่วน ส่วนแรกว่าด้วย ปาติโมกข์ รายละเอียดว่าด้วยสิกขาบทของพระภิกษุ ๒๒๗ และสิกขาบทของภิกษุณี ๓๑๑ ตง้ั แต่ปาราชิกสกิ ขาบทท่ี ๑ ถึงอธิกรณสมถะ ซึง่ พระพุทธเจ้ากําหนดให้ภิกษุยกขึ้น แสดงทกุ ๑๔ หรือ ๑๕ ค่ําแหง่ ป๎กษ์ ส่วนท่ี ๒ ว่าด้วยอรรถกถาที่ชื่อกังขาวิตรณี อธิบาย เนือ้ หาพระวินัยโดยละเอียดตามลําดับ ตัวอยา่ ง บทนมัสการ นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสสฺ ฯ คํานอบนอ้ มพระรัตนตรัย [๑] พุทธฺ ํ ธมมฺ ํฺจ สงฺฆํฺจ วปิ ปฺ สนฺเนน เจตสา ๒๙ พระพุทธโฆสาจารย์, กังชาวติ รณี คมั ภีร์อรรถกถาของปาติโมกข์ เล่ม ๑, พระคันธสา ราภิวงศ์ ผู้แปลและอธบิ าย, [กรงุ เทพฯ: ประยรู สาสน์ ไทย การพิมพ์, ๒๕๕๖], ๑๐๒๓ หน้า. ๓๐ อรรถกถาภาษาไทย พระวินัยปฎิ ก กงั ขาวติ รณีอรรถกถา, ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย พทุ ธศักราช ๒๕๕๙, ๖๔๗ หน้า.

๓๓ วนฺทติ วา วนทฺ นามาน- ปชู าสกฺการภาชนํฯ แปล ข้าพเจ้ามีใจเลื่อมใสแล้ว ขอนมัสการพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ผู้เป๐นทร่ี องรบั การกราบไหว้ การนบั ถือ การบูชา และการสกั การะ [๒] เถรวสํ ปฺปทีปานํ ถริ านํ วินยกฺกเม ปุพพฺ จารยิ สหี านํ นโม กตวฺ า กตํชฺ ลฯี แปล ข้าพเจา้ ประคองอญั ชลี น้อมไหว้ท่านบุรพาจารย์ผู้ประเสริฐ ผู้ เปน๐ ดุจประทีปแหง่ เถรวงศ์ ผมู้ นั่ คงในลําดบั พระวินยั [๓] ปาตโิ มกขฺ ํ อนวชชฺ านํ ธมมฺ านํ ยํ มเหสนิ า มขุ ํ โมกขฺ ปฺปเวสาย ปาตโิ มกฺขนํ ปกาสิตฯํ แปล พระพุทธเจา้ ทรงแสดงปาติโมกข์ใด อันเป๐นประธานของธรรม ทีไ่ ม่มโี ทษทงั้ หลาย เป๐นทางเพือ่ บรรลโุ มกษะ [๔] สรู เตน นิวาเตน สจุ สิ ลเฺ ลขวตุ ฺตินา วนิ ยาจารยุตฺเตน โสณตเฺ ถเรน ยาจโิ ตฯ แปล ขา้ พเจา้ ได้รบั วิงวอนแล้วโดยพระโสณเถระ ผูร้ ่ืนรมย์ในความดี ออ่ นน้อม มีปฏิปทาอันหมดจดขดั เกลา ประกอบดว้ ยวินัยและความประพฤติ [๕] ตตถฺ สํชฺ าตกงฺขานํ ภิกฺขนู ํ ตสสฺ วณณฺ นํ กงฺขาวติ รณตถฺ าย ปริปุณฺณวนิ จิ ฉฺ ยํ [๖] มหาวิหารวาสนี ํ วาจนามคคฺ นสิ สฺ ิตํ วตตฺ ยิสฺสามิ นาเมน กงขฺ าวติ รณึ สุภนฺติฯ แปล ขา้ พเจ้าจกั ประพนั ธค์ มั ภรี ์อธิบายของปาตโิ มกข์นน้ั ช่ือ กังขาวิ ตรณี ซง่ึ มขี อ้ วินจิ ฉัยครบถว้น อาศยั แนวคําสอนของพระเถระผู้พํานกั ในวัดมหาวิหาร อัน งาม เพอื่ ขจดั ความสงสยั ของภิกษุผู้เกิดความสงสยั แลว้ ในปาติโมกขน์ ้ัน ดงั นีแ้ ล ฯ ตอ่ แต่นั้นจึงเริ่มคําอธบิ ายหัวขอ้ ในปาตโิ มกข์ โดยเร่ิมตั้งแตก่ ารอธิบายหัวข้อ ของคําเริ่มเรือ่ ง เช่น ความหมายของปาตโิ มกข์ ประเภทของสรูปะคือปาติโมกข์ ประเภท คันถปาติโมกข์ การจําแนกหัวข้อ การกําหนดหัวข้อ คําปฏิญญาในการอธิบายภิกขุ ปาติโมกข์ เป๐นต้น ต่อแต่น้ันจึงอธิบายตามลําดับสิกขาบทเร่ิมตั้งแต่ปาราชิกสิกขาบท แจกแจงหัวข้อสกิ ขาบทจนครบ ตัวอยา่ งการเขียนคาํ อธิบายในกังขาวิตรณี [๑] วา่ ด้วยเร่อื งวนั อโุ บสถ๓๑ ๓๑ กงั ขาวิตรณี แปล. หน้า ๑๑๔-๑๑๖.

๓๔ อุโบสถมี ๓ วนั ดว้ ยอาํ นาจแห่งวัน คือ [๑] วันอุโบสถแรม ๑๔ ค่ํา [๒] วัน อุโบสถข้ึน-แรม ๑๕ คํ่า และ [๓] วันอุโบสถเนื่องด้วยความสามัคคีแห่งภิกษุสงฆ์ท่ีแตก กัน บรรดาวันอุโบสถทั้ง ๓ วันนั้น วันอุโบสถแรม ๑๔ ค่ํา มี ๖ วัน คือ [๑] เห มันตฤดู มี ๒ วัน ได้แก่ วันอุโบสถท่ี ๓ และอุโบสถท่ี ๗ [๒] คิมหันตฤดู มี ๒ วัน ได้แก่ วันอุโบสถที่ ๓ และวนั อโุ บสถท่ี ๗ [๓] วัสสันตฤดมู ี ๒ วัน ได้แก่ วันอุโบสถที่ ๓ และวัน อโุ บสถท่ี ๗ ทเ่ี หลือนอกจากน้ันอีก ๑๘ วัน เป๐นวนั อโุ บสถข้ึน-แรม ๑๕ คาํ่ สรุปว่า ใน ๑ ปี มีวนั อโุ บสถรวมทงั้ หมด ๒๔ วัน จัดเป๐นปกติจาริตตอุโบสถ ดังนัยแห่งพระบาลีว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ยกปาติโมกข์ข้ึนแสดงป๎กษ์ละ ๑ ครงั้ คอื ในวัน ๑๔ คาํ่ หรือวัน ๑๕ คํา่ ” ส่วนการที่สงฆ์แตกกันแล้วกลับคืนสามัคคีในวันใดวันหน่ึง เว้นจากวัน อโุ บสถแรม ๑๔ ค่ํา และวันอุโบสถขึ้น-แรม ๑๕ ค่ํา ชื่อว่า วันสามัคคีอุโบสถ ดังนัยแห่ง พระบาลวี า่ “สงฆ์พึงทาํ อุโบสถ พงึ ยกปาติโมกข์ขึน้ แสดง ในขณะนัน้ ทีเดยี ว” [๒] ว่าด้วยเรอื่ งสมี า๓๒ สมี ามี ๒ ประเภท คือ [๑] พัทธสมี า [๒] อพัทธสีมา บรรดาสีมา ๒ นั้น สีมาที่พ้นจากสีมาวิบัติ ๑๑ ประการ ประกอบด้วยสีมา สมบตั ิ ๓ อย่าง ทีภ่ ิกษุสงฆท์ กั นิมติ ดว้ ยนิมติ แลว้ สมมุติไว้ ช่ือว่า พัทธสีมา ส่วนคามสีมา [เขตบ้าน] สัตตัพภันตรสีมา [เขตปุาไม่มีหมู่บ้านชั่ว ๗ อัพภันดร] และอุทกุกเขปสีมา [เขตที่บรุ ุษกลางคนวักนา้ํ สาดไดโ้ ดยรอบ] ชื่อวา่ อพทั ธสีมา ๑ อัพภัดร กว้างยาวประมาณ ๑๘ ศอก สีมาวบิ ัติ ๑๑ ประการ ได้แก่ ๑. สมี าเล็กเกินไป ๒. สมี าใหญ่เกนิ ไป ๓. สีมามนี มิ ติ ขาด ๔. สมี าใช้เงาเปน๐ นมิ ติ ๕. สมี าไม่มนี มิ ิต ๖. สีมาทภ่ี ิกษุอยภู่ ายนอก สมมุตสิ ีมา ๗. สมี าทสี่ มมุติในแม่นํ้า ๓๒ กังขาวติ รณี แปล. หน้า ๑๑๗-๑๒๑.

๓๕ ๘. สมี าทสี่ มมุติในทะเล ๙. สมี าท่สี มมุติในสระเกดิ เอง ๑๐.สีมาท่ีสมมตุ ิคาบเก่ยี วกนั ๑๑.สีมาที่สมมุติทบั กัน สมี าสมบตั ิ ๓ ประการ ได้แก่ ๑. นิมิตสมบตั ิ ใช้นิมติ ๘ ประการอย่างใดอย่างหน่ึงที่พระพุทธเจ้าบัญญัติ ไวแ้ ล้ว ประกอบดว้ ย ภูเขา, แผ่นหิน, ปุาไม้, ต้นไม้ [ไม้มีแก่นสูงตั้งแต่ ๘ นิ้วขึ้นไป หรือ เท่าดา้ มเหลก็ จาร], หนทาง [ทางเท้า หรือทางเกวียนท่ียังใช้สัญจรไปมาอยู่], จอมปลวก [ขนาดความสูงตง้ั แต่ ๘ น้วิ เปน๐ ต้นไป จงึ ใช้ได้], แม่นํ้า, น้ํา ๒. ปริสาสมบัติ กําหนดอย่างตํ่า ๔ รูป ประชุมกันอยู่ภายในสีมา ดํารงอยู่ ในหัตถบาส นําฉนั ทะมแลว้ สมมุติ ๓. กรรมวาจาสมบัติ สมมุติด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ระบุนิมิตถูกต้อง สวดทกั นมิ ิตถกู ตอ้ ง [๓] ว่าดว้ ยเรอ่ื งขอ้ วินิจฉยั เร่ือง เกนิ ๕-๖ คา๓๓ ๑. บาทคาถาหนึ่ง ชือ่ ว่าวาจาคําหน่งึ ๒. เมอ่ื ภิกษแุ สดงธรรมด้วยอํานาจแห่งบทเป๐นต้นเกิน ๖ คํา แก่หญิงมนุษย์ ผ้เู ขา้ ใจความหมาย เวน้ มนุษยผ์ ูช้ าย หรอื มแี ต่หญิงล้วน ให้ปรับปาจิตตีย์ตามจํานวนของ หญงิ ๓. กรณีต่อไปนี้ไม่ต้องอาบัติ [๑] แสดงธรรม ๕-๖ คํา, [๒] แสดงธรรมต่ํา กว่า ๕-๖ คํา, [๓] แสดงธรรมโดยมีบุรุษผู้เข้าใจความหมายถ้อยคําอยู่ด้วย [๔] ภิกษุ แสดงธรรมแล้วลกุ ขึน้ และกลบั มาแสดงต่อ [๕] มาตุคามผู้ฟ๎งธรรมลุกข้ึนแล้วกลับมาฟ๎ง ต่อ [๖] ภิกษุแสดงธรรมแก่มาตคุ ามผู้อื่นต่อไป [๗] ถูกมาตุคามถาม ตอบคําถามน้ันแล้ว แสดงเรื่องท่ีถูกถามต่อ [๘] แสดงธรรมเพื่อผู้อื่น แต่มีมาตุคามนั่งฟ๎งอยู่ด้วย และ [๙] ภิกษุวิกลจริต ๔ องค์ของสิกขาบทมี ๖ ประการ ไดแ้ ก่ [๑] แสดงธรรมเกนิ ๖ คํา [๒] ผู้ฟ๎ง เปน๐ มาตคุ ามตามลักษณะดังกล่าวแล้ว [๓] ไม่เปลี่ยนอิริยาบถของผู้แสดง หรือผู้ฟ๎ง [๔] ไมม่ ีบรุ ุษร่วมฟ๎งเป๐นพยานดว้ ย และ [๕] ไม่ใช่เป๐นการถาม-ตอบ ๓๓ กังขาวิตรณี แปล. หน้า ๒๙๓-๒๙๔.

๓๖ จะเห็นได้ว่า เนื้อหาในกังขาวิตรณี มุ่งขจัดข้อป๎ญหา หรือข้อสงสัยในการ วนิ จิ ฉยั โทษ หรอื อาบัติว่า อย่างไรตอ้ ง อยา่ งไรไมต่ อ้ ง เปรียบเสมือนเปน๐ คมู่ อื ให้พระภกิ ษุ และภกิ ษณุ ีเป๐นต้นใช้สาํ หรบั ตดั สินไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง กัจจายนสารมญั ชรี กัจจายนสารมัญชรี๓๔ รจนาโดยพระยสะ พระเถระชาวพม่า ในสมัยพุกาม ราวปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๖ หรอื ต้นศตวรรษท่ี ๑๗ ผู้รจนาอาศัยคัมภีร์ชังฆทาสกะของ ภาษาสันสกฤตเป๐นแนว รายละเอียดในกัจจายนสารมัญชรี จึงอ้างถึงคัมภีร์ชังฆทาสกะ บ่อยครง้ั เน้ือหาคมั ภีรก์ จั จายนสารมญั ชี แตง่ เป๐นคาถาประเภทอนุฏฐุภาฉันท์ [คาถา ๘ พยางค์] จาํ นวน ๗๒ คาถา โดยแบง่ เป๐น ๖ นิเทศ ดงนี้ ๑. สามญั นเิ ทศ วา่ ดว้ ยกฎไวยากรณ์ทัว่ ไป เรม่ิ ตั้งแต่คาถาที่ ๑-๑๙ ๒. อาขยาตนเิ ทศ วา่ ด้วยบทอาขยาต เริม่ ตัง้ แตค่ าถาท่ี ๒๐-๓๒ ๓. กิตนเิ ทศ ว่าดว้ ยบทกติ เริ่มตั้งแต่คาถาท่ี ๓๓-๔๖ ๔. การกนิเทศ วา่ ด้วยบทการก [นามศัพท์] เรม่ิ ตัง้ แตค่ าถาท่ี ๔๗- ๖๐ ๕. สมาสนเิ ทศ ว่าดว้ ยบทสมาส เรม่ิ ตั้งแตค่ าถาที่ ๖๑-๗๑ ๖. ตทั ธิตนิเทศ วา่ ด้วยบทตทั ธิต คือคาถาท่ี ๗๒ สาระของคัมภีร์ เร่ิมต้นด้วยบทปรารภของผู้รจนาคัมภีร์ ซึ่งตามขนบการ ประพนั ธ์วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาโดยท่วั ไป ท่านจําแนกไว้ ๓ ประเภท ได้แก่ ๑] การปรารภความปรารถนาของผู้รจนา เป๐นประธาน เรียกว่า อาสีสปุพพกคัณถารัมภะ เช่น คันถารัมภะในคมั ภรี ส์ โุ พธาลังการ ๒] การนอบนอ้ มตอ่ พระรัตนตรัยของผู้รจนาเป๐น ประธาน เรยี กว่า ปณามปุพพกคนั ถารมั ภะ เช่น คนั ถารมั ภะในคมั ภรี ์พาลาวตาร และ ๓] การปรารภทีย่ กท้องเรื่องหรือบุคคลอย่างใดอย่างหนึ่งเป๐นประธาน เรียกว่า วัตถุปุพพก คันถารัมภะ เชน่ คันถารัมภะในคัมภีรว์ สิ ทุ ธิมรรค เป๐นต้น ในคําปรารภของกัจจายนสารมัญชรี เร่ิมต้นด้วยการนอบน้อมต่อพระ รัตนตรัยเป๐นประธาน ดงั น้ี มุนินฺทกฺโก ตมํ โมหํ หนตฺ วฺ า โพเธสิ ปงฺกชํ ๓๔ พระยสะ, กัจจายนสารมัญชรี, พระคันธสาราภิวงศ์ ผู้แปล, [ลําปาง: วัดท่ามะโอ, ๒๕๔๒], ๑๑๕ หน้า.

๓๗ ชนํ สทฺธมฺมรสํ หี ิ โส สมปฺ าเลตุ มํ ชโิ นฯ แปล พระอาทติ ย์คือพระจอมมุนพี ระองค์ใด ทรงทาํ ลายความมืดคือ โมหะ ทรงยังดอกบัวคือชนทั้งหลายให้บานดว้ ยพระรัศมคี อื พระสทั ธธรรม ขอพระชินเจ้า พระองค์นนั้ โปรดคุม้ ครองข้าพระองค์ เม่ือนอบน้อมพระรัตนตรัยแลว้ ผู้รจนาได้แสดงปฏิญญา ดงั น้ี มาคธิกาย พาลานํ พทุ ฺธิยา พุทธฺ สาสเน วกฺขํ กจจฺ ายนสารํ นิสสฺ าย ชงฺฆทาสกฯํ แปล ข้าพเจ้าอาศัยคัมภีร์ชังฆทาสกะ แล้วจักกล่าวคัมภีร์กัจจายน สารดว้ ยภาษามคธ เพื่อความร้ขู องเยาวชนในพระพทุ ธศาสนา เมื่อแสดงบทปฏิญญาเสร็จแล้ว ผู้รจนาจึงเร่ิมอธิบายต้ังแต่สามัญนิเทศ กระทง่ั ถงึ ตัทธิตนิเทสเปน๐ ลาํ ดบั ๆ จนครบ ๗๒ คาถา ตัวอยา่ ง ๑ [คาถาท่ี ๓] สามัญนเิ ทส กตตฺ าโท ยตถฺ อาขฺยาตํ กิต-ฺ สมาสสสฺ ุ ตทธฺ ิตํ ส วตุ โฺ ต ตตฺถ ปฐมา อตถฺ มตฺตวิวจฺฉยาฯ แปล บทอาขยาต กิต สมาส และตัทธิต เป๐นไปในอรรถกัตตาเป๐น ต้นใด อรรถน้ันช่ือวา่ วุตตะ [อรรถท่ถี ูกกลา่ ว] เมื่ออรรถน้ันถกู [บทอาขยาตเป๐นต้นกล่าว แล้ว] จงี ลงปฐมาวิภตั ติ เพอื่ ต้องการกล่าว [เพยี ง] อรรถทวั่ ไป ตัวอย่างท่ี ๒ [คาถาที่ ๙] สาธมมฺ สาธนํ สทิ ฺธ- มสทิ ธฺ สโฺ สปมานกํ อุปเมยยฺ มสทิ ฺธํ ตํ ทฺวยเมกวภิ ตตฺ กิ ํ ฯ แปล ส่ิงที่รู้จักกันดีแล้ว ซึ่งยังสิ่งท่ีไม่เป๐นที่รู้จักให้เป๐นท่ีรู้จัก โดย ความมีสภาพเหมอื นกัน [ด้วยการเปรียบเทียบ] ช่ือว่า อุปมานะ, ส่ิงท่ีไม่รู้จักกันดี ชื่อว่า อุปไมย, [บทอปุ มานะและบทอปุ ไมย] ทั้งสองน้นั ตอ้ งมีวิภตั ติเดยี วกนั ตวั อยา่ งที่ ๓ [คาถาที่ ๒๐] อาขยาตนิเทส ปรสสฺ กตฺตริเยว, อตตฺ โน ปน ตีสปุ ,ี วกิ รณา ตุ สพฺเพปิ กตฺวตฺเถ สพฺพธาตุเกฯ แปล [วิภัตติ] ปรัสสบทย่อมลงในกัตตุวาจกเท่าน้ัน ส่วน [วิภัตติ] อัตตโนบท ย่อมลงในวาจกทั้ง ๓ [กัตตุวาจก กัมมวาจก และภาววาจก] วิกรณป๎จจัย ทง้ั หมดยอ่ มลงในอรรถกตั ตวุ าจก ในเพราะสรรพธาตกุ วภิ ัตตเิ บอื้ งหลงั

๓๘ ตวั อย่างท่ี ๔ [คาถาท่ี ๒๒] อารทฺธานฏิ ฐฺ โิ ต ภาโว ปจจฺ ปุ ฺปนฺโน สนุ ิฏฐฺ โิ ต อตตี านาคตุปปฺ าท- มปปฺ ตฺตาภมิ ุขา กฺรยิ าฯ แปล กิรยิ าทเ่ี กิดข้ึนแล้ว [แต่] ยงั ไม่เสรจ็ สนิ้ เรยี กว่า ปจ๎ จบุ ัน, กิริยา ทีเ่ สรจ็ เรียบร้อยแล้ว ชอ่ื ว่า อดีต [ส่วน] กิริยาท่ียังมิได้ถึงความเกิดข้ึนเฉพาะหน้า ช่ือว่า อนาคต อน่งึ ในการแปล พระคนั ธสาราภวิ งศ์ ไดพ้ ยายามเขยี นคําอธิบายประกอบใน แตล่ ะคาถา ท้ัง ๗๒ คาถา ในส่วนคาถาที่ ๒๒ ทา่ นกเ็ ขยี นคาํ อธบิ ายเพม่ิ เติมดังนี้ “ทา่ นอธิบายวา่ กริ ิยาทเี่ กิดข้ึนแล้ว แต่ยังไม่เสร็จสิ้น คือกําลังดําเนินไปอยู่ เรียกว่า ปจ๎ จุบัน ดงั มีรูปวิเคราะห์ว่า ตํ ตํ การณํ ปฏิจฺจ อุปฺปนฺโน ปจฺจุปฺปนฺโน [กิริยาที่ เกดิ ขนึ้ โดยอาศัยเหตนุ ้นั ๆ ช่ือวา่ ปจ๎ จุบัน] กิรยิ าท่ีเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว คือผ่านพ้นจากช่วง ป๎จจุบนั ไปแลว้ เรยี กว่า อดีต ดังมีรูปวิเคราะห์ว่า อติกฺกมฺม อิโตติ อตีโต [กิริยาที่ล่วงไป แลว้ ช่ือวา่ อดตี ] กิริยาท่ีจะเกิดในอนาคตต่อไป เรียกว่า อนาคต ดังมีรูปวิเคราะห์ว่า น อาคโต อนาคโต [กิรยิ าทม่ี ไิ ดม้ าแลว้ ชือ่ วา่ อนาคต] คําว่า ภาโว [กิริยา] มีความหมายตามรูปศัพท์ว่า ความมี, ความเป๐น ก็คือ กิริยาอาการนนั่ เอง บทนม้ี ีรปู วเิ คราะห์วา่ ภวน ภาโว [ความเป๐น เรยี กว่า ภาวะ] อารทธฺ านฏิ ฐิโต = อารทฺธ + อนฏิ ฐิโต อตตี านาคตปุ ฺปาทมปปฺ ตฺตาภิมุขา = อตีต + อนาคต + อุปปาทํ + อปฺปตฺต + อภิมขุ า” ตัวอย่างที่ ๕ [คาถาที่ ๖๑] วเิ สสน-วิสสยฺ านํ อภินนฺ ตถฺ ติตมีรติ ํ สมาโส นาม ตาทมิ ฺหิ ตทธฺ โิ ตปิ วิธียเตฯ แปล ท่านกล่าววา่ ความีเน้ือความเป๐นอยา่ งเดียวกันของบทวเิ สสนะ และวิเสสยะ ช่ือวา่ สมาส แม้ตทั ธติ อนั ท่านย่อมกระในอรรถเช่นน้ี ในคาถานี้ พระคันสาราภวิ งศ์ ได้เขียนคําอธิบายเพ่ิมเตมิ ดงั น้ี สมาส คือ บทนาม ๒ บทที่ถูกประกอบเข้าเป๐นบทเดียวกันด้วยการลบ วิภัตติ บทที่เช่ือมเป๐นสมาสแล้ว จะมีเน้ือความเป๐นอันเดียวกันไม่แตกต่างกันเหมือนใน เวลาท่ีเป๐น ๒ บทก่อนจะเข้าสมาส เช่น รํฺโญ ปุริโส ราชปุริโส [บุรุษของพระราชา เรียกวา่ ราชบุรุษ] บทสมาสคือ ราชปุริโส ประกอบข้ึนมาจากศัพท์ว่า ราช+ปุริส บทว่า

๓๙ รํฺโญ ได้แก่พระราชา บทว่าปุริโส ได้แก่บุรุษ แต่สําหรับบทสําเร็จคือ ราชปุริโส ได้แก่ ราชบุรุษ เป๐นเนือ้ ความอนั เดยี วกนั ของบททงั้ สอง... ขอ้ สงั เกตเพ่ิมเตมิ จากเน้ือคาถาในแต่บาทรวม ๗๒ คาถา นอกจากจะให้สาระด้านคัมภีร์ ไวยากรณ์แลว้ แตล่ ะคาถายังแสดงถึงภูมิความรู้ในเรือ่ งขนบการประพนั ธว์ รรณกรรมทาง พระพุทธศาสนาได้เป๐นอย่างดี พจิ ารณาเฉพาะคาถาที่ ๒๒ ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นว่า ใน คาถาบทน้ี ประกอบด้วยโอชาคุณ คือมีบทสมาสมาก การเขียนให้มีบทสมาสมากๆ ในทางประพันธ์ถือวา่ เปน๐ การประกาศภูมิรู้ทางด้านการประพันธ์ของผู้ประพันธ์ จะเห็น ได้จากบาทที่ ๓ และบาทท่ี ๔ ผรู้ จนาใช้คาํ สมาสผนวกเขา้ ด้วยกันเป๐นคําเดียว คือ อตีตา นาคตุปฺปาทมปฺปตฺตาภิมุขา = อตีต + อนาคต + อุปปาทํ + อปฺปตฺต + อภิมุขา หรือ แม้แต่ในบาทแรก กลา่ วคอื อารทธฺ านิฏฐโิ ต = อารทฺธ + อนฏิ ฐิโต เป๐นตน้ กรรมทีปนี กรรมทีปนี๓๕ เปน๐ ผลงานของพระราชวิสุทธโิ สภณ [วิลาส ญาณวโร ป.ธ.๙] อดีตเจ้าอาวาสวัดยานนาวา และกรรมการมหาเถรสมาคม ถือเป๐นวรรณกรรมยุค รัตนโกสินทร์อีกเรื่องหนึ่งท่ีสําคัญ และได้รับการยกย่องว่าเป๐นเพชรนํ้าเอกในวงการ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเล่มหน่ึง เพราะได้รับรางวัลชนะเลิศวรรณกรรมไทย สาขาศาสนา ประจําปี ๒๕๑๗ ของธนาคารกรุงเทพ จํากัด [มหาชน] และผู้แต่งงาน วรรณกรรมช้ินนี้ ได้รับรางวัลชนะเลิศวรรณกรรมสาขาศาสนาจากธนาคารกรุงเทพ ๓ คร้งั ครัง้ แรกจากวรรณกรรมเรอื่ งภมู ิวิลาสิน,ี ครงั้ ที่ ๒ จากวรรณกรรมเร่ืองวิมุตติรัตนมา ลี และครั้งที่ ๓ จากวรรณกรรมเรือ่ งกรรมทีปนี ซง่ึ จากเกียรติคณุ ดังกลา่ ว ทําให้ท่านด้รับ การประกาศเกียรติคุณว่าเป๐นผู้ทําคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา สาขาการแต่ง หนงั สอื ทางพระพทุ ธศาสนา ในวันวิสาขบูขา ประจาํ ปี ๒๕๓๑ ลกั ษณะคาํ ประพันธ์ เป๐นรอ้ ยแก้วแบบความเรียงทั่วไปผสมผสานความเรียง เชิงกวีนิพนธ์ และใช้โวหารหลายลักษณะผสมผสานกันไปตามแต่โอกาส และจังหวะท่ี เหมาะสม เนอ้ื หาสว่ นใหญ่ของเรือ่ ง ได้มาจากคัมภรี พ์ ระไตรปฎิ ก อรรถกถาเปน๐ สว่ นใหญ่ อีกท้ังสํานวนภาษาท่ีใช้ในงานวรรณกรรมเร่ืองน้ี ดูจะล้อภาษาคัมภีร์ ทําให้ได้อรรถรส แบบอีกแบบหนึ่ง ๓๕ พระราชวสิ ทุ ธิโสภณ [วิลาศ ญาณวโร], กรรมทปี น,ี [กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พิฆเนศ, ๒๕๒๐], ๑๐๓๐ หนา้ .

๔๐ วรรณกรรมเรื่องกรรมทีปนี ไม่ได้แบ่งเน้ือหาเป๐นปริจเฉท แต่แบ่งเป๐นภาค รวม ๓ ภาค ประกอบด้วย ภาคที่ ๑ ประเภทแห่งกรรม, ภาคที่ ๒ ผลแห่งกรรม, ภาคท่ี ๓ ว่าด้วยการเผาผลาญกรรม และตอ่ ด้วยสรปุ ความ อวสานกถาตามลาํ ดับ เน้อื หาวรรณกรรม เร่ิมด้วยปณามพจน์ ต่อด้วยอารัมภกถา จากนั้นก็ปูพ้ืน ด้วยความเช่ือดังเดิมที่มีมาก่อน และสมัยพุทธกาลนับตั้งแต่อกิริยะทิฏฐิ อเหตุกะทิฏฐิ นัตถิกะทิฏฐิ ซึ่งถือเป๐นความเช่ือเร่ืองกรรมแบบผิดๆ ที่ฝ๎งอยู่ในสังคมมาเป๐นระยะเวลา ยาวนาน ต่อแต่นั้นก็พรรณนาถึงกรรมในทัศนะของพระพุทธศาสนา ต่อแต่นั้นจึงเร่ิม ต้ังแต่ภาคท่ี ๑ ซ่ึงว่าด้วยเรื่องประเภทแห่งกรรม โดยในเรื่องประเภทแห่งกรรมนี้ จะ แบ่งกลุ่มออกเป๐น ๓ ประเด็นหลัก คือ กรรมที่ว่าโดยหน้าที่, กรรมท่ีว่าโดยลําดับการ ใหผ้ ล , และกรรมทวี่ ่าโดยเวลาให้ผล ดงั น้ี ๑. กรรมที่วา่ โดยหนา้ ที่ ๔ ประเภท ประกอบดว้ ย ชนกกรรม กรรมทําหนา้ ทีใ่ ห้กําเนิด หรอื กรรมพาให้เกิดมีท้ังฝุาย ดี-ชัว่ อปุ ตั ถภกรรม กรรมทาํ หนา้ ทีอ่ ปุ ถมั ภ์ หรือกรรมสนับสนุน มีท้ังฝุาย ดี-ช่วั อุปปฬี กกรรม กรรมทําหนา้ ที่ขัดขวาง มีท้งั ฝาุ ยดี-ช่วั อปุ ฆาตกรรม กรรมทาํ หนา้ ทเ่ี ข้าไปตดั รอนกรรมอื่นๆ ในการอธิบายกรรมเหล่านี้ พระพรหมโมลี [วิลาส ญาณวโร] ได้อธิบาย ขยายความด้วยโวหารตา่ งๆ นบั ต้งั แต่พรรณนาโวหาร อธิบายโวหาร อุปมาโวหาร สาธก โวหาร และเทศนาโวหาร โดยเฉพาะสาธกโวหารนั้น ส่วนใหญ่ใช้เร่ืองราวต่างๆ ท่ีอยู่ใน คัมภีรพ์ ระไตรปิฎกบา้ ง อรรถกถาธรรมบทบ้าง อรรถกถาชาดกบา้ ง มงั คลตั ถทปี นบี า้ ง ๒. กรรมที่วา่ โดยลาํ ดับการให้ผล ๔ ประเภท ประกอบดว้ ย ครุกรรม กรรมหนกั ให้ผลก่อน อาสนั นกรรม กรรมทที่ าํ จวนเจยี นใกล้ตายให้ผลถัดมา อาจิณณกรรม กรรมทท่ี ําบ่อยๆ หรือทาํ เปน๐ ประจําให้ผลในลําดับถัด มา กตัตตากรรม กรรมที่สักแต่ว่าทําน้ําหนักเบา ให้ผลเป๐นลําดับ สุดทา้ ย ๓. กลุ่มทใี่ ห้ผลตามเง่อื นไขของเวลา ๔ ประเภท ประกอบด้วย ทิฐธรรมเวทนยี กรรม กรรมใหผ้ ลในชาติน้ี อปุ ปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในชาตหนา้

๔๑ อปราปรืยเวทนยี กรรม กรรมใหผ้ ลในชาตติ ่อๆ ไป อโหสิกรรม กรรมท่ีไม่ให้ผลอีกต่อไป หรือกรรมท่ีให้ผล เสรจ็ แลว้ เน้ือหารายละเอยี ด และวิธีการนาเสนอในกรรมทีปนี กรรมทีปนี เริ่มเร่ืองด้วยบทปณามคาถา ตามแบบขนบการประพันธ์ วรรณคดีบาลที ่วั ไป แต่บทปณามคาถา เรียกว่า ปณามพจน์ ท้ังน้ีเพราะรูปแบบของการ นําเสนอนั้น เป๐นบทร้อยแก้ว ไม่ใช่ร้อยกรองเหมือนวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา โดยท่วั ไป เนอ้ื ปณามพจน์ มีดังนี้๓๖ นมตถฺ ุ รตนตฺตยสฺส ขา้ พเจา้ ขอถวายนมสั การองคส์ มเต็จพระพชิ ิตมาร บรมไตรโลกุตตมาจารย์ สัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ผู้ทรงมีพระมหากรุณาแผ่ไปในไตรภพ และพระนพ โลกุตรธรรมอันล้าเลิศ กบั ทั้งพระอริยสงฆ์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐด้วยเศียรเกล้าแล้ว จะขออภิวาทนบไหว้ซ่งึ ทา่ นบรู พาจารย์ท้ังหลาย ผู้เป๐นอริยสัปปุรุษมีญาณ และพระคุณ บริสทุ ธ์ิ ทรงไวซ้ ึง่ นกิ ายไตรปิฏกนาํ พระพทุ ธศาสนาสืบๆ กันมา ด้วยคารวะเป๐นอย่างยิ่ง แลว้ จักรจนาเรยี บเรียงอรรถวรรณนา ซึ่งต้ังชื่อว่า โลกทีปนี เพ่ือช้ีแจงถึงโลกต่างๆ อัน สตั วท์ ั้งหลายท่ียังท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารต้องอุบัติเกิด พร้อมท้ังแสดงเหตุแห่งการเขัา ถึงโลกเหล่าน้ันตามสมควร ขอมวลชนคนดีมีป๎ญญาท้ังหลาย จงต้ังใจสดับอรรถ วรรณนาของขา้ พเจา้ ซึง่ จักกลา่ วในโอกาสตอ่ ไปน้ี ดว้ ยดเี ทอญฯ ขอ้ สังเกต ปณามพจน์ บทร้อยแก้วนมัสการพระรัตนตรัยนี้ แม้จะเป๐น รอ้ ยแกว้ แต่กม็ ลี กั ษณะเชิงกวีนิพนธ์อยู่ด้วย โดยสังเกตได้จากการเล่นสัมผัสระหว่างคํา ระหวา่ งวรรค และสมั ผัสระหว่างประโยค อารัมภกถา๓๗ สมัยที่องคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าของเรา ยังทรงพระชนม์ชีพและทรง ประกาศพระศาสนาอยูน่ ัน้ ปรากฏว่ามศี าสดาจารย์เจา้ ลทั ธิผู้หนึ่ง เป๐นผู้มีชื่อเสียงโด่งดัง ลือชา มหาชนบางหมู่ยกย่องว่าเป๐นพระอรหันต์ เพราะท่านมีชีวิตความเป๐นอยู่อย่าง ๓๖ พระราชวสิ ุทธโิ สภณ [วลิ าศ ญาณวโร], กรรมทปี นี, หน้า ๑. ๓๗ พระราชวสิ ทุ ธิโสภณ [วลิ าศ ญาณวโร], กรรมทปี น,ี หนา้ ๒-๓.

๔๒ ง่ายๆ ผิดแปลกจากมนุษย์ธรรมดาสามัญ และลัทธิคําสอนของท่านก็เป๐นอัศจรรย์คือ เม่ือผูใ้ ดใครผูห้ นึง่ จักประพฤติปฏบิ ตั ติ ามลทั ธิคําสอนของทา่ นแล้ว ก็ย่อมจะปฏิบัติได้โดย ง่ายดายแสนจะสะดวกนกั หนา ทา่ นศาสดาจารยผ์ ู้น้มี ีนามว่า ปรู ณะกัสสปะ ท่านปูรณะกัสสปศาสดาจารย์น้ี มีชีวประวัติว่า เดิมทีเป๐นขี้ข้าแห่งเศรษฐี รวยทรพั ย์ตระกลู หนง่ึ ก่อนทเ่ี ขาจะลมื ตามาดูโลกน้ัน ท่านเศรษฐีมขี า้ ทาสสําหรับใช้สอย อยูใ่ นบา้ นถึง ๙๙ คนแลว้ และในสมัยนั้นถือกันว่า ทาสคนใดเกิดมาครบเป๐นคนที่ ๑๐๐ ในตระกูล ทาสคนน้นั ชือ่ วา่ เป๐น “มงคลทาส” แหง่ ตระกูล ฉะน้ันเมื่อท่านศาสดาจารย์ใน อนาคตเกิดมาครบเป๐นคนท่ี ๑๐๐ ในตระกูลน้ัน ท่านเศรษฐีเจ้าเงินจึงตั้งชื่อให้อย่าง ไพเราะวา่ “ปรู ณะ” ซงึ่ แปลว่า นายเต็ม แล้วออกประกาศแก่บุตรภรรยาและข้าทาสทุก คนในบ้านวา่ “เจ้าปรู ณะน้ี มนั เปน๐ มงคลทาสของเรา การงานส่ิงไรในบ้านของเรา มันจะ ชอบใจทําก็ตาม ไม่ชอบใจทําก็ตาม พวกเราอย่าว่ากล่าวมันเลย ดีช่ัวหนักนิดเบาหน่อย อยา่ งไร ให้พวกเราจงอย่าไดถ้ ือสามันเลย ปลอ่ ยให้มนั อยู่สบายตามอัธยาศัยของมันเถดิ ” ฝุายกระทาชายนายเต็มผู้มฤี กษก์ ําเนิดดเี กิดมาสบโชค คร้ันเจริญวัยวัฒนา การกเ็ ป๐นหนุ่มเจ้าสาราญประจําบ้าน มีความเป๐นอยู่อย่างสุขสบายเสมือนดังว่าตนมิใช่ ทาส ใคร่จักกระทาํ ส่งิ ใดก็ได้ตามอธั ยาศัย ใครจ่ ักกนิ ก็กนิ ใคร่จักนอนก็นอน ใคร่จักเที่ยว กเ็ ทีย่ ว ใครจ่ ักเล่นกเ็ ลน่ ไมม่ ใี ครบังคับบัญชา ไม่มีใครว่ากล่าว เขาประพฤติตนประหนึ่ง ดงั ว่าเปน๐ พณะหัวเจา้ ท่านอีกคนหน่ึงในบ้านนั้นมาอยา่ งน้เี ปน๐ เวลาช้านาน กาลวันหนึ่งจะ เปน๐ เพราะวา่ เขาหมดบุญไมส่ ามารถท่ีจะเสวยสุขอยู่ในบ้านน้ันอีก หรือจะเป๐นเพราะเวร กรรมอย่างใดกส็ ดุ ท่ีจกั เดาจงึ ทําให้เขาเกดิ ความคิดข้นึ วา่ “อาตมะอย่ทู ี่นี่ ไม่เห็นจะมปี ระโยชน์อะไร อยูไ่ ปวนั หนึ่งๆ ก็เท่านน้ั เอง การ งานสิ่งไรไม่ได้ทําเหมือนเขาอ่ืน ยิ่งอยู่ก็ย่ิงกลุ้มใจหนักข้ึนทุกวัน อย่ากระนั้นเลย ควรท่ี อาตมาจักหนีออกจากบา้ นนี้ไปยงั สถานท่อี น่ื ลองท่องเทย่ี วไปในโลกกว้างเสียสักพัก หาก วา่ ไม่เขา้ ทา่ จงึ กลับมามีชวี ิตอยใู่ นบ้านนีอ้ กี ตามเดิม” ดําริดังน้ีแล้ว ออเต็มเพ่ือนก็มิรอช้า พอยามราตรีจึงลอบหนีออกจากบ้าน ทา่ นเศรษฐี โดยมขี องจาํ เป๐นติดตัวไปเพยี งเล็กน้อย เดินทางเผชิญโชคเร่ือยไปตามความ พอใจ วนั หนงึ่ บงั เอิญเคราะหร์ ้ายถูกปลน้ พวกโจรพากันริบเอาทรัพย์สินท่ีเขามีติดตัวอยู่ เสียจนหมดส้ิน เม่ือเห็นว่าได้ทรัพย์น้อยนักหนา โจรผู้หัวหน้าจึงกล่าวแก่เขาว่า “ทุด ! คนจัญไรเหตุไฉนออเจ้าจึงเป๐นคนอนาถาหาสมบัติมิได้ถึงเพียงนี้ ทําให้พวกเราเสียทีที่ ปลน้ เจ้าฉะน้นั เราจะทําให้เจ้าเป๐นคนอนาถาหนักเข้าไปอีก” ว่าดังนี้แล้วก็พากันเปลื้อง เอาผ้านุ่งผ้าห่มออกจากร่างกายของเขาจนหมดส้ินแล้วรีบหนีไป ปล่อยให้กระทาชาย นายเตม็ ยนื งงอย่ใู นปาุ นัน่ ผูเ้ ดียวโดยไมม่ ผี ้าผอ่ นพนั กายเลยแมแ้ ตน่ ดิ หน่งึ

๔๓ หลังจากยืนงงในเหตุการณท์ เี่ กิดข้นึ แก่ตนอย่คู ร่หู นึง่ แลว้ เขาก็รีบเดินเข้าไป ในปาุ ลึก ด้วยเกรงวา่ ใครมาพบเห็นเข้าจักได้รับความละอาย ก็ออเต็มน้ัน วิสัยเพ่ือนเป๐น คนโฉดเขลาไร้ปญั ญา เพราะต้ังแต่เกดิ มาไมเ่ คยทําอะไรเลย ฉะนั้น เมื่อถึงคราวเคราะห์ หามยามร้าย จนถึงไม่มีผา้ จะพนั กายเช่นน้ี กห็ ามีความคิดท่ีจะเอาใบหญ้ามาปกปิดกาย ตนตา่ งผา้ เปน๐ การชัว่ คราวไปก่อนไม่ ได้แต่เดินมะงุมมะงาหราระทมทุกข์ซุกซ่อนตนอยู่ ในปุาน้ัน คร้นั เกิดความหิวโหยข้ึนมา แสบท้องหนักเข้าทนมิได้ก็ส้ินความละอาย เดินโซ ซัดโซเซเข้าไปในหมู่บ้านเพ่ือจะขออาหารเขาบริโภคประทังหิว ฝุายชาวบ้านแถบน้ันซ่ึง เป๐นคนปราศจากป๎ญญาเหมือนกัน คร้ันเห็นกระทาชายนายเต็มเดินมาด้วยกิริยาอัน พกิ ลเชน่ นน้ั ตา่ งกบ็ อกแก่กนั และกันวา่ “ทา่ นผนู้ ้ี เป๐นนักบวชปฏิบตั ิมักน้อยสันโดษ แม้แต่ผ้าท่านก็หานุ่งห่มไม่ ถ้า กระไร ท่านผู้น้ีเห็นทีจะเป๐นพระอรหันต์อย่างแม่นมั่น มาเถิดเหวยพวกเรา เราจงมา กระทําบุญด้วยท่านเถิดจักได้ประสบบุญกุศลมาก จะหาสมณะอื่นใดท่ีทรงคุณวิเศษมัก นอ้ ยสันโดษ เสมอดว้ ยสมณะองคน์ เ้ี ปน๐ ไม่มอี ีกแลว้ ” ชาวบ้านปุาผู้โงเ่ ขลาปราศจากปัญญา ว่าแก่กันด้วยความต่ืนในผู้วิเศษดังน้ี แล้ว ต่างก็ชวนกันถือเอาขนมและอาหารอันประณีตเท่าที่ตนจักสามารถหาได้ มามอบ ถวายให้แก่ออเต็มผู้หิวโหยเป๐นอันมาก คร้ันได้บริโภคอาหารเป๐นที่อ่ิมหนาสาราญหาย หน้ามืดเพราะความหิวแล้ว และได้ยินเขาสรรเสริญตนอยู่นักหนาว่าเป๐นพระอรหันต์ๆ ออเต็มผู้มีป๎ญญาส้ัน ก็เลยสําคัญเอาเองว่าตนเป๐น “พระอรหันต์” จริงๆ ต้ังแต่น้ันมาก็ เกดิ อโยนโิ สมนสกิ าร ถือมั่นเหน็ เปน๐ อกิริยทฐิ วิ ่า “ทําบุญก็ไม่เป๐นอันทํา จะทําบุญสักเท่าใด ก็เป๐นอันทําเหนื่อยเปล่า หาได้ บุญไม่ ทําบาปกไ็ ม่เป๐นอันทํา ถึงจะทําบาปสักเท่าใดๆ ก็หาได้บาปไม่ ดูตัวอย่างเช่นอาต มะนี้ อาตมะได้กระทําบุญเสียสักทีเมื่อไร อยู่เฉยเปล่าแท้ๆ ไม่ได้ทําอะไรเลย ถึงทีจะได้ เป๐นพระอรหนั ต์ ก็ได้เป๐นเอาเฉยๆ อยา่ งนัน้ แหละ การท่อี าตมะไดเ้ ปน๐ พระอรหันต์ในครั้ง นี้ มิใชว่ ่าด้วยอานุภาพแห่งบุญและบาป แตเ่ ป๐นพระอรหันต์ขน้ึ มาไดเ้ พราะกริ ิยาท่ีอาตมะ ไม่นุ่งห่มผ้า ฉะน้ัน ภาวะที่ไม่นุ่งห่มผ้าน้ี จึงเป๐นบรรพชาเพศอย่างดี มีคนไหว้นับถือ มากมาย ลาภสักการะบังเกิดข้ึนเป๐นหนักหนา อย่ากระนั้นเลยแต่น้ีต่อไป อาตมะจะไม่ น่งุ ผา้ หม่ ผ้าเลยเป๐นอันขาด” ข้อสงั เกต ๑. อารัมภกถา พรรณนาความเป๐นพรรณนาโวหาร แมจ้ ะเป๐นรอยแก้ว แต่ กเ็ ป๐นร้อยแก้วเชงิ กวนี พิ นธ์ คอื มีจงั หวะและลีลาทางภาษา มีการเล่นคําสัมผัสระหว่างคํา

๔๔ ระหว่างวรรค เป๐นระยะ แม้จะไม่มากนกั เมอื่ เทยี บกับสํานวนพระนิพนธ์ของสมเด็จพระ มหาสมณเจ้า กรมพระปรมานชุ ติ ชิโนรส ในวรรณกรรมเรือ่ งปฐมสมโพธิกถา ๒. มีการใช้สรรพนามแทนบุรุษท่ี ๒ ซ่ึงไม่ค่อยปรากฎให้เห็นในงาน วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาบ่อยนัก นั่นคือคําว่า “ออเจ้า” ผู้นิพนธ์ใช้คํานี้เรียกช่ือ ทาสผู้หนงึ่ ของเศรษฐี ซง่ึ เกดิ มาครบคนที่ ๑๐๐ พอดี จึงได้รบั สิทธิพิเศษจากทาสคนอ่ืนๆ โดยผู้นิพนธใ์ ชส้ าํ นวนเรียกว่า ออเจา้ บา้ ง, ออเต็มบา้ ง, กระทาชายนายเต็มบ้าง ซึ่งท่านผู้ นี้ ตอ่ มากค็ อื ศาสดาผู้เปน๐ เจ้าลัทธิสาํ คัญทา่ นหน่ึงร่วมสมัยพทุ ธกาล ๓. เน้อื ความ แมจ้ ะเป๐นร้อยแก้ว แต่ผู้แต่งใช้สํานวนโวหารเชิงประพันธ์ท่ีมี สัมผัสในระหว่างประโยค เป๐นระยะๆ ทําให้เกิดทํานอง หรือจังหวะที่สละสลวย ได้ อรรถรสย่งิ ข้นึ ตวั อยา่ งการอธบิ ายเร่ืองกรรม ตวั อย่างท่ี ๑๓๘ บัดนี้ จกั พรรณนาถงึ ประเภทกรรมตามเค้าโครงแห่งเร่ืองกรรมอันปรากฏมี พระคัมภรี ์ต่างๆ ทางพระพทุ ธศาสนา มพี ระคมั ภีร์มโนรถปรู ณี เป๐นต้น เพื่อที่จักช้ีแจงให้ ท่านสาธุชนผู้มีป๎ญญาทั้งหลายได้ทราบในป๎ญหาที่น่ารู้ เช่นป๎ญหาท่ีว่า กรรมมีอยู่กี่ ประเภท และกรรมแตล่ ะประเภทนนั้ มีลกั ษณาการแตกต่างกันอย่างไรบ้างดังน้ีเป๐นอาทิ ซึ่งเป๐นเรื่องที่พวกเราผู้เป๐นพุทธศาสนิกชนคนนับถือพระบวรพุทธศาสนา ควรจักสนใจ และศึกษาให้รู้ไว้เป๐นอย่างย่ิง ในการศึกษาเร่ืองประเภทแห่งกรรมน้ี เพื่อความเข้าใจ งา่ ยๆ เราควรจะได้ศกึ ษากันถงึ กรรมประเภทท่ี ๑ ก่อน ดังตอ่ ไปน้ี กรรมประเภทท่ี ๑ กรรมท่ีว่าโดยหนา้ ท่ี ในกิจจตุกกะ คือกรรมประเภทที่ว่าโดยหน้าท่ีน้ี มีอยู่ ๔ หมวดด้วยกัน คือ ชนกกรรม ๑ อุปถัมภกกรรม ๑ อุปปีฬกกรรม ๑ อุปฆาตกกรรม ๑ ซ่ึงมีอรรถาธิบาย ตามลาํ ดบั ก่อนหลัง ดงั ตอ่ ไปน้ี ชนกกรรม ชเนตตี ิ ชนก \"กรรมใด ย่อมทาวิบากนามขนั ธ์และ กัมมชรูปให้เกิดขึน้ กรรมนัน้ ชอื่ ว่า ชนกกรรม\" ๓๘ พระราชวิสุทธโิ สภณ [วิลาศ ญาณวโร], กรรมทปี นี, หนา้ ๑๙-๒๓.

๔๕ ชนกกรรม นี้ ยอ่ มเปน๐ กรรมท่ีทําให้วิบากและกัมมชรปู เกดิ ขนึ้ ทงั้ ในปฏิสนธิ กาลและประวัติกาล หมายความว่า ครั้นสัตว์ทั้งหลายตายลงแล้ว เมื่อจะไปเกิดในภูมิ ตา่ งๆ ซง่ึ มีอยู่ในสงสารวัฏน้ี เชน่ ไปเกิดเป๐นสตั วเ์ ดยี รัจฉานในติรัจฉานภูมิก็ดี ไปเกิดเป๐น เทวดาในเทวภูมิก็ดี หรอื มาเกดิ เป๐นมนุษยใ์ นมนุษยภูมิก็ดี เหล่าน้ีย่อมเป๐นไปด้วยอํานาจ แห่งชนกกรรม ซ่ึงทําหน้าท่ีให้วิบากและกัมมชรูปเกิดข้ึนในปฏิสนธิกาลท้ังสิ้น และเมื่อ สตั ว์ท้ังหลายเกดิ ข้ึนมาแลว้ ก็ต้องมอี วยั วะนอ้ ยใหญ่เกิดขนึ้ ตามสมควรแก่สัตว์น้ันๆ พร้อม ท้ังมีการเหน็ การไดย้ นิ การไดก้ ล่ิน การรรู้ ส การสมั ผสั และการรักษาภพ [ภวังค์] เกิดข้ึน ตามสมควร เหล่าน้ีย่อมเป๐นไปด้วยอํานาจแห่งชนกกรรมซ่ึงทําหน้าท่ีให้วิบาก และกมั มชรูปเกดิ ขนึ้ ในประวัติกาล ท่านผู้มีป๎ญญาท้ังหลาย ความหมายแห่งชนกกรรมตามท่ีกล่าวมานี้เป๐น อยา่ งไรบา้ งเล่า ร้สู ึกว่าจะเข้าใจยากไปหรือเปล่า ถ้ารู้สึกว่าจะเข้าใจยากไปสักหน่อยก็ไม่ เป๐นไร อย่าเพ่ิงท้อใจ ขอให้จําไว้ง่ายๆ แต่เพียงว่า ชนกกรรมน้ี ทําหน้าที่ยัง ปฏิสนธิให้ บังเกดิ ขึ้น คอื เป๐นพนกั งานตกแตง่ ปฏิสนธใิ หเ้ กิดขนึ้ เท่านั้น มไิ ด้ทาํ หน้าที่อยา่ งอืน่ ถ้าจะเปรียบชนกกรรมนี้ ย่อมเปรียบเสมือนมารดาเป๐นท่ีเกิดแห่งบุตร ธรรมดาว่า มารดาย่อมมีหน้าท่ียังบุตรให้เกิดขึ้น คือเป๐นผู้ให้กําเนิดแก่บุตรโดยเฉพาะ อย่างเดียวเท่าน้ัน ครนั้ บตุ รเกดิ ขน้ึ มาแลว้ ยอ่ มเปน๐ หนา้ ที่ของนางนมเอาไปเลย้ี ง นางนมก็ ใสใ่ จบาํ รุงรกั ษา พูดง่ายๆ ว่ากิจที่จะต้องเลี้ยงดูและคอยพิทักษ์รักษาในเมื่อทารกคลอด ออกมาแลว้ น้ันเป๐นพนักงานของนางนม มิใชเ่ ป๐นพนักงานของมารดา อุปมานี้ฉันใด ชนก กรรมซง่ึ เปรยี บเสมือนมารดา กม็ ีหน้าท่เี ป๐นพนกั งานเพยี งนําปฏิสนธิ คือยังสัตว์ท้ังหลาย ให้เกดิ ขึ้นเท่านั้น ไม่ทําหน้าที่อย่างอ่ืน พอทําหน้าที่ยังสัตว์ให้เกิดแล้ว ก็หมดหน้าท่ีของ ชนกกรรม เหมือนมารดาพอยังทารกให้เกิดแล้วก็หมดหน้าท่ีของตน ส่วนการที่จะคอย อปุ ถัมภค์ ํา้ ชหู รอื คอยเบยี ดเบียนสัตว์ทั้งหลายผู้เกิดมาแล้วน้ันเป๐นพนักงานของกรรมอื่น เหมอื นการเลยี้ งดแู ละคอยพิทกั ษ์รักษาในเมื่อทารกนั้นเกิดมาแล้วเป๐นหน้าท่ีของนางนม ซึ่งเป๐นคนอ่นื หาใช่เปน๐ หนา้ ทีข่ องมารดาทีย่ งั ทารกใหเ้ กดิ ไม่ ฉะนนั้ จึงเป๐นอันว่า บัดนี้เราทั้งหลายก็ได้ทราบกันแล้วว่า การที่สัตว์ทั้งหลายจะ เกดิ ขึน้ มาในวัฏภมู ิ ไมว่ า่ จะเกิดเป๐นสัตว์เดียรัจฉาน เป๐นมนุษย์เป๐นเทวดาหรือเป๐นอะไรก็ ตาม ไม่ใช่ว่าอยู่ๆ แล้ว เอะอะก็เกิดข้ึนมาเองโดยไม่มีเหตุไม่มีป๎จจัยอะไรทั้งสิ้น หรือว่า นึกจะเกิดเป๐นอะไรก็วิ่งพรวดไปเกิดเอาตามใจชอบอย่างนั้นเอง โดยไม่มีเหตุผลอะไร ทั้งส้ิน ไม่ใช่อย่างนั้น! อันที่จริงการที่สัตว์ท้ังหลายจักเกิดเป๐นอะไรน้ันย่อมเกิดข้ึนด้วย อํานาจแหง่ ชนกกรรมชกั นาํ ชนกกรรมนแ้ี ลเปน๐ พนกั งานตกแตง่ ชักนําใหเ้ กดิ ชนกกรรมน้ี แลเป๐นใหญใ่ นการนําปฏิสนธิ และในขณะที่เขาทําหน้าที่นําปฏิสนธิคือยังสัตว์ให้เกิดน้ัน

๔๖ เขาเปน๐ ใหญ่จรงิ ๆ กรรมอนื่ จะมาแทรกแซงแยง่ ทาํ หนา้ ท่ีของเขาไม่ได้เลยเปน๐ อนั ขาด เขา ทําหน้าท่ีตามลําพังตนในขณะนั้นเท่านั้น เปรียบเสมือนมารดากําลังคลอดทารกซ่ึงเป๐น บุตรของตน ย่อมทําหน้าทีค่ ลอดแต่เพยี งคนเดียว คนอืน่ จะมาแย่งหน้าท่ีเป๐นผู้คลอดร่วม ดว้ ยในขณะน้นั จะไดท้ ่ีไหนเล่า ชนกกรรมกเ็ หมอื นกัน ยอ่ มเป๐นใหญ่ในขณะนาํ ปฏิสนธิคือ ยังสตั ว์ทั้งหลายให้เกิดเปน๐ ตวั บนั ดาลให้สตั วท์ ้ังหลายเกดิ ข้ึน ชนกกรรมนี้มอี ยู่ ๒ ฝุาย คือชนกกรรมฝุายที่เป๐นอกุศล ๑ ชนกกรรมที่เป๐น ฝุายกุศล ๑ ชนกกรรมที่เป๐นฝุายอกุศล เม่ือทําหน้าที่นําปฏิสนธิยังสัตว์ให้เกิดน้ันย่อม ผลกั ดนั สัตว์ให้ไปเกิดในทุคติภูมิอันเป๐นภูมิช่ัวช้า ซ่ึงได้แก่อบายภูมิท้ัง ๔ คือ นิรยภูมิ ๑ เปติวิสัยภูมิ ๑ อสุรกายภูมิ ๑ ติรัจฉานภูมิ ๑ ชักนําสัตว์ท้ังหลายให้ไปเกิดในอบายภูมิ เหลา่ น้ภี มู ใิ ดภมู ิหนงึ่ ตามสมควรแก่กรรมท่ีสัตว์เหล่าน้ันได้กระทําไว้ ในกรณีที่ชนกกรรม ฝุายอกศุ ลทาํ หนา้ ที่ชกั นาํ สตั วท์ ัง้ หลายให้ไปเกิดในอบายภูมินั้น พึงเห็นตัวอย่างตามเร่ือง ท่ีจะเล่าให้ฟ๎งดังต่อไปน้ี สมัยท่ีองค์สมเด็จพระม่ิงมงกุฏกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังทรงประกาศสัจ ธรรมเผยแผ่พระบวรพุทธศาสนาอยู่ในโลกน้ัน คราวหนึ่งพระองค์พร้อมด้วยพระสงฆ์ สาวกอรหันต์ขีณาสพประมาณ ๒๐,๐๐๐ องค์ ได้เสดจ็ มาถงึ พระนครแห่งหนง่ึ ซึ่งปรากฏ ช่อื ว่า พระนครพาราณสีในป๎จจุบันน้ี ชาวเมืองทั้งหลายคร้ันได้เห็นสมเด็จพระพุทธองค์ พรอ้ มด้วยพระสงฆ์สาวกผู้ทรงพระคุณอันประเสรฐิ มากมายเช่นน้ัน ต่างก็พากันต่ืนเต้นดี ใจด้วยความเลื่อมใสเป๐นอันมาก ชักชวนกันบริจาคทรัพย์ถวายอาคันตุกทานเป๐นการ ใหญ่ ประชาชนท้งั หลาย ๒ คนบ้าง ๓ คนบ้าง ไดส้ ามัคครี ว่ มใจกันเป๐นเจ้าภาพจัดอาหาร บิณฑบาตถวายแก่พระภิกษุสงฆ์ซึ่งมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป๐นประ ธาน นับเปน๐ เวลานานหลายวัน คร้งั นัน้ ยังมลี ูกชายเศรษฐี ๔ คน ซึ่งพ่อแม่ของเขาต่างก็มีทรัพย์มากมายถึง คนละ ๔๐ โฏฏิ ลูกชายของเศรษฐีทั้ง ๔ น้ันกําลังรุ่นดรุณวัยเป๐นสหายรักกันมาก เม่ือ เห็นคนท้ังหลายพากันบริจาคทาน ถวายอาหารเลี้ยงพระสงฆ์เป๐นการใหญ่เช่นน้ัน แทนที่จะเกิดความเล่ือมใสร่วมใจกันทําบุญทําทานกับเขา กลับมีใจดูหมิ่นดูเบา โดย คิดเห็นไปวา่ คนท้งั หลายเปน๐ คนโงเ่ ขลาเพราะบ้าศรทั ธา..... ต้ังแต่วันน้ันเป๐นต้นมา ลูกชายเศรษฐีท้ัง ๔ ผู้ไร้ศีลธรรม ต่างก็ตั้งหน้า ประกอบอกุศลธรรมทาํ ความชวั่ เสพสรุ ายาเมาเป๐นอาจิณ ผิดศีลข้อท่ี ๕ นอกจากน้ันยัง กลา้ ประพฤติปรทาริกกรรม คือเมื่อเหน็ สตรสี าวทงั้ หลาย ไมว่ ่าจะเป๐นลูกเขาเมียใครหาก ตนพอใจแล้ว เป๐นต้องหาอุบายเอามาเป๐นเคร่ืองบําเรอความสุขแห่งตน โดยใช้ทรัพย์

๔๗ มหาศาลเป๐นเครื่องล่อ ซ่งึ เป๐นการประพฤติผิดศีลข้อกาเมสุมิจฉาจาร พวกเขาพากันเฝูา ล้างผลาญทรัพย์สมบัติที่บิดามารดาส่ังสมไว้ให้ไปในทางที่ช่ัวช้าลามกอยู่อย่างนี้เป๐น เนืองนติ ย์ เมื่อเขาเหลา่ นั้นส้นิ ชีวติ ไปแล้ว กรรมชั่วทัง้ หลายท่ีเขาได้พากันกระทําไว้น้ัน ก็ พลันกลับกลายเป๐นชนกกรรมแล้วฉุดกระชากชักนาพวกเขาท้ัง ๔ ตรงด่ิงไปปฏิสนธิ ณ อเวจมี หานรกแดนนริ ยภูมิ เกิดกายเป๐นสัตว์นรกตัวใหญ่ ๔ ตน ทนทุกขเวทนาแสนสาหัสสุดท่ีจะ ประมาณ ต้องถูกไฟในอเวจีมหานรกอันแรงร้ายเผาไหม้กายตนอยู่ตลอดเวลาไม่ว่างเว้น เลยแมแ้ ตว่ นิ าทีเดียว สตั วน์ รกเหลา่ นน้ั ครน้ั เสวยทุกขโทษถกู ไฟนรกในอเวจีมหานรกไหม้ กาย ไดร้ บั ความแสบปวดแสบรอ้ นอยู่นานตลอดเวลาพุทธันดรหนึ่งแล้วก็ส้ินกรรม จึงพา กันจุตจิ ากอเวจมี หานรกนัน้ แตว่ า่ เศษกรรมช่ัวที่ตัวทําไว้ยังไม่ส้ิน ดังน้ัน เขาจึงพากันมา เกิดเปน๐ สตว์นรก ณ โลหกมุ ภนี รกร้าย ซงึ่ มคี วามกว้างใหญป่ ระมาณ ๖๐ โยชน์ต้องเวียน วา่ ยใหไ้ ฟไหม้เผากายอยใู่ นนรกโลหกุมภีอันกว้างใหญ่นั้น ครั้นมะงุมมะงาหราเวียนว่าย อยู่ ณ พื้นภายในหม้อนรกเหล็กแดงโลหกุมภี สิ้นเวลานานนักหนาแล้ว ก็พยายาม กระเสือกกระสนจะวา่ ยขึ้นมาเบือ้ งบนให้ได้ พวกเขาตอ้ งใชค้ วามมานะพยายามเป๐นอย่าง มาก โดยหวังที่จะว่ายข้ึนมาให้ถึงปากหม้อนรกโลหกุมภีให้จงได้ แต่ความหวังของพวก เขาตอ้ งล้มละลายไปหลายครงั้ บางคร้ังพอจวนๆ จะถึงปากหม้อสมปรารถนาก็ต้องกลับ จมลงไปอีก ทั้งนีก้ เ็ พราะสภาพของสตั วน์ รกที่ตกลงไปในหม้อนรกเหล็กแดงใหญ่อันมีชื่อ ว่าโลหกมุ ภนี นั้ ยอ่ มมีสภาพเหมือนกับข้าวสารท่ีเขาเอาใส่แล้วต้มเคี่ยวในหม้อน้ําซึ่งกําลัง เดอื ดพล่าน มอี าการดําผุดดําว่ายโผล่ข้ึนมาแล้วก็จมลงไป และโผล่ขึ้นมาอีกแล้วก็จมลง ไป เป๐นอยู่อย่างน้ีเรื่อยไปเป๐นนิตย์ ลูกชายเศรษฐีเจ้าสําราญท้ัง ๔ ที่เรากําลังพูดถึงนี้ก็ เหมอื นกนั ขณะนี้ เขามสี ภาพเหมือนกบั เมล็ดขา้ วสารท่ีกําลังถูกเคี่ยวอยู่ในหม้ออันเดือด พลา่ น การทเี่ ขาหวังจะโผล่ศีรษะขึ้นมาท่ีปากหม้อจึงเป๐นความหวังท่ีเลือนรางเต็มที แต่ เขาก็หาหมดความพยายามไม่ อตุ สาหะว่ายตะเกียกตะกายเรื่อยไป ในที่สุด หลังจากที่ได้ ใช้ความพยายามอยู่เป๐นเวลานานถึง ๖๐,๐๐๐ ปี ด้วยการนับปีในมนุษยโลกเรานี้แล้ว คราวหน่ึงเขาท้ัง ๔ ผู้ซึ่งเป๐นชาวนรกโลกกุมภีได้ผงกศีรษะขึ้นมาเจอหน้ากันอย่างพร่ัง พรอ้ มทป่ี ากหม้อพอดี ข้อสังเกต ลักษณะบทประพันธ์ในตอนนี้ แสดงให้เห็นว่า ผู้ประพันธ์กรรมทีปนี ได้ใช้ พรรณนาโวหาร อธิบายโวหารเก่ียวกับชนกกรรม และแม้จะเป๐นร้อยแก้ว แต่ก็เป๐นร้อย แก้วเชิงกวีนิพนธ์ คือยังคงใช้ผัสสะระหว่างคํา และระหว่างวรรคเป๐นระยะๆ ทั้งเม่ือ

๔๘ พรรณนารายละเอียดพอสมควร เพื่อให้เกิดความชัดเจนย่ิงขึ้น ผู้นิพนธ์ได้ใช้ท้ังอุปมา โวหาร เปรยี บชนกกรรมวา่ เหมอื นมารดาผ้ใู หก้ ําเนดิ คือทาํ หน้าท่ีคลอดบุตรออกมา และ ใช้ท้ังสาธกโวหารเพ่ือชี้ให้เห็นตัวอย่างของชนกกรรมฝุายอกุศลส โดยยกเร่ืองราว พฤติกรรมชั่วท่ีบุตรเศรษฐีได้กระทําไว้ในอดีตชาติสมัยพระพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ และผลแห่งกรรมนนั้ ส่งผลให้เข้าถงึ นรก การนําเสนอเรื่องกรรมแต่ละประเภท ใช้วิธีการปุจฉา-วิสัชชนา คือตั้ง คาํ ถามเอง และตอบเอง เพ่ือผู้อ่านจะได้จับประเด็นได้ง่าย และสะดวกต่อการทําความ เขา้ ใจ วธิ ีการนําเสนอแบบน้ี คลา้ ยๆ กับวธิ กี ารทพ่ี ระพุทธโฆสาจารย์กระทําในการเขียน วิสทุ ธิมรรค แมใ้ นการนําเสนอประเภทของกรรม การให้ผลของกรรม และการเผาผลาญ กรรม ผู้ประพันธ์ก็ใช้แนวทางดังกล่าวนี้เป๐นระยะๆ ตลอดเรื่องทั้งหมด พร้อมกับจบลง ด้วยการแสดงความปรารถนาของผู้ประพนั ธ์ ดังนี้๓๙ บาลี ยํ มยา กสุ ลํ ปตตฺ ํ กตฺวา หิ กมฺมทปี นี สตฺถุโน โลกนาถสฺส สทธฺ มฺมฏฐตกิ ามตา ตสฺส เตเชน สพเฺ พปิ สุขเมเธนฺตุ ปาณิโนฯ พทุ เฺ ธ ปสฺสนา จ ปสนฺนธมมฺ า สงฺเฆ ปสนฺนา อถ โมกขฺ กามา สพฺเพปิ มจุ ฺจนตฺ ุ อปายทุกขฺ าฯ ธมฺมเวปลุ ลฺ ภาวาย อคฺคา กลฺยาณนิสสฺ ติ า สพเฺ พปิ เม สมชิ ฺฌนฺตุ นริ นฺตรํ มโนรถาติ ฯ แปล ข้าพเจ้ผู้มีใจกอปรด้วยศรัทธาเล่ือมใส ใคร่จะให้พระสัทธรรม คาํ สัง่ สอนขององค์สมเด็จพระชินวรโลกนาถศาสดาต้ังม่ันอยู่ตลอดกาลนาน จึงอุตสาหะ รจนาเรียบเรียงวรรณกรรมเร่ืองกรรมทีปนีนี้ข้ึน แล้วได้ประสบบุญกุศลซ่ึงอํานวย ประโยชน์ให้อันใด ด้วยเดชะบุญกุศลที่ได้ด้วยดีน้ัน ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายจุ่งประสบแต่ ความสุขสาํ ราญจงท่วั กนั อน่ึง บรรดาพุทธศาสนิกชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า และ พระสงฆเ์ จ้า อันรวมกันเข้าเป๐นพระพรัตนตรัย ซึ่งมีใจปรารถนาใคร่จะพ้นจากกองทุกข์ จงพ้นทุกข์ในอบายภูมิ และจงบรรลุถึงพระนิพพานอันเป๐นสถานถ่ินส้ินเวรกรรมใน อนาคตกาลดว้ ยเถดิ ๓๙ พระราชวิสทุ ธิโสภณ [วิลาศ ญาณวโร], กรรมทปี น,ี หน้า ๑๐๒๙-๑๐๓๐.

๔๙ ขอมโนรถความปรารถนาอันประเสริฐ ซึ่งเกิดจากนํ้าใจอันงามของข้าพเจ้า จงสําเร็จผลตามที่ต้ังใจไว้น้ีทั้งหมด เพ่ือความหมดจดไพบูลย์แห่งพระสัทธรรมคําสอน ขององค์สมเดจ็ พระชินวรบรมศาสดาจารย์ ตลอดกาลนริ นั ดรเทอญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook