Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสีมา จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) หน้า | I

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) คาส่ังแต่งต้งั กองบรรณาธกิ าร การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เพ่ือให้การจัดงานการประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption in Education” ในวันที่ ๑ – ๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อาเภอปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า ณ โรงแรมชาโต เดอเขาใหญ่ อาเภอปากชอ่ ง จังหวดั นครราชสมี า จัดโดย อนุกรรมการ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อยและบังเกดิ ผลดีมีประสิทธิภาพ สมาคม สถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทยฯ จึงพิจารณาแตง่ ตั้งแตง่ ตง้ั กองบรรณาธกิ ารดังตอ่ ไปน้ี บรรณาธิการ วิทยาลยั นครราชสีมา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรดุ า ชยั สวุ รรณ ผู้ชว่ ยบรรณาธกิ าร มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ลดั ดาวลั ย์ เพชรโรจน์ วิทยาลัยนครราชสมี า รองศาสตราจารย์ ดร. กรองทพิ ย์ นาควิเชตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์ อาจารย์ ดร.วาสนา วสิ ฤตาภา กองบรรณาธกิ าร หน้า | II

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1. ศาสตราจารย์ ดร. ธีระ รญุ เจริญ วิทยาลัยนครราชสีมา 2. ศาสตราจารย์ ดร. ไพฑรู ย์ สนิ ลารัตน์ มหาวทิ ยาลัยธุรกิจบณั ฑติ ย์ 3. ศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา รักษ์พลเมือง มหาวทิ ยาลยั สยาม 4. รองศาสตราจารย์ ดร. จอมพงศ์ มงคลวนิช มหาวิทยาลยั สยาม 5. รองศาสตราจารย์ ดร.ชุมศกั ดอิ์ ินทรร์ ักษ์ มหาวิทยาลยั ครสิ เตยี น 6. รองศาสตราจารย์ ปิยะนาถ บุญมีพพิ ิธ สถาบนั เทคโนโลยีแหง่ สุวรรณภมู ิ 7. รองศาสตราจารย์ ดร. กรองทิพย์ นาควิเชตร วิทยาลัยนครราชสีมา 8. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วฒั นา วินิตวัฒนคุณ มหาวทิ ยาลยั อสั สมั ชัญ 9. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อญั ชลี ชยานุวชั ร มหาวิทยาลยั รังสิต 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นัฐยา บญุ กองแสน มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลติ กุล 11. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดุษฎี สวี งั คา มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ 12. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ วา่ ทีร่ ้อยโท ดร.ณฏั ฐชัย จันทชมุ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 13. อาจารย์ ดร. พงษภ์ ญิ โญ แมน้ โกศล มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย์ 14. อาจารย์ ดร.ปฐมพรณ์ อนิ ทรางกรู ณ อยุธยา มหาวทิ ยาลัยธนบรุ ี 15. อาจารย์ดร.เกรยี งไกร สจั จะหฤทยั มหาวิทยาลัยศรปี ทุม 16. อาจารย์ ดร. มรว. สรสิรวิ รวรรณ สถาบนั การจัดการป๎ญญาภวิ ัฒน์ 17. อาจารย์ ดร.สภุ าวดี วงษส์ กลุ สถาบนั การจัดการป๎ญญาภวิ ฒั น์ 18. อาจารย์ ดร.ทินกร พูลพฒุ มหาวทิ ยาลยั เจ้าพระยา 19. อาจารย์ ดร.วารุณีโพธาสนิ ธุ์ มหาวิทยาลยั นอร์ท-เชียงใหม่ 20. อาจารย์ ดร.วานิช ประเสรฐิ พร มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 21. Dr.Kham Khan Khai มหาวทิ ยาลยั นานาชาตเิ อเซยี -แปซฟิ ิ 22. อาจารย์ ดร.วาสนา วสิ ฤตาภา มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ ย์ 23. อาจารย์ ดร. ภควรรณ ลนุ สาโรง วิทยาลยั นครราชสีมา ผ้ทู รงคณุ วุฒพิ จิ ารณาผลงานทางวิชาการ วิทยาลยั นครราชสีมา มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์ 1. ศาสตราจารย์ ดร. ธีระ รุญเจรญิ มหาวทิ ยาลัยสยาม 2. ศาสตราจารย์ ดร. ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น์ วทิ ยาลยั นครราชสมี า 3. ศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา รักษพ์ ลเมือง มหาวทิ ยาลัยคริสเตยี น 4. รองศาสตราจารย์ ดร. กรองทพิ ย์ นาควเิ ชตร สถาบันเทคโนโลยีแห่งสวุ รรณภูมิ 5. รองศาสตราจารย์ ดร.ชมุ ศักด์ิอินทร์รักษ์ วทิ ยาลยั นครราชสีมา 6.รองศาสตราจารย์ ปยิ ะนาถ บญุ มีพิพิธ มหาวิทยาลัยอสั สมั ชัญ 7.ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อรริชชา ทศตา 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วฒั นา วินิตวัฒนคุณ หน้า | III

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชยานุวัชร มหาวทิ ยาลยั รังสิต 10. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. นัฐยา บุญกองแสน มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลิตกุล 11. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดษุ ฎี สีวงั คา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ 12. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ วา่ ทีร่ ้อยโท ดร.ณฏั ฐชยั จันทชมุ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม 13. อาจารย์ ดร. พงษ์ภญิ โญ แมน้ โกศล มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑติ ย์ 14. อาจารย์ ดร.ปฐมพรณ์ อทิ รากรู ณ อยุธยา มหาวทิ ยาลัยธนบุรี 15. อาจารย์ดร.เกรยี งไกร สัจจะหฤทยั มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม 16. อาจารย์ ดร. มรว. สรสริ ิ วรวรรณ สถาบันการจดั การปญ๎ ญาภวิ ัฒน์ 16. อาจารย์ ดร.สภุ าวดี วงษส์ กุล สถาบันการจัดการป๎ญญาภวิ ัฒน์ 17. อาจารย์ ดร.ทินกร พูลพฒุ มหาวิทยาลยั เจ้าพระยา 18. อาจารย์ ดร.วานิช ประเสรฐิ พร มหาวิทยาลยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 20. อาจารย์ ดร. ศศริ ดา แพงไทย มหาวิทยาลัยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 21. อาจารย์ ดร. ชุตมิ า พรหมผยุ วิทยาลัยนครราชสีมา 22. อาจารย์ ดร.วารุณีโพธาสนิ ธ์ุ มหาวิทยาลยั นอรท์ -เชียงใหม่ 23. อาจารย์ ดร. กฤตย์ษุพัช สารนอก มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลิตกลุ 24. อาจารย์ ดร.วาสนา วสิ ฤตาภา มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑิตย์ 25. อาจารย์ ดร. ภควรรณ ลุนสาโรง วิทยาลัยนครราชสีมา ส่งั ณ วันท่ี 18 ธนั วาคม 2562 (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรุดา ชยั สวุ รรณ) ประธานคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี หน้า | IV

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สารการประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรรสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อาเภอปากชอ่ ง จงั หวัดนครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี โดย ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรุดา ชัยสวุ รรณ ประธานคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ป๎จจุบันโลกเรากาลังเข้าสู่ยุค “ดิจิทัลเปลี่ยนโลกการศึกษา” อย่างเต็มตัว และการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีแบบก้าวกระโดดท่ี ซ่งึ นามาซ่ึงความท้าทายอยา่ งใหญห่ ลวง ในแง่ของการปรับตวั และการพัฒนาทักษะ ใหม่ ๆ ใหท้ ันกบั โลก เราอยู่ในยุคท่ี คนทีเ่ รียนรู้ทักษะใหม่ ๆ (Learn, Unlearn, Relearn) และสามารถปรับตัวเข้ากับ ยุคใหม่ได้ สามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจแก่องค์กรและประเทศชาติได้ ด้วยการทาการวิจัยเพ่ือพัฒนา การ สรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ ทเ่ี กิดจากการบูรณาการความรหู้ ลายศาสตร์ การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ “การศึกษายุค Digital Disruption” ประจาปี 2563 ในครั้งนี้ ได้จัดขึ้นมาเป็นคร้ังที่ 4เป็นเวทีให้กับนักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ เผยแพรผ่ ลงานวิชาการ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ จดั ประชุมทางวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรรระดบั ชาติ 2. เพอ่ื แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ ทางวิชาการเก่ยี วกบั การศึกษายคุ “Digital Disruption” 3. เพ่อื เผยแพร่ผลงานวิจยั ทางสาขาศกึ ษาศาสตร์ที่มคี ุณภาพระดบั ชาติ 4. เพอื่ แลกเปลี่ยน เรียนรแู้ ละสร้างเครือข่ายของนกั วจิ ยั ทางสาขาศึกษาศาสตร์ในระดับชาติ ซึ่งในคร้ังที่ 4 นี้ มีบทความวิจัย จานวน 62 บทความ และบทความวิชาการ จานวน 15 บทความ จาก สถาบนั อุดมศึกษา ทั้งภาครฐั และเอกชน ตลอดจนหน่วยงานทางการศึกษาโดยมีผู้ร่วมการประชุมประมาณ 200 คน คณะผูจ้ ดั ต้องขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร. จอมพงศ์ มงคลวนิช วิทยากรบรรยายพิเศษ และผู้มีเกียรติทุก ท่านท่ใี หค้ วามสาคญั กบั การประชมุ ครง้ั น้ี ขอขอบพระคณุ บทความปรทิ ศั น์ จากศาสตราจารย์ ดร.ธรี ะ รุญเจรญิ และศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. ชนิตา รักษ์พลเมอื ง ขอขอบพระคณุ คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศ ไทยในพระราชปู ถมั ภ์สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีได้รว่ มแรงร่วมใจ ตลอดจนอุทศิ เวลาเพื่อให้ การจัดการประชมุ คร้งั นผี้ า่ นไปไดด้ ้วยดขี อบพระคุณผมู้ สี ่วนรว่ มทกุ ทา่ น ซึ่งทาง ผ้จู ัดคาดหวังว่าผลงานวิชาการในการ ประชุมครงั้ นีจ้ ะเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งย่ิงแก่ท่านนักวจิ ยั ผบู้ รหิ าร คณาจารย์ นิสิต นักศกึ ษา และบคุ คลทว่ั ไป หน้า | V

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สารบัญ คาสั่งแต่งตั้งกองบรรณาธกิ าร การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรรสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ ระดบั ชาต.ิ ....................................................................................................................................................II สารการประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรรสาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ .............................. V บทความปรทิ ศั น์ ....................................................................................................................................... 1  สถาบนั การศึกษากับการพฒั นาวชิ าชีพการบรหิ ารการศึกษา................................................................. 1  คณุ ลกั ษณะการเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ลั ของนักศึกษาไทย............................................................................. 4 ผลงานวิชาการและผลงานวิจัย................................................................................................................. 16  การจดั การเรียนรูด้ ว้ ยการเลา่ เรอ่ื งแบบดจิ ทิ ลั ในระบบ DTL-Eco System เพ่ือพัฒนาความฉลาดทาง ดจิ ทิ ลั ของผู้เรยี นระดบั อดุ มศกึ ษา....................................................................................................... 17  แนวคิดการบริหารจัดการศนู ยก์ ารเรียนผสู้ ูงอายุ ................................................................................. 35  การพฒั นาหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ E – Book เรือ่ ง การจดั การศึกษาพิเศษสาหรับครู ........................... 54  การเรียนรูต้ ลอดชวี ติ สาหรับผสู้ งู วัย..................................................................................................... 70  กลยุทธ์การบรหิ ารโรงเรยี นเอกชนนอกระบบ ในยคุ Disruption กรณีศึกษา : โรงเรียนกวดวชิ า ชญตว์ .......................................................................................................................................................... 84  การทดลองใช้ Blend Learning ในการเรียนการสอนวิชาการฟ๎งการพูดภาษาจนี และการสารวจความ พงึ พอใจของนกั ศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 1 มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ ย์............................................................... 103  การศกึ ษาป๎จจัยทสี่ ่งผลตอ่ ประสทิ ธผิ ลขององค์กรทางการศกึ ษา........................................................ 113  นวตั กรรมอาหารเพอ่ื รองรบั การเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายใุ นประเทศญี่ปุน ................................................. 127  ผลการจัดการเรียนรูโ้ ดยใชบ้ ทเรยี นออนไลน์แบบ google classroom ทมี่ ีต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น วิทยาศาสตร์ และคณุ ลักษณะใฝรุ ใู้ ฝุเรยี นสาหรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรยี นสาธิต มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ปทมุ วนั ............................................................................................ 136  การศกึ ษาภาวะผนู้ าทางวิชาการของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานในอาเภอโปงุ นา้ ร้อน สังกดั สานกั งาน เขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบุรี เขต 2................................................................................. 144 หน้า | vi

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.)  การศกึ ษาเปรียบเทยี บการศกึ ษาระหวา่ งประเทศไทยและประเทศญีป่ นุ ............................................ 159  A STUDY OF STUDENTS‖ ACHIEVEMENT IN GROUP ACTIVITIES IN TEACHING CHINESE VOCABULARY................................................................................................................................ 172  THE EFFECTS OF GAME TEACHING TO ENHANCE ENGLISH SPEAKING SKILLS OF STUDENTS AT AN INNER MONGOLIA PRIMARY SCHOOL IN CHINA .......................................................... 180  THE EFFECTS OF TEACHING VOWEL PHONOGRAMS TO IMPROVE ORAL READING SKILLS OF FOURTH-YEAR STUDENTS AT A PRIVATE UNIVERSITY...................................................... 187  การพฒั นาหน่วยการเรียนรู้ เรอื่ ง Travel the world ด้วยการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์ ท่ี มีผลตอ่ การรเู้ รื่องภมู ศิ าสตรส์ าหรับนกั เรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลัย ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วนั ................................................................................................................ 198  การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิชาสงั คมศกึ ษา เรอ่ื งกฎหมายกับชวี ติ ของนกั เรียนระดับ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรียนบ้านนา “นายกพทิ ยากร”ท่ีสอนโดยใชห้ นังสอื เสรมิ ประสบการณ์กับสอน แบบปกติ ......................................................................................................................................... 210  การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าภาษาไทย เรอ่ื ง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ของ นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษานอ้ มเกลา้ ท่ีเรียนโดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะกับการ เรียนแบบปกติ.................................................................................................................................. 221  ป๎จจยั ทีส่ ่งผลการตดั สนิ ใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร ........................................................................................................................................................ 233  รายงานการสงั เคราะห์องคค์ วามรูแ้ ละนวัตกรรมการดาเนนิ โครงการการขยายการจัดการการเรยี นรแู้ บบ เครอื ขา่ ยการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนเพ่อื สขุ ภาวะเดก็ และเยาวชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จงั หวัดสุรนิ ทร์ ........................................................................................................................................................ 248  ขอ้ ควรคานงึ ในการแปลซบั ไตเตลิ ละครซรี สี จ์ นี เป็นภาษาไทย............................................................ 267  การดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา (พ.ศ.2560-2579) ยทุ ธศาสตร์ ด้านการเพมิ่ ประสิทธิภาพ ระบบการบรหิ ารจัดการอาชีวศึกษาของวทิ ยาลัยอาชวี ศึกษา สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก.. 284 หน้า | vii

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)  ผลการจัดการเรียนรูโ้ ดยใชโ้ ครงงานเป็นฐานในรายวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ท่มี ตี ่อการคดิ เชงิ คานวณของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ปทุมวัน....... 294  การจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบเพอ่ื นช่วยเพือ่ นผา่ นโครงการบดั ดีไ้ ทย–จนี ......................................... 305  ผลการจัดกิจกรรมเรียนรูโ้ ดยใช้แบบจาลองเปน็ ฐาน เพอื่ พฒั นาแบบจาลองทางความคดิ และทักษะการสร้าง แบบจาลอง เร่อื ง ปรากฏการณท์ างธรณีวทิ ยาและดาราศาสตร์ ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียน สาธติ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทมุ วัน ...................................................................................... 318  ความสุขในการเรียนรู้ : บทบาทของผ้บู ริหารและครู......................................................................... 327  การจดั การศึกษาสาหรบั เดก็ ที่มคี วามตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ เพ่อื คุณภาพชีวติ ทด่ี ี ................................ 340  การบรู ณาการการศึกษากบั การทอ่ งเทยี่ วโดยผ่านการเขียนเชงิ สรา้ งสรรคใ์ นภาษาอังกฤษ................. 352  การพฒั นาหน่วยการเรียนรู้บรู ณาการเรอื่ งการแกป้ ๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมท่ีมีตอ่ ทกั ษะและกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี สาหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ปทุมวัน....................................... 361  อิทธพิ ลของป๎จจัยครอบครวั ตอ่ นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น : กรณศี ึกษา.......................................... 372  ประสิทธผิ ลของรูปแบบการเรยี นการสอนแบบ AFTER Model เพอื่ การเสริมสรา้ งทักษะการกากบั ตนเองและทกั ษะบรหิ ารจัดการชีวติ ของเดก็ ปฐมวัยในจังหวัดบรุ รี ัมย์ ................................................ 382  แนวคดิ การบริหารตามหลกั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม.................................................................................. 398  การพฒั นาชุดฝกึ อบรมเพื่อส่งเสรมิ สมรรถนะครูในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการ จดั การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 .......................................................................................................... 412  การศกึ ษารูปแบบการจดั กิจกรรมเพอ่ื การพฒั นาทกั ษะความร้คู วามสามารถของครู เขตกรงุ เทพมหานคร ........................................................................................................................................................ 422  การบริหารสถานศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาลของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาสงั กดั สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา มัธยมศกึ ษา เขต 27........................................................................................................................ 435 หน้า | viii

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.)  การบรหิ ารโรงเรยี นเอกชนเพ่อื ความรับผิดชอบต่อสงั คม ในยุคประเทศไทย 4.0 .............................. 448  สมรรถนะครูด้านการจดั ประสบการณท์ ีม่ ผี ลต่อทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส์ าหรับเด็กปฐมวัย: กรณีศกึ ษาโรงเรียนอนบุ าลแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ................................................................. 460  คุณธรรมจริยธรรมคา่ นิยมและลักษณะอนั พึงประสงคข์ องนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ปที ี่ 1-3 วทิ ยาลัยเทคโนโลยียโสธรอนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล..................................................................................... 474  การพฒั นาเด็กปฐมวัยดว้ ยสะเตม็ ศึกษา............................................................................................. 489  ความคิดเห็นของบุคลากรต่อประสิทธผิ ลของโรงเรยี นในสงั กดั สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษา สระแก้ว เขต 1................................................................................................................................. 515  การบริหารจัดการระบบสารสนเทศงานวชิ าการของโรงเรียนในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา มธั ยมศึกษา เขต 19......................................................................................................................... 525  การพัฒนาความสามารถในการคดิ สรา้ งสรรค์ของเดก็ ปฐมวยั ด้วยกจิ กรรมการเลา่ นทิ านไมร่ จู้ บผา่ น กจิ กรรมละครสรา้ งสรรค์.................................................................................................................. 535  การบริหารจดั การศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก สงั กัดองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ อาเภอตาพระยา จงั หวัดสระแกว้ ........................................................................................................................................................ 549  ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เรือ่ งรามเกยี รติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วยกจิ กรรมการเรยี น แบบโครงการ เป็นฐาน สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปี 2 โรงเรยี นสตรีสมทุ รปราการ........................................... 559 หน้า | ix

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) บทความปรทิ ศั น์ สถาบันการศกึ ษากับการพัฒนาวชิ าชพี การบริหารการศกึ ษา ศ.ดร.ธีระ รุญเจรญิ * วิทยาลัยนครราชสีมา 1. ยคุ นเี้ ป็นยุคท่ีเกดิ การเปล่ยี นแปลงอยา่ งหยุดยั้งไม่ได้ และการเปลีย่ นแปลงเปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ อย่างที่ เรยี กว่า Disruption ทุกอยาชีพ ทุกกิจกรรม ทุกท่ี ทุกแหง่ จะหยดุ การเปลี่ยนแปลงไมไ่ ด้ “ไมป่ รับ คือแพ้ ไม่เปลี่ยน คือ สูญพันธค์ อ่ ยเป็นคอ่ ยไปเปน็ ไปไม่ได้” “โลกเปลีย่ นแปลงไปเร็วเกนิ กว่าทีเ่ ราจะใช้สตู รแห่งความสาเร็จแบบเดิมในอดตี ” ทีม่ า : ศ.ดร.สชุ ัชวีร์ สวุ รรณสวัสดิ์ 2. การจดั การศึกษาเรียนรู้กย็ ิง่ จาเป็นท่ีจะต้องปรบั เปลี่ยน จะหยดุ ยั้งไมไ่ ด้ การยงั คงไว้วชิ าเดิมๆ กน็ ่าจะ นาไปสูก่ ารสญู สลาย เพราะคาดการณ์ไวว้ ่า ถ้ายงิ่ ใฃแ้ นวทางการจดั การศึกษาเดมิ ๆ อยา่ งที่ยังคงเกิดอยู่ ทว่ั ไปสถาบนั ดงั กลา่ วจะตอ้ งเปน็ อันส้ินสุดลง (The End of College: Kevin Carley) สถาบนั การการศึกษาในรูปแบบป๎จจุบัน จะสน้ิ ยุค เพราะแพง ก่อหน้ีสิน ประสทิ ธิผลต่า ประสิทธภิ าพตา่ และ มีวธิ ีอ่ืนทดี่ กี ว่า (มหาวิทยาลัยแหง่ อนาคต : ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ (2562) การมวี ธิ อี ื่นทีด่ กี วา่ คือ Online Learning - เรยี นที่ไหน เมื่อไหร่ เร็วชา้ แคไ่ หนกไ็ ด้ - เพอ่ื นมาจากทกุ มมุ โลก - ฟรี - สอนโดยอาจารย์ท่เี กง่ ทีส่ ดุ - ติวเตอร์ส่วนตวั - รจู้ ักนกั ศกึ ษาเปน็ รายบุคคล แนะนาเฉพาะตวั 3. องคค์ วามรู้ใหม่ๆ เกดิ ขน้ึ อยา่ งมากมาย เป็นลักษณะ Emerging Sciences องค์ความรู้เก่าๆ จะล้าสมัย และสญู สลายไปในที่สดุ องค์กรวิชาการยุคใหม่ จะตอ้ งสร้างคุณค่าใหม่ๆ “คุณคา่ ใหม่ บทบาทใหม่ ดว้ ยวิธกี ารใหม่ๆ” และองค์ความรดู้ ังกลา่ วกระจายแพร่อยา่ งรวดเร็วข้นึ เร่ือยๆ ท่วั โลก ท้ังน้เี พราะความก้าวหนา้ อยา่ ง ไมห่ ยดุ ยั้งของ Digital Technology และทกุ อยาชพี ทุกชวี ติ ทุกวงการ จาตอ้ งใช้ 4. ในแวดวงการจัดการเรียนรู้จาเป็นตอ้ งปรบั เปลย่ี นทกุ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นวธิ กี ารศกึ ษาเรียนรูห้ ลักสตู ร การ จดั การเรียนการสอน การใชส้ อ่ื เทคโนโลยเี พอ่ื การเรยี นรู้ การจัดสิง่ แวดลอ้ มเพ่ือการเรียนรู้ ตลอดท้ังการ บรหิ ารจดั การการประเมินผล ซึ่งเปน็ Education Disruption ---------------------------------------------------------- * ศาสตราจารย์ประจาวทิ ยาลยั นครราชสมี า หนา้ 1

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บทบาทของผ้ทู เี่ กย่ี วขอ้ ง ไม่ว่าจะเปน็ นักเรียน นักศึกษา ครู คณาจารย์ ผู้บริหาร ผู้นาทอ้ งถนิ่ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ฯลฯ จาต้องปรับเปลยี่ นจากเดมิ จงึ จะทาใหก้ ารศกึ ษากา้ วหนา้ เปลย่ี นไปทันยคุ และเทคโนโลยโี ดยเฉพาะ ส่ือกจิ กรรม Digital Technology ซง่ึ ทุกคน ทุกบทบาท จาเป็ฯต้องใช้ เพ่อื นาไปสู่ Smart Students, Smart Classroom, Smart School และทกุ คนจะมี Digital เป็นคานาหน้าลักษณะ Digital Teachers, Digital Administrator, Digital Parents, Digital Leaders เปน็ ต้น ดังน้ัน การศกึ ษาจะเนน้ ความเปน็ เฉพาะตวั (Personalized) มากข้นึ และกลับด้าน (Flipped) แทบทกุ อยา่ ง 5. การจดั การศกึ ษาเรยี นรู้จะต้องปรบั เปล่ียนให้เข้าลกั ษณะหลายอย่าง เช่น (1) อาศัยการบรู ณาการศาสตร์ สาขาวชิ าตา่ งๆ สมรรถนะในการสรา้ งนวัตกรรมใหมๆ่ ใช้ Digital Thchonology การศกึ ษาเรียนรู้ โดยการพง่ึ ตนเอง และมคี ณุ ลกั ษณะ ทักษะและความรู้เชิงทเี่ อือ้ ตอ่ Digital (2) ทกุ คนจาตอ้ งมลี กั ษณะท่ยี อมรบั การเปล่ียนแปลง (dynamic) ยืดหยุ่น (flexible) สร้างสรรค์ (creative) บูรณาการ (integrated) ปรับความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับตนเอง (tailor – mead) มี สมรรถนะในการมองภาพอนาคต (visional) มีความฉลาด มที กั ษะ (digital) (3) ทกุ คนต้องรักการเรียนรู้และแสวงหาวิธเี รียนรู้ใหมๆ่ ดังนน้ั การบรหิ ารการศกึ ษาจาเปฯ็ ต้องปรบั เปลยี่ นความเป็นมอื อาชีพใหมๆ่ โดยดาเนนิ การหลายประการ 1. ปรบั เปลยี่ นบทบาทของตนเองให้เป็นผ้บู รหิ ารดจิ ทิ ัล (1) ชว่ ยพฒั นาสมรรถนะการเรียนรูข้ องนักเรยี น (2) ดาเนนิ การออกแบบส่อื และกิจกรรมทีเ่ นน้ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (3) สง่ เสริมการประเมนิ การเรยี นรโู้ ดยตนเอง (4) จดั หาส่ือเทคโนโลยที เื่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ 2. การนาการจัดการศกึ ษา โดย (1) ส่งเสรมิ ให้เนน้ การเรียนรูโ้ ดยตนเองเปน็ สาคญั (2) สง่ เสรมิ ใหใ้ ช้สอ่ื เทคโนโลยไี ด้ตลอดเวลา (3) ให้ใชด้ ิจทิ ัลเพอื่ การเรียนรู้ไดเ้ ร็ว (4) ส่งเสรมิ ให้หาคนหาทางออก และแกป้ ญ๎ หาแปลกใหม่ และคดิ เชิงนวตั กรรม (5) ใหใ้ ช้กระบวนการเรียนรหู้ ลากหลายจากแหล่งหลายหลาย 3. การมลี กั ษณะทเ่ี ออื้ ตอ่ การจดั การศึกษาดจิ ิทลั โดย (1) มวี สิ ยั ทศั น์ ICT (2) สรา้ งวฒั ฯธรรมและบรรยากาศการใช้ ICT ใหท้ กุ คนเขา้ ถึงขอ้ มูล (3) ตระหนกั ในการใชด้ ิจิทัลในการพัฒนาตนเอง (4) ยินดใี ห้คาปรึกษา และทาเปน็ แบบอย่าง (5) ตระหนกั ในเทคโนโลยเี ครือขา่ ย หน้า2

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 4. การมภี าวะผนู้ า การเรียนรู้ และภาวะผ้นู าดิจทิ ลั โดย (1) นาการเรียนรู้โดยการพง่ึ ตนเอง (2) นาการใชส้ ื่อดจิ ทิ ลั เพื่อการเรียนรู้ (3) ปฏบิ ัตเิ ปน็ แบบอย่างครูนกั เรียน (4) พฒั นาความคล่องทางดิจทิ ัล (5) พฒั นาขีดความสามารถใหม่ๆ (6) เตม็ ใจท่ีจะทดลอง ปฏบิ ัตจิ รงิ (7) นาการปรบั เปลย่ี นทัง้ ความรู้ ทกั ษะและคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ สรุปได้วา่ ความเป็นมืออาชีพของผบู้ ริหารการศึกษาจาเปน็ ตอ้ งปรับเปลยี่ นให้เข้ากับยคุ การศกึ ษา 4.0 สู่ ศตวรรษที่ 21 เพอ่ื สู่ digital technology และนวัตกรรมตอ่ ไป เอกสารอ้างอิง กนกอร สมปราชญ.์ (2560). ภาวะผ้นู ากบั คณุ ภาพสถานศกึ ษา. โรงพมิ พม์ หาวิทยาลัยขอนแกน่ . _______. (2560). ภาวะผู้นาและภาวะผนู้ าการเรยี นร้สู าหรบั ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา. โรงพมิ พ์คลงั นานาวิทยา ขอนแกน่ . ธีระ รุญเจริญ. (2557). ความเป็นมอื อาชีพในการจัด และบรหิ ารการศกึ ษายคุ ปฏริ ปู การศกึ ษา. บริษัท สานักพิม์ข้างฟาู ง กทม. ________. (2559). “การศกึ ษาเรียนรยู้ คุ ดจิ ิทลั ”. เอกสารประกอบการบรรยาย. มหาวิทยาลยั นเรศวร และ มหาวิทยาลยั หอการคา้ . วิจารณ์ พานิช. (2562). มหาวทิ ยาลัยแห่งอนาคต. ปาฐกถาเกยี รตยิ ศ มหาวิทยาลัยมหิดล. สุชชั วรี ์ สุวรรณสวัสด์.ิ (2562). การบรรยายการศกึ ษาสู่อนาคต. ทางทวี ี. หนา้ 3

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บทความปริทศั น์ คณุ ลักษณะการเป็นพลเมอื งดิจิทลั ของนักศกึ ษาไทย ศาสตราจารย์กิตตคิ ณุ ดร. ชนิตา รักษ์พลเมือง รองอธกิ ารบดฝี ุายพัฒนาวิชาการ มหาวิทยาลยั สยาม บทนา การกา้ วสู่ยคุ ระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลทาให้เทคโนโลยีดิจิทัลได้กลายเป็นส่ิงสาคัญในการดาเนินชีวิต เป็นปจ๎ จัยท่ีทาใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งรปู แบบกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และกระบวนการทางสงั คมที่ต่างจากยุค สมยั เดมิ ไปอยา่ งสิน้ เชิง ประเทศไทยจงึ มคี วามจาเป็นที่จะต้องเร่งนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการ ขับเคลอ่ื นการพัฒนาเพ่ือตอบปญ๎ หาความทา้ ทายท่ีกาลังเผชิญอยู่หรอื เพม่ิ โอกาสในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น การก้าวข้ามกับดักรายไดป้ านกลาง การพฒั นาขีดความสามารถของธุรกิจในประเทศทั้งภาคการเกษตร การผลิต และการบรกิ ารโดยเฉพาะอย่างย่ิงในกลุ่ม SMEs และวิสาหกิจชุมชนให้แข่งขันในโลกสมัยใหม่ได้ การปรับตัวและฉก ฉวยโอกาสจากการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 การ แก้ป๎ญหาความเหล่ือมล้าของสังคมโดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านรายได้ การศึกษา การรักษาพยาบาล สิทธิประโยชน์การ เขา้ ถงึ ข้อมูล ฯลฯ ให้เกิดการกระจายทรัพยากรและโอกาสท่ีท่ัวถึง เท่าเทียมและเป็นธรรมย่ิงข้ึน การบริหารจัดการ การเข้าสู่สงั คมสูงวัย การแกป้ ญ๎ หาคอร์รปั ชน่ั โดยสร้างความโปรง่ ใสใหก้ ับภาครัฐ รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพของคนใน ประเทศท้งั บคุ ลากรดา้ นเทคโนโลยี บุคลากรท่ที างานในภาคเกษตร อตุ สาหกรรม และบริการ รวมถึงคนทั่วไปที่จะต้อง ชาญฉลาด รู้เท่าทันสื่อ เท่าทันโลก ด้วยเหตุน้ี รัฐบาลจึงได้ประกาศนโยบายดิจิทัลไทยแลนด์ (Digital Thailand) ซึ่ง หมายถึง ประเทศไทยที่สามารถสร้างสรรค์ และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนา โครงสรา้ งพื้นฐาน นวัตกรรม ข้อมูล ทนุ มนุษย์ และทรัพยากรอ่ืนใดเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศไปสคู่ วามม่ันคง มง่ั คง่ั และย่งั ยืน อย่างไรก็ตามผลการสารวจสภาพการพัฒนาด้านดิจทิ ลั ในประเทศไทยพบว่า ยังมีความไม่พร้อมหลายด้าน ในส่วนที่เกี่ยวกับการศึกษาพบว่ามีความเหล่ือมล้าดิจิทัล (digital divide) แม้ว่า เทคโนโลยีดิจิทัลจะเป็นเคร่ืองมือสาคัญต่อการเรียนรู้และการศึกษาก็ตาม สถานศึกษากว่า 30,000 แห่งที่ต้ังอยู่ทั่ว ประเทศไทยยังประสบป๎ญหาด้านการเช่ือมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และโรงเรียนอีกจานวนมากยังมีป๎ญหาเร่ือง ความเรว็ ในการเชื่อมต่อ การให้บริการไมท่ ่วั ถึง จานวนคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์การเรียนการสอนยังล้าสมัยและมีไม่ เพียงพอต่อผู้เรียน ครูผู้สอนยังขาดความชานาญในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเข้ากับการสอน ทาให้ไม่สามารถใช้ เทคโนโลยีในการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังมีเน้ือหาในรูปแบบสื่อดิจิทัลที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของคนในประเทศไม่เพียงพอ มีป๎ญหาความเหลื่อมล้าทางด้านเนื้อหา (contentdivide) ขาดสอ่ื การเรยี นรเู้ พ่ือนาไปใชป้ ระกอบอาชีพ และส่อื ทีต่ อบสนองตอ่ ความต้องการของประชาชนใน ระดบั ท้องถิน่ ท้งั ในเชิงเศรษฐกจิ สังคม การศึกษา และวัฒนธรรม ที่ต่างกัน ที่สาคัญประชาชนส่วนใหญ่ยังคงเน้นการ ใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อความสนุกสนาน บันเทิง โดยไม่ได้นาเทคโนโลยีไปก่อให้เกิดประโยชน์เท่าที่ควร และยังต้องมี การพัฒนาทักษะดิจิทลั ทจ่ี าเปน็ สาหรบั สงั คมใหม่ ท่ีรวมถงึ การคิด วิเคราะห์ แยกแยะ สื่อต่างๆ และการใช้เทคโนโลยี อยา่ งมีความรับผดิ ชอบต่อสังคมด้วย (กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร, 2559) หน้า4

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) คณะรฐั มนตรีในการประชุมวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558 จึงมอบหมายให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สารรว่ มกบั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จัดทาแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงได้รับ ความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรีในวนั ท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2559 และต่อมาได้ประกาศใช้แผนแม่บทหลักในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 –2580) ท้ังน้ี ได้มีการกาหนดภูมิทัศน์ดิจิทัลของ ประเทศไทย (Thailand Digital Landscape) ซึ่งเป็นทิศทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศท่ียั่งยืนโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลทม่ี คี วามสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ การพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนาดิจิทัลของประเทศไทยตามวิสัยทัศน์และแนว ทางการพัฒนาทไ่ี ด้กาหนดตามภูมิทัศน์ดิจิทัลไว้ 6 ยุทธศาสตร์ โดยมียุทธศาสตร์หนึ่งคือการพัฒนากาลังคนให้พร้อม เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล (สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, online) ยทุ ธศาสตร์ดงั กลา่ วกาหนดให้มีการเตรียมความพรอ้ มใหบ้ คุ ลากรทุกกลมุ่ มีความรู้และทักษะท่ีเหมาะสมต่อการดาเนิน ชีวิตและการประกอบอาชีพในยุคดิจิทัล เพ่ือให้ประเทศไทยมีกาลังคนด้านดิจิทัลท่ีมีความรู้ความสา มารถและความ เชยี่ วชาญระดับมาตรฐานสากล และกาลงั คนในประเทศมีความรอบรู้และสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเคร่ืองมือใน การปฏิบตั แิ ละสรา้ งสรรค์ผลงาน และให้ประชาชนมคี วามสามารถในการพฒั นาและใชส้ ารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ มีความตระหนัก ความรู้ ความเขา้ ใจ มที กั ษะการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั ใหเ้ กดิ ประโยชน์และสร้างสรรค์ หรือท่ีเรียกกันว่า “ความฉลาดร้ทู างดจิ ทิ ัล (digital literacy)” ความฉลาดรู้ทางดิจิทัลดังกล่าวเป็นคุณลักษณะสาคัญประการหนึ่งของความเป็นพลเมืองดิจิทัล ( digital citizenship) ทใ่ี หค้ วามสาคัญกับการท่พี ลเมอื งจะเรยี นรู้การใช้ประโยชนแ์ ละปกปูองตนเองจากความเส่ียงต่างๆ ที่มา กบั เทคโนโลยีดิจิทลั รู้จกั เคารพสทิ ธิของตนเองและผอู้ ื่นในเรื่องทเ่ี ก่ียวกบั เทคโนโลยีดิจิทัล มีความรับผิดชอบต่อสังคม ดิจิทัลในโลกสมัยใหม่ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีต่อสังคม และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือ สร้างการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมในเชิงบวก การเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลจึงมีความจาเป็นต่อทั้งการพัฒนาประเทศ การดารงชวี ิต และการเรยี นรู้ ผ้เู ขียนจงึ สนใจทีจ่ ะศึกษาคุณลักษณะความเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ัลของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลัย และเสนอแนะนโยบายทเี่ กี่ยวขอ้ งในเร่ืองดังกลา่ ว ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (digital citizenship) คอื อะไร องค์กร Digital Citizenship (Digital Citizenship, online) ให้ความหมาย “ความเป็นพลเมืองดิจิทัล” ว่า การพัฒนาบคุ คลอยา่ งต่อเน่อื งในดา้ นบรรทัดฐานความเหมาะสม(appropriate) ความรับผิดชอบ(responsible) และ การใช้เทคโนโลยีให้มีพลงั (empowered technology use) ด้วยการเปน็ ผนู้ าและช่วยบุคคลอนื่ ใหม้ ปี ระสบการณ์ด้าน ดิจิทัลในเชิงบวก การตระหนักว่าการกระทาของเรามีผลกระทบต่อผู้อ่ืน การลงมือทาการเพื่อประโยชน์ร่วมกัน (common good) ซงึ่ รวมถึงองคป์ ระกอบพน้ื ฐาน 9 ประการ คือ 1. การเขา้ ถึงดจิ ิทัล (Digital Access)การจดั สรรเทคโนโลยีและทรัพยากรออนไลน์ทเี่ ป็นธรรม 2. การพาณิชยด์ จิ ิทลั (Digital Commerce) การซ้อื ขายสินค้าทางอเิ ล็คโทรนิค การใช้เครือ่ งมอื และ เครอ่ื งปูองกันการซ้ือ การขาย การทาธุรกรรม และการใช้เงินใน digital space หนา้ 5

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3. การสื่อสารและความรว่ มมอื ทางดจิ ทิ ลั (Digital Communication and Collaboration) การ แลกเปลีย่ นขอ้ มูลทางอิเลค็ โทรนิคโดยผใู้ ชส้ ่อื ต้องรวู้ ิธีทาให้ผ้อู ่นื เขา้ ใจความคิดทต่ี นแสดงออกไปให้ตรง กบั เจตนารมณ์ 4. มารยาททางดจิ ิทัล (Digital Etiquette) กระบวนการหรือมาตรฐานการแสดงออกเม่ือใชเ้ ครื่องมอื ทาง ดิจิทัล 5. ความเชี่ยวชาญด้านดิจิทัล (Digital Fluency) กระบวนการใช้และเข้าใจเทคโนโลยี คนท่ีมีความ เชี่ยวชาญด้านดิจิทัลจะสามารถตัดสินใจได้ดี มีความฉลาดรู้ทางดิจิทัล สามรถแยกแยะข้อมูลที่ดีและ “fake news” ได้ 6. สขุ ภาวะและสวสั ดกิ ารทางดจิ ิทัล (Digital Health and Welfare) ความมสี ุขภาวะทางกายและจิต ในโลกดจิ ทิ ลั เพอ่ื การมชี ีวติ ท่ีสมดลุ 7. กฎหมายดจิ ิทัล (Digital Law) ความรับผดิ ชอบตอ่ การกระทาและการแสดงออกในโลกอเี ล็คโทรนิค การสรา้ งกฎเกณฑแ์ ละนโยบายท่เี กี่ยวขอ้ งกบั โลกออนไลน์ 8. สทิ ธิและความรับผดิ ชอบทางดจิ ทิ ัล (Digital Rights and Responsibility) ข้อกาหนดและเสรภี าพ ในการอยรู่ ว่ มกันในโลกออนไลน์ 9. ความมน่ั คงและความเป็นส่วนตวั ในทางดิจิทัล (Digital Security and Privacy) การรกั ษาความ ปลอดภัยทางอเี ลค็ โทรนิค ความเข้าใจและความตระหนกั ถงึ การจูโ่ จมทางอีเลค็ โทรนิค รวมถึงการมี ทกั ษะปูองกันการจูโ่ จมดงั กลา่ ว นอกจากนีย้ ังได้นาองค์ประกอบทั้งเก้าดังกล่าวมาจัดเป็นหลักสามประการเรียกว่า S3 Framework(Safe, Savvy and Social) สาหรับความเป็นพลเมืองดิจิทัล ซึ่งในท่ีน้ี ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง การปูองกัน พลเมืองดิจิทัลจากอันตราย ความเส่ียง หรือการทาให้ตนเองหรือบุคคลอื่นบาดเจ็บเดือดร้อน ความเข้าใจ (Savvy) หมายถึง การสรา้ งพลเมอื งดจิ ิทลั ท่ีมีการศึกษา มปี ๎ญญาและความรู้ท่ีจาเป็น มีความสามารถในการตัดสินใจท่ีดี สังคม (Social) หมายถึง การเคารพตนเองในฐานะพลเมืองดิจิทัล รวมถึงการสร้างความร่วมมือ ความเข้าใจ และ ความสมั พันธท์ ่ดี ีกับผอู้ ืน่ ในสงั คมดจิ ิทัล Mike Ribble. (2014, 2015, 2019, 2020) ซงึ่ เป็นผูม้ ชี อื่ เสยี งและได้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับพลเมืองดิจิทัล ไว้หลายเล่มโดยเฉพาะแนวคิดในเรื่องนี้สาหรับครูและผู้บริหาร ได้จาแนกคุณลัษณะที่ดีของพลเมืองดิจิทัลเป็นเก้า ประการและจัดกลุ่มเป็นสามกลุ่ม เรยี กว่า REPs (Respect, Educate, Protect)สรุปได้ดังนี้ การให้ความเคารพ (Respect)  การเขา้ ถึงดิจทิ ลั (Digital access) การสนับสนุนใหเ้ กดิ สิทธแิ ละการเข้าถึงดิจิทัลท่ีเท่าเทียมกัรซ่ึง นับเป็นจุดเร่ิมต้นของการเป็นพลเมอื งดิจทิ ลั  มารยาททางดจิ ิทลั (Digital etiquette) กฎเกณฑ์และนโยบาย รวมท้ังมารยาทในการแสดงออก ในโลกออนไลน์ หน้า6

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.)  กฎหมายดจิ ิทลั (Digital law) ความเขา้ ใจวิธกี ารใชแ้ ละแชร์ทรัพย์สนิ ทางดิจทิ ลั ที่เหมาะสม การศกึ ษา (Educate)  การสื่อสารทางดิจิทัล (Digital communication) การเรียนรู้วิธีการเลือกเครื่องมือท่ีเหมาะสม กับผูร้ บั ขา่ วสารและขอ้ มลู  ความฉลาดรู้ทางดิจิทัล (Digital literacy) มีความหมายมากกว่าการใช้เป็น แต่รวมถึง ความสามารถในการค้นหา การประเมนิ และการอา้ งองิ เอกสารขอ้ มูลทางดิจิทัล  การพาณิชยท์ างดจิ ทิ ลั (Digital commerce) การซื้อขายออนไลน์ ความเข้าใจวิธีการเป็นผู้ชาย และผ้ซู ื้อทด่ี ีในเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล การปอ้ งกัน (Protect)  สิทธิและความรับผิดชอบทางดิจิทัล (Digital rights and responsibilities) ความเข้าใจสิทธิ พนื้ ฐานทเ่ี กย่ี วกบั ความเปน็ ส่วนตวั และเสรภี าพในการแสดงออก  ความปลอดภัยและความม่ันคงทางดิจิทัล (Digital safety and security) พลเมืองดิจิทัล จาเป็นต้องรวู้ ธิ กี ารปอู งกันขอ้ มูลโดยการกาหนดระดับคามเป็นสว่ นตัวและความปลอดภยั  สุขภาวะทางดิจิทัล (Digital health and wellness) ความสาคัญประการหน่ึงในการใช้ชีวิตใน โลกดิจทิ ัลคือการรู้วา่ เม่อื ไรจะตอ้ งหยุดใช้ (unplug) พลเมืองดิจิทัลจาเป็นต้องรู้จักตัดสินใจกาหนด ลาดบั ความสาคญั ของกิจกรรมและการใช้เวลาออนไลน์ วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง (2561) ได้พัฒนา “คู่มือพลเมืองดิจิทัล” ในโครงการการพัฒนาทักษะและการเป็น พลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) จัดโดยสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคมร่วมกับบริษัท กูเกิล (ประเทศไทย) จากัด สรุปว่า ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (digital citizenship) คือ แนวคิด และแนวปฏบิ ัตทิ ่สี าคัญซึ่งจะชว่ ยให้พลเมืองเรียนรวู้ ่าจะใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีดิจิทัลและปกปูองตนเองจากความ เสี่ยงต่างๆ อย่างไร รวมทั้งรู้จักเคารพสิทธิของตนเองและมีความรับผิดชอบต่อสังคมในโลกสมัยใหม่ ไปจนถึงเข้าใจ ผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีต่อสังคม และใช้มันเพ่ือสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในเชิงบวก โดยเขาได้ ทบทวนวรรณกรรมทีเ่ ก่ยี วข้องกับทกั ษะและความรดู้ จิ ทิ ัลจากภาคีเพื่อการเรียนรศู้ ตวรรษที่ 21 หรือ Partnership for 21st Century Skills ท่สี รปุ แกน่ ใจความสาคัญของความรู้ด้านสอ่ื ไวด้ ังน้ี  เข้าใจว่าเน้ือหาในสื่อถูกสร้างขึ้นด้วยวิธีการใดและเพ่ือวัตถุประสงค์อะไร รวมถึงสามารถประเมิน ความน่าเช่ือถือของข้อมูล โดยเฉพาะการแยกขอ้ เท็จจริงออกจากความเหน็ อคติ โฆษณา และวาระ ซอ่ นเร้น หน้า7

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)  ตรวจสอบได้ว่าคนเราตีความสื่อแตกต่างกันอย่างไร รู้ว่าอะไรคือคุณค่าและมุมมองที่ถูกเลือกใส่ หรือไม่ใส่เข้ามาในการผลิตสร้างเน้ือหา รวมถึงเข้าใจผลกระทบของส่ือท่ีมีต่อความเช่ือและ พฤตกิ รรมของสงั คมโดยรวม  เขา้ ใจประเดน็ ทางจริยธรรมและทางกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเขา้ ถงึ และการใชส้ อ่ื  เข้าใจและเลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ส่ือได้อย่างเหมาะสมตามกลุ่มเปูาหมายและ สถานการณ์ สว่ นทักษะและความร้พู นื้ ฐานด้านไอซที ี (ICT literacy) ท่พี ลเมืองดิจิทลั ควรรู้ วรพจน์ ได้สรปุ วา่ มดี ังน้ี  เข้าใจแนวคิดและการทางานพื้นฐานของเครื่องมือดิจิทัล เช่น เข้าใจคาศัพท์สาคัญของระบบ คอมพวิ เตอร์ เขา้ ใจการทางานของฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์  คนุ้ เคยกับสัญลักษณ์และอินเทอร์เฟซของเครื่องมือดิจิทัล รู้จักระบบปฏิบัติการท่ีหลากหลายและ สามารถเปรยี บเทยี บข้อดขี ้อเสยี ได้  ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวัน เช่น ทาธุรกรรมออนไลน์ ติดต่อ ประสานงานร่วมกับผอู้ นื่ สรา้ งสรรคผ์ ลงานและถา่ ยทอดความคิดของตน  เลือกใช้เทคโนโลยีได้เหมาะกับวัตถุประสงค์ เข้าใจข้อดีข้อเสียของเทคโนโลยีท่ีมีอยู่ในตลาด เช่น เลอื กใชแ้ อปพลเิ คช่นั ทช่ี ่วยใหก้ ารทางานเกิดสัมฤทธิผลสูงสุด หรือช่วยในการจัดการข้อมูลได้อย่าง เหมาะสม  เทา่ ทันการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยแี ละรูจ้ กั วิธีใชเ้ พอื่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ  เข้าใจประเด็นทางจรยิ ธรรมและกฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการเข้าถึงและการใช้ไอซที ี อย่างไรก็ตามเขาไดเ้ สนอว่านอกเหนือจากชุดความรู้ด้านสารสนเทศแล้วยังมีองค์ประกอบอ่ืรที่สาคัญสาหรับ การเป็นพลเมอื งดิจิทลั คอื สื่อและเทคโนโลยไี อซีทีทส่ี าคัญต่อการสร้างพลเมืองดิจิทัลโดยตรง ทักษะการคิดข้ันสูงก็มี ความสาคัญต่อการเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ประสบความสาเร็จเช่นกัน อาทิเช่น ทักษะด้านการส่ือสารและการทางาน รว่ มกบั ผู้อื่น ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม การคิดเชิงวพิ ากษแ์ ละการแกไ้ ขปญ๎ หา สว่ นสานักงานกองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) (2562) ได้สรุปข้อเสนอจากสถาบันสื่อเด็กและ เยาวชนวา่ พลเมืองดิจทิ ัลเป็นพลเมืองท่ีมีความรับผิดชอบ มีจริยธรรม เห็นอกเห็นใจและเคารพผู้อ่ืน มีส่วนร่วม และ มงุ่ เน้นความเป็นธรรมในสงั คม และการเป็นพลเมอื งในยคุ ดิจทิ ัลมีทักษะทีส่ าคญั 8 ประการ 1. ทกั ษะในการรกั ษาอัตลกั ษณท์ ่ดี ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity)ความสามารถในการสร้างและ บริหารจัดการอตั ลกั ษณ์ทดี่ ขี องตนเองไว้ไดอ้ ยา่ งดที ้ังในโลกออนไลนแ์ ละโลกความจรงิ 2. ทกั ษะในการรกั ษาขอ้ มูลส่วนตวั (Privacy Management)มีดุลพนิ ิจในการบริหารจดั การข้อมูลส่วนตัว โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลนเ์ พ่ือปอู งกันความเป็นสว่ นตัวทั้งของตนเองและผอู้ นื่ หน้า8

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3. ทกั ษะในการคดิ วิเคราะหม์ ีวจิ ารณญาณที่ดี (Critical Thinking)ความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะ ระหวา่ งขอ้ มลู ที่ถูกต้อง และข้อมลู ทีผ่ ิด ข้อมูลทม่ี เี นือ้ หาดีและข้อมูลที่เข้าข่ายอันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลน์ท่ีน่า ตั้งขอ้ สงสยั และนา่ เชอื่ ถือได้ 4. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management)ความสามารถในการบริหารเวลาใน การใช้อุปกรณ์ยคุ ดจิ ิทัล รวมไปถงึ การควบคุมเพื่อให้เกดิ สมดุลระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกภายนอก 5. ทักษะในการรับมือกับการคกุ คามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management)ความสามารถใน การรบั รู้ และรับมอื การคกุ คามข่มข่บู นโลกออนไลน์ไดอ้ ย่างชาญฉลาด 6. ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลท่ีผู้ใช้งานมีการท้ิงไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ความสามารถในการเข้าใจธรรมชาติของการใช้ชีวิตในโลกดิจิทัล ว่าจะหลงเหลือร่อยรอยข้อมูลท้ิงไว้เสมอ รวมไปถึง เขา้ ใจพลลพั ธ์ ทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ เพอื่ การดูแลสิ่งเหล่านอี้ ย่างมคี วามรับผดิ ชอบ 7. ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ความสามารถในการปูองกันข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยท่ีเข้มแข็ง และปูองกันการโจรกรรมข้อมูลหรือ การโจมตีทางออนไลนไ์ ด้ 8. ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมีจรยิ ธรรม (Digital Empathy)ความสามารถในการเหน็ อกเหน็ ใจ และ สร้างความสัมพนั ธ์ทีด่ กี บั ผอู้ ืน่ บนโลกออนไลน์ การสารวจคณุ ลกั ษณะการเปน็ พลเมืองดจิ ิทลั ของนกั ศกึ ษาไทย ผู้เขียนได้ทาการสารวจคณุ ลักษณะการเปน็ พลเมืองดิจิทัลของนกั ศึกษาไทยในมหาวิทยาลยั ของรฐั และเอกชน ประเภทละหน่ึงแห่ง โดยสารวจนกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยรัฐ (มหาวิทยาลยั A) จานวน 147 คน นกั ศึกษามหาวิทยาลัย เอกชน (มหาวิทยาลัย B) จานวน 273 คน รวมจานวน 420 คนในปี 2561 โดยใช้แบบสอบถามท่ีสร้างจากกรอบ แนวคิด REPs (Respect, Educate, Protect) ของ Mike Ribble (2014, 2015) ดงั น้ี Source: http://digitalcitizenship.net ผลการวจิ ัยท่ีนา่ สนใจบางประการมดี ังน้ี หนา้ 9

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตารางที่ 1ข้อมลู พ้ืนฐานของนักศึกษาท่ตี อบแบบสอบถาม ข้อมลู พื้นฐาน มหาวิทยาลยั A (N =147) มหาวิทยาลัย B (N= 273) N% N% เพศ หญิง 84 60.54 219 80.2 อายุ (ป)ี ชาย 58 39.46 54 19.8 GPA 15-20 103 70.07 141 51.61 21-25 44 29.93 128 46.88 ภูมิลาเนา มากกว่า 25 -- 3 1.10 น้อยกวา่ 2.00 -- 1 0.37 รายไดค้ รอบครวั 2.00-2.49 6 4.08 9 3.30 (บาท/เดอื น) 2.50-2.99 23 15.65 53 19.41 3.00-3.49 73 49.66 117 42.86 มากกวา่ 3.50 45 30.61 93 34.07 กรุงเทพมหานคร 43 29.25 85 31.14 ภาคกลาง 39 26.53 49 17.95 ภาคเหนือ 11 7.48 35 12.82 ภาคใต้ 22 14.97 16 5.86 ภาคอสี าน 29 19.73 87 31.87 ภาคตะวนั ตก 3 2.04 1 0.37 น้อยกว่า 5,000 2 1.36 1 0.37 5,00-15,000 17 11.56 70 25.64 15,001-30,000 33 22.45 78 28.57 มากกว่า 30,000 95 64.63 124 45.42 จากตารางข้างต้นพบว่านักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามมีลักษณะใกล้คียงกัน กล่าวคือ นักศึกษาใน มหาวิทยาลยั ของรฐั (มหาวทิ ยาลยั A) ส่วนมากเป็นหญงิ อายุ 15-20 ปมี คี ะแนนเฉล่ียสะสม 3.00-3.49 มีภูมิลาเนาใน กรงุ เทพมหานครและภาคกลาง ครอบครวั มรี ายได้มากกวา่ 30,000 บาทต่อเดือน ส่วนนักศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยเอกชน (มหาวิทยาลยั B) ส่วนมากเป็นเพศหญิง อายรุ ะหว่าง 15-20 ปี มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3.00-3.49 ส่วนมากมีภูมิลาเนา ในภาคอีสานและกรงุ เทพมหานคร ครอบครัวมรี ายได้มากกวา่ 30,000 บาทต่อเดอื น หนา้ 10

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตารางที่ 2พฤตกิ รรมการใช้สอ่ื ออนไลน์ของนักศึกษา พฤติกรรมการใชส้ อื่ ดิจทิ ัล Email, Webboard Facebook, line A (N=147) B (N=273) A (N=147) B (N=273) ช่ัวโมงท่ใี ชส้ ่อื 1-5 (ตอ่ วัน) 6-10 129 207 89 141 14 42 45 95 10-15 3 18 9 23 มากกว่า 15 16 4 14 เปาู หมายใน เพือ่ การศึกษา 33 79 -7 การใชส้ อื่ เพอื่ การทางาน 6 15 -3 ตดิ ตอ่ เพอื่ น 9 19 14 58 ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน 34 83 39 100 มากกวา่ 1 เปูาหมาย 65 77 94 105 ตารางท่ี 2 พบว่านักศึกษาท้ังในมหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) และมหาวิทยาลัยเอกชน (มหาวิทยาลัย B) ส่วนมากใช้ส่ือออนไลน์วันละ 1-5 ช่ัวโมง โดยใช้ Email, Webboard มากที่สุด รองลงมาคือ Facebook, line สาหรับเปูาหมายในการใช้ส่ือพบว่านักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) ส่วนมากใช้ มากกว่า 1 เปูาหมาย รองลงมาเป็นใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันและเพ่ือการศึกษา ส่วนนักศึกษามหาวิทยาลัย เอกชน (มหาวิทยาลยั B) ส่วนมากใชส้ อ่ื มากกว่า 1 เปาู หมาย รองลงมา คือ ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวัน ตารางท่ี 3ประสบการณก์ ารเรยี นด้วยสอ่ื ออนไลน์ของนักศกึ ษา Web-based learning E-Book Flipped Classroom Blended learning ABABABAB (N=147) (N=273) (N=147) (N=273) (N=147) (N=273) (N=147) (N=273) เคย 75 152 95 184 90 124 73 122 ไมเ่ คย 72 121 52 88 57 149 74 151 ตารางท่ี 3 พบว่านกั ศึกษามหาวิทยาลัยของรฐั (มหาวทิ ยาลัย A) ส่วนมากเคยเรยี น E-Book, Flipped Classroom, Web-based เรยี งตามลาดบั แตป่ ระมาณครึง่ หนึง่ ไมเ่ คยเรียนแบบ Blended learning ส่วนนักศึกษา มหาวิทยาลยั เอกชน (มหาวทิ ยาลยั B) สว่ นมากเคยเรียน E-Book,Web-based แตม่ ากกวา่ ครึ่งหนง่ึ ไมเ่ คยเรียน Blended learning และ Flipped Classroom หนา้ 11

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตารางที่ 4 การมีคุณลักษณะการเป็นพลเมอื งดิจิทลั ตามการรบั รู้ของนกั ศึกษา การมคี ณุ ลักษณะการเปน็ พลเมืองดิจทิ ลั มหาวทิ ยาลยั A (N =147) มหาวิทยาลยั B (N= 273) Mean S.D. แปล Mean S.D. แปล Respect Digital Etiquette ความ ความ Digital Access Digital Law 4.08 0.82 มาก 4.05 0.73 มาก Educate 3.98 0.83 มาก 4.05 0.77 มาก Digital Communication Digital Literacy 2.92 1.13 ปานกลาง 3.37 0.89 ปานกลาง Digital Commerce 3.98 0.74 มาก 4.10 0.72 มาก Protect Digital Rights & 4.34 0.69 มากทส่ี ุด 4.22 0.68 มากทีส่ ุด Responsibilities Digital Safety & Security 4.05 1.13 มาก 3.85 1.20 มาก Digital Health & Wellness 4.26 0.99 มากทส่ี ดุ 4.23 1.03 มากทสี่ ุด 3.56 1.07 มาก 3.96 0.91 มาก 3.68 0.81 มาก 3.89 0.82 มาก แปลความ 4.21 - 5.00 = มากทสี่ ุด 3.41 - 4.20 = มาก 2.61 - 3.40 = ปานกลาง 1.81 - 2.60 = นอ้ ย 1.00 - 1.80 = นอ้ ยท่ีสดุ เมื่อพิจารณาการรับรู้คุณลักษณะการเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักศึกษาตามตารางท่ี 4 พบว่าในด้านการให้ ความเคารพ (Respect) นักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) รับรู้ว่าตนมีมารยาททางดิจิทัล (Digital etiquette) มากที่สุด รองลงมา คือ การเข้าถึงดิจิทัล (Digital access) ส่วนนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน (มหาวิทยาลัย B) เห็นว่าตนมีมารยาททางดิจิทัล (Digital etiquette) เท่ากับการเข้าถึงดิจิทัล (Digital access ท่ีน่า สงั เกตคอื ท้งั สองกล่มุ มีความรู้เกี่ยวกบั กฎหมายดจิ ทิ ลั (Digital law) ในระดับปานกลาง ในด้านการศึกษา (Educate) พบว่าท้ังนักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) และมหาวิทยาลัย เอกชน (มหาวิทยาลัย B) เห็นว่าตนมีความฉลาดรู้ทางดิจิทัล (Digital literacy) มากที่สุด รองลงมานักศึกษา มหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) เห็นว่าตนมีทักษะการพาณิชย์ทางดิจิทัล (Digital commerce) ตามด้วยการ สื่อสารทางดิจิทัล (Digital communication) นักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน (มหาวิทยาลัย B) เห็นว่าตนมีทักษะการ สอ่ื สารทางดิจทิ ลั (Digital communication) มากกวา่ การพาณชิ ยท์ างดจิ ิทัล (Digital commerce) หนา้ 12

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ในด้านการปูองกัน (Protect) พบว่าทั้งนักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) และนักศึกษา มหาวิทยาลัยเอกชน (มหาวทิ ยาลยั B) เห็นว่าตนมีความเข้าใจสิทธแิ ละความรับผดิ ชอบทางดิจิทัล (Digital rights and responsibilities) มากทสี่ ุด รองลงมานักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) เห็นว่าตนมีทักษะท่ีเก่ียวกับสุข ภาวะทางดจิ ิทัล (Digital health and wellness) ตามด้วยการรู้วธิ กี ารรักษาความปลอดภัยและความมนั่ คงทางดิจิทัล (Digital safety and security) ในภาพรวมพบวา่ นักศกึ ษามหาวิทยาลยั ของรฐั (มหาวทิ ยาลัย A) เห็นว่าตนมีความฉลาดรู้ทางดิจิทัล (Digital literacy) มากที่สดุ และมคี วามรูเ้ กยี่ วกับกฎหมายดจิ ทิ ัล (Digital law) ในระดับปานกลาง สว่ นนักศึกษามหาวิทยาลัย เอกชน (มหาวิทยาลัย B) เห็นว่าเห็นว่าตนมีความเข้าใจสิทธิและความรับผิดชอบทางดิจิทัล (Digital rights and responsibilities) มากทีส่ ุด และมีความรู้เกยี่ วกบั กฎหมายดจิ ิทลั (Digital law) ในระดับปานกลาง ตารางท่ี 5ปญ๎ หาเกี่ยวกับคณุ ลกั ษณะการเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ัลตามการรับรขู้ องนักศกึ ษา ป๎ญหาการเปน็ พลเมอื งดจิ ิทลั มหาวิทยาลัย A (N =147) มหาวิทยาลยั B (N= 273) Mean S.D. ลาดับ Mean S.D. ลาดบั Respect Digital Etiquette 4.05 1.05 2 3.89 1.11 2 Digital Access 3.74 1.07 3 3.78 1.02 3 Digital Law 4.06 0.95 1 3.95 1.15 1 Educate 3.80 0.95 2 3.63 1.31 3 Digital Communication 3.79 1.12 3 3.82 1.09 2 Digital Literacy 3.90 0.98 1 3.86 1.12 1 Digital Commerce 4.05 1.05 1 3.89 1.11 2 Protect Digital Rights & 3.89 1.06 2 3.96 1.18 1 Responsibilities 3.80 0.95 3 3.85 1.11 3 Digital Safety & Security Digital Health & Wellness แปลความ 4.21 - 5.00 = มากท่สี ดุ 3.41 - 4.20 = มาก 2.61 - 3.40 = ปานกลาง 1.81 - 2.60 = นอ้ ย 1.00 - 1.80 = นอ้ ยทส่ี ุด จากตารางที่ 5 พบว่านักศึกษาท้ังในมหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) และมหาวิทยาลัยเอกชน (มหาวิทยาลยั B) เห็นตรงกันวา่ มปี ญ๎ หาเก่ียวกับคุณลักษณะการเป็นพลเมืองดิจิทัลในระดับมากทุกข้อ ในด้านการให้ หนา้ 13

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ความเคารพ (Respect) นกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยของรฐั (มหาวทิ ยาลยั A) เหน็ ว่ามีปญ๎ หาความรเู้ ก่ียวกับกฎหมายดิจิทัล (Digital law) มากที่สุด รองลงมาคือมารยาททางดิจิทัล (Digital etiquette) และการเข้าถึงดิจิทัล (Digital access) ตามลาดับ ในด้านการศึกษา (Educate) พบว่าทั้งนักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) และนักศึกษา มหาวทิ ยาลัยเอกชน (มหาวิทยาลยั B) เห็นวา่ มีปญ๎ หาเกี่ยวกับการพาณิชย์ทางดิจิทัล (Digital commerce) มากท่ีสุด แต่ท้ังสองกลุ่มเรียงลาดับต่างกันโดยนักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) เห็นว่ามีป๎ญหาการส่ือสารทาง ดจิ ทิ ลั (Digital communication) มากกว่าความฉลาดรู้ทางดจิ ิทลั (Digital literacy) ในขณะที่นกั ศึกษามหาวิทยาลัย เอกชน (มหาวิทยาลัย B) เห็นว่ามีป๎ญหาความฉลาดรู้ทางดิจิทัล (Digital literacy) มากกว่าการสื่อสารทางดิจิทัล (Digital communication) ในด้านการปูองกัน (Protect) พบว่ามีความเห็นไม่ตรงกัน กล่าวคือนักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ (มหาวิทยาลัย A) เห็นว่ามีป๎ญหาด้านความเข้าใจสิทธิและความรับผิดชอบทางดิจิทัล (Digital rights and responsibilities) มากท่ีสุด ตามด้วยความปลอดภัยและความมั่นคงทางดิจิทัล (Digital safety and security) และ สุขภาวะทางดจิ ทิ ลั (Digital health and wellness) ตามลาดับ ส่วนนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน (มหาวิทยาลัย B) เห็นว่ามีป๎ญหาด้านความปลอดภัยและความม่ันคงทางดิจิทัล (Digital safety and security) มากที่สุดตามด้วยสิทธิ และความรบั ผดิ ชอบทางดิจิทัล (Digital rights and responsibilities) และสุขภาวะทางดิจิทัล (Digital health and wellness) ในภาพรวมพบว่ามปี ญ๎ หาดา้ นสขุ ภาวะทางดจิ ิทัล (Digital health and wellness) มากที่สุด ขอ้ คดิ จากผลการวิจัย ผลการวจิ ัยพบวา่ ในภาพรวมทั้งนักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนมีประสบการณ์ในการ ใชส้ ่อื ออนไลนแ์ ละการเรียนการสอนทใี่ ช้สือ่ เทคโนโลยใี นลกั ษณะต่างๆ เมื่อถามถึงคุณลักษณะการเป็นพลเมืองดิจิทัล ทง้ั สองกลมุ่ ตา่ งเห็นวา่ มคี วามรเู้ กี่ยวกบั กฎหมายดจิ ทิ ลั (Digital law) ในระดบั ปานกลางเพยี งคุณลักษณะเดียว (Mean = 2.92, 3.37 ตามลาดับ) และมสี องคณุ ลักษณะทน่ี กั ศกึ ษาเหน็ ว่ามีในระดับมากทส่ี ุด กลา่ วคือ นักศึกษามหาวิทยาลัย ของรัฐเห็นว่าตนเองมีวามฉลาดรู้ทางดิจิทัล (Digital literacy และความเข้าใจสิทธิและความรับผิดชอบทางดิจิทัล (Digital rights and responsibilities)(Mean =4.34, 4.26 ตามลาดับ) ส่วนนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนเห็นว่า ความเขา้ ใจสทิ ธิและความรับผิดชอบทางดิจิทัล (Digital rights and responsibilities) และมีความฉลาดรู้ทางดิจิทัล (Digital literacy) ในระดับมากที่สุด (Mean = 4.23, 4.22 ตามลาดับ) ในด้านป๎ญหาแม้จะเห็นว่ามีป๎ญหาในระดับ มากทุกด้านแต่ทั้งนักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนให้ความสาคัญกับความรู้เก่ียวกับกฎหมายดิจิทัล (Digital law) ซ่ึงอยู่ในด้านการให้ความเคารพ (Respect) มากท่ีสุด (Mean = 4.06, 3.95 ตามลาดับ) ในด้านการศึกษา (Educate) ทั้งสองกลุ่มเห็นว่ามีป๎ญหาเก่ียวกับการพาณิชย์ทางดิจิทัล (Digital commerce) มากที่สุด (Mean = 3.90, 3.86 ตามลาดับ) ส่วนในด้านการปูองกัน (Protect) เห็นควรให้ความสนใจกับความเข้าใจสิทธิและความ รับผิดชอบทางดิจิทัล (Digital rights and responsibilities) กับความปลอดภัยและความมั่นคงทางดิจิทัล (Digital safety and security) โดยทัง้ สองกลมุ่ ให้ความสาคัญเป็นสองอันดับแรก ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานของรัฐและ หน้า14

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) มหาวทิ ยาลัยจงึ ควรใหค้ วามสนใจกับการใหค้ วามรูเ้ กีย่ วกบั กฎหมายดิจทิ ลั การสรา้ งความเขา้ ใจเกีย่ วกับสทิ ธิและความ รับผดิ ชอบทางดิจทิ ลั รวมทง้ั ความปลอดภัยและความม่ันคงทางดิจิทัล นอกจากนี้การที่ทั้งสองกลุ่มเห็นว่ามีป๎ญหาใน ระดับมากทุกด้านน้ันอาจสะท้อนถึงความใส่ใจในเร่ืองดังกล่าว ในแง่มุมหน่ึงแสดงถึงความตระหนักถึงความสาคัญ (Sense of Awareness) ของการเป็นพลเมืองดิจิทัลซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย Digital Thailand ของรัฐ ในอีกแง่มุม หนึ่งการที่นักศึกษาเห็นว่าตนยังมีทักษะในด้านน้ีไม่เพียงพอและยังมีป๎ญหาด้านการเป็นพลเมืองดิจิทัลในหลายด้าน มหาวทิ ยาลัยจึงควรทบทวนนโยบายและการปรับหลักสูตรการเรียนการสอนในด้านนี้ ส่วนภาครัฐควรมีการทบทวน มาตรการต่างๆ ดาเนินการสร้างความเข้าใจและความตระหนักให้นักศึกษาและประชาชนอย่างต่อเน่ือง รวมท้ังเร่ง สรา้ งความรสู้ กึ ถึงความเรง่ ดว่ น (Sense of Urgency) ในการปรบั ตัวที่จะปฏิบัติตามนโยบายของภาครัฐได้อย่างเต็มที่ เพื่อใหย้ ุทธศาสตรก์ ารพฒั นากาลังคนให้พร้อมเขา้ สู่ยคุ เศรษฐกจิ และสงั คมดิจทิ ัลบรรลเุ ปูาหมาย เอกสารอา้ งองิ กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร. 2559. แผนพัฒนาดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคม. คน้ เมอื่ 9 มกราคม 2562. . Available at: https://www.dga.or.th/upload/download/file_ 9fa5ae40143e13a659403388d226efd8.pdf วรพจน์ วงศก์ ิจรุ่งเรือง. 2561. คู่มือพลเมืองดจิ ิทลั .โครงการการพัฒนาทกั ษะและการเปน็ พลเมอื งดิจทิ ลั (Digital Citizenship) กรงุ เทพฯ สานกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั กระทรวงดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และ สังคม สานักงานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสริมสุขภาพ. พลเมืองดจิ ทิ ัล (Digital Citizenship). โดย Phichitra Phetparee (วนั ท่ี 27 มีนาคม 2562). [Online]. คน้ เมอื่ 11 ตลุ าคม 2562. Available at: https://www.thaihealth.or.th/ สานักงานคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ กระทรวงดจิ ิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม. นโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ดว้ ยการพัฒนาดจิ ทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม. [Online].คน้ เมือ่ 11 ตลุ าคม 2562. Available at: https://www.onde.go.th/Digital Citizenship. Nine Elements: Nine Themes of Digital Citizenship. [Online]. ค้นเม่อื 11 ตุลาคม 2562. Available at: https://www.digitalcitizenship.net/nine-elements.html Mike Ribble and Marty Park. (2019). The Digital Citizenship Handbook for School Leaders: Fostering Positive Interactions Online. International Society for Technology in Education (ISTE). Mike Ribble. (2015). Digital Citizenship in Schools: Nine Elements All Students Should Know, 3rd Edition. International Society for Technology in Education (ISTE). Mike Ribble. (2014). Essential elements of digital citizenship. [Online].Access May 1, 2560. Available at: https://www.iste.org/explore/ArticleDetail?articleid=101 Version January 22, 2020 [Online]. Access January 27, 2020. Available at: https://www.iste.org/explore/digital-citizenship/essential-elements-digital-citizenship หน้า15

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ผลงานวชิ าการและผลงานวจิ ยั ในการประชุมการวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงาน สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption in Education” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จงั หวดั นครราชสีมา หนา้ 16

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยการเล่าเรอื่ งแบบดจิ ทิ ลั ในระบบ DTL-Eco System เพอ่ื พฒั นาความฉลาดทางดิจทิ ลั ของ ผูเ้ รียนระดับอุดมศกึ ษา LEARNING MANAGEMENT THROUGH DIGITAL STORYTELLING IN THE DTL-ECO SYSTEM TO DEVELOP DIGITAL INTELLIGENCE FOR HIGHER EDUCATION STUDENTS กฤตยษ์ พุ ัช สารนอก1กนกรัตน์ จิรสัจจานกุ ูล2ศิวพร ลนิ ทะลกึ 3สขุ ุม พระเดชพงษ์4 1อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาเทคโนโลยกี ารศกึ ษาและคอมพิวเตอร์ คณะคณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั วงษช์ วลติ กุล 2อาจารย์ประจาคณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยมี หาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี 3อาจารย์ประจาศนู ยว์ จิ ัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ 4อาจารยป์ ระจาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกลุ Email: [email protected] บทคดั ยอ่ งานวจิ ัยนเ้ี ป็นการวิจยั และพฒั นา มวี ตั ถปุ ระสงค์เพือ่ พัฒนาระบบนเิ วศการเรียนร้ดู ว้ ยการเลา่ เรื่องแบบดิจิทัล ฯ เพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จานวน 30 คน สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ความฉลาดทางดิจิทัลของนักศึกษาแบ่งได้เป็น 2 ด้าน คือ 1) ผลการประเมิน ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดจิ ิทัล พบวา่ โดยรวมผู้เรียนมีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.44, S.D.= 0.63) ซึ่งเมอ่ื แยกดูผลเป็นระดบั แลว้ ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ โดยรวมอยู่ในระดับเก่ง ( = 4.48, S.D.= 0.53) โดยเมื่อ ทาการพิจารณาเปน็ รายขอ้ คาถาม พบวา่ ในระดับ เก่ง ขอ้ ที่ 2.1 ผู้เรียนอยากรู้ อยากมสี ่วนรว่ มกับกิจกรรมหรือสงิ่ ดี ๆ ท่ีเกิดขึ้นบนโลกออนไลน์ซ่ึงเป็นข้อท่ีมีผลการประเมินสูงที่สุด ( = 4.66, S.D.= 0.48), 2) และผลการประเมิน ทักษะการใช้เครอ่ื งมือและส่ือดจิ ทิ ัลของนักศกึ ษาในภาพรวมทง้ั 3 ระดบั พบว่า โดยรวมผู้เรียนมีผลการประเมินอยู่ใน ระดับมากที่สุด ( = 4.52, S.D.= 0.51) ซ่ึงเมื่อแยกดูผลการประเมินออกเป็นระดับแล้ว พบว่า ผู้เรียนมีผลการ ประเมนิ โดยรวมอยู่ในระดับที่ 3 คอื มที กั ษะในการทางานในวิชาชีพหรือการนาไปใช้สร้างประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม ได้ ( = 4.47, S.D.= 0.50) และเมอื่ ทาการพิจารณาเปน็ รายขอ้ คาถามแลว้ พบว่า ในระดับท่ี 2 ทักษะในการทางาน ขอ้ ที่ 1 คือ ความสามารถในการใชเ้ ครื่องมอื ดจิ ิทัลเพ่อื คดั กรองและจดั การทรพั ยากรสือ่ ดิจทิ ัลที่รับเข้ามาเป็นข้อที่มีผล การประเมนิ อย่ใู นระดบั มากทส่ี ุด ( = 4.65, S.D.= 0.50) คาสาคัญ:การเล่าเรื่องแบบดจิ ิทัล, ระบบ DTL-Eco System,ความฉลาดทางดิจิทัล หนา้ 17

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ABSTRACT Thisresearch is a research and development, aimed to develop learning management systems with digital storytelling in the digital learning ecosystem to develop digital intelligence of students. The research samples were 30 undergraduate students, Faculty of Education, Vongchavalitkul University. The statistic used in data analysis were Meanand Standard Deviation. The research findings were as follows: The results of the assessment of the digital intelligence of the student teachers are divided into 2 areas: 1) The results of the emotional intelligence assessment on the digital world found that the overall student assessment results were at the highest level ( = 4.44, S.D. = 0.63) When investigating as a level, then the overall assessment results are at a good level ( = 4.48, S.D. = 0.53). When investigating individual question, found that at the good level item 2.1 Students want to know, want to participate in activities is the item with the highest evaluation ( = 4.66, SD = 0.48), 2) The results of the assessment of skills in using tools and digital media of the students teachers in the overall of 3 level found that the overall students had the highest level of evaluation ( = 4.52, SD = 0.51) When separating the assessment results into levels, it is found that the learner has the overall assessment at level 3, which is skills in working in the profession or can be used to benefit society ( = 4.47, S.D. = 0.50). When investigating individual question, found that level 2-work skills, item1the ability to use digital tools to screen and manage incoming digital media resources was the highest average scores of results ( = 4.65, SD = 0.50). KEYWORDS: Digital StorytellingDTL-Eco systemDigital Intelligence หน้า18

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บทนา ป๎จจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้การเปลี่ยนผ่านของความรู้บนโลกดิจิทัลเป็นไปอย่างรวดเร็ว โรงเรียนและสถาบันการศึกษาตลอดจนครูผู้สอนจึงต้องพัฒนาตนเองเพื่อนาตนเองก้าวผ่านเข้าสู่โลกแห่งการเรียนรู้ รูปแบบใหม่ การปรับกระบวนการเรียนการสอน วิธีการ เทคนิคและส่ือการสอนตลอดจนทัศนคติความรู้ความเข้าใจ ต่อพฤติกรรมของผู้เรียนที่เปล่ียนไปน้ันส่งผลให้ครูผู้สอนต้องปรับตัวคิดค้นหาวิธีการสอนแบบใหม่ ๆ นาเทคโนโลยี สมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้เป็นสื่อหรือเครื่องมือสร้างและกระตุ้นการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนรุ่นใหม่ (Sarnok, 2017) ดังน้ันการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษใหม่จึงเป็นเร่ืองท่ีท้าทายและสาคัญมากสาหรับครูผู้สอนและสถาบันการศึกษา เพราะฉะน้ันแล้วการออกแบบกิจกรรมการสอนและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แบบใหม่ ๆ จึงมิได้มุ่งเน้นการให้ ความรู้แก่ผู้เรียนโดยผู้สอนหรือครูเพียงอย่างเดียว หากแต่เป็นการออกแบบกิจกรรมการสอนและการสร้างระบบ สภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ (Learning Environment System)ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้และทากิจกรรม ได้ตลอดเวลาผ่านทางเทคโนโลยีและเคร่ืองมือดิจิทัลต่าง ๆ ท่ีมีอยู่อย่างมากมายในทุกวันนี้ (Sarnok and Wannapiroon, 2018) จากการใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นการสอนด้วยการจัดสภาพแวดล้อมดิจิทัลซึ่งมีหลักการ คือ การจัด \"ระบบนิเวศการเรียนรู้แบบดิจทิ ัล\" (Digital Learning Ecosystem) หรอื ระบบการเรียนรู้ในระบบดิจิทัล ซ่ึงมี ความหลากหลายขององคป์ ระกอบทง้ั เร่อื งของแนวคิดด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) รวมไปถึงการ ใชร้ ะบบ e-learning ซ่งึ มโี ครงสร้างพื้นฐานของการใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพ่ือการเรียนรู้เข้ามาร่วมด้วย (Jorge, 2011) เรียกการจัดการเรียนการสอนในลักษณะน้ีว่าDigital Teaching and Learning Ecosystem (DTLE) ซ่ึงเป็นการสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่มีอยู่ในระบบนิเวศซ่ึงประกอบไปด้วยส่ิงท่ีมีชีวิต (Biotic) และส่ิงท่ีไม่มีชีวิต (Abiotic) รวมไปถึงองค์ประกอบทางกายภาพทั้งหมดที่เป็นสภาพแวดล้อมท่ีส่ิงมีชีวิตนั้นมีปฏิสัมพันธ์ด้วย เ ช่น อุปกรณ์เคร่ืองมือหรือฮาร์ดแวร์ต่างๆ ระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์หรือซอฟต์แวร์รวมไปถึงเทคโนโลยี เครือข่าย ซง่ึ สามารถนาไปใช้ได้ท้ังในฝง่๎ ของกล่มุ ผ้เู รียน ผูส้ อน หรอื รวมถึงกล่มุ ของผูส้ ร้างเนื้อหา จนเกิดการเช่ือมโยง กนั เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ภายในระบบนิเวศดิจิทัล (Irene Karaguilla Ficheman and Roseli de Deus Lopes, 2018) ทอี่ ย่ใู นรปู แบบของความหลากหลายซึง่ มกี ารใช้งาน การสืบค้น การเรียนรู้อยู่ในทุกๆ วันทั้งในกลุ่มผู้สอนและ กลมุ่ ผู้เรียนภายในระบบนเิ วศดิจิทัลน้ันอยแู่ ลว้ ทัง้ นเ้ี พราะส่วนหนงึ่ ในชีวติ ของคนเราทุกคนล้วนมีชีวิตอยู่ในโลกดิจิทัล มีความสนใจและความต้องการในการใช้เทคโนโลยีต่างๆ อยู่ตลอดเวลา (Ismar Frango Silveira and Other, 2013) ยกตวั อยา่ งในดา้ นของการศกึ ษา เชน่ เม่อื ผ้เู รยี นได้รบั มอบหมายงานจากผู้สอนแล้วจากทักษะและความสามารถของ ผู้เรียนร่นุ ใหม่ ผ้เู รียนจะสามารถคดิ วเิ คราะห์และคน้ ควา้ หาข้อมลู ในระบบนิเวศดิจิทัลแล้วนามาผลิตและนาเสนองาน ไดใ้ นรปู แบบของการเล่าเรื่องผ่านส่ือดิจิทัล (Digital Storytelling)ซึ่งก็คือกิจกรรมหนึ่งที่ผู้เรียนยุคใหม่ทาอยู่จนเป็น กจิ วตั รอยูแ่ ล้วในโลกของสือ่ สังคมออนไลน์ (Social Media) โดยในความหมายของส่อื ท่ีใช้ในการเล่าเรื่องแบบดิจิทัลน้ี ก็คือ การเล่าเรื่องราวโดยใช้สื่อและเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีถ่ายทอดเรื่องราวและอารมณ์ความรู้สึกของผู้เล่า โดยการเล่า เรอื่ งแบบดจิ ิทลั นี้จะเปน็ สือ่ ท่ีครอบคลมุ สื่อหลายรปู แบบ เชน่ ภาพ ภาพยนตร์ แอนเิ มชัน เสยี ง วดิ โี อเกม เน้ือหาสาระ ที่ออกแบบแล้วสาหรับเว็บไซต์และแอปพลิเคชันสาหรับโทรศัพท์เคล่ือนท่ี เป็นต้น (Wannapiroon, 2016) โดย ทั้งหมดนี้เมื่อใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทาการรวบรวมส่ือให้เป็นเรื่องราวแล้วก็จะมีความเหมาะสมกับผู้เรียนซ่ึงต้องอาศัย การเรียนรเู้ พอื่ การสรา้ งความฉลาดและความตระหนกั ใหเ้ กิดขน้ึ ภายในตนเอง ดังนั้น เมือ่ นาวิธีการน้ีมาปรับใช้แล้วผล หนา้ 19

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ท่ีได้ถือว่าเป็นวิธีการท่ีดี เพราะการสอนแบบการเล่าเรื่องดิจิทัลนั้นจะเน้นการสร้างสื่อเพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความ สนใจและมแี รงบนั ดาลใจท่ดี ีเกดิ การเรยี นรทู้ ่ตี ดิ อย่กู บั ผู้เรยี นได้นานขน้ึ เพราะเนอ้ื หามีการผูกเป็นเรื่องราวให้เข้าใจได้ ง่ายมากกว่าทจี่ ะเปน็ แคข่ อ้ มูลธรรมดาที่มกี ารถา่ ยทอดกันในห้องเรยี นปกติ จากความสาคัญดงั กลา่ ว การเรียนรูแ้ ละการแบง่ ปน๎ กันได้เกิดข้ึนอย่างแพร่หลายในระบบนิเวศดิจิทัล ผู้วิจัย จึงมคี วามสนใจท่ีจะศึกษาออกแบบพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ DTL-Eco System โดยใช้การสอนดว้ ยการเล่าเรื่อง แบบดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กบั นักศกึ ษารวมถงึ สรา้ งทกั ษะการใชช้ ีวิตบนโลกออนไลนต์ ลอดจนสรา้ งความฉลาดทางดิจิทัล อันได้แก่ ทักษะการ ใช้เครื่องมือและส่ือดิจิทัล (Digital Use)ทักษะความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัล (Digital Emotional Intelligence) เช่น การมีความเข้าใจเห็นใจ มีน้าใจต่อผู้อื่นบนโลกดิจิทัล เกิดความตระหนักและเกิดทักษะการ ควบคมุ อารมณข์ องตนเองในโลกของความเป็นจรงิ และอารมณ์ที่แสดงออกต่อสังคมในโลกดิจิทลั ได้ วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั 1. เพอื่ ออกแบบและพัฒนาระบบนิเวศการเรยี นร้ดู ิจิทลั ด้วยการเล่าเร่ืองแบบดจิ ทิ ัล 2. เพอ่ื ศกึ ษากระบวนการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยการเลา่ เรอื่ งแบบดิจทิ ัลในระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจทิ ัล 3. เพอ่ื ประเมนิ ความฉลาดทางดิจทิ ัล (Digital Intelligence)ของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา ไดแ้ ก่ 3.1 ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัล (Digital Emotional Intelligence)ของนักศึกษาก่อนและหลัง เรียนจากระบบการจดั การเรียนรูด้ ว้ ยการเล่าเร่ืองแบบดิจทิ ลั ในระบบนเิ วศการเรียนรู้ดิจิทลั 3.2 ทักษะการใชเ้ คร่อื งมอื และส่อื ดจิ ทิ ลั (Digital Use)ของผู้เรยี นระดบั อดุ มศกึ ษา วิธดี าเนนิ การวิจยั 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 1.1 ประชากร คอื ผู้เรยี นระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา จังหวัดนครราชสีมาท่ีลงทะเบียนเรียนในปี การศึกษา 2562 1.2 กลุ่มตวั อย่าง คอื นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลที่ลงทะเบียน เรียนในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 จานวน 30 คน โดยวธิ กี ารสุ่มอยา่ งงา่ ย 2. ตัวแปรที่ใชใ้ นการวจิ ัย 2.1 ตัวแปรต้น คือ การจดั การเรยี นการสอนในระบบการจัดการเรียนรู้ด้วยการเล่าเรื่องแบบดิจิทัลในระบบ นเิ วศการเรยี นรูด้ จิ ิทัล DTL-Eco System 2.2 ตัวแปรตาม คือ ความฉลาดทางดิจิทัล ได้แก่ ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัล, ทักษะการใช้ เครือ่ งมอื และสอ่ื ดจิ ทิ ัล หนา้ 20

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั Input ระบบนเิ วศการเรียนรู้ดิจิทลั Process องคป์ ระกอบของ องคป์ ระกอบของส่ิงที่ การจัดการเรียนการสอนในระบบ ส่ิงมีชวี ิต ไม่มีชีวิต นเิ วศการเรียนรู้ดิจทิ ัล DTL-Eco ดา้ นผเู้ รียน ดา้ นของ Hardware System - นกั ศึกษา ผู้ปกครอง - Computer, ดา้ นการจัดการเรียนรู้ด้วย Output กลมุ่ เพื่อน การเล่าเรอ่ื งแบบดจิ ิทัล Laptop, Desktop, ความฉลาดทางอารมณ์ ดา้ นผู้สอน Tablet, Smart 1. การเสนอมมุ มอง บนโลกดิจิทลั Phone or Smart - อาจารย์ผสู้ อน Device etc. 2. การสรา้ งคาถามทนี่ า่ ทง่ึ DQ ทกั ษะการใชเ้ ครอ่ื งมือ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา และสอื่ ดิจิทลั อาจารยฝ์ าุ ยสนับสนุน ด้านของ 3. การสร้างเนอื้ หาทาง เชน่ อาจารย์ฝาุ ยฝึก อารมณโ์ ดยเน้นความสุข ประสบการณ์ อาจารย์ Software นิเทศ อาจารยด์ า้ น IT เป็นตน้ - Internet Service Learning & Teaching Web, App, Social Media or Online (James Sunney, 2018/ Mart Laanpere, 2013/ Michael Carrier, 2017/ Tecnológico de Monterrey, 2017/ DávidBán and Balázs Nagy, 2016) ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั 4. เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวิจัย 4.1 ระบบการจัดการเรียนรู้ด้วยการเล่าเร่ืองแบบดิจิทัลในระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลฯ (DTL-eco System) ซึง่ ประกอบไปดว้ ย 7 สว่ น ไดแ้ ก่ 1. Calendar เปน็ โมดูลของการวางแผน และเช็คตารางงานส่วนตัวและการทากิจกรรมของสมาชิกใน ระบบนเิ วศดิจทิ ัล หนา้ 21

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2. Activity เปน็ โมดลู ของการทากิจกรรมการเล่าเร่ืองแบบดิจิทัลของสมาชิก เพื่อสร้างเรื่องเล่าดิจิทัล ของตนเอง โดยในขบวนการผลิตส่ือ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้หลักและวิธีการพัฒนาส่ือดิจิทัลตลอดจนเนื้อหาที่ต้องการ ถ่ายทอดออกมาใหผ้ ู้คนรับทราบ โดยกิจกรรมการเลา่ เร่ืองแบบดิจทิ ัลมขี ัน้ ตอน 7 ข้นั ตอน ดังน้ี 1) การกาหนดมุมมอง ของการนาเสนอ 2) การสรา้ งประเดน็ เปดิ เรื่องเล่า 3) การสร้างอารมณ์ของเร่ืองเล่า 4) การเสียงประกอบ 5) เทคนิค การใชภ้ าพและเสียงในเรอ่ื งเล่า 6) การคานึงถงึ คุณคา่ และความคุ้มค่าของเรอ่ื งเล่า 3.Course เป็นโมดูลที่แสดงรายละเอียดของหลักสูตร รายวิชา และคาอธิบายรายวิชาที่ผู้เรียนจะต้อง ทราบในแต่ละรายวิชาท่ีต้องการเรียนรู้ ซึ่งเนื้อหาเรื่องวิชาชีพครูท้ังหมดแบ่งออกเป็น 5 บทเรียน ได้แก่ บทที่ 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกีย่ วกับครู บทท่ี 2 มาตรฐานวชิ าชพี ครูตามท่ีคุรุสภากาหนด บทท่ี 3 มาตรฐานความรู้และมาตรฐาน ประสบการณ์วิชาชีพครู บทท่ี 4 มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทที่ 5 มาตรฐานการปฏิบัติตนและแบบแผนพฤติกรรม ตามจรรยาบรรณวิชาชพี โดยทา้ ยบทเรียนของทุกเรือ่ งจะมแี บบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนไว้ประเมนิ ผล 4. Learning เปน็ โมดลู ของการเรียนรใู้ นเนือ้ หาของรายวิชาน้ัน ซึ่งประกอบไปด้วยการทาแบบทดสอบ ก่อนเรยี น การเรยี นรู้เนอ้ื หา การทากจิ กรรมในเนอ้ื หา และการทาแบบทดสอบหลังเรยี น 5. Works เปน็ โมดลู ของการสง่ งานทีอ่ ยใู่ นรูปแบบของเรือ่ งเลา่ ดจิ ทิ ลั ของผเู้ รียน ซึ่งเป็นผลงานท่ีได้จาก การเรียนรู้ในข้อท่ี 4 และบูรณาการเป็นกิจกรรมในข้อที่ 2 แล้วเกิดเป็นเนื้อหาเร่ืองเล่าดิจิทัลเพื่อแบ่งป๎นในระบบ DTL-ecoLMS 6.Discussion เป็นโมดูลของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถงึ ประเดน็ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการเรียนรู้ การทากิจกรรม และการศกึ ษาดงู านของคนอื่น ๆ โดยขอ้ ความทง้ั หมดจะถูกแสดงความคิดเหน็ จากสมาชิกในระบบ เช่น จากเพื่อน ครู อาจารย์ หรือผู้ปกครองท่ีเขา้ เรยี นรูใ้ นระบบดว้ ย 7. Message เป็นโมดูลของการฝากหรือส่งข้อความเพ่ือแลกเปล่ียน สอบถามหรือขอข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งกัน และกนั กบั สมาชิกในระบบ ภาพประกอบ 2หนา้ จอแรกของระบบ DTL-eco System เมอื่ เปิดดว้ ยคอมพวิ เตอรโ์ นต๊ บุ๊ค และโทรศัพทส์ มารท์ โฟน 4.2 กระบวนการจัดการเรียนการสอนด้วยการเล่าเร่ืองดิจิทัล (Digital Storytelling)ในระบบนิเวศการ เรยี นรดู้ จิ ทิ ัลประกอบด้วย 6 ปจ๎ จัย ซึ่งมขี นั้ ตอนของการสรา้ งสื่อการเลา่ เรอื่ งแบบดิจิทลั ดังนี้ หน้า22

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 1. ขั้นของการกาหนดมมุ มองการนาเสนอ เป็นลักษณะการนาเสนอ 3 รูปแบบ ได้แก่ การนาเสนอแบบแรก คอื การถา่ ยทอดเรอื่ งราวท่ีต้องการส่ือสารผ่านมุมมองของตนเองเป็นการเล่าเรื่องจากประสบการณ์ตรง แบบท่ีสอง เปน็ การเลา่ เร่ืองผ่านมุมมองความคิดจากมุมมองของผู้ที่อยู่ใกล้ชิดซึ่งเปรียบเสมือนผู้เฝูาดูเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น แล้วนามาถา่ ยทอดและแบบสุดทา้ ยคอื การนาเสนอในมุมมองความคิดของบุคคลที่ 3 ซึ่งเป็นผู้ที่ไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์ โดยตรงแต่เป็นผรู้ ู้ทง้ั หมด โดยสามารถเข้าถงึ และถา่ ยทอดความคดิ ของตัวละครทุกตวั ได้หมด 2. ขั้นของการสรา้ งประเด็นเปิดเร่ืองคือ การทาให้เกิดความน่าติดตามในเนื้อเรื่องด้วยการเปิดประเด็นเป็น คาถามต้ังแต่ต้นเรื่อง เพื่อทาให้ผู้ที่กาลังดูหรือฟ๎งอยู่อยากรู้ และต้องการติดตามไปเรื่อย ๆ เพ่ือหาคาตอบสาหรับ คาถามน้ัน 3. ขนั้ ของการสรา้ งอารมณ์คือ การสร้างบรรยากาศของอารมณ์ร่วมระหว่างเน้ือหาและผู้รับชม เพ่ือให้เกิด ความรสู้ กึ ร่วมไปกบั เน้อื หานัน้ ๆ เช่น หัวเราะ ร้องไห้ ต่นื เต้น เป็นต้น 4. ข้ันของการใช้เสียงประกอบ คือการสร้างหรือเลือกใช้เสียงประกอบท่ีถูกจังหวะ น้าหนักเสียง ประเภท อารมณข์ องเรือ่ งทเ่ี กิดจากการใช้เสียงน้ันเพอ่ื อะไร เชน่ เพ่อื ใช้สาหรับการช่วยสรา้ ง เสรมิ หรือกระตุ้นผู้รับชมให้อยาก ตดิ ตามเนื้อหา ไม่เกิดความเบือ่ หรือใชเ้ พ่ือดาเนินเร่อื งใหน้ ่าสนใจยิง่ ขน้ึ เปน็ ตน้ 5. ข้ันของเทคนิคการใช้ภาพและเสียงคือ การคิดวิเคราะห์ วางแผนเพ่ือการใช้สื่อภาพและเสียงที่มีความ เหมาะสม สามารถส่ือสารได้ชดั เจนเขา้ ถึงอารมณ์ความรู้สึกของผู้รับชม ดึงดูดความสนใจของผู้รับชมให้มีสมาธิอยู่ได้ จนจบเร่ือง 6. ขั้นของการตระหนักถึงความคุ้มค่าคือ เมื่อรับชมเน้ือหาแล้วได้ความรู้และรู้สึกถึงความสาคัญของส่ือ ท่ี รับชมจบลงน้ันเปรียบเสมือนสื่อนั้นมีประสิทธิภาพ โดยส่ือนั้นอาจจะไม่จาเป็นต้องใช้เครื่องมือ งบประมาณ หรือ เทคนิคการสร้างทีฟ่ มุ เฟือยมากมายกไ็ ด้ 4.3 แบบประเมินความฉลาดทางดิจิทัลมีข้ันตอนการสร้างโดยเริ่มต้นจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัล (Digital Emotional Intelligence) และทักษะการใช้ เครอื่ งมือและสื่อดิจทิ ัล (Digital Use)จากงานวจิ ัยและบทความทางวชิ าการต่าง ๆ เพื่อนามากาหนดกรอบแนวคิดและ สร้างนยิ ามของทักษะความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัลและทกั ษะการใช้เครื่องมือและส่ือดจิ ิทัล ดังนี้ 4.3.1 แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัล คือ แบบประเมินท่ีใช้วัดและประเมินทักษะ ความฉลาดทางด้านอารมณบ์ นโลกดจิ ิทลั ของผเู้ รียนซ่ึงเปน็ ความสามารถในการเข้าสังคมบนโลกออนไลน์ได้อย่างเป็น มติ ร เช่น มคี วามเคารพผูอ้ นื่ เข้าอกเขา้ ใจผูอ้ ่ืน การเอาใจใส่ การเห็นใจ การแสดงน้าใจ การช่วยเหลือ การยินดี และ หนา้ 23

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การสร้างความสมั พนั ธ์ท่ดี ีกบั บคุ คลอ่ืน ๆ ในโลกออนไลน์ ซงึ่ แบ่งออกได้ 3 องค์ประกอบ คือ 1)ความเข้าใจ เห็นใจ มี น้าใจต่อผู้อื่นบนโลกดิจิทัล (Empathy) 2)ความตระหนักและการควบคุมอารมณ์ (Emotional Awareness and Regulation) 3)ความตระหนักด้านอารมณ์และสังคม (Social and Emotional Awareness) โดยในแบบประเมิน ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทลั ประกอบไปดว้ ยการประเมนิ 3 ระดบั รวม 75 คะแนน ได้แก่ ระดับท่ี 1 เก่ง (25 คะแนน) ระดับท่ี 2 ดี (25 คะแนน) และระดับท่ี 3 สุข (25 คะแนน) โดยใช้เกณฑ์ในการพิจารณาให้คะแนนในแต่ละ ประเด็น ดงั น้ี 1 (ไมเ่ ป็นเลย) หมายถงึ ไม่เคยปรากฏ 2 (เปน็ บางครงั้ ) หมายถงึ นาน ๆ คร้ังหรือทาบ้างไม่ทาบ้าง 3 (เป็นบอ่ ยครงั้ ) หมายถงึ ทาบ่อย ๆ หรอื เกอื บทุกครัง้ 4 (เปน็ ประจา) หมายถงึ ทาทกุ คร้งั เมือ่ เกิดสถานการณน์ ั้นขึ้น 5 (เปน็ นสิ ัย) หมายถงึ ทาทุก ๆ คร้ังดว้ ยความรู้สึกของตนเอง โดยเกณฑ์การแปรผลของคะแนนตามความหมาย ดังนี้ ได้มากกวา่ 57 คะแนน ความฉลาดฯ อย่ใู นเกณฑส์ งู กวา่ ปกติ ไดร้ ะหว่าง 41-57 คะแนน ความฉลาดฯ อย่ใู นเกณฑป์ านกลางหรอื เป็นปกติ ได้ต่ากวา่ 41 คะแนน ความฉลาดฯ อยู่ในเกณฑ์ตา่ กว่าปกติ กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข (2543), สถาบนั ราชานกุ ูล กรมสขุ ภาพจิต (2561) 4.3.2 แบบประเมินทกั ษะการใชเ้ ครอ่ื งมือและสอ่ื ดจิ ิทัล ประกอบดว้ ยคาถามเกยี่ วกับการใชเ้ ครอื่ งมือ และการใชส้ ่ือดิจิทัลที่มีอยู่และเกดิ จากการเรียนรแู้ ละสร้างชิ้นงานในระบบนิเวศการเรยี นรดู้ จิ ทิ ลั มเี กณฑ์ในการ ประเมนิ ผล ดังน้ี 5 หมายถงึ มีทกั ษะในระดบั มากทส่ี ดุ 4 หมายถงึ มีทักษะในระดบั มาก 3 หมายถึง มีทักษะในระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มที กั ษะในระดบั นอ้ ย 1 หมายถึง มที ักษะในระดบั นอ้ ยทสี่ ดุ 4.4 วิธกี ารดาเนนิ งานวิจยั 4.4.1 การวางแผนกอ่ นดาเนนิ การทดลอง 1. การเตรียมความพร้อมของผสู้ อนและผเู้ รยี น รวมถงึ การเตรียมสภาพ แวดล้อมของการเรียนการสอนในระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัล เช่น การจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา การ ทดสอบความพร้อมของระบบเครือข่าย การทดลองระบบบริหารจัดการเรียนรู้ DTL-eco System การเตรียมและ ทดสอบโปรแกรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการใชง้ านในการเรยี นการสอน 2. การเตรียมความพร้อมของแผนการจดั การเรยี นการสอน คู่มอื ปฏบิ ตั สิ าหรบั ผเู้ รยี นและ ผสู้ อนตามระบบการสอน DTL-ecoSystem ท่ีพฒั นาขน้ึ และการจัดเตรียมเครือ่ งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวม ขอ้ มลู หน้า24

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 4.4.2 การดาเนินการทดลองใชร้ ะบบการเรียนรู้ DTL-ecosystem ด้วยกระบวนการเรียนการสอน โดยการเล่าเรอ่ื งดจิ ิทลั และการใช้สอ่ื ดจิ ทิ ัลในระบบนิเวศการเรียนรู้ดจิ ทิ ลั ฯ 1. วัดความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัลของผู้เรียนก่อนการเรียนจากระบบการเรียนรู้ ที่ พัฒนาขนึ้ โดยใช้แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณบ์ นโลกดิจทิ ัล 3 ระดับ 15 กิจกรรม ใช้เวลากิจกรรมละประมาณ 15 นาที รวมเปน็ เวลาทง้ั สน้ิ 45-60 นาที 2. ดาเนินการวิจัยโดยใหผ้ ้เู รยี นลงช่ือเข้าใชร้ ะบบการเรียนในภาคเรียนที่ 2/62 เพอ่ื เข้าเรียนเนื้อหาและทากิจกรรมในระบบการเรียนรู้ โดยในการเรียนจะให้ผู้เรียนแต่ละคนทากิจกรรมการเรียนรู้ จากเน้ือหาสองส่วน ได้แก่ ส่วนของวิชาชีพครูและส่วนของการเล่าเรื่องแบบดิจิทัลซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อหาที่เป็น กิจกรรม 6 กจิ กรรมหลักท่ีผเู้ รยี นจะตอ้ งประยุกต์เอาเนือ้ หาวิชาชพี ครมู าสรา้ งเปน็ เรื่องเล่าดิจทิ ัลตามกิจกรรมน้ี 3. เมอ่ื สนิ้ สดุ การดาเนินกิจกรรม ผู้สอนทาการสรุปผลและประเมินผลการเรียนตามสภาพจริง โดยการวัดผลการเรยี นรูเ้ มื่อจบกจิ กรรมการเรยี นรู้แต่ละขัน้ ตอนโดยประเมินจากแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ บนโลกดิจิทลั แบบประเมนิ ทักษะการใชเ้ ครื่องมอื และส่ือดิจทิ ลั 4. สอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เรียนหลังจากที่ได้เรียนรู้ในระบบการเรียนรู้ ด้วยการเลา่ เรอ่ื งแบบดิจทิ ัลในระบบนิเวศการเรยี นรูด้ ิจทิ ัลทพี่ ัฒนาข้นึ 4.5 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูล 4.5.1 ตรวจคะแนนจากแบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณบ์ นโลกดิจทิ ัลก่อนและหลงั การทดลองเรียนจากระบบการเรียนรู้ โดยแบ่งคะแนนความความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัลออกเป็น 3 ระดับ คอื อยู่ในเกณฑส์ ูงกวา่ ปกติ อยู่ในเกณฑ์ปกติ และอย่ใู นเกณฑ์ทตี่ า่ กว่าปกติ โดยในการประเมินความฉลาด ทางอารมณ์โลกดจิ ิทลั ของนักศึกษาวิชาชีพครูจะประกอบไปด้วยการวัดประเมินความสามารถของการควบคุม อารมณ์บนโลกดจิ ทิ ลั เพอ่ื ใหต้ นเองและบคุ คลรอบขา้ งไม่ได้รับความเดือดร้อนและร่วมกันสร้างสังคมโลกดิจิทัล หรือโลกออนไลน์ใหม้ แี ตค่ วามสขุ และมีแต่สิ่งสร้างสรรคใ์ นระบบนเิ วศดจิ ิทลั 4.5.2 การวเิ คราะห์ข้อมลู วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือเปรียบเทียบความฉลาดทางดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี เพ่ือหาค่าความ แตกตา่ งของความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทลั และทกั ษะการใช้เคร่ืองมือและส่ือดิจิทัลของนักศึกษาก่อนและหลัง เรยี นดว้ ยการวเิ คราะห์คา่ เฉลี่ย ( และคา่ ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผลการประเมนิ ความฉลาดทางดจิ ิทลั (Digital Intelligence)ของนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ก่อนแล ะหลั งเรียนด้ว ยระบบการ จัดการเรี ยนรู้ด้วยกา รเล่าเรื่ อ งแบบดิจิทัล ในระบบนิ เวศการเรี ยนรู้ดิจิทัล มี รายละเอียด ดังน้ี หน้า25

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 1. ผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัล (Digital Emotional Intelligence)ของนักศึกษา นั้น ในการวิจัยผู้วิจัยได้มีการประเมินผลตามสภาพจริงเพื่อนาข้อมูลมาเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์บนโลก ดจิ ิทัลของผ้เู รยี นกอ่ นและหลงั เรียนจากระบบฯ ที่พัฒนาขน้ึ มผี ลดงั ตารางที่ 1 คอื ตารางท่ี 1 ผลการประเมินความฉลาดทางอารมณบ์ นโลกดิจทิ ลั ของผเู้ รียนหลังเรียนด้วยระบบ การจัดการเรยี นร้ดู ว้ ยการเลา่ เรอื่ งแบบดจิ ิทลั ในระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลฯ รายการประเมิน ผลการประเมนิ ระดบั ความ S.D. ฉลาดทาง อารมณ์ 1. ระดบั “ ดี ” 4.35 0.60 เปน็ ประจา 1.1 แสดงความเหน็ ใจเมอื่ เห็นเพ่ือนหรือผู้อ่นื ทกุ ข์รอ้ นใน 4.33 0.58 เปน็ ประจา โลกออนไลน์โดยการกระทา เช่น บอกว่าสงสาร เขา้ ไป 4.38 0.61 เปน็ ประจา ปลอบใจหรอื เขา้ ไปช่วยเหลอื 4.32 0.56 เปน็ ประจา 1.2 หยุดการกระทาทไี่ ม่ดีบนโลกออนไลนเ์ ม่อื มีผ้ใู หญ่ 4.21 0.48 เปน็ ประจา ห้าม หรือกล่าวตักเตือน 4.32 0.56 เปน็ ประจา 4.66 0.48 เป็นนสิ ยั 1.3 นาเสนอ เผยแพร่ หรือแบ่งป๎นข้อมลู หรอื ส่ิงท่ีเปน็ 4.53 0.51 เปน็ นิสยั ประโยชนบ์ นโลกออนไลน์ เช่น ภาพถ่าย ขอ้ ความ คลิปวดิ โี อ 4.45 0.51 เปน็ ประจา หรอื ขอ้ มลู สารสนเทศทเ่ี ป็นประโยชนแ์ ละสร้างสรรค์ 1.4 เขียน บอก กลา่ วหรือแสดงการขอโทษเมื่อกระทา ความผดิ บนโลกออนไลนท์ ง้ั ต่อคนทร่ี ูจ้ กั และไมร่ ู้จกั โดยทว่ั ไป 1.5 สามารถอดทนและรอคอยสงิ่ ต่าง ๆ ท่ตี นเอง ต้องการไดบ้ นโลกออนไลน์ ผลการประเมินในภาพรวม 2. ระดบั “ เกง่ ” 2.1 อยากรู้ อยากมสี ่วนร่วมกบั กิจกรรมหรือส่งิ ดี ๆ ท่ี เกิดข้นึ บนโลกออนไลน์ 2.2 มคี วามสนใจ มีความรู้สึกสนกุ กบั งานหรือกิจรรม ใหม่ ๆ ท่มี ปี ระโยชนบ์ นโลกออนไลน์ 2.3 แสดงความคิดเห็น แลกเปลยี่ น ซักถามกบั เพ่อื นใน โลกออนไลน์ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ หน้า26

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) รายการประเมิน ผลการประเมิน ระดบั ความ S.D. ฉลาดทาง อารมณ์ 2.4 เมือ่ ส่ิงทคี่ าดหวงั ไว้ไม่ได้ หรอื ไม่เป็นไปตามท่หี วังก็ 4.32 0.61 เปน็ ประจา สามารถทาใจยอมรับหรือจัดการกับความต้องการของตนเอง ได้โดยไมส่ ร้างความเดอื นรอ้ นใหก้ ับใคร ๆ บนโลกออนไลน์ 4.43 0.49 เป็นประจา 2.5 ยอมรบั กฎเกณฑ์หรอื ข้อตกลงในระบบทตี่ นเอง 4.48 0.53 เปน็ ประจา สมคั รเขา้ เป็นสมาชกิ หรอื กฎระเบียบมารยาทบนโลก ผลการประเมิน ระดบั ความ ออนไลน์ไดถ้ ึงแม้จะผิดหวงั / ไม่ได้สง่ิ ทตี่ อ้ งการดังทหี่ วงั ไว้ ฉลาดทาง S.D. อารมณ์ ผลการประเมินในภาพรวม เป็นประจา เป็นนสิ ัย รายการประเมนิ เปน็ นิสัย 3. ระดบั “ สุข ” 4.48 0.51 3.1 แสดงความภาคภมู ิใจเมื่อได้รับคาชมเชย การยินดี 4.61 0.52 เปน็ ประจา เป็นนิสยั จากเพอ่ื น ๆ ในโลกออนไลน์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4.55 0.51 เปน็ นสิ ัย 3.2 สามารถสืบคน้ ค้นหากิจกรรม หรือแหล่งข้อมูล เปน็ ประจา 4.33 0.62 สารสนเทศบนโลกออนไลน์ทีใ่ หค้ วามสนกุ สนาน เพลิดเพลนิ 4.58 0.61 และสรา้ งความสุขได้ 4.51 0.50 4.44 0.63 3.3 แสดงออกถึงความสุข อารมณ์สนุก หรือการมสี ว่ น รว่ มไปกับกิจกรรมท่สี ร้างความสขุ บนโลกออนไลน์ได้อยา่ ง เหมาะสม 3.4 มีสว่ นรว่ มและเปน็ ผนู้ าในการแบง่ ปน๎ หรอื สร้าง ความสนกุ สนาน และความสุขให้กับเพอื่ น ๆ ในโลกออนไลน์ 3.5 เป็นเพอื่ นใหมก่ ับทุกคนในโลกออนไลน์ไดอ้ ย่างมี ความสขุ และเป็นท่ีไวว้ างใจ/ มคี วามอบอุ่น ผลการประเมนิ ในภาพรวม ผลการประเมินในภาพรวมท้งั 3 ระดบั หน้า27

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) จากตารางท่ี 1ผลการประเมนิ ความฉลาดทางอารมณบ์ นโลกดจิ ทิ ลั ของผู้เรียนหลังเรียนด้วยระบบการจัดการ เรยี นร้ดู ้วยการเลา่ เร่ืองแบบดจิ ทิ ลั ในระบบนเิ วศการเรยี นรูด้ ิจิทัลฯ ในภาพรวมทง้ั 3 ระดับ พบว่า โดยรวมผู้เรียนมีผล การประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจทิ ัลอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.44, S.D.= 0.63) ซ่ึงเม่ือแยกดูผลการ ประเมินออกเปน็ ระดับแล้ว พบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัลโดยรวมอยู่ในระดับ เกง่ ซง่ึ เปน็ ผลการประเมนิ ในระดับมากทส่ี ุด ( = 4.48, S.D.= 0.53) โดยเม่อื ทาการพจิ ารณาเป็นรายข้อคาถามแล้ว พบว่า ในระดับ เก่ง ข้อท่ี 2.1 ผเู้ รียนอยากรู้ อยากมีส่วนร่วมกบั กิจกรรมหรอื สง่ิ ดี ๆ ทเี่ กดิ ข้ึนบนโลกออนไลน์เป็นข้อท่ี มีผลการประเมนิ สงู ทสี่ ุด ( = 4.66, S.D.= 0.48) 2. ผลการประเมนิ ทกั ษะการใช้เคร่อื งมอื และสื่อดิจิทัล (Digital Use)ของนักศกึ ษา ผูว้ จิ ยั ได้ ทาการประเมินผลทกั ษะการใช้เคร่อื งมอื และสื่อดิจิทัลของผู้เรียนที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ด้วยการเล่าเร่ือง แบบดิจิทลั ในระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทลั ฯ โดยแบ่งทกั ษะออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับท่ี 1ทักษะข้ันพ้ืนฐาน, ระดับท่ี 2 ทกั ษะในการทางาน และระดบั ที่ 3 ทักษะการทางานในวชิ าชพี หรือการนาไปใชส้ รา้ งประโยชนแ์ กส่ ังคมส่วนรวม ซ่ึง ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู มรี ายละเอียด ดังนี้ ตารางท่ี 2 ผลการประเมินทักษะการใช้เครื่องมือและส่อื ดจิ ทิ ลั ของผเู้ รียนท่เี รียนดว้ ยระบบการ จดั การเรยี นรู้ด้วยการเลา่ เรอ่ื งแบบดิจทิ ลั ในระบบนเิ วศการเรียนร้ดู ิจิทัลฯ รายการประเมนิ ผลการ ระดบั ของ ประเมนิ ทกั ษะ ระดบั ที่ 1 ทกั ษะขนั้ พน้ื ฐาน 1. ทักษะการใชง้ านคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์ดิจิทัล เช่น สมาร์ท S.D. โฟน แท็บเลต็ ฯลฯ 2. ทักษะการใชง้ านอินเทอร์เนต็ 4.61 0.55 มากที่สุด 3. ทักษะการใช้งานคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์ดิจทิ ลั เพื่อสบื คน้ สารสนเทศ 4.58 0.52 มากทส่ี ดุ 4. ทักษะการใชง้ านคอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ดิจทิ ลั และ 4.57 0.59 มากท่ีสดุ อินเทอรเ์ น็ตในการทางานร่วมกัน 5. ทกั ษะการใช้งานงานคอมพิวเตอร์ และอปุ กรณด์ จิ ทิ ลั เพอ่ื เข้าใช้ 4.56 0.53 มากทสี่ ดุ งานสอื่ สังคมออนไลน์ 6. ทักษะการใช้งานคอมพิวเตอร์ และอปุ กรณ์ดิจิทัลและ 4.59 0.54 มากท่สี ุด อินเทอรเ์ นต็ ดว้ ยความปลอดภยั 4.40 0.65 มาก หนา้ 28

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) รายการประเมิน ผลการ ระดบั ของ ประเมิน ทกั ษะ ผลการประเมนิ ในภาพรวม มากทีส่ ดุ ระดบั ท่ี 2 ทกั ษะในการทางาน S.D. มากทส่ี ดุ 1. ความสามารถในการใช้เครื่องมือดิจิทลั เพ่อื คดั กรองและจัดการ 4.55 0.51 มาก ทรพั ยากรสอ่ื ดิจทิ ัลทรี่ บั เข้ามา 4.65 0.50 2. ความสามารถในการใช้เครือ่ งมือดิจทิ ลั ประเมนิ ความถกู ตอ้ งและ 4.46 0.62 มากทีส่ ดุ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของสื่อดิจิทัลรวมไปถึงความเกยี่ วขอ้ งกบั การนาไปใช้ มากที่สดุ แกป้ ๎ญหาหรือนาไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน 4.53 0.51 3. ความสามารถในการใช้เครื่องมือดจิ ทิ ัลและอินเทอรเ์ น็ตสรา้ ง 4.55 0.53 มากทสี่ ดุ ความรจู้ ากทรัพยากรสารสนเทศทีไ่ ด้มา 4. ความสามารถในการใช้เคร่อื งมือดิจทิ ลั บรู ณาการทรพั ยากร 4.59 0.56 มากที่สุด สารสนเทศเพ่อื นาไปสกู่ ารคดิ สรา้ งสรรค์ถงึ วิธกี ารแกป้ ๎ญหาหรือการ ปฏบิ ัตงิ านในวิชาชพี ครู 4.55 0.54 5. ความสามารถในการใช้เครอ่ื งมือดิจทิ ลั เพอ่ื สรา้ งสรรคส์ ิ่งทีเ่ ปน็ ความร้ใู หม่ เชน่ การสรา้ งสารสนเทศใหม่ การผลติ ส่อื หรอื ผลการ สรา้ งส่ือดจิ ทิ ัลใหม่ ๆ ท่จี ะนามาซ่งึ ความสาเร็จในการแก้ป๎ญหาและ การปฏิบตั ิงานวชิ าชพี ครู ผลการประเมนิ ในภาพรวม ตารางที่ 2 (ตอ่ ) ผลการ รายการประเมิน ประเมิน ระดบั ของ S.D. ทักษะ ระดบั ท่ี 3 ทกั ษะในการทางานในวชิ าชีพ หรอื การนาไปใชส้ ร้างประโยชนแ์ กส่ ังคมสว่ นรวม 1. ความสามารถในการใชเ้ ครื่องมือดจิ ิทลั โปรแกรม แอปพลเิ คชัน 4.51 0.56 มากทสี่ ุด และอนิ เทอรเ์ นต็ เพื่อการสืบค้นวิธีการ กระบวนการ และสารสนเทศ รวมถึงสือ่ ดิจิทลั ทใี่ ชส้ าหรบั เรียนรู้ 2. ความสามารถในการใชเ้ ครือ่ งมือดิจทิ ัล โปรแกรม แอปพลิเคชัน 4.55 0.56 มากท่สี ดุ และอินเทอร์เนต็ เพ่อื ใช้ในการพัฒนาชิน้ งาน วิธกี าร หรือแนวทางใน การแกป้ ญ๎ หาในการทางาน 3. ความสามารถในการใชเ้ ครือ่ งมือดิจทิ ัล โปรแกรม แอปพลเิ คชัน 4.46 0.53 มาก และอนิ เทอร์เนต็ เพือ่ ใช้ในการพัฒนาช้ินงาน นวัตกรรม ผลติ ภัณฑ์ วธิ ีการ และแนวทางการแกป้ ๎ญหาหรือวิธีการใหม่ ๆ ทใี่ ชใ้ นการ หนา้ 29

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ทางาน ในการประกอบอาชพี หรือในชวี ิตประจาวนั มาก 4. ความสามารถในการใชเ้ ครื่องมือดจิ ทิ ัล โปรแกรม แอปพลิเคชัน 4.43 0.60 มาก และอนิ เทอรเ์ นต็ เพ่อื การส่ือสาร หรอื การสร้างปฏิสัมพนั ธโ์ ต้ตอบกบั ผู้เก่ียวขอ้ งทั้งหลายในการทางาน หรอื ในสายงานวิชาชีพครู มาก 5. ความสามารถในการใช้เคร่ืองมือดิจทิ ัล โปรแกรม แอปพลเิ คชนั 4.41 0.61 และอินเทอรเ์ น็ตเพอ่ื การเผยแพร่นาเสนอแนวทาง วธิ ีการ หรอื มาก ชน้ิ งาน นวัตกรรม หรอื ผลิตภัณฑ์ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั วิชาชีพครใู ห้เป็นที่ มากทส่ี ุด รู้จกั และยอมรบั ของสงั คมป๎จจุบนั และสังคมออนไลน์ 6. ความสามารถในการใช้เครื่องมือดจิ ิทลั โปรแกรม แอปพลเิ คชัน 4.48 0.57 และอนิ เทอรเ์ น็ตเพอื่ สง่ เสริมผลสะทอ้ นกลับ (Feedback) จาก ความสาเร็จของสื่อดิจทิ ัล นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ หรอื ใชเ้ พื่อแก้ไขหรอื แก้ปญ๎ หาจากการทางานใหด้ ีข้ึนและเป็นทยี่ อมรับของสังคมปจ๎ จุบนั และสงั คมออนไลน์ ผลการประเมินในภาพรวม 4.47 0.50 ผลการประเมนิ ในภาพรวมทั้ง 3 ระดบั 4.52 0.51 จากตารางท่ี 2ผลการประเมินทักษะการใช้เครื่องมือและสื่อดิจิทัลของผู้เรียนที่เรียนด้วยระบบการจัดการ เรยี นรู้ด้วยการเลา่ เรื่องแบบดิจิทัลในระบบนเิ วศการเรียนรูด้ จิ ทิ ัลฯ ในภาพรวมทั้ง 3 ระดับ พบว่า โดยรวมผู้เรียนมีผล การประเมินทักษะการใช้เครื่องมือและสื่อดิจิทัลอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.52, S.D.= 0.51) ซึ่งเม่ือแยกดูผลการ ประเมินออกเปน็ ระดับแล้ว พบว่า ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ ทกั ษะการใช้เคร่อื งมอื และสื่อดิจิทัลโดยรวมอยู่ในระดับท่ี 3 คือ ทกั ษะในการทางานในวิชาชพี หรอื การนาไปใชส้ ร้างประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม ซ่ึงมีผลการประเมินในระดับมาก ท่ีสุด ( = 4.47, S.D.= 0.50) โดยเมื่อทาการพิจารณาเป็นรายข้อคาถามแล้ว พบว่า ในระดับที่ 2 ทักษะในการ ทางาน ขอ้ ท่ี 1 คอื ความสามารถในการใช้เคร่อื งมอื ดจิ ทิ ลั เพอ่ื คดั กรองและจัดการทรัพยากรส่ือดิจิทัลท่ีรับเข้ามา เป็น ข้อทีม่ ีคะแนนเฉลยี่ ของผลการประเมนิ สูงท่ีสดุ คือ มีผลการประเมนิ อยูใ่ นระดับมากที่สุด ( = 4.65, S.D.= 0.50) สรปุ ผลการวจิ ยั สรุปผลของการใช้งานระบบการจัดการเรยี นรดู้ ้วยการเล่าเร่อื งแบบดจิ ิทลั ในระบบนเิ วศการเรียนรู้ดิจิทัล ของนกั ศกึ ษาวิชาชพี ครู สามารถแบ่งสรปุ รายละเอียดของการเก็บผลและวเิ คราะหผ์ ลการวจิ ยั ใน 2 ด้านไดด้ งั นี้ 1. สรปุ ผลการประเมินความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Intelligence)ของนักศึกษาก่อนและหลังเรียน ด้วยระบบการจดั การเรียนรดู้ ้วยการเลา่ เร่ืองแบบดิจทิ ลั ในระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลฯ ในภาพรวมท้ัง 3 ระดับ พบว่า โดยรวมผู้เรียนมีผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัลอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.44, S.D.= 0.63) ซึ่งเมื่อแยกดูผลการประเมินออกเป็นระดับแล้ว พบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมินความฉลาดทาง อารมณบ์ นโลกดิจิทลั โดยรวมอยู่ในระดบั เก่ง ซึ่งเป็นผลการประเมินในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D.= 0.53) โดยเมอ่ื ทาการพจิ ารณาเปน็ รายข้อคาถามแล้ว พบว่า ในระดบั เกง่ ข้อที่ 2.1 ผู้เรียนอยากรู้ อยากมีส่วนร่วมกับ กจิ กรรมหรอื ส่งิ ดี ๆ ทเี่ กิดข้นึ บนโลกออนไลน์เป็นขอ้ ทมี่ ผี ลการประเมนิ สงู ท่สี ดุ ( = 4.66, S.D.= 0.48) หน้า30

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2. สรุปผลการประเมนิ ทกั ษะการใช้เครอ่ื งมอื และสื่อดิจทิ ัล (Digital Use)ของนกั ศกึ ษาก่อนและหลงั เรยี นโดยใชร้ ะบบการจัดการเรียนรดู้ ว้ ยการเลา่ เรือ่ งแบบดจิ ทิ ลั ในระบบนเิ วศการเรียนรู้ดิจิทัลฯ ในภาพรวมทั้ง 3 ระดับ พบว่า โดยรวมผู้เรียนมีผลการประเมินทักษะการใช้เคร่ืองมือและส่ือดิจิทัลอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.52, S.D.= 0.51) ซงึ่ เมอื่ แยกดูผลการประเมินออกเป็นระดับแล้ว พบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมินทักษะการใช้ เคร่ืองมอื และสือ่ ดจิ ทิ ัลโดยรวมอย่ใู นระดับท่ี 3 คือ ทักษะในการทางานในวิชาชพี หรอื การนาไปใช้สรา้ งประโยชน์ แกส่ งั คมส่วนรวม ซึง่ มผี ลการประเมินในระดับมากที่สุด ( = 4.47, S.D.= 0.50) โดยเมื่อทาการพิจารณาเป็น รายข้อคาถามแลว้ พบว่า ในระดบั ที่ 2 ทักษะในการทางาน ข้อท่ี 1 คือ ความสามารถในการใช้เคร่ืองมือดิจิทัล เพื่อคัดกรองและจดั การทรพั ยากรสื่อดจิ ิทลั ท่ีรบั เขา้ มา เป็นขอ้ ท่มี ีคะแนนเฉลีย่ ของผลการ ประเมนิ สงู ทสี่ ดุ คอื มีผลการประเมินอยูใ่ นระดบั มากท่ีสดุ ( = 4.65, S.D.= 0.50) อภปิ รายผล ผลการประเมินความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Intelligence)ซ่ึงได้แก่ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัล และทักษะการใช้เครอ่ื งมอื และสอ่ื ดิจิทัลของนักศึกษาวิชาชีพครกู ่อนและหลังเรียนดว้ ยระบบการจดั การเรียนรู้ด้วยการ เลา่ เรือ่ งแบบดิจิทัลในระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลฯ ในภาพรวมทั้ง 3 ระดับ พบว่า โดยรวมผู้เรียนมีผลการประเมิน ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัลอยู่ในระดับมากท่ีสุดเมื่อแยกดูผลการประเมินออกเป็นระดับแล้วยังพบอีกว่า ผูเ้ รยี นมีผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัลโดยรวมอยู่ในระดับเก่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Figg, Ward and Guillory (2006) ที่ระบุว่าเม่ือนาวิธีการการเล่าเรื่องแบบดิจิทัลเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนใน หลักสูตรแล้วจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ แล ะ นอกจากนี้แล้วยังช่วยให้ผู้เรียนเกิดตระหนักรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม เห็นอกเห็นใจผู้อื่นส่งผลให้สังคมมีความสุขสงบ โดยเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายขอ้ คาถามแล้ว พบว่า ในระดบั เก่ง น้นั ผเู้ รยี นมคี วามอยากรู้ อยากมีส่วนร่วมกับกิจกรรมหรือ สิ่งดี ๆ ท่เี กิดขน้ึ บนโลกออนไลน์เปน็ ข้อท่ีมีผลการประเมนิ สูงท่สี ุดสอดคล้องกับงานวิจัยท่ีกล่าวว่า นักเรียนท่ีร่วมกันทา กิจกรรมและมีส่วนร่วมในงานมากน้ันจะเกิดกระบวนการเรียนรู้จากการทางาน การให้คาปรึกษาเพื่อน ๆ การแก้ไข ป๎ญหาด้านการใช้เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ซ่งึ ยง่ิ ทางานมากก็จะย่ิงทาให้เกิดการกระตุ้นให้เกิดการใช้เคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส์ เกิดทักษะการใช้เครอื่ งมอื และส่ือดิจิทลั เพราะต้องค้นหาข้อมลู เพ่มิ เตมิ เกี่ยวกับหัวข้อของตนเองอย่างกระตือรือร้น ไม่ ว่าจะเปน็ ขอ้ มลู จากเทคโนโลยสี ารสนเทศหรอื ข้อมลู จากการลงพน้ื ทส่ี ัมภาษณ์จากชมุ ชนโดยตรง ซ่ึงการลงทากิจกรรม ต่าง ๆ เหล่าน้จี ะทาให้นกั เรยี นผู้รับผดิ ชอบโครงการเกิดการเรียนรู้ท่ีแท้จริงอย่างลึกซ้ึง (Hlubinka, 2003; Lambert, 2006; Meadows, 2003;Paull, 2002) ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยแบง่ ออกได้ ดงั น้ี 1. ข้อเสนอแนะด้านของการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ด้วยการเล่าเร่ืองแบบดิจิทัลในระบบนิเวศการ เรยี นร้ดู จิ ิทัลฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิได้ให้ข้อแนะนาไว้ว่า การจัดระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลด้วยการเล่าเรื่องแบบดิจิทัล สาหรบั นกั ศึกษานั้นควรคานงึ ถึงองคป์ ระกอบด้านการศึกษาและความพรอ้ มด้านของการใชเ้ ทคโนโลยีและควรคานึงถึง สาขาของนักศึกษา เน้ือหาท่ีใช้จัดการเรียนการสอนและการสนับสนุนด้านของเทคโนโลยีจากภายในทั้งจากส่วนของ สาขาวชิ า คณะวิชา และนโยบายของมหาวทิ ยาลยั เอง โดย Phumeechanya, Wannapiroon & Nilsook (2015) ได้ หนา้ 31

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กลา่ ววา่ การเรียนการสอนน้ันจะตอ้ งตระหนกั ถึงบรบิ ทของผู้เรยี นเปน็ สาคญั ซ่ึงการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ U-Learning หรือท่ีเรียกว่า Ubiquitous Learning Environment (ULE) นั้นเป็นการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ ทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ทุกหนทุกแห่ง และการเรียนรู้น้ันสามารถเกิดขึ้นได้ทุกเวลา โดยมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ พกพาเป็นเครื่องอานวยความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ โดยสภาพแวดล้อม ULE นั้นจะประกอบไปด้วย 1) อุปกรณเ์ คลอื่ นท่ี 2) การสื่อสารแบบไร้สาย 3) ระบบการจัดการเรียนรู้แบบ Ubiquitous และ 4)การตรวจจับบริบท การเรียนรู้ 2.ข้อเสนอแนะด้านของการออกแบบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยการเล่าเรื่องแ บบดิจิทัลในระบบ นิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลฯ โดยในส่วนของผู้เช่ียวชาญได้ประเมินและได้ให้ข้อแนะนาไว้โดยมีข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม คือ นอกจากองค์ประกอบด้านของระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลแล้ว เรื่องของการสอนหรือการจัดการเรียนรู้ก็ถือว่ามี ความสาคญั มาก ซงึ่ เทคนิควิธจี ัดกระบวนการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยการเล่าเรือ่ งแบบดจิ ทิ ัลในระบบนิเวศการเรียนรู้ ดิจิทัลฯ ที่นามาใช้กับนักศึกษาวิชาชีพครูนี้ควรคานึงถึงประโยชน์ที่หลากหลาย เช่น การสร้างทักษะการจับประเด็น ของเรื่อง ทักษะการนาเสนอ ทักษะการส่ือสารซ่ึงเป็นส่ิงท่ีจาเป็นสาหรับผู้ท่ีจะเป็นครูในอนาคต สอดคล้องกับ ความเหน็ ของ Bernard (2009) ทีก่ ลา่ ววา่ การเลา่ เร่ืองแบบดิจิทัลเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสาหรับทั้ง ผู้เรียนและผู้ที่อยู่ในวงการการศึกษา เพราะสามารถใช้เพื่อสนับสนุนการสอนและเป็นวิธีการที่ทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากการสร้างเรื่องราวดิจิทัลของตนเอง แต่ถึงอย่างไรในขั้นตอนการผลิตเรื่องราวดิจิทัลเพื่อเป็นเนื้อหาสาหรับการ เรยี นรใู้ นระบบนิเวศดจิ ิทลั กค็ วรมวี ิธีการวิเคราะห์ มขี ้นั ตอนของการพฒั นา มกี ารสร้างสครปิ ต์มีการวิจัยควบคู่ไปพร้อม กันด้วย ท้งั นี้ก็เพอ่ื ให้เกิดเนื้อหาการเล่าเร่ืองแบบดิจิทัลที่มีคุณภาพอยู่ในระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลและสามารถใช้ ประโยชนท์ างการศึกษาไดจ้ ริงทง้ั ในระบบและใชต้ ามอธั ยาศยั 3. ขอ้ เสนอแนะดา้ นของการนาระบบการจดั การเรียนรดู้ ้วยการเล่าเรื่องแบบดิจิทัลในระบบนิเวศการเรียนรู้ ดจิ ทิ ลั เพื่อพฒั นาความฉลาดทางดิจทิ ัลไปใช้งานนน้ั มีรายละเอยี ด ดังน้ี 3.1 ขอ้ เสนอแนะด้านของรปู แบบการจดั การเรียนรู้ดว้ ยการเลา่ เรื่องแบบดจิ ิทัลในระบบนเิ วศการ เรียนร้ดู ิจทิ ลั ฯ 1. รูปแบบการจัดการเรียนรูด้ ้วยการเลา่ เรื่องแบบดิจทิ ัลควรมเี นอื้ หาและการออกแบบการ เรียนการสอนดว้ ยการเล่าเรอ่ื งแบบดิจทิ ัลจากสื่อทหี่ ลากหลายมากกวา่ ส่อื การเลา่ เรื่องแบบภาพยนตรส์ ้ันเพยี งอย่าง เดยี ว 2. รปู แบบการจัดการเรียนรดู้ ว้ ยการเลา่ เรอ่ื งแบบดจิ ิทลั ควรมีการออกแบบการสอนดว้ ย ความยืดหยุน่ ในดา้ นของซอฟตแ์ วรห์ รือแอปพลเิ คชันตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศการเรยี นรู้ดจิ ทิ ลั เพ่ือประโยชน์ในการทางาน ร่วมกันไดอ้ ย่างทั่วถึงมากที่สุด หนา้ 32

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เอกสารอ้างองิ Bernard R. Robin. (2009). Digital “A Digital Ecosystem for the Storytelling: A Powerful Technology Collaborative Production of Open Tool for the 21st Century Classroom. Textbooks: The LATIn Methodology”. Theory Into Practice, 47:3, 220-228, Journal of Information Technology DOI: 10.1080/00405840802153916. Education: Research Volume 12, 2013. pp. 225-249. Figg, C., Ward, R., & Lanier-Guillory, D. James Cook, Gordon Fuller, and Timothy (2006). Using social studies content Shriver. (2018).The rise of the digital themes and digital storytelling to learning ecosystem (How the make video come alive. In C. platform model is reinventing talent Crawford et al. (Eds.), In Society for development). IBM Institute for Information Technology and Teacher Business Value. Retrieved March 10, Education International Conference 2018, from https://www.ibm. 2006, (pp. 679–684). Chesapeake, VA: com/downloads/ cas/O9ZJ2ZXB AACE. Jorge Reyna. “Digital Teaching and Learning Ecosystem (DTLE): A Hlubinka, M. (2003). Behind the screens: Theoretical Approach for Online Digital storytelling as a tool for Learning Environments”. Proceedings reflective practice. Masters thesis, ascilite 2011 Hobart: Concise Paper. Massachusetts Institute of pp. 1080–1088, 2011. Technology. Retrieved March 10, Mart Laanpere, Kai Pata, Peeter Normak, 2018, from http://llk.media.mit. and Hans Põldoja. (2013). Pedagogy- edu/papers/hlubinka-ms.pdf driven Design of Digital Learning Ecosystems. Computer Science and Irene Karaguilla Ficheman, Roseli de Deus Information Systems 11(1): pp. 419– Lopes, “Digital Learning Ecosystem: 442. Authoring, Collaboration, Immersion and Mobility”. Eighth IEEE Michael Carrier & Highdale Learning. International Conference on “Digital Learning Trends 2017– Advanced Learning Technologies. 2020”.QLS 2017, Thessalonica. Pp. 1- 2018. 61, 2017. Ismar Frango Silveira3 and orther. (2013). หน้า | 33

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Phumeechanya, N., Wannapiroon, P., & Sarnok.,and Wannapiroon, “Connectivism Nilsook, P. “Ubiquitous Scaffolding Learning Activity in Ubiquitous Learning Management System”. In Learning Environment by UsingIoE for National Conference on Educational Digital Native”Veridian E-Journal Technology 2015: NCET 2015, Jan International (Humanities, Social 2015. pp. 22-33. Sciences and Arts), Vol. 11 No. 4, pp. 405-418,January-June 2018. Sarnok, “IoE Links Everything to Smart Classroom 4.0”. Presented at the National Wannapiroon. “Information Technology and Educational Innovation”. Faculty Academic Conference on Education of Industrial Education, King 3th“NACE 2017: Innovation of Mongkut's University of Technology learning” Meeting, Lampang , North Bangkok. 2016. pp. 159-161. Thailand, July 29, 2017. หน้า34

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) แนวคดิ การบริหารจดั การศูนยก์ ารเรียนผสู้ ูงอายุ MANAGEMENT CONCEPT FOR THE ELDERLY LEARNING CENTER สมบัติ นาคนาวา นกั ศึกษาปริญญาเอก หลกั สูตรปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วทิ ยาลัยบัณฑิตศกึ ษาด้านการจัดการมหาวิทยาลยั ศรปี ทุม E-mail [email protected] ดร. สุพรรณี สมานญาติ อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร ปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา วิทยาลยั บณั ฑติ ศึกษาดา้ นการจัดการ มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม E-mail [email protected] บทคัดยอ่ ในโลกยุคป๎จจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Disruption) รวมไปถึงการเปลี่ยนโครงสร้างของ ประชากรในประเทศไทยโดยจะเขา้ สู่สังคมสูงวยั ในไมช่ า้ ซ่ึงจะเปน็ ประโยชนไ์ ม่น้อยที่ผู้ทีม่ ีส่วนเกีย่ วข้องทุกภาคส่วนจะ ชว่ ยกันระดมสมองและระดมความคดิ สาหรับการแก้ไขปญ๎ หาที่ประเทศไทยกาลังจะเจอในอนาคตอันใกล้ ซ่ึงบทความ วชิ าการนี้เปน็ การนาเสนอแนวคิดของการบรหิ ารจดั การศนู ยก์ ารเรียนผู้สงู อายุ โดยผ่านการค้นคว้าทั้งเอกสารงานวิจัย ทเ่ี กยี่ วข้องรวมไปถึงขอ้ มูลในส่วนของออนไลนท์ ง้ั ในประเทศและต่างประเทศ จากนั้นทาการสังเคราะห์องค์ประกอบที่ ไดจ้ ากงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้องท้งั หมด 28 องค์ประกอบผ่านหลักทฤษฎีการบริหารจัดการ POSDCoRB ที่ประกอบไปด้วย 1) การวางเค้าโครงกิจกรรม (Planning) มีองค์ประกอบย่อย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเก่ียวกับ การศึกษา, วัสดุ อุปกรณ์ สถานท่ี, การเรียนรู้ตลอดชีวิต และรายได้เสริม 2) การจัดหน่วยงาน (Organizing) มี องคป์ ระกอบย่อย 3 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ คณะกรรมการบริหาร, วิชาการและกิจกรรม และทีมงานจิตอาสา3) การจัด ตวั บุคลากร (Staffing) มอี งค์ประกอบย่อย 4 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ ฝาุ ยพระพทุ ธศาสนา, สง่ เสริมสุขภาพ, ฝุายกิจกรรม และส่งเสริมอาชีพ 4) การการควบคุมบังคับบัญชา (Directing) มีองค์ประกอบย่อย 1 องค์ประกอบ คือ ฝุาย อานวยการ5) การประสานงาน (Coordinating) มีองค์ประกอบย่อย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ฝุายประชาสัมพันธ์, ฝุาย ประสานงาน, คณะกรรมการชุมชน, ด้านเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ 6) การรายงานผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร (Reporting) มอี งคป์ ระกอบย่อย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ด้านร่างกาย, ด้านจิตใจ, ด้านเศรษฐกิจ, ด้านสังคม วัฒนธรรม การเมือง, ด้านส่ิงแวดล้อม และด้านศาสนา ความเชื่อ และ 7) การจัดทางบประมาณ ( Budgeting) มี องคป์ ระกอบยอ่ ย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านบริหารจดั การ, ด้านบุคลากร, ดา้ นวชิ าการ และด้านทั่วไป คาสาคัญ: การบริหารจัดการ ศูนยก์ ารเรียนรู้ ผู้สูงอายุ หนา้ 35

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ABSTRACT In today's world that is rapidly changing, including changing the structure of the population in Thailand, will enter the aging society soon. This will be of great benefit to all parties involved to brainstorm ideas for solutions to problems that Thailand is facing in the near future. This academic article presents the concepts of the management of the learning center for the elderly. Through research including relevant research documents and online information. Then synthesize 28 components from all relevant research through POSDCoRB management theory which consists of 1) Planning with 4 sub components, Stakeholder related to education, Equipment Place, Lifelong learning and supplementary income 2) Organizing with 3 sub components, Committee, Academic and activities and Volunteer 3) Staffing with 4 sub components, Buddhism, Health, Activities and Occupation 4) Directing with 1 sub component, Administrative Department 5) Coordinating with 5 sub components, Public Relations, Coordination, Community Committee, Technology and Learning Network 6) Reporting with 6 sub components, Physical, Mental, Economic, Social Cultural Political, Environmental and Religious and 7) Budgetingwith 4 sub components, Management, Personnel, Academic and General. KEYWORDS: Management, Learning Center, and The Elderly บทนา เมือ่ พจิ ารณาในเรอ่ื งโครงสรา้ งของประชากรในประเทศไทยพบว่า ประชากรผู้สูงอายุจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เร่ือยๆ (ยุรธร จีนา, 2561) โดยที่อีก 10-20 ปีข้างหน้าสังคมไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยสมบูรณ์(Complete Aged Society) ถา้ พิจารณาถงึ ท้ังปจ๎ จยั ท่ีโลกมกี ารเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว กับ ป๎จจยั ทีส่ งั คมไทยกาลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แล้ว ทาให้บรรดาวัยแรงงานต้องแบกภาระต่างๆที่เพ่ิมมากข้ึนโดยไม่รู้ตัว อีกทั้งระบบบานาญท่ีกาลังจะเป็นป๎ญหา ต่อมาไม่ว่าจะเป็นฝ่๎งประเทศแถบยุโรปทม่ี กี ารพัฒนาในเร่ืองต่างๆมากมาย โดยเฉพาะการประท้วงท่ีประเทศฝรั่งเศส น้ันถอื วา่ เปน็ จุดเริ่มต้นหรือสัญญาณเตือนประเทศต่างๆให้ตื่นตัว จากผลท่ีเกิดจากสังคมโลกเข้าสู่สภาวะสังคมสูงวัย สาหรับประเทศไทยน้ันระบบบานาญมีเพียงคนกลุ่มหน่ึงเท่านั้นท่ีได้(ข้าราชการ: กบข.) ซ่ึงถือว่าเป็นส่วนน้อยของ ประเทศ อีกทั้งผู้สงู อายใุ นประเทศไทยนน้ั มอี ัตราเพม่ิ ข้นึ อยา่ งต่อเนอื่ ง การบรหิ ารจัดการองคก์ รถือว่ามีสว่ นทีจ่ ะช่วยเหลอื และสนับสนุนให้องค์กรน้ันได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ผบู้ ริหารจาเปน็ ที่ต้องเขา้ ใจบริบทขององคก์ รหรือหนว่ ยงานนัน้ ๆก่อน จากน้ันจึงจะสามารถวางแผนการบริหารองค์กร หรอื หน่วยงานต่างๆได้ (สมพงศ์ เกษมศิลป์, 2547) ซึ่งการบริหารจัดการนั้นมีแนวคิดและทฤษฎีที่หลากหลายซ่ึงใน ระยะเร่ิมแรกน้ันมนุษย์ยังใช้แค่ประสบการณ์ การลองผิดลองถูก จนมาในศตวรรษท่ี 18 เร่ิมมีหลักในการบริหาร จดั การท่ชี ัดเจนข้นึ นับตงั้ แตม่ กี ารปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมจงึ ทาให้เกิดนักคิดและทฤษฎีทางการบริหารจัดการหลายๆท่าน เช่น เฟรดเดอริค เทย์เลอร์ ผู้คิดค้นแนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) เฮนรี เฟโยล์ ผู้ หน้า36

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) คิดค้นหลักการบริหาร 14 ประการ ลูเธอร์ กูลิค และ ลินดอลล์ เออร์วิค ผู้คิดค้นหลักบริหารจัดการภายในองค์กร POSDCoRB อีกท้ังยังมีแนวคิดลาดับขั้นความต้องการ ทฤษฎี X ทฤษฎี Y แนวความคิดเชิงระบบ และ Balance Scorecard เป็นต้น ซึ่งแนวคิดและทฤษฎีทางการบริหารจัดการที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้นสามารถนามาประยุกต์ใช้ สาหรับการบรหิ ารจดั การทางด้านการศกึ ษาได้เช่นกนั เพียงแต่ว่าผู้บริหารสถานศึกษานั้นๆจะต้องเข้าใจถึงบริบทของ สถานศกึ ษานนั้ ๆก่อนวา่ มีเปูาหมายหรือวัตถุประสงค์อย่างไร ซ่ึงถ้าสถานศึกษาน้ันขาดหลักการบริหารหรือทฤษฎีการ บรหิ ารท่สี อดคลอ้ งกบั วสิ ัยทัศน์ทีด่ ขี องผบู้ ริหารแล้วน้ัน สถานศึกษาดงั กลา่ วก็จะไม่ต่างอะไรกับธุรกิจต่างๆท่ีรอคอยวัน ทยอยปดิ ตวั เองลงในยุคของการเปลย่ี นแปลงท่ีมคี วามรวดเร็ว (Disruption) ดงั เช่นป๎จจบุ นั ซึ่งป๎ญหาที่กล่าวมาข้างต้นในฐานะท่ีผู้เขียนเป็นนักการศึกษาจึงได้เห็นถึงประโยชน์ในการใช้ความรู้ท่ีมีสร้าง เปน็ แนวคิดที่เกีย่ วข้องกับทั้งในส่วนของทางการศกึ ษาเองและสงั คมสูงวยั จงึ ได้เกิดเปน็ แนวคิด การบริหารจัดการศูนย์ การเรียนผสู้ ูงอายุขน้ึ โดยประยกุ ตแ์ นวคิดและทฤษฎีการจัดการ POSDCoRB เน่ืองจากเป็นทฤษฎีที่มีความครอบคลุม การบรหิ ารงานทงั้ องค์กร แบง่ สายงานชดั เจนไมส่ ับสน รวมไปถงึ การประสานงานระหว่างหน่วยงานมีความสะดวก ซ่ึง สามารถทาให้ศนู ยก์ ารเรียนรชู้ ุมชนผสู้ งู อายมุ โี อกาสประสบความสาเร็จในทุกมิติได้ เพ่ือให้ผู้สูงอายุในประเทศใช้ชีวิต ในบั้นปลายใหม้ คี ณุ คา่ และมีความสุขต่อไป ซ่งึ มีส่วนชว่ ยสงั คมไทยไดอ้ กี ทางหนงึ่ เนอื้ หาสาระ 1. สงั คมผสู้ งู อายุ การเขา้ สสู่ งั คมสงู วยั ของโลกและไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย (2561) ได้กล่าวถึง การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรภายใต้ภาวะสังคมสูงวัย กาลงั เปน็ ประเดน็ ท่ีหลาย ประเทศทว่ั โลกให้ความสาคัญ จนนามาสู่การออกมาตรการและนโยบายตา่ งๆ เพือ่ เตรียมรองรับกบั ภาวะดังกล่าว จาก ข้อมูลสถิติของ U.S. Department of Health and Human Services พบว่า โลกกาลังก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัย (Aging society) โดยในปี 2015 จานวนประชากรโลกกว่า 620 ลา้ นคนมีอายมุ ากกว่า 65 ปี และจะกลายเป็นสังคมสูงวัยโดย สมบูรณ์ (Aged society)ในอกี 35 ปขี ้างหน้า การทีห่ ลายประเทศท่ัวโลกต้องเผชิญกับภาวะสังคมสูงวัยโดยมีสาเหตุมาจากหลายประการ ได้แก่ (1) อัตรา การเกิดต่าลง (Fertility rate) ส่วนใหญ่พบในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว เน่ืองจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจทาให้ ประชาชนมีรายไดเ้ พมิ่ ข้นึ มคี วามเป็นอย่ทู ่ดี ี มีการศึกษาสูงขึ้น และให้เวลากับการทางานมากกว่าการมีครอบครัวหรือ มีลูก กอปรกับในอดีต หลายประเทศมีนโยบายควบคุมจานวนประชากร ซึ่งเห็นชัดเจนในประเทศญ่ีปุนที่จานวน ประชากรหดตัวถงึ รอ้ ยละ 0.2 ตอ่ ปี และเป็นสาเหตุให้ประชากรวัยแรงงานปรับลดลงมากในเวลาถัดมา (2) อายุคาด เฉลย่ี เม่ือแรกเกิด (Life expectancy) มีแนวโน้มเพม่ิ ขน้ึ จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการแพทย์ ซ่ึงส่งผลให้ ประชาชนมี สุขภาพดีและอายุยืนข้ึน จะเห็นได้ว่ากลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงอย่างญี่ปุนและสิงคโปร์มีอายุคาด เฉลย่ี แรก เกดิ สูงถึง 80 ปี และ (3) ผลของยุค Baby boomer ซ่ึงเป็นช่วงหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ที่มีอัตราการเกิด ของ ประชากรสูงและกลายเป็นผสู้ งู วยั ในปจ๎ จบุ นั ดังนน้ั เม่ือท้ัง 3 ป๎จจัยเกิดข้ึนอย่างสัมพันธ์กัน โครงสร้างประชากร จึงเกิดการเปลยี่ นแปลงและสง่ ผลให้ Dependency ratio หรือสดั สว่ นจานวนผู้สูงอายุต่อจานวนประชากรวัยแรงงาน เพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว หน้า37

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สาหรบั บริบทสงั คมสงู วยั ของประเทศไทย ปจ๎ จุบนั กาลงั เปล่ียนผ่านจาก Aging Society เป็น Aged Society ในเวลาเพียง 20 ปี เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนผู้สูงอายุไทยกับประเทศในอาเซียน พบว่า ไทยมีสัดส่วน ผู้สูงอายุสูงที่สุด ขณะที่แรงงานไทยมแี นวโนม้ ลดลงเรว็ กว่าประเทศอื่นๆ ประกอบกับผู้สูงอายุของไทยท่ี “เรียนสูง” น้อยกว่าประเทศ อื่นค่อนข้างมาก อีกทั้งระดับรายได้ต่อหัวของไทยยังต่ากว่าประเทศอ่ืนท่ีเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยแล้ว ทาให้แรงงานไทยมี แนวโนม้ “แก่ก่อนรวย” สงู และต้องพึ่งพาภาครัฐและครอบครัวมากข้ึน จึงทาให้เกิดคาถามว่า \"ประเทศไทย พร้อม รับมือกบั ความท้าทายนี้มากน้อยเพยี งใด” ท้ังนี้ การศกึ ษานโยบายเพื่อรองรับการก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยที่เกิดข้ึนจริงใน ตา่ งประเทศและคาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการเตรียมความพร้อมของประเทศไทยโดยเฉพาะ นโยบายด้านแรงงาน สามารถสรุปได้ ดงั น้ี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ อินโดนเี ซยี มาเลเซยี เวียดนา ไทย สิงคโปร์ ม ในปี 2015 5 5 6 7 10 9 ในปี 2030 7 8 10 12 18 15 ในปี 2050 10 14 17 21 27 24 ตารางที่ 1สัดสว่ นผู้สงู อายตุ อ่ ประชากรทง้ั หมด (%) ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น ท่ีมา: UN World Population Prospects (2015) (1) นโยบายขยายอายเุ กษยี ณ หลายประเทศใช้นโยบายนเ้ี พื่อเพ่ิมจานวนวัยทางาน ซึง่ ช่วยบรรเทา ผลกระทบตอ่ ระบบเศรษฐกิจ โดยสิงคโปร์เพิ่มอายเุ กษยี ณจาก 65 เปน็ 67 ปี และเกาหลีใต้จะ ขยายอายุเกษียณจาก 55 ปี เปน็ 60 ปี ขณะทญ่ี ปี่ ุนจะให้ผูส้ ูงอายุสามารถทางานไดน้ านข้ึนจาก อายุเกษยี ณที่ 62 ปี เป็น 65 ปี ภายในปี 2025 อยา่ งไรก็ดี การศกึ ษาของ Ariyasajjakorn and Manprasert (2014) พบว่าการขยายอายุเกษยี ณสามารถเล่อื น ผลกระทบตอ่ การชะลอตวั ของ เศรษฐกจิ ของไทยออกไปประมาณ 10 ปี และสามารถทาไดใ้ นระยะสัน้ แต่ไมส่ ามารถ แก้ปญ๎ หาไดถ้ าวร (2) นโยบายสนับสนุนใหบ้ รษิ ทั จา้ งงานผ้สู ูงอายุและจัดหางานใหเ้ หมาะสมกบั แรงงาน ซึ่งคาดว่าจะ ชว่ ยสรา้ งงานและเพมิ่ รายได้ให้แก่ผ้สู งู อายุ รัฐบาลสิงคโปรใ์ หเ้ งนิ สนับสนนุ แกบ่ ริษัททจี่ ้างผู้สูงอายใุ ห้ทางานต่อ (Special Employment Credit) โดยมเี งอ่ื นไขวา่ ลกู จา้ งตอ้ งเข้ารว่ มกองทุนสารองเล้ยี งชพี (Central Provident Fund) เท่าน้ัน โครงการนจ้ี งึ ไม่ครอบคลมุ กลุม่ ท่ีประกอบอาชพี อสิ ระ นอกจากน้ี พบวา่ หลายประเทศไดอ้ อกแบบ สภาพแวดลอ้ มการทางานเพอ่ื เออื้ ให้แรงงานสูงอายุ และแรงงานหญงิ ไดม้ ีโอกาสในการทางานมากขึน้ ผ่าน Flexible working arrangement อาทิ ทางการสิงคโปร์ใหเ้ งนิ สนับสนุนการสร้างสภาพแวดลอ้ มในทท่ี างานใหเ้ อ้ือต่อผู้สูงอายุ และวัยแรงงานที่มีครอบครวั ดว้ ย Workpro program เช่นเดยี วกับประเทศญ่ปี ุนที่ให้เงินสนบั สนุนแก่บริษัททม่ี กี าร จา้ งงานผูส้ งู อายุ โดยจัดตง้ั Silver Human Resources Center เพื่อช่วยให้ ผสู้ งู อายไุ ดท้ างานชว่ งสัน้ ลงหรือทางานท่ี ใชก้ ายภาพนอ้ ยลง หนา้ 38

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) (3) นโยบายเพิ่มทกั ษะ (Up-skilling) และเสริมทกั ษะใหม่ (Re-skilling) ให้แกแ่ รงงาน สิงคโปร์และ ญป่ี ุนเปน็ ตวั อยา่ งของประเทศทีใ่ ห้ความสาคญั กบั นโยบายเหล่าน้เี ปน็ อย่างมาก ประเทศสิงคโปร์ไดอ้ อกแบบนโยบาย สง่ เสริมทกั ษะทั้งในรปู แบบการเรียนรูข้ ้ันพนื้ ฐาน (Broad-based and fundamental program) และรูปแบบการ เรยี นรู้ท่ีเจาะจงทักษะเฉพาะด้าน (Targeted program) เพอ่ื ให้เหมาะสมกับความตอ้ งการของตลาดแรงงานในสาขา ต่างๆ ท้งั นี้ สงิ คโปร์ไดจ้ ดั ตัง้ SkillsFuture Program 17 ซึ่งเป็นศูนย์พฒั นาทักษะเพมิ่ เตมิ ควบคู่กับการจัดหางานที่ เหมาะสม ให้แกแ่ รงงาน โปรแกรมดงั กลา่ วเปน็ ระบบการศึกษาทงั้ ในระบบและนอกระบบตลอดชว่ งอายุ นอกจากน้ี รัฐบาลยังกระตุ้นใหเ้ กิดความร่วมมอื ระหว่างรัฐบาล สถาบันการศึกษา และบรษิ ัทเอกชนอย่างใกล้ชิด เพ่ือให้นโยบาย เพมิ่ และเสรมิ ทักษะต่างๆ สามารถตอบโจทย์ความตอ้ งการของตลาดแรงงานได้อยา่ งตรงจดุ ซ่ึงคล้ายกบั การออกแบบ Senior Work Program ในญป่ี นุ ทมี่ กี ารสรา้ งความรว่ มมือกนั ระหวา่ งองค์กรตา่ งๆ เพ่อื ส่งเสริมให้เกิดการเรยี นรู้ ทักษะใหม่ๆของประชากรญีป่ ุน (4) นโยบายสง่ เสริมใหผ้ หู้ ญงิ ทางานมากขนึ้ เพือ่ รองรับภาวะตลาดแรงงานท่มี แี นวโน้มหดตัวลง จากการศึกษาพบวา่ ในประเทศญ่ีปุน เกาหลีใต้ และสิงคโปร์ ผู้หญิงวยั ทางานทีแ่ ตง่ งานและมีลกู มักจะออกจากงาน เพ่ือดูแลลูกจนเมือ่ ลกู โตในระดบั หนงึ่ จงึ กลบั เขา้ มาทางานใหม่ แตส่ ว่ นใหญม่ ักกลบั เขา้ มาทางานในลกั ษณะท่ีไม่ใชง่ าน ประจาหรือเปน็ แรงงานนอกระบบ ซึ่งมีความยืดหยุ่นในดา้ นเวลามากกว่า นอกจากนี้ ยงั พบวา่ การท่ีสังคมมชี อ่ งว่าง ระหว่างแรงงานชายและแรงงานหญิงคอ่ นข้างมาก เชน่ การเติบโตในอาชีพการงาน หรือ อตั ราค่าจ้างท่ีต่างกัน ล้วน เป็นปจ๎ จัยทมี่ ผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจออกจากงานของแรงงานหญงิ ในช่วงท่ีต้องดแู ลครอบครัว (5) นโยบายสรา้ งแรงจูงใจแกแ่ รงงาน แรงจงู ใจเปน็ องคป์ ระกอบสาคัญต่อทัง้ การตดั สินใจเลอื ก ทางาน (Extensive margin) และการเพมิ่ จานวนช่ัวโมงในการทางาน (Intensive margin) ซ่ึงจะมผี ลต่อการรักษา จานวนแรงงานโดยรวมและช่วยยกระดับศกั ยภาพของแรงงาน โดยผลการศกึ ษาของ Blundell et al. (2011) จาก กลมุ่ ตวั อย่างในสหรฐั อเมริกา องั กฤษ และฝรง่ั เศส พบวา่ ลกั ษณะทางสังคม พฤตกิ รรม และนโยบายจูงใจของภาครฐั อาทิ การจดั เก็บภาษีเงนิ ไดแ้ ละระบบสวัสดกิ ารทางสังคมทง้ั ก่อนและหลงั เกษียณมีผลตอ่ การตัดสนิ ใจทางาน และหาก แยกศกึ ษาแนวโนม้ การตัดสินใจทางานตามวยั ของแรงงาน พบวา่ นอกจากรายไดจ้ ากการออมของตวั เองสาหรับวัย เกษียณแลว้ ระบบประกันสงั คมและสวัสดิการบาเหนจ็ บานาญที่ดียงั มบี ทบาทสาคญั ต่อการตัดสนิ ใจเข้าทางานใน ระบบและออกจากตลาดแรงงานชา้ ลง รวมทงั้ การเพ่ิมจานวนชัว่ โมงในการทางานดว้ ย ในทางกลบั กนั ระบบ ประกันสังคมและสวัสดิการทไ่ี มจ่ งู ใจอาจส่งผลลบต่อการตดั สินใจทางาน ซ่ึงเหน็ ชดั เจนในประเทศเกาหลีใตท้ ร่ี ะบบ สวสั ดกิ ารยงั ไม่มปี ระสิทธภิ าพมากนกั แรงจูงใจในการเลือกทางานทมี่ าจากระบบสวสั ดกิ ารจึงมนี อ้ ย ทาให้แรงงาน บางส่วนเลอื กออกจาก ตลาดแรงงานกอ่ นอายุเกษยี ณ อย่างไรกด็ ี พบว่าผสู้ ูงอายุบางกลมุ่ กลับเข้าสตู่ ลาดแรงงานในวัย หลงั เกษยี ณ เนอื่ งจากรายไดไ้ ม่เพียงพอกับคา่ ใชจ้ า่ ยหลงั เกษียณ โดยจาเปน็ ตอ้ งยอมรับคา่ จา้ งท่ีตา่ กว่าค่าแรงข้ันต่า สะท้อนถึงการออกแบบนโยบายที่ยังไมร่ ดั กมุ และไม่มีประสทิ ธภิ าพเพียงพอ ทัง้ น้ี นโยบายสรา้ งแรงจูงใจในหลายประเทศมักสรา้ งควบคู่กับแนวคดิ ทจี่ ะช่วยสรา้ งความมน่ั คงทาง รายได้ของผู้สงู วยั การกาหนดรูปแบบของกองทนุ สารองเลย้ี งชพี จึงเนน้ การสรา้ งความรว่ มมือแบบไตรภาคหี รือการ ร่วมมือกันระหวา่ งภาครัฐ นายจ้างและลูกจา้ ง โดยเป็น การจ่ายเงินสมทบลงในกองทุนของตัวเอง ควบคกู่ บั การชว่ ย สมทบเพม่ิ เตมิ จากนายจา้ งตามข้อตกลง และระยะเวลาที่ยินยอมร่วมกัน ภายใตเ้ งอื่ นไขว่ากองทุนนจ้ี ะสามารถเบิกรับ สิทธิได้กต็ อ่ เมอื่ เกษยี ณอายุแลว้ เทา่ นั้น ซงึ่ รฐั บาลสิงคโปรแ์ ละญีป่ นุ ใหค้ วามสาคญั กับนโยบายดงั กลา่ วเป็นอยา่ งมาก หน้า39

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) และออกแบบใหม้ กี ารสรา้ งความพรอ้ มทางการเงินตงั้ แตใ่ นวยั ทางาน นโยบายดงั กลา่ วจงึ มสี ่วนสาคญั ในการช่วยสร้าง แรงจงู ใจแกผ่ ู้สงู อายุให้ยงั อยใู่ นตลาดแรงงานและมรี ายได้รองรบั เพยี งพอหลงั เกษยี ณ สาหรบั ประเทศไทยซ่ึงเป็นอกี หน่งึ ประเทศที่กา้ วเขา้ สสู่ ังคมสูงวัยในระยะเวลาอันใกล้น้ี จาเปน็ ตอ้ งเรียนรู้ ประสบการณใ์ นการดาเนินนโยบายของประเทศตา่ งๆ เพือ่ นามาออกแบบแนวนโยบายและประยุกตใ์ ช้ใหเ้ หมาะสมกับ บรบิ ทของประเทศไทย 2. หลักการบรหิ ารจดั การ หลักการบรหิ ารจัดการในโลกนม้ี ีอยู่มากมายหลายทฤษฎี โดยสามารถแบ่งออกได้ตามยุคตามสมัยท่ีเกิดจาก การปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรมในแตล่ ะครง้ั ซึ่งสามารถสรุปพอสงั เขปของกลุ่มทฤษฎีและแนวคิดของการบริหารจัดการได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ กค็ ือ 1).ทฤษฎีและแนวความคดิ แบบดัง้ เดิม (Classical Theory)2). ทฤษฎแี ละแนวความคิดด้ังเดิมแบบ สมัยใหม่ (Neo – Classical Theory of Organization) และ 3).ทฤษฎีและแนวความคิดแบบสมัยป๎จจุบัน (Modern Theory of Organization) มีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี (อนรุ ตั น์ อนันทนาธร และ ปาริฉัตร ปูองโลห่ ์, 2558) ทฤษฎีและแนวความคิดแบบดั้งเดมิ (Classical Theory) โดยมีนักคิดและทฤษฎีได้แก่ Frederic Winslow Taylor: ซงึ่ เปน็ บุคคลแรกทนี่ าแนวความคดิ การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) มาใช้ กับระบบอุตสาหกรรม เขาตั้งใจช้ีให้เห็นว่าการจัดการในรูปแบบนี้ดีกว่าการจัดการในรูปแบบเดิมอย่าง Rule of Thumb และ Max Weber: ผู้ท่ีได้รับการยกย่องว่าเป็นเจ้าตารับระบบราชการ (Bureaucracy) โดยเขาได้นาเสนอ การจัดการองค์กรขนาดใหญข่ ึน้ มาในปี ค.ศ.1911 โดยมกี ารกาหนดโครงสร้างตลอดจนการบริหารงานที่ชัดเจน โดยมี องค์ประกอบ 7 ประการ ดังน้ี หลักลาดับขั้น (hierarchy) หลักความสานึกแห่งความรับผิดชอบ (responsibility) หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality) หลักการมุ่งสู่ผลสาเร็จ (achievement orientation) หลักการทาให้เกิด ความแตกต่างหรือการมีความชานาญเฉพาะด้าน (Specialization) หลักระเบียบวินัย (discipline) และความเป็น วิชาชีพ (Professionalization) อีกท้ังยังมี Lyndall Urwick & Luther Gulick : สองนักทฤษฎีที่โดดเด่นในเร่ือง ทฤษฎอี งคก์ รและกระบวนการบรหิ ารงาน ทีใ่ ห้ท่เี ปน็ ที่รูจ้ ักในระดับสากลนั้นก็คอื POSDCoRB ทฤษฎีและแนวความคิดดั้งเดิมแบบสมัยใหม่ (Neo – Classical Theory of Organization) โดยมีนักคิดและทฤษฎีได้แก่ Abraham H. Maslow :แนวความคิดในเรื่องมนุษย์สัมพันธ์ที่โดดเด่นมาก ซ่ึงนักทฤษฎี มนุษยส์ มั พันธ์นีไ้ ด้นาเสนอทฤษฎี Hierachy of Needs หรือ ทฤษฎีลาดับช้ันของความต้องการ Hugo Münsterberg :นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน-อเมริกันท่ีเป็นหน่ึงในผู้บุกเบิกด้านจิตวิทยาประยุกต์ เขาเป็นผู้ริเริ่มเร่ืองจิตวิทยา อุตสาหกรรมที่ศึกษาวิทยาศาสตร์เก่ียวกับการบริหารงานบุคคล โดยได้ผสมผสานทฤษฎีของเขาเข้ากับทฤษฎีการ จัดการตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ของ Frederic Winslow Taylor โดยเน้นการใช้พลังงานคนให้เป็นประโยชน์กับ ความกา้ วหนา้ ทางอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจ ตดั ทอนเวลาทางานใหน้ ้อยลง แต่ได้งานเพิ่มมากขึ้น และมีความเป็นอยู่ ท่ีดีขึ้นได้ และElton Mayo :นักสังคมวิทยาแห่งฝุายวิจัยด้านอุตสาหกรรมของฮาร์วาร์ด (The Department of Industrial Research at Harvard) ทไี่ ดร้ บั ยกย่องว่าเปน็ “บิดาแห่งการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์” ท่ีเน้นการศึกษา พฤตกิ รรมศาสตร์ จนเกดิ เป็น Theory of Motivation ทฤษฎีและแนวความคิดแบบสมัยป๎จจุบัน (Modern Theory of Organization) โดยมีนักคิด และทฤษฎีได้แก่ Henri Fayol : บิดาแห่งแนวความคิดการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) หนา้ 40

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ได้รับการยกย่องว่าเป็น Founder of Modern Management Method ผู้ก่อกาเนิดศาสตร์แห่งการบริหารยุคใหม่ ทฤษฎีของเขาน้ันก็คือ Fayolism หรือทฤษฎีการบริหารจัดการธุรกิจ Theory of Business Administration ท่ีมี หลักการทัง้ 5 ประการ และ Clayton Magleby Christensen :นักวิชาการและที่ปรึกษาธุรกิจผู้โด่งดัง รวมไปถึงเป็น ศาสตราจารย์ที่ Harvard Business School ของ Harvard University ด้วย เขาเขียนตาราด้านศาสตร์การบริหาร จัดการมากมาย แต่เล่มท่ีโด่งดังมากที่สุดก็คือ The Innovator‖s Dilemma ผลงานของเขา คือทฤษฎี Disruptive Innovation จนเขาได้รบั ฉายาว่าเป็นบุคคลผู้ทรงอิทธิพลทางดา้ นธุรกิจมากที่สดุ ในศตวรรษที่ 21 เลยทีเดียว อีกทั้งยัง มี W. Chan Kim : หนึ่งในนกั ทฤษฎชี าวตะวันออกที่มีอิทธิพลต่อการบริหารงานแบบตะวันตกและทั่วโลกน้ันก็คือนัก ทฤษฎีการบริหารชาวเกาหลีผู้น้ีซึ่งผลงานที่โด่งดังที่สุดนั้นก็คือ Blue Ocean Strategy ซึ่งหลักการน้ีเป็นจุดกาเนิด ความคดิ ของคนยคุ หลังๆ ทก่ี ่อใหเ้ กิดธุรกจิ รวมถงึ ตลาดใหมๆ่ ขน้ึ มามากมาย แต่สาหรับบทความวิชาการเรื่อง แนวคิด การบริหารจัดการศูนย์การเรียนผู้สูงอายุนี้ผู้เขียนขออนุญาต นาเสนอในส่วนของการบรหิ ารในยคุ แนวความคดิ แบบด้งั เดิม (Classical Theory) คอื ใช้หลักการบริหารจัดการแบบ POSDCoRB เน่ืองจากเปน็ หลักการบริหารในแบบองค์รวมที่สามารถควบคุมการบริหารจัดการได้ทั้งองค์กร อีกทั้งยัง เข้าใจง่ายและชดั เจน ไมต่ กยุค (สาธติ ทิพยม์ ณี และ นัยนา เกิดวชิ ยั , 2562) มรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี 1. P-Planning หมายถึง เปน็ การวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือ ปฏิบัติงาน ไว้ล่วงหน้า ผู้จัดการองค์กรต้องวางแผนงานทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ด้วยความ ประณีต ระมัดระวัง เพราะ แผนงานจะเป็นแนวทางปฏิบัติทั้งองค์กร ซ่ึงประกอบด้วยแผนงานหลัก และแผนงานย่อย แผนงานต้องมีลักษณะ ยดื หยนุ่ เพือ่ ให้การดาเนนิ การสามารถ บรรลุเปาู หมายทีว่ างไว้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2. O-Organizing หมายถึง การจัดหน่วยงาน กาหนดโครงสร้างของหน่วยงาน โดยพิจารณาให้ เหมาะสมกบั งาน เชน่ การแบง่ งาน (Division of Work) เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพของ งานหรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน (Specialization) นอกจากน้ีอาจพิจารณาในแง่ของการควบคุม (Span of Control) หรอื พิจารณาในแงข่ องหนว่ ยงาน เช่น หน่วยงานหลัก (Line) และหน่วยงานที่ปรึกษา (Staff) เป็นต้น ทั้งนี้ ท้ังนั้น ต้องมีการกาหนดอานาจหน้าที่ให้ชัดเจน เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น มีเปูาหมายท่ีแน่นอน เอกภาพในการบังคับบัญชา Unity of Command การจัดองค์กรจาเป็นต้องกาหนดเส้นทางเดินของงาน ตั้งแต่ จุดเร่ิมต้นจนถึงจุดสุดท้ายของการทางาน อานาจในการตัดสินใจขั้นสุดท้าย ความมีประสิทธิภาพขององ ค์กรนั้น เอกภาพในการบังคับบัญชามีความสาคัญ หน่วยงานต้องจัดให้เกิดความคล่องตัวในการทางานต่อการปฏิบัติและ รายงานการวเิ คราะห์ประเมินผล สง่ิ สาคัญในการสร้างความเป็นเอกภาพในการบังคับบัญชา อยู่ท่ีความชัดเจนในการ วินิจฉยั สง่ั การ การรบั รใู้ นความรับผิดชอบร่วมกันของผ้บู ริหารและผู้ปฏิบัติ การรับรู้เปูาหมาย วัตถุประสงค์สูงสุดของ งาน โดยหลักเกณฑ์ เงือ่ นไขทผี่ ่านการวเิ คราะห์ วางแผนมาเป็นอยา่ งดแี ลว้ 3. S-Staffing หมายถึง การจัดตัวบุคลากร เป็นการบริหารด่านบุคลากร อันได้แก่ การจัด อัตรากาลัง การสรรหา การพฒั นาบุคลากร การสรา้ งบรรยากาศการทางานทดี่ ี การประเมินผลการ ทางานและการให้ พ้นจากงาน ดังน้ัน Staffing เป็นเร่ืองที่เก่ียวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ใน องค์การนั่นเอง ซ่ึงเป็นทรัพยากรที่ สาคัญทีส่ ดุ ที่ส่งผลให้งานสาเรจ็ หรือล้มเหลว ท้ังนเี้ พื่อใหไ้ ด้ บุคลากรมาปฏบิ ตั ิงานอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้อง กับการจัดแบง่ หนว่ ยงานที่กาหนดเอาไว้ หนา้ 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook