Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

Published by ED-APHEIT, 2022-04-04 03:34:12

Description: ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ ครั้งที่ 6 การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565

Search

Read the Text Version

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1. ข้อมูลพน้ื ฐานของนกั เรียนระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี การวจิ ยั ครั้งน้ีเสนอขอ้ มลู พ้นื ฐานของนักเรยี นระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ซึง่ ประกอบด้วย เพศ หอ้ งเรยี น ดงั แสดงรายละเอยี ดในตารางตอ่ ไปน้ี ตารางท่ี 2 ขอ้ มูลพื้นฐานของนักเรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ข้อมลู พื้นฐาน จำนวน ร้อยละ เพศ 105 44.49 เพศชาย 131 55.51 236 100.00 เพศหญงิ รวม ห้องเรยี น ห้องเรียนท่ี 1 44 18.64 หอ้ งเรยี นท่ี 2 28 11.86 หอ้ งเรยี นที่ 3 27 11.44 ห้องเรยี นท่ี 4 34 14.41 หอ้ งเรยี นที่ 5 41 17.37 ห้องเรยี นที่ 6 31 13.14 หอ้ งเรียนท่ี 7 31 13.14 รวม 236 100.00 จากตารางที่ 2 พบวา่ นักเรยี นระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชั้นปที ี่ 3 สาขาธรุ กิจค้าปลกี ส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง จำนวน 131 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 55.51 และนกั เรียนระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพส่วนใหญท่ ่เี ข้าร่วมการเรยี น ออนไลนเ์ ปน็ นกั เรียนหอ้ งเรียนที่ 1 จำนวน 44 คน คิดเปน็ ร้อยละ 18.64 2. ค่าเฉล่ยี (Mean: X) ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) และการทดสอบค่าที ตารางท่3ี ผลของการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ีย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าทขี องคะแนนการทดสอบ ภาษาจนี ระดับท่ี 2 ก่อนและหลังเรยี นโดยใชเ้ กมเปน็ ฐาน คะแนนการทดสอบ จำนวน (n) ค่าเฉลีย่ (X ) ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน t sig ภาษาจีนระดบั ท่ี 2 (S.D.) Pre-test 236 21.71 8.33 -382.031 .000* Post-test 236 31.71 8.30 *มนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 จากตารางท่ี 3 พบวา่ ค่าเฉลยี่ ของคะแนนการทดสอบวัดระดบั ความรู้ภาษาจีนระดบั ที่ 2 (HSK 2) หลังเรียน เทา่ กับ 31.71 และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 8.30 สูงกวา่ คา่ เฉล่ียของคะแนนการทดสอบวัดระดับความรู้ ภาษาจีนระดับท่ี 2 (HSK 2) ก่อนเรยี นซึง่ มคี ่าเฉลีย่ เทา่ กับ 21.71 และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 8.33 ชใี้ หเ้ หน็ ว่า นกั เรยี นระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ที่เรยี นออนไลนโ์ ดยใชเ้ กมเปน็ ฐานมีผลสมั ฤทธิ์ทางการทดสอบภาษาจนี ระดับที่ 2 (HSK 2) หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05 , t(235)=-382.031, p<.001 อภิปรายผลการวิจัย 150

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี จากการวจิ ยั สามารถนำมาอภิปรายผลได้ดงั น้ี หลงั การทดลอง ผูว้ ิจัยไดเ้ ปรยี บเทยี บผลคะแนนทางการทดสอบวัดระดบั ความรู้ภาษาจีนระดับท่ี 2 (HSK 2) ท่ีจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลนโ์ ดยใช้เกมเปน็ ฐานของนักเรยี นระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี หลงั เรยี นสูงกวา่ กอ่ น เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว้ และสอดคล้องกับผลวิจัยของณัฐวราพร เปลยี่ นปราณ และ สุทัศน์ นาคจ่ัน (2558) พบวา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้คำศพั ท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังใช้ วิธีสอนโดยใช้เกมประกอบสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติที่ระดบั .01 และสอดคล้องกับภานรินทร์ ไทย จันทรารักษ์ และคณะ (2564) ทพี่ บวา่ นักเรยี นท่เี รยี นโดยใชเ้ กมคำศพั ท์มคี ่าเฉล่ียการเรยี นคำศพั ท์ภาษาอังกฤษหลัง เรียนสูงกวา่ กอ่ นเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ่รี ะดบั .01 ทั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานที่ผ่านกระบวนการสร้างและพัฒนาอย่างมี ประสิทธิภาพ ทำให้เกมมีความน่าสนใจ ผู้เรียนมีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เกิดกระบวนการคิดขึ้นได้ด้วยตนเอง ถึงแม้ว่าการทดสอบวัดระดับความร้ภู าษาจีนระดบั ท่ี 2 (HSK 2) จะเปน็ การสอบวัดระดับท่ีถูกแยกออกเปน็ 2 ทักษะ ได้แก่ ทักษะการฟังและทักษะการอ่าน แตก่ ิจกรรมเกมที่ผู้วิจัยสร้างขน้ึ นน้ั มงุ่ หวังพฒั นาทักษะทางการสื่อสารแบบ องค์รวม ไม่แยกทกั ษะ ดังเชน่ สชุ าติ ทั่งสถิรสมิ า และ สถาพร ขันโต (2555) กล่าวไวว้ ่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษของผู้เรียนต้องจัดกิจกรรมที่ได้ฝึกทักษะในเชิงบูรณาการ ไม่แยกทักษะออกเป็น ส่วน ๆ รวมไปถึง Littlewood (1983 อ้างถึงใน องอาจ นามวงศ์, 2554) กล่าวว่า การสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเปน็ การสอนที่ไม่จำกัดผู้เรียนเพียงแค่ความรู้ด้านโครงสร้างไวยากรณ์ แต่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะทางภาษา ครอบคลุมทุกทักษะ โดยผนวกความสามารถทางไวยากรณ์และการสื่อสารด้วยวิธีการท่ีถกู ต้องและเหมาะสม ดังนน้ั ผสู้ อนควรเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนไดฝ้ ึกฝนการใช้ภาษาทางการสื่อสารและครอบคลุมทักษะทางภาษาใหไ้ ด้มากที่สุด โดย กจิ กรรมทั้ง 8 สัปดาห์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. เกมท่ีพัฒนาทักษะทางการฟงั และการอา่ นภาษาจีน และ 2. เกมทีพ่ ัฒนาทักษะทางการฟัง การพดู และการอา่ นภาษาจนี ดังน้ี 1. เกมทพี่ ัฒนาทักษะทางการฟงั และการอา่ นภาษาจนี เกมที่พัฒนาทักษะทางการฟังและการอ่านภาษาจีน ได้แก่ เกมในสัปดาห์ท่ี 1, 2, 3, และ 8 ซึ่งเนื้อหา เกี่ยวข้องกับ 1) การทักทาย(打招呼)2) วันที่(日期)3) ความต้องการ(意愿)4) การ ทอ่ งเท่ยี ว(旅游)ตัวอย่างดังภาพประกอบด้านล่าง ภาพท่ี 2 เกมท่เี ก่ียวขอ้ งกับการทักทาย(打招呼) 151

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ภาพท่ี 3 เกมทเี่ กี่ยวข้องกบั วนั ที่(日期) ภาพท่ี 4 เกมท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ความต้องการ(意愿) ภาพท่ี 5 เกมที่เกยี่ วขอ้ งกบั การท่องเที่ยว(旅游) จากภาพที่ 2 - 5 จะเหน็ ไดว้ ่า กจิ กรรมเกมข้างตน้ ออกแบบมาเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝกึ ฝนทกั ษะการฟังและการ อ่าน ซึ่งเป็นทกั ษะสำคัญสำหรับการสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีนระดับที่ 2 (HSK 2) โดยผูส้ อนจะเริ่มต้นพูดหรือกด คลิปเสียงคำศัพท์ กลุ่มคำหรือประโยคที่เกี่ยวข้อง จากนั้นให้ผู้เรียนอ่านคำศัพท์ กลุ่มคำหรือประโยค เพื่อเลือก คำตอบที่ถูกต้อง ดังภาพที่ 2 เกม Kahoot เป็นเกมที่ผู้เรียนจะต้องกดเพื่อฟังเสียงคำศัพท์ และอ่านตัวเลือกที่เป็น ภาษาจีนหรอื ภาษาไทย เพื่อเลือกคำตอบทีถ่ กู ต้อง โดยเนอ้ื หาจะเป็นเรอื่ งเกีย่ วกับการทักทาย(打招呼)เช่น คลิปเสียง “您好” และผู้เรียนจะต้องเลือกคำศัพท์ภาษาจีนให้ถูกต้องตามคลิปเสียง ซึ่งผูเ้ รยี นจะได้ฝึกฟังเสยี ง จากคลปิ ทก่ี ำหนด และไดฝ้ ึกการอา่ นตวั อักษรจีน เกมลักษณะน้ีจะสามารถฝกึ การฟงั และการอา่ นภาษาจีนของผเู้ รียน 152

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้ ทำให้ผู้เรียนสามารถจดจำคำศัพท์และเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย มีความผ่อนคลายและสามารถดึงดูด ผ้เู รยี นได้สอดคลอ้ งกบั บษุ รยี ์ ฤกษ์เมอื ง (2552) ท่ีกล่าวไวว้ า่ การเรยี นรโู้ ดยใช้เกมคําศัพท์ประกอบการสอน จะทํา ให้นักเรียนสนุกสนาน บรรยากาศในห้องเรียนไม่ตึงเครียดและเพลิดเพลินต่อการเรียนจึงทําให้นักเรียนเข้าใจและ จดจาํ คาํ ศพั ทไ์ ด้ดีจากกจิ กรรมที่นกั เรียนเข้ารว่ ม ซึง่ ทงั้ น้ีจะเหน็ ได้วา่ เม่ือผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้อย่างมีความหมายจะ ส่งผลดีต่อการพฒั นาทักษะทัง้ ในด้านการฟังและการอ่านซึ่งเปน็ ส่วนสำคัญในการเรยี นรูผ้ ่านเกม เช่นเดียวกับกับห ยาง เซี่ยวหลิน และ นิภาพร เฉลิมนิรันดร (2562) ที่พบว่า การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้เกมสามารถพัฒนาการอ่านออก เสียงภาษาจีนของผู้เรียน ช่วยให้ทักษะการอ่านภาษาจีนของผู้เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนแตกต่างกันอย่างมี นยั สำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .01 2. เกมท่พี ฒั นาทักษะทางการฟงั การพดู และการอ่านภาษาจีน เกมที่พัฒนาทักษะทางการฟัง การพูด และการอ่านภาษาจีน ได้แก่ เกมในสัปดาห์ที่ 4, 5, 6, และ 7 ซ่ึง เนื้อหาเกี่ยวข้องกับ 1) การซื้อของ (购物)2) สภาพอากาศ(天气)3) การคมนาคม(交通) และ 4) การสอบถาม(询问)ตัวอยา่ งดังภาพประกอบดา้ นลา่ ง ภาพท่ี 6 เกมทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การซ้อื ของ (购物) ภาพที่ 7 เกมที่เกีย่ วขอ้ งกบั สภาพอากาศ(天气) 153

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ภาพท่ี 8 เกมทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การคมนาคม(交通) ภาพท่ี 9 เกมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การสอบถาม(询问) จากภาพที่ 6 - 9 จะเห็นไดว้ ่า กิจกรรมเกมข้างต้นออกแบบมาเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะท้ังการฟัง การ พูด และการอ่านท้งั สามทักษะ โดยผู้สอนจะเร่ิมตน้ พูดหรือกดคลปิ เสียงคำศพั ท์ท่ีเกี่ยวข้องก่อนตามกติกาของเกมท่ี กำหนดให้ซึ่งมสี ว่ นช่วยพฒั นาทกั ษะการฟังทางภาษาจีน หลงั จากนนั้ ให้ผู้เรียนอา่ นคำศพั ทเ์ พ่ือเลอื กคำตอบ ซง่ึ มีส่วน ช่วยพัฒนาทักษะการอ่านทางภาษาจีน และสุดท้ายให้ผู้เรียนพูดศัพท์ แต่งกลุ่มคำหรือแต่งประโยคให้ถูกต้องตาม หลักไวยากรณ์จีน ซึ่งกระบวนการนี้มีส่วนช่วยพฒั นาทักษะการพูดทางภาษาจีนผ่านกิจกรรมเกมโดยสอดคล้องกับ อนุภาค ดลโสภณ (2540) ไดศ้ กึ ษาเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษท้งั ด้านการฟัง การพูด การ อ่าน การเขียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้เกมการสอน ซึ่งพบว่าการฟัง การพูด การอ่าน และการ เขียนมผี ลหลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนและแตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติระดับท่ี .01 เชน่ เดียวกับสุวรรณ พินิจ (2552) ได้ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการพัฒนาทกั ษะการฟงั - พดู ภาษาองั กฤษของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 ท่ีเรียน ด้วยแผนการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้เกมหลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี น อกี ทงั้ การใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมสามารถ ชว่ ยกระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถพัฒนาทักษะการฟัง - พูดภาษาอังกฤษไดอ้ ย่างมคี วามสุข นอกจากนี้ กิจกรรมเกมเป็นการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับแนวทางการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) มากกว่าการเรยี นรู้แบบตั้งรบั (Passive Learning) เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดความร้คู วามเขา้ ใจอย่างลึกซ้ึง เกิดความรู้สึกบนั เทงิ และเช่ือมโยงความรูไ้ ดเ้ ป็นอย่างดี ดังเช่น ภัทราวดี วงศ์สเุ มธ (2559) กล่าวว่า การนำเกมมาเปน็ ส่วนหนึ่งในการสอน เป็นการเสริมการเรียนร้แู บบลงมือปฏบิ ัติท่ีส่งผลเชงิ บวกต่อผลสมั ฤทธท์ิ างการศึกษาของผู้เรียน และนำไปสกู่ ารเรียนรตู้ ลอดชีวติ 154

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ นำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 ในระหว่างการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน ผู้สอนจะต้องมีการเตรียม ความพร้อมของสื่อและวัสดุอุปกรณ์ และออกแบบกิจกรรมที่สนับสนุนให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และทำงานกนั เปน็ ทมี 1.2 เนื่องจากเกมออนไลน์หรือเกมในแอปพลิเคชันไม่มีข้อจำกัดด้านเวลาหรือสถานที่ ผู้สอนจึง สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนการสอนได้หลากหลาย ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้ ความ เขา้ ใจ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้มากย่ิงขึน้ 2. ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป 2.1 เน่อื งจากขอ้ จำกดั ของระยะเวลาในการทำกจิ กรรม จึงควรสอดแทรกเทคนคิ การทำแบบทดสอบ ภาษาจนี เพอ่ื เพิ่มผลสมั ฤทธ์กิ ารสอบวดั ระดับความรู้ภาษาจนี ระดบั ที่ 2 (HSK 2) 2.2 ควรนำรูปแบบการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์โดยใช้เกมเปน็ ฐาน ไปใชพ้ ฒั นาผเู้ รียนเพื่อการ สอบวดั ระดับความรูภ้ าษาจีนในระดับอน่ื ๆ เอกสารอา้ งองิ กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). แนวทางการจัดกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนตามหลักสตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐานพทุ ธศักราช 2544. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพร้าว. ณัฐวราพร เปลี่ยนปราณ และ สุทัศน์ นาคจัน่ . (2558). การเรียนร้คู ำศัพทภ์ าษาอังกฤษโดยใช้เกมประกอบการ สอนของนกั เรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนวัดทุ่งนอ้ ย อำเภอกยุ บรุ ี จังหวัดประจวบคีรีขันธ.์ วารสารวิชาการ ฉบับมนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 8(2), 1672-1684. ดวงเดือน อ่อนน่วม และคณะ. (2537). เรือ่ งน่ารสู้ ำหรับครคู ณติ ศาสตร์. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช. ทิศนา แขมมณ.ี (2544). 14 วิธกี ารสอนสําหรับครูมืออาชีพ (พิมพ์ครัง้ ที่ 1). กรุงเทพฯ: บรษิ ัทเทก็ ซ์ - แอนด์ เจอรน์ สั พบั ลเิ คชน่ั . บุษรยี ์ ฤกษ์เมอื ง. (2552). การใช้เกมคำศพั ท์ภาษาอังกฤษเพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้คำศพั ท์ภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบุรารักษ์ [วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต]. มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวิโรฒประสานมิตร. ภทั ราวดี วงศ์สเุ มธ. (2559). การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรปู แบบเกมเสรมิ ทกั ษะภาษาอังกฤษสำหรับ นกั เรียนระดับประถมศึกษา : กรณศี ึกษาต้นแบบเกมระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3. วารสารวิจัยสห วทิ ยาการไทย, 11(3), 16-23. ภานรินทร์ ไทยจันทรารักษ์, ภทั รินธร บุญทวี, และ วงจนั ทร์ พลู เพ่มิ . (2564). การใชเ้ กมคำศัพท์ภาษาอังกฤษ เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรคู้ ำศพั ท์ภาษาองั กฤษ ของนกั เรยี น โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรีรมั ย์. วิวธิ วรรณสาร, 5(1), 163-184. 155

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี มณฑาทพิ ย์ อัตตปัญโญ. (2542). การใชเ้ กมพฒั นาทักษะการเขียนสะกดคำสำหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3. โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรว์ ิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม [วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร]. วรรณพร ศิลาขาว. (2538). การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิแ์ ละความคงทนในการเรยี นรู้คําศัพทว์ ิชาองั กฤษของ นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 ท่เี รียนโดยใชแ้ บบฝึกหดั ท่มี เี กมและไม่มีเกมประกอบการสอน [วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิต]. มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒประสานมิตร. สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ. (2545). การจดั กระบวนการเรียนรเู้ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั .กรงุ เทพฯ: อักษรเจริญทัศน.์ สชุ าติ ทัง่ สถริ สมิ า และ สถาพร ขนั โต. (2555). การใชเ้ กมในการพัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสาร ศึกษาศาสตร์ ฉบับบณั ฑิตศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, 6(2), 168-175. สุมติ รา องั วฒั นกุล. (2537). วธิ สี อนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สวุ รรณ พินิจ. (2552). การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้เกมส์ฝกึ ทักษะการฟัง-พูดภาษาองั กฤษสำหรบั นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นบา้ นแคนดำ สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 2 [วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑิต]. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม. หยาง เซย่ี วหลิน และ นภิ าพร เฉลมิ นิรนั ดร. (2562). การพัฒนาการอ่านออกเสยี งภาษาจนี โดยใชเ้ กมคำศัพทป์ ระกอบ แบบฝกึ ทักษะสำหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6. ใน เอกสารประกอบการประชมุ นำเสนอผลงานวจิ ยั บณั ฑติ ศึกษาระดบั ชาต,ิ 2 สิงหาคม 2562 (น. 118-125). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย. อนภุ าพ ดลโสภณ. (2540). การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาภาษาอังกฤษของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ระหว่างการสอนโดยใช้เกมและการสอนตามคูม่ ือครู [วิทยานพิ นธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. องอาจ นามวงศ.์ (2554). Active 3Ps : บทบาทการจัดการเรียนรู้ที่ครคู วรเปล่ียน. วารสารศกึ ษาศาสตร์ ฉบบั วจิ ยั บณั ฑิตศกึ ษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 34(3-4), 1-9. Chinese Testing International. (2018). HSK Level II. http://www.chinesetest.cn/gosign.do?id=1&lid=0#. Marketingoops. (2020). ‘COVID-19’ ปฏริ ูปการศกึ ษาท่วั โลก! ใช้เทคโนโลยีเรียนรปู แบบใหม่ – ‘มหาวิทยาลัยไทย’ สอนผ่านออนไลน.์ https://www.marketingoops.com/exclusive/business- case/covid-19-reinvent-global-education-system-with-educational-technology/. Pinter, D. D. K. (1977). The effects of an academic game on the spelling achievement of third graders [Doctoral dissertation]. University of California, 1976). Plass, J. L., Homer, B. D., & Kinzer, C. K. (2015). Foundations of Game-Based Learning, Educational Psychologist, 50(4), 258-283. Salen, K., & Zimmerman, E. (2003). Rules of Play: Game Design Fundamentals. Cambridge: The MIT Press. 156

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พฤตกิ รรมการใชส้ ่ือสังคมออนไลน์และความเข้าใจในพระราชบัญญัติวา่ ดว้ ยการกระทำความผิด เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 Social Media Behaviors and the Understanding of Computer-related Crime Act (No. 2) 2017 กฤชณทั แสนทวี ชัชฎา อัครศรวี ร นากาโอคะ วิทยาลัยนวตั กรรมสอื่ สารสงั คม มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ E-mail [email protected] บทคดั ยอ่ งานวิจัยนี้มีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ ศกึ ษา 1) ระดับพฤตกิ รรมการใช้ส่อื สงั คมออนไลน์ทผ่ี ิดพระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการ กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2) ระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจในพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ และ 3) อทิ ธิพลความเขา้ ใจทมี่ ีต่อพฤติกรรมการใช้สอ่ื สังคมออนไลนต์ ามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ โดยการสุม่ ตวั อย่างที่มีอายุ 18 ปี ขน้ึ ไป จำนวน 400 คน จาก 4 ภมู ิภาค และกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามปลายปิดที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.874 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที่ ความแปรปรวนทางเดียว การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ระดับ พฤตกิ รรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยรวมอยใู่ นระดบั น้อยมาก (ค่าเฉลี่ย = 1.39) ประเดน็ ที่มีระดับพฤติกรรม มาก ที่สุด คือ เคยใช้คำพูดที่ไม่สุภาพหรือพูดในทางที่หมิ่นประมาทผู้อื่น ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 1.89) ระดับความ สอดคล้องกับความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติฯ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.19) วิเคราะห์การ ถดถอยพหุคณู ระดับความสอดคล้องกบั ความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบญั ญัตวิ ่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ที่พยากรณร์ ะดบั พฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ประกอบดว้ ย 3 ประเด็น ร่วมกันพยากรณ์ คือ 1) เคยใช้คำพูดทีไ่ ม่สุภาพหรือพูดในทางที่หมิ่นประมาทผู้อืน่ 2) เคยส่งอีเมลก่อกวนหรอื โฆษณาขายสินค้าไปยังผู้ใชอ้ ีเมล อ่นื ๆ ทไี่ มไ่ ด้ต้องการ 3) เคยตัดต่อหรอื นำภาพไปเผยแพรใ่ หบ้ คุ คลอน่ื เสียหาย ได้ร้อยละ 11 (R Square = 0.11) คำสำคัญ: พระราชบัญญตั คิ อมพวิ เตอร์, ส่อื สังคมออนไลน์, รู้เท่าทันสือ่ ดิจทิ ลั 157

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ABSTRACT The purpose of this research is to study 1) the level of Illegal behavior of social media from Thailand’s Computer-related Crime Act 2017 2) the level of knowledge from Thailand’s Computer- related Crime Act 2017 and 3) the effect of knowledge levels on Illegal behavior of Thailand’ s Computer-related Crime Act 2017. The data collecting from upper 18 years old sampling of 400 people in 4 regions and Bangkok. Data collected by close-ended questionnaire that Cronbach’s coefficient alpha was 0.864. Analyze data with statistics by percentage, mean, standard deviation. T-test One-way ANOVA and multiple regression analysis. The results show that the level of Illegal behavior of social media overall was low degree (mean=1.89) and the level of knowledge was high degree (mean=3.19). The multiple regression analysis for the level of knowledge on Illegal behavior Thailand’s Computer- related Crime Act 2017 shown that the best model included 1) have ever used impolite words or spoken in a way that was insulting to others 2) ever sent harassing emails or merchandising ads to other email users who didn't want to 3) ever edited or disseminated the image to another person for damage by 11 percentages. (R Square = 0.11) KEYWORDS: Computer-related Crime Act, social media, Digital literacy บทนำ ในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมาสื่อสังคมออนไลน์ หรือ Social Media ซึ่งเป็นสื่อดิจิทัลที่ทำงานอยู่บน พื้นฐานของเว็บไซต์บนอินเทอรเ์ นต็ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคมที่มผี ู้สื่อสารจัดทำขึ้น โดยที่ผู้เขียน จัดทำขนึ้ เอง แล้วนำมาแบ่งปันเนื้อหา ข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์ และพดู คุยให้ผู้ใช้ในโลกออนไลน์กับคนที่อยู่ใน สังคมเดยี วกนั ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว มปี ระสิทธิภาพ รวมถงึ การใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Elizabethอ้างถงึ ใน อรวรรณ วงศ์แก้ว โพธิ์ทอง, 2553) โดยแนวโน้มการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของไทยในปัจจุบันพบว่าคนไทยใช้สื่อสังคมออนไลน์ผ่าน โทรศัพทเ์ คลือ่ นทแ่ี ละอุปกรณ์พกพามากขนึ้ จากการพฒั นาของโทรศัพท์เคลอ่ื นที่ การพัฒนาของเครือข่ายความเร็วสูง ท่ีรองรับการแขง่ ขนั ของผู้ใช้บรกิ ารสือ่ สังคมออนไลน์สงู ขึน้ การหลอมรวมบริการของส่อื สังคมออนไลน์มากข้ึน ความ นิยมการดูรายการต่าง ๆ ผ่านโซเชียลทีวีหรือเว็บไซต์แบ่งปันเนื้อหา การค้นหาข้อมูลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (ภาวุธ พงษว์ ิทยภานุ, 2555) โดยพฤตกิ รรมการใช้อนิ เทอร์เน็ตของคนไทย จากจำนวนประชากร 69.11 ลา้ นคน ซึ่ง ร้อยละ 53 อยใู่ นเขตเมอื ง พบว่า คนไทยใชเ้ วลาเขา้ อนิ เทอร์เน็ตต่อวันมากที่สุดในโลก และกรุงเทพมหานครเปน็ เมืองที่มีผู้ใช้ Facebook มากสุดในโลก ในจำนวนคนใช้ Social Media มีมากถงึ 46 ล้านคน ซึง่ Facebook ถือเปน็ Social Media ยอดนิยมอันดับ 1 ของคนไทย ส่วนอันดับ 2 คือ “YouTube อันดับ 3 คือ “LINE” อันดับ 4 คือ“Facebook Messenger” และอันดับ 5 คือ “Instagram” ซึ่งยอดผู้ใช้งาน Facebook ในไทย อยู่ที่ 51 ล้านคน แบ่งเป็นผู้หญิง ร้อยละ 49 และเปน็ ผู้ชาย รอ้ ยละ 51 (Brandbuffet, 2018) 158

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี อยา่ งไรก็ตาม อินเทอร์เนต็ และส่อื สงั คมออนไลนเ์ ปรียบเสมอื นดาบสองคมท่มี ีทั้งผลดแี ละผลเสียต่อผู้ท่ีมาใช้ บริการ จึงทำให้เกิดความเสี่ยงข้ึนต่อผู้ใช้บริการซึ่งเหตุผลมาจากการใช้บริการทางด้านอินเทอร์เน็ตมากไปหรือจาก อิทธิพลทางสังคมทำให้ต้องเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสังคมออนไลน์ที่มีการแสดงออกซึ่งรวมถึงข้อมูลในเรื่องส่วนตวั ส่วนนี้ทำให้มีการถูกละเมิดความเป็นส่วนตัว การโจรกรรมข้อมูลหรือรูปภาพ การเปิดเผยข้อมูลที่ปราศจากการ กลั่นกรองซง่ึ อาจสง่ ผลกระทบต่อสิ่งต่างๆหรือบุคคลท่อี ้างถงึ หรือมสี ่วนเก่ยี วข้องได้รบั ความเสยี หาย ดังนั้น ในฐานะ ผบู้ ริโภคจึงต้องมีการแบ่งเร่ืองราวที่เป็นจรงิ หรือเท็จออกได้ ซ่ึงสงิ่ เหลา่ น้เี ป็นสง่ิ ท่ีผู้ใชบ้ ริการต่างทราบดีว่าการที่เข้า ไปใช้ในเครือขา่ ยสงั คมออนไลนแ์ ล้วย่อมมีผลกระทบอย่างไร ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการใช้บริการไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ข้อมลู สว่ นตวั การแสดงออกของตวั ตน การนำเสนอสินค้า ข้อมลู ดา้ นการบริการ เปน็ ตน้ รวมถงึ สอื่ สังคมออนไลน์นั้น เรียกได้ว่าเป็นโลกอีกใบที่สามารถเปิดเผยแสดงตัวตนได้อย่างอิสระ ไร้ขอบเขต ส่งผลให้หลายคนหลงใหลในเสน่ห์ ความสุขที่ได้รับท้งั น้ี การกระทำทอี่ าจเกิดผลดีและผลร้ายจากพฤตกิ รรมที่ไม่ควรกระทำจงึ ทำให้มีการออกกฎหมาย ทวี่ า่ ดว้ ยพระราชบัญญัติว่าดว้ ยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับ 2) พ.ศ.2560 ซึง่ กำหนดว่า ลักษณะ การส่งข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์ – อีเมลโฆษณา ที่มีลักษณะก่อความรำคาญเดือดร้อนแก่ผู้รับและไม่เปิดโอกาสใหผ้ ู้รบั สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์ได้ เข้าข่ายถือเปน็ สแปม และมีโทษปรับสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท ซึ่งการ ฝากร้านบน Facebook หรือ IG ก็เข้าข่ายการส่งข้อมูลอิเล็กทรอนกิ สต์ ามกฎหมายข้างต้น ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเห็นวา่ มี ความจำเปน็ ท่ีจะต้องทำการศึกษาถงึ พฤติกรรมการใช้สื่อสงั คมออนไลนแ์ ละความเข้าใจในพระพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทำความผดิ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับ 2) พ.ศ. 2560 โดยมีวตั ถุประสง่ เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการใช้ส่ือ สังคมออนไลน์ที่ผิดพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 รวมถึง ศกึ ษาระดับความสอดคล้องกับความเขา้ ใจในพระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการกระทำความผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2560 ตลอดจนอิทธิพลความเข้าใจในพระราชบัญญัติที่มีต่อพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตาม พระราชบัญญตั ิวา่ ด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) ซึ่งผลการวจิ ยั จะเป็นประโยชน์ต่อการใช้ เป็นแนวทางในการสง่ เสรมิ และสร้างความรู้ความเข้าใจทีถ่ ูกต้องเกี่ยวกับกฎหมาย ตลอดจนรณรงค์พฤติกรรมการใช้ สอื่ สงั คมออนไลนท์ ี่เหมาะสมของประชาชนตอ่ ไป วธิ ีดำเนินการวิจัย ดำเนินการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามความคิดเห็น โดยการสุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน จากตัวแทนประชากรซึง่ เปน็ ประชาชนที่ใช้ส่ือสังคมออนไลนซ์ ึ่งมีอายุ 18 ปีข้ึนไป โดยใช้วิธีการจบั สลากเพื่อเลือกตัวแทนจังหวัดในแต่ละภูมิภาค จำนวน 4 จังหวัด คือ ภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย ภาคกลาง ได้แก่ จงั หวดั พิษณโุ ลก ภาคอสี าน ไดแ้ ก่ จงั หวดั ศรสี ะเกษ และภาคใต้ ไดแ้ ก่ จังหวัดกระบ่ี และกรุงเทพมหานคร เก็บ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ พื้นที่ละ 80 ตัวอย่าง รวมจำนวน 400 ตัวอย่าง เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ปลายปิดที่มีค่าความน่าเชื่อถือจากค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาช (Cronbach’s coefficient alpha) โดยรวม 0.864 จากนั้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วย จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที่ ความแปรปรวน ทางเดียว การถดถอยพหคุ ูณ 159

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ผลการวจิ ยั 1.1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง จำนวน 250 คน คิดเป็นร้อยละ 52.50 ส่วนใหญ่มีอายรุ ะหว่าง 18 – 22 ปี จำนวน 272 คน คิดเป็นร้อยละ 68.00 และโดยมากจบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี จำนวน 262 คน คิด เป็นร้อยละ 65.50 และส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี นิสติ / นกั ศึกษา จำนวน 237 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 59.30 1.2 พฤตกิ รรมการใช้ส่อื สังคมออนไลน์ 1.2.1 ผู้ตอบแบบสอบถามมีจำนวนชั่วโมง (เฉลี่ย) ในการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ต่อวัน มากที่สุด คือ มากกว่า 5 ช่ัวโมงตอ่ วนั จำนวน 225 คน คิดเป็นร้อยละ 56.30 1.2.2 ผู้ตอบแบบสอบถามมีช่วงเวลาที่ท่านเปดิ รับสื่อสังคมออนไลน์เป็นประจำมากที่สุด เวลา 12.01- 17.59 น. จำนวน 555 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 22.22 1.2.3 ผู้ตอบแบบสอบถามมจี ุดประสงค์หลักในการใช้สื่อสงั คมออนไลน์ มากที่สุด คือ เพื่อความบันเทงิ ส่วนตวั จำนวน 177 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 44.30 1.2.4 ผู้ตอบแบบสอบถามมีประเภทช่องทางการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้เป็นประจำ มากที่สุด คือ เฟซบุก๊ (Facebook) จำนวน 134 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.50 1.3 ระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตาม พระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 โดยรวมอยู่ในระดับน้อยมาก (ค่าเฉลี่ย = 1.39, สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน = 0.62) เมอื่ พจิ ารณารายประเด็นพบว่า ประเดน็ ที่มรี ะดบั พฤติกรรม มาก ที่สุด คือ เคยใช้คำพูดที่ไม่สุภาพหรือพูดในทางทีห่ มิ่นประมาทผู้อื่น ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 1.89, ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน = 0.98) 1.4 ระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 ผตู้ อบแบบสอบถามมีระดบั ความสอดคลอ้ งกับความเข้าใจในสาระสำคัญ ของพระราชบัญญตั ิว่าด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.19, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 1.02) เมื่อพิจารณารายประเด็นพบว่า ประเด็นที่มีระดับระดับความ สอดคลอ้ งกบั ความเข้าใจ มากทสี่ ดุ คือ ไมท่ ำการละเมดิ ลขิ สิทธิ์ผูใ้ ด ไมว่ า่ ขอ้ ความ เพลง รปู ภาพ หรอื วดิ โี อ ในระดับ มาก (ค่าเฉลีย่ = 3.77, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 1.35) ในทางตรงกันข้าม เมื่อพิจารณาประเด็นที่ผู้ตอบแบบสอบถามมรี ะดบั ความสอดคล้องกับความเขา้ ใจ น้อย ทีส่ ุด คอื การกด Like ได้ ไมผ่ ดิ พ.ร.บ. ยกเวน้ การกด Like เรื่องเกี่ยวกบั สถาบัน เพราะเสีย่ งเขา้ ข่ายความ ผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดรว่ ม ในระดบั น้อย (คา่ เฉลี่ย = 2.43, ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน = 1.38) 1.5 การวิเคราะห์ค่าทีและความแปรปรวนทางเดียวในการเปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะทาง ประชากรต่อระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 160

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 1.5.1 เพศของผู้ตอบแบบสอบถามแตกต่างกันจะมีระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ไดแ้ ก่ (1) เคยใชค้ ำพูดทไี่ ม่สุภาพหรือพูดในทางท่ีหมน่ิ ประมาทผอู้ นื่ แตกต่างกัน (P-Value = 0.00) (2) เคยเผยแพร่ ขอ้ มูลปลอมทุจรติ หลอกลวง แตกตา่ งกนั (P-Value=0.017) (3) เคยตดั ตอ่ หรือนำภาพไปเผยแพร่ให้บุคคลอ่ืนเสียหาย (P- Value=0.004) (4) เคยเผยแพรข่ ่าวสารเท็จทำให้ผู้อื่นต่ืนตระหนก (P-Value=0.025) (5) เคยมีข้อมลู ที่ผดิ กฎหมายไว้ใน ครอบครองและยังไมท่ ำลาย (P-Value=0.015) โดยระดบั พฤตกิ รรมในการใช้สอ่ื สังคมออนไลนต์ ามพระราชบัญญัตวิ ่าด้วย การกระทำความ ผิดเกีย่ วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเดน็ อ่ืน ๆ ไม่แตกต่างกัน 1.5.2 อายุของผู้ตอบแบบสอบถาม แตกต่างกัน จะมีระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตาม พระราชบญั ญัติว่าดว้ ยการกระทำความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกตา่ งกัน ทีร่ ะดับนัยสำคัญ 0.05 ประเด็นเดียว คือ เคยใช้คำพูดที่ไม่สุภาพหรือพูดในทางที่หมิ่นประมาทผู้อื่น (P-Value=0.00) โดยระดับ พฤติกรรมในการใช้สือ่ สังคมออนไลน์ตามพระราชบัญญตั วิ ่าดว้ ยการกระทำความผดิ เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็นอ่ืน ๆ ไมแ่ ตกต่างกนั 1.5.3 การศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม แตกต่างกัน จะมีระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกต่างกัน ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ (1) เคยสง่ อเี มลก่อกวนหรือโฆษณาขายสินค้าไปยงั ผู้ใชอ้ ีเมลอืน่ ๆ ท่ีไม่ไดต้ อ้ งการ (P-Value= 0.02) (2) เคยโพสตห์ รือเผยแพร่ภาพลามกอนาจารทางเว็บไซต์หรือช่องทางท่ีผอู้ นื่ สามารถเข้าไปดูได้ (P-Value=0.00) โดยระดับพฤตกิ รรมในการใช้ส่ือสงั คมออนไลน์ตามพระราชบญั ญัตวิ ่าด้วยการกระทำความ ผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 ในประเดน็ อ่นื ๆ ไมแ่ ตกต่างกนั 1.5.4 อาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม แตกต่างกัน จะมีระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตาม พระราชบัญญัตวิ ่าดว้ ยการกระทำความผดิ เกีย่ วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกตา่ งกนั ทร่ี ะดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ (1) เคยเผยแพร่ข้อมูลปลอมทุจริตหลอกลวง (P-Value=0.03) (2) เคยโพสต์หรือเผยแพร่ภาพลามก อนาจารทางเว็บไซต์หรือช่องทางที่ผู้อื่นสามารถเข้าไปดูได้ (P-Value=0.01) Z3) เคยส่งข้อมูลที่มี spam หรือไวรัส ให้กับผู้อืน่ โดยเจตนา (P-Value=0.03) โดยระดบั พฤติกรรมในการใชส้ ่ือสังคมออนไลนต์ ามพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทำความ ผิดเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร(์ ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็นอ่นื ๆ ไม่แตกตา่ งกัน 1.6 การวิเคราะห์ค่าทีและความแปรปรวนทางเดียวในการเปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะทาง ประชากร ต่อระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 1.6.1 เพศของผู้ตอบแบบสอบถามแตกต่างกันจะมีระดับความสอดคล้องกบั ความเข้าใจในสาระสำคัญ ของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกต่างกัน ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ (1) เคยนำรปู ภาพหรอื คลิปวดิ ีโอสว่ นตวั ของบุคคลอนื่ มาเผยแพร่ แตกต่างกัน (P-Value=0.01) (2) เคยตดั ต่อหรอื นำภาพไปเผยแพร่ให้บคุ คลอนื่ เสียหาย แตกตา่ งกัน (P-Value=0.01) (3) เคยโพสต์ กดไลค์ หรือ กด แชร์ข้อความที่มีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคล (P-Value=0.02) (4) เคย 161

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เผยแพร่ข่าวสารเท็จทำให้ผูอ้ ่ืนตื่นตระหนก (P-Value=0.02) โดยระดับความสอดคล้องกบั ความเข้าใจในสาระสำคัญ ของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็นอื่น ๆ ไม่ แตกต่างกัน 1.6.3 การศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถามแตกต่างกันจะมีระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจใน สาระสำคัญของพระราชบัญญัติวา่ ดว้ ยการกระทำความผดิ เกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 แตกตา่ งกนั ที่ ระดับนยั สำคญั 0.05 ได้แก่ (1) เคยเผยแพรข่ อ้ มลู ปลอมทุจริตหลอกลวง (P-Value=0.00) (2) เคยเผยแพรร่ หัสผ่านใน การเข้าเฟซบุ๊กของเพื่อนให้กับผู้อื่นรับทราบ (P-Value=0.01) (3) เคยโพสต์หรือเผยแพร่ภาพลามกอนาจารทาง เวบ็ ไซตห์ รือช่องทางที่ผู้อ่ืนสามารถเข้าไปดูได้ (P-Value=0.01) (4) เคยส่งข้อมลู ท่ีมี spam หรือไวรัสให้กับผู้อ่ืนโดย เจตนา (P-Value=0.01) (5) เคยนำรปู ภาพ หรือ คลปิ วิดีโอสว่ นตัวของบุคคลอ่ืนมาเผยแพร่ (P-Value=0.04) (6) เคย ตัดต่อหรือนำภาพไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่นเสียหาย (P-Value=0.00) (7) เคยเข้าใช้รหัสผู้ใช้ของคนอื่นโดยไม่ได้รับ อนุญาตจากเจ้าของผใู้ ช้ (P-Value=0.00) (8) เคยโพสต์ กดไลค์ หรอื กดแชร์ข้อความทมี่ ผี ลกระทบตอ่ สังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคล (P-Value=0.00) (9) เคยเผยแพร่ข่าวสารเท็จทำให้ผู้อื่นตื่นตระหนก (P- Value=0.00) (10) เคยมีขอ้ มลู ทผ่ี ดิ กฎหมายไว้ในครอบครองและยงั ไมท่ ำลาย (P-Value=0.00) (11) เคยโพสตร์ ปู ภาพ วีดโี อหรอื ขอ้ ความทกี่ ่อให้เกิดความตน่ื ตระหนกแก่ผอู้ ่ืน (P-Value=0.00) โดยระดับความสอดคลอ้ งกับความเข้าใจใน สาระสำคญั ของพระราชบญั ญตั ิวา่ ด้วยการกระทำความ ผิดเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเดน็ อื่น ๆ ไมแ่ ตกตา่ งกัน 1.6.4 อาชีพของผ้ตู อบแบบสอบถามแตกต่างกนั จะมรี ะดับความสอดคล้องกบั ความเข้าใจในสาระสำคัญ ของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560แตกต่างกัน ที่ระดับ นัยสำคญั 0.05 ได้แก่ (1) เคยใช้คำพดู ทีไ่ ม่สภุ าพหรอื พูดในทางท่หี มน่ิ ประมาทผูอ้ นื่ (P-Value=0.00) (2) เคยเผยแพร่ ข้อมูลปลอมทุจริตหลอกลวง (P-Value=0.00) (3) เคยเผยแพร่รหัสผ่านในการเข้า เฟซบุ๊กของเพื่อนให้กับผู้อื่น รับทราบ (P-Value=0.01) (4) เคยโพสตห์ รือเผยแพรภ่ าพลามกอนาจารทางเว็บไซต์หรือช่องทางที่ผ้อู น่ื สามารถเข้าไป ดูได้ (P-Value=0.01) (5) เคยสง่ ขอ้ มลู ทีม่ ี spam หรอื ไวรสั ให้กับผ้อู ื่นโดยเจตนา (P-Value=0.01) (6) เคยนำรูปภาพ หรอื คลิปวดิ ีโอส่วนตัวของบุคคลอน่ื มาเผยแพร่ (P-Value=0.02) (7) เคยตัดตอ่ หรือนำภาพไปเผยแพร่ให้บุคคลอ่ืน เสียหาย (P-Value=0.00) (8) เคยเข้าใช้รหัสผู้ใชข้ องคนอืน่ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของผู้ใช้ (P-Value=0.00) (9) เคยโพสต์กดไลค์ หรือกดแชร์ข้อความที่มีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคล (P- Value=0.00) (10) เคยเผยแพร่ข่าวสารเท็จทำให้ผ้อู ่นื ตื่นตระหนก (P-Value=0.00) (11) เคยมีข้อมลู ท่ผี ิดกฎหมายไว้ ในครอบครองและยังไม่ทำลาย (P-Value=0.00) (12) เคยโพสต์รูปภาพวีดีโอหรือข้อความที่ก่อให้เกิดความตื่น ตระหนกแกผ่ อู้ ื่น (P-Value=0.00) โดยระดบั ความสอดคล้องกบั ความเขา้ ใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทำความ ผดิ เก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560ในประเด็นอน่ื ๆ ไม่แตกต่างกนั 1.7 การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวในการเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการเปิดรับส่ือ ออนไลน์ต่อระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 162

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 1.7.1 จำนวนชวั่ โมง (เฉล่ยี ) ในการใชง้ านสอ่ื สังคมออนไลน์ต่อวันของผตู้ อบแบบสอบถามแตกต่างกันจะ มีระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ไม่แตกตา่ งกัน ทกุ ประเด็นท่รี ะดับนยั สำคัญ 0.05 1.7.2 ช่วงเวลาทที่ ่านเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์เป็นประจำของผตู้ อบแบบสอบถามแตกต่างกันจะมีระดับ พฤตกิ รรมในการใช้สอ่ื สังคมออนไลน์ตามพระราชบญั ญตั วิ ่าดว้ ยการกระทำความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกตา่ งกนั ที่ระดบั นยั สำคัญ 0.05 ไดแ้ ก่ (1) เคยใช้คำพูดทไี่ ม่สุภาพหรือพูดในทางท่ีหมิ่นประมาทผู้อื่น (P-Value=0.00) (2) เคยเผยแพร่ข้อมูลปลอมทุจริตหลอกลวง (P-Value = 0.01) (3) เคยเผยแพร่รหัสผ่านในการเขา้ เฟซบุ๊กของเพือ่ นใหก้ บั ผู้อื่นรับทราบ (P-Value=0.00) (4) เคยส่งอีเมลก่อกวนหรอื โฆษณาขายสนิ ค้าไปยงั ผู้ใช้อีเมล อื่นๆที่ไม่ได้ต้องการ (P-Value=0.00) (5) เคยโพสต์หรือเผยแพร่ภาพลามกอนาจารทางเว็บไซต์หรือช่องทางที่ผู้อื่น สามารถเข้าไปดไู ด้ (P-Value=0.04) (6) เคยสง่ ข้อมลู ที่มี spam หรอื ไวรัสให้กบั ผอู้ ื่นโดยเจตนา (P-Value=0.00) (7) เคยตดั ต่อหรือนำภาพไปเผยแพร่ให้บุคคลอนื่ เสียหาย (P-Value=0.02) (8) เคยเขา้ ใชร้ หัสผใู้ ช้ของคนอ่ืนโดยไม่ได้รับ อนุญาตจากเจา้ ของผูใ้ ช้ (P-Value=0.02) (9) เคยโพสต์ กดไลค์ หรอื กดแชรข์ ้อความที่มผี ลกระทบตอ่ สังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคล (P-Value=0.00) (10) เคยเผยแพร่ข่าวสารเท็จทำให้ผู้อื่นตื่นตระหนก (P- Value=0.03) (11) เคยมขี ้อมลู ทผี่ ิดกฎหมายไวใ้ นครอบครองและยังไม่ทำลาย (P-Value=0.00) (12) เคยโพสตร์ ูปภาพ วีดีโอหรือข้อความที่ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ผู้อื่น (P-Value=0.01) โดยระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคม ออนไลนต์ ามพระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการกระทำความผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็น เคย นำรูปภาพ หรอื คลิปวดิ ีโอสว่ นตัวของบคุ คลอืน่ มาเผยแพร่ (P-Value=0.40) ไมแ่ ตกต่างกัน เพยี งประเดน็ เดียว 1.7.3 จุดประสงค์หลักในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้ตอบแบบสอบถามแตกต่างกันจะมีระดับ พฤติกรรมในการใช้สอื่ สงั คมออนไลน์ตามพระราชบญั ญตั วิ ่าด้วยการกระทำความผดิ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 ไม่แตกตา่ งกัน ทกุ ประเดน็ ทีร่ ะดับนยั สำคัญ 0.05 1.7.4 ประเภทชอ่ งทางการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้เป็นประจำของผตู้ อบแบบสอบถามแตกต่างกันจะมี ระดบั พฤตกิ รรมในการใชส้ อ่ื สังคมออนไลน์ตามพระราชบัญญตั วิ ่าด้วยการกระทำความผิดเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ 1) เคยเผยแพร่ข้อมูลปลอมทุจริตหลอกลวง (P-Value= 0.03) (2) เคยสง่ อีเมลก่อกวนหรอื โฆษณาขายสนิ ค้าไปยงั ผู้ใช้อเี มลอนื่ ๆ ท่ีไมไ่ ด้ต้องการ (P-Value=0.01) (3) เคยส่ง ข้อมูลที่มี spam หรือไวรัสใหก้ ับผูอ้ ื่นโดยเจตนา (P-Value=0.03) (4) เคยตัดต่อหรอื นำภาพไปเผยแพรใ่ ห้บคุ คลอน่ื เสียหาย (P-Value=0.04) (5) เคยเข้าใช้รหัสผู้ใชข้ องคนอืน่ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของผู้ใช้ (P-Value=0.02) (6) เคยโพสต์ กดไลค์ หรือกดแชร์ขอ้ ความที่มีผลกระทบตอ่ สังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงหรอื ละเมิดสิทธสิ ่วนบุคคล (P- Value=0.00) (7) เคยเผยแพรข่ ่าวสารเทจ็ ทำให้ผู้อน่ื ตน่ื ตระหนก (P-Value=0.01) (8) เคยมขี ้อมูลท่ผี ิดกฎหมายไว้ใน ครอบครองและยังไมท่ ำลาย (P-Value=0.01) (9) เคยโพสตร์ ปู ภาพวีดโี อหรือข้อความที่ก่อใหเ้ กิดความตนื่ ตระหนกแก่ ผ้อู ื่น (P--Value=0.04) โดยระดับพฤติกรรมในการใช้สอ่ื สงั คมออนไลน์ตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระทำความผิด เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็นอน่ื ๆ ไมแ่ ตกต่างกัน 163

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 1.8 วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวในการเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการเปิดรับส่ือ ออนไลน์ตอ่ ระดบั ความสอดคล้องกับระดบั ความสอดคล้องกับความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วย การกระทำความผดิ เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 1.8.1 จำนวนชั่วโมง (เฉลี่ย) ในการใช้งานส่ือสงั คมออนไลน์ตอ่ วันของผู้ตอบแบบสอบถามแตกต่างกันจะ มีระดับความสอดคล้องกบั ระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการกระทำ ความผิดเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 แตกตา่ งกนั ท่รี ะดับนยั สำคญั 0.05 ไดแ้ ก่ (1) เคยเผยแพร่ขอ้ มูล ปลอมทุจรติ หลอกลวง (P-Value=0.00) (2) เคยเผยแพร่รหัสผ่านในการเขา้ เฟซบ๊กุ ของเพ่อื นใหก้ บั ผูอ้ ืน่ รับทราบ (P- Value=0.01) (3) เคยโพสต์หรือเผยแพร่ภาพลามกอนาจารทางเว็บไซต์หรือช่องทางที่ผู้อื่นสามารถเข้าไปดูได้ (P- Value=0.01) (4) เคยส่งข้อมูลที่มี spam หรือไวรัสให้กับผู้อื่นโดยเจตนา (P-Value=0.01) (5) เคยนำรูปภาพ หรือ คลิปวิดีโอส่วนตัวของบคุ คลอนื่ มาเผยแพร่ (P-Value=0.01) (6) เคยตดั ตอ่ หรือนำภาพไปเผยแพร่ให้บคุ คลอ่ืนเสียหาย (P-Value=0.01) (7) เคยเข้าใช้รหสั ผ้ใู ช้ของคนอืน่ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของผู้ใช้ (P-Value=0.00) (8) เคยโพสต์ กดไลค์ หรือกดแชร์ข้อความที่มีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคล (P-Value= 0.00) (9) เคยเผยแพร่ข่าวสารเท็จทำให้ผู้อื่นตื่นตระหนก (P-Value=0.00) (10) เคยมีข้อมูลที่ผิดกฎหมายไว้ใน ครอบครองและยังไม่ทำลาย (P-Value=0.00) (11) เคยโพสต์รูปภาพวีดีโอหรอื ขอ้ ความทกี่ ่อให้เกดิ ความตื่นตระหนก แก่ผู้อื่น (P-Value=0.00) โดยระดับความสอดคล้องกับระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจในสาระสำคัญของ พระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยการกระทำความผิดเกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเดน็ อ่ืน ๆ ไม่แตกต่าง กัน 1.8.2 ช่วงเวลาทท่ี า่ นเปดิ รับสื่อสังคมออนไลน์เปน็ ประจำของผู้ตอบแบบสอบถามแตกตา่ งกันจะมีระดับ ความสอดคลอ้ งกับระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจในสาระสำคญั ของพระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ (1) เคยเผยแพร่ข้อมลู ปลอม ทุจริตหลอกลวง (P-Value=0.03) (2) เคยเผยแพร่รหัสผ่านในการเข้า เฟซบุ๊กของเพื่อนให้กับผู้อื่นรับทราบ (P- Value=0.00) (3) เคยโพสต์หรือเผยแพร่ภาพลามกอนาจารทางเว็บไซต์หรือช่องทางที่ผู้อื่นสามารถเข้าไปดูได้ (P- Value=0.01) (4) เคยส่งข้อมลู ท่มี ี spam หรือไวรัสใหก้ บั ผู้อื่นโดยเจตนา (P-Value=0.01) (5) เคยตัดต่อหรือนำภาพ ไปเผยแพรใ่ ห้บคุ คลอืน่ เสียหาย (P-Value=0.00) (6) เคยเข้าใช้รหัสผใู้ ช้ของคนอนื่ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าตจากเจ้าของผู้ใช้ (P-Value=0.00) (7) เคยโพสต์กดไลค์ หรือกดแชร์ขอ้ ความทีม่ ผี ลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงหรือละเมดิ สทิ ธสิ ว่ นบุคคล (P-Value=0.00) (8) เคยเผยแพรข่ า่ วสารเท็จทำให้ผ้อู นื่ ตืน่ ตระหนก (P-Value=0.00) (9) เคยมีข้อมูล ท่ผี ิดกฎหมายไวใ้ นครอบครองและยังไม่ทำลาย (P-Value=0.00) (10) เคยโพสตร์ ูปภาพวีดโี อหรอื ข้อความท่ีก่อให้เกิด ความตื่นตระหนกแก่ผู้อื่น (P-Value=0.00) โดยระดับความสอดคล้องกับระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจใน สาระสำคญั ของพระราชบัญญัติว่าดว้ ยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็นอ่ืน ไม่แตกต่างกัน 1.8.3 จุดประสงค์หลักในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้ตอบแบบสอบถามแตกต่างกันจะมีระดับความ สอดคล้องกับระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด 164

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ (1) เคยใช้คำพูดที่ไม่สุภาพ หรือพดู ในทางท่หี ม่ินประมาทผอู้ ่นื (P-Value=0.00) (2) เคยเผยแพรข่ ้อมลู ปลอมทุจรติ หลอกลวง (P-Value=0.01) (3) เคยเผยแพร่รหัสผ่านในการเข้าเฟซบุ๊กของเพื่อนให้กับผู้อื่นรับทราบ (P-Value=0.01) (4) เคยตัดต่อหรือนำภาพไป เผยแพร่ให้บุคคลอ่ืนเสียหาย (P-Value=0.04) (5) เคยเข้าใช้รหสั ผู้ใชข้ องคนอื่นโดยไม่ได้รบั อนุญาตจากเจ้าของผู้ใช้ (P-Value=0.00) (6) เคยโพสต์กดไลค์ หรือกดแชร์ข้อความทีม่ ผี ลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงหรอื ละเมิด สิทธิสว่ นบุคคล (P-Value=0.00) (7) เคยเผยแพรข่ ่าวสารเท็จทำให้ผู้อืน่ ต่ืนตระหนก (P-Value=0.01) (8) เคยมีข้อมูล ทผ่ี ดิ กฎหมายไว้ในครอบครองและยงั ไม่ทำลาย (P-Value=0.00) (9) เคยโพสต์รปู ภาพวีดโี อหรือข้อความท่ีก่อให้เกิด ความตื่นตระหนกแก่ผู้อื่น (P-Value=0.00) โดยระดับความสอดคล้องกับระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจใน สาระสำคัญของพระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็นอื่น ไมแ่ ตกต่างกัน 1.8.4 ประเภทชอ่ งทางการใช้ส่อื สังคมออนไลน์ท่ีใช้เปน็ ประจำของผู้ตอบแบบสอบถามแตกต่างกันจะมี ระดับความสอดคล้องกับระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ ความผดิ เกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 แตกตา่ งกนั ทรี่ ะดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ (1) เคยเผยแพรข่ อ้ มูล ปลอมทุจริตหลอกลวง (P-Value=0.01) (2) เคยเผยแพร่รหัสผ่านในการเข้าเฟซบุ๊กของเพื่อนให้กับผู้อื่นรับทราบ (P- Value=0.01) (3) เคยสง่ ขอ้ มูลที่มี spam หรอื ไวรสั ใหก้ ับผู้อืน่ โดยเจตนา (P-Value=0.01) (4) เคยตัดต่อหรือนำภาพ ไปเผยแพร่ใหบ้ คุ คลอื่นเสียหาย (P-Value=0.00) (5) เคยเขา้ ใชร้ หสั ผ้ใู ช้ของคนอื่นโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากเจ้าของผู้ใช้ (P-Value=0.00) (6) เคยโพสต์กดไลค์ หรือกดแชร์ขอ้ ความทีม่ ผี ลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงหรือละเมดิ สทิ ธิส่วนบุคคล (P-Value=0.00) (7) เคยเผยแพร่ข่าวสารเท็จทำให้ผู้อนื่ ตน่ื ตระหนก (P-Value=0.01) (8) เคยมีข้อมูล ทีผ่ ิดกฎหมายไว้ในครอบครองและยังไม่ทำลาย (P-Value=0.00) (9) เคยโพสตร์ ปู ภาพวีดโี อหรือข้อความที่ก่อให้เกิด ความตื่นตระหนกแก่ผู้อื่น (P-Value=0.00) โดยระดับความสอดคล้องกับระดับความสอดคล้องกับความเข้าใจใน สาระสำคญั ของพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเดน็ อ่ืน ไมแ่ ตกต่างกนั 1.9 การวเิ คราะหก์ ารถดถอยพหุคูณระดับความสอดคลอ้ งกับความเข้าใจในสาระสำคญั ของพระราชบัญญัติ ว่าดว้ ยการกระทำความผิดเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ที่พยากรณร์ ะดับพฤตกิ รรมในการใช้ส่ือสังคม ออนไลนต์ ามพระราชบญั ญัติวา่ ด้วยการกระทำความผิดเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณระดับความสอดคล้องกับความเขา้ ใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติว่า ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ที่พยากรณ์ระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ตามพระราชบญั ญัติวา่ ดว้ ยการกระทำความผดิ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 ประกอบด้วยตัว แปร 3 ประเด็น ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ได้ คือ 1) เคยใช้คำพูดที่ไม่สุภาพหรือพูดในทางที่หม่ินประมาทผู้อื่น 2) เคยสง่ อเี มลก่อกวนหรือโฆษณาขายสนิ คา้ ไปยงั ผใู้ ชอ้ ีเมลอน่ื ๆ ทไ่ี ม่ได้ต้องการ 3) เคยตดั ตอ่ หรือนำภาพไปเผยแพร่ให้ บุคคลอนื่ เสียหาย โดยสามารถร่วมกนั พยากรณ์ระดบั พฤตกิ รรมในการใช้ส่อื สงั คมออนไลนต์ ามพระราชบญั ญัติว่าด้วย การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 ไดร้ ้อยละ 11 (R Square = 0.11) ท้ังน้ี หมายความ 165

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ว่าหากผู้ตอบแบบสอบถามมีความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 เกี่ยวกับ 3 ประเด็น ดังกล่าวแล้วก็จะมีระดับพฤติกรรมกระทำผิดตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ร้อยละ 11 ซึ่งถือว่าอยู่ใน ระดับนอ้ ย สรปุ ผลการวิจัย ผลการวิจยั สรุปได้วา่ พฤติกรรมการใช้ส่อื ออนไลน์ของกลุ่มตวั อย่าง1) เคยใชค้ ำพูดที่ไม่สุภาพหรือพูดในทาง ทหี่ มิ่นประมาทผู้อืน่ 2) เคยส่งอเี มลก่อกวนหรือโฆษณาขายสนิ ค้าไปยังผู้ใช้อีเมลอน่ื ๆ ทีไ่ ม่ไดต้ อ้ งการ 3) เคยตัดต่อ หรอื นำภาพไปเผยแพรใ่ ห้บคุ คลอ่ืนเสยี หาย โดยสามารถรว่ มกนั พยากรณ์ระดับพฤติกรรมในการใช้ส่ือสังคมออนไลน์ ตามพระราชบญั ญัตวิ ่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 ในระดบั นอ้ ย อภิปรายผล จากผลการวิจัย พบว่า ด้านพฤติกรรมการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์นั้พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีจำนวน ชั่วโมง (เฉลี่ย) ในการใช้งานส่ือสังคมออนไลน์ตอ่ วัน มากที่สุด คือ มากกว่า 5 ชั่วโมงต่อวัน จำนวน 225 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 56.30 โดยจดุ ประสงค์หลักในการใชส้ ื่อสงั คมออนไลน์ มากทสี่ ดุ คอื เพื่อความบันเทิงสว่ นตัว จำนวน 177 คน คิดเป็นร้อยละ 44.30 สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (2560) (สพธอ.) หรือ ETDA กระทรวงดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม เผยผลสำรวจพฤติกรรมผู้ใชอ้ ินเทอร์เน็ตปี 2560 พบผลสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตในปี 2560 Gen Y เป็นกลุ่มที่ใช้อินเทอร์เน็ตต่อวันสูงสุด โดยในช่วงวันทำงานหรือวันเรียนหนังสือใช้ เฉลี่ยที่ 7.12 ชั่วโมงต่อวัน ขณะที่ Gen X และ Gen Z ใช้อินเทอร์เน็ตในวันทำงานและวันเรียนหนังสือ โดยเฉลี่ย เทา่ กนั ท่ี 5.48 ชั่วโมงตอ่ วัน แต่ในวันหยุด Gen Z กลบั ใชเ้ พ่ิมขึน้ เป็น 7.12 ชั่วโมงตอ่ วนั สว่ นประเภทช่องทางการใช้ สื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้เป็นประจำ มากที่สุด คือ เฟซบุ๊ก (Facebook) จำนวน 134 คน คิดเป็นร้อยละ 33.50 สอดคล้องกับข้อมูลของ Brandbuffet (2018) พบว่า คนไทยใช้เวลาเข้าอินเทอร์เน็ตต่อวันมากที่สุดในโลก และ กรุงเทพมหานครเป็นเมอื งที่มีผู้ใช้ Facebook มากสุดในโลก ในจำนวนคนใช้ Social Media มีมากถงึ 46 ล้านคน ซึ่ง Facebook ถอื เปน็ Social Media ยอดนยิ มอันดับ 1 ของคนไทย สว่ นอันดับ 2 คอื “YouTube อันดบั 3 คอื “LINE” โดยเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับงานวิจัยของ ภาณุวัฒน์ กองราช (2554) ได้การศึกษาวัยรุ่นในประเทศไทย: กรณศี ึกษา Facebook พบวา่ กลมุ่ ตวั อย่างในการศึกษาคร้ังน้ีสว่ นใหญเ่ ป็นเพศหญงิ มากกว่าเพศชาย มีอายุระหว่าง 19 – 21 ปี มี โดยที่ส่วนใหญเ่ คยใช้บริการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีใน Facebook ซึ่งประกอบไปด้วย การโต้ตอบบน กระดานสนทนา การเข้าร่วมกลุ่มต่าง ๆ การเล่นเกม การตอบคำถาม (Quiz) การแบ่งปันรูปภาพ การแบ่งปันวีดิโอ การคน้ หาเพอื่ นเก่า การสง่ ขอ้ ความ การกดไลค์ (Like) และการร่วมแสดงความคดิ เหน็ ระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 โดยรวมอยใู่ นระดบั นอ้ ยมาก เมอื่ พิจารณารายประเด็น พบวา่ ประเด็นที่มีระดับ 166

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พฤติกรรม มากที่สุด คือ เคยใช้คำพูดที่ไม่สุภาพหรือพดู ในทางที่หมิน่ ประมาทผู้อื่น ในระดับน้อย โดยมีระดบั ความ สอดคล้องกบั ความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายประเด็นพบว่า ประเด็นที่มีระดับระดบั ความสอดคล้องกบั ความเขา้ ใจ มากท่สี ุด คอื ไม่ทำการละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ผใู้ ด ไม่วา่ ขอ้ ความ เพลง รูปภาพ หรอื วดิ ีโอ ในระดบั มาก ท้ังนี้ จาก ผลการวิจัยสามารถพิจารณาได้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 โดยรวมอยู่ในระดับมาก จึงทำให้เกิดพฤติกรรมการกระทำผิดตาม พระราชบญั ญตั ิวา่ ด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 โดยรวมอยู่ในระดับน้อยมาก ซ่งึ เป็นไปตามแนวคดิ เกีย่ วกบั พฤติกรรม โดย บุญมี โททำ, เสาวลักษณ์ โกศลกติ ติอมั พร และสญั ญา เคณาภมู ิ (2561) เสนอว่า พฤติกรรมหรอื การกระทำใด ๆ จะมพี ้ืนฐานมาจากความรู้และทัศนคติท่ีคอยผลกั ดนั ให้เกิดพฤติกรรมซึ่งแต่ ละคนจะมพี ฤติกรรมแตกต่างกนั ออกไป เนื่องจากได้รับความร้จู ากแหล่งตา่ ง ๆ ไมเ่ ทา่ กนั มีการตีความสารที่รับมาไป คนละทิศละทางทำให้เกิดการเรียนรู้ และการสั่งสมประสบการณ์ในเรื่องความรู้ที่ไม่เท่ากัน สอดคล้องกับ บูรฉัตร จนั ทรแ์ ดง และคณะ (2562) ไดอ้ ธบิ ายถงึ องค์ประกอบในการวัดพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ในลักษณะของขั้นตอนการเกิด พฤติกรรมอย่างเป็นกระบวนการ เมื่อบุคคลกระทำส่ิงหนึ่งสิ่งใดขึ้นมา การแสดงออกเช่นนัน้ ย่อมต้องอาศัยขัน้ ตอน ของการเกิดอยา่ งเป็นกระบวนการมาก่อนทงั้ ส้นิ และในกระบวนการเกิดพฤติกรรมนน้ั สามารถแยกเป็นกระบวนการ ย่อยได้อีกอย่างน้อย 3 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการรับรู้ (Perception process) กระบวนการรับรู้เป็น กระบวนการเบอ้ื งตน้ ที่เรม่ิ จากการที่บุคคลไดร้ ับสัมผัสหรอื รับขา่ วสารสมั ผสั จากสง่ิ เรา้ ต่าง ๆ โดยผ่านระบบประสาท สัมผัส ซึ่งรวมถึงการที่รู้สึก (Sensation) กับสิ่งเร้าที่รับสัมผัสนั้น ๆ ด้วย 2) กระบวนการคิดและเข้าใจ (Cognitive process) กระบวนการนี้อาจเรยี กได้ว่า กระบวนการทางปัญญา ซงึ่ เปน็ กระบวนการทีป่ ระกอบไปด้วยการเรียนรู้ การ คิด และการจำ ตลอดจนการนำไปใชห้ รือเกิดการพฒั นาการจากการเรียนรู้น้ัน ๆ ด้วยการรับสัมผัสการรู้สึก ท่ีนำมาสู่ การคิดและเข้าใจนี้ เป็นระบบการทำงานที่มีความละเอียดซับซ้อนมาก และเป็นกระบวนการภายในจิตใจ และ 3) กระบวนการแสดงออก (Spatial behavior process) หลังจากผ่านขั้นตอนของการรับรู้และการคิดและเข้าใจแล้ว บุคคลจะมีอารมณ์ตอบสนองตอ่ สิง่ ที่ไดร้ ับรู้นน้ั ๆ แตย่ ังมไิ ดแ้ สดงออกใหผ้ ู้อนื่ ได้รับรู้ ยังคงเปน็ พฤติกรรมท่ีอยู่ภายใน (Covert behavior) แต่เมื่อได้คิดและเลือกที่จะแสดงการตอบสนองให้บุคคลอื่นสังเกตได้จะเรียกว่า พฤติกรรม ภายนอก (Overt behavior) ซึง่ พฤตกิ รรมภายนอกน้ีเป็นเพียงส่วนหนึง่ ของพฤตกิ รรมทีม่ อี ย่ทู ั้งหมดภายในตวั บคุ คล นอกจากนี้ ผลการวจิ ัยยังพบว่า ในทางตรงกนั ข้ามเม่อื พิจารณาประเด็นที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความ สอดคลอ้ งกบั ความเขา้ ใจ นอ้ ยทสี่ ดุ คือ การกด Like ได้ ไมผ่ ดิ พ.ร.บ. ยกเวน้ การกด Like เรอ่ื งเกี่ยวกบั สถาบัน เพราะ เสี่ยงเข้าข่ายความ ผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.43, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 1.38) จึงควรมีการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็น การกด Like ได้ ไม่ผิด พ.ร.บ. ยกเว้นการกด Like เรื่องเกี่ยวกับ สถาบันเพราะเส่ียงเข้าข่ายความ ผิดมาตรา 112 หรอื มีความผิดร่วม นอกจากความเข้าใจเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ฉบับน้ีแล้ว ยังมคี วามสอดคล้องกับกฎหมายอาญา มาตรา 112 บญั ญตั ิวา่ “ผู้ใดหม่นิ ประมาท ดูหมน่ิ หรอื แสดงความอาฆาตมาด ร้ายพระมหากษัตรยิ ์ พระราชนิ ี รชั ทายาท หรือผสู้ ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคกุ ตั้งแต่สามปีถึงสิบ 167

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ห้าปี” โดยมาตรานี้บัญญัติเกี่ยวกับการหม่ินประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้าย ซึ่งการหมิ่นประมาท หมายถงึ การใส่ความผู้อน่ื ตอ่ บุคคลท่ีสาม โดยประการท่ีนา่ จะทำให้ผอู้ ่นื นน้ั เสียชื่อเสยี ง ถูดูหมิ่นหรือเกลียดชัง โดย การดูหมนิ่ นั้น ไม่ใชก่ ารหม่ินประมาท แตเ่ ปน็ การกระทำท่ีเป็นการสบประมาท ดถู กู เหยียดหยาม เชน่ ด่าด้วยถ้อยคำ หยาบคาย หรือแสดงกิริยาอาการดูถูกเหยียดหยามก็ได้ เช่น การถ่มน้ำลายรด ทั้งนี้ การดูหมิ่นนั้นไม่นำเป็นต้อง กระทำซงึ่ หนา้ หรอื ดว้ ยการโฆษณา แม้กระทำลับหลังก็เปน็ ความผิดได้ ทั้งนี้ การดูหมิ่นแม้จะกลา่ วดูหมิ่นต่อบุคคลที่ สามก็ไมอ่ าจเปน็ ความผดิ ฐานหมน่ิ ประมาทได้ เพราะการดูหม่ินไมใ่ ช่การกล่าวใส่ความอันเปน็ ลกั ษณะสำคัญของการ หมิ่นประมาท ส่วนการแสดงความอาฆาตมาดร้าย คือ การขู่เขญ็ จะทำอนั ตรายต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน หรือสิทธิ เสรีภาพ การข่เู ขญ็ จะกระทำด้วยวาจาหรอื กริ ิยาอยา่ งใดกไ็ ด้ แตต่ ้องเปน็ การข่เู ขญ็ ท่ตี นไม่มีสิทธจิ ะทำได้โดยชอบด้วย กฎหมาย (มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช, 2562) ในการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ยังพบ พระราชบัญญตั ิว่าด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็น (1) เคยใช้คำพูดที่ไม่สุภาพหรือพูดในทางที่หมิ่นประมาทผู้อื่น (2) เคยส่งอีเมล กอ่ กวนหรือโฆษณาขายสินค้าไปยงั ผใู้ ช้อเี มลอืน่ ๆ ท่ีไมไ่ ดต้ อ้ งการ (3) เคยตัดต่อหรือนำภาพไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่น เสียหาย โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์ระดับพฤติกรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ได้ร้อยละ 11 (R Square = 0.11) ทั้งนี้ หมายความว่า หากผู้ตอบแบบสอบถามมีความเข้าใจในสาระสำคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 เกี่ยวกับ 3 ประเด็น ดังกล่าวแล้วก็จะมีระดับพฤติกรรมกระทำผิดตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ร้อยละ 11 ซึ่งถือว่าอยู่ใน ระดับน้อย ดังนั้น หากมีการส่งเสริมและให้ความรู้ ตลอดจนการรณรงค์เพื่อสร้างจิตสำนึกอันดีในการกระทำท่ี เกยี่ วข้องกบั ท้งั 3 ประเด็น ก็จะส่งผลใหเ้ กดิ พฤติกรรมการกระทำความผดิ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) ลดน้อยลง โดย ศิริรัตน์ ศรีสว่าง (2558) พบว่า พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ได้รับอิทธิพลจากปัจจัยส่วน บุคคล ได้แก่ บุคลิกภาพแบบมีจิตสำนึก การรับรู้คุณค่าของข้อมูล และประสบการณ์ในอดีต รวมทั้งปัจจัยด้าน สภาพแวดล้อม ไดแ้ ก่ การคลอ้ ยตามกลุ่มอ้างองิ ความรดู้ า้ นความปลอดภัย และค่าใช้จ่ายในการป้องกัน โดยส่งผ่าน การรับรู้ต่อสภาวะคุกคามการรับรู้ความสามารถในการจัดการกับภัยคุกคามและ แรงจูงใจในการป้องกัน ตลอดจน ข้อเสนอจากงานวจิ ยั ของ พิชยตุ ม์ คณู ทอง (2550) เหน็ ว่าปัจจบุ นั ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตได้เข้า มามีบทบาทในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในแทบทุกด้าน หากปล่อยให้มีผู้กระทำความผิดต่อระบบและเครือข่าย ดังกล่าวโดยไม่มีการควบคุมที่ดีพอ ย่อมก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ เศรษฐกิจ สังคมและความมัน่ คงของชาติ รวมถงึ ความสงบสุขและศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน จงึ มคี วามจำเป็นอย่างยงิ่ ท่ีจะต้องพัฒนากฎหมายและมาตรการป้องกัน ปราบปรามผู้กระทำความผิดให้มีประสิทธิภาพและเท่าทันผู้กระทำความผิด ทั้งนี้ กฎหมายและมาตรการเหล่านั้น จะต้องมีความยืดหยุ่นในการปรับใช้กับการกระทำผิดที่จะเกิดขึ้น และต้องรักษาความสมดุลระหว่างการปกป้อง คุ้มครองสังคมกบั สิทธคิ วามเป็นส่วนตวั และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของประชาชน เพื่อให้สามารถควบคมุ ผู้กระทำความผิดต่อระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ จะต้องมี กระบวนการควบคมุ และปอ้ งกันการใช้อำนาจของเจา้ หน้าท่รี ัฐในทางมชิ อบดว้ ย 168

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ข้อเสนอแนะ 1) ควรมีการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็น (1) เคยใชค้ ำพดู ท่ไี มส่ ภุ าพหรือพูดในทางทีห่ มิน่ ประมาทผู้อืน่ (2) เคย ส่งอีเมลก่อกวนหรือโฆษณาขายสินค้าไปยังผู้ใช้อีเมลอ่ืน ๆ ที่ไม่ได้ต้องการ (3) เคยตัดต่อหรือนำภาพไปเผยแพร่ให้ บุคคลอื่นเสยี หาย 2) ควรมีการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 ในประเด็น การกด Like ได้ ไมผ่ ิด พ.ร.บ. ยกเวน้ การกดLike เรื่องเกี่ยวกับสถาบัน เพราะเสย่ี งเข้าขา่ ยความ ผิดมาตรา 112 หรือมีความผดิ ร่วม เอกสารอา้ งองิ กองบัญชาการตำรวจสันติบาล. (2563). สรุป 13 ข้อ สาระสำคัญจำง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 60. สำนักงานตำรวจ แห่งชาต.ิ แบรนด์บุฟเฟ่ต์. (2018). เปดิ พฤตกิ รรมออนไลน์ 2018 คนไทยใช้เน็ตเพมิ่ 3 เท่า Baby Boomer พีคสดุ วันละ 8-12 ชัว่ โมง. https://www.brandbuffet.in.th/2018/08/thailand-internet-user-profile- 2018/ บรุ ฉัตร จันทร์แดง, เสาวลกั ษณ์ โกศลกติ ตอิ ัมพร และ สญั ญา เคณาภมู ิ. (2562). กรอบแนวคิดการวิจยั เชงิ พฤตกิ รรมศาสตร.์ วารสารสหวิทยาการวจิ ยั : ฉบับบณั ฑติ ศกึ ษา, 8(1), 49-60. บุญมี โททำ, เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอมั พร และ สัญญา เคณาภมู ิ. (2561). การสงั เคราะห์กรอบแนวคดิ เชิงทฤษฎี พฤติกรรมเชงิ จริยธรรม. วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี, 9 (2), 105-122. พชิ ยตุ ม์ คณู ทอง. (2550). การดำเนินคดีกับผกู้ ระทำความผดิ บนอินเทอรเ์ น็ต: ศกึ ษาเฉพาะกรณตี ามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการ กระทำความผิดเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550. วิทยานพิ นธน์ ติ ิศาสตรมหาบัณฑติ . จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ภาณวุ ัฒน์ กองราช.2554. การศกึ ษาเร่อื งพฤตกิ รรมการใช้เครอื ขา่ ยสังคมออนไลนข์ องวยั รนุ่ ในประเทศไทย: กรณีศกึ ษา Facebook. สืบค้นเม่อื 7 มีนาคม 2561, http://oknation.nationtv.tv/blog/bo onyou/2014/08/21/entry-1 ภาวธุ พงษว์ ิทยภานุ. (2555). S-Commerce: อนาคตของพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์บนเครือข่ายสังคม ออนไลน์. วารสารปญั ญาภิวัฒน์, 5(1), 147–158. มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. (2562). ความผดิ เกย่ี วกับความมนั่ คงแห่งราชอาณาจกั ร. กฎหมายอาญา 2 ภาค ความผิด. นนทบรุ .ี ศริ ิรัตน์ ศรีสวา่ ง. (2558). ปัจจยั ท่สี ่งผลตอ่ พฤตกิ รรมการปอ้ งกันภยั จากอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ของผใู้ ช้ คอมพวิ เตอร์. วทิ ยานพิ นธว์ ิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต. มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ อรวรรณ วงศแ์ ก้วโพธิ์ทอง. (2553). Social Media เคร่ืองมือเพ่มิ ศักยภาพทางธุรกจิ . วารสารนกั บริหาร, 63-69. 169

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลการประเมนิ สมรรถนะการวจิ ัยทางการศกึ ษาในยุคดิจิทลั ของนกั ศึกษาระดับประกาศนียบตั ร บัณฑติ สาขาวชิ าชีพครู THE RESULTS OF THE ASSESSMENT OF EDUCATIONAL RESEARCH COMPETENCY IN THE DIGITAL ERA OF GRADUATE DIPLOMA STUDENTS TEACHER PROFESSION สิรภัทร จนั ทะมงคล คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ E-mail [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการประเมินสมรรถนะการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของ นักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู โดยประเมินจาก 2 มิติ ประกอบด้วย 1) ผลการพัฒนาด้านความรู้ และ 2) ผลการประเมินทักษะการปฏิบัติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ อาจารย์ผู้สอน และนักศึกษาระดับ ประกาศนียบตั รบณั ฑิต สาขาวชิ าชีพครู มหาวิทยาลัยราชภฎั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือ ท่ใี ช้ในการวจิ ยั ไดแ้ ก่ 1)แบบวดั สมรรถนะการวจิ ยั ทางการศึกษา เป็นแบบปรนัย หลายตวั เลือก จำนวน 30 ข้อ และ2 ) แบบบนั ทึกการตรวจผลงาน โดยมเี กณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณค่า 4 ระดับ การวเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใช้สถิติ ขัน้ พ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิตกิ ารทดสอบที ผลการวจิ ัยพบวา่ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบตั รบัณฑิต สาขาวิชาชีพครูมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการ วิจยั ทางการศึกษาในยุคดิจิทัล หลงั เขา้ ร่วมโครงการสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ทง้ั นย้ี ังมีคะแนนพัฒนาการทเ่ี พิม่ ขึ้นรอ้ ยละ 70.57 ส่วนการประเมนิ ทกั ษะการปฏิบตั กิ ารวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ในภาพรวมมีผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั ดี ซึง่ มีคะแนนเฉลย่ี เทา่ กบั 2.96 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.61 คำสำคญั : การวิจัยทางการศึกษา, ยุคดิจทิ ัล, หลักสตู รประกาศนียบัตรบณั ฑติ วิชาชีพครู ABSTRACT The objectives of this research were to the results of the assessment of educational research competency in the digital era of graduate diploma students teacher profession. The sample groups were lecture of research for learning development and students in Graduate Diploma Program in Teaching Profession of the Bansomdejchaopraya Rajabhat University. The participants were selected by simple random sampling through cluster sampling. The two research instruments consisted of multiple choice objective educational research tests , and a note form for collecting of quality 170

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี outcomes from with rating scales in 4 levels. The obtained data was be analyzed by frequency, percentage mean and standard deviation and t-test. The results of research were as follows students in Graduate Diploma Program in Teaching Profession had knowledge and understanding of educational research mean posttest score of students was significantly higher than the mean pretest score (p=.05) In addition, there was also a 70.57% progressive in scores. the students had performance assessment skills in educational research competency in the digital age (mean=2.96, S.D.=0.61) at the good level. KEYWORDS : competency, educational research, the digital age, Graduate Diploma Program in Teaching Profession บทนำ สถาบันการศึกษาที่มีภารกิจในการผลิตครู ควรพัฒนานักศึกษาสาขาวิชาชีพครู เพื่อยกระดับสมรรถนะ ผู้เรียนให้มีทกั ษะเกี่ยวกบั การวิจัยเพื่อพฒั นาการจัดการเรียนการสอน ทั้งนี้ยังสอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการ อดุ มศกึ ษา และการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทีเ่ ข้าสู่ยุคการศึกษาไทยแลนด์ 4.0 ทเ่ี น้นการพฒั นาประเทศให้เกิด การยกระดับคุณภาพบัณฑิต ดังนั้นสถาบันอุดมศึกษาซึ่งเป็นแหล่งจัดการศึกษา และพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ี สำคัญ จงึ มุง่ ผลติ นสิ ติ นักศึกษาให้เปน็ บัณฑิตทม่ี ีความรู้ ความสามารถ และความเชีย่ วชาญทกั ษะด้านต่าง ๆ รวมไป ถึงการวิจยั นำไปสู่การสรา้ งความมงั่ ค่งั ม่นั คง และย่ังยืนดว้ ยนวัตกรรมให้กบั ประเทศ การจดั การศึกษาในระดบั ประกาศนยี บตั รบัณฑิต สาขาวิชาชพี ครู มีนักศกึ ษาท่ปี ระกอบอาชพี ท่ีมคี วาม หลากหลาย ท้ังทเ่ี ป็นครผู ู้สอนอยู่แลว้ และเป็นผู้ทสี่ ำเร็จการศกึ ษาจากสาขาวิชาชีพอืน่ ๆ แต่มีความต้องการท่ี จะประกอบวิชาชีพครู จึงเข้าศึกษาเพื่อต้องการเข้าสู่กระบวนการดำเนินการทดสอบเพื่อขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชพี ครู (คุรุสภา, 2563) โดยกระบวนการจัดการศกึ ษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพนัน้ ขึ้นอยูก่ บั หลายปัจจัย ทัง้ นักศึกษาเอง และกระบวนการจดั การศึกษา ซึ่งกระบวนการในการจดั การศกึ ษาท่ีสำคัญอีกประการหนึ่งคือ กระบวนการวัดและประเมินผลการศึกษา ซึ่งต้องอาศัยเครื่องมือที่มีคุณภาพมาใช้ในการวัดและประเมินผล การศกึ ษา โดยหลักสตู รประกาศนียบัตรบณั ฑิต สาขาวชิ าชีพครู มีโครงสรา้ งหลักสูตร ประกอบดว้ ย หมวดวิชา แกนตามมาตรฐานวชิ าชีพครู หมวดวิชาการฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู และหมวดวชิ าเลอื ก ลว้ นใหค้ วามสำคัญ ตอ่ การผลติ บัณฑติ ท่มี ีความรู้ และทักษะดา้ นวชิ าครู รวมถงึ สามารถประยุกต์ใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ และมีเจต คติที่ดีต่อวิชาชีพครู นอกจากนั้นยังให้ความสำคัญกับการพัฒนาครู เช่น 1) การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 2) จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาให้ คำปรกึ ษาในการวิเคราะห์ และพฒั นาผู้เรียนตามศักยภาพการจดั การเรยี นรู้ 3) หลกั สตู ร ศาสตร์การสอน และ เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ 4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา และ พัฒนาผู้เรียน และ5) การออกแบบ และดำเนนิ การเกีย่ วกบั ประกนั คุณภาพการศกึ ษา (ครุ สุ ภา, 2563) ซงึ่ การ วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เป็นหนึ่งในมาตรฐาน/สมรรถนะ/ผลลัพธ์การเรียนรู้ของวิชาชีพครู ซึ่งให้บัณฑิตมี 171

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ความรอบรู้ และเข้าใจในเรื่องการวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ นอกจากน้ัน ยังใหค้ วามสำคญั กบั การนำผลการวจิ ัยไปใช้ จากที่มาและความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาผลการประเมินสมรรถนะ การวจิ ัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษาหลกั สูตรประกาศนยี บัตรบัณฑิต สาขาวชิ าชีพครู ซึ่งผลการวิจัยจะ เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ที่ต้องเข้าสู่กระบวนการดำเนินการ ทดสอบเพอื่ ขอรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครู จะไดม้ กี ารเตรียมความพร้อมในด้านการวิจยั ทางการศกึ ษา หรอื วิจัย เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นครูมืออาชีพ ทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมให้นักศกึ ษาครูมี ความพร้อมทัง้ ดา้ นความรู้ ทักษะการปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับการวิจัยทางการศกึ ษา สามารถดำเนินการวิจยั เพ่ือพัฒนาผู้เรียน ใหม้ ีคุณภาพ และจดั การเรยี นการสอนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป .วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย เพื่อศึกษาผลการประเมินสมรรถนะการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจทิ ัล ของนักศึกษาระดับประกาศนยี บัตร บณั ฑิต สาขาวชิ าชพี ครู โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ ดงั น้ี 1) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะด้านความรู้ ความเข้าใจการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษา หลกั สตู รประกาศนยี บัตรบัณฑิต สาขาวชิ าชพี ครู กอ่ น และหลงั การเขา้ ร่วมโครงการ 2) เพื่อศึกษาสมรรถนะด้านทักษะการปฏิบัติการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัลของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนยี บตั รบัณฑติ สาขาวชิ าชีพครู สมมตฐิ านการวิจยั นกั ศึกษาหลักสตู รประกาศนียบตั รบณั ฑิต สาขาวชิ าชีพครู ท่เี ขา้ ร่วมโครงการ มคี วามรู้ ความเข้าใจการวิจัย ทางการศึกษาในยคุ ดจิ ิทัล หลงั เขา้ รว่ มโครงการสงู กวา่ กอ่ นเข้าร่วมโครงการ อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 แนวคิดและทฤษฎที ่ีเก่ียวขอ้ ง ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะการวิจัยทางการศึกษา ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชพี ครู มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพือ่ ใหไ้ ด้กรอบการพฒั นาสมรรถนะการวิจัยทางการศึกษาโดยมุ่งเน้นจาก 7 กิจกรรม ดังนี้ 1)การกำหนดปัญหา 2)การวิเคราะห์ปัญหา 3)การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 4)การวางแผนการ ดำเนินการวิจัย 5)การวิเคราะห์ความเชื่อมโยงการวิจัย 6)การประเมินโครงร่างการวิจัย และ 7)การประเมินการนำ เสนอ (สำนักงานคณะกรรมการการวจิ ัยแห่งชาต,ิ 2552; นิภา ศรไี ฟโรจน์, 2552; สิรภทั ร จนั ทะมงคล, สำราญ มแี จ้ง และน้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์, 2562; The Partnership for 21st Century Skills: P21, 2015; Meerah and Arsad, 2010; Costley, C., Elliott, G., Gibbs, P.,2010) ดงั ปรากฏในภาพท่ี 1 172

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี พฒั นาสมรรถนะการวจิ ัยทางการศึกษา ผลการประเมินสมรรถนะการวิจยั 7 ทางการศกึ ษาในยคุ ดิจิทัล ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัย วิธีดำเนนิ การวจิ ยั การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงทดลอง ตามแบบแผนการวิจัยแบบ (One Group Pretest Posttest Design) ซงึ่ ผวู้ ิจัยดำเนินการทดลองจัดกจิ กรรม และเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี กลุ่มตัวอย่างทใ่ี ชใ้ นการวิจยั ครง้ั น้ี ประกอบดว้ ย อาจารยผ์ ู้สอนวชิ าวิจยั เพ่อื พัฒนาการเรียนรู้ สาขาวิชาชีพ ครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา จำนวน 2 คน และนักศกึ ษาหลกั สูตรประกาศนียบัตร บัณฑิต สาขาวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 30 คน จำนวน 1 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุม่ (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเปน็ หน่วยสุม่ ซึ่งกลุ่มตัวอย่าง มคี วามสมคั รใจเข้ารว่ มโครงการวิจัย การพิทกั ษส์ ิทธ์กิ ลมุ่ ตวั อย่าง การศึกษาครงั้ น้ี โครงการวจิ ัยได้ผ่านการรบั รองจริยธรรมวจิ ยั ในมนุษย์ของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ เมื่อเดือนตุลาคม 2563 ก่อนทำการทดลองผู้วิจัยได้พิทักษส์ ิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง/ผู้ให้ขอ้ มลู โดยอธิบายให้ ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีการวิจัย และชี้แจงให้ทราบว่าการเข้าร่วมการวิจัยเป็นไปตามความสมัครใจ สามารถถอนตัวจากการวิจัยไดต้ ลอดระยะเวลาของการวิจยั และขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการศึกษาคร้ังน้จี ะนำเสนอในภาพรวม และไมร่ ะบุช่ือผู้ให้ขอ้ มลู จากน้นั จะทำการลบขอ้ มลู และทำลายเอกสารหลังสิน้ สดุ การดำเนินการวิจัยทนั ที เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจยั 1. แบบทดสอบวัดสมรรถนะการวิจัยฯ ผู้วิจัยสร้างขึ้นสำหรับใช้ในการวัดสมรรถนะการวิจัยฯนกั ศึกษา มี ลักษณะเป็นแบบทดสอบปรนัย 5 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ เวลาในการทดสอบ 20 นาที มีลักษณะการให้คะแนน ตอบถูกได้ 1 ตอบผิดได้ 0 คะแนน เครื่องมือวิจัยได้ผ่านการตรวจพิจารณาความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบ พบว่าผลการวิเคราะห์ความตรงตามเนื้อหา (content validity) มคี า่ ตั้งแต่ 0.67 - 1.00 แบบทดสอบวัดสมรรถนะมคี ่าอำนาจจำแนกของขอ้ คำถามรายข้อท่ีสามารถจำแนก 173

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ระหว่างคนที่ไดค้ ะแนนสูง กับคนที่ได้คะแนนต่ำทุกข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกทุกข้อซึ่งมีคา่ ตั้งแต่0 .35 - 0.69 ค่า ความยากมคี า่ ต้งั แต่ 0.32 - 0.80 และวเิ คราะหค์ า่ ความเท่ียง (KR-20) มคี ่าเท่ากบั 0.81 2. แบบบนั ทกึ การตรวจผลงาน ผวู้ จิ ัยสร้างขน้ึ สำหรับใชใ้ นการประเมินสมรรถนะโดยการวเิ คราะหจ์ ากผลงาน ของนักศึกษา เป็นแบบมาตรประมาณค่า 4 ระดับ เครื่องมือวิจัยได้ผ่านการตรวจพิจารณาความตรงตามเนื้อหาโดย ผู้ทรงคุณวฒุ ิ จำนวน 3 คน ผลการวเิ คราะห์ความตรงตามเนอ้ื หา (content validity) มคี า่ ต้ังแต่ 0.67 - 1.00 และมี ค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งผู้ประเมิน (Rater Agreement Index) เท่ากับ 0.78 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งทางออนไลน์ และด้วยตนเอง รวมถึงติดต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ ระหว่าง มหาวิทยาลัยในการอำนวยสะดวกในการเก็บข้อมูล จึงมีความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูล และเข้าถึงข้อมูล วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แบ่งเปน็ 3 ส่วน ประกอบด้วย การทดสอบ การตรวจผลงาน และการปฏิบัตงิ าน ซ่งึ มจี ำนวน 5 กิจกรรม ได้แก่1 )การกำหนดปัญหา 2)การวเิ คราะห์ปญั หา 3)การทบทวนวรรณกรรมที่เกย่ี วขอ้ ง 4)การวางแผนการ ดำเนนิ การวิจัย และ5)การวิเคราะห์ความเช่อื มโยงการวิจยั และสว่ นการประเมินการปฏิบตั ิงาน มีจำนวน 2 กจิ กรรม ไดแ้ ก่ การประเมินโครงรา่ งการวิจยั และการประเมินการนำเสนอ รวมทัง้ ส้ินจำนวน 24 ชัว่ โมง การวิเคราะห์ขอ้ มลู ผู้วิจัยดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล สมรรถนะการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล สำหรับนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ สาขาวชิ าชีพครู สรปุ ไดด้ งั นี้ 1. วิเคราะห์สมรรถนะด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑติ สาขาวิชาชีพครู จากการทดสอบ โดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปทางสถติ ิท่ใี ช้ในการวจิ ัย คอื คา่ ความถี่ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และสถติ ิทใ่ี ช้ในการทดสอบสมมตฐิ านการวิจยั คือ dependent sample t-test ซึ่งการทดสอบสมมติฐานนั้น ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะหผ์ ลคะแนนทั้งก่อน และหลังจากเข้าร่วมโครงการ โดย ทดสอบการแจกแจงคะแนนด้วยสถติ ิ Shapiro-Wilk test พบวา่ คะแนนกอ่ นเขา้ รว่ มโครงการมีค่าสถิตเิ ท่ากบั .99 ค่า p- value เท่ากบั .38 และส่วนคะแนนหลังเข้าร่วมโครงการมคี ่าสถติ ิ เท่ากบั .93 คา่ p-value เท่ากบั .09 ซึ่งคะแนนก่อน และหลังเข้าร่วมโครงการมีการแจกแจงแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05 จึงทำการเปรียบเทียบคะแนน เฉล่ียก่อน และหลงั เขา้ รว่ มโครงการด้วยสถิติทดสอบที (Pair Samples t-test) 2. วิเคราะห์สมรรถนะด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู จากการตรวจผลงาน และวิเคราะห์สมรรถนะด้านทักษะการ ปฏิบัติการวิจัยการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู จากการตรวจผลงาน โดยใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ คา่ ความถ่ี ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ซ่ึงกำหนดเกณฑ์การแปลความหมายคะแนนเฉล่ีย ในแต่ละระดบั ดงั นี้ คะแนนเฉลย่ี ตง้ั แต่ 3.20 - 4.00 หมายถงึ ความรู้ ความเขา้ ใจ /ทักษะการปฏบิ ตั ิ การวจิ ยั ทางการศึกษาในยคุ ดจิ ิทัลอยู่ในระดบั ดเี ย่ยี ม คะแนนเฉลย่ี ตง้ั แต่ 2.80 – 3.19 หมายถึงความรู้ ความเข้าใจ /ทักษะการปฏบิ ตั ิ การวจิ ยั ทางการศกึ ษาในยุคดิจทิ ัลอยู่ในระดบั ดี 174

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี คะแนนเฉลย่ี ตั้งแต่ 2.40 –2 .79 หมายถงึ ความรู้ ความเขา้ ใจ /ทกั ษะการปฏิบตั ิ การวจิ ยั ทางการศึกษาในยุคดจิ ทิ ัลอยู่ในระดับพอใช้ คะแนนเฉล่ยี ต้ังแต่ 1.00 – 2.39 หมายถงึ ความรู้ ความเขา้ ใจ /ทักษะการปฏิบตั ิ การวจิ ัยทางการศกึ ษาในยคุ ดจิ ิทัลอยใู่ นระดบั ควรปรับปรงุ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 1. ผลการประเมินสมรรถนะการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล สำหรับนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร บณั ฑิต สาขาวิชาชีพครู 1) ผลการประเมินพัฒนาการด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนยี บตั รบัณฑติ สาขาวิชาชพี ครู จากการทดสอบ ตารางที่ 1 การเปรียบเทยี บคะแนนความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การวจิ ยั ทางการศกึ ษาในยุคดิจิทัล ก่อน และหลังเขา้ รว่ มโครงการ ของนักศกึ ษาหลกั สูตรประกาศนยี บัตรบัณฑติ สาขาวิชาชีพครู จากการทดสอบ การทดสอบ tp ก่อนเขา้ รว่ ม 9.27 4.78 16.62 2.65 52.69 0.00 หลังเข้ารว่ ม 25.89 3.08 โครงการ จากตารางที่1 พบว่า การเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อน และหลังเข้ารว่ มโครงการ พบว่าคะแนนความรู้ ความ เข้าใจเกีย่ วกับการวิจัยทางการศึกษา ของนกั ศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑติ สาขาวิชาชพี ครู จากการทดสอบ หลังเข้า ร่วมโครงการ สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 25.89 และ 9. 27ตามลำดับ โดยมีค่า t เท่ากับ 52.69 อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบรอ้ ยละพฒั นาการดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การวจิ ัยทางการศึกษาในยุคดิจิทลั ของ นกั ศึกษาหลกั สตู รประกาศนียบตั รบณั ฑิต สาขาวชิ าชีพครู จากการทดสอบ คะแนนพฒั นาการดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจจากการทดสอบ (n=30) คะแนน คะแนนพัฒนาการ รอ้ ยละของคะแนน ความหมายของ ระดบั พัฒนาการ กอ่ นเขา้ ร่วมโครงการ หลงั เขา้ ร่วมโครงการ พัฒนาการ ดี (30คะแนน) (30คะแนน) คะแนนเฉล่ยี 9.27 25.89 0.70 70.57 ส่วนเบยี่ งเบน 3.08 4.78 มาตรฐาน 32.90 86.30 รอ้ ยละ จากตาราง 2 สรุปได้ว่า นักศึกษาที่เข้ารับการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล มี พัฒนาการด้านความรู้ พบว่า ในภาพรวมขอนักศึกษาหลักสตู รประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู ที่เข้ารับการ พัฒนาสมรรถนะ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาที่เพิ่มขึ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลังเข้าร่วม 175

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี โครงการเท่ากับ 25.89 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 86.30 ซึง่ เพ่มิ ข้ึนจากคะแนนเฉล่ียก่อนเข้าร่วมโครงการ ซงึ่ มีคา่ เท่ากับ 9.27 คิดเปน็ รอ้ ยละ 32.90 โดยคะแนนทเ่ี พม่ิ ขึ้นดงั กล่าวคดิ เปน็ รอ้ ยละ 70.57 2) ผลการประเมินด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบณั ฑิต สาขาวชิ าชีพครู จากการตรวจผลงาน ตารางท่ี 3 ผลการประเมินด้านความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การวิจัยทางการศึกษาในยุคดจิ ิทัล ของนกั ศกึ ษาหลกั สูตร ประกาศนยี บัตรบณั ฑิต สาขาวชิ าชีพครู จากการตรวจผลงาน คะแนนผลการประเมินความรูค้ วามเข้าใจ จากการตรวจผลงาน (n=30) กจิ กรรมท่ี 1 กจิ กรรมท่ี 2 กจิ กรรมที่ 3 กิจกรรมท่ี 4 กจิ กรรมที่ 5 รวมคะแนนเฉลี่ย รวมคะแนน 2.81 0.58 2.85 0.55 2.94 0.31 3.30 0.60 2.60 0.55 2.85 0.57 เฉล่ีย ระดับ ดี ดี ดี ดีเย่ียม พอใช้ ดี จากตาราง 3 สรปุ ไดว้ า่ การตรวจผลงานการประเมินด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินการเรียนรู้ จากกจิ กรรมท่ี 1 ถงึ กจิ กรรมท่ี 5 ในภาพรวมนกั ศึกษาหลกั สตู รประกาศนียบตั รบัณฑิตสาขาวชิ าชีพ มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดบั ดี ซ่ึงมีคะแนนเฉล่ียเท่ากบั 2.85 และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 จากคะแนนเต็มเฉลี่ย 4.00 3) ผลการประเมินทักษะการปฏิบัติการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบตั รบัณฑติ สาขาวิชาชพี ครู จากการตรวจผลงาน ตารางที่ 4 ผลการประเมินทักษะการปฏิบัติการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ สาขาวิชาชีพครู จากการตรวจผลงาน คะแนนผลการประเมินทักษะการปฏบิ ัติ จากการตรวจผลงาน (n=30) กจิ กรรมท่ี 1 กจิ กรรมที่ 2 รวมคะแนนเฉล่ยี รวมคะแนนเฉลี่ย 2.83 0.74 2.98 0.44 2.96 0.61 ระดบั ดี ดี ดี จากตาราง 4 สรุปได้วา่ การตรวจผลงานผลการประเมินทักษะการปฏิบัติการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู จากการตรวจผลงาน พบว่า ในภาพรวมนักศึกษา หลกั สูตรประกาศนียบัตรบัณฑติ สาขาวชิ าชีพครู มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับดี ซึง่ มีคะแนนเฉลยี่ เท่ากับ 2.96 และ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.61 จากคะแนนเตม็ เฉลย่ี 4.00 สรปุ ผลการวิจยั ผลการประเมินสมรรถนะการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล สำหรับนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร บณั ฑติ สาขาวชิ าชีพครู โดยนำเสนอเปน็ 2 ประเด็น ไดแ้ ก่ 1) ผลการพฒั นาด้านความรู้ และ 2) ผลการประเมินทกั ษะ การปฏบิ ัติ 176

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 1) ผลการประเมนิ พฒั นาการด้านความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการวจิ ยั ทางการศึกษาของนักศกึ ษาหลักสูตร ประกาศนียบตั รบณั ฑติ สาขาวิชาชีพครู จากการทดสอบ 1.1 ผลการเปรียบเทียบคะแนนความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ก่อน และ หลังเข้ารว่ มโครงการ ของนักศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวชิ าชพี ครู จากการทดสอบ พบว่า นักศึกษา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบัณฑติ สาขาวิชาชพี ครู มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการวจิ ัยทางการศกึ ษาในยุคดิจิทัล ท้ัง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการเท่ากับ 9.27 และ 25.89 คะแนน ตามลำดับ จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน เม่ือ เปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อน และหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่าคะแนนความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทาง การศึกษาหลังเขา้ ร่วมโครงการของนักศึกษาสูงกว่ากอ่ นเขา้ ร่วมโครงการอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 1.2 ผลการเปรียบเทียบร้อยละพัฒนาการด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู จากการทดสอบพบว่า ในภาพรวมของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชพี ครู ที่เข้ารับการประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการวิจยั ทางการศึกษาเพิ่มขึ้น โดย มคี ะแนนเฉล่ียหลังเข้าร่วมโครงการเท่ากับ 25.89 คดิ เป็นร้อยละ 86.30 ซง่ึ เพมิ่ ขน้ึ จากคะแนนเฉลี่ยก่อนเข้าร่วมโครงการ ซง่ึ มคี า่ เท่ากบั 9.2 7คิดเป็นรอ้ ยละ 32.90 โดยคะแนนทเี่ พมิ่ ขึ้นดงั กล่าวคิดเป็นร้อยละ 70.57 1.3 ผลการประเมินด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู จากการตรวจผลงาน พบว่า การตรวจผลงานการประเมินด้าน ความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั การประเมินการเรียนรู้จากกิจกรรมท่ี 1 ถงึ กจิ กรรมท่ี 5 ได้แก่ 1)การกำหนดปัญหา 2)การ วิเคราะห์ปัญหา 3)การทบทวนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้อง 4)การวางแผนการดำเนินการวิจัย และ5)การวิเคราะห์ความ เชอ่ื มโยงการวจิ ยั ในภาพรวมนกั ศึกษาหลักสตู รประกาศนยี บัตรบณั ฑิต สาขาวชิ าชพี ครู มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดับ ดี ซ่งึ มีคะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 2.85 และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.57 จากคะแนนเตม็ เฉลีย่ 4.00 2. ผลการประเมินทักษะการปฏิบัติการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล สำหรับนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรบณั ฑิต สาขาวิชาชีพครู โดยใช้การประเมินการปฏิบัติ และการนำเสนอโครงร่างการวิจัย พบว่า ใน ภาพรวมนักศกึ ษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวชิ าชพี ครู มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี ซึ่งมีคะแนนเฉล่ีย เทา่ กับ 2.96 และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.61 จากคะแนนเตม็ เฉลยี่ 4.00 อภปิ รายผล ผลการพัฒนาสมรรถนะการวจิ ัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล สำหรบั นักศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู พบว่านักศึกษาที่เข้ารับการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล มีพัฒนาการด้าน ความรู้ พบวา่ ในภาพรวมของนกั ศกึ ษาหลักสตู รประกาศนียบัตรบณั ฑิตสาขาวิชาชพี ครู ท่เี ข้ารับการพัฒนาสมรรถนะ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาเพิ่มขึ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลังเข้าร่วมโครงการเท่ากับ 25.89 คิดเป็นร้อยละ 86.30 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากคะแนนเฉลี่ยก่อนเข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีค่าเท่ากับ 9.27 คิดเป็นร้อยละ 32.90 โดยคะแนนที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 80.17 ส่วนผลการปฏิบัติการวิจัยปฏิบัติในชั้นเรียนของนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ทัง้ นีเ้ น่ืองจากการวิจัยในคร้ังนี้ ได้มกี ารทดสอบประเมินสมรรถนะ ของนักศึกษา นอกจากนน้ั ยงั ให้นกั ศึกษาฝกึ ปฏิบัติ โดยการมอบหมายให้ทำงานอย่างหลากหลาย เชน่ การวิเคราะห์ 177

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรยี น การออกแบบการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน พัฒนาผู้เรียน การสืบค้นข้อมลู รวมถงึ การสรปุ องค์ความรู้ และสงั เคราะห์องคค์ วามรู้ เป็นตน้ ซง่ึ การพัฒนาสมรรถนะการวิจัย เปน็ การบูรณาการให้ เกิด การเรียนรู้ และประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีจัดขึ้นในชั้นเรียน สอดคล้องกับแนวคิดของ Paulson (2001) ได้แบ่ง ทักษะ การทำงานของนักวิจัยในศตวรรษที่ 21 ออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านทัศนคติและลักษณะส่วนบุคคล (attitudes and personal characteristics) คอื คณุ ลักษณะนิสยั สว่ นบุคคล ท้งั ในด้านความรู้สกึ นึกคิด และลักษณะ นสิ ัย 2) ดา้ นทักษะที่จำเปน็ (essential skills) คอื ความรู้ความสามารถที่นักวิจัยควรมี 3) ด้านทักษะการประยุกต์ใช้ (integrative-applied skills) คือความสามารถในการนำความรู้ที่มีอยู่ไปใช้ในการดำเนินงาน หรือแก้ปัญหาต่าง ๆ และ 4) ด้านทักษะพิเศษ (premium skills) คือความรู้ความสามารถในด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานวิจัย สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงการศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่ง ส่งเสริมให้ผู้มีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทำงาน รว่ มกบั ผ้อู ืน่ และสามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อื่นในสงั คมโลกไดอ้ ย่างสันติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) ส่วนการประเมินด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรบณั ฑิต สาขาวิชาชีพครู จากการตรวจผลงาน พบว่า ในภาพรวมนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร บัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.85 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.57 จากคะแนนเต็มเฉลย่ี 4.00 และการประเมินทักษะการปฏบิ ัตกิ ารวิจยั ทางการศึกษาในยุคดิจทิ ัล สำหรับ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู โดยใช้การประเมินการปฏบิ ัติ และการนำเสนอโครงร่าง การวิจัย พบว่า ในภาพรวมนักศึกษาหลักสตู รประกาศนียบตั รบณั ฑติ สาขาวชิ าชพี ครู มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดับดี ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.96 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.61 จากคะแนนเต็มเฉลี่ย 4.00 ทั้งนี้เป็นผล เนือ่ งมาจากกระบวนการพัฒนาสมรรถนะการประเมนิ การเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะการปฏิบัติงานมีการใช้เครื่องมือ และ วธิ กี ารประเมินทห่ี ลากหลายวธิ ีทีม่ ีความเหมาะสมสอดคล้องกับข้อมูลท่ีต้องการ เชน่ การประเมนิ ผลงาน การสังเกต การตรวจสอบเอกสารการสอบถามผเู้ รียน การประเมนิ การเรยี นการสอนในชน้ั เรียน รวมถงึ การประเมินตนเอง เปน็ ต้น ซึ่งเป็นการตรวจสอบสามเส้าดา้ นข้อมูล ด้านผู้วิจัย และด้านวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล และใช้เครื่องมอื ทีม่ ีคุณภาพ ทำใหผ้ ลการวิจัยมีความครบถว้ น ถูกต้อง และน่าเชื่อถือ (อรุณี ออ่ นสวสั ดิ์, 2551; รัตนะ บัวสนธ์, 2556) สอดคล้อง กับสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2553) ที่กล่าวว่าการวัดและประเมินผลที่ดีต้องดำเนินการด้วยเทคนิค วิธีการท่ีหลากหลาย เพ่ือใหส้ ามารถวัดประเมินผลได้อย่างรอบด้าน ท้ังความรู้ ความคดิ กระบวนการ พฤติกรรมและ เจตคติ ควรดำเนินการให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ลักษณะธรรมชาติของรายวิชา และระดับของผู้เข้ารับการ พัฒนา โดยอยู่บนพื้นฐานความเที่ยงตรง ยุติธรรมและเชื่อถือได้ ทั้งนี้ยังมีวิธีการวัดและประเมินที่เหมาะสม และ หลากหลายโดยวธิ ีการประเมินที่จะให้ผลดี และเหมาะสมกับสภาพการปฏิบัตงิ านในสถานศึกษาของครู นอกจากนั้น การลงพืน้ ที่เพื่อเก็บขอ้ มูลของผู้วิจัยยังเป็นทั้งแบบออนไลน์ และลงพื้นทีด่ ้วยตนเอง ซึ่งเปน็ การกระตุ้น ส่งเสริม ให้ เกิดการบูรณา การการดำเนินการวจิ ัยเข้ากบั การทำงานประจำ คือการจัดการเรียนการสอนของครู ก่อให้เกิดการ ปรับปรุงการเรียนการสอน และพัฒนาผู้เรยี น และดำเนินการอยา่ งต่อเน่ือง รวมถงึ ครูไดพ้ ยายามพัฒนานวตั กรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรม สื่อการเรียนการสอน เครื่องมือ มาใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึง สอดคล้องกบั แนวคิดสวุ มิ ล วอ่ งวาณชิ (2552) ท่ีกลา่ วว่า การทำวิจยั ของครผู ู้สอน ตอ้ งวเิ คราะห์ปญั หาท่ีเกิดขึ้นจริง 178

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในชั้นเรียน และต้องค้นหาวิธีการใหม่ ๆ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหานั้น ๆ ซึ่งสามารถดำเนินการวิจัยควบคู่ไปกับการ จดั การเรยี นการสอน ขอ้ เสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปใช้ 1. สถานศกึ ษา หรือผูม้ สี ่วนเก่ยี วข้องทางการศกึ ษา ควรนำแนวทางการประเมนิ สมรรถนะการวิจัยไปใช้ในการ ส่งเสริมพัฒนาสมรรถนะการวิจัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขา วิชาชพี ครู เพอื่ นำผลที่ได้มาปรบั ปรงุ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสม ทนั สมัย และสอดคล้องกับ ยุคดิจิทัล 2. สถานศกึ ษา หรอื ผทู้ ี่มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งควรนำเคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการประเมนิ สมรรถนะการวจิ ยั ในยุคดจิ ทิ ัล ไปใช้ ในการประเมินมาตรฐานบ่งชี้สมรรถนะการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบตั ร สาขาวชิ าชพี ครู 2. ข้อเสนอแนะในการทำวจิ ยั ครัง้ ต่อไป ควรพัฒนาคู่มอื การประเมินสมรรถนะทางการวิจยั เพื่อพฒั นาการเรียนร/ู้ เพ่อื พฒั นาการจัดการเรียนการสอน ของครู เพื่อเป็นการสร้างเครื่องมือ รวมถึงเป็นมาตรฐานในการบ่งชี้สมรรถนะการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในยุค ดจิ ิทัล ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บตั ร สาขาวชิ าชพี ครตู ่อไป กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคณุ สถาบนั วิจัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ ท่ีอนมุ ตั ิทุนอุดหนุน งบ สง่ เสรมิ งานวจิ ัยในการทำกจิ กรรมดำเนินการวจิ ัย ประจำปี 256 4 ในครั้งนี้ เอกสารอ้างองิ คุรุสภา. (2563). การรับรองประกาศนยี บตั รบัณฑิตวิชาชีพครูตามมาตรฐานวิชาชีพ ประจำปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 53 แห่ง 54 หลักสูตร. กรุงเทพมหานคร. นภิ า ศรีไพโรจน์. (2552). เอกสารประกอบคำสอนเรือ่ งความรูเ้ บื้องตน้ เกยี่ วกบั การวิจยั . กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. รัตนะ บวั สนธ์ . (2556). ปรัชญาวจิ ัย. (พิมพค์ รั้งที่ 3). สำนกั พิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . กรุงเทพฯ. ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2551). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ. ศกึ ษาธกิ าร, กระทรวง. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2552. กรุงเทพฯ. สริ ภัทร จันทะมงคล, สำราญ มีแจ้ง และนำ้ ทพิ ย์ องอาจวาณิชย.์ (2562). การวเิ คราะห์องค์ประกอบ สมรรถนะด้านการปฏบิ ตั งิ านหนา้ ท่ีเฉพาะสาขา สำหรบั ครูชา่ งอุตสาหกรรม สังกดั สำนกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาตามการรบั รูข้ องอาจารยผ์ ู้สอน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, 12(2), 41-59. สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางกระบวนการเรียนรทู้ ่ีใชใ้ นสถานศึกษา. วารสารวิชาการ 179

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน, 13, 29-33. สำนักงานคณะกรรมการการวจิ ัยแห่งชาติ. (2552). ตำราชุดฝกึ อบรมหลักสูตรนักวิจัย. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ ุมชน สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกดั . สุวมิ ล ว่องวาณิช. (2552). การวจิ ยั ปฏบิ ตั กิ ารในชนั้ เรยี น. พิมพค์ รั้งท่ี 17. กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. อรุณี ออ่ นสวสั ดิ.์ (2551). ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย. (พิมพค์ รั้งที่ 3). ภาควิชาการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. Costley, C., Elliott, G., Gibbs, P. (2010). Doing work based research: approaches to enquiry for insider- researchers. London: SAGE,2010. Meerah, S. M. and Arsad, N. M. (2010). Developing research skills at secondary school. Procedia Social and Behavioral Sciences, 9(1),512-516. Paulson, K. (2001). Using competencies to connect the workplace and postsecondary education. New Directions for Institutional Research, 110, 41-54. 180

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี รปู แบบการบริหารโรงเรยี นอย่างมีส่วนรว่ มเพ่ือเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ทางคณุ ธรรมของนกั เรียน ของโรงเรยี นเทศบาล 4รตั นวทิ ยานุสรณ์ สงั กัดเทศบาลเมอื งตาก จังหวดั ตาก Model of Participative Management for Enhance Integrity of Students of Tessaban 4 Rattanawittayanusorn School under TAK Municipality TAK Province ศุภชยั ไพโรจนพ์ ิรยิ ะกลุ 4 โรงเรียนเทศบาล บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันของการมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทาง คุณธรรมของนักเรียนโรงเรยี นเทศบาล 4 รัตนวทิ ยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมืองตาก 2) สรา้ งรปู แบบการบริหารโรงเรียนอย่างมี ส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียน 3) พัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อ เสรมิ สร้างความเขม้ แข็งทางคุณธรรมของนักเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2562 4) พฒั นารูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีสว่ นร่วมเพื่อ เสรมิ สร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนกั เรียน ปีการศกึ ษา 2563 และ 5) นำเสนอรูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วน ร่วมเพ่อื เสริมสร้างความเข้มแขง็ ทางคุณธรรมของนักเรยี น ฉบบั สมบูรณ์ กลุ่มตัวอยา่ งท่ีใช้ในการวิจัย คอื ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 93 คน ได้แก่ ครผู ู้สอน 15 คน คณะกรรมการสถานศึกษา 8 คน และเครือข่ายผู้ปกครอง 70 คน เคร่อื งมือที่ใช้ในการ วจิ ยั ได้แก่ แบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดบั ซึ่งผ่านการหาคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน ท่าน มีคา่ ความตรงเชิง 5 981. ทุกข้อ และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ 00.1 เนื้อหา เท่ากับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ รอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย และ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะห์เนื้อหา ผลการวิจยั พบว่า สภาพปจั จบุ ันของการมีส่วนร่วมเพื่อ เสริมสร้างความเข้มแขง็ ทางคุณธรรมของนกั เรยี นโรงเรียนเทศบาล 4 รตั นวิทยานสุ รณ์ สงั กดั เทศบาลเมอื งตาก ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสยี อยใู่ นระดับต่ำ-ปานกลาง ทกุ ดา้ น โดยผ้วู ิจยั ไดพ้ ฒั นารปู แบบทมี่ ีรายละเอียดเนื้อหาท่ีครอบคลุม 7 สว่ น ได้แก่ 1) ช่ือ รูปแบบ 2) หลักการของรูปแบบ 3) องค์ประกอบของรูปแบบ 4) แผนภาพของรูปแบบและ 5) ประโยชน์ของรูปแบบ โดย เพม่ิ เติม 6) ความเปน็ มาและความสำคญั ของรูปแบบ และ 7) ปจั จัยความสำเร็จ จำนวน 2 หัวข้อ ตามขอ้ เสนอแนะท่ีได้รับจาก การวิจัย ภายหลังการทดลองใช้รูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นกั เรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกดั เทศบาลเมืองตาก ฉบับทดลองใช้ เป็นเวลา 2 ปีการศึกษา กลุ่มผู้มีส่วนได้ สว่ นเสีย มีมุมมองโดยรวมว่า นักเรยี นมรี ะดับความเข้มแขง็ ทางคุณธรรม 5 ด้าน เรยี งลำดับจากมากไปน้อย ดังน้ี 1) ซื่อสัตย์ สุจรติ 2) ระเบยี บวินยั 3) พอเพียง 4) รบั ผิดชอบ และ 5) จิตสาธารณะ ตามลำดับ คำสำคญั : การมีสว่ นรว่ ม, ความเข้มแข็งทางคณุ ธรรม, โรงเรยี นเทศบาล 181

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ABSTRACT This research aimed to (1) study the current conditions of participation for enhance integrity of students of Tessaban 4 Rattanawittayanusorn School under TAK Municipality (PEIT4TAK) (2) design a model of PEIT4TAK (3) develop a model of PEIT4TAK in academic year 2019 (4) develop a model of PEIT4TAK in academic year 2020 and (5) present a model of PEIT4TAK complete edition. The samples of this research were 93 stakeholders consisted of 15 teachers, 8 committee of basic educational school and 70 parents network. The research instruments included a 5 rating scales (Index of Item- Objective Congruence=1.00 and reliability=.981). The quantitative data were analyzed by frequency, percentage, mean and standard deviation. The research results show the following findings the current conditions of PEIT4TAK of stakeholders was low to moderate level. Researcher developed a model that cover 7 parts consisted of (1) name of model (2) principle of model (3) component of model (4) diagram of model (5) benefit of model that adjunct (6) background and importance of model and (7) success factors according to the recommendations received from research after trial a model of PEIT4TAK for 2 academic years. The stakeholders had an overall that the students had 5 integrities sort in descending order were 1) honest 2) discipline 3) sufficiency 4) responsible and 5) public mind. KEYWORDS : participation, integrity, municipality school บทนำ “คุณธรรม” ถือเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปลูกฝังให้กับมนุษย์ทุกคนในสังคมในอดีตการเสริมสร้าง คณุ ธรรมถือเปน็ เร่ืองสำคญั สำหรับผคู้ นในชุมชน สงั คม และประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในสงั คมไทยที่นับว่าการ เสริมสร้างคุณธรรม เป็นหน้าที่หลักของทุกสถาบันในสังคม ทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา ตลอดจน สถาบันการศึกษา ที่ต้องร่วมมือกันปลูกฝังกล่อมเกลาเด็กและเยาวชนให้มีคุณธรรมในจิตใจจนถ่ายทอดออกมาเปน็ จริยธรรมทีพ่ ึงประสงค์ แต่ในปัจจุบันกลับพบวา่ สภาพสังคมไทยมีการเปล่ียนแปลงไปอย่างมาก ผู้คนในสังคมมกี าร เบยี่ งเบนรูปแบบของความสัมพันธ์ทแ่ี ตกต่างไปจากเดิม โดย เกษม วฒั นชัย (2559) ได้สรปุ คา่ นยิ มที่ผิดเพี้ยนไปของ สงั คมไว้ 5 ประการ ได้แก่ (1) คา่ นิยมเกรงใจคนโกง (ทรี่ ่ำรวยและมีอำนาจ) (2) คา่ นิยมอปุ ถมั ภ์คนผดิ (ที่ให้ประโยชน์ ตน) (3) คา่ นยิ มท่ีเนน้ รูปแบบแต่ละเลยคุณค่า (4) ค่านยิ มที่ฉาบฉวย มักงา่ ย และ (5) ค่านยิ มที่เกินงาม โดยค่านิยมท่ี ผดิ เพ้ยี นดงั กล่าวส่งผลให้สถาบนั ทางสงั คมซงึ่ เคยมคี วามเข้มแข็ง เปน็ ศูนย์กลางของความเช่ือม่ัน ศรัทธา และเป็นที่ ยดึ เหนี่ยวจิตใจของประชาชนก็ไมส่ ามารถทำหน้าทไี่ ดอ้ ย่างครบถว้ นสมบรู ณ์อกี ต่อไป สิ่งเหลา่ น้ีเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำ ให้เกิดปัญหาสงั คมอย่างเรอื้ รัง ประเทศไทยได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580 โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาประสิทธิภาพ การบริหารจดั การ และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยอย่างครอบคลมุ ในทกุ มิติ ซงึ่ ในยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตร์ 182

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ไดก้ ลา่ ววา่ การวางรากฐานการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ในวันนี้ เป็นปัจจยั สำคัญในการนำพาประเทศไปสู่การเป็นประเทศพฒั นาแลว้ ในอกี 20 ปี ข้างหนา้ โดยคนไทยในอนาคตต้อง เปน็ มนุษยท์ สี่ มบูรณ์ มคี วามพร้อมท้งั กาย ใจ สตปิ ญั ญา สามารถเรยี นรู้ไดต้ ลอดชวี ิต มที กั ษะในศตวรรษที่ 21 สู่การ เป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนักคิด และผู้ประกอบการ บนฐานของการรู้คุณค่าความเป็นไทย มีคุณธรรมจริยธรรม มวี นิ ยั ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม และมีสขุ ภาวะทด่ี ี การปลูกฝังคุณธรรม เป็นสิ่งที่จะต้องปลูกฝังให้กับมนุษย์ตั้งแต่วัยเด็ก เพราะในวัยเด็กเป็นช่วงเวลาท่ี สามารถเรยี นรู้ และไดร้ บั การปลูกฝงั ความคดิ ท่ีถกู ตอ้ งไดโ้ ดยงา่ ย ดงั นน้ั การเสริมสร้างและพัฒนาคุณธรรม ใหเ้ กิดข้ึน ไดใ้ นตัวของเด็กและเยาวชน นบั ไดว้ ่าเป็นเรื่องที่มีความสำคัญทจ่ี ะต้องดำเนนิ การควบคูไ่ ปกับการพัฒนาองค์ความรู้ และทักษะต่าง ๆ เนื่องจากเดก็ และเยาวชน ถือเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนประเทศ ในอดีตที่ผ่านมาประเทศ ไทยใหค้ วามสำคัญกบั การพฒั นาในด้านเศรษฐกิจมากกว่าด้านสังคม ส่งผลให้การพัฒนาประเทศขาดความสมดลุ โดย สเุ มธ ตนั ติเวชกุล (2555) ได้กล่าววา่ ผลจากความเจริญทางดา้ นวตั ถุทขี่ าดการพัฒนาทางจิตใจจะเป็นทีม่ าของปัญหา คุณธรรม จรยิ ธรรมท่ีตกต่ำลงในสังคมไทย ประกอบกับการจัดการศกึ ษาในโลกยุคตน้ ศตวรรษท่ี 21 กำลังเผชิญหน้า กบั โลกทีค่ วามเปลีย่ นแปลงกลายเป็นเร่ืองปกติ และสามารถเกดิ ข้ึนได้อย่างรวดเรว็ อันเน่อื งมาจากความก้าวหน้าของ เทคโนโลยี ส่งผลให้มีองค์ความรู้มากมายมหาศาลถูกสร้างขึ้นและหลั่งไหลไปสู่ทุกสังคมทั่วโลก เด็กและเยาวชนที่ เติบโตขึน้ มาทา่ มกลางส่ือและเทคโนโลยีจึงสามารถเขา้ ถึงข้อมลู และข่าวสารท้งั เชิงบวกและเชงิ ลบไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว การปลูกฝังให้คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อาจไม่สามารถเกดิ ขึ้นได้ หากขาดความรว่ มมือรวมพลงั จากบคุ คล หน่วยงาน และภาคสว่ นต่าง ๆ ทนี่ บั ว่าเป็นผู้ มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders) ในการจัดการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง “โรงเรียน” ซึ่งเป็นสถาบันทางสังคมที่มี บทบาทสำคัญที่สุดในการจัดการศึกษาให้แก่เด็ก และเยาวชน โดยมีเป้าหมายเพื่อการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มี คุณภาพ ซง่ึ พร้อมดว้ ยความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการดำเนินชีวิต จากความสำคัญข้างต้น สอดคล้องกับร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ (2562) ของ คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 มีความแตกตา่ งจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตฉิ บับเดิม ทั้งในดา้ นการกำหนดเป้าหมาย การ กำหนดหน้าที่และสิทธิของผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบการศึกษาที่มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจดั การศึกษาระดับโรงเรยี น นอกจากนี้ ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบบั ดังกล่าวมีแนวคิดสำคัญ ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมและสนบั สนนุ การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการจัดการศึกษาโดยเปดิ โอกาสให้ประชาชน ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม หรือผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา โดยวางกลไก การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาไว้ในหลายรูปแบบ อาทิ การรวมตัวของกลุ่มคนในรูปแบบต่าง ๆ โดยกลุ่มบุคคล เหล่านี้จะมีบทบาทในการส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ เสนอแนะ อุดหนุน หรือให้ความรว่ มมือในการจัดการศึกษา ของโรงเรยี น และหน่วยงานการศกึ ษาในจงั หวดั ข้อมูลจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2561 ได้กำหนดแนวทางการพัฒนาโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ ในอนาคตไว้ว่า ควรสร้างและพัฒนา เครือข่ายความร่วมมือของผู้ปกครอง และผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งในการจัดการศึกษาของโรงเรยี นใหม้ ีความเข้มแข็ง มีส่วน 183

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศกึ ษาและการขับเคลอ่ื นคุณภาพการจัดการศกึ ษา โดยยังคงกำหนดเป้าหมายสำคัญ ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนไว้เชน่ เดิม คือ การสร้างคนดี และคนเก่ง ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึง สอดคลอ้ งกับผลการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ครง้ั ที่ 3/2561 ของโรงเรียนเทศบาล 4 รตั นวทิ ยานุสรณ์ เมื่อ วันพฤหัสบดที ี่ 11 ตุลาคม 2561 โดยผู้เข้าร่วมประชุมมีความคิดเห็นสอดคล้องกันวา่ ในปีการศึกษา 2562 กลุ่มผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียของโรงเรียนทุกกลุ่ม ได้แก่ ครู ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า และหน่วยงานตา่ ง ๆ ในชมุ ชนควรใหก้ ารสนบั สนุน ส่งเสรมิ และผสานความร่วมมือกนั ในการพัฒนาโรงเรยี นในทุก ๆ ดา้ น เพอื่ ประโยชน์ของลูกหลาน ที่จะเติบโตขึน้ เปน็ คนดขี องชุมชน และสังคมต่อไป ดังนั้น การวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทาง คุณธรรมของนักเรียนโรงเรยี นเทศบาล 4 รัตนวิทยานสุ รณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก นอกจากจะเป็นการวางรากฐาน ของการมีสว่ นร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของพนื้ ที่ ตลอดจนเป็น ประโยชน์ในการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาแล้ว ยังเป็นการยกระดับ คณุ ภาพการจดั การศึกษาตามยุทธศาสตร์ และนโยบายของชาตใิ นการพัฒนาเดก็ และเยาวชนให้เตบิ โตเป็นทรัพยากร บคุ คลท่มี ีคณุ ภาพของประเทศต่อไป วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั การวิจัย เรื่อง รูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนกั เรียน โรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกดั เทศบาลเมืองตาก ประกอบดว้ ยวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย จำนวน 5 ขอ้ ดงั น้ี 1. เพอื่ ศกึ ษาสภาพปจั จบุ นั ของการมีสว่ นรว่ มเพอ่ื เสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียน เทศบาล 4 รตั นวทิ ยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมอื งตาก 2. เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นกั เรียนโรงเรยี นเทศบาล 4 รัตน วทิ ยานุสรณ์ สงั กัดเทศบาลเมืองตาก 3. เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นกั เรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รตั นวิทยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมืองตาก ปกี ารศึกษา 2562 4. เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นกั เรียนโรงเรยี นเทศบาล 4 รตั นวิทยานสุ รณ์ สงั กดั เทศบาลเมืองตาก ปกี ารศกึ ษา 2563 5. เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวทิ ยานสุ รณ์ สังกัดเทศบาลเมอื งตาก ฉบบั สมบรู ณ์ วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงผสม (Mixed-method) ในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพผสานกัน โดยผู้วิจัยนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล จำแนกตามขั้นตอนการวจิ ยั ออกเปน็ 6 ส่วน ดงั น้ี 1. สภาพปัจจบุ ันของการมีสว่ นร่วมเพ่ือเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4รตั นวทิ ยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมอื งตาก 184

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2. รปู แบบการบริหารโรงเรยี นอยา่ งมีสว่ นร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแขง็ ทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียน เทศบาล 4 รตั นวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ฉบับทดลองใช้ ปีการศกึ ษา2562 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นักเรียนโรงเรียนเทศบาล4 รัตนวทิ ยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมอื งตาก ปกี ารศกึ ษา2562 4. รปู แบบการบริหารโรงเรียนอยา่ งมสี ว่ นรว่ มเพือ่ เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ทางคุณธรรมของนักเรยี นโรงเรียน เทศบาล 4 รัตนวิทยานสุ รณ์ สงั กดั เทศบาลเมอื งตาก ฉบบั ทดลองใช้ ปีการศึกษา2563 5. ผลการทดลองใช้รูปแบบบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นกั เรยี นโรงเรยี นเทศบาล 4 รตั นวิทยานสุ รณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ปีการศึกษา2563 6. รูปแบบการบรหิ ารโรงเรยี นอย่างมีสว่ นรว่ มเพ่อื เสริมสรา้ งความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียน เทศบาล 4 รตั นวทิ ยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมอื งตาก ฉบับสมบรู ณ์ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 8 คน ครูผู้สอน จำนวน 15 คน และเครือขา่ ยผปู้ กครอง จำนวน 70 คน การเกบ็ รวมรวมข้อมูล ผวู้ จิ ัยดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใช้ 1) แบบสอบถาม เรื่อง สภาพปัจจุบันของ การมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัด เทศบาลเมอื งตาก ซึ่งผา่ นการหาคณุ ภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒจิ ำนวน 5 ทา่ น มีคา่ ICO=1.00 ทกุ ขอ้ และมีค่าความ เชือ่ มนั่ ของแบบสอบถามทงั้ ฉบบั เทา่ กบั .981 2) แบบบนั ทึกผลการประชมุ 3) แบบบันทึกผลการทดลองใช้รูปแบบ การบริหารโรงเรยี นอยา่ งมีสว่ นรว่ มเพ่ือเสรมิ สร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิท ยานสุ รณ์ สังกัดเทศบาลเมอื งตาก ปกี ารศึกษา 2562, 2563 และ 4) แบบประเมินผลการทดลองใชร้ ูปแบบการบริหาร โรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกดั เทศบาลเมอื งตาก การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงปริมาณ ด้วยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ความถี่ (f) ร้อยละ ค่าเฉล่ีย (X ) สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และวเิ คราะหข์ ้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการวเิ คราะหเ์ น้ือหา (Content Analysis) ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ตอนที่ 1 สภาพปัจจุบันของการมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล 4 รตั นวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมอื งตาก ตารางที่ 1 สภาพปัจจุบนั ของการมสี ว่ นร่วมเพอื่ เสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางคุณธรรมของนกั เรยี นโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ท่ี การเสรมิ สรา้ ง รูปแบบการมีสว่ นรว่ ม ระดับการมีสว่ นร่วม ความเข้มแข็งทางคณุ ธรรม ของผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี S.D. 1 การสร้างคา่ นยิ มทางคุณธรรมจรยิ ธรรมอย่างต่อเน่ือง (1) การมีสว่ นร่วมคิด X 2.37 0.73 (2) การมสี ว่ นรว่ มตัดสินใจ 2.42 0.81 (3) การมีส่วนร่วมดำเนินการ 2.46 0.84 185

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ี การเสริมสรา้ ง รูปแบบการมีส่วนร่วม ระดบั การมีส่วนรว่ ม ความเข้มแข็งทางคุณธรรม ของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย (4) การมสี ว่ นร่วมสนบั สนุน S.D. 2 การเปน็ แบบอยา่ ง (5) การมสี ่วนรว่ มรบั ผิดรบั ชอบ (6) การมสี ว่ นร่วมประเมินผล X 3 การจดั การเรยี นรู้บูรณาการคุณธรรมเข้ากับวชิ าเรียน (1) การมีส่วนรว่ มคดิ และกิจกรรม (2) การมสี ว่ นรว่ มตดั สินใจ 2.55 0.86 (3) การมีส่วนรว่ มดำเนินการ 2.47 0.78 4 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ (4) การมสี ว่ นร่วมสนับสนนุ 2.46 0.75 (5) การมสี ว่ นร่วมรบั ผิดรบั ชอบ 2.57 0.82 5 การจัดกจิ กรรมและฝึกอบรมเพอ่ื พฒั นาดา้ นคุณธรรม (6) การมสี ว่ นรว่ มประเมนิ ผล 2.58 0.87 (1) การมีส่วนรว่ มคิด 2.53 0.73 6 การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมความเข้มแข็งทางคณ (2) การมีส่วนรว่ มตดั สนิ ใจ 2.47 0.71 ธรรม (3) การมีส่วนร่วมดำเนนิ การ 2.46 0.69 (4) การมีสว่ นรว่ มสนบั สนุน 2.51 0.77 รวม (5) การมสี ่วนร่วมรบั ผดิ รับชอบ 2.45 0.71 (6) การมีส่วนร่วมประเมินผล 2.50 0.73 2.65 0.70 (1) การมสี ว่ นร่วมคิด 2.48 0.74 (2) การมีสว่ นร่วมตัดสนิ ใจ 2.52 0.75 (3) การมีส่วนร่วมดำเนนิ การ 2.58 0.68 (4) การมสี ่วนร่วมสนับสนนุ 2.61 0.66 (5) การมีส่วนร่วมรบั ผิดรบั ชอบ 2.57 0.66 (6) การมสี ่วนร่วมประเมนิ ผล 2.55 0.73 (1) การมีส่วนรว่ มคิด 2.41 0.71 (2) การมีส่วนรว่ มตัดสินใจ 2.55 0.68 (3) การมีส่วนร่วมดำเนินการ 2.57 0.78 (4) การมีส่วนร่วมสนับสนุน 2.40 0.70 (5) การมีสว่ นรว่ มรับผดิ รบั ชอบ 2.50 0.68 (6) การมสี ว่ นรว่ มประเมนิ ผล 2.43 0.74 (1) การมีส่วนร่วมคิด 2.54 0.75 (2) การมีส่วนรว่ มตดั สินใจ 2.47 0.72 (3) การมสี ่วนร่วมดำเนนิ การ 2.54 0.76 (4) การมีส่วนร่วมสนับสนนุ 2.48 0.76 (5) การมีส่วนรว่ มรบั ผดิ รบั ชอบ 2.46 0.78 (6) การมีส่วนร่วมประเมินผล 2.50 0.80 2.41 0.68 2.48 0.75 2.50 0.75 2.50 0.64 186

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากตารางที่ 1 สามารถวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของการมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นักเรียนโรงเรยี นเทศบาล 4 รัตนวิทยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมืองตาก (ภาพรวมผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสียท้งั 3 กลมุ่ ) ดงั นี้ ดา้ นการสรา้ งคา่ นิยมทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรมอย่างตอ่ เนอ่ื ง ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียมสี ว่ นร่วมสนบั สนนุ (X =2.55, S.D.=0.86) มากท่ีสดุ รองลงมา คือ มสี ่วนร่วมรับผิดรบั ชอบ (X =2.47, S.D.=0.78) สว่ นดา้ นทีม่ รี ะดับการมีส่วนร่วม นอ้ ยท่ีสุดคอื การมสี ่วนรว่ มคิด (X =2.37, S.D.=0.73) ตามลำดับ ดา้ นการเปน็ แบบอย่าง ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี มีสว่ นร่วมตัดสินใจ (X =2.58, S.D.=0.87) มากที่สุด รองลงมา คอื มสี ว่ นรว่ มคิด (X =2.57, S.D.=0.82) ส่วนด้านทม่ี รี ะดบั การมสี ว่ นร่วมนอ้ ยท่สี ดุ คอื การมีสว่ นร่วมรับผดิ รับชอบ ( X =2.46, S.D.=0.69) ตามลำดบั ด้านการจัดการเรียนรู้บูรณาการคุณธรรมเข้ากับวิชาเรียนและกิจกรรม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วม ดำเนนิ การ (X =2.65, S.D.=0.70) มากทส่ี ดุ รองลงมา คือ มีสว่ นร่วมประเมนิ ผล (X =2.58, S.D.=0.68) ส่วนด้านท่ีมี ระดับการมสี ่วนร่วมน้อยทีส่ ุดคอื การมีสว่ นร่วมคิด (X =2.45, S.D.=0.71) ตามลำดบั ด้านการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมคิด (X =2.61, S.D.=0.66) มากที่สุด รองลงมา คอื มสี ว่ นรว่ มตัดสินใจ (X =2.57, S.D.=0.66) สว่ นดา้ นทมี่ ีระดบั การมสี ว่ นร่วมน้อยที่สุดคอื การมสี ว่ นร่วม สนับสนุน (X =2.41, S.D.=0.71) ตามลำดบั ดา้ นการจดั กจิ กรรมและฝึกอบรมเพ่อื พัฒนาด้านคณุ ธรรม ผูม้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี มสี ่วนรว่ มสนับสนนุ (X =2.54, S.D.=0.75) มากทส่ี ดุ รองลงมา คอื มีสว่ นรว่ มประเมินผล (X =2.54,S.D.=0.76) ส่วนดา้ นทมี่ รี ะดบั การมีสว่ นรว่ มน้อย ท่ีสุดคอื การมีส่วนร่วมดำเนินการ (X =2.43, S.D.=0.74) ตามลำดับ ด้านการจดั สภาพแวดลอ้ มที่สง่ เสริมความเขม้ แข็งทางคุณธรรม ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี สว่ นร่วมดำเนนิ การ (X = 2.50, S.D.=0.80) มากทส่ี ดุ รองลงมา คือ มีส่วนร่วมประเมนิ ผล (X =2.50, S.D.=0.75) สว่ นดา้ นทีม่ ีระดับการมีส่วน ร่วมน้อยที่สุดคือ การมีส่วนรว่ มสนบั สนนุ (X =2.41, S.D.=0.68) ตามลำดับ ตอนที่ 2 รูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รตั นวิทยานุสรณ์ สงั กดั เทศบาลเมืองตาก ฉบับทดลองใช้ ปกี ารศกึ ษา 2562 และ ปี การศกึ ษา 2563 จากการศึกษาสภาพปัจจุบันของการมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ผู้วิจัยในฐานะผู้บริหารโรงเรียน ได้นำผลการวิจัย ขั้นตอนดังกล่าว ในการประชุมร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2561 จำนวน 8 คน และ กลุ่มเครือข่ายผู้ปกครอง จำนวน 7 คน ในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ครั้งที่ 1/2562 วันพุธที่ 22 พฤษภาคม 2562 เพ่ือสรา้ งรูปแบบการบรหิ ารโรงเรยี นอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแขง็ ทางคุณธรรมของ นักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ฉบับทดลองใช้ ปีการศึกษา 2562 ซึ่ง ประกอบด้วย 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการของรูปแบบ 3) องค์ประกอบของรูปแบบ 4) แผนภาพของรูปแบบ และ 5) ประโยชน์ของรูปแบบ 187

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ตอนที่ 3 ผลการทดลองใช้รูปแบบบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทาง คุณธรรมของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ปีการศึกษา 2562 และปี การศกึ ษา 2563 ตารางที่ 2 ระดับความเข้มแข็งทางคุณธรรม 5 ด้าน ตามความเห็นของกลุ่มผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย ระดบั ความเข้มแขง็ ทางคณุ ธรรม ความเข้มแขง็ ทางคุณธรรม ครู คณะกรรมการ ผู้ปกครอง รวม สถานศกึ ษา (1) ซ่อื สตั ยส์ ุจริต S.D. (2) พอเพียง S.D. X S.D. S.D. (3) จติ สาธารณะ X X (4) รับผดิ ชอบ X 4.63 (5) ระเบียบวนิ ัย 0.74 4.39 0.94 4.51 1.02 4.53 0.74 4.38 1.12 ภาพรวม 4.22 1.11 4.67 0.82 4.38 0.74 4.14 1.08 4.36 1.14 4.51 1.00 4.40 0.83 4.13 0.83 4.29 1.08 4.40 1.08 4.40 0.83 4.38 0.92 4.30 1.11 4.60 0.74 4.50 0.76 4.46 0.91 4.52 0.79 4.40 0.80 4.32 1.02 จากตารางที่ 2 พบว่าภายหลังการทดลองใช้รูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ฉบับทดลองใช้ ปี การศึกษา 2562 และ 2563กลมุ่ ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย มีมุมมองโดยรวมวา่ นักเรยี นมรี ะดบั ความเข้มแข็งทางคุณธรรม 5 ด้าน เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ (1) ซื่อสัตย์สุจริต (X =4.51, S.D.=1.02) (2) ระเบียบวินัย (X =4.51, S.D.=1.00) (3) พอเพียง (X =4.38, S.D.=1.12) (4) รับผิดชอบ (X =4.36 ,S.D.=1.14) และ (5) จิตสาธารณะ (X = 4.22, S.D.=1.11) ตามลำดับ ตารางที่ 3 ความพึงพอใจที่มตี อ่ รูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมสี ่วนร่วมเพื่อเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ทางคณุ ธรรม ของนักเรยี นโรงเรียนเทศบาล 4 รตั นวิทยานสุ รณ์ สงั กดั เทศบาลเมืองตาก ฉบบั ทดลองใช้ ปีการศึกษา 2562 และปี การศกึ ษา 2563 รายการ ระดบั ความพึงพอใจ (1) ช่ือรปู แบบ S.D. X 3.66 1.40 (2) ความเป็นมาและความสำคญั 3.56 1.42 (3) หลักการของรูปแบบ 3.59 1.36 (4) องคป์ ระกอบของรูปแบบ 3.60 1.39 (5) ปัจจัยความสำเร็จ 3.56 1.46 188

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี รายการ ระดับความพึงพอใจ (6) แผนภาพของรปู แบบ S.D. (7) ประโยชน์ของรปู แบบ X รวม 3.60 1.37 3.63 1.38 3.62 1.42 จากตารางท่ี 3 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี มีระดับความพึงพอใจต่อรูปแบบการบรหิ ารโรงเรียนอย่างมีสว่ นร่วมเพือ่ เสรมิ สร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรยี นโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ฉบับ ทดลองใช้ ปีการศึกษา 2562 และปีการศึกษา 2563 เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังน้ี 1) ชื่อรูปแบบ (X =3.66, S.D.=1.40) 2) ประโยชน์ของรูปแบบ (X =3.63, S.D.=1.38) 3) องค์ประกอบของรูปแบบ (X =3.60, S.D.=1.39) 4) แผนภาพของรูปแบบ (X = 3.60, S.D.=1.37) 5) หลักการของรูปแบบ (X =3.59, S.D.=1.36) 6) ความเป็นมาและ ความสำคัญ (X =3.56, S.D.=1.42 ) และ 7) ปจั จัยความสำเร็จ (X =3.56, S.D.=1.46) ตามลำดบั ตอนที่ 4 รูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นักเรียนโรงเรยี นเทศบาล 4 รตั นวิทยานสุ รณ์ สังกดั เทศบาลเมอื งตาก ฉบบั สมบรู ณ์ จากการทดลองใช้ รูปแบบการบรหิ ารโรงเรียนอย่างมีส่วนรว่ มเพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นกั เรยี นโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวทิ ยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมืองตาก ฉบบั ทดลองใช้ เป็นเวลา 2 ปกี ารศกึ ษา ผู้วิจัย ในฐานะผู้บรหิ ารโรงเรยี น ไดน้ ำผลการวจิ ยั ข้นั ตอนดังกล่าวมาปรบั ปรุงและพฒั นาสู่รปู แบบการบรหิ ารโรงเรยี นอย่างมี ส่วนร่วมเพื่อเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางคุณธรรมของนกั เรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตน วิทยานสุ รณ์ สังกัดเทศบาล เมืองตาก ฉบับสมบรู ณ์ โดยมีผลการวจิ ัย ดงั น้ี รปู แบบการบริหารโรงเรยี นอยา่ งมีส่วนรว่ มเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งทางคุณธรรม ของนักเรยี นโรงเรียนเทศบาล 4 รตั นวทิ ยานสุ รณ์ สงั กดั เทศบาลเมืองตาก ฉบับสมบูรณ์ 1. ชอื่ รูปแบบ: 2 Six 4 Five 2. ความเปน็ มาและความสำคัญของรปู แบบ การปลูกฝังคุณธรรม เป็นสิ่งท่ีจะต้องปลูกฝังให้กับมนุษย์ตั้งแต่วัยเด็ก เพราะในวัยเด็กเปน็ ชว่ งเวลาท่ีสามารถเรียนรู้ และ ไดร้ ับการปลูกฝังความคดิ ทถี่ ูกต้องได้โดยงา่ ย ดังนั้น การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาคณุ ธรรม ให้เกดิ ขึน้ ไดใ้ นตัวของเดก็ และเยาวชน นับได้ว่า เป็นเรือ่ งท่มี ีความสำคัญทีจ่ ะตอ้ งดำเนินการควบคู่ไปกับการพฒั นาองคค์ วามรแู้ ละทกั ษะต่าง ๆ เน่ืองจากเดก็ และเยาวชน ถอื เป็นหัวใจ สำคญั ของการขบั เคล่ือนประเทศ ในอดีตท่ีผ่านมาประเทศไทยใหค้ วามสำคัญกับการพัฒนาในด้านเศรษฐกจิ มากกวา่ ด้านสังคม สง่ ผลให้ การพฒั นาประเทศขาดความสมดลุ โดย สเุ มธ ตนั ติเวชกลุ (2555) ไดก้ ลา่ ววา่ ผลจากความเจรญิ ทางด้านวตั ถทุ ข่ี าดการพัฒนาทางจิตใจ จะเป็นที่มาของปัญหาคุณธรรม จริยธรรมที่ตกต่ำลงในสังคมไทย ประกอบกับการจัดการศึกษาในโลกยุคต้นศตวรรษที่ 21 กำลัง เผชิญหน้ากับโลกที่ความเปลี่ยนแปลงกลายเป็นเรื่องปกติ และสามารถเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วอันเนื่องมาจากความก้าวหน้าของ เทคโนโลยี สง่ ผลให้มอี งค์ความรูม้ ากมายมหาศาลถกู สร้างข้นึ และหลงั่ ไหลไปส่ทู ุกสังคมทวั่ โลก เด็กและเยาวชนท่เี ติบโตขึ้นมาท่ามกลาง ส่อื และเทคโนโลยีจึงสามารถเข้าถึงข้อมลู และขา่ วสารทง้ั เชิงบวกและเชงิ ลบได้อยา่ งรวดเร็ว 189

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี การปลูกฝังให้คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม มีภูมิคุม้ กันต่อการเปลี่ยนแปลงของสงั คม ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อาจไม่ สามารถเกิดขึ้นได้ หากขาดความร่วมมือรวมพลังจากบุคคล หน่วยงาน และภาคส่วนต่าง ๆ ที่นับว่าเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders) ในการจัดการศกึ ษาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง “โรงเรียน” ซึ่งเปน็ สถาบนั ทางสังคมท่มี ีบทบาทสำคัญทสี่ ุดในการจัดการศึกษา ให้แก่เด็ก และเยาวชน โดยมีเป้าหมายเพื่อการสร้างทรพั ยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ ซึ่งพร้อมด้วยความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม จริยธรรมในการดำเนนิ ชีวิต โรงเรยี นเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ เปน็ โรงเรยี นในสังกัดเทศบาลเมืองตาก ต้ังอยเู่ ลขท่ี 289/1 ถนนมหาดไทยบำรุง ตำบล ระแหง อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก ในปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ มีพนักงานครู จำนวน 25 คน จำแนก เป็น ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา จำนวน 2 คน และครปู ฏบิ ตั ิการสอน จำนวน 17 คน พนักงานจ้างสอน จำนวน 3 คน บคุ ลากรสนบั สนุนการ สอน (ผ้ชู ว่ ยเจา้ พนกั งานการเงนิ และบัญช)ี จำนวน 2 คน และลกู จา้ งประจำ (ภารโรง) จำนวน 1 คน ท่ีตั้งของโรงเรยี น อยใู่ นพน้ื ท่ขี องวัด มณบี รรพตวรวหิ าร พระอารามหลวง ส่งผลใหน้ โยบายการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนจงึ มุง่ เนน้ การสร้างคนดี และคนเก่ง ยดึ หลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นแนวทางในการบริหารโรงเรียน โดยพื้นฐานของนักเรยี นสว่ นใหญ่มาจากครอบครวั ทมี่ ีฐานะปานกลาง บางสว่ น มีเชือ้ ชาตเิ มียนมาร์ และกลมุ่ ชาติพันธ์ุ ซึ่งตดิ ตามผปู้ กครองทม่ี าประกอบอาชีพในเขตเมอื ง ขอ้ มูลจากรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2561 ได้กำหนดแนว ทางการพัฒนาโรงเรียนเทศบาล 4 รตั นวิทยานสุ รณ์ ในอนาคตไว้ว่า ควรสรา้ งและพฒั นาเครือข่ายความร่วมมือของผ้ปู กครอง และผู้มี ส่วนเก่ยี วขอ้ งในการจัดการศึกษาของโรงเรยี นให้มีความเข้มแขง็ มสี ่วนร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษาและการขับเคลอื่ นคณุ ภาพ การจัดการศึกษา โดยยังคงกำหนดเปา้ หมายสำคัญในการจัดการศึกษาของโรงเรียนไว้เช่นเดมิ คือ การสร้างคนดี และคนเก่ง ยึดหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั ผลการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ครัง้ ท่ี 3/2561 ของโรงเรยี นเทศบาล 4 รัตนวิท ยานสุ รณ์ เม่อื วนั พฤหัสบดีที่ 11 ตุลาคม 2561 โดยผเู้ ข้าร่วมประชุมมีความคิดเห็นสอดคลอ้ งกันวา่ ในปีการศึกษา 2562 กลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนสยี ของโรงเรียนทุกกลุ่ม ไดแ้ ก่ ครู ผูบ้ ริหารคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ผปู้ กครอง ศิษยเ์ กา่ และหนว่ ยงานต่าง ๆ ใน ชุมชนควรให้การสนับสนุน ส่งเสริม และผสานความรว่ มมือกัน ในการพัฒนาโรงเรียนในทุก ๆ ด้าน เพื่อประโยชนข์ องลูกหลาน ที่จะ เติบโตข้ึนเป็นคนดีของชมุ ชน และสงั คมตอ่ ไป ดงั นั้น รปู แบบการบรหิ ารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิท ยานุสรณ์ สังกดั เทศบาลเมืองตาก ฉบับนี้ มีความสำคัญยิ่งต่อการวางรากฐานของการมสี ่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา เพอื่ ตอบสนองความต้องการของพ้ืนที่ ตลอดจนเป็นประโยชนใ์ นการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาเพ่ือการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตามยทุ ธศาสตร์ และนโยบายของชาติต่อไป 3. หลักการของรูปแบบ 3 .1 หลกั การมสี ่วนรว่ ม ทใี่ หค้ วามสำคัญกับการเปดิ โอกาสใหก้ ล่มุ บคุ คล หรือผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียเข้ามามสี ่วนร่วมในการ ดำเนินงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ การมีส่วนร่วมจะทำให้ลดความขัดแย้งจากการทำงาน และบุคคลจะรู้สึกพึงพอใจใน ผลงานที่เกิดขึ้น รวมถึง มีความรู้สึกเป็นเจ้าของ และมีความมุ่งม่ันในการสร้างความสำเร็จเพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุผลสำเร็จตาม เปา้ หมายท่ีกำหนดไว้ 3 .2 หลักคุณธรรม ท่เี ชื่อว่ามนษุ ยท์ ุกคนย่อมมีความต้ังม่ันในการปฏิบัติตามหลักคุณธรรมท่ีถูกต้อง โดยยึดมั่นในส่ิงท่ี ถกู ต้องชอบธรรม ความยุติธรรม และตระหนกั ถึงประโยชนส์ ่วนรวม 4. องค์ประกอบของรปู แบบ 4 .1 รูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย 6 รปู แบบ ไดแ้ ก่ (1) การมสี ่วนรว่ มคิด (2) การมีส่วนร่วมตัดสินใจ (3) การมีสว่ นร่วมในการดำเนินการ (4) การมสี ่วนร่วมสนบั สนนุ (5) การมีส่วนรว่ มรบั ผดิ รับชอบ และ (6) การมสี ่วนร่วมประเมินผล 4 .2 การเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งทางคณุ ธรรม 6 กระบวนการ ประกอบดว้ ย(1) การสรา้ งค่านิยมทางคุณธรรมจริยธรรม อย่างต่อเน่ือง (2) การเป็นแบบอยา่ ง (3) การจัดการเรียนรบู้ ูรณาการคณุ ธรรมเข้ากับวิชาเรียนและกิจกรรม (4) การพัฒนาทักษะการ 190

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คิดวิเคราะห์ (5) การจัดกิจกรรมและฝึกอบรมเพื่อพัฒนาด้านคุณธรรม และ (6) การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมความเข้มแข็งทาง คุณธรรม 4 .3 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4กลุ่ม ประกอบด้วย (1) ครูผู้ปฏิบัติการสอน (2) ผู้บริหารโรงเรียน (3) คณะกรรมการ สถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน และ (4) เครือข่ายผู้ปกครอง 4 .4 ความเขม้ แข็งทางคุณธรรม 5 ด้าน เปา้ หมายท่ตี ้องการใหเ้ กิดข้นึ ในตัวนกั เรียน ประกอบดว้ ย (1) ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ (2) พอเพียง (3) จติ สาธารณะ (4) รับผดิ ชอบ และ (5) ระเบียบวนิ ยั 5. ปัจจัยความสำเร็จ 5 .1 ด้านบุคลากร ทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน จำเป็นต้องมีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการเสริมสร้าง คณุ ธรรมใหก้ ับเดก็ และเยาวชน และต้องสามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้ 5 .2 ด้านงบประมาณ โรงเรียน และหน่วยงานภายนอก จำเป็นต้องให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานตาม ความเหมาะสม และเป็นไปตามระเบยี บการใช้งบประมาณทีก่ ำหนดไว้ 5 .3 ด้านการบริหารจัดการ ผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องเคารพในการมีสว่ นร่วมของผู้อืน่ โดยการสร้างข้อตกลง หรือ บนั ทึกความเข้าใจก่อนการดำเนินงาน 6. แผนภาพของรปู แบบ 6 191

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 7. ประโยชนข์ องรปู แบบ 7.1 นกั เรียน โรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวัทยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมอื งตากได้รบั การพฒั นาให้เกิดความเขม้ แข็งด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมอย่างต่อเนอ่ื ง ส่งผลให้มีพฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์เพม่ิ มากข้ึน และมพี ฤติกรรมท่ไี มพ่ งึ ประสงคล์ ดนอ้ ยลง 7.2 ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ในโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวัทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก มีแนวทางการส่งเสริม และพัฒนาคุณธรรมให้กับนักเรียน จนเกิดเป็นเครือข่ายในการทำงานที่สร้างโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือนำเสนอผลการ ดำเนินงานด้านการส่งเสริมคณุ ธรรม ทีเ่ หมาะสมกับบริบทของโรงเรยี น 7.3 ผู้บริหาร ได้รับการพัฒนาภาวะผู้นำและมีแนวทางในการบริหารจัดการโรงเรียนเพื่อส่งเสริมคุณธรรม รวมไปถึงการ พัฒนาเครือข่ายทางการบริหาร เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคดิ และวิธีการปฏิบตั ิที่ประสบผลสำเรจ็ ทำให้มีเครื่องมือในการดำเนินงานด้าน คุณธรรมรว่ มกันท้งั โรงเรยี น เพอ่ื พฒั นาครู บคุ ลากรทางการศึกษา และนกั เรยี นให้มคี วามเข้มแข็งทางคุณธรรม 7.4 โรงเรยี น สามารถนำรปู แบบไปใช้ในการบรหิ ารและการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมในโรงเรียนทคี่ รอบคลุมในทุกมิติอยา่ งมีคณุ ภาพ และทั่วถงึ 7.5 ชุมชน มีโอกาสในการสนับสนุนการดำเนินงานด้านคุณธรรมของโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรม จนเกิดการขยายผลจาก โรงเรยี นไปสกู่ ารสร้างชุมชนคณุ ธรรมท่ีมคี วามเข้มแขง็ ต่อไป สรปุ ผลการวิจยั สภาพปัจจุบันของการมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรยี นเทศบาล4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอยู่ในระดับต่ำ-ปานกลาง ทุกด้าน โดยผู้วิจัยได้ พัฒนารูปแบบที่มีรายละเอียดเนื้อหาที่ครอบคลุม 7 ส่วน ได้แก่ 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการของรูปแบบ 3) องค์ประกอบของรูปแบบ 4) แผนภาพของรูปแบบและ 5) ประโยชน์ของรปู แบบ โดยเพิม่ เติม 6) ความเป็นมาและ ความสำคัญของรูปแบบ และ 7) ปัจจัยความสำเร็จ จำนวน 2 หัวข้อ ตามข้อเสนอแนะทีไ่ ด้รับจากการวิจัย ภายหลัง การทดลองใช้รูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สงั กัดเทศบาลเมอื งตาก ฉบบั ทดลองใช้ เปน็ เวลา 2 ปีการศกึ ษา กลมุ่ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย มีมุมมองโดยรวมว่า นักเรียนมีระดับความเข้มแข็งทางคุณธรรม 5 ด้าน เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ 1) ซ่ือสัตย์สุจริต 2) ระเบียบวินัย 3) พอเพยี ง 4) รับผิดชอบ และ 5) จิตสาธารณะ ตามลำดบั อภิปรายผล การอภปิ รายผลการวจิ ยั เร่ือง รปู แบบการบรหิ ารโรงเรียนอย่างมสี ่วนร่วมเพอ่ื เสริมสร้างความเข้มแข็งทาง คณุ ธรรมของนกั เรยี นโรงเรยี นเทศบาล 4 รตั นวิทยานุสรณ์ สงั กดั เทศบาลเมืองตาก ผูว้ จิ ัยไดจ้ ำแนกการอภปิ รายผล ออกเปน็ 4 สว่ นทส่ี อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ และผลการวิจยั โดยมีรายละเอยี ดเน้อื หาในแตล่ ะส่วน ดงั น้ี 1. สภาพปจั จบุ ันของการมีสว่ นร่วมเพ่ือเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางคุณธรรมของนกั เรยี นโรงเรยี นเทศบาล 4 รัตนวทิ ยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมอื งตาก อยู่ในระดบั ต่ำ - ปานกลาง จากผลการวิจัยที่พบว่าสภาพปัจจุบันของการมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก อยู่ในระดับต่ำ–ปานกลาง ในทุกประเด็นน้นั สามารถวเิ คราะหไ์ ด้ว่า อาจเกิดจากการขบั เคลื่อนงานตา่ ง ๆ ของโรงเรียนในอดตี มีลักษณะแยกส่วนออกจากกัน สง่ ผล ให้การทำงานแบบมีส่วนร่วมเป็นสิ่งทีแ่ ปลกใหม่ของโรงเรียน สอดคล้องกับพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 192

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 2542 แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ไดบ้ ัญญตั ิสาระท่เี กี่ยวกบั การมสี ่วนรว่ มของ ผ้ปู กครอง ชุมชน และองคก์ ร หน่วยงานตา่ ง ๆ ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษา และพฒั นาดา้ นการศึกษา โดยสาระสำคญั ของการมีสว่ นร่วมทางการ ศึกษาที่ระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ คือ การให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้ สถานศึกษามีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ ซึ่งจาก ความสำคญั ของการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาข้างต้น จึงสง่ ผลใหป้ ระชาชนทกุ คนจำเปน็ ตอ้ งมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ในทางปฏิบัติกลับพบว่ากระบวนการมีส่วนร่วมที่เกิดขึ้นในสถานศึกษากลับเป็น เพยี งการมีสว่ นร่วมในรปู แบบของการรับรู้เปน็ ส่วนใหญ่ แตข่ าดความเขา้ ใจในการดำเนนิ งานอยา่ งลึกซ้ึง และส่งผลให้ กระบวนการมีส่วนร่วมไมส่ ามารถเกดิ ขึ้นได้จริงในสถานศึกษา 2. การสร้างและพฒั นารปู แบบการบริหารโรงเรยี นอย่างมสี ว่ นรว่ มเพอื่ เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ทางคุณธรรม ของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รตั นวิทยานุสรณ์ สังกดั เทศบาลเมอื งตาก ปีการศึกษา 2562–2563 จากผลการสร้างการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนกั เรียน โรงเรยี นเทศบาล 4 รตั นวทิ ยานุสรณ์ สงั กดั เทศบาลเมอื งตาก พบว่าผู้วิจยั ได้เพิ่มเติมเนือ้ หาเกย่ี วกับ หลักการสำคัญ ในการประยกุ ต์ใช้รูปแบบฯ ซงึ่ หลกั การดงั กล่าว จะช่วยให้ผู้ที่นำรูปแบบไปประยุกต์ใช้ มคี วามเขา้ ใจ และสามารถใช้ รูปแบบได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด โดยหลักการที่ผู้วิจัยเพิ่มเติม เข้าไปเป็น สว่ นประกอบหนึ่งในรูปแบบ ไดแ้ ก่ หลกั การมีส่วนรว่ ม ทีใ่ ห้ความสำคัญกับการเปิดโอกาสใหก้ ลมุ่ บุคคล หรือผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ การมีส่วนร่วมจะทำให้ลดความ ขัดแย้งจากการทำงาน และบุคคลจะรู้สึกพึงพอใจในผลงานที่เกิดขึ้น รวมถึง มีความรู้สึกเป็นเจ้าของ และมีความ มุ่งมั่นในการสร้างความสำเร็จเพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ สอดคล้องกับร่าง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ (2562) ของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านการ พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 มีความแตกต่างจากพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติฉบับเดิม ทั้งในด้านการกำหนดเป้าหมาย การกำหนดหน้าที่และสิทธิของผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบ การศึกษาท่ีมีความชัดเจนมากย่ิงขึ้น โดยเฉพาะการส่งเสริมการมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นในการจัดการศกึ ษาระดบั โรงเรยี น ทีม่ ีแนวคิดสำคญั ม่งุ เนน้ การส่งเสรมิ และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยเปดิ โอกาสให้ประชาชน ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม หรือผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสีย มีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา โดยวางกลไกการมีส่วนร่วมใน การจัดการศกึ ษาไว้ในหลายรูปแบบ นอกจากน้ี ผู้วิจยั ได้สอดแทรกหลักคุณธรรม ท่เี ชอื่ ว่ามนุษย์ทุกคนย่อมมีความตง้ั ม่ันในการปฏิบัติตามหลัก คุณธรรมที่ถูกต้อง โดยยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม ความยุติธรรม และตระหนักถึงประโยชน์ส่วนรวม ใน กระบวนการบริหารจดั การศึกษาของโรงเรียนอยูเ่ สมอ สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ในด้าน ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ซ่งึ กล่าวไวว้ า่ สถานศกึ ษาต้องบรู ณาการเร่อื งความซื่อสัตย์ วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการ เรยี นการสอนในสถานศกึ ษา โดยใหส้ ถานศึกษาสอดแทรกการปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม และการมจี ิตสาธารณะเข้า ไปในทุกสาระวชิ าและในทุกกิจกรรม รวมทั้งปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้เอื้อต่อการมี คุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ รวมถงึ การรักษาขนบธรรมเนยี มและประเพณอี นั ดงี าม 193

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3. ผลการทดลองใช้รปู แบบการบรหิ ารโรงเรยี นอย่างมีส่วนรว่ มเพอื่ เสริมสรา้ งความเข้มแข็งทางคุณธรรมของ นักเรยี นโรงเรยี นเทศบาล 4 รตั นวทิ ยานุสรณ์ สงั กดั เทศบาลเมืองตาก ปกี ารศึกษา 2562 - 2563 ภายใต้สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 จากผลการวิจัย ตอนที่ 3 ผลการทดลองใช้รูปแบบบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งทางคณุ ธรรมของนกั เรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานสุ รณ์ สังกดั เทศบาลเมอื งตาก ปกี ารศกึ ษา 2563 ทม่ี ี ผลการวิจัยในเชิงสถิติเพียงอย่างเดียว และขาดผลการวิจัยเชิงลึกที่ผู้วิจัยต้องการ เนื่องจากข้อจำกัดของการ ดำเนินการวิจัยภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ส่งผลให้การทดลองใช้รูปแบบในปี การศึกษา 2563 ตอ้ งปรับเปลี่ยนไปสู่การบูรณาการผ่านการเรยี นการสอนระบบออนไลน์ ดงั น้นั ผลการวิจัยดังกล่าว จึงอาจเกิดความคาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากตัวแปรแทรกซ้อน ดังนั้น ภายใต้กรอบจรรยาบรรณของนักวิจัย จึง จำเป็นต้องนำเสนอประเด็นสำคัญดังกล่าวให้ผู้ที่ศึกษาเอกสารวจิ ัยฉบับนี้ ได้รับทราบเป็นข้อมูลประกอบการศึกษา ตอ่ ไป นอกจากนี้ผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทาง คณุ ธรรมของนักเรยี นโรงเรยี นเทศบาล 4 รัตนวทิ ยานุสรณ์ สงั กัดเทศบาลเมอื งตากปกี ารศกึ ษา 2562–2563 ที่แสดง ถึงความพึงพอใจทีม่ ีต่อการยกระดับความเขม้ แข็งทางคุณธรรมอาจสบื เนื่องมาจากความต้องการของผู้มีสว่ นได้ส่วน เสยี ซง่ึ มคี วามต้องการเครอ่ื งมือท่ีมีประสิทธภิ าพที่สามารถชว่ ยพัฒนาคุณธรรมใหแ้ กเ่ ด็ก และเยาวชนได้อย่างแท้จริง เพราะในปจั จุบนั การเปล่ยี นแปลงของสังคมสง่ ผลต่อวธิ ีการเรียนรู้ของเดก็ และเยาวชน ซง่ึ เทคโนโลยีท่ีก้าวหน้า ใน บางคร้ังกลับกลายเปน็ เครอ่ื งมอื การเรยี นรู้ที่ต้องพึงระมัดระวงั สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของสุเมธ ตนั ติเวชกุล (2555) ที่ ได้กล่าวว่า ผลจากความเจริญทางด้านวัตถุที่ขาดการพัฒนาทางจิตใจจะเป็นที่มาของปัญหาคุณธรรม จริยธรรมที่ ตกต่ำลงในสังคมไทย ประกอบกับการจัดการศึกษาในโลกยุคต้นศตวรรษที่ 21 กำลังเผชิญหน้ากับโลกที่ความ เปลี่ยนแปลงกลายเป็นเรื่องปกติ และสามารถเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วอันเนื่องมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ส่งผลให้มีองค์ความรู้มากมายมหาศาลถูกสร้างขึ้นและหลั่งไหลไปสู่ทุกสังคมทัว่ โลก เด็กและเยาวชนที่เติบโตข้ึนมา ท่ามกลางส่อื และเทคโนโลยีจงึ สามารถเข้าถงึ ข้อมูลและข่าวสารทัง้ เชงิ บวกและเชงิ ลบไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 4. รปู แบบการบรหิ ารโรงเรยี นอยา่ งมีสว่ นรว่ มเพ่อื เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางคุณธรรมของนักเรยี นโรงเรยี น เทศบาล 4 รัตนวิทยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมืองตาก ฉบับสมบรู ณ์ ทีส่ ามารถนำไปประยุกต์ใชไ้ ดจ้ ริง รูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคณุ ธรรมของนักเรียนโรงเรียน เทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก ฉบับสมบูรณ์ เป็นรูปแบบที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง เนอ่ื งจากมรี ากฐานของการศึกษาวิจัย จากแนวคิด และทฤษฎที ีไ่ ดร้ บั การยอมรับ อกี ท้งั กระบวนการสร้างและพัฒนา รูปแบบดังกล่าว สอดคล้องกบั แนวทางทีไ่ ด้รบั การยอมรบั ในระดับสากล อาทิ Willer (1986) ที่กล่าวว่า การพัฒนา รูปแบบโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การสร้าง (Construct) รูปแบบ และ (2) การหาความตรง (Validity) ของรปู แบบ และ พรจันทร์ พรศักด์ิกุล (2550, หน้า 163 – 175) ไดท้ ำการวิจยั เรอื่ ง “รปู แบบกระบวนการ งบประมาณของโรงเรียนที่บริหารงบประมาณแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน” โดยดำเนินการวิจัย 5 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การกำหนดกรอบแนวคิด โดยการ วิเคราะห์เอกสารและฐานข้อมูลทางอินเตอรเ์ น็ต (2) การศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมในกระบวนการดำเนินการใน 194

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปจั จบุ ัน โดยสอบถามความคิดเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียนและรองผู้อำนวยการโรงเรียนทร่ี ับผิดชอบงาน วิเคราะห์ เอกสารงบประมาณของโรงเรียน และสอบถามความคิดเห็นของครูผู้ปกครอง คณะกรรมการโรงเรียน ประธาน คณะกรรมการโรงเรียน (3) การจัดทำร่างรูปแบบโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (4) การประเมินความเหมาะสมและความ เปน็ ไปได้ของรา่ งรปู แบบ โดยสัมภาษณ์ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ (5) การปรบั ปรุงรปู แบบและนำเสนอรปู แบบ ขอ้ เสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปใช้ 1.1 ครูโรงเรยี นเทศบาล 4 รตั นวิทยานสุ รณ์ นำผลการวิจัยไปใช้ในการสรา้ งแนวทางการส่งเสริม และพัฒนา คุณธรรม ที่บูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับรูปแบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วมเพ่ือ เสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานสุ รณ์ สังกัดเทศบาลเมืองตาก โดย นำไปประยกุ ตใ์ ช้ให้เหมาะสมกับบริบท และความตอ้ งการของนักเรียนอย่างแทจ้ ริง 1.2 ผู้บริหารโรงเรียนนำผลการวิจัยไปกำหนดแนวทางในการบริหารจัดการโรงเรียนเพื่อส่งเสริมคุณธรรม และนำไปใชใ้ นการพัฒนาเป็นนวัตกรรมการบริหารที่ช่วยให้ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนมีความเข้มแขง็ ทางคุณธรรม จริยธรรมอยา่ งยั่งยืน 1.3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งนำผลการวจิ ัยไปใช้ในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์เป็นสารสนเทศ เพื่อการวางแผนการดำเนินงานโครงการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมคุณธรรม ให้ครอบคลุมโรงเรียนในสังกัดอย่างมี คณุ ภาพและท่วั ถงึ 2. ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครั้งตอ่ ไป 2.1 หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาควรวิจัยและพฒั นารปู แบบการบริหารโรงเรยี นในรปู แบบอืน่ ๆ เพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้ และตน้ แบบการบริหารทม่ี ีประสทิ ธิภาพใหก้ บั หน่วยงานต่อไป 2.2 โรงเรยี นควรดำเนนิ การวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างระดับการมสี ่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ สว่ นเสีย กบั ระดับความเข้มแขง็ ทางคณุ ธรรมของนักเรยี น เพอื่ ใช้ในการกำหนดทศิ ทางการดำเนนิ งานในอนาคต 2.3 นกั วิชาการ หรือผวู้ ิจยั ต่าง ๆ ควรศกึ ษาปจั จัยแทรกซอ้ นที่สง่ ผลต่อการบริหารโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วม เช่น ความแตกต่างของการบริหารเชิงพื้นที่ (Area-based Management) ที่อาจส่งผลต่อระดับความเข้มแข็งทาง คณุ ธรรมที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ เป็นต้น เอกสารอ้างองิ เกษม วฒั นชัย. (2559). 6ขน้ั ตอนสู่โรงเรียนคุณธรรม. กรุงเทพฯ : ธนธัชการพิมพ.์ คณะกรรมการอสิ ระเพ่ือการปฏริ ูปการศึกษา. (2562). พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหม่, ฉบับผ่านการ พจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา, วาระ 3 เมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2562. นลิ มณี พทิ กั ษ์ และคณะ. (2551). รปู แบบการส่งเสริมศกั ยภาพของผู้ปกครองในการมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา. ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . 195

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี พรจันทร์ พรศกั ดกิ์ ลุ . (2550). รูปแบบกระบวนการงบประมาณของโรงเรยี นท่บี ริหารงบประมาณแบบใช้โรงเรียนเป็น ฐานในโรงเรียนประถมศึกษาสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน. ปรญิ ญานิพนธ์การศึกษา ดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580). (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม 135 ตอนท่ี 82 ก. หนา้ 37- 39. โศภิดา คล้ายหนองสรวง. (2558). การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมท่ีสง่ ผลตอ่ ประสทิ ธิผลของสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั งาน เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาร้อยเอ็ด เขต 3. วทิ ยานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ าร การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา. สุเมธ ตันติเวชกุล. (2555). บรรยายพิเศษหวั ขอ้ “ธรุ กจิ พอเพียง หยุดยงั้ คอรปั ชั่น”. สบื คน้ เมื่อ 5 สิงหาคม 2561, จาก https://www.mcot.net/site/content?id=4ff674360b01dabf3c0359cc#.Ueziro17KYI. Chapin, F.S. (1997). Social Participation and Social Intelligence. In Handbook of. Research Designate Social Measurement. New York: Longman. Claxton, G. (2000). Integrity and uncertainly – why young people need doubtful teachers. In C. Watkins, C. Lodge, & R. Best (Eds.) Tomorrow’s schools –Towards integrity, pp.17-31. London and New Work: RoutledgeFarmer. Daniel Goleman. (2007). Social Intelligence: The New Science of Social Relationships. Bantam Books. Godwin-Charles A. Ogbeide (2009). Marvin T. B. (2005) Corporate Integrity: Rethinking Organizational Ethics and Integrity. Cambridge: Cambridge University Press. Willer D. (1986). Scientific Sociology: Theory and Method. Englewood Cliff, N.J.: Prentice-Hall. 196

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ภาวะผู้นำเชงิ วิสยั ทัศน์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษา เอกชน จังหวัดอดุ รธานี Visionary Leadership of School Administrators under Office of the Private Education Commission Udon Thani Province เกยี รติภมู ิ จนั ทร์แสนตอ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา วฒั นศกั ดิ์ ดร.ชตุ ิมา พรหมผยุ หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ วทิ ยาลัยนครราชสมี า E-mail: [email protected]. บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน 2) เปรยี บเทียบภาวะผนู้ ำเชงิ วิสยั ทัศน์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่ม ตวั อย่างท่ีใช้ในการวจิ ัยคร้งั น้ี ได้แก่ ครูผู้สอน สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 148 คน จาก 8 โรงเรียน เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย เปน็ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating scale) มีค่า IOC 0.8-1.00 และค่าความเชื่อมั่น 0.897 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คา่ ความถี่ คา่ รอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหค์ วามแปรปรวนทางเดยี ว (One-Way Analysis of Variance) โดยใช้การทดสอบ ค่าเอฟ (F-test) หากพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทำการทดสอบความ แตกต่างรายคู่ ด้วยวิธขี อง Scheffe´ ผลการวจิ ยั พบว่า 1. ภาวะผนู้ ำเชิงวสิ ยั ทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน อยู่ ในระดบั มากท่ีสุด 2. ครูทปี่ ฏิบัติงานอยู่ในโรงเรยี นที่มีขนาดต่างกัน มีความคดิ เหน็ ต่อระดบั ภาวะผนู้ ำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร สถานศกึ ษา สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน ท้งั โดยรวมและรายดา้ นทุกด้านแตกต่างกันอย่างมี นยั สำคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .01 3. ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยภาพรวม และด้านที่ 4 การเป็นแบบอย่างที่ดี 197

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านที่ 2 การสื่อสารวิสัยทัศน์ และด้านที่ 3 การปฏิบัติตาม วิสัยทศั น์ แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .01 ยกเว้นด้านท่ี 1 การกำหนดวสิ ัยทศั นท์ ี่ไมต่ า่ งกัน คำสำคญั : ภาวะผูน้ ำเชงิ วสิ ัยทศั น์, ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ,สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน ABSTRACT The objectives of this study were to 1) study visionary leadership of school administrators under office of the private education commission ,2) compare the visionary leadership of school administrators under office of the private education commission classified by size of schools and work experience. A sample of 148 teachers was randomly drawn from teachers of the schools in the 2021 academic year. The research instruments were 5 rating scale questionnaires, and to find its validity and the index item- objective congruence (IOC) value ranking from 0.80 - 1.00, and reliability of 0.897. The data were analyzed in terms of frequency, percentage, mean, standard deviation and one way ANOVA, and Scheffé ’s post hoc paired comparisons. The research findings revealed as follows : 1. Visionary leadership of school administrators under office of the private education commission was showed that overall level at highest level. 2. The teachers with different working size schools had of their opinions on the Visionary leadership of school administrators under office of the private education commission both in overall and by aspects, The teachers who were working in the extra large schools had the higher opinions of overall principals’ visionary leadership and each item of principals’ visionary leadership at .01 level. 3. The teachers who had the different in working experiences had significantly different in overall the principals’ visionary leadership and in the item 4, good practice at .05 level, in the item of visionary leadership communication and in the item of visionary leadership implementation had the statistical significantly different at .01 level except in the item of visionary leadership settlement was not statistically significant. KEYWORDS : Visionary Leadership, School Administrators , Private Education Commission 198

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บทนำ จากกระแสโลกาภวิ ตั น์ และพลวตั ที่เร่งให้ “การจัดการศกึ ษา” ต้องรบี เปล่ียนแปลง เมื่อพดู ถงึ “การศึกษา” จะ พบว่าสภาพการศึกษาไทยที่เคลื่อนอยู่ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกนั้น ทำให้เราตกอยู่ในหุบเหวของความ ล้มเหลวอย่างน่าวิตก โดยเฉพาะเรื่อง การจัดการศึกษา และความเป็นผู้นำของระบบการศึกษาในปัจจุบัน ความ เคลื่อนไหวของสถาบันการศึกษาที่ดำเนินการอยู่ ตั้งแต่สถาบันเกรดเอจนถึงกลุ่มล้าหลังไม่ปรับตัวให้เข้ากับโลกที่ เปลี่ยนไปนั้น (อภิชาต ทองอยู่, 2563) และผู้นำองค์การยุคใหม่ต้องเผชิญกับปัญหาที่สลับ ซับซ้อน และหลากหลาย ภายใตส้ ถานการณท์ เี่ ปล่ยี นแปลงอยู่ตลอดเวลา จงึ มคี วามยุง่ ยากลำบากในการนำ จากปัญหาดงั กลา่ วมคี วามจำเป็นอย่าง ยิ่งที่ผู้นำจะต้องมีคุณลักษณะที่สอดคล้องกับสภาพการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไป (สัมฤทธิ์ กางเพ็ง, 2557) และผู้นำต้อง สามารถแสดงออกถึงวัฒนธรรมในการสร้างวิสัยทัศน์ ซึ่งเกิดจากการมองอนาคตที่กว้างไกล คิดนอกกรอบ ความคิด สร้างสรรค์ กำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ได้ว่าสิ่งที่ต้องการให้องค์การในอนาคตนั้นมีความ เป็นไปได้ หลังจากนั้นจะต้องมีการเผยแพร่วิสัยทัศน์ สื่อสารวิสัยทัศน์ได้อย่างชัดเจน แล้วปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ (อร กาญจน์ เฉยี งกลาง, 2562) และมีความประพฤติเปน็ แบบอย่างในเรอ่ื ง ความกระตือรอื ร้น มงุ่ มัน่ ผกู พนั และอทุ ศิ ตน ใน การปฏิบัติงาน ทั้งนี้ต้องมีความสม่ำเสมอ จริงใจ ให้ความสำคัญกับผู้อื่น ไม่ทำเพื่อประโยชน์ส่วนตน แต่มุ่งทำเพื่อ ประโยชนส์ ว่ นรวมตามหลักประชาธิปไตย โดยคำนงึ ถึงความค้มุ ค่า ประหยดั และไม่ฟมุ่ เฟอื ยตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และดำเนินชวี ิตภายใต้คุณธรรม และจรยิ ธรรมอนั ดี (กรวัฒน์ อัตชู, 2559) เพอื่ ให้วิสัยทัศนน์ ้ันเกดิ ข้ึนจริงโดยการสร้าง แรงกระตุ้น จูงใจให้สมาชิกมีส่วนร่วม มีการเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สมาชิก สนับสนุนให้มีการทำงานเป็นทีม (อร กาญจน์ เฉียงกลาง, 2562) จะเห็นได้ว่าภาวะผู้นำเชงิ วิสัยทศั น์ เป็นปัจจัยหลกั ที่สำคญั ในการกำหนดความสำเรจ็ หรือ ความลม้ เหลวของทุกองค์การ (กรวฒั น์ อตั ชู, 2559) พฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความเป็นผู้นำเชิงวิสัยทัศน์นั้นประกอบด้วย 4องค์ประกอบ ดังนี้ คือ 1) การสร้าง วิสัยทศั น์ 2) การเผยแพร่วสิ ัยทศั น์ 3) การปฏบิ ัตติ ามวสิ ัยทัศน์ 4) การเป็นแบบอยา่ งที่ดี ซงึ่ ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์เป็น กระบวนการเชิงรุก และเป็นปรากฎการณ์ที่เป็นพลวัต อันเป็นภาวะผู้นำแนวใหม่ซึ่งเน้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ องคก์ าร (นกิ ัญชลา ลน้ เหลอื , 2554:96 ) จากความเปน็ มา และความสำคญั ของปญั หา ทไี่ ดก้ ลา่ วมาขา้ งต้นจะเหน็ ไดว้ ่าภาวะผูน้ ำเชงิ วสิ ัยทัศน์ เปน็ ปัจจัย หลักที่สำคัญในการกำหนดความสำเร็จ หรือความล้มเหลวของทุกองค์การ ผู้วิจัย จึงสนใจศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิง วิสยั ทัศน์ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน จำนวน 4 องค์ประกอบ ดังน้ี 1) การกำหนดวสิ ยั ทัศน์ 2) การส่อื สารวสิ ยั ทัศน์ 3) การปฏิบัตติ ามวสิ ยั ทัศน์ 4) การเป็นแบบอย่างทดี่ ี และเปรียบเทียบ ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตาม ขนาดของโรงเรียน และประสบการณ์ในการทำงาน ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำมาประยุกต์ ปรับปรุง เพื่อพัฒนา ทักษะ ความสามารถ และกระบวนการในการใช้ภาวะผูน้ ำเชิงวิสัยทศั น์ของผู้อำนวยการโรงเรียนเอกชน สงั กัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนให้ดียิ่งๆ ขึ้น นอกจากนี้ผลการศึกษาที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อสำนักงาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน บคุ ลากร ครู นักเรยี น ผู้ปกครอง และผทู้ ่ีเกย่ี วข้องกับสำนักงานคณะกรรมการ สง่ เสริมการศึกษาเอกชน และยังใช้ในการศึกษาคน้ ควา้ ในเรอ่ื งอ่นื ทีเ่ ก่ียวกับภาวะผนู้ ำเชงิ วิสัยทศั นไ์ ด้อกี ดว้ ย 199


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook