Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

Published by ED-APHEIT, 2022-04-04 03:34:12

Description: ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ ครั้งที่ 6 การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565

Search

Read the Text Version

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษา ใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” 26 กุมภาพันธ์ 2565 คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ก

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สาสน์การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province รปู แบบผสมผสาน (Hybrid Conference) จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรุดา ชยั สวุ รรณ ประธานคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การพัฒนาคนใหม้ ศี ักยภาพและมีทักษะในระดับสงู เพ่ือการพัฒนาประเทศนัน้ งานวิจัยและเป็นปัจจัยหนึ่งในการสร้าง หรือพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกภายใต้สถานการณ์วิกฤตจาก COVID-19 ครู คณาจารย์ และผู้บริหารสถานศึกษาจึงเปน็ ผู้มีบทบาทสำคญั ในการเอื้ออำนวยวธิ ีการจดั การเรียนรูส้ ู่การจดั การศกึ ษา อีกทัง้ มี บทบาทในการเข้าถึงเทคโนโลยีที่จะเข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ ดังนั้นสถานศึกษาหรือสถาบันการศึกษาควรจะออกแบบการ จดั การเรียนรู้อย่างไรใหม้ ีประสิทธภิ าพ ก่อให้เกดิ ความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่ายตั้งแต่ระดับนโยบายจนถึงสถานศกึ ษา ซึ่งการให้ ความสำคัญทั้งงานวิชาการ งานวิจัย ดังนั้นหากได้มีการนำผลการวิจัยและการนำเสนอผลเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ก็จะเป็น ประโยชน์อยา่ งย่ิงต่องานวิชาการของประเทศ คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) มีบทบาทและหน้าที่คือ การพัฒนางานด้านวิชาการในสาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ ของสถาบันสมาชิก สสอท. ดำเนินกิจกรรมทางด้านวิชาการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์และพัฒนาบุคลากรและ นักศึกษาสาขาศึกษาศาสตร์ ของสถาบันสมาชิก สสอท. และมีหน้าที่อื่น ๆ ที่สำคัญคือ เพื่อเป็นศูนย์กลางของนักวิชาการทาง ศึกษาศาสตร์ที่จะได้พบปะแลกเปลี่ยนความคิดใหม่ ๆ อันจะนำไปสู่ประโยชน์ในทางวิชาการและการพัฒนาวิชาชีพทาง ศึกษาศาสตร์ พร้อมท้งั สนับสนนุ ชว่ ยเหลอื และเผยแพรง่ านวจิ ยั ทางศึกษาศาสตรข์ องคณาจารย์ นกั ศกึ ษา บุคคลทางการศึกษา และผู้สนใจทางศึกษาศาสตร์และบุคลากรทั่วไปของสถาบันต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งการพัฒนาการศึกษาของ ประเทศท้ังระดบั ชาตแิ ละคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ของสมาคมฯ ดว้ ยสถานการณ์โรคระบาดจากไวรัส COVID-19 จึงเห็นสมควรการประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 หัวข้อ ก

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” The 6thNational Conference on Education 2022 (APHEIT-EDU 2022) “Challenges of New Educational Management after COVID 2019 crisis” ระหว่างวันที่ 26-27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ โรงแรม อีโคโคซี บีชฟรอนต์ รีสอร์ต ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยรูปแบบผสมผสาน (Hybrid Conference) โดยเป็นเวทีให้กับนักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเผยแพร่ผลงานวิชาการ โดยมี วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือจดั ประชมุ ทางวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรรระดบั ชาติและนานาชาติ 2. เพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการเก่ยี วกับความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19 3. เพื่อเผยแพรผ่ ลงานวิจยั ทางสาขาศกึ ษาศาสตร์ทีม่ ีคุณภาพระดับชาตแิ ละนานาชาติ 4. เพ่ือแลกเปล่ยี น เรยี นรแู้ ละสร้างเครอื ขา่ ยของนกั วิจยั ทางสาขาศึกษาศาสตรใ์ นระดับชาติและนานาชาติ คณะผู้จัดต้องขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ ดร. องอาจ นัยพิพัฒน์ ที่ให้เกียรติเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ และรอง ศาสตราจารย์ ดร. จอมพงศ์ มงคลวนิช ที่ให้เกียรติเป็นประธานเปิดการประชุมระดับนานาชาติ ขอขอบพระคุณผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร. จันทร์พา ทัดภูธร ที่เป็นที่ปรึกษาในการจัดการประชุมในหอ้ งนำเสนอผลงานระดับนานาชาติ และผู้มีเกยี รติ ทุกท่านที่ให้ความสำคัญกับการประชุมครั้งน้ี ซึ่งมีบทความเข้าร่วมนำเสนอในระดับชาติ จำนวน 41 บทความ และบทความ ระดับนานาชาตจิ ำนวน 14 บทความ รวมทั้งส้นิ 55 บทความ ขอขอบพระคณุ ผทู้ รงคณุ วุฒปิ ระเมินผลงานทางวชิ าการทกุ ท่าน รวมถงึ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิทเี่ ปน็ กรรมการวิพากษป์ ระจำห้อง ทง้ั ในระดบั ชาติและนานาชาติ และคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทยใน พระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจ ตลอดจนอุทิศเวลาเพื่อให้การจัดการ ประชมุ ครง้ั นผ้ี า่ นไปได้ด้วยดี ขอบพระคุณผู้มีส่วนรว่ มทุกทา่ น ซ่ึงทางผจู้ ดั คาดหวังว่าผลงานวิชาการในการประชุมครั้งน้ีจะเป็น ประโยชน์อย่างยิง่ แก่ทา่ นนักวจิ ยั ผบู้ ริหาร คณาจารย์ นสิ ติ นักศึกษา และบุคคลท่ัวไป (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรุดา ชัยสุวรรณ) ประธานคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ข

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี คำส่ัง คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ท่ี 001/2565 เรื่อง แตง่ ตง้ั กองบรรณาธกิ าร การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 หัวข้อ \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province รปู แบบผสมผสาน (Hybrid Conference) เพื่อให้การจัดงานจัดการประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 หัวข้อ \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” The 6thNational Conference on Education 2022 (APHEIT-EDU 2022) “Challenges of New Educational Management after COVID 2019 crisis” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ โรงแรม อีโค โคซี บีชฟรอนต์ รสี อร์ต ชะอำ จังหวดั เพชรบรุ ี รูปแบบผสมผสาน (Hybrid Conference) จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ยและบังเกิดผลดีมีประสิทธิภาพ สมาคม สถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ จึงพิจารณาแต่งต้ังแต่งต้ังกองบรรณาธิการของการประชมุ ฯ ดงั ตอ่ ไปนี้ บรรณาธิการ สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวัฒน์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ศรดุ า ชยั สวุ รรณ มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม ผู้ช่วยบรรณาธกิ าร มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์ 1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลิตกุล 2. อาจารย์ ดร. พงษ์ภิญโญ แม้นโกศล 3. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นัฐยา บุญกองแสน ค

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 4. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วิสฤตาภา มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย์ กองบรรณาธกิ าร นกั วชิ าการอสิ ระ 1. ศาสตราจารย์ ดร. ธีระ รุญเจรญิ มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์ 2. ศาสตราจารย์ ดร. ไพฑรู ย์ สินลารตั น์ มหาวิทยาลัยสยาม 3. ศาสตราจารยก์ ติ ติคณุ ดร.ชนิตา รักษพ์ ลเมือง มหาวิทยาลัยสยาม 4. รองศาสตราจารย์ ดร. จอมพงศ์ มงคลวนิช สถาบันการจัดการปญั ญาภิวัฒน์ 5. รองศาสตราจารย์ ดร.ทิวตั ถ์ มณโี ชติ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ 6. รองศาสตราจารย์ ดร. ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ มหาวทิ ยาลยั ครสิ เตยี น 7. รองศาสตราจารย์ ดร.ชุมศักดิ์ อนิ ทร์รกั ษ์ วิทยาลัยนครราชสมี า 8. รองศาสตราจารย์ ดร. กรองทิพย์ นาควิเชตร มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ 9. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดษุ ฎี สีวังคำ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 10. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ว่าท่ีร้อยโท ดร.ณัฏฐชัย จนั ทชมุ มหาวิทยาลัยรังสติ 11. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชยานุวัชร มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกรยี งไกร สจั จะหฤทยั มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลิตกลุ 14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นัฐยา บญุ กองแสน มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกุล 15. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. กฤตยษ์ ุพัช สารนอก มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์ 16. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วิสฤตาภา มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์ 17. อาจารย์ ดร. พงษ์ภญิ โญ แม้นโกศล มหาวิทยาลยั ธนบรุ ี 18. อาจารย์ ดร. ปฐมพรณ์ อนิ ทรางกูร ณ อยธุ ยา มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา 19. อาจารย์ ดร. ทนิ กร พลู พฒุ มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 20. อาจารย์ ดร. วานชิ ประเสรฐิ พร สถาบนั การจัดการปัญญาภิวฒั น์ 21. อาจารย์ ดร. อาจารย์ ดร.สุภาวดี วงษ์สกุล สถาบนั การจดั การปัญญาภิวฒั น์ 22. อาจารย์ ดร. จติ รา จันทราเกตุรวิ วทิ ยาลัยนครราชสมี า 23. อาจารย์ ดร. ภัทรฤทัย ลนุ สำโรง ผู้ทรงคุณวฒุ ิพิจารณาผลงานทางวชิ าการ ง

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 1. ศาสตราจารย์ ดร. ธรี ะ รญุ เจรญิ นักวชิ าการอิสระ 2. ศาสตราจารย์ ดร. ไพฑรู ย์ สินลารัตน์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์ 3. ศาสตราจารยก์ ิตตคิ ุณ ดร.ชนิตา รักษพ์ ลเมอื ง มหาวิทยาลยั สยาม 4. รองศาสตราจารย์ ดร.กลา้ ทองขาว มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์ 5. รองศาสตราจารย์ ดร.ไสว ฟกั ขาว มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์ 6. รองศาสตราจารย์ ดร.ทิวัตถ์ มณโี ชติ สถาบนั การจัดการปัญญาภิวฒั น์ 7. รองศาสตราจารย์ ดร.ชมุ ศกั ดิ์ อนิ ทรร์ กั ษ์ มหาวิทยาลยั ครสิ เตยี น 8. รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชยี ร อนิ ทรสมพันธ์ มหาวิทยาลยั ธนบุรี 9. รองศาสตราจารย์ ดร.ทิวัตถ์ มณโี ชติ สถาบันการจดั การปัญญาภิวัฒน์ 10.รองศาสตราจารย์ ดร. กรองทิพย์ นาควิเชตร วิทยาลยั นครราชสีมา 11. รองศาสตราจารย์ ดร. ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ์ 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุษฎี สวี งั คำ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 13. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชยานุวัชร มหาวิทยาลัยรังสิต 14. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วัลลภา เฉลิมวงศาเวช มหาวทิ ยาลยั รังสิต 15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นพรตั น์ ธนานรุ กั ษากลุ มหาวทิ ยาลยั รังสติ 16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อุบล สรรพชั ญพงศ์ มหาวทิ ยาลยั รังสติ 17. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นฐั ยา บญุ กองแสน มหาวิทยาลยั วงษช์ วลิตกุล 18. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. กฤตยษ์ ุพชั สารนอก มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกุล 19. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เชยี ง เภาชิต มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์ 20. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วสิ ฤตาภา มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย์ 21. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม 22. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร สัจจะหฤทัย มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม 23. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎิ์ กิตตฐิ านัส มหาวทิ ยาลัยธนบรุ ี 24. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนภทั ร จนั ทร์เจรญิ มหาวทิ ยาลัยธนบรุ ี 25 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โยธิน ศรีโสภา มหาวิทยาลัยเจา้ พระยา 26. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรดุ า ชยั สุวรรณ สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวัฒน์ 27. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วฒั นา วนิ ิตวฒั นคณุ นกั วชิ าการอสิ ระ 28. อาจารย์ ดร. พงษภ์ ญิ โญ แมน้ โกศล มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย์ 29. อาจารย์ ดร. กัลยรตั น์ หล่อมณนี พรัตน์ มหาวิทยาลยั รังสิต 30. อาจารย์ ดร. ปฐมพรณ์ อินทรางกูร ณ อยุธยา มหาวิทยาลยั ธนบรุ ี 31. อาจารย์ ดร. ฐติ ยา เรือนนะการ มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลิตกุล จ

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 32. อาจารย์ ดร. บุญกญั ญ์ จิระเพ่มิ พนู มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกุล 33. อาจารย์ ดร. ทินกร พูลพฒุ มหาวทิ ยาลัยเจา้ พระยา 34. อาจารย์ ดร. รวงทอง ถาพนั ธ์ มหาวทิ ยาลัยเจ้าพระยา 35. อาจารย์ ดร. จติ รา จนั ทราเกตรุ วิ สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น์ 36. อาจารย์ ดร. ชุตมิ า พรหมผยุ วิทยาลยั นครราชสมี า 37. อาจารย์ ดร. ภัทรฤทยั ลุนสำโรง วิทยาลยั นครราชสีมา สั่ง ณ วนั ที่ 21 มกราคม 2565 (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรุดา ชัยสวุ รรณ) ประธานคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ฉ

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สารบญั หนา้ สาสนก์ ารประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 6...................................ก คำสัง่ คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ท่ี 2565/001 เรอ่ื ง แต่งต้ังกองบรรณาธกิ าร............................................ค สารบญั ................................................................................................................................................................................................................ช ➢ ปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ การเรียนรขู้ องประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ท่ไี ด้รบั ผลกระทบจาก สถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)................................................................................................................... 10 ➢ การจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนร้ขู องโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ สังกดั สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่ม 7......................................................................................................................................................................................... 24 ➢ ความคาดหวงั และการรับรตู้ ่อผลการเรยี นรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาตสิ าขา ทนั ตแพทยศาสตร์ของมหาวทิ ยาลัยเอกชนแหง่ หน่งึ ........................................................................................................... 47 ➢ การพัฒนากระบวนการชี้แนะครนู กั จดั กระบวนการเรียนร้บู ูรณาการเชงิ พน้ื ท่ี เพ่ือส่งเสรมิ ทกั ษะชวี ติ และอาชีพของ ผู้เรียน......................................................................................................................................................................................... 63 ➢ การพฒั นากิจกรรมการเรียนรูด้ ว้ ยแบบเรียนภาษาไทยโดยบรู ณาการทฤษฎีการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ร่วมกบั แนวคดิ อตั ลกั ษณ์เชงิ พื้นที่เพ่ือสง่ เสรมิ ทักษะการเขยี นของนักเรยี นระดบั ช้ันประถมศึกษา......................................... 81 ➢ ความสัมพันธ์ของการบริหารงานกับกิจการนกั เรียนของครโู รงเรยี นสามโคก สงั กดั องค์การบริหารสว่ นจงั หวัด ปทุมธานี .................................................................................................................................................................................... 97 ➢ การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นโรงเรยี นวัดมาบข่า อำเภอนิคมพฒั นา จงั หวัดระยอง สังกดั สำนักงาน เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระยอง เขต 1 ..................................................................................................................114 ➢ แนวทางการนิเทศภายในผา่ นสอ่ื สังคมออนไลนเ์ พือ่ พัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด ของเชอื้ โควิด-สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา 5 ของโรงเรียนนคิ มสร้างตนเองจงั หวดั ระยอง 19 1 ระยอง เขต...........................................................................................................................................................................128 ➢ ปญั หาและแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์โดยวิธสี อนแบบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน ในช่วงภาวะวิกฤต COVID-กรณศี ึกษารายวิชาประสบการณก์ ารทำงาน 19..................................................................................................135 ➢ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้เกมเป็นฐาน ทีม่ ีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบวัดระดบั ความรู้ภาษาจนี ระดบั ที่ ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ 2......................................................................................................144 ช

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ➢ พฤติกรรมการใชส้ ื่อสังคมออนไลนแ์ ละความเข้าใจในพระราชบัญญตั วิ ่าดว้ ยการกระทำความผิดเกยี่ วกับ คอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2560.ศ.พ (2......................................................................................................................................157 ➢ ผลการประเมินสมรรถนะการวจิ ัยทางการศึกษาในยุคดิจิทัล ของนกั ศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บัตรบัณฑติ สาขา วชิ าชพี ครู.................................................................................................................................................................................170 ➢ รปู แบบการบริหารโรงเรียนอย่างมีสว่ นร่วมเพ่ือเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งทางคุณธรรมของนกั เรยี นของโรงเรยี น เทศบาล 4 รัตนวทิ ยานสุ รณ์ สงั กัดเทศบาลเมืองตาก จังหวัดตาก .................................................................................181 ➢ ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทศั นข์ องผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน จังหวัด อุดรธานี....................................................................................................................................................................................197 ➢ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของผู้บริหารสถานศกึ ษากบั ประสิทธิผล ของการบรหิ ารโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาขนาดใหญพ่ ิเศษใน สหวิทยาเขตนครหาดใหญส่ งั กดั สำนักงานเขตพ้นื ที่ การศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล.......................................................................................................................................214 ➢ ภาวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม 7...........................234 ➢ ปญั หาการทุจรติ คอรปั ชนั กบั ภาวะผ้นู ำเชิงคุณธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี และธรรมาภิบาลของผู้บริหาร สถานศึกษาในการบริหารโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา..................................................................................................................254 ➢ บทบาทผบู้ ริหารสถานศึกษาในการส่งเสรมิ การจัดการเรียนร้ทู ่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการ สง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน .......................................................................................................................................................267 ➢ การขอตำแหน่งทางวชิ าการ: ปัจจัยเอ้ือ ปัญหาและอุปสรรค ท่อี าจารย์อดุ มศึกษาตอ้ งเผชิญ...................................283 ➢ รอบรจู้ รรยาบรรณ เท่าทนั การศกึ ษา 5.0 ...........................................................................................................................298 ➢ จรรยาบรรณวชิ าชพี ครกู บั การเปลี่ยนแปลงการจดั การเรียนรู้ในยุคโควิด-19...............................................................317 ➢ จากการเรียนแบบออนไลนส์ คู่ วามทา้ ทายในจักรวาลนฤมติ ............................................................................................330 ➢ จรรยาบรรณวชิ าชีพครู กับการศกึ ษาไทยยุคโควิด 19 .....................................................................................................343 ➢ เกมมฟิ เิ คชนั : การจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21............................................................................358 ➢ แนวทางการจัดการเรยี นการสอนสำหรบั นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาหลงั วิกฤต COVID-19..........................................368 ➢ การใช้เกมเพ่ือเสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษ.............................................................................................379 ➢ แนวทางการบรหิ ารงานวชิ าการเพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ของโรงเรยี นสงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1.............................................................391 ➢ การพัฒนาสอื่ ประสมเร่ืองคำชว่ ยภาษาญปี่ ุ่นระดบั ตน้ สำหรับนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ............................402 ซ

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ➢ มาตรฐานการจดั การศึกษาสำหรบั คนพกิ ารของศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ............................................................................417 ➢ การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน.......................................................................................................................................428 ➢ Growth mindset หลักคิดสำหรบั ครูสกู่ ารพฒั นาผู้เรียน................................................................................................438 ➢ แนวทางการบริหารการจดั กิจกรรมลกู เสือเพอ่ื พฒั นาคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียน ของโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา สังกัด กรงุ เทพมหานคร.....................................................................................................................................................................448 ➢ การประยุกต์ใช้หลกั ไตรสิกขา เพอื่ พฒั นาคุณธรรมและจริยธรรมสำหรบั ครู......................................................................469 ➢ การใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟกิ เพ่อื พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนดนตรไี ทย ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3....................................................................................................................................................................487 ➢ การมีสว่ นรว่ มของผู้ปกครองในการส่งเสริมการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นโรงเรียนสามโคก สงั กดั องคก์ ารบรหิ ารส่วน จงั หวดั ปทุมธานี......................................................................................................................................................................500 ➢ ปัจจัยการบรหิ ารทม่ี ีผลตอ่ ความเป็นเลศิ ด้านกีฬาของโรงเรยี นในสงั กดั สำนักงาน เขตพืน้ ทม่ี ัธยมศกึ ษา นครศรธี รรมราช เขต 12........................................................................................................................................................520 ➢ การพัฒนารปู แบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูดา้ นการจดั การเรียนรูอ้ อนไลน์ ในโรงเรียนกรงุ เทพครสิ เตียนวทิ ยาลยั ...................................................................................................................................................................................................539 ➢ แนวทางพัฒนาครผู ้สู อนกิจกรรมลูกเสอื โรงเรยี นวัดบางคูวดั สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1.......................................................................................................................................................................554 ➢ แนวทางการสง่ เสริมการทำวิจัยในช้ันเรียนของครูผสู้ อนในโรงเรียนขยายโอกาส สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1...............................................................................................................................................566 ฌ

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ปัจจยั ทีส่ ง่ ผลตอ่ การเรียนรขู้ องประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญท่ ่ีได้รบั ผลกระทบจาก สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) Factors affecting the learning of people in Hat Yai municipality affected by the epidemic situation of Corona 2019 (COVID-9) นิรันดร์ จลุ ทรัพย์ จรสั อติวิทยาภรณ์ พิไลพร เกษตรสมบรู ณ์ มณฑาทพิ ย์ แดงนำ คณะศึกษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ E-mail [email protected]. บทคดั ย่อ การวิจัยเชงิ สำรวจครง้ั นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศกึ ษาปัจจัยสว่ นบคุ คล ปจั จัยดา้ นความรเู้ ก่ยี วกบั โรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปัจจัยด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากหน่วยงาน สาธารณสุข ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรยี นรู้ การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2) เพ่ือ ศึกษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปัจจัยส่วนบุคคล ปจั จัยด้านความรเู้ กี่ยวกบั โรคไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ปัจจัยด้าน การรับร้โู อกาสเสี่ยงตอ่ การติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากหนว่ ยงานสาธารณสุขกับการเรียนรู้การป้องกัน ตนเองจากการตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 3) เพ่อื ศกึ ษาพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การป้องกนั ตนเองจากการติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม และ 4) เพือ่ ศึกษาความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะต่อการเรียนรู้ เพอ่ื การปรับตัวต่อสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบ Convenience Random Sampling เก็บรวบรวมข้อมูล ใช้ แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) มคี ่า IOC ระหวา่ ง 0.67-1.00 ค่าความเทย่ี งทั้งฉบับเท่ากบั 0.93 วเิ คราะห์ขอ้ มูล โดยใช้ค่าร้อยละ คา่ เฉลี่ย คา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ค่าตำ่ สุด ค่าสงู สดุ สมั ประสิทธิ์สหสมั พนั ธแ์ ละการวิเคราะห์การ ถดถอยพหุคณู แบบข้ันตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจยั ส่วนบุคคล ปัจจยั ด้านความรู้เกยี่ วกบั โรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปจั จยั ดา้ นการรับรู้โอกาส เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากหน่วยงานสาธารณสุข ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ การ ป้องกนั ตนเองจากการติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลปัจจัยสว่ นบคุ คล ส่งผลต่อ พฤติกรรมการเรียนรู้ การป้องกันตนเองจากการติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มคี า่ น้ำหนักเท่ากับ .39 เมื่อ พิจารณาเปน็ รายดา้ นพบว่า ปจั จยั ด้านอาชีพสง่ ผลต่อพฤตกิ รรมการเรยี นรูก้ ารป้องกนั ตนเองจากการตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 มากทส่ี ุดมคี ่าน้ำหนัก 5.94 ในสว่ นชองปัจจยั ด้านการรับรโู้ อกาสเสีย่ งตอ่ การติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 และปัจจัย ด้านความร้เู กย่ี วกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 สง่ ผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ การปอ้ งกนั ตนเองจากการตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา มีนำ้ หนัก .28 และ .038 ตามลำดบั 10

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 2. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปจั จยั ด้านการรบั รู้โอกาสเส่ียงต่อการตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จากหนว่ ยงานสาธารณสขุ กับการเรยี นร้กู าร ป้องกันตนเองจากการตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบวา่ สำหรับปจั จัยด้านความรู้ ปจั จัยด้านการรับรู้และ พฤตกิ รรมการเรียนร้มู ีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับตำ่ กวา่ (r = .062) ระดับปานกลาง (r = .446) และระดับต่ำ (r=. 276) ต่อการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต 3. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ การป้องกันตนเองจากการติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อการ พัฒนาคุณภาพชวี ิตดา้ นเศรษฐกจิ ด้านสังคม ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสิง่ แวดล้อม พบว่า ผลการวิเคราะห์ พฤติกรรมการเรียนรู้การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีอิทธิพลทางตรงต่อการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ร่างกาย จิตใจ และดา้ นส่งิ แวดล้อม 4. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะตอ่ การเรียนรู้ เพ่อื การปรับตัวต่อสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) พบวา่ ด้านเศรษฐกจิ เปล่ียนรูปแบบการคา้ ขายเปน็ แบบออนไลน์ หารายได้จากทกั ษะรอง และเรียนรูท้ ักษะใหมๆ่ พร้อมทั้งวางแผนค่าใชจ้ ่ายเพ่ือเก็บเงินไวใ้ ช้ในยามฉุกเฉิน ด้านสังคม งดการเข้าร่วมกิจกรรม ทางสังคม ไม่อยใู่ นสถานทที่ ่ีคนพลกุ พลา่ น มกี ารเวน้ ระยะห่างทางสงั คม และสวมใส่หนา้ กากอนามยั ทง้ั อยู่ในบ้านและ นอกบ้าน รับฟังข่าวสาร เพื่อรับรู้สถานการณ์รอบด้านอย่างมีสติ ด้านร่างกาย ดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเองและ สมาชิกในครอบครวั เพ่ิมมากขึน้ ออกกำลังกายภายในบา้ นอย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 5 วัน สังเกตอาการและความผิดปกติท่ี เกิดขึ้น และปฏิบัติตนตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ด้านจิตใจ ผู้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรหากิจกรรมท่ี เสริมสร้างความสงบสุขและคุณค่าทางจิตใจ ไม่วิตกกังวลมากเกินไป มีสติพรอ้ มรับสถานการณ์ และด้านส่ิงแวดลอ้ ม มีจิตสำนกึ ในการท้งิ หนา้ กากอนามัยให้ถกู ต้องเปน็ นสิ ัย ชว่ ยกันดูแลรกั ษาความสะอาดของทกุ ชุมชน การกำจัดน้ำเสีย ระดับครอบครัว ร่วมกันปลูกต้นไม้ ปรับภูมิทัศน์บริเวณบ้านและชุมชน สำหรับข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย หน่วยงานด้านสาธารณสุขและเทศบาลนครหาดใหญ่ยังคงต้องเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่องและ ครอบคลุมทุกพื้นท่ีเก่ียวกับความรู้ทีเ่ ป็นลักษณะเฉพาะของโรคพฤติกรรมการป้องกันโรคและผลกระทบจากการแพร่ ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนการวางแผนเยียวยาทางด้านจิตใจและ เศรษฐกจิ ใหแ้ ก่ประชาชนหลังจากการแพรร่ ะบาดของโรคคล่ีคลายลง คำสำคญั : การเรียนรูข้ องประชาชน พฤติกรรมการปอ้ งกันตนเอง การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ABSTRACT The objectives of this survey research were 1) to study personal factors, knowledge factor about Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) factors for perception of risk of contracting Coronavirus 2019 (COVID- 19) from the public health agency that affect learning behavior Self-defense against coronavirus 2019 (COVID-19) 2) To study the relationship between personal factors, factors in knowledge of coronavirus disease 2019 (COVID-19), factors for perception of risk of contracting coronavirus 2019 (COVID-19) from public health agencies and learning to protect yourself from infection with the virus. Corona 2019 (COVID- 11

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 19) 3) to study learning behavior self-protection from coronavirus disease 2019 (COVID-19) on the improvement of quality of life in terms of economic, social, physical, mental and environmental aspects; and 4) to study opinions and recommendations. continue to learn in order to adapt to the epidemic situation of corona virus 2019 (COVID-19) from people in Hat Yai Municipality, Songkhla Province, a sample of 300 people used Convenience Random Sampling method to collect data. Using an online questionnaire (Google Form), IOC values between 0.67-1.00, total reliability is 0.93. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, minimum, maximum, correlation coefficient, and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results showed that : 1. Personal factors : Factors for knowledge about coronavirus disease 2019 (COVID-19), Factors for perception of risk which contracting coronavirus 2019 (COVID-19) from public health agencies that affect learning behavior, Self-defense against coronavirus 2019 (COVID-19) found that the results of the analysis of personal factors affecting learning behavior to protect yourself from infection with the corona virus 2019 (COVID-19) with a weight equal to .39 when considering each aspect found that The occupational factors affecting the self-protection learning behaviors from coronavirus 2019 the most were weighted 5.94. Coronavirus disease 2019 affects learning behavior The self-defense against coronavirus weighs .28 and .038, respectively. 2. Relationship between personal factors : Factors in knowledge of coronavirus disease 2019 (COVID-19), factors for perception of risk of contracting coronavirus 2019 (COVID-19) from public health agencies and learning to protect yourself from viral infection. Corona 2019 (COVID-19) found that for knowledge factors Cognitive factors and learning behaviors were positively correlated at lower (r = .062), moderate (r = .446) and low (r=.276) on quality of life improvement. 3. To study learning behavior : Self-protection from corona virus 2019 (COVID-19) infection on the improvement of quality of life in terms of economic, social, physical, mental and environmental aspects. It has a direct influence on the development of quality of life in economic, social, physical, mental and environmental aspects. 4. Comments and suggestions on learning in order to adapt to the epidemic situation of the corona virus 2019 (COVID-19), it was found that on the economic side, the trading model changed to online. Earn on secondary skills and learn new skills. as well as planning expenses to save money for emergency use. Social Refrain from participating in social activities. Not in a crowded place have social distancing and wear a hygienic mask both indoors and outdoors listen to news consciously perceive the surrounding situation. Physically, take care of the health of yourself and your family members more. Exercise at least 5 days a week at home and watch for symptoms and abnormalities. and acted according 12

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี to the advice of the public health officers. Should find activities that enhance peace and spiritual values. not too worried ready to accept the situation and the environment Have a habit of disposing of masks properly Help maintain cleanliness in every community. Family level wastewater disposal together planting trees Adjust the landscape around the house and community For recommendations from research results, public health agencies and Hat Yai Municipality still need to disseminate knowledge. Continuous and comprehensive information in all areas on the specific knowledge of the disease, disease prevention behaviors and the impact of the coronavirus disease 2019 epidemic on people's quality of life. as well as planning psychological and economic remedies for people after the epidemic subsides. KEYWORDS : public learning, self defense behavior, Corona virus epidemic 2019 บทนำ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2019 เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน หลายประเทศทั่วโลกกำลังเผชิญปัญหาการแพร่ของโรคติดต่อ อยา่ งรนุ แรง โดยอุบัติขึ้นครัง้ แรก ณ เมืองอฮู่ ัน่ มณฑลหเู ปย่ สาธารณรฐั ประชาชนจีน จากการประกาศอย่างเป็น ทางการ เมือ่ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2019 ซงึ่ ก่อนหนา้ นค้ี ือ เมอื่ วนั ท่ี 8 ธันวาคม 2019 ณ เมืองแห่งนี้มีรายงาน พบผู้ป่วยหลายรายที่เป็นโรคปอดบวมคล้ายกัน และได้มีการเก็บตัวอย่างไวรัสจากคนไข้นำไปวิเคราะห์ใน หอ้ งปฏิบตั ิการ พบวา่ มีสาเหตมุ าจาก Corona Virus ใหม่ ซึ่งเป็น (โรคทางเดินหายใจฉับพลนั รนุ แรง Coronavirus 2 หรือ SARS – CoV - 2) (Zhu eheck, 2020) ต่อมาสาธารณรัฐประชาชนจีนและองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ระบุว่า ไวรัสชนิดนี้คือ “เชื้อไวรัสโคโรนา” (Coronavirus) และได้กำหนดชื่อใหม่เป็น COVID-19 ลกั ษณะอาการของเช้ือไวรัสชนิดนีเ้ ชน่ เดียวกบั ผู้ปว่ ยทม่ี ีการติดเช้ือในระบบทางเดนิ หายใจ และจะแสดง อาการตั้งแต่ระดับความรุนแรงน้อย ได้แก่ คัดจมูก เจ็บคอ ไอและมีไข้ บางรายที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการปอด อักเสบหรือหายใจลำบากร่วมด้วย จนถึงอาการรุนแรงเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง อาจทำให้ ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ ซึ่งไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นี้สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ง่าย ทำให้เชื้อลุกลามไป อย่างรวดเร็ว โดยผ่านทางการไอหรือจาม การสัมผัสน้ำมูกหรือน้ำลาย โดยมีผู้ติดเชื้อไปแล้วทั่วโลก ณ วันที่ 21 กรกฎาคม 2021 จำนวน 192,807,139 ราย เสียชีวิต 192,807,139 ราย รักษาหาย 175,324,049 และผู้ติดเชื้อ สะสมสูงสุด 5 อันดับแรก คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา, ประเทศอินเดีย, ประเทศบราซิล, ประเทศรัสเซีย และประเทศ ฝรั่งเศส สำหรับประเทศไทยพบผู้ติดเชื้อเป็นลำดับที่ 51 ของโลก (อ้างอิงจากเว็บไซต์รายงานข้อมูลรวบรวมจาก หน่วยงานดา้ นสาธารณสุขทั่วโลก https://www.worldometers.info/coronavirus/) สำหรบั ประเทศไทยในระยะแรกพบผปู้ ่วยยนื ยันติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ณ วันที่ 15 มีนาคม 2563 จำนวน 114 ราย รักษาหายและแพทยใ์ ห้กลับบา้ น 37 ราย เสียชีวิตจำนวน 1 ราย พบผปู้ ่วยตดิ เชือ้ มอี ายรุ ะหว่าง 3- 74 ปี เพศชาย 62 ราย เพศหญิง 48 ราย ไม่ระบเุ พศจำนวน 4 ราย (ศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นข่าวโรคติดต่อเช้อื ไวรัสโคโร นา. 2562) ตอ่ มาประเทศไทยได้ออกประกาศข้อกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ. 2548 (ฉบับท่ี 1) ใช้บังคบั ทวั่ ราชอาณาจกั ร ห้ามประชาชนเข้าไปในพืน้ ท่ที ่ีมีความเสยี่ งต่อการติดโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 13

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 ทั้งนี้เพื่อเป็นการควบคุมการแพร่ระบาดตามที่องค์การอนามัยโลก ประกาศ “ภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นการสาธารณสุขของโลก” สำหรบั เทศบาลนครหาดใหญ่เป็นองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ สงั กดั กระทรวงมหาดไทย ตั้งอยู่ในพื้นท่ีจังหวัด สงขลา ภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ คมนาคม การศึกษา และสาธารณสุขของภาคใต้ ตั้งอยูท่ างตอนเหนือของประเทศมาเลเซยี ห่างจากดา่ นพื้นที่ชายแดน 46 กิโลเมตร มีช่องทางธรรมชาติและชอ่ งทาง ผ่านด่านชายแดนเข้ามายังเขตเมืองได้หลายช่องทาง มีจำนวนประชากรตามสำมโนประชากรที่อาศัยอยู่ภายในเขต เทศบาลนครหาดใหญ่ ข้อมูลล่าสุดเดือนเมษายน 2562 จำนวนทั้งสิ้น 158,392 คน จากจำนวนพื้นทีท่ ั้งหมด 21 ตารางกิโลเมตร ความหนาแน่นของประชากร 7,542.48 คน/ตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 67,299 ครัวเรือนแบ่งเป็น 103 ชุมชน นอกจากนี้ยังมีจำนวนประชากรแฝงทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติที่เข้ามาทำงานและ ศึกษาตั้งแต่ระดบั ข้ันพื้นฐานถึงอุดมศึกษาประมาณ 200,000 คน จากจำนวนประชากรทีอ่ าศัยอยู่อย่างแออัดและ เปน็ ท่รี วมของผู้อยอู่ าศัยหลายเชอ้ื ชาติ ตลอดจนมสี ถานประกอบการเป็นจำนวนมาก ทำให้มโี อกาสท่จี ะก่อให้เกิดการ แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นไปได้สูง จากจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นบั ตงั้ แตก่ ารเริ่มแพรร่ ะบาดถงึ ปัจจบุ นั ณ วันท่ี 26 กรกฎาคม 2021 จำนวน 2,655 คน และมีจำนวนตวั เลขของผู้ ติดเชื้อเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ ซึ่งจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาวะทางเศรษฐกิจของเมืองและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยตรง ดังนนั้ จงึ มคี วามจำเป็นที่ทกุ คนจะตอ้ งเรียนรูเ้ พื่อการปรับตัวให้สามารถอย่รู อดไดท้ ่ามกลางสถานการณ์การ แพรร่ ะบาดของ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่งึ ผลการวิจัยจะสามารถนำไปใชเ้ ปน็ แนวทางการ ดำเนินงานของหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องและการเรยี นรู้ของประชาชน เพื่อปอ้ งกันและแกไ้ ขการแพร่ระบาดของไวรัสโคโร นา 2019 (COVID-19) สกู่ ารกำหนดเป็นรูปแบบการให้ความรู้และแนวทางการปฏิบัติ เพอ่ื ลดอตั ราการสูญเสียของ ประชาชนไดอ้ ย่างเหมาะสม วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Study) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) และวจิ ยั เชิงคุณภาพ ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ประชากร (Population) ได้แก่ ประชาชนผู้ใหญ่ที่มีที่พกั อาศัยประจำอยู่ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ในปี พ.ศ. 2564 ทม่ี ีอายุ 7 ปีข้ึนไป กลุ่มตัวอย่าง (Samples) ได้แก่ ประชาชนผู้ใหญ่ที่มีที่พักอาศัยประจำในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ในปี พ.ศ. 2563 จำนวนทั้งสิ้น 300 คน การได้มาซง่ึ จำนวนกลุ่มตัวอยา่ งในการวจิ ยั ครัง้ น้ี ใช้วธิ กี ารกำหนดขนาดกลุ่ม ตัวอย่างแบบกรณีทีม่ วลประชากรมีจำนวนไม่แน่นอนของ Cochran (1997) ประกอบกับการวิจัยน้ีดำเนินการเก็บ ขอ้ มูลจากแบบสอบถามออนไลน์ จงึ ใช้วิธีสุ่มตวั อยา่ งแบบสะดวก (Convenience Random Sampling) 14

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เครอื่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากแนวคิดการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดย นภชา สิงห์วีรธรรมและคณะ (2563) ธานี กล่อมใจ และคณะ (2563) และคุณภาพชีวิตของประชาชน โดย ธีรพงษ์ ทศวัฒน์ และปิยะกมล มหิวรรณ (2563) และ Cochran (2540) ประกอบด้วย แบบสอบถาม 3 สว่ น ดังนี้ ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเลือกตอบ (Check list) เกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านความรู้ เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ลักษณะเป็นข้อคำถาม 2 ตัวเลือก ถ้าถูกต้องให้ 1 คะแนน และ ถ้าไม่ ถูกต้องให้ 0 คะแนน ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Five Rating Scale) เกี่ยวกบั ปัจจัยด้านการ รบั รู้โอกาสเส่ียงต่อการติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จากหนว่ ยงานสาธารณสขุ และพฤติกรรมการเรียนรู้การ ป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขต เทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใชเ้ กณฑ์การแปลความหมายของ ศิรชิ ยั กาญจนวาสี และคณะ (2547) ส่วนที่ 3 เป็นแบบสอบถามชนิดปลายเปิดเกี่ยวกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการเรียนรู้เพื่อการ ปรบั ตัวต่อสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) การตรวจสอบคณุ ภาพเคร่อื งมือ เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนือ้ หา (Content Validity) จากผูเ้ ชี่ยวชาญ 3 ท่าน ไดแ้ ก่ อาจารย์จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ คณะศกึ ษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย หาดใหญ่ และวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา ได้ค่า IOC ระหว่าง 0.67 – 1.00 และนำแบบสอบถามไปทดลอง ใช้ (Try out) กับกลุ่มที่มีลักษณะเหมือนกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน ได้ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของ แบบสอบถามปจั จัยด้านการรับรโู้ อกาสเส่ียงตอ่ การตดิ เชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) เท่ากับ 0.93 พฤตกิ รรม การเรยี นรู้การปอ้ งกนั ตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เทา่ กบั 0.94 และผลกระทบต่อการ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตของประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เท่ากบั 0.92 การเก็บรวบรวมข้อมูล ใชว้ ธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) และดำเนินการเก็บข้อมูลแบบ Online Survey ผา่ นทาง Application Line ไปยงั กลุม่ ตัวอยา่ ง ใชร้ ะยะเวลา 2 เดอื น ไดข้ อ้ มูลจำนวน 300 ชดุ การวิเคราะหข์ ้อมลู 1. วเิ คราะห์ข้อมูลทัว่ ไปโดยใช้คา่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ ค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐาน คา่ ต่ำสดุ และคา่ สงู สุด 2. วิเคราะห์ระดบั ความคิดเห็นเกี่ยวกบั การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พฤติกรรมการเรียนรู้และการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และผลกระทบต่อการ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสดุ 15

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้สถิติ Chi – Square Test และวเิ คราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหว่างปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) กับปัจจัยด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้ สถิตสิ ัมประสทิ ธ์ิสหสัมพันธ์ เพยี ร์สนั กำหนดค่าระดบั ความสัมพนั ธจ์ ากค่า r ดังน้ี (Wiersma and Jurs, 2009) ค่า r ต้งั แต่ 0.01 – 0.20 มีความสัมพนั ธ์ระดับตำ่ มาก ค่า r ตงั้ แต่ 0.21 – 0.40 มีความสมั พนั ธร์ ะดบั ตำ่ คา่ r ตง้ั แต่ 0.41 – 0.60 มีความสัมพนั ธร์ ะดับปานกลาง ค่า r ตง้ั แต่ 0.61 – 0.80 มีความสัมพนั ธ์ระดบั สูง ค่า r มากกว่า 0.80 มีความสัมพนั ธ์ระดบั สงู มาก 4. วิเคราะห์ปัจจยั สว่ นบุคคล ปัจจัยด้านความรู้เก่ียวกับโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และปัจจัยด้าน การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากหน่วยงานด้านสาธารณสุข ที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมการเรียนรู้การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และส่งผลต่อการพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยการวิเคราะหก์ ารถดถอยพหุคูณแบบขัน้ ตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) 5. วิเคราะห์ความคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะเชิงคุณภาพ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้การป้องกันตนเองจากการติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีค่าน้ำหนัก .39 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ปัจจัยด้านอาชีพ ส่งผลต่อ พฤตกิ รรมการเรยี นรกู้ ารปอ้ งกนั ตนเองจากการตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) มากทส่ี ดุ มคี ่าน้ำหนัก (5.94 * .39) = 2.32 รองลงมาได้แก่ ปจั จัยดา้ นอายสุ ่งผลต่อพฤตกิ รรมการเรยี นรกู้ ารป้องกันตนเองจากการตดิ เชื้อไวรัสโคโร นา 2019 (COVID-19) มีค่าน้ำหนัก (1.00 * .39) = .39 ปัจจัยด้านที่พักอาศัย ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้การ ป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีค่าน้ำหนัก (.41 * .39) = .16 และปัจจัยด้าน สมาชกิ ในครอบครวั สง่ ผลต่อพฤตกิ รรมการเรียนร้กู ารป้องกนั ตนเองจากการติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีค่าน้ำหนัก (.09 * .39) = .04 ส่วนปัจจัยด้านรายได้ ส่งผลด้านลบต่อพฤติกรรมการเรยี นรูก้ ารป้องกันตนเอง จากการตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีค่าน้ำหนกั (-1.92 * .39) = -0.75 ดังภาพ 1 ภาพ1 ปัจจัยสว่ นบคุ คลส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรกู้ ารป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัส โคโรนา2019 (COVID-19) 16

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลการวิเคราะห์ปัจจัยด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จาก หน่วยงานด้านสาธารณสุข ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีค่าน้ำหนัก .280 และปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลต่อ พฤตกิ รรมการเรยี นร้กู ารป้องกนั ตนเองจากการติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) มคี ่านำ้ หนัก .038 ดงั ภาพ 2 ภาพ 2 ปัจจัยดา้ นความรเู้ กี่ยวกบั โรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และปัจจัยดา้ นการรับรโู้ อกาสเส่ยี งต่อ การติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากหน่วยงานด้านสาธารณสุข สง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการ เรียนรูก้ ารปอ้ งกนั ตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กับ พฤติกรรมการเรยี นรู้การป้องกันตนเองจากการติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) มีความสัมพันธ์ เชิงบวกใน ระดบั ต่ำมาก มคี า่ สมั ประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ (r) เท่ากบั .012 และความสัมพนั ธร์ ะหว่างปัจจยั ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยง ต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จากหน่วยงานดา้ นสาธารณสขุ กับพฤติกรรมการเรยี นรู้การปอ้ งกนั ตนเองจากการ ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .268 และทงั้ ปจั จยั ดา้ นความรู้ ปัจจัยด้านการรบั รู้และพฤติกรรมการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เชงิ บวกในระดับต่ำมาก ระดับปานกลาง และระดับต่ำ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .062, .446 และ .276 ตามลำดับ ดงั ภาพ 3 17

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ภาพ 3 ความสัมพนั ธ์ระหว่างปจั จัยด้านความรู้เก่ยี วกับโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และ ปจั จัยดา้ น การรบั รโู้ อกาสเสย่ี งตอ่ การตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากหนว่ ยงานดา้ นสาธารณสขุ กับพฤตกิ รรมการเรยี นรกู้ ารป้องกนั ตนเองจากการติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3. ผลการวเิ คราะหพ์ ฤติกรรมการเรยี นรู้การป้องกนั ตนเองจากการติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตอ่ การพฒั นาคุณภาพชีวติ ด้านเศรษฐกิจ สงั คม ร่างกาย จติ ใจ และดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม พบว่า พฤติกรรมการเรียนรู้การ ปอ้ งกนั ตนเองจากการตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) มีอิทธพิ ลทางตรง (Direct Effect) ต่อคุณภาพชีวิตของ ประชาชนเทศบาลนครหาดใหญ่ มคี ่านำ้ หนกั .160 เม่อื พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ พฤติกรรมการเรียนรู้การป้องกัน ตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีอิทธิพลทางอ้อม (Indirect Effect) ต่อคุณภาพชีวิต ด้าน สังคม มีค่าน้ำหนัก (.160 * .739) = .118 มากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านจิตใจ มีค่าน้ำหนัก (.160 * .693) = .111 ด้านรา่ งกาย มคี า่ นำ้ หนกั (.160 * .655) = .105 และ ดา้ นเศรษฐกิจ มีค่านำ้ หนกั (.160*.587) = 0.094 ตามลำดับ ส่วนพฤติกรรมการเรียนรู้การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีอิทธิพลทางอ้อม (Indirect Effect) ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสภาพแวดล้อม มีค่าน้ำหนัก (.160 * .577) = .092 น้อยที่สุด ดังภาพ 4 ภาพ 4 พฤตกิ รรมการเรียนร้กู ารปอ้ งกนั ตนเองจากการติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สง่ ผลตอ่ ต่อ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ด้านเศรษฐกิจ สังคม ร่างกาย จิตใจ และดา้ นสง่ิ แวดล้อม 18

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สรุปผลการวิจยั ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 22 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 83 ส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพ ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 53 มีรายได้ต่อเดือน มากกว่า 25,001 บาท/เดือน คิดเป็น รอ้ ยละ 47.7 มจี ำนวนสมาชกิ ในครอบครวั จำนวน 3 – 4 คน คิดเป็นร้อยละ 56 มีลกั ษณะทพ่ี กั อาศัย เป็นบ้านทาว เฮา้ ส์หรือบ้านแฝด คดิ เปน็ ร้อยละ 32.7 และประชาชนส่วนใหญ่มีความรู้เกย่ี วกับโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) คดิ เป็นร้อยละ 74.8 และมกี ารรบั รูโ้ อกาสเส่ียงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากหน่วยงานด้าน สาธารณสุข มคี ่าเฉลย่ี อยใู่ นระดบั เทา่ กบั 3.62 โดยมรี ายละเอยี ดตามวตั ถุประสงคก์ ารวิจัยดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปัจจัยด้านการรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากหนว่ ยงานสาธารณสุข ท่ีสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการเรียนรู้ การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีค่าน้ำหนัก เท่ากับ .39 เม่ือพิจารณาเปน็ รายด้านพบว่า ปัจจัยดา้ นอาชีพส่งผลตอ่ พฤติกรรมการเรยี นรกู้ ารป้องกันตนเองจากการ ตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 มากท่ีสดุ มคี ่านำ้ หนกั 5.94 ในส่วนชองปัจจยั ด้านการรบั รโู้ อกาสเสี่ยงตอ่ การตดิ เชื้อไวรัสโค โรนา 2019 และปัจจัยด้านความรู้เกีย่ วกบั โรคไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรยี นรู้ การป้องกันตนเอง จากการตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา มีน้ำหนกั .28 และ .038 ตามลำดบั 2. ความสัมพันธร์ ะหว่างปัจจยั ส่วนบคุ คล ปัจจัยด้านความรู้เก่ียวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปัจจัยดา้ นการรบั รู้โอกาสเสีย่ งต่อการติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากหนว่ ยงานสาธารณสุขกับการเรียนรู้ การป้องกันตนเองจากการตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า สำหรับปัจจัยด้านความรู้ ปัจจัยด้านการ รับรู้และพฤติกรรมการเรียนรู้มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำกว่า (r = .062) ระดับปานกลาง (r = .446) และ ระดบั ตำ่ (r=.276) ตอ่ การพัฒนาคุณภาพชวี ติ 3. พฤติกรรมการเรียนรู้ การป้องกนั ตนเองจากการติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า ผลการวิเคราะห์ พฤติกรรมการเรยี นร้กู ารปอ้ งกนั ตนเองจากการติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 มอี ิทธพิ ลทางตรงตอ่ การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ร่างกาย จติ ใจ และด้านสงิ่ แวดลอ้ ม 4. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อพฤตกิ รรมการเรียนรู้ เพื่อการปรับตัวตอ่ สถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ทางดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านร่างกาย ดา้ นจิตใจ และดา้ นสง่ิ แวดล้อม ดงั น้ี ด้านเศรษฐกิจ ผู้ให้ข้อมูลเสนอแนะว่า ผู้ที่มีอาชีพค้าขายจากที่เคยค้าขายหน้าร้านแบบเดิมได้ เปลี่ยนเปน็ คา้ ขายแบบออนไลน์ สว่ นพนกั งานลกู จา้ งท่ถี ูกเลกิ จ้างงาน ควรหารายได้จากทกั ษะรองและเรียนรู้ทักษะ ใหมๆ่ และตอ้ งมีการวางแผนค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวนั และเก็บเงินไวใ้ ช้ในยามฉกุ เฉนิ ควรคิดก่อนท่ีจะตัดสินใจใช้ เงนิ และหาวิธกี ารประหยดั คา่ ใช้จา่ ย เชน่ การปลกู ผักสวนครัว ทำอาหารทานกนั เองในครอบครวั ด้านสังคม ผู้ให้ข้อมูลให้ข้อเสนอแนะว่า ควรใช้ชีวิตอย่างระมัดระวัง ไม่อยู่ในสถานที่ที่คนพลุกพล่าน มีการเว้น ระยะห่างทางสังคม และสวมใส่หน้ากากอนามัยทั้งอยู่ในบ้านและนอกบ้าน งดหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมให้ 19

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี น้อยลง ให้ใช้สื่อออนไลน์หรือ facebook ในการติดต่อแทน และควรรับฟังข่าวสาร เพื่อรับรู้สถานการณ์รอบด้าน อย่างมีสติและวางแผนการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข นอกจากนี้ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมวา่ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ครอบครัวมีความเข้มแข็งมากขึ้น คนในสังคม ชมุ ชน หันมารว่ มมือกนั เพอื่ ป้องกนั และแก้ไขปญั หาร่วมกนั และกล้าท่จี ะสอ่ื สารกนั อย่างเปิดเผย ยอมรบั ความจริงท่ี เกดิ ข้ึน ดา้ นร่างกาย ผใู้ ห้ขอ้ มลู ให้ขอ้ เสนอแนะว่า ควรหนั มาดแู ลใสใ่ จ ดา้ นสุขภาพของตนเองและสมาชิกใน ครอบครัวเพิ่มมากขึ้น ควรออกกำลังกายภายในบ้านอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน หมั่นตรวจเช็ค สังเกตอาการและ ความผดิ ปกตทิ ่ีเกิดขนึ้ กับตัวเองและสมาชกิ ภายในครอบครัว มีการตรวจสขุ ภาพระดับครอบครวั เลือกรับประทาน อาหารที่สด ใหม่ สะอาด และมปี ระโยชนต์ ่อร่างกาย ลดความเครียด และความวิตกกงั วล ยอมรบั การเปลี่ยนแปลงที่ เกดิ ขนึ้ อยา่ งมสี ติ รอบคอบ ปฏบิ ัตติ นตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและพกพาแอลกอฮอล์ทำความสะอาด เมือ่ ตอ้ งเดินทางออกจากบ้าน ใชข้ ้อดใี นสถานการณเ์ ชน่ น้ี คอื การได้มีเวลาให้กบั ตนเองมากขน้ึ ในการดแู ลสุขภาพ ดา้ นจิตใจ ผใู้ หข้ ้อเสนอแนะว่า ควรหากิจกรรมที่เสริมสรา้ งความสงบสขุ และคุณค่าทางจติ ใจ เช่น การ บรจิ าคเงนิ ชว่ ยเหลอื แก่สงั คมในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 การทำจิตใจใหแ้ จ่มใส ไม่วิตก กังวลมากเกินไป มีสติพร้อมรับสถานการณ์ ไม่คิดฟุ้งซ่าน ปล่อยวาง ถือว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ เชื่อว่าปัญหาทุกอย่างที่เกิดขึ้นจะมีแนวทางแก้ไขได้ ขอให้มีความเชื่อมั่นต่อตนเองและหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง หาวิธีผ่อนคลายความตึงเครียด ด้วยการใช้กิจกรรมต่างๆ เช่น การดูหนัง ฟังเพลง อยู่กับบ้าน การน่ัง สมาธิ ฝึกโยคะ เปลี่ยนมุมมองที่เป็นบวก เพื่อเสริมสร้างสุขภาพใจให้เข้มแขง็ และใช้ข้อดีภายใต้สถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) คือไดอ้ ย่กู ับครอบครวั และไมเ่ ครยี ดกบั การทำงาน ด้านสิ่งแวดล้อม ผู้ให้ข้อมูลให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีจิตสำนึกในการทิ้งหนา้ กากอนามัยให้เป็นนิสยั เช่น การถอดหน้ากากอนามัยตง้ั แตน่ อกบ้าน ไม่นำเขา้ บ้านและทง้ิ ในขวดน้ำพลาสติกแลว้ ปิดฝา จนเตม็ แล้วนำไปทิ้ง หรือใส่ถงุ ปดิ ให้มดิ ชิด เพอ่ื เป็นการแยกเชือ้ (หากมี) ให้กบั พนกั งานอีกทางหน่ึง เปน็ การรับผิดชอบตอ่ สังคมที่สามารถ ทำไดเ้ องเบ้ืองต้น อาศยั อยใู่ นสถานท่ี ท่อี ากาศถ่ายเท ถกู สุขลกั ษณะ ชว่ ยกันดแู ลรักษาความสะอาดของทุกชุมชน การกำจัดน้ำเสียระดับครอบครัว เพอ่ื ฟ้ืนฟู คู คลองธรรมชาติในเขตเทศบาลให้น้ำใสสะอาด ร่วมกันปลกู ต้นไม้ ปรับ ภมู ทิ ัศน์บริเวณบ้านและชมุ ชน ใชส้ ว่ นดีทเ่ี กดิ ข้นึ ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 คือ ท่ี ช่วยให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สภาพอากาศดีขึ้น เนื่องจากคนเดินทางและรถยนต์ รถจักรยานยนต์ น้อยลง พื้นที่ถนน เสน้ ทางเดินสาธารณะสะอาดขนึ้ ทกุ คนไดเ้ กดิ การเรียนรู้ต่อการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 และได้ปฏิบัติ ตนไดถ้ กู สุขลักษณะและเกิดความร่วมมือกัน เพอื่ ให้เกิดความปลอดภยั ข้นั พ้ืนฐานในการดำเนินชีวิต สำหรับข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ทมี่ ีต่อหนว่ ยงาน สาธารณะสขุ เทศบาลนครหาดใหญ่ และหน่วยท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ ควรมีการดูแลและใหค้ วามรู้แก่ประชาชนใหเ้ กิดความตระหนักในการป้องกนั การแพร่ระบาดของเช้ือโรค จัด ให้มีการฉดี วัคซีนเชงิ รุกอยา่ งทั่วถงึ การกระจายข้อมูลข่าวสาร ควรใหท้ ัว่ ถึงทุกชุมชน การตรวจคัดกรองและทำ ทะเบียนผตู้ ดิ เชื้อและแยกออกจากคนปกติ จนกวา่ จะปลอดภัยและมีมาตรการปอ้ งกนั ระดับชุมชน เป็นการส่งเสริม สาธารณสุขเชิงป้องกัน ควรมีหน่วยงานที่ให้คำตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 ที่เหมาะสมต่อ 20

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สถานการณ์ ควรมีศูนย์ให้คำปรึกษาทางจิต เข้าไปดแู ลสภาพจิตใจ ครอบครวั ทีม่ ีปญั หา เพือ่ ไม่ใหเ้ กิดการฆ่าตัวตาย และหลังจากการแพรร่ ะบาดของโรคยุติลง ควรมีนักจิตวิทยาเข้ามาพูดคยุ เพื่อเยียวยา ฟืน้ ฟสู ภาพจิตใจ สำหรับข้อเสนอแนะที่มีต่อเทศบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การจัดหาพื้นที่จำหน่ายสินค้า ราคาถกู และถกู สขุ ลกั ษณะ จัดฝกึ อบรมดา้ นอาชพี ให้แก่ ประชาชนและบัณฑติ จบใหม่ และช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ คา้ รายย่อย การลดค่าเช่าพืน้ ทจ่ี ำหน่ายสินค้า ลดภาษีปา้ ย จัดชอ่ งทางใหผ้ ้คู า้ ยา่ นกมิ หยงไดม้ ีช่องทางขายสินค้าผ่าน เพจตา่ งๆ การประชาสมั พันธผ์ ่านเสยี งตามสายใหท้ ั่วถึง ช่วยเหลือด้านทุกนการศกึ ษาแกน่ ักเรียนในเขตเทศบาล จัด ใหม้ ลี านกจิ กรรม ดนตรี กีฬาในพ้นื ท่ีทีป่ ลอดภัย จดั ให้มีพืน้ ที่สเี ขียว ดแู ลความสะอาดให้ถกู สุขลักษณะ จัดให้มีการ พ่นยาฆา่ เชอ้ื อยา่ งตอ่ เนือ่ งในชุมชน เจ้าหน้าทีก่ องอนามยั และสิ่งแวดล้อมควรออกตรวจเยี่ยมเยียนชุมชนต่างๆ เพื่อ ดูแลสภาพแวดล้อมของชุมชนอย่างน้อยเดือนละครั้งและเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หัวหน้า ชุมชนควรมกี ารพบปะ สอบถาม ความเป็นอยขู่ องสมาชิกในชุมชนอยา่ งน้อยเดือนละครัง้ เช่นเดียวกัน อภปิ รายผล กลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญร่ ้อยละ 74.80 มีความรู้เกี่ยวกบั ไวรัสโคโรนา 2019 แตม่ กี ารรบั ร้โู อกาสเส่ียงต่อการติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากหน่วยงานด้านสาธารณสุข ระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.62 จากมาตรส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ อาจเป็นเพราะวา่ ผลจากการให้ข้อมูลขา่ วสารจากศูนย์บริหารสถานการณ์ไวรัสโคโรนา 2019 และจากแหล่งข่าวของสื่อมวลชน ทำให้ประชาชนได้รับขอ้ มูลข่าวสารหลายช่องทางสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ธานี กลอ่ มใจและคณะ (2563) ทไี่ ด้ศึกษาเรอื่ งความรู้และพฤติกรรมองประชาชนเรื่องการปอ้ งกันตนเองจากการติด เช้ือไวรสั โคโรนา สายพนั ธใ์ หม่ 2019 พบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่มคี วามร้เู ก่ียวกบั การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 สำหรับการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อวารัสโคโรนา 2019 จากหน่วยงานด้าน สาธารณสุขระดบั ปานกลาง .28 อาจเป็นเพราะว่า กล่มุ ตวั อย่างยังได้รบั โอกาสรบั รู้เก่ยี วกับภาวะความเสยี่ งต่อการติด เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 อย่างทัว่ ถงึ ซง่ึ ส่งผลใหข้ าดความระมดั ระวงั ในการปอ้ งกนั ตนเอง อีกทงั้ ยงั พบว่า กลมุ่ ตวั อยา่ ง ยงั ขาดความชดั เจนด้านการปฏบิ ัติตนในการป้องกันการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ได้แก่ การล้างมือด้วย เจลแอลกอฮอล์ ความเข้มข้นอยา่ งนอ้ ย 70% เมื่อต้องออกไปที่สาธารณะ การไอจาม โดยป้องกันไม่ให้ฟุ้งกระจาย การใช้ช้อนกลางในการรับประทานอาหาร ผลการวิเคราะหป์ ัจจัยส่วนบุคคลสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการเรยี นร้กู ารปอ้ งกันตนเองจากการติดเชอ้ื ไวรัส โคโร นา 2019 พบว่า ปัจจัยด้านอาชีพส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ การป้องกันตนเองจากการติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 มากที่สุด อาจเป็นเพราะว่า การประกอบอาชีพมีโอกาสที่จะต้องติดต่อ มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น จึง จำเปน็ ตอ้ งเรียนรกู้ ารป้องกันตนเองจากการติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 สว่ นปัจจยั ด้านรายไดส้ ่งผลต่อพฤติกรรมการ เรียนรู้ การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 น้อยที่สุด อาจเป็นเพราะว่า ความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้คนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงแหลง่ ความรู้ ข้อมูลขา่ วสารได้อย่างเทา่ เทียมกัน สอดคล้อง การคิดเห็นของ ธีระพงษ์ ทศวัฒน์ และปิยะกมล มหิวรรณ (2563) ที่กล่าวว่า ลักษณะงานมีส่วนเกี่ยวข้องและ สัมพันธ์กับสังคมโดยตรง ทำให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกและยอมรับถึงความรับผิดชอบที่ตนมีต่อสังคม ส่วนรายได้ คา่ ตอบแทนเป็นความพงึ พอใจหรือไมพ่ ึงพอใจต่องานท่ีทำ (ไมต่ ่อเน่อื งกนั ) 21

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลการวเิ คราะห์ปัจจัยด้านการรับรู้โอกาสเสยี่ งต่อการตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และปัจจยั ดา้ นความรเู้ ก่ียวกับ โรคไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลต่อพฤตกิ รรมการเรียนรู้ การป้องกันตนเองจากการติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 อาจเป็น เพราะว่า ปจั จัยทั้ง 2 ประการ มคี วามสำคัญตอ่ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมการเรยี นของประชาชน ซ่ึงความรูแ้ ละการ รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ชัดเจน จะทำให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการดูแลตนเองและครอบครัว เพ่ือ ป้องกันการติดเชื้อ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ ฉันทพิชญา โพธิสาจันทร์ และคณะ (2551) ที่ได้นำเสนอเรื่อง พฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดนกของเครือข่ายแกนนำสุขภาพได้ให้ข้อเสนอแนะว่า การรณรงค์ให้ความรู้แก่ ประชาชนเป็นเร่ืองสำคัญ ควรเน้นย้ำในประเด็นทีม่ คี วามสำคัญและมีผลตอ่ การแพร่ระบาดของโรค จากความไม่รู้ ของประชาชนเพ่ือใหก้ ารปอ้ งกนั การติดเชอ้ื และการแพรร่ ะบาดของโรค ผลการวิเคราะหป์ ัจจยั ด้านความรูเ้ กย่ี วกบั โรคไวรัสโคโรนา 2019 และปจั จัยด้านการรบั รโู้ อกาสเสย่ี งต่อการติด เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 มคี วามสัมพันธเ์ ชงิ บวกกับพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การป้องกันตนเองจากการติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับต่ำมาก (r = .012) และระดับต่ำ (r = .268) และทั้ง 2 ปัจจัยมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการพัฒนา คุณภาพชีวิตในระดับต่ำมาก (r = .062) และในระดับปานกลาง (r = .446) ตามลำดับ และพฤติกรรมการเรียนรู้ ป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีความสัมพันธ์เชิงบวกกบั การพัฒนาคุณภาพชวี ิตในระดับต่ำ (r = .276) เช่นเดยี วกัน ทงั้ นอ้ี าจเปน็ เพราะว่า ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและได้มีการรับรู้โอกาสเส่ียงต่อการติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 จากหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งวา่ จะส่งผลกระทบตอ่ การพัฒนาคุณภาพชวี ติ อย่างไรบา้ ง ซ่ึงสอดคล้อง กับผลการศึกษาของ นภชา สงิ ห์วรี ธรรม และคณะ (2563) เรื่องการรบั รแู้ ละพฤตกิ รรมการป้องกนั โรคติดเชื้อไวรัสโค โรนา 2019 (COVID-19) ของทนั ตาภบิ าล สังกดั กระทรวงสาธารณสุข พบวา่ การรับรมู้ คี วามสมั พนั ธท์ างบวกในระดับ ต่ำมากกบั พฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรค COVID-19 ของทนั ตาภิบาล ผลการวเิ คราะห์พฤติกรรมการเรียนรู้การป้องกันตนเองจากการตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 มอี ิทธพิ ลทางตรงต่อ คณุ ภาพชีวติ ของประชาชน เมอ่ื พจิ ารณารายด้านพบว่า มอี ทิ ธพิ ลทางอ้อมตอ่ คณุ ภาพชวี ิตด้านสังคมมากที่สุด และมี อทิ ธิพลทางออ้ มต่อด้านสภาพแวดลอ้ มน้อยท่ีสุด ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะว่า การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้โดยง่าย ทำให้การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมอย่างใกล้ชิดต่อกันลดลงและมีความ ระมัดระวังในการอยู่ร่วมกันทางสังคมกับผู้อ่ืน ซึ่งเป็นภาวะวถิ ีใหม่ (New Normal) ส่วนอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อม น้อยทส่ี ุดอาจเป็นเพราะว่า ประชาชนยังคิดวา่ เปน็ ส่ิงที่ยงั อยใู่ กลต้ ัวและยงั ไม่เห็นผลโดยตรง เมอ่ื เทียบกับด้านสังคม เศรษฐกิจ จิตใจ และร่างกาย ซึ่งสอดคล้องกับองค์ประกอบสำคัญเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตตามหลักการของ Walton (1973) อ้างถงึ ใน ธานี กลอ่ มใจและคณะ (2563) เกยี่ วกบั การทำงานและการดำเนนิ ชวี ติ วา่ สังคมทำให้ตนเองรสู้ ึกว่า มคี ณุ คา่ และสง่ิ แวดล้อมทถ่ี กู สุขลักษณะและปลอดภัยจะชว่ ยให้ผปู้ ฏบิ ัตงิ านรสู้ ึกสะดวกสบายและไมเ่ ป็นอันตรายต่อ สุขภาพอนามัย ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ การวิจัยครัง้ นี้แสดงให้เห็นว่า ประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญท่ ี่เป็นกลุ่มตัวอยา่ งมคี วามรู้เกีย่ วกับ โรคไวรสั โคโรนา 2019 ค่อนข้างดี (รอ้ ยละ 74.80) แต่กย็ งั มบี างส่วนทีไ่ ด้ความรู้น้อยและการรับรู้โอกาสเส่ียงต่อการ ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยู่ในระดับปานกลาง (มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.62) ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้าน 22

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สาธารณสุขและเทศบาลนครหาดใหญ่ยงั คงตอ้ งเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลขา่ วสารอย่างตอ่ เน่ืองและครอบคลุมทุกพ้ืนที่ เกี่ยวกับความรู้ที่เป็นลักษณะเฉพาะของโรค พฤติกรรมการป้องกันโรค และผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรค ไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจ สังคม ร่างกาย จิตใจ และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการวางแผนเยียวยา ให้แก่ประชาชนหลังจากการแพร่ระบาดของโรคคล่ีคลายลง 2. ข้อเสนอแนะการวจิ ัยคร้ังต่อไป 2.1 ควรวจิ ัยเรื่องผลของการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคดิ จติ วิทยาเชิงบวก เพ่อื เสรมิ สร้างสุขภาวะ ของผไู้ ดร้ ับผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 2.2 ควรวจิ ัยประเด็นเกี่ยวกับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ต่อประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผลการจัดการศกึ ษาทุกระดบั เอกสารอา้ งองิ ฉนั ทพิชญา โพธิสาจนั ทร์, นาตยา เกรียงชยั พฤกษ,์ ญตา เจนสขุ อดุ ม. (2551). พฤตกิ รรมการปอ้ งกันโรคไขห้ วดั นกของ เครอื ข่ายแกนนาํ สุขภาพ. ประมวลผลงานวชิ าการสขุ ศกึ ษาและพฤติกรรมสุขภาพ กองสขุ ศึกษา กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ, 76-91. ธานี กล่อมใจ จรรยา แก้วใจบญุ และ ทักษิกา ชัชวรตั น์. (2563). ความรแู้ ละพฤติกรรมของประชาชนเรื่อง การปอ้ งกันตนเอง จากการตดิ เช้ือไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ใหม่ 2019. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา. 21(2), 29-39. ธีระพงษ์ ทศวัฒน์ และ ปิยะกมล มหวิ รรณ. (2563). การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทางสังคมของประชาชนและการป้องกัน การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19). วารสารมหาจุฬานาครทรรศน.์ 7(9), 40-55. ศิริชัย กาญจนวาสี และคณะ. (2547). การวิเคราะห์พหุระดับ : MULTI-LEVEL ANALYSIS. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. ศนู ยป์ ฏิบัติการด้านข่าวโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019. รายงานข่าวการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันที่ 15 มีนาคม 2563. กระทรวงสาธารณสุข.สืบคน้ จาก https./www.moph.go.th. สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2563). สู้ภัยโควิด 19 เปลี่ยนวิกฤตเป็นความยั่งยืนของชุมชน. กรุงเทพฯ : สำนกั งานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ Cochran, w.G. (1977). Sampling Technigues (3rd ed.) New York : John Wiley & Sons. Spilker, B. 1990. Quality of Life Assessment in Clinical Trials. New York : Reven Press, PP. 3-9 Walton, R.E. (1973). Quality of Working Life : What is it? Slone Management Review, 15(1), 12-18. Wiersma W, Jurs SG. (2009). Research Methods in education. Massachusetts : Pearson. Zhy, Dingyu 2 hang, Wenling Wang, Xingwang Li, Bo Yang, Jingdong Song, Xiang Zhao, Baoying Haung, Weifeng Shi, Roujian Lu, Peihua Niu, Faxian Zhan. (2020) “A Novel Coronavirus from Patients with Pneumonia in China, 2019”. The New England Journal of Medicine. Retrieved January 24, 2020. Form http:2//www.enjm.org/doi/full/10.1056/NEJ Moa 200/17. 23

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี การจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นรูข้ องโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 Learning Environment Arrangement of Ratchaprajanukroh School The Administrative Office, Special Education Group 7 นางสาวเนตรชนก ทองดำ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปะศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ [email protected] บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นเรื่องการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 เพ่ือศึกษา 1) การจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรขู้ องโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุม่ 7 2) การเปรยี บเทยี บการจดั สภาพแวดล้อมทางการเรยี นรขู้ องโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 จำแนกตามตัวแปรของเพศ วุฒิทางการศึกษา ประสบการณก์ ารทำงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ และ 3) เพ่อื ประมวลและข้อเสนอแนะเกย่ี วกบั การจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรยี นรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ดำเนินวิธีการวิจัยโดย กำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างดังนี้ 1) ประชากร ได้แก่ ครูผู้สอนที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในการจัดการ เรียนการสอนในโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน สถานศึกษา 6 แห่ง จำนวน 369 คน และ 2) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในการ จัดการเรียนการสอนในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 โดยใช้ตารางของ เครจซ่ี และมอร์แกน ไดข้ นาดจำนวน 186 คน จากนั้นทำการ 1) สุ่มแบบแบง่ ช้ัน ตามขนาดของสถานศึกษา 2) กำหนด ผูใ้ หข้ อ้ มูลแตล่ ะระดบั โดยการส่มุ อย่างง่าย 3) ด้วยวิธีการจับสลากแบบไมใ่ ส่คืน เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า IOC ทผ่ี ู้วิจยั สร้างขึน้ โดยค่าความเชอ่ื มัน่ .93 สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที่ (t-test) การทดสอบค่า F-test ผลการวจิ ยั พบว่า 1. การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษา พเิ ศษ กล่มุ 7 โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก 2. การเปรียบเทียบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนัก บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 จำแนกตามตวั แปรเพศ วุฒิทางการศกึ ษา ประสบการณใ์ นการทำงาน และกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ ท่ีจำแนกตามตวั เพศตา่ งกัน พบวา่ โดยภาพรวมไมแ่ ตกต่างกัน เมอ่ื พจิ ารณารายด้านพบว่า ดา้ นอาคารสถานท่ี มีความแตกต่างอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และด้านการจัดการศึกษา มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดบั .05 ตัวแปรวุฒิทางการศึกษาต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้าน 24

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี การให้บรกิ ารผูเ้ รยี นมีความแตกต่างอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05 ตัวแปรประสบการณ์การทำงานตา่ งกนั พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกตา่ งกนั เมอ่ื พจิ ารณารายดา้ นพบว่าด้านการจัดการศกึ ษา มีความแตกตา่ งอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และตามตวั แปรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ตา่ งกนั พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกตา่ งกนั 3. ประมวล และข้อเสนอแนะควรจัดศึกษาในรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับ สถานศึกษาแบบเรียนรวมและความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครองที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ โรงเรียน คำสำคญั : การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้, โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์, สังกดั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กล่มุ 7 Abstract This study is about The objectives of study are as the following: 1) to study the learning environment arrangement of Ratprachanukroh School special education group 7, 2) to study the effectives of difference such as genders, educations, work experiences and that includes the learning group of learning environment arrangement of Ratprachanukroh School special education group 7 and, 3) to study the problems and the suggestions about the learning environment arrangement of Ratprachanukroh School special education group 7 and that to compare and to compile the suggestions about the learning environment arrangement of Ratprachanukroh School special education group 7. This study has provided population and sampling groups as the following: 1) population. The assigned teachers who are working as the teachers in Ratprachanukroh School under the special education group 7 in the academic year 2021 from 6 schools and totaling 369 people and, 2) sampling group. The assigned teachers who are working as the teachers in Ratprachanukroh School under the special education group 7 that selected by using the table size of Krejcie and Morgan (1970) and, the total number is 186 people. It utilized 1) a stratified random sampling method following the school size, 2) to provide the data respondents of each level through a simple random sampling and 3) drawing out the lottery without returning method. The tool utilized to compile the data that is designed in a form of the estimation scale questionnaire IOC which created by the researcher with the reliability at .93. The statistics to analyze the data that are such as Mean, Standard Deviation, T-test Independent and, F-test (One-Way Analysis of Variance : ANOVA). This study has found as the following: 1.The arrangement of learning environment of Ratchaprajanukroh School under the Administrative Office special education group 7 that is in general stay at a “very high” level. 2. The comparison of learning environment arrangement of Ratprachanukroh School special education group 7 that classified into gender, education, work experience and learning group with different genders that is found as the following: it has no difference in general, however, when considering from 25

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี each aspect, in a students’ service it is found that the difference is there with the statistical significance at .01 level. The difference of educational qualifications variable is found that in general it is not different, but when considering each aspect and that it found that in a social friendship group, the difference is there with the statistical significance at .05 level. Regarding the work experience variable that is different although it was found the overall is not different. However, when considering each aspect and it found that in an education management, the difference is there with the statistical significance at .05 level. In addition, the learning subject variable is different although it found that the overall is not different, however, when considering each aspect and that it found in a building place, the difference is there with the statistical significance at .05 level. 3. Codes and recommendations should be organized in the form of an environment conducive to learning for inclusive education institutions. The satisfaction of students and parents on the learning environment arrangement. KEYWORD : Learning Environment Arrangement, Ratprachanukroh School, Affiliation of Administrative Office, Special Education Group 7 บทนำ การบริหารจดั การส่ิงแวดล้อมเปน็ เร่ืองท่ีทุกคนควรจะสนใจ และตระหนักถงึ ความสำคญั เพราะส่ิงแวดล้อม เป็นปัญหาที่จะส่งผลกระทบทั้งระดับโลก ระดับประเทศ ระดับกลุ่มชน และระดับบุคคลโดยมนุษย์เป็นผู้ที่ทำลาย สิ่งแวดล้อมเสยี เอง ซึ่งทำให้เกิดสภาวะวิกฤตไปทั่วโลกโดยเพาะอย่างยิง่ ประเทศไทยได้สูญเสยี ทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ นำไม้ไปมากท่ีสุด เพื่อให้ประเทศไทยก้าวไปสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ดังนั้นการปลูกจิตสำนึกของเด็ก และ เยาวชนอนั เปน็ พชื พนั ธใ์ุ หม่ของแผ่นดนิ ซ่งึ โรงเรียนเป็นองค์การสำคญั ในการปลูกจิตสำนึกของเด็ก และเยาวชนเน่อื งจาก โรงเรียนเป็นสถานทที่ ีเ่ ดก็ จะต้องเข้าไปใช้ชวี ิตอยู่ไม่ตำ่ กว่าวนั ละ 6-7 ชัว่ โมงเป็นเวลา 7-12 ปี ส่ิงทพี่ บเห็นในโรงเรียนใน ระยะเยาว์วัยจะสั่งสมเปน็ ประสบการณเ์ พ่ือให้เด็กเกิดชีวทศั น์ และโลกทัศน์ตลอดชีวิตของเดก็ ตอ่ ไปกล่าวคือโรงเรียน จะต้องเป็นองค์กรที่จัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะเป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักเรียนและชุมชน (ณัฐตะวัน ลิ้มประสงค์, 2558, น. 21) สภาพแวดล้อมในสถานศึกษาเป็นองค์ประกอบสำคัญในการดำเนินนโยบายที่จะนำไปสู่การปฏิบัติใน สถานศึกษา ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ และการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด' ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับความสำคัญ ของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนว่า บรรยากาศ และสภาพแวดล้อมของโรงเรียนเกี่ยวข้องกับความรู้สึกของครู นักเรียน รวมทั้งคนอื่น ๆ ที่มีต่อโรงเรยี น โรงเรยี นมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมไม่ดีจะทำให้นักเรยี น ตลอดจนคนที่ เกี่ยวข้องเกดิ ความรู้สึกทไี่ ม่ดีตอ่ โรงเรียน แตถ่ า้ โรงเรียนมบี รรยากาศ และสภาพแวดลอ้ มที่ดีก็จะทำให้นักเรียนอยากไป โรงเรยี น และคนที่เกี่ยวขอ้ งเกิดความรู้สกึ ทด่ี ีตอ่ โรงเรยี นดว้ ย (พระมหาขุนทอง อคควโร, 2559, น. 17) บรรยากาศการจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรู้สภาวะภายนอกที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน ของนักเรยี นทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นของโรงเรยี นด้านอาคารสถานท่ีในโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 อ บริเวณสถานที่มีผลต่อการจัดการเรียนการสอน 26

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี การบริการต่าง ๆ ห้องเรียน ห้องพักครู ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ โรงอาหาร ห้องน้ำและส่ือการสอนต่าง ๆ สนามกีฬา ตลอดจนการจัดบริเวณความสะอาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในโรงเรียน สภาพการสอนของครูกิจกรรมการสอน เทคนคิ และวิธีการสอน รวมถึงการสรา้ งบรรยากาศในช้ันเรยี นและการวัดผลประเมินผลของผู้สอน การจดั บรกิ ารต่าง ๆ ให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้รับความสะดวกสบาย ปลอดภัยในทุก ๆ การจัดบริการเกี่ยวกับการให้การศึกษาการ จัดบริการอาหารกลางวัน การแนะแนว การจัดบริการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยเป็นต้น นอกจากนี้การดำเนินการใด ๆ ภายในโรงเรยี นโดยวิธที ่หี ลากหลาย เพอ่ื ให้การปฏิบัตงิ านเกดิ ผลสำเร็จ และบรรลุวตั ถปุ ระสงคโ์ ดยมีการดำเนนิ งานอย่าง มีระบบ แบบแผน มีกาทำงานเป็นทีมมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และความช่วยเหลือซึ่งกันและกันลักษณะของกิจกรรมท่ี โรงเรียนจดั ขึ้น เพ่ือให้นกั เรียนไดเ้ ข้ารว่ ม โดยมกี ระบวนการรปู แบบ วิธีการทีหลากหลายม่งุ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ และชีวิต ความเปน็ อยู่ของนักเรียนใหด้ ำเนินไปไดด้ ว้ ยดี ลกั ษณะความสัมพนั ธร์ ะหว่างนกั เรียนด้วยกันที่มีความสมั พนั ธ์กนั ในกลุ่ม การใช้เวลาว่างการยอมรับในรุ่นพี่รุ่นน้องการกระทำ และการแสดงออกของเพื่อนร่วมชั้น และความร่วมมือในกลุ่ม เพ่ือใหน้ กั เรยี นได้มสี ่วนร่วมกนั ตลอดจนกิจกรรมทีเ่ ออื้ อำนวย ต่อการพัฒนากระบวนการจดั การใหแ้ ก่ผู้เรียนในโรงเรียน สภาพแวดล้อมล้วนมีความเชื่อเบื้องตันว่า พฤติกรรมของบุคคลนั้นสามารถทำความเข้าใจ และทำนายได้โดยพิจารณา จากปฏิกิรยิ าระหวา่ งบุคคลกับสภาพแวดลอ้ มท่บี ุคคลอาศยั อยูซ่ ง่ึ เรียกวา่ นเิ วศวทิ ยาของสถาบันการศกึ ษา ซ่ึงหมายถึง การประยุกต์หลักการที่เกี่ยวกับปฏิกิริยาระหว่างบุคคลกับสภาพแวดล้อมมาใช้อธิบายปฏิกิริยาระหว่างนักศึกษากับ สถาบันการศึกษา นักจิตวิทยาที่สนใจเกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมมีความเชื่อว่า พฤติกรรมของนักศึกษามี ความสมั พันธ์กบั สภาพแวดล้อมของสถาบันการศึกษา วธิ กี ารพัฒนานักศกึ ษาทไี่ ดผ้ ลทางหน่งึ ซ่ึงเก่ียวกบั การจัดการกับ ปฏกิ ิรยิ าระหว่างนกั ศึกษากับสภาพแวดลอ้ มของสถาบนั เพ่อื พฒั นานกั ศึกษาให้มคี วามสมบรู ณ์ทุกๆ ดา้ นสำเนาว์ ขจร ศลิ ป์ (2558, น. 80) ได้จำแนกสภาพแวดลอ้ มด้านกายภาพ สภาพแวดลอ้ มด้านการบรหิ ารสภาพแวดล้อมด้านการเรียน การสอนและสภาพแวดล้อมด้านกลุ่มเพื่อน ซึ่งในสภาพแวดล้อมทั้ง 4 ด้านนี้สถาบันการศึกษาอาจมีการจัดและ ดำเนินงานในด้านต่างๆ จำแนกย่อยออกไปแตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปณิธานของแต่ละสถาบันสภาพแวดล้อมใน สถานศึกษาเป็นอีกปัจจยั หนึง่ ท่ีมสี ว่ นชว่ ยสง่ เสริมให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ และพัฒนาได้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในส่วน ท่ีเกย่ี วกบั อาคารเรยี น อาคารประกอบการสถานทบ่ี ริเวณรวมทงั้ วัสดอุ ุปกรณ์ต่าง ๆ ซง่ึ อยู่รอบตวั ผเู้ รียนซ่ึงมีอิทธิพลต่อ พฤติกรรม และการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน และกอ่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ เพราะสภาพแวดลอ้ มทุกอย่างมีอิทธิพล ต่อจิตใจ และพฤติกรรมของผูเ้ รยี นเป็นการเสริมสรา้ งขวัญ และกำลังใจในการประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน และ การปฏิบัติหน้าที่การงานของทุกคนในสถานศึกษา ทั้งช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนการสอนให้เกิดผลสำเร็จทางการ ศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ ตามแนวคิดของแอสติน (Astin, 1971, p.27) องค์ประกอบของ สภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษามี 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านอาคารสถานท่ี หมายถึง ลักษณะสภาพแวดลอ้ มล้อมอาคารสถานที่ใน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ สังกดั สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษกลุม่ 7 อาคารเรียน ห้องเรียน บรเิ วณสถานท่ีศึกษา ที่มีผลต่อการจัดการเรยี นการสอน ด้านการเรียนการสอน หมายถึง สภาพการสอนของครูกิจกรรมการสอนการกระทำ การแสดงออกของได้แก่ เทคนิค และวิธีการสอน การสร้างบรรยากาศในชัน้ เรียน และการวัดผลประเมินผลของผู้สอน ดา้ นการให้บริการผูเ้ รียน หมายถงึ การจัดบริการตา่ ง ๆ ให้แก่นกั เรยี น เพ่ือใหน้ ักเรียนไดร้ ับความสะดวกสบาย ปลอดภัย ในทุก ๆ ด้าน ด้านการจัดการศึกษา หมายถึง การดำเนินการใด ๆ ภายในโรงเรียนโดยวิธีที่หลากหลาย เพื่อให้การ ปฏิบตั งิ านเกดิ ผลสำเรจ็ และบรรลุวตั ถุประสงค์ ดา้ นการจดั กิจกรรมผ้เู รยี น หมายถึง ลกั ษณะของกจิ กรรมทโ่ี รงเรียนจัด 27

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ขึน้ เพือ่ ใหน้ กั เรยี นได้เข้ารว่ ม โดยมกี ระบวนการรูปแบบ วิธีการทีหลากหลายมุ่งสง่ เสรมิ การเรียนรู้ และชวี ิตความเป็นอยู่ ของนักเรียนให้ดำเนินไปได้ด้วยดี 6 ด้านสังคมกลุ่มเพื่อน หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างนกั เรียนด้วยกันท่มี ี ความสมั พนั ธก์ ันในกลุ่ม การใชเ้ วลาว่างการยอมรับในรนุ่ พร่ี ่นุ น้องการกระทำ และการแสดงออกของเพ่ือนร่วมช้ัน และ ความร่วมมือในกลุ่ม เพื่อให้นักเรยี นได้มีส่วนรว่ มกันตลอดจนกิจกรรมที่เอือ้ อำนวย ต่อการพัฒนากระบวนการจัดการ ให้แก่ผู้เรียนในโรงเรียน (มาริสา ธรรมมะ, 2558, น. 1) และสิ่งแวดล้อมที่ดีของนักเรียนจะมีส่วนในการเสริมสร้าง ความคดิ จติ ใจและคณุ ธรรมดำรง ๆ อนั พึงประสงคไ์ ด้ ครูอาจแบง่ เปน็ 2 ประเกทใหญ่ คอื ครูพดู ได้ และครูท่พี ดู ไม่ไดค้ รู ทีพ่ ูดไดเ้ ป็นท่ีรู้จกั กันดี และไดร้ บั การยกย่องยอมรบั กนั ว่ามีความสำคัญอย่างยงิ่ แตค่ รพู ูดไม่ได้มกั ไดร้ ับการกล่าวถึงกัน น้อย บรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนถือว่าเป็นครูทีพ่ ูดไมไ่ ดเ้ ช่ือกนั ว่าโรงเรยี นท่ีสะอาด ร่มรื่นเรียบง่าย สดชื่น สวยงาม แจ่มใส มีชีวิตชีวา วัสดุ อุปกรณ์อาคารสถานที่ ที่ได้รับการดแู ลเอาใจใส่ มีความปีนปัจจบุ ัน พร้อมที่จะให้ครู และนักเรียนได้ใชต้ ลอดเวลา ย่อมทำให้ครูและนักเรียนได้รับอิทธิพลทำให้เปีนคนละเอียดอ่อน จิตใจแจ่มใสรักสวยรกั งาม รักษาความสะอาดเรียบง่ายและรักความร่มรืน่ ไปด้วยคุณธรรมต่าง ๆ อันพึงประสงค์ตามหลักสูตรที่เกดิ ขึ้นในตวั นักเรียนอาจเกดิ ขึ้นจากครูที่พูดไมไ่ ด้นี้ สมควรที่โรงเรียนจะตอ้ พยายามจัดบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ ครอบคลุม ครบถ้วนทุกค้านเพื่อประโยชน์ในการที่เด็กนักเรียนจะได้พัฒนาได้เต็มความรู้ ความสามารถ (โกวิท วรพิพัฒน์, 2561, น. 1) การบริหารจัดการที่ทำให้โรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงที่สมบูรณ์ คือ โรงเรียนต้องมีสังคม บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยให้เป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ มีความพร้อมในด้านทรัพยากรวัตถุ และ เทคโนโลยี งบประมาณ และทรัพยากรบคุ คล สามารถจัดการศกึ ษาได้อย่างดีทั้งในดา้ นการบริหารจัดการเรยี นและการ จัดการเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานกำหนด ได้รับการพฒั นาอย่างครบถ้วนทุกด้าน เป็นคนดี คนเก่ง มี ความสขุ เปน็ โรงเรียนทีจ่ ัดการศึกษาไดส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของชมุ ชน เปน็ ทีช่ น่ื ชมของชมุ ชน รวมท้ังเป็นโรงเรยี น ที่สามารถเป็นแบบอย่างในการให้ความช่วยเหลือชุมชน และโรงเรียนใกล้เคียง ให้ชุมชนเห็นความสำคัญของ สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ ผู้เรียนจะประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการจัดสภาพแวดล้อมทางการ เรยี นรู้เป็นสำคญั องคป์ ระกอบที่สำคัญย่งิ ของการจัดการศกึ ษาคอื การจดั สภาพแวดล้อมสถานศึกษาดังที่ แอสติน กล่าว ว่า หน้าที่สำคญั ของสถานศกึ ษาจะต้องพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้มีคณุ ธรรม ซึ่งจะเห็นได้จากนกั เรียนแสดงความคิดเห็น ตอ่ สถานศึกษา และชอ่ื เสียงของสถานศึกษานน้ั ๆ สภาพแวดลอ้ มในสถานศกึ ษามอี ิทธิพลตอ่ พฤตกิ รรมของนักเรียนทุก ด้าน โดยเฉพาะทัศนคติ บุคลิกภาพ และคุณธรรมซึ่งเป็นคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างเสริมความเป็นเลิศทาง วิชาการ และทางวชิ าชีพในโอกาสตอ่ ไป มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กล่มุ 7สถานศึกษา ในสังกดั สำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ กล่มุ 7 ประกอบด้วย จำนวน 25 สถานศึกษา สงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 หมายถึง หน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิการที่อยูใ่ นจังหวัดชุมพร จังหวัดระนอง จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัด กระบี่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง ดูแลรับผิดชอบสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน 25 สถานศึกษา ได้แก่ สถานศึกษา ศึกษาสงเคราะหพ์ ัทลงุ สถานศกึ ษาศกึ ษาสงเคราะหส์ ุราษฎรธ์ านี สถานศกึ ษาราชประชานุเคราะห์ 19 จงั หวดั นครศรธี รรมราช สถานศกึ ษาราชประชานุเคราะห์ 20 จังหวัดชุมพร สถานศึกษาราชประชานุเคราะห์ 35 จงั หวดั พังงา สถานศกึ ษาราชประชานุ เคราะห์ 36 จังหวัดภูเก็ต สถานศึกษาราชประชานุเคราะห์ 37 จังหวัดกระบี่ สถานศึกษาราชประชานุเคราะห์ 38 จังหวัด 28

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ระนอง สถานศึกษาชุมพรปัญญานุกูล จังหวัดชุมพร สถานศึกษานครศรีธรรมราชปัญญานุกูล จังหวัดนครศรีธรรมราช สถานศึกษาภูเก็ตปัญญานุกูล จังหวัดภูเก็ต สถานศึกษาสำหรับคนพิการทางร่างกาย ละการเคลื่อนไหว จังหวัด นครศรีธรรมราช สถานศึกษาโสตศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช สถานศึกษาโสตศึกษา จังหวัดพังงา สถานศึกษาสอนคนตา บอดภาคใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา 3 จังหวัดสงขลา ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา 4 จงั หวัดตรัง ศนู ย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดกระบ่ี ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดชุมพร ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดพังงา ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดพัทลุง ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดภูเก็ต ศูนย์ การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดระนอง ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงครองสริ ิราชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี ในปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๔๙ รองรับเดก็ ดอ้ ยโอกาส เดก็ กำพร้า เด็กทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากปัญหา ครอบครัว สภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ เสรมิ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางการศกึ ษาใหแ้ ก่เด็กด้อยโอกาสให้ไดร้ บั บริการศึกษา ขั้นพื้นฐานอย่างท่ัวถึงเท่าเทียมและมีคุณภาพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษาตลอดจนปลูกฝังให้ เด็กและเยาวชนมีความรัก (สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ 7, 2562, ออนไลน์)ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผวู้ ิจยั มีความสนใจ ทจ่ี ะทำการวิจัยเร่อื ง การจดั สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษา พิเศษกลุ่ม 7 เพื่อเป็นแนวทางในการวางจัดการบริหารช้ันเรียนดำเนนิ การพฒั นา ปรบั ปรุงบรรยากาศ และสภาพแวดล้อม ดา้ น อาคารสถานท่ี ด้านการจัดการเรียนการสอน ดา้ นสงั คมกลุ่มเพ่ือน และดา้ นการให้บริหาร เพ่ือเสริมสร้างความคิด จิตใจ และ ธรรมต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกสบาย เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ดังนั้นการจัดสภาพแวดล้อมจึงมีส่วนช่วยส่งเสริมให้ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ กระบวนการคิดมีความสุขกับการเรียนเนื่องจากโรงเรียนเป็นองค์กรที่ให้บริการด้านการศึกษาที่จะ ส่งเสรมิ ให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มท่ี เตม็ ศักยภาพ ส่งผลให้นักเรยี นมีประสิทธิภาพด้านการศึกษาท่ีเอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ และ เกดิ ประโยชน์ต่อผู้เรยี นนำมาปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นของโรงเรยี นต่อไป วัตถุประสงคข์ องการทำวิจัย 1. เพื่อศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงาน การศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 2. เพื่อเปรียบเทียบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กล่มุ 7 จำแนกตามเพศ วุฒทิ างการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 3. เพื่อประมวลข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษกล่มุ 7 สมมติฐานของการวิจยั 1. ครูที่เพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 แตกตา่ งกัน 2. ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ สงั กดั สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 แตกตา่ งกนั 29

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3. ครูที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจดั สภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรู้ของโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ สงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุม่ 7 แตกต่างกัน 4. ครทู อ่ี ยกู่ ลุ่มสาระการเรียนรตู้ ่างกนั มคี วามคดิ เหน็ ต่อการจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ สงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม 7 แตกต่างกนั วธิ ดี ำเนินการวิจยั 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรทใี่ ช้ในการวิจยั ไดแ้ ก่ ครูผู้สอนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุม่ 7 ปกี ารศึกษา 2564 โดยมีโรงเรียน 6 โรงเรียน และครูจำนวน 369 คน (สำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7, 2564, ออนไลน์) กลมุ่ ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการศึกษาครัง้ นไ้ี ดแ้ ก่ ครูผู้สอนโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ สังกดั สำนักบรหิ ารงาน การศึกษาพเิ ศษ กลุม่ 7 ได้มาจากการกำหนดขนาดของกล่มุ ตวั อย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่ และมอรแ์ กน (Krejcie and Morgan, 1970, p. 607-610) ได้ขนาดกลมุ่ ตัวอยา่ งจำนวน 186 คน จากนนั้ ทำการสมุ่ แบบแบ่งชัน้ (Stratified random sampling) ตามขนาดของสถานศึกษา และกำหนดผู้ให้ข้อมูลแต่ละระดับโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ดว้ ยวิธกี ารจับสลากแบบไม่ใสค่ ืน 2. เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย เครื่องมือที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 แบ่งแบบสอบถามออกเป็น 3 ตอนนี้ ดังน้ี ตอนที่ 1 แบบสอบถามเก่ยี วกบั ขอ้ มูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม เป็นแบบสำรวจรายการ (Check list) ไดแ้ ก่ เพศ วุฒิทางการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 4 ข้อ ลักษณะของแบบสอบถาม เปน็ แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการจดั สภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรู้ ของโรงเรียนราชประชานเคราะห์ สังกัด สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 สร้างขึ้นตามขอบเขตของเนื้อหาที่ได้จากการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ หลกั การ แนวคิด และงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ งทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เกี่ยวกบั แนวคดิ ของแอสติน (Astin, 1972, p. 67-72) ได้จัดสภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษาท่ีเปน็ สิง่ เร้าให้นกั เรยี นแสดงพฤตกิ รรมหรือลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ต่าง ๆ แบ่ง ออกได้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) สภาพแวดล้อมด้านอาคารสถานที่ จำนวน 9 ข้อ 2) สภาพแวดล้อมด้านการเรียนการสอน จำนวน 8 ขอ้ 3) สภาพแวดล้อมด้านการให้บริการผูเ้ รียน จำนวน 8 ขอ้ 4) สภาพแวดล้อมด้านการจดั การศึกษา จำนวน 7 ขอ้ 5) สภาพแวดลอ้ มด้านการจัดกิจกรรมผู้เรียน จำนวน 9 ข้อ 6) สภาพแวดล้อมด้านสงั คมกลุ่มเพื่อน จำนวน 9 ข้อ ลกั ษณะเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) แบง่ เปน็ 5 ระดบั โดยกำหนดตวั เลอื กไว้ 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยมีเกณฑ์การให้น้ำหนักคะแนนตามแนวทางการสร้างเครื่องมือของลิเคอร์ท (Likert) ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2557, น. 73) 30

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตอนที่ 3 สอบถามปญั หา และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ ของโรงเรียนราชประ ชานเคราะห์ สังกดั สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 เป็นแบบคำถามปลายเปดิ ทใ่ี หค้ รูตอบและเขียนข้อเสนอแนะ อ่นื ๆ การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื ผูว้ ิจยั ได้สรา้ งแบบสอบถามซง่ึ เปน็ เครือ่ งมอื เพอื่ ใช้ในการรวบรวมขอ้ มูลไดด้ ำเนนิ การตามข้ันตอนดังน้ี 1. ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิดจากเอกสาร งานวิจัย รวมทั้งการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตในประเด็น พฤติกรรมภาวะผู้นำเชงิ สรา้ งสรรคข์ องผบู้ ริหารสถานศกึ ษา เพือ่ นำขอ้ มูลมากำหนดขอบเขตในการสร้างเครอื่ งมือ 2. กำหนดกรอบแนวคิดและวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อกำหนดขอบเขตคำถาม สร้างแบบสอบถามตามกรอบ แนวคดิ และวัตถปุ ระสงค์การวิจยั 3. สร้างแบบสอบถามตามกรอบแนวคิดของการศกึ ษาแล้วนำเสนออาจารย์ทป่ี รึกษาการค้นคว้าอิสระเสนอแนะ และแก้ไขตามแนวทางท่ีถูกต้อง 4. นำแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจแก้ไขและได้รับการปรับปรุงข้อเสนอแนะจาก อาจารย์ที่ปรึกษาเรียบรอ้ ย แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ จำนวน 5 คน พิจารณาตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) ความ เหมาะสมของภาษาทใ่ี ช้และใหข้ อ้ เสนอแนะในการ แกไ้ ขปรบั ปรุงให้เหมาะสม 5. นำแบบสอบถามมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of item objective congruence :IOC) ได้ค่าความ สอดคล้องเท่ากบั .93 ทกุ ขอ้ 6. นำแบบสอบถามที่สร้างเสร็จแล้วไปทดลองใช้ (Try out) กับครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน แล้วนำข้อมูลที่ได้ จากการทดลองมาคำนวณหาค่าความ เทยี่ ง (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยวธิ กี ารหาค่าสมั ประสทิ ธข์ิ องอัลฟา (α - Coefficient) ของ (Cronbach ,1990, p. 161) พิจารณาาค่าความเชอ่ื มน่ั ของแบบสอบถาม (r) .85 7. ปรับปรุงแบบสอบถามให้สมบูรณ์แล้วเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อขอความเห็นชอบ แล้ว นำไปใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากกล่มุ ตัวอย่างของการศึกษาต่อไป 3. การเก็บรวบรวมข้อมลู 1. ผู้วิจัยได้ดำเนินการสง่ แบบสอบถามโดยใช้ Google forms ไปยังสถานศกึ ษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่างผ่านทาง ระบบการสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ของสถานศึกษาภายในสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยระบุผู้ตอบ แบบสอบถาม คอื ครผู ูส้ อนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกดั สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกลุ่ม 7 จำนวน 186 ชุด ไดร้ บั คนื จำนวน 186 ชุด คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 กำหนดวนั ส่งคืนภายใน 15 วนั 2. ผ้วู จิ ยั ทำการตรวจสอบความสมบรู ณข์ องแบบสอบถามทไี่ ด้รับคืนทงั้ หมด เพ่อื นำไปวิเคราะห์ขอ้ มลู ดว้ ย โปรแกรมทางสถิตติ อ่ ไป 4. การวิเคราะหข์ ้อมลู ผู้วิจัยนำแบบสอบถามทีไ่ ดร้ บั กลับคืนมาวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป และดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตาม ขัน้ ตอน ดงั น้ี 31

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 1. ตรวจนบั แบบสอบถามพรอ้ มทั้งตรวจสอบความถกู ต้องสมบูรณข์ องแบบสอบถามทไ่ี ด้รับกลับคนื มา 2. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป โดยได้ วเิ คราะห์เนอื้ หา ดังตอ่ ไปน้ี 2.1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม เพศ วฒุ ทิ างการศึกษา ประสบการณใ์ นการทำงาน และกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ คำนวณค่าความถี่ (Frequency) และคา่ ร้อยละ (Percentage) 2.2 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ ของโรงเรียนราชประชานเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 เกี่ยวกับแนวคิดของแอสติน (Astin, 1972, p. 67-72) ได้จัด สภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษาทเี่ ปน็ ส่งิ เร้าใหน้ กั เรยี นแสดงพฤตกิ รรมหรือลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ต่าง ๆ แบ่งออกได้ 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ด้านอาคารสถานที่ 2) ดา้ นการเรยี นการสอน 3) ดา้ นการใหบ้ ริการผูเ้ รยี น 4) ด้านการจดั การศึกษา 5) ด้านการ จัดกิจกรรมผู้เรียน 6) ด้านสังคมกลุ่มเพื่อน โดยใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ซง่ึ กำหนดเกณฑ์ในการแปลความหมายตามรายละเอยี ด 3. การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อเปรียบเทียบระดบั การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ ของโรงเรียนราชประชาน เคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามความคิดเห็นของครูตามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบ แบบสอบถามตามเพศ วุฒิทางการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิเคราะห์โดยการหา คา่ ความถ่ี (Frequency) ร้อยละ (Percentage) คา่ เฉลย่ี (Mean) สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ข้อมูล เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ ทั้ง 6 ด้าน คือ 1) ด้านอาคารสถานที่ 2) ด้านการเรียนการสอน 3) ด้าน การให้บริการผู้เรียน 4) ด้านการจดั การศกึ ษา5 ) ด้านการจัดกจิ กรรมผเู้ รยี น 6) ด้านสงั คมกลุ่มเพอ่ื นวเิ คราะหโ์ ดยการหา ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยตามตัวแปร อิสระ โดยใช้การวิเคราะห์ตัวแปรอิสระโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และวิเคราะห์ ปญั หา และขอ้ เสนอแนะของแบบสอบถามปลายเปดิ วเิ คราะหเ์ นือ้ หา และนำ เสนอในรปู แบบความเรียง ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู การวิจัยเรื่อง การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงาน การศกึ ษาพิเศษกลุ่ม 7 ในครัง้ นีศ้ กึ ษาจากครผู ้สู อนโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ สงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 186 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการวิจัย ตามลำดับดงั น้ี ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลเกยี่ วกับแบบสอบถามที่ส่งและได้รับคนื และสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ท่เี ปน็ ครูผสู้ อนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กดั สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษกลมุ่ 7 จำแนกตามตัวแปรเพศ วุฒิ ทางการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงานและกลุ่มสาระการเรียนรู้ แสดงว่าจำนวนแบบสอบถามที่ส่งไปยังครูผู้สอน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม 7 จำนวน 186 ชุด ไดร้ บั คนื จำนวน 186 ชุด คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 ซึง่ เป็นแบบสอบถามท่ีสมบรู ณ์จำนวน 186 ชุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 จำนวนและค่ารอ้ ยละของ กลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามตัวแปรเพศ วุฒทิ างการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงานและกลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ สังกดั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ครผู ูส้ อนโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนัก 32

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 มีเพศหญงิ คิดเป็นร้อยละ 63.75 สูงกว่าเพศชาย คิดเป็นรอ้ ยละ 36.25 วุฒิทางการ ศึกษาปริญญาตรี คิดเปน็ รอ้ ยละ 58.18 สงู กว่าวฒุ ิทางการศกึ ษาสงู กว่าปรญิ ญาตรี คดิ เป็นร้อยละ 41.82 ประสบการณ์ การทำงาน 6 - 10 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 49.50 สงู กวา่ ประสบการณก์ ารทำงานต่ำกวา่ 5 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 28.42 รองลงมา ประสบการณ์การทำงานมากกว่า 10 ปี คิดเป็นร้อยละ 22.08 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศคิดเป็นร้อยละ 22.07 สงู กวา่ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์คดิ เปน็ ร้อยละ 17.71 รองลงมากลุม่ สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คิด เป็นร้อยละ 14.14 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คิดเป็นร้อยละ 12.08 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ คิดเป็นร้อยละ 11.30 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.63 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา คิดเป็นร้อย ละ 7.51 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.87 และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน คิดเป็น รอ้ ยละ 1.69 ตามลำดับ ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กดั สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษกลมุ่ 7 2.1 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 โดยภาพรวม 5 ด้าน ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพิเศษกลมุ่ 7 โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ( x =4.03, S.D.=0.42) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า อยใู่ นระดับมากทกุ ดา้ นสามารถเรยี งลำดับคา่ เฉลีย่ จากมากไปหานอ้ ย ได้แก่ ด้านอาคารสถานท่ี ( x = 4.29 , S.D.=0.50) ด้านการจัดการศึกษา ( x = 4.20 ,S.D.= 0.56) ด้านการให้บริการผู้เรียน ( x = 4.08, S.D.= 0.67) ด้านการเรียนการ สอน ( x = 4.02 , S.D.= 0.71) ด้านการจัดกิจกรรมผู้เรียน ( x =3.85, S.D.= 0.48)และด้านสังคมกลุ่มเพื่อน ( x = 3.71, S.D.= 0.59) ตามลำดับค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัด สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ด้าน อาคารสถานที่ จำแนกตามรายข้อระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกล่มุ 7 ดา้ นอาคารสถานท่ี โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก ( x =4.29, S.D.= 0.90) เมือ่ พจิ ารณาเป็นรายดา้ น พบว่า อยู่ในระดบั มากทุกด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉลีย่ สูงสุด 3 อันดับ แรก ได้แก่ การจัดทำแผนภูมิแสดงบริเวณและผังแสดงรายละเอียดของอาคารเรียนไว้ที่หน้าอาคารเรียน ( x = 4.74 ,S.D.= 0.72) มีจำนวนอาคาร ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ เพียงพอ อาคาร ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการมีความ เหมาะสมในการใช้งาน ( x = 4.59 ,S.D.= 0.80) การจัดทางเชื่อมอาคาร ทางลาด ทางข้ามที่เอื้อต่อนักเรียนที่มีความ ต้องการจำเป็นพิเศษ ( x = 4.41 ,S.D.= 0.93)และค่าเฉลย่ี ตำ่ สุด ได้แก่ ความสะอาด สวยงาม ของบรเิ วณโรงเรียน ( x = 3.95 ,S.D.= 0.97) ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัด สภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุม่ 7 ด้านการ เรียนการสอน จำแนกตามรายข้อระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกลมุ่ 7 ด้านการเรยี นการสอน โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ( x = 4.02, S.D.= 0.71) เมือ่ พิจารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า อยใู่ นระดับมากทกุ ดา้ นสามารถเรยี งลำดับค่าเฉล่ียสงู สุด 3 อันดบั แรก ได้แก่ ความหลากหลายในวธิ ีการสอนของครู ( x = 4.17 ,S.D.= 0.75) การจัดทำสอ่ื การเรียนการสอนเพียงพอที่จะ 33

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เกดิ การเรียนรูไ้ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิผล เช่น ตำราเรยี น สง่ิ จำลอง ภาพคอมพิวเตอร์ หูฟงั เครื่องชว่ ยฟัง ( x = 4.14 ,S.D.= 0.66) ความรู้ความสามารถในการสอนของครู ( x = 4.11 ,S.D.= 0.94)และค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ การจัดทำหลักสูตรที่ เกย่ี วขอ้ งกับการศึกษาพิเศษ ( x = 3.84 ,S.D.= 0.94) ค่าเฉลย่ี ( x ) คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความ คดิ เหน็ ของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นร้ขู องโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนกั บริหารงานการศึกษา พิเศษกลุ่ม 7 ด้านการให้บริการผู้เรียน จำแนกตามรายข้อระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการ เรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ด้านการให้บริการผู้เรียน โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x =4.08, S.D.= 0.87) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านสามารถ เรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ การให้คำปรึกษาของครูแก่นักเรียนทุกคน ( x = 4.17 ,S.D.= 0.85) ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นเข้ารว่ มกิจกรรมแขง่ ขนั ต่างๆ ( x = 4.16 ,S.D.= 0.70) การประชาสมั พันธข์ ่าวสาร ความเคล่ือนไหว ตา่ ง ๆเปน็ ประจำ ( x = 4.12 ,S.D.= 0.81)และคา่ เฉล่ียต่ำสดุ ไดแ้ ก่ สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นออกกำลงั กายเป็นประจำ ( x = 3.99 ,S.D.= 0.99) ค่าเฉล่ีย ( x ) คา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)และระดบั ความคิดเห็นของครูตอ่ การจดั สภาพแวดล้อม ทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ด้านการจัดการศึกษา จำแนกตามรายข้อ ระดับความคิดเห็นของครตู ่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ด้านการจัดการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x =4.20, S.D.= 0.76) เม่อื พจิ ารณาเป็นรายด้าน พบวา่ อยู่ในระดบั มากทกุ ด้านสามารถเรียงลำดับคา่ เฉลยี่ สงู สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ การ จัดหาส่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยที ีทนั สมัยมาชว่ ยในการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ ( x = 4.54 ,S.D.= 0.87) การจัดการวางแผนพัฒนางานทีเ่ กดิ จากความรว่ มมือรว่ มใจของบุคลากร เช่น การวางแผนรว่ มกนั พัฒนาศกั ยภาพตนเอง ( x = 4.42 ,S.D.= 0.94) การจัดบรรยากาศองค์กรให้น่าอยู่และมีความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กรที่ดี ( x = 4.30 ,S.D.= 0.96) และค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ การจัดให้มีการประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานของโรงเรียนแก่ผู้ปกครองและ ชุมชนทราบ ( x = 3.76 ,S.D.= 0.89) ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)และระดับความคิดเห็นของครู ต่อการจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกลุ่ม 7 ด้านการจัดกิจกรรมผู้เรียน จำแนกตามรายข้อ ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ สงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม 7 ด้านการจดั กิจกรรมผเู้ รียน โดยภาพรวมอยู่ ในระดับมาก ( x =3.85, S.D.= 0.88) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านสามารถเรียงลำดับ คา่ เฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ การสนับสนุนของโรงเรียนใหน้ กั เรียบเข้าร่วมกจิ กรรมกับชุมชน ( x = 4.45 ,S.D.= 0.81) มีความหลากหลายของกจิ กรรมในแต่ละปกี ารศกึ ษา ( x = 4.37 ,S.D.= 0.78) นักเรียนไดร้ บั ประโยชน์จากการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ ( x = 4.20 ,S.D.= 0.0.93)และค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ นักเรียนสนใจเข้าร่วมการบริหารงานของสภา นักเรียน ( x = 3.09 ,S.D.= 0.72) คา่ เฉลย่ี ( x ) คา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)และระดับความคิดเหน็ ของครูต่อการ จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม 7 ด้าน สังคมกลุ่มเพื่อน จำแนกตามรายข้อระดับความคิดเหน็ ของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สังกดั สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษกลุ่ม 7 ด้านสังคมกลุ่มเพื่อน โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ( x = 3.71, S.D.= 0.78) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่มของเพื่อน ( x = 4.60 ,S.D.= 0.79) การช่วยเหลือในด้านการเรียนระหว่างกลุ่มเพื่อน ( x = 4.54 ,S.D.= 0.79) การให้ความช่วยเหลือ หรือให้ 34

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี คำแนะนำแก่นักเรียนรุ่นน้อง ( x = 4.11 ,S.D.= 0.78)และค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ การให้ความไว้วางใจในการปรึกษา ปญั หากับเพอ่ื น ( x = 2.95 ,S.D.= 0.67) 2.2 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ตามตัวแปรเพศ ระดับ ความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพเิ ศษกลุ่ม 7 ท่มี รี ะดบั เพศต่างกนั พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกตา่ งกนั เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า ด้านอาคาร สถานทมี่ ีความแตกตา่ งอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05 และด้านการจดั การศกึ ษา มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของครูต่อ การจัด สภาพแวดล้อมทางการเรียนรูข้ องโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ตามตัว แปรวุฒิทางการศึกษาระดับความคิดเหน็ ของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ สงั กัดสำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษกล่มุ 7 ท่มี รี ะดบั วฒุ ทิ างการศกึ ษาตา่ งกัน พบว่า โดยภาพรวมไมแ่ ตกตา่ งกนั เม่ือ พิจารณารายด้านพบว่าด้านการให้บริการผู้เรียนมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเหน็ ของครตู ่อการจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรขู้ องโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ สงั กดั สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ตามตัวแปรประสบการณ์การทำงานแสดงว่าระดับความ คดิ เหน็ ของครูตอ่ การจดั สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นร้ขู องโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ สงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศกึ ษา พเิ ศษกลมุ่ 7 จำแนกตามประสบการณก์ ารทำงานโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดบั มาก เปรยี บเทียบค่าเฉล่ยี ( x ) ค่า ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเหน็ ของครตู ่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษกลุม่ 7 ตามตัวแปรประสบการณ์การทำงาน ระดับความคิดเห็น ของครตู อ่ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรขู้ องโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ที่มีตามตัวแปรประสบการณ์การทำงานต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกนั เมื่อพิจารณารายดา้ นพบวา่ ด้านการจัดการศึกษา มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการทดสอบรายคู่ (Multiple Comparison) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของครตู ่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรยี นราชประชานุ เคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ตามด้านประสบการณ์การทำงานผลการทดสอบรายคู่ เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัด สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ตามตัวแปรประสบการณ์การทำงาน ดา้ นการจัดการศึกษาพบว่าประสบการณ์ การทำงานตำ่ กว่า 5 ปกี บั ประสบการณก์ ารทำงานมากกว่า 10 ปี และประสบการณ์การทำงาน 6 - 10 ปี ประสบการณ์ การทำงานมากกวา่ 10 ปแี ตกต่างกนั อย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 สว่ นประสบการณก์ ารทำงานต่ำกว่า 5 ปีกับ ประสบการณ์การทำงาน 6 - 10 ปไี มแ่ ตกต่างกนั ค่าเฉล่ีย ( x ) ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็น ของครูต่อการจดั สภาพแวดล้อมทางการเรียนรูข้ องโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามตวั แปรกลุ่มสาระการเรียนรู้ แสดงวา่ ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ สงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลมุ่ 7 จำแนกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้โดยภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัด สภาพแวดล้อมทางการเรยี นรูข้ องโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ตามตัว 35

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี แปรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรูข้ องโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม 7 จำแนกตามกลุม่ สาระการเรียนรู้โดยภาพรวมและรายดา้ นอยูใ่ น ระดับมาก เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัด สภาพแวดล้อมทางการเรียนรูข้ องโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ตามตัว แปรกลุ่มสาระการเรียนรู้ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ท่มี ตี ามตวั แปรกลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ งกนั พบวา่ โดยภาพรวมไม่ แตกต่างกัน สรปุ ผลการวิจัย ผลการศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 สามารถสรุปได้ตามวัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี 1. ผลการวิเคราะห์การศึกษาระดับการจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นร้ขู องโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ สังกดั สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 โดยภาพรวมและรายด้านสรปุ ผลไดด้ งั น้ี จากการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สงั กดั สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษกล่มุ 7 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X =4.03, S.D.=0.42) เม่อื พจิ ารณา เป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก ทุกด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านการจัดการศึกษา ด้านการให้บริการผู้เรยี น ด้านการเรียนการสอน ด้านการจัดกิจกรรมผู้เรียนและด้านสังคมกลุ่ม เพือ่ น ตามลำดบั 2. ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบความคิดเหน็ ของครตู ่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นร้ขู องโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุม่ 7 จำแนกตามตัวแปรเพศ วฒุ ทิ างการศึกษา ประสบการณ์ ในการทำงาน และกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 2.1 ผลการเปรียบเทยี บความคดิ เหน็ ของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สังกดั สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม 7 ทีม่ รี ะดับเพศต่างกัน พบวา่ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านอาคารสถานที่มีความแตกต่างอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดบั .05 และด้านการจัด การศึกษา มีความแตกต่างอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05 2.2 ผลการเปรียบเทยี บความคดิ เหน็ ของครูตอ่ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ที่มีตามตัวแปรวุฒิทางการศึกษาต่างกัน พบว่า โดย ภาพรวมไม่แตกต่างกนั เมื่อพจิ ารณารายด้านพบว่าด้านการใหบ้ ริการผู้เรยี นมคี วามแตกต่างอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 2.3 ผลการเปรียบเทยี บความคดิ เหน็ ของครูตอ่ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ที่มีตามตัวแปรประสบการณ์การทำงานตา่ งกัน พบวา่ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกนั เม่ือพจิ ารณารายด้านพบวา่ ด้านการจัดการศกึ ษา มีความแตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติ ท่รี ะดับ .05 36

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2.4 ผลการเปรียบเทยี บความคิดเหน็ ของครูตอ่ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ของโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ สังกัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ที่มีตามตัวแปรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ต่างกัน พบว่า โดย ภาพรวมไมแ่ ตกตา่ งกัน 3. ครูมีข้อเสนอแนะต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7โรงเรียนควรจัดให้มีการปรับปรุงในเรื่องความสะอาดและถูกสขุ ลักษณะของห้องนำ้ ห้องส้วม มีการดูแลรักษาความสะอาดของห้องเรียนให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อม ภายในโรงเรยี นให้มคี วามสงบ ร่มรื่นโรงเรียนควรจดั ให้มกี ารปรับปรุงในเร่ืองการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการกลมุ่ ความรบั ผดิ ชอบในการสอนของครู เช่น เข้าสอนตรงเวลารวมถงึ ความเอาใจใสข่ องครตู ่อนักเรียน โรงเรยี นควรจัดใหม้ กี าร ปรับปรุงในเรื่องการให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ความสะดวกในการใช้บริการยืมหนังสือ หอ้ งสมุดตลอดจนการประชาสมั พนั ธ์ขา่ วสาร ความเคลอ่ื นไหวตา่ ง ๆ เป็นประจำรวมถึงความสะดวกของจุดบรกิ ารน้ำดื่ม สำหรับนกั เรยี น การดำเนินงานของโรงเรียนแก่ผปู้ กครองและชมุ ชนทราบ โรงเรยี นควรจดั ให้มกี ารปรับปรงุ ในเรื่องความ สนใจของนักเรียนที่จะเข้าร่วมการบริหารงานของสภานักเรียนความมีอิสระ ในการจัดกิจกรรมของนักเรียนรวมถึงการ สนับสนุนของโรงเรียนให้นักเรียนเขา้ ร่วมกิจกรรมกับชุมชนโรงเรยี นควรจัดให้มีการปรับปรุงในเรื่องความรักสามัคคไี ม่ ทะเลาะเบาะแว้งกันในโรงเรียนการใหค้ วามไวว้ างใจในการปรกึ ษาปัญหากับเพอื่ นรวมถงึ การรูจ้ ักให้ความชว่ ยเหลือ หรือ ให้คำแนะนำแก่ระหวา่ งรนุ่ พก่ี ับรุ่นน้อง อภปิ รายผล การวิจัยครัง้ นี้มีวัตถุประสงค์เพือ่ ศึกษาเปรียบเทียบ และรวบรวมข้อเสนอแนะ การจัดสภาพแวดล้อมทางการ เรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 จำแนกตามตัวแปรเพศ วุฒิ ทางการศึกษา ประสบการณใ์ นการทำงาน และกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากตารางของเครจซ่ี และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970, p. 608) แล้วใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Muti - Stage Sampline) ซง่ึ มีขน้ั ตอนดังนั้น กำหนดผู้ใหข้ ้อมูลแต่ละระดับโดยการสุม่ อย่างง่าย (Simple random sampling) ด้วย วธิ ีการจบั สลากแบบไม่ใสค่ ืน ตามจำนวนครูผู้สอน ไดก้ ลุ่มตัวอย่างครผู ู้สอนสงั กัดสังกดั สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กล่มุ 7 ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 186 คน เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เปน็ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณ ค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยค่าความเชื่อมั่น (Reliability) .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที่ (t-test Independent) การทดสอบค่า F-test (One-Way Analysis of Variance : ANOVA) ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์การศึกษาระดับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สงั กดั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกลมุ่ 7 โดยภาพรวมและรายดา้ นสรุปผลได้ดงั น้ี 1. ความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกลุม่ 7 โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ อยู่ในระดบั มากทุกด้าน สามารถเรียงลำดบั ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ไดแ้ ก่ ด้านอาคารสถานท่ี ด้านการจดั การศึกษา ดา้ นการให้บริการผู้เรียน ด้านการเรียนการสอน ด้านการจัดกิจกรรมผู้เรียน และด้านสังคมกลุ่มเพื่อน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะโรงเรียนราชประชานุ 37

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ให้ความสำคัญและมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการ ดำเนินงานของโรงเรียนที่ทำตามแผนงานงบประมาณของโรงเรียนสามารถกำกับดูแลและสนับสนุนกิจกรรมของ สถานศกึ ษาให้มีประสิทธิภาพ สว่ นขนาดของสถานศึกษาไม่ใหญห่ รือเลก็ จนเกินไปทำให้การดูแล รกั ษา และเสริมสร้าง บรรยากาศสภาพแวดล้อมในสถานศึกษามีประสิทธิภาพได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองได้ค่อนข้างมาก ทำให้ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ในภาพรวมสามารถ ปฏิบัติการได้ในระดับมากตามลำดับตามสอดคล้องกับ พจนา เลี่ยมทอง (2557, น. 54) ได้ศึกษาเรื่อง การจัด สภาพแวดล้อมของศูนยพ์ ัฒนาประสทิ ธิภาพการศกึ ษาพ้นื ท่ี ทา้ ยดง-วังหนิ สงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ใน 6 ด้าน คอื ด้านอาคารสถานที่ ด้านการจดั การศึกษา ด้านการใหบ้ รกิ ารผเู้ รียน ดา้ นการเรยี นการสอน ด้านการ จัดกิจกรรมผู้เรียน และด้านสังคมกลุ่มเพื่อน ผลการศึกษาพบว่าการจัดสภาพแวดล้อมโดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อเสนอแนะคือ ด้านสถานที่ให้จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนให้ครบตามกลุ่มสาระตามหลักสูตร ด้านผลการ ดำเนินการศกึ ษาใหจ้ ดั การศกึ ษาโดยยดื ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลางให้มากที่สุด 1 .1 ด้านอาคารสถานที่ ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ด้านอาคารสถานที่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ การจัดทำ แผนภูมิแสดงบริเวณและผังแสดงรายละเอียดของอาคารเรียนไว้ที่หน้าอาคารเรียน มีจำนวนอาคาร ห้องเรียนและ หอ้ งปฏิบัตกิ าร เพียงพอ อาคาร หอ้ งเรียนและห้องปฏบิ ัติการมีความเหมาะสมในการใช้งาน การจดั ทางเชื่อมอาคาร ทาง ลาด ทางขา้ มทีเ่ อ้อื ต่อนกั เรยี นท่ีมีความตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษและค่าเฉล่ียต่ำสุด ได้แก่ ความสะอาด สวยงาม ของบริเวณ โรงเรยี น และจัดพ้นื ที่ริมถนน และทางเดนิ สะอาดเป็นระเบียบ ปลูกตน้ ไมร้ ม่ รื่น สวยงาม สอดคล้องกับสมมติฐาน ทั้งน้ี เป็นเพราะโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ให้ความสำคัญกับการจัด บรรยากาศทง้ั ภายในและนอกหอ้ งเรียน จดั สภาพแวดล้อมใหม้ ีความสวยงาม ปลอดโปรง่ มีต้นไม้ยนื ตน้ ที่ให้ความร่มรื่น หลายชนิดอยา่ งเป็นระเบยี บท่ัวโรงเรียน มีดอกไม้ประดับหลากหลาย สามารถเป็นแหลง่ เรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน จัดให้มี แหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่หลากหลาย เช่น ห้องสมุดสำหรับค้นคว้า ศูนย์การเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้ สวนดอกไม้แปลงสาธิตการเกษตร จัดให้มีครูเวรและนักเรียนคอยดูแลสอดส่องประจำเขตพื้นที่ภายในโรงเรียน สร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดให้มีโต๊ะ เก้าอี้ เพื่อเป็นที่นั่งพักผ่อนหรือทำกิจกรรมอื่น ๆ ในบริเวณต่าง ๆ ภายในโรงเรียนมีทางเดนิ เชื่อมต่อระหว่างอาคารที่มีความมั่นคงปลอดภยั และมีร่มเงา โรงเรียนได้จัดสภาพแวดล้อมให้ สวยงาม สะอาดปราศจากมลพิษ ฝุ่นละอองส่งผลให้สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สังกดั สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษกลุม่ 7 ดา้ นอาคารสถานท่ี โดยรวมและรายขอ้ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับ David (1971, p.32) ได้กล่าวถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อมต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนว่ามีผลกระทบ โดยตรงและมผี ลสนับสนนุ ช่วยเหลอื ผเู้ รียน ผลกระทบโดยตรง สภาพแวดล้อมมผี ลกระทบโดยตรงตอ่ การกระทำกิจกรรม ของผู้เรียน คือช่วยอำนวยความสะดวก หรือจัดขวางการกระทำของผูเ้ รียน การจัดเฟอร์นิเจอร์ และเครื่องมือบางอย่าง อาจเหมาะกับผูเ้ รยี นกลุ่มใหญแ่ ตไ่ ม่เหมาะกับกลุ่มเลก็ ผลกระทบดา้ นสนับสนุนผู้เรยี นส่งผลในด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ครูกบั นกั เรียน คือชว่ ยทำให้เกิดการตน่ื ตัวในการเรียน และสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธ์อนั ดีที่สอดคล้องตามความแตกต่าง ของแต่ละบุคคลและลักษณะของกิจกรรม และสอดคล้องกับเกศินี เครือนาค (2556 , น. 21) ได้ศึกษาการจัด 38

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาโรงเรียนชุมชนวัดหนองก้อ สังกัดองค์กรบริหารส่วนจังหวดั ชลบุรี ผลการวิจัยพบวา่ การจดั สภาพแวดล้อมของนักเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษา โรงเรียนชุมชนวดั หนองกอ้ สงั กดั องค์การ บริหารส่วนจังหวดั ชลบุรี ด้านอาคารสถานท่ี โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก 1.2 ด้านการเรยี นการสอน ระดับความคดิ เห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรูข้ องโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สังกดั สำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษกลุ่ม 7 ด้านการเรียนการสอน โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก เม่ือ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ความ หลากหลายในวิธีการสอนของครกู ารจัดทำสื่อการเรียนการสอนเพียงพอที่จะเกดิ การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิผล เช่น ตำราเรียน สิ่งจำลอง ภาพคอมพิวเตอร์ หูฟัง เครื่องช่วยฟังความรู้ความสามารถในการสอนของครูและค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ การจัดทำหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพเิ ศษ อาจเป็นเพราะครู โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ในไดเ้ ข้ารับการอบรมพฒั นาเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรูอ้ ย่างสม่ำเสมอมีการ จดั กระบวนการและบรรยากาศในการเรียนการสอนที่เหมาะสมกบั รายวิชาท่ีสอน เหมาะสมกบั สภาพของผู้เรียนส่งเสริม ความสามารถของแตล่ ะคน พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีศักยภาพด้านการเรยี นและคิดอย่างมวี ิจารณญาณ รวมไปถึงการจดั หาวัสดุ อุปกรณ์ เพอ่ื ให้กระบวนการสอนนนั้ เกิดประสิทธิภาพสงู สุดนน้ั การเรียนการสอนท่ีให้ผู้เรยี นได้ลงมอื ปฏิบัติจริง เพ่ือให้ บรรลุตามจดุ มุง่ หมายของการศึกษาตรงตามผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวังที่ใชห้ ลักสูตรคุณธรรมนำความรูต้ ลอดจนมกี ารใช้ส่ือ ประกอบการสอนทีห่ ลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียนและชมุ ชน สอดคลอ้ งนันทวนั มสุ กิ บุตร (2553, น. 63) ไดศ้ ึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนของโรงเรยี นสวา่ งบริบูรณว์ ิทยาจังหวัด ชลบรุ ี ผลการศึกยา พบว่า ความพงึ พอใจของนกั เรยี นตอ่ การจดั สภาพแวดล้อมทางการเรียนของโรงเรียน ด้านกิจกรรม การเรียนการสอน โดยรวมอยู่ในระดับมากและสอดคลอ้ งกับวิทยา วิทยาวงศาโรน์ (2552, น. 69-70) ได้ศึกษาความพงึ พอใจที่มีต่อสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านวังดินสองสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ปราจีนบุรี เขต 2 พบว่า ผ้เู รยี นพึงพอใจความเอาใจใส่ของครูอาจารย์ มกี ารพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในด้าน ความรู้ ทักษะความสามารถในด้านการจัดและพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ ศนู ย์กลาง การทำงานเป็นทีม ผลงานทางวชิ าการครผู สู้ อนมีการเตรียมการสอนเปน็ อยา่ งดี อธบิ ายเนอื้ หาวิชาได้แจ่มแจง้ ใช้สอื่ นวัตกรรมประกอบการ สอนเสมอ 1.3 ด้านการให้บริการผูเ้ รียน ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ สังกดั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกล่มุ 7 ดา้ นการให้บริการผู้เรยี น โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เม่อื พิจารณาเปน็ รายด้าน พบว่า อยใู่ นระดับมากทกุ ดา้ นสามารถเรียงลำดับค่าเฉล่ยี สูงสุด 3 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ การ ใหค้ ำปรกึ ษาของครแู ก่นักเรยี นทุกคน สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นเข้าร่วมกจิ กรรมแข่งขันต่างๆ การประชาสัมพนั ธข์ า่ วสาร ความ เคลื่อนไหวต่าง ๆเป็นประจำและค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายเป็นประจำ โอกาสให้นักเรียน แสดงความคิดเห็นกบั การบรหิ ารงาน เนื่องมาจากโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 สนใจสอบถามเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับนักเรียน เช่น ผลการเรียน ความประพฤติ และครอบครัวของนักเรียน ผู้บริหาร ครู ร่วมสนทนา พูดคุย ให้ความเป็นกันเองกับนักเรียนและผู้ปกครอง ผู้บริหาร เสียสละและอุทิศเวลาให้ โรงเรียน ครูและนักเรียน ส่งเสริมการพัฒนาและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนอยู่เสมอ เพื่อช่วยเหลือนักเรียน ผ้บู รหิ าร ครู เปิดโอกาสให้นกั เรียนแสดงความคดิ เหน็ กับการบริหารงาน การจดั ระเบยี บ กฎเกณฑ์ของโรงเรียนสอดคล้อง 39

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี กบั วิถที างประชาธปิ ไตยและเหมาะสมกับสภาพของสงั คมในปจั จุบนั ผบู้ รหิ ารมคี วามเป็นธรรมตอ่ ผู้ใต้บังคับบัญชาและ เป็นผูน้ ำประชาธปิ ไตย มีแผนการพัฒนาโรงเรยี นใหก้ า้ วหนา้ อย่างเป็นรูปธรรม โรงเรียนจัดหาส่อื นวตั กรรมทท่ี ันสมัยมา ช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจัดให้มีการพัฒนา เพื่อเพิ่มพูนความรู้และความก้าวหน้าของนักเรียนอย่าง ต่อเน่อื ง มกี ารประชาสัมพนั ธ์ การดำเนินงานของโรงเรียน ให้ผปู้ กครองและชมุ ชนทราบอย่างสม่ำเสมอโรงเรียนเข้าร่วม กิจกรรมกับชุมชนหรือวัด ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมรปู แบบต่าง ๆเนื่องจากใหน้ ักเรียนเกิดความรัก ความ สามคั คี และความผกู พนั ต่อสถานศึกษา โรงเรยี นมกี ารจัดระบบรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของนักเรียน ในโรงเรียน จดั ให้มสี วัสดิการต่างๆ เชน่ ทนุ การศึกษา อาหารกลางวัน ธนาคารออมทรัพย์ สอดคล้องกับสมศักด์ิ วงเจริญ (2558, น. 67) ได้ศึกษาเร่ือง สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรยี นโรงเรยี นโพธิสมั พันธพ์ ิทยาคาร สงั กัดสำนักงานเขต พืน้ ทกี่ ารศกึ ษาชลบรุ ี เขต 3 พบว่าความคิดเห็นต่อสภาพแวดล้อมทางการเรยี นของนักเรียนโรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยา คาร ดา้ นการบริหารอยูใ่ นระดับมาก 1.4 ด้านการจัดการศึกษา ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรยี นราช ประชานุเคราะห์ สงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลมุ่ 7 ดา้ นการจัดการศกึ ษา โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก เม่ือ พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ อยใู่ นระดับมากทกุ ด้านสามารถเรียงลำดบั ค่าเฉลี่ยสูงสดุ 3 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ การจัดหาส่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยที ีทนั สมยั มาชว่ ยในการจดั กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้ การจดั การวางแผนพัฒนางานท่ีเกิด จากความร่วมมือร่วมใจของบุคลากร เชน่ การวางแผนรว่ มกันพฒั นาศักยภาพตนเอง การจดั บรรยากาศองค์กรให้น่าอยู่ และมคี วามสมั พันธ์ของบุคคลในองคก์ รที่ดแี ละค่าเฉลี่ยต่ำสุด ไดแ้ ก่ การจดั ใหม้ กี ารประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานของ โรงเรียนแก่ผู้ปกครองและชุมชนทราบ อาจเป็นเพราะโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษา พเิ ศษกลมุ่ 7 ได้สง่ เสรมิ ให้ครู นกั เรียน และชุมชน มสี ่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาผ่านตัวแทนแต่ละ ฝ่าย เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ซึ่งจะมีการประชุมทุก ๆ เดือน เพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการบริหารงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียน นอกจากนี้โรงเรียนยังจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการมีส่วน รว่ มกบั ชมุ ชน การจดั กิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม ความรักและความสามัคคีให้แก่นักเรียนและการจัดโครงการ เพื่อเพิ่มพนู ความรู้ส่งเสริมทักษะ เพื่อให้นักเรียนได้เข้ากิจกรรมทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น สอดคล้องกับอุมาพร นิลพัฒน์ (2555, น. 61-62) ศึกษาสภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นของนกั เรียน โรงเรยี นมาบตาพดุ สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาระยองเขต 1 ผลการวิจัยพบว่าสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนด้านการจัดการศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก 1.5 ดา้ นการจดั กจิ กรรมผู้เรียน ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ สงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษกลมุ่ 7 ด้านการจัดกจิ กรรมผู้เรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เมอ่ื พิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า อยู่ในระดับมากทุกดา้ นสามารถเรยี งลำดับค่าเฉล่ียสูงสุด 3 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ การ สนบั สนนุ ของโรงเรยี นใหน้ ักเรียบเข้ารว่ มกิจกรรมกับชุมชนมีความหลากหลายของกิจกรรมในแต่ละปกี ารศึกษานักเรียน ได้รับประโยชน์จากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ และค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ นักเรียนสนใจเข้าร่วมการบริหารงานของสภา นักเรียน นอกจากนี้โรงเรียนยังอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมของนักเรียนโดยการให้ความร่วมมือในการจัด กิจกรรมต่าง ๆ พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกในทุก ๆ ด้าน ตลอดจนเลือกสรรกิจกรรมสำหรับนักเรียนให้มีความ หลากหลายของกจิ กรรมในแต่ละปกี ารศึกษา เพื่อให้นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งทำใหน้ กั เรียน ได้รับประโยชน์และ 40

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ประสบการณจ์ ากการเข้ารว่ มกิจกรรมต่าง ๆ สอดคลอ้ งกับนภาพร อดศิ กั ด์ิ (2555, น. 73) ได้ศกึ ษาการจัดสภาพแวดล้อม ของโรงเรยี นชุมชนบ้านหนองปรือ สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 พบว่า สภาพแวดล้อม ของโรงเรยี นด้านการจัดกจิ กรรมนกั เรยี น โดยรวมและรายขอ้ อยู่ในระดบั มาก 1.6 ด้านสังคมกลุ่มเพื่อน ระดับความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ สงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ด้านสังคมกลมุ่ เพื่อน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือ พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่มของเพื่อน การชว่ ยเหลอื ในด้านการเรยี นระหว่างกลุ่ม เพื่อน การให้ความช่วยเหลือหรอื ให้คำแนะนำแก่นักเรียนรุ่นน้องและค่าเฉลีย่ ต่ำสุด ได้แก่ การให้ความไว้วางใจในการ ปรกึ ษาปัญหากับเพ่ือน ช่วยเหลือเกอื้ กูลกันระหวา่ งครแู ต่ละกลมุ่ สาระในการร่วมงานกนั เน่อื งมาจากโรงเรยี นราชประชา นเุ คราะห์ สังกดั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกลมุ่ 7 ไดม้ ีการจัดกจิ กรรมส่งเสริมสัมพันธภาพทีด่ ีระหว่างครู นกั เรยี น เช่น กีฬาสีภายใน กิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้ครู นักเรียนทำงานร่วมกันทั้งในห้องเดียวกันและต่างห้อง กจิ กรรมท่ีไดร้ ว่ มกนั ระหว่างรุ่นพ่กี ับรนุ่ น้องทำใหน้ ักเรียนเกิดความรู้สึกอบอุน่ และสนกุ สนาน เมอื่ ไดร้ วมกล่มุ เดยี วกัน มี ความรกั ความสามคั คตี ่อกนั รวมถงึ การจัดการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น ทำให้เกดิ ความรูส้ ึกผกู พันต่อเพื่อนร่วมสถาบัน มีการช่วยเหลือด้านการเรียนการสอน มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกันระหว่างเพื่อนนักเรียน เพื่อนครู จึงส่งผลให้ ผู้บริหาร ครู นักเรียนของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ด้านกลุ่มเพ่อื น โดยรวมและรายข้ออยูใ่ นระดับมาก สอดคล้องกบั สธุ าวรินทร์ บุญเกิด (2558, น. 56-58) ได้ศึกษาความพึงพอใจที่มตี อ่ สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรยี น โรงเรียนบ้านคลองยายอินทร์ สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาสระแก้ว เขต 1 ผลการวิจัยพบว่าความพึงพอใจที่มีต่อสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านคลองยายอินทร์สังกัด สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาสระแก้ว เขต 1 ด้านสภาพแวดล้อมด้านกลุ่มเพอ่ื น อยใู่ นระดับมากและสอดคล้องกับอุมา พร นิลพัฒน์ (2558, น. 61-62) ได้ศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรยี น โรงเรียนมาบตาพุด สังกัดสำนักงาน เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาระยองเขต 1 ผลการวิจยั พบวา่ สภาพแวดลอ้ มทางการเรียนของนักเรียนด้านกลุม่ เพื่อน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะหก์ ารเปรยี บเทยี บความคิดเห็นของครูตอ่ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 จำแนกตามตัวแปรเพศ วุฒิทางการ ศกึ ษา ประสบการณ์ในการทำงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2.1 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ที่มีระดับเพศต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อ พิจารณารายด้านพบว่า ด้านอาคารสถานที่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และด้านการจัด การศกึ ษา มคี วามแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05 เปน็ เชน่ นี้ เพราะวา่ เพศชาย และเพศหญิงมีการมุ่งเน้น การจดั สภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษาของโรงเรยี นไม่ตา่ งกนั สอดคลอ้ งกบั สกั รินทร์ บุญกว้าง ไดศ้ กึ ษาวิจยั เก่ยี วกับความ พึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาชั้นพื้นฐาน อำเภอวิเชียรบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 3 พบว่า ครูปฏิบัติการสอนที่มีเพศต่างกันและมีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการจัด สภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานโดยรวมและสภาพแวดล้อมทางสงั คมโดยรวมและเปน็ รายได้ แตกต่างกนั อย่างมี 41

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านการจัดการศึกษา มีความแตกต่างระหว่างเพศอยูใ่ นระดับน้อย นอกจากนี้ดา้ นการ เรียนการสอนและด้านสังคมกลมุ่ เพือ่ นไม่พบความแตกต่างกัน ท้ังนอ้ี าจเปน็ เพราะบุคลกิ ภาพ และอุปนิสัยของนักเรียน หญิงและมีความแตกต่างกัน และสอดคล้องกับอุมาพร นิลพัฒน์ ( 2555, น. 61-62) ได้ศึกษาเรื่อง สภาพแวดล้อม ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนมาบตาพุด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ผลการ เปรียบเทยี บสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนของนักเรียนโรงเรยี นมาบตาพดุ สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา ระยอง เขต 1 จำแนกตามเพศท่ีมีเพศแตกตา่ งกนั โดยรวมและรายด้านแตกต่างกนั อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิแวดส้อม และ จำแนกตามระดับชนั้ ตา่ งกันโดยรวม ไมแ่ ตกต่างนัยสำคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 โดยภาพรวมไมแ่ ตกต่างกนั ยกเว้น ด้าน อาคารสถานที่ และด้านการจัดการศึกษาแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับทรรศนยี ์ วราหค์ ำ (2560, น. 52) ได้ศึกษาเร่ือง การจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือตอ่ การเรยี นรูข้ องโรงเรยี นวดั จันทรป์ ระดิษฐารายสังกัด สำนกั งานเขตภาษีเจริญ กรงุ เทพมหานคร ผลการเปรยี บเทยี บการจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ของโรงเรียนวัด จันทร์ประดิษฐาราย ตามความคิดเหน็ ของนักเรียนจำแนกตามเพศของนักเรียนพบว่า ด้านอาคารสถานท่ี และด้านการ จดั การศึกษามคี วามแตกตา่ งอยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05 2.2 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูตอ่ การจดั สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ 7 ท่มี ีตามตัวแปรทวุฒิทางการศกึ ษาตา่ งกนั พบว่า โดยภาพรวมไม่ แตกต่างกนั เมื่อพิจารณารายดา้ นพบว่าด้านการให้บรกิ ารผูเ้ รียนมีความแตกต่างอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .05 อาจเป็นเพราะครทู ว่ี ุฒทางการศกึ ษาต่างกนั มีการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนร้อู าจเป็นเพราะครู โรงเรยี นราชประชา นุเคราะห์ สงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกลมุ่ 7 ในได้เข้ารบั การอบรมพฒั นาเก่ยี วกบั กระบวนการจดั การเรียนรู้ อย่างสม่ำเสมอมีการจัดกระบวนการและบรรยากาศในการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับรายวิชาที่สอน เหมาะสมกับ สภาพของผเู้ รยี นสง่ เสริมความสามารถของแตล่ ะคน พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีศกั ยภาพด้านการเรยี นและคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ รวมไปถงึ การจดั หาวัสดุ อุปกรณ์ เพือ่ ใหก้ ระบวนการสอนนัน้ เกดิ ประสิทธิภาพสงู สุดนน้ั การเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนได้ ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาตรงตามผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังที่ใช้หลักสูตรคุณธรรมนำ ความรตู้ ลอดจนมีการใช้สอ่ื ประกอบการสอนที่หลากหลาย สอดคล้องกับณฐมนต์ ปญั จวิมิน (2560, น. 58-60) ได้ศึกษา เรื่อง สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านไร่จันดี สั่งกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านไร่จันดี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระยองเขต 1 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบปัญหาสภาพแวดล้อม ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนบ้านไร่จันดี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 1 วุฒิทางการศึกษา ต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการให้บริการผู้เรียนมีความแตกต่างอย่างมี นยั สำคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .05 โดยมดี ้านผ้เู รียนแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05 2.3 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ที่มีตามตัวแปรประสบการณ์การทำงานต่างกัน พบว่า โดย ภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการจัดการศึกษา มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ี่ ระดบั .05 เนอ่ื งจากการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ สมั พันธภาพที่ดีระหวา่ งครู นักเรียน ครูผ้สู อนที่มีประสบการทำงานต่างกัน มีการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนต่างกัน เช่น กีฬาสีภายใน กิจกรรมวนั สำคัญต่าง ๆ ที่ส่งเสรมิ ใหค้ รู นักเรียนทำงาน 42

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกันทั้งในหอ้ งเดยี วกนั และต่างหอ้ ง กิจกรรมท่ีได้ร่วมกันระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้องทำให้นักเรยี นเกิดความรู้สึกอบอนุ่ และสนุกสนาน เมอ่ื ไดร้ วมกลุ่มเดยี วกัน มคี วามรักความสามัคคตี ่อกัน รวมถึงการจัดการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น ทำให้ เกิดความรู้สึกผูกพันต่อเพื่อนร่วมสถาบัน มีการช่วยเหลือด้านการเรียนการสอน มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน ระหว่างเพื่อนนักเรียน เพื่อนครู จึงส่งผลให้ผู้บริหาร ครู นักเรียนของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 สอดคล้องกับสุพัฒน์ สินมะลิ (2558, น. 48-49) ได้ศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจต่อ สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นของนกั เรยี นสถานศึกษาเทศบาลกรณศี ึกษาสถานศึกษาเทศบาลแหลมฉบงั 3 อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ผลการวิจัยพบว่า ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียน สถานศกึ ษาเทศบาลกรณีศึกษาสถานศึกษาเทศบาลแหลมฉบงั 3 อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ีจำแนกประสบการณ์การ ทำงานโดย โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ด้านการจดั การศกึ ษา มคี วามแตกต่างอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 2.4 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สังกดั สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุม่ 7 ทม่ี ีตามตัวแปรกลุ่มสาระการเรียนรตู้ ่างกนั พบวา่ โดยภาพรวม ไมแ่ ตกตา่ งกนั อาจเป็นเพราะโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกดั สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุม่ 7 ได้ส่งเสริมให้ ครู นักเรียน และชมุ ชน มีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาผ่านตวั แทนกลุ่มสาระ เพ่ือเปน็ การส่งเสริมให้ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ซึ่งจะมีการประชุมทุก ๆ เดือน เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดสภาพแวดล้อม ภายในโรงเรียน นอกจากนโี้ รงเรียนยงั จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทกี่ ลุ่มสาระจดั ใหม้ ีการสอน การจดั กจิ กรรมส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้นักเรยี นได้รับความรูอ้ ย่างเต็มศกั ยภาพ สอดคล้องกับกัลยา มง่ั คงั่ (2558, น. 106) ได้ศึกษา เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสภาพแวดล้อมทางการเรียนของวิทยาลัยเทคโนโลยีดาราสมุทรบริหารธุรกิจ จังหวัดชลบุรี ผลการวิจัยพบว่าความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มตี ่อสภาพแวดล้อมทางการเรยี นของวิทยาลัยเทคโนโลยี ดาราสมทุ รบริหารธุรกิจ จงั หวดั ชลบรุ ีทมี่ ีตามตัวแปรกลมุ่ สาระการเรียนรูต้ ่างกัน พบวา่ โดยภาพรวมไมแ่ ตกต่างกัน โดย ภาพรวมไมแ่ ตกต่างกัน ตอนที่ 3 ประมวล และข้อเสนอแนะของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชา นุเคราะห์ สงั กัดสำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 ข้อเสนอแนะ 1. ด้านอาคารสถานที่ โรงเรียนควรจัดให้มีการปรับปรุงในเร่อื งความสะอาดและถูกสุขลักษณะของห้องน้ำห้อง ส้วม มีการดูแลรักษาความสะอาดของห้องเรียนให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ รวมถึงจัดสภาพแวดล้อมภายใน โรงเรียนใหม้ คี วามสงบ รม่ ร่ืน 2. ด้านการเรียนการสอน โรงเรียนควรจัดให้มีการปรับปรุงในเร่ืองการเรียนการสอนที่เนั้นกระบวนการกลมุ่ ความรบั ผิดชอบในการสอนของครู เชน่ เขา้ สอนตรงเวลารวมถึงความเอาใจใสข่ องครตู อ่ นกั เรียน 3. ด้านการใหบ้ ริการผเู้ รียน โรงเรียนควรจดั ให้มกี ารปรบั ปรุงในเร่อื งการให้ความรูแ้ ก่นักเรยี นเก่ียวกับการปฐม พยาบาลเบ้อื งตน้ ความสะดวกในการใช้บรกิ ารยืมหนงั สือห้องสมุดตลอดจนการประชาสมั พนั ธข์ ่าวสาร ความเคลื่อนไหว ตา่ งๆ เป็นประจำรวมถงึ ความสะดวกของจดุ บรกิ ารนำ้ ด่ืมสำหรับนักเรียน 43

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 4. ด้านการจัดการศกึ ษา โรงเรียนควรจดั ให้มีการปรับปรงุ ในเร่อื ง การยอมรับของสงั คม หรือชมุ ชนตอ่ หลักสูตร โรงเรียนความเป็นกันเองของผู้บริหารที่จะสนใจสอบถามเรื่องต่าง ๆที่เกี่ยวกับนักเรียนรามถึงการจัดให้มีการ ประชาสมั พนั ธ์ การดำเนินงานของโรงเรียนแก่ผู้ปกครองและชมุ ชนทราบ 5. ด้านการจดั กิจกรรมผู้เรียน โรงเรยี นควรจดั ใหม้ ีการปรับปรงุ ในเรื่องความสนใจของนักเรียนที่จะเข้าร่วมการ บริหารงานของสภานักเรยี นความมีอิสระ ในการจัดกจิ กรรมของนักเรียนรวมถงึ การสนับสนนุ ของโรงเรียนให้นกั เรียนเข้า ร่วมกจิ กรรมกบั ชมุ ชน 6. ด้านสังคมกลุ่มเพื่อนโรงเรียนควรจัดให้มีการปรับปรุงในเรื่องความรักสามัคคีไม่ทะเลาะเบาะแว้งกันใน โรงเรียนการให้ความไว้วางใจในการปรึกษาปัญหากับเพื่อนรวมถึงการรู้จักให้ความช่วยเหลือ หรือให้คำแนะนำแก่ ระหวา่ งรุ่นพี่กับรุน่ น้อง ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ สังกดั สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม 7 2. ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ สังกดั สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุม่ 7 เอกสารอา้ งองิ กลั ยา ม่งั คั่ง. (2558).การจดั สภาพแวดล้อมทางการเรียนทางกายภาพของโรงเรียนอนบุ าลชอ่ งลม สำนกั งานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 3. วิทยานพิ นธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาบริหารการศกึ ษา. มหาวิทยาลยั บูรพา.คน้ เม่อื 25พฤษภาคม 2560 .จาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56921108.pdf. เกศินี เครือนาค. (2556). หลักสูตร และการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน. กรุงเทพฯ : ทรัพย์การพิมพ์.(2538). การ วางแผน และการจัดระบบงานในโรงเรียน. กรุงเทพฯ: เอส ดี เพรส. ณัฐภคั อุทโท.(2558). การจดั สภาพแวดล้อมทางการเรียนทางกายภาพของโรงเรียนอนุบาลชอ่ งลม สำนักงานเขตพน้ื ท่ี การศกึ บาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วิทยานพิ นธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ . สาขาบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บูรพา.ค้นเมือ่ 25พฤษภาคม 2560 จาก http://digitalcollect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56921108.pdf ทรรศนีย์ วราห์คำ. (2560). การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของโรงเรียนวัด จันทร์ประดิษฐาราม สังกดั สำนกั งานเขตภาษีเจริญ. กรงุ เทพมหานคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. บุญชม ศรีสะอาด. (2557). สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนชมุ ชนบ้านตลาดทุ่งสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหาร การศกึ ษา. คณะศกึ ษาศาสตร.์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. 44

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พจนา เลี่ยมทอง. (2554). การจัดสภาพแวดล้อมของศูนย์พัฒนาประสิทธิภาพการศึกษาพื้นที่ท้ายดง-วังหิน สังกัด สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิต. สาขาวิชาการบริหาร การศกึ ษา. มหาวทิ ยาลยั เวสเทิรน์ . พระมหาขนุ ทอง อคควโร. (2559). การศึกษาสภาพแวดล้อมในการเรียน กรณศี ึกษา:สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วิทยา เขตอุเทนถวาย. กรงุ เทพฯ : สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง. นภาพร อดิศกั ดิ.์ (2555). การสอนแบบโครงงานและการสอนแบบใช้วิจัยเปน็ ฐาน. งานทีค่ รูประถมทำได้. กรุงเทพฯ: สา ฮะแอนดซ์ นั พรนิ้ ดิ้ง. นนั ทวนั มุสกิ บุตร. (2561). ปญั หาและแนวทางการพฒั นาการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสงั่ กัด สำนักงานเขต พ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. งานนิพนธก์ ารศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวชิ าการบริหาร การศกึ ษา. คณะศกึ ษาศาสตร์.มหาวิทยาลัยบูรพา. ณฐมนต์ ปัญจวิมิน. (2560). หลักการ แนวคิดทฤษฎีทางการบรหิ ารการศกึ ษา. (พิมพ์ครง้ั ที่ 2).กรุงเทพฯ: มนตร.ี ณัฐตะวัน ลิ้มประสงค์. (2558). สภาพและปัญหาการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา บณั ฑิต. ลาขาการบรหิ ารการศึกษา. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา. มาริสา ธรรมมะ. (2558). ความพึงพอใจของนิสติ ต่อสภาพแวดลอ้ มมหาวทิ ยาลัยบรู พา วิทยาเขตสารสนเทศสระแก้ว. งานนพิ นธ์การศึกษามหาบณั ฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวทิ ยาวงศาโรน์ ลัย บรู พา. วิทยา วทิ ยาวงศาโรน์ (2558). วิธีวทิ ยาการประเมนิ . ศาสตร์แหง่ คณุ คา่ . กรุงเทพฯ : จุพาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). แนวทางการจดั กิ่งกรรมลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้ ช้ันมัธยมศึกษาชน้ั ปีท่ี 1-3. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุมจุฬากรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7. (2562). บทบาทของผู้บริหารในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญสบื ค้นเมอื่ 15 ธนั วาคม 2562. จาก http://www.gotoknow.org/blogs/posts/359043. สุพัฒน์ สนิ มะล.ิ (2558). สภาพแวดล้อมท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศกึ ษาของคณะแพทศาสตร์ศิริราชพยาบาลในทัศนะ ของนักศกึ ษาแพทย.์ กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รต. สมศกั ด์ิ วงเจริญ. (2558). สภาพแวดล้อมท่เี ก่ยี วข้องกับการจัดการศึกษาของคณะแพทศาสตร์ศริ ิราชพยาบาลในทัศนะ ของนกั ศกึ ษาแพทย.์ กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรต. สธุ าวรนิ ทร์ บญุ เกิด. (2558). สภาพแวดลอ้ มภายในห้องเรียน กรุงเทพมหานคร. สกั รนิ ทร์ บญุ กวา้ ง. (2553). วทิ ยาการวิจัย. ลพบรุ ี : มหาวิทยาลัยราชภฏั เทพสตร.ี อุมาพร นิลพัฒน์ (2558). สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนบ้านมาบตาพุดสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาระยอง เขต 1. งานนิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. คณะศกึ ษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา. Astin. A. W. (1985). Achieving educational excellence. San Francisco. CA: Josses-Bass. 45

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี Cronbach. (2006). Relations Between Teacher Perceptions of Safe andOrderly Environment and Student Achievement Among Ten Better-performing.High-poverty Schools in One Southern California Elementary School District.Dissertation Abstracts International. 67(1) : p.116 Krejcie and Morgan. (1970). Technology - assisted Instruction and Student Advancement. Dissertation Abstract International. 46

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ความคาดหวงั และการรับรตู้ อ่ ผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ สาขาทนั ตแพทยศาสตร์ของมหาวทิ ยาลัยเอกชนแห่งหน่งึ The Expectation and Perception to the Learning Outcomes in Thai Qualification Framework in Dentistry of a Private University วัชรินทร์ จงกลสถติ , สมิตา วงศเ์ ฉลมิ สขุ , เนตรคณิศร์ ศรมยรุ า, ปทั มามาศ กุศลชู,ธนกร วชิ ยธรรมสกุล, พลภทั ร จรสั ชัยวรรณา ผู้รบั ผดิ ชอบบทความ วัชรินทร์ จงกลสถิต E-mail: [email protected] บทวคทิ ดัยยาลอ่ ัยทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ตามท่ีผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติสาขาทนั ตแพทยศาสตร์ไดป้ ระกาศใช้ เป็นแนวทางในการออกแบบหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนหลกั สูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑติ ตง้ั แต่ปี พ.ศ.2553 เป็นต้นมา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความคาดหวังและการรับรู้สภาพในปัจจุบัน รวมทั้งวิเคราะห์ ความสำคญั และศกั ยภาพในการดำเนินงานของผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติสาขา ทันตแพทยศาสตร์ของนกั ศกึ ษาทันตแพทยส์ ถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งหนึง่ การศึกษานีเ้ ป็นการวจิ ัยเชงิ สำรวจทีเ่ ก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามจากกลุ่มตวั อย่าง 3 กลุ่ม ประกอบดว้ ย 1) นกั ศกึ ษาทนั ตแพทย์ช้ันปรคี ลินิก จำนวน 149 คน 2) นกั ศึกษาทันตแพทย์ชน้ั คลนิ กิ จำนวน 131 คน และ 3) อาจารย์ จำนวน 68คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และใช้การวิเคราะห์ความสำคัญและศักยภาพการดำเนินงาน (Importance-performance analysis) ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาทันตแพทย์ทั้งชั้นปรีคลินิกและชั้นคลินิกมีความคาดหวังต่อผลการเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิในด้านทักษะพิสัยทางวิชาชีพในระดับมากที่สุด (4.68±0.63) รองลงมาเป็นด้านคุณธรรม จริยธรรม (4.60±0.49) ขณะที่อาจารย์มีความคาดหวังต่อผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ของนักศึกษาทันตแพทยใ์ นด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมเป็นอันดับแรก (4.36±0.84) รองลงมาเปน็ ด้านทักษะพิสัย ทางวชิ าชีพ (4.32±0.82) ขณะทค่ี วามคาดหวงั ตอ่ ผลการเรียนร้ตู ามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติด้าน ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สารเปน็ ผลการเรียนรู้ทนี่ กั ศึกษาทันตแพทย์และ อาจารย์มคี วามคาดหวังในอันดบั ต่ำทีส่ ุด สำหรับการรับรูส้ ภาพในปัจจบุ ันนั้น นักศึกษาทันตแพทย์ประเมินตนเองว่ามี ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมอยู่ในลำดับที่สูงท่ีสดุ รองลงมาคือด้านทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ ขณะท่อี าจารย์ประเมนิ สภาพปัจจุบนั ของผลการเรียนรู้ของนักศึกษาทันตแพทย์ด้านทักษะพิสัยทางวิชาชีพ ในอนั ดบั สูงสดุ และด้านคณุ ธรรมจริยธรรมในอันดบั ต่ำทีส่ ดุ 47

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลการวิเคราะห์ความสำคัญและศักยภาพการดำเนินงานของผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาตขิ องนกั ศกึ ษาทันตแพทย์ในมุมมองของนักศึกษาทนั ตแพทย์ชน้ั ปรีคลินกิ พบว่าสิ่งท่ตี ้องให้ความ สนใจคอื ดา้ นทักษะพสิ ยั ทางวชิ าชพี และดา้ นความรู้ ขณะที่ในมมุ มองของอาจารย์ เปน็ ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม คำสำคญั : ผลการเรยี นรู้ กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเอกชน ABSTRACT According to the Thai Qualification Framework on Dentistry, the learning outcomes have been established since 2010 as the guideline in curriculum design and teaching and learning in the Doctor of Dental Surgery program. This study aimed to analyze the expectation, current perception, and the Importance-Performance Analysis (IPA) of the learning outcomes of pre-clinical students, clinical students, and instructors. This study was designed as survey research collecting data by the questionnaire from 3 groups of samples; 1) a hundred forty-nine pre-clinical dental students, 2) a hundred thirty-one clinical dental students, and 3) sixty-eight instructors. Data analysis was performed by descriptive statistics and the Importance-Performance Analysis. The result reveals that pre-clinical and clinical dental students rated the expectation in the psychomotor domain at the first rank, followed by the moral and ethics domain. The instruct ranked morals and ethics as the most expected learning outcome, followed by the psychomotor domain. The learning outcome in analytical and information technology skills was at the lowest expectation. For the current perception of the learning outcome, pre-clinical dental students rated their learning outcome in the moral and ethics domain at the highest rank, followed by the interpersonal skills and responsibility domain. The instructors perceived that the psychomotor domain was at the highest, whereas the moral and ethics was the lowest rank of the current learning of the dental students. The Importance-Performance Analysis of the learning outcomes according to the Thai Qualification framework of the dental students in the perspective of pre-clinical dental students demonstrated that the psychomotor domain and the knowledge domain were in the quadrant of Concentrate Here. From the perspective of instructors, morals and ethics should be concentrated. KEYWORDS : Learning outcome, Qualification framework, Dentistry, Private university 48

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี บทนำ การจัดการศกึ ษาเพ่ือผลิตทันตแพทยอ์ ยา่ งเปน็ ระบบในประเทศไทยไดเ้ ริ่มต้นขนึ้ โดยการจัดต้งั คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ.2486 กระทั่งในปัจจุบันมีการจัดการศึกษาเพื่อผลิตทันตแพทย์ซึ่งดำเนินการโดย สถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน (Komabayashi, Srisilapanan, Korwanich, & Bird, 2007) มีทันตแพทยสภาเป็น องคก์ ารวชิ าชีพทมี่ บี ทบาทในการกำกบั ดแู ล ตลอดจนส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษาเพ่ือผลติ ทันตแพทย์ในประเทศไทย โดย ในปจั จบุ ันมีสถาบนั จัดการศึกษาเพ่อื ผลิตทันตแพทย์ประเทศไทยจำนวน 14 สถาบนั สามารถผลิตทนั ตแพทย์ได้ปีละประมาณ 10,000 คน จนมกี ารกระจายทันตแพทย์เป็น 1 คนตอ่ ประชากรน้อยกวา่ 5000 คน (สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามยั , 2558) ส่งผลตอ่ สขุ ภาพชอ่ งปากของประชาชนไทยดีขึ้น (สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2561) ตลอดจนเป็น การรองรบั การเปิดเสรีด้านการบรกิ ารสขุ ภาพและการเข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุ (เพญ็ แข ลาภยงิ่ และ กนั ยา บุญธรรม บรรณาธิการ, 2556; สำนกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข, 2558) ทันตแพทยสภาและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้พัฒนากรอบมาตรฐาน คณุ วุฒิระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ สาขาทันตแพทยศาสตร์ขึน้ เพือ่ เปน็ แนวทางการในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร ทันตแพทยศาสตรบัณฑติ ในประเทศไทย ตลอดจนมคี วามสอดคลอ้ งกบั การสอบข้นึ ทะเบยี นเปน็ ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทันตก รรมของทันตแพทยสภา และเกณฑ์มาตรฐานสมรรถนะผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม (ทันตแพทยสภา, 2555) ซ่ึง ประกอบดว้ ยมาตรฐานผลการเรียนรู้ (Learning outcomes) สาขาทันตแพทยศาสตรน์ ัน้ จะประกอบด้วยคุณลักษณะ 6 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปญั ญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และความ รับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และด้านทักษะพิสัยทาง วิชาชีพ (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2553) ซึ่งหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑติ ในประเทศไทยจะยึดเอา กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตลอดจนหลักเกณฑก์ ารรบั รองหลักสูตรทนั ตแพทยศาสตรบัณฑิตเป็น แนวทางในการพฒั นาหลกั สูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑติ ในประเทศไทย (ทันตแพทยสภา, 2561) วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งแรกที่จัดการเรยี นการสอน หลักสตู รทนั ตแพทยศาสตรบัณฑติ โดยเร่ิมรับนกั ศึกษารนุ่ แรกในปีการศกึ ษา 2548 หลักสตู รได้รับการออกแบบให้เป็น แบบทวิภาษาโดยมีเป้าหมายเพื่อรองรับการเปิดเสรีด้านการบริการสุขภาพ ตลอดจนการศึกษาต่อในต่างประเทศของ นักศกึ ษา การจัดการศกึ ษาของหลักสูตรทนั ตแพทยศาสตร์น้ีแบง่ เป็น 3 ช่วงชั้น คอื ชว่ งชัน้ ท่ี 1 เปน็ การศึกษาในชั้นปีที่ 1 และ 2 โดยนกั ศกึ ษาจะศึกษาในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป และวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยพ์ ้นื ฐาน ซง่ึ จัดการเรยี นการสอนโดย วทิ ยาลยั นานาชาติและคณะวิทยาศาสตร์ ชว่ งชั้นท่ี 2 เป็นการศกึ ษาในชัน้ ปที ่ี 3 และ 4 โดยนักศกึ ษาจะศึกษาวิชาทันต แพทยศาสตร์ และฝึกปฏิบัตใิ นหอ้ งปฏิบัตกิ ารทนั ตกรรมและคลินิกทันตกรรมจำลอง ตลอดจนการเรยี นการสอนโดยใช้ ชุมชนเปน็ ฐาน (วัชรนิ ทร์ จงกลสถิต และพลภัทร จรสั ชยั วรรณา, 2561) เพือ่ เตรยี มความพรอ้ มในการศึกษาในช่วงชั้นท่ี 3 ซ่ึงเปน็ การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารใหก้ ารรักษาแก่ผ้ปู ่วยจริง (วชั รนิ ทร์ จงกลสถิต, 2559) ท้งั นน้ี ักศึกษาทนั ตแพทย์จะต้องสอบ ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม และปฏิบัติงานการรักษาครอบคลุมหัตถการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ (ทันต แพทยสภา, 2560) การวิเคราะห์ความสำคัญและศักยภาพในการดำเนินการ (Importance-Performance Analysis: IPA) เป็น แนวคิดที่ได้รับการพัฒนาขึ้นโดย Martilla และ James (1997) เพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพของการให้บริการใน 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook