Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

Published by ED-APHEIT, 2022-04-04 03:34:12

Description: ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ ครั้งที่ 6 การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565

Search

Read the Text Version

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มุมมองของผู้บรโิ ภค ซึ่งจะพิจารณาจาก 2 มิติ คือความสำคัญ (Importance) หรือความคาดหวัง และศักยภาพในการ ดำเนินการ (Performance) หรือการรับรู้สภาพในปัจจุบัน ทั้งนี้แกน Y จะแสดงความสำคัญ ขณะที่แกน X จะแสดง ศักยภาพในการดำเนินงาน ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ 1) ส่วน A เป็นส่วนที่มีความสำคัญและศักยภาพในการ ดำเนินงานสูง หรือสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว (Keep up good work) 2) ส่วน B เป็นส่วนท่ีมีความสำคัญสูงแต่ยังมีศักยภาพใน การดำเนนิ งานตำ่ หรือสิ่งท่ีต้องให้ความสนใจ (Concentration here) 3) สว่ น C เปน็ สว่ นท่ีมีความสำคัญและมศี ักยภาพ ในการดำเนินงานตำ่ หรอื สิ่งทอ่ี ยใู่ นความสำคัญลำดับต่ำ (Low priority) และ 4) ส่วน D เปน็ ส่วนที่มีความสำคัญต่ำแต่ มีศักยภาพในการดำเนินงานสูง หรือสิ่งที่เกินความเป็นไปได้ (Possible overkill) (Bacon, 2003; Martilla & James, 1977; Oh, 2001) ทั้งนี้ได้มีการนำแนวคิดนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ความพึงพอใจในการประเมินคุณภาพของการบรกิ าร ตา่ ง ๆ (Dewi, Gundavarapu, & Cugati, 2013; Dewi, Sudjana, & Oesman, 2011; García-Fernández et al., 2020; Izadi, Jahani, Rafiei, Masoud, & Vali, 2017) การจัดการศึกษาเป็นการบริการรูปแบบหนึ่งซึ่งต้องมีการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน จาก ข้อมูลรอบด้านที่ได้จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกส่วน ทั้งผู้สอน ผู้เรียน บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต ตลอดจนภาคส่วนต่าง ๆ ท่ี เก่ยี วข้อง เพือ่ ใหห้ ลกั สูตรสามารถตอบสนองความตอ้ งการและสร้างความพึงพอใจสงู สุดแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเหล่าน้ัน รวมท้ังเป็นการยนื ยันว่าการจดั การเรยี นการสอนในหลกั สูตรสามารถผลิตบัณฑติ ทีเ่ ปน็ ไปตามความต้องการของกลุ่มต่าง ๆ การศึกษานีจ้ งึ มีเป้าหมายเพ่ือวิเคราะห์ความคาดหวงั และการรับรู้สภาพในปัจจุบนั รวมท้ังวิเคราะห์ความสำคัญและ ศักยภาพในการดำเนินงานของผลการเรยี นร้ตู ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติสาขาทนั ตแพทยศาสตร์ ของสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ หนึ่ง ซง่ึ นจ้ี ะเป็นแนวทางสำหรบั ผูบ้ ริหารคณะทนั ตแพทยศาสตร์ ผู้บริหารทันตแพทย สภา ตลอดจนผบู้ ริหารสถาบันอุดมศกึ ษาในการพัฒนาหลกั สตู รและการเรียนการสอนให้สอดคลอ้ งกับความต้องการผู้มี สว่ นไดส้ ว่ นเสยี ตา่ ง ๆ อนั จะเปน็ ประโยชนใ์ นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื ผลิตทนั ตแพทยข์ องประเทศไทยตอ่ ไป วัตถปุ ระสงค์การวิจยั 1. เพื่อประเมินความคาดหวังและการรับรู้สภาพในปัจจุบันผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาตสิ าขาทนั ตแพทยศาสตร์ของสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ หนึ่ง 2. เพื่อวิเคราะห์ความสำคัญและศักยภาพในการดำเนินงานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณ วุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติสาขาทนั ตแพทยศาสตร์ของสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งหนงึ่ วธิ ีดำเนนิ การวจิ ยั ประชากรและตวั อย่าง ประชากรทีใ่ นการศึกษานี้แบ่งดว้ ย 2 กลุ่ม คือ นักศึกษาทันตแพทย์และอาจารย์ สำหรับนักศึกษาทันตแพทย์ เป็นนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปรคี ลินิกและชั้นคลินิกที่กำลังศึกษาในหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในปีการศึกษา 2563 จำนวน 201 คน และ 187 คนตามลำดับ นำมาคำนวณขนาด ตัวอย่างให้เป็นตัวแทนของแต่ละช่วงชั้นโดยใช้วิธีการของยามาเน ได้ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 133 คน และ 128 คน (Yamane, 1973) และเลือกตัวอย่างโดยใชว้ ิธีการสมุ่ ตัวอยา่ งแบบงา่ ย (Simple random technique) 50

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ประชากรที่เป็นอาจารย์เป็นอาจารยป์ ระจำวิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ จำนวน 82 คน คำนวณขนาดตัวอย่าง โดยวธิ ีการของยามาเน ไดข้ นาดตัวอย่างเทา่ กบั 68 คน และเลอื กตัวอยา่ งแบบการสุม่ อยา่ งงา่ ย เคร่ืองมือ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนีแ้ บ่งออกเป็นแบบสอบถามชนิดให้ผู้ตอบแบบสอบถามทำด้วยตนเองมีข้อคำถามท่ี ครอบคลุมตัวแปรพ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ เพศ ช่วงช้นั และคะแนนเฉลีย่ สะสม และความคาดหวังและการรับร้สู ภาพในปจั จุบันต่อ ผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาสาขาทันตแพทยศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย 6 ด้าน คือ ด้าน คุณธรรมจริยธรรม ดา้ นความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ดา้ นทักษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้าน ทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร และดา้ นทกั ษะพิสยั ทางวชิ าชีพ ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถาม และตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา โดยนำเครื่องมือทีส่ ร้างเสร็จเรยี บรอ้ ยแล้วให้ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือทางด้านความตรงเชิงเนื้อและความชัดเจนของภาษาด้วย เทคนิค Index of item objective congruence (IOC) ได้เท่ากับ 0.82 แล้วนำแบบสอบถามปรับปรุงแก้ไขตาม คำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นนำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try out) กับนักศึกษาทันตแพทยจ์ ำนวน 30 คน แล้ว นำมาคำนวณค่าความเชื่อมั่นตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) ใช้ค่าสัมประสิทธิแอลฟา (α-coefficient) เท่ากับ 0.874 (Cronbach, 1990) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การวจิ ัยนี้ได้รบั การพิจารณาโครงร่างการวจิ ัยโดยคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัยรังสิต (COA.NO. RSUERB2020-12) แบบยกเว้น (Exemption) ผูว้ ิจัยไดด้ ำเนนิ การขออนญุ าตเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากผบู้ ริหารคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เอกชนแห่ง นั้น หลังจากที่ได้รับอนุญาตจากคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชนแล้ว ผู้วิจัยจึงชี้แจงวัตถุประสงค์ การศกึ ษาแก่กลุ่มตัวอย่าง แจกแบบสอบถามโดยให้กลุ่มตัวอย่างทำโดยอิสระ เมอื่ กลมุ่ ตัวอยา่ งไดท้ ำแบบสอบถามเสร็จ แล้วจงึ นำมาตรวจสอบความครบถ้วยสมบรู ณ์และลงรหัสเพอ่ื การวเิ คราะห์ข้อมูลตอ่ ไป การวเิ คราะหข์ ้อมลู 1. การวิเคราะหข์ ้อมูลดำเนนิ การโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ (STATA/LC version 16.0, STATA corp.) โดยใช้สถติ ิเชงิ พรรณนาไดแ้ ก่ ความถี่ ร้อยละ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และแปลความหมายของขอ้ มลู 2. การวเิ คราะหค์ วามสำคัญและศักยภาพในการดำเนินงาน โดยการสร้างแกน Y ดว้ ยค่าเฉลี่ยการรับรู้สภาพใน ปัจจุบันตอ่ ผลการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติในภาพรวม และแกน X ดว้ ยความคาดหวัง ต่อผลการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ หลังจากนั้นจึงนำคะแนนความคาดหวังและการ รบั รูม้ ากำหนดตามแกน X-Y นั้น ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ผวู้ ิจัยไดด้ ำเนนิ การแจกแบบสอบถามจำนวน 300 ฉบบั แบ่งเป็นจำนวน 150 ฉบบั และ 150 ฉบับแก่นักศึกษา ทนั ตแพทย์ชน้ั ปรคี ลินิกและชัน้ คลินิก และมีแบบสอบถามทไ่ี ด้รับคืนมาจำนวน 280 ฉบับ แบ่งเป็นนกั ศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปรีคลินิกจำนวน 149 ฉบับ และนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นคลินิก จำนวน 131 ฉบับ คิดเป็นอัตราการคืนกลับ เป็น 51

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 99.33% และ 87.33% ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย จำนวน 78 คน (27.86%) และเพศหญิง จำนวน 202 คน (72.14%) สำหรับกลมุ่ ตวั อย่างท่ีเปน็ อาจารย์ผู้วิจัยได้ดำเนินการแจกแบบสอบถาม 70 ฉบบั ได้รบั แบบสอบถามคืน 68 ฉบับ คดิ เปน็ อตั ราการคืนกลบั 97.14% (ภาพที่ 1) ภาพท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จากตารางท่ี 1 แสดงความคาดหวงั ต่อผลการเรยี นรูต้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ ของ นกั ศกึ ษาทันตแพทย์ชัน้ ปรคี ลินิกและชัน้ คลนิ กิ ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู พบว่านักศึกษาทันตแพทยท์ ั้งช้นั ปรีคลินิกและชั้น คลินิกมีความคาดหวังต่อผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิในด้านทักษะพิสัยทางวิชาชีพในระดับมากที่สุด (4.75±0.41 และ 4.59±0.57) รองลงมาเป็นดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม (4.63±0.43 และ 4.57±0.55) ขณะทอี่ าจารย์มีความ คาดหวังต่อผลการเรียนรตู้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษาทันตแพทย์ในด้านคุณธรรม จริยธรรมเป็นอนั ดับแรก (4.36±0.84) รองลงมาเป็นดา้ นทักษะพสิ ัยทางวิชาชพี (4.32±0.82) สำหรับความคาดหวังต่อ ผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารเป็นผลการเรียนรู้ที่นักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปรีคลินิก นักศึกษาทันตแพทย์ชั้นคลินิก และ อาจารย์มีความคาดหวังในอนั ดับตำ่ ทีส่ ดุ (4.35±0.60, 4.35±0.67 และ 3.89±0.75) ตารางที่ 1 ความคาดหวงั ต่อผลการเรียนร้ตู ามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ ผลการเรยี นรู้ ปรคี ลินกิ คลนิ ิก อาจารย์ คา่ เฉลี่ย แปลผล ค่าเฉลี่ย แปลผล ค่าเฉล่ีย แปลผล (S.D.) (อันดับ) (S.D.) (อนั ดบั ) (S.D.) (อันดับ) ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 4.63 มากทส่ี ุด 4.57 มากทส่ี ุด 4.36 มาก (0.43) (2) (0.55) (2) (0.84) (1) ความรู้ 4.62 มากท่สี ดุ 4.46 มาก 4.09 มาก (0.45) (3) (0.61) (5) (0.84) (5) ทักษะทางปญั ญา 4.60 มากทส่ี ดุ 4.51 มากทีส่ ดุ 4.20 มาก (0.47) (4) (0.59) (4) (0.84) (4) 52

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลการเรียนรู้ ปรคี ลินกิ คลนิ กิ อาจารย์ คา่ เฉล่ยี แปลผล ค่าเฉลย่ี แปลผล คา่ เฉลี่ย แปลผล ทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ ง (S.D.) (อันดับ) (S.D.) (อนั ดับ) (S.D.) (อนั ดบั ) บคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 4.58 มากทสี่ ุด 4.54 มากทส่ี ุด 4.30 มาก ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข (0.47) (5) (0.56) (3) (0.83) (3) การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.35 มาก 4.35 มาก 3.89 มาก และการสอื่ สาร (0.60) (6) (0.67) (6) (0.75) (6) ทกั ษะพิสยั ทางวชิ าชีพ 4.75 มากท่สี ดุ 4.59 มากทส่ี ดุ 4.32 มาก ภาพรวม (0.41) (1) (0.57) (1) (0.82) (2) 4.60 มากท่สี ดุ 4.54 มากทีส่ ุด 4.21 มาก (0.39) (0.53) (0.78) นักศึกษาทันตแพทย์ประเมินการรับรู้สภาพในปัจจุบันของผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของตนเองในภาพรวมอยู่ระดับสูง (4.51±0.51 และ 3.90±0.65) โดยด้านคุณธรรมจริยธรรม เป็นด้านท่ีนักศึกษาทนั ตแพทย์ประเมินสภาพในปจั จุบันของผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของตนเองเป็นอันดับที่สูงที่สุด (4.14±0.55 และ 4.08±0.75) รองลงมาคือด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ (3.56±0.60 และ 4.02±0.74) ขณะที่ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร เป็นด้านที่นักศึกษาทันตแพทยป์ ระเมินสภาพในปจั จุบนั อยูอ่ ันอันดับต่ำที่สุด (3.26±0.64 และ 3.67±0.83) (ตารางท่ี 2) กลุ่มตัวอย่างที่เป็นอาจารย์ประเมินสภาพในปัจจุบันต่อผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศกึ ษาแหง่ ชาตขิ องนักศึกษาทันตแพทย์ดา้ นทักษะพิสัยทางวชิ าชีพในอันดับแรก (4.03±0.62) รองลงมาเปน็ ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร (3.96±0.60) และด้านทักษะทางปัญญา เป็นด้านทีม่ ีคา่ เฉลยี่ ตำ่ ที่สดุ (3.80±0.61) (ตารางที่ 3) ตารางท่ี 2 การรับรู้สภาพในปจั จุบันต่อผลการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ ปรคี ลนิ ิก คลนิ กิ อาจารย์ ผลการเรียนรู้ ค่าเฉล่ีย แปลผล ค่าเฉลี่ย แปลผล คา่ เฉลย่ี แปลผล (S.D.) (อันดบั ) (S.D.) (อันดบั ) (S.D.) (อนั ดับ) ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม 4.14 มาก 4.08 มาก 3.87 มาก (0.55) (1) (0.75) (1) (0.73) (4) ความรู้ 3.33 ปานกลาง 3.78 มาก 3.87 มาก (0.69) (4) (0.75) (5) (0.54) (4) ทักษะทางปญั ญา 3.48 ปานกลาง 3.82 มาก 3.80 มาก (0.63) (3) (0.75) (4) (0.61) (6) 53

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ผลการเรยี นรู้ ปรคี ลนิ กิ คลินิก อาจารย์ คา่ เฉล่ยี แปลผล คา่ เฉล่ีย แปลผล คา่ เฉลยี่ แปลผล ทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ ง (S.D.) (อันดับ) (S.D.) (อันดบั ) (S.D.) (อนั ดบั ) บุคคลและความรับผดิ ชอบ 3.56 มาก 4.02 มาก 3.95 มาก ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข (0.60) (2) (0.74) (2) (0.52) (3) การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3.26 ปานกลาง 3.67 มาก 3.96 มาก และการส่อื สาร (0.64) (6) (0.83) (6) (0.60) (2) ทักษะพสิ ยั ทางวิชาชพี 3.33 ปานกลาง 3.98 มาก 4.03 มาก ภาพรวม (0.75) (4) (0.69) (3) (0.62) (1) 4.51 มาก 3.90 มาก 3.90 มาก (0.51) (0.65) (0.56) จากภาพท่ี 2 แสดงการวิเคราะห์ความสำคัญและศกั ยภาพการดำเนินการของผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษาทันตแพทย์ในมุมมองของนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปรีคลินิก โดยแบ่ง ออกเป็น 4 ส่วน คือ ส่วน A หรือสิ่งทีท่ ำได้ดีแล้ว (Keep up good work) ซึ่งประกอบด้วยด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม โดย ส่วนนี้เป็นผลการเรียนรู้ที่นักศึกษาทันตแพทย์มีความคาดหวังและมีการรับรู้ในระดับสูง ขณะที่ด้านทักษะพิสัยทาง วิชาชีพ จะอยู่ในส่วน B หรือสิ่งทีต่ ้องให้ความสนใจ (Concentration here) ซึ่งเป็นส่วนที่นักศึกษาทันตแพทย์มคี วาม คาดหวงั สงู แตม่ ีการประเมนิ รับรู้สภาพในปัจจุบันของตนเองอยใู่ นระดับต่ำ สำหรับด้านทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลขการ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารจะอยู่ในสว่ น C ซึ่งเป็นสิง่ ที่อยู่ในความสำคัญลำดับตำ่ (low priority) ส่วนนี้จะ เป็นส่วนที่นักศึกษาทันตแพทย์มีความคาดหวังและการประเมินรับรู้สภาพในปัจจุบันของตนเองอยู่ในระดับต่ำ ส่วน สุดท้ายคือส่วน D หรือสิ่งที่เกิดความเป็นไปได้ (Possible overkill) ส่วนนี้จะเป็นส่วนทีน่ ักศึกษามีความคาดหวังในต่ำ แตป่ ระเมนิ รบั รู้สภาพในปัจจบุ นั ของตนเองสงู ซ่ึงผลการเรียนรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติท่ีอยู่ ในส่วนนี้คือ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ สำหรับด้านความรู้นั้นจะอยู่กึ่งกลางระหว่าง สว่ น B และสว่ น C ผลการวิเคราะห์ความสำคัญและศักยภาพในการดำเนินการของผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาตขิ องนักศกึ ษาทนั ตแพทย์ในมุมมองของนักศกึ ษาทันตแพทยช์ ้ันคลินกิ และอาจารย์ แสดงในภาพ ท่ี 3 และภาพที่ 4 54

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ภาพที่ 2 การวิเคราะห์ความสำคัญและศักยภาพการดำเนนิ การของผลการเรียนรใู้ นมุมมองนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปรีคลินกิ ภาพที่ 3 การวิเคราะหค์ วามสำคัญและศักยภาพการดำเนนิ การของผลการเรียนรใู้ นมุมมองนักศึกษาทันตแพทย์ชนั้ คลินิก 55

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ภาพท่ี 4 การวเิ คราะหค์ วามสำคัญและศักยภาพการดำเนนิ การของผลการเรยี นรใู้ นมมุ มองอาจารย์ สรปุ ผลการวิจยั ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาทันตแพทย์ทั้งชั้นปรีคลินิกและชั้นคลินิกมีความคาดหวังต่อผลการเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิในด้านทักษะพิสัยทางวิชาชีพในระดับมากที่สุด (4.68±0.63) รองลงมาเป็นด้านคุณธรรม จริยธรรม (4.60±0.49) ขณะที่อาจารย์มีความคาดหวังต่อผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของนักศึกษาทันตแพทยใ์ นด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมเป็นอันดับแรก (4.36±0.84) รองลงมาเป็นดา้ นทักษะพิสยั ทางวิชาชีพ (4.32±0.82) ขณะท่คี วามคาดหวงั ต่อผลการเรยี นรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติด้าน ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเปน็ ผลการเรยี นรู้ที่นักศึกษาทันตแพทย์และ อาจารย์มคี วามคาดหวังในอันดบั ตำ่ ท่ีสดุ สำหรับการรบั รูส้ ภาพในปัจจบุ ันน้ัน นักศึกษาทันตแพทย์ประเมินตนเองว่ามี ผลการเรียนรดู้ ้านคณุ ธรรมจริยธรรมอยู่ในลำดับท่ีสูงที่สุด รองลงมาคอื ด้านทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลและความ รบั ผิดชอบ ในทางตรงกันขา้ มอาจารย์ประเมนิ สภาพปัจจุบันของผลการเรยี นรู้ของนกั ศึกษาทันตแพทย์ด้านทักษะพิสัย ทางวชิ าชีพในอนั ดบั สูงสุด และดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมในอนั ดับต่ำทส่ี ดุ จากผลการวิเคราะห์ความสำคัญและศักยภาพการดำเนินการของผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติของนกั ศึกษาทนั ตแพทยใ์ นมุมมองของนกั ศึกษาทนั ตแพทย์ชั้นปรีคลนิ กิ และชัน้ คลินิก พบว่า ด้านทักษะพิสัยทางวิชาชีพ ด้านความรู้ และด้านทักษะทางปัญญา เป็นผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติที่ต้องเร่งดำเนินการพัฒนาให้แก่นักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปรีคลินิก ขณะที่ผลการเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติทีต่ อ้ งเรง่ ดำเนินการพัฒนาใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาทนั ตแพทย์ช้นั คลนิ ิก คอื ด้าน ทักษะทางปญั ญา ขณะท่ีอาจารย์มีความเหน็ ว่าด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมเป็นด้านที่ตอ้ งให้ความสนใจ เนื่องจากเป็นด้านที่ มีความสำคัญแตอ่ าจารยม์ กี ารรับรู้สภาพปจั จุบนั ในระดับท่ีต่ำ 56

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี อภปิ รายผล ผลของการศึกษานี้แสดงให้เหน็ ว่านักศึกษาทนั ตแพทย์ช้ันพรีคลินกิ ช้นั คลินกิ และอาจารยน์ น้ั มีความคาดหวัง ต่อผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษาทันตแพทย์ที่แตกต่างกัน โดย นักศึกษาทันตแพทย์ทั้งชั้นพรีคลินิกและชั้นคลินิกนั้นต่างให้ความสำคัญกับด้านทักษะทางคลินิก และด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ขณะทีอ่ าจารยน์ ้ันใหค้ วามสำคญั กับดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม และรองลงมาเปน็ ดา้ นทกั ษะทางวิชาชีพ สำหรับ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การใช้เทคโนโลยี และการสื่อสารนั้น ทั้งนักศึกษาทันตแพทย์และ อาจารย์ต่างให้ความสำคัญในลำดับนอ้ ยที่สุด แต่นักศึกษาทันตแพทย์ทัง้ ชั้นพรีคลินิกและช้ันคลินิกนัน้ ต่างให้คะแนน ความคาดหวังต่อผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การใช้เทคโนโลยี และการสื่อสาร ในระดับสูงที่สุด ขณะที่การศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตทันตแพทย์ที่พึงประสงค์ซึ่งทำการสำรวจในอาจารย์และนักศึกษาทันตแพทย์ท่ัว ประเทศ พบว่าคุณลักษณะต้องการในลำดับสูงที่สุดคือด้านความรู้ รองลงมาเป็นด้านคุณธรรมจริยธรรม (Chongkonsatit, Siritharangsri, & Wongwanich, 2020) ประเทศต่าง ๆ ได้มีการกำหนดสมรรถนะของทันตแพทย์ที่จะประกอบวิชาชีพ ครอบคลุมประเดน็ ต่าง ๆ อาทิ ความเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ทกั ษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคล การสอ่ื สาร และทกั ษะทางสังคม ความร้แู ละความรอบรู้ ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนทักษะทางคลินิกทั้งการรวบรวมข้อมูลทางคลินิก การวินิจฉัยและการวาง แผนการรักษา การให้การรักษาและฟื้นฟูสภาพช่องปาก และการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งจะเปน็ แนวทางในการ ออกแบบหลักสูตร ตลอดจากการประกันคุณภาพการศึกษา (ADEA, 2011; Cowpe, Plasschaert, Harzer, Vinkka- Puhakka, & Walmsley, 2010) ซึ่งทันตแพทยสภาได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมของทันต แพทยสภาซึ่งประกอบขึน้ จาก 3 องคป์ ระกอบ นักศึกษาทันตแพทย์ทั้งช้ันปรีคลินิกและชัน้ คลนิ ิกต่างตระหนักว่าทกั ษะพิสัยทางวิชาชีพเป็นส่ิงท่ีสำคญั ท่สี ุด เนอื่ งจากในการจดั การเรยี นการสอนในวิชาทันตแพทยศาสตรช์ ัน้ ปรคี ลินกิ นน้ั จะมีงานปฏบิ ัติการที่ตอ้ งใช้ฝีมอื และความ พยายาม ซงึ่ จะเป็นผลให้นกั ศกึ ษาเกิดความกงั วลและความเครียดได้ (ณัฐวธุ แกว้ สทุ ธา & ณรงค์ศักด์ิ เหลา่ ศรสี นิ และวิ กุล วสิ าลเสสถ,์ 2557) รวมทงั้ เม่ือนักศกึ ษาต้องขึ้นชนั้ ทสี่ งู ข้นึ กจ็ ะมรี ะดับความเครียดสูงขึ้น (Chongkonsatit, 2021) ซึง่ หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบณั ฑิตนั้นไดอ้ อกแบบให้ในชั้นปรีคลินิกนั้น นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบตั ิในการทำงาน ฟันเทียมทั้งฟันเทยี มทั้งปาก ฟันเทียมบางสว่ นชนดิ ถอด รวมทั้งการฝกึ ปฏิบัติการอดุ ฟันในโพรงฟันชนิดต่าง ๆ ซึ่งเป็น งานละเอียดและต้องใช้ฝีมือ และเมื่อนักศึกษาปฏิบัติการรักษาในผู้ป่วยจริงในการศึกษาชั้นคลินิกนั้น นักศึกษาทันต แพทยก์ ต็ ้องตรวจ วนิ ิจฉยั วางแผนการรกั ษา ดำเนินการรักษา ตลอดจนประเมนิ ผลการรกั ษาภายใต้การกำกับดูแลของ อาจารย์ และมีปริมาณงานขั้นต่ำของการรกั ษาตามเกณฑ์ในการสำเร็จการศกึ ษา และเกณฑป์ รมิ าณงานขั้นต่ำที่กำหนด โดยทันตแพทยสภา นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ความสำคัญและสมรรถนะการดำเนินการสะท้อนให้เห็นว่าการจัดการ เรียนการสอนนัน้ ต้องมุ่งสง่ เสรมิ ดา้ นทักษะพสิ ยั ทางวิชาชพี ใหแ้ ก่นักศกึ ษาทันตแพทย์ช้นั ปรีคลนิ ิก ขณะทน่ี กั ศึกษาทันต แพทย์ชัน้ คลินกิ นั้นมีความเหน็ วา่ เป็นผลการเรียนรทู้ ีว่ ิทยาลัยทนั ตแพทยศาสตรด์ ำเนนิ การไดด้ ีแลว้ นอกจากความรู้และทักษะพิสัยทางวิชาชีพซึ่งเป็นสมรรถนะทักษะ (Hard skills) สำหรับการเป็นผู้ประกอบ วชิ าชพี ทนั ตกรรมแลว้ การจดั การศกึ ษาเพ่ือผลติ ทันตแพทย์น้ันยังตอ้ งใช้ความสำคญั กับจรณะทกั ษะ (Soft skills) ด้วย Gonzalez, Abu Kasim, และ Naimie (2013) ได้ศึกษาจรณะทักษะที่เกี่ยวข้องการจัดการศึกษาเพื่อผลิตทันตแพทย์ 57

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้แก่ ทักษะในการสื่อสาร ทักษะการคิดวเิ คราะหแ์ ละการแก้ปญั หา การทำงานเป็นทีม ภาวะผู้นำ คุณธรรมจริยธรรม ทางวิชาชีพ การเรียนรู้ตลอดชีวิต และความเป็นผู้ประกอบการ (Gonzalez, Abu Kasim, & Naimie, 2013) ซึ่งจาก การศึกษานี้พบว่านักศึกษาทันตแพทย์ทั้งชั้นปรีคลินิกและคลินิกให้ความสำคัญกับผลการเรียนรู้ซึ่งสัมพันธ์กับจรณ ทักษะน้อยกว่าสมรรถนะทักษะ แต่นักศึกษาทันตแพทย์ชั้นคลินิกนั้นจะให้ความสำคัญกับผลการเรียนรู้ด้านทักษะ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบดว้ ย ท้งั นเี้ นอ่ื งมาจากการเรยี นการสอนในชนั้ คลนิ ิกน้ัน นักศึกษาทันต แพทย์ต้องดูแลรักษาผู้ป่วย มีการรักษาให้ผู้ป่วยมารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ตลอดให้การรักษาที่ตอบสนองความ ต้องการสูงสุดของผปู้ ว่ ย (Habib, Ramalingam, Al Beladi, & Al Habib, 2014) คุณธรรมจริยธรรมเปน็ ผลการเรียนรูท้ ีส่ ำคัญ ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมต้องเป็นผู้ที่มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม ตลอดจนประพฤติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ (Nash, 2010) ความมีคุณธรรมจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพนั้นเปน็ การไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน การมีความรับผิดชอบ เชื่อถือได้ ตลอดจนความเคารพในผู้อื่น(Christie, Bowen, & Paarmann, 2007) ซ่งึ การจดั การเรยี นการสอนในชั้นเรียนอย่างเดยี วไม่สามารถทำใหน้ กั ศกึ ษามีพฤตกิ รรมท่ีมีคุณธรรม จรยิ ธรรมได้ (Bertolami, 2004) ตอ้ งมจี ดั การเชิงระบบในการจัดการศกึ ษาเพอ่ื ผลติ ทนั ตแพทย์ (Koerber et al., 2005) เพือ่ ผลิตบณั ฑติ ที่ตอบสนองความตอ้ งการของสังคม (สลุ ักษณ์ ศวิ ลักษณ,์ 2556) ท้งั น้ี การเขียนสะทอ้ นคดิ เปน็ เครอื่ งมือ หนึ่งในจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาทันตแพทย์ (Brondani, 2012; Hood, 2010; Strauss, Stein, Edwards, & Nies, 2010) นักศึกษาทันตแพทย์มีความคาดหวังต่อผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสือ่ สารในลำดับต่ำที่สุด ขณะท่ที กั ษะด้านน้ีเปน็ พื้นฐานในการสร้างความรอบรู้ด้านดิจิทัล และเป็น เครื่องมือในการเรียนรูต้ ลอดชีวิต เช่นเดียวกับทักษะการคิดและทักษะการเรยี นรู้ (Dong, 2004) เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารสามารถเข้ามาเอื้อต่อการจัดการศึกษาเพ่ือผลิตทันตแพทย์ตลอดจนการพัฒนาทันตแพทยใ์ นการเรยี นรู้ ตลอดชีวิตได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ (Mattheos et al., 2008; Polyzois, Claffey, Attström, Kelly, & Mattheos, 2010) ซึ่งนอกจากความรู้ความสามารถ และความรอบรู้ด้านที่เกี่ยวกับวิชาชีพแล้ว การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาจะต้อง พฒั นาผ้เู รยี นให้มีทกั ษะการเรยี นรู้ตลอดชีวิต มที ักษะศตวรรษท่ี 21 มคี วามเป็นผปู้ ระกอบการ ตลอดจนเป็นพลเมืองที่ เขม้ แข็ง แม้ว่าการประเมินการรบั รู้สภาพในปัจจุบันรวมทั้งความคาดหวังต่อผลการเรียนรู้โดยการประเมินตนเองของ นักศกึ ษาทันตแพทยน์ ั้น อาจจะมีขอ้ จำกัดเร่อื งความเชือ่ ถอื ได้ของขอ้ มลู จากอคตทิ ีจ่ ะประเมินตนเองทมี่ คี วามโนม้ เอียงที่ จะให้คะแนนในช่วงคะแนนทีส่ ูง จึงมีการเกบ็ ขอ้ มูลจากแหล่งอื่น ซึ่งในนีเ้ ปน็ อาจารย์ทนั ตแพทยร์ ับรูผ้ ลการเรยี นรู้ของ นักศึกษาทันตแพทย์ในระหว่างที่ศึกษาในหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต อย่างไรก็ตาม การประเมินคุณภาพของ บณั ฑติ ทันตแพทยจ์ ากแหลง่ ขอ้ มูลท่หี ลากหลาย อาทิ นายจา้ ง ผู้ปว่ ย อาจารย์ทนั ตแพทย์ จะเป็นส่งิ ท่ีสำคญั อกี ประการ หนึ่งในการประเมินเพื่อการพัฒนากระบวนการจดั การศึกษาเพื่อผลิตทันตแพทย์ นอกจากนีก้ ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพจะทำให้เกิดความสมบูรณ์ของข้อมูลในการพัฒนาหลกั สูตร การจดั การเรียนการสอน และกจิ กรรมการเรียนรู้ให้ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผู้เรยี น 58

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะท่ไี ด้จากการวิจัย 1.1 จากข้อค้นพบของการวิจัยพบว่านักศึกษาทันตแพทย์และอาจารย์มีความคาดหวังและการรับรู้สภาพใน ปจั จบุ นั ตอ่ ผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติของนักศกึ ษาทันตแพทย์แตกต่างกัน การ ทำความเข้ าใจร่วมกันในความคาดหว ังและการร ับร ู้ จะช่วยให้นักศึ กษาทันตแพทย์ ได้เกิ ดการพัฒนาการเร ี ยนรู้ ขณะเดยี วกันยงั ส่งผลตอ่ การปรบั ปรุงกระบวนการจดั การเรียนรู้ของคณาจารยด์ ้วย 1.2 จากข้อค้นพบในการวิจัยที่พบว่านักศึกษาทันตแพทย์และอาจารย์มีความคาดหวังต่อผลการเรียนรู้ด้าน ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารเปน็ อันดับสุดท้าย ขณะท่ีเปน็ ทักษะท่ีมีความ จำเป็นอย่างยิ่งในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผู้บริหารจึงจำเป็นต้องทำกำหนดนโยบายเพ่ือการพัฒนาผลการเรียนรูใ้ น ดา้ นดงั กลา่ ว 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยตอ่ ไป 2.1 การศกึ ษาน้เี ปน็ การดำเนินการศึกษาในสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนเพียงแห่งเดียว จึงควรมีการศึกษาเป็นวง กว้าง ในสถาบนั อุดมศกึ ษาทม่ี บี ริบทการจดั การศึกษาทแี่ ตกต่างกนั 2.2 การศกึ ษานี้ทำการศึกษาเฉพาะผลการเรยี นรู้ของนักศึกษาทนั ตแพทย์โดยศกึ ษาในทันตแพทย์และอาจารย์ จงึ ควรมีการศกึ ษาคณุ ภาพของบณั ฑติ ทนั ตแพทย์ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติโดยศกึ ษาในกลุ่ม เอกสารอา้ งองิ เพญ็ แข ลาภย่ิง และ กันยา บุญธรรม บรรณาธิการ. (2556). แผนยุทธศาสตรส์ ุขภาพชอ่ งปากประเทศไทย พ.ศ. 2555- 2559. นนทบรุ :ี สำนกั ทนั ตสาธารณสุข. ณฐั วุธ แก้วสทุ ธา, ณรงคศ์ ักดิ์ เหล่าศรสี ิน และวิกลุ วสิ าลเสสถ์. (2557). ภาวะสุขภาพจติ และปจั จัยที่สัมพนั ธ์ในนสิ ิต ทนั ตแพทยม์ หาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. วารสารมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลย)ี , 6(11), 16-24. ทนั ตแพทยสภา. (2555). เกณฑม์ าตรฐานผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทันตกรรมของทันตแพทยสภา. สบื ค้นจาก http://www.dentalcouncil.or.th/regulation/std_dent.pdf วันที่ 24 ธนั วาคม พ.ศ.2564 ทนั ตแพทยสภา. (2560). เงือ่ นไขในการรบั รองผลการสอบความรเู้ พื่อขน้ึ ทะเบียนและรับใบอนญุ าตเป็นผ้ปู ระกอบ วชิ าชพี ทันตกรรม. สบื ค้นจาก https://dentalcouncil.or.th/Pages/Regulation วนั ท่ี 24 ธันวาคม พ.ศ.2564 ทันตแพทยสภา. (2561). หลักเกณฑ์การพิจารณาเห็นชอบหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต และการรับรอง สถาบันการศึกษาทนั ตแพทยศาสตร.์ สืบคน้ จาก https://dentalcouncil.or.th/Pages/Regulation วันที่ 24 ธนั วาคม พ.ศ.2564 วชั รนิ ทร์ จงกลสถติ . (2559, 24-25 มนี าคม 2559). ทนั ตแพทยศาสตร์ของประเทศไทยเพ่อื รองรับประชาคมอาเซียน: กรณศี กึ ษาคณะทันตแพทยศาสตร์ 3 สถาบัน. รายงานสืบเนือ่ งจากการประชุมวชิ าการประจำปสี ังคมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ และศกึ ษาศาสตร์: ประชาคมอาเซยี น โอกาสและความท้าทาย, วันที่ 24-25 มนี าคม 2559, โรงแรมรอยลั ริเวอร์ กรงุ เทพมหานคร. 59

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี วัชรินทร์ จงกลสถิต และพลภทั ร จรัสชัยวรรณา. (2561, 1-2 มถิ ุนายน 2561). การเรียนรโู้ ดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการจัด การศึกษาเพอื่ ผลิตทันตแพทย์ กรณศี ึกษามหาวิทยาลัยรงั สติ . รายงานสบื เน่อื งจากการประชุมวชิ าการประจำปี สงั คมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศกึ ษาศาสตร์: ศาสนากับการสง่ เสรมิ ความเปน็ ธรรมดา้ นสขุ ภาพ, วันที่ 1-2 มิถนุ ายน 2561, โรงแรม เอส ดี อเวนวิ ปน่ิ เปลา้ . สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2553). กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิวชิ าชพี ทนั ตกรรม. สืบค้นจาก https://dentalcouncil.or.th/Pages/Regulation วนั ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.2564 สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. (2558). รายงานด้านทันตบุคลากร ประจำปี 2557. สืบค้นจาก https://dental.anamai.moph.go.th/th/dental-personnel-information วนั ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.2564 สำนกั ทนั ตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2558). แผนงานทันตสขุ ภาพสำหรับผสู้ งู อายุประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. สำนักทนั ตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2561). รายงานผลการสำรวจสภาวะทันตสขุ ภาพแห่งชาติ คร้ังที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ.2560. นนทบรุ :ี กระทรวงสาธารณสขุ . สุลักษณ์ ศวิ ลกั ษณ.์ (2556). ครูและแพทย์ท่พี ึงปรารถนาในสังคมสยาม. ใน นิพนธ์ แจม่ ดวง และลดั ดา วิวฒั นส์ รุ ะเวช (บรรณาธิการ), ครูและแพทย์ท่พี งึ ปรารถนาในสังคมสยาม (พิมพ์ครง้ั ที่ 2). กรุงเทพฯ: สยามปริทศั น์. ADEA. (2011). ADEA Competencies for the New General Dentist: (As approved by the 2008 ADEA House of Delegates). Journal of dental education, 75(7), 932-935. Bacon, D. R. (2003). A Comparison of Approaches to Importance-Performance Analysis. International Journal of Market Research, 45(1), 1-15. Bertolami, C. N. (2004). Why Our Ethics Curricula Don't Work. Journal of dental education, 68(4), 414-425. Brondani, M. A. (2012). Teaching social responsibility through community service-learning in predoctoral dental education. Journal of dental education, 76(5), 609-619. Chongkonsatit, W. (2021). THE STRESS OF DENTAL STUDENTS IN A PRIVATE UNIVERSITY. Suthiparithat (Journal of Business Innovation: SJBI), 35(4), 104-124. Chongkonsatit, W., Siritharangsri, P., & Wongwanich, S. (2020). THE DESIRABLE ATTRIBUTES OF THAI DENTAL GRADUATES IN ASEAN COMMUNITY. Suthiparithat (Journal of Business Innovation: SJBI), 31(98), 137-149. Christie, C., Bowen, D., & Paarmann, C. (2007). Effectiveness of Faculty Training to Enhance Clinical Evaluation of Student Competence in Ethical Reasoning and Professionalism. Journal of dental education, 71(8), 1048-1057. Cowpe, J., Plasschaert, A., Harzer, W., Vinkka-Puhakka, H., & Walmsley, A. D. (2010). Profile and competences for the graduating European dentist - update 2009. Eur J Dent Educ, 14(4), 193-202. 60

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th edition ed.). New York: Harper & Row. Dewi, F. D., Gundavarapu, K. C., & Cugati, N. (2013). Importance-performance analysis of dental satisfaction among three ethnic groups in malaysia. Oral Health Prev Dent, 11(2), 131-139. Dewi, F. D., Sudjana, G., & Oesman, Y. M. (2011). Patient satisfaction analysis on service quality of dental health care based on empathy and responsiveness. Dent Res J (Isfahan), 8(4), 172-177. Dong, W.-W. (2004). Improving students' lifelong learning skills in Circuit Analysis. García-Fernández, J., Fernández-Gavira, J., Sánchez-Oliver, A. J., Gálvez-Ruíz, P., Grimaldi-Puyana, M., & Cepeda-Carrión, G. (2020). Importance-Performance Matrix Analysis (IPMA) to Evaluate Servicescape Fitness Consumer by Gender and Age. Int J Environ Res Public Health, 17(18). Gonzalez, M. A., Abu Kasim, N. H., & Naimie, Z. (2013). Soft skills and dental education. Eur J Dent Educ, 17(2), 73-82. Habib, S. R., Ramalingam, S., Al Beladi, A., & Al Habib, A. (2014). Patient's satisfaction with the dental care provided by dental students. J Ayub Med Coll Abbottabad, 26(3), 353-356. Hood, J. G. (2010). Reflections on the dental Pipeline program's efforts regarding community- based dental education. Journal of dental education, 74(10 Suppl), S62-66. Izadi, A., Jahani, Y., Rafiei, S., Masoud, A., & Vali, L. (2017). Evaluating health service quality: using importance performance analysis. Int J Health Care Qual Assur, 30(7), 656-663. Koerber, A., Botto, R. W., Pendleton, D. D., Albazzaz, M. B., Doshi, S. J., & Rinando, V. A. (2005). Enhancing Ethical Behavior: Views of Students, Administrators, and Faculty. Journal of dental education, 69(2), 213-224. Komabayashi, T., Srisilapanan, P., Korwanich, N., & Bird, W. F. (2007). Education of dentists in Thailand. Int Dent J, 57(4), 274-278. doi:10.1111/j.1875-595X.2007.tb00132.x Martilla, J. A., & James, J. C. (1977). Importance-Performance Analysis. Journal of Marketing, 41(1), 77-79. Mattheos, N., Stefanovic, N., Apse, P., Attstrom, R., Buchanan, J., Brown, P., . . . Walmsley, A. D. (2008). Potential of information technology in dental education. Eur J Dent Educ, 12 Suppl 1, 85-92. Nash, D. A. (2010). Ethics, empathy, and the education of dentists. Journal of dental education, 74(6), 567-578. Oh, H. (2001). Revisiting importance–performance analysis. Tourism Management, 22(6), 617-627. 61

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี Polyzois, I., Claffey, N., Attström, R., Kelly, A., & Mattheos, N. (2010). The role of the curriculum and other factors in determining the medium- to long-term attitude of the practicing dentist towards life-long learning. European Journal of Dental Education, 14(2), 84-91. Strauss, R. P., Stein, M. B., Edwards, J., & Nies, K. C. (2010). The impact of community-based dental education on students. Journal of dental education, 74(10 Suppl), S42-55. Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd Edition ed.). NY: Harper and Row Publications. 62

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี การพัฒนากระบวนการชแี้ นะครนู กั จดั กระบวนการเรยี นรบู้ รู ณาการเชิงพน้ื ท่ี เพือ่ สง่ เสรมิ ทักษะ ชีวิตและอาชพี ของผู้เรยี น The Developed Coaching Process for The Teacher as a Learning Designer by an Area-Based Integrated Approach to Enhance Life Skills and Careers of Learners วชิ ญา ผวิ คำ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ E-mail [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยเรอ่ื ง การพฒั นากระบวนการชแี้ นะครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชงิ พ้ืนท่ีเพื่อส่งเสริมทักษะ ชีวิตและอาชพี ของผ้เู รยี น มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื 1) เพือ่ พัฒนากระบวนการชีแ้ นะครนู ักจัดกระบวนการเรยี นรูบ้ ูรณาการเชงิ พืน้ ท่ีเพื่อส่งเสริมทกั ษะชีวติ และอาชีพของผู้เรียน และ 2) เพอ่ื ศึกษาผลการใช้กระบวนการชแ้ี นะครูนักจัดกระบวนการ เรยี นรูบ้ ูรณาการเชงิ พืน้ ที่เพ่ือสง่ เสรมิ ทักษะชีวติ และอาชีพของผู้เรียน โดยพจิ ารณาจากการวิเคราะห์ความสามารถของ ครูในฐานะนกั จัดกระบวนการเรียนร้บู รู ณาการเชงิ พ้นื ท่เี พ่อื สง่ เสรมิ ทักษะชีวิตและอาชพี ของผเู้ รยี นและการเปรียบเทียบ คะแนนนการวัดทกั ษะชีวติ และอาชีพของผู้เรยี นหลังการเข้ารว่ มกระบวนการเรยี นร้บู รู ณาการเชิงพืน้ ที่ กลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจยั คือ ครปู ระจำ กศน.ตำบล จำนวน 3 คน ไดม้ าจากการเลอื กแบบเจาะจง และนกั ศึกษาทล่ี งทะเบยี นเรียนกลุ่ม สาระการประกอบอาชีพ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวนทั้งหมด 57 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั ประกอบดว้ ย แผนการจดั กิจกรรมกระบวนการช้ีแนะครู แบบประเมนิ ความสามารถครูนักการ จดั กระบวนการเรียนรู้บรู ณาการเชิงพ้ืนท่ี และแบบวดั ทกั ษะชีวติ และอาชีพของผู้เรยี น วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วย การหาค่าเฉลยี่ ร้อยละ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และค่าสถติ ทิ ดสอบที สว่ นข้อมลู เชิงคณุ ภาพใช้การวิเคราะห์เน้ือหาแล้ว บรรยายเชงิ พรรณนา ผลการวจิ ัยพบว่า 1. กระบวนการช้แี นะครนู ักจดั กระบวนการเรียนรบู้ ูรณาการเชงิ พ้นื ทีเ่ พอื่ ส่งเสริมทกั ษะชีวติ และอาชีพของ ผู้เรียน พัฒนาขึ้นจากการผสมผสานหลักการการพัฒนาบทเรียนร่วมกันและแนวคิดการสืบสอบแบบร่วมมือ ซ่ึง ประกอบด้วย 5 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ ขั้นที่ 1 สร้างแรงจูงใจ (Motivation) ข้ันที่ 2 ปรบั กรอบความคิด (Mindset) ข้ันที่ 3 ค้นหาทักษะที่หลากหลาย (Multiple-skills) ขนั้ ท่ี 4 ลงมอื กระทำด้วยตนเอง (Manipulation) ขน้ั ท่ี 5 เพิม่ พูนคุณค่า ตอ่ ชมุ ชน (Make Value) โดยกระบวนการชแ้ี นะทพ่ี ฒั นาข้ึนมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. ผลการใชก้ ระบวนการชีแ้ นะครูนกั จัดกระบวนการเรียนรบู้ รู ณาการเชิงพ้ืนท่ีเพ่อื สง่ เสริมทักษะชีวิตและ อาชีพของผเู้ รยี น พบว่า 63

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2.1 ความสามารถของครูในฐานะนกั จัดกระบวนการเรียนรบู้ รู ณาการเชงิ พ้นื ท่ีเพือ่ สง่ เสริมทักษะชีวิต และอาชพี ของผเู้ รียนโดยเฉลีย่ อย่ใู นระดับดี 2.2 ทักษะชีวิตและอาชีพของผู้เรียนหลังการเข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชิงพื้นที่สูงกว่า เกณฑร์ อ้ ยละ 70 อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติทรี่ ะดับ.01 คำสำคัญ: กระบวนการช้แี นะ, ครนู กั จดั กระบวนการเรยี นร,ู้ การบูรณาการเชงิ พน้ื ท่ี ABSTRACT The aims of this research were to 1) develop a coaching process for the teacher as an area- based learning designer, integrating life skills and careers of learners. 2) to analyse the competency of teachers as learning designers and to compare the life skills and careers of learners at non-formal and informal education institutions in Chiang Mai province. The sample cases were three teachers at non- formal and informal educational establishments in Hang Dong district, Chiang Mai province and fifty- seven learners who registered in the stand of occupational in the second semester of the academic year 2021. They were selected by specific selection based on their context of the area. The coaching development process consisted of planned activities, teacher competency assessment, life skills estimation and occupational evaluation. Mean percentage, standard deviation and t-test were used for analyzing quantitative data and content analysis. Descriptive explanation was used for analyzing qualitative data. The findings were as follows: 1. The developed coaching process for the teacher as a learning designer by an area-based integrated approach to enhance life skills and careers of learners consisted of five steps: 1) Motivation 2) Mindset 3) Multiple-skills 4) Manipulation 5) Make Value. This coaching process was verified by specialists as being of a high level. 2. The results of implementing the developed coaching process for the teacher as a learning designer were: 2. 1 The competency of teachers as a learning designer, using an area-based integration methodology to enhance the life skills and careers of learners, was at an effective and proficient level. 2.2 Life skills and occupation of learners after using area-based integration instruction was higher than the criterion of 70% at 0.01 level of significance. KEYWORD S: Coaching Process, teacher as a learning designer, area-based integrating 64

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บทนำ ไม่ว่าสถานการณ์ในปจั จุบันจะถูกกำหนดให้เกิดการเปล่ียนแปลงมากน้อยเพยี งใด การเรยี นการสอนยังคงเป็น การสอนโดยเอาความร้ขู องผู้สอนเป็นทต่ี ง้ั ซ่งึ มักเป็นความรู้ในอดีต ยังคงเปน็ ลักษณะเพอ่ื ความเปน็ เลิศทางวิชาการ การ สอบแข่งขันเพื่อจัดลำดับ การเรียนเพื่อตอบโจทย์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติยังขาดมิติของการบูรณาการ เชื่อมโยงความรู้อย่างมีความหมายกับสิง่ รอบตัวของผู้เรียน ขาดความเชื่อมโยงระหว่างความรู้กับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ อย่างแท้จริง ขาดมิติของทักษะการใช้ข้อมูลสารสนเทศ การใช้บริบทเชิงพื้นที่ของตนเอง หรือแม้กระทั่งการนำ ปรากฏการณแ์ ละภาพอนาคตของชุมชมเข้าสชู่ นั้ เรียน (เกยี รติสดุ า ศรสี ขุ และคณะ, 2564) จึงคาดการณ์ได้ว่าการเรียน การสอนจะไมส่ ามารถสรา้ งให้ผู้เรียนใชช้ ีวิตรอดได้ในอนาคต การสอนในปัจจบุ ันจงึ ต้องทำให้ผู้เรียนมคี วามสามารถและ มีทักษะในการเรียนรู้ที่ต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาครู หัวใจในการพัฒนาครูรปู แบบใหม่ จึงต้องเนน้ ทักษะในการ เรียนร้ทู ่ีจะสอนของครู การปรับเปลย่ี นกรอบความคิด (Mindset) และวธิ ีการสอนของครูจากผู้ถ่ายทอดความรู้เป็นหลัก เป็นผอู้ ำนวยความสะดวก เปน็ ครูนักจดั กระบวนการเรียนรู้ ผู้กระต้นุ ใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ด้วยเทคนคิ วิธีท่ีหลากหลาย และเหมาะสมกับลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน และเชื่อมโยงประสบการณ์ของผู้เรยี นจนเกิดองค์ความรู้ใหม่ เชื่อมโยงการ เรียนรู้ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนอย่างมีความหมาย ครูต้องกล้าคิดนอกกรอบเป็นนักออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ี ร่วมมือกับชุมชน ทั้งปราชญ์ชาวบา้ นและครูภมู ิปญั ญา การปฏิรูปการศึกษาเกิดขึ้นจริงได้ที่ห้องเรียนและชุมชน โดยมีครูในฐานะครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้เป็นผู้ ขับเคลื่อน แสดงบทบาทหน้าที่ในการสรา้ งความรู้จากอตั ลักษณ์ ปรากฏการณ์หรือภาพอนาคตของชุมชน และดำเนิน กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นนวัตกร ผู้ตั้งคำถาม กระตุ้น ชี้แนะ ให้กำลังใจ และร่วมสรุปสาระสำคัญกับผู้เรียน อีกทั้งการ ปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระจากเดิมที่เน้นการเรียนให้ครบตามตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นการเรียนเป็นหน่วย บรู ณาการทอ่ี ิงบรบิ ทเชงิ พ้ืนที่ ให้เป็นการเรียนบนพ้นื ฐานความเช่อื ในบริบทการเรียนรทู้ ่ีเกาะเก่ียวกนั แบบเป็นองค์รวมที่ จะช่วยให้ผู้เรียนมองเหน็ ความเกี่ยวเน่ือง มคี วามเชอื่ มโยงอย่างลึกซ้งึ ของความรู้และทกั ษะกับประสบการณ์ในชีวิตจริง รอบตัว โดยยึดหลกั การทวี่ ่าความรู้ที่มีคณุ ค่าแท้จรงิ ไมใ่ ช่ความร้ทู ีแ่ บง่ แยกกนั อยตู่ ามแต่ละศาสตร์วชิ าโดยลำพงั (เกียรติ สุดา ศรีสุข และคณะ, 2564) แตจ่ ะตอ้ งมีการหลอมรวมองค์ความร้ตู ่าง ๆ น้ันไปใชใ้ นสถานการณ์จริงของชีวติ ประกอบ กับการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตและอาชีพเป็นหนึ่งในทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยให้ความสำคัญกับการดำเนนิ ชีวิต ในสภาพของการทำงานในยุคปัจจุบัน ที่จำเป็นต้องมีทักษะการคิดและองค์ความรู้เพ่ิมขึ้นมาก มีความสามารถใน การทำงานในยุคที่มกี ารแข่งขันกนั ด้านขอ้ มูลข่าวสารและการดำรงชวี ิตทมี่ ีความซบั ซ้อนให้ประสบความสำเร็จ ซึง่ ผ้เู รยี น ต้องใส่ใจในการพัฒนาทักษะตอ่ ไปนี้ (1) ความยืดหยุ่นและการปรับตัว (2) การริเร่ิมและการนำตนเอง (3) ทักษะสังคม และการขา้ มวัฒนธรรม (4) การผลิตงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (5) ภาวะผู้นำและความรับผดิ ชอบ (ปาริชาติ อังกาบ และทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ, 2561) ผู้เรียนจึงจะเป็นผู้ที่ใช้ชีวิตและการทำงานในอาชีพของตนให้เท่าทันการ เปล่ยี นแปลงและทันตอ่ ยคุ สมยั ใหม่ (New normal) อย่างมีความสขุ ม่ันคง และยั่งยนื จากปัญหาและความสำคัญดังกล่าว ผู้วิจัยเห็นความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงกรอบแนวคิดของครู ด้วย วิธีการถ่ายโอนทักษะใหม่ (Transfer Internalization of nee skills) ตามที่ Gottesmam, B.L. (2000) กล่าวถึง การใช้ วิธีการถา่ ยโยงการเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ กี ารโค้ชแก่ครู ความรู้และทกั ษะใหม่จะมีความคงทนมากกว่าวธิ ีการอน่ื ๆ กลา่ วคอื หลัง การที่ครูได้รับการโค้ชจากผู้รู้หรือผู้บังคับบัญชาในสายงานจะสามารถจดจำความรู้ได้ถึงร้อยละ 60 และแม้ว่าเวลาจะ 65

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ผ่านไปนาน ระดับความรู้ความเข้าใจก็ยังคงอยู่ที่ระดับร้อยละ 90 การโค้ช (Coaching) จึงเป็นกระบวนการที่ต้องการ เรยี นร้กู ารฝึกฝนการทำซำ้ และใช้เวลา เป็นกระบวนการท่บี คุ คลเสริมพลังอำนาจ (Empowerment) และเปน็ การเปลี่ยน ผ่าน (Transformation) กรอบความคิดในการออกแบบการเรียนการสอนเดิมให้เป็นการเรียนการสอนดว้ ยวิธีการใหมโ่ ดย เนน้ ชวี ิตจริงของผูเ้ รียนเปน็ ตัวตั้งและจัดการเรยี นรทู้ ีม่ ีความต่อชวี ิตในยุคของการเปลยี่ นแปลงท่เี กิดขนึ้ การพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ชาริณี ตรีวรัญญู, 2550) เป็นแนวคิดที่ให้ความสำคัญกับการ ทำงานด้วยกระบวนการเสรมิ พลังอำนาจและการเปลี่ยนผ่านกรอบความคิดใหก้ ับครูในการพัฒนาการจัดการเรียนการ สอน ซึ่งมีหลักการในการทำงานอย่างร่วมมือรวมพลังของครู ทำงานร่วมกันด้วยความสมคั รใจ มีบทบาทในการทำงาน และการตดั สินใจที่เทา่ เทยี มกัน มีเป้าหมายทช่ี ดั เจนร่วมกนั มีความรบั ผิดชอบและมคี วามเป็นเจ้าของรว่ มกันในผลงานที่ เกิดข้นึ โดยเกิดการแลกเปลีย่ นทรพั ยากรและเกิดส่งิ ท่ีมีคุณคา่ ขึ้น มกี ารกำหนดประเดน็ การพฒั นาบทเรียนร่วมกันท่ีมา จากสภาพปญั หาดา้ นการคิด หรือการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนในการเรียนการสอนจรงิ ในชน้ั เรยี น รวมทงั้ การสังเกตพฤตกิ รรมที่ แสดงถึงการเรียนรู้และการคิดของผู้เรียนโดยตรงในชั้นเรียน จากนั้นเกิดการให้ผลสะท้อนและการอภิปรายผล การ ปฏิบัติงานการที่ครูและผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาบทเรียน ดำเนินการอภิปรายร่วมกันในแต่ละขั้นตอนของ กระบวนการพฒั นาบทเรียน และเป็นการดำเนินการในระยะยาวและขับเคลื่อนกระบวนการให้สอดคล้องกบั บริบทการ ทำงานจรงิ โดยครู พร้อมทง้ั การเขา้ มามีส่วนรว่ มในกิจกรรมตามขน้ั ตอนของกระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกันของผู้รู้ ประกอบกับการสืบสอบแบบร่วมมือ (Collaborative Inquiry) (Jarvis, 1998; Bray, Lee, Smith and Yorks, 2000; IPSP, 2005; แสงโสม กชกรกมุท, 2554; วิจารณ์ พานิช, 2558; Donohoo, 2013 อ้างถึงใน วิชญา ผิวคำ, 2561) เป็น แนวคิดที่มุ่งเน้นการรวมกลุ่มของสมาชิกเพื่อการแสวงหาคำตอบหรือความรู้โดยมีเป้าหมายให้สมาชิกเกิดความสนใจ รว่ มกันใชค้ ำถามในการสืบสอบ และสมาชิกเปน็ ผู้ชว่ ยในการสืบสอบ โดยการใช้คำถามในการสบื สอบนั้น เพ่อื ให้สมาชิกมี ความสนใจร่วมกันเพื่อการวางแผนการออกแบบไปสู่การปฏิบัติการตรวจสอบความถูกต้องของความรูท้ ี่ได้มาและเพ่อื สร้างความรู้ของกลุ่ม และเกิดการสร้างความรู้ความเข้าใจใหม่ อันเกิดจากการสะท้อนการเรยี นรู้และประสบการณจ์ าก การลงมือปฏิบัติเป็นวงจรซ้ำ ๆ ผ่านกระบวนการสานเสวนา (Dialogue) และกระบวนการใคร่ครวญอย่างลึกซึ้งต่อ ประสบการณ์และการปฏบิ ตั ิท่เี กดิ ขึน้ ทั้งนี้ ผู้วิจัยจึงสนใจพัฒนากระบวนการชี้แนะครูให้เกิดความสามารถในการเป็นนักจัดกระบวนการเรียนรู้ใน รูปแบบการบูรณาการเชิงพื้นที่ด้วยการผสมผสานหลักการการพัฒนาบทเรียนร่วมกันและแนวคิดการสืบสอบแบบ ร่วมมือ ที่มุ่งเน้นการสร้างแรงจูงใจ (Motivation) และการปรับกรอบความคิด (Mindset) ของครูด้วยการทำงานแบบ รวมกลุ่ม เพื่อเสริมพลังอำนาจถ่ายโยงความรู้ ทักษะ คุณค่า และทัศนคติจากผู้ชี้แนะไปสู่ครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้ และเรยี นร้ผู า่ นปญั หาเชิงพนื้ ทเ่ี พ่ือการปรบั กรอบความคิดการจัดเรยี นรูเ้ ดมิ สู่กรอบความคดิ ใหม่ รวมถึงการค้นหาทักษะ ที่หลากหลาย (Multiple-skills) ในตัวครู ด้วยการกำหนดประเด็นโดยใช้คำถามและสนทนาเชิงเหตุผล กำหนดบทบาท หน้าที่ในฐานะ สมาชิกกลุ่มตามความสามารถของครูนักจัด กระบวนการเรียนรู้ เพื่อการสังเคราะห์องค์ความรู้ ในพื้นที่ หรอื ชมุ ชนสกู่ ารสง่ เสรมิ ทกั ษะชีวิตและอาชีพของผู้เรยี น อีกทัง้ การลงมือกระทำดว้ ยตนเอง (Manipulation) ของครูและ เพื่อนครู ด้วยยึดหลกั การค้นหาขอ้ สรุปโดยใช้คำถามและรว่ มมือรว่ มพลังร่วมกับผู้รู้ ในการวางแผนกระบวนการเรยี นรู้ การออกแบบกจิ กรรม และสรุปเพือ่ นำไปใช้เป็นแนวปฏิบัตใิ หม่ร่วมกนั และการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน และการสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้รู้ เพื่อเชื่อมความรู้และทักษะเข้ากับความมุ่งมั่นพยายามให้กระบวนการ 66

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรียนรู้ให้สำเร็จอย่างเหมาะสม และประการสุดท้ายการเพิ่มพนู คุณค่าต่อชุมชน (Make Value) มุ่งเน้นการสะท้อนผล การจัดกระบวนการเรียนรู้เป็นวงจรซ้ำๆ ด้วยการสืบสอบผลการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และปรับปรุงกระบวนการ เรียนรูเ้ พอ่ื เปล่ียนผ่านความสามารถของครนู ักจัดกระบวนเรียนรู้ทม่ี ีความหมายตอ่ พ้ืนท่ี อันเป็นส่ิงที่สำคัญเพื่อนำไปสู่ การส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพของผู้เรียนในระบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และเป็น ประโยชน์ตอ่ การเปน็ ต้นแบบของการพฒั นาครู พฒั นาผูเ้ รยี น และพัฒนาการจัดการศกึ ษาไปพรอ้ มกนั อย่างเปน็ พลวตั ร วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 1. เพื่อพัฒนากระบวนการชแ้ี นะครนู กั จดั กระบวนการเรยี นรูบ้ ูรณาการเชิงพืน้ ทเี่ พอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะชีวติ และ อาชีพของผ้เู รยี น 2. เพ่ือศกึ ษาผลการใชก้ ระบวนการชี้แนะครูนักจดั กระบวนการเรียนรบู้ รู ณาการเชงิ พน้ื ทีเ่ พื่อส่งเสรมิ ทกั ษะชวี ติ และอาชีพของผู้เรียน 2.1 การวิเคราะหค์ วามสามารถของครใู นฐานะนกั จดั กระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชิงพน้ื ทเ่ี พ่อื สง่ เสรมิ ทักษะ ชีวิตและอาชพี ของผู้เรียน 2.2 การเปรียบเทียบคะแนนการวดั ทกั ษะชีวติ และอาชีพของผู้เรียนหลังการเข้ารว่ มกระบวนการเรียนรบู้ รู ณา การเชงิ พ้นื ท่ี นิยามศพั ท์เฉพาะ กระบวนการชีแ้ นะครนู ักจัดกระบวนการเรยี นร้บู รู ณาการเชิงพืน้ ที่ หมายถึง ข้นั ตอนการชน้ี ำและกระตุ้นครู ในฐานะบทบาทผู้อำนวยการเรยี นรู้เกิดการเปลี่ยนแปลงกรอบแนวคิดใหม่ในการจัดการเรียนรบู้ ูรณาการบริบทเชิงพื้นที่ เข้าสู่ช้ันเรยี น และเห็นแนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะชวี ิตและอาชีพดำรงอยู่ใน ชุมชนของตนเอง บนฐานความคิดจากการผสมผสานหลักการการพัฒนาบทเรียนร่วมกันและแนวคิดการสืบสอบแบบ ร่วมมือ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 สร้างแรงจูงใจ (Motivation) ขั้นที่ 2 ปรับกรอบความคิด (Mindset) ขั้นที่ 3 ค้นหาทักษะที่หลากหลาย (Multiple-skills) ขั้นที่ 4 ลงมือกระทำดว้ ยตนเอง (Manipulation) ขั้นที่ 5 เพิ่มพนู คณุ คา่ ต่อชมุ ชน (Make Value) ความสามารถของครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชิงพื้นที่ หมายถึง ศักยภาพทางการออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ของครูในฐานะบทบาทผู้อำนวยการเรียนรู้ โดยสามารถออกแบบกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชงิ พ้ืนทีเ่ พือ่ พฒั นาทักษะชีวิตและอาชพี ของผู้เรยี นตามองค์ประกอบ 3 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านกระบวนการสร้างความรู้ ด้านการ จดั ระบบการเรียนรู้ และด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ วัดโดยแบบประเมินความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการเชงิ พน้ื ที่ ทกั ษะชีวิตและอาชพี ของผ้เู รยี น หมายถึง ความสามารถของผู้เรียนในการดำเนนิ ชีวิตและการประกอบอาชีพ ในยุคการแขง่ ขนั กันด้านขอ้ มูลข่าวสารและการดำรงชีวติ ท่ีมีความซับซ้อนใหป้ ระสบความสำเร็จ ประกอบด้วย 1) ความ ยดื หยนุ่ และการปรบั ตัว 2) การริเร่มิ และการนำตนเอง 3) ทกั ษะสงั คมและการข้ามวฒั นธรรม 4) การผลติ งานและความ รบั ผิดชอบตรวจสอบได้ 5) ภาวะผู้นำและความรบั ผดิ ชอบ วัดโดยแบบวัดทักษะชีวติ และอาชพี 67

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้ หมายถึง บุคลากรทางการศกึ ษาประจำศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ผูซ้ ่ึงทำหนา้ ท่ีจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หแ้ กน่ ักศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ผเู้ รยี น หมายถงึ นักศึกษาระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ประกอบด้วย ระดับช้นั ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้ที่ลงทะเบียนเรียนในศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหางดง จังหวดั เชยี งใหม่ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 รายวชิ าทกั ษะการประกอบอาชพี (อช 11002) ทักษะการพัฒนาอาชีพ (อช 21002) และทกั ษะการขยายอาชพี (อช 31002) วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั ขอบเขตเน้อื หา เนื้อหาทใ่ี ชใ้ นการวิจยั ครั้งน้ี คอื การจัดกระบวนการเรยี นรู้บูรณาเชิงพน้ื ทภ่ี ายในกลมุ่ สาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการประกอบอาชีพ (อช 11002) ทักษะการพัฒนาอาชีพ (อช 21002) และทักษะการขยายอาชีพ (อช 31002) ขอบเขตประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากรทใี่ ช้ในการวิจัยครง้ั นี้ คือ บุคลากรทางการศกึ ษาประจำศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 15 คน ซึ่งจำแนกเป็นครูผู้สอนตามรายตำบล จำนวน 11 คน และ นักศึกษาท่ีลงทะเบียน ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 352 คน กล่มุ ตวั อยา่ ง ครูผู้สอนศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ประจำ กศน. ตำบล จำนวน 3 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยอิงจากพื้นที่ที่มีบริบทใกล้เคียงกัน ได้แก่ ตำบลหนองควาย ตำบลน้ำแพร่ และตำบลปง และนกั ศึกษาตำบลหนองควาย ตำบลน้ำแพร่ และตำบลปง ท่ีลงทะเบยี นเรียนกลุ่มสาระการ ประกอบอาชพี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 จำนวนทั้งหมด 57 คน ตัวแปรทใี่ ชใ้ นการวิจัย ตวั แปรอสิ ระ คือ กระบวนการชแี้ นะครูนกั จัดกระบวนการเรียนรู้บรู ณาการเชงิ พนื้ ที่เพ่ือสง่ เสรมิ ทกั ษะชีวิตและ อาชพี ของผเู้ รยี น ตัวแปรตาม คือ ความสามารถของครูในฐานะนักจดั กระบวนการเรยี นรูบ้ ูรณาการเชิงพื้นท่ีเพื่อส่งเสรมิ ทกั ษะ ชีวิตและอาชพี ของผเู้ รียน และทักษะชีวิตและอาชีพของผ้เู รียน เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย 1. คู่มือประกอบการจัดกระบวนการชี้แนะที่ผสานหลักการการพัฒนาบทเรียนร่วมกันและแนวคิดการ สืบสอบแบบร่วมมือ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) แนวทางการจัดกระบวนการชี้แนะ ได้แก่ หลักการของกระบวนการ จุดประสงค์กระบวนการ ขั้นตอนการดำเนินกระบวนการ การวัดและประเมินผลกระบวนการ และบทบาทผู้จัด กระบวนการและผู้เข้ารว่ มกระบวนการ และ 2) แผนกจิ กรรมการจดั กระบวนการชีแ้ นะ จำนวน 6 แผน ระยะเวลา 1 ปี การศกึ ษา ออกแบบและพัฒนาขนึ้ โดยผูว้ ิจัย และนำไปใหผ้ เู้ ช่ียวชาญจำนวน 3 ทา่ น ตรวจสอบโดยใช้แบบประเมินความ 68

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เหมาะสมของกระบวนการและความสอดคลอ้ งขององค์ประกอบในการดำเนินการ ไดแ้ ก่ ผ้เู ช่ยี วชาญดา้ นการนเิ ทศ ด้าน หลักสูตรและการสอน และด้านการวิจัย แล้วนำไปทดลองใช้กับครูผู้สอนศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ประจำศูนย์การเรียนรู้ตำบลหารแก้ว ตำบลสันผักหวาน และตำบลขุนคง ซึ่งที่ ไม่ใชก่ ลุ่มตวั อยา่ งในการวจิ ยั จำนวน 3 คน แล้วนำมาปรับปรงุ แกไ้ ขให้มคี วามเหมาะสมและสมบูรณ์ 2. แบบประเมินความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชิงพื้นที่เพื่อส่งเสริมทักษะชีวติ และอาชีพของผูเ้ รียน จำนวน 1 ฉบับ ประกอบด้วยรายการประเมิน 3 ด้าน จำนวน 15 ตัวบ่งชี้ คือ ด้านกระบวนการ สรา้ งความรู้ ด้านการจดั ระบบการเรยี นรู้ และดา้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้ ทีผ่ วู้ จิ ยั สรา้ งข้นึ จากการสงั เคราะห์เอกสาร และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยมีวธิ ีการพฒั นาแบบประเมินนีด้ ้วยการพิจารณาตรวจสอบความถกู ต้องและความเหมาะสม โดยให้ผ้เู ช่ียวชาญจำนวน 3 ทา่ น พบวา่ มีคา่ ดชั นีความสอดคล้องท่ีมีค่าอย่ใู นขอบเขตระหวา่ ง 0.67 – 1.00 ประกอบกับ ความคิดเห็นเชิงคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญว่ามีความเหมาะสม สามารถนำไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากนั้นนำไป ทดลองใช้ประเมินกับกลุ่มทดลองซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกันกับการทดลองการใช้กระบวนการชี้แนะ โดยทดลองประเมิน ความสามารถในการจดั กระบวนการเรยี นรบู้ ูรณาการเชิงพน้ื ที่ พบว่า แบบประเมนิ มีเกณฑก์ ารให้คะแนนความสามารถที่ แสดงออกถึงพฤติกรรมตามลำดับขั้น และกิจกรรมการประเมินเป็นไปตามขั้นตอนของการจัดกระบวนการเรียนรู้ จึง สามารถนำไปใชเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มูลได้ 3. แบบวดั ทักษะชวี ิตและอาชีพ เป็นแบบวัดทผ่ี วู้ จิ ัยปรับปรุงมาจาก ปาริชาติ อังกาบ และ ทศั นศ์ ริ ินทร์ สวา่ งบุญ (2561) ซึง่ มีลักษณะเป็นคำถามเชงิ สถานการณแ์ บบเลือกตอบ (Multiple Choice) 4 ตวั เลอื ก แตล่ ะตวั เลือกมี คะแนนแตกต่างกันตั้งแต่ 1 – 4 คะแนน ตามระดับพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีทักษะชีวิตและอาชีพ โดยผ่านการ ประเมินจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือเกี่ยวกับความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยทำการ วเิ คราะห์ค่าดัชนคี วามสอดคล้องของขอ้ คำถามกบั จุดประสงค์ ตง้ั แต่ 0.67 - 1.00 และมีค่าความเชอ่ื ม่นั เท่ากบั 0.92 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การวิจยั ในครัง้ น้ี ผู้วจิ ัยดำเนนิ การพฒั นากระบวนการช้ีแนะครูนักจดั กระบวนการเรยี นรูบ้ ูรณาการเชิงพนื้ ทเ่ี พอ่ื ส่งเสรมิ ทักษะชีวติ และอาชีพของผเู้ รียน ตามรูปแบบของการวจิ ัยและพัฒนา (Research & Development) แบ่ง ออกเปน็ 5 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะที่ 1 การศึกษาและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้พัฒนากระบวนการชี้แนะครูนักจัดกระบวนการ เรียนรู้บูรณาการเชิงพื้นที่เพ่ือส่งเสรมิ ทักษะชวี ิตและอาชีพของผูเ้ รียน โดยผู้วิจยั ดำเนินการศึกษาสภาพปัญหาและ ความต้องการจำเป็นของครูและผู้เรียน สังกัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหางดง จังหวัด เชยี งใหม่ เปน็ ระยะเวลา 2 เดอื น (มิถนุ ายน - กรกฎาคม 2561) เพ่อื สงั เคราะห์แนวทางการเสริมสร้างแนวทางพัฒนาครู ในฐานะนักจัดกระบวนการเรยี นรู้ ระยะท่ี 2 การพฒั นากระบวนการช้ีแนะครนู กั จดั กระบวนการเรียนรู้บรู ณาการเชิงพนื้ ทเ่ี พือ่ สง่ เสริมทักษะ ชีวติ และอาชีพของผเู้ รยี น ผู้วิจัยดำเนินการศึกษาแนวคิดและหลักการที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย การชี้แนะ (Coaching) นักจัด กระบวนการเรียนรู้ (Teacher as a learning designer) การพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) การสืบสอบแบบ ร่วมมือ (Collaborative Inquiry) การนิเทศเพื่อการเปลี่ยนแปลงและเสริมพลังอำนาจ การจัดการเรียนรู้บูรณาการเชิง 69

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พ้นื ท่ี และทักษะชวี ติ และอาชพี ของผเู้ รยี นในอนาคต เพอ่ื รา่ งกระบวนการชแ้ี นะ และตรวจสอบเพ่ือปรับปรุงกระบวนการ ด้วยการวิพากษข์ องผู้เชีย่ วชาญ เปน็ ระยะเวลา 3 เดือน (สงิ หาคม - ตุลาคม256 1) ระยะที่ 3 การทดลองใช้กระบวนการชี้แนะครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชิงพื้นที่เพื่อส่งเสริม ทักษะชวี ติ และอาชพี ของผ้เู รียน ผวู้ จิ ยั ดำเนนิ การทดลองใชก้ ระบวนการชี้แนะที่พฒั นาขนึ้ กับครูสังกัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 3 คน 3 ตำบล ที่มีบริบทใกล้เคียงกับกลุ่ม ตวั อย่าง เพื่อตรวจสอบ แกไ้ ขและปรบั ปรุง เคร่ืองมือการวิจัยอกี ครัง้ กอ่ นนำไปใช้ เปน็ ระยะเวลา 2 ภาคการศึกษา แบ่ง ออกเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 กระบวนการชี้แนะก่อนจัดกระบวนการเรียนการสอน ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา (ภาค การศึกษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2561) ระยะท่ี 2 กระบวนการชีแ้ นะระหว่างและหลังจัดกระบวนการเรยี นการสอน ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา(ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562) ระยะท่ี 4 การปรับปรงุ กระบวนการชี้แนะครูนักจัดกระบวนการเรียนรบู้ ูรณาการเชิงพน้ื ทีเ่ พ่ือส่งเสริมทักษะ ชวี ิตและอาชพี ของผเู้ รียนจากข้อค้นพบ ผูว้ จิ ยั ดำเนนิ การศกึ ษาผลการใช้กระบวนการชแี้ นะในระยะการทดลอง โดยใช้ รูปแบบการวิพากษ์กระบวนชี้แนะจากครู และศึกษาผลสะท้อนจากผู้เรียนในรูปแบบวงสนทนา (Focus group) เพ่ือ แกไ้ ขและปรบั ปรงุ เคร่อื งมือการวิจยั อกี ครงั้ กอ่ นนำไปใช้ ระยะที่ 5 การนำกระบวนการไปใช้ สรุปข้อค้นพบ และนำเสนอกระบวนการชี้แนะฉบับสมบูรณ์ ผู้วิจัย ดำเนินการนำกระบวนการชี้แนะจากการปรับปรุงแก้ไขไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยผู้วิจัยจัดกิจกรรมการ ช้ีแนะตามกระบวนการชแี้ นะทีส่ ร้างขึน้ จำนวน 6 แผน ระยะเวลา 2 ภาคการศึกษา (ปกี ารศึกษา 2562-2563) ผวู้ ิจัยจัด กระบวนการเสร็จส้ินในแต่ละกจิ กรรม ดำเนินการประเมนิ ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้บรู ณาการเชิงพื้นที่ เมอ่ื เสร็จส้นิ กระบวนการจงึ ดำเนนิ การวดั ทักษะชีวิตและอาชพี ของผเู้ รยี น จากน้นั สรปุ ข้อค้นพบท่ีได้จากการวิจัยคร้ังนี้ และนำเสนอกระบวนการชี้แนะครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชิงพื้นที่เพือ่ ส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพของ ผู้เรียนฉบับสมบูรณ์ การวิเคราะหข์ อ้ มูล ผู้วจิ ยั วิเคราะห์ข้อมูลทง้ั เชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพ โดยกำหนดวธิ กี ารและเกณฑด์ ังตอ่ ไปนี้ 1. ความสามารถของครูในฐานะนักจดั กระบวนการเรียนรู้บรู ณาการเชงิ พนื้ ทเี่ พื่อสง่ เสริมทักษะชวี ิตและอาชีพ ของผู้เรียน ผวู้ ิจัยวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงคุณภาพจากการศึกษาผลการพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเชิงพ้ืนที่ ของครู โดยนำขอ้ มูลจากแบบบนั ทึกหลังการจดั กิจกรรมและแบบบันทึกผลการสะท้อนการเรียนรจู้ ากการประเมินตนเอง ของครมู าวเิ คราะห์เนอ้ื หาแล้วนำมาเขียนบรรยาย และการวิเคราะหข์ อ้ มลู ด้วยสถติ ิบรรยาย ได้แก่ คา่ เฉล่ยี และค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน จากนั้นนำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การแปลผลเพื่อตัดสินความสามารถของครูเทียบกับเกณฑ์มิติ คุณภาพ (Rubrics) ทก่ี ำหนดไว้ และผ้วู ิจยั ได้กำหนดเกณฑ์ความสามารถของครูในฐานะนักจัดกระบวนการเรียนรู้บูรณา การเชงิ พ้นื ท่ีเพ่อื ส่งเสริมทักษะชวี ิตและอาชพี ของผู้เรยี นเฉลี่ยโดยรวม อยู่ในระดับดี ขนึ้ ไป เกณฑ์มิติคุณภาพประเมิน ความสามารถของครู จำนวน 1 ฉบบั ประกอบด้วยรายการประเมนิ 3 ด้าน จำนวน 15 ตัวบง่ ชี้ ดังตอ่ ไปนี้ 1) ดา้ นกระบวนการสรา้ งความรู้ จำนวน 4 ตัวบง่ ชี้ ประกอบด้วย 1.1) การสังเคราะห์ความร้ขู องอัตลกั ษณเ์ ชงิ พน้ื ท่ี 1.2) การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ท่จี ำเป็นต่อผเู้ รยี น 70

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 1.3) การเช่อื มโยงความรู้ของอตั ลักษณ์เชงิ พน้ื ท่ี 1.4) การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามอัตลักษณเ์ ชงิ พนื้ ท่ี 2) ดา้ นการจัดระบบการเรียนการสอน จำนวน 4 ตวั บง่ ช้ี ประกอบดว้ ย 2.1) กำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.2) ออกแบบกิจกรรมการเรียนร้บู รู ณาการเชงิ พ้ืนท่ี 2.2.1) ส่งเสริมความยืดหยนุ่ และการปรบั ตัว 2.2.2) ส่งเสริมดา้ นการรเิ ริม่ และการนำตนเอง 2.2.3) สง่ เสริมทกั ษะสงั คมและการข้ามวัฒนธรรม 2.2.4) สง่ เสริมดา้ นการผลติ งานและความรับผดิ ชอบตรวจสอบได้ 2.2.5) สง่ เสริมด้านภาวะผ้นู ำและความรับผิดชอบ 2.3) ระบสุ ือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้ 2.4) กำหนดการวัดและประเมินผล 3) ดา้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้ จำนวน 7 ตวั บง่ ช้ี ประกอบดว้ ย 3.1) การจดั บรรยากาศหรอื สภาพแวดลอ้ มของการเรียนรู้ 3.2) การชี้นำและแนะแนวทาง 3.3) การสงั เกตช้นั เรียนแห่งการเรียนรู้ 3.4) การนำเสนอเพ่มิ เติมเนื้อหาสู่การเรียนรู้ 3.5) การตงั้ คำถามกระต้นุ การคิด 3.6) การเสริมแรงเพ่อื ปรับพฤตกิ รรม 3.7) การให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับ สำหรับเกณฑก์ ารแปลผลความสามารถของครูในฐานะนักจัดกระบวนการเรยี นรบู้ รู ณาการเชิงพ้ืนท่ี กำหนดดงั นี้ ร้อยละ 90 – 100 หมายถึง ดีมาก ร้อยละ 7 0– 89 หมายถงึ ดี ร้อยละ 50 – 69 หมายถงึ พอใช้ รอ้ ยละ 0 – 49 หมายถงึ ตอ้ งปรบั ปรงุ 2. ทกั ษะชีวติ และอาชีพของผู้เรยี น ผวู้ ิจัยตรวจคะแนนจากการวัดทกั ษะชีวิตและอาชพี โดยมลี ักษณะเปน็ คำถามเชงิ สถานการณ์แบบเลอื กตอบ (Multiple Choice) 4ตวั เลอื ก แต่ละตัวเลือกมีคะแนนแตกตา่ งกนั ตั้งแต่ 1 – 4 คะแนน ตามระดบั พฤตกิ รรมทแี่ สดงออกถงึ การมที ักษะชวี ติ และอาชพี โดยขอ้ คำถามองคป์ ระกอบละ 8 ขอ้ รวม 40 ขอ้ (ปรับปรงุ มาจาก ปาริชาติ อังกาบ และ ทัศน์ศริ ินทร์ สว่างบญุ 2561 ,) โดยกำหนดเกณฑก์ ารผา่ นวา่ ผู้เรียนจะตอ้ งมี คะแนนไมต่ ำ่ กวา่ ร้อยละ 70 ซึง่ แบบวดั ทักษะชีวิตและอาชีพของผู้เรยี นมอี งค์ประกอบ 5ดา้ น คือ 1) ความยดื หยนุ่ และการปรบั ตัว 2) การรเิ ริ่มและการนำตนเอง 3) ทกั ษะสังคมและการข้ามวฒั นธรรม 71

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 4) การผลิตงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได้ 5) ภาวะผ้นู ำและความรับผดิ ชอบ กรอบแนวคิดในการวิจยั ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ผสมผสานหลักการการพัฒนาบทเรียนร่วมกันและแนวคิดการสืบสอบแบบร่วมมือ เพื่อพัฒนากระบวนการชี้แนะ (Coaching) สำหรับครูเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเป็นนักจัดกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการเชิงพ้ืนทีเ่ พ่ือส่งเสรมิ ทักษะชีวิตและอาชีพของผู้เรียน ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 สร้างแรงจูงใจ (Motivation) ขั้นที่ 2 ปรับกรอบความคิด (Mindset) ขั้นที่ 3 ค้นหาทักษะที่หลากหลาย (Multiple-skills) ขั้นที่ 4 ลง มอื กระทำด้วยตนเอง (Manipulation) ข้ันท่ี 5 เพม่ิ พูนคณุ ค่าตอ่ ชมุ ชน (Make Value) ดังภาพท่ี 1 กระบวนการชแ้ี นะ ความสามารถของครูนกั จัดกระบวนการเรยี นรู้ ผสานหลักการการพัฒนาบทเรยี นรว่ มกัน บรู ณาการเชิงพน้ื ท่ีเพอ่ื ส่งเสรมิ ทักษะชีวิตและอาชีพ และแนวคิดการสืบสอบแบบรว่ มมือ ทักษะชวี ิตและอาชพี ของผู้เรียน ข้ันท่ี 1 สรา้ งแรงจูงใจ (Motivation) ขั้นที่ 2 ปรบั กรอบความคดิ (Mindset) ขน้ั ที่ 3 ค้นหาทักษะที่หลากหลาย (Multiple-skills) ขั้นท่ี 4 ลงมอื กระทำ ด้วยตนเอง (Manipulation) ข้นั ที่ 5 เพ่ิมพนู คุณคา่ ต่อชมุ ชน (Make Value) ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ผู้วจิ ัยขอนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 2 สว่ น ดังน้ี 1. ผลการพฒั นากระบวนการชีแ้ นะครูนกั จัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชิงพื้นที่เพื่อสง่ เสริมทักษะชีวิต และอาชีพของผเู้ รียน ผวู้ จิ ยั ออกแบบกระบวนการช้ีแนะครู (Coaching) ด้วยการผสานหลกั การการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study) จาก ชาริณี ตรีวรัญญู (2550) และแนวคดิ การสืบสอบแบบร่วมมือ (Collaborative Inquiry) (Jarvis (1998); Bray, Lee, Smith and Yorks (2000); IPSP (2005); แสงโสม กชกรกมุท (2554); วิจารณ์ พานิช (2558); Donohoo (2013) อา้ งถงึ ใน วชิ ญา ผวิ คำ, 2561) แลว้ นำมาสงั เคราะห์สรา้ งหลักการของกระบวนการช้ีแนะ ไดด้ ังนี้ 1. การทำงานแบบรวมกลุ่ม เพอ่ื เสริมพลงั อำนาจถ่ายโยงความรู้ ทักษะ คุณคา่ และทัศนคติ จากผู้ช้ีแนะไปสู่ครนู ักจัดกระบวนการเรยี นรู้ และเรียนรผู้ ่านปญั หาเชงิ พืน้ ท่ีเพื่อการปรบั กรอบความคิดการจัดเรียนรู้ เดิมสกู่ รอบความคิดใหม่ 2. การกำหนดประเด็น โดยใช้คำถามและสนทนาเชงิ เหตุผล กำหนดบทบาทหน้าที่ในฐานะ สมาชกิ กลุ่มตามความสามารถของครนู ักจัด กระบวนการเรียนรู้ เพื่อการสงั เคราะหอ์ งค์ความรู้ ในพ้ืนท่ีหรือชุมชนสู่การ สง่ เสริมทกั ษะชีวิตและอาชพี ของผู้เรยี น 3. การคน้ หาข้อสรุป โดยใช้คำถามและร่วมมอื ร่วมพลังในการวางแผนกระบวนการเรียนรู้ การ ออกแบบกิจกรรม และสรปุ เพอื่ นำไปใช้เป็นแนวปฏบิ ตั ิใหม่ร่วมกัน 72

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 4. การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรขู้ องผู้เรียนและการสนทนาแลกเปล่ียนเรียนรู้ เพอื่ เชื่อมความรู้ และทักษะเขา้ กับความมุ่งมนั่ พยายามให้กระบวนการเรียนรู้ให้สำเรจ็ อย่างเหมาะสม 5. การสะท้อนผลการจัดกระบวนการเรยี นรู้เป็นวงจรซ้ำๆ ด้วยการสบื สอบผลการเรยี นรู้ แลกเปลยี่ น เรียนรู้ และปรับปรงุ กระบวนการเรียนรเู้ พ่ือเปลี่ยนผา่ นความสามารถของครนู ักจัดกระบวนเรยี นรู้ทีม่ คี วามหมายตอ่ พืน้ ท่ี หลักการการพฒั นาบทเรยี นรว่ มกัน (Lesson study) หลักการของกระบวนการชีแ้ นะ (ชาริณี ตรวี รญั ญู ,2550) ครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้บรู ณาการเชงิ พนื้ ท่ี เพ่อื ส่งเสรมิ ทักษะชีวติ และอาชพี ของผู้เรยี น 1. การทำงานอยา่ งร่วมมอื รวมพลังของครู ทำงานร่วมกันด้วยความ สมัครใจ มบี ทบาทในการทำงานและการตัดสนิ ใจทเ่ี ท่าเทียมกนั มี การทำงานแบบรวมกล่มุ เพอื่ เสรมิ พลังอำนาจถา่ ยโยงความรู้ ทกั ษะ .1 เปา้ หมายทชี่ ัดเจนร่วมกัน มีความรบั ผิดชอบและมีความเป็น คุณคา่ และทัศนคตจิ ากผ้ชู ี้แนะไปสู่ครูนักจัดกระบวนการเรยี นรู้ และ เจา้ ของรว่ มกันในผลงานท่เี กิดขน้ึ โดยเกิดการแลกเปล่ียน เรยี นรูผ้ ่านปัญหาเชงิ พืน้ ที่เพ่อื การปรับกรอบความคดิ การจดั เรยี นรู้เดิมสู่ ทรัพยากรและเกิดส่ิงท่ีมีคุณค่าขนึ้ กรอบความคิดใหม่ 2. การกำหนดประเดน็ การพัฒนาบทเรยี นร่วมกันทีม่ าจากสภาพ 2. การกำหนดประเดน็ โดยใช้คำถามและสนทนาเชงิ เหตุผล กำหนดบทบาท ปญั หาด้านการคดิ หรือการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี นในการเรยี นการสอน หนา้ ทีใ่ นฐานะ สมาชกิ กลุ่มตามความสามารถของครูนกั จดั กระบวนการ จริงในช้นั เรียน เรยี นรู้ เพือ่ การสังเคราะห์องค์ความรู้ ในพนื้ ที่หรอื ชมุ ชนสูก่ ารสง่ เสรมิ 3. การสงั เกตพฤติกรรมทแี่ สดงถงึ การเรียนรู้และการคิดของผ้เู รยี น ทกั ษะชีวติ และอาชพี ของผูเ้ รียน โดยตรงในชน้ั เรยี น 3. การคน้ หาขอ้ สรปุ โดยใช้คำถามและรว่ มมือร่วมพลงั ร่วมกับผ้รู ู้ ในการ 4. การให้ผลสะทอ้ นและการอภิปรายผลการปฏบิ ตั งิ านการที่ครู วางแผนกระบวนการเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรม และสรปุ เพอ่ื นำไปใช้เป็น และผมู้ ีส่วนร่วมในการพัฒนาบทเรียน ดำเนินการอภิปรายร่วมกัน แนวปฏบิ ัตใิ หม่ร่วมกนั ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการพฒั นาบทเรยี น 4.การสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี นและการสนทนาแลกเปลีย่ น 5. การดำเนินการในระยะยาวและขับเคลือ่ นกระบวนการให้ เรียนร้รู ว่ มกบั ผ้รู ู้ เพ่อื เช่อื มความรูแ้ ละทักษะเขา้ กับความมุ่งม่ันพยายามให้ สอดคล้องกบั บรบิ ทการทำงานจรงิ โดยครู กระบวนการเรียนรใู้ ห้สำเร็จอยา่ งเหมาะสม 6. การเข้ามามสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมตามขน้ั ตอนของ การสะท้อนผลการจัดกระบวนการเรียนรูเ้ ปน็ วงจรซ้ำๆ ด้วยการ .5 กระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกันของผรู้ ู้ สืบสอบผลการเรยี นรู้ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ และปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นรู้ เพือ่ เปล่ยี นผา่ นความสามารถของครูนกั จดั กระบวนเรียนรูท้ มี่ ีความหมาย แนวคิดการสบื สอบแบบรว่ มมอื ตอ่ พน้ื ที่ (Collaborative Inquiry) 1. การรวมกลุ่มของสมาชิกเพอ่ื การแสวงหาคำตอบหรอื ความรู้โดย มีเปา้ หมายให้สมาชกิ เกดิ ความสนใจรว่ มกันใช้คำถามในการสืบ กระบวนการชแ้ี นะ (Coaching) สอบและเป็นผชู้ ว่ ยในการสืบสอบ 2. การใชค้ ำถามในการสืบสอบเพือ่ ให้สมาชกิ มีความสนใจร่วมกนั เพื่อการวางแผนการออกแบบไปสกู่ ารปฏิบตั ิการตรวจสอบความ ข้นั ที่ 1 Motivation สร้างแรงจงู ใจ ถกู ต้องของความรทู้ ่ไี ดม้ าและเพอื่ สร้างความรู้ของกลมุ่ 3. การสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจใหมเ่ กิดจากการสะทอ้ นการเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 2 Mindset ปรบั กรอบความคิด และประสบการณ์จากการลงมอื ปฏบิ ัตเิ ป็นวงจรซำ้ ๆผา่ น กระบวนการสานเสวนา (Dialogue) และกระบวนการใครค่ รวญ อยา่ งลึกซง้ึ ต่อประสบการณแ์ ละการปฏบิ ตั ิที่เกดิ ขึน้ ขน้ั ที่ 3 Multiple- skills ค้นหาทักษะที่หลากหลาย (Jarvis, 1998; Bray, Lee, Smith and Yorks, 2000; IPSP, 2005; แสงโสม กชกรกมุท, 2554; วิจารณ์ พานิช, 2558; Donohoo, ข้ันที่ 4 Manipulation ลงมอื กระทำด้วยตนเอง 2013 อา้ งถึงใน วชิ ญา ผวิ คำ ,2561) ขภนั้ภทภี่45 Make Value เพม่ิ พนู คุณคา่ ต่อชมุ ชน ภภ44 ภ4ภ 73

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากหลกั การนำไปสู่ขนั้ ตอนของกระบวนการชี้แนะ ประกอบดว้ ย 5 ขัน้ ตอน ได้แก่ ขั้นท่ี 1 สร้างแรงจงู ใจ (Motivation) เป็นขนั้ การรวมกลุ่มครูและผู้ชี้แนะเพอื่ ดึงประสบการณเ์ ดมิ ใน การจัดกระบวนการเรียนรู้ เสรมิ พลงั อำนาจถ่ายโยงความรู้ ทกั ษะ คุณคา่ และทัศนคติจากผู้ชแ้ี นะไปสู่ครูนักจดั กระบวนการเรยี นรแู้ ละประสบการณใ์ หม่ ขัน้ ที่ 2 ปรบั กรอบความคดิ (Mind set) เป็นการนำเสนอปัญหาเชงิ พน้ื ท่เี พ่อื การปรบั กรอบความคดิ การจัดเรียนรู้เดิมสกู่ รอบความคิดใหม่ และกระต้นุ ให้ครเู กดิ การความตระหนกั ปญั หาในชมุ ชน และสรา้ งเป้าหมายการ พัฒนากระบวนการเรียนร้เู พ่อื ชมุ ชนรว่ มกัน ขน้ั ที่ 3 ค้นหาทกั ษะทห่ี ลากหลาย (Multiple-skills) เปน็ การร่วมกันค้นหาทักษะที่สมาชกิ แต่ละคนมี ความถนดั และความสนใจ เพ่ือวางแผนดำเนินการสรา้ งบทเรยี นโดยใชค้ ำถามและสนทนาเชงิ เหตุผล กำหนดบทบาท หน้าทใ่ี นฐานะสมาชกิ กล่มุ ตามความสามารถของครูนกั จดั กระบวนการเรียนรู้ เพอื่ การสงั เคราะหอ์ งค์ความรู้ ในพ้นื ท่หี รอื ชุมชนสกู่ ารส่งเสรมิ ทักษะชีวติ และอาชีพของผู้เรียนบนพ้นื ฐานความเชอื่ วา่ “สมาชกิ ในชมุ ชนต่างมคี วามถนดั ท่ีแตกตา่ ง สามารถร่วมกันนำมาพฒั นารว่ มกนั ได้” ขนั้ ท่ี 4 ลงมอื กระทำดว้ ยตนเอง (Manipulation) เป็นการร่วมมือกันดำเนนิ การระยะแรก คอื การใช้ คำถามและรว่ มมอื ร่วมพลังร่วมกบั ผู้รู้ ไดแ้ ก่ บคุ คลในชมุ ชน ในการวางแผนกระบวนการเรยี นรู้ การออกแบบกิจกรรม และสรุปเพอื่ นำไปใชเ้ ป็นแนวปฏบิ ัติใหมร่ ว่ มกนั และระยะตอ่ มา ดำเนนิ การสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรขู้ องผู้เรียนและ การสนทนาแลกเปลยี่ นเรียนรูร้ ่วมกบั ผูร้ ู้ ตามแผนดำเนินการท่วี างไวร้ ่วมกัน โดยอาศยั วิธีการลองผิดลองถกู ด้วยการสบื สอบผลการเรยี นรู้ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ และปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นรู้ การปรับเปลย่ี นวธิ ีการเมอ่ื เจอปัญหาอุปสรรค และการหาวิธกี ารหรือแนวทางการดำเนินการใหป้ ระสบผลสำเร็จ ขั้นที่ 5 เพิ่มพูนคุณค่าต่อชุมชน (Make Value) เปน็ การสรา้ งแรงบนั ดาลใจให้ครรู ว่ มกันคิดคน้ พัฒนากระบวนการเรยี นรู้ที่ไดจ้ ากการดำเนินการรว่ มกนั ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดและมคี วามหมายตอ่ ผ้เู รยี นและชมุ ชน อย่างย่งั ยนื รวมท้งั การสะทอ้ นผลการจัดกระบวนการเรยี นรเู้ ปน็ วงจรซ้ำๆ กลบั ไปดำเนินการขั้นท่ี 4 อีกคร้ัง กระบวนการชแ้ี นะที่พัฒนาขนึ้ น้ี ผ่านการพิจารณาความเหมาะสมจากผู้เช่ยี วชาญจำนวน 3 ท่าน ท้ังทาง ผู้เชี่ยวชาญด้านการนิเทศ ด้านหลักสูตรและการสอน และด้านการวิจัย โดยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากทุก องคป์ ระกอบ ทั้งในดา้ นวัตถปุ ระสงค์ของกระบวนการชี้แนะ หลักการของกระบวนการชแ้ี นะ ขัน้ ตอนของกระบวนการชี้แนะ กิจกรรมการชแ้ี นะ และการวัดและประเมนิ ผลโดยสรปุ กรอบแนวคดิ ในการพัฒนากระบวนการชแ้ี นะได้ ดังภาพท่ี 2 กจิ กรรมการชีแ้ นะครนู ักจดั กระบวนการเรยี นรบู้ รู ณาการเชงิ พ้นื ทเ่ี พอ่ื สง่ เสรมิ ทกั ษะชวี ติ และอาชีพ ของผู้เรียน มีแนวทางการนำไปใช้ ดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 กจิ กรรมของกระบวนการชแ้ี นะครูนักจัดกระบวนการเรียนรบู้ ูรณาการเชงิ พื้นท่ีเพ่อื สง่ เสรมิ ทักษะชีวติ และ อาชพี ของผ้เู รียน แผน กระบวนการชแี้ นะ กิจกรรมสำคญั เป้าหมาย ผลลัพธ์ 1 ขน้ั ท่ี 1 สรา้ งแรงจงู ใจ 1.การประชมุ แลกเปลีย่ น 1. ครพู ฒั นาตนเองให้เปน็ ผจู้ ัด ครูเปล่ยี นบทบาทเป็นครูนักจดั (Motivation) เรยี นรใู้ นระดับสายการสอน2. กระบวนการเรยี นรู้แก่ผ้เู รียน กระบวนการเรยี นรู้ ขั้นที่ 2 ปรบั กรอบความคดิ การศกึ ษาผ่านบทเรยี น (Mindset) 74

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี แผน กระบวนการช้แี นะ กิจกรรมสำคญั เป้าหมาย ผลลพั ธ์ 2. การจัดการเรียนการสอนตาม แนวทางรว่ มมือรวมพลังระหว่างเพื่อน ครู 2 ขน้ั ท่ี 3 ค้นหาทกั ษะท่ี 1.การประชุมแลกเปล่ยี น 1. การจัดการเรยี นรู้ตามเนอื้ หาบรู ณา ครูมีความรู้ในเชงิ พน้ื ทแ่ี ละ หลากหลาย (Multiple-skills) เรยี นรู้ในระดบั สายการสอน การอิงบริบทเชิงพน้ื ที่ พฒั นาบทเรยี นอิงพื้นที่ร่วมกนั 2.การสืบสอบแบบร่วมมือ 2. การสรา้ งเน้อื หาสมั พนั ธก์ ับชมุ ชน 3. การพฒั นาบทเรียนองิ พนื้ ท่ี 3 ขั้นที่ 4 ลงมอื กระทำดว้ ยตนเอง 1.การใช้ปัญหาพนื้ ทเ่ี ป็นฐาน การพฒั นาแนวทางการจดั กระบวนการ ครูพฒั นากระบวนการจัดการ (Manipulation) 2.การเปิดชัน้ เรียน เรียนรู้รว่ มกนั และ เรียนรบู้ ูรณาการเชิงพื้นท่ี ระยะที่ 1 3.การศึกษาผา่ นบทเรียน การจัดกระบวนการเรยี นร้บู รู ณาการ รว่ มกนั และนำไปปฏิบตั ิ เชิงพน้ื ท่ี เพอ่ื สง่ เสริมทักษะชวี ติ และ อาชพี ของผูเ้ รยี น 4 ขน้ั ท่ี 4 ลงมือกระทำดว้ ยตนเอง 1.การเปิดชน้ั เรียน การพฒั นาแนวทางการจัดกระบวนการ 1. ครเู กดิ ความสามารถในการ (Manipulation) 2.การศกึ ษาผ่านบทเรียน เรยี นร้รู ่วมกัน และ เปน็ ครูนักจัดกระบวนการเรยี นรู้ ระยะที่ 2 การจดั กระบวนการเรียนรู้บูรณาการ 2. ผเู้ รยี นเกิดทกั ษะชีวิตและ เชงิ พนื้ ที่ เพื่อสง่ เสริมทักษะชีวติ และ อาชีพ อาชพี ของผเู้ รยี น 5 ขน้ั ที่ 5 เพิ่มพูนคณุ คา่ ต่อชุมชน 1.การเปดิ ช้ันเรยี น การพัฒนาแนวทางการจดั กระบวนการ 1. ครเู กดิ ความสามารถในการ เรยี นร้รู ่วมกนั และ เป็นครนู ักจัดกระบวนการเรียนรู้ (Make Value) 2.การศึกษาผา่ นบทเรยี น การจัดกระบวนการเรยี นรบู้ รู ณาการ 2. ผเู้ รียนเกิดทักษะชีวิตและ เชงิ พ้นื ที่ เพื่อส่งเสรมิ ทักษะชีวติ และ อาชพี ระยะท่ี 1 3.การสะท้อนผลการเรยี นรู้ อาชพี ของผเู้ รยี น 6 ขั้นที่ 4 ลงมือกระทำดว้ ยตนเอง 1.การเปิดช้ันเรยี น การพัฒนาแนวทางการจัดกระบวนการ 1. ครเู กิดความสามารถในการ เรียนร้รู ว่ มกนั และ เปน็ ครนู ักจดั กระบวนการเรียนรู้ (Manipulation) 2.การศึกษาผ่านบทเรยี น การจดั กระบวนการเรียนรูบ้ ูรณาการ 2. ผเู้ รยี นเกดิ ทกั ษะชีวิตและ เชิงพน้ื ท่ี เพ่ือสง่ เสริมทักษะชวี ติ และ อาชพี ระยะที่ 3 3.การสะทอ้ นผลการเรียนรู้ อาชพี ของผเู้ รียน ขั้นท่ี 5 เพิม่ พนู คณุ คา่ ต่อชุมชน (Make Value) ระยะที่ 2 2. ผลการศึกษากระบวนการช้แี นะครูนกั จัดกระบวนการเรยี นรบู้ รู ณาการเชิงพื้นทเี่ พื่อส่งเสริมทักษะชีวิต และอาชพี ของผ้เู รียนประกอบด้วย ผลการวเิ คราะห์ความสามารถของครใู นฐานะนักจัดกระบวนการเรียนร้บู รู ณาการเชงิ พื้นท่ีเพ่อื ส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพของผู้เรยี น และผลการเปรียบเทยี บคะแนนนการวัดทักษะชวี ติ และอาชีพของ ผ้เู รยี นหลังการเข้าร่วมกระบวนการเรียนรบู้ ูรณาการเชิงพ้นื ที่ ดงั น้ี 75

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2.1) ความสามารถของครูในฐานะนักจดั กระบวนการเรียนรบู้ รู ณาการเชงิ พ้ืนทเ่ี พอื่ ส่งเสริมทกั ษะชวี ติ และอาชีพของผ้เู รยี น ครูสามารถพัฒนาบทเรียนเพอื่ ส่งเสรมิ ทักษะชวี ติ และอาชพี ของผู้เรียน จากกระบวนการชี้แนะครูนกั จัดกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการเชงิ พื้นท่ี ประกอบดว้ ย 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 สล่าไม้ พาเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 ยำ่ ขางพาเพลนิ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 “น้ำตน้ ” สู่ครัวเรอื น และหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สง่ิ เล็กเล็ก ท่ีเรียกว่า “งา” ซ่ึงแต่ ละหน่วยการเรยี นรู้ครอู อกแบบให้ผู้เรียนใชก้ ระบวนการการเรยี นรู้ 5 ขนั้ ตอน คือ ขนั้ ขอ้ งใจ ข้นั หมายคำตอบ ขั้น สอบสวน และขน้ั ใคร่ครวญ เพื่อบรรลจุ ุดประสงคก์ ารเรยี นรูท้ ่ีกำหนดไว้ ดงั ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 โครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้บรู ณาการเชิงพื้นทีเ่ พ่อื สง่ เสรมิ ทกั ษะชวี ติ และอาชีพของผเู้ รียน หน่วยท่ี เรือ่ ง แหลง่ การเรยี นรู้ จำนวน (ชวั่ โมง) 1 สล่าไม้ พาเรยี นรู้ บ้านตองกายเหนือ 9 2 ย่ำขางพาเพลิน บา้ นไรก่ องขิง 9 3 “น้ำต้น” ส่คู รวั เรอื น บ้านเหมอื งกงุ 9 4 สง่ิ เล็กเล็ก ที่เรยี กวา่ “งา” บา้ นหนองควาย 9 ตารางที่ 3 คะแนนความสามารถของครนู ักจดั กระบวนการเรียนรู้บรู ณาการเชิงพืน้ ทเี่ พอ่ื ส่งเสริมทกั ษะชวี ติ และอาชพี ของผู้เรยี น คนท่ี ค่าเฉลีย่ รอ้ ยละ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน แปลผล 1 8.05 80.54 0.82 ดี 2 7.96 79.62 0.95 ดี 3 8.19 81.94 0.94 ดี รวม 8.07 80.7 0.90 ดี จากตารางที่ 2 แสดงวา่ ความสามารถของครูนกั จัดกระบวนการเรียนร้บู ูรณาการเชิงพนื้ ทเ่ี พ่อื สง่ เสริม ทักษะชีวติ และอาชีพของผเู้ รียน เฉล่ียโดยรวมอยใู่ นระดบั ดี (ร้อยละ 80.7) 2.2) ทกั ษะชีวิตและอาชพี ของผเู้ รียนหลังการเขา้ ร่วมกระบวนการเรียนรบู้ ูรณาการเชิงพน้ื ท่ี คะแนนทักษะชีวติ และอาชพี ของผูเ้ รียนหลังการเข้าร่วมกระบวนการเรียนร้บู รู ณาการเชงิ พน้ื ที่ วัดโดย แบบวดั ทักษะชวี ิตและอาชพี คะแนนเตม็ 40 คะแนน ปรากฏผลดังตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 การเปรยี บเทียบคะแนนการวดั ทกั ษะชวี ิตและอาชพี ของผ้เู รียนหลงั การเข้าร่วมกระบวนการเรยี นรกู้ ับเกณฑ์ ร้อยละ 70 คะแนน n x ร้อยละ S.D. t p หลังการเรียนรู้ 57 32.78 81.94 3.67 9.831** .000 **p‹.01 76

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จากตารางท่ี 4 แสดงว่า ทักษะชีวิตและอาชีพของผู้เรียนหลังการเข้าร่วมกระบวนการเรยี นรู้บูรณาการเชิงพื้นท่ี ทีค่ รนู ักจัดกระบวนการเรียนรู้ออกแบบสงู กวา่ เกณฑ์ร้อยละ 70 อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติทรี่ ะดับ.01 โดยไดค้ ะแนนเฉลี่ย 32.78 คิดเปน็ ร้อยละ 81.94 สรปุ ผลการวิจยั ผลการวิจยั นครงั้ นี้ สรุปผลได้ดงั นี้ 1. กระบวนการชแ้ี นะครนู กั จัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชงิ พน้ื ทเี่ พื่อสง่ เสรมิ ทกั ษะชวี ิตและอาชพี ของ ผู้เรียน พัฒนาขึ้นจากการผสมผสานหลักการการพัฒนาบทเรยี นรว่ มกันและแนวคิดการสบื สอบแบบร่วมมอื ซ่งึ ประกอบดว้ ย 5 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ ขั้นที่ 1 สร้างแรงจงู ใจ (Motivation) ข้ันที่ 2 ปรับกรอบความคดิ (Mindset) ขน้ั ท่ี 3 คน้ หาทกั ษะที่หลากหลาย (Multiple-skills) ขน้ั ท่ี 4 ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Manipulation) ขน้ั ท่ี 5 เพ่ิมพูนคุณคา่ ต่อ ชมุ ชน (Make Value) โดยกระบวนการชแ้ี นะทพี่ ฒั นาขึน้ มคี วามเหมาะสมโดยรวมอยใู่ นระดับมาก 2. ผลการใช้กระบวนการชแี้ นะครนู กั จัดกระบวนการเรยี นรบู้ ูรณาการเชงิ พนื้ ท่เี พื่อสง่ เสรมิ ทักษะชวี ติ และ อาชพี ของผู้เรยี น พบวา่ 2.1 ความสามารถของครใู นฐานะนักจดั กระบวนการเรียนรู้บรู ณาการเชิงพื้นที่เพ่ือส่งเสรมิ ทักษะชีวติ และ อาชพี ของผเู้ รียนเฉลย่ี โดยรสมอยใู่ นระดบั ดี 2.2 ทักษะชวี ติ และอาชพี ของผู้เรียนหลงั การเขา้ ร่วมกระบวนการเรยี นรบู้ รู ณาการเชงิ พ้นื ทสี่ งู กวา่ เกณฑ์ ร้อยละ 70 อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ.01 อภิปรายผล 1. การนำกระบวนการชแ้ี นะครูไปใช้ พบว่า ครูมีความสามารถเป็นนกั จัดกระบวนการเรยี นรู้บูรณาการเชิงพ้ืนที่ เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพของผู้เรียนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี เนื่องมาจากกระบวนการชี้แนะครูที่มี ประสิทธิภาพที่พัฒนาขึ้นนั้น ประกอบด้วย 5ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 สร้างแรงจูงใจ (Motivation) ขั้นที่ 2 ปรับกรอบ ความคิด (Mindset) ขั้นที่ 3 ค้นหาทักษะที่หลากหลาย (Multiple-skills) ขั้นที่ 4 ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Manipulation) ขั้นที่ 5 เพิ่มพูนคุณค่าต่อชุมชน (Make Value) ซึ่งจะเห็นได้ว่า กระบวนการชี้แนะครูเป็นกระบวน เสริมสร้างให้ครูมุ่งแสดงออกในการรว่ มกันทำงานอย่างร่วมมือรว่ มพลังนำไปสูก่ ารเรียนรูร้ ่วมกนั โดยใช้อิทธิพลในการ กระต้นุ ชักจูงจากเพ่อื นรว่ มงานใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงมีความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและให้ความร่วมมือร่วมพลังใน การปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาผู้เรียน การแสดงออกถึงการเป็นบุคคลที่มีความริเริ่มและเป็นบุคคลที่ผลักดันให้เกิดการ ปรบั ปรงุ หรอื เปล่ียนแปลงการจัดการศึกษา รวมถงึ การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มที่ดีให้แก่ผู้เรยี นดว้ ยการแสวงหาความรู้จาก การร่วมกันของเพื่อนร่วมงานและการแบง่ ปันประสบการณ์ร่วมกัน รวมทั้งเป็นกิจกรรมที่ครูร่วมมือร่วมพลังวเิ คราะห์ อภปิ รายแสดงความคิดเห็นพรอ้ มกับแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกนั มกี ารสรปุ ประเดน็ สำคญั ร่วมกันและมีการ ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับ มานาบุ ชาโต (2559) ท่ีถึงการทีค่ รูมีโอกาสไดท้ ำงานร่วมกันเป็นทมี แบบร่วมมือ ร่วมใจนี้เป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมความสามารถในการเป็นนักจัดกระบวนการเรียนรู้ (Facilitator) โดยการที่ครู ร่วมกันสืบเสาะ ค้นคว้า เรียบเรียง และนำเสนอองค์ความรู้และเกิดทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ผ่านกระบวนการเรียนรู้ 77

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี รว่ มกนั ทำใหเ้ กิดการตกผลึกองค์ความร้แู ละสามารถพฒั นาความสามารถในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรูร้ ่วมกันเป็นวิธีการสอนและการเรียนรู้ท่เี กี่ยวข้องกับการทำงานรว่ มกันในการแก้ปญั หา และการทำงานให้เสร็จ สมบูรณห์ รือการสร้างสรรคช์ ้ินงานบนพื้นฐานของแนวความคดิ ท่ีวา่ การเรียนรเู้ ปน็ การกระทำทางสังคมโดยธรรมชาติผ่าน การมีส่วนร่วมในการสื่อสารระหว่างบุคคลซึ่งทำให้การเรียนรู้เกดิ ขึ้น ประกอบกับในการทำงานเป็นทีมที่มีการเรียนรู้ ร่วมกัน (Collaborative Learning) เป็นการเรียนรู้ที่มีผลสัมฤทธิผลสูงกว่าการทำงานคนเดียว เนื่องจากการเรียนรู้ ร่วมกนั มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้แนวคิด ประสบการณ์ในกลุม่ เล็ก ๆ ที่มคี วามสนใจรว่ มกัน ทุกคนมีโอกาสในการสนทนา แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นรับผดิ ชอบในการเรียนรขู้ องกลุ่ม และส่งเสริมการคิดเชิงวิพากษ์ ทุกคนมคี วามรับผดิ ชอบโดยไม่ มีการแข่งขันกัน เกิดพลังกลุ่มที่สมาชิกในกลุ่ม จำเป็นต้องมีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหาและการ ตดั สินใจ ประการสดุ ทา้ ย ขน้ั ตอนการสร้างคณุ ค่าเพ่ิมทางความคิดทม่ี ีตอ่ ชุมชน เปน็ การเรยี นรู้ทีม่ คี ณุ ค่ามากที่สุดเกิดข้ึน เมื่อผู้มีส่วนในการเรียนร่วมสะท้อนกลับบนการปฏิบัติของตนเอง การสะท้อนกลับถือเป็นหัวใจของการเรียนรู้จากการ ปฏิบัติเพราะการสะท้อนกลับจะสร้างการสนับสนุนซึ่งกันและกันของสมาชิก ตลอดจนกิจกรรมและประสบการณ์ที่ถูก ออกแบบนั้นเปน็ กิจกรรมทมี่ ุ่งเนน้ การเรยี นรจู้ ากการมปี ฏสิ ัมพนั ธท์ างสงั คมเพื่อขยายความคดิ สนับสนุนความเข้าใจ สรา้ ง ความเชื่อมโยง และสรุปอ้างอิงอย่างมีเหตผุ ล จะทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจท้ังในแง่วิชาการ คุณธรรม จริยธรรมในงาน ของตน สอดคล้องกับ Magerstro & Standford-Blair (2000) (อ้างถึงใน รินรดี พรวิริยะสกุล, 2554) และ Kumar & Hamer (2012) ท่ีพบวา่ กจิ กรรมการทบทวนสะทอ้ นคดิ ผา่ นประสบการณ์ของตนเองจะทำให้เกิดการพัฒนาการสอนอย่าง มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขนึ้ 2. กระบวนการชี้แนะครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการเชิงพื้นที่ท้ัง 5 ขั้นตอน ให้ผู้เรียนเกิดทักษะชีวิต และอาชีพผา่ นการเรียนรู้ 4 หนว่ ยการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สล่าไม้ พาเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ย่ำขาง พาเพลิน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 “นำ้ ตน้ ” สคู่ รัวเรอื น และหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ส่ิงเล็กเล็ก ทเี่ รียกว่า “งา” ซ่ึงแตล่ ะหน่วย การเรียนรูค้ รอู อกแบบใหผ้ ู้เรียนใชก้ ระบวนการการเรียนรู้ 5 ข้นั ตอน คอื ขั้นข้องใจ ข้ันหมายคำตอบ ขั้นสอบสวน และ ขั้นใคร่ครวญ กระบวนการเรียนดังกล่าวส่งผลให้ผู้เรียนเกิดทักษะชีวิตและอาชีพสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 เนื่องจากกจิ กรรมการเรียนรู้ทีค่ รูออกแบบเปน็ การเรยี นรู้ที่พัฒนาทกั ษะชวี ติ ของผ้เู รียน โดยทค่ี รจู ดั การเรียนรู้ครบองคร์ วมของการพฒั นาศกั ยภาพของผู้เรยี นทั้งความรู้ ทกั ษะกระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม อีกทั้งบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานตามกระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ กระบวนการทำงาน กระบวนการคิด กระบวนการตัดสนิ ใจ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกล่มุ กระบวนการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม จนเกิดทักษะในการทำงาน และได้ชิ้นงานหรือผลงาน รวมทั้งการสร้างแนวคิดในการพัฒนางานด้วย วิธีการใหม่สู่อาชีพของตน ซึ่งสอดคล้องกับ วิลาวัลย์ ด่านสิริสุข (2562) ที่กล่าวถึงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชพี จำเป็นต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนกำหนดงานที่มีความหมายกับผู้เรียนเอง ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเห็นประโยชน์ ความสำคัญ ตระหนกั ร้แู ละเหน็ คุณค่า ย่อมเกดิ ความภูมิใจในการปฏิบัติงานหรือผลงานท่ีสำเร็จ นอกจากผูเ้ รยี นเกิดทักษะชีวิตและ อาชีพหลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน 5 ด้าน ได้แก่ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มและการนำตนเอง ทักษะสังคมและการข้ามวัฒนธรรม การผลิตงานและความรบั ผิดชอบตรวจสอบได้ และภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ แล้ว ผู้วิจัยพบว่า ผู้เรียนเกิดความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ จากครูผู้ออกแบบการเรียนรู้นั้นไปใช้ในการ 78

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ดำเนนิ ชวี ิต เกดิ การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง การทำงานและการอยรู่ ่วมกันในสงั คมด้วยการเสริมสร้าง ความสัมพันธอ์ นั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ตลอดจนการปรับตวั ใหท้ นั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับ Ken Kay and Chris Dede (2010) ที่กล่าวว่า ผู้เรียนต้องมีทัง้ ความรูใ้ น เนื้อหา และทักษะที่จะประยุกต์ใช้ เพื่อปรับเปลี่ยนความรู้เหล่านั้นให้เข้ากับเปา้ หมายที่ยัง ประโยชนแ์ ละ สร้างสรรคร์ วมถึงเพื่อการเรยี นรูอ้ ย่างต่อเน่อื งตามเน้อื หาและสถานการณ์ทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป คนทม่ี ีความรู้ และ ทักษะในการรับมอื กบั การเปลย่ี นแปลงที่เกิดข้นึ อยา่ งต่อเนื่องและสามารถปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับสถานการณ์ใหม่ ๆ ได้ เทา่ นัน้ ที่จะประสบความสำเร็จ ทง้ั นี้ ผวู้ จิ ยั พบขอ้ คน้ พบระหว่างการพัฒนากระบวนการชี้แนะครนู ักจัดกระบวนการเรยี นรู้บูรณาการเชิงพื้นท่ี เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพของผู้เรียน คือกระบวนชี้แนะในวิชาชีพครูที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงกรอบ ความคดิ ใหเ้ ท่าทนั โลกยุคสมัยน้ัน ครูผู้สอนตอ้ งปรับเปล่ียนบทบาทตนเองท่ีจะสง่ เสริมให้ผเู้ รียนมีทักษะชีวิตและอาชีพ โดยเร่มิ จากการปรับทกั ษะชวี ิตและอาชีพของตนเองเชน่ เดียวกนั ดังนน้ั กระบวนการช้ีแนะครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้ ของผ้วู จิ ัย สอดแทรกและเสริมสรา้ งให้ครูเกิดภูมคิ มุ้ กันดา้ นทกั ษะชวี ติ และอาชีพในตนเองเพ่อื ที่จะสามารถออกแบบการ เรียนรู้ส่งเสริมทักษะชีวิตและตนเองสำหรับผู้เรียนใหเ้ กิดขึ้นเช่นกัน ซึ่งทักษะชีวิตและอาชพี ดงั กล่าวอันประกอบด้วย เสริมสรา้ งการเข้าใจตนเอง เสรมิ สรา้ งการเข้าใจความคิด เสรมิ สรา้ งการเขา้ ใจอารมณ์ และเสรมิ สร้างการเข้าใจผู้อื่น จึง ทำใหก้ ระบวนการชี้แนะครเู กิดประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การนำผลการวจิ ยั ไปใช้ 1. ก่อนการนำกระบวนการชี้แนะครคู รูนกั จดั กระบวนการเรียนรไู้ ปใช้ ผู้ช้ีแนะควรเตรียมตวั ในการเป็นกระบวน กรดำเนินการกลุ่มโดยปราศจากการช้ีนำ ฝึกบทบาทการตง้ั คำถามสืบสอบ เพ่อื ทจี่ ะสามารถเปน็ ตน้ แบบแก่สมาชิกใน กลุ่ม อกี ทั้งกำหนดจดุ เน้น (focus) หรือเปา้ หมายทช่ี ัดเจนในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนหรือการพฒั นาผ้เู รยี น และสมาชกิ ในกลมุ่ ตอ้ งมีความเข้าใจทีช่ ดั เจนในเป้าหมายดงั กลา่ วร่วมกัน 2. กระบวนชี้แนะครูนกั จัดกระบวนการเรียนรู้ สามารถนำไปปรบั ใชก้ ับครใู นระบบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โดย ผู้นำไปใชส้ ามารถปรับสาระสำคัญให้เหมาะกบั ธรรมชาตขิ องผูเ้ รยี นและบรบิ ทเชิงพื้นท่ี ตลอดจนผู้ชี้แนะจำเปน็ ต้อง ยดื หยนุ่ ระยะเวลาตามความเหมาะสมของกล่มุ เพอ่ื ใหค้ รไู ด้มโี อกาสพฒั นาตนเองและพฒั นาผูเ้ รียนใหเ้ กดิ การ เปลีย่ นแปลงตามเป้าหมายอยา่ งชัดเจน 3. การจัดกระบวนการชแ้ี นะครูนกั จดั กระบวนการเรยี นรู้ ควรสอดแทรกกจิ กรรมเสริมสรา้ งความสามารถในการ ทำงานเปน็ ทีมและกิจกรรมสง่ เสรมิ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ในกลมุ่ หรือจัดกิจกรรมนคี้ ู่ขนานไปกบั การดำเนินการ ช้แี นะ เพ่อื สรา้ งบรรยากาศของการเปดิ ใจ การไวว้ างใจ การยอมรับซง่ึ กนั และกนั และเพือ่ ให้สมาชกิ สามารถทำงาน ร่วมกันไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การวิจัยคร้ังต่อไป 1. ควรมีการพัฒนากระบวนช้แี นะครูนักจัดกระบวนการเรียนรูเ้ พอ่ื ส่งเสริมทกั ษะอ่นื ๆ ใหก้ บั ผู้เรียน ท่ีสามารถ ให้ผู้เรียนมคี ุณภาพชีวิตท่ีดแี ละดำรงตนในยุคแห่งศตวรรษท่ี 21 ได้ เช่น ทักษะผู้ประกอบการในโลกดจิ ิทลั ทักษะการ สอ่ื สารไรพ้ รมแดน เป็นต้น 79

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 2. ดำเนินการศกึ ษาระยะยาวติดตามผล (Follow up) ครผู ู้เขา้ ร่วมกระบวนการชีแ้ นะเปน็ รายบุคคล เพ่ือทำให้ ได้สารสนเทศที่แสดงพฒั นาการการเปลยี่ นแปลงบทบาทของครูนักจัดกระบวนการเรียนรู้บรู ณาการเชิงพื้นที่ได้ละเอียด มากข้นึ เอกสารอ้างองิ เกียรติสดุ า ศรสี ุข และคณะ. (2564). ระบบการพฒั นาสมรรถนะสำคญั ของครูและผู้ดแู ลเด็กทส่ี ่งผลต่อการพัฒนา นวัตกรรมทางความคดิ ของเดก็ ปฐมวัย. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. ชาริณี ตรวี รญั ญู. (2550). การพัฒนาสมรรถภาพการจดั การเรียนการสอนของครปู ระถมศกึ ษา ตามแนวคิดการศกึ ษา ผ่านบทเรียน. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าหลักสตู ร และการสอน คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. ปาริชาติ อังกาบ และทัศน์ศิรนิ ทร์ สว่างบญุ . (2561). การสร้างแบบวดั ทกั ษะชีวิตและอาชพี ตามแนวคิดทักษะใน ศตวรรณาท่ี 21 สำหรับนกั เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. วารสารการวดั ผลการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. 24(2), 128-142. มานาบุ ซาโต. (2559). การปฏริ ปู โรงเรยี น. กรุงเทพฯ: ปิโก้ (ไทยแลนด)์ รนิ รดี พรวิริยะสกุล. (2554). การวจิ ยั และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศกึ ษาผา่ นการเรยี นรเู้ พื่อ เสริมสรา้ งความสามารถในการออกแบบการเรยี นการสอนของนักศึกษาครู. วิทยานพิ นธค์ รุศาสตรด์ ษุ ฎีบัณฑิต. คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . วิชญา ผวิ คำ. (2561). การพัฒนากระบวนการเสรมิ สรา้ งภาวะครผู นู้ ำของนักศกึ ษาครูบนฐานทฤษฎีการเรียนรสู้ กู่ าร เปลยี่ นแปลงและแนวคิดการสบื สอบแบบร่วมมอื . วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาหลกั สตู ร และ การสอน คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิลาวลั ย์ ด่านสริ สิ ขุ . (2562). ก้าวใหมท่ างการประถมศึกษา. ภาควชิ าหลกั สูตรการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ค รินวโิ รฒ. Goottesman, B.L. (2000). Peer Coaching for Educators (2nd ed.). Maryland: Scarecrow Press. Ins. Teachnimic Book. Kay and Chris Dede (2010). 21st Century Skill : Why They Matter, What They Are, and How We Get They. Available from: http://www.learningthenow.com/blog/wpcontent. [accessed 22 March 2018]. Kumar, R., & Hamer, L. (2012). Pre service Teachers’ Attitudes and Beliefs toward Student Diversity and Proposed Instructional Practices: A Sequential Design Study. Journal of Teacher Education, 64(2), 162-177. 80

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การพฒั นากิจกรรมการเรยี นรู้ด้วยแบบเรยี นภาษาไทยโดยบรู ณาการทฤษฎีการเรียนรจู้ าก ประสบการณ์ร่วมกับแนวคดิ อตั ลกั ษณเ์ ชงิ พนื้ ท่ีเพ่อื สง่ เสรมิ ทกั ษะการเขยี นของนักเรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษา The Development of Learning Activities of Thai Language Textbook by Integrating Experiential Learning Theory and Spatial Identities Concept to Enhance Writing Skills of Primary School Students วิชญา ผิวคำ, กรกนก สกลุ กนกวฒั นา, ชินวฒั น์ ไขเ่ กตุ, อมรา สุขบุญสงั ข,์ สรศกั ดิ์ ตยุ้ เฝอื คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ E-mail [email protected] บทคดั ยอ่ การวิจัยเรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้วยแบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้จาก ประสบการณร์ ่วมกับแนวคิด อตั ลกั ษณ์เชิงพื้นที่เพ่ือส่งเสรมิ ทักษะการเขียนของนกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษา โดยมี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์ร่วมกับแนวคิดอัต ลักษณ์เชิงพื้นที่ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาก่อนและหลังการจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ด้วยแบบเรียนภาษาไทยท่พี ฒั นาขึน้ กลมุ่ เป้าหมาย คือ นักเรยี นระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ที่กำลัง ศกึ ษาในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นบ้านหนองโคง้ สังกดั สำนกั เขตเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจังหวัด เชียงใหม่ เขต 1 อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 30 คน เลือกด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ร่วมกับแนวคิดอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ 2) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ3) แบบวัดทักษะการเขียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา่ 1. แบบเรียนภาษาไทยท่พี ัฒนาขึน้ โดยบรู ณาการทฤษฎกี ารเรียนร้แู บบประสบการณ์รว่ มกับแนวคิดอัตลักษณ์ เชิงพนื้ ท่ีสำหรบั นักเรยี นระดบั ชั้นประถมศกึ ษา หนว่ ยการเรียนรู้เรื่อง “บา้ นฉนั สนั กำแพง” จำนวน 3 เร่อื ง คือ 1) ภาพนี้ มที ี่มา 2) งามตาหัตถกรรม และ 3) ลำ้ ค่าสันกำแพง และมีเหมาะสมอย่ใู นระดบั มากทส่ี ดุ 2. ผลเปรียบเทียบทักษะการเขียนของนักเรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาก่อนและหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยแบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์ร่วมกับแนวคิดอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ พบว่า ทกั ษะการเขียนของนักเรยี นหลังการใชแ้ บบเรียนภาษาไทยทพ่ี ฒั นาขึน้ สูงกว่ากอ่ นการใช้ 81

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี คำสำคัญ: แบบเรียนภาษาไทย, อัตลกั ษณ์เชิงพ้ืนที,่ ทักษะการเขยี น ABSTRACT This research is the development of learning activities of Thai language textbook by integrating experiential learning theory and spatial identities concept to enhance writing skill of primary school students. The purposes of this research were 1) the development of Thai language textbook by integrating experiential learning theory and spatial identities concept and 2) to compare the Thai writing skills of primary school students before and after organizing learning activities with developed textbook. The target group consisted of 30 students from Prathom 4 students in the second semester of the academic year 2020 at Bannongkong School, Chiang Mai province. A purposive sampling technique was used to select the samples. The instruments used for the research were: 1) A Thai language textbook created by integrating experiential learning theory and spatial identities concept 2) lesson plans and 3) the writing skills’ test. The data was analyzed by using Mean and standard deviation. The results of this research areas follows: 1. A Thai language textbook created by integrating experiential learning theory and spatial identities Concept consists of 3 units, namely the picture of Sankamphaeng, handicraft of Sankamphaeng and the new future of Sankamphaeng. The results of the content quality were found to be effective at the highest level. 2. The results from comparing the writing skills revealed that the writing skill of post was better than that of the pre learning activities when using the established Thai language textbook. KEYWORDS : Thai language textbook, spatial identities, writing skill บทนำ ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้าง บุคลกิ ภาพของคนในชาตใิ ห้มีความเป็นไทย เป็นเครอ่ื งมอื ในการตดิ ต่อส่อื สารเพ่ือสร้างความเขา้ ใจและความสัมพันธ์ท่ีดี ต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็น เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ กระบวนการคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชใ้ นการพฒั นาอาชพี ใหมม่ ีความมั่นคงทางเศรษฐกจิ นอกจากน้ียังเปน็ ส่ือแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี สุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทย ตลอดไป (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551) 82

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษา ทักษะการเขยี นเป็นทักษะที่สำคัญใน การสื่อสาร ซึ่งเป็นทักษะในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและความต้องการของบุคคลออกมาเป็นตัวอักษรเพื่อสื่อ ความหมายให้ผอู้ นื่ เข้าใจ ดงั นนั้ การเขียนจึงเปน็ ทักษะท่ีต้องเอาใจใส่ฝึกฝนอย่างจริงจงั เพื่อให้เกิดความรู้ความชำนาญ และไม่ให้เกิดการผิดพลาดในการสื่อความหมาย รู้จักการเรียงร้อยถ้อยคำให้เกิดความแจ่มชัด สละสลวย จึงเป็นสิ่งที่ ผู้เขียนจำเป็นที่จะต้องศึกษาหลักเกณฑ์ต่างๆ ให้ดีและนำไปพัฒนางานเขียนของตนให้ประสบผลตามความมุ่งหมาย (ดวงใจ ไทยอุบุญ, 2556) ประกอบกับการเขียนเรื่องตามจินตนาการจัดเป็นทักษะอนาคตของผู้เรียนระดับช้ัน ประถมศกึ ษา ซง่ึ เปน็ การเขียนทีเ่ กิดจากความคิดสร้างสรรคป์ ระสมประสานกับประสบการณ์ ความรสู้ กึ และอารมณ์ ซึ่ง สามารถแสดงออกในรูปแบบของงานประพันธ์ที่ใช้ถ้อยคำ สละสลวย ประทับใจผู้อ่าน ผู้ฟัง และให้ความรู้สึกในทาง จรรโลงใจหรือความคิดสร้างสรรค์ แต่ในปัจจุบัน พบวา่ ผ้เู รียนประสบปัญหาการเขยี นภาษาไทยดา้ นการเขียนเรื่องหรือ การเขียนเล่าเร่ืองตามจินตนาการ ผ้เู รียนสามารถพดู เล่าเร่ืองในประเดน็ ทกี่ ำหนดให้ได้ แตเ่ ม่ือเขียนบรรยายไม่สามารถ เขียนได้ หรือเขียนโดยการใช้คำที่ไม่ถูกต้อง จากการวิเคราะห์ผู้เรียนพบวา่ ผู้เรียนขาดประสบการณ์รว่ มกับแบบเรียน ภาษาไทย ผูเ้ รียนเกดิ ความเข้าใจเน้ือหาในแบบเรยี นไมม่ ากเทา่ ที่ควร ประสบการณข์ องผเู้ รยี นทมี่ ไี ม่เพยี งพอตอ่ เรื่องราว ที่เกี่ยวกับเนื้อหาในแบบเรียนหรือประสบการณ์ของเรื่องราวที่ปรากฎในแบบเรียน ส่งผลให้ผู้เรียนไม่สามารถกำหนด ขอบเขตและวัตถปุ ระสงคใ์ นการเขยี น และเม่อื ผู้เรียนเลอื กเร่ืองท่จี ะเขียน กม็ ขี อ้ มูลเพียงพอ แบบเรยี นภาษาไทยท่ีสง่ เสริมทกั ษะการเขียนสำหรับนักเรยี นประถมศึกษาควรมีเนอ้ื หาและกจิ กรรมการเรียนรู้ แบบฝึกทีม่ ีความหมายตอ่ ผู้เรยี น ตรงตามจดุ มงุ่ หมายของการฝึกฝน และทนั สมัยอยเู่ สมอ สามารถใชไ้ ดด้ ีทั้งในและนอก ห้องเรียน รวมถึงสามารถประเมิน และจำแนกความงอกงามของเด็กได้ด้วย ตลอดจนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ด้วยตนเอง ร้จู กั คน้ ควา้ รวบรวมสิง่ ทพ่ี บเห็นบ่อย ๆ หรือที่ตวั เองเคยใช้จะทำใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจเรือ่ งนัน้ ๆ มากย่งิ ข้ึน และ รจู้ กั นำความร้ไู ปใช้ในชวี ิตประจำวันได้อยา่ งถูกตอ้ งมีหลักเกณฑ์และมองเห็นว่าสง่ิ ท่ีเขาได้ฝกึ ฝนนั้นมีความหมายต่อเขา ตลอดไป รวมทัง้ แบบเรียนควรตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ผเู้ รียนแตล่ ะคนมีความแตกต่างกันหลาย ๆ ด้าน เชน่ ความต้องการ ความสนใจ ความพร้อม ระดับสติปัญญาและประสบการณ์ (สริ ะ สมนาม, 2563) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์หรือ Experiential Learning Theory (ELT) ของ Kolb (1984 อ้างถึงใน เสาวภา วิชาดี ,2554) นักไดท้ ำการพัฒนาและนำเสนอทฤษฎีโดยการต่อยอดพัฒนามาจากทฤษฎีการเรียนรู้ดว้ ยการลง มือทำของ John Dewey คือ การนำความรู้จากประสบการณ์เดิมของผู้เรียนมาบูรณาการเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหมข่ นึ้ โดยดำเนินการสร้างความรู้ ทักษะและเจตคติ จากวงจรการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1. ขั้นประสบการณ์เชิงรูปธรรม (Concrete Experience) 2. ขั้นการสังเกตอย่างไตร่ตรอง (Reflective Observation) 3. ขั้นสรุปเป็นหลกั การนามธรรม (Abstract Conceptualization) 4. ขั้นการทดลองปฏิบัติ (Active Experimentation) การจัดสภาพการเรียนรู้ตาม ขั้นตอนดังกล่าว เป็นการเสริมสร้างและสนับสนุนให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง เป็นการเรียนรู้ด้วย ประสบการณ์ตรงจากการเผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา เพ่อื ให้เกดิ การเรยี นรู้จากการกระทำ ผเู้ รียนจะเกิดความ เข้าใจในตนเองจะได้ใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ ทำให้เกิดเป็นประสบการณ์ เกิดทักษะการแก้ปัญหาจากการสืบค้น ได้ เรียนรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั ไดส้ รา้ งสมั พนั ธอ์ ันดกี บั ผูอ้ น่ื และไดเ้ ข้าใจความเป็นเหตเุ ปน็ ผลของสง่ิ ทเ่ี กิดขึ้น (สริ นิ าถ ศรี อนันต์ และนิธิดา อดิภัทรนันท์ (2560) การจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ร่วมนี้ จะส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสร่วม 83

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรียนรรู้ ว่ มปฏบิ ตั ิ รว่ มกนั คน้ คว้า ควรส่งเสริมให้นกั เรยี นไดศ้ ึกษาจากบทเรียนทม่ี าจากสงั คมแวดล้อมของผู้เรียน เพื่อให้ เกิดความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงในเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ของโลกได้ในที่สุด ในการจัดกิจกรรมเพ่ือสนับสนุนผู้เรียนใหม้ ี ส่วนรว่ มในการเรียนรูน้ ั้นครูจะตอ้ งวางแผนช้ีแจงให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความเปล่ียนแปลงความหลากหลายของส่ิงต่าง ๆ ที่ เรยี นรู้จากหลากหลายทศั นะมุมมองของบุคลากรภายในกลุ่มและผูเ้ รียนจะตอ้ งนำความรคู้ วามคดิ เหล่านัน้ มาเช่ือมโยงกับ ความคิดของตนเองท่เี รยี นรมู้ า นนั่ คอื ผูเ้ รียนจะตอ้ งนำความร้คู วามคิดทร่ี ่วมเรยี นร้มู าใชใ้ นชวี ิตจรงิ ให้ได้ (ชาตรี สำราญ, 2544) แนวคดิ อัตลกั ษณเ์ ชิงพ้ืนท่ี (Spatial identities concept) เป็นแนวคดิ เปน็ ลักษณะท่แี สดงความเปน็ ตัวตนความ เป็นชาติพันธุ์เฉพาะของตน ซึ่งก่อให้เกิดความมั่นใจความภาคภูมิใจในตนเองหรือในคุณค่าแห่งตนและอัตลักษณ์ของ ชุมชนนั้นเกิดจากการอยู่ร่วมกันการมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน มีประสบการณ์ในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันของคนในชุมชนและ ดำรงตนให้สอดคล้องเหมาะสมกับความตอ้ งการกอ่ ใหเ้ กิดเป็น กฎเกณฑ์ ระเบียบ ธรรมเนยี มปฏิบัติ ประเพณขี องชุมชน และการปฏิบตั ิสบื ต่อกนั มาจนเกดิ เปน็ วฒั นธรรมการดำรงชีวติ ของชมุ ชน (เสกสรร สรสรรพิสทุ ธิ์, 2546) และการพัฒนา ความสามารถการเขียนเรยี งความของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ด้วยแบบฝกึ ที่บรู ณาการข้อมูลท้องถิ่นและเน้ือหา อิงอัตลักษณ์เชิงพื้นท่ี(กมลรัตน์ สิงแก้ว, 2563) ส่งผลให้ความสามารถการเขียนเรียงความนักเรียนพัฒนาขึน้ รวมทั้งมี ความพงึ พอใจของนกั เรียนต่อการจดั การเรียนรูด้ ้วยแบบฝึกทบ่ี รู ณาการข้อมลู ท้องถน่ิ อยูใ่ นระดับมาก แบบเรยี นหรือกจิ กรรมหรอื สื่อประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ดี ีนนั้ ควรเป็นกิจกรรมน่าสนใจช่วย ให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการเรียนรู้จากการปฏิบัติด้วยตนเอง ได้ฝึกทักษะเพิ่มเติมและทบทวนเนื้อหาหลังจากเรียนจบ บทเรียนแลว้ เข้าใจบทเรียนได้ดียง่ิ ข้นึ ทำใหเ้ ปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ใหเ้ กิดความคล่องแคล่ว เกดิ ความชำนาญ และความแม่นยำก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (Nashihah Laila Masruroh, Hari BaktiMardikantoro & Sugianto, 2019) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์หรือ Experiential Learning Theory และแนวคิดอัตลักษณ์เชิง พื้นที่ (Spatial identities concept) จึงเป็นรากฐานในการใชพ้ ัฒนาแบบเรียนภาษาไทยและกิจกรรมการเรียนรู้สำหรบั ส่งเสริมทักษะการเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา และสอดแทรกการเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กล่าวคือ มารยาทในการเขียนของนักเรียนระดับประถมศึกษา และเกิดประสบการณ์ร่วมกับเนื้อหาของอัตลักษณ์เชงิ พ้ืนที่ ที่ผวู้ จิ ยั พฒั นาขึ้น วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย 1) เพือ่ พฒั นาแบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรยี นร้แู บบประสบการณ์รว่ มกับแนวคิดอัตลักษณ์ เชิงพ้นื ท่ี 2) เพ่อื เปรยี บเทยี บทกั ษะการเขียนของนกั เรียนประถมศึกษาก่อนและหลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ด้วย แบบเรยี นทพี่ ัฒนาข้นึ คำนยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ แบบเรียนภาษาไทย หมายถงึ เอกสารที่ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพื่อสง่ เสรมิ ทักษะการเขียนของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จัดลำดับการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์ร่วมกับ 84

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี แนวคิดอตั ลกั ษณเ์ ชงิ พื้นท่ีที่แสดงความเป็นตัวตนความเป็นชาติพันธ์เุ ฉพาะ ธรรมเนยี มปฏบิ ัติ ประเพณีของชุมชนและ การปฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กันมาจนเกิดเปน็ วฒั นธรรมการดำรงชวี ติ ของชุมชน ของอำเภอสันกำแพง จังหวดั เชียงใหม่ กจิ กรรมการเรยี นรู้ หมายถงึ กจิ กรรมท่ีพฒั นาขึน้ ผ่านแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้รว่ มกับแบบเรียน ภาษาไทยเพือ่ ส่งเสริมทักษะการเขยี นของนกั เรียนระดับชั้นประถมศกึ ษา มีข้นั ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 4 ข้นั ตอน ของ Kolb ( 1984อ้างถึงในเสาวภา วิชาดี, 2554) ได้แก่ 1) ขั้นประสบการณ์เชิงรูปธรรม (Concrete Experience) 2) ขั้นการสังเกตอย่างไตร่ตรอง (Reflective Observation) 3) ขั้นสรุปเป็นหลักการนามธรรม (Abstract Conceptualization) และ 4) ขัน้ การทดลองปฏิบัติ (Active Experimentation) และแนวคิดอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ท่ีแสดง ความเปน็ ตวั ตนความเปน็ ชาตพิ ันธุ์เฉพาะ ธรรมเนียมปฏิบัติ ประเพณขี องชมุ ชนและการปฏิบัตสิ ืบตอ่ กันมาจนเกิดเป็น วฒั นธรรมการดำรงชวี ติ ของชมุ ชน ของอำเภอสันกำแพง จงั หวดั เชยี งใหม่ ทักษะการเขียน หมายถึง ความสามารถในการเขียนเรื่องตามจินตนาการของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษา ประกอบด้วย การต้ังช่อื เรอ่ื ง การเขยี นเนอ้ื หา การลำดบั เหตกุ ารณ์ การใชถ้ อ้ ยคำ และมารยาทในการเขยี น ซึ่งวัดได้จาก แบบวดั ทักษะการเขียนท่ีผวู้ ิจัยสร้างขึ้น วิธดี ำเนนิ การวิจัย กลมุ่ เปา้ หมาย นักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่กำลังศกึ ษาในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนบา้ นหนองโค้ง สังกัดสำนกั เขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดเชยี งใหม่ เขต 1 อำเภอสันกำแพง จงั หวัดเชียงใหม่ จำนวน 30 คน เลอื กดว้ ยวิธีการเลอื กแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ผวู้ ิจยั ใช้เครอื่ งมอื ในการวิจยั ประกอบดว้ ย 1. แบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎกี ารเรียนรจู้ ากประสบการณร์ ว่ มกบั แนวคิดอตั ลกั ษณ์เชงิ พื้นที่ เพอ่ื ส่งเสรมิ ทกั ษะการเขยี นของนักเรยี นระดับชน้ั ประถมศกึ ษา 2. แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบการใช้แบบเรียนภาษาไทย จำนวน 3 แผนการเรยี นรู้ 3. แบบวัดทกั ษะการเขยี นของนักเรียนระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษารูปแบบอตั นยั วธิ ีการสรา้ งเครอื่ งมือในการวจิ ยั ผูว้ ิจยั ดำเนินการสร้างเครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ัย โดยดำเนนิ การสรา้ งตามลำดับ ดังนี้ 1. แบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎกี ารเรยี นรู้จากประสบการณ์ร่วมกับแนวคิดอตั ลักษณ์เชงิ พ้นื ท่ีเพ่อื ส่งเสริมทกั ษะ การเขยี นของนกั เรียนระดับชน้ั ประถมศึกษา ผวู้ จิ ยั มวี ิธีการสร้างและการหาคุณภาพ ดังน้ี 1.1) ศกึ ษาเอกสารหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปพี ุทธศักราช 2551 เกยี่ วกับมาตรฐานการ เรียนรแู้ ละตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ คำอธบิ ายรายวิชา และขอบเขตเนื้อหา 85

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 1.2) ศึกษาเอกสารหรือหนังสือที่เก่ยี วขอ้ งกบั การสอนภาษาไทย และการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ภาษาไทย 1.3) ศึกษาทฤษฎี หลักการ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการพฒั นาแบบเรยี นภาษาไทย 1.4) วางแผนและจัดแบ่งเน้อื หาทเี่ กีย่ วขอ้ งเพ่ือเตรียมการพัฒนาแบบเรยี นภาษาไทย 1.5) ดำเนนิ การสร้างตามแผนการพฒั นาแบบเรียนภาษาไทย 1.6) นำแบบเรียนภาษาไทยที่พฒั นาขึ้นเสนอให้กบั ผ้เู ชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย ผเู้ ช่ียวชาญด้านการสอนภาษาไทย ด้านหลกั สตู รและการสอน และดา้ นการวดั และประเมนิ ผล โดยใช้แบบประเมินความ เหมาะสมลกั ษณะเปน็ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยนำคา่ ระดับท่ไี ดม้ าหาคา่ เฉลี่ย และสว่ นเบ่ียงเบน มาตรฐาน แล้วนำมาแปลความหมายค่าระดบั ตามเกณฑท์ ่ีปรับปรงุ จากเกณฑข์ อง Best and Kahn (1986: 181) อา้ งถึง ใน รงุ่ ทวิ า สงิ หเ์ ทียน (2559) ดงั น้ี 4.50 - 5.00 หมายถึง ผู้เช่ียวชาญเห็นวา่ แบบเรียนภาษาไทยมีความเหมาะสม ระดับมากทส่ี ุด 3.50 - 4.49 หมายถึง ผเู้ ช่ียวชาญเหน็ ว่าแบบเรยี นภาษาไทยมีความเหมาะสม ระดบั มาก 2.50 - 3.49 หมายถงึ ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าแบบเรียนภาษาไทยมีความเหมาะสม ระดับปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถงึ ผ้เู ชีย่ วชาญเหน็ วา่ แบบเรียนภาษาไทยมคี วามเหมาะสม ระดับน้อย 1.00 - 1.49 หมายถงึ ผเู้ ช่ียวชาญเหน็ ว่าแบบเรียนภาษาไทยมคี วามเหมาะสม ระดบั นอ้ ยท่ีสดุ ผลปรากฏว่า แบบเรียนภาษาไทยโดยบรู ณาการทฤษฎกี ารเรียนรู้จากประสบการณร์ ว่ มกับแนวคิดอัต ลักษณ์เชิงพื้นที่เพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (Mean = 4.76, S.D. = 0.25) และผูเ้ ชีย่ วชาญแนะนำให้เพมิ่ เตมิ คำอธิบายกิจกรรมการเรยี นรู้ให้มคี วามชัดเจนมากย่ิงขึ้น เพ่มิ เตมิ โดยการใชแ้ ผนผงั แสดงลำดบั ข้นั ตอน และเพิม่ รปู ภาพประกอบ 1.7) นำแบบเรียนภาษาไทยมาปรับปรุงแกไ้ ขตามคำแนะนำของผเู้ ช่ียวชาญ 1.8) นำแบบเรยี นภาษาไทยท่ีปรับปรงุ แก้ไขเรียบร้อย นำไปใช้ทดลองใช้กบั นักเรียน โรงเรียนบ้านบ่อ สร้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 15 คน ซึ่งมีบริบทพื้นฐานผู้เรียนใกล้เคียงกันและอยู่ในตำบลต้นเปา อำเภอสนั กำแพง จงั หวัดเชยี งใหม่ ซึ่งมีอตั ลกั ษณท์ ่เี หมือนกนั 1.9) นำแบบเรียนภาษาไทยไปใช้กบั กลุ่มเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ 2. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบการใช้แบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้ จากประสบการณ์ร่วมกับแนวคิดอัตลักษณ์เชิงพื้นที่เพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จำนวน 3 แผนการเรียนรู้ โดยมีองค์ประกอบของแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ได้แก่ ชื่อเรื่อง มาตรฐานและตัวชี้วัด สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้บูรณาการ จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการ เรยี นรู้ และการวดั และประเมนิ ผล ซ่ึงมีขัน้ ตอนการสร้างและการหาคณุ ภาพ ดงั น้ี 2.1) ศึกษาเอกสารหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ปพี ทุ ธศักราช 2551 เก่ยี วกับการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ คำอธบิ ายรายวิชา และขอบเขตเน้ือหา 86

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ภาษาไทย 2.2) ศึกษาเอกสารหรอื หนังสือที่เกี่ยวข้องการการสอนภาษาไทย และการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 2.3) ศึกษาทฤษฎีการเรยี นแบบประสบการณ์เพ่ือวางแผนสรา้ งแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 2.4) วางแผนและออกแบบโครงสร้างเวลาเรียนเพื่อเตรียมสรา้ งแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.5) ดำเนินการสร้างแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 2.6) นำแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีพัฒนาขึ้นเสนอให้กบั ผเู้ ชีย่ วชาญ จำนวน 3 ท่าน ประกอบดว้ ย ผู้เช่ยี วชาญด้านการ สอนภาษาไทย ด้านหลักสูตรและการสอน และด้านการวัดและประเมินผล โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมลักษณะ เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยนำค่าระดับที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำมา แปลความหมายคา่ ระดับตามเกณฑ์ทปี่ รับปรุงจากเกณฑ์ของ Best and Kahn (1986: 181) อ้างถงึ ใน รงุ่ ทวิ า สิงห์เทียน (2559) ดงั น้ี 4.50 - 5.00 หมายถึง ผเู้ ชย่ี วชาญเห็นว่าแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรมู้ คี วามเหมาะสม ระดับมากท่ีสุด 3.50 - 4.49 หมายถึง ผูเ้ ชี่ยวชาญเห็นว่าแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรมู้ คี วามเหมาะสม ระดับมาก 2.50 - 3.49 หมายถงึ ผเู้ ชี่ยวชาญเห็นว่าแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้มีความเหมาะสม ระดับปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถึง ผเู้ ช่ยี วชาญเหน็ ว่าแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรูม้ คี วามเหมาะสม ระดับนอ้ ย 1.00 - 1.49 หมายถงึ ผ้เู ช่ียวชาญเหน็ วา่ แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูม้ ีความเหมาะสม ระดบั น้อยท่สี ดุ ผลปรากฏว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ใชร้ ่วมกับแบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎกี าร เรียนรู้จากประสบการณ์รว่ มกับแนวคิดอตั ลกั ษณเ์ ชิงพ้ืนที่เพื่อพัฒนาทกั ษะการเขยี นของนักเรียนระดบั ชั้นประถมศึกษา มีความเหมาะสมในระดบั มากทีส่ ุด (Mean = 4.72, S.D. = 0.32) และผ้เู ชย่ี วชาญแนะนำให้เพมิ่ เติมรายละเอยี ดเกณฑ์ การประเมนิ ผลของกจิ กรรมในแตล่ ะแผนใหช้ ัดเจน ปรับแกก้ ารใช้คำถามและการอธิบายคำช้ีแจงของกจิ กรรมใหม้ ีความ ชัดเจนมากข้ึน 2.7) นำแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูม้ าปรบั ปรงุ แก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชีย่ วชาญ 2.8) นำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อย นำไปใช้ทดลองใช้กับนักเรียน โรงเรียนบา้ นบอ่ สรา้ ง อำเภอ สันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 15 คน ซึ่งมีบริบทพื้นฐานผู้เรียนใกล้เคียงกันและอยู่ในตำบลต้นเปา อำเภอสัน กำแพง จังหวดั เชยี งใหม่ ซึง่ มี อตั ลกั ษณท์ ่เี หมือนกัน 2.9) นำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนร้ไู ปใช้กับกล่มุ เปา้ หมายทกี่ ำหนดไว้ 3. แบบวัดทักษะการเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ใช้สำหรับทดสอบก่อนและหลังการจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ด้วยแบบเรยี นภาษาไทย ซ่ึงเปน็ ลกั ษณะรปู แบบอตั นยั จำนวน 1 ขอ้ โดยมเี กณฑ์มิติคณุ ภาพ (Rubrics scores) เปน็ เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพการเขียน ซงึ่ มตี วั ช้ีวดั จำนวน 5 ตวั ชวี้ ัด ไดแ้ ก่ การตั้งช่ือเรื่อง การเขียนเน้ือหา การลำดับเหตุการณ์ การใช้ถอ้ ยคำ และมารยาทในการเขียน ซึ่งมขี ัน้ ตอนการสรา้ งและการหาคุณภาพ ดังน้ี 87

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 3.1) ศึกษาเอกสารหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ปพี ทุ ธศกั ราช 2551 เกยี่ วกับมาตรฐานการ เรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้ คำอธบิ ายรายวิชา และขอบเขตเน้ือหา 3.2) ศกึ ษาเอกสารหรอื หนงั สอื ทเี่ กยี่ วข้องกบั การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูภ้ าษาไทย 3.3) ศึกษาทฤษฎี หลกั การ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการวดั ทักษะการเขียน 3.4) วางแผนเพ่ือเตรียมสร้างแบบวัดทักษะการเขยี น 3.5) ดำเนินการสรา้ งแบบวัดทกั ษะการเขียน 3.6) นำแบบวัดทักษะการเขียนให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอน ภาษาไทย ดา้ นหลักสตู ร และการสอน และดา้ นการวดั และประเมนิ ผล โดยใช้แบบประเมินความสอดคลอ้ ง และดำเนินการวิเคราะห์คา่ ดัชนีความ สอดคลอ้ ง (Index of Item Objective Congruence: IOC) ของเกณฑ์มิติคุณภาพกับจุดประสงค์ โดยกำหนดให้มีค่าอยู่ ในขอบเขตระหว่าง 0.67 – 1.00 ผลปรากฏว่า แบบวัดทักษะการเขียนมีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.85 และ ผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้ปรับการเขียนคำชี้แจงในข้อคำถามให้ชัดเจน และเกณฑ์การวัดและประเมินบางตัวชี้ให้แสดง ความถี่ท่ีชดั เจนมากย่งิ ข้ึน 3.7) นำแบบวัดทักษะการเขยี นมาปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามคำแนะนำของผู้เช่ยี วชาญ 3.8) นำแบบวัดทักษะการเขียนที่ปรับปรุงแก้ไขเรยี บร้อย นำไปใช้ทดลองใช้กับนกั เรียน โรงเรียนบ้าน บ่อสรา้ ง อำเภอสันกำแพง จังหวดั เชียงใหม่ จำนวน 15 คน ซึ่งมีบรบิ ทพืน้ ฐานผู้เรียนใกล้เคยี งกันและอยู่ในตำบลต้นเปา อำเภอสันกำแพง จงั หวัดเชยี งใหม่ ซึง่ มี อตั ลกั ษณ์ทเ่ี หมอื นกนั 3.9) นำแบบวัดทกั ษะการเขยี นไปใชก้ บั กลมุ่ เป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจยั ในคร้งั น้ไี ดด้ ำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามลำดบั ขนั้ ตอน ดังนี้ 1. ดำเนินการวัดทักษะการเขียนของนักเรียนก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Pre-test) โดยใช้แบบวัด ทักษะการเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษารูปแบบอัตนัย ที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญและนำมาแก้ไข ปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว จำนวน 1 ข้อ คะแนนเต็ม 15 คะแนน นำมาวัดทักษะการเขียนของนักเรียกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านหนองโค้ง อำเภอสัน กำแพง จงั หวัดเชียงใหม่ จำนวน 30 คน โดยใช้เวลา 60 นาที 2. ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยใช้แบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ร่วมกับแนวคิด อัตลักษณ์เชิงพื้นที่ และดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น เป็น ระยะเวลา 12 สปั ดาห์ 3. ดำเนินการวัดทักษะการเขียนของนักเรียนหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Post-test) ของนักเรียน ระดบั ชน้ั ประถมศึกษา โดยใช้แบบวัดทกั ษะการเขียนรูปแบบอตั นยั ฉบับเดียวกับกอ่ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ใช้เวลา 6 0นาที 88

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 4. ดำเนินการรวบรวมคะแนนที่ได้จากการวัดทักษะการเขียนของนักเรียนก่อนและหลังการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ จากน้ันนำไปวิเคราะหข์ อ้ มูลเพ่อื สรปุ ผลการวิจัย กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูด้ ว้ ยแบบเรียนภาษาไทยโดยบรู ณาการทฤษฎีการเรียนรจู้ ากประสบการณ์ร่วมกับ แนวคดิ อัตลักษณเ์ ชงิ พื้นท่ีเพ่ือส่งเสริมทกั ษะการเขียนของนกั เรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษา โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา แบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์ร่วมกับแนวคิดอัตลักษณ์เชิงพื้นที่และเพ่ือ เปรียบเทียบทักษะการเขียนของนักเรยี นระดับช้ันประถมศึกษาก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ด้วยแบบเรียน ภาษาไทยท่พี ัฒนาขึ้น มีกรอบแนวคิดในการวจิ ัย ดังนี้ กจิ กรรมการเรยี นรู้บูรณาการทฤษฎกี ารเรียนรู้ ทกั ษะการเขียน จากประสบการณร์ ่วมกับแนวคิดอัตลักษณเ์ ชิงพน้ื ท่ี ของนักเรยี นประถมศกึ ษา แบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้ จากประสบการณ์รว่ มกบั แนวคดิ อตั ลกั ษณ์เชิงพ้นื ท่ี ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล การพัฒนาแบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ร่วมกับแนวคดิ อัตลักษณเ์ ชิง พื้นที่เพือ่ ส่งเสริมทักษะการเขียนภาษาไทยของนักเรียนประถมศึกษา ผู้วิจัยขอเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการพฒั นาแบบเรยี นภาษาไทยโดยบรู ณาการทฤษฎีการเรียนร้แู บบประสบการณร์ ว่ มกบั แนวคิดอัต ลกั ษณ์เชงิ พ้นื ท่เี พอื่ ส่งเสรมิ ทักษะการเขียนภาษาไทยของนกั เรยี นประถมศึกษา แบบเรยี นภาษาไทยพัฒนาขน้ึ โดยการบรู ณาการทฤษฎีการเรียนร้แู บบประสบการณร์ ่วมกับแนวคิดอัตลักษณ์ เชิงพนื้ ทีใ่ ช้สำหรับสง่ เสรมิ ทกั ษะการเขียนของนักเรียนประถมศึกษา โดยมีชอื่ แบบเรียนภาษาไทย คือ หน่วยการเรียนรู้ เร่อื ง “บ้านฉนั สันกำแพง” ประกอบด้วย 3 เร่อื งย่อย ไดแ้ ก่ เร่อื งท่ี 1ภาพนมี้ ีทม่ี า เรอ่ื งท่ี 2งามตาหัตถกรรม และ เรือ่ ง ที่ 3ล้ำค่าสันกำแพง ซึ่งในแต่ละเรื่องย่อยจะมีแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบ จำนวน 1 แผน ใช้ดำเนินการ เรยี นรเู้ ป็นระยะเวลา 12 ชัว่ โมง เปน็ แนวทางประกอบการใช้แบบเรยี นภาษาไทยในการจดั การเรยี นรู้ ดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 โครงสร้างแบบเรยี นภาษาไทย หน่วยการเรยี นร้เู รือ่ ง “บา้ นฉันสนั กำแพง” ทีพ่ ฒั นาขน้ึ เรื่องท่ี ชือ่ เรอื่ ง อัตลกั ษณ์เชงิ พื้นท่ี จำนวน (ชวั่ โมง) 1 ภาพน้มี ีทมี่ า วิถีชีวติ ในอดตี ถึงปัจจุบนั ในอำเภอสนั กำแพง 12 2 งามตาหตั ถกรรม หตั ถกรรมในอำเภอสันกำแพง 12 3 ล้ำคา่ สนั กำแพง แนวทางในการพัฒนาอำเภอสันกำแพง 12 89

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาขน้ึ ประกอบการใชแ้ บบเรียนภาษาไทยเรอ่ื งละ 1 แผนการเรยี นรู้ รวมจำนวน 3 แผนการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ละ 12 ชั่วโมง ซึ่งแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาขึ้นโดยอิงทฤษฎีการเรียนรู้แบบ ประสบการณ์ตามขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นประสบการณ์เชิงรูปธรรม (Concrete Experience) 2) ขั้นการสังเกตอย่างไตร่ตรอง (Reflective Observation) 3 ) ขั้นสรุปเป็นหลักการนามธรรม (Abstract Conceptualization) และ 4) ขั้นการทดลองปฏิบตั ิ (Active Experimentation) และมีองค์ประกอบของแผนจัดการเรยี นรู้ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ มาตรฐานและตัวชี้วัด สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้บูรณาการ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ และการวัดและประเมนิ ผล ดงั แสดงตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 โครงสร้างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนร้ดู ้วยการใช้แบบเรียนภาษาไทย หนว่ ยการเรียนรู้เร่อื ง “บ้านฉนั สนั กำแพง” องคป์ ระกอบ แผนท่ี 1 แผนท่ี 2 แผนท่ี 3 ชือ่ เรือ่ ง ภาพนี้มที ม่ี า งามตาหตั ถกรรม ลำ้ ค่าสนั กำแพง จำนวน (ช่วั โมง) 1. มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั 12 12 12 2. สาระสำคญั ท 2.1 ป.4/7 และ ท 2.1 ป.4/8 3. สาระการเรยี นรู้ การเขียนเร่อื งจนิ ตนาการเป็นการเขยี นท่ีนำเสนอเนื้อหาทมี่ สี าระมีคณุ คา่ ท้งั ทางอารมณส์ ติปญั ญาที่เป็นประโยชนต์ อ่ 4. สาระการเรียนรู้บรู ณาการ สงั คมโดยถ่ายทอดอารมณค์ วามรคู้ วามคิดความรูส้ ึกอยากอสิ ระสร้างสรรคข์ องผู้เรยี นใชส้ ำนวนภาษาทส่ี ละสลวยน่าอา่ น 5. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ และมมี ารยาทในการเขยี น 1. การเขียนเรื่องตามจินตนาการ 2. มารยาทในการเขียน 1. แผนผังแสดงลำดบั เหตกุ ารณ์ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนใน 1. สภาพแวดล้อมทางกายภาพของ 2. สภาพแวดล้อมทางกายภาพของ ชมุ ชน ชมุ ชนทส่ี ง่ ผลตอ่ การดำเนนิ ชีวติ ของ คนในทอ้ งถ่นิ ชมุ ชนทส่ี ่งผลต่อการดำเนนิ ชวี ิต 2. ความสัมพันธท์ างเศรษฐกิจของคน ของคนในท้องถน่ิ ในชมุ ชน 3. ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ ของ คนในชุมชน 1. นักเรยี นสามารถเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการตามประเดน็ ทก่ี ำหนดได้ 2. นักเรียนมมี ารยาทในการเขยี น 1. ข้นั ประสบการณ์เชงิ รูปธรรม 1. ขนั้ ประสบการณ์เชงิ รูปธรรม 1. ขัน้ ประสบการณเ์ ชิงรูปธรรม (Concrete Experience) – (Concrete Experience) (Concrete Experience) – คำถามชวนคิด 1 และ 2 – การอภปิ รายเกี่ยวกับภาพอดตี 2. ขนั้ การสังเกตอย่างไตร่ตรอง คำถามชวนคิด 1 (Reflective Observation) และปจั จุบนั ในสันกำแพง 2. ขั้นการสงั เกตอยา่ งไตรต่ รอง – คำถามชวนคิด 2 2. ขัน้ การสังเกตอย่างไตร่ตรอง 3. ขัน้ สรุปเป็นหลักการนามธรรม (Reflective Observation) (Abstract (Reflective – คำถามชวนคิด 2 Observation) – คำถามชวน 3. ขนั้ สรปุ เปน็ หลกั การนามธรรม คดิ 1 3. ขนั้ สรุปเปน็ หลักการนามธรรม (Abstract Conceptualization) - (Abstract กิจกรรมชวนทำ 1 90

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี องคป์ ระกอบ แผนท่ี 1 แผนที่ 2 แผนท่ี 3 7. ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ Conceptualization) - 4. ข้นั การทดลองปฏิบตั ิ (Active Conceptualization) - 8. การวัดและประเมินผล Experimentation) – กิจกรรมชวนทำ 1 กจิ กรรมชวนทำ 1 4. ขัน้ การทดลองปฏบิ ัติ (Active แบบฝึกหดั เรอ่ื ง การเขียนเรื่องตาม Experimentation) – 4. ขัน้ การทดลองปฏบิ ตั ิ (Active จนิ ตนาการ ประเด็น “สันกำแพงจะ Experimentation) – ก้าวหน้าถา้ เพมิ่ มลู ค่าหตั กรรม” แบบฝกึ หัด เรื่อง การเขียนเรือ่ งตาม จินตนาการ ประเด็น “สันกำแพง แบบฝกึ หัด เรือ่ ง การเขยี นเรื่องตาม เมอื งแหง่ อนาคต” จนิ ตนาการ ประเด็น “การ เปลี่ยนแปลงของสนั กำแพง” แบบเรยี นภาษาไทยทพ่ี ัฒนาข้ึน ตรวจกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใช้แบบประเมนิ การเขียนเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ จากตารางขา้ งตน้ ทงั้ แบบเรยี นภาษาไทยบูรณาการแนวคดิ อัตลักษณ์เชิงพนื้ ที่ และแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้องิ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้จากประสบการณ์ ไดต้ รวจสอบความเหมาะสมจากผเู้ ชี่ยวชาญ พบว่าอยู่ในระดบั มากท่สี ุด โดยมี Mean = 4.76, S.D. = 0.25 ,Mean = 4.72, S.D. = 0.32 ตามลำดบั ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบทกั ษะการเขยี นของนกั เรียนประถมศึกษากอ่ นและหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ดู ว้ ย แบบเรียนทพ่ี ัฒนาขึ้น ผู้วจิ ยั ดำเนินการวดั ทกั ษะการเขยี นของนักเรียนทง้ั กอ่ นและหลงั การใชแ้ บบเรยี นภาษาไทยท่พี ฒั นาขนึ้ แล้ว นำผลมาเปรยี บเทียบ ดังน้ี ตารางท่ี 3 คะแนนทักษะการเขยี นของนักเรียนกอ่ นและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดว้ ยแบบเรียนทพี่ ัฒนาข้ึน การทดสอบ จำนวนนักเรยี น Mean S.D. กอ่ นเรียน 30 7.60 0.57 หลังเรยี น 30 11.97 0.63 จากตารางท่ี 4 คะแนนทักษะการเขียนของนกั เรียนก่อนจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ดว้ ยแบบเรียนภาษาไทยจำนวน 30 คน พบวา่ มีคะแนนเฉลี่ยเทา่ กบั 7.6 (S.D. = 0.57) และหลังการจดั กิจกรรมการเรียนรดู้ ้วยแบบเรยี นภาษาไทยพบว่า มคี ะแนนเฉล่ียเท่ากับ 11.97 (S.D. = 0.63) อีกทั้งจากการวดั ทักษะการเขียน พบว่า นักเรียนมีการพัฒนาทักษะการเขียน โดยมีคะแนนสูงสุดก่อนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คือ 13 คะแนน คะแนนตำ่ สดุ ของก่อนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้คือ 0 คะแนน และคะแนนสูงสดุ ของ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คือ 15 คะแนน คะแนนต่ำสุดของก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คือ 9 คะแนน ดังนั้น แสดงว่า ทักษะการเขียนของนักเรียนหลงั สงู กว่าก่อนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ดว้ ยแบบเรยี นภาษาไทยโดยบูรณาการ ทฤษฎีการเรยี นรู้แบบประสบการณ์รว่ มกบั แนวคิดอัตลักษณ์เชิงพ้นื ท่ี ดังแสดงแผนภมู ิท่ี 1 91

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี แผนภูมทิ ี่ 1 แสดงการเปรยี บเทยี บทกั ษะการเขียนของนกั เรียนกอ่ นและหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรดู้ ้วยแบบเรยี น ภาษาไทยท่ีพฒั นาขน้ึ สรปุ ผลการวิจัย ผลการวจิ ัยคร้งั น้ี สรุปไดด้ ังนี้ 1. แบบเรียนภาษาไทยทพี่ ฒั นาขึน้ โดยบรู ณาการทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์ร่วมกับแนวคิดอัตลักษณ์ เชิงพืน้ ทีส่ ำหรบั นักเรียนระดับชั้นประถมศกึ ษา หน่วยการเรียนรเู้ ร่อื ง “บา้ นฉนั สนั กำแพง” จำนวน 3 เรือ่ ง คือ 1) ภาพนี้ มีท่มี า 2) งามตาหตั ถกรรม และ 3) ล้ำคา่ สนั กำแพง และมเี หมาะสมอยูใ่ นระดับมากท่สี ดุ 2. ผลเปรียบเทียบทักษะการเขียนของนกั เรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาก่อนและหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยแบบเรียนภาษาไทยโดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์ร่วมกับแนวคิดอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ พบว่า ทกั ษะการเขียนของนักเรียนหลงั การใช้แบบเรยี นภาษาไทยท่ีพฒั นาขึน้ สูงกว่าก่อนการใช้ อภปิ รายผล ตอนที่ 1 ผลการพฒั นาแบบเรียนภาษาไทยโดยบรู ณาการทฤษฎกี ารเรยี นรูแ้ บบประสบการณร์ ่วมกบั แนวคดิ อัต ลักษณ์เชิงพ้นื ที่ แบบเรียนภาษาไทยพฒั นาขึน้ โดยการบูรณาการทฤษฎีการเรียนรูแ้ บบประสบการณ์ร่วมกับแนวคิดอตั ลักษณ์ เชิงพืน้ ท่ีใช้สำหรับสง่ เสริมทกั ษะการเขียนของนักเรียนประถมศกึ ษา โดยมชี อื่ แบบเรียนภาษาไทย คอื หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง “บ้านฉันสนั กำแพง” ประกอบดว้ ย 3 เรื่องย่อย ไดแ้ ก่ เรือ่ งท่ี 1 ภาพนมี้ ที ่มี า เรอ่ื งที่ 2 งามตาหตั ถกรรม และ เรื่อง ที่ 3 ล้ำค่าสันกำแพง ซึ่งในแต่ละเรื่องย่อยจะมีแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบ จำนวน 1 แผน ใช้ดำเนินการ เรียนรู้เป็นระยะเวลา 12 ชั่วโมง เป็นแนวทางประกอบการใช้แบบเรียนภาษาไทยในการจัดการเรียนรู้ ทั้งแบบเรียน ภาษาไทย และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้ตรวจสอบความเหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญ พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด 92

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทั้งนี้เนื่องจากแบบเรียนที่พัฒนาขึ้น มีเนื้อหาและรูปภาพประกอบโดยใช้เรื่องราวเนื้อหาชุมชนทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอัตลักษณ์ในชุมชนอำเภอสันกำแพง มาร้อยเรียงเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และทำให้นักเรียนมีประสบการณ์ รว่ มกับเร่อื งราวในแบบเรียน เกิดการคดิ ใครค่ รวญเรอ่ื งราว การตอบคำถามเกีย่ วกบั เรื่องทเ่ี รยี นได้ รวมถึงนักเรียนมีความ ต้องการที่จะเล่าประสบการณ์ของตนเองเพิ่มเติม อีกทั้งแสดงความคิดเห็นถึงภาพอนาคตของชุมชนตนเอง ส่งผลให้ นักเรยี นสามารถเขียนเล่าเรื่องราวในกิจกรรมท่ีออกแบบไวใ้ นแบบเรียนภาษาไทย รวมถึงแบบเรียนภาษาไทยยังมีความ ชัดเจนทั้งคำสั่งเหมาะสมกับนักเรียน นักเรียนสามารถศึกษาด้วยตนเอง มีเนื้อหาและกิจกรรมท้ายบทเรียนที่มี ความหมายต่อผู้เรียน มีความทันสมัย และตรงตามจุดมุ่งหมายของการส่งเสริมทักษะการเขียนของนักเรียน มีการ แบง่ แยกเรื่องแต่ละเร่ืองไม่ยาวเกนิ ไป มกี จิ กรรมหลายรปู แบบเพ่ือเร้าให้นกั เรยี นเกิดความสนใจและไม่เบื่อหน่ายในการ ทำและเพ่ือฝึกทักษะการเขียน เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนได้ศึกษาดว้ ยตนเอง ให้ร้จู กั คน้ คว้ารวบรวมสิง่ ท่พี บในชุมชน ทำให้ นกั เรยี นเขา้ ใจเรือ่ งนน้ั ๆ มากยิ่งข้นึ และจะรู้จกั นำความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งมหี ลักเกณฑ์และมองเห็น วา่ สิง่ ทีเ่ ขาไดฝ้ ึกฝนนั้นมีความหมายตอ่ เขาตลอดไป ท้ังยงั ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนแต่ละคนมีความ แตกต่างกันหลาย ๆ ดา้ น เชน่ ความตอ้ งการ ความสนใจ ความพรอ้ ม ระดบั สตปิ ญั ญาและประสบการณ์ จงึ จดั ทำให้มาก พอและมีทุกระดับตั้งแต่ง่ายปานกลาง จนกระทั่ง ค่อนข้างยากเพื่อว่า ทั้งเด็กเก่ง กลาง อ่อนจะได้เลือกทำได้ตาม ความสามารถทั้งนี้เพื่อให้เด็กทุกคนประสบความสำเร็จในการทำกิจกรรม มีการเร้าความสนใจของนักเรียน ได้ตั้งแต่ หน้าปกไปจนถึงหน้าสุดท้าย สามารถนำแบบเรียนใช้ท้งั ในและนอกห้องเรยี น และเปน็ แบบเรียนที่สามารถประเมิน และ จำแนกความงอกงามพฒั นาการเขยี นของนักเรยี นได้ ซึ่งสอดคล้องกับ เนาวรัตน์ เจตดุ (2555 อ้างถึงใน สิระ สมนาม, 2563) ได้ดำเนินการพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนสรุปความ โดยใช้ข้อมูลท้องถิ่นไทยทรงดำ อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 พบว่า นักเรียนและผู้เกี่ยวข้องตอ้ งการให้สร้างแบบฝึกโดยมคี รู นักเรียนและผู้รู้ท้องถิ่นประเมินร่วมกัน และแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนสรุปความประกอบด้วย คำนำ คำชี้แจง วัตถุประสงค์ สารบัญ แบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรม แบบทดสอบท้ายเล่ม แบบทดสอบหลังเรียนและ ส่งผลให้ นกั เรยี นกระตือรือร้นสนใจในกิจกรรมสามารถทำงานเปน็ กลมุ่ สบื ค้นขอ้ มูลจากแหล่งเรยี นร้ทู ง้ั ในและนอกโรงเรียน อีก ทัง้ นกั เรียนมีทักษะการเขยี นสรุปความก่อนเรยี นและหลังเรยี นด้วยแบบฝกึ แตกต่างกันอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยคะแนนหลังเรียนสงู กว่ากอ่ นเรียน มสี มรรถนะสำคญั อย่ใู นระดบั ดีมาก และคณุ ลกั ษณะอย่ใู นระดบั ดี นกั เรยี น มีความคิดเห็นต่อแบบฝึกอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านประโยชน์ที่ได้รับนักเรียนมี ความรเู้ กยี่ วกับเรอ่ื งราวของไทยทรงดำและภูมใิ จทีไ่ ดม้ ีโอกาสอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมไทยทรงดำ และ สิระ สมนาม (2563) ที่ ไดพ้ ัฒนารปู แบบการจดั กิจกรรมการออกแบบแบบเรียนเสรมิ ทักษะภาษาไทยโดยใช้แนวคิดการเรยี นรแู้ บบมีส่วนร่วมเชิง ประสบการณร์ ่วมกับแนวคดิ อัตลักษณ์เชิงพื้นที่ และแม่แบบวา่ ดว้ ยการแสวงหา ทำให้นกั เรียนมคี วามพึงพอใจในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เนื่องจากภาคภูมิใจที่มีส่วนร่วมตั้งแต่การเล่าประสบการณ์ของดีในท้องถิ่นไปจนถึงการทำกิจกรรม การเรียนรู้ ประกอบกับแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ประกอบแบบเรียนภาษาไทย มีการจัดกิจกรรมเสริมแรงที่ เหมาะกบั พฒั นาการของนกั เรยี น การใช้รูปภาพในชมุ ชนทั้งในอดตี และปัจจุบนั ตลอดจนใช้สื่อการสอนของจรงิ ประกอบ และได้ทดลองสัมผัส คือ หัตถกรรมในอำเภอสันกำแพง ทำให้นักเรียนเกิดความสนใจในการทำกิจกรรม และอยาก แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของตนเอง และร่วมการอภิปรายแต่ละประเด็นทีกำหนดขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการ เสริมแรง ของ B.F. Skinner และข้อค้นพบของ Nashihah Laila Masruroh, Hari BaktiMardikantoro&Sugianto 93

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (2019) ว่าการเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) เป็นการเสริมความต่อเนื่องของพฤติกรรมโดยการให้ผล กรรมเปน็ ตวั เสริมแรงบวก คอื สิ่งที่ดึงดูดใจหรือพอใจเปน็ รางวัล เมื่อบคุ คลน้ันมพี ฤติกรรมหรอื ปฏบิ ตั กิ ารเปน็ ท่ีต้องการ การเสริมแรงบวกเป็นตัวจงู ใจที่ใช้ได้ผลที่สุดในการเพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิงาน อีกทั้งกิจกรรมการเรียนรู้และ แบบเรียนภาษาไทยทำให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงเรือ่ งราวของชมุ ชน เห็นคุณค่า เกิดความรักและหวงแหนชุมชน ตนเอง และสามารถเกดิ แรงบนั ดาลใจต่อการพฒั นาชมุ ชนของตนเอง ซึง่ สอดคลอ้ งกับ ณพชั ญาฐ์ สขุ พัชราภรณ์ (2556) ที่พบว่า การที่เยาวชนในจังหวัดเชียงใหม่ได้เรียนรู้เรื่องราววิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีในท้องถิ่นของตนเองจึงมี ความสำคัญอย่างยิ่งเนื่องจากการได้เรียนรู้เรื่องราวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชนท้องถิ่นและวัฒนธรรมจะส่งผลให้ เยาวชนเกดิ สำนึกรกั ทอ้ งถิ่นเกดิ ความผกู พันความภาคภูมใิ จในวัฒนธรรม พฒั นาทอ้ งถิน่ ของตนอันจะนำไปสคู่ วามม่ันคง ของชุมชนได้ ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบทกั ษะการเขยี นของนกั เรียนประถมศึกษาก่อนและหลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ดู ้วย แบบเรยี นท่ีพฒั นาข้ึน การจดั กจิ กรรมการเรยี นรดู้ ว้ ยการใช้แบบเรยี นภาษาไทยโดยการบรู ณาการทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์ ร่วมกับแนวคิดอัตลักษณ์เชงิ พน้ื ที่ทีพ่ ัฒนาขน้ั พบว่า ทักษะการเขียนของนักเรียนหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สูงกว่า ก่อนการจดั กจิ กรรมเรียนรู้ เนือ่ งจากการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทใี่ ห้ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรจู้ ากประสบการณ์ทเี่ กิดขึ้นในท้องถิ่น ตนเอง สอดคล้องกับบริบทและประสบกาณ์ของนักเรียนที่คุ้น จึงทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในเรื่องราวที่เรียน และ สามารถถ่ายทอดเรื่องราวออกมาจากประสบการณ์ของตนเอง ตลอดจนสามารถเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างมี คุณภาพ ซึง่ ในกจิ กรรมแต่ละขน้ั ถกู พัฒนาข้ึนตามของทฤษฎกี ารเรียนรแู้ บบประสบการณ์ 4 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ ขน้ั ตอนที่ 1 ขั้นประสบการณ์เชิงรูปธรรม (Concrete Experience) เป็นขั้นตอนแรกที่กระตุ้น ให้ผู้เรียนเข้าไปมีส่วนร่วมและรับรู้ ประสบการณ์ต่างๆ โดยตรง ซึ่งผู้เรียนจะได้เรียนรู้จากส่ือของจรงิ ได้เรียนรู้จากประสบการณเ์ สมือนจริงประสบการณ์ เดิมของผู้เรียนได้ถูกดึงออกมาจากการตอบคำถามก่อนเข้าสู่บทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการความคิดและสามารถ ผสมผสานระหว่างประสบการณเ์ ดมิ ของตนและประสบการณ์ใหม่ในบทเรยี น จนเกิดความรู้ ความเข้าใจในบทเรียนมาก ขึ้น ขั้นตอนที่ 2ขั้นการสังเกตอย่างไตร่ตรอง (Reflective Observation) เป็นลักษณะการเรียนรู้ ที่เกิดจากการสังเกต อย่างพินิจพเิ คราะห์ พจิ ารณาไตร่ตรองอย่างละเอียดในขน้ั นี้ผู้เรียนจะไดน้ ำเอาประสบการณ์ความรู้ท่ีได้รับจากขั้นแรก มาไตร่ตรอง พจิ ารณาและสะท้อนคิดโดยผา่ นการพูดคุยแลกเปลีย่ นประสบการณ์ กับครแู ละเพื่อนในชนั้ เรียน รวมไปถึง การได้ทำแบบฝึกหัดหรือใบกิจกรรม ขั้นตอนที่ 3ขั้นสรุปเป็นหลักการนามธรรม (Abstract Conceptualization) เป็น ขั้นการเรียนรู้ทีใ่ ชห้ ลกั เหตุผล ใช้ความคิดเพ่ือการสรปุ ความในข้ันนผ้ี ู้เรยี นจะนำความรู้ทไ่ี ด้จากการสังเกตและไตร่ตรอง มาสรุปเป็นความคิดรวบยอด กล่าวคือ ผู้เรียนจะใช้ความคิดวางผังความคิดในสถานการณ์ต่างๆ เพื่อเขียนถ่ายทอด เรื่องราว โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานโครงสร้างทางภาษาที่กำหนดให้โดยครูผู้สอน และขั้นตอนที่ 4ขั้นการทดลองปฏิบัติ (Active Experimentation) เป็นขั้นวางแผนเพือ่ ทดลองปฏิบตั ิ ลงมอื ทำจรงิ ในขน้ั น้ีผ้เู รยี นจะได้นำแผนผงั ท่เี ขยี นขึ้น ไป ใช้เขียนเรื่องตามจินตนาการ และการฝึกทักษะการเขียนที่นำเรื่องราวบริบทชุมชนหรืออัตลักษณ์ของชุมชน ซึ่งเป็น ประสบการณ์ตรงของผู้เรียนส่งผลให้ทักษะการเขียนสูงขึ้น สอดคล้องกับ Nashihah Laila Masruroh, Hari 94

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี BaktiMardikantoro&Sugianto (2019) ที่ค้นพบว่า การพัฒนาหนังสือด้วยเนื้อหาภูมิปัญญาท้องถิ่นเสริมทักษะการ เขียนจำเปน็ ตอ่ กระบวนการเรียนร้กู ารเขียนสำหรบั ผ้เู รม่ิ ตน้ ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรนำแบบเรียนที่พฒั นาขน้ึ ไปใช้ส่งเสริมความสามารถในการเขียนภาษาไทยโดยบูรณาการร่วมกับกลุ่ม สาระการเรยี นรอู้ น่ื ๆ เช่น การปรับเน้ือหาและกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้เชอ่ื มโยงสใู่ นกลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม หรือภาษาต่างประเทศ เป็นต้น เพ่อื เกดิ การเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองในเนอ้ื หาและประสบการณต์ ่อนักเรยี น 2. ควรนำแบบเรยี นภาษาไทยท่พี ัฒนาข้ึนไปปรับใชก้ ับนักเรยี นในระดบั ชนั้ อื่นหรอื จดั การเรียนรแู้ บบคละชนั้ เพ่อื สร้างบรรยากาศการเรียนรรู้ ว่ มกนั และต่อยอดประสบการณข์ องนักเรียนจากกิจกรรมการเรยี นร้ใู นเรอื่ งตา่ ง ๆ เชิง บริบทพ้ืนทต่ี ่อไป 3. ควรเพิ่มเติมเน้ือหาท่ีเกยี่ วกับประสบการณห์ รอื อัตลักษณเ์ ชงิ พืน้ ทใ่ี นด้านอ่ืน ๆ โดยครอบคลมุ อำเภอสัน กำแพง จงั หวดั เชยี งใหม่ เพ่อื ให้ผูเ้ รียนได้เหน็ ความสำคัญและเกิดภาคภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ ตนเอง 4. นอกจากการนำแบบเรียนภาษาไทยไปใชเ้ พือ่ พฒั นาการเขยี นเชิงจติ นาการแล้ว ยังสามารถนำไปพฒั นา ทกั ษะทางภาษาครบ 4 ด้านไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟงั การพูด การอา่ น และการเขียน รวมถงึ การสอดแทรกคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคเ์ ร่อื งมารยาทการฟังและการอา่ น 5. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเปน็ ผู้ออกแบบและสร้างแบบเรยี นด้วยตนเองหรือรว่ มกับครูผสู้ อน ดว้ ยวธิ ีการเรยี นรู้ แบบร่วมมือรวมพลังและกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ นำไปสกู่ ารสร้างแบบเรยี นใหม่และเรยี นรู้รว่ มกนั กับครผู ู้สอน เอกสารอา้ งองิ กมลรตั น์ สงิ แก้ว. (2563). การพัฒนาความสามารถการเขียนเรยี งความของนักเรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ดว้ ยแบบฝกึ ท่บี ูรณาการขอ้ มูลทอ้ งถิ่น.วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์5 ,(1). กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ: โรง พิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทยจำกัด. เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com/site/naksuksaphasathiy/maryath-ni-kar-kheiyn. [สืบค้นเมอื่ วันท่ี 9 มกราคม 2564]. ชาตรี สำราญ. (2544).ครูร้ไู ดอ้ ยา่ งไรวา่ เดก็ เกดิ การเรียนรู้.กรงุ เทพฯ: มลู นิธสิ ดศรี-สฤษด์วิ งศ์. รงุ่ ทวิ า สงิ ห์เทยี น. (2559). การพฒั นาแบบฝึกเสริมทักษะการเขยี นสารคดโี ดยใช้ขอ้ มูลท้องถิ่นอำเภอเขาย้อยสำหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทยบณั ฑิต วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. Verdian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร5 ,(3). ดวงใจ ไทยอุบญุ .(2556). ทกั ษะการเขยี นภาษาไทย. กรงุ เทพฯ: สำนักพมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ณพชั ญาฐ์ สขุ พชั ราภรณ์. (2556). การบรู ณาการวถิ ีชีวติ อตั ลักษณ์ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เพอ่ื พัฒนา การศึกษาสูค่ วามมนั่ คงของเยาวชนในระบบโรงเรยี น. มหาวิทยาลัยเชียงใหมร่ าชภัฏเชียงใหม.่ 95

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สิระ สมนาม. (2563). การพัฒนารูปแบบการจดั กิจกรรมการออกแบบแบบเรียนเสรมิ ทักษะภาษาไทยโดยใชแ้ นวคิดการ เรียนรแู้ บบมีสว่ นรว่ มเชิงประสบการณ์รว่ มกบั แนวคดิ อตั ลกั ษณ์เชิงพน้ื ท่ี และแมแ่ บบวา่ ด้วยการแสวงหา เพ่อื สง่ เสริมทกั ษะการอ่านเขยี นภาษาไทยสำหรับผเู้ รียนบนพื้นท่ีสงู ภาคเหนอื .วารสารครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, 48(1), 311-331. สิรนิ าถ ศรีอนนั ต์ และนธิ ิดา อดภิ ัทรนนั ท์. (2560). การใชก้ ารเรียนรภู้ าษาแบบประสบการณ์เพอื่ พัฒนาความสามารถใน การฟงั พดู ภาษาองั กฤษและความมัน่ ใจในตนเองของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3. พฆิ เนศวร์สาร, 13(1), 85-96. เสกสรร สรรสรพิสุทธ์.ิ (2546). อัตลกั ษณ์ของไทลื้อและการปรบั ตวั เพอ่ื ความอยรู่ อดภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจทนุ นยิ ม : กรณีศึกษาบา้ นแม่สาบตำบลสะเมิงใตอ้ ำเภอสะเมิงจงั หวัดเชียงใหม่ .การค้นควา้ แบบอิสระศลิ ปศาสตรมหา บัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการมนุษย์กับสงิ่ แวดลอ้ ม.เชียงใหม่ : บณั ฑติ วิทยาลัยมหาวิทยาลยั เชียงใหม่. เสาวภา วิชาดี.(2554). รูปแบบการเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี นในมุมมองของทฤษฎกี ารเรียนรู้แบบประสบการณ์. Executive Journal มหาวิทยาลยั กรุงเทพ แสงระวี ประจวบวัน. (2553). การพฒั นาทักษะการเขียนความเรียง โดยใช้แบบฝึกทกั ษะ ทใ่ี ชว้ ธิ ีการแผนทค่ี วามคิด สำหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาศกึ ษาศาตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการสอน ภาษาไทย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. Nashihah Laila Masruroh, Hari BaktiMardikantoro&Sugianto. (2019). Developmentof Supplementary Book of Writing Skills for Beginner with Local Wisdom Content for Elementary School Students. Journal of Primary Education. 10(3): 317–325. 96

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ความสัมพันธข์ องการบริหารงานกบั กจิ การนักเรียนของครูโรงเรยี นสามโคก สงั กัดองคก์ ารบรหิ าร ส่วนจงั หวัดปทมุ ธานี The Relationship of Administration to Student Affairs of Teachers in Samkhok School under the Pathumthani Provincial Administrative Organization ชายแดน เดชาฤทธิ์ ดร.ในตะวัน กำหอม คณะสังคมศาสตร์และศกึ ษาศาสตร์ วิทยาลัยทองสขุ บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการปฏิบัติในการบริหารงานของโรงเรียนสามโคก สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี 2) ระดับการปฏิบตั ิในงานกจิ การนักเรียนของครโู รงเรียนสามโคก สังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี และ 3) ความสัมพันธ์ของระดับการปฏิบัติในการบริหารงานกับกิจการนักเรียนของครู โรงเรียนสามโคก สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูโรงเรียนสามโคก สังกัดองค์การบริหารส่วนจงั หวัดปทุมธานี จำนวน 103 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใชใ้ นการ วิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.80-1.00 และค่าความ เชื่อมั่นท้ังฉบับเท่ากับ 0.99 สถิติท่ใี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ คา่ ความถ่ี ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะห์ค่าสัมประสิทธ์ิสหสมั พันธ์แบบเพยี ร์สัน ผลการวิจัยพบว่า การบริหารงานโรงเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การ บริหารงานโรงเรียนอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดงั น้ี ดา้ นการบริหารวิชาการ ด้านการ บริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป และด้านการบริหารงบประมาณ ตามลำดับ กิจการนักเรียนของครูโรงเรียนสาม โคก โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า งานกิจการนักเรียนอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับ ค่าเฉลยี่ จากมากไปหาน้อย ดงั นี้ งานแก้ไขปญั หายาเสพติดและโรคเอดส์ งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน งานพฒั นาและ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน งานคณะกรรมการนักเรียนและงานส่งเสริมประชาธิปไตย และงานกิจกรรมพัฒนา ผเู้ รียน ตามลำดับ ความสัมพนั ธ์ของการบริหารงานกับกิจการนักเรียนของครูโรงเรียนสามโคก สังกัดองค์การบริหารส่วน จังหวัดปทมุ ธานี โดยภาพรวมมคี วามสัมพันธท์ างบวกระดับสงู (rxy=0.983) อย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .01 คำสำคัญ : การบริหารงาน, กิจการนกั เรียน, ความสัมพนั ธ์ 97

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ABSTRACT The objective of this research were to study 1) the practice level of administration of Samkhok School under Pathumthani Provincial Administrative Organization 2) the practice level to student affairs of teachers in Samkhok School under Pathumthani Provincial Administrative Organization and 3) the relationship of administration to student affairs of teachers in Samkhok School under Pathumthani Provincial Administrative Organization.The sample included 103 teachers of Samkhok School under Pathumthani Provincial Administrative Organization, The research instrument used for data collection was a 5 rating scale questionnaire with IOC index between 0.80-1.00, the total reliability of 0.99. The statistics used for data analysis were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient. Findings were showed that ; The overall the school administration was at a high level. When considering on each aspect, the research found to be the high level in all aspects by descending order of the average as follow; academic administration, personnel management, general administration and budget management respectively. The overall the student affairs of teachers in Samkhok School was at a high level. When considering on each aspect, the research found to be the high level in all aspects by descending order of the average as follow; drugs solution and aids, student assistant system, development and student morality and ethics promotion, student council and democracy promotion and student development activities respectively. The relationship of administration to student affairs of teachers in Samkhok School under Pathumthani Provincial Administrative Organization was positive and statistically significant at the .01 level (rxy=0.983). KEYWORDS : Administration , Student affairs , Relationship บทนำ การบริหารสถานศึกษาเป็นภารกิจหลักของผู้บริหารที่ต้องกำหนดแบบแผนวิธีการและขั้นตอนต่างๆ ในการ ปฏิบัติงานไว้อย่างเป็นระบบ เพราะถ้าระบบการบริหารงานไม่ดีจะกระทบกระเทือนต่อส่วนอื่นๆ ของหน่วยงาน ผู้บริหารที่ดีต้องรู้จักเลือกวธิ กี ารบริหารที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อที่จะให้งานนั้นบรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้ การบริหารงานนั้นจะต้องใช้ศาสตร์และศิลป์ทุกประการ เพราะการดำเนินงานต่างๆ มิใช่เพียงกิจกรรมที่ผู้บริหารจะ กระทำเพียงลำพังคนเดียว แต่ยังมีเพื่อนร่วมงานอีกหลายคนที่มีสว่ นทำให้งานนั้นประสบความสำเร็จ (ปรียาพร วงศ์ อนุตรโรจน์. 2553 : 8) การบริหารในสถานศึกษาเพื่อให้สถานศึกษาประสบผลสำเร็จและสอดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรูปการศึกษานนั้ ปัจจยั สำคัญต่อการเสริมสร้างการเรยี นรู้ในสถานศกึ ษา ซง่ึ การจัดการศกึ ษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทกุ คนมีความสามารถเรยี นรู้ และพฒั นาตนได้ คอื ระบบการบรหิ ารจัดการทีม่ ีประสิทธิภาพ และการมีสว่ นรว่ ม และถือ 98

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ว่าผเู้ รียนมคี วามสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตอ้ งส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ ดังนั้นผู้บริหาร มีความรับผิดชอบในการบริหารงานด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้การจัดการศึกษาให้บรรลุ เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพได้นั้น จำเป็นต้องมีการกระจายอำนาจและให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ซึ่งกำหนดให้มีการ จดั ระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษาของไทยให้มีเอกภาพในเชงิ นโยบาย และหลากหลายในทางปฏิบัติ โดย กระทรวงศึกษาธิการได้กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งในด้านการบริหารวิชาการ การบริหาร งบประมาณ การบรหิ ารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไป ไปยงั คณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษา รวมทง้ั สถานศึกษาใน เขตพื้นที่การศึกษา โดยการกระจายอำนาจดังกล่าวนั้น ได้ส่งผลให้สถานศึกษามีระบบการบริหารงานที่เป็นนติ ิบุคคล กล่าวคือ มีความคล่องตัวและมีอิสระในการบริหารและจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน (School Based Management) จึงเป็นการสร้างรากฐานและความเข้มแข็งให้สถานศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 6-7) การบรหิ ารสถานศึกษาผู้บริหารสถานศึกษามภี ารกิจบริหารงาน 4 ดา้ น คือ งานวิชาการ งานบริหารงานบุคคล งานงบประมาณและงานบริหารทั่วไป ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้นำที่สำคัญที่จะต้องบริหารงานภายในสถานศึกษาใน การสร้างประสิทธิผลของสถานศึกษาอย่างมีส่วนร่วมและมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบรรยากาศในการ พฒั นาครู กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี เป็นวิธีการที่ดีที่จะทำใหม้ ีการรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทำ และร่วมเรียนรู้ของครู ผ้บู ริหาร และผู้เก่ียวข้อง ดว้ ยความสัมพนั ธ์แบบกัลยาณมิตร มวี ิสยั ทศั น์ เป้าหมายและภารกิจ ร่วมกนั โดยทำงานร่วมกนั แบบทมี เป็นผู้นำร่วมกนั ผ้บู รหิ ารเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนนุ ดูแล ให้คำปรึกษาเพื่อการเรียนรู้ พฒั นาวชิ าชีพ ส่คู ณุ ภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสำเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเปน็ สำคัญและความสุขของการ ทำงานรว่ มกันของสมาชิก การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพจะทำให้ครูได้ช่วยกันพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ใหก้ บั ผเู้ รียน ท้งั เป็นการยกระดับความรคู้ วามเข้าใจทักษะและจิตวญิ ญาณของความเปน็ ครูไปพร้อมกัน เพราะครูคือคน ทีส่ รา้ งสรรค์ความเป็นมนุษย์ปัญหาท่ีพบมไิ ด้เพียงเรื่องวิชาความรู้และการประกอบอาชพี เท่านน้ั แต่อยู่ท่ีความอยู่รอด ของชวี ติ ด้วยครูในบทบาทใหมจ่ งึ เป็นผูม้ ีหน้าท่ีกระตุ้นและอำนวยการให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ มีการสง่ เสริมและพัฒนา บุคลากรในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อให้ครูได้ตระหนักและร่วมด้วยช่วยกันในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา (ปาริชาติ เขง่ แก้ว. 2563 : 2) และเพ่อื ให้เกิดความก้าวหนา้ ด้านวิชาการโดยให้สามารถดำเนินการไปได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายของความสำเร็จในสถานศึกษา ในการบริหารงานที่มีประสทิ ธภิ าพนั้น ผู้บริหาร ควรให้ความสำคัญกับการบริหารงานบุคคล ท้ังทางดา้ นบุคคล สงั คม เศรษฐกิจ และสง่ิ แวดล้อม โดยเฉพาะอย่างย่ิงการ สร้างระบบการบริหารภายในสถานศึกษาที่ดีให้เกิดประสิทธิผลของงานและเกิดแรงจูงใจในการทำงานมากที่สุด เนื่องจากบุคลากรในสถานศึกษามีความแตกต่างกันในด้านความคิด อุปนิสัย และคุณลักษณะส่วนตัว ผู้บริหารจึงควร สร้างความสัมพันธ์กับบุคลากรให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจในการทำงาน จะช่วยส่งเสริมในด้านการบริหารสถานศึกษา และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอย รวมท้งั การทำงานของครูผู้สอนซึง่ จะช่วยให้ประสบผลสำเร็จได้ตามแนวนโยบาย ของสถานศึกษา งานกิจการนักเรียน มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อสนองความต้องการของ ผูเ้ รียน เน้นฝึกฝนความรู้ทง้ั ทฤษฎีและปฏิบัติ ตลอดทัง้ ปลกู ฝงั คุณธรรมจริยธรรม ปลูกจิตสำนึกและคา่ นิยมท่ดี ี ซ่ึงหน่ึงใน การพัฒนาผู้เรียน คือกระบวนการพฒั นาผเู้ รียน ในสว่ นของงานกจิ การนกั เรียนของสถานศกึ ษาทจ่ี ัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน มี การพฒั นาโดยใช้กิจกรรมงานกิจการนักเรียน ทง้ั ดา้ นงานกิจกรรมนักเรียน งานครทู ี่ปรกึ ษา งานส่งเสริมวินยั และพฤติกรรม 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook