การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศกึ ษาเอกชน 2. เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศกึ ษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรยี น และประสบการณ์ในการทำงาน สมมตุ ฐิ านของการวจิ ยั 1. ครูผู้สอนที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรยี นที่มีขนาดต่างกัน มีความคดิ เห็นตอ่ ภาวะผูน้ ำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร สถานศึกษา สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน แตกตา่ งกนั 2. ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน แตกตา่ งกัน วธิ ีดำเนินการวจิ ัย 1. ประชากร ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2564 จำนวน 240 คน จาก 8 โรงเรียน (ข้อมูลประชากรจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2564) 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2564 จำนวน 148 คน จาก 8 โรงเรยี น โดยใช้ ตารางสำเร็จรูปของเครจซี และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970 อ้างถงึ ใน พมิ พอ์ ร สดเอ่ียม, 2557) ได้กลุม่ ตัวอย่างจำนวน 148 คน เครื่องมือทใี่ ช้ในการวิจัย เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการรวบรวมขอ้ มูลสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณในครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) จำนวน 1 ฉบบั แบง่ เป็น 2 ตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม มีลกั ษณะเป็ นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ถาม เก่ียวกบั ขนาดของโรงเรียน และประสบการณ์ในการทางาน ตอนที่ 2 ภาวะผู้นำเชงิ วสิ ัยทศั น์ของผบู้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) ตามแนวคิด ของ ลิเคิร์ท (Likert) (ภัทราพร เกษสังข์, 2549) แบ่งเป็ น 4 องค์ประกอบ ดงั น้ี การกำหนดวิสัยทัศน์ การสื่อสารวิสัยทัศน์ การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์และการเป็น แบบอย่างที่ดี การสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ การสรา้ งเคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย ได้ดำเนนิ การตามขนั้ ตอน ดังน้ี 1. การสร้างแบบสอบถาม 200
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ศึกษาหลักการแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศนข์ องผู้บริหาร สถานศกึ ษา สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน นำร่างแบบสอบถามเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา และนำข้อเสนอแนะมาแก้ไขปรับปรุง 2. การตรวจสอบค่าความตรงเชงิ เนอ้ื หา (Content validity) เสนอเครื่องมือต่อผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน นำแบบสอบถามมาวเิ คราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหวา่ งข้อคำถามกับนิยามศพั ท์เฉพาะ (Index of item objective congruence : IOC) มีคา่ IOC ตง้ั แต่ 0.80-1.00 3. การตรวจสอบค่าความเท่ียง (Reliability) 3.1 นำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try out) กับครูผู้สอนในโรงเรียนของสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ สง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน ท่ไี ม่ใช่กลมุ่ ตวั อย่างจำนวน 30 คน 3.2 นำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน ไปคำนวณหาค่าความเทยี่ ง (Reliability) ของแบบสอบถามท้งั ฉบับโดย ใชส้ ตู รสมั ประสทิ ธ์แิ อลฟ่า (Alpha Coefficient Method) ตามวิธีของ ครอนบาค (Cronbach) (ภัทราพร เกษสังข,์ 2549 : 143) ซงึ่ แบบสอบถามฉบับนี้ พบวา่ มีค่าความเท่ียง โดยภาพรวม และรายดา้ นอยรู่ ะหวา่ ง 0.693-0.897 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับ ขนาดของโรงเรียนและประสบการณ์ในการ ทำงาน ดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามขนาดของโรงเรียน และประสบการณใ์ นการทำงาน สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ความถี่ (n=148) ร้อยละ 1. ขนาดของโรงเรียน 1.1 ขนาดเล็ก 19 12.93 1.2 ขนาดกลาง 29 19.6 1 .3 ขนาดใหญ่ 44 29.73 1 .4 ขนาดใหญ่พิเศษ 56 37.84 รวม 148 100.0 2. ประสบการณ์ในการทำงาน 2.1 ตำ่ กวา่ 5 ปี 66 44.6 2.2 5-10 ปี 47 31.8 2.3 มากกวา่ 10 ปี 35 23.6 รวม 148 100.0 จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามปฏบิ ัติงานอยู่ในโรงเรยี นขนาดใหญ่พเิ ศษจำนวน 56 คน คดิ เป็นร้อย ละ 37.84 และปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดใหญจ่ ำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 29.73 และปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียน 201
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขนาดกลางจำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 19.6 และปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดเล็กจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 12.93 และผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีประสบการณ์ในการทำงานตำ่ กว่า 5 ปี จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 44.6 รองลงมา อยู่ระหวา่ ง 5 – 10ปี จำนวน 47 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 31.8 และนอ้ ยทีส่ ดุ มากกวา่ 10 ปี จำนวน 35 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.6 ตามลำดบั 2. ผลการวิเคราะห์ระดับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศนข์ องผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ผลการวิเคราะหร์ ะดับภาวะผู้นำเชิงวิสยั ทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน ผวู้ จิ ยั เสนอผลการวิเคราะห์โดยภาพรวม รายดา้ น และรายข้อ ดงั ตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน โดยภาพรวมและรายดา้ น ขอ้ ที่ ภาวะผนู้ ำเชิงวสิ ยั ทศั นข์ องผบู้ ริหารสถานศึกษา S.D. แปลผล 1. การกำหนดวสิ ยั ทัศน์ 4.26 0.86 มาก 2. การสอ่ื สารวิสัยทัศน์ 4.58 0.66 มากทีส่ ดุ 3. การปฏบิ ตั ิตามวสิ ัยทศั น์ 4.61 0.67 มากท่ีสดุ 4. การเป็นแบบอย่างทด่ี ี 4.73 0.66 มากที่สดุ 4.55 0.71 มากทีส่ ุด รวม จากตารางที่ 2 พบว่า ภาวะผู้นำเชงิ วสิ ัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากทสี่ ุด ( = 4.55, S.D.= 0.71) เมือ่ พจิ ารณาเป็นรายดา้ นพบว่า อย่ใู นระดับ มากที่สุด 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก 1 ด้าน ด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ด้านที่ 4 การเป็นแบบอยา่ งทีด่ ี ( =4 .73, S.D.= 0.66) รองลงมา คือ ด้านที่ 3 การปฏิบตั ิตามวิสัยทัศน์ ( =4 .61, S.D.= 0.67) ส่วนดา้ นที่มีคา่ เฉล่ียต่ำสดุ คอื ด้านที่ 1 การกำหนดวสิ ัยทศั น์ ( =4 .26, S.D.= 0.86) 3. ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน และประสบการณใ์ นการทำงาน ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศกึ ษาเอกชน โดยภาพรวมและรายด้าน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน ใชก้ ารทดสอบสมมุติฐานโดยค่าเอฟ (F-test) ดังตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 ผลการเปรียบเทียบระดับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน โดยภาพรวมและรายด้าน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน 202
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พเิ ศษ ภาวะผ้นู ำเชิงวสิ ยั ทศั น์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา (n=19) (n=29) (n=44) (n=56) F 1. การกำหนดวิสัยทัศน์ S.D. S.D. S.D. S.D. 4.12 .77 4.32 .47 4.58 .77 4.62 .53 2.75* 2. การส่อื สารวิสัยทัศน์ 4.18 .79 4.48 .73 4.77 .38 4.86 .31 2.723* 3. การปฏิบตั ิตามวิสยั ทัศน์ 4.23 .84 4.51 .22 4.74 .43 4.85 .30 2.688* 4. การเป็นแบบอย่างทด่ี ี 4.45 .74 4.74 .98 4.86 .26 4.91 .67 1.95* รวม 4.27 .74 4.51 .45 4.75 .34 4.81 .45 2.52* * มีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 จากตารางที่ 3 พบว่า ครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับภาวะผู้นำเชิง วิสัยทศั น์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน ท้ังโดยภาพรวมและรายด้าน ทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยพบว่า ครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมี ความคิดเห็นสูงกว่า ท้งั โดยภาพรวมและรายดา้ นทกุ ดา้ น 4. ผลการเปรียบเทยี บภาวะผู้นำเชิงวิสยั ทศั นข์ องผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน โดยภาพรวมและรายด้าน จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ต่ำกว่า 5 ปี ระหว่าง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี ใช้การทดสอบสมมุติฐาน ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) โดยคา่ เอฟ (F-test) ดังตารางที่ 4-5 ตารางท่ี 4 ผลการเปรยี บเทยี บภาวะผนู้ ำเชงิ วิสยั ทัศน์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน โดยภาพรวมและรายดา้ น จำแนกตามประสบการณใ์ นการทำงาน ตำ่ กวา่ 5 ปี 5-10 ปี มากกว่า 10 ปี (n= ภาวะผู้นำเชงิ วิสัยทัศน์ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา (n=61) (n=42) 30) 1.การกำหนดวสิ ยั ทศั น์ S.D. S.D. S.D. 4.40 .63 4.44 1.09 4.64 .54 2.การส่อื สารวสิ ัยทัศน์ 4.44 .64 4.78 .47 4.78 .41 3.การปฏบิ ัตติ ามวิสยั ทศั น์ 4.45 .68 4.80 .40 4.70 .58 4.การเป็นแบบอย่างทดี่ ี 4.65 .53 4.88 .42 4.82 .30 รวม 4.50 .57 4.74 .45 4.75 .39 จากตารางที่ 4 พบว่า ภาพรวมครูทมี่ ีประสบการณ์ในการทำงานตำ่ กว่า 5 ปี มคี ่าเฉล่ยี ความคิดเหน็ อยู่ในระดับ มาก ( = 4.50, S.D. = 0.57) ครูที่มปี ระสบการณใ์ นการทำงานระหวา่ ง 5-10 ปี มคี า่ เฉลี่ยความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ท่สี ดุ ( = 4.74, S.D. = 0.45) และครทู ่มี ีประสบการณ์ ในการทำงานมากกว่า 10 ปี มคี ่าเฉลี่ยความคิดเห็นอยู่ในระดับ 203
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มากที่สุด ( = 4.75, S.D. = 0.39) เมื่อวิเคราะห์รายด้าน ด้านที่ 1 การกำหนดวิสัยทัศน์ ครูที่มีประสบการณ์ในการ ทำงานต่ำกว่า 5 ปี มีค่าเฉลี่ยความคิดเหน็ อยู่ในระดับมาก ( = 4.40, S.D. = 0.63) ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงาน ระหว่าง 5-10 ปี มีค่าเฉลี่ยความคิดเหน็ อยู่ในระดับมาก ( = 4.44, S.D. = 1.09) และครูท่มี ีประสบการณ์ในการทำงาน มากกวา่ 10 ปี มคี ่าเฉลยี่ ความคิดเห็นอยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด ( = 4.64, S.D. = 0.54) ด้านที่ 2 การสอ่ื สารวสิ ยั ทัศน์ ครทู ่ี มีประสบการณ์ในการทำงาน ต่ำกว่า 5 ปี มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( = 4.44, S.D. = 0.64) ครูที่มี ประสบการณใ์ นการทำงานระหว่าง 5-10 ปี มีคา่ เฉลีย่ ความคดิ เห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.78, S.D. = 0.47) และ ครทู ่มี ีประสบการณ์ในการทำงานมากกว่า 10 ปี มคี ่าเฉลยี่ ความคิดเห็น อยใู่ นระดบั มากที่สดุ ( = 4.78, S.D. = 0.41) ด้านที่ 3 การปฏิบัตติ ามวิสยั ทัศน์ ครทู ่มี ีประสบการณ์ในการทำงานต่ำกวา่ 5 ปี มคี า่ เฉล่ียความคดิ เหน็ อยู่ในระดบั มาก ( = 4.45, S.D. = 0.68) ครทู ีม่ ีประสบการณใ์ นการทำงานระหวา่ ง 5-10 ปี มีคา่ เฉลย่ี ความคดิ เห็นอยใู่ นระดับมากทส่ี ุด ( = 4.80, S.D. = 0.40) และครูที่มีประสบการณ์ในการทำงาน มากกว่า 10 ปี มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นอยู่ในระดบั มาก ที่สุด ( = 4.70, S.D. = 0.58) และด้านที่ 4 การเป็นแบบอย่างที่ดี ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่ำกว่า 5 ปี มี ค่าเฉลย่ี ความคิดเหน็ อยูใ่ นระดบั มากที่สดุ ( = 4.65, S.D. = 0.53) ครทู ม่ี ปี ระสบการณใ์ นการทำงานระหว่าง 5-10 ปี มี ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมากทส่ี ดุ ( = 4.88, S.D. = 0.42) และครูที่มปี ระสบการณใ์ นการทำงานมากกว่า 10 ปี มีคา่ เฉลีย่ ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ ( = 4.82, S.D. = 0.30) ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนระดับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน โดยภาพรวมและรายดา้ น จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน ภาวะผนู้ ำเชงิ วิสยั ทศั น์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา แหล่งความ df SS MS F แปรปรวน 1. การกำหนดวสิ ัยทัศน์ ระหวา่ งกลมุ่ 4 1.27 .54 1.06 ภายในกลุม่ 132 81.67 .67 รวม 134 82.94 2. การสือ่ สารวิสยั ทัศน์ ระหวา่ งกล่มุ 4 3.71 1.99 6.01** ภายในกลมุ่ 132 39.33 .31 รวม 134 43.02 3. การปฏิบัติตามวสิ ยั ทัศน์ ระหวา่ งกล่มุ 4 3.45 1.76 4.58** ภายในกลมุ่ 132 44.16 .31 รวม 134 47.61 4. การเป็นแบบอย่างที่ดี ระหวา่ งกลุ่ม 4 1.68 .80 3.66* ภายในกลุ่ม 132 27.28 .25 รวม 134 28.96 โดยรวม ระหว่างกล่มุ 4 1.98 .94 3.68* ภายในกลมุ่ 132 31.96 .27 รวม 134 33.94 * มนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 ** มีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .01 204
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี จากตารางที่ 5 พบว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานตา่ งกนั มีความคิดเหน็ ต่อระดับภาวะผ้นู ำเชงิ วิสัยทัศน์ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน ทง้ั โดยภาพรวม และด้านที่ 4 การเป็น แบบอย่างที่ดี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ส่วนด้านที่ 2 การสื่อสารวิสัยทศั น์ และด้านที่ 3 การ ปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ แตกต่างกันอย่างมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .01 ส่วนด้านที่ 1 การกำหนดวิสยั ทศั น์ ไม่แตกต่าง กันจึงได้วิเคราะห์เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทศั น์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน ด้วยการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย เป็นรายคู่ (Multiple comparison) โดยใชว้ ธิ กี ารของเชฟเฟ (Scheffe´) ท้ังโดยภาพรวม และรายดา้ น ผลปรากฏดงั ตารางที่ 6-9 ตารางที่ 6 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยภาพรวม จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยใช้วิธีของ เชฟเฟ (Scheffe´) อายุ ตำ่ กว่า 5 ปี 5- 10ปี มากกว่า 10 ปี ( =4.50) ( =4.74) ( =4.75) ตำ่ กว่า 5 ปี ( =4.50) - .28* .29* 5 - 10ปี ( =4.74) - .02 มากกวา่ 10 ปี ( =4.75) - * มีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 จากตารางที่ 6 เมื่อทำการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยใช้วิธีของเชฟเฟ (Scheffe´) พบวา่ ครทู ่มี ีประสบการณ์ในการทำงานตำ่ กวา่ 5 ปี กบั ระหว่าง 5-10 ปี และครทู ี่มปี ระสบการณ์ในการทำงานต่ำกว่า 5 ปี กับมากกว่า 10 ปี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .05 โดยพบว่า ครูท่ีมีประสบการณ์ ในการทำงานระหวา่ ง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มคี วามคดิ เห็นมากกว่า ครทู มี่ ีประสบการณ์ในการทำงานต่ำกว่า 5 ปี ส่วนคู่อน่ื นอกน้ันมคี วามคิดเห็นไมแ่ ตกต่างกัน ตารางที่ 7 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน ดา้ นการส่ือสารวสิ ัยทศั น์ จำแนกตามประสบการณใ์ นการทำงาน โดย วิธีของเชฟเฟ (Scheffe´) ด้านการส่ือสารวสิ ยั ทศั น์ ต่ำกว่า 5 ปี 5- 10ปี มากกว่า 10 ปี ( =4.44) ( =4.78) ( =4.78) ต่ำกว่า 5 ปี ( =4.44) - .36** .36** 5 - 10ปี ( =4.78) - .01 มากกวา่ 10 ปี ( =4.78) - ** มนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .01 205
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี จากตารางที่ 7 เมื่อทำการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยใช้วิธี ของเชฟเฟ (Scheffe´) พบว่า ครทู ่มี ีประสบการณ์ในการทำงานตำ่ กวา่ 5 ปี กับระหวา่ ง 5-10 ปี และครูทม่ี ีประสบการณใ์ นการทำงานต่ำกว่า 5 ปี กับมากกว่า 10 ปี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงวิสัยทศั นข์ องผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ด้านการสื่อสารวิสยั ทัศน์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิที่ระดบั .01 โดยพบว่า ครูที่มี ประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มคี วามคิดเห็นมากกวา่ ครทู ่ีมปี ระสบการณ์ในการทำงาน ต่ำกว่า 5 ปี ส่วนคู่อ่นื นอกนนั้ มคี วามคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ตารางท่ี 8 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน ด้านการปฏิบัตติ ามวสิ ัยทัศน์ จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยวธิ ขี องเชฟเฟ (Scheffe´) ด้านการปฏิบตั ิตามวิสัยทศั น์ ต่ำกวา่ 5 ปี 5- 10ปี มากกว่า 10 ปี ( =4.45) ( =4.80) ( =4.70) ต่ำกวา่ 5 ปี ( =4.45) - .37* .29 5 - 10ปี ( =4.80) - .14 มากกว่า 10 ปี ( =4.70) - * มีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 8 เมื่อทำการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยใช้วิธี ของเชฟเฟ (Scheffe´) พบว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่ำกว่า 5 ปี กับระหวา่ ง 5-10 ปี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงวิสยั ทัศนข์ อง ผบู้ ริหารสถานศึกษา สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน ดา้ นการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ แตกต่างกัน อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั .05 โดยพบว่า ครทู มี่ ีประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มี ความคิดเหน็ มากกวา่ ครูท่ีมีประสบการณใ์ นการทำงานตำ่ กว่า 5 ปี ส่วนคอู่ ่นื นอกนัน้ มีความคดิ เหน็ ไมแ่ ตกตา่ งกนั ตารางที่ 9 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ด้านการเป็นแบบอย่างที่ดี จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยวธิ ขี องเชฟเฟ (Scheffe´) ด้านการเปน็ แบบอย่างทดี่ ี ตำ่ กว่า 5 ปี 5-1 0ปี มากกวา่ 10 ปี ( =4.65) ( =4.88) ( =4.82) ตำ่ กว่า 5 ปี ( =4.65) - .27* .19 5 - 10ปี ( =4.88) - .08 มากกวา่ 10 ปี ( =4.82) - * มีนัยสำคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั .05 จากตารางที่ 9 เมื่อทำการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยใช้วิธีของเชฟเฟ (Scheffe´) พบว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่ำกว่า 5 ปี กับระหว่าง 5-10 ปี มีความคิดเห็นตอ่ ภาวะผู้นำเชิงวิสยั ทัศนข์ อง 206
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ด้านการเป็นแบบอย่างที่ดี แตกต่างกัน อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05 โดยพบวา่ ครูทมี่ ปี ระสบการณใ์ นการทำงานระหวา่ ง 5-10 ปี และมากกวา่ 10 ปี มี ความคิดเหน็ มากกว่า ครทู ี่มีประสบการณ์ในการทำงานต่ำกวา่ 5 ปี สว่ นคู่อ่นื นอกนน้ั มคี วามคิดเห็นไม่แตกต่างกนั สรุปผลการวจิ ัย จากการวเิ คราะห์ข้อมลู ผูว้ จิ ัยสรปุ ผลการวิจัยได้ดงั ต่อไปน้ี 1. ภาวะผนู้ ำเชงิ วิสัยทศั นข์ องผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก 1 ด้าน ได้แกด่ า้ นท่ี 1 คือ การกำหนดวิสัยทัศน์ สว่ นอกี 3 ดา้ นคอื การสื่อสารวิสยั ทัศน์ การปฏิบตั ติ ามวิสัยทัศน์ และการเป็น แบบอย่างที่ดี อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านที่ 4 การเป็นแบบอยา่ งที่ดี รองลงมา คือ ด้านที่ 3 การปฏบิ ตั ติ ามวสิ ยั ทัศน์ ส่วนด้านทีม่ คี ่าเฉลี่ยต่ำสดุ คือ ด้านท่ี 1 การกำหนดวิสัยทศั น์ 2.ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน ดา้ นการกำหนดวิสยั ทัศน์ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อพบวา่ อยใู่ นระดับ มากทสี่ ดุ 5 ขอ้ นอกนั้นอยใู่ นระดับมาก ขอ้ ที่มีคา่ เฉล่ยี สูงสดุ คอื ผู้บริหารสถานศึกษากำหนดภาพอนาคตของโรงเรียนท่ี ควรจะเป็นไดอ้ ย่างชดั เจน รองลงมา คือ วิสัยทศั นข์ องโรงเรยี นมุง่ ให้เกิดความหวงั ว่าโรงเรียนจะมีสภาพท่ีดกี ว่าเดิม ส่วน ข้อท่มี คี า่ เฉลยี่ ตำ่ สุด คอื วิสยั ทศั นข์ องโรงเรยี นมีความเป็นไปได้ที่จะเปน็ จริงในอนาคต 3. ภาวะผ้นู ำเชิงวสิ ยั ทัศน์ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ด้าน การสอ่ื สารวสิ ยั ทศั น์ โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ เมอื่ พิจารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ อยู่ในระดบั มากท่สี ุดทุกข้อ ข้อที่ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ผู้บริหารสถานศึกษาอธิบายและโน้มน้าว ให้ครูเข้าใจและยอมรับวิสัยทัศน์ของโรงเรยี น รองลงมา คือ ผู้บริหารสถานศึกษาช้ีให้เห็นถึงประโยชน์ของวิสัยทัศน์ ส่วนข้อที่มีคา่ เฉลีย่ ตำ่ สุด คือ ผู้บริหารสถานศึกษาสื่อสาร วสิ ัยทัศนข์ องโรงเรยี นอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 4. ภาวะผนู้ ำเชงิ วสิ ยั ทัศนข์ องผบู้ ริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน ดา้ น การปฏบิ ตั ติ ามวิสยั ทัศน์ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมากที่สุด เม่อื พิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากท่ีสุดทุกข้อ ขอ้ ทม่ี ีค่าเฉลยี่ สงู สุด คอื ผู้บรหิ ารสถานศึกษาส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้บุคลากร มสี ว่ นร่วมในการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ของ โรงเรียน รองลงมา คือ ผู้บริหารสถานศึกษาริเริ่มให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สนับสนุนให้มีการใช้นวัตกรรม เพื่อพัฒนา โรงเรียนไปสู่วสิ ัยทัศน์ท่ีกำหนด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ผู้บริหารสถานศึกษากระตุ้นให้ร่วมมือร่วมใจกันในการ ปฏิบตั งิ านภายใต้วิสยั ทัศน์ของโรงเรยี น 5. ภาวะผนู้ ำเชิงวิสยั ทัศนข์ องผ้บู ริหารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ด้าน การเป็นแบบอยา่ งท่ีดี โดยรวมอยใู่ นระดับมากที่สุด เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยใู่ นระดับมากท่ีสุดทุกข้อ ข้อท่ีมี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาแสดงออกถึงความซ่อื สัตย์ จรงิ ใจในการทำงาน รองลงมา คือ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ให้กำลังใจผรู้ ว่ มงาน สว่ นขอ้ ท่ีมีค่าเฉล่ียต่ำสดุ คอื ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาจูงใจ สรา้ งศรทั ธาในการปฏบิ ตั ิงาน 207
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 6. ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทศั นข์ องผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน โดยภาพรวมและรายดา้ น จำแนกตามขนาดของโรงเรยี น พบวา่ ครทู ี่ปฏบิ ตั งิ านอยู่ในโรงเรียนท่ีมีขนาด ตา่ งกนั มคี วามคดิ เห็นตอ่ ระดับภาวะผ้นู ำเชงิ วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน ท้งั โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .01 7. ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทศั นข์ องผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน โดยภาพรวมและรายด้าน จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน พบว่า โดยภาพรวมครูที่มี ประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ส่วนรายด้าน ในด้านที่ 4 การเป็นแบบอย่างที่ดีแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านที่ 2 การสื่อสารวิสัยทัศน์ และด้านที่ 3 การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์แตกต่างกัน อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั .01 ยกเว้นด้านที่ 1 การกำหนดวสิ ัยทศั นท์ ไี่ ม่แตกตา่ งกนั การอภปิ รายผล ผู้วจิ ยั เสนอการอภปิ รายผลเฉพาะประเดน็ สำคัญ ดังน้ี 1. ภาวะผูน้ ำเชงิ วิสัยทัศน์ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 1.1 ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้พบว่า ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั มากที่สุด อาจเป็นเพราะวา่ คณุ ลักษณะสำคัญของผู้นำ ประการหนึ่งคือ การมีภาวะผู้นำ สถานศึกษาต้องการผู้นำทีม่ ีวิสัยทัศน์ ซึ่งวิสัยทัศนเ์ สมือนอนาคตที่เปน็ จรงิ เชือ่ ถอื ได้ และเปน็ เป้าหมายทีก่ ้าวไปสู่สภาพทด่ี ีกวา่ เดมิ ตลอดจนเป็นที่ปรารถนาของทกุ ฝ่าย เปน็ สิง่ ท่สี ร้างความหมายในวิถีชีวิต ของบคุ ลากร สรา้ งพลังในการกา้ วไปสกู่ ารสร้างมาตราฐานแห่งความสำเร็จ ดังน้นั ผนู้ ำทุกคนจึงจำเปน็ ตอ้ งพัฒนาตนเอง ให้เปน็ ผ้ทู ่ีมีความเช่ียวชาญเร่ืองภาวะผ้นู ำ เพื่อสามารถมองเหน็ อนาคตขององค์การของตนเองได้อย่างชัดเจน ว่าอนาคต ของสถานศึกษาจะเป็นอย่างไร มที ิศทางการเปลย่ี นแปลงในทิศทางใด และมีความแตกต่างจากสภาพปัจจุบนั อย่างไร ซ่ึง ภาวะผู้นำลักษณะนี้กำลังเป็นที่ต้องการอย่างยิ่งในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน นอกจากนี้ ผู้นำ จะต้องมีความสามารถในด้านการจัดการเรียนการสอน ควบคุม พัฒนาคุณภาพมาตราฐาน พัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานทางวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวิชาชีพ ดังที่ สมั ฤทธ์ิ กางเพ็ง ไดก้ ล่าวไว้ว่า ภาวะ ผูน้ ำเชิงวสิ ยั ทัศน์ ถอื ไดว้ ่าเป็นทฤษฎีของการศกึ ษาภาวะผู้นำแนวใหม่ หรอื เป็นกระบวนทศั น์ใหม่ (Modern paradigm) และองค์การภายใตส้ ถานการณ์ทีเ่ ปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลานั้น ผู้นำต้องมุ่งเน้น และปรับการนำ ให้เอื้อต่อการมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจท่ีเกิดขึน้ จากผูใ้ ต้บังคับบัญชา ตลอดจนเปิดโอกาสให้มีอิสระในการทำงานมากขึ้น ซึ่งจิตวิญญาณท่ี ผู้นำยุคใหม่จำเป็นต้องมีคือ การมีวิสัยทัศน์ (Visionary) เพื่อจะนำองค์กรให้อยู่รอดได้ ซึ่งสอดคล้องกับ Manasse ที่ กลา่ วไว้ว่า ถ้าตอ้ งการใหอ้ งค์การมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ผู้นำจำเปน็ ตอ้ งมีความสามารถในการตดั สนิ ใจในเร่ืองท่ี เกี่ยวกับสภาพท่ีควรเป็นในอนาคต ขององค์การโดยเริ่มต้นจากการมวี ิสัยทัศน์สว่ นตวั (Personal vision) ของผู้นำก่อน แลว้ จึงหล่อหลอมให้กลายเป็นวิสัยทัศนร์ ว่ ม (Shared vision) กบั ผู้รว่ มงานทั้งหลาย จากนั้นจึงช่วยกันส่ือสารวิสัยทัศน์ ร่วมดงั กลา่ ว พรอ้ มทั้งมอบอำนาจการตัดสนิ (Empower) แกผ่ ตู้ ้องการปฏิบตั ิให้เป็นจริงตามวิสัยทัศนน์ ัน้ และอาจเป็น เพราะ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) กระตุ้นให้หน่วยงานที่จัดการศึกษาตั้งแต่ 208
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับชาติถึงหน่วยงานที่เล็กที่สุด คือ สถานศึกษาและภายในห้องเรียนต้องมีการประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการจัด การศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ จึงจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญกับการประเมินผล โดยเฉพาะการประเมนิ คุณภาพภายนอก จากหน่วยงานท่เี ปน็ กลาง เพราะจะทำใหเ้ กิดกลไกในการตรวจสอบอย่างจริงจัง เพื่อให้การวางแผนและการดำเนินงานระยะต่อไปบรรลุเป้าหมายอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ดังกับโมเดลภาวะ ผู้นำของ Manning & Robertson ได้เสนอว่าเป็นทฤษฎีที่ “พิจารณาความเหมาะสม ระหว่างงาน (Task) กับคน (People)” ซง่ึ โมเดลภาวะผูน้ ำทมี่ ีวิสยั ทัศน์นีม้ ีการกำหนดหนา้ ท่ีหลักของผ้นู ำไว้คือ จะต้องสอ่ื สารใหเ้ ข้าใจถึงวิสัยทัศน์ หรือให้เห็นภาพที่ชัดเจนวา่ องค์กรจะเดินไปในทิศทางใดโดยวิสัยทัศนน์ ี้จะต้องชัดเจน และดึงดดู ให้ผู้ตามเห็นอนาคตท่ี ชดั เจน และสามารถแปลงวสิ ยั ทัศนน์ ี้ใหเ้ ป็นจริง สคู่ วามต้งั ใจจริงที่จะปฏิบตั ิงานได้จริง 1.2 ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้พบว่า ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน ด้านทมี่ ีคา่ เฉลย่ี สงู สดุ คอื ดา้ นที่ 4 การเปน็ แบบอย่างทด่ี ี อาจเป็นเพราะว่า ผนู้ ำ ที่จะเป็นแบบอย่างทีด่ ีไดน้ ัน้ จะต้องมีความกระตือรือรน้ มุ่งมั่น ผูกพัน เสียสละ อุทิศตน และทุ่มเท ในการปฏิบตั งิ าน เพื่อให้องค์การเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี เช่นเดียวกับ Bass ที่ได้กล่าวไว้ว่า ผู้นำ ต้องเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการ ปฏิบัตงิ าน ท้งั นต้ี อ้ งมคี วามสมำ่ เสมอ จริงใจ ให้เกียรติ ให้ความสำคญั กบั ผู้อน่ื ไม่ทำเพอ่ื ประโยชน์สว่ นตน แตม่ ุ่งทำเพ่ือ ประโยชน์ส่วนรวมตามหลักประชาธปิ ไตย โดยคำนึงถงึ ความคมุ้ ค่า ประหยัด และไม่ฟุม่ เฟอื ยตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และดำเนินชีวิตภายใต้คณุ ธรรม และจริยธรรมอันดี ดังที่ สุรีพันธ์ุ เสนานุช สรุปไว้ว่า ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ หมายถงึ ลักษณะของผู้นำ ที่มีคุณสมบัติหลายประการที่เอื้อต่อความสำเร็จขององค์การ โดยมีแนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจน ตั้งแตก่ ารสรา้ งวิสยั ทัศน์ การนำไปสกู่ ารปฏิบัติ การสร้างโอกาส การสรา้ งพลงั และการสรา้ งจริยธรรม ซ่ึงเป็นท่ียอมรับ ของบุคลากรในองค์การ นอกจากนี้ มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา (สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2546) ใน มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานความรู้ และประสบการณว์ ิชาชพี นั้น ผูบ้ ริหารสถานศึกษาจะต้องมีคุณธรรมและจริยธรรม โดย เป็นผู้นำเชิงคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตน เป็นแบบอย่างที่ดี และมาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ใน มาตรฐานที่ 3 มาตรฐาน การปฏิบัติงาน ผู้บริหารจะต้องปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี โดยมีหน้าที่แนะนำ ตักเตือน ควบคุม กำกับดูแลบุคลากรใหอ้ งค์กร การที่ผู้บริหารจะปฏิบัติหน้าท่ีดงั กลา่ ว ให้ได้ผลดี ผู้บริหารตอ้ งประพฤติปฏิบตั ิ เป็นแบบอยา่ งที่ดี มิฉะนนั้ คำแนะนำ ตกั เตือน หรือการกำกบั ดแู ลของผบู้ ริหารจะขาดความสำคญั ไม่เป็นท่ียอมรับของ บุคลากรในองคก์ ร ผูบ้ รหิ ารที่ปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอย่างที่ดีในทุกๆ ดา้ น เชน่ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความยุตธิ รรม และ บคุ ลิกภาพจะมผี ลสงู ตอ่ การยอมรับของบคุ ลากร ทำให้เกิดความเช่ือถอื ศรทั ธาตอ่ การบรหิ ารงาน จนสามารถปฏิบัติตาม ได้ด้วย ความพึงพอใจ ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นสิ่งที่ผู้ตามตระหนัก และเห็นความสำคัญ โดยสัมผัส สังเกต ติดตาม พฤติกรรม และการแสดงออกของผู้นำอยู่เสมอ จึงทำให้ผู้ตามเกิดความเชื่อม่ัน และให้ระดับความคดิ เหน็ ต่อภาวะผู้นำ เชิงวสิ ัยทศั นข์ องผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน ในด้านการเป็นแบบอย่าง ท่ดี ี อยใู่ นระดบั สงู สุด 1.3 ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้พบว่า ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยในระดับมาก แต่เมื่อเทียบกับด้านอื่น พบว่า ด้านที่ 1 การ กำหนดวสิ ยั ทศั น์ มคี า่ เฉลีย่ ต่ำสุด อาจเปน็ เพราะว่า การกำหนดภาพ ในอนาคตที่มกี ารสร้าง และพัฒนาให้แตกต่างจาก ภาพปัจจุบันอย่างชัดเจนนนั้ เปน็ เรอื่ งยากทุกขั้นตอน ตัง้ แต่ขั้นตอน ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากครูทุกคน 209
การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโรงเรียน เพื่อนำมากำหนดวิสัยทัศน์ของโรงเรียน ผู้บริหารสถานศึกษาร่วมกับครูและบุคลากรวิเคราะห์ สังเคราะห์ ขอ้ มูลทเี่ กบ็ มาได้ เพ่ือนำมากำหนดวสิ ัยทัศนข์ องโรงเรียน ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษากำหนดภาพอนาคตของโรงเรียนที่ควรจะ เปน็ ได้อยา่ งชัดเจน ซึง่ การระดมความคดิ ของทุกคนเพ่ือนำมาหลอมเป็นวิสยั ทัศน์หนง่ึ เดียวทีม่ ีความเป็นไปได้ น่าสนใจ นา่ เชือ่ ถอื และกระตุน้ ใหเ้ กิดความหวัง โดยไมข่ ดั ตอ่ เป้าประสงคข์ ององคก์ ารนนั้ ก็เป็นเรื่อง ทต่ี อ้ งใช้ความสามารถ หรือ ใช้สรรพกำลงั และใช้ภาวะผู้นำอย่างมาก นอกจากนั้น อาจเกดิ จากการเปลี่ยนผ่านของผู้นำระดับสูงท่ีจะต้องมีการปรับ กระบวนทศั น์ ปรบั เปล่ียนระบบ และปรบั แนวนโยบายตา่ งๆ ซงึ่ การทีท่ ุกคนจะเหน็ แนวทางทจ่ี ะไปสอู่ นาคตอย่างชัดเจน น้ัน กข็ นึ้ อยู่กับพ้ืนฐานความคิด ทศั นคติ การเรียนรู้ และการรบั รู้ของแตล่ ะคน ซึง่ มักจะแตกต่างกัน ดังท่ี Manasse ได้ ใหท้ ัศนะว่า ถ้าตอ้ งการใหอ้ งค์การมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ ผนู้ ำจำเปน็ ตอ้ งมีความสามารถในการตัดสนิ ใจในเรื่อง ที่เก่ียวกับสภาพท่คี วรเปน็ ในอนาคตขององค์การ โดยเริ่มตน้ จากการมีวิสยั ทศั น์สว่ นตวั (Personal vision) ของผูน้ ำก่อน แล้วจึงหลอ่ หลอมให้กลายเป็นวิสัยทัศน์ร่วม (Shared vision) กบั ผรู้ ว่ มงานทัง้ หลาย จากน้นั จึงชว่ ยกันส่ือสารวิสัยทัศน์ รว่ มดงั กล่าว พรอ้ มทัง้ มอบอำนาจการตัดสนิ (Empower) แกผ่ ู้ต้องการปฏบิ ัตใิ ห้เปน็ จริงตามวิสยั ทัศน์นั้น ดังน้ัน การท่ี จะกำหนดวสิ ัยทัศน์ อนั จะทำใหอ้ งคก์ ารมีความหวัง และมคี วามเชอ่ื วา่ องคก์ ารจะมีสภาพทดี่ ขี ้นึ กวา่ สภาพเดิมนน้ั จึงเป็น เรือ่ งท่ที ำได้ยากจริง นอกจากนัน้ เสริมศกั ดิ์ วิศาลาภรณ์ ได้กลา่ ววา่ วสิ ัยทศั น์ หมายถึง ภาพองคก์ ารในอนาคต เป็นภาพ ที่มีความหมายเฉพาะเจาะจง (Unique) ได้พัฒนาแล้ว (Improved) และสามารถบรรลุถึงได้ (Attainable) ผู้นำจะต้อง มองไปข้างหน้า มีทิศทางที่ชัดเจนที่จะให้องค์การไปทางนั้น และบรรลุสภาพการณ์ที่ปรารถนาได้ ซึ่งการกำหนด วิสยั ทศั นใ์ หม้ ีภาพท่ีเฉพาะเจาะจง ชัดเจน และสามารถบรรลไุ ด้ตามความตง้ั ใจ ก็ไมใ่ ชเ่ รือ่ งท่ีจะทำกันได้ง่าย แต่ถ้าผ่าน ความยากในขั้นตอนแรกนี้ไปได้ ขั้นตอนอื่นไม่ว่าจะเป็น การสื่อสารวิสัยทัศน์ การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ และการเป็น แบบอย่างที่ดี จะง่ายขึ้น นอกจากนั้น ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2552) ได้เสนอว่า ผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ควรรู้จักและเข้าใจ สภาพการณ์ขององค์การเป็นอย่างดี และสามารถกำหนดบทบาทและทิศทางขององค์การไดอ้ ย่างชัดเจน ซึ่งก็เป็นเร่อื ง ยากที่ผู้นำจะรู้จักและเข้าใจสภาพขององค์การของตนเองเป็นอยา่ งดี ซึ่งการรู้จัก และเข้าใจสภาพขององค์การจะเปน็ ข้อมลู ที่สำคญั ยิ่งในการกำหนดบทบาทและทิศทางขององค์การให้ชดั จนสรปุ รวมเป็นวิสัยทศั น์ขององคก์ รในทีส่ ดุ 2. เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศกึ ษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรยี น และประสบการณ์ในการทำงาน 2.1 ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน โดยภาพรวม และรายด้าน จำแนกตามขนาดของโรงเรยี น พบว่า ครทู ปี่ ฏบิ ตั ิงานอยใู่ นโรงเรียน ที่มขี นาดตา่ งกัน มคี วามคิดเหน็ ต่อระดับภาวะผ้นู ำเชิงวสิ ยั ทศั น์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ทั้งโดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดย พบวา่ ครูที่ปฏิบตั งิ านในโรงเรียนขนาดใหญพ่ ิเศษ มีความคิดเห็นสูงกวา่ อาจเป็นเพราะ โรงเรยี นที่มีขนาดใหญ่พิเศษมี ศักยภาพมากกว่าในทุกด้าน ไม่ว่าครูและบุคลากรทางการศึกษา การเงินและสินทรัพย์ การจัดการศึกษา เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร ความพร้อมในด้านการจัดเตรยี มสงิ่ ต่างๆ เพื่อรองรบั นโยบายและแผน ท่หี น่วยงานต้นสังกัด ไดม้ อบหมายมาใหป้ ฏิบัติ โดยเฉพาะเร่ืองวสิ ัยทัศน์ โรงเรียนทมี่ ขี นาดใหญ่พิเศษมีฐานเครือข่ายของจำนวนครู บุคลากร ผ้ปู กครอง ชมุ ชน และหนว่ ยงานต่างๆ ที่สนับสนนุ ระดมความคิด มสี ว่ นรว่ มแนวคดิ และพรอ้ มที่จะรว่ มรับภาระ ต้ังแต่ ขั้นตอน กำหนดวิสัยทัศน์ สื่อสารวิสัยทัศน์ ปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ และการเป็นแบบอย่างที่ดี ซึ่งมีผลทำให้ครตู ระหนัก 210
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ยอมรับและเข้าใจ เห็นความสำคัญ ประโยชน์ที่จำเป็นต้องมีวิสัยทัศน์ เพื่อจะสามารถนำพาโรงเรียนบรรลุวสิ ัยทัศน์ท่ี ร่วมกนั กำหนดไวใ้ หจ้ นได้ จึงสง่ ผลใหค้ รทู ปี่ ฏบิ ัตงิ านในโรงเรียนขนาดใหญ่พเิ ศษมคี วามคดิ เห็นมากกว่า 2.2 ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ สง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน โดยภาพรวมและรายดา้ น จำแนกตามประสบการณใ์ นการทำงาน พบว่า ครูท่ีมปี ระสบการณ์ใน การทำงานต่างกนั มีความคิดเหน็ ตอ่ ระดบั ภาวะผูน้ ำเชิงวิสยั ทัศนข์ องผู้บรหิ ารสถานศึกษา ท้งั โดยภาพรวม และดา้ นท่ี 4 การเป็นแบบอยา่ งที่ดี แตกต่างกันอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05 สว่ นดา้ นที่ 2 การส่อื สารวสิ ัยทัศน์ และด้านท่ี 3 การปฏิบัติตามวิสัยทศั น์ แตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ิท่ีระดบั .01 ยกเว้นดา้ นที่ 1 การกำหนดวสิ ัยทัศน์ ที่ไม่ แตกต่างกันจากการแยกทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียเปน็ รายคู่ (Multiple comparision) โดยใช้วิธีการของเชฟเฟ (Scheffe´) เป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่ 2 การสื่อสารวิสัยทัศน์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดย พบว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน มากกว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการ ทำงานตำ่ กว่า 5 ปี อาจเปน็ เพราะ การสอ่ื สารวิสัยทัศนน์ ัน้ จะตอ้ งใชท้ กั ษะทั้งผู้สอ่ื สารวิสัยทัศน์และผูร้ ับรูว้ ิสัยทัศน์ ซ่ึงผู้ สื่อสารวิสัยทัศน์จะตอ้ งอธบิ าย โน้มนาว ถ่ายทอดการรับรูว้ ิสัยทัศน์ด้วยวิธกี ารที่เข้าใจง่ายในหลากหลายแนวทาง และ นำไปสู่การปฏบิ ัติ สำหรับครูท่ีปฏบิ ัติงานมานานจะเข้าใจและยอมรับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน สามารถมองเห็นถงึ คุณค่า ของวิสัยทัศน์ ประโยชนข์ องวสิ ยั ทัศน์ไดล้ ึกซ้งึ กว่า นอกจากนี้ครูท่มี ีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 5 ปี มีความผูกพัน กับโรงเรียน ผูกพันกับวชิ าชพี และผูกพันกบั เพื่อนร่วมงานสูงกวา่ ทำให้มีความคาดหวังให้โรงเรียนประสบความสำเรจ็ ตามวิสัยทัศน์ จึงสง่ ผลให้ครทู ่ีมปี ระสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มีความคิดเห็นต่อภาวะ ผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน มากกว่า ครูที่มี ประสบการณใ์ นการทำงานต่ำกว่า 5 ปี ดา้ นที่ 3 การปฏบิ ัติตามวิสยั ทัศน์ แตกต่างกันอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยพบว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิง วิสัยทศั น์ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน มากกว่า ครูท่ีมปี ระสบการณ์ ในการทำงานตำ่ กวา่ 5 ปี อาจเป็นเพราะ ครทู ่ีเขา้ มาปฏิบัติงานไมน่ านนัก ยงั มองไม่เหน็ การระดมความคดิ การส่งเสริม สนับสนุน การร่วมมือรว่ มใจกัน ความเต็มใจที่จะปฏิบัตงิ านภายใตว้ สิ ยั ทศั น์ เพื่อใหบ้ รรลวุ สิ ัยทัศนท์ ี่กำหนดซ่งึ ทั้งหมดน้ี เป็นกลไกสำคัญ ในการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ให้มีประสิทธิภาพยง่ิ ข้นึ ดงั นัน้ ครทู ี่เขา้ มาปฏิบัติงานนานกว่าจะซึมซับรับรู้ บรรยากาศต่างๆ เหล่านี้ผ่านความรู้สกึ ชงิ บวกได้มากกว่า จงึ ส่งผลให้ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน มากกวา่ ครทู ่ีมีประสบการณใ์ นการทำงานต่ำกวา่ 5 ปี ดา้ นที่ 4 การเปน็ แบบอยา่ งที่ดี แตกตา่ ง กันอย่างมีนยั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 โดยพบว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มี ความคดิ เหน็ ตอ่ ภาวะผ้นู ำเชงิ วิสัยทศั น์ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน มากกว่า ครูที่มีประสบการณใ์ นการทำงานตำ่ กว่า 5 ปี อาจเป็นเพราะ ครูที่เข้ามาปฏิบตั ิงานมานานจะเหน็ และสัมผัส กับการสร้างความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ ความเพียรพยายาม มุ่งมั่นต้ังใจ ความซื่อสัตย์จรงิ ใจ เสียสละ อุทิศตน ทุ่มเท การดูแลเอาใจใส่ ให้กำลังใจผู้ร่วมงาน มุ่งทำประโยชน์เพือ่ สว่ นรวม ดำเนินชีวิตอย่างมัธยัสถ์ มีคุณธรรม จริยธรรมของ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาไดม้ ากกวา่ ซ่งึ พฤติกรรมดงั กลา่ วจะสะท้อนถึงการเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ดงั น้ัน 211
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี จึงส่งผลให้ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิง วสิ ยั ทัศน์ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน มากกว่า ครทู ี่มีประสบการณ์ ในการทำงานต่ำกวา่ 5 ปี ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัยดังกล่าวผู้วิจัยได้ใหข้ ้อเสนอแนะ 2 ประการ คือ ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั การนำผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ และขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกับประเดน็ ปญั หาที่ควรศกึ ษาวิจยั ต่อไปในอนาคต ดงั นี้ 1. ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการนำผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ 1.1 ควรมีการปรับปรุงการกำหนดวสิ ัยทศั น์ของโรงเรียน จากทกุ ภาคส่วนทม่ี ีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง เน่ืองจากผลการวิจัย พบว่า ระดับภาวะผูน้ ำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมากท่สี ุด แต่เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายด้านจะเหน็ ว่า การกำหนดวิสัยทัศนม์ คี ่าเฉล่ยี ตำ่ กว่าทกุ ด้าน 1.2 ควรกำหนดวิสัยทัศน์ของโรงเรียนที่มีความเป็นไปได้จริงในอนาคต เนื่องจากผลการวิจัยพบว่า ระดับ ภาวะผู้นำเชิงวสิ ัยทัศนข์ องผบู้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ด้านการกำหนด วสิ ัยทศั นโ์ ดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก แตเ่ มื่อพจิ ารณาเปน็ รายข้อ จะเหน็ วา่ วสิ ัยทศั น์ของโรงเรยี นมีความเป็นไปได้ที่จะ เปน็ จรงิ ในอนาคต มีค่าเฉล่ียต่ำกว่าทกุ ขอ้ 1.3 ควรปรบั ปรงุ การส่ือสารวสิ ัยทัศนข์ องโรงเรยี นอย่างต่อเนื่อง เน่ืองจากผลการวิจัยพบวา่ ระดบั ภาวะผู้นำ เชิงวสิ ัยทศั นข์ องผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน ด้านการสื่อสารวิสัยทัศน์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อจะเห็นว่า ผู้บริหารสถานศึกษาสื่อสารวิสัยทัศน์ของ โรงเรยี นอย่างต่อเนือ่ ง มีค่าเฉลย่ี ต่ำกวา่ ทกุ ข้อ 1.4 ควรกระตุ้นให้ร่วมมือร่วมใจกันปฏิบัติงานภายใต้วิสัยทัศน์ของโรงเรียนให้มากกว่าเดิม เนื่องจาก ผลการวจิ ัยพบว่า ระดับภาวะผ้นู ำเชิงวิสยั ทศั น์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษา เอกชน ด้านการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากที่สุด แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อจะเห็นว่า ผู้บริหาร สถานศกึ ษากระตนุ้ ใหร้ ่วมมือร่วมใจกนั ในการปฏิบตั ิงานภายใตว้ สิ ัยทศั นข์ องโรงเรยี น มคี ่าเฉล่ียตำ่ กวา่ ทุกข้อ 1.5 ควรจูงใจ สร้างศรัทธาในการปฏิบัติงานให้มากยิ่งขึ้น เนื่องจากผลการวิจัยพบว่า ระดับภาวะผู้นำเชิง วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ด้านการเป็นแบบอย่างที่ดี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อจะเห็นว่า ผู้บริหารสถานศึกษาจูงใจ สร้างศรัทธาในการ ปฏบิ ตั งิ าน มคี ่าเฉลย่ี ต่ำกวา่ ทกุ ขอ้ 2. ข้อเสนอแนะเกีย่ วกบั ประเด็นปญั หาท่ีควรศึกษาวจิ ยั ต่อไปในอนาคต 2.1 ควรศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศกึ ษาเอกชน โดยใช้การวิจยั เชิงคุณภาพหรือการวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร จะทำให้ไดข้ ้อคน้ พบที่ละเอียด และผลจากการ วิจัยสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นการพฒั นาได้ 2. 2ควรศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน กบั ตวั แปรทางการบริหารการศึกษาอน่ื ๆ 212
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2.3 ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน เอกสารอ้างองิ กรวฒั น์ อัตช.ู (2559). ภาวะผนู้ ำเชิงวิสยั ทศั น์ของผอู้ ำนวยการโรงเรียนเอกชนในเครอื มลู นธิ ไิ ทไชโย. วทิ ยานพิ นธป์ ริญญา ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ . สาขาการบรหิ ารการศึกษา. มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตศรีล้านชา้ ง. กฤติยาภรณ์ นาชัย. (2560). ความสัมพันธภ์ าวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียน กลุ่มพนัสนิคม 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต. สาขาการบรหิ ารการศึกษา. มหาวทิ ยาลยั บูรพา. ทัศนยี า ช่นื เจรญิ . (2561). ภาวะผู้นำเชิงวสิ ัยทศั น์ของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาท่สี ่งผลต่อการเป็นชุมชน แห่งการเรียนรู้ของ โรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา มัธยมศึกษา เขต 8. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑติ . สาขาการบริหารการศึกษา. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม. นิกัญชลา ล้นเหลือ. (2554). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานพิ นธป์ ริญญาปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑิต. สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พิมพ์อร สดเอี่ยม. (2557). สถติ ิสำหรับการวจิ ัยทางการศึกษา. เอกสารประกอบการสอน. ภาควิชาการ บริหารการศกึ ษา, มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรลี ้านชา้ ง. ไพฑูรย์ สินลารตั น.์ (2552). ผ้นู ำเชิงสร้างสรรคแ์ ละผลติ ภาพ : กระบวนทัศน์ใหม่และผนู้ ำใหม่ทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ภัทราพร เกษสงั ข์. (2549). การวิจัยการศกึ ษา. เลย: ภาควชิ าวจิ ยั และประเมนิ ผลการศึกษา คณะคุรุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั เลย. สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2557). ภาวะผู้นำเชงิ วสิ ยั ทัศน์ แนวคดิ ทฤษฎี และกรณีศกึ ษา (พมิ พ์ครั้งที่ 2 ). อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวดั มหาสารคาม : ห้างหนุ้ สว่ นจำกัด อภชิ าตการพมิ พ์. สำนักงานเลขาธิการคุรสุ ภา. (2546). พระราชบญั ญัติสภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว. อภิชาต ทองอยู่. (2563). กระแสโลกาภิวัตน์ พลวัตที่เร่งให้ ‘การจัดการศึกษา’ ต้องรีบเปลี่ยนแปลง. บทความที่เขียน สำหรบั เผยแพรใ่ นเวบ็ ไซต์. เข้าถึงไดจ้ าก https://www.salika.com. อรกาญจน์ เฉียงกลาง. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษากับสมรรถนะการ ปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบรุ ีรมั ย์. Manasse, A.L. (1986). Visions and Leadership: Paying Attention to Intention. Peabody Journal of Education, 69(1), 150-173. Manning & Robertson. (2002). The Dynamic Leader-leadership Development Beyond the Visionary Leader. Industrial and Commercial Training, 34(1), 137-143. 213
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ความสัมพันธร์ ะหว่างสมรรถนะการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารของผู้บรหิ าร สถานศกึ ษากับประสิทธิผลของการบริหารโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาขนาดใหญพ่ เิ ศษใน สหวทิ ยาเขตนครหาดใหญ่สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู The Relationship between the Performance of Using Information and communication technology of Institution Administrators the Effectiveness of Extra large Secondary Schools in Hat Yai City Campus under the Songkhla Secondary Education Service Area Office, Satun นางสาววลิ าวัณย์ ไชยเสนะ ดร.ศัจนนั ท์ แก้ววงศ์ศรี อาจารย์ทป่ี รึกษาหลกั ดร.อริสรา บุญรตั น์ อาจารย์ท่ีปรกึ ษาร่วม คณะศกึ ษาศาสตร์และศิลปะศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ [email protected] บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพือ่ ศึกษา 1) สมรรถนะการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารของผ้บู ริหาร 2) ประสิทธิผลของการบริหารโรงเรียน 3) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของผู้บริหารกับประสทิ ธิผลการบรหิ ารโรงเรยี น 4) เพอ่ื หาแนวทางในการพฒั นา กลุ่มตวั อยางทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ได้แก่ ครู โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ ปีการศึกษา 2564 จำนวน 214 คน สถิติที่ใช้ในการ วเิ คราะหข์ ้อมลู คอื คา่ รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาคา่ สัมประสทิ ธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สนั ผลการวิจัยดังนี้ 1สมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษามัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ พบว่าโดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.55,S.D = 0.42) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้าน ความสามารถใช้ และการปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2ประสิทธิผลการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ พบว่าโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก (X = 4.51,S.D = 0.44) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยสงู สุด คือด้านบริหารงานวิชาการ รองลงมาคอื ด้านบรหิ ารงานทัว่ ไป และ ด้าน บรหิ ารงานบุคคล ตามลำดับ 3ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษากับ ประสทิ ธผิ ลการบรหิ ารโรงเรียนมธั ยมศึกษาขนาดใหญ่พเิ ศษ โดยภาพรวมมีความสมั พนั ธท์ างบวก อย่ใู นระดบั สงู อยา่ งมี นยั สำคัญทางสถติ ทิ ่ีระดับ .01 (rxy= .827**) 214
การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 4แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษา มัธยมศึกษาขนาดใหญพ่ เิ ศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ควรกําหนดหลักสูตรการอบรมสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ก่อนบรรจุแต่งตั้งเป็นผู้บริหาร สถานศกึ ษา คำสำคัญ : ผู้บริหารสถานศึกษา ,สมรรถนะการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ , ประสทิ ธิผลการบริหารโรงเรยี น Abstract The objectives of this research were to study 1) the effectiveness of information and communication technology utilization of administrators extra- large secondary schools in Hat Yai University, 2) the effectiveness of administration large- scale secondary schools 3) The relationship between the competency of using information and communication technology of administrators and the effectiveness the administration to extra-large secondary schools; 4) find guidelines for improving the competence use of information and communication technology of administrators extra-large secondary schools. The results showed that 1 Competence in using information and communication technology of administrators of extra- large secondary schools found that overall and each aspect at the highest level (X = 4.55,S.D = 0.42) and the aspect with the highest mean was the ability to use and work properly 2 the effectiveness of the administration extra large secondary schools found that overall In the high level (X = 4.51,S.D = 0.44) the side with the highest mean is academic administration followed by general administration and personnel management, respectively; 3 the relationship between the performance of using information and communication technology of educational institution administrators and the effectiveness of the administration extra large secondary schools. Overall, there was a positive correlation. high level statistically significant at the .01 level (rxy= .827**) 4 Guidelines for the development of competence in use of information and communication technology of administrators extra- large secondary education institutions in Hat Yai University communicate before being appointed as an administrator of an educational institution. Keywords : Institution administrators , Competence in using information technology , school administration effectiveness. 215
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี บทนำ สงั คมปัจจบุ ันอยู่ในยุคโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทต่อชวี ิตมนษุ ยม์ าก ความเจริญก้าวหน้าของ เทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเข้ามามีบทบาทในการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั ทำใหก้ ารดำเนนิ ชวี ิตของมนุษย์ เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้ชีวิตก้าวทันกบั พัฒนาการทางเทคโนโลยี จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาตนเองให้ทนั ตอ่ การ เปลี่ยนแปลงที่เป็นไปอย่างรวดเร็วความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อ การศึกษาของไทยทำใหส้ ามารถจดั การเรียนการสอนได้อย่างทั่วถึง ในปัจจุบันด้วยความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยรี วมท้งั การสื่อสารโทรคมนาคมที่ผ่านช่องทางต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอินเทอร์เน็ต ดาวเทียม หรือโทรทัศน์ ทำให้การเรียนการสอน ตามแบบดั้งเดิมท่ีมีผเู้ รียนและผู้สอนร่วมทำกิจกรรมการเรียนการสอนภายในหอ้ งเรียนได้ถกู เปลีย่ นไป ผู้เรียนกับผู้สอน ไม่จำเปน็ จะต้องอยู่ในที่ที่เดยี วกนั จะอยทู่ ไ่ี หนกไ็ ดแ้ ตก่ ็คงยงั ติดต่อสัมพนั ธ์กนั ได้ หรือแมแ้ ตผ่ เู้ รียนจะเรียนในเวลาใดก็ ได้ จะทบทวนบทเรียนให้เกิดความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นและสามารถทำได้หลายครั้ง ทำให้สามารถจัดการศึกษาได้ อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้นทุกคนมีโอกาสและทางเลือกในการศึกษามากยิ่งขึ้นไม่ว่าจะเป็นการศึกษาทางไกล (Distance Education) และการเรยี นรผู้ า่ นสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 และฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553 (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ,2553,น. 37-38) ในหมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ตามมาตรา 63,64,65,66 และ 67 ล้วนเป็นมาตราเก่ียวกับการศึกษา และพัฒนาบุคลากรเพื่อการศึกษาได้กลา่ วไว้ว่า “รัฐบาลต้อง ส่งเสรมิ สนับสนุนการผลิตและพฒั นาเพื่อการศกึ ษาในเร่ือง ขีดความสามารถ การสร้างแรงจงู ใจ การพฒั นาบคุ ลากร การ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การวิจัยเรื่องการผลิตและการพัฒนา การติดตาม การตรวจสอบ และการประเมินการใช้ การจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การจัดตั้งหน่วยงานกลาง พิจารณาเสนอนโยบาย ส่งเสริมและประสานการวิจัย การประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใช้ งาน” ซี่งสอดคล้องกับนโยบายเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาเพื่ออนาคตประเทศไทย มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน (สำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา, 2559, น.29-36) กล่าวถึง การปฏิรูปการศึกษาในสองประเด็น คือ 1) ลดความเหลื่อมล้ำ ทางการศึกษาและยกระดบั มาตรฐานการศกึ ษา 2) ปญั หาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การส่ือสารยังขาด ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การของโรงเรียนในการใช้อปุ กรณ์ ไอที ฮาร์ดแวรซ์ อฟต์แวร์ หรอื อินเทอร์เน็ตเปน็ ดจิ ทิ ลั เพื่อ การเรียนการสอนไม่คุ้มค่ากับการลงทนุ ส่วนใหญม่ กั พบเหน็ วา่ พบอปุ กรณ์เสยี กเ็ ลิกใช้ปีตอ่ ไปกข็ อใหม่ใหด้ ขี ึ้น เร็วขน้ึ แต่ อุปกรณ์บางอย่างก้าวหน้ารวดเร็ว ครูและบุคลากรของโรงเรียนก้าวตามไม่ทัน เมื่อขอของใหม่ก็มีปัญหาเกี่ยวกับการ นำมาใช้เพ่ือการเรียนรขู้ องนกั เรียนเป็นการลงทุนท่ีใหป้ ระโยชนไ์ ม่คุ้มคา่ กับนกั เรียน สิง่ ทคี่ วรดำเนินการคือ ใช้อุปกรณ์ ไอทีอย่างคุ้มค่า ซ่อมแซม รักษาอุปกรณ์และนำไปใช้ประโยชน์เป็นดิจิทัลเพ่ือการเรียนรู้ให้ได้ในระยะยาว พัฒนาให้ เหมาะกับสถานการณ์ งบประมาณและการเรียนรู้ของนักเรียนในระดับต่างๆ ยกเลิกวัฒนธรรมการปฏิบัติที่แก้ปัญหา โดยการซือ้ ของใหม่ ลดค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยโรงเรียนควรเตรยี มบุคลากรที่มีความรู้ ทั้งเทคนคิ ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์และ ระบบเครือข่ายใหม้ ีหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบและควบคุมระบบไอที รวมถงึ ต้องใหค้ วามสำคัญกับการพิจารณาเนื้อหาของดิจิทัล เพื่อการเรียนการสอน ควบคู่ไปกับการพัฒนาครูให้มคี วามสามารถนำระบบไอทไี ปใชเ้ ป็นส่ือดิจิทลั สนับสนุนการศึกษา และการเรยี นรไู้ ด้อย่างเต็มประสทิ ธิภาพ มรี ูปแบบการจดั การศึกษาเพอื่ ยกระดับคุณภาพผ้เู รียนของโรงเรยี นหลายแห่งท่ี 216
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้ นำดิจิทัลเพ่อื การเรียนการสอนมาใช้เชน่ การจัดทำ Smart Classroom การบูรณาการกบั การศึกษาทางไกล ระบบ การสอนจาก ดีวีดีระบบ e-learning เป็นต้น เป็นรูปแบบที่ทกุ คนสามารถเรียนรู้ ได้ด้วยตวั เอง มีระบบวดั ผลผ่าน และ ไม่ผ่าน อยา่ งน้อยทุกคนก็มีโอกาสได้ศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตวั เอง รูปแบบการจดั การศกึ ษาลกั ษณะนีจ้ ะช่วยโรงเรียน ทอี่ ยูห่ า่ งไกลมคี รูจำนวนนอ้ ย อย่างไรกด็ ี สง่ิ สำคัญลำดับแรกสำหรบั การจัดการศกึ ษารูปแบบนคี้ อื การพจิ ารณาเน้ือหา สาระการเรียนรู้ สื่อการเรยี น การสอนให้เหมาะกับนักเรยี น อาจประยุกต์เน้ือหาหรือสอื่ การสอนทม่ี ีอยู่แล้วในโครงการ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมตามแนวพระราชดำริด้านการศึกษาของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชบรมนาถบพติ ร นำมาประยุกต์ใชแ้ ละปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะตามบรบิ ท สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาคุรุสภาได้กำหนดมาตรฐานวิชาชีพของ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาไว้ ให้แก่ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญในการประกอบ วิชาชีพ ที่ต้องประพฤติปฏิบัติ เพื่อให้เกิดผลดีต่อผู้รับบริการ โดยเฉพาะสมรรถนะของผู้บริหารในด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของ ผู้บริหารว่าด้วยการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ และยังกำหนดสมรรถนะไว้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีความสามารถใช้ และบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาและการปฏิบัติงาน ได้อย่างเหมาะสม มีความสามารถประเมินการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำมาปรับปรุงการบริหารจัดการ และมีความสามารถส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพือ่ การศึกษา (สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา, 2548) จากการสนบั สนุนและส่งเสรมิ การบริหารเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาท้ังด้านโครงสร้างด้านระบบบริหารจัดการและการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติให้พรอ้ มที่จะก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 ดังนั้นสถานศกึ ษาจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนการบริหารสถานศึกษาด้านการบรหิ ารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สารเพื่อให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลง โดยสถานศกึ ษาจำเปน็ ต้องนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ใน สถานศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไปพัฒนาคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาต้องมี การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้มีคุณภาพสงู สุด เพอื่ พฒั นาบุคลากรให้มีทักษะด้านความสามารถใน การควบคุมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้สนองต่อนโยบายและความต้องการของผู้บริหารระดับสูง ขึ้นไป เป็นสิ่งที่ผู้บริหารสถานศึกษาต้องเรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อให้ทันต่อพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้บริหารยังเป็นปัจจัยหนึ่งท่สี ง่ ผลตอ่ ความสำเรจ็ ขององค์กร ผู้บรหิ ารมหี น้าทบี่ ริหารจดั การองค์กร เปน็ ผู้นำองคก์ รทดี่ ี มี ความรู้ ความสามารถ และทัศนคติ หรือสมรรถนะทีจ่ ะนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ โดยคณะกรรมการคุรุสภาได้กำหนด สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาในหมวดที่ 2 ข้อที่ 19 การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วย 1) สามารถใช้และบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การศกึ ษาและการปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างเหมาะสม 2) สามารถประเมินการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื นำมาปรับปรงุ การบริหารจัดการ3 ) สามารถสง่ เสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการศึกษา (ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา,2549,304) จากรายงานสำรวจการใช้ ICT ใน สถานศกึ ษา (สำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ พ.ศ. 2551) พบวา่ โรงเรยี นทจี่ ดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานมกี ารใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือ การจัดการ (Management Information System : MIS) เพื่อการบริหารจัดการเพียงร้อยละ 24.1 สัดส่วนผู้ที่ไม่ผ่าน การอบรมต่อผู้ทผ่ี า่ นการอบรม ICT เปน็ จำนวน 5:5:1 คน (สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารและสำนักบริหารวิชาการ 217
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี มหาวิทยาลัยศิลปากร,2554,24) รวมถึงศูนย์สารสนเทศเพื่อการศึกษาแห่งชาติ (National Education Information System : NEIS), ได้จัดทำรายงานการวิจยั เพื่อจัดทำศูนย์สารสนเทศด้านการศึกษาแหง่ ชาติ (NEIS) พบปัญหาหลักของ การบริหารจัดการสารสนเทศด้านการศึกษาเพ่ือการบูรณาการ จากการศึกษารูปแบบและวิธีการจัดเก็บรวบรวมข้อมลู สารสนเทศคา้ นการศกึ ษาทีม่ ีอยใู่ นปัจจบุ ันคลอดจนการสรปุ ผลเพื่อเผขแพร่ ขอ้ มูลและนำไปใช้ประโยชนต์ อ่ ไปนั้นพบว่า มีปัญหาและอุปสรรคอยู่หลายประการดังตอ่ ไปนี้ คือ การรวบรวมข้อมูลด้านการศึกษาจากสถานศึกษามีความซ้ำช้อน การจัดเกบ็ ข้อมูลสถิติรวมทไ่ี ม่สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ ขอ้ มูลบางสว่ นขาดความน่าเช่ือถือ เพราะเป็นเพียงข้อมูล จากแบบสอบถาม ขาดกระบวนการตรวจสอบยืนยันความถูกต้องที่เป็นระบบ ขาดการเชื่อมโยงข้อมูล ข้ามหน่วยงาน อย่างเปน็ รูปธรรมและเปน็ ระบบ ขาดการติดตามความต่อเนือ่ งของข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นรายปีเพื่อสร้างเปน็ ประวตั ิ ขาดการนำข้อมูลที่รวบรวมและจัดเกบ็ ไว้มาใช้ประโยชน์อย่างจริงจังและเป็นรปู ธรรม และขาดแคลนบุคลากรที่จะทำ หน้าที่ในการรวบรวม ตรวจสอบความถูกต้อง ประมวลผลและนำข้อมูลมาทำให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณชนอย่างเปน็ รูปธรรม (สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ .ี 2554. 189) การปฏริ ูปการศึกษามจี ุดมุ่งหมายท่ีจะจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคนไทยให้เปน็ คนดีมคี วามสามารถและมีความสุข การดำเนนิ การใหบ้ รรลุเปา้ หมาย และมีประสิทธภิ าพจำเปน็ ที่จะต้องมกี ารกระจายอำนาจ โดยใหท้ ุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ซึ่งสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และเป็นไปตามหลักการของ พระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และท่ีแก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553 ให้กระทรวงศึกษาธกิ ารกระจายอำนาจการบรหิ าร และการการจัดการศกึ ษา ทงั้ ดา้ นการบริหารวชิ าการ ดา้ น การบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารบุคคล และ ด้านการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง ขอบข่ายภารกิจการบริหารและการจัดการสถานศึกษา (สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ , 2553) และในมาตรา 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ความรู้ความสามารถและทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลครบท้งั 4 งาน สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT Competency) เป็นสิ่งที่มนุษย์ในยุคนี้ต้องมี เพราะเป็นทักษะ เบื้องต้นในการดำรงชีวติ โดยไม่จำเป็นตอ้ งรู้ลกึ ว่าอุปกรณ์ ICT ทำงานอย่างไร มีสถาปัตยกรรมแบบไหน แต่ให้รู้และมี ทักษะการใช้เพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในสิ่งแวดล้อมในปัจจุบนั ได้ (ยืน ภู่วรวรรณ, 2555) โดยหน้าที่การบรหิ ารโรงเรียน ของผู้บริหารจะต้องพัฒนางาน 4 ด้าน คือ การบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการ บริหารทั่วไป (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, 2553) ผู้บริหารในฐานะผู้นำองค์การย่อมเป็นผู้ที่สำคัญ ท่ีสดุ ในการขบั เคลอื่ นนโยบายตา่ งๆเพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงคต์ ามเปา้ หมายที่ทุกฝ่ายต้องการ ให้เกิดขึ้น (อาภรณ์ สุขสวัสด์ิ,2553) นอกจากน้ี ผู้บริหารควรมีหลักการและแนวคดิ ทางการบริหารการศึกษา ตลอดจน การใชก้ ระบวนการบริหารการศึกษาที่เหมาะสมเพื่อใหก้ ารจัดการบริหารสถานศกึ ษามีประสทิ ธภิ าพ ดังนั้น สมรรถนะจึง เป็นสว่ นหน่งึ ของพฤตกิ รรมการบรหิ ารทม่ี ีความสำคญั ยงิ่ ในการบรหิ ารเพราะเปน็ เครื่องชี้วดั คุณภาพของการบริหารได้ว่า ผู้บริหารมีความสามารถหรือมีสมรรถนะในการบริหารมากน้อยเพียงใด การบริหารงานของสถานศึกษาจะเกิด ประสิทธิผลหรือไม่ย่อมขึ้นอยู่กับสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นสำคัญ เช่น สมรรถนะด้าน 218
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ความสามารถในการใช้และบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศกึ ษา และการปฏบิ ตั งิ าน ได้อยา่ งเหมาะสม ผู้บริหาร ตอ้ งมคี วามรู้เก่ียวกบั การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เช่น โทรศัพท์ (Smartphone) ,แท็บเล็ต (Tablet) มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รับ – ส่ง จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-mail) มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ทาง อินเทอร์เน็ต มีทักษะในการสนทนาผ่านสังคมออนไลน์ (Social Network) เช่น Facebook Line มีทักษะในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการนำเสนอข้อมลู มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพอ่ื การ จัดรวบรวมส่ือ นวตั กรรมการเรียนการสอนดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบ มีศนู ย์สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสื่อสาร หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการค้นหาข้อมูล มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประชาสัมพันธโ์ รงเรียน (Internet) มีความรูเ้ กี่ยวกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ มี การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในดา้ นการบรหิ ารงานวชิ าการ ดา้ นการบริหารงานบคุ คล ดา้ นการบริหารงาน งบประมาณ และด้านการบรหิ ารงานทั่วไป อย่างเป็นระบบ และ มีการใช้ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารใน การพฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในดา้ นต่างๆ สมรรถนะดา้ นสามารถประเมนิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือ นำมาปรบั ปรงุ การบริหารจัดการผ้บู ริหารตอ้ งมีความรู้และทักษะในการตรวจสอบขอ้ มลู ด้านการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้อยู่เสมอ มีความรู้ด้านการใช้สถิติในการ ประมวลผลข้อมูล มคี วามรคู้ วามสามารถในการวิเคราะห์ขอ้ มูล มกี ารนิเทศติดตามการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร มีการประเมนิ ผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มกี ารนำผลการประเมินมาพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร มีการควบคมุ กำกับตดิ ตาม ดแู ลการใชง้ บประมาณ เก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สามารถประเมนิ ความค้มุ คา่ ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สมรรถนะ ด้านสามารถส่งเสริมสนบั สนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ผู้บริหารต้อง ส่งเสริมและพัฒนาให้มีระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพือ่ การศกึ ษาภายในโรงเรียน จัดหาเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ พื่อใช้ในการเรียนการสอน ให้เพยี งพอต่อความตอ้ งการ จดั หาวัสดุอุปกรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ใหม้ คี ุณภาพ และทันสมัย ส่งเสริม การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างหลากหลาย จัดให้มีแหล่งเรียนรู้ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อใช้ในการค้นควา้ หาความรู้ ส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการอบรมเพื่อใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการจัดการเรยี นการสอน ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาสามารถนำความรูใ้ น การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สารมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ ดว้ ยเหตุนีเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สารจึงเป็นส่ิงจำเปน็ และสำคญั ตอ่ สถานศกึ ษาเปน็ อย่างมากหากถ้าผบู้ ริหารมวี ิธีการบรหิ ารจัดการการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศที่ดีก็นำพาสถานศึกษาประสบความสำเร็จได้ไม่ยาก การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา การศึกษาในทุกด้าน กระทรวงศึกษาธิการ(25 50)จึงมีนโยบายให้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร สถานศึกษาเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศให้การปฏิรูปการศึกษาประสบผลสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ โรงเรียนควรมีแนวทางในการ ดำเนนิ การเพ่อื ให้ได้มาซึ่งสารสนเทศในการตดั สนิ ใจแก้ปญั หา มีขอ้ มูลสารสนเทศสนบั สนนุ การบรหิ ารงานทั้ง 4 ด้าน คือ ดา้ นบริหารงานวิชาการ ดา้ นบรหิ ารงบประมาณ ด้านบริหารงานบุคคล และดา้ นบริหารงานทวั่ ไป ในการจัดหาอุปกรณ์ 219
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้จำเปน็ อยา่ งยิ่งท่ีจะต้องมีผู้ทม่ี ีความรู้ความสามารถในการใช้อุปกรณ์หล่าวนั้นได้เปน็ อย่างดี ( เด่นชัย โพธิ์สว่าง 2550) กล่าวไว้ว่า ปัญหาการประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีมีสองประการคือ ข้อจำกัดต่างๆของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อจำกัดของผู้ใช้ การพัฒนาองค์กรเริ่มให้ความสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในหนว่ ยงานให้ทนั สมัยและเอือ้ ประโยชนต์ ่อการบรหิ ารจัดการให้มากที่สุดจงึ ทำให้เกิดปัญหาการ ขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์รวมถึงครุภัณฑ์ต่างๆที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบางครั้งเกิดปัญหาครุภัณฑ์ต่างๆไม่มี คุณภาพเกดิ ความชำรุดเสียหายและงบประมาณในการบรหิ ารด้านนไ้ี มเ่ พยี งพออีกด้วย ผู้บริหารโรงเรียนในยุคแห่งการปฏิรูปการเรียนรู้ จึงต้องทำการศึกษา ทำความเข้าใจและปฏิบัติหน้าที่ให้ สอดคลอ้ งกับนโยบายของรัฐบาล แต่จากงานวิจัยเร่อื งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานโรงเรียนของผู้บริหาร โรงเรยี นในเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาสงขลา เขต 3 จงั หวดั สงขลา (กมลพนั ธ์ แกว้ โชติ,2550) การจัดการเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ี ส่งผลต่อการใช้ อินเทอร์เน็ตในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 (กรณ์สิณี ฐิติกรประภาพงศ์,2559) และบทบาทผู้บริหารกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในสถานศึกษาของผู้บริหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 จังหวัดราชบุรีและ กาญจนบรุ ี (ณฐั กรณ์ หริ ัญชาต,ิ 2558) การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นสะเดา “ขรรคช์ ยั กัมพ ลานนท์อนุสรณ์” อำเภอสะเดา จังหวดั สงขลาได้ศกึ ษา(สุมาดี ทองคำ,2556) จะเห็นได้ว่า ผลการปฏิบตั ิงานของผู้บริหาร โรงเรยี นที่ผา่ นมามกี ารใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการบรหิ ารงานโรงเรยี น บางโรงเรียนก็ประสบความสำเร็จ บางโรงเรยี น กำลังอยู่ในช่วงพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ บางโรงเรียนมีปัญหาเกีย่ วกับอุปกรณ์ ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือยังไม่สามารถใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศได้เต็ม ศักยภาพ ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่าง สมรรถนะการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารโรงเรียนกบั ประสิทธิผลของโรงเรียนมธั ยมขนาดใหญ่ พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล ในการบริหารงานทั้ง 4 ดา้ น อย่ใู นระดบั ใด โดยเก็บขอ้ มลู จากครูทป่ี ฏิบัตหิ น้าทใี่ นโรงเรยี นมัธยมขนาดใหญพ่ ิเศษในสหวทิ ยาเขตนครหาดใหญ่ เพราะครจู ะทราบถงึ บริบทการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหาร เพื่อจะได้นําผลการศึกษาไปใช้เป็น ข้อมลู หรอื แนวทางในการพัฒนาการบริหารงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เมอ่ื ผบู้ รหิ ารสถานศึกษามี การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานอย่างดี มีการปฏิบัติอย่างจริงจัง จะส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครูและ บคุ ลากร ในสถานศกึ ษาทำให้การศึกษามคี วามเจริญก้าวหนา้ ทันยุคแห่งสังคมการเรยี นรู้ คอยขับเคล่ือน เพ่ือนำขอ้ มูลไป บูรณาการ ประยุกต์ใช้ในการวางแผน ปรับปรุง การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหาร ให้ สอดคลอ้ งกับบรบิ ทพน้ื ท่ี ตลอดถึงการจัดสรรงบประมาณในการจัดหาอุปกรณ์เกยี่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนา บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการเรียนการสอนของจังหวัดสงขลา ทั้งน้ีผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นท่ี จะต้องเปลี่ยนทัศนคติและแนวคดิ การบริหารของตนเองให้ทันต่อสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดข้ึนเพื่อใหค้ ุณภาพ ของการบริหารจดั การศึกษามีความเจรญิ ก้าวหน้าและเปน็ ท่ียอมรับของสังคมต่อไป 220
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วิธีดำเนนิ การวิจัย 1. ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สังกัดสํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ปีการศึกษา 2564 มีจำนวนทั้งหมด 701 คน จากจำนวน 4โรงเรียน (กลุ่มงานสารสนเทศ, 2564 ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถนุ ายน 2564) กลุมตวั อยางท่ีใช้ในการวิจัยครง้ั นี้ ไดแ้ ก่ ครูโรงเรียนมัธยมศกึ ษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวทิ ยาเขตนครหาดใหญ่ สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู ปกี ารศึกษา 2564 ตัวอยา่ ง ผวู้ จิ ยั กำหนดขนาดกลุ่มโดยใช้ ตารางสำเร็จรูปในการคำนวณของ Krejcie & Morgan (สุวิมล ติรกานันท์, 2555, น.179) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 254คน แลว้ ทำการแบ่งชั้นภมู ิตามสัดสว่ นของจำนวนประชากรในแต่ละโรงเรียน ตารางที่ 1 แสดงจำนวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างโรงเรียนมธั ยมศึกษาในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สังกัดสํานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล ท่ี ช่ือโรงเรยี น จำนวนครู ( คน ) 1 โรงเรยี นหาดใหญร่ ัฐประชาสรรค์ ประชากร กลุ่มตวั อย่าง 2 โรงเรยี นหาดใหญว่ ทิ ยาลัย 3 โรงเรียนหาดใหญว่ ิทยาลยั 2 146 53 4 โรงเรยี นหาดใหญ่วิทยาลัยสมบรู ณก์ ุลกันยา 217 79 รวม 157 56 181 66 701 254 2. เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศกึ ษากับประสิทธิผลของการบริหารโรงเรียนมัธยมศกึ ษาขนาด ใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ที่ผู้วิจัยได้สร้างขนึ้ จากการศึกษาวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบบสอบถามแบ่งเป็น 4 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับ สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม เป็นแบบเลือกรายการ (Check List) ได้แก่ เพศ วุฒิการศกึ ษา ประสบการณ์ในการ ทำงาน และขนาดของโรงเรียน ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับสมรรถนะการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตลู (ตามมาตรฐานวิชาชพี ทางการศึกษาของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ,สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (2556) 3 ด้าน ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามความเหน็ ของครูเก่ยี วกับประสิทธิผลของ การบริหารของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาสงขลา สตูล จำแนกออกเป็น 4 ด้าน 37 ข้อ ตอนที่ 4 แบบสนทนากลุ่ม ( Focus Group) เพื่อรวบรวม แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของผบู้ ริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการ บริหารของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 221
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี มัธยมศึกษา สงขลา สตูล ซึ่งเป็นตัวแทนครู 4 คนจาก 4 โรงเรียน และ ตัวแทนผู้บริหารจำนวน 4 คน จาก 4 โรงเรียน ทัง้ หมดจำนวน 8 คนโดยแบ่งออกเปน็ 2 กลุม่ 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การวจิ ยั คร้งั น้ี ผ้วู จิ ยั ดำเนนิ การเก็บขอ้ มลู ตามขัน้ ตอนดังต่อไปน้ี 1.นำหนังสือจากคณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เพื่อขอความร่วมมือไปยัง ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ในการขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม ตัวอยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 2.นำหนังสือจากผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล เพื่อขอความร่วมมือไปยังผู้บริหาร สถานศกึ ษาในโรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษสหวิทยาเขตนครหาดใหญส่ ังกัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูลในการขอความรว่ มมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากกล่มุ ตวั อยา่ งทใี่ ชใ้ นการวิจัย 3.ดำเนนิ การเกบ็ ขอ้ มูล โดยนำแบบสอบถามทผี่ ู้วจิ ัยสร้างข้ึนไปขอความรว่ มมือจากครูผู้สอนในการเกบ็ รวบรวม ขอ้ มลู และจะไปรับแบบสอบถามกลบั ด้วยตนเอง 4.เมือ่ ได้รับแบบสอบถามคืน ผวู้ จิ ยั ดำเนินการตรวจสอบความถกู ต้อง ความสมบรู ณข์ องการตอบแบบสอบถาม เพือ่ นำไปดำเนินการวเิ คราะหท์ างสถิตแิ ละสรุปผลตามขน้ั ตอนของการวิจยั ต่อไป 5. ดำเนนิ การ (Focus Group) โดยแบ่งออกเปน็ 2 กลมุ่ ซึ่งเปน็ ตวั แทนครู 4 คน จาก 4 โรงเรียน และกลุ่มท่ี 2 ซงึ่ เปน็ ตัวแทนของผู้บริหารจำนวน 4 คน จาก 4 โรงเรยี น ทง้ั หมดจำนวน 8 คน โดยใช้รูปแบบการสนทนากล่มุ หลังจาก นน้ั นำขอ้ มูลทไี่ ด้มาวิเคราะหแ์ ละสรุปเป็นแนวทางในการพฒั นาสมรรถนะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารของ ผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล ตอ่ ไป 4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ผู้วจิ ัยนำแบบสอบถามทไี่ ดม้ าวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำเร็จรูปเพ่ือหาคา่ ต่างๆ ดงั นี้ 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของ โรงเรียน วิเคราะห์โดยหาค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ(Percentage) 2. แบบสอบถามความคิดเหน็ ของครูเกี่ยวกับสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารของผู้บริหาร โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาขนาดใหญ่พเิ ศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล โดยการวิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของระดับความคิดเหน็ ของผตู้ อบแบบสอบถาม เปน็ รายดา้ น และโดยรวม และนำเสนอผลการวเิ คราะห์เป็นตารางประกอบการบรรยาย และการ แปลผล 5 ระดบั 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับประสิทธิผลของการบริหารของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ พเิ ศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่สงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู 1) โดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน จำนวน 4 ด้าน ได้แก่ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงาน ทั่วไป โดยการวเิ คราะหห์ าค่าเฉลยี่ (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของระดบั ความคิดเห็น 222
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นรายด้าน และโดยรวมและนำเสนอผลการวิเคราะหเ์ ปน็ ตารางประกอบการบรรยาย และการ แปลผล 5 ระดับ 4. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับประสิทธิผลการ บริหารงานทั้ง 4 ด้านของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สังกดั สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู 1) ใชว้ ิธีการหาคา่ สมั ประสิทธส์ิ หสัมพันธ์ตามแบบของเพียร์ สัน (Pearson) สรปุ ผลการวจิ ัย 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามครูโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สังกัดสํานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการทำงาน 6 - 10 ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 53.30 รองลงมา มีประสบการณ์การทำงาน 2 – 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.70 และมีประสบการณ์ในการ ทำงานน้อยกว่า 2 ปี น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 1.40 ครูโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 27.10 ครูโรงเรียน หาดใหญ่วทิ ยาลยั 2 คิดเปน็ ร้อยละ 26.20 ครูโรงเรียนหาดใหญ่วทิ ยาลัยสมบูรณก์ ุลกันยา คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.70 และครู โรงเรยี นหาดใหญร่ ัฐประชาสรรค์ คิดเป็นรอ้ ยละ 21.00 2. สมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาด ใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล โดยภาพรวมอยูใ่ น ระดับมากที่สุด ( X = 4.55 ,S.D = 0.42) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือด้าน ความสามารถใช้และบรหิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การศึกษาและการปฏบิ ัติงานได้อย่างเหมาะสม รองลงมาคือ ด้าน ความสามารถส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุ ดคือด้าน ความสามารถประเมนิ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำมาปรับปรงุ การบรหิ ารจดั การ 3. ประสิทธิผลของการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวทิ ยาเขตนครหาดใหญ่ สังกัดสำนักงาน เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล โดยภาพรวม อย่ใู นระดบั มาก (X = 4.51 ,S.D = 0.44) และเมอื่ พจิ ารณาเป็นราย ด้าน พบว่าด้านที่มคี ่าเฉลี่ยมากที่สุด คือด้านบริหารงานวชิ าการ รองลงมาคอื ดา้ นบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานบุคคล ตามลำดบั และ ดา้ นท่มี ีค่าเฉลยี่ ตำ่ สุดคอื ดา้ นบรหิ ารงานงบประมาณ 4. ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับประสิทธิผลการบริหารงานของ ผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู โดยภาพรวมมีความสมั พันธ์ทางบวกอยูใ่ นระดบั สูง อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .01 (rxy= .827**) ซงึ่ เปน็ ไปตามสมมติฐาน เมื่อพจิ ารณารายดา้ น พบวา่ สมรรถนะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารของ ผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู ด้านความสามารถใช้ และบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศกึ ษาและการปฏิบัติงาน ได้อย่างเหมาะสม (X1) มีความสัมพันธ์ในระดับค่อนข้างสูงกับประสิทธิผลการบริหารโรงเรียน (rxy1= .763**) ด้าน ความสามารถประเมินการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำมาปรับปรุงการบริหารจัดการ (X2) มีความสัมพันธ์ในระดับ ค่อนข้างสูงกับประสิทธิผลการบริหารโรงเรียน (rxy2= .730**) ด้านความสามารถส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี 223
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สารสนเทศและการสอ่ื สารเพือ่ การศึกษา (X3) มีความสมั พนั ธใ์ นระดับคอ่ นขา้ งสงู กับประสทิ ธผิ ลการบริหารโรงเรียน อย่างมี นยั สำคญั ทางสถิติท่ีระดบั (rxy3= .769**) 5. แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียน มัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล จาก การสนทนากลมุ่ ( Focus Group) พบว่า (1) สมรรถนะดา้ นความสามารถใช้ และบรหิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา และการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ควรกำหนดหลักสูตรอบรม สมรรถนะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขัน้ พืน้ ฐาน ไว้ก่อนบรรจุแตง่ ตง้ั เป็นผู้บริหารสถานศึกษา (2) สมรรถนะ ด้านความสามารถประเมินการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำมาปรบั ปรงุ การบริหารจัดการ สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา มัธยมศึกษาสงขลา สตูล ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษารวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการโรงเรียน (3) สมรรถนะความสามารถส่งเสริม สนับสนุนการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล ควรร่วมมือกบั มหาวิทยาลัยในพนื้ ทแี่ ละภาคเอกชนเพ่ือพฒั นาสื่อการเรียนในรูปแบบสื่อมลั ตมิ ีเดยี แบบออนไลนใ์ ห้ผบู้ ริหารสถานศึกษาได้ พัฒนาทักษะและทดสอบสมรรถนะด้าน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการโรงเรียนด้วย ตนเอง อภปิ รายผล จากการวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารกับประสิทธผิ ลการ บริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่สังกัด สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู ผู้วจิ ยั นำเสนออภปิ รายผลได้ดังนี้ 1. สมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศกึ ษาขนาดใหญ่ พเิ ศษในสหวทิ ยาเขตนครหาดใหญ่สังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทีส่ ุด ทง้ั นี้เปน็ เพราะปัจจบุ ันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารได้เข้ามามีบทบาทกับทกุ หน่วยงาน ผู้บริหารสถานศึกษา จึงไดน้ ำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ อกี ท้ังหน่วยงานต้นสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล มกี ารจดั อบรมและพฒั นาทักษะการใช้เทคโนโลยีและการสอื่ สารของผู้บริหารสถานศึกษา เพอื่ ให้เกดิ สมรรถหลัก คือ มีความรู้ มีทกั ษะ และความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยตู่ ่อเนื่อง ซงึ่ สอดคล้องกับองค์กรสภา ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (2556) ได้กล่าวถึงมาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศในสถานศึกษาไว้ 2 ด้านดังนี้ 1) สาระความรู้ 1.1) เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา 1.2) เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่อื การบริหารจัดการ 1.3) เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการเรียนรู้สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สารมีความจำเป็นสำหรับผู้บริหารทกุ ระดับถ้าผู้บริหารมีความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารสูง กย็ ่งิ สง่ ผลดตี ่อองค์กร( เกณฑม์ าตรฐานผบู้ ริหารการศึกษาของคุรุสภาพ.ศ.2540 ) 2) สมรรถนะ 2.1) สามารถใช้และบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาและการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม 2.2) สามารถประเมินการ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการศึกษาและนำมาปรับปรุงการบริหารจัดการ 2.3) สามารถส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา และสอดคล้องกับงานวิจัยของ อุดมศักดิ์ ฉัตรทอง (2551) ได้ทำการศึกษาเรื่อง สมรรถนะการบริหาร 224
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนในโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาในภาคกลาง พบว่า 1) ความสามารถใช้ และบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาและการปฏิบัติงานได้ อย่างเหมาะสม พบวา่ สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาในด้านน้มี ีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก 2) ความสามารถประเมิน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือนำมาปรับปรุงการบริหารจัดการ พบวา่ สมรรถนะของผ้บู ริหาร สถานศึกษาในด้านนี้มีการ ปฏิบัติอยู่ในระดับมาก 3) ความสามารถส่งเสริมสนับสนุนการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา พบว่า สมรรถนะ ผ้บู ริหารสถานศึกษาในด้านนี้มีการปฏิบัติ อย่ใู นระดับมากและยงั สอดคล้องกับงานวิจัยของ Rodriguez (2007 อ้างถึงใน รัชฎาพร มีอาษา,2555) ได้ทำการศึกษาเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาและพัฒนา พบว่า การนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการจัดการศึกษาเป็น สิง่ แรกท่มี ีอทิ ธิพลตอ่ การพัฒนา เป็นส่ิงทีช่ ่วยยกระดับบุคคลให้ประสบผลสำเร็จ ในการดำเนินชีวิต ประสิทธิภาพของการสื่อสาร จะทำให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มความสามารถของสังคมในการ วางรูปแบบขององค์การทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและการถ่ายทอดวัฒนธรรม นักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตอ้ งการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายสูงมาก เด็กบางคน ไมส่ ามารถเข้าถึงได้เพราะไม่มีโรงเรียนใกล้ บ้าน ค่าอปุ กรณ์การเรียนและค่าบำรุงการศึกษาท่ีแพง แตเ่ ทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่วยขยายโอกาสทางการศึกษาได้ 2. ประสิทธผิ ลของการบริหารโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาขนาดใหญพ่ ิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สังกัดสำนักงาน เขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก เมอ่ื พจิ ารณารายด้านทีม่ ีค่าเฉลยี่ สูงสุด 3 อนั ดับ แรกคือ ด้านบริหารงานวิชาการ รองลงมา ด้านบริหารงานทั่วไป และอันดับสุดท้าย ด้านบริหารงานบุคคล ทั้งนี้อาจ เนื่องมาจากในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทกับทุกหน่วยงาน ผู้บริหารสถานศึกษาได้นำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆโดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านวิชาการ ผูบ้ รหิ ารให้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปรับปรุงและ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีพัฒนากระบวนการเรียนรู้ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน พัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายใน การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ การ ประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับ สถานศึกษาอื่นๆการจัดตารางเรียนของโรงเรียน การจัดแหล่งเรียนรู้ของ นักเรียนในโรงเรียน การ ส่งเสริม สนับสนุนงานวิชาการแก่บุคลากรในสังกัดและหน่วยงานอ่ืน และด้านบริหารงานทั่วไป เป็นเพราะว่าความเจริญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว และเพื่อให้การบริหารโรงเรียนเป็นไปอย่างมี ประประสิทธิภาพทุกด้าน ผู้บริหารสถานศึกษาเห็นถึงความสำคัญของการสนับสนุนงานด้านต่างๆของโรงเรียน จึงนำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดำเนินงานธุรการของโรงเรียน การประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา ประชาสัมพันธ์ข่าวสารของโรงเรียน ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษาของบุคคล ชุมชน และสถาบัน และ ประสานงานกับเขตพื้นที่ อย่างมีประสิทธิภาพ และสุดท้ายด้านการบริหารงานบุคคล เพราะว่า ผู้บริหารโรงเรียนเห็น ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้งานด้านบริหารบุคคลมีประสิทธิภาพในยุคที่มีความเจริญทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศผู้บริหารสถานศึกษาจึงนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนการจัดอัตรากำลัง การจัดเก็บข้อมูลของ บุคลากรในโรงเรียน จัดสรรอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศเพียงพอกับบุคลากรในโรงเรียน พัฒนาปรับปรุง เกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน มีเจ้าหน้าที่เฉพาะทางดูแลงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งเสริมการอบรมและพัฒนา บุคลากรในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง มีการประชุมทำความเข้าใจและแจ้งแนวทางในทางในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ในการทำงานเพื่อเสริมสร้าง ประสิทธิภาพในการของบุคลากรในโรงเรียน ซึ่งสอดคล้องกับทิศทางการจัดการศึกษาด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของ 225
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 (2559) ที่เร่งพัฒนาระบบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ ทดั เทยี มกับนานาชาติ โดยใช้เปน็ เคร่ืองมือในการเรง่ ยกระดับคุณภาพ และการกระจายโอกาสทางการศึกษา ตามแนวคิด การบริหารโรงเรียน เพอื่ รองรับการกระจายอำนาจการบริหารการศึกษาตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2550) ซ่ึงประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ การบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ซึ่ง ประสิทธิผลด้าน บรหิ ารงานวิชาการ คือ ความสามารถในการบรรลุเป้าหมายใน การดำเนินการด้านการพฒั นาหลักสูตร การจดั กระบวนการ เรียนรู้ และกระบวนการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและเกิด ประโยชน์สงู สุดแก่ผู้เรยี นรวมทัง้ ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิน่ ประสิทธิผลด้านบริหารงาน งบประมาณ คือ ความสามารถในการบรรลุเป้าหมายในการดำเนินการของสถานศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการ งบประมาณและทรัพยากรได้อย่างคล่องตัวกำหนดการใช้จ่ายได้เองโดยยึดถือกฎหมายระเบียบ แนวปฏิบัติ มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และรายงานผล โดยคำนึงถึงการเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนและการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธผิ ล ประสทิ ธิผลด้านบริหารงานบุคคล คอื ความสามารถในการบรรลุเป้าหมายในการดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมาย วา่ ดว้ ยระเบียบข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา การกำหนดระเบียบแนวปฏบิ ัติ ที่เก่ยี วกบั บุคลากรที่ปฏบิ ตั ิงานใน สถานศึกษา ยกย่องเชิดชูเกียรติ ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม รวมทั้งการพัฒนาข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในด้านต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการจัดการเรยี นการสอนและการบริหารสถานศึกษา และ ประสิทธิผลด้านบริหารงานทั่วไป คือความสามารถในการบรรลุเป้าหมายในการดำเนินงานสนับสนุนงานอื่นๆ ใน สถานศกึ ษา จดั ทำนโยบาย แผนพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของหนว่ ยงานต้นสังกัด มีการส่งเสริมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารและการจัดการศึกษา ตามหลกั การการบรหิ ารงานทีม่ ุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงานโดยเนน้ ความโปรง่ ใสความรับผิดชอบท่ีตรวจสอบได้ตามกฎเกณฑ์ นำนวตั กรรมและเทคโนโลยีมาใช้อย่างเหมาะสม ประสานส่งเสริม สนับสนุนและการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในการให้บริการการศึกษาทุกรูปแบบตลอดจนการมีส่วน ร่วมของบุคคล ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง และสอดคล้องกับงานวิจัยของ วานิชย์ สาขามุละ (2549, น.78-79) ที่ได้ ศึกษาประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาในจงั หวัดสกลนคร พบว่า ระดับประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยคือด้านงานบุคคล ด้านงานบริหารทั่วไป ด้านงานงบประมาณ และการบริหารงาน วิชาการ ผู้บริหารมีความคิดเห็นต่อประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษาสูงกว่าครูผู้สอน เม่ือพิจารณาประสบการณ์ในการ ปฏิบัติงานต่างกันมีความคิดเห็นโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีข้อเสนอแนะวา่ ควรจะหาแนวทางมาพัฒนาด้านวชิ าการและดา้ นงบประมาณเป็นการด่วน และสอดคลอ้ งกับงานวิจัยของและสอดคล้องกับ งานวิจยั ของ แฟร์ (Fai, 2001อา้ งถึงใน ปิยพจน์ ตลุ าชม, 2549, น. 67) กลา่ ววา่ ปัจจัยหลกั ท่ีทำให้โรงเรียนมีประสิทธิผล (Effective School) คอื ผบู้ รหิ ารท่ีประสบความสำเร็จ ซง่ึ ไดท้ ำการวิจัยเร่ือง พฤตกิ รรมของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ท่ีมีประสิทธิผลตามการรับรู้ของผู้อำนวยการการศึกษารัฐนวิ เจอร์ซี่ (A Student of New Jersey Public School Super Intender’s Perception theBehavioral Characteristics of Effective Elementary School Principals) พบว่า ผบู้ ริหาร โรงเรียนประถมศึกษาที่ดีมปี ระสิทธิผล คือ สามารถติดต่อสื่อสารได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ สร้างบรรยากาศที่ดีในโรงเรียน สามารถเป็นผู้นำในชุมชน เพื่อสร้างวิชาชีพทางสังคม (Professional Culture) เป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง (Agent of 226
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี Change) บริหารแบบมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด (Participation of all Stakeholders) และมีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับหลักสูตรการสอน ตลอดจนการพัฒนาบุคคล (Staff Development) ตามความต้องการของแต่ละ บคุ คล 3. ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารกับประสิทธิผลการบรหิ ารงานของ ผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (rxy= .827**) ซ่ึงเปน็ ไปตามสมมติฐานที่กำหนดไวแ้ สดงให้เหน็ ว่าสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กบั ประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษามีความจำเป็นและสำคญั เป็นอย่างยงิ่ ในการบริหารจัดการโรงเรียน เพราะปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารพัฒนาไปอย่าง รวดเร็ว ผู้บริหารสถานศึกษาจึงต้องมีความ กระตือรือร้นที่จะคน้ คว้าหาความรู้เกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อให้สามารถใช้งานและสามารถ เข้าถึงข้อมูลต่างๆ ทางอินเทอร์เน็ตได้ด้วยตนเอง และอกี ทางหนงึ่ ผู้บริหารสถานศกึ ษาควรได้รับการพฒั นาอบรมทางด้าน สมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารจากหนว่ ยงานตน้ สังกัดและหนว่ ยงานอ่นื ๆ ทจี่ ัดอบรมความรู้เก่ียวกับ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาจึงทำให้สามารถปฏิบัติงานด้าน คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารอื่นๆ ได้เป็น อย่างดีและมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีของ รุง แกวแดง และ ชัยณรงคสุวรรณสาร (2536, หนา 169) ได้ กล่าวถึงประสิทธิผลองคการ (Organizational Effectiveness) ว่ามีความสำคัญยิ่งต่อศาสตรการบริหารและผลการ ดําเนินงานของ องคการ เพราะ เปนตัวบงชี้หรือตัดสินในขั้นสุดทายวาการบริหารองคการประสบความสําเร็จหรือไม่ เพยี งใด องคการจะอยรู อดและมีความมัน่ คงเจรญิ กาวหนาขึ้นอยกู ับประสิทธิผลขององคการ ถาองคการสามารถดําเนินการ จนบรรลุวัตถปุ ระสงคกจ็ ะสามารถดํารงอยูตอไป แตถาไมสามารถดําเนนิ การใหบรรลวุ ัตถุประสงคองคการ น่ันกจ็ ะลมสลาย ไป และยังสอดคล้องกับทฤษฎีของ เปรมสรุ ยี เชือ่ มทอง (2536, หนา 9) ท่ีกลาวไว้วา ประสทิ ธิผลคือผลงานของกลุมซ่ึง เป นไปตามเป้าหมายท่ีไดวางไว ดังนน้ั ประสิทธิผลของโรงเรียน คอื ความสําเร็จของโรงเรียนท่ีสามารถทําหนาท่ี ใหบรรลุเปา หมายทต่ี งั้ ไวท้ังน้ีเกดิ จากประสิทธภิ าพของ ผูบรหิ ารโรงเรียนที่สามารถใชความรูความสามารถ และประสบการณในการ บริหารงานเพือ่ โนมน้าวใหผูใตบงั คับบัญชาปฏบิ ตั ิงานใหเกิดผลตามเปาหมายที่ตั้งเอาไว ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ โสภา วงษ์นาคเพ็ชร์ (2553, น. บทคัดย่อ) ที่ได้ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของ สถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับ ประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ใน ระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ 0.01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา ทกุ ด้าน มีความสมั พนั ธท์ างบวกกับประสิทธิผลของสถานศึกษาอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.01 4. แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียน มธั ยมศกึ ษาขนาดใหญ่พิเศษในสหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล ควร กําหนดหลักสูตรอบรมสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขั้นพื้นฐานไว้ก่อนบรรจุแต่งตั้งเป็นผู้บริหาร สถานศึกษา และ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษาได้รวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการบริหารจัดการโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึนและเปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยในพื้นท่ี และภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดอบรมพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบสื่อมัลติมีเดียแบบออนไลน์ให้กับ 227
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ผู้บริหารสถานศึกษาได้พัฒนาทักษะและทดสอบสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหาร จัดการโรงเรียนด้วยตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพทางการศกึ ษาของผูบ้ ริหารสถานศึกษา,สภาครูและบุคลากร ทางการศึกษา (2556) ที่กำหนดไว้ ซึ่งตรงกับแผ่นแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2557– 2559 ได้กลา่ วถึงทิศทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษาเกี่ยวกับการมีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ซ่ึงสอดคล้องกับทฤษฎีของ วโิ รจน์สารรัตนะ (2548,น.20) ทก่ี ลา่ วว่า ผู้บรหิ ารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ควรมีความสามารถพิเศษในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือเพราะความร่วมมือจะนำไปสู่การสร้างนวตักรรมใหม่ๆ และ ความสำเร็จของผู้นำสถานศึกษาที่ฉลาดจะสร้างความเป็นหุ้นส่วนให้เกิดขึ้นในทุกระดับของโรงเรียนเพื่อร่วมมือกัน แก้ปญั หาและแสวงหาทางเลือกใหมๆ่ มาใช้ และมีจิตมุง่ สรา้ งสรรค์ให้ความสำคญั กับเทคโนโลยแี ละนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มา ใช้ทั้งในการเรียนรู้ของนักเรยี น การพัฒนาหลักสูตร การประเมินผล การบริหารงานงบประมาณและอื่นๆ จนกล่าวได้ว่า เปน็ ผนู้ ำในแถวหน้าในเร่ืองเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาต้องทำตนให้เป็นตัวอย่างท่ีดีสามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารในการปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างเหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพสงู สดุ ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะจากการวิจัย 1. ควรสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจัดอบรมเพ่ือเสรมิ สร้างทักษะเชิงเทคนิคและข้อค้นพบเชงิ ลึกท่ีจำเป็นในการนำเทคโนโลยี สานสนเทศและการส่ือสารมาประยกุ ตใ์ นการบริหารจัดการในสถานศึกษา 2. ควรกำหนดให้ผู้บริหารสถานศึกษาทุกคนสอบภาคความรู้และภาคปฏิบัติทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารโดยกำหนดให้เปน็ หนึง่ ในเงือ่ นไขเพ่ือเปน็ การกระตุ้นให้ผบู้ ริหารสถานศึกษาไดพ้ ัฒนาตนเองในเร่ืองนี้อย่าง จรงิ จงั ขอ้ เสนอแนะในการวิจยั ครั้งตอ่ ไป 1. ควรมีการศึกษาวิจัยแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหาร สถานศกึ ษากับการบรหิ ารโรงเรียน 2. ควรมีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาด้านต่างๆ 3.ควรมีการศึกษาวิจัยในรูปแบบงานวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนารูปแบบการดำเนินการเพื่อพฒั นาการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพอ่ื การศึกษาในสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน เอกสารอา้ งองิ กมลวรรณ ชัยวานชิ ศิร. (2536). ปจจยั ท่เี กี่ยวข้องกับผบู้ รหิ ารทีส่ ัมพันธ์กบั ประสทิ ธผลของโรงเรียนนเอกชน. วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒประสานมิตร, กรงุ เทพฯ กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2550). ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื งนโยบายและมาตรฐานการพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศึกษา. ค้นเม่ือ 30 ตลุ าคม 2557, จาก: www.thaischool1.in.th/_file_school/48100687/workteacher/48100687_1_20130901-211225.doc กิดานนั ท์ มลทิ อง. (2548). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: อรณุ การพิมพ.์ 228
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เกรียงศักดิ์ วงศส์ ุกรรม. (2550). ปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสทิ ธิผลการปฏบิ ตั งิ านขององคก์ ารบริหารส่วนตำบลใน พ้ืนทจี่ งั หวดั จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชารัฐ ประศาสนศาสตร์ มหาบณั ฑิตมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ , ขอนแกน่ . เขมนจิ ปรีเปรม. (2554). สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกบั การบริหารระบบสารสนเทศของผู้บริหาร สังกัดสำนักงาน เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. คน้ เม่ือ 19 พฤศจิกายน 2557, จาก : http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/snamcn/KhemmanitPree prem/fulltext.pdf เจดิ หลา้ สนุ ทรวกิ าต. (2534). คุณลักษณะของผู้นำและประสทิ ธิผลของงานในภาควขิ าของคณะศึกษาศาสตร์ใน มหาวทิ ยาลยั ไทย, ปริญญานพิ นธก์ ารศึกษาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา, คณะบัณฑิต วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมิตร จิรประภา อัครบวร. (2549). สร้างคนสร้างผลงาน. กรงุ เทพฯ: ก.พลพมิ พ์ จรุณี เก้าเอ้ยี น. (2556). เทคนิคการบรหิ ารงานวชิ าการในสถานศึกษา : กลยทุ ธแ์ ละแนวทางการฏบิ ตั ิสำหรบั ผู้บรหิ ารมืออาชีพยะลา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา, ยะลา จนั ทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏิบตั ิในการบรหิ ารสถานศึกษา (พมิ พค์ รั้งที่ 3). นนทบุรี: บุ๊คพอยท์. จติ ตากานต์ วังคา (2557). การศึกษาสมรรถนะการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารของผู้บริหารสถานศกึ ษา ของโรงเรยี นมาตรฐานสากล สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา สงั กดั กรุงเทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธ์การศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา, จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, กรงุ เทพฯ. โชคชยั จาดเมอื ง. (2555). การศึกษาสมรรถนะการบรหิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารของผู้บริหาร โรงเรยี นดปี ระจำตำบล ในเขตอำเภอโพทะเลจังหวัดพิจิตร. วทิ ยานิพนธ์การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวิชา การบริหารการศกึ ษา, จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , กรุงเทพฯ. ชาญณรงค์ แสงสวา่ ง. (2549). ประสิทธพิ ลการบรหิ ารสถานศกึ ษา สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา ฉะเชิงเทรา เขต2. วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัย ราชนครินทร์, ฉะเชงิ เทรา. ณรงค์วทิ ย์ แสนทอง. (2547). มารู้จกั Competency กนั เถอะ. กรงุ เทพฯ: เอชอาร์ เซ็นเตอร.์ ณฏั ฐนันท์ มนั ตะพงศ์. (2554). ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารงานของโรงเรียนชลประทานสงเคราะหจ์ งั หวัด นนทบุรี. วทิ ยานิพนธพ์ ทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ บัณฑติ วิทยาลัย จฬุ าลงกรณร์ าชวิทยาลัย, กรงุ เทพฯ. ตนิ ปรัชญพฤทธ์ิ. (2536). ศัพทร์ ัฐประศาสนศาสตร์.จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.กรงุ เทพฯ ธงชยั สนั ติวงษ.์ (2546). การบรหิ ารสศู่ ตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ: ประชมุ ชา่ ง นมิ ารนู ี หะยีวาเงาะ และณมน จีรงั สุวรรณ. (2556). การวิเคราะหช์ ่องวา่ งด้านความสามารถ ไอซีทสี ำหรับ บคุ ลากร. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี,1(24), 85-86. นงลกั ษณ์ เรอื นทอง. (2550). รปู แบบการบรหิ ารโรงเรียนท่ีมีประสทิ ธิผล. ดุษฎีนพิ นธป์ รชั ญาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, กรงุ เทพฯ. นติ ยา ทองไทย. (2556). คณุ ลกั ษณะผู้บรหิ ารสถานศึกษามืออาชีพตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู ใน สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาชัยนาท สงิ ห์บรุ แี ละอ่างทอง. 229
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี วิทยานพิ นธค์ รุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราช ภฏั เทพสตรี, ลพบรุ ี. เปรมสรุ ีย์ เช่อื มทอง. (2536).จิตลักษณะของผ้บู ริหารและสภาวการณ์ของกลุ่มที่เกี่ยวขอ้ งกบั ประสิทธผิ ล ของโรงเรียน.ปริญญานพิ นธ์ การศกึ ษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: ปณดิ า แจ้งโถง. (2555). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื สารเพอ่ื การศกึ ษาสำนกั งานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร เขต 1. การศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองการศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัย นเรศวร, พษิ ณโุ ลก. ประจกั ษ์ ทรัพยอ์ ดุ ม. (2550). แนวทางพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยด์ ้วย Competency.กรุงเทพฯ: ประโยชน์ คลา้ ยลกั ษณ.์ (2556). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะดา้ นการทำงานเปน็ ทมี ของบคุ ลากรทาง การศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา. วิทยานิพนธก์ ารศกึ ษาดุษฎบี ณั ฑิต สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั นเรศวร,พษิ ณุโลก. พรพศิ อินทระสรุ ะ. (2551). สมรรถนะของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาตามความคดิ เหน็ ของขา้ ราชการครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา สงั กัดสำนกั งานเขต พ้นื ทก่ี ารศกึ ษาขอนแก่น เขต 5. การค้นคว้าอสิ ระครุศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเลย, เลย. พร พิเศก. (2546). วัฒนธรรมองคก์ ารและปจั จยั บางประการทสี่ ง่ ผลตอประสทิ ธผิ ลโรงเรียน.ปริญญานพิ นธ์ การศึกษาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ. พรชยั เช้อื ชูชาติ. (2546). ความสัมพันธร์ ะหว่างวัฒนธรรมองคก์ ารกบั ประสิทธิผลของโรงเรียนเทศบาลในเขต พ้นื ที่พัฒนาชายฝ่ังทะเลภาคตะวนั ออก. วทิ ยานิพนธก์ ารศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลยั บูรพา, ชลบรุ .ี พวงทพิ ย์ ม่งั คั่ง. (2543). ความสมั พนั ธร์ ะหว่างวฒั นธรรมโรงเรียนกับประสิทธผิ ลโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาสังกดั กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา12. วิทยานิพนธก์ ารศึกษามหาบัณฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยบรู พา, ชลบุรี ภารดี อนนั ต์นาวี. (2553). หลกั การแนวคดิ ทฤษฎที างการบริหารการศึกษา. ชลบรุ ี: มนตร.ี ยงยุทธ ชมไชย. (2550). ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร.คน้ เมื่อ 26 พฤศจกิ ายน 2557, จาก: http://sites.google.com/site/kruyutsbw/khnam-hmay รงุ่ ทวิ า หนูเผือก. (2555). การศกึ ษาสมรรถนะการบรหิ ารงานวชิ าการของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาโรงเรยี นกฬี าใน ประเทศไทย. การศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเองการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยนเรศวร, พษิ ณโุ ลก. รุ่ง แก้วแดง และชยั ณรงค์ สวุ รรณสาร. (2549). แนวคดิ เก่ียวกับประสิทธิผลและประสทิ ธิภาพองค์การ. ใน ทฤษฏแี ละแนวปฏิบตั ใิ นการบรหิ ารการศกึ ษา หนว่ ยที่ 11 (หน้า 163-218) นนทบรุ ี: สาขาวชิ าการ ศกึ ษาศาสตร์ บัณฑติ ศกึ ษา หาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช วานิชย์ สาขามุละ. (2549). ประสทิ ธผิ ลการบรหิ ารสถานศกึ ษาในโรงเรยี นขนาดเลก็ สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ที่ การศึกษาในจงั หวัดสกลนคร. วิทยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยสกลนคร, สกลนคร. 230
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วชิ ษารตั น์ ธรรมะรัตนจ์ นิ ดา. (2552). ความสมั พันธ์ระหวา่ งองค์กรการเรยี นรู้กับประสทิ ธิผลของโรงเรยี นสังกัด สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 2. วิทยานพิ นธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม. วริ ตั น์ พงษม์ ิตร. (2556). ปจั จัยท่สี ่งผลตอ่ ประสิทธผิ ลการบริหารของโรงเรยี นในสังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 21. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, มหาสารคาม วิรตั น์ มะโนวฒั นา. (2548). ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งภาวะผ้นู ำของผ้บู ริหารกับประสทิ ธผิ ลของโรงเรยี น สังกัด สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาชลบรุ .ี วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ าร การศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบงึ , ราชบุรี. วิโรจน์ สารรัตนะ. (2548). โรงเรียนการบรหิ ารสคู่ วามเปน็ องคก์ ารแห่งการเรยี นรู้. (พิมพ์คร้ังท่ี 5).กรงุ เทพฯ: ทิพยวิสุทธ.ิ์ วนั ดี กเู้ มอื ง. (2553). ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมีความสำคัญต่อการศกึ ษาอย่างไร.ค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2557, จาก : http://www.gotoknow.org/posts/427621 วจิ ารณ์ พานชิ . (2554). วถิ ีสร้างการเรยี นรู้เพ่อื ศิษยใ์ นศตวรรษที่ 21. ค้นเมอ่ื 20 พฤศจิกายน 2557, จาก www.noppawan.ssku.ac.th/data/learn_c21.pdf ศิรลิ กั ษณ์ นาทนั . (2550). การศึกษาสภาพและปัญหาการบรหิ ารงานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารของ โรงเรียนหนึ่งอำเภอ หนง่ึ โรงเรยี นในฝนั . วิทยานิพนธก์ ารศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ าร การศึกษา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, กรุงเทพฯ. เสรมิ ศกั ด์ วซิ าลาภรณ์. (2536). การวจิ ยั เก่ียวกับภาวะผนู้ ำและพฤตกิ รรมผนู้ ำ. ใน ประมวลสาระชดุ วิชาการ วจิ ยั การวจิ ัยการบริหารการศกึ ษา หนว่ ยที่ 9. (หนา้ 97). นนทบรุ :ี มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. สงบ ลักษณะ. (2545). แนวคิดเกีย่ วกับการใชเ้ ทคโนโลยีชว่ ยการเรยี นรู้. ค้นเม่ือ 22 ตลุ าคม 2557, จาก:www.moe.go.th/main2/article-sagob/article 45_6.htm สนทยา เจริญพนั ธ.์ (2550). ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการใช้อำนาจของผ้บู ริหารกับประสทิ ธผิ ลของโรงเรียน สังกัด สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาจงั หวดั สกลนคร. วทิ ยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ าร การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี, อดุ รธาน.ี สุณี ทรพั ย์ประเสริฐ. (2548). การประเมนิ คณุ ลกั ษณะด้านความรู้ความสามารถในการบริหารงานวิชาการของผบู้ ริหาร สถานศึกษา สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาราชบรุ ี. วิทยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ าร การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ,นครนายก. สภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา. (2548). มาตรฐานวชิ าชีพทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ : สันติ บญุ ภริ มย์. (2552). หลักการบริหารการศึกษา. กรงุ เทพฯ: บคุ๊ พอยท์. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า. (2550). พระราชบญั ญัตวิ า่ ดว้ ยการกระทำความผิดเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์.คน้ เม่อื 8กมุ ภาพนั ธ์ 2558, จาก:http://www.cpru.ac.th/wp-content/upload/2014/02/2550.pdf สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น. (2548). คู่มอื สมรรถนะราชการพลเรือนไทย . กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. สวุ ิมล วอ่ งวาณชิ . (2550) การกระจายอำนาจการบรหิ ารและการจัดการศึกษา.กรุงเทพฯ: ครุ สุ ภา. สุกญั ญา รศั มธี รรมโชติ. (2547). Competency: เครื่องมอื การบริหารทีป่ ฏิเสธไมไ่ ด้,Productivity,9(53), 44-48. 231
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สุเทพ พงศ์ศรวี ัฒน.์ (2542). เกณฑม์ าตรฐานผู้บริหารการศกึ ษาของครุ ุสภา พ.ศ. 2540.คน้ เมื่อ 12 พฤศจกิ ายน 2557, จาก:suthep.crru.ac.th/leader12.doc สุพล วังสนิ ธ์. (2545).การบรหิ ารโรงเรียนตามแนวทางปฏิรปู การศึกษา,วารสารวชิ าการ. 5(6) : 29-30. สรุ ศกั ดิ เวยี นรอบ. ( 2557). การศึกษาสมรรถนะการบรหิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารของผูบ้ รหิ าร สถานศกึ ษาของโรงเรียน มาตรฐานสากล สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 1. วทิ ยานิพนธ์การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, กรุงเทพฯ. สรุ ยิ า หมาดทงิ้ . (2557). สมรรถนะสำคญั ด้าน ICT ของผบู้ ริหารโรงเรียนในศตวรรษที่ 21.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี,2(25), 2-11. สวุ ะนิต สุระสงั ข.์ (2554). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวฒั นธรรมโรงเรียนกับประสิทธิผลของโรงเรียนในจังหวัดชลบรุ ี สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา มัธยมศึกษา เขต18. วิทยานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยบรู พา, ชลบรุ ี. สมบรู ณ์ เพยี รพิจติ ร. (2548). การศกึ ษาประสทิ ธิผลของโรงเรยี นสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาฉะเชิงเทรา เขต 1. วทิ ยานพิ นธก์ ารศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บูรพา, ชลบรุ .ี สำนกั คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต.ิ (2545). พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และแกไ้ ข เพ่ิมเติม ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2545. กรงุ เทพฯ: อนวุ ัฒน์ ปาพรม. (2555). สมรรถนะทางด้านการบรหิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศของผบู้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1.การศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองการศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ า การบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณโุ ลก. อภญิ ญา สุดา. (2547). การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารโรงเรียนในโครงการโรงเรียนตน้ แบบการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพ่อื พฒั นาการเรียนร้.ู วทิ ยานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. อานนท์ ศักดิวรวิชญ.์ ( 2547). แนวคดิ เรอื่ ง สมรรถนะ Competency: เร่อื งเกา่ ที่เรายงั หลงทาง. ChulalongkornReviwe, 16 (3), 57-72. อาภรณ์ ภู่วทิ ยพนั ธุ์. (2547). การบริหารทรพั ยากรมนษุ ยบ์ นพืน้ ฐานของ Competency. ค้นเม่ือ 10 พฤศจิกายน 2557, จาก:http://www.hrcenter.co.th อุดมศกั ด์ิ ฉัตรทอง (2551). สมรรถนะการบรหิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนในโครงการหน่งึ อำเภอ หนง่ึ โรงเรยี นในฝนั สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาในภาคกลาง. วทิ ยานิพนธ์การศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. True ปลูกปัญญา. (2552). บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ. ค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน2557, จาก :http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/349-00/ Barnard, Chester I. (1972). The Functions of the Excutives. Boston : Harvard UniversityPress. Campbell,R.F.et al. (1977) .On the Nature of Organizational Effectiveness in New purposetives on Organizational Effectiveness. Edited by Paul S. Goodman and Johannes M.Pennings and Associates. San Francisco : Jassay Bass. 232
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี Cameron, Kim S. (1978, December) .Measuring Organizational Effectiveness in the Institutions of Higher Educational. Administrative Science Quarterly, 23 , 604 - 632. Gibson, James, Ivancevich, & Donnelly. ( 1979) . Organization Behavior structure Process. Texas: Business Publication. Glickman. (1990). Supervision of Instruction. New York: Allyn and Bacon. Hoy & Miskel. (2008). Educational administration. Theory research and practice. New York: McGraw-Hill. Lawless, David J. (1979). Organizational Behavior : The Psychology of Effective Management. (2 nd ed). Englewood Cliffs, N.J. : Prentice-Hall. Mott, P.E. (1972). The Characteristics of Effective Organizations. New York: Harper & Row. Parsons, T. (1960). Structure and Process in Modern Societies. New York: The Press Clench. Schein,E.H. (1973). Organizational Psychology. (2 nd ed). Englewood Cliffs, NJ.Prentice – Hall. Steers, R.M. and Porter. (1977). Organizational Effectiveness. SantaMonica Calif :Goodyear Publishing Company. Sweeney & McFarlin. (2002) . Organizational behavior: Solutions for management. Boston: McGraw-Hill Irwin. 233
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ภาวะผนู้ ำเชงิ สรา้ งสรรคข์ องผ้บู ริหารสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 A Leadership of the Creative Leadership of the Special Education Bureau Office 7 นายสทุ ธินนั ท์ วงค์มุสิก คณะศกึ ษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ [email protected] บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เปรียบเทียบ และรวบรวมข้อเสนอแนะ ภาวะผู้นำเชิงสรา้ งสรรค์ของ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม 7 จำแนกตามตัวแปร อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน ขนาดของสถานศึกษา และประเภทสถานศกึ ษาในสงั กัดสำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 กำหนดขนาดของกลุ่ม ตวั อยา่ งจากตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970, p. 608) แล้วใชว้ ิธกี ารสุ่มตัวอย่างแบบหลาย ขัน้ ตอน (Muti - Stage Sampline) ซ่งึ มขี ัน้ ตอนดงั นนั้ ขัน้ ที่ 1 สุ่มแบบแบ่งชนั้ (Stratied Random Sampling) โดยใช้ ศูนยเ์ ครอื ข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาเป็นหนว่ ยสมุ่ ชนั้ ที่ 2 สุ่มแบบแบ่งช้ัน (Stratified Random Samping) ซึ่งได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ที่ได้จากขั้นที่ 1 และกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการเทียบ สัดส่วนตามจำนวนครูผู้สอน ชั้นที่ 3 สุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับสลากแบบไม่ใส่คืน ตาม จำนวนครูผูส้ อน ที่ได้จากช้ันตอนที่ 2 ได้กลุ่มตัวอย่างครผู ู้สอนสังกัดสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ปี การศึกษา 2564 จำนวน 479 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าที่ ผวู้ ิจยั สร้างขึ้นโดยคา่ ความเชื่อมั่น (Reliability) .98 สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คอื คา่ เฉล่ีย(Mean) ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที่(t-test Independent) การทดสอบค่า F-test (One-Way Analysis of Variance : ANOVA) ผลการวจิ ยั พบวา่ 1. ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 โดย ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก 2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 จำแนกตามตัวแปร อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน ขนาดของสถานศึกษา และ ประเภทสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามตัวแปรอายุต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมไม่ แตกต่างกัน เมอื่ พจิ ารณารายดา้ นพบว่า ด้านการมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .01 ตามตัวแปรประสบการณ์การทำงาน ตา่ งกนั พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกนั เมือ่ พจิ ารณารายดา้ นพบวา่ ด้านการ มีวิสัยทัศน์ มีความแตกต่างอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ .01 ตามตัวแปรขนาดของสถานศึกษาต่างกัน พบว่า โดย ภาพรวมไม่แตกตา่ งกัน เมื่อพจิ ารณารายด้านพบว่า ด้านการมีความคิดสร้างสรรค์ มคี วามแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทาง 234
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สถิติที่ระดับ .01 ตามตัวแปรประเภทสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 ต่างกัน พบว่า โดย ภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการมีความยืดหยุ่นและปรับตัว มีความแตกต่างอย่างมี นยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั .01 3. ครูมีข้อเสนอแนะต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษา พิเศษ กลุ่ม 7 ผู้บริหารสามารถกำหนดเป้าหมายของพัฒนาบุคลากรให้มีแบบแผนการประพฤติปฏิบัติไปในทิศทางที่ ต้องการ ผู้บริหารต้องยอมรับฟังความคิดเห็นและเหตุผล ส่งเสริมสนับสนุนครูให้เกิดการพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ ควรมี บุคลิกภาพที่ดีสามารถปรับตัวตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง และสามารถคิดแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ผบู้ รหิ ารตอ้ งร่วมรบั ผิดชอบเม่ือครูทำงานผิดพลาดภายหลงั จากมอบหมายงาน ร่วมกนั พฒั นา ยอมรบั ความคิดเห็นของ ครดู ้วยความจริงใจ ตอ้ งโน้มนา้ วจิตใจ เอาใจครูใหค้ วามเชอ่ื มั่นในองคก์ ร มีความคิดสรา้ งสรรคใ์ นการปฏิบัตงิ านในสำเร็จ ลลุ ว่ งดว้ ยดี คำสำคัญ : ภาวะผนู้ ำเชิงสร้างสรรค์, ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา,สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 Abstract This research was aimed to study, to compare and, to compile the suggestions of creative leadership of School Administrators, Special Education Group 7. It was classified following some variables such as age, work experience, school size and, school category under the Administrative Office-Special Education Group 7. It has provided the size of sampling groups from the Table Size of Krejcie and Morgan (1970, p. 608) and that utilized a Multi - Stage Sampling with the steps as the following: step 1, Stratified Random Sampling, it utilized the center of educational qualification development networks as the random units. Step 2, Stratified Random Sampling, the teachers under the Administrative Office (Special Education Group 7) from the Step 1 and that it provided the sampling groups by a ratio comparison method following the number of the teachers. Step 3, Simple Random Sampling, it was working by withdrawing a Non-Return Lottery method following the number of the teachers from Step 2, and that it obtained the sampling group of teachers under the Administrative Office (Special Education Group 7) in the academic year 2021 totaling 479 people. The tools utilized to compile the data that was being done through an estimate ratio questionnaire which created by the researcher with the reliability at .98. In addition, the statistics utilized for data analysis were that such as Mean, Standard Deviation, T-test Independent and, F-test (One-Way Analysis of Variance : ANOVA). This research has found as the following: 1. The creative leadership of school administrators under the Administrative Office, Special Education Group 7 in general that it stays at a “high” level. 2. The comparation on perception of teachers towards the creative leadership of School Administrators under the Administrative Office, Special Education Group 7 that classified following the 235
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี variables such as age, work experience, school size and, school category under the Administrative Office (Special Education Group 7). In addition, the variable following the different ages it found in general that without difference, however, when considering each aspect it was found that the creative thinking is different with the statistical significance at .01 level. Regarding the variable of different work experience it found in general that without difference but, when considering each aspect that it found the vision is different with the statistical significance at .01 level. And, the variable of different school size it found in general that without difference, however, when considering each aspect it found that the creative thinking is different with the statistical significance at .01 level. Regarding the variable of different school category under the Administrative Office, Special Education Group 7 and it found that without difference, however, when considering each aspect it found that the flexibility and adaptability is different with the statistical significance at .01 level. 3. The teachers have their suggestions towards the creative leadership of school administrators under the Administrative Office (Special Education Group 7).The administrators are able to provide their goals on the personnel development to be such a behavior pattern in their desired direction. However, the administrators should listen to any perception and reasonability that to support the teachers to have such a more often for their own development and, the administrators should have such a good personality to be able to accept for a new changing and that to think for a suitable problem solution in some situation that includes taking a share responsibility when their teachers doing wrongly in some assignments, being hand in hand for job development, truly accepting the teachers’ perception, having more convince, more reliability support and, all should work vis-a-vis with more creative thinking for a goodness and success. KEYWORD : Creative Leadership, School Administrator, Affiliation of Administrative Office, Special Education Group 7 บทนำ ประเทศไทยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างก้าวไกล ตามแนวทางนโยบายแห่งรัฐสอดคล้องกับการพัฒนาท่ี แท้จริง กลา่ วคือ มงุ่ พฒั นาประเทศใหม้ ีความมั่นคง และย่ังยืนในการจัดการศึกษาท่ีมคี วามหลากหลาย รปู แบบ ไมว่ ่าจะ เป็นการศึกษาในระดับต่าง ๆ แต่ละรูปแบบพัฒนาขึ้นจากองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่สภาพทางเศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนถงึ การเมืองของประเทศนัน้ ๆ และมกี ารปรบั ปรงุ เปลีย่ นแปลงอยา่ งต่อเน่ืองตลอดเวลา ซ่ึงปัจจุบันแบ่ง การศึกษาเป็นสายสามัญ และสายวิชาชีพก็เช่นเดียวกับที่มีการปรับเปลี่ยนตลอดมา แต่ส่วนใหญ่จะเป็นในส่วนของ โครงสร้างการบริหาร ทำให้เกิดข้อข้องใจในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาของผู้ที่จบการศึกษาสาขาต่าง ๆ รวมถึง ความขาดแคลนของกำลงั คนในบางสาขาวิชา เช่น อาชวี ศึกษาทางด้านอุตสาหกรรม ฯลฯ จงึ ตอ้ งมกี ารปฏิรูปการศึกษา 236
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ท้ังระบบอยา่ งเรง่ ด่วน เพ่อื สนองตอบต่อความต้องการกำลงั คนรนุ่ ใหมท่ ีม่ คี ณุ ภาพเหมาะสมกับการพฒั นาประเทศในโลก ยคุ ดิจทิ ัล และการสื่อสารทไ่ี รพ้ รมแดน การปฏิรปู การศึกษาตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปคี รัง้ นป้ี ระสบความล้มเหลวต้ังแต่ การจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยแล้วละเลยผู้ที่ขาดโอกาสในวัยแรงงาน ผู้สูงอายุ สตรี และเด็ก การจัดการศกึ ษาเอกภาพในการจดั อย่างครอบคลุม และมีความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสือ่ และ กระบวนการเรียนรู้ (พีระพงษ์ สิทธิอมร, 2561, น. 62) ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งที่จะ นำไปสู่ความมีประสิทธิภาพของสถานศึกษา และบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การ ทั้งยังเป็นผู้ที่มีผลต่อพฤติกรรมของ บุคคลในองค์กรอย่างมากทั้งในแง่การสร้างพฤติกรรม และควบคุมพฤติกรรมของบุคคล ผู้บริหารสถานศึกษาจึงต้องมี ภาวะผนู้ ำ และมีพฤติกรรมผนู้ ำท่ีเหมาะสมที่ถือได้ว่าเปน็ ทง้ั ศาสตร์ และศลิ ป์โนม้ นา้ วใหผ้ ู้ตามมีความเต็มใจและมีความ กระตือรือร้นในการร่วมกันปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิผลบรรลุและวัตถุประสงค์ของหน่วยงานประสิทธิผลของ สถานศึกษา ถือได้ว่าเป็นผลแห่งความสำเร็จและความมีประสิทธิผลของสถานศึกษาเป็นผลที่สืบเนื่องจากการพัฒนา สถานศึกษาให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้จากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกในศตวรรษที่ 21 เป็นการ เปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ และสังคมความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเทศไทยต้องเผชิญกับระบบ เศรษฐกิจท่มี กี ารแขง่ ขนั อย่างเสรี และไรพ้ รมแดนโดยไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ ความท้าทายรปู แบบใหม่ในกระแสโลกาภิ วัตน์ คอื การก้าวเขา้ สูย่ คุ อินเทอร์เน็ตในทกุ สง่ิ (Internet of things) นอกจากนีร้ ะบบเศรษฐกิจทั่วโลกกำลังเปล่ียนแปลง ไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 การศึกษาเปน็ ทิศทางท่ีมีคุณค่าต่อตัวผู้เรยี น ต่อสังคมในเปล่ียนแปลง ก่อให้เกิดผลผลติ ขึ้นในวง การศึกษา ภาวะผู้นำทางการศึกษาจึงมีผลต่อการส่งผลผลิตนั้นให้เป็นผลผลิตในทางสร้างสรรค์มากยิ่งขึ้น และเป็น ประโยชน์ต่อการพฒั นาประเทศให้ดำรงอยู่ในภาวะสังคมโลกการแข่งขันสูงปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องปรบั เข้าสู่การพฒั นา บนพื้นฐานความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการคัดเลือก และพัฒนาทักษะสําหรับผูบริหารสถานศึกษา หลายประการคือ 1) ภาวะผ้นู ําทางการศึกษา (Educational Leadership) ความสามารถในการกาํ หนดวสิ ัยทัศนและเปา หมายสถานศึกษา สงเสริมการทํางานเปนทีม และการทํางานแบบมี สวนรวม การปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดมี ีความรู ความเขาใจในบุคคลรอบตัว เขาใจความแตกตางระหวางบุคคล 2) การแกปญหาสามารถจัดลําดับความสําคัญหรือจบั ประเด็นสําคัญของปญหา และตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิผล 3) การติดตอสื่อสาร สื่อความไดอยางชัดเจนดวยภาษา และทาทางท่ีเหมาะสมกบั ผรู ับสารแตละกลุม และ4) การพัฒนาตนเอง และบุคคลอืน่ พฒั นาบุคคลอืน่ ดวยการสอนงาน การเปนพเี่ ลยี้ งการใหคําปรึกษา และพัฒนาตนเองดวยการยอมรับจดุ แข็ง จดุ ออนของตนเอง และใหความสําคัญกับการ เรียนรูอยางตอเนื่อง (บุญชวย สายราม, 2557, น. 10) นอกจากนี้ผู้บริหารสถานศึกษายังเป็นบุคคลสำคัญที่จะต้อง รับผิดชอบในการทำงานของบุคลากรภายในโรงเรียน (James and Connolly, 2000, p.51) หน้าที่หลักของผู้บริหาร สถานศึกษา คือ สนับสนุนให้มีการจัดทำหลักสูตร กำหนดเป้าหมายการเรียนการสอน สนับสนุนผู้ปกครองหน่วยงาน ภาครฐั และเอกชนให้เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารโรงเรียน และจัดสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การเรียนการสอนและยังถูก กำหนดให้อยู่ในฐานนะผู้นำที่ต้องดูแลรับผิดชอบตามตำแหน่งท่ีเป็นตัวกำหนดความเป็นผู้นำ แม้ว่าผู้นำไมจ่ ำเป็นต้อง เป็นผู้บริหารแต่ผู้บริหารก็ควรจะเป็นผู้นำ (Hoy and Miskel, 2001, p.51) ดังนั้นเพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานการณข์ อง โลกท่ีเปลยี่ นแปลงไป ภาวะผูน้ ำจึงมีความสำคัญอย่างยงิ่ ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งที่จะนำไปสู่ความมีประสิทธิภาพของสถานศึกษาและบรรลุ จุดม่งุ หมายขององค์การ ท้ังยงั เป็นผู้ที่มีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลในองคก์ รอย่างมากท้งั ในแง่การสรา้ งพฤติกรรม และ 237
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ควบคุมพฤติกรรมของบุคคล ดังนั้น ผู้บริหารสถานศกึ ษาจึงต้องมภี าวะผู้นำและมีพฤตกิ รรมผู้นำที่เหมาะสมท่ีถือไดว้ า่ เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์โน้มน้าวให้ผู้ตามมีความเต็มใจและมีความกระตือรือร้นในการร่วมกั นปฏิบัติงานให้ เกิด ประสทิ ธิผลบรรลแุ ละวัตถุประสงค์ของหนว่ ยงานประสทิ ธิผลของสถานศึกษา ถือได้วา่ เป็นผลแห่งความสำเร็จและความ มีประสิทธิผลของสถานศึกษาเป็นผลที่สืบเนื่องจากกรพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ผู้บริหาร สถานศึกษาจะต้องเปน็ ผู้นำที่มีความสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนา สถานศึกษาจนบรรลตุ ามเป้าหมายและ วตั ถุประสงคต์ ามที่กำหนดไว้ ดงั นั้น สถานศกึ ษาท่ีมีประสิทธิผลหรือที่ประสบความสำเร็จน้นั ต้องอาศัยภาวะความเป็น ผู้นำของผูบ้ ริหาร ตอ้ งอาศัยบรรยากาศแหง่ การยอมรับนบั ถอื และไวว้ างใจซึ่งกนั และกัน ต้องอาศยั ความทุ่มเทพยายาม ในทุกด้านจากบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ ง ต้องอาศยั ความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกนั ต้องอาศัยเป้าหมายที่ชัดเจนและท้าทาย ต้อง อาศยั ทรัพยากรท่ีเพียงพอและมีคุณภาพ ต้องอาศยั ความมวี ิสัยทัศน์เก่ียวกับการบริหารหลักสตู ร จัดการเรียนการสอน เทคโนโลยี และหลักการแนวคิดทฤษฎที ีเ่ กี่ยวขอ้ ง เพื่อเป็นทศิ ทางของกกรพัฒนาที่ถกู ต้องอันเป็นบทบาทท่ีสำคญั ของ ผู้บริหาร (ศราวุธ กางสำโรง, 2559, น.4) ผู้นำจะต้องให้ความสำคัญแก่การบริหารจัดการองค์กรท่ามกลางการ เปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี ขอ้ มลู ข่าวสาร สงั คมแหง่ การเรียนรู้ และกระแสการเปลี่ยนแปลงพฒั นาการศึกษา ภายใต้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) ได้มี 4 มีติสำคัญ ได้แก่ มิติการปฏิรปู นักเรียนยุคใหม่ การปฏิรปู ครูยุคใหม่ การปฏิรูปโรงเรยี นหรอื แหล่งการเรียนรู้ยุคใหม่ และการปฏิรูประบบการบรหิ ารจดั การยุคใหมซ่ ่ึง ต้องอาศัยผู้นำเชิงสร้างสรรค์เป็นสำคัญ ซึ่งผู้นำเชิงสร้างสรรค์จะเป็นผู้บริหารที่มีการแสดงพฤติกรรมที่ตอบสนองเชิง จินตนาการโดยการคิดไตรต่ รองอย่างละเอยี ดถี่ถ้วนในสถานการณ์ต่าง ๆ และประเด็นต่าง ๆ ที่ท้าทาย ซึ่งสถานศึกษา เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)มีเป้าหมายหลักคือการเรียนรู้ของนักเรียน จัดกิจกรรมการเรียน ใหก้ บั นักเรยี นไดม้ ีโอกาสขยายความรู้ความสามารถอย่างสร้างสรรคแ์ ละประสบความสำเร็จอย่างต่อเนือ่ ง (ไพฑูรย์ สิน ลารัตน์, 2561, น. 6-16) ดังนน้ั ภาวะผู้นำเชงิ สรา้ งสรรคข์ องผูบ้ ริหารสถานศึกษา สงั กดั สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 จงึ ต้อง พฒั นาภาวะผนู้ ำเชงิ สร้างสรรคข์ องผู้บรหิ ารสถานศึกษา ให้สอดคล้องกบั การปรับเปลี่ยนทิศทางการศึกษา มีวิสัยทัศน์ที่ ก้าวหน้า สามารถคาดการณ์การเปลีย่ นแปลงของการศกึ ษาโดยนำเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใชใ้ นการตัดสนิ ใจ และสามารถวาง แผนการดำเนินงานอย่างมีประสิทธภิ าพ สามารถสือ่ สาร และประชาสมั พนั ธ์สถานศกึ ษาให้เปน็ ท่ีรูจ้ ักผ่านโซเชียลมีเดีย สามารถกระตุ้นให้ครูผู้สอนและผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลาและสามารถร่วมกันสร้างสรรค์นวัตกรรมทาง การศึกษาอยา่ งมีคุณภาพ สามารถปรบั เปลีย่ นวัฒนธรรมของสถานศึกษาให้เปน็ วฒั นธรรมการเรยี นรู้ดิจทิ ัล สามารถนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ทส่ี ่งเสริมสมรรถนะครูและทกั ษะการเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี นในศตวรรษ ท่ี 21 ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพและสามารถเกิดการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งไดต้ ลอดชีวิต สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุม่ 7 ซง่ึ เปน็ หนว่ ยงานต้นสังกดั ของผ้วู ิจยั ดําเนินภารกิจงานจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา รับผิดชอบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่เยาวชนครอบคลุมพื้นที่ รับผิดชอบจัด การศึกษาสถานศึกษาในสังกัด 7 จังหวัด โดยแบ่งประเภทของสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ออกเปน็ 3 ประเภท คอื 1) โรงเรียนเฉพาะคนพกิ าร 2) โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และ 3) ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ และแบ่ง ตามจังหวัดที่รับผิดชอบได้แก่ จังหวัดชุมพร จังหวัดระนอง จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ จังหวัด นครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง ดูแลรับผิดชอบสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานใน 25 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ 238
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พัทลุง โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์สุราษฎร์ธานี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 19 จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 20 จังหวัดชุมพร โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 35 จังหวัดพังงา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 36 จังหวัดภเู ก็ต โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 37 จังหวัดกระบี่ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 38 จังหวัดระนอง โรงเรียน ชุมพรปัญญานุกูล จังหวัดชุมพร โรงเรียนนครศรธี รรมราชปญั ญานุกูล จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนภูเก็ตปัญญานุ กูล จังหวัดภูเก็ต โรงเรียนสำหรับคนพกิ ารทางร่างกายและการเคลื่อนไหว จังหวัดนครศรธี รรมราช โรงเรียนโสตศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนโสตศึกษา จังหวัดพังงา โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ศูนย์ การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา 3 จังหวัดสงขลา ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศกึ ษา 4 จังหวัดตรงั ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ประจำจังหวัดกระบี่ ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดชุมพร ศูนย์การศึกษาพิเศษเขต การศกึ ษา ประจำจงั หวดั นครศรีธรรมราช ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดพังงา ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ประจำจังหวัดพัทลุง ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดภูเก็ต ศูนย์การศึกษาพิเศษเขต การศึกษา ประจำจังหวัดระนอง ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 9 โรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง (นกั เรียน 121-300 คน) จำนวน 8 โรงเรียน และโรงเรียนขนาดใหญ่-ใหญพ่ ิเศษ (นักเรยี น 301 คน ขึ้นไป) จำนวน 8 โรงเรยี น (สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกลุม่ 7, 2564, น.19) ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะทำการวจิ ัยเรือ่ งภาวะผู้นำเชงิ สรา้ งสรรค์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 เพอื่ เปน็ ข้อมลู ในการกำหนดนโยบาย และวางแผนในการพัฒนาศักยภาพ ให้กับผู้บริหารสถานศึกษา และเป็นหัวใจหลักในการพัฒนาสถานศึกษาซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้จะทำให้ได้ข้อมูลสำหรับ ผู้บริหารสถานศึกษา สามารถนำไปประกอบพิจารณาปรบั ปรุงแก้ไขความเป็นผู้นำให้เหมาะสม และมีประสิทธิภาพมาก ขน้ึ ทั้งความพรอ้ มในการปรับตัว ดา้ นกระบวนการบรหิ ารจดั การ และพฒั นาให้มภี าวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ พร้อมรับกับ สภาพความเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจบุ นั ต่อไป วิธดี ำเนินการวิจยั 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชากร (Population) ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา และ ครูผูส้ อนท่ไี ดร้ ับมอบหมายใหป้ ฏบิ ัติหนา้ ทีห่ วั หน้างานบรหิ ารงานในสถานศกึ ษา สงั กัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ 7 ปีการศึกษา 2564 จำนวนสถานศกึ ษา 25 แหง่ จำนวนประชากร 910 คน กลมุ่ ตัวอย่างทใ่ี ช้ในการศกึ ษาครงั้ น้ไี ด้แก่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา รองผูบ้ ริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนท่ีได้รับ มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าทีห่ ัวหน้างานบริหารงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ได้มา จากการกำหนดขนาดของกล่มุ ตัวอยา่ งโดยใชต้ ารางของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970, p. 607-610) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 479 คน จากนั้นทำการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามขนาดของ สถานศกึ ษา และกำหนดผใู้ ห้ขอ้ มูลแตล่ ะระดับโดยการสุม่ อยา่ งงา่ ย (Simple random sampling) ดว้ ยวธิ กี ารจับสลาก แบบไมใ่ สค่ ืน 239
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2. เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั เครอ่ื งมือในการวิจัย ไดแ้ ก่ แบบสอบถาม (Questionnaire) ภาวะผนู้ ำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 ประกอบดว้ ย 3 ตอนดังน้ี ตอนที่ 1 แบบสอบถามเก่ยี วกับข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบสำรวจรายการ (Check list) ไดแ้ ก่ อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน ขนาดของสถานศึกษา และประเภทสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษา พเิ ศษ จำนวน 4 ขอ้ ลกั ษณะของแบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ในเชิงสร้างสรรค์ สร้างขึ้นตามขอบเขตของเนื้อหาที่ได้จากการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ หลักการ แนวคดิ และงานวิจยั ท่เี กีย่ วข้องทงั้ ในประเทศ และตา่ งประเทศ เกี่ยวกับคณุ ลักษณะของภาวะผู้นำเชิง สรา้ งสรรคต์ ามแนวคิดของ (สภุ าพ ฤทธิ์บำรุง, 2556, น. 12) ประกอบด้วย 5 ประเด็น ได้แก่ 1) การมวี ิสยั ทัศน์ จำนวน 9 ข้อ 2) การคำนึงถึงความเปน็ ปัจเจกบุคคล จำนวน 8 ข้อ 3) การมีความยดื หยุ่น และปรับตัว จำนวน 8 ข้อ 4) การทำงานอย่าง เป็นทีม จำนวน 7 ข้อ 5) การมีความคิดสร้างสรรค์ จำนวน 9 ข้อลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ โดยกำหนดตัวเลือกไว้ 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยมีเกณฑ์การให้ น้ำหนกั คะแนนตามแนวทางการสรา้ งเครื่องมือของลิเคอร์ท (Likert) ดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาด, 2557, น. 73) ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในขั้นตอนการเก็บรวบรวม ผู้วจิ ยั ดำเนินการดงั นี้ 1. ผวู้ ิจัยขอหนงั สือจากคณะศกึ ษาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ ถึงสถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ท่ีเปน็ สถานศกึ ษาตน้ สังกัดของกลมุ่ ตวั อย่าง เพอ่ื ขอความอนุเคราะหใ์ นการ ตอบแบบสอบถามการวจิ ยั 2. ผ้วู ิจัยได้ดำเนนิ การสง่ แบบสอบถามโดยใช้ Google forms ไปยงั สถานศกึ ษาที่เปน็ กลุ่มตวั อยา่ งผ่านทาง ระบบการสอื่ สารขอ้ มลู ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ของสถานศกึ ษาภายในสำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ โดยระบุผู้ตอบ แบบสอบถามคือผู้บรหิ ารสถานศึกษา รองผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และครผู สู้ อนท่ีปฏบิ ตั หิ น้าที่หวั หน้าบรหิ ารงานใน สถานศกึ ษา กำหนดวันสง่ คนื ภายใน 15 วนั 3. ผูว้ ิจัยทำการตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามที่ไดร้ ับคืนทง้ั หมด เพื่อนำไปวเิ คราะหข์ ้อมูลด้วย โปรแกรมทางสถิติต่อไป 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผู้วิจัยนำแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป และดำเนินการวิเคราะห์ ขอ้ มูลตามขน้ั ตอน ดงั นี้ 1.ตรวจนบั แบบสอบถามพร้อมทง้ั ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทไ่ี ด้รับกลบั คืนมา 2. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป โดยได้ วเิ คราะห์เน้อื หา ดงั ต่อไปน้ี 240
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2.1 ข้อมูลทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จำแนกตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การปฏิบัติงาน และขนาด ของสถานศึกษา คำนวณคา่ ความถี่ (Frequency) และคา่ รอ้ ยละ (Percentage) 2.2 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามแนวคิดของ (สุภาพ ฤทธิ์บำรุง, 2556, น. 12) ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การมี วิสัยทัศน์ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล การมีความยดื หยุน และปรับตัว การทำงานอย่างเป็นทีม การมีความคิด สรา้ งสรรคโ์ ดยใช้ค่าสถิติพ้นื ฐาน ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ซ่ึงกำหนดเกณฑ์ ในการแปลความหมายตามรายละเอียด 3. การวิเคราะหข์ ้อมูล เพอ่ื เปรยี บเทยี บระดับภาวะผูน้ ำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บริหาร สถานศกึ ษาในสังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา ด้วยการทดสอบค่า (t-test Independent) และประสบการณใ์ นการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา จำแนกตามวฒุ ิการศึกษา ดว้ ยการทดสอบค่า (F-test Independent) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจยั เร่อื ง ภาวะผ้นู ำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 ในครั้งนี้ศึกษาจากครูผู้สอนสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 479 คน เก็บ ขอ้ มูลดว้ ยแบบสอบถาม วเิ คราะหข์ อ้ มลู และนำเสนอผลการวิจัยตามลำดับดังน้ี ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสอบถามที่ส่งและได้รับคืน และสถานภาพของผู้ตอบ แบบสอบถามทเี่ ป็นครูผู้สอน สังกดั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ 7 จำแนกตามตัวแปร อายุ ประสบการณ์ ในการทำงาน ขนาดของสถานศึกษา และประเภทสถานศึกษาในสงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 1. ข้อมูลจำนวนแบบสอบถามแสดงว่าจำนวนแบบสอบถามที่ส่งไปยังครูผู้สอน สังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 จำนวน 479 ชุด ได้รับคืน จำนวน 479 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 ซึ่งเป็นแบบสอบถามที่ สมบูรณ์จำนวน 479 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 จำนวนและค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามตัวแปร อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน ขนาดของสถานศึกษา และประเภทสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ครผู ู้สอน สงั กดั สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กล่มุ 7 มีอายรุ ะหวา่ ง 31 – 40 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 40.27 สงู กว่าอายุ ระหว่าง 20 – 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 35.72 รองลงมาอายุระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 18.58 และต่ำสุดอายุ มากกว่า 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.43 ประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 6 – 10 ปี คิดเป็นร้อยละ 40.38 สูงกว่า ประสบการณ์ในการทำงานน้อยกว่า 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 35.72 รองลงประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 11 - 15 ปี คิดเป็นร้อยละ 18.62 และต่ำสุดประสบการณ์ในการทำงานมากกวา่ 15 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.28 ขนาดของสถานศึกษา ขนาดเล็ก (นักเรียนไม่เกนิ 120 คน) คดิ เป็นร้อยละ 52.21 สงู กวา่ ขนาดของสถานศึกษาขนาดกลาง (นักเรยี น 121 - 300 คน) คิดเป็นร้อยละ 29.08 รองลงมาขนาดใหญ่ (นักเรียน 301 ขึ้นไป) คิดเป็นร้อยละ 18.71 ประเภทสถานศึกษาใน สงั กัดสำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษกลมุ่ 7 โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ คิดเปน็ ร้อยละ 47.81 สูงกวา่ โรงเรียนเฉพาะคน พิการ คิดเป็นรอ้ ยละ 39.71 รองลงมาศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.48 ตามลำดบั 241
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 2. คา่ เฉลี่ย ( x ) คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดบั ความคิดเหน็ ของครูต่อภาวะผนู้ ำเชิง สร้างสรรค์ของ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม 7 โดยภาพรวม 5 ด้าน ระดบั ความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก ( x =3.79, S.D.= 0.98) เมื่อพิจารณเป็นรายดา้ น พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉลย่ี จากมากไปหาน้อย ได้แก่ ดา้ นการคำนงึ ถึงความเป็นปจั เจกบุคคล ( x = 3.91 ,S.D.= 0.89) ดา้ นการมคี วามยืดหยุ่นและ ปรับตัว ( x = 3.90 ,S.D.= 0.61) ด้านการทำงานเป็นทีม ( x = 3.85, .D.= 0.72) และค่าเฉลี่ยต่ำสดุ ได้แก่ ด้านการมี ความคดิ สรา้ งสรรค์ ( x = 3.48 ,S.D.= 0.75) ตามลำดบั 2.1 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความคิดเห็นของครูตอ่ ภาวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 ดา้ นการมีวสิ ยั ทัศน์ จำแนกตามรายข้อ ระดับ ความคิดเหน็ ของครูต่อภาวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ของผบู้ ริหารสถานศึกษา สงั กดั สำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ด้านการมีวสิ ยั ทัศน์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.82, S.D.= 0.47) เมื่อพจิ ารณเป็นรายดา้ น พบว่า อยู่ในระดบั มากทกุ ดา้ นสามารถเรยี งลำดับคา่ เฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ การมองการณ์ไกล สามารถคาดการณส์ ง่ิ ท่ีจะเกิดข้ึนได้ ในอนาคต ( x = 4.00 ,S.D.= 0.80) มีการกำกับ ติดตาม และทบทวนแผนกลยุทธ์เป็นประจำทุกปี ( x = 3.93 ,S.D.= 0.76) การมีกระบวนการคิดที่เป็นไปได้ในอนาคต ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่มุ่งสูค่ วามเป็นเลิศของสถานศึกษา ( x = 3.87 ,S.D.= 0.76) และคา่ เฉล่ยี ต่ำสดุ ได้แก่ การมคี วามคดิ ริเรม่ิ และเปลี่ยนแปลงแนวความคิดมาสู่แนวทางการปฏิบัติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเทา่ ทันต่อการเปล่ยี นแปลง ( x = 3.67 ,S.D.= 0.91) 2.2 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล จำแนกตามรายขอ้ ระดับความคิดเหน็ ของครูตอ่ ภาวะผนู้ ำเชิงสร้างสรรค์ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สงั กดั สำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ด้านการคำนึงถงึ ความเปน็ ปจั เจกบุคคล โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.91 ,S.D.= 0.49) เมือ่ พิจารณเป็นรายด้าน พบวา่ อยู่ในระดับมากทกุ ด้านสามารถเรยี งลำดบั ค่าเฉลยี่ สงู สุด 3 อนั ดบั แรก ได้แก่ การรับฟัง ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของผู้ร่วมงานหรือด้วยความสนใจ ( x = 3.97 ,S.D.= 0.82) มีการประเมินติดตาม การ แก้ไขปัญหา ภายหลังการดำเนินงานแต่ละโครงการ ( x = 3.96 ,S.D.= 0.76) การแสวงหาวิธีการให้สามารถแก้ไข สถานการณท์ ีเ่ ป็นปัญหา ความยงุ่ ยาก ความสบั สนวติ กกังวลเพื่อใหไ้ ดค้ ำตอบท่ตี อ้ งการบรรลตุ ามจดุ ม่งุ หมายท่ีต้งั ไว้ ( x = 3.96 ,S.D.= 0.74) และค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ การมอบหมายงานให้โดยคำนึงถึงความรู้ ความสามารถและความ เหมาะสมของแตล่ ะบุคคล ( x = 3.84 ,S.D.= 0.84) 2.3 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความคิดเห็นของครูตอ่ ภาวะผู้นำเชิงสรา้ งสรรค์ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ด้านการมีความยืดหยุน และปรับตัว จำแนก ตามรายข้อ ระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ด้านการมีความยืดหยุน และปรับตัว โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.90 ,S.D.= 0.51) 242
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมื่อพิจารณเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านสามารถเรยี งลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ผู้บริหาร สถานศกึ ษาร้สู กึ เต็มใจหรือยนิ ยอมที่จะกระทำตามข้อเสนอแนะของผู้ใต้บงั คับบญั ชา ( x = 3.97 ,S.D.= 0.74) ผูบ้ ริหาร สถานศึกษาบริหารด้วยยึดหลักความสุจริต ( x = 3.97 ,S.D.= 0.85) ส่งเสริมให้ผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทเป็นผู้ ประสานงาน วิเคราะห์ สังเคราะห์ความคิดเห็นต่าง ๆ ของทีมงาน เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน ( x = 3.95 ,S.D.= 0.86) และคา่ เฉลี่ยตำ่ สุด ได้แก่ สง่ เสริมบรรยากาศการทำงานที่บุคลากรยอมรับคณุ ค่าของเพ่ือนร่วมทีม ( x = 3.80 ,S.D.= 0.72) 2.4 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 ด้านการทำงานอย่างเป็นทีม จำแนกตามรายข้อ ระดับความคิดเห็นของครตู ่อภาวะผูน้ ำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 การทำงานอยา่ งเปน็ ทีม โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก ( x =3.85 ,S.D.= 0.52) เมื่อพิจารณเปน็ รายด้าน พบว่า อย่ใู นระดบั มากทกุ ด้านสามารถเรยี งลำดับค่าเฉล่ียสงู สดุ 3 อนั ดับแรก ได้แก่ ปรบั ปรุงเปลย่ี นแปลงยทุ ธวิธีการทำงานให้ เหมาะสมกับบริบทขององค์กร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานให้กับสถานศึกษา ( x = 3.92 ,S.D.= 0.55) สามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานได้หลากหลายรูปแบบ ( x = 3.87 ,S.D.= 0.87) ผู้บริหารสถานศึกษามีการ แสวงหาคำตอบได้อย่างอิสระมีความคิดทีห่ ลากหลาย ( x = 3.86 ,S.D.= 0.83) และค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ มีการแก้ไข สถานการณ์ให้เขา้ สูส่ ภาวะปกตโิ ดยเร็วเมอื่ เกดิ ปญั หาในการทำงาน ( x = 3.81 ,S.D.= 0.96) 2.5 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความคิดเห็นของครูตอ่ ภาวะผู้นำเชิงสรา้ งสรรค์ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ดา้ นการมคี วามคดิ สร้างสรรค์ จำแนกตามราย ข้อ ระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษา พิเศษ กล่มุ 7 ด้านการมีความคิดสร้างสรรค์ โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก ( x =3.48 ,S.D.= 0.75) เม่อื พจิ ารณเป็นราย ด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ มีความคิดริเริ่มนำสิ่งและ วิธีการแปลกใหม่มาใช้ในการวางแผนการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการศึกษาเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ ( x = 3.82 ,S.D.= 0.96) ผู้บริหารสถานศึกษามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัด การศึกษา ( x = 3.78 ,S.D.= 0.87) สถานศึกษาใช้วิธีการและเทคนิคทีแ่ ปลกใหม่และมีผลการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice) อยเู่ สมอ ( x = 3.76,S.D.= 0.83) และค่าเฉลย่ี ต่ำสุด ไดแ้ ก่ มีการกระต้นุ ผู้บริหารสถานศึกษาให้เกดิ ความคิด สรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่และคดิ นอกกรอบในการทำงานใหป้ ระสบความสำเรจ็ ( x = 2.51 ,S.D.= 0.64) ตอนท่ี 3 การวเิ คราะหข์ ้อมลู การเปรยี บเทียบความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผูน้ ำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 จำแนกตามตัวแปร อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน ขนาดของสถานศกึ ษา และประเภทสถานศกึ ษาในสงั กัดสำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ 3.1 ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของครตู ่อ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุม่ 7 ตามตัวแปรอายุ แสดงว่าระดบั ความคดิ เห็นของ ครตู อ่ ภาวะผนู้ ำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ 7 จำแนกตามอายุ โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดบั มาก เปรียบเทียบคา่ เฉลีย่ ( x ) ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความ 243
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี คิดเห็นของครูต่อ ภาวะผ้นู ำเชิงสรา้ งสรรค์ของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ 7 ตาม ตัวแปรอายุ ระดับความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงาน การศกึ ษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 ท่มี ตี ามตัวแปรอายุต่างกนั พบวา่ โดยภาพรวมไมแ่ ตกต่างกัน เม่อื พจิ ารณารายดา้ นพบวา่ ด้าน การมีความคิดสร้างสรรค์ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการทดสอบรายคู่ (Multiple Comparison) เปรียบเทยี บระดบั ความคิดเหน็ ของครูตอ่ ภาวะผนู้ ำเชงิ สร้างสรรคข์ องผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 ตามตวั อายุ ผลการทดสอบรายคู่ เปรียบเทียบระดบั ความคิดเหน็ ของครูอภาวะผู้นำ เชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามตัวแปรอายุ ด้านการมี ความคดิ สร้างสรรค์ พบวา่ กลุ่มทมี่ อี ายุ 20 – 30 ปี กับกลมุ่ อายุ 31 – 40 ปี และกลุ่มทมี่ อี าย3ุ 1 – 40 ปี กบั มากกว่า 50 ปี แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .01 ส่วนกลมุ่ ที่มีอายุ 20 – 30 ปี กับกลมุ่ ทม่ี ี 41 – 50 ปี กลุ่มท่ีมีอายุ 20 – 30 ปกี บั มากกวา่ 50 ปี กล่มุ ทมี่ ีอายุ31 – 40 ปี กบั กลุม่ ทีม่ ี 41 – 50 ปี และกลุ่มทีม่ ี 41 – 50 ปี กับกับมากกว่า 50 ปี ไมแ่ ตกตา่ งกนั 3.2 คา่ เฉล่ีย ( x ) คา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดบั ความคิดเหน็ ของครูต่อ ภาวะผนู้ ำเชิงสร้างสรรค์ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 ตามตัวแปรประสบการณ์การทำงาน แสดงว่า ระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรคข์ องผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามตัวแปรประสบการณก์ ารทำงานโดยภาพรวมและรายดา้ นอยู่ในระดับมาก เปรยี บเทียบค่าเฉลี่ย ( x ) คา่ ความ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 ตามตัวแปรประสบการณ์การทำงานระดบั ความคดิ เห็นของครูตอ่ ภาวะผนู้ ำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ที่มีตามตัวแปรประสบการณ์การ ทำงาน ตา่ งกนั พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการมีวสิ ยั ทศั น์ มคี วามแตกต่างอย่าง มีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .01 ผลการทดสอบรายคู่ (Multiple Comparison) เปรยี บเทยี บระดบั ความคิดเห็นของครู ต่อภาวะผูน้ ำเชิงสรา้ งสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ประสบการณ์การ ทำงาน ผลการทดสอบรายคู่ เปรียบเทยี บระดับความคิดเห็นของครูอภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามตวั แปรประสบการณ์การทำงาน ด้านการมีวิสยั ทศั น์ พบว่ากลุ่มที่มี ประสบการณ์การทำงานระหว่างน้อยกว่า 5 ปี กับประสบการณ์การทำงานระหว่าง 6 – 10 ปีและประสบการณ์การ ทำงานระหว่าง 6 – 10 ปกี บั ประสบการณก์ ารทำงานมากกว่า 15 ปีข้ึนไปแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนกลมุ่ ท่มี ีประสบการณ์การทำงานกลุ่มท่ีมีนอ้ ยกวา่ 5 ปีกบั ประสบการณก์ ารทำงานกลมุ่ ท่ีมีระหว่าง 11 - 15 ปี กลุ่มที่มปี ระสบการณ์การทำงานกลุ่มทีม่ ีน้อยกวา่ 5 ปกี บั ประสบการณ์การทำงานกลุ่มท่ีมีมากกวา่ 15 ปขี ึ้นไป กลุ่มท่ีมี ประสบการณ์การทำงานกลุ่มทม่ี รี ะหว่าง 6 – 10 ปกี ับประสบการณ์การทำงานกลุ่มที่มีระหวา่ ง 11 - 15 ปี และกลุ่มท่ีมี ประสบการณก์ ารทำงานกลุ่มทีม่ รี ะหว่าง 11 - 15 ปีกับประสบการณ์การทำงานกลุ่มท่ีมีมากกว่า 15 ปขี นึ้ ไปไมแ่ ตกต่างกัน 3.3 คา่ เฉลีย่ ( x ) คา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเหน็ ของครูต่อ ภาวะผ้นู ำเชิงสร้างสรรค์ ของผ้บู ริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ 7 ตามตวั แปรขนาดของสถานศกึ ษา แสดงวา่ ระดับ ความคดิ เหน็ ของครตู ่อภาวะผนู้ ำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 244
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตามตัวแปรขนาดของสถานศึกษาโดยภาพรวมและรายดา้ นอยู่ในระดับมากเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามตัวแปรขนาดของสถานศึกษาระดับความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผู้นำเชิง สรา้ งสรรคข์ องผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา สงั กดั สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ 7 ที่มตี ามตัวแปรตามตัวแปรขนาดของ สถานศกึ ษาตา่ งกัน พบวา่ โดยภาพรวมไมแ่ ตกต่างกัน เม่ือพิจารณารายดา้ นพบวา่ ดา้ นการมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ มีความ แตกตา่ งอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .01 ผลการทดสอบรายคู่ (Multiple Comparison) เปรยี บเทยี บระดับความ คดิ เหน็ ของครูต่อภาวะผูน้ ำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สงั กดั สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตาม ขนาดของสถานศึกษา ผลการทดสอบรายคู่ เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของ ผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 ตามตัวแปรขนาดของสถานศึกษาพบว่าขนาดของ สถานศึกษาขนาดเลก็ กับขนาดของสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดของสถานศกึ ษาขนาดกลางกับขนาดของสถานศึกษา ขนาดใหญ่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนขนาดของสถานศึกษาขนาดเล็กกับขนาดของ สถานศึกษาขนาดใหญ่ไมแ่ ตกตา่ งกัน 3.4 คา่ เฉลย่ี ( x ) ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดบั ความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผ้นู ำเชิงสร้างสรรค์ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สงั กัดสำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ 7 ตามตัวแปรประเภทสถานศึกษาในสังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 แสดงว่าระดบั ความคิดเหน็ ของครตู ่อภาวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 ตามตวั แปรประเภทสถานศกึ ษาโดยภาพรวมและรายดา้ นอยู่ในระดับมาก เปรียบเทยี บค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดบั ความคิดเห็นของ ครตู ่อ ภาวะผ้นู ำเชิงสร้างสรรค์ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ 7 ตามตัวแปรประเภทสถานศกึ ษาในสังกัดสำนัก บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษกลุ่ม 7 ระดบั ความคิดเหน็ ของครตู ่อ ภาวะผู้นำเชิงสรา้ งสรรค์ของผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกัด สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ 7 ทม่ี ีตามตัวแปรประเภทสถานศึกษาในสงั กัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกนั เมื่อพิจารณารายด้านพบวา่ ด้านการมีความยืดหยุนและปรบั ตัว มี ความแตกต่างอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .01 ผลการทดสอบรายคู่ (Multiple Comparison) เปรียบเทียบระดับ ความคดิ เห็นของครูต่อภาวะผนู้ ำเชงิ สร้างสรรค์ของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา สงั กัดสำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม 7 ตามประเภทสถานศกึ ษาในสังกัดสำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษกลมุ่ 7 ผลการทดสอบรายคู่ เปรียบเทียบระดับความ คดิ เหน็ ของครูต่อภาวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ด้าน การมีความยืดหยุนและปรับตัว ตามตัวแปรตามประเภทสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม 7 โรงเรียนเฉพาะคนพิการกับโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์และโรงเรียนเฉพาะคนพิการ และศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนขนาดของสถานศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์กับศูนย์การศึกษาพิเศษไม่ แตกตา่ งกัน สรุปผลการวจิ ัย การวจิ ัยครงั้ นีม้ ีวัตถุประสงค์เพ่ือศกึ ษา เปรยี บเทยี บ และรวบรวมขอ้ เสนอแนะ ภาวะผ้นู ำเชงิ สร้างสรรค์ของ ผู้บริหารสถานศึกษา สงั กดั สำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 จำแนกตามตวั แปร อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน 245
การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขนาดของสถานศึกษา และประเภทสถานศกึ ษาในสังกัดสำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุม่ 7 กำหนดขนาดของกลุ่ม ตวั อยา่ งจากตารางของเครจซ่แี ละมอรแ์ กน (Krejcie and Morgan, 1970, p. 608) แล้วใชว้ ิธกี าร สมุ่ อย่างง่าย โดยการ จบั สลากแบบไม่ใสค่ นื ตามจำนวนครูผู้สอน ทไี่ ด้จากช้นั ตอนที่ 2 ไดก้ ล่มุ ตวั อย่างครูผู้สอนสังกัดสงั กัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 479 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยค่าความเชื่อมั่น (Reliability) .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลย่ี ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน การทดสอบคา่ ที่ t-test การทดสอบคา่ F-test ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์การศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม 7 โดยภาพรวมและรายดา้ นสรุปผลได้ดงั นี้ จากการศกึ ษาพบว่า ความคิดเหน็ ของครูตอ่ ภาวะผ้นู ำเชิงสรา้ งสรรค์ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สงั กัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุม่ 7 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมอื่ พิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ อยู่ในระดบั มากทุกด้านสามารถ เรียงลำดบั คา่ เฉล่ียจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการคำนึงถงึ ความเปน็ ปัจเจกบุคคล ดา้ นการมีความยืดหยุน่ และปรับตัว ดา้ นการทำงานเปน็ ทมี ดา้ นการมคี วามคิดสร้างสรรค์ ตามลำดับ ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 จำแนกตามตัวแปร อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน ขนาดของสถานศกึ ษา และประเภทสถานศกึ ษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุม่ 7 2.1 ผลการเปรียบเทียบความคดิ เห็นของครูตอ่ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุม่ 7 ท่มี ีตามตวั แปรอายุตา่ งกนั พบว่า โดยภาพรวมไมแ่ ตกตา่ งกัน เม่อื พิจารณารายด้าน พบวา่ ดา้ นการมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ มีความแตกต่างอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .01 2.2 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผู้นำเชิงสรา้ งสรรคข์ องผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 ท่มี ีตามตัวแปรประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน พบวา่ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมอื่ พจิ ารณารายด้านพบว่า ด้านการมีวิสัยทัศน์ มคี วามแตกต่างอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติที่ระดบั .01 2.3 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกัดสำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7ที่มีตามตัวแปรตามตัวแปรขนาดของสถานศึกษาต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมไม่ แตกต่างกัน เม่ือพจิ ารณารายด้านพบว่า ด้านการมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ มีความแตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ .01 2.4 ผลการเปรียบเทียบความคดิ เห็นของครูต่อ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนัก บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุม่ 7 ที่มีตามตวั แปรประเภทสถานศกึ ษาในสังกัดสำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม 7 ต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการมีความยืดหยุนและปรับตัว มีความ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .01 3. ครูประมลข้อเสนอแนะต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กล่มุ 7 246
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 3 .1 ภาวะผู้นำดา้ นการมวี ิสัยทัศน์ ผู้บรหิ ารสามารถกำหนดเป้าหมายของหน่วยงานสคู่ วามเปน็ เลิศ นำไปใช้ พฒั นาบคุ ลากรให้มีแบบแผนการประพฤติปฏิบัตไิ ปในทิศทางท่ีต้องการ 3.2 ภาวะผนู้ ำด้านการคำนงึ ถงึ ปจั เจกบุคคล ผบู้ ริหารต้องยอมรับฟังความคดิ เหน็ และเหตุผลของครูในโรงเรียน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ครูใหเ้ กิดการพฒั นาตัวเองอยู่เสมอ 3.3 ภาวะผู้นำด้านการมีความยืดหยุ่นและปรับตัว ควรมีบุคลิกภาพที่ดีสามารถปรับตัวตอบสนองต่อการ เปล่ียนแปลง และสามารถคิดแกป้ ัญหาท่เี หมาะสมกบั สถานการณ์ 3.4 ภาวะผู้นำด้านการมคี วามคิดสร้างสรรค์ ต้องโน้มน้าวจิตใจ เอาใจครูให้ความเช่ือมั่นในองค์กร มีความคิด สร้างสรรคใ์ นการปฏบิ ัติงานในสำเร็จลลุ ่วงด้วยดี 3.5 ภาวะผู้นำด้านการทำงานเป็นทีม ผู้บริหารต้องร่วมรับผิดชอบเมื่อครูทำงานผิดพลาดภายหลังจาก มอบหมายงาน ร่วมกนั พฒั นา ยอมรับความคิดเหน็ ของครูดว้ ยความจรงิ ใจ อภปิ รายผลการวจิ ัย ผลการศึกษาภาวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 สามารถสรุปได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ดงั น้ี ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์การศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ 7 โดยภาพรวมและรายดา้ นสรปุ ผลไดด้ ังนี้ จากการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทกุ ด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ด้านการมีความ ยืดหยนุ่ และปรับตัว ดา้ นการทำงานเป็นทีม ดา้ นการมีความคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ รายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน ทัง้ นี้ อาจเปน็ เพราะผู้บริหารสถานศึกษาบริหารโดยยึดหลกั ความสจุ ริต มีวินัย ยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม มคี วามอดทน มุ่งมั่น ให้การสนับสนุนช่วยเหลือ เป็นแบบอย่าง ปรับตัวได้ตามสถานการณ์ พร้อมที่จะเปิดรับสิ่งใหม่ๆ ปรับเปลี่ยน เรียนรู้ทีเ่ กดิ ขึ้นมาพัฒนาองค์การ อาศัยความรู้ ประสบการณ์ เพื่อแกป้ ญั หา มีความสามารถคดิ วิเคราะห์ นับไดว้ ่า เป็นทัง้ ศาสตรแ์ ละศิลป์โนม้ น้าวใหผ้ ู้ตามมีความเต็มใจและมคี วามกระตือรือร้นในการร่วมกันปฏิบัติ ถอื ได้วา่ เป็นผลแห่ง ความสำเร็จและความมปี ระสิทธิผล สอดคล้องกับ มณฑา ศริ ิวงษ์ (2559, น. 128) ไดศ้ กึ ษาเรื่อง ภาวะผู้นำเชิงสรา้ งสรรค์ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาตามความคดิ เห็นของครู อำเภอองครักษ์ สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครนายก พบว่า ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูอำเภอองครักษ์ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครนายกโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดย เรยี งลำดับค่าเฉลยี่ จากมากไปหาน้อย ดังน้ี ดา้ นการคำนึงถงึ ความเปน็ ปัจเจกบุคคล ดา้ นการมคี วามยืดหยุ่นและปรับตัว ดา้ นการทำงานเปน็ ทีม ด้านการมีความคดิ สร้างสรรค์ ตามลำดับ 1.1 การมวี ิสัยทศั น์ ระดบั ความคิดเหน็ ของครตู อ่ ภาวะผูน้ ำเชิงสร้างสรรคข์ องผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ 7 ดา้ นการมวี ิสยั ทัศน์ โดยภาพรวมอย่ใู นระดับมาก เมื่อพิจารณเป็นรายดา้ น พบว่า อยู่ ในระดับมากทุกด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉล่ยี สูงสุด 3 อนั ดับแรก ได้แก่ การมองการณ์ไกล สามารถคาดการณ์สิ่งที่จะ 247
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เกิดขึ้นได้ในอนาคต มีการกำกับ ติดตาม และทบทวนแผนกลยุทธเ์ ป็นประจำทุกปี การมีกระบวนการคิดทีเ่ ป็นไปไดใ้ น อนาคต ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษา และค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ การมีความคิดริเรม่ิ และเปลยี่ นแปลงแนวความคดิ มาสู่แนวทางการปฏบิ ัติได้อย่างเหมาะสมเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพอ่ื ที่การสร้างภาพ อนาคตมองอนาคตซงึ่ จะเป็นเป้าหมายในการเดินไปสอู่ นาคต โดยวิธีการนำเอาระบบการวางแผนหรือสงิ่ ท่ีอยากเห็นใน อนาคตและเป็นส่งิ ที่ดกี ว่าเดมิ วสิ ัยทัศน์จะเกดิ จากการรู้จกั คิดโดยใช้ปญั ญาและมงุ่ ม่ันให้เกิดข้ึนจริงมีตัว สอดคล้องกับ กฤษพล อมั ระนันท์ (2559, น. 130) ได้ศึกษาเร่ือง การศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในอำเภอ แม่วงค์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2 มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอแม่วงค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของครกู ลมุ่ ตวั อย่าง ได้แก่ ครูในสถานศกึ ษาอำเภอแม่วงค์ สงั กดั สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 303 คน ผลการวิจัยพบว่า ระดับภาวะผู้นำเชิง สร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอแม่วงค์ สังกัดสำนักงานเขพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์เขต 2 ดา้ นการมวี สิ ัยทัศน์ อย่ใู นระดับมาก 1.2 การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหาร สถานศกึ ษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ 7 ดา้ นการคำนงึ ถงึ ความเป็นปัจเจกบุคคล โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก เม่ือพจิ ารณเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านสามารถเรยี งลำดบั ค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อนั ดบั แรก ได้แก่ การรับฟังความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของผู้ร่วมงานหรือด้วยความสนใจ มีการประเมินติดตาม การแก้ไขปัญหา ภายหลังการดำเนินงานแต่ละโครงการ การแสวงหาวธิ ีการให้สามารถแกไ้ ขสถานการณ์ทีเ่ ป็นปญั หา ความยงุ่ ยาก ความ สับสนวติ กกงั วล เพอ่ื ให้ได้คำตอบที่ต้องการบรรลุตามจุดมุ่งหมายทตี่ ง้ั ไว้ และคา่ เฉลย่ี ต่ำสดุ ไดแ้ ก่ การมอบหมาย งานใหโ้ ดยคำนงึ ถึงความรู้ ความสามารถและความเหมาะสมของแต่ละบุคคล อาจเปน็ เพราะผู้บริหารตอ้ งมอบหมายงาน ตามความนัดและความสามารถของบุคลากร มีความยุตธิ รรม มอบหมายและกระจายงานใหบ้ คุ ลากรอย่างเท่าเทียมกัน มี ปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อบุคลากรในสถานศึกษา ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยความเต็มใจ ส่งเสริมให้บุคลากรใน สถานศึกษาพัฒนาตนเองให้เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานและเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นอย่างยุติธรรม รวมทั้งเสริมแรง ทางบวกดว้ ยการยกย่องชื่นชมเมื่อบุคลากรในสถานศึกษาทำความดหี รอื มีผลงานอนั เป็นทน่ี ่าภาคภูมิใจ ดังนั้นผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ควรมอบหมายงานตามความถนัดและความสามารถของ บุคลากร มีปฏิสมั พันธท์ ด่ี ีตอ่ บุคลากในสถานศึกษา สง่ เสริมใหบ้ ุคลากรในสถานศึกษาพัฒนาตนเองให้เจริญก้าวหน้าใน หน้าท่ีการงานและเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นอย่างยุติธรรม สอดคล้องกับมณฑา ศิริวงษ์ (2559, น. 128) ได้ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ์ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู อำเภอองครักษ์ สำนักงานเขต พ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครนายก พบวา่ ภาวะผนู้ ำเชิงสรา้ งสรรค์ของผู้บริหารสถานศกึ ษาตามความคิดเห็นของครู อำเภอองครักษ์ สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครนายกโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาด้านการ คำนึงถงึ ความเปน็ ปัจเจกบุคคล อยใู่ นระดับมากทุกด้าน 1.3 การมีความยืดหยุ่น และปรับตัว ระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ด้านการมีความยืดหยุน และปรับตัว โดยภาพรวมอยู่ใน ระดบั มาก เม่อื พจิ ารณเป็นรายด้าน พบวา่ อยใู่ นระดบั มากทกุ ด้านสามารถเรยี งลำดับค่าเฉล่ียสงู สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ 248
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ผู้บริหารสถานศึกษารู้สึกเต็มใจหรือยินยอมที่จะกระทำตามข้อเสนอแนะของผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้บริหารสถานศึกษา บริหารด้วยยดึ หลักความสุจรติ ส่งเสริมใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศึกษามีบทบาทเปน็ ผู้ประสานงาน วิเคราะห์ สังเคราะห์ความ คดิ เหน็ ต่าง ๆ ของทมี งาน เพ่อื ให้เกดิ ความเชยี่ วชาญในการปฏิบัติงาน และค่าเฉลีย่ ต่ำสุด ได้แก่ สง่ เสรมิ บรรยากาศการ ทำงานที่บุคลากรยอมรับคุณค่าของเพ่ือนร่วมทมี เพอ่ื ให้ทันกับสถานการณ์ทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ผู้บริหาร ในยุคปัจจุบันต้องมีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่างของโลกยุคศตวรรษที่ 21 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษามีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติมีการกระจาย อำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาและ จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทกุ ระดับและประเภทการศึกษา มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนาครูคณาจารย์ บคุ ลากรทางการศกึ ษาอย่างตอ่ เนือ่ ง ระดมทรพั ยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศกึ ษา มีการกระจายอำนาจ 4 งานวชิ าการ งบประมาณ บคุ คลทวั่ ไป ไปยังเขตพน้ื ทแี่ ละสถานศกึ ษา ด้วยเหตุนี้ที่ผู้บริหารจำต้องมีความยืดหยุ่น ประกอบด้วย ความสามารถในการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ความสามารถในการปรับตัวตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างรวดเร็ว ผู้บริหารเปิดกว้างรับความคิดใหม่ ๆ อย่างอิสระ สอดคล้องกับ วนิช สุธารัตน์ (2557, น. 12) กล่าวว่าการเปลี่ยนแปลงตนเองให้เป็นบุคคลท่ีมีความคิดที่หลากหลาย ปรับตัวตามสถานการณ์ และเปิดใจกว้างสำหรับสิ่งใหม่ ๆ มีจิตใจที่ตื่นตัวพร้อมที่จะตรวจสอบความคิด และความ ยืดหยนุ่ ประกอบด้วย การปรบั ความคดิ ตามสถานการณ์ต่าง ๆ การปรับตวั ใหเ้ ข้ากบั สถานการณต์ ่าง ๆ และการเปิดกว้าง รบั มุมมองใหม่ ๆ และสอดคลอ้ งกบั ประพนั ธ์ริ สเุ สาร้จ (2558, น. 32) กล่าววา่ การกระทำที่หลากหลายมิติ หลายแง่มุม หลายรูปแบบ และความยืดหยุ่นประกอบด้วย การปรับด้วยตามสถานการณ์ การปรับตัวต่อวิธีการแก้ปัญหา และ ความสามารถในการกระทำที่หลายมีติความสามารถในการคิดและมองปัญหาพร้อมเห็นทางออกของปัญหาท่ี ที่ หลากหลายมมุ มอง 1.4 การทำงานอย่างเป็นทีม ระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สงั กดั สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กล่มุ 7 การทำงานอย่างเป็นทีม โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก เมื่อพิจารณเป็น รายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ยุทธวิธกี ารทำงานให้เหมาะสมกับบริบทขององค์กร เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงานให้กับสถานศึกษา สามารถ ปรับเปลย่ี นกระบวนการทำงานไดห้ ลากหลายรูปแบบ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษามีการแสวงหาคำตอบได้อยา่ งอิสระมีความคิด ที่หลากหลายและค่าเฉลี่ยต่ำสดุ ได้แก่ มีการแก้ไขสถานการณ์ให้เขา้ สูส่ ภาวะปกติ โดยเร็วเมื่อเกิดปัญหาในการทำงาน อาจเป็นเพราะระบบการทำงานของสถานศึกษาทกุ สถานศึกษาท่ีมีความรว่ มมอื กันภายในองค์กร โดยมกี ารตั้งขอ้ ตกลงใน การทำงานร่วมกัน การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า จนเกิดการทำงานอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับ กิดติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ (2559, น. 29) กล่าววา่ คณุ ลักษณะผ้บู ริหารการศึกษามอื อาชพี ประกอบดว้ ย การมองกว้างไกลอยา่ งตอ่ เน่อื ง และพร้อม ทีจ่ ะเปลย่ี นแปลง ตอ้ งมวี ิสัยทศั นส์ ามารถท่จี ะกำหนดกลยุทธใ์ นการบริหารได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมกบั สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ด้านการทำงานอยา่ งเปน็ ทีม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ดังนั้นผู้บริหารมืออาชีพต้องมีทักษะที่ สำคัญในการกำหนดเป้าหมายในการทำงานกำหนดนโยบายและวิธีทำงาน ที่ชัดเจน สามารถที่จะวิเคราะห์ สถานการณ์ เพื่อกำหนดแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติงนให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายได้อยา่ ง เหมาะสมไวต่อการรับรู้ ข่าวสารต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งในสังคมภายนอกและภายในองค์กรทั้งในและนอกเขตพื้นที่การศึกษารวมทั้งรู้จักการ 249
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 577
Pages: