Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

Published by ED-APHEIT, 2022-04-04 03:34:12

Description: ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ ครั้งที่ 6 การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565

Search

Read the Text Version

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ABSTRACT Purposes of “Management Approach of Scout Activity for Developing Student Characteristic of Primary Schools under Bangkok” were 1) to provide scout activity circumstances for developing student characteristic of primary schools under Bangkok 2) to compare management of scout activity for developing student characteristic among different sizes primary schools under Bangkok 3) to determine management approach of scout activity for developing student characteristic of primary schools under Bangkok. Population of the study were school administrators, leaders of student development activity, and scoutmasters among primary schools under Bangkok in 2020, involving 313 sampling from 431 schools. Questionnaires were applied with these statistics: Frequency, Percentile, Mean, Standard deviation, Analysis of variance (ANOVA), and Content analysis. Results were found as following: 1. Management of scout activity for developing student characteristic of primary schools under Bangkok was classified by school size regarding 4 management approaches: Large school – circumstance in scout activity for developing student characteristic was high ( X = 4.20), Medium school was high ( X = 4.18), and Small school was high ( X = 4.17). 2. Comparing the management of scout activity for developing student characteristic of primary schools under Bangkok with different sizes, no different was found. 3. Management of scout activity for developing student characteristic of primary schools under Bangkok regarding: Planning – school administrator should determine performance calendar including supervision and operation obviously: Organizing – administrator should encourage cognition training for scoutmaster and preparing replacement operators: Leadership – administrator should be excellent role model for establishing vision and morale for teachers and scoutmasters: Controlling – administrator should employ supervision and pursue the outcome of scout activity including operator, scout activity, and students continuously. KEYWORDS : Management, Scout activity, Student characteristic บทนำ ในส่วนการบริหารการศึกษาของสำนักการศึกษากรงุ เทพมหานคร ซึ่งเป็นหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบในการจดั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ตามมาตรฐานการจัดการศกึ ษาของรฐั บาลและไดใ้ หค้ วามสำคญั กบั การจดั กิจกรรมนักเรียน และ การจัดกิจกรรมลูกเสือก็เป็น 1 ในกิจกรรมนักเรียน ที่เป็นกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียนในด้านต่างๆ โดยสถานศึกษา จะตอ้ งมกี ารบรหิ ารจดั การอย่างเปน็ ระบบ ตั้งแต่ระดับนโยบาย การวางแผนไปสู่แนวปฏิบตั ิ ทก่ี ำหนดจากส่วนกลาง 450

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ลงไปจนถึงระดับปฏิบัติการในสถานศึกษา โดยสถานศึกษาควรมีแนวทางในการบริหารงานที่เป็นระบบและชัดเจน ตั้งแต่การกำหนดแนวนโยบาย การวางแผนสู่การปฏิบัติ การกำหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรผู้รับผิดชอบ การ บริหารจัดการด้านการเงินและงบประมาณ การสนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมสำหรับการจัด กิจกรรมลูกเสืออย่างเพียงพอ ตลอดจนการเตรียมความพร้อมและการให้ความรู้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องตลอดจน ผู้ปกครองและสาธารณชน เพื่อนำไปสู่ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อการพัฒนาผู้เรียนตามเป้าหมายท่ี ต้องการ ซง่ึ การดำเนินงานการจัดกิจกรรมลูกเสอื มีความจำเป็นที่จะตอ้ งมบี ุคคลที่เก่ียวข้องจากหลาย ๆ ฝ่าย เพ่ือจะ ไดม้ คี วามเข้าใจ มีความร่วมมือกันทำงานเพ่ือนำไปสู่การพฒั นาศักยภาพของผู้เรยี น และจากรายงานผลการประเมิน มาตรฐานภายนอกสถานศึกษา จุดมุ่งหมายของการศึกษา (Goals) การศึกษาเป็นเครื่องมือและกลไกในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ให้มีความเป็นพลเมอื ง เป็นคนดี มีวินัย เป็นพลเมืองทีด่ ีและมีคุณภาพของสังคม ประเทศและของ โลก มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านท่ีตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและ การพัฒนาประเทศ สามารถเรยี นรไู้ ด้ตามความสมัครใจ และดำรงชวี ติ ในสังคมอยา่ งเปน็ สุข มงี านทำ มีอาชีพ มีรายได้ รวมทั้งสามารถปรับตวั และดำรงชวี ติ ในสงั คมได้อยา่ งรเู้ ท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม พหุวัฒนธรรม ที่เป็นพลวัตในโลกศตวรรษท่ี 21 ซึ่งกิจกรรมลูกเสือเปน็ อีก 1 กิจกรรม ที่สถานศึกษาตอ้ งมีการดำเนินงานอยา่ งเป็น ระบบ เพื่อพัฒนาไปสู่คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่เสริมกับการจัดการเรียนการสอนด้านวิชาการ โดยมี วัตถปุ ระสงคข์ องการจัดกิจกรรมเพอ่ื พัฒนานกั เรยี นใน 8 ประการ คือ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพยี ง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ เพื่อปลูกฝัง และพฒั นาผู้เรียนให้เปน็ ผูท้ ี่มคี วามรคู้ ู่คณุ ธรรม มคี ณุ ลักษณะทด่ี ีสำหรบั การดำรงชวี ิตในสังคม แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาของประเทศไทยที่มีเป้าหมายในการพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนที่พึง ประสงค์ ได้พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข คอื 1) สร้างจติ สำนึกของคนไทยทุกช่วงวัยและประชาชนต่างเช้ือ ชาตทิ ีอ่ ยูใ่ นประเทศไทยใหม้ ีความจงรกั ภักดี และธำรงรักษาสถาบันหลกั ของชาติ ไดแ้ ก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 2) ปลูกฝงั และเสรมิ สร้างวถิ ีประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉนั ท์ สันตวิ ธิ ี ต่อต้านการทจุ รติ คอรร์ ปั ชัน่ และยึดมั่น ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข 3) เสรมิ สร้างความรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้อง เกีย่ วกบั สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ผา่ นหลักสตู รทัง้ ในและนอกระบบการศึกษา รวมท้งั ชอ่ งทางสื่อสารต่าง ๆ เชน่ ผ่านการเรียนร้ปู ระวัติศาสตร์ 4) สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ในสถานศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน 5) จัดให้มีการเรียนการสอนหรือกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการอยูร่ ่วมกนั ในสังคมพหุวัฒนธรรม 6) พัฒนาหลักสูตรและ การจัดการเรียนการสอนด้านความเป็นเมืองในทุกระดับการศึกษา (แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579) ซ่ึง กิจกรรมลูกเสือเป็นกระบวนการสำคัญที่สถานศึกษานำมาใช้เป็นเครื่องมอื ในการอบรมบ่มนิสัยเยาวชนและพลเมอื ง ของชาติ อีกทั้งกิจกรรมลูกเสือยังเป็นกิจกรรมที่สำคัญ เป็นที่ยอมรับกันทั้งภาครัฐและเอกชนว่าเป็นกจิ กรรมทีช่ ่วย พัฒนาเยาวชนของชาติอย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนำไปสู่ความมั่นคงของชาติและประชากรโลกอย่างแท้จริง กระบวนการและกจิ กรรมต่างๆในการจัดกิจกรรมลกู เสอื มุ่งพฒั นาสมรรถภาพของบุคคลทงั้ กาย สติปัญญา จติ ใจและ ศลี ธรรม เพ่อื ให้เปน็ บคุ คลท่มี ีความประพฤตดิ งี าม ไมก่ ระทำตนเปน็ ปญั หาตอ่ สงั คม และดำรงชีวติ อย่างมีความหมาย 451

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ผ่านการจัดกิจกรรมตามวิธีการของลูกเสือ (สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2553) อย่างไรก็ตามการจัดการ เรยี นการสอนในกิจกรรมลูกเสือ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สถานศึกษาควรจัด ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล จึงจะสามารถพฒั นาคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นให้ได้ตามวัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม ลูกเสือ แต่ในสถานการณป์ จั จุบันการดำเนินงานในการจดั การเรียนการสอนในกิจกรรมลูกเสือ ยังประสบปญั หาหลาย ประการ ท้ังปญั หาในด้านการบรหิ ารงานลกู เสือ และปญั หาด้านการจัดการเรียนการสอนลกู เสือ (สุทธิ สีพกิ า, 2560) สอดคล้องกับงานวิจัยของชัยวุฒิ สังข์ขาว (2557) ที่พบว่า ด้านการจัดการเรียนการสอนลูกเสือนั้น สถานศึกษาจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนลกู เสือ ไม่เหมาะสมกบั ความสนใจและความสามารถของผู้เรยี น นอกจากน้ยี ังมีงานวจิ ัยของ สมพิชญ์ วงษ์ด้วง (2557) ทศี่ กึ ษาเก่ยี วกบั ปัญหาในการประเมินผล นเิ ทศ ตดิ ตามผลการดำเนินงานลูกเสือไม่ชัดเจน เพียงพอ โรงเรียนต้องการเน้นให้เด็กเก่งทางด้านวิชาการมากกว่า ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ณัฐพงษ์ ปะนา สังข์ (2553) ทพ่ี บว่าในการบรหิ ารกิจกรรมลกู เสือในสถานศกึ ษา มีปญั หาด้านบุคลากรครูไม่ให้ความสำคัญและสนใจ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนลูกเสือ นักเรียนไม่ให้ความสำคัญและสนใจในการเรียนกจิ กรรมลูกเสือ ครูขาด ทักษะในการสอนวิชาลูกเสือ ตามที่หลักสูตรกำหนดไว้ ขาดสื่อที่ทันสมยั สำหรบั จัดการเรียนการสอน นักเรียนไม่ให้ ความสำคัญในการเรียนกิจกรรมลูกเสือหรือเป็นการเรียนเพื่อให้ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดไว้ เท่านั้น นักเรียนจึงไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการเรียนกิจกรรมลูกเสือ ปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นวา่ สถานศกึ ษาท่ีจัดการเรียนกิจกรรมลกู เสอื ยังไมส่ ามารถทำใหผ้ ู้เรยี นมคี วามสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือและไม่ สามารถพัฒนาผเู้ รียนใหบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงค์ของการจดั กิจกรรมลูกเสอื ไดอ้ ยา่ งท่ีควรจะเปน็ จากสภาพปัญหาและความสำคัญของการจัดกิจกรรมลูกเสือดังกล่าวข้างต้น จะเห็นว่าการจัดกิจกรรม ลกู เสอื เปน็ 1 ในภารกิจของผู้บริหารสถานศกึ ษาด้านการพัฒนาผเู้ รียน การจดั กิจกรรมลูกเสือจึงเป็นกลไกสำคัญใน การพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาแบบองค์รวมเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนรู้ด้านวิชาการใน 8 กลุ่มสาสระท่ี สถานศึกษาจดั ให้กับนกั เรียนโดยเฉพาะระดับประถมศกึ ษา เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่นักเรียนสามารถนำความรูท้ าง วิชาการมาบรู ณาการ เพือ่ ให้เกิดการเรียนรู้ สามารถนำไปปรบั ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน เพ่ือให้นักเรียนมี คุณลักษณะของผู้เรียนทีพ่ ึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดไว้นน้ั ทำให้ผู้วจิ ัยตระหนักและเหน็ ถึงความสำคัญของการดำเนินงานการจดั กิจกรรมลกู เสอื ของโรงเรยี น และต้องการท่ีจะ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวข้องกับสภาพการบริหารสถานศึกษาในการจัดกิจกรรมลูกเสือ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ ของผู้เรียนท่ีพงึ ประสงคข์ องกล่มุ โรงเรยี น สังกัดกรุงเทพมหานคร เพือ่ จะได้ทราบสภาพการดำเนนิ งานการจัดกิจกรรม ลกู เสือในปัจจบุ ัน และเสนอแนวทางในการจัดกิจกรรมลกู เสอื ของกลุ่มโรงเรียนสงั กัดกรงุ เทพมหานคร ซ่ึงผลการวิจัย ทีไ่ ดส้ ามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ เพื่อการบรหิ ารสถานศึกษาในการจัดกิจกรรมลูกเสือของสถานศึกษาของกลุ่มโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานครและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตามหลักการบริหาร สถานศึกษา และแนวทางการจัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สอดคล้องกบั เปา้ หมายและวตั ถุประสงค์ของการจัดบริหารงานกิจกรรมนักเรียน เพอื่ ใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและผู้ที่เกี่ยวข้องนำไป ปรับใช้ในการบริหารงานกจิ กรรมของสถานศึกษา เพื่อนำไปสู่การสร้างคุณภาพผูเ้ รียนให้บรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ ไป 452

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนของโรงเรยี นระดับ ประถมศึกษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อพฒั นาคณุ ลักษณะของผู้เรียนของโรงเรียนระดบั ประถมศึกษา สังกัดกรงุ เทพมหานคร ท่มี ขี นาดต่างกัน 3) เพอื่ ศึกษาแนวทางการบริหารการจดั กิจกรรมลกู เสอื เพ่ือพฒั นาคุณลักษณะของผู้เรียนของโรงเรียนระดับ ประถมศกึ ษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร วธิ ดี ำเนินการวิจัย 1 กลมุ่ ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 1. ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครง้ั น้ี ไดแ้ ก่ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา หัวหน้ากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ครูผู้สอน ลูกเสือ ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2563 จำนวน 431 โรงเรียน รวม 1,724 คน จำแนกเป็นผู้บรหิ ารสถานศึกษา 431 คน หวั หนา้ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 431 คน ครูผสู้ อนลกู เสอื 862 คน 2. กลุ่มตวั อย่าง ผู้ให้ข้อมูลคือ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา หัวหน้ากิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ครผู ู้สอนลูกเสือ ใน โรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2563 จำนวน 313 คน โดยใช้ตารางการกำหนด ขนาดกลมุ่ ตวั อย่างของเคอซ่มี อร์แกน ในระดับความเช่ือมน่ั 95% โดยทำการเก็บขอ้ มลู โรงเรยี นละ 4 คน ดงั น้ี - ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 1 คน - หวั หน้ากิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 1 คน - ครผู ูส้ อนลกู เสือ 2คน ตาราง 1 จำนวนประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง กล่มุ ประชากร กลมุ่ ตวั อยา่ ง ขนาด ผบู้ รหิ าร หัวหนา้ ครูผ้สู อน ผบู้ ริหาร หวั หน้า ครผู สู้ อน ของ สถานศกึ ษา กจิ กรรม ลกู เสือ รวม สถานศกึ ษา กจิ กรรม ลูกเสือ รวม โรงเรียน พัฒนา พฒั นา ผเู้ รยี น ผู้เรยี น ใหญ่ 100 100 200 400 18 18 37 73 กลาง 111 111 222 444 20 20 40 80 เลก็ 220 220 440 880 40 40 80 160 รวม 431 431 862 1,724 78 78 157 313 453

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2. เครื่องมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล การสรา้ งและการพฒั นาเครื่องมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย 1. ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามจากการศึกษาค้นคว้า และการวิเคราะห์เอกสารตำรา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ หลักการบริหารสถานศึกษาในการจัดกิจกรรมลูกเสือ เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนของโรงเรียนระดับ ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อตั้งเป็นข้อคำถาม ซึ่งหลักการบริหารสถานศึกษาประกอบด้วย หลักการ บรหิ ารใน 4 ดา้ น ประกอบด้วย 1. ดา้ นการวางแผน 2. ดา้ นการจัดองคก์ ร 3. ดา้ นภาวะผ้นู ำ 4. ดา้ นการควบคมุ 2. ผู้วิจัยนำเครื่องมือแบบสอบถามทีผ่ ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรกึ ษา เสนอผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 คน เพ่อื หาค่าความตรงตามเนื้อหา (Content validity) ตามลำดับ และเลอื กข้อคำถามท่มี คี ่า IOC อยูร่ ะหวา่ ง 0.6-1.0 โดยมรี ายละเอยี ดของแบบสอบถาม ดงั นี้ ตอนที่ 1 สถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) เกย่ี วกบั ขอ้ มูลท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ได้แก่ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษาและขนาด สถานศกึ ษา ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเกีย่ วกับสภาพการบรหิ ารสถานศกึ ษาเกี่ยวกบั การดำเนินงาน กิจกรรมลูกเสือเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยหลักการบริหารสถานศึกษา 4 ข้อ คือ1 . ด้านการวางแผน 2. ด้านการจัดองค์กร 3. ด้านภาวะผู้นำ 4. ด้านการควบคุม โดยผู้วิจัยกำหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนนเปน็ 5 ระดบั อ้างองิ จากของ Likert Scale ดงั น้ี 5 หมายถึง มีการดำเนนิ การในเรอ่ื งนน้ั อยู่ในระดับมากท่ีสดุ 4 หมายถงึ มกี ารดำเนินการในเร่ืองนน้ั อยู่ในระดบั มาก 3 หมายถึง มกี ารดำเนนิ การในเรอื่ งนนั้ อยู่ในระดบั ปานกลาง 2หมายถงึ มกี ารดำเนินการในเรอื่ งนนั้ อยใู่ นระดบั น้อย 1 หมายถึง มกี ารดำเนนิ การในเรอื่ งน้ันอยใู่ นระดับน้อยท่สี ดุ ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะหรือแนวทางการบรหิ ารการจัดกิจกรรมลกู เสือเพอื่ พัฒนา คณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา สังกดั กรุงเทพมหานคร 3. การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของเครื่องมือ โดยนำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้กับกลุ่ม ตวั อยา่ งท่ีไม่ใชก่ ลุ่มประชากร ( Try out ) จำนวน 30 คน ตามวิธีของ Cronbach (1974, p.161) โดยแบบสอบถามท่ี สรา้ งข้ึนนี้มคี ่าความเช่อื ม่ันท้งั ฉบับที่ 0.83 4. นำเครอื่ งมอื ที่ปรบั แกไ้ ขสมบรู ณ์แล้วไปเก็บข้อมลู กบั กลุ่มตวั อย่าง 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1. ผ้วู ิจัยทำหนังสือขอความรว่ มมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู ถึงผู้บริหารสถานศึกษา หวั หนา้ กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน และครผู สู้ อนลกู เสือ โรงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา ในสงั กัดกรุงเทพมหานครทเี่ ป็นกลุม่ ตวั อย่าง 454

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2. ดำเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมลู จากผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา หัวหน้ากจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น และครูผ้สู อนลูกเสือ ใน 2 ทาง คอื จัดส่งทางไปรษณยี แ์ ละจดั สง่ ดว้ ยตนเอง 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล ผูว้ จิ ัยตรวจสอบความถูกต้องและความสมบรู ณ์ของแบบสอบถามท่ีไดร้ วบรวมกลับมาจากกลุ่มตัวอย่างและ คัดเลือกแบบสอบถามทีส่ มบรู ณ์ มาใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลแล้วนำขอ้ มลู ท้งั หมดมาดำเนนิ การ ดงั น้ี 1. ขอ้ มูลทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ 2. ความคดิ เห็นของผู้บริหารสถานศกึ ษา หัวหนา้ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน และครูผสู้ อนลกู เสอื วิเคราะห์โดย ใชโ้ ปแกรมสำเรจ็ รูป เพ่อื หาคา่ เฉล่ยี ( X ) และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 3. เปรียบเทียบการบริหารสถานศกึ ษาการจดั กิจกรรมลูกเสอื เพื่อพฒั นาคณุ ลักษณะของผู้เรียนของโรงเรียน ทมี่ ีขนาดแตกต่างกัน โดยการทดสอบค่าเฉล่ียและการวิเคราะหค์ วามแปรปรวน (ANOVA) 4. การวเิ คราะห์เนอ้ื หาจากขอ้ เสนอแนะ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตาราง 2 ค่าเฉลย่ี ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับสภาพการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ เพื่อพฒั นา คณุ ลักษณะของผู้เรียน ของโรงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา สังกัดกรุงเทพมหานคร แยกตามขนาดของโรงเรยี น โดยภาพรวมและรายด้าน ขอ้ การบริหาร โรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดเล็ก การจดั กิจกรรม S.D. ระดับ S.D. ระดบั S.D. ระดบั ลกู เสือ X X X 1 ด้านการวางแผน กิจกรรมลกู เสอื 4.15 0.67 มาก 4.15 0.62 มาก 4.14 0.61 มาก 2 ดา้ นการจัดองค์การ 4.24 0.43 มาก 4.21 0.57 มาก 4.20 0.55 มาก กจิ กรรมลกู เสือ 4.21 0.51 มาก 4.18 0.53 มาก 4.19 0.49 มาก 3 ด้านการใช้ภาวะ ผู้นำกจิ กรรมลกู เสือ 4.20 0.50 มาก 4.18 0.55 มาก 4.17 0.52 มาก 4 ด้านการควบคุม 4.20 0.50 มาก 4.18 0.53 มาก 4.18 0.50 มาก กจิ กรรมลูกเสอื ค่าเฉลยี่ จากตาราง 2 พบวา่ สภาพการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสอื เพอ่ื พัฒนาคุณลกั ษณะของผู้เรยี น ของโรงเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร แยกตามขนาดของโรงเรยี น โดยภาพรวมในการบรหิ าร 4 ดา้ น ดงั น้ี โรงเรยี นขนาดใหญ่ มีสภาพการบรหิ ารการจดั กิจกรรมลกู เสอื เพ่ือพฒั นาคุณลกั ษณะของ 455

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผูเ้ รยี น โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ( X = 4.20) โดยมคี ่าเฉลย่ี เรยี งลำดบั ดังนี้ ด้านการจดั องคก์ ารกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.24) รองลงมาคอื ดา้ นการใช้ภาวะผู้นำกจิ กรรมลกู เสอื ( X = 4.21) และต่ำทสี่ ดุ คอื ดา้ นการวางแผนกิจกรรม ลูกเสือ ( X = 4.15) โรงเรียนขนาดกลาง มีสภาพการบรหิ ารการจดั กจิ กรรมลกู เสือเพอ่ื พัฒนาคณุ ลกั ษณะของ ผเู้ รยี น โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก ( X = 4.18) โดยมคี ่าเฉล่ียเรยี งลำดบั ดังน้ี ด้านการจัดองคก์ ารกจิ กรรมลูกเสือ ( X = 4.21) รองลงมาคอื ดา้ นการใชภ้ าวะผนู้ ำกิจกรรมลูกเสอื และด้านการควบคมุ กิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.18) และ ต่ำทส่ี ุดคือ ดา้ นการวางแผนกจิ กรรมลูกเสือ ( X = 4.15) โรงเรยี นขนาดเลก็ มสี ภาพการบริหารการจดั กจิ กรรมลูกเสือเพ่ือพัฒนาคุณลกั ษณะของ ผู้เรยี น โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ( X = 4.17) โดยมคี า่ เฉล่ียเรยี งลำดับ ดงั น้ี ด้านการจดั องค์การกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.20) รองลงมาคือ ด้านการใช้ภาวผู้นำกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.19) และ ต่ำที่สุดคือ ด้านการวางแผน กจิ กรรมลกู เสือ ( X = 4.14) ตาราง 3 ผลการเปรยี บเทยี บสภาพการบรหิ ารการจดั กิจกรรมลกู เสอื เพอ่ื พฒั นาคุณลักษณะของผเู้ รยี นของโรงเรยี น ระดบั ประถมศึกษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร ทมี่ ีขนาดตา่ งกัน โรงเรียน โรงเรยี นขนาด โรงเรียน ขนาด ขอ้ การบรหิ ารการจดั กจิ กรรมลูกเสือ ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก F Sig 1 ดา้ นการวางแผนกิจกรรมลกู เสือ S.D. S.D. X S.D. 2 ด้านการจัดองคก์ ารกจิ กรรมลูกเสือ 3 ด้านการใช้ภาวะผู้นำกจิ กรรมลกู เสอื XX 4.15 0.67 4.15 0.62 4.14 0.61 1.177 .374 4.24 0.43 4.21 0.57 4.20 0.55 .714 .274 4.21 0.51 4.18 0.53 4.19 0.49 .497 .445 4 ดา้ นการควบคุมกจิ กรรมลกู เสือ 4.20 0.50 4.18 0.55 4.17 0.52 .416 .441 รวมเฉล่ยี 4.20 0.53 4.18 0.69 4.18 0.54 .776 .410 คา่ นยั สำคัญทางสถติ ิท่ี 0.05 จากตาราง 3 พบว่า การเปรียบเทียบสภาพการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของ ผเู้ รยี นของโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา สังกัดกรงุ เทพมหานคร ของโรงเรียนทม่ี ขี นาดตา่ งกนั โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ไม่แตกต่างกันทั้ง 4 ด้าน ทั้งด้านการวางแผนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการจัด องคก์ ารกิจกรรมลูกเสอื ด้านการใช้ภาวะผนู้ ำกจิ กรรมลูกเสือ และด้านการควบคมุ กจิ กรรมลกู เสือ ตาราง 4 ผลการเปรยี บเทียบสภาพการบริหารการจดั กจิ กรรมลูกเสือเพ่ือพัฒนาคุณลกั ษณะของผู้เรยี นของโรงเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่มีขนาดต่างกัน ขอ้ การบรหิ ารการจัดกจิ กรรม แหล่งความ SS df MS F Sig ลกู เสือ แปรปรวน 1 ด้านการวางแผนกจิ กรรมลูกเสือ ระหวา่ งกลุม่ .000 2 .000 1.177 .374 ภายในกล่มุ .124 311 .000 313 456

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รวม .124 2 ด้านการจดั องคก์ ารกิจกรรม ระหวา่ งกลมุ่ .316 2 .158 .714 .274 ลูกเสอื ภายในกลุม่ รวม 108.096 311 .296 108.413 313 3 ดา้ นการใช้ภาวะผูน้ ำกจิ กรรม ระหว่างกลุ่ม .128 2 .064 .497 .445 ลกู เสอื ภายในกล่มุ รวม 75.312 311 .206 75.440 313 4 ดา้ นการควบคุมกจิ กรรมลกู เสอื ระหวา่ งกลุ่ม .001 2 .000 .416 .441 ภายในกลุ่ม รวม 64.134 311 .176 64.135 313 โดยภาพรวม ระหว่างกลุ่ม .111 2 .055 .776 .410 ภายในกล่มุ รวม 61.916 311 .169 62.028 313 คา่ นยั สำคัญทางสถิติที่ 0.05 จากตาราง 4 พบวา่ สภาพการบรหิ ารการจัดกจิ กรรมลกู เสือเพ่อื พฒั นาคุณลักษณะของผู้เรียนของโรงเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร ของโรงเรียนที่มีขนาดต่างกนั โดยรวมไม่แตกต่างกนั สรปุ ผลการวจิ ยั จากการวิเคราะหข์ อ้ มูล สรปุ ผลการวิจัยได้ดงั น้ี 1. สภาพการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน ของโรงเรียนระดับ ประถมศึกษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร แยกตามขนาดของโรงเรียนในภาพรวมของการบริหารงานทั้ง 4 ดา้ น มีดังน้ี โรงเรยี นขนาดใหญ่ มสี ภาพการบริหารการจัดกจิ กรรมลกู เสอื เพอื่ พัฒนาคณุ ลักษณะของ ผู้เรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.20) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดองค์การกิจกรรม ลูกเสือ ( X = 4.24) รองลงมาคือ ดา้ นการใชภ้ าวะผูน้ ำกจิ กรรมลกู เสือ ( X = 4.21) และต่ำทีส่ ดุ คือ ด้านการวางแผน กิจกรรมลกู เสอื ( X = 4.15) โรงเรยี นขนาดกลาง มีสภาพการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อพัฒนาคณุ ลกั ษณะของ ผู้เรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.18) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดองค์การกิจกรรม ลูกเสือ ( X = 4.21) รองลงมาคือ ด้านการใช้ภาวะผู้นำกิจกรรมลูกเสือและด้านการควบคุมกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.18) และต่ำท่ีสุดคอื ดา้ นการวางแผนกจิ กรรมลกู เสอื ( X = 4.15) โรงเรยี นขนาดเลก็ มสี ภาพการบรหิ ารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพือ่ พัฒนาคุณลกั ษณะของ ผู้เรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.17) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดองค์การกิจกรรม ลูกเสือและด้านการใช้ภาวะผู้นำกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.19) รองลงมาคือ ด้านการควบคุมกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.17) และตำ่ ทีส่ ดุ คอื ด้านการวางแผนกจิ กรรมลูกเสอื ( X = 4.14) 2. การเปรยี บเทยี บสภาพการบรหิ ารการจดั กิจกรรมลูกเสอื เพือ่ พฒั นาผูเ้ รียนให้เปน็ พลเมืองท่ี 457

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เข้มแขง็ ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา สงั กดั กรุงเทพมหานคร ท่ีมีขนาดตา่ งกัน โดยรวมไมแ่ ตกต่างกนั และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ไม่แตกต่างกันท้ัง 4 ด้าน คือด้านการวางแผนกิจกรรม ลกู เสือ ด้านการจัดองค์การกจิ กรรมลกู เสอื ดา้ นการใชภ้ าวะผนู้ ำกิจกรรมลกู เสือ และดา้ นการควบคมุ กจิ กรรมลกู เสอื 3. แนวทางการบรหิ ารการจัดกิจกรรมลกู เสอื เพื่อพัฒนาคณุ ลักษณะของผเู้ รียน ของโรงเรียนระดับ ประถมศึกษา สงั กดั กรุงเทพมหานคร ทไ่ี ด้จากแบบสอบถามปลายเปดิ ไดแ้ ก่ ดา้ นการวางแผน 1. ควรมีการกำหนดแผนงานปฏิทินการปฏิบัติงาน ทง้ั การนเิ ทศและติดตามผลการดำเนินงานอย่างชัดเจน 2.ควรมกี ารกำหนดแผนงานการปฏิบัติงานการจัดกจิ กรรมลกู เสือ เพอ่ื ให้ครหู รอื บุคลากรทีร่ บั ผิดชอบ ได้วางแผนงานในการจดั กจิ กรรมลกู เสอื ทีเ่ ปน็ ระบบ และดำเนินงานตามแผนทก่ี ำหนดไว้ 3. ควรเปดิ โอกาสให้ผปู้ ฏิบัติงาน หรอื บุคคลท่ีเกี่ยวข้องไดม้ ีบทบาทและมสี ว่ นร่วมในการกำหนด นโยบายและแนวทางปฏิบัติการจดั กิจกรรมลูกเสอื ร่วมกนั ด้านการจัดองค์กร 1. ผู้บริหารควรให้การสนบั สนนุ การจดั อบรมเพ่อื ให้ความรกู้ ับบคุ ลากรด้านการจดั กจิ กรรมลกู เสือเพื่อ เตรียมกำลงั คนทดแทนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการแต่งตั้งบุคลากรผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมลูกเสือไว้อย่างชัดเจน และควรมีการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านเพ่ือนำไปส่กู ารพิจารณาความดคี วามชอบ 3. ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีแผนการเตรยี มคนด้านการจัดกิจกรรมลกุ เสอื เพอื่ ทดแทนในกรณีที่มีคน เกษียณหรือลาออก ดา้ นภาวะผนู้ ำ 1. ผบู้ รหิ ารควรเป็นต้นแบบที่ดใี นการสรา้ งวิสัยทศั นแ์ ละสร้างขวัญกำลงั ใหก้ ับครหู รอื ผู้รบั ผิดชอบงาน การจดั กิจกรรมลกู เสือ 2. ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อการพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนที่พึง ประสงคใ์ นทกุ ๆมตติ ามเปา้ หมายที่สถานศกึ ษากำหนดไว้ ด้านการควบคมุ 1. ผู้บริหารควรมีระบบในการนิเทศและติดตามผลการจัดกิจกรรมลูกเสือทัง้ ในส่วนของผูป้ ฏิบตั ิงาน การจดั กจิ กรรมลกู เสอื และผู้เรียนอยา่ งต่อเนือ่ ง 2. ผู้บริหารควรมีการมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบรายงานผลการจัดกิจกรรมลูกเสือในแต่ละภาค การศกึ ษา เพือ่ นำผลการประเมินไปสู่การปรับปรุงและพฒั นางานในภาคเรยี นตอ่ ไป 458

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี อภปิ รายผล จากผลการวจิ ยั สามารถนำมาอภิปรายผล ไดด้ งั น้ี 1. สภาพการบรหิ ารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพอื่ พฒั นาคุณลักษณะของผูเ้ รยี นของโรงเรียนระดบั ประถมศึกษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากทกุ ดา้ น มีประเด็นรายละเอียดท่ีขอนำมาอภปิ รายผล ดังนี้ 1.1 ดา้ นการจดั องคก์ ารกจิ กรรมลกู เสอื เปน็ ด้านทม่ี คี ่าเฉลีย่ สงู ท่ีสุดการบริหารงานการจัดกิจกรรมลูกเสือใน สถานศึกษา ทัง้ โรงเรียนขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเลก็ และพบวา่ ข้อทีม่ ีค่าเฉลย่ี สงู ท่ีสุดคือ สถานศึกษามีการ มอบหมาย การแต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมลกู เสอื เปน็ ไปตามระเบียบคณะลูกเสือแห่งชาติ ซึ่งเป็นไปตาม หลักการบริหารองค์การและการบริหารงานบุคคล ที่ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีการมอบหมายและกำหนด ผู้รับผิดชอบในการดูแลงานกิจกรรมลกู เสือที่เหมาะสมและเพียงพอ ทั้งนี้โดยให้เป็นไปตามระเบยี บของคณะลูกเสือ แห่งชาติ และสอดคล้องกับการศกึ ษาวจิ ยั ของวนั ใหม่ สืบชนะ (2560) ไดศ้ กึ ษาการบริหารงานลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า การบริหารงาน ลูกเสอื สามัญในโรงเรยี น สงั กัดสํานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 ที่พบว่า การบรหิ ารงาน ลุกเสอื สามัญในโรงเรยี น โดยรวมอยู่ในระดบั มาก เรยี งตามลําดับ ดังน้ี การจดั การเรยี นการสอน การจัดบคุ ลากร การ วางแผน งบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ และการประเมินผล ทงั้ นี้อาจเปน็ เพราะวา่ ในปัจจบุ ันผบู้ ริหารสถานศึกษาได้ให้ ความสำคัญกับการจดั กิจกรรมลูกเสือมากข้ึน การจัดองค์การเพือ่ การบริหารงานท่ีเหมาะสมจึงเป็นภารกิจหนึง่ ของ ผู้บริหารที่จะต้องมีการจัดวางโครงสร้างองคก์ ร โครงสร้างการบรหิ ารงาน สายบังคับบัญชา การกำหนดบทบาทหน้าที่ ความสมั พันธ์ในการปฏิบตั ิต่อกันในองค์การ ตามขอบเขตความรับผดิ ชอบอำนาจหนา้ ท่ีวัตถปุ ระสงค์ความรับผิดชอบ ขององคก์ าร พร้อมทั้งดำเนินการจัดการให้มีการส่อื สารต่อกนั ในลกั ษณะในลักษณะต่างๆ เพอ่ื ให้สามารถปฏิบัติงาน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและการจัดองค์การทม่ี ปี ระสิทธิภาพ (ถาวร ยมรตั น,์ 2551) และข้อท่มี ีคา่ เฉลย่ี อยใู่ นระดับต่ำ คือ สถานศึกษามีการเตรียมครูให้สามารถปฏิบัติงานกิจกรรมลูกเสือได้เพ่ือทดแทน ในกรณีที่มีครูลาออกหรอื ย้าย งานในข้อนี้พบว่าโรงเรียนขนาดเล็กมีการดำเนินงานที่มคี ่าเฉลี่ยต่ำสุด แสดงให้เห็นว่าการจัดเตรียมคนเพื่อทดแทน อัตราที่หายไปมีความสำคัญ การให้ความรู้และการเตรียมคนจึงเป็นแนวทางในการดำเนินงาน ซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาของวา่ ที่รอ้ ยตรีสมาน ศรีมงคล (2554) ได้ศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปญั หาการบริหารงานกิจกรรม ลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่ โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา ในเขตอำเภอหนองใหญ่ สังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ชลบุรี เขต 1 พบว่าแนวทางแก้ไขปัญหาด้านการจัดองค์การ คือให้ฝ่ายบริหารมอบหมายหน้าที่ให้ผู้บังคับบัญชา ลูกเสอื รุ่นใหญใ่ นโรงเรียนใหช้ ดั เจน และพัฒนาครใู นโรงเรยี นใหม้ คี วามรคู้ วามเข้าใจในการจัดตงั้ ระบบหมูล่ กู เสือ กอง ลูกเสือ และกลุ่มลูกเสือสามัญรุน่ ใหญ่ โดยการจัดส่งไปอบรมตามหลักสูตรผูบ้ ังคับบัญชาลูกเสือขั้นความรู้ในระดบั ตา่ งๆ 1.2ด้านการใช้ภาวะผู้นำกิจกรรมลูกเสือ เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงเป็นลำดับที่ 2 ในการบริหารงานการจัด กจิ กรรมลกู เสือในสถานศึกษา ทั้งโรงเรยี นขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็กและพบว่าข้อท่ีมีค่าเฉลยี่ สูงที่สุด คือ ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะผู้นำเป็นแบบอย่างที่ดีในการชักจูงผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงาน ทั้งนี้แสดงให้เห็นว่า ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีภาวะความเป็นผู้นำ และใช้ภาวะผู้นำในการกระตุ้นการปฏิบัติงานของครูหรือ 459

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ผู้ใต้บังคับบัญชา และควรเป็นแบบอย่างการปฏิบัติตนที่ดีด้วย สอดคล้องกับการศึกษาของผกากรอง ศรีประไหม (2558) ที่กล่าวว่าคุณลักษณะท่ีดขี องผู้นำ ควรเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถสร้างสรรค์หรือปลูกฝังศรัทธา ความ กลมเกลียว ความร่วมมือร่วมใจให้เกิดข้ึนในระหว่างผู้ร่วมงาน ผู้ตาม การสร้างความไว้วางใจ ลักษณะเด่นเป็นคน กล้าแสดงออก มีการแสดงออกที่เหมาะสม มีความมั่นคงทางอารมณ์ มีความกระตือรือร้น มีอารมณ์ขัน อบอุ่น หรือมีความเอ้ืออารีมีความอดทนสงู ต่อความตึงเครียด รู้จักตนเองและมีวัตถุประสงค์ในการทำงาน และจิรวดี ทวี โชติ (2561) กล่าววา่ ภาวะผ้นู ำ หมายถึงการท่ีบคุ คลใช้อิทธพิ ลของตนในตำแหนง่ หน้าทเี่ พือ่ จูงใจให้บุคคลหน่ึงหรือ กล่มุ บุคคลปฏบิ ตั ติ ามแนวคิด ความตอ้ งการของตนดว้ ยความเต็มใจ ยินดีทจ่ี ะให้ความร่วมมอื ประสานงานในอันที่ จะก่อใหเ้ กิดการกระทำกจิ กรรมหรอื การเปล่ียนแปลงเพ่ือนำไปสกู่ ารบรรลุวัตถปุ ระสงค์ทก่ี ำหนดไว้ร่วมกนั และข้อท่ี มีค่าเฉลี่ยอยูใ่ นระดับต่ำที่สุดคอื ผู้บริหารสนับสนนุ การมีสว่ นรว่ มของครใู นการตัดสนิ ใจและร่วมแกไ้ ขปญั หาในการ จดั กิจกรรมลกู เสือในสถานศึกษา ในการดำเนนิ งานขอ้ นี้ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาควรเปิดโอกาสให้ผู้ท่เี ก่ียวขอ้ งมีส่วนร่วม ในการดำเนินการ ตั้งแต่การร่วมวางแผน ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมมือและอื่นๆให้มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการให้ ความสำคญั กับผูป้ ฏิบัตงิ านและจะได้ร่วมกันดำเนนิ งานที่เกี่ยวข้องในรูปแบบการทำงานเปน็ ทีม รวมท้ังจะได้ช่วยกัน พัฒนางานให้ดีขึ้นอีกด้วย ซึ่งผลการวิจัยสอดคล้องกับการศึกษาของ วุฒิพงษ์ ฟุ้งสุวรรณ (2554) ที่ได้ศึกษาสภาพ และปญั หาการบริหารกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 มี แนวทางพฒั นาดา้ นภาวะผู้นำ คอื ผู้บรหิ ารสถานศึกษาควรมอบหมายอำนาจการตัดสินใจให้กับผู้บงั คับบญั ชาลูกเสือ ในการบิหารกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา โดยการจัดทำโครงสร้าง ข้อกำหนดและระเบียบปฏิบัติของสถานศึกษา เกย่ี วกับการบริหารกิจกรรมลูกเสอื ใหก้ ับผู้ทร่ี ับผิดชอบ 2) ผ้บู รหิ ารสานศึกษาควรมกี ารรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและ กันของบุคลากรที่เก่ยี วกับการจดั กิจกรรมลูกเสือในสถานศกึ ษา 1.3 ดา้ นการควบคุมกจิ กรรมลูกเสือ เป็นดา้ นทม่ี ีคา่ เฉลี่ยสงู เป็นลำดบั ท่ี 3 ในการบรหิ ารงานการจัดกิจกรรม ลูกเสือในสถานศึกษา ทั้งโรงเรียนขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็กและพบว่าข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ สถานศึกษามีการประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกเสืออย่างเป็นระบบและนำผลการประเมินไปสู่การปรับปรุงการจัด กิจกรรมลูกเสือให้เหมาะสมต่อไป ทั้งนี้การประเมินผลจะเป็นกระบวนการในการกำกับติดตามงานและประเมินผล การดำเนนิ งานของผ้ทู ่ีเก่ียวข้องของผบู้ ริหาร และหากไดน้ ำผลการประเมนิ มาวิเคราะห์เพ่อื นำไปสกู่ ารพฒั นางาน ถือ วา่ เป็นการบริหารงานทเี่ ป็นระบบของผบู้ ริหารและหนว่ ยงาน ซ่งึ ผลการวจิ ัยทีพ่ บสอดคล้องกบั ท่ีเนตร์พัณณา ยาวิราช (2554) ได้กล่าวว่า การควบคุม คือ หน้าที่ทางการบริหารจัดการสำหรับผู้บริหารในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็น มาตรฐานวัดผลการทำงานในองค์การ รวมทั้งการวัดผลการทำงานในปัจจุบนั เพื่อให้มีมาตรฐาน เช่น มาตรฐานการ ดำเนนิ การ มาตรฐานดา้ นคณุ ภาพ มกี ารเปรยี บเทยี บกับผลงานทท่ี ำได้เพื่อปรับปรงุ แก้ไขผลงานให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ลดการสูญเสีย สิ้นเปลือง เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์การ ผู้บริหารสามารถกระจายภาระงาน หรืออำนาจหน้าที่ไปสู่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ การควบคุมที่เป็นระบบและมีความต่อเนื่อง จะช่วยให้ผู้บริหารใช้การ ควบคุมเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ และกระตุ้นเตือนหรือจูงใจบุคลากรในองค์การให้ปฏิบัติงาน และการ ควบคุมจะทำให้ผู้บริหารทราบว่า บุคคลใดทำงานต่ำกว่ามาตรฐานบุคคลใดทำงานได้สูงกว่ามาตรฐาน อันจะช่วยให้ ผู้บริหารพิจารณามอบอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติงาน หรือมอบภาระงานให้แก่บุคคลอย่างเหมาะสมทำให้องค์การ 460

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ และข้อท่มี ีคา่ เฉล่ยี อยู่ในระดบั ต่ำคือ สถานศึกษามกี ารวัดและประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน ของครูผู้รับผดิ ชอบการจัดกิจกรรมลูกเสือให้เป็นไปตามระเบียบคณะลูกเสือแห่งชาติ ในกระบวนการบริหารการวดั และประเมินผลการปฏิบัตเิ ป็นข้ันตอนทีจ่ ะต้องมีการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง เพื่อผู้บริหารจะได้รับทราบปญั หา และแนวทางเพ่ือการปรบั ปรุงงานอย่างเปน็ ระบบ ซง่ึ สอดคลอ้ งกับการศึกษาของว่าทรี่ ้อยตรีสมาน ศรีมงคล (2554) ที่ได้ศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ โรงเรียนขยายโอกาสทาง การศึกษา ในเขตอำเภอหนองใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 พบว่าแนวทางพัฒนาด้านการ ควบคมุ คอื การนำผลจากการประเมินการจัดกจิ กรรมลกู เสอื ไปใช้ในการวางแผนกจิ กรรมลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ ดังนน้ั ในการควบคุมนอกจากการติดตามผลแล้วจะต้องมีการนำผลการประเมินไปพัฒนาหรือปรับปรุงการดำเนินงานท่ี เกีย่ วข้องใหม้ ีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ลตอ่ ไปดว้ ย 1.4.ด้านการวางแผนกิจกรรมลูกเสอื มีค่าเฉลย่ี อยู่ในระดับต่ำกวา่ ดา้ นอ่ืนๆในการบรหิ ารงานการจัดกิจกรรม ลูกเสือในสถานศึกษา ทั้งโรงเรียนขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็กโดยพบขอ้ ทีม่ ีคา่ เฉลี่ยต่ำสุดคอื สถานศึกษา วเิ คราะหส์ ภาพปัจจุบันของการจัดกิจกรรมลกู เสือเพอื่ นำไปสกู่ ารกำหนดวิสยั ทัศน์และพันธกิจท่ีเกี่ยวกับการพัฒนา ผู้เรียน ซึ่งหลักการบริหารองค์การกระบวนการแรกคือ การวางแผนที่ดีจะช่วยกำหนดแนวทางในการปฏิบัติและ นำไปสู่การปรับปรุงการดำเนินที่เป็นระบบ ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันเกี่ยวกับการจัด กิจกรรมลูกเสือที่ต้องเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การกำหนด วสิ ยั ทศั น์และพันธกจิ ทีเ่ กย่ี วกบั การพฒั นาผู้เรยี น และคุณลักษณะผเู้ รยี นทีพ่ งึ ประสงค์ ซ่ึงผลการวจิ ัยสอดคล้องกับที่ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช (2552) ไดก้ ลา่ ววา่ องคป์ ระกอบในการวางแผนที่ดีว่า การวางแผนท่ีดตี ้องสนับสนุน เป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์การ และวัตถุประสงค์นั้นต้องแน่นอน เข้าใจง่าย มีความสอดคล้องและชัดเจน สามารถนำทรัพยากรทีม่ ีอยู่อย่างจำกัดมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีความยืดหยุ่น สามารถนำไปใชใ้ ห้เหมาะสมกบั สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้ ให้โอกาสในการมสี ่วนรว่ มของบคุ คลหลากหลายในการกำหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการและการประเมินผล มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของบคุ ลากรให้ชดั เจนตามขอบเขตภารกิจที่กำหนดไว้ คำนึงถึงปัจจัยขั้นพ้ืนฐาน อันได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน ปัญหาและความต้องการขององค์การ คำนึงถึงประสิทธิภาพโดย เนน้ การมีระบบควบคุมทเี่ หมาะสม จะชว่ ยใหอ้ งคก์ ารสามารถดำเนินการไปไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 2. การเปรยี บเทียบสภาพการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะของผูเ้ รยี นของโรงเรยี น ระดับประถมศึกษา สงั กดั กรุงเทพมหานคร ทีม่ ีขนาดตา่ งกนั โดยรวมไมแ่ ตกตา่ งกัน และเมือ่ พิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า ไมแ่ ตกต่างกนั ท้ัง 4 ดา้ นเชน่ กนั คอื ดา้ นการวางแผนกจิ กรรมลกู เสอื ด้านการจดั องคก์ ารกิจกรรมลูกเสือ ดา้ น การใช้ภาวะผ้นู ำกิจกรรมลกู เสือ และดา้ นการควบคมุ กจิ กรรมลูกเสอื ทงั้ น้ี อาจเปน็ เพราะวา่ การจดั กจิ กรรมลูกเสอื ของโรงเรียนถอื เปน็ ภารกจิ หลกั ในการพฒั นาคุณลักษณะผเู้ รียนทพี่ ึงประสงค์ และการจดั กิจกรรมลกู เสอื มกี าร กำหนดแนวปฏิบัติทท่ี ุกโรงเรยี นตอ้ งจัดดำเนินงานอยู่แลว้ โดยไมเ่ กี่ยวข้องกับขนาดทแี่ ตกตา่ งกันของโรงเรยี น ซงึ่ ทุก โรงเรียนจะตอ้ งมกี ารจัดกจิ กรรมลกู เสือท่เี ปน็ ไปตามการบริหารงานท้งั ด้าน ซึ่งการแนวทางในการปฏิบัตงิ านจะเป็น การทำงานรว่ มกันของบุคลากรทัง้ 3 กลมุ่ ประกอบด้วย ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา หัวหนา้ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น และ ครูผ้สู อนลูกเสือ โดยทุกโรงเรยี นจะการกำหนดแนวปฏบิ ัติและปฏทิ นิ การปฏิบัติงานในการจดั กิจกรรมลูกเสอื ที่ชัดเจน 461

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน ดังนัน้ แม้โรงเรยี นสังกดั กรงุ เทพมหานครจะมขี นาดท่ีแตกต่างกนั ก็พบว่ามี การบริหารการจดั กจิ กรรมลกู เสือเพือ่ พัฒนาผ้เู รียนใหม้ คี ุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของวฒุ ิพงษ์ ฟุ้งสวุ รรณ (2554) ไดศ้ กึ ษาสภาพและปญั หาการบริหารกจิ กรรมลูกเสือในสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน สังกัดสำนักงานเขต พน้ื ทกี่ ารศึกษานนทบรุ ี เขต 1 พบว่า สภาพการบริหารกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน สงั กัดสำนกั งานเขต พืน้ ทีก่ ารศกึ ษานนทบรุ ี เขต 1 ท่ีมีขนาดตา่ งกัน มีสภาพการบรหิ ารกจิ กรรมลกู เสอื ในสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษานนทบรุ ี เขต 1 โดยภาพรวม ไมแ่ ตกต่างกนั สุรสทิ ธิ์ กาฬมาตย์ (2554) ไดศ้ ึกษาสภาพ การบรหิ ารกจิ กรรมลูกเสือสามัญในสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน สังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามุกดาหาร พบวา่ การ บริหารกจิ กรรมลกู เสอื สามัญในสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามุกดาหาร จำแนกตาม ขนาดโรงเรียน ไมแ่ ตกต่างกนั เชน่ กัน 3. แนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนของโรงเรียนระดับ ประถมศกึ ษา สงั กดั กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะที่เป็นผลจากการวิจัยเพื่อนำเสนอแนวทางในการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อ พฒั นาคณุ ลกั ษณะของผ้เู รียนของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา สังกัดกรงุ เทพมหานคร ดังตอ่ ไปน้ี 1. ด้านการวางแผนกิจกรรมลกู เสอื 1.1 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาควรมกี ารวิเคราะหส์ ภาพปัจจุบนั ของแผนงาน โครงการ และ กิจกรรมในการดำเนินงานกิจกรรมลูกเสือ เพื่อนำไปสู่การกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจที่เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียน เพ่ือลดปญั หาท่ีอาจจะเกิดข้นึ และเพื่อใหก้ ารจัดกิจกรรมลูกเสอื บรรลวุ ตั ถุประสงค์ท่ตี ั้งไว้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 1.2 ผู้บริหารสถานศกึ ษาควรมกี ารกำหนดแผนงานปฏทิ ินการปฏิบตั ิงาน ทัง้ การนิเทศและติดตามผลการ ดำเนนิ งานอยา่ งชัดเจน 1.3 ควรมีการกำหนดแผนงานการปฏบิ ตั งิ านการจดั กิจกรรมลูกเสอื เพ่อื ให้ครหู รอื บคุ ลากรที่ รับผิดชอบได้วางแผนงานในการจัดกจิ กรรมลกู เสอื ทเ่ี ป็นระบบ และดำเนนิ งานตามแผนทกี่ ำหนดไว้ 1.4 ควรเปดิ โอกาสให้ผู้ปฏิบัตงิ าน หรือ บคุ คลท่ีเกีย่ วข้องไดม้ บี ทบาทและมสี ว่ นร่วมในการกำหนด นโยบายและแนวทางปฏบิ ัติการจดั กิจกรรมลกู เสอื ร่วมกัน 2. ดา้ นการจัดองค์การกจิ กรรมลูกเสือ 2.1 ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาควรมกี ารเตรียมครูใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมลูกเสือได้เพือ่ ทดแทน ในกรณที ม่ี ีครูลาออกหรอื ย้ายงาน 2.2 ผ้บู ริหารสถานศึกษาควรมกี ารวางแผนอัตรากำลังคน เพอ่ื ทดแทนในบางตำแหน่งทีม่ ี การลาออกหรอื ยา้ ยงาน 2.3 ควรมกี ารกำหนดลักษณะของภารกจิ และอำนาจหนา้ ทใ่ี นการปฏิบัติงานกจิ กรรมลกู เสือ ใหม้ คี วามชัดเจน เพือ่ ให้การทำงานไม่ซ้ำซ้อน และมีความชดั เจนในการปฏบิ ตั มิ ากยิ่งข้ึน 2 .4 ควรมแี นวทางในการส่งเสรมิ และพัฒนาครูผรู้ ับผิดชอบใหม้ ีความรแู้ ละทักษะการปฏิบตั ิงานการจดั กจิ กรรมลูกเสือ เพือ่ นำไปสกู่ ารพัฒนาคุณลกั ษณะของบผูเ้ รยี นทพ่ี งึ ประสงค์ตามท่กี ำหนดไว้อยา่ งเปน็ ระบบ 462

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3. ด้านการใช้ภาวะผู้นำกิจกรรมลกู เสอื 3.1 ผบู้ ริหารสถานศึกษาควรสนับสนนุ การมีสว่ นรว่ มของครูและผทู้ ่ีเก่ยี วขอ้ งในการตดั สนิ ใจ และร่วมแกไ้ ขปัญหาในการจดั กจิ กรรมลูกเสือในสถานศึกษา เพื่อเป็นการกระตนุ้ และสร้างภาวะผู้นำในทกุ ระดบั รวมทั้งเพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลในการจัดกิจกรรมลูกเสือ และนำไปสพู่ ัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ พลเมืองที่ เขม้ แขง็ ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติของโรงเรยี นระดับประถมศกึ ษา 3 .2 ผู้บริหารควรเป็นต้นแบบที่ดใี นการสร้างวิสยั ทัศน์และสร้างขวัญกำลังให้กับครูหรือผู้รับผิดชอบงาน การจัดกิจกรรมลูกเสอื 3.3 ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อการพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนที่พึง ประสงคใ์ นทกุ ๆมตติ ามเปา้ หมายท่ีสถานศึกษากำหนดไว้ 4. ดา้ นการควบคมุ กิจกรรมลูกเสอื 4.1 ผูบ้ ริหารสถานศึกษาควรมีการกำหนดขัน้ ตอนการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของครู ผรู้ บั ผิดชอบการจัดกิจกรรมลูกเสอื ให้เป็นไปตามระเบยี บคณะลกู เสอื แห่งชาติอย่างเปน็ ระบบ 4 .2 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีระบบในการนิเทศและติดตามผลการจัดกิจกรรมลูกเสือทั้งในส่วนของ ผู้ปฏิบตั ิงาน การจดั กจิ กรรมลกู เสอื และผูเ้ รียนอยา่ งต่อเน่ือง 4.3 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาควรมีการมอบหมายให้ผู้รับผดิ ชอบรายงานผลการจดั กจิ กรรมลูกเสือในแต่ละ ภาคการศกึ ษา เพื่อนำผลการประเมินไปสกู่ ารปรับปรุงและพัฒนางานในภาคเรียนต่อไป ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรมีการศึกษาปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่ส่งผลต่อการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นพลเมืองที่เข้มแข็งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัด กรุงเทพมหานคร หรือกลมุ่ โรงเรียนอื่นๆ 2. ควรศึกษาความสมั พันธ์ดา้ นความร่วมมอื ระหวา่ งโรงเรียนกับชุมชนเพ่อื การพัฒนาผ้เู รยี นใหเ้ ป็นพลเมอื งที่ เขม้ แข็งตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาตใิ นกลุ่มโรงเรยี นอน่ื ๆ เอกสารอ้างองิ กรองกาญจน์ เชดิ ชยั วชริ ากลุ . (2560). การมีส่วนร่วมของผูป้ กครองในการจดการศกึ ษาปฐมวัยของโรงเรยี นเอกชนใน กลุ่มสมาคมสหศึกษา. วิทยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุร.ี กติ ติ กรทอง. (2555). การมีสว่ นรว่ มของผ้ปู กครองในการดำเนนิ การจดั การศกึ ษาระดบั กอ่ นประถมศึกษา ศูนยพ์ ัฒนา เดก็ เล็กในเขตอำเภอพระประแดง จังหวดั สมุทรปราการ. วทิ ยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุร.ี กติ ตวิ รรณ แสนโท. (2556). การศึกษาภาวะผู้นำทางวชิ าการของผู้บรหิ ารสถานศึกษาตามความคดิ เห็นของครู โรงเรียนในสงั กัดเทศบาลนครระยอง จังหวดั ระยอง. วิทยานิพนธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ 463

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลยั บรู พา. กติ ตศิ ักด์ิ ปรกติ. (2555). เอกสารประกอบการอภิปรายความสำคัญของพลเมอื งต่อการพัฒนาประชาธิปไตยในการ ประชมุ วชิ าการของสถาบันพระปกเกลา้ ครงั้ ที่ 13 ประจำปี 2554 ระหว่างวนั ท่ี 22-24 มนี าคม 2555 ณ ศนู ย์ประชมุ สหประชาชาต.ิ เกง่ ตลาดธาน.ี (2550). การบรหิ ารงานสถานศกึ ษาทเี่ ปน็ นติ ิบุคคลตามรปู แบบศนู ย์พฒั นาคุณภาพการศึกษาในเขต อำเภอเมอื ง สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามหาสารคาม เขต 1. วิทยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. จารณุ ี อินทรเ์ พ็ชร. (2559). องค์ประกอบของการบรหิ ารศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กทส่ี ง่ ผลตอ่ คุณภาพของผเู้ รยี ตาม มาตรฐานกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถนิ่ สังกดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ.์ ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. จติ รา ทรพั ย์โฉม. (2556). ความสมั พันธร์ ะหวา่ งภาวะผนู้ ำการเปลย่ี นแปลงของผูบ้ ริหารโรงเรียนกับประสทิ ธิผลการ บรหิ ารโรงเรียนสงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมสกลนคร เขต 2. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร. จินตนา ศรนี กุ ลู . (2557). “ศนู ย์เรียนรูก้ ารเมืองและการเลือกตัง้ อาเซียน : แนวทางการใหก้ ารศึกษาเพ่อื สร้างพลเมอื ง ในระบอบประชาธปิ ไตย, หลักสูตรนักบรหิ ารการทตู ร่นุ ที่ 6 ,สถาบนั การต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ, กระทรวงการตา่ งประเทศ. จริ วดี ทวีโชต.ิ (2561). การพฒั นาตวั บง่ ชี้ภาวะผู้นำการจดั การเรยี นรขู้ องครูในโรงเรยี น สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. วิทยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกลนคร. เจตน์สดุ า ทศานนท์. (2559). การมีสว่ นร่วมของผู้ปกครองในการจดั การศึกษาของโรงเรยี นอนุบาล เชียงราย. วิทยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ชัยวุฒิ สังข์ขาว. (2557). แนวทางการบริหารกิจกรรมลูกเสอื ในสานศึกษาจังหวดั กำแพงเพชร สำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษามัธยศกึ ษา เขต 41. วิทยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. ชาญชยั อาจินสมาจาร. (2541). การบริหารการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : พมิ พด์ ี. ชูชาติ สกุณาครี ี. (2556). คุณภาพการบรหิ ารงานลกู เสือของโรงเรียนบ้านแมต่ อ๋ ม อำเภออมกอ๋ ย จงั หวัดเชียงใหม่. วทิ ยานพิ นธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. ฌอนรรฆ์ สุขรี (2554) ไดศ้ ึกษาการดำเนนิ งานการบริหารกิจกรรมลูกเสอื ของผูบ้ ังคบั บญั ชาลกู เสือโรงเรียน ประถมศกึ ษาในเขตอำเภอปลาปาก จังหวดั นครพนม. วิทยานพิ นธค์ รุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนครพนม. ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์ และวรรณี แกมเกตุ. (2558). การพัฒนาตัวบง่ ช้คี วามยึดมั่นผูกพันกบั ความ เปน็ พลเมอื งของนักเรยี นไทย. วารสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์คณะครศุ าสตร จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (OJEDI), 10(4), 209 – 223. 464

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เดช กาญจนางกรู . (2556). คมู่ ือการฝกึ อบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ วชิ าการบนั เทงิ ในกองลูกเสอื . กรุงเทพฯ : สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน. เดชา คัณทักษ.์ (2556). รปู แบบการพฒั นาภาวะผนู้ ำของผู้กำกบั ลกู เสือในโรงเรยี นประถมศกึ ษา สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ. วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตรดุษฎบี ณั ฑิต มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร. ถาวร ยมรตั น์. (2551). ความสัมพันธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรมภาวะผู้นำกับกระบวนการบริหารงานของ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2. วิทยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุรินทร์. เทอดศกั ดิ์ จันเสวี. (2559). การมสี ว่ นร่วมของผ้ปู กครองในการจัดการศกึ ษาปฐวยั ในโรงเรียนเขต จอมทองเทศบาลตำบลจอมทอง อำเภอจอมทอง จงั หวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่. ธญั ธัช วิภตั ิภูมิประเทศ. (2556). ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของนักศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วิทยานพิ นธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจ บณั ฑติ ย์. นภสั นนั ท์ ศรีคณุ . (2559). แนวทางการใช้หลกั ธรรมาภิบาลของผบู้ ริหารในการบริหารสถานศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 27. วิทยานพิ นธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. นศิ ากร สนศริ ิ. (2554). บรรยากาศองคก์ ารโรงเรยี นประถมศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ระยอง เขต 1. วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณ.ี เนตรพ์ ณั ณา ยาวิราช. (2554). Modern Management การจดั การสมัยใหม.่ (พิมพค์ รัง้ ท่ี 7). กรุงเทพฯ : ทรปิ เพ้ลิ กรปุ๊ . บญุ ส่ง กรุงชาลี. (2561). ทักษะการบริหารในศตวรรษท่ี 21 ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 3. ปรญิ ญาครศุ าสตรมหา บณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ ีรัมย.์ ประพนั ธ์ เดชสวสั ด์.ิ (2552). การมีสว่ นรว่ มของผปู้ กครองนักเรียนและชมุ ชนในการบรหิ ารงาน โรงเรียนบ้านสถาน อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา. การศกึ ษาอิสระ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งราย. ปาจรีย์ รตั นานุสนธ์.ิ (2557). การพัฒนาตวั บงชค้ี ุณลักษณะความเป็นพลเมอื งโลกของนักเรียนระดบั มธั ยมศึกษา. OJED, 9(2), 12. ปยิ มาส เต้งชู. (2555). ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการดำเนินงานตามแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษาใน ทศวรรษทสี่ องกบั ประสิทธิภาพการบริหารของสถานศกึ ษา สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 2. วทิ ยานิพนธ์ การศกึ ษามหาบัณฑติ มหาวิทยลัยบรู พา. 465

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ผกากรอง ศรีประไหม. (2558). การศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผูบ้ รหิ ารสานศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประมศึกษากาฬสนิ ธุ์ เขต 3. วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร. พรทพิ ย์ บรรเทา. (2558). แนวทางการบรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งของ สถานศกึ ษาในสงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 19 (เลย-หนองบวั ลำภู). วิทยานิพนธก์ ารศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. พรทพิ ยพ์ า คล้ายกมล. (2555) แนวทางพัฒนาการบริหารงานลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ในสถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทีการศกึ ษากำแพงเพชร เขต 2. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. พันวนา พฒั นาอดุ มสนิ ค้า. (2557). รปู แบบกระบวนการบรหิ ารทีส่ ่งผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาของสานศึกษาข้นั พื้นฐาน. ปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบรี. เพชรรตั น์ ทองหยอด. (2555). การบริหารจดั การขององคก์ ารบริหารสว่ นตำบล ด้านการพัฒนาและ สง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ท่ีมีผลต่อความพงึ พอใจของประชาชนใน จังหวัดอ่างทอง. วทิ ยานพิ นธ์ บธ.ม. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา. ไพโรจน์ กันทพงษ์. (2554). สภาพและปญั หาการบริหารงานลูกเสือในโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 2. วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร. มุกมณี มโี ชคชูสกลุ . (2555). หลกั การจัดการ. กรงุ เทพฯ : ทรปิ เพ้ลิ เอ็ดดเู คชั่น. เรวัต ภิรมย์ไกรภกั ด์.ิ (2555). การศกึ ษาสภาพ ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการบรหิ ารสถานศึกษา ของผู้บรหิ ารโรงเรียนขนาดเล็กทีม่ ีครไู มค่ รบชั้น สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา ประถมศกึ ษาชัยภูมิ เขต 3. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า. ฤาชตุ า เทพยากุล (2554). การศกึ ษาวิชาความเปน็ พลเมือง ในวารสารเรยี นรู้ประชาธิปไตย.ปที ี่ 3. ฉบบั ที่ 9. มกราคม-มีนาคม 2554. วรรณประภรณ์ จมุ พลนอ้ ย. (2559). การพัฒนารปู แบบการบริหารสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทมี่ ี ประสิทธผิ ลเพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา. วิทยานพิ นธค์ รุศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วนั เพญ็ รตั นอนนั ต์. (2555). การศึกษาภาวะผู้นำการเปล่ยี นแปลงของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สังกัด สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาฉะเชงิ เทรา เขต 2. วทิ ยานิพนธศ์ กึ ษาศาสตร มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั บูรพา. วันใหม่ สืบชนะ. (2560). การศกึ ษาการบรหิ ารงานลูกเสอื สามัญในโรงเรียน สงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 2. วทิ ยานิพนธค์ รุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี. 466

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี วารุณี อาวจำปา. (2558). อิทธพิ ลของความฉลาดทางอารมณ์ ความฉลาดทางจรยิ ธรรม และ ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอปุ สรรคท่ีสง่ ผลตอ่ ภาวะผู้นำแบบใฝ่บรกิ ารของ ผบู้ ริหารสานศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย. วทิ ยานพิ นธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี. วิษณุ อ๋องสกุล. (2558). การพัฒนาภาวะผนู้ ำผู้ประกอบการในวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสกลนคร พฒั นศิลป.์ วิทยานิพนธค์ รศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร. วฒุ ิพงษ์ ฟุ้งสุวรรณ. (2554). สภาพและปญั หาการบรหิ ารกจิ กรรมลูกเสือในสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษานนทบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจันทรเกษม. ว่าท่ีรอ้ ยตรสี มาน ศรมี งคล. (2554). ปัญหาและแนวทางแก้ไขปญั หาการบริหารงานกจิ กรรมลกู เสือ สามัญรุน่ ใหญ่ โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา ในเขตอำเภอหนองใหญ่ สังกดั สำนักงาน เขตพื้นทก่ี ารศึกษาชลบรุ ี เขต 1. วิทยานิพนธ์การศกึ ษามหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา. ศกั ด์ชิ ัย นิรัญทว.ี (2548). รายงานการวิจัยเอกสารการจดั การเรยี นรูเ้ พือ่ พฒั นาผู้เรยี นให้เปน็ พลเมือง ดี. กรุงเทพฯ : พิมพด์ ีการพมิ พ์. สมคดิ บางโม. (2555). องค์การและการจัดการ = Organization and management. กรงุ เทพฯ : วิทยพฒั น์. สมถวลิ ศรีจันทรวิโรจน์. (2552). สภาพและปญั หาการบรหิ ารสถานศกึ ษาสำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั สมุทรปราการ. วทิ ยานิพนธ์ การศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. สมพร ใช้บางยาง. (2556). บทความพิเศษ พลังพลเมืองร่วมสรา้ งประเทศไทยใหน้ ่าอยู่ ใน หนงั สือพิมพ์ไทยโพสต์ ประจำวันท่ี 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2556. สมพร บุญใหญเ่ อก. (2554). การบริหารงานลกู เสอื ในโรงเรยี น กลุ่มโรงเรียนดอนตมู สังกัดสำนักงาน เขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต 1. การศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระ ปรญิ ญาศกึ ษา ศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. สมพชิ ญ์ วงษด์ ้วง. (2557). การดำเนนิ งานลกู เสอื ในสถานศึกษา. วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเทพสตร.ี สมคั ร เชยชอบ. (2559). ความคิดเหน็ ของผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมต่อการดำเนนิ งานฝกึ อบรมของศูนย์ เรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง หน่วยเฉพาะกิจทหารพรานนาวกิ โยธิน ประจำปี 2558. วทิ ยานิพนธร์ ัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา. สาํ นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2559). นโยบายและยทุ ธศาสตร์การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ของประเทศสมาชิกองคก์ รระดับนานาชาต.ิ กรงุ เทพฯ : กลุ่มพัฒนาวิชาการระหว่างประเทศ ศนู ย์พัฒนาการศึกษาระหวา่ งประเทศ. 467

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน. (2553). แนว ทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงเพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. สิริวรรณ ศรีพหล. (2551). การพัฒนาชุดฝกึ อบรมทางไกลส่ือประสมสำหรับครูสงั คมศกึ ษาเร่อื ง การ จดั การเรยี นการสอนเพ่อื สง่ เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของนกั เรยี น. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. สุชิน เรืองบญุ สง่ . (2551). การศกึ ษาการบริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลในโรงเรียน สังกัด สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาระยอง เขต 2. วทิ ยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั รำไพพรรณ.ี สุทธิ สพี ิกา. (2560). แนวทางการจดั การเรียนการสอนกิจกรรมลกู เสือสามัญ ระดับประถมศกึ ษา. วิทยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑิต จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุรพล บัวพิมพ.์ (2557). การวางแผน/โครงการระดับโรงเรียน. ศึกษาศาสตร์, 20(1). สรุ สิทธ์ิ กาฬมาตย์. (2554). การศึกษาสภาพการบริหารกิจกรรมลกู เสือสามัญในสถานศึกษาขั้น พน้ื ฐาน สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามุกดาหาร. วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุบลราชธาน.ี โสภา มดั ลัง. (2554). การมีส่วนร่วมของผปู้ กครองในการสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ในศนู ยพ์ ฒั นา เดก็ เลก็ ก่อนวัยเรียนชมุ ชนเอ้อื อารีย์ สังกัด กรงุ เทพมหานคร. การคน้ คว้าอสิ ระ ครุศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร. อตพิ งษ์ สุขนาค. (2554). การพฒั นารูปแบบการวางแผนการบรหิ ารงานวิชาการโรงเรียนบ้านทุง่ กราด สงั กัเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 3. วทิ ยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. อนิวัช แกว้ จำนงค์. (2552). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ = Human resource management. กรุงเทพฯ : ภาควชิ าบรหิ ารธรุ กจิ คณะเศรษฐศาสตรแ์ ละบริหารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ . อรวรรณ์ วศ์ตนุ๋ . (2555). คุณลกั ษณะภาวะผูน้ ำของผ้บู ริหารสถานศึกษาตามทัศนะของผบู้ รหิ าร สถานศกึ ษาและครู สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 5. วิทยานิพนธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภฏั เทพสตรี. 468

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การประยุกต์ใชห้ ลักไตรสิกขา เพื่อพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสำหรบั ครู Application of threefold training principles in order to develop teachers' morality and ethics สุวนทั รกมล กลำ่ ป่วน E-mail : [email protected] วทิ ยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย์ ฐกฤต ธญั วณิชกลุ E-mail : [email protected] วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธุรกจิ บัณฑิตย์ ซลั มี กอเดร์ E-mail : [email protected] วทิ ยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกจิ บัณฑิตย์ จู หย่หู ลิน E-mail : [email protected] วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑิตย์ นคเรศ เตชอนนั ตพ์ พิ ัฒน์ E-mail : [email protected] วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์ พจมาลย์ สกลเกียรติ E-mail: [email protected] วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์ บทคัดย่อ บทความฉบบั น้ีศึกษาเก่ียวกบั คุณธรรมและจริยธรรมของครูในการประกอบวิชาชีพท่มี ีคุณภาพ ต้องมีความ เปน็ ผนู้ ำมีคุณธรรมจริยธรรมในวชิ าชพี มีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานส่งผลให้การทำงานมีประสิทธภิ าพต่อองค์กร หรือสถานศึกษา ดังนั้น ผู้ที่จะเป็นครูตอ้ งเป็นคนดี มีศรัทธาในวิชาชีพ พร้อมที่จะประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้ เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของครู จึงได้นำหลักไตรสิกขามาประยุกต์ใช้ ประกอบด้วย ศีล สมาธิ และ ปัญญา มาปรับกับหลักการพัฒนาครูให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา คุณธรรมและจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหาและมีทักษะในการประกอบวิชาชีพ ซึ่งหลักไตรสิกขาเป็น หลักการพัฒนาชีวิต เพื่อให้ประสบผลสำเร็จ และเป็นคนที่สมบูรณ์ เป็นหลักพื้นฐานแก่การสร้างเสริมคุณภาพไดด้ ี กระบวนการศึกษานี้แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน (1) การฝึกฝนอบรมในด้านความประพฤติ ระเบียบวินัย ความสุจริตทาง 469

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วาจาและอาชีวะ เรียกว่า ศีล (2) การฝึกอบรมทางจิตใจ การปลูกฝังคุณธรรมสร้างเสริมคุณภาพสมรรถภาพและ สุขภาพจติ เรียกว่า สมาธิ (3) การฝกึ อบรมทางปญั ญา ให้เกดิ ความรเู้ ขา้ ใจสง่ิ ทั้งหลายตามเป็นจรงิ รูค้ วามเป็นไปตาม เหตุปัจจยั ทำใหแ้ กป้ ัญหาไปตามแนวทางเหตุผล รเู้ ท่าทนั โลกและชีวติ เรยี กวา่ ปญั ญา ดงั นัน้ การนำหลักไตรสิกขามา พัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับครู จึงมีความสมบูรณ์เป็นอย่างมากในการพัฒนาครูและการจัดการเรียนการ สอนของครู ซ่งึ ตามหลักพระพุทธศาสนาจะเน้นการฝกึ หัดอบรม (ปฏบิ ตั )ิ และการวิเคราะหป์ ระเมินผลของการปฏิบัติ (ปฏิเวธ) ครูจำเป็นจะตอ้ งพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมรูเ้ ท่าทันต่อภาวะการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นคุณลักษณะสำคัญ ของครูมอื อาชพี ท่ีสงั คมต้องการและเปน็ ภาพลักษณจะนำพาองค์กรไปสู่ความสำเร็จ รวมถึงคณุ ภาพของครู บุคลากร และนกั เรยี นมคี ณุ ภาพ เปน็ คนเกง่ และคนดี คำสำคญั : หลกั ไตรสกิ ขา, คุณธรรม , จริยธรรม ABSTRACT This study is related to the moral and ethical aspects of teachers in conducting quality professional practice. They must have leadership, morality and professional ethics, satisfaction with the performance resulted in effective work for the organization or school. Therefore, Teachers must be good people and have faith in the profession ready to pursue a professional education in accordance with professional standards by developing moral and ethical teachers. Afterwards, the Threefold training principles have been applied, consisting of precepts, concentration, and wisdom, and adapting to the principles of teacher development to have physical, intellectual, moral and ethical readiness. Teachers have the ability to solve problems and have professional skills. The threefold principle is the principle of life development in order to be successful and complete. It is a fundamental principle for enhancing mental quality as well. This educational process is divided into 3 steps: (1) training in behavior, discipline, verbal and vocational integrity, called precepts; (2) mental training, cultivation of morality to enhance the quality of performance and mental health is called concentration; (3) Intellectual training, creating knowledge and understanding of things which really are causing problems are solved in a rational approach to knowledge of the world and life is called wisdom. Therefore, the use of the three principles is developed with morals and ethics for teachers. So, there is a great completeness in teacher development, teaching and learning management of teachers. According to Buddhism discipline, the emphasis is on training (practice) and the analysis and evaluation of the practice (failing). Teachers need to develop morals and ethics. Be aware of the changing conditions which is an important attribute of a professional teacher that society needs, it is an image that will lead the organization to success including the quality of teachers, personnel and students with quality, smart people and good people. Keywords: Threefold training principles, morality, ethics 470

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี บทนำ ประเทศไทยมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกด้านโดยเฉพาะในด้านการศึกษาที่มีการ เปลี่ยนแปลงและมีความจำเป็นอยา่ งยิ่งในการพัฒนาปรับเปลี่ยนให้ทันกับ กระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคม โดย กลมุ่ เปา้ หมายทม่ี ีความจำเปน็ อยา่ งย่ิงในการพฒั นาคอื กลุ่มผู้ทมี่ ีบทบาทและหน้าท่ีท่ีสำคัญต่อการศึกษา ไดแ้ ก่ กลุ่ม ผู้บริหารโรงเรียน และกลุ่มครู อาจารย์ผู้สอน โดยที่ผู้บริหารและคณาอาจารย์ ผู้ที่มีความพร้อม มีศักยภาพในการ พัฒนา สามารถเป็นผู้นำในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่อครูอาจารย์มีความรู้ ความสามารถ มีความเชี่ยวชาญแล้ว กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูก็ต้องมีคุณภาพและส่งผลให้เกิด ประสิทธภิ าพแกผ่ ูเ้ รียนร่วมดว้ ย (พระอธิการสกายแลบ ธมมฺ ธโร (นามโท),2561) การท่ีจะพฒั นาคุณธรรมและจริยธรรมของครูนั้นจำเป็นอยา่ งยงิ่ ท่จี ะตอ้ งมองแนวทางหลักทฤษฎีและ หลกั ธรรมเพอ่ื นำมาใช้เปน็ กลไกสำคญั ในการนำไปสูก่ ารขับเคลอ่ื นการพฒั นาครใู หม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขึ้นในการ ประกอบวิชาชีพและใหป้ ระสบความสำเร็จตามเปา้ หมายทีก่ ำหนดเนอื่ งจากครูแต่ละคนก็มวี ิธใี นการประกอบวิชาชพี ของตนเองแตกตา่ งกนั ไปตามความถนัด ความรคู้ วามสามารถ และประสบการณท์ ต่ี นมอี ยู่ ในเส้นทางทีห่ ลากหลายนัน้ ลว้ นจำเปน็ ตอ้ งยึดถือแนวทางในการดำเนินงานทง้ั สิ้น ดงั นั้นการพฒั นาครตู อ้ งเชอื่ มโยงระหวา่ งหลกั ธรรมในทางพทุ ธ ศาสนา กบั หลักคุณธรรมและจรยิ ธรรมดว้ ย หลักพระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาแหง่ การปฏบิ ตั ิหรอื เปน็ ศาสนาแหง่ ความเพยี รพยายามหลักธรรมคำสอน ของพระพุทธศาสนาจงึ มุ่งเน้นที่การปฏบิ ตั ิเป็นสำคญั การจะเป็นครูทีเ่ ก่งและดีควรประพฤตปิ ฏิบัติตนตามข้อปฏิบตั ิ ทเ่ี ปน็ หลกั สำหรับศกึ ษา จึงใช้หลักไตรสกิ ขาเขา้ ในการพฒั นาคณุ ธรรมและจริยธรรมครู ไตรสิกขา ประกอบด้วย ศีล สมาธิ และปญั ญา เป็นระบบการปฏิบัติธรรมท่คี รบถ้วนสมบรู ณม์ ขี อบเขตครอบคลุม ในการพัฒนาครแู ละพฒั นาคนใน องค์กรหรือสถานศึกษาตามหลักพทุ ธธรรมอย่างบูรณาการส่งเสรมิ ใหเ้ กิดความเจรญิ งอกงามตามลกั ษณะแหง่ ปญั ญา การนำหลักไตรสกิ ขามาประยุกตใ์ ชน้ ้ันเป็นการพัฒนาคณุ ธรรมและจริยธรรมของครใู ห้ครูเป็นแบบอย่างท่ีดแี ก่ นักเรยี นในโรงเรยี นใหม้ ีความเกง่ ดแี ละมสี ขุ และหลักไตรสกิ ขามคี วามสมบูรณ์เปน็ อย่างมากในการพฒั นาครู ความสขุ ของมนษุ ย์ คือ ความดขี องมนษุ ยจ์ ะมที งั้ ความดีงาม ท้งั พฤติกรรมท้ังจติ ใจและปญั ญา จะต้องมีการ ฝกึ ฝนพัฒนาตนเองให้ดขี ึน้ ไป ปัจจัยเงอ่ื นไขท่จี ะช่วยให้เกิดความดีงามและความสขุ คอื การพัฒนาตนเองดว้ ย การศกึ ษาเพราะการศกึ ษาจะทำใหบ้ รรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงคท์ ีต่ ง้ั ไว้ การทจี่ ะทำให้เกิดการพัฒนาทีส่ มดุลกัน ระหว่างวัตถุและจิตใจเพ่ือเสริมสร้างฐานรากของสงั คมให้เขม้ แขง็ อนั นำไปสกู่ ารพฒั นาทีม่ ีคณุ ภาพและยั่งยนื นน้ั สงั คมไทยสว่ นใหญเ่ ป็นพุทธศาสนกิ ชนมหี ลกั ธรรมคำสง่ั สอนทางพระพุทธศาสนาเป็นข้อประพฤตปิ ฏบิ ัติในการสรา้ ง ความเข้มแข็งด้านจิตใจและยงั สรา้ งภมู ิค้มุ กันในตัวบคุ คลนน้ั ๆ อกี ท้งั ยงั เปน็ แนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดี (สมุ านพ ศิ วารัตน์, 2560) การทำงานของครใู นสถานศกึ ษาจงึ ต้องอาศยั ทงั้ คณุ ธรรมและจริยธรรมในการดำรงชีวิตประจำวนั และรวมไป ถงึ การนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนอยา่ งหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ซึง่ ครจู ำเปน็ ต้องรแู้ ละนำหลักธรรมคำสอนของ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ไปปรับใช้ คอื หลกั ไตรสกิ ขา 471

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ความหมายของครู ครู คือ ผู้ทีม่ ีความสามารถใหค้ ำแนะนำ เพ่อื ให้เกิดประโยชน์ทางการเรยี น สำหรบั นกั เรียน หรือ นักศึกษาใน สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน มีหน้าที่ หรือมีอาชีพในการสอนกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติและแนวทางในการทำงาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคำนึงถึงพื้นฐานความรู้ ความสามารถ และเปา้ หมายของนกั เรียนแต่ละคน และนอกจากการสอนแล้วครยู ังเป็นผยู้ กระดับวิญญาณมนุษย์ ให้ รูจ้ ักผดิ ชอบชว่ั ดี สอนในคณุ งามความดเี พือ่ เปน็ แม่แบบให้เดก็ ได้ปฏิบตั ิตามทง้ั ต่อหน้าและลับหลงั ครปู ระจำการ หมายถงึ ขา้ ราชการครูผดู้ แู ลนักเรยี นในหอ้ งเรยี นหรอื ช้นั เรยี นหนึง่ ๆ เป็นเวลาหน่ึงภาคเรียน หรือหนึ่งปกี ารศึกษา พรอ้ มทง้ั ทำหนา้ ท่ีธุรการประจำห้องเรียน ในโรงเรยี นของรฐั บาล ในอดีตความสัมพันธ์ของครู ประจำชั้นจะเปรียบเสมือนผู้ปกครองคนที่สอง ต้องคอยดูแลเอาใจใส่ อบรมสั่งสอน ช่วยแก้ปัญหา และเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับบ้าน อันเป็นผลทำให้ครูและโรงเรียนได้รับความศรัทธาพร้อมทั้งมีบุญคุณต่อ นักเรียนและครอบครัว ระบบการศึกษาส่วนใหญ่ในโรงเรียนทั่วโลกมีการนักเรียนออกเป็นชั้น ๆ เป็นห้อง ๆ เพื่อ ความสะดวกต่อการเรยี นการสอน และการดแู ลปกครอง รวมทั้งทำกิจกรรมอื่น ๆ โดยเรียกเรียกว่า \"ห้องเรียน\" หรือ \"ชั้นเรยี น\" (Classroom) และเรยี กเพอ่ื นรว่ มช้นั เรยี นเดยี วกันวา่ \"เพื่อนรว่ มชน้ั \" (Classmates) ครูในระดับอุดมศึกษา ผู้สอนในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือระดับอุดมศึกษา จะมีตำแหน่ง อาจารย์ โดย อาจารย์ที่ได้รับตำแหน่งทางวิชาการ ได้แก่ อาจารย์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ตามลำดบั การไดร้ บั ตำแหนง่ ทางวชิ าการเปน็ ไปตามระเบียบข้อบงั คับของสำนักงานคณะกรรมการอดุ มศึกษา ตำแหน่งครู คือบุคคลที่ทำหน้าที่ช่วยสอน สอนทบทวน สอนภาคปฏิบัติ แตกต่างจากอาจารย์ที่ สอนภาคบรรยาย เร่ืองตา่ ง ๆ ครูในระดับอาชวี ศึกษา ผสู้ อนในวทิ ยาลัยเทคนิค วทิ ยาลยั การอาชีพ วทิ ยาลยั เกษตร จะมตี ำแหนง่ ครู โดย ครูที่ได้รับตำแหน่งทางวิชาการ ได้แก่ ครู, ครูผู้ช่วย, ครูปฏิบัติการ, ครูชำนาญการ, ครูชำนาญการพิเศษ , ครู เชี่ยวชาญ ตามลำดับ การได้รับตำแหน่งทางวิชาการเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของสำนักงานคณะกรรมการ อาชีวศึกษา ครผู ูด้ แู ลระบบจัดการโรงเรียน ครูทท่ี ำหนา้ ที่ดูแลระบบท้งั โรงเรียนจะเรียกว่าครูใหญ่ซ่งึ คลา้ ยคลงึ กับคณบดี หรอื อธิการบดีในระดับอุดมศกึ ษาโดยหนา้ ทข่ี องครูใหญ่มกั จะทำหนา้ ที่ดแู ลระบบการจัดการของโรงเรยี นมากกว่าการ สอนในหอ้ งเรียนต่อมาเปน็ ตำแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ทำหนา้ ท่บี รหิ ารสถานศึกษา ครูในศตวรรษที่ 21 ในยุคศตวรรษที่ 21 นี้ กระบวนการเรียนอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ผู้เรียนจะ เรยี นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารที่ทนั สมยั มีความก้าวหนา้ และสามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลข่าวสารได้มากและ รวดเร็วขึ้น ปัญหาที่สืบเนื่องมาจากจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นต่อห้องเรียนจนทำให้วิธีการสอนแบบเดิม ๆ ไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอ สื่อที่แสดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอสำหรับ ผู้เรียนที่อยู่หลังห้อง ความจดจ่อกับผู้สอนถูก เบีย่ งเบนจากพฤตกิ รรมและสภาพแวดลอ้ มในชนั้ เรียนขนาดใหญ่ ผู้เรยี นมกี ารนำเอาคอมพวิ เตอร์พกพาเข้ามาสืบค้น ความรูใ้ นช้ันเรยี น ผู้เรียนถามคำถามเก่ยี วกับเร่ืองทค่ี รกู ำลังสอน หรือนำข้อมูลเหล่านนั้ มาพูดคุย โดยที่ครูตอบไม่ได้ หรอื ไมเ่ คยรู้มากอ่ น(สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ,2556) 472

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อเป็นเช่นนี้ ครูจึงต้องพร้อมท่ีจะปรับตัวและพฒั นาตนเองให้ทันยคุ ที่เปลี่ยนไป และต้องไม่ขาดความ กระตอื รอื ร้นท่ีจะพัฒนาทักษะและวิทยาการให้ทนั สมัย เพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรู้เทคนิควธิ กี ารเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ได้เด็กมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สังคมไทยและสังคมโลกต้องการในการนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology :ICT) มาใช้ในการศึกษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการ ยกระดบั คุณภาพทางการศึกษา ช่วยเพม่ิ ประสิทธิภาพการเรยี นการสอนและการพัฒนาครูได้อย่างรวดเร็ว รวมท้ังยัง ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครูผู้สอน ตลอดจนลดความไม่เท่าเทยี มทางการศึกษาในโรงเรียนที่ห่างไกลอีกด้วย(ข่าว สำนักงานรฐั มนตรี, 2556) หนา้ ทแี่ ละลักษณะของการเป็นครทู ่ดี ี (เจษฎาวัลย์ ปลงใจ, 2561) ไดก้ ล่าวว่า ครูต้องมหี นา้ ท่ี สร้างความอย่รู อดของสังคม โดยการให้การศึกษา ท่ี สมบูรณแ์ ก่ศิษย์ การศกึ ษา ทส่ี มบูรณเ์ ป็นการศกึ ษาท่คี รบองค์สาม อันได้แก่ 1. ให้ความรู้ทางโลก หมายถงึ การเรยี นหนงั สือ เพ่ือพฒั นาสติปญั ญาและการเรยี นวิชาชพี เพื่อใหส้ ามารถอยู่ รอดทางกาย 2. ให้ความรูท้ างธรรม เพอื่ ให้ใจอยู่รอด คือรอดพ้นจากความครอบงาของกเิ ลสมคี วามเป็นมนษุ ย์ คอื ใจสูง ใจ สว่าง และใจสงบ 3. ให้รูจ้ กั ทำตนให้เป็นประโยชน์ ทงั้ ต่อตนเอง และสงั คม นอกจากการทคี่ รูจะมีหนา้ ทตี่ ามหลักทไี่ ด้กล่าวมาขา้ งตน้ แล้ว ครทู ี่ดีน้ัน ควรมคี ุณลกั ษณะอยู่ ๑๐ ประการ ไดแ้ ก่ 1. ครตู ้องมลี ักษณะบากบน่ั ต่อสู้ อดทน สรา้ งคนใหเ้ ปน็ คนดใี หไ้ ด้ 2. ครตู ้องมีลักษณะครบถว้ นทกุ ด้าน ให้สมกบั ทีค่ นยกย่องนับถือว่ามใี จประเสริฐ 3. ครูต้องงดเวน้ อบายมขุ ทกุ อย่าง เช่น การด่มื เหล้า เลน่ การพนนั 4. ครูตอ้ งเป็นคนมนี ้ำใจสะอาด มีความเสยี สละมากไมจ่ าเปน็ ตอ้ งมีปรญิ ญาการศึกษาสูงเสมอไป ขอ เพียงแตม่ คี วามจริงใจ มีใจรกั ในความเป็นครู 5. ครูควรใหเ้ วลาแก่เดก็ นกั เรยี น ในการที่จะศึกษาปญั หาต่าง ๆ และฟงั ความคิดเหน็ ของเดก็ บ้าง 6. ครูควรทาตวั ใหด้ ี มีนสิ ยั ดี เพ่อื ลบลา้ งขา่ วที่ไม่ดีเกยี่ วกับครูตามที่ปรากฏในส่อื มวลชนตา่ ง ๆ 7. ครูไม่ควรถือตวั ควรเขา้ กับทกุ คนแมจ้ ะเปน็ คนยากจนกต็ าม 8. ครคู วรมลี กั ษณะพรอ้ มทจี่ ะสร้างคนให้เป็นคนดี มีความรคู้ วามคดิ และเป็นคนดี 9. ครตู อ้ งเป็นคนสามารถสร้างสรรคส์ ังคมและช่วยเหลือประเทศชาติเป็นอนั ดับแรก ดังนนั้ ครตู ้องขยัน อย่างน้อยให้ใกล้เคยี งกบั คนที่ทำงานธนาคาร 10. ในด้านความรู้ ชาวบา้ นมีความศรัทธาวา่ ครูมีความรูด้ ีอยแู่ ลว้ แต่สิง่ ทีค่ รูควรจะมีให้มากคอื ด้านความ ประพฤติเป็นแบบอยา่ งที่ดี 473

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ความหมายของคณุ ธรรมและจริยธรรมของครู คณุ ธรรม หมายถึง คุณงามความดีทีเ่ ปน็ ธรรมชาติ ก่อให้เกิดประโยชนต์ อ่ ตนเองและ สงั คมซึ่งรวมสรปุ ว่าคือ สภาพคณุ งามความดี (ราชบัณฑิตยสถาน, 2563) คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี ความประพฤติและจิตใจ ซึ่งสามารถ แยกออกเป็น 2 ความหมาย คือ 1) ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน์สุขแก่ตนและสังคม ซึ่งมี พื้นฐานมาจากหลักศีลธรรมทางศาสนา ค่านิยม ทางวฒั นธรรม ประเพณหี ลกั กฎหมาย จรรยาบรรณวชิ าชพี และ 2) การรู้จักไตร่ตรองว่าอะไรควรทำ ไมค่ วรทำ และ อาจกล่าวได้ว่า คุณธรรม คือ จริยธรรมแต่ละข้อที่นำมาปฏิบัติจนเป็นนิสัย เช่น เป็นคนซื่อสัตย์เสียสละ อดทน มี ความ รบั ผิดชอบ ฯลฯ คณุ ธรรม จึงหมายถึง “สภาพคณุ งามความดี” ซง่ึ เป็นลักษณะหรอื คณุ สมบตั ทิ างบวกที่ถือกัน วา่ ดีงาม ทงั้ ทางกาย วาจา และใจ เช่น 1) ความจรงิ ใจ ซอื่ สัตย์ พูดจรงิ ทำจริง 2) การฝกึ ฝนข่มใจ รู้จักควบคุมจิตใจ ฝึกหัดดัดนิสัย แก้ไขข้อบกพร่อง ปรับปรุงตนเองให้เจริญ ก้าวหน้าด้วยปัญญาความรู้3) มีความอดทน ตั้งหน้า ทำ หน้าที่การงานด้วย ความขยันหมั่นเพียร เข้มแข็ง ไม่หว่ันไหวในจุดมุ่งหมาย 4) ความเสียสละ ต้องมีความเสียสละ ประโยชน์ส่วนตน เพอื่ ประโยชนส์ ว่ นใหญข่ องบ้านเมือง ผูม้ ีนำ้ ใจเสียสละ มีจิตใจโอบอ้อมอารี เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ทุกคน ในสังคม ช่วยเหลือเท่าที่เห็นว่าสมควรจะช่วยเหลือได้เห็นใครควรแก่ การช่วยเหลือก็ช่วยเหลือตามกำลัง (พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553,2553) จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ, ศีลธรรม, กฎศีลธรรม พจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน จริยธรรม มาจากคำว่า “พรหมจรรย์” หมายถึง ความประพฤติ อันประเสริฐ หรือ ประพฤติ บรสิ ุทธอิ์ ย่างพรหม การดำเนินชวี ิตอันประเสรฐิ การครองชพี อย่างประเสรฐิ หรือความเป็นอยอู่ ยา่ งประเสริฐ ซ่ึงใน พุทธศาสนา หมายถึง มรรค คือ วิธีการปฏิบัติสายกลาง ประกอบด้วยองค์ประกอบ 8 ประการ บางครั้งเรียกว่า “ไตรสิกขา” คือ การศกึ ษา 3 ประการ ไดแ้ ก่ ศีล สมาธิ ปญั ญา ดงั น้ัน จริยธรรมหรอื พรหมจรรย์ มรรค และไตรสกิ ขา ทง้ั หมดนเี้ ป็นทางปฏิบตั เิ พอ่ื นำมนษุ ย์ไปสู่จุดหมายในชวี ิต (พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), 2556) คุณธรรมจริยธรรมนบั ว่าเป็นพื้นฐานที่สำคัญของคนทุกคนและทุกวชิ าชีพหากบุคคลใดหรือวิชาชีพใดไม่มี คณุ ธรรมจรยิ ธรรมเปน็ หลกั ยึดเบอ้ื งตน้ แลว้ ก็ยากท่ีจะกา้ วไปสู่ความสำเร็จ แหง่ ตนและแห่งวชิ าชพี น้นั ๆ ท่ีย่ิงกว่าน้ัน ก็คือการขาดคณุ ธรรมจริยธรรมทัง้ ในส่วนบุคคลและ ในวิชาชีพ อาจมีผลรา้ ยต่อตนเอง สังคมและวงการวิชาชีพใน อนาคตได้อีกด้วย ดังจะพบเห็นได้ จากการเกิดวิกฤติศรัทธาในวิชาชีพหลายแขนงในปัจจุบัน ทั้งวงการวิชาชีพครู แพทย์ ตำรวจ ทหาร นักการเมืองการปกครอง ฯลฯ จึงมีคำกล่าวว่าเราไม่สามารถสร้างครูดีบนพื้นฐานของคน ไม่ดี และไม่สามารถสรา้ งแพทย์ ตำรวจ ทหารและนักการเมอื งทดี่ ี ถ้าบุคคลเหลา่ นน้ั มีพนื้ ฐาน ทางนิสัยและความประพฤติ ที่ไม่ดี ดังพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดชฯ ในพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระมหา กษตั ริยาธิราช ณ ทอ้ งสนามหลวง เม่ือวันจันทรท์ ี่ 5 เมษายน พ.ศ. 2525 ไว้ ดังนี้ “.....การจะทำงานใหส้ มั ฤทธผ์ิ ลที่พึง ปรารถนา คือให้เป็นประโยชนแ์ ละเป็นธรรมด้วยนั้น จะอาศัยความรูแ้ ตเ่ พียงอย่างเดียวมไิ ด้ จำเป็นต้อง อาศัยความ สุจริต ความบริสุทธิ์ใจ และความถูกตอ้ งเป็นธรรม ประกอบด้วย เพราะเหตวุ ่า ความรู้นั้น เสมือนเคร่ืองยนตท์ ี่ทำให้ ยวดยานเคลอ่ื นทไี่ ปไดป้ ระการเดียว ส่วนคณุ ธรรมดังกล่าว แล้ว เปน็ เสมือนหนง่ึ พวงมาลัยหรือหางเสือ ซึ่งเป็นปัจจัย ทน่ี ำทางให้ยวดยานดำเนนิ ไปถกู ทาง ด้วยความสวสั ดี คือ ปลอดภัย บรรลุจดุ ประสงค์ 474

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี คณุ ธรรมจรยิ ธรรมจึงเป็นสงิ่ สำคญั ในการประกอบอาชพี ท่จี ะนำความสุขสงบและความเจรญิ ก้าวหน้ามา สู่สังคมนั้น ๆ เพราะเมื่อคนในสังคมมีคุณธรรมจริยธรรม จิตใจ ก็ย่อมสูงขึ้นมีความเจริญทางจิตใจ มีวุฒิภาวะทาง ปญั ญา และสำนึกในหน้าท่ขี องตนอยู่เสมอ จะทำการงานใดกส็ ำเรจ็ เกดิ ประสิทธภิ าพ มีความสขุ ในการทำงาน การอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้ดี เป็นบุคคลมีคุณค่ามีประโยชน์ และสร้างสรรค์คณุ งามความดี อยู่บนพื้นฐานของความถูกตอ้ ง อัน เปน็ ประโยชนต์ อ่ บ้านเมอื งตอ่ ไป กล่าวโดยสรุป \"คุณธรรม\" และ \"จริยธรรม\" จะเกิดขึ้นได้จากการพัฒนาทาง ด้านสติปัญญาและการ อบรม กล่อมเกลาจิตใจให้รู้จักผิดชอบชั่วดี เป็นคุณลักษณะพื้นฐานที่ สำคัญ ในการปฏิบัติตน ประพฤติสิ่งที่ดีงาม เป็นผู้ที่มีคุณค่า ทำตนเป็นประโยชน์แก่สังคม ซึ่งมีพื้นฐานเหล่านี้มาจากหลักศีลธรรมทางศาสนา ค่านิยมทาง วัฒนธรรม ประเพณี หลกั กฎหมาย จรรยาบรรณวิชาชพี การรู้จักไตรต่ รองว่าอะไรควรทำไม่ควรทำ มคี วามต้ังใจ แน่ว แน่ และสรา้ งความศรทั ธาเชอ่ื ถือให้กับผูอ้ ื่น และอย่รู ว่ มกันกบั ผ้อู น่ื ในสังคมอยา่ งมีความสุข คุณธรรมจริยธรรมของครู ประกอบไปด้วยดังน้ี (ดร.วทิ ยา พฒั นเมธาดา, 2564) 1. ครตู ้องมคี วามขยนั หมนั่ เพียร 2. ครตู ้องมวี นิ ยั ตนเอง 3. ครูต้องรู้จักปรบั ปรงุ ตนเอง 4. ครูต้องให้ความช่วยเหลือผู้อื่น 5. ครูต้องบำเพญ็ ประโยชนเ์ พอื่ ชมุ ชน 6. ครูต้องเสยี สละเพ่อื สาธารณะประโยชน์ 7. ครูตอ้ งรูจ้ ักเห็นอกเหน็ ใจผ้อู นื่ 8. ครตู อ้ งมคี วามกตญั ญกู ตเวที 9. ครูตอ้ งไมป่ ระมาท 10. ครตู ้องปฏิบัติต่อผ้อู าวโุ สในทางทดี่ ี 11. ครตู ้องมีสจั จะและแสดงความจริงใจ 12. ครตู ้องมีความเมตตากรณุ า 13. ครตู อ้ งมีความอดทน อดกลนั้ 14. ครูต้องมีความซ่อื สตั ย์ 15. ครูต้องมีระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา 16. ครูต้องมีการใหอ้ ภัย 17. ครูต้องประหยดั และอดออม 18. ครูต้องเอ้อื เฟ้อื เผื่อแผ่ 19. ครูต้องมีความรบั ผิดชอบ 20. ครูตอ้ งจงรกั ภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ 475

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ปัญหาคุณธรรมจรยิ ธรรมของครู ในปจั จุบนั ครูให้ความเป็นครลู ดลงเพราะอทิ ธิพลทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมืองการปกครองระบบ จรยิ ธรรมทางจิตใจในอดตี จงึ ถูกแทนทีด่ ้วยระบบจริยธรรมทางวัตถุ ซึง่ เปน็ สาเหตุสำคัญท่ีทำให้ครมู ปี ญั หาคุณธรรม จริยธรรม จำนวนครูท่ีมปี ญั หาคุณธรรมจรยิ ธรรมน้นั อาจจะมีจำนวนมาก เนือ่ งจากคุณธรรมจริยธรรมมขี อบข่าย กว้างขวางและเป็นพน้ื ฐานของทกุ กจิ กรรมในชวี ติ การทำงานและชวี ติ สว่ นตวั ของครู (ดวงเดอื น พนิ สวุ รรณ์,2562) ไดส้ รุป ปญั หาด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมของครเู ป็น 3 ด้าน คือ ปัญหาดา้ น ความรู้ทางคุณธรรมจริยธรรมปัญหาเจตคตทิ างคณุ ธรรมจริยธรรม และปญั หาทกั ษะทางคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 1. ปญั หาด้านความรู้ทางคุณธรรมจริยธรรม ปญั หาการขาดความรู้ทางคณุ ธรรมจริยธรรม คือ การขาดความรเู้ กี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมอยา่ งแท้จรงิ ประกอบไปดว้ ย 1.1 การไม่มคี วามรใู้ นหลกั ธรรมคําสอนตามศาสนาท่ีตนนับถืออยา่ งเพียงพอและชดั เจนถูกตอ้ ง เช่น ไมม่ คี วามรู้ ทชี่ ัดเจนเก่ยี วกับหลักไตรสกขา 1.2 การไม่มีความรใู้ นหลกั ธรรมของศาสนาอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง 1.3 การไม่มคี วามรวู้ า่ คุณธรรมจริยธรรมแต่ละประการนน้ั ประกอบดว้ ยคณุ ธรรมจรยิ ธรรมย่อย ๆ อะไรบ้าง 1.4 การไมเ่ ขา้ ใจเครือขา่ ยหรอื ชุดของคุณธรรมจรยิ ธรรม เชน่ ไมเ่ ขา้ ใจว่าอรยิ สัจทําไมต้องมี 4 ประการและ ทำไมต้องทำให้ครบทกประการ 2. ปัญหาเจตคตทิ างคุณธรรมจริยธรรม 2.1 การไม่เห็นคุณค่าของคุณธรรมจรยิ ธรรม เนอ่ื งจากมนุษยม์ ธี รรมชาตติ ้องการสง่ิ ตา่ ง ๆ แต่หลกั คุณธรรม จริยธรรมสอนใหต้ ้องการอยา่ งมีขอบเขต จงึ มีเจตคติว่าหลักคณุ ธรรมจริยธรรมขัดกับความตอ้ งการของตนเอง 2.2 ความท้อถอยในการปฏิบัติตามคุณธรรมจริยธรรม เน่อื งจากการปฏบิ ตั ิตามคุณธรรมจรยิ ธรรมแต่ละประการ น้นั เป็นเรื่องต้องใชค้ วามพยามยามและใช้เวลาระยะยาวตลอดชวี ิตของมนษุ ย์ 2.3 ความสบั สนทางจรยิ ธรรม เนื่องจากความสบั สนทางคุณธรรมจริยธรรมมหี ลายประการ 3. ปัญหาทักษะทางคุณธรรมจริยธรรม ปญั หาทักษะทางคุณธรรมจริยธรรม ประกอบไปดว้ ย 3.1 การมที ักษะทางคุณธรรมจรยิ ธรรมท่ไี มค่ รบถ้วน เน่อื งจากคุณธรรมจริยธรรมมลี กั ษณะเปน็ เครอื ข่ายทีต่ อ้ งทำ ครบถ้วนจึงจะเกิดผลจรงิ ตามหลักการ แต่ครมู ีทักษะในแตล่ ะข้อไมเ่ ทา่ กัน 3.2 การไมส่ ามารถสรา้ งเครอื ข่ายหรือชุดของคุณธรรมจรยิ ธรรม เครอื ข่ายหรือชุดของคณุ ธรรมจริยธรรมเปน็ สิง่ สำคญั ทจี่ ะใช้ในการพฒั นาตนและการพัฒนานักเรียน 3.3 การไมส่ ามารถประยกุ ตใ์ ชก้ ับสถานการณ์และบุคคลท่หี ลากหลาย แม้ว่าครูจะมีความรูเ้ จตคติและทักษะการ สร้างเครอื ข่ายจริยธรรมแลว้ ครยู งั ขาดทักษะในการประยกุ ตใ์ ชค้ ณุ ธรรมจรยิ ธรรมใหเ้ หมาะกบั ตนเองในสภาพการณต์ ่าง ๆ และขาดทักษะในการประยุกต์ใชก้ บั บคุ คลหลากหลายทต่ี นตอ้ งเข้าไปเก่ียวขอ้ งดว้ ย ซง่ึ การใชค้ ณุ ธรรมจรยิ ธรรมใน กาลเทศะท่แี ตกต่างกจ็ ะมปี ัจจัยเก่ยี วขอ้ งแตกตา่ งกันไปดว้ ย 476

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3.4 การเลือกปฏิบตั ิ โดยอาจเลือกปฏิบตั ิคุณธรรมข้อเดยี วกันกบั สถานการณ์แตกตา่ งกนั เชน่ ตง้ั ใจสอน เพราะ จะใชผ้ ลเพ่ือการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น ความสำคญั ของคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับครู (ดวงเดือน พนิ สวุ รรณ์,2562) กล่าวถึง คุณธรรมจริยธรรมมคี วามสำคัญตอ่ ครู ดงั น้ี 1.ความสาํ คญั ของคณุ ธรรมจริยธรรมตอ่ ครู การมีคุณธรรมจริยธรรมช่วยให้ครูมกี ารดำรงชวี ติ ท่ีดีทั้ง การมสี ขุ ภาพทางกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี ประกอบไป ด้วย 1) ด้านสุขภาพทางกาย หลักคุณธรรมจรยิ ธรรมที่สังคมยึดถือนั้นมขี อบข่ายสาระทีช่ ่วยพฒั นาทัง้ ร่างกายและจิตใจของคนการใช้หลักคุณธรรมจริยธรรมจึงเกิดผลดีทางร่างกาย เช่น ครูที่มีคุณธรรมเกีย่ วกับทางสาย กลางจะมีพฤตกิ รรมบริโภคอาหารแตพ่ อสมควร ครจู งึ ไม่อ้วนเกนิ ควรและไม่ เป็นโรคต่าง ๆ อันเน่ืองจากการ บริโภค ทำให้สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนและครอบครัวได้เป็นปกติและมีความแคล่วคลองในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวติ นอกจากน้ันจะทำให้ครูเป็นผมู้ บี คุ ลิกภาพทดี่ ีเป็นทช่ี นื่ ชมของบคุ ลอื่น 2) ด้านสุขภาพจติ หากครูดำรงตนในคุณธรรมจริยธรรมแลว้ ครูจะเป็นผปู้ ระพฤติในทางทด่ี ี หลกี เลีย่ งหรอื ลดเลิกการประพฤติที่ไม่ดสี ามารถใชค้ ุณธรรมเปน็ เครื่องประคับประคองจิตใจและการดำรงชีวิตให้ เปน็ ไปในทางท่ีเป็นผลดตี อ่ ตน คนอืน่ และสงั คม เช่น มีการประกอบอาชีพโดยสุจริต ไม่หลงในลาภยศของตนเอง มีการ คดิ การพูดและการ กระทำของตนเองท่ี สอดคลอ้ งกัน ไม่พดู อยา่ งหนง่ึ แต่ ทำอีกอยา่ งหนึ่ง ไม่ทำดีในเร่ืองหน่ึง แต่ทำ ชว่ั ในอีกเรือ่ งหน่ึง นอกจากนน้ั ครทู ่ีมคี ณุ ธรรมจรยธรรมสามารถเผชิญชีวติ อย่างมสี ติปัญญาและสุขภาพจติ ทด่ี รี วมท้งั ได้รบั การยอมรบั ยกย่องจากบุคคลอนื่ 2. ความสาํ คัญของคุณธรรมจรยิ ธรรมตอ่ วิชาชพี ครู คุณธรรมจรยิ ธรรมมคี วามสาํ คญั ต่อวชิ าชีพครใู นด้านตา่ ง ๆ ประกอบไปด้วย 1) การรกั ษามาตรฐานวชิ าชีพ การทค่ี รมู คี ุณธรรมจรยธรรมในการปฏิบัตงิ าน เป็นปัจจัยสำคัญใน การรกั ษามาตรฐานวิชาชพี ทก่ี ำหนดไว้ในกฎหมายทางการศึกษาและชว่ ยใหว้ ิชาชพี มีบทบาทตามหน้าที่ท่ีมีต่อสังคม รวมท้งั มบี ทบาทตามสถานภาพทไี่ ดร้ ับการยกย่องใหเ้ ป็นวิชาชพี ชัน้ สงู ผู้รับบรกิ ารและสังคมได้รับคุณประโยชน์จาก การศึกษาตามมาตรฐานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 2) การยกระดับมาตรฐานวิชาชพี การที่ครูมมี าตรฐานการทำงานตามมาตรฐานวชิ าชพี ทก่ี ำหนดไว้ ทำให้ครมู ีวฒั นธรรมองคก์ ารทพ่ี งึ ประสงค์องคก์ ารทร่ี ับผิดชอบเกยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาวิชาชีพจึงสามารถใช้วิชาการ งบประมาณและทรัพยากรอ่นื ในการยกระดับวชิ าชีพให้เกิดคุณประโยชน์ตอ่ สงั คมมากยง่ิ ข้ึน แนวคิดเกยี่ วกับไตรสกิ ขา พุทธธรรมมีกรอบการพัฒนาหลักเปน็ ระบบศึกษา 3 ประการเรียกว่า ไตรสิกขาคือ อธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา และอธิปัญญาสกิ ขา ท่ีเรยี กสน้ั ๆ ว่า ศีล สมาธิ และปญั ญา ซึง่ เปน็ การฝกึ หดั อบรม เพือ่ พัฒนากาย ความประพฤติ จิตใจ และปัญญา ไตรสิกขาน้ีเป็นการศึกษาทีค่ รอบคลุมการดำเนนิ ชีวิตทุกดา้ นและทุกวยั อีกทัง้ ความงา่ ยยากตั้งแต่ เรือ่ งเบ้ืองต้นทงั้ ของเด็กและผใู้ หญ่จนถงึ เร่ืองที่ละเอยี ดและซับซ้อนท่ียากจะหาองคว์ ามรูอ้ นื่ ใดมาเทียบได้ 477

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี หลักพทุ ธศาสนาสิกขาทำให้คนศกึ ษา ฝกึ ฝน เรยี นรู้ พัฒนาตนอยูเ่ สมอ มุง่ ไปข้างหนา้ เทา่ นั้น สว่ นอัปปมาทะ คือ ความไมป่ ระมาทกค็ อยปลกุ เร้าไม่ให้หยดุ คือ หยดุ ไม่ได้เลย หยดุ เมื่อไร เป็นการประมาททนั ที การพัฒนาคนตาม หลักพุทธศาสนาจึงเป็นทั้งการพัฒนามนุษย์โดยเน้นการสร้างเสริมคุณภาพของคนที่จะมาเป็นส่วนร่วมในการ แก้ปัญหาของยุคสมัยและเป็นการพัฒนาคนที่สอดคล้องกับจุดหมายระยะยาวแห่งความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ด้วย ไม่ใช่เป็นเพียงการพัฒนามนุษย์เพื่อมาสนองความต้องการด้านทรัพยากรคนเฉพาะกาลเฉพาะกรณีปัจจุบันเป็นท่ี ยอมรับโดยทัว่ กันว่าคนเป็นทรัพยากรทีม่ คี ุณค่ามากที่สุดอย่างหนึง่ ขององค์การ เพราะคนเป็นทรัพยากรสำคัญท่จี ะ ก่อให้เกดิ ความคุ้มค่าในการใช้ทรพั ยากรอนื่ ๆ ในองค์การและทรัพยากรนยี้ ังสามารถพฒั นาเพมิ่ ศักยภาพให้สูงข้ึนได้ อีกด้วยดังนั้นในการบริหารทรัพยากรบุคคลในองค์กรจึงไม่เพียงแต่ให้ความสำคัญกับขั้นตอนในการสรรหาการ คดั เลอื กเทา่ น้ัน แต่ต้องให้ความสำคัญกับการพฒั นาทรัพยากรมนุษยด์ ้วย พระพทุ ธองค์ทรงแสดงหลักการศึกษาตามแนวทางพระพุทธศาสนาไว้ในพระไตรปิฎกภกิ ษุ ทั้งหลาย สิกขา 3 ประการนี้ สกิ ขา 3 ประการมอี ะไรบ้าง คือ 1. อธิศีลสกิ ขา 2. อธิจิตสิกขา 3. อธปิ ญั ญาสิกขา(พระไตรปิฎกภาษาไทย เลม่ 20 ข้อ 87:318) สว่ นคำว่า ติ หรือ ไตร นัน้ หมายถึง องคป์ ระกอบ 3 ประการ คอื อธิศีลสิกขา.อธิจิตสิกขา. อธิปัญญาสิกขา หรอื ศีล สมาธิ และปญั ญา โดยมีความหมายตามพระไตรปิฎกดงั น้ี 1) อธิศีลสิกขา(สิกขาคือศีลอันยิ่ง) หมายถึงข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมในทางความประพฤติอย่างสูง ดัง คำอธบิ ายในคหุ ัฏฐกสตู รนิเทส คมั ภรี ์ มหานิทเทส วา่ อธิศีลสกิ ขาเป็นอย่างไร คือ ภกิ ษุใน พระธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มี ศีล สำรวมด้วยความสังวรใน พระปาติโมกข์สมบูรณ์ด้วยอาจาระและโคจรเห็นภัยในโทษเพียงเล็กน้อยสมาทาน ศึกษาในสิกขาบททั้งหลายอยูค่ ือ สีลขันธ์เล็ก สีลขันธ์ใหญ่ ศีลเป็นที่พึง่ เป็นเบื้องต้น เป็นความประพฤติ เป็นความ สำรวม เป็นความระวัง เป็นหัวหน้า เป็นประธานเพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมที่เป็นกุศล นี้ชื่อว่า อธิศีลสิกขา (พระไตรปฎิ กภาษาไทย เลม่ 29 ขอ้ 10 : 48) 2) อธจิ ติ สิกขา (สกิ ขาคอื จิตอนั ยงิ่ ) หมายถึง ขอ้ ปฏบิ ตั ิสาหรับฝึกอบรมจติ เพ่อื ให้เกดิ คุณธรรมเชน่ สมาธิ อย่างสูงการสงัดจากกามและอกศุ ลธรรมท้งั หลายดงั คำอธิบาย ในคหุ ฏั ฐกสุตตนเิ ทส คมั ภรี ม์ หานทิ เทส ว่า อธจิ ติ สกิ ขา เป็นอยา่ งไร คือ ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ัยนี้ สงัดจากกามและอกศุ ลธรรมท้งั หลายบรรลปุ ฐมฌานทีม่ วี ติ ก วิจาร ปีตแิ ละ สขุ อันเกดิ จากวิเวกอยู่ เพราะวิตกวิจารสงบระงบั ไปแล้วบรรลุตยิ ฌานมคี วามผอ่ งใสในภายในมีภาวะที่จิตเป็นหน่งึ ผดุ ขน้ึ ไมม่ ีวิตกไมม่ ีวิจาร มีแตป่ ตี แิ ละสขุ ที่เกิด จากสมาธอิ ยู่เพราะปีตจิ างคลายไป มีอุเบกขา มีสติสัมปชญั ญะ เสวยสุข ดว้ ยนามกายบรรลตุ ตยิ ฌาน ทพ่ี ระอริยะทัง้ หลายสรรเสริญว่า ผู้มีอุเบกขามีสตอิ ย่เู ปน็ สขุ เพราะละสขุ และทุกข์ ได้ แลว้ เพราะโสมนสั และโทมนสั ดับไปกอ่ นแลว้ บรรลุจตตุ ถฌานทไี่ มม่ ีทุกข์ ไมม่ สี ุข มสี ติบรสิ ุทธิ์ เพราะอุเบกขาอยนู่ ้ี ช่ือวา่ อธจิ ิตสกิ ขา (พระไตรปิฎกภาษาไทย เล่ม 29 ข้อ 10 : 49) 3) อธปิ ัญญาสิกขา (สิกขาคอื ปัญญาอันยง่ิ ) หมายถงึ ขอ้ ปฏบิ ัติสำหรับฝึกอบรมปญั ญา เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ แจ้งอยา่ งสงู การรชู้ ัดตามความเปน็ จรงิ ในอริยสัจ 4 เปน็ ลำดบั ไป จนทำให้แจ้งท้งั เจโตวมิ ตุ ิ และปัญญาวมิ ตุ ิ สามารถ ทำลาย 478

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี อาสวะกิเลสใหห้ มดไป (พระไตรปฎิ กภาษาไทย เล่ม 29 ข้อ 10 : 49) ความหมายของหลักไตรสิกขา ความหมายของไตรสกิ ขา ตามพจนานกุ รมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ใหค้ วามหมายไว้วา่ ศีล เรยี กวา่ ศีลสกิ ขา สมาธิ เรยี กวา่ จติ สิกขา และปัญญา เรียกว่า ปญั ญาสกิ ขา (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554) ไตรสิกขา เปน็ ท้ังหลักการและวิธีปฏิบัติเพ่อื ให้สามารถลว่ งพน้ จากอุบาย, กามธาตุ และภพท้ังปวง โดยมีเปูา หมายที่ การบรรลุ พระนิพพานอันบริสุทธิ์ปราศจากมลทิน ไตรสิกขาเป็นแนวปฏิบัติในทางสายกลางที่มิใช่การ ปรนเปรอตนด้วย กามสขุ และการทรมานตน มศี ีลเปน็ ปฏปิ ักษต์ ่อกิเลสที่แสดงออกทางกาย วาจา สมาธิเป็นปฏิปักษ์ ต่อกิเลสที่ กลุ้มรุมจิต และปัญญาเป็นปฏิปักษ์ตอ่ อนุสัยกิเลสที่แอบแนบอยูใ่ นจิตสามารถพัฒนาบุคคลให้เป็นพระ อริยะ ผู้มีความบริบูรณ์ด้วยศีลได้แก่ พระโสดาบันและพระสกทาคามี บริบูรณ์ด้วยสมาธิ ได้แก่ พระอนาคามีและ บรบิ ูรณ์ด้วยปัญญา ไดแ้ ก่ พระอรหันต์ นอกจากน้ี องค์ธรรมทง้ั ๓ ยงั เป็นเครอ่ื งอุดหนุนใหบ้ รรลุคุณวิเศษ อันหาได้ ยากในบุคคลทั้งไป ดังมีวชิ ชา ๓ เปน็ ต้น(พระพุทธโฆษาจารย์, 2538 อา้ งถงึ ใน พระใบฎีกาธรี ศักด์ิ สธุ ีโร,2560) ไตรสิกขา หรือ สิกขา 3 หมายถึง ข้อที่จะต้องศึกษา ข้อที่จะต้องปฏิบตั ิ เพื่อฝึกหัดอบรมกาย วาจา จิตใจ และสติปัญญาให้สูงขึ้น จนสามารถบรรลุนิพพานอันเป็นจุดหมายหลักในพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) อธิศีล สิกขา หรือ ศีลสิกขา 2) อธิจิตสิกขา หรือ จิตสิกขา หรือว่า สมาธิสิกขา 3) อธิปัญญาสิกขา หรือ ปัญญาสิกขารวม เรียกกันสั้นๆ ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นหลักเพื่อการเรียนรู้และฝึกอบรมตน คือ การฝึกอบรม 3 ด้าน ได้แก่ การ สำรวมทางกายและวาจา การทำจติ ใจให้บรสิ ุทธิ์ผ่องแผ้ว และการพิจารณาเห็นหรือรู้เหน็ ตามความเป็นจรงิ การเรยี นรู้ สู่การปฏิบัติ (พระครูศรธี รรมวรภรณ์, 2562) ไตรสิกขา เป็นการศกึ ษาที่ฝกึ ให้คนใหเ้ จริญพัฒนาขน้ึ ไปในองค์ประกอบทัง้ 3 ดา้ นของชีวติ ที่ดีงาม ดังนี้ 1) สกิ ขา/การฝกึ ศกึ ษา ด้านสัมพันธ์กับสงิ่ แวดลอ้ มทางสงั คม คือเพอ่ื นมนษุ ย์ ตลอดสรรพสตั ว์ หรือสิง่ แวดล้อมทางวัตถุ ก็ตามด้วยอินทรีย์ (เช่น ตา หู) หรือด้วยกาย วาจาก็ตาม (เรียกเตม็ ว่า อธิศีลสิกขา) คือ สิกขาหรือการศึกษาท่ีฝึกใน ด้านการสัมพันธ์ติดต่อปฏิบัติจัดการกับสิ่งแวดล้อม ทั้งทางวัตถุและทางสังคม ทั้งด้วยอินทรีย์ต่าง ๆ และด้วย พฤติกรรมทางกาย วาจา พดู อีกอยา่ งวา่ การมชี วี ติ ที่ปล่อยเวรภยั ไร้การเบียดเบยี น หรือการดำเนินชีวติ ท่เี กอื้ กลู สังคม และแก่โลก 2) สกิ ขา/การฝกึ ศกึ ษา ด้านจิตใจ เรยี กว่า สมาธิ (เรยี กเต็มว่า อธิจติ สิกขา) คือ สกิ ขาหรือการศึกษาที่ฝึก ในด้านจิต หรือระดับจิตใจได้แก่การพัฒนาคุณสมบัติต่าง ๆของจิต ทั้งในด้านคุณธรรม เช่น เมตตา กรุณา ความมี ไมตรี ความเห็นอกเห็นใจ ความเอื้อเฟอ้ื เผ่อื แผ่ ความสุภาพออ่ นโยน ความเคารพ ความซือ่ สตั ย์ และความกตัญญู ใน ด้านความสามารถของจิต เชน่ ความเข้มแข็งมั่นคง ความเพียรพยายาม ความกล้าหาญ ความขยัน ความอดทน ความ รับผิดชอบ ความมุ่งมัน่ แน่วแน่ ความมีสติ สมาธิ และในด้านความสุข เช่น ความมีปีติอ่ิมใจ ความมีปราโมทย์ร่าเริง เบกิ บานใจ ความสดชน่ื ผ่องใส ความรู้สึกพอใจ 3) สิกขา/การฝึกศึกษา ดา้ นปัญญา เรียกวา่ ปัญญา (เรยี กเต็มว่า อธิ ปญั ญาสกิ ขา) คือ สกิ ขาหรือการศกึ ษาทฝี่ ึกหรอื พัฒนาในด้านการรู้ความจริง เรม่ิ ตงั้ แต่ความเชอ่ื ทมี่ เี หตผุ ล ความเห็น ที่เข้าสู่แนวทางของความเป็นจริง การรู้จักหาความรู้ การรู้จักคิดพิจารณา การรู้จักวินิจฉัย ไตร่ตรอง ทดลอง ตรวจสอบ ความรู้เข้าใจ ความหยั่งรู้เหตุผล การเข้าถึงความจริง การนำความรู้มาใช้แก้ปัญหา และคิดการต่าง ๆ ในทางเกื้อกูลสรา้ งสรรค์ เฉพาะอยา่ งยงิ่ เน้นการร้ตู รงตามความเปน็ จริง หรือร้เู หน็ ตามที่มันเปน็ ตลอดจนรู้แจ้งความ จริงที่เป็นสากลของสิง่ ทั้งปวง หรือรู้เห็นตามที่มันเป็น ตลอดจนรู้แจ้งความจริงท่ีสากลของส่ิงท้ังปวง จนถึงขั้นรูเ้ ทา่ 479

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทนั ธรรมดาของโลกและชีวิต ท่ีทำให้มจี ติ ใจเป็นอิสระ ปลอดปัญหา ไร้ทกุ ข์ เขา้ ถงึ อสิ รภาพโดยสมบรู ณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต, 2555) กล่าวโดยสรุปคำว่า “ไตรสิกขา” หมายถึง สิ่งที่ควรศึกษาหรอื ปฏิบตั ิเพือ่ ให้ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจให้ สงู ขนึ้ เพือ่ ทำให้เกดิ ความสขุ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประการดงั น้ี คือ ศีล สมาธิ และปญั ญา ความสำคัญของหลักไตรสิกขาสำหรับครู หลักไตรสกิ ขาในพระพุทธศาสนาเถรวาท พบว่า ไตรสิกขา หมายถึง การ พัฒนามนษุ ย์ใหด้ ำเนินชีวิตดีงาม ถูกต้อง ทำให้มีวิถีชวี ิตที่เป็นมรรคเป็นทางดำเนินชวี ิตหรือวิถี ชีวิตที่ถูกต้องดงี ามของความเป็นครูต้องเรยี นรูฝ้ ึกฝน พัฒนาตนเอง เริม่ จากการรักษาศลี เพ่อื ขดั เกลา พฤติกรรมและการดำเนินชวี ิตของตนเองให้บริสทุ ธ์ิ รวมถงึ การฝกึ หัด การอยู่รว่ มกันของเพื่อน รว่ มงานใหม้ ีความเกอื้ กูลต่อกัน และกระบวนการท่ีสำคญั ในการศึกษาต้องพัฒนาตนเองให้ บริบูรณ์ด้วยศีล บริบูรณ์ด้วยสมาธิ และบริบูรณ์ด้วยปัญญาเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมไปสู่ เป้าหมายสูงสุดใน ปจั จบุ นั และอนาคต ไตรสิกขา มขี ้อปฏิบตั ิ 3 ขัน้ คอื 1. ขั้นศีล ได้แก่ การเว้นชั่ว ประพฤติดี ปฏิบัติเพื่อความปกตสิ งบเรียบรอ้ ยไม่ทำให้ ตนและผู้อื่นเดือดรอ้ น ข้อปฏบิ ตั เิ หล่านเ้ี รียกว่า ศีลสกิ ขา แปลว่า สงิ่ ทคี่ วรศกึ ษาอบรม เปน็ ข้นั ศีล 2. ขั้นสมาธิ ไดแ้ ก่ การฝกึ ฝนหรอื อบรมจติ ใจให้เหมาะสม ตัง้ มนั่ ในลักษณะทีพ่ ร้อม จะปฏิบตั ิงานคอื พิจารณาความเป็นจริง เพือ่ เปน็ พื้นฐานของการเจริญปัญญา การฝกึ บังคับ จิตใจให้ตงั่ มน่ั โดยระลกึ รตู้ ัวทวั่ พรอ้ ม ดงั น้ี เรียกว่า จิตสิกขา 3. ขั้นปญั ญา ไดแ้ ก่ การฝกึ ฝนอบรมในการพจิ ารณาสิ่งท้ังปวงใหค้ วามรู้ความเข้าใจที่ ถูกตอ้ งตามความเป็น จรงิ หมายถงึ การฝึกฝนอบรมจนเกดิ ความรู้แจ้งเห็นจรงิ ในส่งิ ท้ังปวง ถงึ กับเกิดความสลดสังเวชเบือ่ หน่ายในส่งิ ท่ไี ม่ เที่ยง เปน็ ทุกข์ และเปน็ อนตั ตาไดจ้ ริง ๆ การฝกึ ฝนเชน่ น้ี เรียกวา่ ปัญญาสกิ ขา กล่าวโดยสรปุ วา่ ไตรสิกขากับการจดั การเรียนการสอนสำหรบั ครูน้ันมคี วามสำคญั มากท้งั ตัวครูและผู้เรียน เพราะเมือ่ ครูสามารถจัดการศกึ ษาได้บรรลวุ ัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรูข้ องผเู้ รียนทำให้ทั้งครูและผูเ้ รียนสามารถทำให้ชีวติ เกิดแต่ความสุขและสามารถดำรงชีวติ ไดเ้ ป็นอย่างดี องค์ประกอบของการพฒั นาจรยิ ธรรมสำหรบั ครู องคป์ ระกอบของการพัฒนาจริยธรรมสำหรับครูแบง่ เปน็ องค์ประกอบภายนอกและองค์ประกอบภายใน ได้แก่ (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตโฺ ต) (2538, น. 82-89, อ้างถึงใน ดวงเดอื น พนิ สุวรรณ์,2562) 1. องค์ประกอบภายนอก คือ สงิ่ แวดลอ้ มทัง้ ดา้ นรปู ธรรมและนามธรรม เป็นสภาพเศรษฐกจิ ตวั แบบ ค่านยิ ม ในสังคม การพัฒนาสิ่งแวดล้อมภายนอกให้เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมจึงต้องเป็นความร่วมมือของผู้ที่ เก่ียวขอ้ งหลายฝ่าย อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและจริงจงั 2. องคป์ ระกอบภายใน คือ ปัจจยั ภายในตวั บคุ คลซึ่งเปน็ พื้นฐานของจริยธรรม จงึ ต้องสรา้ งข้ึนให้มีในตัวคน สิ่งแวดล้อมภายในทสี่ ำคัญ คือ 2.1 จติ สำนึกในการศึกษาคือจิตสํานึกในการพฒั นาตนเองทง้ั ด้านกาย อารมณ์สงั คม และปญั ญา ด้วย การ ใฝ่พฒั นาใหต้ นมีชีวิตและจิตใจท่ี เจรญิ งอกงามย่งิ ขึ้น พยามยามพัฒนาตนใหเ้ ปน็ มนุษย์ท่สี มบรู ณ์การศึกษาเพื่อ 480

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พฒั นาตนเอง คอื การเรยี นรู้จากทุกสงิ่ ทกุ อย่างท่ีดีและไมด่ เี มอ่ื พบสงิ่ ทด่ี ีกเ็ รียนรู้ขอ้ ดแี ละนํามาประยกุ ต์ใชก้ ับตน เม่ือ พบสิ่งทีไ่ มด่ กี ็เรียนรู้ว่าสิ่งน้ีไม่ดีหรือเปน็ โทษอย่างไร จนเกิดความรู้ความเข้าใจและไม่นํามาปฏิบัติการมจี ิตสาํ นึกใน การศึกษาเรียนรนู้ ีจ้ ึงทำใหค้ นเปล่ยี นท่าทีต่อส่ิงต่าง ๆ ทม่ี ากระทบตนเองเพราะใชท้ ุกสง่ิ เป็นการเรียนรู้ไม่เกิดอารมณ์ กับสิ่งที่ไม่พึงพอใจ ดังนัน้ จงึ เป็นผ้เู กิดปญั ญามากกว่าเกดิ ปญั หา 2.2 แรงจงู ใจ คอื ความรกั ดีใฝด่ ใี ฝ่ความดีความงาม ใฝค่ วามรจู้ รงิ พรอ้ มรับและปฏบิ ตั ติ ามหลักคุณธรรม จรยิ ธรรม ซึง่ เปน็ การใฝ่ดีท้งั ตอ่ ตนเองและสังคม ความใฝด่ นี ีจ้ ะทำให้เกดิ ความรัก (ฉันทะ) ทจ่ี ะเรยี นรมู้ ากกวา่ การเกิด อารมณ์ ต่อสิ่งต่าง ๆ การเกิดอารมณ์ทั้งชอบและไม่ชอบสิ่งต่าง ๆ ไม่เป็นผลดีต่อมนุษย์เพราะเมื่อชอบหรือยินดีก็ ต้องการให้เปน็ ของตนและตอ้ งการมาก ๆ เพอ่ื เป็นประโยชน์แกต่ น ถ้าไมช่ อบหรอื ยินร้ายไม่ถูกใจก็จะโกรธเกลยี ดและ ขัดแย้ง การมีอารมณ์ทั้งสองด้านจงึ ไม่เกิดการพัฒนา จัดเป็นการใชต้ ัณหาแทนการใช้ฉันทะ ถ้านําไปใช้ในการแกไ้ ข และพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ก็จะแก้ปัญหา ผิดและพัฒนาพลาด เช่น นิยมการบริโภคมากก็จะฟุ่มเฟือย เกิดหนี้ ฐานะ เศรษฐกิจตกตำ่ ลง 2.3 การร้จู กั คดิ คอื การคดิ เป็นและคดิ แยบคายซ่ึงเรียกว่าโยนโิ สมนสิการ การรู้จักคดิ มปี ระโยชนค์ อื ช่วย คนไดใ้ นทุกกรณีและทำใหพ้ งึ่ ตนเองได้อยา่ งแท้จรงิ ไม่ตอ้ งพึง่ คนอื่น เพราะหากเราคดิ ไมเ่ ปน็ กต็ อ้ งอาศัยให้คนอ่ืนมา คอย บอกว่าจะต้องทำอะไร ซึ่งเราต้องมีศรัทธาในคน ๆ นั้นเพื่อจะทำตามสิ่งที่เขาบอก หากขาดศรัทธาจะกลายเป็น คนเลอ่ื นลอย หากศรทั ธาในคนไมด่ ีหรือส่ิงไม่ดีจะเกิดผลเสีย ครจู งึ ตอ้ งมศี รัทธาต่อสงิ่ ทด่ี เี พือ่ ชักนําให้คดิ อย่างถูกต้อง แล้วนําการคิดน้ไี ป เชอื่ มโยงกบั ความรเู้ พอ่ื ใหเ้ กิดปญั ญา ดังนั้นหากครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณธรรมใจยังทำอย่างแท้จริงแล้ว ครูจะสามารถนำไปใช้ในการ ดำเนนิ ชีวติ และการปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเกดิ ผลดีตอ่ ทกุ ฝ่ายท่ีเกย่ี วขอ้ งซึง่ การพัฒนาจรยิ ธรรม 1 ประการจะ ทำให้เกิดจริยธรรมอื่น ๆ ตามมาด้วย ครูจึงสามารถค่อย ๆ พัฒนาตามกำลังของตนได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจ พัฒนาบทบาทในการพัฒนาจริยธรรมของครู เช่นหน่วยงานที่จะรับผิดชอบการกำหนดจริยธรรมประจำชาติควร ประกาศจริยธรรมหลักของชาติที่ชัดเจนและยั่งยืน ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง ไม่หลากหลายตามภาระงานของ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ เพ่อื ใหค้ รูไดใ้ ช้เปน็ แนวทางในการพฒั นาตนและจัดการศกึ ษาใหแ้ ก่ผูเ้ รียน นอกจากน้ันหน่วยงานที่ รับผิดชอบในการพัฒนาครูประจำการควรจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมให้ มากขึ้นรวมทั้งหนว่ ยงานที่ใช้ครูประจำการก็ควรมกี ารบริหารจัดการให้ครูได้มีโอกาสพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของ ตนเองและผเู้ รยี นอย่างเตม็ ทเ่ี ช่นกัน กระบวนการจดั การเรียนการสอนตามหลกั ไตรสกิ ขา ธรรมชาติของผู้เรียน เป็นเงื่อนไขของการเรียนรู้ ผู้เรียนแต่ละคนมคี วามแตกต่างกัน ถ้ามองในเชิงปรัชญา ธรรมชาติของผู้เรียนจะมีองค์ประกอบที่แตกต่างกันไปตามแต่สภาพจิตวิทยา ซึ่งมีพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุการ เรียนรู้ของผู้เรียนจะมีความแตกต่างกัน มีประสบการณ์และพื้นฐานความรู้เดิม ผู้เรียนแต่ละคนมีความรู้ หรือ ประสบการณ์ทีผ่ า่ นมานน้ั ไม่เหมอื นกนั แม้จะผ่านกระบวนการเรียนรู้ในสถานการณ์เดียวกนั ท้งั น้ีเพราะ ผู้เรยี นได้รับ การอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัว มีธรรมชาติและศักยภาพในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน จึงเป็นพื้นฐานที่ มีผลต่อการ เรียนรใู้ หม่ วธิ กี ารเรียนรูห้ รือลลี าการเรียนรู้ (learning styles) ของผเู้ รียนแตล่ ะคนนั้นย่อมไม่ เหมอื นกนั 481

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ไตรสิกขาคือกระบวนการศึกษาที่มุ่งพัฒนามนุษยท์ ั้งทางด้านกาย วาจา และความคิด จิตใจ อารมณ์ และ สตปิ ัญญา ใหส้ ามารถทจี่ ะดำรงและดำเนินชวี ิตในสงั คมอยา่ งสนั ตมิ อี ิสรภาพ โดยเน้นการปฏิบตั ิ ฝึกหดั อบรม ตนดว้ ย หลักศีล สมาธิ และปัญญา วิธีปฏิบัติฝึกหดั ตามหลักของศลี สมาธิ ปัญญานั้น ผู้ศึกษาต้องปฏิบัติตาม แนวทางของ มรรคมีองค์ 8 คอื การอบรมตนให้มีศลี ดว้ ย (1) สัมมาทิฐิ คือปญั ญาเห็นชอบ (2) สมั มาสังกัปปะ คอื การดำริชอบ (3) สัมมาวาจา คือการเจรจาชอบ (4) สัมมากัมมนั ตะ คือมีความประพฤตทิ ี่ดีงาม (5) สัมมาอาชีวะ คือการเลี้ยงชีพชอบ (6) สัมมาวายามะ คอื ความอุตสาหะชอบ (7) สัมมาสติ คอื การฝกึ ให้มีสติระลึกชอบ และ (8) การมสี มั มาสมาธิ คือการ ฝึกใหจ้ ิตตงั้ ม่ันสงบ สงดั จากกิเลสนวิ รณ์อยู่เป็นปกติ ดงั ท่ี (เนาวนิต ใจมนั่ ,2548 อา้ ง ถงึ ใน ประสทิ ธ์ิ สระทอง,2562) กล่าวว่าหลกั ไตรสิกขามกี ระบวนการเปน็ ขั้นตอนดังนี้ ข้ันที่ 1 เป็นการเรยี นรู้ท่ีจะตอ้ งพ่งึ พงิ ครู ผู้เรียนตอ้ งเรียนรู้ตามธรรมชาติ วิชาที่ลงมือฝึกปฏบิ ัตติ าม หลักการ ทฤษฎี “เลยี นแบบครู” เป็นขัน้ ศลี จำเปน็ ต้องศึกษาขอ้ มลู และตอ้ งเป็นข้อเท็จจรงิ ทางทฤษฎี ตลอดจนถึงหลักการ เรียนรู้ ขนั้ ที่ 2 นักเรยี นจะเริม่ จากการสรา้ งรปู แบบการคิดของตนเอง เปน็ แนวทางภาคทฤษฎีทีเ่ รยี นรู้จาก ภายนอก เข้าไปส่กู ารคิด วเิ คราะห์ ทบทวน ลงมือฝึกปฏิบัติ และฝกึ ฝนใหม้ คี วามคลอ่ งแคลว่ โดยอัตโนมัติเพ่ือการคน้ หาคำตอบ ด้วยตนเองถอื เป็นขนั้ สมาธิ ขั้นท่ี 3 ขัน้ ปญั ญาคอื ข้นั ที่นกั เรียนใช้ความคิดในการสร้างรูปแบบใหม่ ๆ และมีการสรา้ งสรรคช์ ิ้นงาน ผลงาน ใหม่ ๆ ด้วยความคิด ด้วยปัญญาของตนเอง ซ่ึงถอื เปน็ การเรียนรู้ทแ่ี ทจ้ รงิ และเปน็ การเรียนรทู้ ่ีบูรณาการ เขา้ ด้วยกัน ระหวา่ งความรรู้ อบและรู้ลกึ จากการรับข้อมูลจากแหลง่ ความรภู้ ายนอกตวั ผเู้ รยี น (ปรโตโฆสะ) ความรู้รอบและรูล้ ึก จากการคิดกระบวนการทางานของจติ ในตัวผูเ้ รยี น (โยโสมนสิการ) รลู้ กึ จากการลงมอื ปฏิบตั ิ (ภาวนามยปัญญา) จากหลักการดังกล่าวข้างต้น โดยเริ่มต้นที่ปัญญามีความสว่าง (เก่ง) ประกอบด้วยสัมมาทิฐิ คือ การทำให้ ผู้เรียนเห็นคุณค่าของจริยธรรมและปัจจัยสัมมาสังกัปปะ คือ การคิดที่จะสร้างจริยธรรม คือ มีความสะอาด (ดี) ประกอบดว้ ยสัมมาวาจา คอื การใชค้ ำพดู ทีถ่ กู ต้องเหมาะสม ปัจจัยสัมมากมั มันตะ คือ การฝกึ ฝนลงมอื ปฏบิ ัติ ปัจจัย สัมมาอาชีวะ คือ การประพฤติตามกฎ ระเบียบ วินัย วัฒนธรรมและประเพณี สมาธิ มีความสงบ (มีความสุข) ประกอบด้วยสมั มาวายามะ คือ การพยายามปฏิบัติให้เออ้ื ต่อหลักการศึกษาของสงั คม ปจั จยั สมั มาสติ คือ การระลึก ถงึ จริยธรรม หน้าท่ีผเู้ รียนอย่เู สมอ และปัจจยั สัมมาสมาธิ คอื การตง้ั จติ มนั่ ต่อหลกั จรยิ ธรรม ดังน้นั จะเหน็ วา่ ไม่ว่าจะ ใช้วิธีการใด ๆ ในการจัดการเรียนการสอนสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือมุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นคนเก่ง ดี และสามารถอยู่ใน สงั คมได้อย่างเปน็ สุข การประยกุ ตห์ ลักไตรสกิ ขาเพื่อพฒั นาคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสำหรบั ครู ไตรสกิ ขามาจาก 2 คำ คือ คำว่า“ไตร”แปลว่าสาม ส่วน“สกิ ขา”แปลวา่ การศึกษา รวมกนั แปลวา่ สิกขาสาม หรอื ขอ้ ท่ีตอ้ งศึกษาสามประการ หรอื ขอ้ ปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ หลกั สำหรับการศึกษาสามประการ กลา่ วคือ ศกึ ษาในอธศิ ีล อธิ สมาธิและอธิปัญญา ไตรสิกขาหมายถึง ข้อที่ต้องศึกษา ข้อปฏิบัติที่เป็นหลักสำหรับการศึกษาสามประการ หลัก สำหรับฝึกหัดอบรมกาย วาจา จิตใจ และปัญญารู้แจ้งเห็นจริงไปจนบรรลุเป้าหมายสูงสุด การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมสำหรบั ครคู รทู ี่ดีควรมีหลักธรรมทีพ่ ฒั นาตนเพือ่ เสริมสร้างคณุ ธรรม ประกอบด้วย ศีล คือ ความประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ทางกายและทางวาจาให้เรียบร้อยดีงาม ไม่ประพฤตเิ บยี ดเบียนตนเองและผู้อืน่ สมาธิ คือ การรักษาใจให้ผ่อง 482

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใสปราศจากกิเลสนิวรณ์ แล้วให้ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดี่ยว ปัญญา คือ การรอบรู้กองสังขาร รอบรู้สภาวะธรรมท่ี ประกอบด้วยปจั จยั ปรงุ แต่ง (สังขาร) และท่ไี ม่ประกอบด้วยปจั จยั ปรุงแต่ง(สงั ขาร คือ พระนพิ าน) และรู้แจ้งเห็นแจ้ง พระอริยสัจ 4 รวมเปน็ ผ้มู ีปัญญาอนั เหน็ ชอบรอบรู้ ทางเจริญ ทางเส่ือม แห่งชวี ิต ตามทีเ่ ป็นจริง การเป็นครทู ี่ดีและประสบความสำเร็จได้น้ันนอกจากจะต้องเปน็ ผู้ท่ีมีสมรรถนะด้านความรู้และสมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้แล้วยังต้องเป็นผู้ที่มีสมรรถนะดา้ นคุณธรรม จริยธรรมความเปน็ ครู โดยการใช้หลักธรรมทางพระ พุทธ ศาสนาที่เรียกว่าไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งถือเป็นหลักธรรมที่จะช่วยส่งเสริมทำให้ครูผูส้ อนเกิดการ พัฒนาตนเองไปสู่การเป็นครูมืออาชีพ โดย (ปรีดาวรรณ วิชาธิคุณและคณะ, 2564) การนำหลักไตรสิกขามา ประยุกตใ์ ช้ ดังน้ี 1. ศีล (ความประพฤติทางกาย) กล่าวคือ ครูมืออาชีพควรปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับสถานภาพและเป็น แบบอยา่ งที่ดี มวี ินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวชิ าชีพ รกั ษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความรับผดิ ชอบ ซื่อสัตย์สุจริต ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และแบบแผนของทางราชการ ปฏิบัติหนา้ ที่ด้วย ความ มงุ่ มัน่ ตง้ั ใจ และใชค้ วามรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ัติงานหรอื ให้บริการอย่างมีคุณภาพ โดยคำนงึ ถงึ สทิ ธขิ ั้นพ้ืนฐาน ของผรู้ ับบรกิ ารโดยยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะของผู้ร่วมประกอบวิชาชพี ใหค้ วามรว่ มมือและช่วยเหลือ ในทางวิชาการหรือวิชาชีพแก่ชุมชน และเป็นผู้นำในการวางแผนและดำเนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนา เศรษฐกิจภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ และศลิ ปวัฒนธรรม 2. สมาธิ (การฝกึ อบรมทางจิตใจ) กลา่ วคอื ครมู ืออาชีพควรมีความชนื่ ชมและศรัทธาในคุณค่าของวชิ าชีพ ยก ย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพ ให้สาธารณชนรับรู้ ส่งเสริมการปฏิบัติงานโดยเน้นการมีส่วนร่วมของ บุคลากรทกุ คนในสถานศึกษา รบั ฟงั ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ รับฟังความคิดเห็นท่ีมี เหตุผลของศิษย์และผู้รับบริการ มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกัน ผนึกกำลังในการพัฒนาการศึกษา ยึดมั่น สนบั สนุน และส่งเสรมิ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 3. ปัญญา (ความรู้แจ้ง) กล่าวคือ ผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพควรหมั่นศึกษา ค้นคว้า คิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความรู้ใหม่ ๆ เพ่ือนำไปใชใ้ นการพัฒนาวิชาชีพอยเู่ สมอ สร้างสรรค์ผลงานทแี่ สดงถึงการพฒั นาความรู้และความคิดใน วิชาชีพจนเป็นท่ียอมรับ หมั่นศกึ ษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย และนำเสนอผลงานที่เกี่ยวขอ้ งกับวชิ าชีพ เสนอแนวคดิ หรือ วิธีการที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวิชาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการ พัฒนาในทุกด้านต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพและจัดกิจกรรมเพื่อให้ศิษย์และผู้รับบริการเกิดการเรียนรู้และสามารถ นำไปปรบั ใช้กับการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั ของตนเองได้ ดังนั้นครูจึงต้องมุ่งเน้นพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมของตนเองเพือ่ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์โดยใช้หลัก ศีล สมาธิ ปัญญา โดยนำหลักคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของครูมาพฒั นาด้าน ศลี กาย จติ และปญั ญาดงั น้ี ๑. ศีลภาวนา (A1) การปฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างท่ีดี : ครูต้องมีวนิ ัยตนเอง ปฏิบตั งิ านท่ีได้รับมอบหมายด้วย ความรับผิดชอบ รอบคอบ ปลอดภยั ประหยดั มีประสทิ ธิภาพ ทำงานเสร็จทันเวลา 483

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ๒. กายภาวนา ( A2) การปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความชอบธรรม : ครูตอ้ งปฏบิ ัติงานด้วยความเสยี สละ อดทน เพื่อให้ ได้ผลงานดีมีคุณภาพ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของงาน มีทัศนคติที่ดีต่อการทำงานที่สอดคล้องกับธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ ม ๓. จิตภาวนา ( A3) ความมุ่งมั่น ตง้ั ใจทำงาน : ครูต้องมุ่งมนั่ ต้ังใจ กระตอื รือร้นแสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา รักการทำงาน มเี จตคติท่ดี ตี อ่ อาชีพสุจรติ ๔.ปัญญาภาวนา : ผลที่ได้รับจากการมุ่งมั่นตั้งใจปฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างที่ดีและปฏิบัติงานด้วยความชอบ ธรรมทำให้ครูเปน็ คนเก่งและดี จากหลกั การดังกล่าวข้างต้นจะเหน็ วา่ ไม่วา่ จะใชว้ ิธกี ารใด ในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของครสู ิ่งที่สำคัญ ที่สุดก็คือมุง่ เน้นให้ครูเป็นคนเก่ง ดี และสามารถเปน็ แบบอย่างที่ดใี ห้กับนักเรยี นได้ การมีคุณธรรมจรยิ ธรรมในการ ประกอบอาชีพครนู ้นั เป็นสิง่ สำคัญเพราะครนู ้ันเป็นผ้นู ำคน เป็นผฝู้ กึ อบรม ส่ังสอนคน เพื่อนำไปสู่ปัญญา เมื่อคนที่ ไดร้ ับการสง่ั สอนมสี ตปิ ญั ญา กส็ ามารถมีเหตุผลในการตัดสนิ สง่ิ ท่ีถกู และสง่ิ ท่ีผิดได้ ครูเปน็ ผูส้ ร้างต้นแบบของคนที่มี คุณธรรมจริยธรรมซึง่ จะเกิดความดงี าม สง่ ผลให้เกิดการปฏิบัติตามดงั น้ันครูจึงจำเป็นต้องพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ควบคู่กบั หลกั คำสอนทางพุทธศาสนาโดยเฉพาะหลกั ไตรสิกขาในการทจี่ ะมาพัฒนาครู หากครขู าดศีลสมาธิ ปัญญาก็ จะทำใหค้ รคู วามตระหนักคดิ ผิดชอบชวั่ ดี เพ่อื เปน็ สิ่งสะทอ้ นสสู่ งั คมเมื่อสังคมให้การยอมรบั และประพฤติปฏิบัติตาม สิ่งทปี่ รากฏคือความเคารพนับถือต่อผปู้ ระกอบวิชาชีพครู สรุป หลักทั้ง 3 ประการแห่งไตรสิกขา ที่กล่าวมาเป็นการศึกษาที่พัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของครูให้เจริญ พัฒนาข้ึนไป ในองคป์ ระกอบทั้ง 3 ด้านของชีวติ ทำให้ครูมีชีวิตท่ีดีงามตามหลกั ไตรสกิ ขา และการฝึกศึกษาท่ีจะให้มี ชีวิตที่ดีงาม เป็นสิกขาชีวิตดีงามที่เกิดจากการฝึกศึกษานั้น เป็นมรรค โดยพัฒนาครูให้เป็นคนดี คนเก่ง และมี ความสุข โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ตามนัยแห่งพุทธธรรม คือการฝึกฝนตนเองเรื่องศีล การฝึกฝนตนเองเรื่องสมาธิ การฝึกฝนตนเองเรื่องปัญญา หลักการศึกษาเบื้องต้นเป็นหลักและแนวปฏิบัติที่บูรณาการของการพัฒนาครูซึ่งใน พระไตรปิฎก เรียกว่าไตรสิกขา (ศลี สมาธิปญั ญา) ซง่ึ เป็นการฝึกหัดอบรมทางกาย ทางวาจาและทางจิตใจของมนุษย์ ให้สามารถคน้ พบและควบคมุ ตนเองพร้อมที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองโดยใช้สติและปญั ญาเพ่อื ให้เกิดประโยชน์แก่ ตนเอง และเกิดประโยชน์ตอ่ ผ้อู ืน่ หลักการเรียนรู้ตามแนวไตรสิกขาจึงมีความสมบูรณ์ทีจ่ ะพฒั นาครูให้มีคุณธรรมและ จริยธรรมสามารถเผชญิ ชีวิตอยา่ งมีสติปัญญาและสุขภาพจิตใจทีด่ ีงามรวมทั้งได้รับการยอมรับยกย่องจากบคุ คลอน่ื อยา่ งสมบูรณ์แบบ เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2556). ศธ.จีค้ รูปรบั บทบาทใหม่ทันกบั เทคโนโลยีสอนเดก็ . สบื ค้นออนไลน์ จาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=34113&Key=hotnews ขา่ วสำนกั งานรฐั มนตรี 275/2556. (2556). รมว.ศธ.เปดิ การเสวนา ICT เพ่อื ปฏิรปู การเรยี นการสอน. สืบคน้ ออนไลน์ 484

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จาก http://www.moe.go.th/websm/2013/aug/275.html เจษฎาวัลย์ ปลงใจ.(2561).จริยธรรมกับความเป็นครู. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มจร วิทยาเขตแพร.่ 4(1),114-123. ดวงเดือน พินสุวรรณ์. (2562). คุณธรรมจรยิ ธรรมสำหรบั ครู. หนอ่ ยท่ี 14. มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมธิราช. ประสทิ ธิ์ สระทอง. (2562). การศกึ ษาตามหลกั ไตรสิกขาเพ่ือพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย.์ วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส,์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.12(1), 888-901 ป.อ.ปยตุ โฺ ต. (2555). ชวี ติ ท่ีเป็นอยู่ด:ี ด้วยมีการศกึ ษาทง้ั 3 ท่ีทำให้พฒั นาครบทั้ง 4. (พิมพ์คร้ังท่ี 4). สำนักพิมพ์ ธรรมสภากรุงเทพมหานคร. ปรีดาวรรณ วิชาธิคุณและคณะ.(2564).การประยุกตใ์ ชห้ ลักคุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณตามหลักไตรสกิ ขาสู่ ความเป็นผูบ้ ริหารสถาน ศกึ ษามืออาชีพ.วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 8(6),39-41 พระไตรปฎิ ก.พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบบั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั .สืบค้นออนไลน์ จาก http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd09.htm พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาต.ิ (2542) ราชกิจจานุเบกษา.เล่ม116 ตอน 74 ก หน้า 2. พุทธศักราช 2542. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี 3).(2553). ราชกิจจานเุ บกษา.เลม่ 127 ตอน 45 ก หน้า 1-3. พุทธศักราช 2553. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต). (2556). พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม.กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ มหา จุฬาลงกรณราช วทิ ยาลยั . พระครูศรธี รรมวรภรณ์. (2562). การประยุกตไ์ ตรสิกขาเพือ่ การพัฒนาทุนมนษุ ยใ์ นศตวรรษที่ 21.วารสารสหวิทยาการ มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์, 2(1), 13-24. พระวจิ ิตรธรรมาภรณ.์ (มปป.) ความหมายของคุณธรรมและจริยธรรม.สบื คน้ ออนไลน์ จาก https://sites.google.com/site/daruneekidkla/keiyw-kabcriythrrm/khwam-hmay-khxng- khunthrrm. พระครูศรีธรรมวรภรณ.์ (2018).การประยกุ ตไ์ ตรสกิ ขาเพ่ือการพฒั นาทุนมนุษยใ์ นศตวรรษที่ 21.สบื ค้นออนไลน์ จาก https://so04.tci- thaijo.org/index.php/jmhs1_s/article/download/243485/165457/ พระอธกิ ารสกายแลบ ธมมฺ ธโร (นามโท).(2561). การบริหารสถานศึกษาตามหลักไตรสกิ ขา ในสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชยั ภูมเิ ขต ๑.วทิ ยานิพนธพ์ ุทธศาสตรมหาบัณฑิตบณั ฑติ วทิ ยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. ยนต์ ชมุ่ จติ .(2558).ความเปน็ ครู.กรุงเทพฯ:โอเดยี นสโตร.์ ราชบณั ฑิตยสถาน. (2554). พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน. พทุ ธศักราช2554. https://dictionary.orst.go.th/ ราชบัณฑิตยสถาน. (2563). พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. พุทธศกั ราช2563. https://dictionary.orst.go.th/ วจิ ติ รา สขุ อร่าม. (2559). ความหมายของคร.ู สบื คน้ ออนไลน์ จาก https://www.gotoknow.org/posts/619338. วิทยา พฒั นเมธาดา.(2564). คุณธรรมจริยธรรมสำหรบั ครู. สบื ค้นออนไลน์ จาก https://www.kansuksa.com/249/. สมุ านพ ศิวารตั น์ (2560). การพัฒนาคุณภาพชวี ิตด้วยไตรสิกขา. วารสารสถานบันวชิ าการป้องกันประเทศ, 8(1),36- 48. 485

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สทุ ธิพร จิตตม์ ิตรภาพ. (2556). การเปลี่ยนแปลงโลกของการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 และการพัฒนาสู่ “ครมู อื อาชีพ”. ขา่ วสารวิชาการ.คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. สุดาพร ลักษณยี นาวนิ (บรรณาธกิ าร). 2553. การเรยี นรสู้ ู่การเปลยี่ นแปลง. สมาคมเครือขา่ ยการพฒั นาวชิ าชพี อาจารยแ์ ละองค์กร อดุ มศกึ ษาแห่งประเทศไทย. สำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร. 486

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การใช้เทคนคิ กลุม่ สบื ค้น (G.I.) รว่ มกบั อินโฟกราฟกิ เพอื่ พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นดนตรี ไทย ของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 Using group search (G.I.) Techniques together with Infographics to Develop learning achievements in Thai music of Matthayomsuksa 3 Student มรพุ งศ์ ลมิ้ ไส้หว้ั 1 พจมาลย์ สกลเกียรติ2 มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย์ E-Mail [email protected] [email protected] บทคดั ยอ่ การวิจยั ครง้ั น้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาดนตรีไทยของนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ก่อนเรยี นและหลังเรยี นโดยใชเ้ ทคนคิ กล่มุ สืบคน้ (G.I.) ร่วมกับ อินโฟกราฟิก 2) เพือ่ ศกึ ษาความพึง พอใจของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ที่มีต่อจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนคิ กลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟกิ ใน วิชาดนตรีไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศในจังหวัด ปทุมธานีที่กำลงั ศึกษาในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โดยวิธีการสมุ่ ตัวอย่างแบบกลุม่ จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 34 คน เครื่องมือท่ใี ช้ในกาวิจยั ประกอบด้วย แผนการจดั การเรยี นรวู้ ิชาดนตรไี ทยโดยใช้โดยใช้เทคนิคกลมุ่ สืบค้น (G.I.) ร่วมกับ อินโฟกราฟิก จำนวน 1 6คาบเรียน แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนวชิ าดนตรีไทย และ แบบสอบถามความพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรียนรโู้ ดยใชเ้ ทคนคิ กลุ่มสบื ค้น (G.I.) รว่ มกบั อนิ โฟกราฟกิ ในวชิ าดนตรไี ทย สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และการทดสอบคา่ ที คำสำคญั : การใชเ้ ทคนคิ กล่มุ สืบคน้ (G.I.) ร่วมกบั อินโฟกราฟิก ABSTRACT The purposes of this research aimed: 1) To compare the learning achievement of Thai music subjects of MathayomSuksa 3students before and after studying by using G.I technique together with Infographics. 2) To study the satisfaction of Mathayom Suksa 3 students towards learning management by using G.I techniques together with infographics in Thai music subject. The sample group used in this research were Mathayom Suksa 3 students at Sarasas Witaed School in Pathum Thani Province studying in the second semester of the academic year 2020. Which were clusternrandom sampling. the research instruments includes A plan for learning Thai music by using G.I. techniques together with infographics for 16 lessons. Pre-test and post-test learning achievement 487

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี measurement form for Thai music subject Learning achievement form before and after learning Thai music subject. The satisfaction questionnaire for learning management by using G.I. technique together with infographics in Thai music subject. the collected data was analyzed by means, standard deviation, and t-tast for dependent samples KEYWORD : Using group search (G.I.) Techniques together with Infographics บทนำ ดนตรีไทยเป็นศิลปะแขนงหน่ึงของไทย ไดร้ บั อิทธพิ ลมาจากประเทศต่าง ๆ เชน่ อนิ เดีย จนี อินโดนีเซีย และอน่ื ๆ เครื่องดนตรมี ี 4 ประเภท ดดี สี ตี เป่า ประวัติความเป็นมาของดนตรไี ทย จากการสนั นิษฐานของท่านผู้รู้ ทางด้านดนตรีไทยสนั นิษฐานว่า ดนตรไี ทยไดแ้ บบอยา่ งมาจากอนิ เดีย เนอ่ื งจากอนิ เดยี เป็นแหล่งอารยธรรมโบราณท่ี สำคญั แห่งหนง่ึ ของโลก อารยธรรมตา่ ง ๆ ของอินเดยี ได้เข้ามามีอทิ ธพิ ลต่อประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชียอย่างมาก ทั้ง ในด้านศาสนา ประเพณคี วามเชื่อ ตลอดจนศิลปะแขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านดนตรี มกี ารปรากฎรูปร่างลักษณะ เครื่องดนตรีของประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชีย เช่น จีน เขมร พม่า อินโดนีเซียและมาเลเซีย มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เป็นส่วนมาก ทั้งนี้เนื่องมาจากประเทศเหล่านั้นต่างก็ยดึ แบบฉบับดนตรีของอินเดียเป็นบรรทัดฐาน รวมทั้งไทยเรา ด้วย เหตุผลสำคัญที่ท่านผู้รู้ได้เสนอทัศนะนีก้ ็คือ ลักษณะของ เครื่องดนตรีไทยสามารถจำแนกเป็น 4 ประเภท คือ เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่า ซึ่งใกล้เคียงกับลักษณะเครื่องดนตรีอินเดียตามที่กล่าวไว้ในคัมภีร์ \"สังคีต รัตนากร\" ของอนิ เดยี ซ่งึ จำแนกเป็น 4 ประเภทเชน่ กนั คอื ตะตะ คือ เคร่อื งดนตรปี ระเภทมีสาย สุษิระ คอื เคร่อื งเป่า อะวะนทั ธะ หรือ อาตตะ คือ เคร่ืองห้มุ หนงั หรือกลองต่าง ๆ ฆะนะ คือ เคร่อื งตี หรือ เคร่ืองกระทบ (ย่ิงศักดิ์ ชุม่ เยน็ ,2561 ) วงดนตรีไทยมีการจัดรูปแบบการบรรเลงและมีความเป็นระเบียบแบบแผน มีมาตรฐานถูกต้องตาม หลักการประสมวง มีการพัฒนารูปแบบการบรรเลงเปน็ ระยะ ซงึ่ แบ่งได้เปน็ 3 ประเภท คือ 1. วงป่ีพาทย์ เป็นวงดนตรีทเ่ี กดิ จากการประสมวงกนั ระหว่างเครอ่ื งดนตรีประเภทเครื่องเป่าและเครื่อง ดนตรีประเภทเคร่อื งตเี ปน็ หลัก 2. วงเครอ่ื งสายไทย เป็นวงดนตรที ่ปี ระกอบด้วยเคร่ืองดนตรีประเภทที่มีสายเปน็ หลัก สว่ นเคร่ืองดนตรี ชนดิ อน่ื ๆ ทปี่ ระสมในวงเครือ่ งสาย นิยมใชเ้ คร่อื งดนตรีทีม่ รี ะดบั เสียงท่มี คี วามกลมกลืนสอดคล้องกับเครือ่ งดนตรีอ่ืน ๆ ในวง 3. วงมโหรี เปน็ วงทม่ี เี ครอื่ งดนตรีประสมวงครบทกุ กลมุ่ คือ เคร่ืองดดี สี ตี และเปา่ ดนตรีประเภทนี้ คือ ความกลมกลืนของระบบเสียงที่ใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีที่ถูกย่อสัดส่วน สำหรับฆอ้ งวงที่ประสมในวงดนตรีประเภทนีเ้ รยี กอีกชื่อหน่ึงวา่ ฆ้องมโหรี การปรบั ลดขนาดเครือ่ งดนตรีประเภทเครื่อง ตเี พราะต้องการให้ระบบเสยี งมีความดงั ท่ีเข้ากันได้กับเคร่ืองดนตรีประเภทเครื่องสาย วงมโหรีมีการประสมวงและถือ เปน็ แบบแผนมาต้ังแต่สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั ดนตรีไทยแบบฉบับดั้งเดิมของไทยนั้น ในอดีตมีการเรียนการสอนกนั อย่างไรนั้นเปน็ เร่ืองท่ีน่าสนใจอยู่ ทีเดียว เนื่องจากมีความแตกต่างกับการเรียนดนตรีไทยในสมัยปัจจุบนั อยู่มากพอสมควร ซึ่งปัจจุบนั การเรียนดนตรี 488

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไทยน้ันเปน็ วิชาหนึ่งท่ีมกี ารเปิดเป็นหลักสูตรตามสถาบนั ต่าง ๆ อยา่ งชดั เจน และเมือ่ เรยี นจบแล้วก็มีวุฒิ มีปริญญา บัตรมอบให้ ซึ่งต่างจากการเรยี นดนตรไี ทยในอดีตทไี่ ม่มหี ลกั สตู รทีช่ ัดเจน แตแ่ นวทางในการเรียนการสอนนั้นข้ึนอยู่ กับครผู ู้สอนเองว่าจะสอนอย่างไร และเมื่อเรียนจบจากครแู ล้วก็ไมม่ ีใบประกาศนยี บัตรมอบใหแ้ ตอ่ ย่างใด มแี ต่ความรู้ ที่ได้ส่ังสมมาเท่านั้นท่ีจะเปน็ ใบเบกิ ทางในการทำมาหากินต่อไป การเรียนดนตรไี ทยในอดีตน้นั เรยี กว่าเป็นวัฒนธรรม แบบมุขปาฐะ คือถ่ายทอดกันแบบปากต่อปาก ไม่มีการบันทึกโน้ตอย่างปัจจุบัน ผู้เรียนต้องจดจำทางเพลง จากครูผู้สอน ซึ่งลักษณะแบบมุขปาฐะนี้เองพบอยู่มากในประเทศไทยสมัยก่อนเนื่องจากไม่นิยมการจดบันทึกวิชา ความรู้เพื่อเผยแพร่กันเท่าไหร่นัก วิชาความรู้บางอย่างก็มีการปกปิดเป็นความลับจะสืบทอดให้เฉพาะแต่สายเลือด เดยี วกันเท่าน้นั เช่น คนท่ีรูเ้ รือ่ งการรกั ษาโรค ยาสมนุ ไพรตา่ ง ๆ กจ็ ะเกบ็ ความรนู้ ั้นไว้กับตวั เพอื่ ใช้ประกอบอาชีพของ ตนเอง ครั้นจะนำความรู้เหล่านี้ไปเล่าต่อหรอื บันทึกใหค้ นอืน่ ทราบกเ็ กรงว่าจะสง่ ผลกระทบต่ออาชีพของตนเอง จะ ถ่ายทอดให้ก็เฉพาะลูกหลานเพื่อไว้ใช้ทำมาหากินต่อไป ดนตรีไทยกเ็ ช่นกัน เนื่องจากเป็นการถ่ายทอดแบบปากต่อ ปาก และบางครง้ั ครผู ้ปู ระพันธ์เพลงเองกไ็ ม่ได้สอนใหล้ ูกศิษย์ท้ังหมด หรอื อาจเป็นเพราะลูกศิษยไ์ มส่ ามารถต่อเพลง ได้ เมื่อครูทา่ นนั้นเสยี ชวี ิตไป บทเพลงกก็ พ็ ลอยสญู หายไปด้วย ปจั จุบันปรากฏ ช่ือเพลงไทยท่ีไม่มีผู้รู้ทำนองอยู่มาก ทเี ดียวเป็นทนี่ ่าเสยี ดายเป็นอยา่ งย่งิ วิชาดนตรไี ทยถกู จดั อยู่ในกล่มุ สาระศิลปะ ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง มาตรฐานตัวชี้วัดที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ตอ่ ดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เมื่อดนตรีไทยถกู จดั มาอยู่ในเรื่องของการเรียน การสอนในปจั จุบนั จะมคี วามแตกต่างจากอดีตทกี่ ารถ่ายทอดความร้ดู ้านดนตรไี ทย จะอยใู่ นรูปแบบของบอกเล่าให้จำ ทำให้ดูแลว้ ทำตาม สงั เกต จำแบบ สถานทใ่ี ห้ความรู้ หรือศนู ย์รวมแหล่งความรู้นนั้ จะมีอยู่ 3 แหลง่ ด้วยกัน คือ บ้าน วัดและวัง ต่อมาเมื่อมีการให้การศึกษาตามอย่างของตะวันตก สถานศึกษาเริ่มเข้ามามีบทบาทในสังคม การศึกษา ส่งเสรมิ ใหค้ นรจู้ ัก การเสาะแสวงหาความรู้ และนำความร้ไู ปพฒั นาให้ชวี ิตมีความเปน็ อยู่ท่ีดีขึ้น ความรู้ ต่าง ๆ หลั่งไหลไปรวมศูนย์อยู่ในสถานศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ทำให้ครูผู้สอนต้องเปลี่ยนบทบาทจากเดิม โดยต้อง เปลี่ยนวิธีการสอนวชิ าดนตรไี ทย ซึ่งครูผู้สอนควรทำความเขา้ ใจในธรรมชาติของวิชา และลักษณะเฉพาะว่ามีเน้ือหา สาระสำคัญอยา่ งไรบ้าง เพอื่ การวางแผนการสอนใหค้ รอบคลุมถงึ เน้ือหาสาระดังกลา่ ว ซง่ึ จะสง่ ผลให้การเรยี นการสอน วิชาดนตรเี ป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ตรงเปา้ หมาย เพ่อื ผลสำเร็จของการสอนและการสืบสานดนตรีไทยทย่ี ั่งยนื ปัญหาอย่างหนึ่งในการเรียนการสอนดนตรีไทย คือ ความสนใจและการให้ความสำคัญต่อการเรียน เนื่องจากบทเรียนเรื่องการแยกประเภทวงดนตรีไทยมีความเป็นประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ เมื่อเรียนวิชานี้จึงไม่มี แรงจูงใจใหม่และเกิดความเบื่อหน่าย อีกทั้งวิธีการสอนเป็นการสอนแบบบรรยาย จึงทำให้นักเรียนไม่เกิดความ กระตอื รือร้นในการเรียน ดังนน้ั การคิดคน้ หาวธิ ีการใหมใ่ นการสอนวิชาดนตรีไทย จงึ น่าจะเกดิ ประโยชน์ต่อการเรียน การสอนมากยิ่งขึ้น และอาจนำวิธีการนี้ไปใช้กับการเรียนการสอนวิชาอื่น ๆ ได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาหาความรู้ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อจัดการเรียนการสอนให้มีความสนุกสนานมากขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนมี พฤติกรรมการเรยี นในช้ันเรยี นที่ดีขึน้ ไป เทคนิค GI เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ผู้วิจยั ได้ศกึ ษาเพ่อื นำมาแกไ้ ขปัญหาเรื่องพฤติกรรมการเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรีไทย “G.I.” คือ “Group Investigation” รูปแบบนี้เป็นรูปแบบที่ส่งเสริมให้ 489

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผู้เรียนชว่ ยกนั สบื ค้นขอ้ มลู มาใช้ในการเรียนรู้ร่วมกนั โดยดำเนินการเปน็ ข้นั ตอนโดยเรมิ่ จาก จดั ผู้เรียนเข้ากลุ่มคละ ความสามารถ (เกง่ -กลาง-ออ่ น) กลุ่มละ 4 คน กลมุ่ ย่อยศกึ ษาเนอื้ หาสาระร่วมกนั โดยแบ่งเนอ้ื หาออกเป็นหัวขอ้ ยอ่ ย ๆ แลว้ แบง่ กันไปศึกษาหาข้อมลู หรอื คำตอบ และในการเลือกเนือ้ หา ควรให้ผ้เู รยี นออ่ นเป็นผู้เลือกก่อน ต่อมาสมาชิก แต่ละคนไปศึกษาหาข้อมลู /คำตอบมาให้กลุม่ และให้กลุ่มอภปิ รายร่วมกัน และสรุปผลการศึกษาและสุดท้าย แต่ละ กลุม่ เสนอผลงานของกลุ่มต่อช้ันเรยี น GI กค็ ือตอ้ งการปลกู ฝังการรว่ มมือกันอย่างมีประชาธปิ ไตย มีการกระจายภาระงานและสิทธใิ นการแสดง ความคดิ เห็นท่ีเท่าเทียมกันของสมาชิกในกลุ่ม GI มีการกระตุ้นบทบาทท่ีแตกต่างกันท้ังภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม เป็นการส่งเสริมการแก้ปัญหาแบบกลุ่มโดยมีแนวคิด ในการจัดการเรียนรู้คือ นักเรียนแต่ละคนจะได้แสดง ความสามารถของตนในการแสวงหาความรู้ นกั เรียนแตล่ ะคน ต้องถา่ ยทอดความร้หู รือวธิ กี ารทำงานให้เพอื่ นนักเรียน เข้าใจด้วย ทุกคนต้องร่วมแสดงความคิดเห็น อภิปรายซักถามจนเข้าใจในทุกเรื่อง ทุกคนต้องร่วมมือกันสรุปความ เข้าใจท่ีได้นำสง่ อาจารย์เพียง 1 ฉบบั เท่านนั้ ซ่ึงเหมาะกับการสอนความรู้ที่สามารถแยกเปน็ อิสระได้เป็นสว่ น ๆ หรือ แยกทำได้หลายวธิ หี รอื การทบทวนเร่อื งใดท่แี บ่งเป็นเรอ่ื งย่อย ๆ ได้ หรือการทำงานทแี่ ยกออกเปน็ ช้นิ ๆ ได้ GI จะมีองค์ประกอบทส่ี ำคัญในการวางแผนการจัดการเรียนรดู้ ว้ ยอยดู่ ว้ ยกนั 6 ประการ คอื 1.) การเลือกหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา (Topic Selection) 2.) การวางแผนร่วมมือกันในการทำงาน (Cooperative Planning) 3.) การดำเนินงานตามแผนการที่วางไว้ (Implementation) 4.) การวิเคราะห์และ สังเคราะห์งานที่ทำ (Analysis and Synthesis) 5.) การนำเสนอผลงาน (Presentation of Final Report) และ 6.) การประเมนิ ผล (Evaluation) โดยเทคนิคกลุ่มสืบค้น GI เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือที่ผู้สอนจะเป็นผู้มอบหมายความ รับผิดชอบอย่างสูงให้กับนักเรียน ในการ บ่งชี้ว่าเรียนอะไรและเรียนอย่างไร ในการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และ ตีความหมายของส่ิงท่ีศึกษาโดยเนน้ การสือ่ ความหมายและการแลกเปล่ียนความคิดเปน็ ของกันและกันในการทำงาน โดยมีลำดบั ข้ันดงั นี้ ขน้ั ท่ี 1 ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ ราย ทบทวนบทเรียนทสี่ อน ตอ่ มาขัน้ ท่ี 2 แบง่ นักเรียนเป็น กลมุ่ ๆ และแบ่งเรอ่ื งท่สี อนเป็นขอ้ ย่อยแต่ละหัวข้อจะเปน็ ใบงานท่ี 1 ใบงานที่ 2 ใบงานท่ี 3 เป็นต้น และต่อมาขั้นท่ี 3 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกทำเพียงหัวข้อเดียว (ใบงานเพียงใบเดียว)โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนอ่อนเลือก หัวข้อก่อนการทำใบงาน อาจจะให้นักเรียนในกลุ่มแบ่งกันหาคำตอบ และนำคำตอบท้ังหมดมารวมเป็นคำตอบที่ สมบรู ณ์ และข้นั ท่ี 4 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันอภิปรายเร่ืองจากใบงานทีไ่ ดจ้ นเปน็ ท่ีเข้าใจของทกุ คนในกล่มุ และข้ัน สุดท้ายขั้นที่ 5 ให้แต่ละกลุม่ รายงานผลเริ่มตั้งแต่กลุ่มที่ทำจากใบงานที่ 1 จนถึงใบงานสุดท้าย โดยให้คำชมเชยและ รางวัลแก่กลุ่มที่ถูกต้องที่สุด ซึ่งการจัดการเรียนรู้ในลักษณะนี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้รู้จักการเรียนแบบกลุ่มและหา ความรดู้ ้วยตนเอง ยงั มเี ครือ่ งมืออีกหลากหลายชนดิ ที่จะช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพมากขึ้นอาทิ เชน่ แผนภาพ INFOGRAPHICS ทีท่ ำใหผ้ ูเ้ รยี นเหน็ ภาพมากข้นึ เข้าถึงบทเรียนไดม้ ากขึน้ การจัดการเรียนรู้ลักษณะนี้ จะมปี ระสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อได้ใช้ INFOGRAPHICS เข้ามาเป็นเครอ่ื งมือชว่ ยในการจดั การเรียนการสอน อินโฟกราฟิกส์ (Infographics) หมายถึง การนำข้อมูลหรือความรู้มาสรปุ เป็นสารสนเทศในลกั ษณะของ ข้อมูลและกราฟกิ ทอ่ี าจ เปน็ ลายเส้น สัญลกั ษณ์ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม แผนท่ี ฯลฯ ทอี่ อกแบบเป็นภาพน่ิงหรือ ภาพเคลื่อนไหว ดูแล้วเข้าใจง่ายในเวลารวดเร็วและชัดเจน สามารถสื่อให้ผู้ชมเข้าใจความหมายของขอ้ มูลทั้งหมดได้ 490

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี โดยไมจ่ ำ เปน็ ตอ้ งมีผูน้ ำ เสนอมาช่วยขยายความเข้าใจอีก การวิจยั ครัง้ นี้ ผู้วจิ ัยเลง็ เห็นถึงปัญหาว่าคนไทยในปัจจุบัน มคี วามนยิ มหรือหันมาสนใจในดนตรไี ทยนอ้ ยลง จงึ อาจจะทำให้วนั หนงึ่ ดนตรีไทยน้ันอาจจะสญู หายไปจากสังคมไทย ได้ จงึ ทำใหผ้ วู้ จิ ยั รเิ ริ่มคดิ ต้องการที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวชิ าดนตรีไทย ตามแนวคิดการจัดการเรียนการ สอนด้วยเทคนิค GI ร่วมกับ INFOGRAPHIC สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อให้สอดคล้องกับ การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นพัฒนานักเรียนเป็นสำคัญ เพราะการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ถือว่าการศึกษาเป็น เครื่องมือสำคัญในการพัฒนาคน และสังคม กล่าวคือการศึกษาจะพัฒนาคนให้มีคุณลักษณะตามที่สังคมต้องการ เพอื่ ให้คนเป็นปัจจัยในการพฒั นาสงั คมต่อไป ดังน้ันการศึกษาจึงต้องแสดงบทบาทให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลง ของสังคมโดยรวม ปัจจุบันสังคมโลกและสังคมไทย กำลังก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 อันเป็นยุคที่มีความสลับซับซ้อน และมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ทำใหก้ ารศึกษาของไทยถงึ เวลาปรับเปลยี่ นอีกคร้ังหนึ่ง เพอื่ ให้การศึกษาสามารถ สร้างผลผลิตได้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการและบริบทของสงั คมได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ดังนั้นผู้วิจัยจึงนำแนวคิดการจัดการเรียนการสอนโดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟ กราฟิกเพื่อพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนดนตรีไทย เพื่อให้นกั เรียนเกดิ การเรียนรูเ้ รื่องประเภทของวงดนตรไี ทยใน รูปแบบต่าง ๆ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสารสาสน์วิเทศน์ในจังหวัดปทุมธานี เพื่อเป็น แนวทางในการพฒั นาทักษะของนักเรียน อีกทั้งยังสามารถทำให้นักเรียนได้นำทักษะการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยไป ประกอบอาชีพต่อไปได้ในอนาคต 1. วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย 1.1 เพื่อเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ก่อนเรียน และหลงั เรียนโดยการใชเ้ ทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟกิ 1.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อจัดการเรียนรู้โดยการใช้เทคนิค กลุม่ สบื คน้ (G.I.) ร่วมกบั อนิ โฟกราฟิก 2. สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั 2.1 นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนโดยการใชเ้ ทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอนิ โฟกราฟกิ 2.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกบั อินโฟกราฟิก 3. ขอบเขตการวจิ ัย 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากร ประชากรท่ีใช้ศึกษาคร้ังนี้เปน็ นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นสารสาสนว์ เิ ทศน์ในจงั หวัดปทมุ ธานี มีจำนวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนสารสาสน์วเิ ทศน์ปทุมธานี โรงเรียนสารสาสนว์ เิ ทศน์คลองหลวง โรงเรียนสวนสาร สาสนว์ ิเทศน์ปทุมธานี จำนวน 11 หอ้ งเรยี น มีนักเรยี นทั้งหมดจำนวน 384 คน โรงเรียนสารสาสนว์ เิ ทศน์คอลงหลวง 491

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี จำนวน 16 ห้องเรียน มีนักเรียนทั้งหมดจำนวน 637 คน และ รวมทั้งสองโรงเรียนจะมีจำนวนห้องเรียนทั้งหมด 27 ห้องเรียน มนี กั เรยี นทง้ั หมดจำนวน 1,021 คน กลุ่มตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาในครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศน์คลอง หลวง จำนวน 34 คน ได้มาจากการส่มุ แบบกล่มุ (Cluster sampling) 3.2 ตวั แปรทศ่ี กึ ษา ตัวแปรตน้ - การใชเ้ ทคนิคกล่มุ สบื คน้ (G.I.) รว่ มกับอินโฟกราฟิกเพ่อื พฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นดนตรีไทย ตวั แปรตาม - ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าดนตรไี ทย - ความพงึ พอใจต่อการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชเ้ ทคนิค G.I ร่วมกบั Infographics 4. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา เน้ือหาทใี่ ช้ในการวจิ ัยคร้งั น้ี คอื วชิ าดนตรไี ทยมีเนอ้ื หาทัง้ หมด 4 เรื่อง ได้แก่ เรอื่ งยุคสมัยและรูปแบบของ ดนตรีไทย เรื่องคีตกวีศลิ ป์และการจดั วงดนตรไี ทย เรื่องการอ่านโน้ตและการขับร้องเพลงไทย และเรื่องวางแผนการ แสดงเก่ียวกบั ดนตรี ทง้ั หมด 4 เร่ือง รวม 16 ชวั่ โมง 5. วิธดี ำเนนิ การวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (quasi-experimental research process) มี วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัยเพื่อสำรวจผลจากการจัดการเรียนร้โู ดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอนิ โฟกราฟิก เพือ่ พฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 5.1 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 5.2 เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวิจยั 5.3 การสรา้ งและหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใชใ้ นการวิจยั 5.4 การเก็บรวบรวมข้อมลู 5.5 การวิเคราะหข์ ้อมูล 5.6 สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู 6. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ งที่ใช้ในการวจิ ัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศน์ในจังหวัด ปทุมธานี ที่ทำการจัดการเรียนการสอนในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มีจำนวน 2 โรงเรียน ได้แก่โรงเรียนสารสาสนว์ ิ เทศนป์ ทุมธานี และโรงเรียนสารสาสนว์ ิเทศน์คลองหลวง โรงเรยี นสารสาสน์วิเทศน์ปทมุ ธานรี วมทัง้ ส้นิ 11 ห้องเรยี น มนี ักเรียนทง้ั หมดจำนวน 384 คน โรงเรยี นสารสาสนว์ ิเทศน์คลองหลวงรวมท้ังสนิ้ 16 ห้องเรยี น มีนักเรียนทั้งหมด จำนวน 637 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศน์ 492

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คลองหลวงที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 34 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster sampling) โดยผู้วิจยั ได้เร่ิมทำการสมุ่ จากการเลือกโรงเรียนสารสาสนว์ ิเทศน์ปทุมธานีและโรงเรียนสารสาสน์วิเทศน์ คลองหลวงมาทำการจบั ฉลากจนได้ผลเปน็ โรงเรยี นสารสาสน์ วเิ ทศน์คลองหลวง จากนน้ั เลือกท้งั 16 ห้องเรียนมาจับ ฉลากอกี ครง้ั จนได้ผลเป็นกลุม่ ตัวอยา่ งนักเรยี นห้อง 4/6 7. เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั การวิจยั ครั้งนี้เป็นการวจิ ยั เชงิ ก่ึงทดลอง (quasi-experimental research process) ผู้วจิ ยั มีเครื่องมือ ในการวจิ ยั ประกอบดว้ ย 1. แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรีไทยโดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟิกเพื่อ พฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนจำนวน 16 ช่วั โมง 2. แบบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนกอ่ นและหลงั เรียน วชิ าดนตรไี ทย 3. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟ กราฟกิ เพือ่ พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 8. ข้ันตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยลักษณะ Pre-experimental Research ซึ่งดำเนินการทดลองตามแบบแผน แบบ One group Pretest Posttest Design โดยมรี ายละเอียดดงั ตารางตอ่ ไปน้ี ตารางท่ี 1 แบบการวจิ ัย One group Pretest Posttest โดยท่ี O1 หมายถึง การทดสอบกอ่ นการจัดการเรียนรดู้ ว้ ยเทคนคิ G.I และ INFOGRAPHICS หมายถึง การใช้เทคนคิ กลุ่มสบื ค้น (G.I.) รว่ มกบั อินโฟกราฟกิ เพอ่ื พฒั นา หมายถึง การทดสอบหลงั การจดั การเรียนร้ดู ้วยเทคนคิ G.I และ X ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น O2 INFOGRAPHICS 9. การวิเคราะห์ขอ้ มลู การวเิ คราะห์ข้อมูลท่ไี ด้จากการดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผู้วจิ ยั ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 9.1 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรีไทย โดยใช้ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) และทดสอบค่าที (t-test for Dependent samples) 493

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 9.2 วิเคราะห์แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีตอ่ การจัดการเรียนรู้โดย ใชเ้ ทคนคิ G.I ร่วมกับ Infographics วชิ าดนตรีไทย โดยใช้ค่าเฉลยี่ (X ) สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( S.D.) 9.3 นำเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใช้ตารางและการพรรณนา 10. สรุปผลการวจิ ยั การจดั การเรยี นรู้โดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบคน้ (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟกิ เพอื่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนในวชิ าดนตรีไทยของนักเรยี นระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 สรปุ ไดด้ ังนี้ 10.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้เทคนิคกลุ่ม สืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟิกเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีคะแนนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 ซ่ึงเป็นไปตามสมมตุ ิฐานข้อท่ี 1 10.2 ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟิกเพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศคลองหลวงอยู่ในระดับ มากซึง่ สงู กวา่ เกณฑ์ทก่ี ำหนด ซงึ่ เปน็ ไปตามสมมตุ ิฐาน ข้อที่ 2 ตารางที่ 1 แสดงผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชเ้ ทคนิค G.I. ร่วมกับ Infographicsในวชิ าดนตรีไทยของนกั เรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 การทดสอบ n คะแนนเตม็ X S.D. t - test กอ่ นเรยี น 34 หลังเรยี น 34 30 10.32 2.77 10.04* 30 23.44 3.62 ตารางท2่ี แสดงระดบั ความพงึ พอใจตอ่ การจดั การเรียนรโู้ ดยชุดการสอนเพื่อส่งเสรมิ ความสามารถการ แกโ้ จทย์ปญั หาทางคณติ ศาสตร์ สำหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จำนวน 34 คน รายการประเมิน x S.D. แปลความหมาย ดา้ นครูผสู้ อน 4.34 0.56 มาก 1. ครูมีความรู้ความเขา้ ใจในบทเรียนทนี่ ำมาสอน 4.59 0.50 มากท่ีสุด 2. ครูมกี ารเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเขา้ สอน 4.50 0.51 มาก 3. ครมู ีการดูแลและเอาใจใส่นักเรยี น 4.44 0.50 มาก 4. ครูมกี ารยอมรบั ความคิดเหน็ ของนักเรยี น 4.29 0.46 มาก 5. ครมู คี วามรับผิดชอบและตรงตอ่ เวลา 3.88 0.54 มาก ดา้ นส่ือการสอน 4.58 0.49 มากท่ีสุด 494

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี รายการประเมนิ x S.D. แปลความหมาย 4.74 0.45 มากท่ีสุด 6. ส่อื การสอนมีความเหมาะสมกับช่วงวยั ของผเู้ รียน 4.47 0.51 มาก 7. สอื่ การสอนมคี วามสวยงามและทันสมัย 8. ส่ือการสอนช่วยทำให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจเน้อื หาไดม้ ากขึ้น 4.62 0.49 มากทส่ี ดุ 9. สือ่ การสอนมคี วามสอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หา 10. สอ่ื การสอนงา่ ยตอ่ การสง่ ตอ่ ให้นกั เรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง 4.50 0.51 มาก รายการประเมิน 4.59 0.50 มากที่สุด ดา้ นเนอ้ื หา 11. เนอ้ื หาในบทเรยี นมคี วามเหมาะสมกับผู้เรียน x S.D. แปลความหมาย 12. มกี ารจดั ลำดบั ในการนำเสนอเนอื้ หาในบทเรยี น 13. เนอื้ หาในบทเรียนมีความหลากหลาย 4.48 0.50 มาก 14. ปรมิ าณของเน้อื หาในบทเรียนไม่มากหรือน้อยจนเกินไป 15. เน้ือหาในบทเรยี นมคี วามชดั เจนและถกู ต้อง 4.56 0.50 มากทสี่ ดุ รายการประเมนิ 4.50 0.51 มาก ดา้ นประโยชน์ท่ีไดร้ ับ 16. นักเรียนสามารถนำความรไู้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นวชิ าอน่ื ๆ ได้ 4.59 0.50 มากที่สุด 17. นกั เรียนไดฝ้ ึกคดิ วเิ คราะหแ์ ละแก้ปัญหาได้ 18. นักเรียนไดร้ บั ความรู้และประสบการณใ์ หม่ ๆ จากการจดั การ 4.29 0.46 มาก เรียนการสอน 19. นกั เรียนไดฝ้ กึ การทำงานเป็นกลุม่ 4.47 0.51 มาก 20. นักเรียนไดฝ้ กึ การหาความรู้ดว้ ยตนเอง S.D. แปลความหมาย ภาพรวม x 4.49 0.52 มาก 4.74 0.45 มากทส่ี ุด 4.32 0.47 มาก 4.32 0.59 มาก 4.56 0.50 มากทส่ี ดุ 4.53 0.51 มากทส่ี ุด 4.48 0.53 มาก 11. อภปิ รายผล จากการวิจัยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอนิ โฟกราฟิกเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วชิ าดนตรไี ทยของนักเรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นสารสาสน์วเิ ทศในจงั หวัดปทุมธานี ผู้วิจัยมีประเด็นที่ จะอภิปรายผลการวจิ ัยดังนี้ 11.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิชาดนตรไี ทยของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยโดยการใชเ้ ทคนคิ กลุ่ม สบื ค้น (G.I.) รว่ มกบั อนิ โฟกราฟิกเพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน หลงั ไดร้ ับการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียน 495

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ซงึ่ ผลการวิจยั เปน็ ไปตามสมมุติฐานขอ้ ท่ี 1 เนอ่ื งจาก การจัดการเรียนรู้โดยโดยการใชเ้ ทคนคิ กลมุ่ สบื ค้น (G.I.) รว่ มกับ อินโฟกราฟิกเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาดนตรีไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สามารถ กระตุ้นความสนใจของนักเรียนในประเด็นเรื่องการเรยี นดนตรีไทยของนกั เรยี นในความเป็นจรงิ แล้วดนตรีไทยอยู่คู่กับ คนไทยมาเปน็ ระยะเวลายาวนาน ซงึ่ ทำใหน้ กั เรยี นไดร้ จู้ กั กบั ดนตรไี ทยประเภทตา่ ง ๆ มาบา้ งต้ังแตเ่ ลก็ ซง่ึ ประกอบไป ด้วย 1) ประวัติดนตรีไทย 2) เครื่องดนตรีไทย 3) ประเภทของวงดนตรไี ทย 4) การอ่านโน้ตดนตรีไทย 5) การขับรอ้ ง เพลงไทย 6) การจดั การแสดงดนตรี โดยผวู้ จิ ยั ได้นำเนื้อหาดงั กล่าวมาปรับใหใ้ ห้เข้ากับเนอ้ื หาในการจัดการเรียนการ สอนด้วยการใช้การจดั การเรียนรู้โดยโดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟกิ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนโดยก่อนการจัดการเรียนรู้ได้มกี ารทดสอบก่อนเรยี นพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรีไทยของ นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 อยูใ่ นระดับตอ้ งดมี าก นกั เรียนยงั ไมค่ ่อยมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในบทเรยี นตา่ ง ๆ ของวิชา ดนตรีไทย หลังจากนั้นผู้วิจัยได้ดำเนนิ การสอนขั้นตอนสำคัญในการจัดการเรียนรู้ คือ การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟิกเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาดนตรีไทย โดยเริ่มจากขั้น นำเข้าสู่บทเรียน 1) นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อประเมินความรู้ 2) สนทนาซักถามนักเรียนในหัวข้อที่ เกย่ี วกบั บทเรียนในวชิ าดนตรีไทยโดยใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั ตอบคำถาม เพ่ือประเมินความรกู้ อ่ นเรียน 3) ครูเปิดวีดิทัศน์ ตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวกับบทเรยี นในวชิ าดนตรีไทยให้นักเรยี นได้รับชม เพอื่ ใหน้ ักเรยี นไดท้ ำการศึกษาเบอ้ื งต้นดว้ ยตนเองกอ่ น ตอ่ มาผวู้ จิ ัยไดเ้ ขา้ สู่ขัน้ สอน โดย 1) ครูนำเสนอเน้อื หาในบทเรยี นวิชาดนตรไี ทย โดยใหน้ กั เรียนดูภาพจากอินโฟกราฟ ฟิคเพื่อทำความเข้าใจบทเรยี นด้วยตัวเองควบคูไ่ ปด้วย 2) นักเรียนทุกคนแบง่ กลุม่ ออกเป็นกลุ่มโดยแบ่งกลุ่มตาม จำนวนทผ่ี ู้วจิ ัยได้กำหนดให้ เพ่ือเตรียมทำกจิ กรรมทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากครูผ้สู อน 3) นักเรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทน ออกมากลุ่มละ 1 คน เพื่อทำการจับฉลากหัวข้อที่กลุ่มตนเองจะได้รับมอบหมายชิ้นงาน ซึ่งขั้นตอนนี้จะเป็น กระบวนการขั้นที่ 1 ในการใช้เทคนิค G.I. คือ ขั้นการเลือกหัวข้อที่จะศึกษา (Topic Selection) ต่อมาผู้วิจัยได้ ดำเนินการสอนโดยเข้าสู่ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่มที่ได้แบ่งไว้แต่แรกดังนี้ 1) ครู มอบหมายชิ้นงานให้นกั เรียนทำเป็นกลมุ่ ตามทแี่ บ่งไว้ โดยมอบหมายงานให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มทำงานรว่ มกันเป็นกลุ่ม สามารถใชส้ มารท์ โฟนส่วนตัวเพื่อหาขอ้ มูลเพิม่ เติมได้ โดยขั้นตอนนีจ้ ะเป็นกระบวนการขน้ั ที่ 2 ในการใช้เทคนิค G.I. คอื ข้นั การวางแผนรว่ มมือกนั ในการทำงาน (Cooperative Planning) 2) นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกันทำการค้นคว้าหา ข้อมูลในเรื่องต่าง ๆ ที่กลุ่มตนเองได้รับมอบหมายหรือจับฉลากได้ 3) นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการวิเคราะห์และ สังเคราะห์ข้อมูลของนักเรียนแต่ละคน ในกลุ่มที่หาได้ลงในกระดาษเพื่อเตรียมตัวทำการสรุปและนำเสนอข้อมลู ตอ่ ไป ซึ่งข้นั ตอนน้จี ะเปน็ กระบวนการข้ันที่ 3 และ 4 ในการใช้เทคนิค G.I. คอื ข้นั การดำเนินงานตามแผนการท่ีวาง ไว้ (Implementation) และขน้ั การวิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์งานที่ทำ (Analysis and Synthesis) ตอ่ มาผู้วิจัยได้เข้าสู่ ขัน้ สรปุ โดย 1) ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานำเสนอช้นิ งานท่ีแต่ละกลมุ่ ได้จดั ทำข้ึน พร้อมอธิบายเน้อื หาเรือ่ งท่ีตนเอง ไดร้ ับมอบหมายหรอื จบั ฉลากได้ ใหเ้ พอื่ น ๆ ฟัง โดยเมอื่ นักเรียนแตล่ ะกลุ่มอธิบายเสร็จแลว้ ครูผู้สอนจะเป็นผู้อธิบาย เนื้อหาเพิ่มเติมตอ่ ไป 2) นักเรียนกลุ่มต่าง ๆ ร่วมแสดงความคดิ เห็นต่อการนำเสนอผลงานของกลุ่มเพื่อนหลังจากท่ี นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ได้ทำการนำเสนอจนครบทุกกลุ่มแล้ว โดยมีครูคอยให้ความรู้ควบคไู่ ปด้วย 3) ให้นักเรียนจัดท่ีน่ัง โดยน่ังหา่ งกนั อยา่ งนอ้ ย 1 เมตร และทำการทำแบบทดสอบหลงั เรียนเร่อื งดนตรไี ทย ตอ่ มาผู้วิจยั ได้เขา้ สูข่ ้ันฝกึ หัดโดย 1) สุ่มเลือกนักเรียนแต่ละกลุ่มเพื่อทำการอธิบายความแตกต่างของยุคสมัยดนตรีไทยและบทเพลงไทยเพื่อเป็นการ 496

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทบทวนความรทู้ ี่ได้ และเขา้ สู่ขน้ั นำไปใช้คือ 1) ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกล่มุ จัดทำปอ๊ ปอพั เรอื่ ง ยุคสมัยของดนตรไี ทย ตาม หวั ขอ้ ทีก่ ลุ่มตนเองจับฉลากได้สง่ ครูเป็นการบ้าน 2) ใหน้ ักเรยี นนำความรู้เรอื่ งยุคสมัยของวงดนตรีไทย ไปใช้ในการ ทำป๊อปอัพ เพอ่ื นำไปเผยแพรค่ วามรู้ใหก้ ับร่นุ นอ้ งหรือผูท้ ีส่ นใจ ซ่ึงขน้ั ตอนน้จี ะเป็นกระบวนการข้นั ท่ี 5 และ 6 ในการ ใช้เทคนิค G.I. คือ ขั้นการนำเสนอผลงาน (Presentation of Final Report) และขั้นประเมินผล (Evaluation) ซ่ึง หลังจากที่ผวู้ ิจัยไดจ้ ัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนคิ G.I ร่วมกับ Infographics พบว่ากอ่ นเรยี นนักเรียนยังไม่ค่อยมี ความรู้ความเข้าใจในบทเรยี นวชิ าดนตรีไทยเมื่อนกั เรียนได้ผ่านการจดั กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้เทคนิค G.I ร่วมกบั Infographics ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิห์ ลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรยี น ซึ่งผลการวิจัยเป็นไปตามสมมตุ ิฐานข้อที่ 1 สอดคลอ้ งกับผลการวิจัยของ ราตรี นนั ทสุคนธ์ (2553) กลา่ ววา่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น หมายถึง คณุ ลกั ษณะและ ความรู้ความสามารถที่แสดงถงึ ความสำเร็จที่ไดจ้ ากการเรียนการสอนในวิชาต่าง ๆ ซึ่งสามารถวัดเป็นคะแนนได้ จากแบบทดสอบทางภาคทฤษฎีหรือภาคปฏิบัติ ได้ทั้งสองอย่าง ทิพยฉัตร พละพล และคณะ(2562) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง พฤติกรรมหรือความสามารถของบุคคลที่เกิดจากการเรียนการสอน เป็น คุณลักษณะของผู้เรียนที่พัฒนาขึ้นจากการฝึกอบรมสั่งสอน ซึ่งสามารถวัดเป็นคะแนนได้จากแบบทดสอบทาง ภาคทฤษฎีหรือภาคปฏิบตั ิ จนั ทิมา เมยประโคน (2555) กล่าววา่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นเป็นความสามารถทางด้าน การเรียนของแตล่ ะบุคคลที่ประเมินไดจ้ ากการทำแบบทดสอบหรือการทำงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย ซึ่งสามารถวัดได้ท้งั ทางดา้ นทกั ษะปฏิบัติโดยการใช้แบบทดสอบภาคปฏิบัติ และการวัดทางดา้ นเนื้อหาโดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 11.2 ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยโดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟิก เพอื่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาดนตรไี ทยของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศ คลองหลวงอยู่ในระดับมากซ่งึ สูงกว่าเกณฑ์ท่กี ำหนด ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานข้อที่ 3 เน่อื งจากการจัดการเรียนรู้โดย โดยการใชเ้ ทคนิคกลุม่ สืบค้น (G.I.) รว่ มกบั อินโฟกราฟิกเพอื่ พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาดนตรไี ทย นักเรียน ได้ผ่านกระบวนการจดั การเรยี นรูแ้ บบกลุม่ รวมถึงการเรียนรู้จาก Infographics และได้มกี ารปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับ ผู้อื่น โดยนกั เรยี นไดม้ กี ารแสดงความคิดเห็นการร่วมกันทำกิจกรรมกลุ่มที่ให้นกั เรยี นที่เปน็ สมาชิกกลุ่มได้มีส่วนร่วม ในการทำกจิ กรรม หรือแสดงความคิดเห็นมากยง่ิ ขึ้นโดยยังอยู่ในข้นั ตอนของการจัดการเรยี นรู้โดยการใช้เทคนิคกลุ่ม สบื คน้ (G.I.) รว่ มกบั อินโฟกราฟิกเพ่อื พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวชิ าดนตรีไทย จึงทำให้นักเรียนสนใจท่ีจะทำ กิจกรรมรวมถึงเนือ้ หาของการสอน เพื่อนำไปส่กู ารพฒั นาความสามารถในการเรียนวิชาดนตรไี ทย สง่ ผลให้นักเรียนมี ความพึงพอใจในการจัดการเรยี นรู้ และเล็งเห็นถึงความสำคัญในวชิ าดนตรไี ทยมากยิ่งขึ้น โดยนักเรียนได้แสดงความ คดิ เหน็ ในการจดั การเรยี นรู้ในแตล่ ะด้านดังนี้ 1) ดา้ นครผู ูส้ อน “ครผู ้สู อนมคี วามพร้อม และมคี วามรูค้ วามความเข้าใจ ใจการสอน” 2) ด้านสื่อการเรียนการสอน “สื่อการสอนมีความสอดคล้องกับบทเรียน ทำให้เข้าใจบทเรียนได้ง่ายขึ้น และเหมาะสมกับชว่ งวัยของผู้เรียน” 3) ด้านเนอื้ หา “เนื้อหาในบทเรยี นมคี วามเหมาะสมกับผูเ้ รียน เน้อื หามีปริมาณ ท่พี อดไี มม่ ากหรือนอ้ ยจนเกนิ ไป และบทเรียนมีความหลากหลาย 4) ดา้ นประโยชน์ท่ไี ด้รับ “นกั เรยี นได้ประโยชน์จาก การทำงานเปน็ กลมุ่ ไดฝ้ กึ การแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง และไดน้ ำไปประยุกตใ์ ช้ในวิชาอ่นื ๆ ได”้ จึงสง่ ผลให้นักเรียน มีความพงึ พอใจการการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของเสกสรรค์ ธรรมวงศ์ (2541) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึก (Feeling) มีความสุขเมื่อคนเราไดร้ ับผลสำเร็จ ตามจุดมุ่งหมาย (Goals) 497

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ความต้องการ (Wants) หรือแรงจูงใจ (Motivation) และ ชรินี เดชจินดา (2530) กล่าวว่าความพึงพอใจ หมายถึง ความรสู้ ึกหรอื ทศั นคตขิ องบุคคลทมี่ ีต่อส่ิงใดส่ิงหน่งึ หรอื ปัจจัยต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง ความรู้สกึ พอใจจะเกิดขึ้นเม่ือความ ต้องการไดร้ ับการตอบสนองหรือบรรลุจุดมุง่ หมายในระดับหนึ่ง ความรู้สึกดังกลา่ วจะลดลงหรอื ไม่เกิดข้ึนหากความ ตอ้ งการหรือจุดมุ่งหมายน้ันไม่ไดร้ ับการตอบสนอง 12. ข้อเสนอแนะ จากการจัดการเรียนรู้โดยโดยการใชเ้ ทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟิกเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนในวิชาดนตรีไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศในจังหวัดปทุมธานี ผวู้ จิ ัยมขี อ้ เสนอแนะสำหรบั นำผลวิจยั ไปใช้ และข้อเสนอแนะสำหรบั การทำวิจัยครัง้ ตอ่ ไปดงั น้ี 12.1 ข้อเสนอแนะสำหรับนำผลวจิ ยั ไปใช้ การจัดการเรยี นรู้โดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) รว่ มกบั อนิ โฟกราฟิกเพื่อพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนในวชิ าดนตรไี ทยของนกั เรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศในจงั หวัดปทมุ ธานี เพื่อให้เกิด ประสิทธภิ าพแก่นกั เรียน ผูส้ อนควรดำเนนิ การดงั น้ี 1) การจัดการเรียนการสอนโดยใชเ้ ทคนคิ G.I. ในวิชาดนตรีไทยเป็นการจัดการเรยี นการสอนแบบกลมุ่ สามารถให้ผู้เรียนที่ทำกิจกรรมกลุ่มนั้นสืบค้นข้อมูลด้วยตนเองได้หลายหลายช่องทาง เช่น คอมพิวเตอร์ แท๊บเล็ต หรือ สมารท์ โฟน ฉะน้ันจึงไม่จำเป็นตอ้ งสืบค้นจากหนังสือเท่าน้นั 2) การจัดทำสื่อการสอน Infographics ควรทำรปู ภาพในบทเรียนใหเ้ ปน็ ขั้นเปน็ ตอนให้ถูกตอ้ ง และควร จัดวางลำดับภาพหรือขอ้ มูลให้เข้าใจไดง้ ่าย มฉิ ะนน้ั อาจเกดิ ปญั หาผู้เรยี นไม่เข้าใจลำดับจากภาพ Infographics และ ทำให้ไม่เข้าใจบทเรยี นตามไปด้วย 3) การจัดการเรียนรู้โดยการใช้เทคนิคกลุ่มสืบค้น (G.I.) ร่วมกับอินโฟกราฟิกเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นสามารถจดั กิจกรรมไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ เกม วดี โิ อ แอพพลิเคชัน่ ต่าง ๆ มีสว่ นช่วยในการจัดการเรียน การสอน และช่วยพัฒนาความสามารถของนักเรียนได้ดยี งิ่ ขน้ึ 12.2 ข้อเสนอแนะสำหรบั วจิ ัยครั้งต่อไป 1) ควรทำความรจู้ ักกับผู้เรยี นก่อนจะเร่ิมเขา้ บทเรยี น เพ่ือสำรวจนกั เรยี นท่ีมีความรู้ความเข้าใจในวิชา ดนตรีไทยอยู่แลว้ เพราะนักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจในบทเรียนอยแู่ ล้วจะชว่ ยขยายความเขา้ ใจใหก้ ับนักเรียนที่ไม่ มีความรู้ความเขา้ ใจไดม้ ากขึน้ 2) ควรมีการสำรวจผลการจัดการเรียนรูโ้ ดยใชเ้ ทคนิค G.I. รว่ มกับ Infographics ดา้ นอืน่ ๆ ของผู้เรียน เชน่ ความสามารถในการเล่นเคร่อื งดนตรไี ทย ความสามารถในการเล่นเครอื่ งกำกับจงั หวะ เอกสารอ้างองิ จนั ทมิ า เมยประโคน. (2555). การศึกษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและความพงึ พอใจในการเรียนวิชาศิลปะ เรือ่ ง การ สรา้ งสรรคจ์ ากเศษวัสดุของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 ทีเ่ รยี นดว้ ยการจดั การเรยี นรูแ้ บบ 4 MAT. [วิทยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ]. http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Chantima_M.pdf 498

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ชรณิ ี เดชจนิ ดา . (2530). ความพึงพอใจของผปู้ ระกอบการต่อศูนยก์ ำจัดกากอุตสาหกรรมแขวงแสมดำ เขตบางขุน เทยี น จงั หวดั กรุงเทพมหานคร (วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.ทณั ฑสถาน หญิง กลาง . กรงุ เทพฯ: สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์. ทพิ ยฉตั ร พละพล และสธุ าทพิ ย์ งามนิล. (2562). การพฒั นาชดุ การสอนภาษาไทย เรอื ง ชนิดของคำสำหรับนกั เรียน ชนั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. วารสารวิชาการและวิจัยสงั คมศาสตร์ 14(1), 93-106. https://so05.tci- thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/165546/139375 ยง่ิ ศกั ดิ์ ชุ่มเยน็ . (2561). “รปู แบบและวีธกี ารบรรเลงระนาดทุ้ม ของครไู พฑรู ยเ์ ฉยเจรญิ ”. ใน วารสารศิลปกรรม ศาสตร์ วชิ าการวิจยั และงานสร้างสรรคม์ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี. 5(1), 76-98. ราตรี นนั ทสุคนธ.์ (2553). หลกั การวดั และประเมินผลการศกึ ษา. (ฉบบั ปรบั ปรุง).กรุงเทพฯ: จดุ ทอง. เสกสรรค์ ธรรมวงศ.์ (2541) ความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาผ้ใู หญ่ท่ีมตี ่อการใหบ้ ริการด้านการเรียนการสอน สายสามัญ ระดบั ประถมศึกษา : ศึกษากรณี โรงเรียนผูใ้ หญ่สตรีบางเขน 499


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook