การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 10) การสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา เป็นสิ่งที่สะท้อนการกระทำที่ผู้ปฏิบัติสามารถมองเห็นผลการ ปฏิบตั งิ านภายใต้บริบทจากประสบการณ์ของตนเอง จากเพ่อื นรว่ มงาน นกั เรยี น ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชมุ ชน และผูท้ มี่ ีส่วนเกีย่ วข้อง เพอื่ สะท้อนจดุ เดน่ จดุ ด้อย เพ่อื การสนบั สนนุ และการพฒั นาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น ขอ้ เสนอแนะ 1.ขอ้ เสนอแนะท่ัวไป 1) สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ครู และบคุ ลากรทางศกึ ษามเี วทแี ลกเปลยี่ นเรียนรู้ด้านต่างๆ กับสถานศึกษา อ่นื หรือหนว่ ยงานภายนอก จัดหาผู้เชย่ี วชาญเฉพาะด้านเพอ่ื เปน็ ท่ปี รกึ ษา จะได้แกไ้ ขปัญหาอยา่ งตรงจดุ และเรยี นร้กู าร แกไ้ ขปัญหาจากผู้มปี ระสบการณ์ตรง 2) สถานศึกษาควรวางระบบการบรหิ ารงานวชิ าการอย่างชัดเจน กำหนดกฎเกณฑเ์ พ่อื ปฏบิ ตั ิในทิศทางทถ่ี กู ตอ้ ง 3) สถานศึกษาควรมีการสนับสนุนส่งแสริมให้บุคลากรในสถานศึกษามีส่วนร่วมในการพัฒนาความรู้ สร้าง วฒั นธรรมองค์การแห่งการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย สร้างผลติ ส่ือการสอนเพ่ือใหก้ ารเรียนการสอนมปี ระสทิ ธิภาพมากข้นึ 2. ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยครั้งตอ่ ไป 1) ควรศกึ ษาวิจัยเก่ียวกับการบริหารงานวิชาการแบบเฉพาะด้าน เชน่ ด้านการผลิตส่ือการสอน หรือ ด้านการ ประกันคุณภาพภายใน เพราะจะทำให้เข้าใจรายละเอียดมากยิ่งขึ้น และสามารถเก็บข้อมูลเชิงลึก เพื่อแก้ไขปัญหาได้ อยา่ งครบถ้วน 2) ควรศกึ ษาเกยี่ วกับปจั จยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การบริหารงานวชิ าการ เอกสารอา้ งอิง กตญั ญตุ า เจรญิ ถนอม และสุรชา อมรพันธ์ุ. (2560). การพฒั นาแนวทางการบรหิ ารวิชาการด้านการจัดการเรยี นการสอน โดยใช้โรงเรียน เปน็ ฐานของโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา สงั กดั สำ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอด็ เขต 1. วารสารการบรหิ ารและนเิ ทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 8(2), 15-23. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2545). พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เก่ียวขอ้ งและพระราชบัญญัติการศึกษาภาค บังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์พัฒนา หนงั สอื กรมวิชาการ. เขมิกา ครโสภาและคณะ. (2562). สภาพปญั หาและแนวทางพัฒนาการบริหารงานวิชาการโรงเรียน สงั กดั สำนักงานเขต พื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาในจังหวัดนครพนม. วารสารการบรหิ ารการศกึ ษาและภาวะผู้นำมหาวทิ ยาลัยราชภัฎ สกลนคร, 7(2), 40-50. ธีระพล เพ็งจันทร์. (2563). แนวทางเพื่อการยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดบึงกาฬ พบว่าแนวทางการ ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร, 17(77), 158-167. 400
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี พรธิดา พลูถาวร. (2560). แนวทางการบริหารงานวชิ าการของสถานศกึ ษาท่ไี ด้คะแนน O-NET สงู สุด ในสงั กดั สำนกั งาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3: กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านสัตหีบ. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบณั ฑติ ). มหาวทิยาลยบั รู พา. พันธวิชญ์ เลี้ยงชีพชอบ. (2561). กลยุทธ์การบริหารวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษาตามแนวคิดคนไทย 4.0. (วทิ ยานิพนธ์ปริญญาครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑติ ). จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. มูนา จารง. (2560). การบริหารงานวชิ าการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะครูผู้สอนในศนู ย์เครอื ข่าย ตลิ่งชัน สังกัด สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 2. (วิทยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา. ศักดา กะแหมะเตบ และคณะ. (2561). แนวทางการพัฒนางานวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2. วารสารนาคบุตร ปรทิ รรศน์, 10(2), 159-171. สารินทร์ เอี่ยมครอง. (2561). แนวทางการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในจังหวัดชัยนาท สังกัดสำนักงานเขต พ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 5. (วทิ ยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑติ ).มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค์. สาธติ ทพิ ยม์ ณี. (2562). POSDCoRB และ Good Governance สำหรับธรุ กิจเกิดใหม่ในยคุ ไทยแลนด์ 4.0. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปรทิ รรศน์, 5(1) 2562. 73-88. สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาปทมุ ธานี เขต 1. (2562). รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น ปการศึกษา 2562. สำนักทดสอบทางการศึกษา. (2562). คู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. สำนกั คณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน. อมรรัตน์ ศรีพอ. (2561). กลยุทธ์การบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนตามแนวคิดทักษะความคิดริเริ่ม สรา้ งสรรคแ์ ละ ทกั ษะการคิดเชิงนวัตกรรม. (วิทยานพิ นธค์ รุศาสตรดุษฎีบัณฑิต).จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . อุไร หัตถประดิษฐ์และคณะ. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช. Anies Aziera Ahmad. (2018). The Relationship between Principals’ Instructional Leadership and Teachers’ Self Efficacy in Religious Private School in Alor Setar District. Universiti Utara Malaysia. Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York : Harper Collins Publishers.( pp.202-204) Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-610. Kim, Jeong-kyoum. (2017). The Effects of Teaching Image, Communal Sense, and Class Environment on Academic Procrastination in a University E-Learning Setting. 401
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี การพัฒนาส่อื ประสมเรื่องคำช่วยภาษาญีป่ นุ่ ระดับต้นสำหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย Development of Multimedia on Particles in the Basic Japanese Language for Senior High School Students ธิติ ไชยนั ตริ ์[1] และดร.สมพร โกมารทัต[2] หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน[1] วทิ ยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกจิ บัณฑิตย์[2] E-mail [email protected][1], [email protected][2] บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งน้ี มวี ัตถปุ ระสงค์ 1) เพอื่ พฒั นาสอ่ื ประสมเรอ่ื งคำชว่ ยในภาษาญ่ีป่นุ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/752 ) เพื่อศึกษาผลการใช้สื่อประสมเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุ่น และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ทมี่ ตี ่อสื่อประสมเร่อื งคำช่วยในภาษาญป่ี ุ่นระดับตน้ มีกลมุ่ ตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ที่เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเลือก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต ในภาค เรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 45 คน ไดก้ ลมุ่ ตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบกลุ่ม โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ในการวิจยั คือ 1) ส่ือ ประสมเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุ่นระดับต้น 2) แบบทดสอบเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุ่นระดับต้น จำนวน 20 ข้อ 3) แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี นทมี่ ตี อ่ สอื่ ประสม จำนวน 12 ขอ้ ผลการวิจัย มีดังนี้ 1) สื่อประสมเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุ่นระดับต้น มีค่า E1 เท่ากับ 97.51 และ E2 เท่ากับ 77.11 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) ผลการใช้สื่อประสมเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุ่น แบ่งเป็น 1. ผลการศึกษา ความรู้ความเข้าใจเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุ่นระดับต้น โดยใช้สื่อประสม หลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 พบว่า คะแนนเฉล่ียหลังเรียนเท่ากับ 15.42 แสดงว่าคะแนนหลงั เรียนสงู กว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 3.86, Sig. = 0.0002) 2. ผลการศกึ ษาความรู้ความเข้าใจเรื่องคำช่วยในภาษาญีป่ ุ่นระดับต้น โดยใช้สื่อประสม กอ่ นเรียน และหลังเรยี น พบวา่ คะแนนเฉลี่ยกอ่ นเรียนเท่ากับ 11.78 และคะแนนเฉลย่ี หลงั เรียนเท่ากบั 15.42 แสดงวา่ คะแนนหลัง เรยี นเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติท่รี ะดบั .05 (t = 7.04, Sig. < .001) 3. ความคงทนในการจำไวยากรณ์ภาษาญ่ีปุ่น ระดับต้น เปรียบเทียบคะแนนสอบหลังเรียน และหลังเรียน 2 สัปดาห์ พบว่า การทดสอบหลังเรียน มีคะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 15.42 และการทดสอบหลังเรียน 2 สัปดาห์ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 14.49 คะแนนมีความแตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จึงไม่เปน็ ไปตามสมมตฐิ านทตี่ ้งั ไว้ และ 3) นกั เรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6มีความพึง พอใจของนักเรียน ทม่ี ตี ่อส่ือประสม พบวา่ นกั เรียนมีความพึงพอใจในระดบั มากทสี่ ุด (���̅��� = 4.65) คำสำคญั : สอื่ ประสม, คำชว่ ย, ภาษาญ่ปี ุ่น 402
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ABSTRACT The purposes of this experimental research were 1) to develop the multimedia with an efficiency of 75/75; 2) to study the result of the multimedia using of particles in basic Japanese language and 3) to study the student’s satisfaction towards in the multimedia. The research sample consisted of 45 upper secondary students in the Science-Mathematics Program of Suankularbwittayalai Rangsit School that learnt Japanese language as an elective subject during the first semester of the 2021 academic year, obtained by cluster random sampling. The research instruments comprised 1) the multimedia of particles in basic Japanese language; 2) testing forms of particles in basic Japanese language; and 3) a questionnaire on student’s satisfaction toward the multimedia. The result shown that 1) The multimedia had an efficiency of 97.51/77.11; 2) The result of the multimedia using of particles in basic Japanese language were 1. The posttest average score on particles in the basic Japanese language was 15.42, compared with the criterion score at 70 percentage, the student’s average score was higher than the criterion scores significantly at the .05 level (t = 3.86, Sig. = 0.0002*) 2. The pretest average score was 11.78 and the posttest average score was 15.42. The results indicated that the result of the basic Japanese particles learning achievement by using multimedia was improved higher than those before teaching with the level of significant at .05 (t = 7.04, Sig. < .001) 3. Retention in basic Japanese particles learning achievement by using multimedia, after posttest to the second week, the students have a durable in learning equals 15.42 and 14.49 and have average fell 0.93 points. The score has a difference significantly at the .05 level. and 3) After the experiment, an average score of satisfaction toward the multimedia of the experimental group was the highest level. (x̅ = 4.65) KEYWORDS : Multimedia, Particle, Japanese Language บทนำ ในศตวรรษที่ 21 นี้ สังคมโลกได้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว เกิดเทคโนโลยี นวัตกรรม และสิ่งอำนวยความ สะดวกขึ้นมากมาย ความเจริญก้าวหน้าเหล่านั้นนอกจากจะส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของเราแล้ว ยังส่งผลมายังด้าน การศึกษาอีกด้วย จึงทำให้เกิดทักษะเพ่ือการดำรงชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 ขึ้นมา และ 1 ใน 8 สาระวิชาหลักที่จำเป็น สำหรับโลกในศตวรรษที่ 21 กค็ อื ภาษาแม่และภาษาโลก (วิจารณ์ พานชิ , 2555) ภาษาเปน็ วิธกี ารส่อื สารหลักท่ีผู้คน ท่วั โลกใช้กนั ไม่วา่ จะในดา้ นใดก็ตามเราจะพบว่าภาษาเปน็ สิ่งที่สำคญั เสมอเพราะภาษาเปน็ สอื่ กลางท่ีทำให้เราเข้าใจ เรื่องที่จะต้องการสื่อสารกันมากขึ้น นอกจากนี้เรายังใช้ภาษาเป็นเครื่องมือเพื่อเข้าถึงความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่าง มากมายมหาศาลในโลกใบนี้ รวมทั้งมีบทบาททำให้เกิดความร่วมมอื ระหว่างประเทศ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2556) 403
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ด้วยความสำคญั เหลา่ นีจ้ ึงทำให้กลุม่ วิชาภาษายงั คงเป็นวิชาหลักที่มีความจำเป็นต้องเรียนรู้ แม้ว่าโลกในปัจจบุ ันจะ เจริญกา้ วหน้าไปเพียงใดก็ตาม กระทรวงศึกษาธกิ ารจึงไดก้ ำหนดใหภ้ าษาต่างประเทศเป็นสาระการเรยี นรู้พ้นื ฐาน ซงึ่ ภาษาท่ีถูกกำหนดให้ เรียนตลอดหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน คอื ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอนื่ ๆ เช่น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน เกาหลี ญี่ปุ่น อาหรับ บาลี และภาษากลุ่มประเทศเพื่อนบ้านนั้น ถูกจัดให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของสถานศึกษาที่จะ จัดทำรายวิชาและจัดการเรียนร้ตู ามความเหมาะสม ซงึ่ นอกจากภาษาองั กฤษท่ไี ด้กลายมาเป็นภาษาต่างประเทศหลัก ทีม่ คี วามสำคัญในโลกยุคศตวรรษที่ 21 แลว้ ภาษาตา่ งประเทศท่ีสองก็มีความจำเป็นมาก เพราะการรู้หลายภาษาจะ ช่วยเพิ่มขีดความสามารถของคนในชาติ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การเรียนรู้ และความร่วมมือระหว่าง ประเทศ เป็นการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถทางภาษา เพื่อใช้ในด้านการสื่อสาร การศึกษา และการ ประกอบอาชีพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2556) โดยเฉพาะภาษาญ่ีปุ่นที่ในปัจจุบนั มีบรษิ ัทสัญชาติญี่ปุ่นเขา้ มาลงทุน ประกอบกิจการในประเทศไทยมากถึง 5, 856บริษัท (กรุงเทพธุรกิจ, 2564) ทำให้ในปัจจุบันยังคงมีความต้องการ บุคลากรทมี่ ีความรูค้ วามสามารถทางดา้ นภาษาญป่ี ่นุ เพื่อทำหน้าท่ีเป็นสอื่ กลางหรือประสานงานระหว่างผู้ทำงานชาว ไทยและชาวญ่ีปนุ่ ซึ่งทำให้ผู้ท่เี ลือกศึกษาภาษาต่างประเทศท่ีเปน็ ภาษาท่ีสองอย่างภาษาญ่ีปุ่นนั้น สามารถหางานท่ี ทำให้ได้ใชค้ วามรทู้ ่ีเรียนมาให้เกิดประโยชนท์ ้งั ตอ่ ตนเองและระบบเศรษฐกิจ เพราะถอื ไดว้ า่ ผทู้ ท่ี ำหน้าที่เป็นส่ือกลาง ในการส่อื สารนัน้ ก็เป็นสว่ นหน่ึงของผทู้ ีร่ ว่ มขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ ของประเทศเชน่ กัน คำช่วยเป็นไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นที่มักจะสร้างปัญหาให้กับนักเรียนชาวไทยในทุกระดับ เนื่องจากใน ภาษาไทยนัน้ ไม่มไี วยากรณ์ทเ่ี ป็นคำชว่ ย ซงึ่ บุษบา บรรจงมณี, ประภา แสงทองสุข, วนั ชยั สลี พัทธก์ ุล และ Nanae Kumano (2558) ไดก้ ลา่ ววา่ “คำชว่ ย” เปน็ คำทม่ี ีกลไกพเิ ศษในภาษาญป่ี นุ่ จัดเป็นคำไมอ่ สิ ระ ไมม่ ีการผันรปู ต้องใช้ ตามหลังคำนาม กริยา หรือประโยค เพอ่ื บอกความหมายบางอยา่ งของคำหรอื ประโยคน้นั ๆ ไม่สามารถใช้เดี่ยว ๆ ได้ แบ่งออกเปน็ 5 ประเภท คอื คำช่วยชี้หนา้ ท่ี คำชว่ ยเสรมิ ความ คำช่วยเช่อื มประโยค คำช่วยเชื่อมคำหรอื วลีท่ีมีหน้าท่ี เดียวกัน และคำช่วยจบประโยค ซึ่งจากประสบการณ์ของผู้วิจัยทีไ่ ด้มโี อกาสสอนนักเรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายในโรงเรียน โดยถอื ว่าเปน็ นักเรียนภาษาญ่ปี ุ่นในระดับต้นและสว่ นใหญไ่ ม่เคยเรียนภาษาญปี่ ุ่นมาก่อนเลยน้นั มัก ได้รบั คำถามเกยี่ วกับคำชว่ ยอยบู่ ่อยครัง้ เชน่ ทำไมต้องใช้คำช่วยตวั นี้ ทำไมตอ้ งมคี ำช่วย ใช้คำช่วยตัวน้ีแทนตัวนี้ได้ หรือไม่ ทำไมภาษาญีป่ ุ่นตอ้ งมคี ำชว่ ย ซึง่ ผวู้ จิ ัยสงั เกตวา่ การเรยี นโดยใชแ้ บบเรยี นเพยี งอยา่ งเดียวยังไมส่ ามารถชว่ ยให้ นกั เรยี นเขา้ ใจในเรอ่ื งคำชว่ ยไดท้ ุกคน และยงั คงใช้คำชว่ ยแบบผิด ๆ อยู่ สอดคล้องกับท่ีปราณี จงสุจริตธรรม (2549) ไดศ้ ึกษาเรอื่ งคำชว่ ยทเี่ ป็นปัญหาสำหรบั ผู้สอบคัดเลือกบุคคลเข้าศกึ ษาตอ่ ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา พบวา่ มนี กั เรยี นใช้คำ ช่วยผิดร้อยละ 34-80 คิดเป็นจำนวน 4,510-10, 613คน จากผู้เข้าสอบ 13, 267คน แสดงให้เห็นว่านักเรียนใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายยังคงมีความรู้พื้นฐานเรื่องคำช่วยที่ยังอยู่ในระดับต่ำอยู่ ทั้งนี้วิธีการสอนก็มีส่วน สำคัญท่ีจะชว่ ยทำให้นักเรยี นเกดิ ความเข้าใจในเร่อื งคำชว่ ยไดด้ ีขึ้น การใช้สื่อประสม (Multimedia) ซึ่งถือเปน็ สิ่งที่สนับสนุนวิธีการสอนไวยากรณ์ได้นั้น จะใช้มากหรือน้อยก็ ขึ้นอยู่กับรูปแบบการสอนและการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้สอน ซึ่งการใช้สื่อประสมหรือสื่อที่มีความ หลากหลายในการสอนจะชว่ ยให้นกั เรียนทีม่ ีปัญหาสามารถเรียนรู้ได้ดีขึ้น ดงั ท่ี Michael D. Williams (2000) กล่าว 404
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไว้ว่า ชุดสื่อประสมจะช่วยตอบสนองความแตกต่างของนักเรียนและช่วยในการจัดการเรียนการสอนพัฒนานกั เรียน เป็นรายบุคคลได้เปน็ อยา่ งดี สอดคลอ้ งกับที่ พิมพาพรรณ ทองกิง่ (2560) กลา่ วถึงประโยชน์ของสอื่ ประสมวา่ เป็นส่ือ การสอนที่มีประโยชน์ตอ่ นักเรียนมากมายหลายประการ นั่นคือ ช่วยให้การเรียนรู้ถูกต้อง ชัดเจน ง่ายต่อการเข้าใจ ตลอดจนกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนและส่งเสริมความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ของนักเรียน ตลอดจนสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เพราะสอื่ การสอนชว่ ยให้นักเรียนจำนวนมากสามารถเรียนรู้ไดอ้ ย่างท่ัวถึง และประสบความสำเร็จ ซงึ่ มีงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วกับการใช้ส่ือประสมมาใช้ในการเรียนการสอนน้ันมีอยู่หลายเรื่องด้วยกัน เช่น กันต์ณริณ ทรายขาว (2555) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อ ความเข้าใจ โดยใช้สื่อประสมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สมชาย แก้วเจริญ (2555) ศึกษาเรื่อง การใช้สื่อ ประสมเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านทำนองเสนาะของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 และปัทมา ชั้นอินทร์ งาม (2556) ได้ศึกษาเรื่อง ผลการเรียนด้วยชุดสื่อประสมร่วมกับกิจกรรมการสอนที่เน้นการพูดที่ส่งผลต่อ ความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนวดั หอมเกร็ด งานวิจยั ท้ัง 3 เรื่อง นั้นมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นภายหลงั จากการเรียนโดยใชส้ ื่อประสมสงู กวา่ ผลสมั ฤทธิก์ ่อนเรยี นโดยใชส้ ่ือประสม สำหรับการเรียนรู้ในเร่ืองของไวยากรณ์ภาษาญี่ปุน่ ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีความยากสำหรับผู้เริ่มเรียน เพราะ ภาษาญ่ปี ุน่ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศทสี่ องทมี่ รี ปู แบบไวยากรณท์ ค่ี อ่ นขา้ งซับซอ้ นเป็นจำนวนมาก เม่อื นกั เรียนไม่เขา้ ใจก็ จะรู้สึกเบื่อและไม่ตั้งใจเรียน และรูปแบบการสอนก็มีส่วนสำคญั เชน่ กัน โดยผู้วิจัยพบว่าถ้าสอนโดยวิธีการบรรยาย ตามหนังสือเพยี งอย่างเดียว นักเรยี นจะไมส่ นใจไม่ตงั้ ใจเรียนและอาจมีรสู้ กึ ไม่อยากเรียน โดยเฉพาะเรอ่ื งไวยากรณ์ท่ีมี โครงสร้างหลากหลาย ซึ่งต้องอาศัยความเข้าใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพฒั นาสื่อประสมส่งเสรมิ การเรียนคำช่วย ภาษาญี่ปุ่นระดับต้น โดยผู้วิจัยเชื่อว่าการนำสื่อประสมมาช่วยในการพัฒนาการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นของนักเรียน จะ สามารถชว่ ยให้นกั เรียนหนั มาสนใจ ตั้งใจเรียน และมผี ลการเรยี นในรายวิชาภาษาญปี่ นุ่ เร่ืองคำช่วยดีขึน้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพ่อื พัฒนาสือ่ ประสมเรอื่ งคำช่วยในภาษาญีป่ นุ่ ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2. เพอ่ื ศกึ ษาผลการใช้สอื่ ประสมเรอ่ื งคำช่วยในภาษาญีป่ ุน่ 3. เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ที่มีตอ่ สอื่ ประสม เร่ืองคำช่วยภาษาญีป่ นุ่ ระดบั ตน้ สมมติฐานของการวิจยั 1. ผลการเรยี นของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 เรื่องคำชว่ ยภาษาญ่ีปุ่นระดับตน้ ด้วยสื่อประสม หลังเรียน สงู กวา่ กอ่ นเรยี น อยา่ งมีนัยสำคัญทร่ี ะดับ .05 2. ผลการเรยี นของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เรอื่ งคำชว่ ยภาษาญี่ปุ่นระดบั ต้น หลงั เรียนด้วยสื่อประสม กบั เรยี นผา่ นไปแลว้ สองสัปดาหไ์ มแ่ ตกต่างกัน อย่างมนี ัยสำคัญท่รี ะดับ .05 วธิ ีดำเนินการวจิ ยั 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง 405
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประชากร คือ นักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ ที่เรยี นภาษาญ่ปี นุ่ เป็นวชิ าเลอื ก โรงเรยี นสวนกุหลาบวทิ ยาลัยรังสิต ในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 124 คน กลมุ่ ตัวอยา่ ง คือ นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ที่เรียนภาษาญ่ีปุ่น เป็นวิชาเลือก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ที่มีผลการเรียนภาษาญี่ปุ่น ระดบั ต้น มีคะแนนตำ่ กว่าเกณฑ์ จำนวน 45 คน 2. เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวิจัย 1. สอื่ ประสมเรือ่ งคำช่วยภาษาญ่ีป่นุ ระดับตน้ 2. แบบทดสอบเรอื่ งคำชว่ ยภาษาญีป่ ุ่นระดับตน้ จำนวน 20 ขอ้ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นท่ีมตี ่อส่อื ประสม จำนวน 12 ข้อ 3. การสรา้ งเคร่อื งมือในงานวจิ ยั การสรา้ งสื่อประสมเร่อื งคำชว่ ยภาษาญี่ปนุ่ ระดบั ตน้ มีขน้ั ตอนในการดำเนินการดังน้ี 1. ศกึ ษาตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาญป่ี ุ่น 2. ศกึ ษาและวเิ คราะหเ์ นอื้ หาของบทเรียนให้ตรงตามตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรภู้ าษาญี่ปุ่น 3. การสร้างสื่อประสมเรื่องคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้น โดยใช้คำช่วยในภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ปรากฏใน แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น Akiko To Tomodachi เล่ม 1 และ 2 จำนวน 8 คำ ไดแ้ ก่ は、が、も、の、に 、へ、で และ を ตามขน้ั ตอน ดงั นี้ 4. นำสื่อประสมคำชว่ ยภาษาญ่ปี ุน่ ระดับตน้ ไปใหอ้ าจารยท์ ่ีปรึกษาวิทยานพิ นธต์ รวจสอบ และนำมาปรบั ปรุง แก้ไขตามคำแนะนำ 5. นำสื่อประสมคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ตรวจสอบและ ประเมินคณุ ภาพ เพอ่ื หาคา่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) (Rovinelli & Hambleton, 1977) ดชั นีความสอดคล้อง ซึ่งมี ค่าเท่ากับ 0.5 ขนึ้ ไป ถอื ว่ามคี วามสอดคลอ้ งอยู่ในเกณฑท์ ี่ยอมรบั ได้ การสรา้ งแบบทดสอบเรอ่ื งคำชว่ ยภาษาญี่ป่นุ ระดับต้น มีข้ันตอนการสร้างดังน้ี 1. ศกึ ษาตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาญีป่ ่นุ 2. ศกึ ษาและวเิ คราะห์เนอื้ หาของบทเรียนใหต้ รงตามตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนร้ภู าษาญ่ีปนุ่ 3. สรา้ งแบบทดสอบเรื่องคำช่วยภาษาญ่ีปุน่ ระดบั ต้น ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลอื กใหส้ อดคล้องกับจุดประสงค์ จำนวน 20 ขอ้ 4. นำแบบทดสอบเรื่องคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้นท่ีสร้างขึน้ ไปให้อาจารย์ท่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ตรวจสอบ และนำมาปรบั ปรุงแก้ไขตามคำแนะนำ 5. นำแบบทดสอบเรอื่ งคำชว่ ยภาษาญป่ี นุ่ ระดบั ต้นทป่ี รบั ปรุงแก้ไขแลว้ ให้ผเู้ ช่ียวชาญ 5 ทา่ น ตรวจสอบเพื่อ หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) (Rovinelli & Hambleton, 1977) ดัชนีความสอดคล้อง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.5 ขึ้นไป ถอื วา่ มีความสอดคล้องอยใู่ นเกณฑ์ท่ียอมรับได้ 406
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 6. นำแบบทดสอบไปทดลองใช้เพอ่ื นำมาหาคา่ ความยาก (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) โดยกำหนดเกณฑก์ ารผ่าน คา่ ความยากง่าย (p) ระหว่าง .20-.80 ค่าอำนาจจำแนก (r) .20 ขึ้นไป โดยใชส้ ูตร KR-20 7. นำแบบทดสอบมาแก้ไขข้อทีม่ ีค่าความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนกไมผ่ ่านเกณฑ์ แลว้ นำไปให้อาจารย์ที่ ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ก่อนนำไปใชก้ บั กล่มุ ตัวอย่าง การสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนทมี่ ีตอ่ สอ่ื ประสม มขี ัน้ ตอนดงั น้ี 1. ศึกษาวิธกี ารสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) จากหนังสือที่ เกี่ยวขอ้ ง 2. สร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี นท่ีมีตอ่ ส่ือประสม โดยแบ่งออกเปน็ 3 ด้าน คือ ด้านเน้ือหา ดา้ นส่ือการเรยี นรู้ และด้าน ประโยชน์ทไี่ ด้รับ โดยกำหนดระดับความคิดเห็นเปน็ 5 ระดับ (Rating Scale) 3. นำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อประสมที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วให้อาจารย์ที่ปรึกษา วทิ ยานิพนธ์ตรวจสอบความเหมาะสม ความถกู ต้องดา้ นภาษา และให้ข้อเสนอแนะ 4. นำแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่ีมีต่อสอ่ื ประสมที่ปรับปรุงแกไ้ ขแลว้ ไปให้ผเู้ ช่ียวชาญ 5 ท่าน ตรวจสอบเพื่อหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) (Rovinelli & Hambleton, 1977) ดัชนีความสอดคล้อง ซึ่งมีค่า เทา่ กับ 0.5 ขึ้นไป ถือวา่ มีความสอดคลอ้ งอยใู่ นเกณฑ์ที่ยอมรับได้ 5. นำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อส่ือประสมไปทดลอง แล้วนำมาหาค่าความเชื่อม่ัน (Reliability) โดยหาคา่ สัมประสิทธิ์แอลฟา่ ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach, 1984) ค่าความเช่อื มัน่ มีคา่ เท่ากับ 0.7 ข้นึ ไป ถือวา่ อย่ใู นเกณฑท์ ย่ี อมรับได้ 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 1. ชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ และข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สื่อประสมเรื่องคำช่วยภาษาญี่ปุ่น ระดบั ตน้ 2. ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบเรื่องคำชว่ ยภาษาญ่ีปุ่นระดับต้นก่อนเรยี น แลว้ จงึ ให้นักเรยี นศึกษาสื่อประสม ด้วยตนเอง 3. เมื่อนักเรียนศกึ ษาสื่อประสมจบแลว้ ผู้สอนทดสอบนักเรียนอีกครั้งโดยใหท้ ำแบบทดสอบเรื่องคำช่วยใน ภาษาญี่ป่นุ ระดบั ต้นหลังเรียน 4. เก็บรวบรวมขอ้ มูลทไี่ ด้จากแบบทดสอบเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุน่ ระดับตน้ 5. เมอื่ ผ่านไป 2 สปั ดาห์ ทดสอบนกั เรียนอีกคร้งั โดยใหท้ ำแบบทดสอบเร่ืองคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพ่ือ ทดสอบความคงทนในการจำคำชว่ ยในภาษาญปี่ นุ่ ระดับต้น 6. ให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบ วทิ ยาลยั รงั สติ ทีเ่ รยี นภาษาญปี่ นุ่ เป็นวิชาเลอื ก ในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 45 คน ทำแบบสอบถาม ความพึงพอใจของนักเรยี นท่มี ีตอ่ สื่อประสม 7. รวบรวมคะแนนทีไ่ ดม้ าวิเคราะหโ์ ดยใช้วธิ กี ารทางสถติ แิ ละสรปุ ผล 407
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 5. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผู้วิจัยวิเคราะห์และประมวลผลข้อมลู โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู มรี ายละเอียดดังน้ี 1. วิเคราะห์ประสิทธิภาพของสื่อประสมเรื่องคำช่วยภาษาญี่ปุ่นด้วยการหาประสิทธิภาพ E1/E2 โดยหาค่า ประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ E1/E2 (ชยั ยงค์ พรหมวงศ์, 2556) ใช้สูตรดังนี้ x สตู รท่ี 1 E1 = N 100 x 100 A หรือ A เม่อื E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ X แทน คะแนนรวมของแบบฝกึ กจิ กรรมหรืองานทีท่ ำระหว่างเรยี น A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏบิ ัติทุกชิ้นรวมกัน N แทน จำนวนนักเรียน F สูตรที่ 2 E2 = N 100 F 100 B หรือ B เมอ่ื E2 แทน ประสทิ ธภิ าพของผลลพั ธ์ X แทน คะแนนรวมของผลลัพธข์ องการประเมินหลงั เรียน B แทน คะแนนเต็มของการประเมิน N แทน จำนวนนกั เรียน 2. ศึกษาผลการใชส้ อื่ ประสมเรอื่ งคำชว่ ยภาษาญปี่ ่นุ ระดบั ตน้ สำหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ดงั น้ี 1) เปรียบเทียบคะแนนคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลัง เรยี น โดยการทดสอบคา่ t แบบไมอ่ ิสระต่อกัน (Paired-Sample t-test) 2) เปรยี บเทยี บคะแนนคำช่วยภาษาญปี่ นุ่ ระดับต้นของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 หลงั เรยี นด้วยส่ือประสม เร่ืองคำช่วยในภาษาญ่ีปนุ่ กับเมื่อผ่านไปสองสัปดาห์ โดยหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่า t แบบไมอ่ ิสระตอ่ กนั (Paired-Sample t-test) 3. วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อสื่อประสม โดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉล่ยี และค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 408
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี การวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อประสมส่งเสริมการเรียนคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้น ผู้วิจัยได้นําเสนอผลการ วเิ คราะหข์ อ้ มูลเป็น 3 ตอน ดังต่อไปน้ี ตอนที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการพัฒนาสื่อประสมเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุ่นระดับต้น (E1/E2) ตามเกณฑ์ ประสทิ ธภิ าพ 75/75 การทดสอบ คะแนนเต็ม จำนวน (คน) ค่าเฉลย่ี S.D. รอ้ ยละ คะแนนทดสอบระหวา่ งเรียน (E1) 25 45 24.38 2.38 97.51 คะแนนทดสอบหลงั เรยี น (E2) 20 45 15.42 2.44 77.11 จากตาราง 1 พบวา่ คา่ แสดงประสิทธิภาพของสอื่ ประสมเรอ่ื งคำชว่ ยในภาษาญ่ีป่นุ ระดับต้น มีค่า E1 เท่ากับ 97.51 และ E2 เท่ากบั 77.11 เป็นไปตามเกณฑท์ ่ีตงั้ ไว้ ตอนท่ี 2 ผลการใช้สื่อประสมเรอื่ งคำชว่ ยในภาษาญปี่ ุ่น ตารางที่ 2 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุ่นระดับต้น โดยใช้สื่อประสม กับ เกณฑร์ ้อยละ 70 คะแนนเร่อื งคำช่วย n คะแนนเต็ม Mean S.D. % of Mean t Sig. (1-tailed) ในภาษาญ่ปี นุ่ ระดับตน้ หลังเรียน 45 20 15.42 2.472 77.11 3.86* 0.0002 *มนี ัยสำคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 จากตารางที่ 2 เปรียบเทียบคะแนนความรู้ความเข้าใจในเรื่องไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ที่เรียน ภาษาญ่ีป่นุ เปน็ วชิ าเลอื ก ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 โดยใชส้ ่อื ประสม พบว่า คะแนนเฉล่ยี หลังเรียนเรื่องคำ ชว่ ยในภาษาญ่ีปนุ่ ระดับตน้ โดยใชส้ ือ่ ประสม เท่ากบั 15.42 สงู กวา่ เกณฑ์รอ้ ยละ 70 ที่ 14 คะแนน อยา่ งมีนัยสำคัญ ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05 ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเรยี นเรือ่ งคำช่วยภาษาญป่ี ุน่ ระดบั ตน้ โดยใช้ส่ือประสม การทดสอบ n คะแนนเตม็ x̅ S.D. t Sig. (1-tailed) ก่อนเรียน 11.78 4.34 7.04* 0.0000 หลังเรียน 45 20 45 20 15.42 2.47 *มีนัยสำคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 จากตารางที่ 3 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเรียน เรื่องคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดบั ต้นของนกั เรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ที่เรียน ภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเลือก ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้สื่อประสม พบว่าคะแนนเฉลี่ยกอ่ นเรยี นเทา่ กบั 11.78 และคะแนนเฉลยี่ หลังเรยี นเทา่ กบั 15.42 คะแนนเฉล่ียหลงั เรยี นจึงสงู กว่ากอ่ นเรยี นอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติท่ี ระดบั .05 409
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตารางที่ 4เปรยี บเทียบคะแนนเร่อื งคำชว่ ยในภาษาญ่ีป่นุ ระดับตน้ หลงั เรยี นดว้ ยส่ือประสม กบั เมอ่ื เรยี นผ่าน ไปแล้วสองสัปดาห์ การทดสอบ n คะแนนเต็ม x̅ S.D. t Sig. (1-tailed) หลังเรยี น หลงั เรียนผา่ นไป 2 สัปดาห์ 45 20 15.42 2.44 -3.43* 1.0000 45 20 14.49 2.97 *มีนยั สำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 จากตารางที่ 4 เปรียบเทียบคะแนนความรู้คำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนด้วยสื่อประสมเรื่องคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้นกับเมื่อเรียนผ่านไปสองสัปดาห์ พบว่า คะแนนเฉลี่ยหลัง เรียนเท่ากับ 15.42 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสองสัปดาห์เท่ากับ 14.49 คะแนนเฉลี่ยมีความแตกต่างกันอย่างมี นยั สำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั .05 ตอนที่ 3ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี นทีม่ ีต่อส่ือประสม ตารางที่ 5แสดงระดบั ความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มตี ่อส่ือประสม ขอ้ ที่ หัวข้อ Mean S.D. แปลความหมาย ดา้ นเนือ้ หา 1 ความชดั เจนของการอธบิ ายเนอ้ื หาในแต่ละเร่ือง 4.76 0.43 มากท่สี ดุ 2 รูปแบบของแบบฝึกหดั ทา้ ยเรอ่ื งเข้าใจง่าย 4.62 0.61 มากทสี่ ดุ 3 ขอ้ ความประกอบการอธบิ ายเขา้ ใจง่าย 4.82 0.39 มากทสี่ ุด 4 ตวั อยา่ งประกอบการอธบิ ายเข้าใจง่าย 4.67 0.60 มากทส่ี ดุ เฉลีย่ 4.72 0.51 มากท่สี ดุ ด้านส่อื การเรยี นรู้ 5 รูปแบบส่ือมคี วามน่าสนใจ 4.33 0.60 มาก 6 ความยาวของสอื่ มีความเหมาะสม 4.69 0.56 มากทส่ี ุด 7 ความชัดเจนของภาพในสอื่ การเรยี นรู้ 4.71 0.46 มากทส่ี ดุ 8 วธิ กี ารนําเสนอมคี วามน่าสนใจ 4.33 0.77 มาก 9 ความสะดวกในการเขา้ ถึงสอ่ื การเรียนรู้ 4.82 0.53 มากทส่ี ุด 10 ภาพรวมของรปู แบบสอื่ การเรียนรู้ 4.56 0.59 มากท่สี ุด เฉล่ีย 4.57 0.59 มากทสี่ ดุ ด้านประโยชน์ที่ไดร้ บั 11 ความร้ทู ่ีได้รบั จากการใชส้ อื่ 4.67 0.48 มากที่สดุ 12 เนอื้ หาความรจู้ ากสอ่ื สามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นเรยี นได้ 4.82 0.49 มากท่สี ดุ เฉลีย่ 4.75 0.49 มากท่ีสุด รวมเฉล่ีย 4.68 0.54 มากทส่ี ดุ จากตารางที่ 5 แสดงระดบั ความพึงพอใจของนกั เรียนตอ่ การสอื่ ประสม ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 แผนการเรียน วทิ ยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลัย รังสติ จำนวน 45 คน ในภาพรวมของความพึงพอใจในระดับ มากทส่ี ุด (x̅ = 4.68) 410
การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สรุปผลการวิจัย 1. การพฒั นาส่ือประสมเรอ่ื งคำชว่ ยภาษาญี่ปนุ่ ระดบั ตน้ (E1/E2) ตามเกณฑ์ประสิทธภิ าพ 75/75 พบว่า ค่า ประสิทธิภาพของสื่อประสมเรื่องคำช่วยในภาษาญี่ปุ่นระดับต้น มีค่า E1 เท่ากับ 97.51 และ E2 เท่ากับ 77.11 ผ่าน ตามเกณฑ์ที่ตง้ั ไว้ 2. การเปรยี บเทียบคะแนนเฉลย่ี หลงั เรียนเรื่องคำชว่ ยภาษาญปี่ ุ่นระดับตน้ ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลัย รังสิต ทเ่ี รยี นภาษาญี่ปุ่นเป็นวชิ าเลอื ก ในภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้สื่อประสม กับเกณฑ์ร้อยละ 70 นักเรียนจำนวน 45 คน พบว่า ค่าเฉลี่ยของ คะแนนหลงั เรยี นเท่ากบั 15.42 เมอื่ เปรยี บเทยี บกับเกณฑท์ ีก่ ำหนดไวร้ ้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม มคี ะแนนเทา่ กบั 14 คะแนน ซง่ึ สงู กว่าเกณฑ์อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิที่ระดับ .05 (t = 3.86, Sig = 0.0002) 3. ผลการศึกษาคะแนนเรื่องคำช่วยภาษาญี่ปุน่ ระดับตน้ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการ เรยี นวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นสวนกุหลาบวทิ ยาลัย รังสิต ท่เี รยี นภาษาญีป่ นุ่ เป็นวชิ าเลอื ก ในภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 โดยใชส้ ่อื ประสม กอ่ นเรยี นและหลังเรียน พบว่า คะแนนเฉล่ยี กอ่ นเรยี นเทา่ กบั 11.78 และคะแนน เฉลย่ี หลังเรยี นเท่ากบั 15.42 เปรยี บเทยี บคะแนนเฉลี่ยกอ่ นเรียนและหลังเรยี น เรอ่ื งคำชว่ ยภาษาญป่ี ุน่ ระดบั ต้น โดย ใช้สื่อประสม พบว่า ค่า Sig. (1-tailed) มีค่า < .001 แสดงว่าคะแนนหลังเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดบั .05 4. ผลการศึกษาความคงทนในการจำคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้น โดยใช้สื่อประสม สำหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบวทิ ยาลัย รังสิต ที่เรียนภาษาญี่ปนุ่ เป็นวิชาเลือก ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้สื่อประสม หลังเรียน และหลังเรียน 2 สัปดาห์ พบว่า การ ทดสอบหลังเรียน มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 15.42 เมื่อเปรียบเทียบกบั การทดสอบหลังเรยี น 2 สัปดาห์ มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 14.49 คะแนนเฉลี่ยการทดสอบหลังเรียน 2 สัปดาห์ น้อยกว่าการทดสอบหลังเรียน ซึ่งไม่เป็นไปตาม สมมตฐิ านที่ตง้ั ไว้ เน่อื งจากคะแนนการทดสอบหลงั เรียน 2 สัปดาห์ มคี ะแนนลดลง 1-3 คะแนน ถือว่าเป็นคะแนนท่ี ลดลงจากการทดสอบหลงั เรียน จงึ ทำใหค้ ะแนนการทดสอบหลังเรยี น และการทดสอบหลงั เรียน 2 สปั ดาห์ มคี ะแนน แตกต่างกนั อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 5. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณติ ศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ที่เรยี นภาษาญี่ปุ่นเปน็ วิชาเลือก ในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ทม่ี ตี ่อสอื่ ประสม พบว่า นักเรยี นมคี วามพึงพอใจตอ่ สอ่ื ประสมอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ (x̅ = 4.68) อภปิ รายผล การวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อประสมส่งเสริมการเรียนคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้น สามารถอภิปรายผลได้ ดงั ต่อไปนี้ 1. ผลการพัฒนาสื่อประสมเรื่องคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้น (E1/E2) ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพที่ผู้วิจัยได้ กำหนดไวท้ ี่ระดับ75 /75 พบว่า ค่าประสิทธิภาพของสื่อประสมเรื่องคำชว่ ยในภาษาญี่ปุ่นระดับต้น มีค่า E1 เท่ากับ 411
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 97.51 และ E2 เท่ากับ 77.11 ผ่านตามเกณฑ์ประสิทธิภาพที่ตั้งไว้ อาจเนื่องมาจากสื่อประสมและแบบฝึกหัดที่ใช้ ระหว่างเรยี นเนื้อหาเรื่องไวยากรณ์คำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดบั ต้นท่ีสร้างขึน้ สามารถช่วยใช้นักเรียนเกิดความเข้าใจใน เนื้อหาไวยากรณ์คำช่วยภาษาญี่ปุน่ ระดับต้นมากขึน้ และยังเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลองนำความรู้เรื่องไวยากรณ์คำ ช่วยภาษาญ่ปี นุ่ ระดบั ตน้ ทีไ่ ด้เรยี นมาไปใชจ้ รงิ ซึง่ เป็นการช่วยใหน้ กั เรียนไดพ้ ัฒนาทักษะการคิด และการประยุกต์นำ ความรู้เดิมไปใช้แก้ปัญหาได้ สอดคล้องกับ ญาณิศา ชาญกิจกรรณ์ (2562) ที่ได้ศึกษาการพัฒนาชุดการเรียน อิเล็กทรอนิกสว์ ิชาภาษาญี่ปุ่น เรื่องตัวอักษรคาตาคานะ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวชริ ธรรมสาธิต กรุงเทพมหานคร พบว่า (1) ชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาภาษาญี่ปุ่น เรื่องตัวอักษรคาตาคานะ มี ประสทิ ธภิ าพ 82.15/80.70 ซง่ึ เป็นไปตามเกณฑท์ ี่กำหนด 80/80 (2) นักเรียนท่เี รียนด้วยชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาญี่ปนุ่ เรือ่ งตัวอักษรคาตาคานะ มีความกา้ วหน้าทางการเรียนเพ่ิมข้ึนอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาภาษาญี่ปุ่น เรื่องตัวอักษรคาตาคานะ ในระดับ เหมาะสมมากทสี่ ุด 2. การเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียหลังเรียนเรอื่ งคำชว่ ยภาษาญ่ีปุ่นระดับตน้ ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ที่เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเลือก ใน ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 โดยใชส้ อ่ื ประสม กับเกณฑ์ร้อยละ 70 นักเรียนจำนวน 45 คน พบว่า คา่ เฉลย่ี เทา่ กับ 15.42 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.47 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม มี คะแนนเท่ากับ 14 คะแนน ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 3.86, Sig = 0.0002) อาจ เนือ่ งมาจาก การเรยี นรไู้ วยากรณภ์ าษาญี่ปนุ่ ระดับต้น โดยใช้สื่อประสม ทำใหน้ กั เรียนมคี วามเข้าใจในเน้ือหามากขึ้น จงึ สามารถความรูท้ ีไ่ ดร้ บั ไปประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่ือตอบคำถามในแบบทดสอบได้ ทำให้ได้ผลคะแนนออกมาสงู กว่าเกณฑ์ร้อย ละ 70 ท่ตี ้งั ไว้ สอดคลอ้ งกับ จิระพร ชะโน และมัณฑนา สขุ สงค์ (2563) ที่ไดศ้ ึกษาการพัฒนาความสามารถดา้ นการ อ่านจับใจความและความคงทนในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น โดยการจัดกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA สำหรับนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่า 1) นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีคะแนนความสามารถด้านการอ่านจับใจความ ภาษาญ่ีปุ่นผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 80 จำนวน 30 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 89.80 ของคะแนนเตม็ เปน็ ไปตามความมงุ่ หมายของ การวิจยั 2) นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีคะแนนทดสอบหลงั เรียนผ่านไป 2 สัปดาห์สูงกว่าคะแนนทดสอบหลังเรียนอย่าง มนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05 ซึง่ สอดคล้องตามสมมตฐิ านทตี่ ัง้ ไว้ 3. ผลการศึกษาคะแนนเรื่องคำช่วยภาษาญีป่ ุ่นระดับต้น ของนักเรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 แผนการ เรยี นวทิ ยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรยี นสวนกุหลาบวทิ ยาลัย รังสติ ท่เี รียนภาษาญีป่ ่นุ เปน็ วิชาเลือก ในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้สื่อประสม ก่อนเรียนและหลังเรียน นักเรียนจำนวน 45 คน พบว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนเรยี น เท่ากบั 11.78 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.29 และคะแนนเฉลยี่ หลังเรียนเท่ากบั 15.42 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.44 เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น เรื่องไวยากรณ์ภาษาญีป่ ุน่ ระดบั ต้น โดยใชส้ อื่ ประสม พบว่า ค่า Sig. (1-tailed) มคี า่ < .001 แสดงวา่ คะแนนหลังเรียนเพ่มิ ข้นึ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05 เน่ืองจากการ ใช้สอ่ื ประสม ชว่ ยใหน้ ักเรียนสามารถทำความเข้าใจเน้ือหาได้ง่าย เพราะเป็นการนำเนื้อหามาสรุปและแบ่งเป็นหัวข้อ ชดั เจน อกี ท้ังสือ่ ประสมเปน็ ส่ือท่ีมีความน่าสนใจในด้านรูปแบบการนำเสนอ คือ มีเสยี งบรรยายประกอบการอธิบาย 412
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื้อหาโดยมีรูปภาพประกอบเพื่อให้มองเห็นภาพของการนำไปใช้ได้ชัดเจนมากขึ้น สอดคล้องกับที่ กัณต์ณริณ ทรายขาว (2554) ไดศ้ กึ ษาเร่ืองการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอา่ นภาษาอังกฤษเพอ่ื ความเข้าใจโดยใช้ส่ือ ประสมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้ทุกแผนมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน 75/75 ทีต่ ้งั ไว้ โดยมีประสทิ ธิภาพรวมเทา่ กบั 81.20/82.56 2) ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนที่เรียน โดยใช้สอ่ื ประสม กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) กอ่ นและหลงั เรยี น พบว่ามีคะแนนเฉล่ียหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรยี น คะแนนเฉล่ียหลังเรียนเป็น 16.47 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 82.35 คะแนนเฉลีย่ ก่อนเรยี นเป็น 10.33 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 51.65 และ 3) เจตคติต่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้สื่อประสมในกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โดยภาพรวม นักเรียนมีเจตคติต่อการจัด กจิ กรรมการเรียนรอู้ ยใู่ นระดับทเี่ ห็นด้วยมาก 4. ผลการศึกษาความคงทนในการจำคำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้น โดยใช้สื่อประสม สำหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบวทิ ยาลัย รังสิต ที่เรียนภาษาญี่ปนุ่ เป็นวิชาเลือก ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้สื่อประสม หลังเรียน และหลังเรียน 2 สัปดาห์ นักเรียน จำนวน 45 คน พบว่า การทดสอบหลังเรียน มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 15.42 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.44 เม่ือ เปรียบเทียบกับการทดสอบหลังเรียน 2 สัปดาห์ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 14.49 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 2.97 คะแนนเฉลี่ยการทดสอบหลังเรียน 2 สัปดาห์ น้อยกว่าการทดสอบหลังเรียน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ เนื่องจากคะแนนการทดสอบหลังเรียน 2 สัปดาห์ มีคะแนนลดลง 1-3 คะแนน ถือว่าเป็นคะแนนที่ลดลงจากการ ทดสอบหลงั เรียน จงึ ทำใหค้ ะแนนการทดสอบหลังเรยี น และการทดสอบหลงั เรยี น 2 สัปดาห์ มคี ะแนนแตกต่างกัน ไม่ เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ อาจเนื่องมาจากเนื้อหาของไวยากรณ์คำช่วยภาษาญี่ปุ่นระดับต้นมีความยากสำหรับ นักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ประกอบกับระยะเวลาที่นักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ ที่เลือกเรียนภาษาญีป่ ุน่ เป็นวิชาเลือก มีชั่วโมงเรียนภาษาญ่ีปุ่นเพียง 2 คาบ/สัปดาห์ จึงทำให้ไม่ได้รบั การทบทวนไวยากรณ์คำช่วยภาษาญี่ปุ่นที่เพียงพอ แต่ทั้งนี้หากดูคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน กับการ ทดสอบหลงั เรียนทเ่ี วน้ ระยะห่าง 2 สปั ดาห์ จะพบว่ามคี วามแตกตา่ งกันไมม่ าก แสดงให้เห็นวา่ นกั เรยี นส่วนใหญย่ งั คง สามารถจดจำเน้อื หาไวยากรณ์คำชว่ ยภาษาญ่ีปนุ่ ระดบั ตน้ ท่ีเรยี นรู้โดยใช้ส่อื ประสมไดอ้ ยู่ สอดคลอ้ งกบั ศุภัชญา ศุภ เมธากร (2563) ที่ได้ศึกษาการพัฒนาความสามารถในการจำและความคงทนในการจำพยัญชนะไทยโดยการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยจินตภาพกับการเล่าเรื่องสำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย พบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบ ความสามารถในการจำพยัญชนะไทยของนักเรยี นระดับปฐมวัย หลังเรียนโดยใช้การจดั กิจกรรมการเรียนรูด้ ้วยจินต ภาพกับการเล่าเรื่อง นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์คะแนนร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (sig. = 000, t-5.237*) 2) ความคงทนในการจำพยัญชนะ ไทยของนกั เรยี นระดบั ปฐมวัย เปรียบเทียบคะแนนสอบครั้ง ท่ี และครง้ั ที่ 2 มีระยะห่าง 2 สปั ดาห์ นักเรยี นมีคะแนนเฉลยี่ ทดสอบครัง้ ที่ 2 สูงกว่าทดสอบคร้ังที่ 1 อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิติ ทร่ี ะดับ .05 (sig.=014, 1-2.762*) 3) ผลการศกึ ษานกั เรยี นมีพฤติกรรมการเรยี นร้ดู ้านการจำพยัญชนะไทยมี คะแนนเฉลีย่ โดยภาพรวมเทา่ กับ 2.72 อยใู่ นระดบั มาก 413
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 5. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ โรงเรยี นสวนกุหลาบวทิ ยาลยั รงั สติ ท่เี รียนภาษาญ่ีปนุ่ เปน็ วชิ าเลอื ก ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ท่มี ีตอ่ สื่อประสม พบวา่ นกั เรยี นมีความพงึ พอใจในระดับมากท่ีสุด (x̅ = 4.65) อาจเพราะรปู แบบการเรียนการสอน โดยนำสื่อประสมมาใชช้ ่วยใหน้ กั เรียนมีความเข้าใจในเรื่องไวยากรณ์ภาษาญี่ปุน่ ระดบั ต้นมากขึ้นอย่างเปน็ รูปธรรม ประกอบกบั สอ่ื ประสมทนี่ ำมาใชไ้ ดผ้ ่านการประเมนิ คณุ ภาพจากผูเ้ ชยี่ วชาญแลว้ วา่ มีความเหมาะสมในการนำไปใช้จริง จึงทำให้นกั เรียนมีความพึงพอใจในระดบั มากที่สุด สอดคลอ้ งกับ สมชาย แก้วเจรญิ (2555) ไดศ้ ึกษาผลของการใช้ส่ือ ประสมเพอ่ื พัฒนาความสามารถด้านการอ่านทำนองเสนาะของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พบวา่ 1) ประสิทธิภาพ ของสื่อประสมเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านทำนองเสนาะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเท่ากับ 80.90/81.33 ซึง่ เป็นไปตามเกณฑ์ 2) คะแนนผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นหลังเรยี นดว้ ยสื่อประสมสูงกวา่ ก่อนเรยี นอย่างมี นัยสำคญั ทางสถิติที่ .01 และ 3) นักเรยี นมีความคิดเหน็ ต่อส่ือประสมอยู่ในระดับมาก มคี ่าเฉล่ยี เท่ากับ 4.46 และค่า เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ .59 และ ศุภวรรณ เทวกุล (2556) ไดศ้ กึ ษาผลของการจัดการเรียนรูเ้ พือ่ พฒั นาทักษะการ ฟงั ภาษาองั กฤษ ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โดยใชส้ อ่ื ประสม พบว่า 1) ผลการพฒั นาทักษะการฟัง โดยใช้ส่ือ ประสมเรื่อง “Tourist Attraction Around Our School” ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรีวัดระฆงั สงู ขึน้ อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั 0.05 และ 2) ความพงึ พอใจของนกั เรียนในการเรียนวิชาภาษาองั กฤษด้านการ ฟงั โดยใชส้ อ่ื ประสม มคี วามพงึ พอใจในระดบั สูงมากที่คา่ เฉลีย่ 4.62 ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะสำหรับการนำไปใช้ 1. ผู้สอนควรทบทวนคำศัพท์ที่นักเรียนได้เรียนมาแล้วก่อนอีกครั้งหนึ่งก่อนนำสื่อประสมไปใช้ เนื่องจาก นักเรียนบางคนยังไม่สามารถจดจำคำศัพท์ที่ไดเ้ รียนผ่านไปแล้วได้ ซึ่งอาจเป็นอุปสรรคของนักเรยี นต่อการทำความ เข้าใจเน้อื หาไวยากรณ์คำช่วยทีอ่ ยู่ในส่อื ประสม 2. ก่อนเริ่มให้นักเรียนศึกษาสื่อประสม ผู้สอนอาจแนะนำให้นักเรียนนำสมุดมาจดบันทึกเนื้อหาของ ไวยากรณ์ระหว่างการศึกษาสอื่ ประสม เพ่ือช่วยให้นักเรยี นเขา้ ใจและจดจำเน้ือหาของคำชว่ ยได้ดขี ึน้ 3. ผ้สู อนอาจผลติ ส่อื ประสมขึ้นมาสองชดุ ทมี่ ีเนอ้ื หาเหมอื นกัน แต่มกี ารอธบิ ายและการออกแบบส่อื ทตี่ ่างกัน แล้วนำไปใช้กับนักเรียน 2 กลุ่ม เพื่อศึกษาว่าสื่อประแบบใดได้ประสิทธิภาพที่ดีสำหรับการสร้างความคงทนให้กบั นักเรยี น 2. ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาวิธกี ารสรา้ งส่อื หรอื การออกแบบการเรียนการสอนท่ีชว่ ยให้นักเรยี นเกิดความคงทนในการจดจำ เน้ือหาของการเรยี นไดด้ ีขนึ้ 2. ควรใช้วธิ กี ารสอนโดยใช้ส่ือประสมเปรียบเทียบกับวิธีการสอนไวยากรณ์ภาษาญ่ีป่นุ ระดบั ต้นรูปแบบต่าง ๆ เพอ่ื นำข้อมูลทไ่ี ดม้ าวเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บวา่ วธิ ีการสอนแบบใดไดผ้ ลกับตวั นักเรยี นมากกวา่ กัน 414
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, และสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2556). ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้ ภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมัน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. กันตณ์ รณิ ทรายขาว. (2555). การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นด้านการอ่านภาษาองั กฤษเพ่อื ความเข้าใจโดยใช้ สื่อประสมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชยี งราย. จิระพร ชะโน, และมัณฑนา สุขสงค์. (2563). การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจบั ใจความและความคงทนในการ เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น โดยการจัดกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 3(9), 86-93. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพส่ือหรือชดุ การสอน. วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตรว์ ิจัย, 5(1), 7-20. ญาณิศา ชาญกิจกรรณ์. (2562). การพัฒนาชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาภาษาญี่ปุ่น เรื่องตัวอักษรคาตาคานะ สำหรับนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต กรุงเทพมหานคร (การศึกษาค้นคว้า อสิ ระปรญิ ญามหาบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช. ทมี ข่าวเศรษฐกิจ. (2564, 30มนี าคม). 'เจโทร' ชีบ้ ริษทั ญป่ี ุ่นในไทย เมนิ โควดิ ลุยธุรกิจเพ่ิม 400 ราย. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/business/929825 บุษบา บรรจงมณี, ประภา แสงทองสุข, วันชัย สิลพัทธ์กุล, และ Kumano Nanae. (2558). คำช่วย ช่วยด้วย ! (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) (พิมพค์ ร้ังท่ี 3). กรุงเทพฯ: ภาษาและวัฒนธรรม สมาคมส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). ปราณี จงสุจริตธรรม. (2549). คำชว่ ยท่เี ป็นปัญหาสำหรับผู้สอบคัดเลือกบุคคลเข้าศกึ ษาตอ่ ในสถาบันอดุ มศกึ ษา. เจแปนฟาวนเ์ ดชั่น กรงุ เทพฯ, (3), 53-64. สืบคน้ 23 พฤศจิกายน 2560, จาก http://www.jfbkk.or.th/publications/jleb/20060803-2/?lang=th ปัทมา ชั้นอินทร์งาม. (2556). ผลการเรียนด้วยชุดสื่อประสมร่วมกับกิจกรรมการสอนที่เน้นการพูดที่ส่งผลต่อ ความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดหอมเกร็ด (การ คน้ คว้าอสิ ระปรญิ ญามหาบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. พิมพาพรรณ ทองก่ิง. (2560). การพฒั นาแผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง ชาดก โดยใช้ส่ือประสม สำหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 3 (การค้นคว้าแบบอสิ ระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. วจิ ารณ์ พานิช. (2555). วถิ สี รา้ งการเรยี นรเู้ พ่อื ศษิ ย์ในศตวรรษท่ี ๒๑. กรุงเทพฯ: มลู นธิ ิสดศรี-สฤษด์ิวงศ์. ศภุ วรรณ เทวกุล. (2556). การจดั การเรียนร้เู พื่อพฒั นาทกั ษะการฟังภาษาอังกฤษ ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 โดยใชส้ ่ือประสม (วทิ ยานพิ นธ์ปริญญามหาบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลัยรังสิต. ศภุ ัชญา ศภุ เมธากร. (2564). การพัฒนาความสามารถในการจำและความคงทนในการจำพยัญชนะไทยโดยการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยจินตภาพกับการเล่าเรื่องสำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ ย์. 415
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สมชาย แก้วเจริญ. (2555). การใช้สื่อประสมเพ่ือพัฒนาความสามารถด้านการอ่านทำนองเสนาะของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานพิ นธ์ปริญญามหาบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. Cronbach, L. J. (1984). Essentials of psychological testing (4th ed.). New York, NY: Harper & Row. Michael D. Williams. (2000). Integrating Technology into Teaching and Learning Concepts and Applications. Prentice Hall. Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60. 416
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี มาตรฐานการจดั การศึกษาสำหรบั คนพิการของศนู ย์การศึกษาพิเศษ The Quality of Educational Standards for the Disabled pf the Special Education ทินกร พลู พุฒ อาจารยป์ ระจำหลกั สูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา [email protected] บทคดั ยอ่ มาตรฐานการศึกษาพิเศษสำหรับคนพิการ เป็นมาตรฐานที่สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้พิการตามบทบัญญัติของ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทร พุทธศกั ราช 2560 มาตรา 54 ว่า รัฐตอ้ งดำเนินการให้เดก็ ทุกคนได้รบั การศึกษาเป็น เวลา 12 ปี ตั้งแต่วัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพและพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคน พิการ พ.ศ. 2551 และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2556 ทร่ี ัฐตอ้ งจัดการศึกษาสำหรบั คนพกิ ารให้มีสทิ ธิและโอกาส ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพเิ ศษ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานโดยศูนย์การศึกษาพิเศษจะต้องนำไปใช้เป็นแนวทางใน การดำเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพภายในศูนย์การศึกษาพิเศษให้ถึงเป้าหมายที่ศูนย์การศึกษาพิเศษ กำหนดไว้ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพ ผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ผลพัฒนาผูเ้ รียนตามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียน และพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ดา้ นสงั คม และดา้ นสติปัญญา สามารถช่วยเหลือตนเองได้ อยู่ในสังคมอย่างมี ความสขุ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา มีวิสัยทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมายที่ชดั เจน มกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมเอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ สามารถเข้าถึงและใชป้ ระโยชนไ์ ด้ มีการพัฒนา ครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการของ สถานศึกษาและมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ มีการบริหารชั้นเรียน จัดการ เรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ มีการตรวจสอบประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั และมีการพฒั นาปรับปรงุ การเรยี นรู้ให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน คำสำคญั : ,ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ, มาตรฐานการจดั การศึกษาสำหรบั คนพกิ าร 417
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ABSTRACT Special education standards for people with disabilities It is a standard that the Office of Special Education Administration. The Ministry of Education has set out to use as a framework and guideline for providing education for the disabled in accordance with the provisions of the Constitution of the Kingdom of Sai B.E. 2560 B.E. From school age until completing compulsory education with quality and Education Management for Persons with Disabilities Act, B.E 2008 , which states that the State must provide education for people with disabilities to have the right and opportunity to receive high-level education extra basis To have standardized quality by special education centers must be used as a guideline for the development of quality management systems within special education centers to reach goals set by the special education center and in accordance with the standards of early childhood education and basic education standards in Standard 1, quality of learners educational achievement Student development results according to individual potential Desirable characteristics of learners and physical, emotional, social and intellectual development able to help themselves live happily in society Standard 2 Educational quality management process according to the standards of educational institutions with clear vision, mission and goals. There is an appropriate environment to facilitate learning. can be accessed and utilized Teachers and personnel are developed to have professional expertise. information technology system arrangement for use in the management of educational institutions and the third standard is the teaching and learning process that focuses on learners. Classes are administered Management of learning through the process of thinking, analyzing, having a systematic assessment of learners. There is an exchange of knowledge, feedback and improvements in learning to meet quality standards. KEYWORDS :. Special education centers, Quality of Educational Standards บทนำ ปัจจุบัน รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนพิการมากขึ้น โดยกำหนดกฎหมายรองรับการจัด การศึกษาสำหรบั คนพิการ ให้สอดคลอ้ งกับ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทีร่ ะบไุ ว้ในมาตรา 54 ว่า รฐั ตอ้ งดำเนินการใหเ้ ดก็ ทุกคนไดร้ บั การศึกษาเปน็ เวลา 12 ปี ตงั้ แต่วยั เรียนจนจบการศกึ ษาภาคบงั คับอย่างมี คุณภาพ โดยดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ รัฐต้องดำเนินการให้ ประชาชนไดร้ บั การศกึ ษาตามความตอ้ งการ ในระบบต่าง ๆ รวมท้งั ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารเรียนรูต้ ลอดชีวิตโดยรัฐ มีหน้าท่ี ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริมและสนบั สนนุ ใหก้ ารจัดการศึกษาดังกล่าวให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม 418
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติ (สำนกั งานศาลรัฐธรรมนูญ, 2560) ซ่งึ พระราชบัญญตั ิการจัดการศกึ ษาสำหรับคน พิการ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2556 มาตรา 5 บัญญัติไว้ว่า คนพิการมีสิทธิทางการศึกษา ดงั นี้ 1) ได้รับการศึกษาโดยไม่เสยี ค่าใช้จ่ายต้งั แตแ่ รกเกิดหรอื พบความพิการจนตลอดชีวติ พรอ้ มท้งั ได้รับเทคโนโลยี สิง่ อำนวยความสะดวก สอ่ื บรกิ ารและความชว่ ยเหลอื อน่ื ใดทางการศึกษา 2) เลอื กบริการทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบและรูปแบบการศึกษาโดยคำนึงถึงความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและความต้องการจำเป็นพิเศษของ บุคคล 3) ได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา การจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การ ทดสอบทางการศึกษา ทเ่ี หมาะสมสอดคล้องกบั ความตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษของคนพิการแต่ละประเภทและบคุ คล (ราช กจิ จานุเบกษา เล่ม 130 ตอนที่ 42 ก 17 พฤษภาคม 2556, 2556) ซึง่ พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท2ี่ ) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่3ี ) พ.ศ.2553 ทร่ี ัฐต้องจัดการศึกษาสำหรับคนพิการให้มีสิทธิ และโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน (สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ, 2561) อันนำไปสู่การกำหนดให้มีมาตรฐานการศึกษาขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ซง่ึ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.2561 พรอ้ มกบั มาตรฐานการศกึ ษาพิเศษสำหรับคนพกิ าร ปี 2561 สำหรับศนู ย์การศกึ ษาพิเศษและสถานศึกษา หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการบริหารจัดการการศึกษาพิเศษ สำหรับคนพิการให้มี คุณภาพมาตรฐาน (สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2561) มาตรฐาน การศึกษา เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ที่ต้องการใหเ้ กิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง่ มาตรฐานการศกึ ษาจึงถูกกำหนดขึน้ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ หลกั เทียบเคียงสำหรับการบรหิ ารจัดการศกึ ษา การส่งเสริมและกำกับ ดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพการศึกษา การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาจึงเป็นการให้ ความสำคัญกับการจัดการศึกษา 2 ประการ ได้แก่ 1) สถานศึกษาทุกแห่งมีเกณฑ์เปรียบเทียบกับมาตรฐานซึ่งเปน็ มาตรฐานเดียวกัน 2) มาตรฐานทำให้สถานศึกษาเข้าใจชัดเจนว่า จะบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปใน ทศิ ทางใด จากความสำคัญในการจัดการศกึ ษาดังกลา่ ว จงึ เปน็ แนวคดิ ในการกำหนดมาตรฐานด้านกระบวนการบริหาร และการจัดการที่มีองค์ประกอบสำคัญ 4ด้าน คือ 1) ด้านการบริหารคุณภาพของสถานศึกษา 2) ด้านการบริหาร หลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา 3) ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 4) ด้านการจัด สภาพแวดล้อมและการบริการ(สำนักทดสอบทางการศึกษา (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2561) นอกจากนี้ในแผนการจัดการศึกษาสำหรับคนพกิ าร ฉบบั ท3่ี (พ.ศ. 2560 – 2564) ยังได้กำหนดยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา ไว้ในยุทธศาสตร์ที่ 8 พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบองค์รวมเชิงบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพ่ือ เพ่มิ ประสิทธผิ ลการบริหารจดั การแบบองคร์ วมเชงิ บรู ณาการโดยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน โดยกำหนดเป็นพันธกิจ ที่จะต้องดำเนินการ คือ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาสำหรับคนพิการทีเ่ น้นการนำศาสตร์พระราชา และหลักธรรมมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการที่มีเป้าหมายหลัก คือ คุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา สำหรับคนพกิ าร (สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ, 2561) สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ (2561) ได้วิเคราะห์ข้อมูลผลการจัดการศึกษา สำหรับคนพิการระยะ 5 ปี (2555-2559) ที่ผ่านมาพบว่า การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการมีปัญหาคือ หลักสูตร 419
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี การศึกษาพิเศษยังจัดได้ไม่สอดคล้องกบั ประเภทความพิการทั้งกระบวนการการจัดการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล การเรยี นรขู้ องผ้พู กิ ารตามสภาพจรงิ การพัฒนาแหล่งเรียนรทู้ ี่เอ้ือต่อการเรยี นรูแ้ ละการใช้ประโยชนข์ องผูพ้ ิการ และ การจดั การศึกษาสำหรบั คนพิการทัง้ ประเทศ สนองตอ่ ความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ เพียงร้อยละ 11.94 จากจำนวนคน พิการ 1.5 ล้านคน ซึ่งมีปัญหามากถงึ ร้อยละ 88.06 ปรับปรุงแก้ไขไว้ดงั นี้ มาตรฐานที่1 คุณภาพผู้เรียน ควรพัฒนา หลักสูตรการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มและเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กพิการ จัดทำหลักสูตรทักษะการ ดำรงชีวิตสำหรับคนพิการที่มีความสามารถพิเศษ ให้มีความพร้อมทางด้านอาชีพและการดำรงชีวิตได้อย่างเต็ม ศักยภาพและพัฒนาเครอื่ งมือการประเมนิ สำหรับประเมนิ ตามสภาพจรงิ ของผูพ้ กิ ารที่มีความสามารถพเิ ศษ มาตรฐาน ท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ควรมกี ารประเมนิ และปรับปรุงผลการนำหลักสูตรทั้งหลกั สูตรการให้บริการ ชว่ ยเหลือระยะแรกเร่ิมและหลักสูตรทักษะการดำรงชีวิตของคนพกิ ารที่มีความสามารถพิเศษ จดั หาหรือสนับสนุนให้ มีการผลิตสื่อ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่หลากหลายเพื่อใช้เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ของผู้พิการตามความต้องการ จำเปน็ พเิ ศษของผพู้ กิ ารส่งเสรมิ ให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษามีความรู้ ความเชีย่ วชาญตามมาตรฐานตำแหน่ง ใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และสร้างเครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนให้เข้มแข็ง สามารถขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาสำหรับคนพกิ ารอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลสูงยิ่งขึ้น มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอน ควรจัดให้มีระบบกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ งครูและผู้เกีย่ วข้องในการ ปรับปรงุ แกไ้ ขหรือพฒั นาการจดั การเรยี นร้สู ำหรับคนพกิ ารทกุ ประเภท พัฒนาครูให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจขั้นตอนการ ทำ PLC สามารถทำ PLC ได้ชัดเจนและนำไปปฏิบัติได้ และส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูใช้สื่อ นวัตกรรมและ เทคโนโลยที ่ที ันสมยั ในการจดั การเรียนรหู้ รือให้คนพกิ ารใชเ้ ป็นเครือ่ งมือการเรยี นรู้ ให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการจัด การศกึ ษาสำหรับคนพิการ ของศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ คณุ ภาพมาตรฐานการจัดการศกึ ษาพิเศษสำหรับคนพิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2561)โดยสำนักทดสอบทางการศึกษา กำหนดคุณภาพ มาตรฐานการจัดการศึกษาพิเศษสำหรับคนพิการของศูนย์การศึกษาพิเศษ ไว้เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัด การศึกษาสำหรบั คนพกิ ารของผู้บรหิ ารศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ใหไ้ ดค้ ณุ ภาพตามมาตรฐานทก่ี ำหนด ซึ่งประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ทง้ั 3 มาตรฐาน มีรายละเอียดดงั นี้ คอื มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน หมายถึง ผลการพัฒนาผู้เรียน มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละ บุคคลที่แสดงออก ถึงความรู้ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือแผนการ ให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ที่แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัด การศึกษาเฉพาะบุคคล หรือแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะ ครอบครัว มีความพรอ้ มสามารถเขา้ สูบ่ ริการช่วงเชอ่ื มตอ่ หรือการส่งต่อเข้าสกู่ ารศึกษาในระดบั ที่สูงขึ้นหรือการอาชีพ หรือการดำเนินชวี ิตในสังคมได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ผู้เรียนมีความพร้อมสามารถเข้าสู่บรกิ ารช่วงเชื่อมต่อ หรือการส่งต่อเข้าสู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้นหรือการอาชีพหรือการดำเนินชีวิตในสงั คมได้ตามศกั ยภาพของแต่ละ 420
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บคุ คล มีช่วงเชื่อมตอ่ การจดั กจิ กรรมให้ผ้เู รียนจากโปรแกรมหน่ึงไปสู่อกี โปรแกรมหนงึ่ การเปล่ียนจากระดับหน่ึงไปสู่ อีกระดบั หนงึ่ เช่น การเปลี่ยนแปลงสถานท่ี สภาพแวดลอ้ ม ระยะเวลา จากทห่ี นึ่งไปสู่ท่ีหน่งึ โดยมเี ป้าหมายข้างหน้า ที่ดีกว่าปัจจบุ ันทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา การส่งต่อ การพัฒนาผูเ้ รียนใหส้ ามารถส่งตอ่ ไปรับบริการอืน่ ท่ี เหมาะสมเช่นบรกิ ารทางการแพทย์บริการทางสังคม บริการทางการศกึ ษาให้แก่ผู้เรียนเมื่อมผี ลการพัฒนาศักยภาพ ผา่ นตามเกณฑท์ ่ีกำหนดสามารถสง่ ต่อเขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษาในชัน้ เรียนท่ีสงู ขน้ึ หรอื ยา้ ยสถานศึกษาหรอื รับบรกิ ารด้าน อ่ืน ๆ ต่อไป มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด ผูเ้ รียนมพี ฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงาม มีความภูมิใจในท้องถิ่นและ ความเป็นไทยตามศักยภาพของผูเ้ รยี นแตล่ ะบคุ คล ผูเ้ รียนแสดงออกถงึ ความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย มสี ่วน รว่ มในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณรี วมทั้ง ภมู ิปัญญาไทย ตามศกั ยภาพของผู้เรยี นแตล่ ะบคุ คล มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ กระบวนการบริหารและจัดการคุณภาพของศูนย์ การศึกษาพิเศษมีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน สามารถดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น คุณภาพผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายอย่างรอบด้านตามหลักสูตรศูนย์การศึกษาพิเศษในทุกกลุ่มเป้าหมาย จัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชีย่ วชาญ ทางวิชาชีพ และจัดทำ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ รวมทัง้ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ศูนย์การศึกษาพิเศษกำหนดชัดเจน สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของศูนย์การศึกษาพิเศษ ความ ตอ้ งการของชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ วตั ถุประสงคข์ องแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาล และของตน้ สงั กดั รวมทัง้ ทนั ตอ่ การเปล่ยี นแปลงของสงั คม มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ สามารถบรหิ ารจดั การคณุ ภาพ ของศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ อยา่ งเป็นระบบท้ังในสว่ นการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา การนำ แผนไปสู่การ ปฏิบัติเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษา มกี ารติดตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรุงพฒั นางานอย่างตอ่ เนอ่ื ง มีการ บรหิ ารอัตรากำลงั ทรัพยากรทางการศกึ ษา และระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน สรา้ งการมสี ว่ นร่วมของผู้เก่ียวข้องทุก ฝ่ายใหร้ ว่ มรบั ผดิ ชอบต่อผลการจัดการศึกษา ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการท่ีเนน้ คุณภาพผู้เรยี นทุกกลุ่ม เป้าหมายอย่าง รอบด้านตามหลักสูตรศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษบรหิ ารจัดการเกย่ี วกบั งานวชิ าการ ทั้งด้านการพฒั นา หลักสตู ร กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนท่เี น้นคุณภาพผ้เู รียนตาม ศักยภาพและประเภทของความพกิ ารและให้ครอบคลุมทุก ประเภทความพิการเชื่อมโยงชีวิตจริง พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครแู ละบคุ ลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และนำกระบวนการของชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ มาใชใ้ นการพัฒนางานและการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทป่ี ลอดภัยและ เอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษจัดหรอื ปรบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทั้งภายในและ ภายนอกศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษให้ปลอดภัยและเอ้ือต่อการเรียนรู้ จัดเทคโนโลยสี ่ิงอำนวยความสะดวกสอื่ บรกิ าร และ ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาให้ผู้เรยี นไดเ้ ขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชน์ได้จากแหล่งเรยี นรู้ตามศักยภาพและประเภท ของความพกิ าร จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ ศูนย์การศึกษา 421
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี พิเศษจดั หาพัฒนาและบริการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นระบบ เพอ่ื ใชใ้ นการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ตามศกั ยภาพและประเภทของความพิการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญเปน็ กระบวนการเรยี นการสอน ตามศกั ยภาพของผเู้ รียนแต่ละบุคคลตามท่รี ะบไุ ว้ในแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคลท่ีสอดคลอ้ ง กับหลักสูตรของ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษสร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามศกั ยภาพ ของผเู้ รยี นแต่ละบุคคล มีการบรหิ ารจัดการเรียนรู้เชงิ บวกสร้างปฏิสมั พนั ธ์ท่ีดรี ่วมกนั แลกเปลี่ยน เรียนรู้ดำเนินการ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบและนำผล มาพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรูใ้ ห้มีประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง ดังนี้ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ จัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัด การศึกษาเฉพาะบุคคลที่สอดคล้องกับหลักสูตรของศูนย์การศึกษา พิเศษ ที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน การมีส่วนร่วมของ ผ้ปู กครองและผทู้ ่ีเก่ียวข้อง โดยผูเ้ รียนไดร้ บั การฝึกใหม้ ีทกั ษะ และการแสดงความคิดเห็นตามศกั ยภาพและประเภท ของความพิการ ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีการใช้เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความ สะดวก สอ่ื บรกิ าร และความชว่ ยเหลอื อื่นใดทางการศึกษาเทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ่เี อ้ือต่อการเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยนำมาใช้ในการจัดการเรยี นรู้และสร้างโอกาสให้ผูเ้ รียนได้แสวงหาความรู้ตามศักยภาพ ของผู้เรียนจากสื่อที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการผู้เรียนเชิงบวก มีการบริหารจัดการผู้เรียน โดยเน้นการมี ปฏิสัมพันธเ์ ชิงบวก ครูรักเด็กใหเ้ ด็กรักครูและรักที่จะเรียนรู้สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ตรวจสอบและ ประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น มกี ารตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจดั การเรียนรู้อย่าง เปน็ ระบบ มขี ั้นตอนชัดเจนโดยใช้เคร่ืองมอื และวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล ทเ่ี หมาะสมกับเป้าหมายในการจดั การเรียนรู้ และใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั แกผ่ ู้เรียนและผู้ปกครองเพอ่ื นำผลไปใชพ้ ฒั นาการเรยี นรูอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยน ความรู้และประสบการณ์ รวมทง้ั ให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพือ่ นำไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงใน การจัดการศกึ ษาให้แก่ผูพ้ กิ ารได้มีผ้ใู ห้แนวคดิ และผวู้ ิจยั ถงึ แนวทางการบริหารจัดการศกึ ษาของศนู ย์การศึกษาพิเศษ และการเสริมสรา้ งคุณภาพการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน เช่น สเตียร์ส (Steers, 1977) ไดก้ ลา่ วถึงศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ไว้ได้ดงั น้ี ลักษณะการบริหารจัดการของศูนย์การศึกษาพิเศษ หมายถึง ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม (Early Intervention) และเตรยี มความพร้อมเด็กพกิ ารทั้ง 9 ประเภท คอื บคุ คลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ บุคคล ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายและ สขุ ภาพ บคุ คลที่มปี ญั หาทางการเรียนรู้ บุคคลทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา บุคคลท่มี ีปญั หาทางพฤติกรรม และอารมณ์ บคุ คลออทสิ ติก บุคคลพกิ ารซ้อน ลักษณะสภาพแวดล้อมของศูนย์การศึกษาพิเศษ หมายถึง สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก สถานที่ให้บริการสิ่งอำนวยความสะดวก มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย ให้บริการด้านการศึกษาพิเศษสำหรับคนพิการและ ผู้เกี่ยวข้อง 422
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ลกั ษณะบุคคลของศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ หมายถงึ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีปฏิบตั ิหน้าท่ีในศูนย์ การศกึ ษาพิเศษ ลักษณะนโยบายการบริหารและการปฏิบัติของศูนย์การศึกษาพิเศษ หมายถึง การจัดและส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาในลักษณะศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม (Early Intervention : EI) และเตรียมความพร้อม ของคนพิการ เพื่อเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนเรียนร่วม โรงเรียนเฉพาะความพิการ ศูนย์การ เรียนเฉพาะความพิการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาและฝึกอบรมผู้ดแู ลคนพิการ บุคลากรทางการศึกษาท่ี จัดการศึกษาสำหรับคนพิการ การจัดระบบและส่งเสริม สนับสนุนการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทาง การศึกษาสำหรบั คนพิการ การจัดระบบบริการช่วงเชื่อมต่อสำหรบั คนพิการ (Transitional Services) การให้บริการ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพคนพกิ ารโดยครอบครัว ชุมชน ด้วยกระบวนการทางการศกึ ษา เป็นศูนยข์ อ้ มูล รวมทง้ั จดั ระบบขอ้ มูล สารสนเทศด้านการศึกษาสำหรับคนพิการ การจัดระบบสนับสนุนการจัดการเรียนร่วมและประสานงานการจัด การศกึ ษาสำหรับคนพกิ ารในจงั หวดั และภาระหน้าท่อี ื่นตามทกี่ ฎหมายกำหนดหรือตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย จึงเห็นได้ ว่า ในการขับเคลือ่ นสูค่ ุณภาพและมาตรฐาน มีความเชื่อมโยงของปัจจยั ในการจัดการศึกษาของการศกึ ษาพิเศษไปสู่ ประสิทธผิ ลทจี่ ะเกิดขึน้ กับหน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบการศกึ ษาพเิ ศษ ปรากฏดงั ตาราง แสดงความเช่ือมโยงระหว่างปัจจัย ทางการบรหิ ารกบั ประสทิ ธผิ ลขององคก์ าร ตาราง แสดงความเช่ือมโยงระหวา่ งปจั จัยทางการบริหารกับประสทิ ธิผลขององค์การ ลกั ษณะนโยบาย ลกั ษณะบคุ คลของศนู ย์ ประสิทธิผลขององคก์ าร การบริหารและการปฏิบตั ิ การศกึ ษาพิเศษ ลกั ษณะการบริหารจดั การ ลกั ษณะสภาพแวดลอ้ มของ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ทม่ี า : Steers. (1977) Organizational Effectiveness: A Behavioral view. จากตาราง แสดงใหเ้ ห็นว่าปัจจัยต่างๆของศูนย์การศึกษาพิเศษ มคี วามสมั พันธเ์ ชือ่ มโยงกับประสิทธิผล ในการจัดการศึกษาของศูนย์การศกึ ษาพิเศษในเชงิ ของทฤษฎี 423
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ดนยา อิงจำปา (2561) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ ของศูนย์การศึกษา พิเศษ ไว้วา่ 1) ตอ้ งยึดแผนการจดั การศกึ ษาสำหรับคนพิการ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) เปน็ แนวในการบริหารจัด การศึกษา 2) พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 และ(ฉบับท่ี3) พ.ศ. 2553 ในหลักการการจดั การศึกษาที่ให้ความสำคัญกับผู้เรยี นมากที่สดุ 3) พัฒนาการจัดการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ ก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับท่ี3) พ.ศ.2553 ที่ให้ความสำคัญกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือการมีร่างกายพิการพิการหรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถช่วยเหลอื ตนเองได้ 4) จัดการศกึ ษาให้สอดคล้องกับความตอ้ งการจำเป็นพิเศษของคนพกิ าร ชุมชน หรอื ทอ้ งถ่นิ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ต้อง ยดึ ผูพ้ ิการเป็นสำคัญ หรอื ให้ความสำคัญกับผู้พกิ ารทุกประเภท นพดล ก้องเกียรติ (2556)ได้ศกึ ษาแนวทางการบรหิ ารจดั การคุณภาพศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจำจังหวัด ระนองที่ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับคนพิการด้านคุณภาพผู้เรียน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการศึกษา เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียนซึ่งเป็นคนพิการ และเพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษากับคุณภาพผู้เรียนซึ่งเป็นคนพิการ ผลการ ศึกษาวิจัยพบว่า 1) แนวทางการบริหารจดั การศึกษาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวดั ระนอง ประกอบด้วย 4 ลักษณะ คือ (1) ลักษณะการบริหารจัดการที่เน้นการกระจายอำนาจตามสายบังคับบัญชา (2) ลักษณะการบริหาร จัดการที่เน้นการพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการปฏิบัติหนา้ ทีข่ องครูและบุคลากรทางการศึกษาและเอื้อต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งเป็นคนพิการและสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ (3) ลักษณะการบริหารจัดการที่ มุ่งเน้นการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพ (4) ลักษณะการบริหารจัดการที่เน้น การศกึ ษาใชแ้ ผนงานโครงการตามนโยบายลงส่กู ารปฏบิ ตั ิ ซ่ึงทงั้ 4 แนวทางมผี ลการประเมินอยู่ในระดบั คณุ ภาพระดับ มากที่สุด 2) คุณภาพผู้เรียนซ่ึงเป็นผู้พิการอยู่ในระดบั คุณภาพดมี ากทัง้ ผลการพัฒนาวิชาการและคุณลักษณะทีพ่ ึง ประสงค์ตามศักยภาพของผู้พิการแต่ละประเภท 3) ความสัมพันธ์ระหว่างแนวทางการบริหารจัดการของศูนย์ การศึกษาพิเศษกับคุณภาพผู้เรียนเป็นไปในเชิงบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อนำค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ไปเข้าสมการพยากรณ์ สามารถพยากรณใ์ นภาพรวมอย่างมีประสิทธภิ าพร้อยละ 80.69 ถาวร แต้ประเสริฐสุข (2557)ได้ศึกษาการพัฒนาระบบบริหารจัดการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวดั สรุ นิ ทร์ ท่สี ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนสำหรับคนพิการ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษากระบวนการบรหิ าร และจัดการศึกษา เพื่อศึกษาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนสำหรับคนพกิ าร และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ระบบบรหิ ารจดั การศึกษาของศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจำจงั หวดั สรุ นิ ทร์กบั คณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนสำหรับ คนพิการ ผลการศกึ ษาวิจัยพบวา่ 1) ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสรุ นิ ทร์จัดการไดน้ ำแนวคิดทฤษฎีการบริหาร องคก์ ารของสเตียร์ (Steers, Theory)มาปรับประยุกตใ์ ช้ในการบริหารจดั การศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ระดับมากที่สุดทั้ง 4 ลักษณะ 2)คุณภาพการจัดการเรียนการสอนสำหรับคนพิการอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพระบบบริหารจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษกับคุณภาพการจัดการเรียนการสอน 424
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สำหรบั คนพกิ ารมคี วามสัมพนั ธ์กนั ในเชงิ บวกอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั 0.01 เมอื่ นำค่าสัมประสิทธ์ิสหสมั พันธ์ ไปเข้าสมการพยากรณ์ สามารถพยากรณใ์ นภาพรวมอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพร้อยละ 81.40 ปรานี ไกรสงิ ห์ (2556) ไดศ้ กึ ษารูปแบบการบริหารจดั การศกึ ษาสำหรบั คนพกิ ารท่สี ง่ ผลตอ่ คุณภาพผู้พิการ ด้านทักษะการดำรงชีวิต ของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดเพชรบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพผู้ พิการด้านทักษะการดำรงชีวิต และเพื่อศึกษาความสัมพนั ธร์ ะหว่างการบริหารจัดการสำหรับคนพิการกับคุณภาพผู้ พิการดา้ นทกั ษะการดำรงชวี ติ ผลการศึกษาวิจัย พบว่า 1) การบริหารจดั การศึกษาสำหรับคนพิการทกุ ประเภทอยู่ใน ระดับคุณภาพดีถึงดีมาก การจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกศูนย์การศึกษาพิเศษได้ระดับคุณภาพดีถึงดี มาก การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นครูชำนาญการพิเศษเฉพาะด้านได้ระดับคุณภาพดีถึงดีมากได้ การนำนโยบายลงสูก่ ารปฏบิ ัติ มแี ผนงานโครงการชัดเจนสอดคล้องกบั นโยบายทกุ ระดับของหน่วยงานตน้ สังกัดอยู่ใน ระดบั คุณภาพดีมาก 5) คุณภาพของคนพิการดา้ นทกั ษะการดำรงชีวติ อยู่ในระดบั ดี ความสัมพันธร์ ะหว่างการบริหาร จัดการศึกษาสำหรับคนพิการกับคุณภาพด้านทักษะการดำรงชีวิตของคนพิการมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกอย่างมี นยั สำคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 เอคเลย์ เอม.อี (Eckley M.E.,1998) ได้ศึกษาวิจัยเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการเรียนรู้ของครู กับการให้อิสระของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการเรียนรู้ของนักเรียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิธีการบริหารที่ให้อำนาจในการตัดสินใจแก่ครูในการจัดการเรยี นรู้ทีม่ ีผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน และเพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการให้อำนาจในการตัดสินใจของผู้บริหารกับประสิทธิผลการเรียนรู้ของนักเรียน ผลการ ศึกษาวิจัย พบว่า 1) ผู้บริหารโรงเรียนให้อิสระในการตัดสินใจ (Empowerment) แก่ครูในการตัดสินจะจัดกิจกรรม การเรียนรู้ให้แก่นักเรียนในระดับมากถึงมากที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นของนกั เรยี นอยใู่ นระดับสูงทุกรายวิชาอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .052 ) การใหอ้ สิ ระในการจัดการ เรยี นแก่ครมู คี วามสัมพันธใ์ นเชิงบวกกบั ประสทิ ธิผลการเรียนรู้ของนกั เรยี นอย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .01 เบส;บี.เอ็ม (Bass;B.M.,1998) ได้ศึกษาวิจัยภาวะผู้นำของผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษา ที่ส่งผลต่อ ประสิทธิผลของหนว่ ยงานทางการศึกษา ในมลรัฐนิวเจอซ่ี สหรฐั อเมรกิ า โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือการศึกษาภาวะผู้นำ ของผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษาที่ใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เป็นปัจจัย ทางการบรหิ ารงานจัดการเพื่อศึกษาประสทิ ธิผลของหน่วยงานทางการศึกษาและเพ่ือศกึ ษาความสมั พนั ธภ์ าวะผู้นำใน การใช้แผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาเป็นปัจจัยทางการบริหารจัดการกับประสิทธิผลของ หน่วยงานทางการศึกษา ผลการศกึ ษาวจิ ัยพบว่า 1) ผ้บู รหิ ารหน่วยงานทางการศกึ ษา มีภาวะผนู้ ำในการใช้ปัจจัยแผน ยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานในการบริหารจัดการในระดับคุณภาพดีมากทกุ รายการ 2) ประสิทธิผล ของหน่วยงานทางการศกึ ษาในภาพรวมอยใู่ นระดับคุณภาพดีมาก 3) ปัจจยั ทางการบรหิ ารโดยใช้แผนยุทธศาสตร์การ พฒั นาตามมาตรฐานเปน็ เครื่องมอื การบรหิ ารจัดการมคี วามสัมพนั ธ์กับประสิทธิผลของหนว่ ยงานทางการศึกษาอย่าง มีนยั สำคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 425
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province ดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สรุป มาตรฐานการศึกษาพิเศษสำหรับคนพิการ เป็นมาตรฐานที่สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้กำหนดขึ้นเพ่ือใชเ้ ป็นกรอบและแนวทางในการจัดการศึกษาให้แก่ผพู้ ิการตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทร พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 ว่า รัฐต้องดำเนินการใหเ้ ดก็ ทุกคนได้รับการศึกษา เป็นเวลา 12 ปี ต้งั แต่วัยเรียนจนจบการศกึ ษาภาคบงั คับอย่างมีคุณภาพและพระราชบัญญัติการจดั การศึกษาสำหรับ คนพกิ าร พ.ศ. 2551 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2556 ทร่ี ัฐต้องจดั การศึกษาสำหรับคนพิการให้มีสิทธิและ โอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานโดยศูนย์การศึกษาพิเศษจะต้องนำไปใช้เป็น แนวทางในการดำเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพภายในศูนย์การศึกษาพิเศษให้ถึงเป้าหมายที่ศูนย์ การศึกษาพิเศษกำหนดไว้ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ผลพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของแต่ละบุคคล คุณลักษณะ อนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน และพัฒนาการด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ด้านสงั คม และด้านสตปิ ญั ญา สามารถช่วยเหลือ ตนเองได้ อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารจัดการคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของ สถานศึกษา มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเอื้อต่อการเรียนรู้ สามารถ เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ การจัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อใช้ในการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาและมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ มกี ารบรหิ ารช้ันเรียน จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิด วเิ คราะห์ มีการตรวจสอบประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ข้อมูลสะท้อนกลับและมีการพัฒนาปรับปรุงการเรียนรูใ้ ห้มีคุณภาพตาม มาตรฐานโดยมที ฤษฎีและแนวคิดทไ่ี ด้จากนกั การศึกษาและนักวิจยั ให้เชอื่ มโยงไปสู่การปฏิบัติท่ีควรนำมาเสริมสร้าง ให้เกิดประสิทธิผลคือปัจจัยต่าง ๆของศูนย์การศึกษาพิเศษ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับประสิทธิผลในการจัด การศึกษาของศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษในเชิงของทฤษฎคี ือลักษณะนโยบาย การบรหิ ารและการปฏบิ ัติ ลกั ษณะบคุ คลของ ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ลกั ษณะการบรหิ ารจัดการศูนย์การศึกษาและลักษณะสภาพแวดลอ้ มของศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ท่ี จะเชอื่ มโยงไปสปู่ ระสทิ ธผิ ลขององค์การหรอื ศนู ย์การศึกษาพิเศษทเ่ี ป็นผรู้ ับผดิ ชอบภาระงานการศกึ ษาพเิ ศษโดยตรง ข้อเสนอแนะ อย่างไรก็ตามในการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการของศูนย์การศึกษาพิเศษ นอกจากมาตรฐานที่เกี่ยวข้องแล้ว ยังต้องคำนึงถึงประสิทธิผลที่จะเกิดขึ้นตามองค์ประกอบคือลักษณะนโยบายการ บริหารและการปฏิบัติ ลักษณะบุคคลของศูนย์การศึกษาพิเศษ ลักษณะการบริหารจัดการศูนย์การศึกษา ลักษณะ สภาพแวดล้อมของศูนย์การศึกษาพิเศษที่จะก่อให้เกิดประสิทธิผลขององค์กรแล้วยังขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านลักษณะการ บริหารจัดการศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ลักษณะสภาพแวดล้อมของศูนย์การศึกษาพิเศษ ลักษณะบุคคลของศูนย์การศึกษา พิเศษ ลักษณะนโยบายการบริหารและการปฏิบัติของศูนย์การศึกษาพิเศษให้สอดคล้องกับมาตรฐานการจดั การศึกษา สำหรบั คนพกิ ารของศูนย์การศึกษาพเิ ศษนอกจากมาตรฐานท่ีเกย่ี วขอ้ งและบรบิ ทของศนู ย์การศึกษาพิเศษแตล่ ะศูนย์ ให้ สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพความเป็นจรงิ จะสามารถขับเคล่อื นสเู่ ป้าหมายแห่งความสำเร็จตอ่ ไป 426
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เอกสารอ้างองิ กระทรวงศึกษาธิการ.(2561).หลักสตู รแกนกลางการศึกษาพเิ ศษขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2551 ปรบั ปรุงแก้ไข พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ:โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว ดนยา องิ จำปา. (2561). การพฒั นาหลกั สูตรฝึกอบรมการดูแลเดก็ ทมี่ คี วามบกพร่องทางสติปัญญา สำหรบั ผู้ดูแลเดก็ ศูนย์ การศึกษาพเิ ศษ. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสวนดสุ ิต 14 (3) 199 - 201. ถาวร แต้ประเสริฐสุข.(2557).การพัฒนาระบบบริหารจัดการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสุรินทร์ ที่ส่งผลต่อ คณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอนสำหรับคนพกิ าร. บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. นพดล กอ้ งเกียรต.ิ (2556). แนวทางการบริหารจัดการศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจำจงั หวัดระยอง ท่ีสง่ ผลต่อคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐานสำหรบั คนพิการด้านคุณภาพผูเ้ รียน. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา. ปราณี ไกรสิงห์.(2556). รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาสำหรับคนพิการที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้พิการด้านทักษะการ ดำรงชวี ิตของศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจำจังหวดั เพชรบรุ .ี วิ มหาวทิ ยาลัยยรู พา พระราชบัญญตั กิ ารจัดการศกึ ษาสำหรับคนพิการ(ฉบับท่ี 2)พ.ศ2556. 17พฤษภาคม)ราชกิจจานุเบกษาเล่ม 130ตอนที่ 42กหนา้ 1 ราชกิจจานุเบกษาเล่ม 134 ตอนที่ 42 ก. (2556). พระราชบัญญตั ิการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 และท่ี แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ 2556. สำนกั งานศาลรฐั ธรรมนญู . (2560). รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทร พทุ ธศกั ราช 2560 กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ธนา เพรส จาํ กดั . สำนักทดสอบทางการศกึ ษา (2561).แนวทางการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย ระดับการศกึ ษา ขนั้ พน้ื ฐานและระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐานศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน. กรงุ เทพมหานคร:โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด. สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, ม.ป.ป.การจัด การศกึ ษาสำหรบั คนพกิ าร.เอกสารอัดสำเนา. สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2554). คูม่ อื การ ปฏิบตั ิงานศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ. ราชบุรี : ธรรมรกั ษ์การพมิ พ์ จำกัด. สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. (2561). แผนการ จัดการศึกษาสำหรบั คนพกิ าร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 - 2564. สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ.:เอกสารอดั สำเนา. Bass, B. M. ( 1998). Transformation readership :Industrial, Military and Educational Impact . New Jersey : Lawrence Erlbaum Associates. Eckley; M.E.(1998).Therelalionship between teacher empowerment and Principal leadership styles .Dissertation Abstracts International,58(07)2767-A(UMINO.9202915). Steers R.M. (1977). Organization Effectiveness : A Behavioral View. Santa Monica, Cliff : Good year Publishing. http://sitersources.Worldbank.org/Education/Resources/2782001099079877269/547664-1099080063795/Effectivr Schooling-rura- Africa-report-ENOO.pdf. 427
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน School – based Administration ทินกร พูลพุฒ อาจารยป์ ระจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เจ้าพระยา [email protected] บทคัดยอ่ การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐานตามแนวคดิ และหลกั การทน่ี ักวิชาการและนกั บรหิ าร สามารถทีจ่ ะนำไปเป็น กรอบและแนวทางทส่ี ามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ ทงั้ ในเชิงหลกั การและเชิงการบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน ในการบริหาร การศึกษาให้เกดิ คณุ ภาพตามเปา้ หมายของสถานศึกษาไดด้ งั นี้ หลักการโรงเรียนเป็นฐาน 1.มีเป้าหมายที่หลากหลาย 2.สิ่งแวดล้อมทางการศึกษาซับซ้อนและเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา 3.การปฏิรูปการศึกษาเป็นสิงที่จำเป็นสำหรับโรงเรียน 4.เน้นประสิทธิผลและการเปลี่ยนแปลง 5.เน้นเชิง ปริมาณผล และคณุ ภาพเป็นหลกั แตเ่ น้นเชงิ คณุ ภาพทากขึน้ หลักการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน 1.บริหารตนเอง 2.แก้ปัญหาด้วยตนเอง 3.รับผิดชอบและตรวจสอบ ง่าย 4.การมีส่วนร่วม 5.พัฒนาทรัพยากรในองค์การ 6.สมาชิกในองค์การมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง การบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน สถานศึกษาเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีบทบาทในการบริหารสถานศึกษา สถานศึกษาจึงตอ้ งมคี วามพร้อมใหม้ ีการตรวจสอบจากบุคคล หรือองค์กรภายนอกได้ตลอดเวลา รวมไปถึงสถานศึกษา ต้องได้รบั ความรว่ มมือจากองคก์ รภายนอกที่มีสว่ นเกี่ยวข้อง หรือมีส่วนได้สว่ นเสีย เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา และ ผปู้ กครอง และสถานศกึ ษาเองจะต้องมีการบริหารจัดการตนเองท่ดี ี มกี ารแบ่งหน้าที่รบั ผิดชอบอย่างชัดเจนและปฏิบัติ หน้าท่อี ยา่ งเตม็ ความสามารถเพื่อให้เกดิ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลสงู สุดต่อสถานศกึ ษา คำสำคญั : การบรหิ าร,โรงเรยี นเปน็ ฐาน Abstracts School- based administration based on the concepts and principles that academics and administrators can be used as a framework and guidelines that can be applied both in principle and administratively by using the school as the base in educational administration to achieve quality according to the goals of the educational institutions as follows: school-based principles 1.have a variety of goals 2. The educational environment is complex and constantly changing. 3. Education reform is a prerequisite 428
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี for schools. 4. Emphasize effectiveness and change. 5. Taking into account the quantitative results and quality as the main but focusing on qualitative slugs Principles of school-based management 1. Self-management 2. Solve problems by yourself 3. Responsible and easy to check 4. Participation 5. Develop resources in the organization 6. Members of the organization participate widely. School-based administration Educational institutions are an opportunity for those involved to play a role in the administration of the educational institution. Therefore, educational institutions must be ready to have a personal inspection. or external organizations at any time Including educational institutions must receive cooperation from external organizations that are involved. or stakeholders such as the board of directors and parents, and the educational establishment itself must have good self- management. Responsibilities are clearly divided and perform duties to the best of their ability to achieve maximum efficiency and effectiveness for educational institutions. Keyword: Administration, School-based บทนำ แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 มาตรา 80 (3) กำหนดไว้ว่า การจัดการศึกษาของประเทศ นับเป็นรากฐานทีส่ ำคญั ยง่ิ ในการสรา้ งสรรค์ ความเจรญิ ก้าวหน้าและแกไ้ ขปญั หาสังคม เนื่องจากการศึกษาเปน็ เครอ่ื งมือ หรอื กระบวนการสำคัญ ในการพัฒนาบุคคลในทกุ ๆ ด้าน ต้งั แต่การวางรากฐานพัฒนาการของชีวิต การพฒั นาศกั ยภาพ และ ความสามารถที่จะดำรงชีพ และประกอบอาชีพได้อย่างเป็นสุข สามารถร่วมเป็นพลังสร้างสรรค์ในการ พัฒนา ประเทศได้ ดังนั้นการศึกษาที่มีประสิทธิภาพจะส่งผลต่อการพัฒนาบุคคลในสังคมเป็นเป้าหมายหลัก ซึ่งเชื่อว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซึ่งมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ จากข้อบัญญัติของ รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 ที่ให้ประชาชนมีสิทธิเสมอกันในการไดร้ บั การศึกษาไม่น้อยกว่า สิบสองปี ท่รี ฐั จะต้องจดั ให้อย่างทวั่ ถึงและมีคุณภาพ โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จ่าย ผยู้ ากไร้ ผูพ้ ิการหรอื ทพุ พลภาพ หรือผู้อยู่ใน สภาพยากลำบากต้องได้รบั สิทธิและการสนับสนุนจากรัฐเพ่อื ใหไ้ ดร้ ับการศกึ ษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอน่ื (วาสนา สีแดง ,2562) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดจุดมุ่งหมายการยกระดับคุณภาพ การศึกษาสู่ มาตรฐานสากล ดงั นีค้ ือ 1)การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 5 กลมุ่ สาระวิชาหลัก 2)นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทกุ คนอ่านออก เขยี นได้ คิดเลขเปน็ และนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ทกุ คนอ่านคลอ่ ง เขยี นคล่อง และคิดคำนวณท่ี ซับซ้อนข้ึน 3)นกั เรยี นทกุ คน มีความสำนึกในความเป็นชาตไิ ทยและวถิ ีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 4)สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและผ่านการรับรองจากการ ประเมนิ คณุ ภาพภายนอก จากจดุ มงุ่ หมายท่กี ล่าวมาจะเห็นไดว้ า่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาและครู จำเปน็ ตอ้ งมศี กั ยภาพอย่าง สงู โดยมุง่ เนน้ พัฒนาผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครใู ห้ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณ มศี กั ยภาพสงู ด้านการจดั การเรียนรู้ให้ประสบ 429
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลสำเร็จ เนน้ การจดั สรรงบประมาณใหส้ ถานศึกษา รวมทงั้ การสง่ เสริมให้มกี ารระดมทรพั ยากรจากองค์การต่าง ๆ เพ่ือ พฒั นาครแู ละผบู้ รหิ ารตามความ ต้องการจำเปน็ ในระหว่างวนั หยุดหรอื ปดิ ภาคเรยี น(ปาริฉตั ร ชอ่ ชิต,2559) ปัจจุบันการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานของไทยยังมคี ุณภาพไมถ่ ึงระดับมาตรฐานสากล ถงึ แมจ้ ะมแี นวโนม้ ว่าจะดีข้ึน อย่างต่อเนือ่ งในช่วงของการปฏริ ูปการศกึ ษาในทศวรรษทีส่ องโดยเฉพาะอย่างยิง่ คณุ ภาพผเู้ รยี นในระดบั นานาชาติ ซง่ึ ผล การประเมินคุณภาพผู้เรยี นในระดับชาติและระดบั นานาชาติ พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ในปกี ารศึกษา 2562 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที6่ มัธยมศกึ ษาปที ่3ี และมัธยมศึกษาปีท6่ี ในวิชาหลัก 4 วชิ า ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ไมม่ รี ะดับชนั้ ใด ที่ได้ คะแนนเฉล่ยี สงู กวา่ รอ้ ยละ 50 สำหรับการประเมิน PISA 2018เน้นการประเมนิ ดา้ นการอ่าน มนี ักเรียนเขา้ ร่วมการประเมินประมาณ 600, 000คน ซึ่ง ถือว่าเป็นตัวแทนของนักเรียนอายุ 15 ปี จำนวนประมาณ 32 ล้านคนทั่วโลก จาก 79 ประเทศ/เขตเศรษฐกิจ สำหรับ ประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ทำหน้าที่เป็นศูนย์แห่งชาติ (National Center) ได้ดำเนินการจัดสอบเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมา มีนักเรียนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 8, 633คน จาก 290 โรงเรียนในทุกสังกัดการศึกษาเข้าร่วมการประเมินในรอบนี้ โดยนักเรียนได้ทำแบบทดสอบและแบบสอบถามทาง คอมพวิ เตอร์ผ่านแฟลชไดรฟ์ขอ้ สอบ นอกจากนยี้ ังมกี ารเก็บขอ้ มูลจากผูบ้ ริหารโรงเรียนผ่านทางแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย ผลการประเมนิ PISA 2018 ในระดบั นานาชาติ พบว่า นกั เรียนจากจนี สี่มณฑล (ปกั กง่ิ เซี่ยงไฮ้ เจยี งซู และ เจ้อเจยี ง) และสงิ คโปร์ มีคะแนนทัง้ สามด้านสงู กวา่ ทุกประเทศ/เขตเศรษฐกิจ สำหรับประเทศทม่ี คี ะแนนสูงสุดห้าอันดับ แรกในด้านการอ่านซึ่งเป็นด้านที่เน้นในรอบการประเมินนี้ ได้แก่ จีนสี่มณฑล สิงคโปร์ มาเก๊า ฮ่องกง และเอสโตเนีย สำหรบั ผลการประเมินของประเทศไทย นกั เรยี นไทยมีคะแนนเฉลี่ยในด้านการอ่าน 393 คะแนน (ค่าเฉลี่ย OECD 487 คะแนน) คณิตศาสตร์ 419 คะแนน (ค่าเฉลี่ย OECD 489คะแนน) และวทิ ยาศาสตร์ 42 6คะแนน (ค่าเฉลย่ี OECD 489 คะแนน) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับ PISA 2015พบว่า ด้านการอ่านมีคะแนนลดลง 16 คะแนน ส่วนด้านคณิตศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์มีคะแนนเพมิ่ ขึ้น 3 คะแนน และ 4 คะแนน ตามลำดบั ซง่ึ ในการทดสอบทางสถติ ิถอื วา่ ด้านคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตรไ์ ม่มีการเปล่ยี นแปลงเมือ่ เทยี บกับรอบการประเมินที่ผ่านมาในระดับนานาชาติ อย่างไรก็ตาม เม่ือวิเคราะห์ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของคะแนนต้ังแต่การประเมินรอบแรกจนถึงปัจจุบัน พบว่า ผลการประเมินด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ของไทยไม่เปลี่ยนแปลง แต่ผลการประเมนิ ด้านการอ่านมแี นวโน้มลดลงอยา่ งต่อเน่ืองจากการประเมิน PISA ท่ผี า่ นมา มขี อ้ สังเกตท่ีสำคัญ 3 ประการ คือ ประการแรก ผลการประเมนิ ช้ีว่า ระบบการศึกษาไทยมีส่วนหนึ่งที่มี คุณภาพและสามารถพฒั นานักเรียนให้มคี วามสามารถในระดบั สงู ได้ หากระดบั นโยบายสามารถสร้างความเท่าเทียมกัน ทางการศกึ ษา โดยขยายระบบการศึกษาทมี่ คี ณุ ภาพไปให้ท่ัวถึง ประเทศไทยกจ็ ะสามารถยกระดับคุณภาพการเรยี นรู้ของ นักเรียนให้ทัดเทียมกับนานาชาติได้ ประการท่ีสอง นักเรียนไทยท้ังกลุ่มที่มีคะแนนสูงและกลุ่มที่มคี ะแนนต่ำมีจดุ อ่อน อยู่ที่ด้านการอ่าน ซึ่งใน PISA 2018เป็นการประเมินการอ่านเนื้อหาสาระที่มาจากทั้งแหล่งข้อมูลเดียวและหลาย แหล่งข้อมูล อีกทัง้ สื่อที่นักเรยี นได้อ่านส่วนใหญอ่ ย่ใู นรูปแบบดิจิทลั ซ่งึ สะท้อนถงึ ธรรมชาติของการอ่านท่ีเปล่ียนแปลง ไปตามสถานการณ์ของโลกและสอดคลอ้ งกับการใช้ข้อมูลในชวี ิตจรงิ ของผู้คนทั่วโลก ดังนัน้ ระบบการศึกษาไทยจึงควร ส่งเสรมิ การเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยดี ิจิทลั เข้าไปในการเรียนการสอนเพือ่ สร้างความคุ้นเคยและยกระดับความสามารถด้าน การอ่านของนักเรียนในยุคดิจิทัลต่อไป และประการที่สาม แนวโน้มคะแนนการอ่านของไทยลดลงอย่างต่อเน่ือง และ ความฉลาดรดู้ ้านการอา่ นมีความสัมพันธ์กับความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ระบบการศึกษาไทยจึงต้อง 430
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยกระดับความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนอย่างเร่งด่วน (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2562) ส่วนในดา้ นการบริหารจัดการแม้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสองปี พ.ศ.2549 - 2552โรงเรียนในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ทงั้ ระดับปฐมวยั ระดบั ประถมศกึ ษา และระดับมธั ยมศกึ ษาจะได้รับการ ประเมิน ถึงร้อยละ 80 แต่การกระจายอำนาจการบริหารจัดการสู่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการยังทำได้น้อย สถานศึกษาที่มีศักยภาพ และความพร้อมสูงในการจัด การศกึ ษา มีเพียงร้อยละ 17 ประสิทธิภาพการจดั การศึกษาของไทย เมือ่ จดั ลำดับแล้วถอื ว่าต่ำ (สำนักงานเลขาธกิ ารสภา การศกึ ษา,2554 อา้ งถงึ ใน สุกญั ญา วริ ยิ ะอาร,ี 2560) จากผลการดำเนนิ งานจัดการศึกษาที่ผ่านมาแมว้ ่าจะใช้เทคโนโลยี ดจิ ิทลั หรือนวัตกรรมตา่ ง ๆ รวมไปถงึ รปู แบบของการบริหารจัดการศึกษาในสถานศกึ ษา ยังจำเปน็ ที่จะต้องใช้โรงเรียน เป็นฐานแห่งการเรียนรู้ในระบบของการจัดการศึกษา แม้ว่านักการศึกษาจะคิดหารูปแบบและวิธีการการจัดการศกึ ษา ให้แก่เดก็ และเยาวชนอยา่ งไรก็ตาม สถานศกึ ษาก็ยังคงเปน็ จดุ ศนู ย์รวมแหง่ การเรยี นรู้ อยูเ่ สมอ แนวคิดเก่ียวกบั การบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน จากการศึกษาประวตั แิ ละพฒั นาการในการจดั การศึกษาของประเทศสหรัฐอเมรกิ า พบวา่ การจดั การศกึ ษา ของประเทศสหรัฐอเมรกิ าน้นั มแี บบของการบรหิ ารจัดการทแี่ ตกต่าง หลากหลายกนั ไป ในส่วนตา่ ง ๆ ของประเทศไม่มี แบบหนึ่งแบบใดเปน็ แบบมาตรฐานกลาง ถึงแม้จะ พบว่า มีหลายส่วนที่คลา้ ยคลงึ กันแต่ต่างก็เปน็ อิสระต่อกนั มีความ แตกตา่ งกันไปในแต่ละมลรัฐ ซึง่ ในแต่ละท่อี าจจะมกี ารบริหารแบบรวมอำนาจ และแบบที่กระจายอำนาจในการบริหาร และจัดการศึกษาที่แตกต่างกันไป และเป็นสิ่งที่จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยได้อยู่ตลอดเวลา (Cheng, 1996 ) เปน็ ระบบแบบของการบริหารท่เี ปลย่ี นได้ตลอดเวลา มลี ักษณะท่เี ป็นพลวัต (Dynamic) ในตนเองในแต่ละพื้นที่ ในยุคใด สมัยใดที่แหล่งใดนิยม การรวมอำนาจ โครงสร้างการบริหารด้านการศึกษาจะใหญ่โต รัฐ เขตการศึกษา คณะกรรมการ การศึกษาด้านการศึกษาของรัฐจะมีอำนาจและใช้อำนาจมากในการควบคุม การกำหนดนโยบาย การศึกษาการบรหิ าร งบประมาณ และการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของโรงเรียนและเมื่อใดกระแสการกระจายอำนาจจัดการศึกษาเข้ามาแทนที่ อำนาจการควบคุมดูแลก็จะถูกมอบไปยังหน่วยบริหารที่เล็กลง เช่น ลงสู่คณะกรรมการการศึกษาเขตการศึกษา หรือ กระจายให้โดยตรงไปยังแต่ละโรงเรียนโดยภาพรวมแล้วการบริหารในทุกทจ่ี ะสะท้อนถงึ ความเปน็ อิสรเสรีเป็นหลักกลาง อย่เู สมอ การบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐานไดร้ ับอิทธพิ ลมาจาก กระแสการเปลย่ี นแปลงของโลกธุรกจิ อตุ สาหกรรม ที่ประสบผลสำเร็จจากหลักการและกลยุทธ์ในการดำเนินการให้องค์การมีประสิทธิภาพในการทำงาน ให้มีคุณภาพสูง สามารถทำกำไรและสรา้ งความพงึ พอใจแก่ลูกคา้ และผเู้ กย่ี วข้องไดเ้ ป็นอยา่ งดี ในช่วงปี ค.ศ. 1960 – 1979 ประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีการแสวงหานวัตกรรมและวธิ ีการต่าง ๆ มาใช้ใน การดำเนินงานและพัฒนาการการจัดทางการศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ได้มีการปรับปรุง หลักสูตรและวิธีจดั การเรยี นการสอนแบบใหม่ ๆ แตผ่ ลการจัดการศกึ ษากย็ ังไม่เป็นทนี่ ่าพอใจจนถึงช่วงทศวรรษ 1980 ความสำเร็จ แต่ในการพัฒนาองค์การทางอุตสาหกรรมและการพาณิชย์กลยุทธ์ในการดำเนินการกลับทำให้องค์การมี ประสิทธิภาพในการทำงานทำให้ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพสูง สร้างกำไรและสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้าและ ผู้เกี่ยวข้องเกิดขนึ้ อย่างชดั เจน เกดิ ความสำเรจ็ อย่างชัดเจน ทำใหป้ ระชาชนสว่ นใหญม่ องเห็นวา่ หากจะพัฒนาคุณภาพ 431
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี การศึกษาให้ได้ผลดียิ่งขึ้น จะต้องปรับกระบวนการ และวิธีการทางการศึกษาจะต้องพัฒนาในระดับองค์การ และการ บริหารของโรงเรียนทั้งระบบโรงเรียน โดยมุ่งปรับโครงสร้างการบริหารโรงเรยี นเสียใหม่ กระจายอำนาจบริหารและจัด การศึกษาไปยงั โรงเรียนใหม้ ากข้ึนโดยไม่แยกสว่ นในการพัฒนา จึงได้มีการนำวิธกี ารบริหารงบประมาณดว้ ยตนเอง (Self- budgeting school) การพัฒนาหลักสูตรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School based curriculum development) การ พัฒนาบุคลากรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School based staff development) และการให้คำปรึกษานักเรียนโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน (School based student counseling) เขา้ มาใช้ (กมลกานต์ บญุ นอ้ ม,2559) เชง (Cheng,1996:18) ได้จัดทำข้อ สรุป เปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่าง ของแนวคิด เรื่องการบริหาร โรงเรียนตามแนวแบบดั้งเดิม ที่นิยมใช้การบริหารแบบการควบคุมจากภายนอก กับรูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียน เปน็ ฐาน ซงึ่ เปน็ แนวทางแบบใหมไ่ วด้ งั น้ี ตารางที่ 2.4 เปรียบเทียบแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกับการบริหาร โดยการควบคุมจาก ภายนอก (อทุ ัย บญุ ประเสรฐิ ,2545: 18) การบรหิ ารโรงเรยี นตามแนวแบบดั้งเดิม การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน 1.มีเปา้ หมายท่ีจำกัด 1.มีเป้าหมายทีห่ ลากหลาย 2.ส่งิ แวดล้อมทางการศึกษาไม่ซับซอ้ นและไม่ค่อยมีการ 2.สง่ิ แวดลอ้ มทางการศกึ ษาซับซอ้ นและ เปลยี่ นแปลง เปลีย่ นแปลงตลอดเวลา 3.ไม่มีความจำเปน็ สำหรับการปฏิรูปการศึกษา 3.การปฏิรูปการศึกษาเปน็ สิงท่ีจำเป็นสำหรับโรงเรียน 4.เน้นมาตรฐานเดยี วกับและการไมเ่ ปลี่ยนแปลง 4.เนน้ ประสิทธผิ ลและการเปล่ยี นแปลง 5.คํานึงถงึ ปริมาณ 5.ใหค้ วามสำคัญท้งั เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เป็นหลกั แต่เน้นเชงิ คณุ ภาพทากขึ้น การบรหิ ารโรงเรียนตามแนวแบบดงั้ เดมิ การบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน 1.ใช้มาตรฐานเดียว วิธีการเดียวและกระบวนการเดียว 1.มีหลายวธิ ีท่ีจะทําใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย เพ่อื บรรลุเป้าหมาย 2. เน้นความยดื หยุน่ ทปี่ ระสทิ ธผิ ล 2.เน้นผลงานทอ่ี ้างอิงเกณฑ์มาตรฐาน การรวมอำนาจ การกระจายอำนาจ 1.ไม่วา่ จะเป็นเรอื่ งเล็กหรือใหญจ่ ะมีการควบคุมเพ่ือ 1.ปญั หาจะถูกแกให้ถูกกาลเทศะ ไมใ่ ห้เกิดปญั หา 2.มุ่งที่ประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการ 2.เน้นการควบคมุ เปน็ กระบวนการ แก้ปัญหา หลักการของระบบปฏบิ ตั ิ หลกั การของระบบปฏบิ ัติ 1.ถกู ควบคมุ จากภายนอก 1.บรหิ ารตนเอง 2.รบั คําสงั่ ใหป้ ฏบิ ตั ิ 2.แก้ปัญหาด้วยตนเอง 432
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี การบริหารโรงเรียนตามแนวแบบดั้งเดมิ การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน 3.ตรวจสอบยาก 3.รับผดิ ชอบและตรวจสอบงา่ ย 4.การควบคุมตามโครงสร้าง 4.การมสี ว่ นร่วม 5.การควบคมุ ตามระบบราชการ 5.พัฒนาทรัพยากรในองคก์ าร 6.มกี ารนเิ ทศ ตดิ ตามจากภายนอก 6.สมาชิกในองค์การมสี ว่ นร่วมอยา่ งกวา้ งขวาง จากตาราง แสดงให้เห็นว่า แนวคิดการบริหารโรงเรียนตามแนวแบบดั้งเดิม การบริหารแบบควบคุมจาก ภายนอกจะมจี ดุ ประสงค์ของการศึกษาที่คอ่ นข้างจำกัด และมกั จะคำนึงถงึ แต่ผลในดา้ นปริมาณเปน็ หลัก แตก่ ารบริหาร ในแบบที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน จะมีเป้าหมาย การศึกษาได้หลากหลาย เนื่องจากมีผู้มีส่วนร่วมในการบริหารโรงเรยี นได้ จำนวนมาก และหลากหลาย สิ่งแวดล้อมทางการศกึ ษามีความซับซ้อนและอาจเปล่ียนแปลงได้อยู่ตลอดเวลา จะมีการ ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลี่ยนไปได้อยู่เสมอ จึงมีความจำเป็นต้องมีการปฏิรูปการศึกษาเพือ่ การ เปลี่ยนแปลงให้ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้ดีเป็นระยะ ๆ จะต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้บรรลุ เปา้ หมายทห่ี ลากหลาย และเนน้ เรอ่ื ง คณุ ภาพการศกึ ษาเปน็ สำคัญ (กมลกานต์ บญุ น้อม,2559) รังสรรค์ มณีเล็ก(2548: 36) ให้ความหมายการบริหารการศึกษารูปแบบการใช้โรงเรียนเป็นฐาน เน้น หลักการกระจายอำนาจเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมการบริหารการตัดสินใจ และร่วมจัดการศึกษา สถานศึกษามอี ิสระในการตัดสินใจภายใตก้ ารบรหิ ารในรูปของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาโรงเรยี นมีการกำหนดหน้าท่ีมี ความรับผิดชอบและภารกิจของผู้บริหารครูบุคลากรทาง การศึกษาและชุมชนอย่างชัดเจนเพื่อตรวจสอบและเป็น หลกั ประกันคณุ ภาพการศึกษาผบู้ รหิ ารต้องเน้นการสนบั สนนุ และอำนวยความสะดวกและมกี ารปรับท้ังในเรื่องโครงสร้าง และวฒั นธรรมของ องค์การการเปล่ยี นแปลงตอ้ งใหร้ ะบบทัง้ หมดเห็นดว้ ยและสนับสนุน จุฑารตั น์ ชัชวาลย์ (2550: 21) ให้ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานไวว้ ่า การบริหารโดย ใช้โรงเรียนเป็นฐาน เป็นการกระจายอำนาจการจัดการศึกษาจากส่วนกลางไปยัง สถานศึกษาโดยตรง ให้สถานศึกษามี อำนาจหน้าท่ีรับผิดชอบ มอี ิสระและคล่องตัวในการตัดสนิ ใจ การบริหารจัดการท้งั ดา้ นวิชาการด้านงบประมาณ การเงิน ด้านบุคลากร ด้านการบริหารทั่วไปและ ด้านชุมชนสัมพันธ์โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาประกอบด้วย ผู้บริหาร สถานศกึ ษาตัวแทน ผูป้ กครองและชมุ ชน ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ร่วมกันบริหารสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครองและชมุ ชนมากที่สดุ กรกมล เพ่มิ ผล (2554: 19) ไดส้ รปุ ไวว้ ่าการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน หมายถึง การบริหารโรงเรียนท่ี มคี วามสอดคล้องกับ ความต้องการของโรงเรียนโดยมีการเปิดโอกาสให้ผู้ท่มี ีส่วนเก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ คณะกรรมการบริหาร โรงเรยี น ผู้บริหารโรงเรยี น ครอู าจารย์ พอ่ แมผ่ ปู้ กครอง นักเรียน ตลอดจนสมาชิกชมุ ชน และองค์กร อน่ื ๆ เข้ามามีส่วน ร่วมในการพัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรียน ใหเ้ ปน็ ไปตามความตอ้ งการของ นกั เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ส่งผลให้ โรงเรยี นมีประสทิ ธิผลสูงขน้ึ ไมเออส์และสโตนฮิลล์ (Myers and Stonehill,1993) อ้างถึงใน อรพรรณ พรสีมา (2546) และออสวาลด์ (Oswald ,1995) อ้างถึงใน อรพรรณ พรสีมา (2546) ให้ความหมายของการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-based management = SBM) คล้าย ๆ กันว่าเป็นกลยุทธ์ในการปรับปรุงคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยการถ่ายโอน 433
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (Transfer) อำนาจการตดั สินใจในการบรหิ ารและจัดการศกึ ษาท้ังในสว่ นท่เี กยี่ วกบั งบประมาณ บคุ คล และหลักสตู รไปยงั โรงเรียน คัตตอน (Cotton, 2001) อา้ งถงึ ใน อรพรรณ พรสีมา (2546) สงั เคราะห์งานวจิ ัยเกี่ยวกับการบริหารจดั การ โดยใช้โรงเรียน เป็นฐานระหว่างทศวรรษ 1980 ถึง ค.ศ.1995 แล้วสรุปว่า SBM มีลักษณะ ดังนี้ 1. เป็นรูปแบบการ บริหารโรงเรียนรูปแบบหนึ่ง 2. เป็นรูปแบบที่มีกระบวนการ/วิธีการตัดสินใจเกี่ยวกับ การดำเนินงานของ โรงเรียนท่ี แตกต่างไปจากเดิม 3. เป็นรูปแบบการบริหารที่มีการกระจายอำนาจจากรัฐบาล เขตการศึกษา และผู้อำนวยการเขต พน้ื ทกี่ ารศึกษาไปยงั สถานศึกษา 4. เป็นรปู แบบท่ี มอบอำนาจหรือกระจายอำนาจการตดั สนิ ใจเก่ยี วกับการบรหิ าร และ จัดการศึกษาไปใหโ้ รงเรียน 5. เปน็ รปู แบบท่ีเชอื่ ว่าโรงเรียนเป็นจุดศูนย์กลางของการเปลี่ยนแปลง จงึ ควรเป็นผ้ไู ดร้ ับมอบ อำนาจ หรือรบั การกระจายอำนาจให้เป็นผตู้ ัดสินใจเกี่ยวกับ การบริหารและจดั การศึกษา ซึ่งจะชว่ ยให้ผู้เรียนได้พัฒนา อยา่ งมีคณุ ภาพ เดวิด (David,1989: 16) อ้างถึงใน กมลกานต์ บุญน้อม (2559: 19) ให้ข้อสรุปว่าการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานเป็นเครื่องมือ สำคัญในการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งจะมีลักษณะที่สำคัญ 2 ประการด้วยกนั คือ โรงเรียน เป็นหน่วย สำคัญสำหรับการตัดสินใจ การตัดสินใจสั่งการที่ดีควรอยู่ที่หน่วยปฏิบัติ ดังนั้นจึงควรเพิ่มอำนาจ ในการ บริหารงบประมาณใหก้ บั โรงเรยี นมากขึน้ แล้วลดการควบคุมจากส่วนกลางลง คาร์ดเวล(Caldwell,1988) อ้างถึงใน ถวิล มาตรเลี่ยม(2545)ได้ให้ความหมายการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเปน็ ฐานการบริหารจัดการเอาไว้วา่ “เปน็ การกระจายอำนาจไปยังโรงเรียนใหต้ ัดสินใจเกี่ยวกบการใชท้ รพั ยากร (ได้แกค่ วามรู้ เทคโนโลยี อำนาจหน้าท่ี วัสดคุ รภุ ณั ฑก์ รเวลา บคุ ลากร และงบประมาณ) เปน็ การกระจายอำนาจทางการ บริหารจัดการ เป็นอำนาจทางการเมือง และให้เกิดการตัดสินใจในระดับโรงเรียนภายใต้กรอบนโยบายของทอ้ งถิน่ และ ของรัฐ ในขณะเดียวกนั โรงเรยี นยังมคี วามรับผดิ ชอบท่ีจะตรวจสอบได้ในการใช้ทรพั ยากรท่ีจดั สรรให้” เชง (Cheng,1996: 30) กล่าววาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานทำให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ซ่ึง ประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียน ตัวแทนคณะครูผู้ปกครอง ชุมชน ฯลฯ ซึ่งมารวมตัวเป็นคณะกรรมการ โรงเรียนได้มี โอกาสร่วมจัดการศึกษาให้เปน็ ไปตามความต้องการของนกั เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ส่งผลให้โรงเรียนมีประสิทธิผล สูงขน้ึ สรุป การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐานตามแนวคดิ และหลักการทน่ี ักวิชาการและนักบรหิ าร สามารถท่ีจะนำไปเป็น กรอบและแนวทางท่สี ามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ ทง้ั ในเชงิ หลกั การและเชิงการบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน ในการบรหิ าร การศกึ ษาใหเ้ กดิ คณุ ภาพตามเป้าหมายของสถานศึกษาไดด้ งั น้ี หลักการโรงเรียนเป็นฐาน 1.มีเป้าหมายท่ีหลากหลาย 2.สิ่งแวดล้อมทางการศึกษาซับซ้อนและเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา 3.การปฏิรูปการศึกษาเป็นสิงที่จำเป็นสำหรับโรงเรียน 4.เน้นประสิทธิผลและการเปลี่ยนแปลง 5.ให้ ความสำคัญผลเชิงปรมิ าณ และคุณภาพเป็นหลกั แตเ่ นน้ เชิงคณุ ภาพทากขนึ้ หลักการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน 1.บริหารตนเอง 2.แก้ปัญหาด้วยตนเอง 3.รับผิดชอบและตรวจสอบ ง่าย 4.การมีส่วนร่วม 5.พัฒนาทรัพยากรในองค์การ 6.สมาชิกในองค์การมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางการบริหารโดยใช้ 434
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี โรงเรียนเป็นฐาน สถานศึกษาเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีบทบาทในการบริหารสถานศึกษา สถานศึกษาจึงตอ้ งมีความพร้อมใหม้ ีการตรวจสอบจากบุคคล หรือองค์กรภายนอกได้ตลอดเวลา รวมไปถึงสถานศึกษา ตอ้ งไดร้ บั ความร่วมมือจากองค์กรภายนอกท่ีมีสว่ นเกยี่ วข้อง หรอื มีสว่ นได้สว่ นเสีย เชน่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา และ ผู้ปกครอง และสถานศึกษาเองจะต้องมีการบริหารจัดการตนเองทด่ี ี มีการแบง่ หน้าทรี่ บั ผิดชอบอย่างชัดเจนและปฏิบัติ หนา้ ท่ีอยา่ งเตม็ ความสามารถเพือ่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลสูงสุดต่อสถานศกึ ษา อยา่ งไรก็ตาม ในการนำแนวคดิ และองค์ประกอบของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานไปดำเนนิ การ ผู้บริหาร ตอ้ งพิจารณาให้สอดคลอ้ งกบั บริบทในแต่ละสถานศึกษา ซงึ่ องคป์ ระกอบสำคัญทน่ี กั บริหารและนักวิจัยเห็นว่าสามารถ นำไปเป็นกรอบแนวคดิ ในการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน ไดด้ งั นี้ ด้านการกระจายอำนาจการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานนั้นเป็นการเชื่อมโยงการปฏิรูปการศึกษากับการ กระจายอำนาจทางการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการบริหารโรงเรียนให้ประสบความสำเร็จ ให้โรงเรียนมีการปฏิรูป โครงสร้างของระบบและรูปแบบการบริหารของโรงเรียน ทำให้เกิดแนวคิดทางการบริหารโรงเรียนหลายแนวทาง การ บริหารโรงเรียนดังกล่าวเน้นการ กระจายอำนาจและเป็นการบริหารโรงเรียนที่สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐาน การศึกษาของชาติ มีงานวิจัยของจุฑารัตน์ ชัชวาล(2550: 21) พบว่าการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานนั้น เป็นการ กระจายอำนาจการจดั การศกึ ษาจากส่วนกลางไปยงั สถานศึกษาโดยตรง ใหส้ ถานศกึ ษามีอำนาจหน้าท่คี วามรับผิดชอบมี อสิ ระและมีความคลอ่ งตัวในการตัดสนิ ใจ การบริหารจัดการในดา้ นวชิ าการ การเงนิ บคุ ลากร และการบริหารท่ัวไปโดยมี คณะกรรมการมีสว่ นรว่ ม ในการบรหิ ารจัดการโดยยึดหลักความมีอิสระและคล่องตัว มีการกระจายอำนาจโดยการ แบ่ง การบรหิ ารจัดการออกเป็นหนว่ ยงาน ยอ่ ย ๆ มกี ารบรหิ ารในรูปคณะกรรมการและเปดิ โอกาสให้ ชุมชนมีสว่ นรว่ มในการ จดั การถานศึกษา ด้านการมีส่วนร่วม ในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สิ่งสำคัญของการบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานคอื หลักการมีส่วนร่วมเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและร่วมจัด การศึกษา ประกอบดว้ ยครู ผ้ปู กครองตัวแทนชุมชน ตวั แทนศษิ ยเ์ ก่าการท่ีบคุ คลมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพ่ือจะ ทำใหเ้ กิดความภาคภูมใิ จและรู้สึกเปน็ เจ้าของและรับผิดชอบในการจัดการศกึ ษามากขึน้ มีงานวจิ ัยของ อดิศักด์ิ จันทะ นาม (2549: 67) ได้ศึกษาสภาพปัจจุบันการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา อบุ ลราชธานี เขต 2 พบว่าสภาพปัจจบุ ันการบริหารจัดการโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐานด้านหลกั การของการมีสว่ นรว่ ม มีการ ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตั้งแต่การให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจำปี ปรับปรุง สภาพแวดล้อมการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา และ ครู มีการพัฒนาการเรียนการสอนสอดคล้องกับความตอ้ งการของ ท้องถน่ิ ด้านหลกั การบรหิ ารจัดการตนเอง ในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน เป็นหลกั ในการดำเนนิ งานภายใต้ นโยบายหลักและโครงสรา้ งของ องคก์ ร ที่จะกำหนดจดุ ประสงคใ์ นการพัฒนาการศกึ ษาและยุทธศาสตร์การพัฒนา สร้าง กำลังคนและทรพั ยากร การแก้ปัญหาและทำให้จดุ มุง่ หมายบรรลุผลสำเร็จดว้ ยความสามารถของโรงเรียน มีงานวิจัยของ จุฑารตั น์ ชชั วาลย์(2550) พบว่า พฤตกิ รรมการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช 2 ด้านการ บริหารตนเอง ในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ใน 435
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ระดับสูง แสดงให้เห็นว่าหลักการบริหารจัดการตนเอง ของโรงเรียนมีความสำคัญและจำเป็นที่ผู้บริหารจะต้องให้ ความสำคัญ ด้านการตรวจสอบและถ่วงดุล ของการบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐานเปน็ ปัจจัยท่ีสำคญั อีกประการหน่ึงท่ี ผู้บริหารจะต้องให้ความสำคัญตามโดยรังสรรค์ มณีเล็ก(2548) ได้กล่าวถึงหลักการตรวจสอบและถว่ งดุลว่า โรงเรียนมี ระบบ การตรวจสอบคุณภาพ ทั้งการประเมินภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศกึ ษาระดับ การศึกษาข้นั พืน้ ฐานเปน็ การประกนั คณุ ภาพการศึกษาเพ่อื ให้เกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ ผลการศกึ ษา ขอ้ เสนอแนะ ถึงแม้วา่ ปัจจุบนั ความการหน้าในเชงิ วิชาการจะววิ ัฒนาการไปอยา่ งรวดเรว็ กต็ าม แตใ่ นความเป็นจรงิ การจัด การศึกษาข้ันพื้นฐานให้แกป่ ระชากรวัยเรียน ก็ยังจำเป็นที่จะต้องได้รับการศึกษาจากสถานศึกษาเป็นหลกั ท่ีนักบริหาร การศึกษาจะนำไปประยุกตใ์ ช้ให้เหมาะสมกับบริบทควบคู่ไปกับการบริหารการศกึ ษาแนวใหม่ให้บรรลุเจตนารมณ์ของ การศกึ ษาของประเทศชาติ ต่อไป เอกสารอา้ งองิ กมลกานต์ บุญนอ้ ม. (2559). ปญั หาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ในกลมุ่ โรงเรยี นศรรี าชา 1 สงั กัดสำนักงานเขต พื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 3 . ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ , การบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. กรกมล เพิ่มผล. (2554). การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานทีส่ ่งผลต่อประสิทธภิ าพการบริหาร งานวิชาการของครูใน โรงเรียนเทศบาล สังกดั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ จังหวัดปทมุ ธานี. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ ,สาขาเทคโนโลยี การบริหารการศกึ ษา คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. จุฑารัตน์ ชัชวาลย์. (2550). พฤติกรรมการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กสังกัด สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษานครศรธี รรมราช2. มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช. ถวิล มาตรเลี่ยม. (2545). การปฏิรูปการศึกษา:โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการ School-Base Management: SBM. กรงุ เทพมหานคร: เสมาธรรม. นพิ นธ์ เสอื กอ้ น. (2552). การบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. บุญชม ศรสี ะอาด. (2543). การวจิ ัยเบ้อื งตน้ . พมิ พ์คร้ังท่ี 6. กรงุ เทพมหานคร: สวุ ีริยาสาส์น. บุญมี เณรยอด. (2546). การบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน:วิถแี ละวิธไี ทยรายงานผลการดำเนินงานโครงการนำ รอ่ งระดบั ชาติ. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค. ปาริฉัตร ช่อชิต. (2559). สมรรถนะผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 8. บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. รงั สรรค์ มณีเล็ก. (2548). การวางแผนกลยุทธ์ในสถานศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: ก.พล. วาสนา สีแดง. (2562). การบรหิ ารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนหว้ ยกระเจาพิทยาคม สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา มธั ยมศกึ ษาเขต 8 . ศกึ ษาศาสตรม์ หาบณั ฑติ , การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. 436
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). แถลงข่าวการประเมินPISA 2018. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2562 ,จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/news-12/. สกุ ัญญา วิรยิ ะอารี. (2560). การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานท่ีสง่ ผลต่อประสิทธิผลของโรงเรยี น สังกัดสำนักงานเขต พืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2. วารสารสงั คมศาสตรว์ จิ ยั . 8(2), 142. อรพรรณ พรสมี า. (2546). รปู แบบการบรหิ ารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน : ตวั อยา่ งประสบการณท์ ี่คัดสรร โรงเรียน ในโครงการ โรงเรียนปฏริ ูปการเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาคุณภาพผู้เรียน. กรุงเทพฯ: วี ที ซี คอมมิวนเิ คชัน่ . อนิ ทริ า หิรัญสาย. (2545). ภมู ิปญั ญาเพือ่ การปฏิรปู การศกึ ษา. วารสารวิชาการ. 5(1), 19. อุทัย บุญประเสริฐ. (2545). การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ( School Based Management). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . เอกชยั คา้ ผล. (2558). การบริหารระบบคุณภาพทีส่ ่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรยี น สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร. Cheng, Yin Cheong. (1996). School Effectiveness and School-based Management : A Mechanism for Development. Washington, D.C.: The FalmerPress. Rideout, Srederick David. (1997). School-Based Management for Small School in Newfoundland and Labrador. Dissertation Abstract International. 57(8), 124. Taylor, M. S. (1998). The Status of Site-Based Management Shared Decision-making in an Urban School System in Georgia. Dissertation, Ed.D. (Education Administration), South Carolina: Carolina State University. 437
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี Growth mindset หลกั คดิ สำหรบั ครสู ู่การพฒั นาผูเ้ รยี น Growth mindset: Principles for Teachers to Develop Learners ดร.นลินี สุตเศวต ดร.กมลวรรณ โลห์สวิ านนท์ บัณฑิตวทิ ยาลยั ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม e-mail:[email protected] บทคัดยอ่ สถานศึกษาเป็นองค์กรที่มีบทบาทและหน้าที่ในการจัดการศึกษาทุกระดับ จึงต้องปรับเปลี่ยน วิธีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคใหม่ ที่มีครูผู้สอนเป็นกลไกสำคัญต้องมีการปรับเปลี่ยนเช่นกั น รูปแบบการเรียนรู้ยุคใหม่เป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนให้มีทักษะความคิดเชิงสร้างสรรค์ รู้จักการคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน ซึ่งต้องอาศัยแนวคิดแบบเติบโต ( Growth mindset) โดยเฉพาะ ครูผู้สอน ที่ต้องสร้างและส่งเสริมให้ผู้เรียนมีแนวคิดแบบเติบโตด้วย ค รูผู้สอนจึงต้องมีความเข้าใจใน การออกแบบการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้การเรียนรู้ท่ีจัดข้ึนท้ังในช้ันเรียนและนอกชั้น เรียนสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน ส่งผลให้การเรียนรู้นั้นๆบรรลุผลตามท่ีต้ังไว้ Growth mindset หลักคิดสำหรับครูสู่การพัฒนาผู้เรียน ต้องการสะท้อนแนวคิดในการพัฒนา แนวคิดแบบเติบโต(Growth mindset) ของครู ที่ไม่ใช่การสอนเพื่อให้นักเรียนสำเร็จการศึกษาตาม หลักสูตรเท่านั้น แต่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนากรอบแนวคิดแบบเติบโต( Growth mindset)ของ ตนเองด้วย จึงนำเสนอคุณสมบัติ 5 ประการของครูตามกรอบแนวคิดแบบเติบโต(Growth mindset) ได้แก่ 1.การแสดงความรับผิดชอบด้านการพัฒนาตนเอง 2.มองความลม้ เหลวและผลกระทบเป็นโอกาสในการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะด้านต่างๆ 3.การแสวงหาโอกาสในการเรียนรู้และความท้าทายใหม่ๆ 4.การสร้างความ คาดหวังเชิงบวกในระดับสูงจากนักเรยี น และ 5.การใช้ภาษาของกรอบแนวคดิ แบบเติบโตในการเรียนการสอน และ เทคนิคการสอนโดยใชแ้ นวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) สำหรบั ครสู กู่ ารพัฒนาผเู้ รียน ได้แก่ 1.การให้ความสำคัญ กับผลลัพธ์การเรียนรู้ 2.สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ที่แตกต่าง 3.กระตุ้นเพื่อสร้างความท้าทายของผู้เรียน 4.ส่งเสริม ความกลา้ หาญและยอมรับความไม่สมบูรณ์ 5.การใช้คำว่ายงั เปน็ การจงู ใจในการพฒั นาผู้เรยี น 6.สร้างเป้าหมายที่ชัดเจน 7.แทนที่ความเหลวด้วยการเรียนรู้ 8.แสวงหาข้อเสนอแนะเชิงสร้างสรรค์ และ 9. การให้คุณค่ากับกระบวนการเรียนรู้ มากกว่าผลลัพธ์ ซึ่งคุณสมบัติ 5 ประการและเทคนิคการสอนทั้ง 9 ข้อนี้ของครูผูส้ อน จะนำไปสู่การพฒั นาผู้เรยี นตาม แนวคดิ แบบเติบโต (Growth mindset) ท่ยี ั่งยืนตอ่ ไป คำสำคัญ : แนวคิดแบบเติบโต.ครู.การพัฒนาผู้เรียน 438
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ABSTRACT School is a significant organization regarding roles and missions of education management at all levels. It is necessary to adjust learning and teaching strategy for appropriate with learners and circumstances that are changing rapidly. Teachers that might be essential operators have to modify in a new age learning strategy. New learning style is a student-centered regarding invention, analysis, and solving complex problems which based on growth mindset particularly teachers. Teachers should invent and establish growth mindset for students. Teachers are necessary to comprehend and to design learning strategy and learning management process for responding students’ needs both inside and outside the classroom as an achievement result. Growth mindset: Principles for teachers to develop learners might reflect growth mindset of teachers not only teaching students for their accomplishment in the program, but also encourage students to develop their growth mindset. These are 5 characteristics for teachers regarding growth mindset approach: 1. Providing authority for development through training. 2. Looking at failures as an opportunity for learning and developing several skills. 3. Searching current learning and new challenges. 4. Improving high optimism. 5. Applying language of development for learning and teaching approach. Moreover, teaching strategy regarding growth mindset for teachers are as following: 1. To concern with learning results. 2. To compose different learning circumstances. 3. To motivate a challenge. 4. To stimulate some courage and accept any imperfections. 5. To apply the word ‘Yet’ for incentive students development. 6. To establish a purpose. 7. To replace the word ‘Failure’ with the word ‘Study’. 8. To explore constructive suggestions. 9. To concern a value of process more than the outcome. These are 5 characteristics and 9 approaches that might encourage teachers to develop students according to the sustainable growth mindset. Keywords: Growth Mindset, Teacher, Learner Development บทนำ ปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นความสำเร็จในการเรียน การใช้ชีวิต และการปรับตัว รวมท้ังความสำเร็จในด้านอื่นๆ พบว่า โดยส่วนใหญ่ผู้เรียนท่ีจะประสบความสำเร็จนั้น จะมีกรอบความคิดที่สำคัญ คือ กรอบแนวคิดพัฒนาหรือที่เรียกกันว่ากรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) ที่เป็นความเชื่อหลักของบุคคล ว่าตนเองสามารถปรับเปลี่ยนความคิด ทัศนคติ บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ รวมถงึ ทักษะตา่ งๆ สามารถเปล่ยี นแปลงและพฒั นาได้ กรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) ท่ี แต่ละคนมตี ่อตนเอง จะนำไปสู่การพฒั นาตนเองของบุคคลนนั้ ๆ โดยแสดงออกมาในลกั ษณะการคิดบวก การมองโลกใน 439
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แง่ดี เพราะการคิดในด้านบวกหรือการมองโลกในแง่ดี จะนำไปสู่ความเข็มแข็ง ทำให้เข้าใจปัญหา และ สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม ส่งผลต่อการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข กรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) ยงั ส่งผลต่อความมุง่ มัน่ อดทน ชว่ ยให้บุคคลสามารถอดทนต่อภาวะ กดดันต่างๆ พร้อมเผชิญหน้ากับปัญหา และความล้มเหลว เพ่ือสรา้ งโอกาสในการเรียนรู้สง่ิ ใหมๆ่ สามารถผ่าน ภาวะวกิ ฤตตา่ งๆไปได้ ทั้งนี้ หากครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอน ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีกรอบ แนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) ได้ จะส่งผลทางบวกต่อการเพ่ิมขีดความสามารถในการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะต่างๆ ให้มีความชำนาญตามความชอบความถนัดของผู้เรียน และสามารถปรับเปลี่ยนความคิดที่เป็นปัญหา อุปสรรค ให้เป็นโอกาสสู่การเรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ และความสำเร็จอย่างท่ีบุคคลน้ันต้องการได้ การท่ีผู้เรียนมี กรอบแนวคิดแบบเตบิ โต (Growth mindset)ท่ีดี ยังส่งผลทางบวกต่อการสร้างสัมพันธภาพ และทัศนคติเชิง บวกกับบุคคลรอบข้าง เป็นปัจจัยที่สำคัญในการทำงานร่วมกับผู้อ่ืนอีกด้วย กรอบแนวคดิ แบบเติบโต(Growth mindset) จะเป็นตัวช่วยท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียน ก้าวไปสู่ความสำเร็จ ในการเรียนรู้ การพัฒนาตนเองพร้อมๆกับมีความสุขในการใช้ชีวิตในอนาคตเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ดังน้ัน ผู้บริหารและครูท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาผู้เรียน จึงต้องสนับสนุนส่งเสริมผู้เรียนให้มีกรอบ แนวคิดเพื่อการพัฒนาตนเองแบบเติบโต (Growth mindset)การจัดการเรียนรู้ที่ความเหมาะสมกับความ ถนัด ความสามารถ ความสนใจของผู้เรียนท่ีแตกต่างกัน ย่อมช่วยให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาที่เหมาะสม ด้วยหลักความเช่ือที่ว่าทุกคนย่อมมีกรอบแนวคดิ แบบเติบโต (Growth mindset) เก่ียวกับการพัฒนาตนเองที่ อาจจะแตกต่างกัน แต่หากทุกคนมีความเช่ือม่ัน มีความตั้งใจ ไม่ว่าจะเจออุปสรรค์ มากเพียงใดกรอบ แนวคิดแบบเตบิ โต (Growth mindset) ที่ดี สามารถช่วยให้บุคคลคนน้ันก้าวข้ามปัญหา อุปสรรคท่ีเกิดขึ้นไป ได้ และสามารถประสบความสำเร็จตามเป้าหมายท่ีต้องการได้อย่างแน่นอน Suzie Fylnn. (January 9, 2020) ได้นำเสนอลักษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงทัศนคติและ พฤติกรรมตามกรอบแนวคิดไว้ ดังนี้ 1.กรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) จะมีกรอบความคิดในการใช้ชีวิต ได้แก่ -ความล้มเหลว คือ โอกาสในการพัฒนา -สามารถเรียนรู้ทุกอย่างที่ต้องการ -ความท้าทายจะช่วยให้เติบโต -ความพยายามและทัศนคติเป็นตัวกำหนดความสามารถ -ความฉลาดและพรสวรรค์เป็นสิ่งที่พัฒนาได้ -สร้างแรงบันดาลใจจากความสำเร็จของผู้อ่ืน -ชอบเรียนรู้ส่ิงใหม่ -จัดลำดับความสำคัญของการเรียนรู้มากกว่าส่ิงอื่นใด -ยืนหยัดท่ามกลางความพ่ายแพ้ 440
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี -เรียนรู้ที่จะให้และรับการวิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ 2.กรอบแนวคิดแบบแบบจำกดั (Fixed mindset) จะมีกรอบความคิดในการใช้ชีวิต ได้แก่ -ความล้มเหลว คือ ขีดจำกัดของความสามารถ -ไม่สามารถทำได้หรือทำได้ไม่ดีพอ -ไม่ชอบความท้าทาย -ความสามารถเปลี่ยนแปลงไม่ได้ -ศักยภาพแต่ละคนถูกกำหนดไว้แล้ว -ถูกคุกคามด้วยความสำเร็จของผู้อื่น -ยกเลิกส่ิงที่ทำทุกคร้ังเมื่อรู้สึกหงุดหงิด -ยึดติดกับสิ่งท่ีรู้เดิม -คิดว่าทำไม่ได้และไม่มีความสามารถ -ไม่สามารถรับมือกับคำวิจารณ์หรือข้อเสนอแนะ Dweck Hadipoor, M., Jomehri, F., & Ahadi, H. (2015) กลุ่มนักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้เผยแพร่หนังสือ ทฤษฎีแห่งตนเอง : บทบาทด้านแรงจูงใจ บุคลิกภาพ และการพัฒนา (Self-theories : Their role in motivation, personality and development) ได้อธิบายถึง ความเชื่อของบุคคลที่มีต่อเชาวน์ปัญญาของแต่ละคน และรูปแบบ ความเชื่อที่มีต่อเชาวน์ปัญญาที่แตกต่างกัน แนวคิดนี้ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย มีการนำเนื้อหาที่เกี่ยวข้องมา ประยุกต์และสร้างข้อความเพื่อใช้อธิบายคุณลักษณะของแต่ละบุคคลตามกรอบความคิด ( Mindset) ซึ่ง เป็นความเชื่อของบุคคลที่มีต่อลักษณะ (Characteristics) และคุณลักษณะ (Traits) ของตนเอง เช่น เชาวน์ปัญญา ความสามารถ และบุคลิกภาพ เ พื่ อ เ พิ่ ม ค ว า ม ชั ด เ จ น Dr. Carol Dweck นักจิตวิทยาจาก Stanford (https://www.edsurge.com) ได้เขียนหนังสือเรื่อง \"Mindset: The New Psychology of Success\" เพื่ออธิบายถึง การแบ่ง กรอบความคิด (Mindset) เปน็ 2 ประเภท คอื กรอบแนวคิดแบบพฒั นา (Growth mindset) และ กรอบ แนวคดิ แบบจำกัด (Fixed mindset) ดงั นี้ 1.กรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) เปน็ ความเช่ือของมนษุ ย์ท่ีมีต่อตนเองว่า สามารถเปล่ียนแปลง ได้และพฒั นาได้ เนอ่ื งจากมนษุ ย์สามารถเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรู้และนำไปสูก่ ารมีคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ไม่ว่าจะ เป็นการแสวงหา ความท้าทายในการจัดการกบั อุปสรรค การปรับตัว และการเรียนรู้จากความผิดพลาด ซึ่งคุณลกั ษณะ เหลา่ น้ีจะนำไปสคู่ วามสำเร็จในดา้ นต่างๆ โดยเฉพาะการสอนและการทำงานในแวดวงทางการศึกษา 2.กรอบแนวคดิ แบบจำกดั (Fixed mindset) เป็นทัศนคติของมนุษยท์ ค่ี ิดว่า เขาไม่สามารถพฒั นาตนเองได้แล้ว เขาไม่มีความสามารถพอ ทำไม่ไดห้ รอื ไมก่ ล้าลงมือทำ เพราะกลัวความลม้ เหลวหรือความผิดหวงั ทอ่ี าจจะเกิดขึ้น ทำให้ บคุ คลกลมุ่ นขี้ าดโอกาสในการพัฒนาตนเอง และจากข้อมลู การศกึ ษาท่เี ก่ยี วข้องกบั สภาพปญั หาของนกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา พบว่า นกั เรียนท่ีมีปัญหา การเรยี น ได้แก่ เรยี นอ่อน ไมต่ ั้งใจเรียน หนีเรียน โดยมีสาเหตมุ าจาก การขาดแรงจูงใจ สตปิ ญั ญาต่ำ ซมึ เศร้า สมาธิ สั้น LD (Learning Disabilities) โรคทางกาย บางส่วนมีความกลัวโรงเรียน ไม่ยอมไปโรงเรียน สาเหตุของปัญหา มา 441
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี จากมคี วามกงั วลจากการพลดั พราก โรควิตกกงั วล โรคซึมเศร้า และปญั หาการคยุ กนั ในหอ้ งเรียน สาเหตขุ องปญั หา มา จากขาดการยั้งใจตนเอง สมาธิสั้น ขาดระเบียบวินัย เบื่อเรียน เรียนไม่รู้เรื่อง (ข้อมูลจาก http://psyclin.co.th/new_page_53.htm,สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2564) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา พบว่า ปญั หาการเรียน สาเหตมุ าจาก สตปิ ญั ญาตำ่ ขาดแรงจงู ใจ เรียนไม่รเู้ รอื่ ง ตดิ เกม ตดิ เพอื่ น ปัญหาดังกล่าวข้างต้นนี้ จะส่งผลต่อการรับรู้และการสร้างอัตลักษณ์ของนักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับบทความในหนังสือพิมพ์ The New York Times (https://blog.ourgreenfish.com) ที่นำเสนอว่า ความล้มเหลวจากการกระทำ จะส่งผลให้คนที่ทำบางอย่าง ล้มเหลว กลายเป็นคนที่มีอัตลักษณ์ และมองตนเองว่า เขาได้กลายเป็นคนที่ล้มเหลวแล้วจริงๆ ข้อมูลดังกล่าวยัง สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ King (2012) ทีพ่ บว่า นกั เรยี นทม่ี ีความเชอ่ื ว่า เชาวน์ปญั ญาของตนไม่สามารถเปล่ียนแปลง ได้ อนั เป็นลักษณะของกรอบความคิดแบบจำกัด (Fixed mindset) ซ่งึ มีความสัมพนั ธ์กับการมอี ารมณท์ างลบ เช่น รู้สึก แย่เมอื่ อยใู่ นชั้นเรียน และแสดงอารมณ์ทางลบในโรงเรียน เชน่ อารมณ์เสีย เชน่ เดียวกับการศึกษาของ Schroder et al. (2014) ที่ได้ศึกษาวิจัยกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ที่มีกรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) มีลักษณะอาการทางจิตเวช เช่น ภาวะซึมเศร้า น้อยกว่าผู้ที่มีกรอบแนวคิดแบบจำกัด (Fixed mindset) กรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) จึงเป็นส่ิงทม่ี คี วามสำคัญต่อการดำรงชวี ิตของมนุษย์ มใิ ช่แค่มี อิทธิพลต่อการเรียนรู้เพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน แต่ยังเกี่ยวข้องกับทัศนคติ ความเชื่อในการดำรงชีวิตอยูใ่ นสงั คมได้อย่าง ราบร่นื อนั เนอ่ื งมาจากการมีสุขภาพจิต และการปรับตัวทมี่ ีประสิทธภิ าพ จากข้อมูลและผลการศึกษาดังกล่าว ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะของบุคคลที่มีกรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) โดยเฉพาะกลมุ่ นักเรียนทัง้ ในระดับประถม มธั ยมและระดบั อุดมศึกษา เปน็ กลมุ่ ท่กี ำลังแสวงหาอัต ลักษณ์ของตนเอง ดังนั้น ครูผู้สอนในทุกระดับจึงบทบาทที่สำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาตนเองของ ผู้เรียน โดยนำหลกั การของกรอบแนวคดิ แบบเติบโต (Growth mindset) มาประยุกตใ์ ชใ้ นกระบวนการเรียนการสอน อัน จะก่อให้เกิดประโยชนก์ บั การพัฒนาผู้เรียน กุญแจสำคัญสูค่ วามสำเร็จในอาชีพครู คือ การทำงานหนักด้วยความขยนั และยอมรับวา่ ความลม้ เหลวคือโอกาสในการเรียนรู้ จดั เปน็ แนวคดิ หลกั ของกรอบแนวคิดเติบโตสำหรบั ครูเชน่ กัน ดังนั้น หากครูผู้สอนสามารถพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่องในวิชาชีพครู (CPD: Continuing Professional Development) (Dweck, 2012) และเข้าใจว่าความล้มเหลวหรือความผิดพลาดท่เี กดิ ข้นึ ในชน้ั เรียน หรือเหตุการณท์ ่ีเก่ยี วข้องกับผู้เรียน เป็นการเพิม่ พนู และสร้างความรู้ใหม่ๆที่เป็นประโยชน์มากกว่าเป็นอปุ สรรค ไม่ใช่สิ่งที่น่าหวาดกลัวหรือต้องหลีกเลี่ยง แนวคิดเหลา่ น้ีคือ วัฒนธรรมองค์กรทสี่ ถานศกึ ษาควรไดป้ ลูกฝังให้กับกลมุ่ ครูและบคุ ลากรของสถานศกึ ษา ควบค่กู ับการ พฒั นาครแู บบรายบคุ คลสแู่ นวคิดแบบเตบิ โต (Growth mindset)ด้วย คณุ สมบตั ิ 5 ประการของครใู นกรอบแนวคดิ แบบ Growth Mindset 1. การแสดงความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง เพราะครคู อื ต้นแบบของนกั เรียน พฤติกรรมการแสดง ออกที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อการเรียนการสอน การใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างสม่ำเสมอของครู จะช่วยให้ครูได้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนอื่ ง และยงั สง่ ผลใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนรูจ้ ากพฤติกรรมการใฝ่เรยี นร้จู ากครูดว้ ย 2. มองความล้มเหลวและผลกระทบเป็นโอกาสในการเรียนรูแ้ ละพัฒนาทักษะด้านตา่ งๆ ครูโดย 442
การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สว่ นใหญ่มปี ระสบการณก์ ารเรียนรู้ท่ีเกดิ จากความผิดพลาด และนำข้อผดิ พลาดน้ันไปแกไ้ ข ปรับปรงุ และพัฒนาให้ดีข้ึน ดังน้ัน บคุ คลท่ีประสบความสำเร็จจะมองความล้มเหลว และเข้าใจว่าอุปสรรคคือความท้าทาย ทำให้เม่ือผิดหวังหรือไม่ สมหวัง บคุ คลนั้นสามารถทจ่ี ะแก้ไขปญั หาทเี่ กิดข้ึนและกา้ วตอ่ ไปข้างหน้าได้เสมอ 3. การแสวงหาโอกาสในการเรียนรูแ้ ละความท้าทายใหม่ๆ ครูทีม่ ีกรอบแนวคิดแบบเตบิ โต (Growth mindset) จะ มีความกระตอื รือร้นแสวงหาโอกาสทีจ่ ะเรียนรสู้ ง่ิ ใหมๆ่ ด้วยความอยากร้อู ยากลอง และมองทุกอยา่ งเปน็ โอกาสที่ดีต่อการพัฒนา ทักษะตนเอง เพราะยงั มีส่งิ ทีต่ อ้ งเรยี นรู้อกี มากมาย 4. การสรา้ งความคาดหวงั เชงิ บวกในระดบั สงู จากนกั เรยี น ครทู ีจ่ ัดการเรยี นรูท้ ี่กระตุ้นและท้าทายให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ลงมือเรียนรู้ด้วยตนเอง แม้ผลการเรียนรู้บ้างครั้งจะผิดพลาดบ้าง ครูผู้สอนจะมองว่าเป็น กระบวนการเรียนรู้ที่จะช่วยให้นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้จากความผิดพลาด และครูกลุ่มที่มีกรอบแนวคิดแบบเติบโต(Growth mindset) จะเลือกใช้เพอื่ กระต้นุ และทา้ ทายความสามารถของผู้เรยี น 5. การใช้ภาษาของกรอบแนวคิดแบบเติบโตในการเรียนการสอน ครูผูส้ อนที่มีความสามารถใน การสอื่ สารท่ีดี สามารถเลอื กใช้คำพูดทก่ี ระตุ้นความคิด ความสามารถของนักเรียนใหก้ ้าวขา้ มความคิดลบที่ผู้เรียนมีต่อ ตนเอง จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการยอมรับนับถือตนเอง และจะนำไปสู่การมีกรอบแนวคิดแบบเติบโตของนักเรียนด้วย เชน่ กนั คณุ สมบตั ิ 5 ประการของครูตามกรอบแนวคิดแบบเตบิ โต (Growth Mindset) สอดคล้อง กับ Dweck (2012) ที่กล่าวว่า ครูผู้สอนอาจจะไม่สามารถสอนเรื่องกรอบแนวคิดแบบเตบิ โตได้ชัดเจน เพราะเป็นเรื่อง ละเอยี ดออ่ น หรอื เป็นเรื่องท่ีมีความซับซอ้ นท่ีจะสอนนกั เรยี นวา่ ใหค้ ดิ อย่างไร แตค่ รูผู้สอนสามารถแสดงออกให้นักเรียน ได้เห็นและรับรู้ได้ หรืออีกนัยหนึ่งคือ ครูผู้สอนอาจจะพูดให้น้อยแต่แสดงออกทางพฤติกรรมให้มากขึ้น หรือแสดงให้ นักเรียนไดเ้ ห็นถึงการรู้คดิ โดยใช้อภิปัญญา (Met cognition) หมายถึง ความสามารถของบคุ คลที่มีต่อกระบวนการคดิ ของตนเอง นักเรียนสามารถรับรู้หรือคิดได้ว่าอะไรที่เหมาะสมกับตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถเลือกวิธใี นการ วางแผน การกำกับควบคุม และประเมินการเรียนรขู้ องตนเองได้ เพ่ือให้การเรยี นรู้หรือการปฏิบัตงิ านต่างๆของนักเรียน บรรลุตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (http://sa.ipst.ac.th) โดยเฉพาะรูปแบบของการดำเนินชีวิตใน สถานศกึ ษา รวมถงึ การนำเสนอปจั จัยตา่ งๆท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเรียนรู้ เพ่ือช่วยใหน้ กั เรียนเกดิ ความเข้าใจมากยิ่งข้ึนแม้ใน ชน้ั เรยี นปกติ และยังเป็นการกระตุน้ ให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ในระดับท่ีสูงขน้ึ การมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมของผู้เรียน การ ให้ขอ้ เสนอแนะหรอื ผลตอบกลับในกระบวนการเรียนรู้ จะชว่ ยให้นกั เรียนเกิดความท้าทายและกระตุ้นศักยภาพของพวก เขา นำไปส่กู ารสร้างอตั ลกั ษณท์ ่เี หมาะสมของแตล่ ะบุคคลด้วย เทคนิคการใช้ Growth Mindset สำหรับครูสกู่ ารพัฒนาผเู้ รยี น จากการศึกษาและค้นคว้าข้อมูลการพัฒนากรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) สำหรับครูสู่การ พฒั นาผูเ้ รยี น จึงขอเสนอเทคนคิ การใช้ Growth mindset สำหรับครู ดังนี้ 1) การใหค้ วามสำคญั กับผลลัพธ์การเรยี นรู้ ครผู ู้สอนสามารถใช้ประโยชน์จากผลสะทอ้ นจากผู้เรียนเป็นสำคัญ 443
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ครูควรให้โอกาสนักเรียนได้บอกเล่าหรอื แสดงออกถึงสิ่งที่เขาได้เรียนรู้ ทั้งความสำเร็จ หรือความล้มเหลวที่เกดิ ขึ้นกบั นักเรียน ครูผู้สอนจะได้เพิ่มความระมัดระวังในการพฒั นาการเรียนรู้ในครั้งตอ่ ไป และปลูกฝังกรอบแนวคิดแบบเตบิ โต (Growth mindset) ด้วยการพัฒนาศกั ยภาพสคู่ วามสำเร็จ 2) สรา้ งสถานการณ์การเรยี นร้ทู ่แี ตกตา่ ง ในกระบวนการจดั การเรียนร้ไู ม่มแี บบจำลองใดท่ีสามารถ นำมาใช้ได้กับการเรียนรู้ในทุกรูปแบบ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงต้องออกแบบการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลาย เพ่ือให้การเรียนรมู้ ีความเหมาะสมกับนกั เรียนท่ีมีความแตกต่างกนั ครูผสู้ อนจึงต้องเข้าใจในความแตกต่าง และขอ้ จำกัดของผเู้ รียนดว้ ย 3) ใช้การกระตุ้นเพือ่ สร้างความทา้ ทายของผู้เรียน ส่วนหน่ึงในการพฒั นากรอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth mindset) คือ ครูผู้สอนควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาตนเอง มองการเรียนรู้เป็นความท้าทายเป็น ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ดี สอดคล้องกับ Elbert Hubbard (https://matterapp.com) ได้กล่าวว่า ความผิดพลาดท่ี ยิ่งใหญ่ในชีวิต คือ การกลัวที่จะทำความผิด ดังนั้น ครูผู้สอนจึงควรสร้างเสริมประสบการณ์ให้นักเรียนได้เผชิญความ เสี่ยงบ้าง ได้เรียนรู้ความไม่สมบูรณ์แบบบ้าง เพื่อให้นักเรียนได้ใช้ความพยายามเพื่อเรียนรู้สิ่งต่างๆในสถานการณ์ท่ี เกิดขึ้นบนความเป็นจริง ดังนั้น เมื่อนักเรียนทำงานอะไรแล้วไม่ประสบความสำเร็จในครั้งแรก ครูผู้สอนควรกระตุ้นให้ นกั เรียนเห็นความท้าทายและมีความพยายามท่จี ะสใู้ หม่ แม้จะลม้ เหลวแตก่ ็คือการเรียนรู้ทักษะใหม่ๆเสมอ 4) สง่ เสริมความกล้าหาญและยอมรบั ความไมส่ มบรู ณ์ ความกลา้ หาญ คอื ความสามารถใน การฝา่ ฟนั อุปสรรคเพือ่ ให้ถึงจุดมุ่งหมาย ความกล้าหาญเกดิ จากแรงผลกั ดนั ภายในที่ทำให้เกิดความเคลื่อนไหว และช่วย เติมเต็มความมุ่งมั่น เมื่อใดที่นักเรียนจัดลำดับความสำคัญให้สิ่งอื่นอยู่เหนือการเรียนรู้ แสดงว่านักเรียนคนนั้นกำลัง สูญเสียศักยภาพในการเรียนรู้ของตัวเอง ครูผู้สอนต้องสามารถสร้างแรงจูงใจเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นไปอย่าง เหมาะสม 5) การใช้คำว่ายังเปน็ การจงู ใจในการพฒั นาผูเ้ รียน Dweck (2012) ไดก้ ล่าววา่ เมอ่ื ใดก็ตามที่ ครูผูส้ อนสามารถใชก้ ารส่ือสารท่ีแสดงให้เกดิ ความท้าทายเพ่อื การเรียนรู้ เช่น ยงั มีอะไรอีกทน่ี กั เรียนสามารถพัฒนาได้... หรือ ยังมีข้อมูลอะไรที่จะเติมเต็มให้งานนี้สมบูรณ์ขึ้น จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนั้น การใช้ภาษาเพื่อ กระตนุ้ ทา้ ทายให้ผ้เู รยี นคิดหาแนวทางในการแก้ไขปญั หาต่างๆ ดว้ ยการใช้ความพยายาม การฝกึ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ นั้น กรอบแนวคิดแบบเติบโต(Growth mindset) จะเกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน และจะเป็นกลไกท่ีจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยน กรอบแนวคดิ แบบจำกดั (Fixed mindset) ไปสู่กรอบแนวคดิ แบบเตบิ โต (Growth mindset) 6) สร้างเป้าหมายทีช่ ัดเจน นกั เรียนท่มี ีกรอบแนวคดิ แบบเตบิ โต(Growth mindset) จะสามารถ สร้างเป้าหมาย และมีความมุ่งมัน่ สู่จดุ หมายชัดเจนมาก พบว่านักเรียนคนที่ยึดมั่นในกรอบแนวคิดแบบเตบิ โต(Growth mindset) จะมีความชัดเจนในเป้าหมายของเขา มคี วามม่งุ มน่ั สู่เป้าเหมายท่ีกำหนด และเม่ือเปา้ หมายบรรลุความสำเร็จ แล้ว จะสร้างเป้าหมายใหม่ที่ท้าทายต่อไป เพราะการเรียนรู้ไม่มีวันจบสิ้น เช่น เมื่อการสอบกลางภาคเสร็จสิ้น มิได้ หมายความว่า นักเรียนจะหยุดให้ความสนใจในวชิ านั้น นักเรียนทีม่ กี รอบแนวคิดแบบเติบโต(Growth mindset) จะยัง พัฒนาตนเองด้วยการสร้างเป้าหมายใหม่ เพื่อให้เกิดแรงกระตุ้นและนำไปสู่สำเร็จ ครูผู้สอนควรสนับสนุนและเป็น แรงผลกั ดันใหน้ ักเรยี นสามารถสรา้ งเป้าหมายท่ชี ดั เจนของแต่ละคน และใหเ้ วลากบั นักเรียนในการเอาชนะสง่ิ เหลา่ น้ี 444
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 7) แทนท่คี วามลม้ เหลวด้วยการเรยี นรู้ เมื่อนกั เรยี นเกดิ ความผดิ พลาดจากเป้าหมาย ไม่ได้ แปลว่าเขาลม้ เหลว แต่ครูผู้สอนอาจตอ้ งการสรา้ งโอกาสให้นักเรียนได้เรยี นรู้ จากความลม้ เหลว กรอบแนวคดิ แบบจำกัด (Fixed mindset) มกั เป็นไปในเชงิ ลบ หรือมองโลกในแงร่ ้าย หรือทศั นคติท่ีไม่สามารถทำได้ ครผู ้สู อนควรจำกัดความคิด เหล่านัน้ แล้วเพม่ิ พลงั ใหก้ บั ความคดิ เชิงบวก การมองโลกในแงด่ ี จะช่วยยกระดับพน้ื ฐานอารมณ์ทงั้ ตอ่ ตนเองและบุคคล รอบขา้ ง นักเรยี นอาจเรยี นรู้ความผิดพลาดทั้งจากตนเองและผู้อ่นื และควรเข้าใจว่ามนุษย์ทุกคนล้วนมีจุดอ่อนเป็นของ ตนเอง 8) แสวงหาขอ้ เสนอแนะเชิงสร้างสรรค์ การใหร้ างวลั ในการกระทำท่ีมิได้เกดิ ขึน้ เป็นนิสัย หรอื การใหค้ ำวิจารณ์ในเชงิ บวก เชน่ การชมนกั เรยี นเมือ่ เขาทำในส่ิงทฉ่ี ลาด มิใช่เพราะเขาเปน็ คนฉลาด แต่เป็นครูผู้สอนจะ ชื่นชมกบั พัฒนาการการกระทำทีฉ่ ลาดของนักเรียน ครจู ึงควรสรา้ งโอกาสใหน้ ักเรียนไดแ้ บ่งปันความสำเร็จของนักเรียน กับกล่มุ เพอ่ื นคนอ่ืนๆ ซงึ่ จะเปน็ โอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นพบบทเรียนและเกิดการเรียนรู้จากขอ้ ผิดพลาดท้ังของตนเองและ ของผ้อู ืน่ จะเพม่ิ ความพยายามให้เกดิ ทกั ษะทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในระยะยาวในการพฒั นาตนเองของผู้เรยี น 9) การให้คณุ ค่ากับกระบวนการมากกว่าผลลพั ธ์ คนฉลาดจะเพลดิ เพลนิ กับกระบวนการเรยี นรู้ โดยไม่คำนึงถึงกรอบของเวลา การเรียนรดู้ ้วยความรวดเร็ว ไมไ่ ดแ้ ปลว่าคือการเรียนรู้ไดด้ ี การเรียนรใู้ ห้ได้ดีบางครั้งอาจ ตอ้ งการเวลาในความผิดพลาด ดงั นั้น ครูผสู้ อนทย่ี งั ยดึ ติดอยกู่ บั ผลลัพธค์ วามรูท้ ่ีผเู้ รยี นควรจะได้ อาจจะสง่ ผลให้ผู้เรียน พลาดคุณค่าของการเรียนรู้ในบางช่วง การให้คุณค่ากับกระบวนการเรยี นรูข้ องนักเรยี น ครูผู้สอนสามารถนำมาพฒั นา ความเป็นมืออาชพี ของตนเองได้ การพฒั นา Growth mindset ของครใู ห้เกดิ ประสทิ ธิภาพ สิ่งที่ครูผู้สอนควรพิจารณาในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน เพื่อนำไปสู่กรอบแนวคิดแบบเติบโต(Growth mindset) มดี ังน้ี 1 .ควรคำนงึ ถงึ ภาษาทใี่ ชใ้ นการสอ่ื สารเมื่อครมู ปี ฏิสมั พันธ์กับนักเรยี น 2. การใช้คำชมทีเ่ หมาะสมจะสรา้ งแรงจูงใจและการแสดงออกของนกั เรียนในการเรยี นรู้ได้ 3. การให้รางวลั ในความสำเรจ็ ทม่ี าจากการฝกึ ฝน ความพากเพยี ร จะชว่ ยกระตุ้นการเรียนรู้ของ นักเรียน 4. พยายามใหน้ กั เรยี นต้ังเปา้ หมายใหส้ งู เพอื่ สร้างความทา้ ทายในการเรยี นร้แู ละการทำงานตัง้ แต่ เริ่มต้น 5. สร้างการยอมรบั ทีเ่ กดิ จากขอ้ ผิดพลาด พฒั นาความพยายามและมคี วามยดื หยนุ่ ในการฝกึ ฝนเรียนรู้ 6. ใหข้ ้อมูลการสะทอ้ นกลับอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ แนะนำหวั ข้อทถ่ี ูกต้อง โดยเฉพาะกลยทุ ธใ์ นการ เรียนรู้ ให้เวลานกั เรยี นในการปฏบิ ตั ิตามขอ้ แนะนำนนั้ ๆอย่างเหมาะสม บทสรุปการพัฒนากรอบแนวคิดแบบเติบโต(Growth mindset) จากข้อมูลท่ีนำเสนอแสดงให้เห็นแล้วว่า ครูผู้สอนท่ีมีกรอบแนวคิดแบบเติบโต(Growth mindset) ทั้งในส่วนของคณุ สมบัติ 5 ประการของครูในกรอบแนวคิดแบบ Growth Mindset เทคนคิ การใช้ Growth Mindset สำหรับครูสู่การพัฒนาผู้เรียน และการพัฒนา Growth mindset ของครูให้เกิดประสิทธิภาพ อันจะส่งต่อการพัฒนา 445
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี กรอบแนวคดิ แบบเติบโต(Growth mindset) ของผเู้ รียนดว้ ยซ่งึ สอดคลอ้ งกับการวิจยั ของมทุ ิตา อดทนและคณะ (2561) ที่ได้ศึกษาผลของโปรแกรมการพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยทำการ เปรียบเทยี บคะแนนกรอบความคิดแบบเติบโตระหวา่ งกลุ่มทดลองกบั กลุ่มควบคุมภายหลังการทดลอง และเปรียบเทียบ คะแนนกรอบความคิดแบบเติบโตในกลุ่มทดลองระหว่างสิ้นสุดการทดลองกับก่อนการทดลองด้วยการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดงั น้ี 1. นักเรียนทีไ่ ดร้ ับโปรแกรมการพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตมีคะแนนกรอบความคิดแบบ เตบิ โตสงู กวา่ นกั เรยี นท่ไี ม่ไดร้ บั โปรแกรมภายหลงั ส้นิ สดุ การทดลอง อยา่ งมีนยั สำคัญทร่ี ะดับ .05 และ2.นักเรยี นทไี่ ดร้ ับ โปรแกรมการพฒั นากรอบความคิดแบบเติบโตมีคะแนนกรอบความคิดแบบเติบโตเม่ือส้ินสดุ การทดลองสูงกว่าก่อนการ ทดลอง อย่างมีนัยสำคัญท่ีระดับ .05 ผลการทดลองนี้ชี้ให้เห็นว่าการใช้โปรแกรมการพัฒนากรอบความคดิ แบบเติบโต สามารถพฒั นาให้นกั เรยี นมี กรอบความคิดแบบเตบิ โตดีขนึ้ และดีขน้ึ กวา่ กลุ่มควบคมุ และยังสอดคล้องกับผลการ ศึกษาวิจัยของEducation Research Center (https://nwcommons.nwciowa.edu) พบว่า ร้อยละ 98 ของครู ยอมรบั ว่า การใชก้ รอบแนวคดิ แบบเติบโต(Growth mindset) สามารถพัฒนาการเรยี นการสอนให้กับนกั เรยี น ขณะท่ีครู ร้อยละ 90 เชื่อว่ากรอบแนวคิดแบบเตบิ โต(Growth mindset) เกี่ยวข้องกบั ความตื่นเตน้ ในการเรียนรู้ ความขยัน การ เพม่ิ ศักยภาพด้านความพยายาม และการมีส่วนร่วมในห้องเรียนของนกั เรยี นด้วย และยังสอดคลอ้ งกับการศึกษาของ ปัท มาภรณ์ ศรีราษฎร์และนันทรัตน เจริญกุล. (2561)ที่ได้ศกึ ษาแนวทางการพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตของครู โดย พบว่า คุณลักษณะของครูที่มีกรอบความคิดแบบเติบโต ประกอบด้วย 6 คุณลักษณะ ได้แก่ 1) มีความคิดที่เชื่อว่าา ความสามารถและสติปัญญาเปน็ สง่ิ ที่สามารถเปล่ียนแปลงไดโ้ ดยผ่านการทำงานหนกั 2) ชอบความท้าทาย 3) ไมย่ อมแพ้ ตอ่ อปุ สรรค 4) เช่อื วา่ ความพยายามเปน็ หนทางสู่ความสำเร็จ 5) เรยี นรู้จากคำวิจารณ์ และ 6) ค้นหาแรงบนั ดาลใจจาก ความสำเรจ็ ของผู้อื่น Growth mindset หลักคิดสำหรบั ครูสู่การพัฒนาผ้เู รยี น ได้แสดงให้เห็นว่าการจดั การเรยี นการสอนของครใู น อนาคต มใิ ชแ่ คต่ อ้ งการให้นักเรยี นสำเร็จการศกึ ษาตามหลักสูตรท่ีกำหนดไวเ้ ท่านนั้ แต่กระบวนการเรยี นการสอนของครู ควรจะตอ้ งสร้างใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการพฒั นากรอบแนวคิดแบบเติบโต(Growth mindset) ด้วย ทั้งน้ี เพอ่ื ให้สร้างนักเรยี น เป็นผู้ทจี่ ะใฝ่ร้ใู ฝ่เรียน พรอ้ มทจี่ ะเรยี นรู้และพฒั นาตนเองอยตู่ ลอดเวลา เหตุเพราะในโลกอนาคตความรมู้ ีการ เปลีย่ นแปลงตลอดเวลา มีทงั้ สิง่ ท่ีนักเรียนต้องเรยี นรู้(Learn) ส่งิ ท่นี ักเรยี นต้องเรยี นรูซ้ ำ้ (Re-Learn) และส่ิงท่นี ักเรียน ยงั ไมร่ ู้ (Un-Learn) อีกมากมาย ซึ่งผ้เู รียนทมี่ ีกรอบแนวคดิ แบบเติบโต(Growth mindset) น้สี ามารถท่ีจะเรียนรสู้ ง่ิ ใหมๆ่ และพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ ได้ เอกสารอา้ งองิ ชนติ า รุง่ เรือง และ เสรี ชดั แชม้ . (2559). กรอบความคดิ เติบโต: แนวทางใหม่แห่งการพัฒนาศักยภาพมนุษย์. วิทยาการวิจยั และวิทยาการปัญญา ปีท่ี 14 ฉบบั ท่ี 1, มกราคม – มถิ ุนายน 2559. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, วิทยาลยั วิทยาการวิจัยและวทิ ยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา ปทั มาภรณ์ ศรรี าษฎร์และนนั ทรตั น เจริญกลุ . (2561).แนวทางการพฒั นากรอบความคดิ แบบเติบโตของครู. วารสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทางการศกึ ษา.OJED, Vol. 13, No. 1, 2018, pp. 389 - 399 446
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มทุ ิตา อดทน,วรากร ทรพั ยว์ ริ ะปกรณ์,และ จฑุ ามาศ แหนจอน (2561) ผลของโปรแกรมการพฒั นากรอบ ความคิดเติบโตในนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย.วารสารการวัดผลการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.ปีที่ 24 ฉบบั ที่ 2 : ธนั วาคม พ.ศ. 2561 (หน้า182-194) Dixita. (2020). How to Develop a Growth Mindset: 10 Strategies to Success. (September 10, 2020). https://matterapp.com/blog/how-to-develop-a-growth- MINDSET-10-STRATEGIES-TO-SUCCESS Dweck C. (2014). Teachers’ mindset: “Every Students has something to teach me”. Educational Horizons, 93(2), 10-14. Dweck, C.S. (2012) Mindset: How You Can Fulfil Your Potential. Constable & Robinson, London.https://www.scirp.org/(S(oyulxb452alnt1aej1nfow45))/reference/ReferencesPapers.aspx? ReferenceID=1924585 Gero, Greg Philip (2013). What Drives Teachers to Improve? The Role of Teacher Mindset in Professional Learning .ERIC Number: ED564635 (Pages: 176-) ISBN: 978-1-3036-2396-7 Web site: http://www.proquest.com/en-US/products/dissertations/individuals.shtml Gerstein, Jackie. (August 28, 2014). The Educator with a Growth Mindset: A Staff Workshop. User Generated Education. Accessed January 30, 015.https://usergeneratededucation. wordpress.com/2014/08/29/the-educator-with-a-growth-mindset-a-staff-workshop/ Hadipoor, M., Jomehri, F., & Ahadi, H. (2015). The effect of training program based on theory of mindset about intelligence on learnig behaviors of preschoolers (4-6 years): A three-stage experiment. International Journal of Review in Life Sciences, 5(8), 1047 – 1055. Kate Herbert-Smith. (2018). Growth Mindset: The key to successful teaching? https://blog.irisconnect.com /uk/community/blog/5-attributes-of-a-growth-mindset-teacher/ King, R. B. (2012). How you think about your intelligence influences how adjusted you are: Implicit theories and adjustment outcomes. Personality and Individual Differences, 53(5), 705-709. Schroder, H. S., Dawood, S, Yalch, M. M., Donnellan, M. B., & Moser, J. S. (2014). The role of implicit theories in mental health symptoms, emotion regulation, and hypothetical treatment choices in college students. Cognitive Therapy and Research, 39(2), 120-139. Suzie Fylnn. (January 9, 2020). The Differences between a Growth Mindset and a Fixed Mindset.https://suzieflynn.com/2020/09/26/what-is-mindset-anyway/ 447
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แนวทางการบริหารการจดั กิจกรรมลกู เสอื เพ่ือพฒั นาคณุ ลักษณะของผ้เู รยี นของโรงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร Management Approach of Scout Activity for Developing Student Characteristic of Primary Schools under Bangkok อนพุ งษ์ ชาคำ ดร.นลนิ ี สตุ เศวต บัณฑิตวิทยาลัยศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม E-mail [email protected] บทคดั ย่อ การวิจัยเรือ่ งแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลกู เสือเพื่อพัฒนาคณุ ลักษณะของผู้เรียน ของโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อพฒั นา คุณลักษณะของผู้เรียนของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารการจัด กิจกรรมลูกเสือเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่มีขนาด ต่างกนั 3) เพอ่ื ศึกษา แนวทางการบรหิ ารการจัดกจิ กรรมลกู เสอื เพ่อื พัฒนาคณุ ลักษณะของผู้เรียน ของโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ครูผู้สอนลูกเสือ ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2563 โดยเป็นกลมุ่ ตัวอย่าง จำนวน 313 คน โดยใช้ตารางการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเคอซี่มอร์แกน จากจำนวน 431 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัยคอื ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ วิเคราะหค์ วามแปรปรวน (ANOVA) และการวเิ คราะห์เนอ้ื หา ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารการจัดกจิ กรรมลูกเสือเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน ของโรงเรียนระดบั ประถมศึกษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร แยกตามขนาดของโรงเรียนโดยภาพรวมในการบรหิ าร 4 ดา้ น ดงั นี้ โรงเรยี นขนาดใหญ่ มีสภาพการบริหารการจดั กจิ กรรมลกู เสือเพ่อื พัฒนาคุณลักษณะของผ้เู รยี น โดยภาพรวม อยใู่ นระดับมาก ( X = 4.20) โดยมคี ่าเฉลี่ยเรยี งลำดับ ดังนี้ ด้านการจดั องคก์ ารกจิ กรรมลกู เสือ ( X = 4.24) รองลงมา คือ ด้านการใช้ภาวะผนู้ ำกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.21) และ ตำ่ ท่สี ุดคอื ด้านการวางแผนกิจกรรมลกู เสอื ( X = 4.15) โรงเรยี นขนาดกลาง มีสภาพการบริหารการจดั กิจกรรมลกู เสือเพอ่ื พัฒนาคณุ ลักษณะของ ผเู้ รียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.18) โดยมีค่าเฉล่ียเรียงลำดับ ดงั น้ี ด้านการจัดองค์การกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.21) รองลงมาคอื ดา้ นการใช้ภาวะผู้นำกิจกรรมลูกเสือและด้านการควบคุมกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.18) และต่ำ ท่สี ดุ คือ ดา้ นการวางแผนกจิ กรรมลกู เสอื ( X = 4.15) โรงเรียนขนาดเล็ก มีสภาพการบริหารการจดั กิจกรรมลูกเสือเพอ่ื พัฒนาคุณลกั ษณะของ 448
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ผเู้ รยี น โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก ( X = 4.17) โดยมคี ่าเฉลี่ยเรียงลำดับ ดังน้ี ด้านการจดั องค์การกิจกรรมลูกเสือ ( X = 4.20) รองลงมาคอื ดา้ นการใช้ภาวผู้นำกิจกรรมลกู เสือ ( X = 4.19) และ ต่ำที่สดุ คือ ดา้ นการวางแผนกิจกรรม ลกู เสอื ( X = 4.14) 2. การเปรยี บเทียบสภาพการบริหารการจัดกจิ กรรมลูกเสือเพอื่ พฒั นาคุณลักษณะของผเู้ รยี นของโรงเรียนระดับ ประถมศกึ ษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่มขี นาดตา่ งกัน โดยรวมไมแ่ ตกต่างกนั 3. ขอ้ เสนอแนะหรือแนวทางการบรหิ ารการจดั กจิ กรรมลูกเสอื เพ่อื การพัฒนาคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียน ของ โรงเรียนระดับประถมศึกษา สงั กดั กรุงเทพมหานคร ด้านการวางแผน 1. ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการกำหนดแผนงานปฏทิ นิ การปฏบิ ัตงิ าน ทงั้ การนเิ ทศและตดิ ตามผลการ ดำเนินงานอยา่ งชัดเจน 2. ควรมีการกำหนดแผนงานการปฏบิ ตั ิงานการจดั กิจกรรมลูกเสอื เพือ่ ให้ครูหรือบคุ ลากรท่ีรบั ผดิ ชอบได้ วางแผนงานในการจัดกจิ กรรมลกู เสอื ทเี่ ป็นระบบ และดำเนนิ งานตามแผนที่กำหนดไว้ 3. ควรเปิดโอกาสให้ผ้ปู ฏบิ ัติงาน หรือ บุคคลที่เกย่ี วข้องได้มบี ทบาทและมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและ แนวทางปฏบิ ตั กิ ารจดั กิจกรรมลูกเสือร่วมกนั ดา้ นการจดั องค์กร 1. ผู้บริหารควรให้การสนบั สนุนการจดั อบรมเพื่อให้ความรู้กับบุคลากรด้านการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อเตรียม กำลังคนทดแทนไดอ้ ย่างเหมาะสม 2. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาควรมกี ารแตง่ ตง้ั บุคลากรผูร้ ับผิดชอบการจัดกิจกรรมลูกเสือไว้อย่างชัดเจนและควรมี การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานเพื่อนำไปสูก่ ารพจิ ารณาความดคี วามชอบ 3. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาควรมีแผนการเตรียมคนด้านการจดั กจิ กรรมลุกเสือเพ่ือทดแทนในกรณีที่มีคนเกษียณ หรอื ลาออก ด้านภาวะผนู้ ำ 1. ผบู้ รหิ ารควรเป็นตน้ แบบท่ีดีในการสร้างวิสัยทัศนแ์ ละสร้างขวัญกำลงั ใหก้ ับครูหรือผรู้ ับผิดชอบงานการจัด กิจกรรมลูกเสือ 2. ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อการพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนที่พึงประสงค์ใน ทกุ ๆมตติ ามเป้าหมายทส่ี ถานศึกษากำหนดไว้ ด้านการควบคุม 1. ผู้บริหารควรมีระบบในการนิเทศและติดตามผลการจัดกจิ กรรมลูกเสือท้ังในส่วนของผู้ปฏบิ ัติงาน การจัด กจิ กรรมลกู เสอื และผูเ้ รียนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2. ผบู้ รหิ ารควรมีการมอบหมายให้ผู้รับผดิ ชอบรายงานผลการจัดกิจกรรมลูกเสือในแต่ละภาคการศึกษา เพื่อ นำผลการประเมนิ ไปส่กู ารปรบั ปรุงและพัฒนางานในภาคเรียนตอ่ ไป คำสำคัญ:.การบรหิ าร, การจัดกจิ กรรมลกู เสอื , คุณลักษณะของผูเ้ รยี น 449
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 577
Pages: