การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี พัฒนาบคุ ลากรทางการศึกษาและความเช่อื ม่นั ของครูทจ่ี ะปฏิบัติตามแนวทางใหม่เปน็ อกี เรื่องที่สำคญั ตอ่ ความสำเร็จใน การนำหลักสูตรที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนไปปฏิบัติ ครูผู้สอนควรได้รับการสนับสนุนให้เข้าใจแนวทางที่ มุ่งเนน้ การพัฒนาสมรรถนะของผเู้ รียน และเข้าถึงทรพั ยากรและความร้ใู หม่ ๆ ในการสร้างสภาพแวดล้อมภายในชนั้ เรียน ให้เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ และการมีกิจกรรมร่วมกัน (ฮิวจ์ เดลานี, 2562) ดังนั้นสิ่งที่สำคัญในการ ขับเคลื่อนการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายและสามารถพัฒนาประเทศชาติใหก้ า้ วหนา้ ต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั้น ได้แก่ ครูผู้สอน หากครูผู้สอนมกี ารพัฒนาและเตรียมความพร้อมต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่เสมอไม่ว่าจะเปน็ ความร้ใู นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตลอดจนทกั ษะการใช้ชีวติ ในสถานการณ์การเปล่ยี นแปลงที่มากมาย การประกอบอาชีพครกู ็ไดร้ บั ผลกระทบดว้ ยเช่นกนั ปัจจุบันในสังคม สถานภาพครูได้ถูกวพิ ากษ์วจิ ารณใ์ นด้านของการประพฤติผิดจรรยาบรรณ ขาดคณุ ธรรม จรยิ ธรรม โดยแบง่ เป็นรายด้าน ดังนี้ 1) ด้านการปฏิบัติตนเสื่อมเสีย เช่น การดื่มสุราจนเกิดความมึนเมาไม่สามารถควบคุมตนเองได้ เล่นการพนัน ประพฤติตนไปในทางชู้สาวกับครูหรือนักเรียน เรียกรับเงินจากผู้เรียนในการฝากเข้าเรียนหรือแลกกับผลการเรียนของ นักเรยี น เปน็ ต้น 2) ดา้ นการปฏบิ ตั ิตนต่อ ผู้บงั คบั บัญชา เชน่ การไมป่ ฏิบตั ติ ามคำสงั่ ดหู มิน่ ผบู้ งั คับบญั ชา แสดงความ ก้าวร้าวทางกริยามารยาท และวาจา เป็นต้น 3) ด้านการปฏิบัตติ นตอ่ ผูร้ ่วมงาน เช่น ทะเลาะ วิวาท ชกต่อย นินทาว่า ร้ายต่อผูร้ ่วมงาน ยุยงส่งเสริมสรา้ งความแตกร้าวในองคก์ ร เป็นต้น 4) ด้านการปฏิบัติตนต่อนักเรยี น เช่น การใช้ความ รนุ แรงในการลงโทษเกินกว่าเหตุ ลวนลามอนาจาร แลกเปลี่ยนเงินค่าตอบแทนเพ่อื แลกกับผลการเรียน เปน็ ตน้ 5) ด้าน การปฏิบัติตนต่อผู้ปกครองและประชาชน เช่น แสดงกิริยาและพูดจาไม่สภุ าพกับผูป้ กครองและประชาชน เป็นต้น ซ่ึง พฤติกรรมเหล่านี้เกิดมาจากปัจจัยต่างๆ หลายด้าน แต่ส่วนหนึ่งที่สำคัญเกิดจากการขาดคุณธรรมจริยธรรม ขาด จรรยาบรรณของครู รวมท้ังสงั คมไทยยังขาดการพฒั นาวิชาชีพครู ในการประพฤติตนทเ่ี หมาะสม ทำให้สง่ ผลต่อการขาด จรรยาบรรณวิชาชีพครู ทำให้สังคมมีความศรัทธาต่อครูที่ลดลง ดังนั้นความประพฤติของครเู ป็นสิ่งจำเป็นที่สุดที่ต้อง รีบเร่งพัฒนาให้ครูประพฤติและปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูเพราะครูเป็นผู้ที่ถ่ายทอดความรู้อบรมแก่ศิษย์ (อษุ า พรหมรนิ ทร์, 2562) การพัฒนาผู้เรียนในยุค 5.0 นั้น ครูจะต้องปฏิบัติตนโดยยึดให้อยู่ภายใต้กรอบของคุณธรรม จริยธรรมและ จรรยาบรรณ ซึ่งจรรยาบรรณของครูที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผู้เรียน คือ ครูจะต้องมีบทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงาน อย่างเต็มทีแ่ ละเต็มใจและมีความรับผิดชอบในหน้าทีข่ องตนเอง ในที่นี้คือการอบรมสั่งสอนศิษย์และครูจะต้องมีความ ศรัทธาในอาชีพของตนเอง ซึ่งจะตรงกับคำพูดของ วชิราภรณ์ สังข์ทอง และแพรวนภา เรียงริลา (2564) ที่กล่าวไว้ว่า “จิตวิญญาณความเป็นครู” หมายถึงการตระหนักรู้ภายในตนเองของบคุ คลในการดำเนินชีวิต ทั้งการควบคุมความคดิ ความเชอ่ื อดุ มการณ์ พฤตกิ รรมการปฏิบัติตน โดยยดึ กรอบคณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพเป็นแก่นแท้ของ จิตใจ ใหต้ ระหนกั รใู้ นการรับผิดชอบต่อหน้าทป่ี ฏิบัติหน้าที่ครูให้บรรลุตามเป้าหมายและอุดมการณ์ของการเป็นครูท่ีดี จากที่กล่าวมาได้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของครูทีม่ ีต่อคุณภาพในการจัดการศึกษา และที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ ทางดา้ นการศึกษาของผู้เรียนและแสดงให้เหน็ ถึงความมุ่งหวังของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะหน่วยงานของรัฐท่ีรับผิดชอบ ด้านการศึกษาที่ต้องการให้ได้ครูที่มีคุณภาพ (สัจกาณฑ์ คเชนทร์พนาไพร และคณะ, 2560) ซึ่งจรรยาบรรณเป็นหลัก ความประพฤติอันเหมาะสม ท่แี สดงถงึ คุณธรรมและจรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพนั้นๆ ทก่ี ลมุ่ บคุ คลในแตล่ ะอาชีพได้มี 300
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การกำหนดขนึ้ ไว้เปน็ หลักเพ่ือให้สมาชกิ ในวิชาชีพนั้น ๆ ยดึ ถอื ปฏบิ ตั เิ พอ่ื รกั ษาชอื่ เสียงและส่งเสริมเกยี รติคุณของสาขา วชิ าชพี ของตน (ไชยยศ เหมะรชั ตะ, 2560) ดังนัน้ คณะผเู้ ขยี นจึงได้เล็งเหน็ ถงึ ความสำคญั ของจรรยาบรรณวิชาชพี ครู เพ่อื พัฒนาผ้เู รยี นสู่การศึกษาอนาคต 5.0 เพื่อเป็นแนวทางการส่งเสริมให้บุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพของข้าราชการครู และ พฒั นาบคุ ลากรให้มีการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณครูอย่างแท้จริง อันนำไปส่กู ารพัฒนาทางด้านการศกึ ษาให้มีคุณภาพท่ีดี และยั่งยนื เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของไทยให้ดยี ิง่ ขน้ึ ตอ่ ไป การศกึ ษาในยุค 5.0 การศึกษาในยุค 5.0 นั้นจะเป็นการมุ่งเน้นการใช้นวัตกรรม ซึ่งสิ่งที่เข้ามามีบทบาทสำคัญในการศึกษาดังคำ กล่าวของ ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (2562) ที่กล่าวถึงการศึกษายุค 5.0 ไว้ว่า การศกึ ษาในยคุ Thailand 5.0 เปน็ การใช้นวตั กรรมเพอ่ื พฒั นาการจดั การศึกษาทจ่ี ะทำใหม้ นษุ ยม์ ีชวี ติ และความเป็นอยู่ ที่ดีขนึ้ ดงั น้นั บทบาทสำคัญที่จะต้องดำเนินการ 5 ประเดน็ สำคญั ดังน้ี 1. สรา้ งความยง่ั ยืนในทุกระดับ 2. ยกระดบั คุณภาพชีวติ ให้สูงขึ้น มคี วามรบั ผิดชอบ ใหค้ วามรว่ มมือ 3. กำหนดสาระ คิดใหใ้ หญข่ ึ้น 4. เป็นพลงั ผลักดันเพอ่ื ส่งเสริมให้การศกึ ษาของชาติสนใจวิถีชวี ติ ทด่ี ีงาม 5. พฒั นาและสร้างกจิ กรรมเพ่ือเป็นส่ิงทีส่ ่งเสรมิ ให้การศกึ ษาของชาติดำเนนิ ไปในแบบการมีส่วนร่วม ของชมุ ชนและยกระดบั คณุ ภาพชีวิตสู่ยุค 5.0 ในส่วนของการศกึ ษาในยคุ 5.0 นน้ั ธนชพร พุ่มภชาต และคณะ (2563) ได้กลา่ วไวว้ า่ มีทั้งหมด 4 ด้าน โดยทาง คณะผเู้ ขียนไดส้ รปุ ดังน้ี 1. ด้านหลักสูตร คือ การกำหนดเนื้อหาสำหรับการเรียนรู้ ต้องปรับปรุงให้ทันสมัยหรือทันต่อ เทคโนโลยมี ากขนึ้ โดยเฉพาะการศกึ ษาในระดับอาชวี ศกึ ษาและระดบั ปริญญาตรีทจี่ ะตอ้ งมีความพร้อมในการนำความรู้ ไปใช้ในการปฏิบตั ิงานในอาชีพต่างๆ โดยทสี่ ถาบนั จะต้องเตรียมความพรอ้ มในการเปิดหลักสูตร สาขาวชิ า หรอื กลุ่มวิชา ใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่เปลีย่ นแปลงเรว็ เพื่อเน้นการสรา้ งนวัตกรรมที่ไปสรา้ งนวัตกรรมใหมๆ่ หรือต่อยอด นวัตกรรมเดิมให้ตอบโจทย์ธุรกิจในยคุ ดจิ ิทลั ได้ 2. ด้านการจดั การเรียนรู้ คือ ครูควรสนับสนุนหรือส่งเสริมผูเ้ รียนในการเรียนรู้ ไม่ใช่เป็นการออกมา พูดบรรยายในห้องเรียนอย่างที่เคยเป็น รวมทั้งการจัดการเรียนรูน้ ั้นจะตอ้ งมีความหลากหลาย ครูและผู้เรียนจะตอ้ งมี การทำกจิ กรรมรว่ มกนั และเป็นการศึกษาท่ีเน้นสบื คน้ และหาความรตู้ า่ งๆ บนเครอื ขา่ ย 3. ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ คือ เป็นการใช้สื่อแหล่งเรียนรูต้ ่างๆ บนระบบเครือข่าย โดยที่จะทำงาน รว่ มกันได้อย่างสะดวกรวดเร็วและลดการพ่งึ พาอปุ กรณ์ต่างๆ ลง 4. ด้านการประเมินผล คือ เป็นการประเมินผลโดยใช้ความฉลาดและความสามารถของ ปัญญาประดิษฐ์หรือ (AI) มาช่วยในการประเมินผลและจัดการระบบต่างๆ รวมไปถึงการนำข้อมูลที่ได้ถูกจัดเก็บและ รวบรวมไวเ้ พือ่ นำมาประเมนิ ผลไดอ้ ยา่ งงา่ ยและสะดวก 301
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การศกึ ษา 5.0 ภาพอนาคตของประเทศไทย ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่อนาคตประเทศไทย 5.0 ซึ่งเป็นประเทศนวัตกรรมที่ให้ความสำคัญกับการให้การ บริการเทคโนโลยี 5.0 โดยภาพอนาคตต้องเน้นด้านการศกึ ษา เพราะว่าเป็นรากฐานที่สำคัญของสังคมไทยในยุคทีก่ ำลงั กา้ วเข้าส่เู ทคโนโลยี 5.0 (การศึกษาอนาคต 5.0, 2563) 1. การศึกษาระดับปฐมวัย หรืออนุบาล เป็นการจัดการศึกษาใหท้ ุกคนได้เข้าถึงการศึกษาตัง้ แต่แรกเกิดตลอด จนถงึ กอ่ นระดับประถมศึกษา ซึ่งต้องใหค้ วามสำคัญ และพฒั นาให้ได้รับการศึกษาในระดับการศึกษาปฐมวัยอย่างทั่วถึง ทกุ คน เพอ่ื ให้ทันตอ่ การเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ ในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีที่ต้อง นำมาประยกุ ตใ์ ช้เหมาะสมทนั ต่อโลกของการเปล่ียนแปลง 2.การศกึ ษาระดับประถมศึกษา ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในการอา่ นออก เขียนได้ คิดเลขเป็น สามารถนำ ประโยชน์จากการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซึ่งเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อที่จะนำไปใช้ในการเรียน การศึกษา การอบรม ในการเรยี นระดับทสี่ ูงขึ้นตอ่ ไป 3.การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษา ในระดับน้ีแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ มัธยมต้น และมัธยมปลาย โดยปัจจุบันทุกคน ตอ้ งเรยี นจบการศกึ ษาในระดบั ภาคบงั คับ โดยเป็นการจัดการศกึ ษาที่ม่งุ เน้นให้ผู้เรียนมคี วามรู้ทางวิชาการ และวิชาชีพ ใหเ้ หมาะสมกับวัย ตามความความสนใจ ความถนัด เสริมสร้างความรู้ ความสามารถของแต่ละคน ในการประกอบอาชีพ และสามารถศกึ ษาตอ่ ในระดับสูงต่อไป 4.การศึกษาระดับอุดมศึกษา ช่วงระดับปริญญาตรี เป็นการเรียนการสอนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ทกั ษะความรูค้ วามสามารถทเ่ี ป็นสมรรถนะในวชิ าชีพทต่ี นเองเรียน โดยมีการประยุกต์หลักการสู่การปฏบิ ตั ิจริงซึ่งสำหรับ ระดับบัณฑิตศึกษา เป็นการจัดการศึกษาในระดับที่สูงกว่าปริญญาตรี คือ ปริญญาโท และปริญญาเอก เป็นการจัด การศกึ ษา การเรียนการสอนท่มี งุ่ เน้นการสง่ เสรมิ พฒั นาตนเอง ความรู้ ความสามารถ ศกั ยภาพ สมรรถนะ วิชาชีพเฉพาะ ทางท่สี ูงขน้ึ ชำนาญมากข้นึ เพื่อสรา้ งองคค์ วามรู้ สูค่ วามเป็นเลิศในทางวชิ าการ จะเหน็ ได้วา่ การจดั การศึกษาในอดตี ถึงปัจจุบันนัน้ เป็นการจดั การศึกษาตัง้ แต่ระดบั อนุบาลถึงปรญิ ญาตรี เน้น ทส่ี ายสามัญ และวชิ าชีพตามความถนัด ในเม่ือโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเรว็ การจดั การศึกษา การเรยี นต้องเปล่ียนไป ในอนาคต และต้องประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษา และการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียน และ ประชาชนทุกคนไดม้ โี อกาสเขา้ ถึงการศึกษาของประเทศไทยดว้ ยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เชน่ 1. Big Data การเรยี นการสอนในอนาคตตอ้ งอาศัยข้อมูลขนาดใหญ่ และต้องวเิ คราะห์ สงั เคราะห์นำข้อมูลมาใช้ ในการเรียนการสอนโดยอาศัย Big Data เป็นฐาน นำข้อมูลที่มีอยู่มาประยกุ ต์ใช้ในการเรียนการสอน ข้อมูล นักเรียนรายบคุ คลท่นี ำมาวเิ คราะหน์ ้นั มตี ้ังแต่พฤติกรรมขณะเรียน เชน่ นกั เรียนคน้ หาขอ้ มูลจากที่ใด อยา่ งไร เปอร์เซ็นต์ และความสำเร็จในการทำงานส่ง เป็นต้น และพฤติกรรมขณะสอบ เช่น ระยะเวลาที่ใช้ในการทำ ข้อสอบ การข้ามข้อในการตอบข้อสอบ ความสัมพันธ์ของคำตอบในข้อสอบแต่ละข้อ เป็นต้น Jarupreechacharn (2017) กล่าวว่าการนำข้อมูลของนักเรียนรายบุคคลมาวิเคราะห์ ทำให้ได้ลักษณะ จำเพาะรายบุคคลของนักเรียนที่สามารถ นำไปใช้เพื่อค้นหาแนวทางในการพัฒนาผู้เรียน และวิธีการสอนท่ี ได้ผลที่สุดมาใชน้ อกจากนี้ เทคโนโลยี Big data ยังสามารถชว่ ยในการแบ่งกลุ่มผู้เรียนในการทำรายงาน หรือ 302
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แบ่งกลุ่มเรียน โดยแบ่งตามคุณลักษณะของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมและรูปแบบการเรียนที่ใกล้เคียงกัน หรือมี ความชอบคลา้ ยคลึงกนั มาอยกู่ ลมุ่ เดยี วกนั เพือ่ ให้เกิดประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการเรยี น 2. IOT: Internet of Think การศึกษาต้องพึ่งพาอาศัยอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นสิ่งช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้การเรยี น การศึกษาเป็นประโยชน์ มคี ุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ พงศธร ดีมาสู่ (2563) กล่าวว่าการนำระบบบ Internet of Things มาใช้บริหารจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนนั้น เป็นแนวคิดในการพัฒนาระบบบริหารจัดการร่วมกับ อปุ กรณเ์ พ่ือเชื่อมต่อสิ่งต่างๆ ได้อยา่ งอตั โนมัติ โดยควบคุมและส่ังการผา่ นระบบเครอื ข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพิ่มศักยภาพด่านการติดต่อสื่อสาร เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลได้อย่าง อัตโนมตั ิ รวมไปถึงการบรหิ ารจัดการข้อมูล การจัดเกบ็ ข้อมูลซง่ึ อาจนำระบบ Cloud มาใช้ร่วมกับการพัฒนา ระบบรว่ มกันกับเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) 3. Distance Learning ต้องมีการทำระบบการศึกษาแบบการเรียนการสอนทางไกลมาใช้มาเพิ่มเติม เพื่อให้เกิด ความเท่าเทียมและลดความเหลื่อมล้ำสำหรับคนทีอ่ ยู่ไกลและไมส่ ามารถมาเรียนได้ บุญโญรส นาคหสั ดี (2559) กล่าวว่าการศึกษาทางไกล หมายถึง วิธีการจัดการศึกษาที่ผู้เรียนและผู้สอนไม่ไดพ้ บกันโดยตรงส่วนใหญ่ แต่ ผู้สอนจะถ่ายทอดเนื้อหาวชิ าความรู้มวลประสบการณ์ต่าง ๆ ไปทางสื่อ อาจจะเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ เทปเสียง วีดีทัศน์และสื่อคอมพิวเตอร์ทุกประเภท เมื่อการศึกษาทางไกล หมายถึง กิจกรรมการเรียนท่ี สถาบันการศึกษาให้จัดทำเพื่อให้ผู้เรียนซึ่งไม่ได้เลือกเข้าเรียนหรือไม่สามารถจะเข้าในชั้นเรียนที่มีการสอน ตามปกติได้ ผู้เรียนและผู้สอนมีการพบปะกันซึ่งหน้าน้อยครั้ง ซึ่งจะมีการผสมผสานวิธีการที่สัมพันธ์กับ ทรัพยากรประกอบด้วยเอกสารสิ่งพิมพ์และมีการวางแผนการดำเนินการรูปแบบของทรัพยากรประกอบด้วย เอกสารสิง่ พมิ พ์ โสตทศั นูปกรณ์ สื่อคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ ผู้เรียนอาจเลือกใช้ส่ือเฉพาะตน หรือเฉพาะกลุ่มได้ 4. Hardware, Software and Methodology การเรียนการสอนต้องเปลี่ยนไป โดยการนำวธิ กี ารใหม่ๆ หรือการ สอนรูปแบบใหม่ๆมาใช้ในการเรียนการสอน โดยเป็นรูปแบบของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น Smart Phone Mobile learning application Learning เพอ่ื มาใช้ในการสนบั สนุนและส่งเสรมิ การเรยี นการสอน 5. AI: Artificial Intelligence เปน็ การจัดการเรียนการสอนและการศึกษาแบบอัตโนมัติ เช่น การปรับให้เหมาะสม เข้ากับผู้เรียน ผ่านระบบ AI หรือ Robot ผู้เรียน ผู้สอน สามารถเข้าถึงการเรียนรู้ของแต่ละคนตามความรู้ ความสามารถ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและในส่วนของครูอาจารย์จะมีบทบาทท่ีเปลีย่ นไปคือจากเป็นผู้สอน มาเป็นผู้แนะนำและคอยอำนวยความสะดวกแก่ผู้เรียน ซึ่ง แก้วใจ ดวงมณี และ ชนิดา ยาระณะ (2563) ได้ กล่าวถึงความหมายของปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) ไว้ว่า คือ การใช้ซอฟแวร์และ ฮาร์ดแวร์ เพอื่ ให้คอมพวิ เตอร์ มคี วามสามารถคลา้ ยมนษุ ย์ ใน 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) การกระทำคล้ายมนษุ ย์ ในการคดิ การตัดสินใจ การแกป้ ญั หา การรับรู้ 2) การคดิ คล้ายมนุษย์ (Thinking humanly) คอื มีการคดิ ตัดสนิ ใจ การแกป้ ัญหา การเรยี นร้คู ลา้ ยมนษุ ย์ 3) คดิ อยา่ ง มเี หตผุ ล (Thinking rationally) การคิดโดยใชห้ ลกั เหตแุ ละผล คิดแบบตรรกศาสตร์ อาศัย การคำนวณ 4) กระทำอย่างมีเหตุผล (Acting rationally) สามารถกระทำการอย่างมีเหตุมีผล มีการวางแผน มี ข้ันตอน 303
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งจากการปฏิวตั ิวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยใี นปัจจุบัน ทำใหป้ ญั ญาประดิษฐ์ เป็นสงิ่ ที่ช่วยผลักดนั การพัฒนา เศรษฐกจิ โลก รฐั บาลจนี ได้ใหค้ วามสำคัญและวางโครงสรา้ งให้อุตสาหกรรมการบัญชีมีการประยกุ ตใ์ ช้ปญั ญาประดิษฐ์ใน กระบวนการปฏิบัติงาน ถือเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาการบัญชีในอนาคต และในการส่งเสริมการประยุกต์ใช้ ปัญญาประดิษฐ์ในการบัญชี ต้องได้รับความร่วมมือและแก้ไขปัญญาอย่างมีประสิทธิภาพ จากทั้งรัฐบาล องค์กร มหาวิทยาลยั บคุ คล และฝ่ายอืน่ ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง ซง่ึ การจดั การศกึ ษาในยุคใหม่ ควรมีการพัฒนาโดยใช้ AI มาใช้ในการจัด การศึกษา เพื่อให้ผู้เรยี นประสบผลสำเรจ็ มากกว่าการศึกษาในปจั จุบนั จรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพทุกๆ อาชีพล้วนมีจรรยาบรรณของตนเอง เพื่อเป็นสิ่งที่แสดงถึงการยึดมั่นความดีที่ควรพึงปฏิบัติ หากผูใ้ ดมกี ารละเมิดอาจก่อให้เกิดความเสยี หายต่อผู้อ่ืน ผู้ปฏบิ ัติงานในทุกสาขาวิชาชพี นอกจากจะมีความรู้เกี่ยวในสาขาของ ตนเองแล้วส่ิงท่คี วรคำนึงมากท่ีสุด คือ การยึดมนั่ ในจรรยาบรรณวิชาชพี ของตน (วารพี ร อยเู่ ย็น, 2563) จรรยาบรรณ หมายถึง ข้อประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบวิชาชีพแตล่ ะอาชีพกำหนดขึ้นมา เพื่อรักษาและ ส่งเสริมในด้านชื่อเสียงเกียรตคิ ุณแก่องค์กร จรรยาบรรณเป็นข้อกำหนดหลักกฎเกณฑ์ท่ีให้ผู้ประกอบวิชาชีพได้ยดึ ถือ ปฏิบัตินั้นๆ ซึ่งอาจมีการเขียนลงลายลักษณ์เป็นอักษรหรือไม่ก็ได้ ซึ่งไม่ได้แสดงถึงการบังคับแต่เป็นการพึงกระทำ ดงั นัน้ ในแต่ละพ้นื ทีใ่ นแตล่ ะหนว่ ยงานก็ได้มีการกำหนดในเรอื่ งของจรรยาบรรณมากำหนดบทบาทหน้าที่ และพฤตกิ รรม ต่อผู้ทเ่ี กี่ยวข้อง (ปรดี าวรรณ วิชาธิคุณ, 2564) จรรยาบรรณวชิ าชพี มีความแตกต่างไปจากทางด้านของกฎหมายที่แสดง ถึงข้อบังคับสำหรับวิชาชีพทีต่ ้องกระทำด้วยความสมคั รใจด้วยหลักการที่ว่าควรประพฤตปิ ฏิบัติ เพื่อรักษาเกียรติคณุ และสถานภาพของบุคคลในอาชีพนนั้ ๆ จึงกล่าวไดว้ า่ หลกั จรรยาบรรณถือว่ามคี วามสำคญั ดังน้ี (กญั ฐณา ดิษฐ์แก้ว และ คณะ, 2561 ) 1. มคี วามสำคญั ในการควบคมุ มาตรฐาน การประกันคณุ ภาพ ในการประกอบอาชพี เกย่ี วกับการผลิตและการค้า 2. มีความสำคญั ทางการควบคุมทัง้ ทางจริยธรรม และการสง่ เสรมิ จรยิ ธรรมของผปู้ ระกอบการ 3. มีความสำคัญในการสง่ เสรมิ ในด้านคุณภาพและปริมาณที่ดี เปน็ ท่ีนยิ มและน่าเชอ่ื ถือต่อคนในสงั คม 4. มีความสำคัญในแงข่ องการลดปัญหาอาชญากรรม การคดโกง การเอารดั เอาเปรียบ 5. มีความสำคญั ต่อภาพพจน์ท่ีดขี องผู้ประกอบการ เมอ่ื ผู้อืน่ เหน็ กจ็ ะรู้สกึ เชือ่ ถือ 6. มคี วามสำคญั ตอ่ การดำเนนิ ชีวติ ให้เปน็ ไปอย่างหลกั ทำนองคลองธรรม ขอ้ บงั คบั คุรสุ ภาว่าด้วยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2556 ขอ้ บังคบั ครุ ุสภาว่าดว้ ยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ไดก้ ำหนดความหมายของจรรยาบรรณของวิชาชีพ หมายความว่า มาตรฐานการปฏิบัติตนทีก่ ำหนดขึน้ เปน็ แบบแผนในการประพฤติตน ซงึ่ ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นที่ นา่ เชื่อถือศรทั ธาแก่ผ้รู บั บริการและสงั คม (ราชกิจจานุเบกษา, 2556) สุเทพ ธรรมะตระกูล (2555) ได้กล่าวไว้ว่า จรรยาบรรณวิชาชีพครูเป็นแนวทางหรือข้อกำหนดที่ครูควรพึง ปฏิบัติซึ่งประกอบดว้ ยจรรยาบรรณตอ่ ตนเอง จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี จรรยาบรรณตอ่ ผู้รบั บริการ จรรยาบรรณตอ่ ผู้ร่วม ประกอบวิชาชีพ และจรรยาบรรณตอ่ สังคม 304
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไชยยศ เหมะรัชตะ (2560) ได้กล่าวไว้ว่า จรรยาบรรณสำหรับวิชาชพี ครูมีความสำคัญ ซึ่งจะช่วยในการรักษา มาตรฐานวชิ าชพี และการพัฒนาวิชาชพี โดยมีแบบแผนดงั น้ี 1. ครตู อ้ งมีความรกั และความเมตตาต่อศิษย์โดยใหค้ วามเอาใจใส่ชว่ ยเหลือ สง่ เสริมใหก้ ำลงั ใจในการศึกษาเล่า เรยี นแก่ศิษยโ์ ดยเสมอหน้า 2. ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์ อย่างเต็ม ความสามารถด้วยความบรสิ ทุ ธิใ์ จ 3. ครูต้องประพฤติปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอย่างที่ดแี กศ่ ิษย์ท้งั กาย วาจา และใจ 4. ครตู อ้ งไมก่ ระทำตนเป็นปฏปิ ักษ์ตอ่ ความเจริญทางกาย สตปิ ญั ญา จติ ใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ 5. ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์จากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทำการใด ๆ อันเป็น การหาประโยชนใ์ หแ้ ก่ตนโดยมชิ อบ 6. ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื งอยู่เสมอ 7. ครยู อ่ มรักและศรทั ธาในวิชาชีพครูและเปน็ สมาชิกทดี่ ีของวชิ าชพี ครู 8. ครตู อ้ งชว่ ยเหลอื ครูและชมุ ชนในทางสรา้ งสรรค์ 9. ครพู ึงประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ น เปน็ ผู้นำในการอนุรักษแ์ ละพัฒนาภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทย อุษา พรหมริทร์ (2561) ได้สรุปความหมายของจรรยบรรณวิชาชีพครูไว้ว่า จรรยาบรรณวิชาชีพครู หมายถึง แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูที่ได้ประมวลพฤติกรรมที่เป็นตัวอย่างในการประพฤติตามข้อบงั คับคุรุ สภาวา่ ด้วยจรรยาบรรณของวชิ าชีพประกอบ 5 ด้าน ดงั นี้ 1. จรรยาบรรณต่อตนเอง หมายถึง ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ใหท้ นั ต่อการพฒั นาท่เี ปล่ียนแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม และการเมืองอยู่เสมอ 2. จรรยาบรรณต่อวิชาชพี หมายถึง ครูตอ้ งรักศรัทธา ซือ่ สตั ย์สจุ ริต รบั ผดิ ชอบตอ่ วิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดี ขององคก์ รวิชาชีพ 3. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ หมายถึง ครูต้องมีความรักเมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ ศิษย์และผูร้ ับบริการอย่างสดุ ความสามารถด้วยความบริสุทธ์ิใจ ประพฤติปฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งทางกาย วาจา และจติ ใจ ครตู อ้ งมีใจรักบรกิ ารไม่หวงั แต่ผลประโยชนแ์ กต่ นเอง 4. จรรยาบรรณต่อผู้รว่ มประกอบวิชาชีพ หมายถึง ครูต้องช่วยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกัน ยึดมั่นในคุณธรรม ส่งเสริม การสร้างความสามัคคใี นหมู่คณะ 5. จรรยาบรรณต่อสังคม หมายถึง ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นําในการอนุรักษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวม และยึดม่ันในการปกครองระบบ ประชาธปิ ไตย พฤทธ์ ศิรบิ รรณพทิ กั ษ์ (2556) ไดก้ ล่าวไว้วา่ จรรยาบรรณวิชาชีพครู หมายถงึ ขอ้ ประมวลความประพฤติหรือ กริ ยิ าอาการทผ่ี ู้ประกอบวิชาชีพครูควรประพฤติปฏบิ ัติ เพื่อรักษาส่งเสริมเกียรติคณุ ช่ือเสียงและฐานะของความเป็นครู 305
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี โดยทางด้านสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติได้จัดการประชุมลงความเหน็ ชอบโดยแบ่งจรรยาบรรณวชิ าชพี ครูเปน็ 4 หมวด ดังนี้ หมวดท่ี 1 วา่ ดว้ ยอุดมการณ์ครูซึ่งเป็นหวั ใจของการเป็นครู หมวดท่ี 2 วา่ ดว้ ยเอกลักษณ์ของครโู ดยเน้นใหเ้ หน็ ลกั ษณะเฉพาะของครูท่แี ตกตา่ งจากบุคคลในอาชีพอน่ื หมวดท่ี 3 ว่าดว้ ยการรกั ษาวินยั แหง่ วชิ าชพี ครู หมวดท่ี 4 ว่าด้วยบทบาทของครตู ่อบคุ คล และสังคม หมวดที่ 1 อดุ มการณค์ รูซง่ึ เป็นหัวใจของการเปน็ ครปู ระกอบด้วยคุณลักษณะดังนี้ 1. ศรทั ธาในอาชพี ครอู ุทิศตนเพื่อศษิ ย์และการศึกษา 2. ธำรงและสง่ เสริมเกยี รติแหง่ วิชาชพี ครู 3. บำเพญ็ ตนเพื่อประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ส่วนตน 4. ยดึ มัน่ ในคณุ ธรรมมใี จรกั และเมตตาต่อศิษย์ 5. มจี ิตใจเป็นประชาธิปไตย 6. ยึดมนั่ ในศาสนาพระมหากษตั ริย์ หมวดที่ 2 เอกลักษณ์ของครูโดยเน้นให้เห็นลักษณะเฉพาะของครูที่แตกต่างจากบุคคล ในอาชีพอื่นประกอบด้วย คณุ ลักษณะดงั น้ี 1. ดำรงตนอย่างเรยี บง่าย ประหยดั เหมาะสมกบั อาชพี ครู 2. มอี ารมณม์ ัน่ คง และสามารถควบคมุ อารมณ์ทัง้ ในและนอกเวลาท่ีสอน 3. มีสัจจะความจรงิ ใจ ความรับผดิ ชอบต่อหน้าทีค่ รูและต่อตนเองสามารถร่วมงานเปน็ หมคู่ ณะได้ 4. เป็นผมู้ ีวฒั นธรรมมศี ีลธรรมตามศาสนาทีต่ นนับถือและเปน็ ตวั อยา่ งทีด่ ีของศิษย์ 5. เป็นคนตรงเวลาประพฤติตนสม่ำเสมอ 6. เป็นผมู้ วี าจาสภุ าพอ่อนโยนและแตง่ กายเรยี บรอ้ ยเหมาะสม 7. ใฝ่หาความรูส้ ำรวจและปรบั ปรงุ แก้ไขตนเองและงานสอนอยู่เสมอ 8. กระตอื รือร้นขยั่นหมน่ั เพียรและตั้งใจใช้กลวิธสี อนใหศ้ ิษย์เกดิ ความรู้จนเปน็ แบบอย่างการสอนทีด่ ี 9. มคี วามคดิ รเิ ร่ิมและนำสง่ิ ใหม่ๆมาใชส้ อนศิษย์ 10. รจู้ ักผอ่ นปรนตอ่ ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วกับงานครู และหาทางแกไ้ ขโดยสนั ติวิธีเปน็ พลเมืองดี 11. ใหเ้ กยี รตโิ ดยไมเ่ ลอื กเชอื้ ชาติ ศาสนา ฐานะครอบครวั เพศและวยั 12.เปน็ ผู้มีใจกว้างและมนี ้ำใจนกั กีฬารับฟงั ความคดิ เห็นของศษิ ย์และเปิดโอกาสให้ศิษยไ์ ด้ปรึกษาหารืออย่าง สม่ำเสมอ 13. เอาใจใส่ตอ่ การเรยี นความประพฤตแิ ละความเปน็ อยู่ของศษิ ยอ์ ยูเ่ สมอ 14.เข้าใจถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของศษิ ย์ 15. เป็นผเู้ ห็นศิษยม์ คี วามสำคญั และพจิ ารณาคณุ คา่ ของศษิ ยแ์ ต่ละคนด้วยเหตผุ ล 16. เปน็ ผู้ทน่ี า่ เคารพรักและทำให้ศษิ ยเ์ กดิ ความอบอุ่นใจ 306
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 17. มคี วามยตุ ิธรรม และตดั สนิ ใจหรอื ลงโทษศิษย์อย่างมีเหตุผล 18.เปน็ ผคู้ วรแก่การยกย่องนับถอื ในเชิงภมู ปิ ญั ญาและเชาว์ไหวพริบในดา้ นการอบรมส่งั สอน 19. สามารถอรรถาธิบายเรอื่ งยากให้เข้าใจงา่ ย หมวดท่ี 3 วา่ ด้วยการรักษาวนิ ยั แหง่ วชิ าชีพครู 1. รักษาความลบั ของศษิ ยเ์ พ่ือนร่วมงานและสถานศึกษา 2. ไมแ่ สดงอาการอาฆาตพยาบาทตอ่ ศษิ ย์ 3. เขา้ สอนโดยสม่ำเสมอไม่ปิดบงั หรือบดิ เบือนเนื้อหาสาระทางวชิ าการ 4. สภุ าพเรียบร้อยเชือ่ ฟังและไม่แสดงความกระด้างกระเด่ืองต่อผู้บงั คับบัญชาซึ่งส่งั ในหน้าท่ีการงานโดยชอบ ดว้ ยกฎหมายและระเบยี บแบบแผนของสถานศกึ ษา 5. ต้องถือและปฏบิ ัตติ ามแบบธรรมเนยี มท่ีดขี องสถานศึกษา 6. ตง้ั ใจปฏบิ ัตหิ น้าทข่ี องตนให้เกดิ ผลดีดว้ ยการเอาใจใสร่ ะมดั ระวงั รักษาผลประโยชนข์ องสถานศกึ ษา 7. ไม่ละทิง้ หนา้ ทดี่ า้ นการสอนและงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายตลอดจนอุทิศเวลาของตนใหก้ บั สถานศึกษา 8. รักษาความสามคั คชี ื่อเสียงของคณะและสถานศกึ ษาท่ีสังกัดอยู่ 9. ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีอย่างจริงจงั ดว้ ยความรบั ผดิ ชอบและเสยี สละ 10. ใหเ้ กยี รตแิ กเ่ พื่อนรว่ มอาชพี และบคุ คลทัว่ ไป 11. ไม่ลบหลดู่ หู มิน่ ศาสนา 12. รักษาความลบั ของเพ่อื นรว่ มงาน และสถานศึกษา 13. รกั ษาและสง่ เสรมิ ความสามคั คขี องหม่คู ณะ 14. ไมน่ ำหรือยอมใหน้ ำผลงานทางวชิ าการของตนไปใช้ในทางทุจรติ หรือเป็นภยั ต่อมนุษยชาติ 15. ไมน่ ำผลงานของผอู้ ืน่ มาแอบอ้างเปน็ ผลงานของตน 16. รกั ษาชื่อเสียงมใิ หข้ ึน้ ช่อื ว่าประพฤตชิ ่วั 17. ประพฤติตนและปฏิบัติหนา้ ท่ดี ้วยความซ่ือสตั ย์และเทย่ี งธรรม โดยไมเ่ ห็นแกป่ ระโยชนอ์ ันมิชอบ หมวดที่ 4 ว่าดว้ ยบทบาทของครูต่อบุคคล และสงั คม 1. ยดึ มน่ั ในชาตศิ าสนาพระมหากษตั ริย์ 2. สง่ เสริมกจิ กรรมในระบอบประชาธิปไตย 3. ส่งเสรมิ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสถาบนั ดว้ ยกันและระหว่างสถาบนั และชมุ ชน 4. สร้างและส่งเสริมความสามัคคีอันดีระหว่างครแู ละผูป้ กครอง 5. ดำรงชีวติ และการปฏบิ ตั ติ นเปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ีชุมชน 6. รบั ใช้สังคมด้วยการสรา้ งสรรค์ผลงานทางวิชาการ 7. โอบอ้อมอารมี ีน้ำใจตอ่ ผอู้ นื่ 307
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จรรยาบรรณวชิ าชพี ครนู ั้นจึงเปน็ แนวทางหรือข้อกำหนดทค่ี รูพงึ ตระหนักและปฏิบตั ิ ซ่งึ คุณสมบัติดังกล่าวต้อง มกี ารพฒั นาท้ังตนเองและด้านวิชาชีพ อันประกอบไปดว้ ยจรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ จรรยาบรรณ ตอ่ ผูร้ บั บรกิ าร จรรยาบรรณต่อผรู้ ่วมประกอบวิชาชพี และจรรยาบรรณต่อสงั คม หลกั การสำคัญของจรรยาบรรณวิชาชีพ Nattarika (2016) ไดก้ ล่าวถงึ หลักการสำคญั ของจรรยาบรรณวชิ าชีพในการประกอบอาชพี ครนู อกจากจะทำ ความเขา้ ใจถงึ ความหมายของจรรยาบรรณแลว้ ยงั มีหลักการสำคญั ของจรรยาบรรณวชิ าชีพครู ดงั น้ี 1. ความรักความศรัทธาในอาชีพ เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ เพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจและ กำหนดกรอบของการกระทำอันจะส่งผลต่อความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางหน้าท่กี ารงานและต่อสถาบนั 2. ความซื่อสัตย์สุจริต การดำเนินกิจกรรมต่างๆ นั้นจำเป็นต้องมีความซือ่ สัตย์สุจริต ทั้งในด้านการทำงานใน หน้าท่ี เพอื่ นร่วมงาน รวมถงึ ผ้บู ังคบั บัญชา เพอ่ื ก่อใหเ้ กิดความประสบผลสำเร็จตามเปา้ หมาย 3. การให้ความเคารพต่อกฎระเบยี บข้อบังคับหรือจรรยาบรรณในอาชีพทุกๆ อาชพี ย่อมมกี ฎระเบียบข้อบังคับ เพอ่ื เปน็ กรอบและแนวทางใหผ้ ้ปู ระกอบวชิ าชีพปฏิบัติตามหลกั จรรยาบรรณวิชาชพี เป็นตัวกำหนดใหผ้ ู้ประกอบวิชาชีพมี บุคลกิ ลกั ษณะตามแบบแผนของอาชพี โดยตอ้ งอาศยั ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ใหค้ วามเคารพและปฏบิ ตั ิตามจงึ จะบงั เกิดผล 4. ยกย่องให้เกียรติผู้ร่วมวิชาชีพวิชาชีพในการประกอบวิชาชีพทุกๆ อาชีพควรยกย่องและให้เกียรติผู้ร่วม วิชาชีพมีความสำคัญอย่างยิ่ง การช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันก็เป็นสิ่งสำคัญที่บ่งบอกถึงการสร้างมิตรภาพทั้งการ ทำงานและการใชช้ ีวิตรว่ มกันในสงั คม เพอื่ ใหก้ ารประกอบอาชีพดำเนนิ ไปอย่างไมเ่ กิดขอ้ ขดั แยง้ และประสบผลสำเร็จ 5. การรวมกลุ่มเพื่อสร้างความมั่นคงในวิชาชีพ ในการสร้างความมั่นคงให้กับวิชาชีพนั้นจะต้องได้รับความ ร่วมมอื รว่ มใจของคนในกล่มุ เพื่อสรา้ งความแขง็ แรงใหก้ บั องค์กร และเสรมิ สรา้ งความมั่นคงให้กับวชิ าชีพ ความสำคญั ของจรรยาบรรณวิชาชพี ครู จรรยาบรรณวิชาชีพครูมีความสำคัญต่อวชิ าชีพครูเช่นเดยี วกบั ท่ีจรรยาบรรณวชิ าชีพมีความสำคัญต่อวิชาชีพ อ่ืนๆ ซึ่งสรุปได้ 3 ประการคือ (พฤทธ์ ศริ ิบรรณพิทกั ษ์, 2556) 1. ปกปอ้ งการปฏิบัติงานของสมาชกิ ในวชิ าชีพ 2. รักษามาตรฐานวิชาชพี 3. พัฒนาวชิ าชพี จรรยาบรรณครมู คี วามสำคัญต่อผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครู ดังนี้ (ความสำคญั แห่งจรรยาบรรณวิชาชพี ครู, 2563) 1. ช่วยควบคุมมาตรฐานคุณภาพของครูให้ครูมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ทั้งด้านความประพฤติ ศีลธรรม จริยธรรม 2. ช่วยส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพและปริมาณที่ดีมีคุณค่าสู่สงั คม ทำให้ครูได้รับความเชือ่ ถือศรัทธาจากผูพ้ บ เห็น เป็นท่ีนา่ นับถือแก่ศิษย์ และคนในสังคม 3. ชว่ ยพิทักษ์สิทธใิ นการประกอบวิชาชีพครูและควบคุมมาตรฐานในการประกอบวชิ าชพี ใหเ้ ปน็ ไปขอ้ กฎหมาย ขอ้ บังคบั ในการควบคุมมาตรฐานในการประกอบวชิ าชีพครู 308
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 4. ช่วยลดปัญหาความประพฤติปฏิบัติของครูที่ไม่เหมาะสมไม่สมควร ผิดหลักศีลธรรมคุณธรรม เช่น ความ ประพฤติผดิ ทางเพศไปในทางชูส้ าว การทะเลาะวิวาท ชกตอ่ ย เป็นต้น 5. ช่วยส่งเสริมภาพลกั ษณ์ของครูทีม่ ีคุณธรรมจริยธรรมให้เห็นเด่นชัดยิ่งขึน้ เช่น ความรัก ความเมตตา ความ เสยี สละ อุทิศตนเพอ่ื ประโยชน์ส่วนรวม ความรบั ผิดชอบในหนา้ ทก่ี ารงานและอาชพี ความโอบออ้ มอารตี ่อศิษย์ 6. ช่วยรักษาช่อื เสยี งเกยี รติและศักดศิ์ รีของผ้อู ยใู่ นวงการวชิ าชีพไมใ่ หเ้ ส่อื มเสีย 7. ชว่ ยให้ครูได้ตระหนกั รูใ้ นความสำคัญของบทบาทหนา้ ที่ และภาระงานของตนทไ่ี ดร้ ับมอบหมายต่อสังคม 8. ชว่ ยปลกู ฝงั คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคแ์ ละการประพฤติปฏิบตั ติ นของครูใหถ้ กู ตอ้ งตามครรลองครองธรรม แนวทางการพฒั นาจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู ในการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชพี ครสู ามารถใช้ตามหลกั วชิ าการจิตวทิ ยาในการกำหนด การพัฒนาจรรยาบรรณ วชิ าชีพครู การพัฒนาคณุ สมบตั ขิ องบุคลากรในวิชาชพี และการพัฒนาบทบาทของหนว่ ยงานดังน้ี (วนี ันท์กานต์ รุจภิ กั ดิ์ และคณะ, 2560 ) 1. การพฒั นาจรรยาบรรณตามแนวคิดอทิ ธพิ ลในสงั คม แนวคิดอิทธิพลในสังคมเป็นแนวคิดท่ีมคี วามเกี่ยวข้องทางด้านจติ วทิ ยา ในกลุ่มทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ซึ่งเนน้ ถงึ ความสำคัญในการสร้างจริยธรรมใหก้ ับบุคคลที่อยูภ่ ายในสังคม และความเชื่อทางทฤษฎสี ังคมวิเคราะห์ มีความเชื่อวา่ จริยธรรมนั้นเกิดขึ้นและพัฒนาพร้อมๆ กับสังคม และเผ่าพันธุ์ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาให้บุคคลมีจริยธรรมหรือไร้ จริยธรรม ซ่งึ การนำแนวคดิ นีม้ าใชใ้ นการพฒั นาจรรยบรรณวชิ าชีพครสู ามารถนำมากำหนด กฎ หรอื ข้อบังคบั ท่ีส่งผลต่อ อิทธิพลในการพฒั นาจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู หรอื บคุ ลากรทางการศึกษาอนั สง่ ผลถงึ การพัฒนาสงั คม 2. การพัฒนาคุณสมบตั ขิ องผ้มู จี รรยาบรรณ คุณสมบัติของผู้มีจรรยาบรรณจะต้องปฏิบตั ติ ามหลักการ 4 ประการตามหลักทฤษฎจี รรยาบรรณ ดงั นี้ 2.1 ผู้ทีย่ ึดผลลัพธ์หรืออรรถประโยชน์ หมายถึง ผู้ปฏบิ ตั ิตอ่ งานโดยคำนงึ ถึงประโยชน์ที่จะเกิดข้ึนท้ัง ต่อตนเองและสว่ นรวม ซี่งเน้นถงึ คณุ ภาพของงานเปน็ หลกั สำคญั 2.2 เปน็ ผยู้ ดึ หลักความสัมพันธ์ หมายถึง บคุ คลที่สร้างสัมพนั ธไมตรีที่ดีตอ่ ผอู้ ื่น ให้ความเคารพนับถือ ชว่ ยเหลอื เก้อื กลู ซึ่งกนั และกนั โดยไมแ่ บง่ ชนชัน้ หรอื ฐานะ 2.3 เป็นผู้ปฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบ หมายถึง บุคคลที่ปฏิบัติตาม กฎ ข้อบังคับ ระเบียบในสังคม หรือ ปฏบิ ตั ิตามคำม่ันสัญญาทีไ่ ด้ใหไ้ วก้ บั ผอู้ ่ืน 2.4 เปน็ ผใู้ ช้วธิ กี ารทถ่ี ูกต้อง หมายถงึ เปน็ ผทู้ ที่ ำตามกระบวนการอย่างถูกตอ้ งโดยปฏิบัตติ ามลำดับขั้นตอน 3. การพฒั นาบทบาทของหน่วยงาน ในการพฒั นาจรรยาบรรณวชิ าชีพครูน้ัน นอกจากครุ สุ ภาจะเปน็ ผรู้ ับผิดชอบแล้ว ยังตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือจาก หน่วยงานอื่นๆ เข้ามาช่วยในการพัฒนาจจรยาบรรณวิชาชีพครูอีกด้วย ซึ่งสามารถดำเนินการตามหลักการได้ต่อไปน้ี 3.1 การกำหนดมาตรฐานจรรยาบรรณ หน่วยงานที่ทำหน้าที่รับผิดชอบการกำหนด จรรยาบรรณในวิชาชีพ ควรจดั ทำตามแนวทาง ดังน้ี 3.1.1 กำหนดจรรยาบรรณให้สอดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ มและปญั หาทพ่ี บในปัจจุบนั 309
การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 3.1.2 ในการจัดทำจรรยาบรรณสามารถทำได้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งจะต้องมีการเลือก รปู แบบที่เหมาะสมที่สดุ ใหก้ บั องคก์ ร 3.1.3 เขยี นจรรยาบรรณเป็นเชิงพฤตกิ รรมท่ชี ดั เจน สั้น กะทดั รัด และใหเ้ ข้าใจง่าย 3.1.4 กำหนดข้อทพี่ ึงปฏบิ ตั ิใหอ้ ยูใ่ หส้ ามารถปฏบิ ัติตามได้ 3.2 การนำจรรยาบรรณไปสู่การปฏิบัติในการกำหนดจรรยาบรรณให้บรรลุเป้าหมายได้นั้นจะต้องมี มาตรการปฏิบตั ใิ หเ้ ปน็ อยา่ งรปู ธรรม โดยใชแ้ นวคิดดังนี้ 3.2.1 กำหนดองคป์ ระกอบสำคญั ในกระบวนการ 3.2.2 สรา้ งเงอ่ื นไขในการปฐมนิเทศ 3.2.3 สอดแทรกและเสรมิ ไว้ในหลกั สตู รในการพัฒนาต่อเจ้าหนา้ ที่ 3.2.4 ใช้เปน็ องคป์ ระกอบในการพจิ ารณาการเลื่อนขนั้ หรือเลื่อนตำแหน่ง 3.2.5 ยกย่องผปู้ ฏบิ ัติตามมาตรฐานอยา่ งสม่ำเสมอ 3.2.6 เปน็ เครื่องมอื ในการสรา้ งวัฒนธรรมทีด่ ีแก่องค์กร 3.2.7 เป็นแบบอยา่ งท่ีดีให้กับบคุ ลากรในองค์กร 3.3 การสร้างความสำเร็จ ในการมุ่งสู่ความสำเร็จได้นั้นจะต้องมีมาตรการเสริมสร้าง และปัจจัยที่ เก่ียวข้องตอ่ การปฏิบัติตามจรรยาบรรณ ดังนี้ 3.3.1 มาตรการส่งเสรมิ หรอื ปจั จยั สนับสนุน 1) การสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนักถึงการประพฤติจามหลกั จรรยาบรรณ 2) การให้รางวัล โดยการจัดให้มีการมอบรางวัลแก่ผู้ที่มีความประพฤติอยู่ใน ขอ้ กำหนดตามหลักจรรยาบรรณ 3) การสร้างแบบอยา่ งทีด่ ี โดยมีการยกตัวอย่างทด่ี ีให้สังคมได้เห็นแบบอย่าง 4) การจัดตั้งเครือขา่ ยทเ่ี สริมสร้างและพฒั นาจรรยบรรณวชิ าชีพ 5) จัดกิจกรรมต่างๆ ที่แสดงถึงการรณรงค์เกย่ี วกบั จรรยาบรรณวชิ าชพี 6) เผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์ ใหค้ วามร้แู ก่บคุ ลากรทางการศึกษาอย่างสม่ำเสมอ 7) จัดให้มีการศึกษาดูงานที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามจรรบรรณวิชาชีพครูที่ดี เพ่ือ เป็นแบบอยา่ งให้บุคลากรทางการศึกษาได้ประพฤติปฏบิ ัติตาม 3.3.2 ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ไดแ้ ก่ 1) บุคลากรทางวิชาชีพมีความรู้ความเข้าใจถึงความหมายทไ่ี ด้กำหนดไว้อย่างถ่องแท้ 2) บุคลากรทางวิชาชพี ยอมรบั และศรัทธาถงึ คุณคา่ ต่อมาตรฐานของจรรยาบรรณ ตามท่ีกำหนดไว้ เพอ่ื เปน็ แบบแผนในการปฏบิ ตั ิงาน 3) บุคลากรทางวชิ าชีพนำจรรยาบรรณไปปฏิบัติในชวี ติ ประจำวัน แนวทางการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพครูนั้น ครูจะต้องอาศัยหลักการ และความรู้ในศาสตร์อื่นๆ มา ประยุกต์ใช้ให้มคี วามสอดคล้องต่อองค์การทางวิชาชีพหรือหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง โดยจะต้องมกี ารดำเนินงานอยา่ งเตม็ รูปแบบและตอ่ เนอื่ ง 310
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ปจั จยั ที่เก่ยี วข้องกับการพัฒนาวิชาชีพครู ในการพัฒนาครูเพื่อให้ไดค้ ุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพนัน้ จะต้องดำเนินงานตามกระบวนการเริม่ ตั้งแต่มีการ วางแผนนำไปปฏิบตั ติ ามแผนกำกบั ติดตามและการประเมินผล ซ่ึงมีปจั จัยตา่ งๆ ที่เกีย่ วขอ้ งในกระบวนการพฒั นาวิชาชพี ครู ดงั น้ี (อรรณพ จีนะวฒั น์, 2559) 1) วฒั นธรรมการสนบั สนุน ในการพัฒนาวชิ าชีพครใู ห้ประสบความสำเร็จได้ต้องอาศัยการสง่ เสรมิ และเสรมิ สรา้ งวัฒนธรรมทั้งในและนอก สถานศกึ ษาอย่างเปน็ รูปธรรมโดยมีแนวทางดำเนินการ ได้แก่ การพัฒนาคา่ นิยม การเปดิ โอกาสให้ครูได้มีโอกาสเรียนรู้ แลกเปลีย่ นสนทนากันระหวา่ งคนในองค์กร เพื่อเสรมิ สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมอื รว่ มใจกนั ในการทำงาน เป็นตน้ 2) บรบิ ท ในการพฒั นาวชิ าชีพครไู ม่ควรมรี ูปแบบใดรูปแบบหนึง่ เพราะบรบิ ทท่แี ตกต่างกนั ส่งผลทใหเ้ กิดการดำเนินการ พัฒนาวิชาชีพทีแ่ ตกต่างกนั โดยจะต้องมีกลยทุ ธิ์ที่หลากหลายและแตกต่างกันออกไป เพื่อให้สอดคล้องตอ่ บริบทด้าน เศรษฐกิจและสังคมของสถานศึกษา 3) ระดับการพัฒนาของสถานศกึ ษา ในการพัฒนาของสถานศึกษา ย่อมมีระดับการพัฒนาที่แตกต่างกันออกไป โดยระดับการพัฒนาสามารถแบ่ง ออกได้ 4 ระดบั ดังนี้ ระดับที่ 1 โดยส่วนใหญ่แล้วครูในสถานศึกษาค่อนข้างมีประสบการณ์ในการสอนน้อย และมีวุฒิ การศึกษาท่ีไมต่ รงตามวุฒิ ดังนนั้ จะต้องมีกระบวนการเสรมิ สร้างความรูใ้ นศาสตรเ์ นอ้ื หาทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการสอนให้ผู้สอน อยา่ งแน่น มีการนเิ ทศติดตามการสอนอยา่ งเขม้ งวด ระดับที่ 2 ในสถานศึกษาได้มีการจัดอบรม พัฒนาบุคลากรครูแล้วแต่ครูยังคงมีการพัฒนาไม่ หลากหลาย ซ่ึงครูจะต้องมีการเรยี นรูเ้ พ่มิ เตมิ โดยการหาเทคนคิ การสอนจากตำรา หรอื นอกตำรา ที่เปน็ เทคนิคการสอน สมัยใหม่ เพือ่ สง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรูใ้ หก้ ับผู้เรยี นได้อย่างเหมาะสม ระดบั 3-4 ปจั จบุ นั ในสถานศกึ ษาครูสว่ นใหญ่ได้ปฏิบัตติ ามแผนการสอน และเม่อื ครูมกี ารพัฒนามาก ขึ้นจนมีประสบการณ์เพียงพอท่ีสามารถมีการพัฒนา มีความคิดริเร่ิมความ มีความเป็นอิสระในการจดั ทำแผนการสอน ของตนได้ ซึ่งสถานศึกษาจะต้องช่วยส่งเสรมิ ครูและเปดิ โอกาสใหค้ รูได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะการสอน โดยใช้ วธิ กี ารสอนหรอื เทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย 4) เวลา ในการพัฒนาครูนัน้ จะต้องอาศยั เวลาเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างหนึ่งในการฝึกฝน พัฒนา หาความรู้อยู่เสมอ ครู จะต้องได้รบั การสนับสนุนในการมีเวลาท่เี พยี งพอต่อการพัฒนาตนเอง วางแผนการสอน และแลกเปลี่ยนความรู้ กย็ ่งิ สง่ ผลทำใหป้ ระสิทธภิ าพการสอนของครนู นั้ เพม่ิ มากข้ึน 5) งบประมาณ งบประมาณเป็นปัจจัยสำคัญมากในการพัฒนาวิชาชีพครู แต่ในขณะนี้ประเทศต่างๆ ทั่วโลกกำลังเผชิญกับ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ อันส่งผลถึงงบประมาณที่ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพฒั นาวิชาชีพของครู ฉะน้นั 311
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แลว้ การอาศัยงบประมาณในการพฒั นาวิชาชพี ครูอย่างเดียวคงไม่เพียงพอตอ่ สถานการณ์ปัจจุบัน ในการพัฒนาวิชาชีพ ครูไดน้ นั้ จึงจำเปน็ จะต้องอาศยั ความรว่ มมือจากหลายๆ ฝ่ายและหาแนวทางทไ่ี ม่ตอ้ งใช้งบประมาณในการพฒั นาด้วย 6) ข้ันตอนในการพัฒนาวิชาชีพ ในการพัฒนาวชิ าชีพครูให้มีความกา้ วหนา้ ได้นั้นจะตอ้ งมีความใส่ใจในเรื่องของประสทิ ธภิ าพ ซึ่งสามารถแบ่ง การพฒั นาได้เปน็ 5 ข้ันตอน ดังนี้ ขน้ั ที่ 1 ข้ันเริ่มมีประสบการณ์สอน 1-3 ปี ในขัน้ น้ีครูต้องต้องมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในวิชาชพี ของตน ขั้นท่ี 2 ครูเร่มิ มีความมั่นคง มีประสบการณส์ อนมาแล้ว 4-6 ปี ครมู คี วามรอบรู้ในเน้อื หาท่ีสอนมากข้ึน ขนั้ ท่ี 3 เปน็ ระยะทคี่ รูมคี วามคิดแตกต่าง โดยครมู ปี ระสบการณ์สอน 7-18 ปี ครูมีความกระตือรือร้น ในการสอนมากขึ้น มกี ารศึกษาค้นคว้าวิธกี ารสอนใหม่ๆ ขั้นที่ 4 เป็นระยะที่ครูมีความคิดแตกต่างในครั้งที่ 2 ครูมีประสบการณ์สอน 19-20 ปี มีความคิด วเิ คราะห์ในเร่ืองระบบการบรหิ ารการจัดการโรงเรียน ข้นั ท่ี 5 เป็นระยะปลดปล่อย ครมู ปี ระสบการณ์สอนมาแล้ว 31-50 ปี ในชว่ งน้ีครจู ะมีแนวโน้มในการ พฒั นาตนเองน้อยลงเร่อื ย ๆ 7) การใช้เทคโนโลยเี พ่อื การสอน ครจู ะต้องมกี ารพัฒนาทางด้านการนำเทคโนโลยมี าใช้ในการสอนทเ่ี พิ่มมากขึน้ เพ่ือเปน็ ไปตามบริบทสังคมโลก ที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยหน่วยงานจะต้องมีการสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะของครูด้าน เทคโนโลยี และสร้างโอกาสการเรยี นรู้ของครใู นการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างสมำ่ เสมอ 8) บทบาทขององคก์ ารด้านวิชาชพี ครู องค์การครูเป็นปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งในการเสริมสร้างความก้าวหน้าในทางวิชาชีพครู โดยองค์การที่มี ประสิทธิภาพจะมีแนวทางการพัฒนาครูอย่างหลากหลาย ซึ่งขึ้นอยู่กับความพร้อมของครูแต่ละคน และขึ้นอยู่กับ สถานศึกษาด้วย ในการพัฒนาครเู พื่อใหไ้ ดค้ ณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชพี นัน้ ล้วนมีปัจจัยต่างๆ เข้ามาเก่ียวขอ้ งในการดำเนินการ พัฒนาตามกระบวนการและจะต้องอาศัยความร่วมมือหลายๆ ฝ่าย เพื่อส่งเสริมคุณภาพในการพัฒนาครู และบุคลากร ทางการศึกษาตามมาตรฐานวิชาชพี จรรยาบรรณวิชาชพี ครูสูก่ ารพฒั นาการศึกษา 5.0 ปัจจุบันโลกกำลังก้าวเข้าสู่ยุค 5.0 เป็นยุคแห่งนวัตกรรม ซึ่งส่งผลทำให้ทั้งระบบการศึกษาจะต้องมีการ ปรับเปลี่ยนรปู แบบการเรยี นการสอนที่เพ่ิมมากข้ึน เพอื่ ให้การศกึ ษาสามารถสรา้ งผลผลิตได้สอดคล้องกบั ความต้องการ และบริบทของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ในการยกระดับคณุ ภาพทางการศกึ ษาที่ดีได้นั้นจะต้องมี การพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรียนให้มศี กั ยภาพทเ่ี พมิ่ ขึ้นดว้ ย ซ่ึงบคุ คลทช่ี ่วยในการพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รยี นนั้นคอื ครู ซึ่ง ครูเป็นบุคลากรที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการจัดการศึกษา หน้าที่ที่สำคัญของครู คือ ครูต้องมีการจัดกระบวนการ เรียนรู้ อบรม สั่งสอน พัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ให้บุคคลสามารถปรับตัวอยู่ร่วมกบั บุคคลอื่นได้อย่างมีความสขุ ซึ่งคุณภาพของครูผูส้ อนก็ 312
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพด้านการเรียนรูข้ องผู้เรียนด้วย (ยุทธศาสตร์ เพียรไธสง และ คณะ, 2559) ท่ามกลางการเปลย่ี นแปลงของโลกทเ่ี จริญมากขึ้น พบว่าครมู กี ารกระทำผิดต่อจรรยาบรรณวิชาชพี ครูที่เพิ่มข้ึน เน่อื งด้วยปจั จัยต่างๆ บญุ เลิศ โพธขิ์ ำ (2557) ไดก้ ลา่ วถงึ การกระทำความผดิ ต่อจรรยาบรรณวชิ าชีพครทู ม่ี ีผลกระทบต่อ ประชาชนและได้ยกตวั อยา่ งทีส่ ามารถแยกเป็นประเด็นยอ่ ย ได้ดังตอ่ ไปนี้ 1. ครูไม่กระทำเป็นแบบอย่างที่ดี ซึ่งครูถอื ว่าเป็นบคุ คลที่จะต้องถ่ายทอดความรูแ้ ละเปน็ แบบอย่างที่ดีใหก้ ับ เยาวชนและสังคม เพื่อที่จะได้นำความรู้ไปพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และพัฒนาให้กับประเทศชาติ ตัวอย่างของครูท่ี กระทำตนเป็นแบบอย่างทไ่ี มด่ ี เชน่ ครูชอบเท่ียวยามวิกาล ดม่ื สรุ าจนเกดิ เรอ่ื งทะเลาะววิ าทตอ่ ผ้อู นื่ เปน็ ตน้ 2. ครูไม่ให้ความเป็นธรรมกับผูเ้ รียนหรือประชาชน เช่น ครูรับสินบนจากผูเ้ รียน เพื่อแลกกับผลการเรยี นหรือ คะแนน ซึ่งผลกระทบดังกล่าวน้ี ทำให้สามารถส่งผลต่อผู้เรยี นโดยตรงในอนาคตเป็นอยา่ งย่ิง ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนจำแล้ว นำไปเปน็ เย่ียงอยา่ ง อันนำไปสู่การทจุ ริต คอร์รัปชั่น เปน็ ตน้ 3. ครูดูหมิ่นเหยียดหยามข่มเหงผู้เรียน ผู้มาติดต่อราชการ เช่น ในกรณีดูหมิ่นผู้เรียน หากผู้เรียนตอบคำถาม ไม่ไดห้ รอื ไมถ่ กู ต้อง ครูผูส้ อนดหู ม่นิ เหยียดหยามผเู้ รยี นว่าโง่ เป็นต้น สว่ นในกรณีดูหมนิ่ เหยียดหยามผ้มู าติดต่อราชการ เช่น ดหู มนิ่ ผู้ที่มีความรู้น้อยหรือมีฐานะท่ีดอ้ ยกวา่ ดว้ ยสีหน้า ท่าทาง และคำพดู เปน็ ตน้ ทำใหส้ ง่ ผลเสียต่อภาพลักษณ์ ในองคก์ ร และวนิ ัยร้ายแรงสำหรับครู ซึ่งจากตัวอย่างดังกล่าวส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของระบบทางการศึกษาเป็นอย่างมาก จึงทำให้จรรยาบรรณ วิชาชีพครูต้องมีการพัฒนา เพราะจรรยาบรรณวิชาชีพครูมผี ลต่อการจัดการเรียนการสอนให้กบั ผู้เรียน โดยครูจะต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้เรียน ครูจะต้องมีการพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศนใ์ ห้ทันต่อ การพัฒนาทางวชิ าการ เศรษฐกจิ สังคม และการเมือง เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพทางการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งต่อความต้องการ ทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ จากสภาพสังคมไทยในยุค 5.0 ที่เปลี่ยนแปลงไประบบทางการศึกษา จำเปน็ ต้องมีการปรับเปล่ยี นในการพัฒนาคุณภาพคนในสงั คมไทยใหม้ คี ุณธรรมและมคี วามรอบรอู้ ยา่ งเท่าทัน ให้มีความ พร้อมทั้งด้านรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปล่ียนแปลง เพื่อนำไปสู่แนวการพฒั นาคน โดยมงุ่ เตรียมเดก็ และเยาวชนให้มพี นื้ ฐานจติ ใจทดี่ งี าม มจี ิตสาธารณะ พรอ้ มท้ังมสี มรรถนะ ทักษะ และความรู้พื้นฐานที่ จำเป็นในการดำรงชีวิต เมอื่ พจิ ารณาจากข้อมลู ข่าวสารต่อการกระทำผดิ จรรยาบรรณวชิ าชพี ครใู นปัจจบุ นั แลว้ พบว่าส่ิงที่ครคู วรจะต้อง ได้รับการพัฒนาเป็นอันดับแรก คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ที่ครูจะต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ให้แก่ผู้เรียนและสังคมในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพครู อันได้แก่ 1) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพตนเอง คือ ครูจะต้องมีวินัย พัฒนาตนเองในด้านวิชาชีพ วิสัยทัศน์ บุคลิกภาพ ให้ทันต่อการ พัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เป็นต้น 2) จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี คอื ครจู ะต้องรัก และศรัทธาต่อ วิชาชพี ของตนเอง เป็นตน้ 3) จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ับบริการ คอื ครจู ะตอ้ งรกั เมตตา เอาใจใสศ่ ิษย์ สง่ั สอนศิษย์ด้วยความ เต็มใจ เป็นต้น 4) จรรยบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ คือ บุคลากรทางการศึกษาจะต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สร้าง ความสามัคคกี นั ในหมู่คณะ เป็นต้น และ 5) จรรยาบรรณตอ่ สังคม คอื ครตู ้องประพฤติตนเปน็ ผอู้ นรุ กั ษ์ศิลปวัฒนธรรม รักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองตามระบบประชาธิปไตย เป็นต้น นอกจากนี้ครูจะต้องมีการ 313
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พัฒนาในด้านสติปัญญา ซึ่งครูจะต้องสามารถคิดวิเคราะห์ (Analysis) สังเคราะห์ (Synthesis) บูรณาการ (Integration) และสร้างสรรค์ (Creative) เพอื่ กอ่ ใหเ้ กิดการนำไปสกู่ ารพัฒนาศักยภาพแก่ผู้เรยี นได้ ซ่ึงโลกในปัจจุบัน กำลังก้าวเข้าสู่ยุค 5.0 แล้วนั้น เป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเปลี่ยนแปลงทางด้าน การศึกษาที่มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาบูรณาการร่วมในการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มากขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ครูจะต้อง ปรับตัว เรียนรู้ พัฒนาทางด้านความรู้ในด้านเทคโนโลยี เสริมสร้างทักษะให้แก่ผู้เรียน และมีรูปแบบการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีรว่ มกับการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสมและเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยคุ 5.0 มากขึ้น นอกจากนี้ครจู ะต้อง สามารถจัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่น่าสนใจและเอื้อต่อการเรียนรูใ้ ห้กับผู้เรียน ตลอดจนสามารถเชื่อมโยงความร้นู ั้นไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวันได้ถูกต้องเหมาะสม อนั นำไปสู่การพัฒนาและแก้ปัญหาในสังคมได้ (โชตชิ วลั ฟูกิจกาญจน์, 2556) สรุป การศึกษาในยุค Thailand 5.0 นั้น เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการใช้นวัตกรรม เพื่อก้าวสู่เทคโนโลยี สมัยใหม่ มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ร่วมกบั การเรียนการสอน มีการจัดการเรียนการสอนทางไกล และมีพัฒนา การศึกษาในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านสื่อ แหล่งเรียนรู้ และด้านการประเมินผล เป็น ต้น ในการเตรียมพร้อมสำหรับการศึกษาอนาคต 5.0 นั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการพัฒนาครูทั้งด้านความรู้ ความสามารถ ทกั ษะต่าง ๆ ท่จี ำเปน็ ตอ่ การจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรยี น โดยเฉพาะในเร่อื งของจรรยาบรรณวิชาชีพ ครู ซึ่งเป็นสิ่งขาดไม่ได้ เนื่องจากครูมีหน้าที่คอยอบรมสั่งสอนและพัฒนามนุษย์ให้เป็นผู้ที่สมบูรณ์ในทุกๆ ด้าน ซ่ึง สามารถกล่าวได้ว่า สิ่งสำคัญอันดับแรกในการพัฒนาครู ได้แก่ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม โดยที่ครูนั้นจะต้องปฏบิ ัติ ตามกฎระเบียบ และไม่กระทำความผิดตา่ งๆ ที่ส่งผลเสียตอ่ ภาพลักษณ์ของครูและระบบการศึกษา ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนมี ความเกี่ยวข้องกบั จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ซึ่งเป็นส่งิ ทค่ี รจู ะต้องปฏิบัติตาม เพราะจรรยาบรรณนน้ั เป็นส่ิงท่ีช่วยควบคุม มาตรฐานของบุคคลที่ประกอบวิชาชีพและช่วยทำให้วิชาชีพนั้นมีภาพลักษณ์ไปในทางที่ดี ซึ่งการปฏิบัติตนตามหลัก จรรยาบรรณวิชาชีพครนู ้นั สามารถสรปุ ได้ดังนี้ 1. ครูจะต้องมีวินัยและพัฒนาตนเองในด้านวิชาชีพอยู่เสมอ และต้องมีความรักความเมตตาต่อศิษย์ รวมท้ัง ช่วยเหลือศิษย์ในทกุ ๆ ด้านอยา่ งเตม็ ความสามารถ 2. ครูจะต้องเปน็ แบบอย่างท่ีดีทั้งของผู้เรียนและของสงั คม รวมทัง้ จะตอ้ งมีความสื่อสัตยต์ ่อวิชาชีพของตนเอง โดยท่ีไมแ่ สวงหาผลประโยชนใ์ นการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่เี พื่อเปน็ ประโยชน์ส่วนตน 3. ครูจะต้องมคี วามรักความสามคั คีกนั ในหมู่คณะ และตอ้ งรว่ มมือรว่ มใจกนั เพื่อพฒั นาและผลักดันการศึกษา ใหก้ า้ วไปขา้ งหน้าอย่างมนั่ คงและสมบูรณ์ ซึ่งจากที่กลา่ วมาทงั้ หมดสรุปไดว้ ่า การยกระดบั คุณภาพทางการศึกษาได้นนั้ จะต้องมีครูผู้สอนนั้นเป็นปัจจัยที่ สำคัญสว่ นหน่ึงท่ีจะชว่ ยยกระดบั คณุ ภาพทางการศึกษา ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการพัฒนาในด้านความรู้ ความสามารถ ให้ผู้เรียน มคี วามพร้อมทงั้ ทางกาย และจติ ใจ เพ่อื อยรู่ ่วมกบั ผู้อื่นในสังคมได้ โดยคำนึงถงึ พื้นฐานความรู้ ความสามารถของผู้เรียน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งในการพัฒนาได้นั้นสิ่งที่สำคัญ คือ ครูผู้สอนจะต้องคำนึงและพึงปฏิบัติตามหลัก จรรยาบรรณวิชาชีพครดู ้วย หากจรรยาบรรณครมู ีการเปล่ยี นแปลง การจดั การเรียนรใู้ ห้กบั ผ้เู รยี นนั้นกจ็ ะเปล่ียนไปด้วย 314
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ดังนั้นครูจงึ จดั ได้ว่าเปน็ ผู้ที่มีบทบาทอยา่ งสำคญั ยงิ่ เพราะครเู ป็นผ้ปู ลกู ฝังความรู้ ความคดิ และจติ ใจให้แก่เยาวชน ซ่ึง ครูจะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้กบั ศิษย์ และคนในสังคม เพื่อที่จะได้เติบโตขึน้ เป็นพลเมืองที่ดีและมีประสิทธิภาพของ ประเทศชาติในวนั ขา้ งหนา้ เอกสารอา้ งองิ กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว และลภสั รดา พชิ ญาธีรนาถ. (2561). จรรยาบรรณวิชาชีพนกั บญั ชบี รหิ ารกับการนำเสนอขอ้ มูล. วารสารบริหารธรกุ จิ เทคโนโลยมี หานคร, 15(2), 198-212. การศกึ ษาอนาคต 5.0. (2563, 1 พฤษภาคม). สืบคน้ 5 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก https://www.matichon.co.th/education/news แกว้ ใจ ดวงมณี และชนิดา ยาระณะ. (2563). ความตระหนกั และการเตรยี มความพรอ้ มการจัดการเรียนการสอน เพอ่ื เป็น นกั บัญชที ่ีมที ักษะเหนือกวา่ ปญั ญาประดษิ ฐ์ : กรณีศึกษาผู้สอนและผู้เรยี นแผนกวิชาการบญั ชี ในสถาบนั การ อาชวี ศึกษาภาคเหนอื . วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา, 4(2), 91-103. ความสำคญั แห่งจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู. (2563, 28 กมุ ภาพันธ)์ . สบื ค้น 5 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://www.kruchiangrai.net ไชยยศ เหมะรชั ตะ. (2560). คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ สำหรบั อาจารย์ ในสถาบนั การศกึ ษาของรัฐและ เอกชน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ์, 3(2), 1-10. โชตชิ วัล ฟกู ิจกาญจน.์ (2556). แนวทางการพัฒนาครูในประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร,์ 2(1), 27-32 ธนชพร พุ่มภชาติ, ธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว, สุทธิพงษ์ มากุล, รัตนา บุญเลิศพรพิสุทธ์ และสุกัญญา สมมณีดวง. (2563). การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ 5G. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชยี ฉบับสงั คมศาสตรแ์ ละ มนุษยศาสตร์, 10(3), 31-38. บญุ โญรส นาคหัสดี. (2559). สภาพและปญั หาของ e-DLTV โทรทศั น์ผา่ นดาวเทียมของโรงเรยี นขนาดเล็กในเขตจงั หวัด ภาคเหนือตอนลา่ ง. สารนิพนธก์ ารศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา. พิษณุโลก : มหาวิทยาลยั นเรศวร บุญเลศิ โพธิข์ ำ. (2557). การรกระทำความผดิ ของครทู ี่มผี ลกระทบตอ่ ประชาชนตามพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการ ครู และบุคลากรทางการ ศกึ ษาพทุ ธศกั ราช 2547 และแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ฉบบั ที่ 2 พุทธศกั ราช 2551. วารสาร มหาวิทยาลยั นครพนม, 4(3), 15-22. ปรีดาวรรณ วชิ าธิคณุ , ลักษณป์ ระภา สวุ รรณสมบัติ, เรงิ วิชญ์ นลิ โคตร, ธรี ังกูร วรบำรงุ กุล และวัยวุฒิ บญุ ลอย. (2564). การประยุกต์ใชห้ ลกั คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตามหลกั ไตรสกิ ขาสู่ ความเป็นผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา มอื อาชพี . วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน,์ 8(6), 30-45. พงศธร ดมี าสู่. (2563, 14 ตลุ าคม). อินเตอร์เน็ตออฟธิงส์ (Internet of Things) กบั การจดั การเรียนรู้. https://www.kroobannok.com พาสนา จุลรัตน์. (2561). การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในยุคThailand 4.0. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(2), 2363-2380. พฤทธ์ิ ศิริบรรณพทิ ักษ.์ (2556, 1 กรกฎาคม). จรรยาบรรณวชิ าชพี คร.ู http://www.edu.chula.ac.th/knowledge 315
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ยุทธศาสตร์ เพียรไธสง, สุชาติ บางวเิ ศษ และสรุ เชต น้อยฤทธิ.์ (2559). กลยทุ ธ์การพฒั นาครูทีม่ ีประสทิ ธผิ ล ของสถานศกึ ษาสงั กัดองค์การบริหารส่วนจงั หวัดนครราชสมี า. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 10(1), 142-153. ราชกิจจานุเบกษา. (2556). ขอ้ บังคับครุ ุสภาว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี พ.ศ. 2556. https://www.ksp.or.th/ksp2018 วชิราภรณ์ สังข์ทอง และแพรวนภา เรียงริลา. (2564). จิตวิญญาณความเป็นครูสาหรับนักศึกษาวิชาชีพครู บรรณารกั ษก์ ับการจดั การเรียนรู้ ให“้ เขา้ ใจเข้าถงึ พัฒนา”ทกั ษะความรอบรสู้ ารสนเทศและเทา่ ทนั การ เปลย่ี นแปลง. วารสารห้องสมุด, 65(1), 15-34. วารพี ร อยูเ่ ยน็ . (2563). รูปแบบการพฒั นาจรรยาบรรณของผปู้ ระกอบวิชาชพี บัญชี เชงิ พทุ ธบรู ณาการ. วารสาร สงั คมศาสตรแ์ ละ มนษุ ยวิทยาเชิงพทุ ธ, 5(2), 318-333. วีนันท์กานต์ รจุ ิภกั ดิ์ และเอมมา่ อาสนจนิ ดา. (2560). จรยิ ธรรมในวิชาชีพครู. นครปฐม : สำนักพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. ศูนย์ขอ้ มูลขา่ วสาร สำนกั งานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาต.ิ (2562). https://infocenter.nationalhealth.or.t สัจกาณฑ์ คเชนทร์พนาไพร, สธุ าสินี แสงมกุ ดา และสัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2560). ตัวบ่งชจ้ี รรยาบรรณวิชาชีพครใู น สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้นฐานในกรุงเทพมหานคร. ศกึ ษาศาสตร์สาร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม,่ 1(3), 28-40. สุเทพ ธรรมะตระกลู . (2555). การศึกษาคณุ ลกั ษณะของครยู ุคใหม.่ เพชรบรู ณ์ : มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์ สถาบันวจิ ยั และพฒั นา. เอกกวรี ์ พิทักษธ์ นัชกุล. (2557, 31 สิงหาคม). การศกึ ษาในโลกยคุ ปัจจบุ ัน. https://www.stou.ac.th/study/sumrit อรรณพ จนี ะวัฒน์. (2559). การพฒั นาตนของผปู้ ระกอบวชิ าชีพคร.ู Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(2), 1379-1395. อุษา พรหมรินทร.์ (2561). การปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครใู นสถานศกึ ษาของรัฐ สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา เขต 2. [วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาศกึ ษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี]. http://www.repository.rmutt.ac.th ฮิวจ์ เดลาน.ี (2562, 22 เมษายน). การศึกษาสำหรับศตวรรษท่ี 21. https://www.unicef.org/thailand/th/stories Nattarika, S. (2016). Meaning and importance of professional ethics for teachers. Retrieved from https://nattarikasite.wordpress.com Jarupreechacharn, R. (2017). Big data and education. Retrieved from http://bigdataexperience.org/big- data-and-education 316
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี จรรยาบรรณวชิ าชพี ครกู ับการเปล่ียนแปลงการจัดการเรียนรใู้ นยคุ โควดิ -19 The Teaching Professional Ethics During Learning Changes in COVID-19 Era สุชาวลี วงศศ์ รีทา, ศรสี ภุ า วรคามิน บทคัดย่อ ท่ามกลางผลกระทบท่ีเกิดจากวิกฤตการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของภาค การศึกษา โลกออนไลน์ ในยุคดิจิทัลน้ันไดเ้ ข้ามาเป็นกุญแจสำคัญที่ผนึกการศึกษา ผู้สอนและผู้เรียนเขา้ ไว้ด้วยกันได้ ภายใต้ข้อจำกัดทางด้านความพรอ้ มส่วนบคุ คลในแต่ละสถานศึกษาที่แตกต่างกันไป แต่ในขณะเดียวกันนั้นการเปลี่ยน หอ้ งเรียนสี่เหลีย่ มของผูเ้ รียนให้มาอยใู่ นโลกแห่งออนไลนท์ ่ีไร้ขอบเขตน้ัน กส็ ง่ ผลเสียแก่หลายฝ่ายเชน่ เดยี วกันโดยเฉพาะ ผู้สอน กล่าวคือเป้าประสงค์ที่แท้จริงของการศึกษานั้นคือการพัฒนาผู้เรียนแม้จะมีอุปสรรคเกิดขึ้นระหว่างการสอน ออนไลน์ แต่ความจริงนั้น ผู้สอนเองต่างก็ทำงานหนักและเสียสละตนเพื่อปรับตัวเข้ากับสิ่งใหม่ เปรียบเสมือนผู้นำ เทคโนโลยเี นื่องจากต้องประสิทธิประสาทองค์ความรเู้ ชื่อมโยงเทคโนโลยีกับนักเรียนให้ได้ รวมไปถงึ การวางแผนล่วงหน้า สร้างสรรค์งานสอน สร้างบรรยากาศความสนุกสนานให้การสอนไม่น่าเบื่อ และเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงท่ี ทันท่วงที ทั้งหมดนีผ้ ูส้ อนต้องทำทุกอย่างไปพร้อม ๆ กันหรือเป็นการทำงานเพิ่มขึ้นอีกเทา่ ตวั และอาจจะแสดงผลเสยี ออกมาในรูปแบบของจรรยาบรรณวิชาชีพที่ไมพ่ งึ ประสงค์ ด้วยการนีป้ ัญหาต่าง ๆ ที่กล่าวมาน้ันจึงส่งผลกระทบอย่าง มากต่อความเชือ่ มั่นของผ้สู อนในวชิ าชพี ครใู นช่วงการสอนออนไลน์นี้ ดังน้นั บทความวิชาการนจ้ี งึ มีจุดมงุ่ หมายเพ่ือแสดง ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้สอนในวิชาชีพครูที่ลดลงจากการสอนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโควิด-19 รวมไปถึงเพื่อเป็นการสะท้อนปัจจัยดังกล่าวและเป็นกระบอกเสียงตีแผ่ปัจจัยจากปัญหาที่เกิดขน้ึ ในห้วงเวลานี้ คำสำคญั : จรรยาบรรณ, วิชาชพี ครู, การจัดการเรียนรู้, ยุคโควดิ -19 Abstract During the influences caused by COVID-19 epidemic that has been converting a big part of education, social networks in this digital era come as the important key to bond education, instructors, and learners together under the limitation of readiness individually. Meanwhile, to move a square box of a student's classroom into the globalization of the online world also negatively affects many sections especially instructors. In other words, the extractly aim of having education is educating students although 317
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี there are many obstacles happening during online teaching. However, instructors have sacrificed themselves to adjust and work hard on innovation as the leader of technology in terms of the connector between knowledge, technology and learners. Moreover, multi-tasking or work doubling, for example; advanced planning, work creativity, liveliness creating, avoiding boredom and changing preparation promptly, is all instructors’ duties. According to those problems, those bad behaviors might happen which it harshly impacts on faith regression from online teaching during COVID-19 epidemic situation. Therefore, the purposes of this article are to show the factors affecting the faith regression in profession from online teaching during COVID-19 epidemic situation including to reflect those found factors to be one of the announcements. Keywords: Ethics, teaching profession, learning management, COVID-19 era บทนำ กระทรวงศึกษาธกิ ารที่มหี น้าทห่ี ลักในการจดั การศึกษาของประเทศไทยและนโยบายดา้ นการศึกษาโดยภาพรวม นั้น การศึกษาไทยตามบริบทแผนการศึกษาของชาติ เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของชีวิต เพิ่มพูนต้นทุนทาง สังคมของผู้เรียน เพื่อพัฒนาคน พัฒนาครูอาจารย์ พัฒนาสังคม ในหลากหลายรูปแบบที่เนน้ การมีส่วนรว่ มขององค์กร ภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงเน้นด้านอาชีวศึกษามากขึ้น เน้นการมีงานทำโดยอาศัยปัจจัยหลักในองค์กรหลักจาก ภายนอก เช่น ปจั จัยดา้ นเทคโนโลยี ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นระบบราชการ ด้านการเมืองการปกครอง ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม (ประหยดั พมิ พา, 2561) โดยบทบาทของครูก่อนสถานการณก์ ารเปลีย่ นแปลงของโลก มีหน้าทีใ่ นการจัดการเรียนรทู้ เี่ น้น ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ (Student Center) ใหผ้ เู้ รยี นเปน็ ผู้สร้าง ผคู้ ิด ผหู้ าองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง ขณะทคี่ รูนนั้ มบี ทบาทเพียง เปน็ ผ้กู ระต้นุ ผูอ้ ำนวยความสะดวก ผูจ้ ัดเตรียมประสบการณ์ในการเรยี นรู้ และผู้คอยชแี้ นะให้ผลสะทอ้ นกลับจากการ ลงมือปฏิบัติของผู้เรียน (กมล โพธิเย็น, 2564) ซึ่งอาจจะส่งผ่านการเรียนการสอนที่ต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นการสอนผ่าน กระดานดำ หรือกระดานไวทบ์ อรด์ ขนึ้ อยู่กบั ความดั้งเดมิ หรอื ความทนั สมัยตามสมรรถนะของครูผู้สอน และเพ่ือช่วยใน การควบคมุ มาตรฐาน รับประกันคุณภาพท่ีถูกตอ้ งในการประกอบอาชีพ และควบคุมจริยธรรมของผู้ประกอบอาชีพเพ่ือ ส่งเสรมิ มาตรฐาน คณุ ภาพและปรมิ าณท่ดี ี มีคณุ คา่ และเผยแพรใ่ ห้รู้จกั เป็นที่นิยมเชอ่ื ถอื วิชาชีพครูจงึ ตอ้ งมมี าตรฐานใน การปฏิบัติตนหรือจรรยาบรรณของวิชาชพี ดังนี้1 ) จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องมีวินัย ในตนเอง พัฒนาตนเองดา้ นวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทศั น์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ การเมอื งอยเู่ สมอ2 ) จรรยาบรรณต่อวชิ าชพี ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งรัก ศรทั ธา ซ่อื สตั ย์สุจริต รับผิดชอบ ตอ่ วิชาชีพ และเปน็ สมาชิกที่ดขี ององคก์ รวชิ าชีพ3 ) จรรยาบรรณต่อผู้รับบรกิ าร ประกอบด้วย3 .1 ผูป้ ระกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดย เสมอหน้า3 .2 ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องส่งเสรมิ ให้เกิดการเรยี นรู้ ทกั ษะ และนิสัยท่ีถกู ตอ้ งดีงามแก่ศิษย์และ ผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ3 .3 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้อง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ3 .4 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทำตนเป็น 318
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจอารมณ์ และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ3 .5 ผู้ประกอบวิชาชีพ ทางการศกึ ษา ตอ้ งใหบ้ ริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่ง หน้าที่โดยมิชอบ4 ) จรรยาบรรณตอ่ ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเก้ือกลู ซ่งึ กนั และกนั อย่างสร้างสรรค์ โดยยดึ มน่ั ในระบบคณุ ธรรม สร้างความสามคั คีในหมู่คณะ5 ) จรรยาบรรณต่อสงั คม ผู้ประกอบ วิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเป็นผู้นำในการอนรุ ักษ์และพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ (ราชกิจจานเุ บกษา. 2556) จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) ต้ังแตป่ ลายปี 2562 ถึงปัจจุบนั ส่งผล กระทบต่อทุกระบบทั่วโลกทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านสาธารณสุข ด้านคมนาคม ด้านการดำเนินชีวิต รวมไปถึงในระบบ การศึกษา การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วไม่เว้นแม้กระท่ังประเทศไทย โดยแต่ละประเทศหา มาตรการควบคมุ โรคอยา่ งเขม้ งวด นัน่ คอื ปรับเปล่ยี นการใชช้ วี ติ แบบวิถคี วามปกติใหม่ (N w N rm ) สถานการณแ์ พร่ ระบาดของโรคโควิด-19 ก่อให้เกิดวิกฤตทางการศึกษาอย่างมาก ส่งผลให้โรงเรียนมากกว่า 1000 แห่งทั่วโลกต้องหยดุ การเรียนการสอนในโรงเรียน กระทบต่อผู้เรียนมากกว่า 1200 ล้านคน (UNESCO, 2020) ดังนั้นเพื่อไม่ให้ผู้เรียนขาด โอกาสทางการศึกษา จึงมีการพัฒนารูปแบบการสอนที่ผสมผสานการเรียนเข้ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ (T h y- B s d L r ) เข้าด้วยกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน กล่าวคือวิกฤตโรคระบาดคร้ังนี้เป็นการปรับเปลี่ยนระบบ การศึกษาไทยครั้งใหญ่ ที่เป็นโอกาสสำคัญในการพัฒนาผู้สอนให้ตอบสนองการนำเทคโนโลยีมาผนวกเข้ากับหลักสูตร การสอนเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ทา่ มกลางสถานการณด์ ังกลา่ วส่งผลให้เทคโนโลยไี ด้เข้ามามีบทบาทในการศึกษา เพิ่ม มากข้นึ การเรยี นการสอนจงึ จัดอยใู่ นรูปแบบทีแ่ ตกต่างกนั ไปตามบริบทของสถานศกึ ษา รปู แบบการสอนแบบ O S , O , O r, O H d, O D m d และ Hybrd T h เรมิ่ เข้ามามบี ทบาทเช่นกนั ปัจจุบันพบว่าผู้สอนมีบทบาทสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้เพื่อเชื่อมโยงการเรยี นการสอนให้ก้าวข้ามความทา้ ทายในสภาวะการแพร่ระบาดของ COVID-19 และขอ้ จำกดั ในเร่ืองเทคโนโลยี เพอ่ื เชอื่ มต่อการเรยี นการสอนในยุคดิจิทัล ดังนน้ั ผู้สอนจึงถกู คาดหวังจากสังคมโดยเฉพาะผู้ปกครองเพ่ือให้แกผ่ ู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือขับเคลื่อน ระบบการสอนนวัตกรรมทางการศึกษาภายใต้บริบทเทคโนโลยีท่ีทันสมยั จงึ ทำให้การปฏบิ ัตหิ น้าที่ของผู้สอน ได้เข้ามามี บทบาทอย่างมากกับประเทศชาติในยุคแห่งศตวรรษที่ 21 วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพที่ผู้คนเชิดชูเกียรติยศและศักด์ิศรี ว่า เปน็ บคุ คลผู้สร้างคน เปน็ ผู้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณทด่ี ีงาม และสามารถชีน้ ำสงั คมให้เจริญไปให้ทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม เพ่ือใหเ้ ป็นไปในธรรมนองคลองธรรมเดียวกันนั้น จงึ มกี ารกำหนดจรรยาบรรณวิชาชพี ครูขึ้น ถือเป็นแนว ทางการประพฤตปิ ฏบิ ัติตนของผปู้ ระกอบวิชาชพี ครรู ่วมกนั เพอ่ื สรา้ งประเทศทดี่ ีในวันข้างหนา้ ผปู้ ระกอบวิชาชีพครูทำ ผดิ จรรยาบรรณวชิ าชีพนนั้ กม็ ีบทลงโทษท้ังทางกฎหมายและทางสังคมตามมาเชน่ เดียวกัน (บุญเลิศ โพธ์ขิ ำ, 2557) จากข้อความข้างต้น จึงเกิดคำถามว่าจรรยาบรรณของผู้สอนต่อวิชาชีพครูในสังคมปัจจุบันและมีแนวโน้มสู่ อนาคตอย่างไร จึงเป็นวัตถุประสงค์ของการศึกษาปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณและการเปลี่ยนแปลงการ จัดการเรียนรู้ในช่วงโควิด-19 เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพครู และเป็นประโยชน์ต่อบุคคลท่ี เกยี่ วข้องเพ่อื สร้างสรรค์คุณภาพต่อไป 319
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นโยบายตอ่ การจัดการเรยี นรภู้ ายใต้สถานการณโ์ ควดิ -19 การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) หมายถึงการวางแผนการดำเนินการต่าง ๆ เพื่อลด ผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้นจากการเปล่ียนแปลงและสนบั สนุนใหเ้ กิดการปรับตัวและการยอมรับ พร้อมท้ังยงั สร้างศักยภาพใหม่ ๆ เพื่อรองรับให้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในนั้นเกิดจากปัจจัย 2 ประเภท ได้แก่ ปัจจัยภายนอก คือ นโยบายภาครัฐ ปัจจัยแวดล้อม เปรียบเสมือนแรงผลักดนั จากภายนอก และปัจจัย ภายใน ซึ่งเป็นปัจจัยที่เกิดขึน้ ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนแปลงนโยบาย การปรับเปลี่ยนผู้บริหาร การปรับระบบการทำงาน การทำนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามา เป็นต้น (Sriprai Sakrungpongsakul and Jedsadaporn Yuttanawiboonchai, 2016) จากนโยบายและการดำเนนิ งานของรัฐ รวมไปถึงหนว่ ยงานตน้ สงั กัดท่อี อกมาเพือ่ ให้ทนั ตอ่ สถานการณ์โควิด-19 เพ่อื จัดการเรียนรู้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว จากรายงานการศึกษาของคณะผจู้ ัยสำนกั งานเลขาธิการศึกษา (เกจ็ กนก เอ้ือ วงศ์, ชูชาติ พ่วงสมจิตร์, นงเยาว์ อุทุมพร, กุลชลี จงเจริญ และ ฐิติการณ์ยาวิไชย จารึกศิลป์, 2564) พบว่า ในการ ดำเนินงานจริง ไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกับทุกบริบทอย่างครบถ้วน เนื่องด้วยเนื้อหาคำสั่งที่ไม่ชัดเจนและไม่ สามารถเอื้อตอ่ ความยืดหยุ่นของสถานศกึ ษาในสถานการณท์ ี่แตกตา่ งกัน ทัง้ ในเรอื่ งรูปแบบการสอนภายใต้มาตรการใหม่ ที่ไมค่ ุ้นเคย การตดิ ตามงาน การประเมนิ ผลการสอน และปจั จัยความพรอ้ มด้านอุปกรณ์ของผ้เู รียนที่แตกต่างกัน ส่งผล ทำใหผ้ ู้สอนไมส่ ามารถดำเนนิ การให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบายทุกส่วนได้ ประกอบกบั หนว่ ยงานตน้ สังกัดที่ทำ หน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนรวมไปถึงให้คำแนะนำกรณีพบปัญหาเกีย่ วกับการจัดการเรียนการสอนให้ความช่วยเหลอื ด้านวิชาการ อาทิ สื่อ อินเทอร์เน็ต เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ทันสมัย กลับไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจังและ เพียงพอต่อความต้องการ ดังนั้นภาระต่าง ๆ จึงเป็นหน้าที่ของผูส้ อนที่ต้องอุทิศท้ังกำลังกายและกำลังทรพั ย์ เพื่อที่จะ กา้ วขา้ มผา่ นวกิ ฤตการเรยี นการสอนครั้งนไ้ี ป ซ่ึงเป็นสว่ นหนึง่ ของปจั จยั ท่ีทำให้ผสู้ อนขาดขวัญและกำลังใจในการจัดการ เรียนรใู้ นรูปแบบการเรยี นการสอนออนไลน์ และอาจนำไปสูผ่ ลกระทบทางลบต่อความศรัทธาทมี่ ีต่อวชิ าชพี ครูในอนาคต ได้ อีกทั้งผู้สอน T sk F r และองค์การยูเนสโก (Force, T. & UNESCO, 2020) ได้ให้คำแนะนำแก่โรงเรียนในช่วง สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโควิด-19 ช่วยให้ครูประสบความสำเรจ็ และโรงเรยี นกลับมาเปิดอกี ครัง้ ดังน้ี 1. รับฟังเสียงของผู้สอนในการกำหนดนโยบายและแผนการ เพื่อการวางแผนการเปิดโรงเรียนอย่างมี ประสิทธิภาพนั้น บริหาร ผู้สอน พ่อแม่ ชุมชน รวมถึงนักเรียนควรมีการพูดคุยกัน เพื่อให้ความต้องการของนักเรียน รวมถึงฝ่ายอื่น ๆ ไดร้ บั การดแู ลอยา่ งทั่วถึง 2. สรา้ งสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับทุกคนในโรงเรียน ช่วงเวลานค้ี วามปลอดภยั ในชีวิตและความเป็นอยู่ ของนักเรียนถือเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด ผู้บริหารต้องสร้างความอุ่นใจต่อทุกคนในช่วงที่ยังมีการแพร่ระบาดของไวรัสอยู่ รวมถึงเมือ่ โรคระบาดยุตลิ งแล้ว 3. ให้ความสำคัญกับสภาพจิตใจ สังคมและอารมณ์ของผู้สอนและผู้เรียน จากสถานการณ์ดังกล่าวอาจทำให้ ผู้สอน ผู้เรยี น รวมถงึ ผูป้ กครองเกิดความเครียด หากความเครยี ดน้นั ไม่ไดร้ ับการจัดการอยา่ งเหมาะสม อาจส่งผลต่อการ เรียนรูใ้ นระยะยาวและการเรียนรู้ในภาพรวมของนักเรียนได้ สำหรับผู้สอนอาจเกิดภาวะหมดไฟในการสอน (Bur u ) ทำให้ผู้สอนขาดงานบ่อยขน้ึ หรือถึงข้นั ลาออกจากงาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนตอ้ งให้ความมนั่ ใจกับผู้สอนว่าจะได้รับการ 320
การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ช่วยเหลอื อยา่ งต่อเน่ือง เม่อื ผู้สอนเกิดปัญหาดา้ นสภาพจิตใจ รวมไปถึงนโยบายท่มี าถึงโรงเรียนต้องครอบคลุมบุคลากร ในทุกสว่ นดว้ ย 4. ช่วยให้ผสู้ อนปรับตัวเขา้ กบั N w N rm เมอ่ื กลบั มาสอนในชัน้ เรยี นตามปกติ ผู้สอนและบุคลากรทางการ ศกึ ษาต้องได้รับการสนบั สนนุ และได้รบั ทรพั ยากรทีเ่ พยี งพอในการจดั การเรยี นรู้ในหอ้ งเรียนอีกครัง้ ผู้สอนหลายคนอาจ ต้องสอนซ่อมเสริมในช่วงน้ี หรือไมก่ ต็ ้องสอนทั้งในห้องเรียนควบคไู่ ปกับการสอนออนไลน์ หรือต้องสอนหลายคาบมาก ขึ้น เพราะตอ้ งลดขนาดห้องเรียนลงเพอื่ ทำตามมาตรการ S Ds 5. จัดให้มผี สู้ อนเพยี งพอ และให้ผูส้ อนได้ทำงานในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม การท่ผี ูส้ อนและบุคลากรทางการ ศึกษามีความสุขกับมาตรฐานการทำงานทีเ่ หมาะสม ได้เงินเดือนตรงตามเวลา หรือลาป่วยได้เมื่อรู้สึกไม่สบาย ถือเป็น เรื่องสำคัญในช่วงสถานการณ์นี้ ผู้บริหารไม่ควรลดสิทธิต่าง ๆ ของผู้สอน และเงื่อนไขการทำงานที่เหมาะสมสำหรับ ผู้สอน 6. ลงทุนกับภาคการศึกษา ในหลาย ๆ ประเทศ เงินเดือนผู้สอนและสวสั ดิการต่าง ๆ ถือเป็นงบประมาณก้อน ใหญ่ที่สุดของประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่มีรายได้ทางเศรษฐกจิ ต่ำ จากวิกฤต COVID-19 ทรัพยากรท่ีมอี ยู่อาจลดลง เมอื่ รายได้ผคู้ นลดลง เพ่อื ให้การศกึ ษายงั คงดำเนนิ ไปอย่างต่อเนอ่ื ง ฝา่ ยบริหารดา้ นการศกึ ษาจำเปน็ ต้องลงทุนกับผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา ไม่ใช่แคก่ ารไมล่ ดเงินเดือนเทา่ น้ัน แต่ยังต้องจดั การอบรมที่จำเป็น รวมถึงให้การสนับสนุน ด้านสภาพจิตใจดว้ ย 7. คอยเชก็ สถานการณ์และข้อเสนอแนะจากผู้สอน เมือ่ โรงเรียนเปิดเรยี นต้องคอยเช็กและประเมนิ สถานการณ์ พร้อมท้ังปรบั แผนเม่อื จำเปน็ กระทรวงศกึ ษาธิการ ฝา่ ยบรหิ าร ผอู้ ำนวยการต้องเชก็ และประเมนิ กรอบการทำงานเพ่ือวดั ความก้าวหน้า ซึ่งกรอบการทำงานเหล่านี้ควรคำนึงถึงบทบาทการสอนที่มีคุณภาพของผู้สอน และส่งเสริมสภาพการ เรียนรู้ท่ดี ี โรงเรยี นตอ้ งไม่ลืมเปิดโอกาสใหผ้ ูส้ อนได้เสนอความคดิ เหน็ และประเมินการทำงานของโรงเรยี นดว้ ย โดย สุมิตร สุวรรณ. (2563) กล่าวว่า สิ่งที่ผู้สอนอยากให้โรงเรียนและภาครฐั สนันสนุนมากที่สุด 6 อันดับแรก คือ 1) การอบรมปฏิบัตกิ ารสำหรับการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ 2) งบประมาณสำหรับจัดทำบทเรียนออนไลน์ 3) การจัดทำโครงสรา้ งพนื้ ฐานสำหรบั อนิ เทอรเ์ นต็ บ้านความเร็วสูง และอุปกรณ์ส่ือสารสำหรับผเู้ รยี นทุกคน 4) ระยะเวลาในการเตรียมและสรา้ งระบบการเรียนการสอนออนไลน์ 5) บุคลากรหรือผูเ้ ช่ียวชาญในการให้คำปรกึ ษาด้านเทคโนโลยี 6) ส่อื การเรียนการสอนออนไลนส์ ำเร็จรูป ในส่วนทักษะและระเบียบวนิ ัยของผู้เรียนในการเรียนออนไลนอ์ าจจำเปน็ ต้องอาศัยผูส้ อนเป็นผู้ให้คำปรึกษา อบรมสั่งสอน และเอาใจใส่ในการเข้าถึงระบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่าน ระบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินนี้ ดังนั้นหากรัฐบาลต้องการผลักดันนโยบายการสอนออนไลน์ รัฐบาล จำเป็นต้องจัดอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อให้ผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอนออนไลน์ได้ เนื่องจากการ เรยี นรู้ออนไลนท์ ่ีเหมาะสมของแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นร้มู ีขอ้ จำกดั และเป้าหมายที่แตกต่างกัน ควรจัดตั้งกลมุ่ สังคมแห่ง 321
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี การเรยี นรใู้ นการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ อกี แนวทางคือ “รฐั บาลต้องจดั ทำหลกั สูตรออนไลน์กลาง แล้ว ให้ผู้สอนเป็นผูป้ ระสานงานช่วยเหลอื ให้ผู้เรียนเขา้ ถงึ ระบบการเรียนการสอนออนไลนก์ ลางน้ี สำหรับผู้เรยี นที่เข้าไม่ถงึ หรอื ไมพ่ รอ้ มด้วยสาเหตุใดก็ตาม รฐั จำเป็นตอ้ งให้การดูแลนักเรยี นกลุ่มน้ีไมใ่ ห้การเรียนขาดช่วง โดยควรสง่ เสริมและหา ช่องทางการเรียนรรู้ ปู แบบอื่นควบค่ดู ว้ ย” (พงศร์ ัตน์ ธรรมชาติ และ ชวลิต เกิดทพิ ย์, 2564) การจดั การเรียนร้ภู ายใต้สถานการณโ์ ควดิ -19 ตามที่ Snelling (Snelling J. & Fingal D., 2020) กล่าวถงึ การเรียนออนไลน์ในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโควิด-19 ไวด้ งั น้ี 1. การรบั รองความเท่าเทยี มกันทางดิจิทัล เป็นการสำรวจความพร้อมทางด้านการใช้โปรแกรมออนไลน์ของทั้ง ผู้สอนและผู้ปกครองผู้ดูแลผู้เรียน หน่วยงานของรัฐร่วมด้วยพิจารณาจัดหาและบริการอินเทอร์เน็ตแก่ผู้ที่ไม่สามารถ เข้าถงึ สัญญาณ Wi-Fi รวมไปถงึ อุปกรณ์เสริมต่าง ๆ 2. การฝึกฝน ต้องมีการจัดการอบรมเกี่ยวกับการใช้แอพพลิเคชันและเทคโนโลยีที่จำเป็นขณะที่มีการปิด โรงเรยี น เพือ่ เป็นการสร้างเสริมความรู้แก่ผสู้ อนตลอดการจัดการเรยี นรู้ท้ังออนไลนแ์ ละออนไซตไ์ ด้ เป็นประโยชน์ และ เพื่อไม่ใหก้ ารเรียนการสอนสะดดุ ได้ 3. การกำหนดความคาดหวังที่ชัดเจนแก่ผู้สอนและผู้ปกครอง เนื่องจากสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป การ สื่อสารระหว่างผู้สอนและผูป้ กครองจึงมีความสำคัญมากกวา่ แต่ก่อน ช่องทางการส่ือสารต้องชดั เจนและรวบรัด ควรมี FAQ สรุปรายละเอียดทั้งหมดเกีย่ วกับวธิ กี ารที่โรงเรยี นจะดำเนินการในระหว่างปิดเรยี นเพื่อสร้างความเขา้ ใจที่ตรงกัน ระหว่างผู้สอนและผู้ปกครอง ทั้งนี้โรงเรียนควรมีช่องทางการสื่อสารที่เพิ่มมากขึ้น เช่น การส่งข้อความไปทางชุมชน การสง่ อเี มล หรือบนเวบ็ ไซต์ของโรงเรียน 4. การใชเ้ วลาวางแผน ความพร้อมต่อการสอนออนไลน์ของผูส้ อนนัน้ ตอ้ งอาศัยการสรา้ งแผนสำหรบั การเรยี นออนไลน์ ร่วมกันและการเตรียมตวั ให้พร้อมกอ่ นท่ีจะเรมิ่ การเรียนออนไลน์กบั ผูเ้ รียน เพือ่ ให้เป็นไปดว้ ยความราบร่ืนเทา่ ท่ีทำได้ 5. การเตรยี มความพร้อมในการเขา้ ถงึ ตอ้ งตรวจสอบใหแ้ นใ่ จว่าผูส้ อนสามารถเข้าถงึ ทุกสงิ่ ที่ตอ้ งการจากที่บ้าน กรณีทโ่ี รงเรยี นปิด การสง่ เสรมิ สนับสนนุ การใช้ส่ือ อปุ กรณอ์ ินเทอรเ์ น็ตก็มีความจำเป็นเช่นกัน 6. การกำหนดตารางเวลาประจำวัน เวลาทผี่ ้สู อนและผู้เรยี นตอ้ งเข้าสู่ระบบควรกำหนดอยา่ งชดั เจน การใช้เวลา บนหน้าจอตลอดทั้งวันนั้นมากไปสำหรับผู้สอนและผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับครอบครัวที่ต้องแบ่งปัน คอมพวิ เตอร์เพื่อใช้งาน 7. การจดั ให้มกี ารเรียนรูท้ แ่ี ขง็ แกร่ง ควรมีการแบง่ การเรียนรู้เป็นชิ้นเลก็ ๆ เพือ่ ไมก่ ดดนั ผเู้ รียน มีความชัดเจน เกย่ี วกับความคาดหวงั ในการเขา้ รว่ มออนไลน์ของผู้เรียน การให้ข้อเสนอแนะทนั ท่ผี า่ นการตรวจสอบความรอู้ อนไลน์ของ ผู้สอน ความคิดเห็นเก่ียวกับเอกสารการทำงานร่วมกัน และการแชทเพื่อใหน้ ักเรียนมีแรงจูงใจและก้าวไปขา้ งหน้า การ ประชุมเสมอื น การแชทสด หรอื วิดีโอการสอน เพอื่ รักษาการเช่ือมต่อ ของมนุษย์ 8. การออกแบบการเรียนรู้ตามอัธยาศัย เป็นการออกแบบการเรียนรู้ท่ีไม่ตอ้ งการการสนับสนนุ จากผู้ปกครอง มากนัก ทั้งนี้การให้คำแนะนำสำหรับผู้ปกครองเกี่ยวกับวิธีที่สามารถช่วยเหลือผู้เรียน ในรูปแบบการเรียนรู้ออนไลน์ นับเป็นสิ่งท่ีมปี ระโยชน์ รวมถึงการให้ขอ้ มลู ตารางเวลาและความคาดหวังของการเรียนในวิชาและในแตล่ ะสปั ดาห์ 322
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 9. การใหค้ วามสำคัญกับอารมณ์ความรู้สกึ การตรวจสอบเกีย่ วกับความรู้สึกกังวลในระหว่างที่ถูกแยกตัวอยู่ใน บ้านน้นั สำคัญ ควรมกี ารสือ่ สารกับผเู้ รียนและเพื่อนร่วมงาน โดยเฉพาะผทู้ ี่ไมค่ นุ้ เคยกบั เครื่องมอื ดจิ ิทัลเพอ่ื ดูว่าต้องการ ความช่วยเหลอื หรอื ใครทีจ่ ะคุยด้วยหรือไม่ เพื่อคลายความกงั วล แม้ว่าการทำงานที่บ้านอาจสนกุ แต่มันก็เป็นเรือ่ งทา้ ทายท่ีจะทำงานตามตารางปกติ บางสิ่งทสี่ ามารถชว่ ยได้ เชน่ การพักสมองเป็นประจำ การแบง่ เวลาออกกำลังกาย การจดั ตารางเวลาการนอน การจำกดั สง่ิ รบกวนเม่ือทำได้ การกำหนดเปา้ หมายรายวันและรายสปั ดาห์ จรรยาบรรณในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการต่างๆ และระบบงานที่ช่วยให้ได้สารสนเทศหรือข่าวสารที่ ตอ้ งการ โดยจะรวมถงึ 1. เครือ่ งมอื และอุปกรณ์ต่างๆ หมายถึง เครือ่ งคอมพิวเตอร์ เครือ่ งใช้สำนักงาน อปุ กรณ์คมนาคมต่างๆ รวมทั้ง ซอฟต์แวรท์ ั้งระบบสำเรจ็ รูปและพัฒนาขึน้ โดยเฉพาะดา้ น 2. กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครอื่ งมอื ต่างๆ ขา้ งต้นมาใช้งาน รวบรวมข้อมลู จัดเกบ็ ประมวลผล และแสดง ผลลพั ธ์เปน็ สารสนเทศในรูปแบบตา่ งๆ ทส่ี ามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ในปัจจุบันการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ สิ่งจำเปน็ สำหรบั ทกุ องค์กร จินตนา กุมาร (2564) พบว่า การ เชอ่ื มโยงสารสนเทศผ่านทางคอมพิวเตอร์ ทำให้ส่ิงท่มี คี า่ มากท่ีสดุ ของระบบ คอื ขอ้ มูลและสารสนเทศ อาจถกู จารกรรม ถูกปรบั เปลี่ยน ถูกเขา้ ถึงโดยเจ้าของไม่รู้ตวั ถูกปิดกน้ั ขดั ขวางใหไ้ มส่ ามารถเข้าถึงขอ้ มลู ได้ หรือถูกทำลายเสยี หายไป ซ่ึง สามารถเกดิ ขนึ้ ไดไ้ ม่ยากบนโลกของเครือขา่ ย โดยเฉพาะเมื่อยบู่ นอินเทอร์เนต็ ดังน้ันการมีคณุ ธรรม และจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีจึงเปน็ เร่อื งที่สำคัญไมแ่ พ้กัน มีรายละเอยี ดดงั นี้ 1. ไม่ควรใช้ขอ้ มูลทเี่ ปน็ เทจ็ จากส่อื ออนไลนม์ าใชใ้ นการจัดทำสื่อการสอน 2. ไม่บิดเบือนความถกู ต้องของขอ้ มูล ให้นักเรยี นไดข้ อ้ มูลทีไ่ มถ่ ูกตอ้ ง 3. ไม่ควรเข้าถงึ ข้อมูลของผอู้ ่ืนโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต 4. ไม่ควรเปดิ เผยข้อมลู กบั ผ้ทู ่ไี ม่ได้รบั อนุญาต 5. ไม่ทำลายข้อมลู 6. ไมเ่ ขา้ ควบคมุ ระบบบางสว่ น หรอื ทั้งหมดโดยไม่ได้รบั อนุญาต 7. ไม่ทำใหอ้ ีกฝ่ายหนง่ึ เข้าใจวา่ ตวั เองเปน็ อีกบุคคลหน่ึง ตัวอย่างเช่น การปลอมอีเมลข์ องผ้สู ง่ เพื่อให้ผู้รับเข้าใจ ผิด เพ่อื การเขา้ ใจผิด หรอื ต้องการล้วงความลบั 8. การขัดขวางการให้บริการของเซิร์ฟเวอร์ โดยการทำให้มีการใช้ทรัพยากรของเซิร์ฟเวอร์จนหมด หรือถึง ขีดจำกดั ของมนั ตวั อย่างเช่น เวบ็ เซิรฟ์ เวอร์ หรือ อเี มล์เซิรฟ์ เวอร์ การโจมตจี ะทำโดยการเปิดการเชือ่ มต่อกบั เซิร์ฟเวอร์ จนถงึ ขีดจำกัดของเซริ ์ฟเวอร์ ทำใหผ้ ู้ใชค้ นอืน่ ๆไมส่ ามารถเขา้ มาใช้บรกิ ารได้ 9. ไมป่ ล่อย หรอื สรา้ งโปรแกรมประสงค์รา้ ย (M us Pr r m) ซงึ่ เรียกย่อๆว่า (M w r ) เปน็ โปรแกรม ทถี่ กู สร้างขึน้ มาเพ่อื ทำการ ก่อกวน ทำลาย หรือทำความเสียหายระบบคอมพวิ เตอร์ เครือขา่ ย โปรแกรมประสงค์ร้ายท่ี แพร่หลายในปจั จุบันคอื ไวรัส เวิรม์ และมา้ โทรจัน 323
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 10. ไม่กอ่ ความรำคาญให้กับผู้อ่นื โดยวิธกี ารต่างๆ เช่น สแปม (S m) (การสง่ อีเมลไปยงั ผู้ใช้จำนวนมาก โดย มจี ดุ ประสงคเ์ พ่ือการโฆษณา) 11. ไม่ผลิตหรือใช้สปายแวร์ (S yw r ) โดยสปายแวร์จะใช้ชอ่ งทางการเชือ่ มต่อทางอินเตอรเ์ น็ตเพื่อแอบส่ง ข้อมลู สว่ นตวั ของผ้นู นั้ ไปให้กับบคุ คลหรอื องคก์ รหน่งึ โดยทีผ่ ูใ้ ชไ้ มท่ ราบ 12. ไม่สรา้ งหรอื ใช้ไวรสั ในการก่อกวน หรอื สรา้ งความเสียหายใหแ้ กง่ านของผ้อู นื่ ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เขา้ มาเป็นสว่ นหนง่ึ ของการเรยี นการสอน ผูเ้ รียนสามารถเขา้ ถงึ การศึกษาได้ทกุ เพศ ทุกวัย และทุกเวลา ซึ่งมีความสอดคล้องกับการเรียนรู้ตลอดชีวติ แห่งศตวรรษที่ 21 การไร้ขอบจำกัดของการเช่ือมต่อก็ทำให้ สังคมได้ทราบถึงมมุ มองของการทำงานของผูส้ อนชัดเจนยิ่งข้ึนจากห้องเรียนสี่เหลีย่ มมาอยู่ในโลกออนไลน์ที่กว้างขวาง การปฏิบัติหน้าที่ของผู้สอนในฐานะเปน็ บุคคลผู้สร้างคน เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณท่ีดีงาม และสามารถ ชี้นำสังคมให้เจริญไปให้ทางที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้เป็นไปในธรรมนองคลองธรรมเดียวกันนั้น จึงมีการกำหนด จรรยาบรรณวชิ าชพี ครูขน้ึ (ปรดี าวรรณ วชิ าธิคณุ , ลกั ษณป์ ระภา สุวรรณสมบตั ิ, เรงิ วิชญ์ นลิ โคตร, ธีรงั กูร วรบำรุงกุล และวยั วฒุ ิ บญุ ลอย, 2021) ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ทีผ่ ูส้ อนต้องใช้ส่ือการนำเสนอ และเน้นการใช้เทคโนโลยีเปน็ หลัก ดังนน้ั จงึ เกิดนโยบายท่ีสง่ เสริมให้ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และผูส้ อนจะตอ้ งเรียนรเู้ รื่องการใช้ขอ้ มูลทางเทคโนโลยีท่ีถูกต้อง และใช้อย่างสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกัน ทั้งนี้ตามแผนในการจัดการเรียนรู้แบบวิถิใหม่ (N w N rm L r ) ผู้สอนกลับไม่สามารถเรียนรู้เทคโนโลยีทางด้านการสอนได้ในระยะเวลากระชั้นชิด ยังขาดการสนับสนุน อุปกรณ์ทางเทคโนโลยีและการอบรมความรู้เกี่ยวกับระบบการสอนรูปแบบใหม่ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี รูปแบบการ สอนในช่วงการระบาดของ COVID-19 จึงยังไม่ประสบผลสำเร็จทั้งระบบการศึกษา การเปลี่ยนแปลงในระบบการสอน อย่างรวดเรว็ และการขาดความพร้อมของผู้สอนจึงเกิดปัจจัยปัญหาต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบตอ่ ความเชื่อมัน่ ของผู้สอนใน วชิ าชีพครูตอ่ รปู แบบการสอนออนไลน์ (กรรณิการ์ มง่ิ สอน, 2560) จรรยาบรรณวิชาชีพกับผลกระทบจากการสอนออนไลน์ อาชีพผู้สอนถือว่าเป็นอาชีพที่มีเกียรติเป็นอย่างสูง เพราะเป็นบุคคลซึ่งมีหน้าที่คอยประสิทธิประสาทวิชา ความรู้ให้แก่ศิษย์ ให้มีทักษะความรู้เพื่อนำไปใช้ประกอบอาชพี และดำรงชีวิตได้ในสังคมที่มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป อยา่ งรวดเร็ว ทว่าการทำหน้าทผ่ี ู้สอนนน้ั ตอ้ งดำรงอยู่ภายใต้มาตรฐานการปฏิบัติตนขั้นพ้นื ฐานหรือจรรยาบรรณวิชาชีพ ทงั้ 5 ดา้ นอยู่เสมอ ประกอบดว้ ย 1) จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง 2) จรรยาบรรณต่อวชิ าชีพ 3) จรรยาบรรณต่อผรู้ บั บรกิ าร 4) จรรยาบรรณต่อผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ และ 5) จรรยาบรรณต่อสังคม ซึ่งถือเป็นแนวทางในการปฏิบัตติ นในวิชาชีพครู แมว้ ่าบรบิ ทการสอนจะตอ้ งปรับเปลยี่ นไปตามยคุ สมยั ทีม่ ีการพฒั นาของเทคโนโลยกี ต็ าม (ราชกิจจานุเบกษา, 2556) ผู้สอนต้องจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายการศึกษา เช่น การจัดความพร้อมเข้าสู่อาเซียน การจัด ระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมมาภิบาล โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ และการใช้ หลักสูตรลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาเรียนรู้ ให้นักเรียนได้ใชท้ ักษะพัฒนาสมอง พัฒนาจิตใจ พัฒนาทักษะการปฏิบัติ และ พัฒนาสุขภาพ อีกทั้งการจัดการศึกษาภายใต้กรอบการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ ส่งผลให้ครูต้องมีการ พฒั นาความรูใ้ ห้รอบดา้ น และตลอดเวลา 324
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สถานการณ์ความไม่ปกติจากการระบาดของโรคโควิด-19 ผสู้ อนจึงต้องมคี วามรับผิดชอบเพม่ิ มากข้ึน ประกอบ กับต้องสละเวลาเพื่อการศึกษาเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ทำให้ผู้สอนมีภาระงานในการจัดการเรียนรู้ที่แตกต่างกันไป ตามแต่สถานการณ์ในแต่ละวนั ซึ่งไมส่ ามารถคาดเดาได้ ทำให้ภาระงานอาจจะซ้ำซ้อนหรือมีปริมาณเพ่ิมมากขึ้นภายใต้ ความกดดนั เร่ืองระยะเวลาท่ีจำกดั อีกทั้งต้องคอยดูแลเอาใจใส่นกั เรียนทัง้ ในเรือ่ งการสอนเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสงู สุด รวมถงึ คอยติดตามงานเพ่อื นำมาเป็นเกณฑ์ในการประเมนิ ผลการเรียน ตลอดจนคอยเอาใจใส่ในเรื่อง ความปลอดภยั ทางด้านสุขภาพในช่วงสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 และการเขา้ ถึงสอ่ื การเรยี นร้ขู องผู้เรียนในช่วงการ เรียนออนไลน์ แต่ในขณะเดยี วกนั นนั้ ผสู้ อนก็มคี วามกงั วลในด้านความเส่ียง ด้านการปฏิบัติงานในสถานการณ์โรคระบาด เนื่องด้วยการเดินทางมาทำงาน การเดินทางไปติดตามดูแลนักเรียนตามบ้าน แต่ในสถานการณ์ปัจจุบัน ผู้ปกครองไม่ สามารถฝากบตุ รหลานไว้กับผู้สอนไดอ้ ีกต่อไปเน่ืองด้วยสถานการณโ์ รคระบาด ดังนั้นการดแู ลผเู้ รยี นจงึ อยู่ในหน้าท่ีของ ผู้ปกครอง ความกดดดันที่ต้องแบกรับภาระการดูแลความเป็นอยู่ ตลอดจนการเรียนของบุตรหลานส่งผลให้ผู้ปกครอง เกิดความเครียดในการวางแผนทำงานของตนเอง การวางแผนการเรียนและการตดิ ตามการทำงาน ทำการบ้านของบตุ ร หลาน อาจจะส่งกระทบตอ่ ผู้สอน (กรรณกิ าร์ มงิ่ สอน, 2560) ในการสอนออนไลน์ เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ผู้สอนยังมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ใน รูปแบบใหม่ภายใต้การใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลที่ล้ำสมัย ซึ่งอาจไม่เข้าใจเก่ียวกับการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสม์ ากนัก ผู้สอนมีความกังวลเกี่ยวกับผลการเรียนของนักเรียนอาจตกต่ำลง ความกดดนั ต่อความคาดหวงั ของผู้ปกครอง ซ่ึงปัจจัย ดังกล่าวมีส่วนทำให้การปฏิบัติหน้าที่ของครทู ำได้ไม่เต็มที่ และบางส่วนอาจเกิดความท้อจากการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่มี ความสลับซบั ซ้อน ความคาดหวังที่มตี อ่ “คณุ ลักษณะความเปน็ ครใู นศตวรรษที่ 21 ท้งั 11 ด้านคือ 1) ความคาดหวังของผู้เรียนท่ี มีตอ่ วิชาชพี ในภาพรวม 4 ดา้ น 2) ความคาดหวงั เกี่ยวกับการปฏบิ ัติงานในหน้าที่ด้านความสำเร็จในการทำหน้าท่ีความ เปน็ ครู 3) ความคาดหวงั เกย่ี วกบั การปฏิบัติงานในหน้าท่ีด้านการพฒั นาตนเอง 4) ความคาดหวังเกีย่ วกับการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ด้านการทำงานเป็นทีม 5) ความคาดหวังเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ด้านจริยธรรม 6) ความคาดหวัง เกี่ยวกับจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพด้านจรรยาบรรณครู 7) ความคาดหวังเกี่ยวกับจรรยาบรรณและมาตรฐาน วชิ าชีพดา้ นมาตรฐานวิชาชีพครู 8) ความคาดหวังเก่ยี วกับสมยั พระครูดา้ นจิตวิทยาสำหรับครู 9) ความคาดหวังเก่ียวกับ สมรรถนะครูด้านความเป็นครู10 ) ความคาดหวังเกี่ยวกับสมรรถนะครูด้านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในวิชา เฉพาะ และ 11) ความคาดหวงั เก่ียวกบั การเตรยี มตัวท่ีจะอยใู่ นสงั คมแห่งการเรียนรู้” (ดนพุ ล สืบสำราญ, 2560) สาวิกา ทิพย์โพธิ์ (2558) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทผู้บริหารกับพฤติกรรมการมีวินัยและ จรรยาบรรณขา้ ราชการครสู ังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต11 พบวา่ บทบาทของผู้บรหิ ารโรงเรยี นใน การรักษาวนิ ัยและจรรยาบรรณ โดยรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดบั มาก สว่ นการรกั ษาวนิ ยั และจรรยาบรรณของข้าราชการ ครูโดยรวมและรายดา้ นอยู่ในระดับมาก ความสมั พนั ธร์ ะหว่างบทบาทผบู้ ริหารกับพฤตกิ รรมการมวี ินยั และจรรยาบรรณ ข้าราชการครู สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 มคี วามสมั พนั ธท์ างบวกในระดับสูง (r = 0.68 ) อย่างมีนยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ0 .01 จากการศึกษาข้อความข้างต้นจะเห็นได้ว่า สมรรถนะความเป็นครูและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครูนั้น มี ผลกระทบต่อความคาดหวังของผู้เรียนและผู้ปกครองอยู่เสมอ หากแตจ่ ะเพิ่มข้นึ เนือ่ งดว้ ยสถานการณ์อนั ไม่ปกติจากการ 325
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ผู้สอนจะต้องแบกรับทั้งความคาดหวัง และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติและรับผิดชอบอย่างดีที่สุด ดงั นนั้ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผู้สอน ผูเ้ รยี นและผู้ปกครองจึงเปน็ ปัจจยั ร่วมทจ่ี ะสามารถผลักดันการศกึ ษาให้ก้าวหน้าไปได้ ในสถานการณ์โรคระบาดเชน่ น้ี แนวโน้มจรรยาบรรณวิชาชีพครูในอนาคต สัจกาณฑ์ คเชนทร์พนาไพร, สุธาสนิ ี แสงมุกดา และ สัมฤทธิ์ กางเพ็ง (2560) กล่าวเรื่องตัวบ่งชี้จรรยาบรรณ วิชาชีพครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า แนวทางการส่งเสริมครูให้ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพนั้น ได้แก่ 1) การมีเจตคติที่ดี ยึดมั่นและตระหนักในกระบวนการการปฏิบัติหน้าที่ตามจรรยาบรรณวิชาชีพและปฏิบัติตนตาม มาตรฐานวิชาชีพ 2) การเรียนรู้ด้วยตนเองเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพและมาตรฐานวิชาชีพเพ่ือใหผ้ ู้สอนรู้และเข้าใจ ข้อกำหนดเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพมาตรฐานการปฏิบัติตน และแบบแผนพฤติกรรมจามจรรยาบรรณวิชาชีพ 3) การฝกึ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ตี ามจรรยาบรรณวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชพี และแบบแผนพฤตกิ รรมจรรยาบรรณวิชาชพี ในขณะเดยี วกนั พศิ วัสน์ สวุ รรณมรรคา (2020) รายงานว่า ในบางประเทศเช่น ฮอ่ งกง สิงคโปร์ และเอสโตเนีย ต่างระบุเป้าหมายของการศึกษาในอนาคตที่ผู้เรียนอยากจะเห็น รวมไปถึงการพัฒนาสมรรถนะใหม่ ๆของผู้เรียนและ ผสู้ อน ซงึ่ สมรรถนะของผสู้ อนก็คือมาตรฐานวชิ าชีพ กรอบการเรยี นรแู้ ละการเตบิ โตอย่างมืออาชีพ ประเทศฮอ่ งกง ได้ออกมาตรฐานวิชาชพี ใหมส่ ำหรบั ผู้สอน ซ่งึ เน้นหนา้ ที่ฝึกฝนผูเ้ รยี นสผู่ นู้ ำในอนาคต ดงั นี้ 1. ผู้อบรมสงั่ สอนทใ่ี ส่ใจกับการเติบโตอย่างรอบด้าน ครอู บรมสง่ั สอนนักเรียนแบบองคร์ วมผ่านการเสริมสร้าง คณุ ลกั ษณะ ทำตนเปน็ แบบอย่าง และขยายขีดความสามารถของนักเรียนในการจดั การตนเอง การกำกับตนเองและการ เรยี นรตู้ ลอดชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างความรู้ที่สร้างแรงบันดาลใจ ครูเชื่อมต่อนักเรียนสู่การเรียนรู้เชิงลึกด้วยการสร้างแรงบันดาลใจ เพ่อื ให้ผู้เรยี นสรา้ งความร้แู บบรายบุคคลและแบบรว่ มมือรวมพลงั 3. ผู้เป็นแบบอย่างที่มุ่งมั่นของความเป็นมืออาชีพ ผู้สอนต้องมีการติดตามการพัฒนาทางวิชาชีพด้วยตนเอง และผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการร่วมมือรวมพลัง รวมไปถึงเป็นตัวอย่างของการแสวงหาความเสมอภาค ความเป็นเลิศ และความสามคั คี ประเทศเอสโตเนยี มกี ารปรับปรงุ มาตรฐานวชิ าชพี แลว้ เชน่ กัน กล่าวคือ บทบาทของผู้สอนคือการให้อำนาจกับ ผเู้ รยี น และสร้างเสน้ ทางการเรียนรู้ เพือ่ ตระหนักถงึ ศักยภาพของผู้เรยี น ประกอบดว้ ย 1. การสนบั สนุนผู้เรยี น 2. การวางแผนการจดั การเรียนรู้ 3. การสอน 4. การสะท้อนคดิ และการพัฒนาทางวชิ าชพี 5. การรว่ มมือรวมพลงั และการนเิ ทศกำกบั ดูแล 6. กจิ กรรมการพฒั นา สรา้ งสรรค์และการวิจัย สมรรถนะดังกล่าวคือบทบาทของผู้สอนในการทำความเข้าใจความต้องการและความสนใจของผู้เรียน สร้าง สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สะทอ้ นถึงความต้องการและความสนใจเหล่านี้ สง่ เสริมให้นักเรียนมีความเป็นอยู่ รวมไปถึงมี 326
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี พัฒนาการทางสังคมและอารมณ์ที่ดี นอกเหนือจากการให้ความสำคัญกับผู้เรียน ผู้สอนยังถูกคาดหวังให้สะท้อนการ ปฏิบัติงาน มุ่งเนน้ ทีก่ ารเรยี นรู้ และพัฒนางานของตนต่อไป ประเทศสิงคโปร์ มองว่าการเตรียมผู้เรียนให้พร้อมสำหรบั อนาคต ผู้สอนจำเป็นตอ้ งแสดงสมรรถนะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ท่ผี ู้สอนต้องการจากผเู้ รยี น สถาบันการศกึ ษาแห่งชาติ (NIE) ไดส้ ะท้อนมุมมองถงึ วิธีกำหนดเป้าหมายใหม่สำหรับผู้สอนต่อการพฒั นาผูเ้ รียน ดงั นี้ 1. ผู้สร้างความรู้ ไมใ่ ชแ่ คผ่ รู้ ับ 2. ผอู้ ำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ไมใ่ ช่แคถ่ า่ ยทอด 3. ผ้อู อกแบบสภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้ ไม่ใชแ่ คผ่ ้ดู ำเนนิ การ 4. ผู้หล่อหลอมคณุ ลกั ษณะ ไมใ่ ช่แคผ่ ูม้ ีสว่ นรว่ ม 5. ผูน้ ำการเปล่ียนแปลงทางการศกึ ษา ไมใ่ ชแ่ คผ่ ู้ตาม ทั้งนี้จะเหน็ ได้ถึงความพรอ้ มในการเตรียมรบั มือตอ่ อนาคตในคาดเดาไม่ได้ของแต่ละประเทศ ซ่งึ แนวทางต่าง ๆ จะช่วยผสู้ อนใหง้ ่ายต่อการปรบั ตวั ให้เขา้ กับการเปล่ยี นแปลงได้ แมบ้ ริบทการศกึ ษาท่แี ตกต่างกัน บทสรปุ จรรยาบรรณวิชาชพี ครู จึงเปน็ มาตรฐานแหง่ วิชาชีพ แมใ้ นสถานการณ์ท่เี ปล่ียนไปผู้สอนย่อมต้องฝึกฝนให้เกิด ความชำนาญ และพฒั นาตนเองอยูเ่ สมอ ในสถานการณ์โรคระบาดโควดิ -19 นี้ วชิ าชีพครจู งึ เป็นอกี หนึ่งวชิ าชีพที่ต้องรับ ภาระหน้าท่ีทสี่ ำคัญต่อสงั คมและประเทศ ครูผู้สอนจะตอ้ งเปน็ ผูท้ ่ีแขง็ แกร่ง ผลกั ดนั นักเรียนใหม้ ีวินยั มีความรบั ผดิ ชอบ ตอ่ หน้าทขี่ องตน พรอ้ มต่อสกู้ ับทกุ สถานการณ์ ท้งั ยังตอ้ งต่อสกู้ ับการระบาดของโรคโควดิ -19 ในการดูแลตนเองจากการ ใช้ชีวิตประจำวัน ผู้สอนจึงต้องรับหน้าที่ในการดูแล เอาใจใส่นักเรียน และเอาใจใส่ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน ของตนเอง ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สุดต่อการจัดการเรียนรนู้ อกห้องเรียน เพ่อื ให้ผู้เรียนและผปู้ กครองเกดิ ความเช่ือมั่นใน การจัดการเรียนรู้ และการจัดการศึกษาภายใต้วิกฤตการณ์คร้ังนี้ ทั้งยังเป็นการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ที่จะมา ปฏบิ ตั ิและทำหน้าทีค่ รูผ้สู อนใหต้ ระหนกั ถึงจรรยาบรรณของวชิ าชีพครูท่ีตอ้ งพงึ ปฏิบตั ิใหถ้ ูกต้องและเหมาะสม เพ่อื เป็น แบบอยา่ งทด่ี ีของสงั คม และสามารถพฒั นาประเทศภายใตส้ ถานการณท์ ่ีวกิ ฤตไิ ด้อยา่ งแทจ้ ริง ดังนี้การปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้สู่โลกออนไลน์ ผู้สอนต้องไม่ทิ้งผู้เรียนคนใดไว้ข้างหลัง แต่ก็ ปฏเิ สธไม่ได้ว่าการเรียนออนไลน์อาจส่งผลกระทบตอ่ ผูเ้ รียนท่มี ีขอ้ จำกัดดา้ นอุปกรณ์ทางเทคโนโลยี หรอื สิง่ อำนวยความ สะดวกต่าง ๆ ในการเรียนออนไลน์ จึงไม่ใชผ่ เู้ รยี นทกุ คนทพี่ ร้อมจะเรยี นออนไลนอ์ ย่างเต็มรูปแบบ ทางสถานศึกษาหรือ ผสู้ อนอาจใชเ้ พียงบางโอกาสเท่าน้ัน ผสู้ อนจงึ ตอ้ งมีจรรยาบรรณตอ่ ตนเอง คือการมีวนิ ยั ท่ีดี หม่นั พัฒนาตนเองให้รอบรู้ เร่อื งเทคโนโลยีอุบัตใิ หม่อยู่เสมอ มจี รรยาบรรณต่อผรู้ ับบริการ คอยหมนั่ ดแู ลใส่ใจผู้เรยี นทกุ คนอย่างเต็มความสามารถ ทั้งทางสุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ทอ้ ถอยต่อการปรับเปลีย่ นรูปแบบการเรียนการสอน เพื่อให้การศึกษาช่วงวิกฤตนิ น้ั เกิดประสิทธิภาพสงู สุด จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ว่ มประกอบวิชาชพี คอื การช่วยเหลือเกือ้ กูลกันอย่างสร้างสรรคใ์ นการร่วมกัน ศึกษาหาความรู้มาแบ่งปันเพื่อนร่วมงาน รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากเพื่อนร่วมงาน เพื่อให้การแก้ปัญหามี ประสิทธิภาพมากที่สุด และการมจี รรยาบรรณต่อสังคม คือการพึงปฏิบัติตนเพ่อื รักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวม เพราะ ในวกิ ฤตการณโ์ ควิด-19 นี้ ผสู้ อนเป็นส่วนสำคัญที่จะชว่ ยใหส้ ังคม และประเทศก้าวขา้ มวิกฤตินีไ้ ปได้ 327
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เอกสารอ้างอิง เก็จกนก เอ้ือวงศ์. ชชู าติ พ่วงสมจติ ร์, นงเยาว์ อทุ ุมพร, กลุ ชลี จงเจริญ และ ฐิตกิ ารณ์ยาวิไชย จารึกศิลป.์ 2564. รูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับนกั เรียนระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานทไี่ ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19. กรรณิการ์ ม่ิงสอน. 2560. ความท้อแท้ในการปฏบิ ัตงิ านของครอู ัตราจ้างในสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 2. กมล โพธิเยน็ . 2564. Active Learning: การจดั การเรียนรทู้ ี่ตอบโจทย์การจดั การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21. 19(1) มกราคม-มิถุนายน. จิตตมิ า กุลประเสริฐรัตน์. 2561. ผลกระทบจากสอื่ . (ออนไลน)์ . เข้าถึงจาก : h s://www. h s . /m /d /227366. จนิ ตนา กุมาร. (2564). จรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ จาก: h s://s s. . m/s /bmj ดนพุ ล สบื สำราญ. (2560). การสำรวจทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ เพ่อื พัฒนาสู่ครูมอื อาชีพ(รายงานวจิ ยั ทุนสนบั สนุนจากคระครศุ าสตร์). มหาวทิ ยาลัยราชภัฏศรสี ะเกษ. บุญเลศิ โพธข์ิ ำ. 2557. การกระทำความผิดของครทู ี่มผี ลกระทบตอ่ ประชาชนตามพระราชบญั ญตั ิระเบยี บข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา พุทธศักราช 2547 และแกไ้ ขเพมิ่ เติมฉบบั ท่ี 2 พุทธศักราช 2551. ประหยัด พมิ พา. 2561. การศกึ ษาไทยในปัจจุบัน. 7(1) มกราคม-มิถนุ ายน. ปรดี าวรรณ วชิ าธิคุณ, ลักษณ์ประภา สุวรรณสมบัต,ิ เรงิ วชิ ญ์ นลิ โคตร, ธีรังกรู วรบำรงุ กลุ และวยั วุฒิ บญุ ลอย. 2564. การประยกุ ตใ์ ช้หลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตามหลักไตรสิกขาสู่ความเปน็ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษามืออาชีพ. พงศร์ ตั น์ ธรรมชาติ และชวลติ เกดิ ทิพย์. 2564. ทบทวนบทเรียน Onsite สู่ Online กบั การพัฒนาครูท่ีไร้ทิศทางในยคุ วิกฤต COVID-19. พศิ วัสน์ สุวรรณมรรคา. 2020. ปรับมาตรฐานวชิ าชีพครใู หม่ เตรียมนกั เรียนให้พร้อมสำหรบั อนาคต. เข้าถึงจาก: https://www.educathai.com/knowledge/articles/472. พสุกานต์ บุญส่ง. 2560. ปัจจยั ที่มตี ่อการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณของสือ่ ออนไลนใ์ นการนำเสนอข่าวการ ละเมิดทางเพศเด็ก (ปรญิ ญามหาบณั ฑติ , มหาวิทยาลัยกรุงเทพ). ราชกจิ จานุเบกษา. 2556. ข้อบงั คับครุ สุ ภาว่าดว้ ยจรรยาบรรณของวิชาชพี . 4(130) 19-20. วชิราภรณ์ สังข์ทอง และแพรวนภา เรียงรลิ า. (2564). จิตวิญญาณความเปน็ ครสู ำหรับนักศกึ ษาวิชาชพี ครูบรรณารกั ษ์ กับการจัดการเรียนรูใ้ ห้ “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” ทักษะความรอบรสู้ ารสนเทศ และเทา่ ทนั การเปลี่ยนแปลง. วารสารห้องสมุด. 65(1). คณะครศุ าสตร์. มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย. สจั กาณฑ์ คเชนทรพ์ นาไพร, สธุ าสินี แสงมกุ ดา และ สมั ฤทธ์ิ กางเพ็ง. 2560. ตัวบง่ ช้ีจรรยาบรรณวิชาชีพครใู น สถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานในกรุงเทพมหานคร. 1(3). สมุ ิตร สวุ รรณ. 2563. ครไู ทยต้องการอะไรเพ่อื ฝ่าวิกฤติ COVID-19. (ออนไลน์). เข้าถึงจาก: www.matichon.co.th. 328
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อษุ า พรหมรินทร.์ 2561. การปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชพี ของครใู นสถานศกึ ษาของรฐั สังกัดสำนกั งานเขต พน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา พระนครศรีอยธุ ยา เขต 2 (วิทยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑติ , มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบรุ ี). Force, T., & Unesco. 2020. 7 ways to help teachers succeed when schools reopen. (On-line). February 3, 2022. Available: https://www.globalpartnership.org/blog/7-ways-help-teachers-succeed-when- schools-reopen. Sakrungpongsakul, S., & Yuttanawiboonchai, J. 2016. Information Systems and Knowledge Management Technology. Bangkok: SE-EDUCATION Publishing House. S J. & F D. 2020. 10 strategies for online learning during a coronavirus outbreak. R r v d F bru ry 9, 2020, fr m h s://www.s . r / x r /10-s r s- - r -dur - r vrus- u br k. 329
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี จากการเรียนแบบออนไลน์ส่คู วามทา้ ทายในจักรวาลนฤมติ From online learning to challenges in the Metaverse 1กฤตย์ษุพชั สารนอก, 2นัฐยา บญุ กองแสน3 บทคดั ยอ่ จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่ช่วยให้การเรียนรู้ เกิดขึ้นได้ง่าย สะดวก ซึ่งปัจจุบันมีความนิยมนำมาใช้การเรียนการสอนแบบออนไลน์ประกอบกบั การใช้หลักสูตรการ เรยี นการสอนระยะส้นั เพอ่ื มวลชน หรอื MOOC ซึ่งในการเรียนรูผ้ า่ นส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Learning) น้ีสงิ่ ทน่ี ่าสนใจและ ทำให้ชั้นเรียนเหล่านี้ต่ืนเต้น ทำให้ผู้เรียนมีความสนุกและเกดิ การเรียนรู้ได้เสมือนอยู่ในสถานทีจ่ ริงหรือเหน็ ส่งิ ของนนั้ จริงๆ กค็ ือ การใช้เทคโนโลยโี ลกเสมอื นผสานโลกจริง (AR) เทคโนโลยีความเปน็ จรงิ เสมอื น (VR) และความจริงผสม (MR) จนถึงแนวคิดของการสร้างการเรียนรู้ในโลกคู่ขนานที่เรียกว่าจักรวาลนฤมิต (Metaverse) ซึ่งมีองค์ประกอบของการ เรียนรู้ คอื 1. ครผู สู้ อน นักเรียน และฝา่ ยสนบั สนุนด้านอปุ กรณ์ สอื่ สารสนเทศและซอฟต์แวร์ 2. อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรืออุปกรณ์สวมใส่และอุปกรณ์ประจำตัวเพื่อใช้ทำกิจกรรมในโลกของจักรวาลนฤมิต 3. โปรแกรมและแพลต์ฟอร์ม ดิจิทัลที่ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับกิจกรรมการเรียนรู้ 4. ปฏิสัมพันธ์ซึ่งเป็นการโต้ตอบแลกเปลี่ยนกัน โดยเป็น ปฏิสัมพนั ธ์ในเรอื่ งของการเรียนรู้น้นั จะเปน็ การสรา้ งปฏสิ มั พนั ธ์ในส่วนของผสู้ อนกับผเู้ รียน ผู้เรียนกบั ผูเ้ รียน ผู้เรียนกับ กิจกรรมการเรียนรูแ้ ละผเู้ รยี นกบั สภาพแวดล้อมในจกั รวาลนฤมิต และ 5. ระบบอินเทอรเ์ น็ตความเร็วสูง คำสำคัญ: การเรยี นออนไลน์ ความท้าทาย จักรวาลนฤมติ ABSTRACT The advancement of information technology and high- speed Internet networking supports learning to happen easily and conveniently. Currently, online teaching and learning are popular with the use of short courses for the masses (MOOC). MOOC is learning through electronic media (e-Learning) which is interesting and exciting to the class. Students can have fun while learning as if they are in a real place and seeing a real object by using augmented reality (AR), virtual reality (VR), and Merged Reality (MR) technologies as well as the concept of creating learning in a parallel world called the Metaverse. The Metaverse has the elements of learning, which are: 1) Teachers, students, equipment, media, and software support, 2) Electronic devices or wearable equipment and 330
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี personal equipment to use for activities in the world of the Metaverse 3) Programs and digital platforms specificallydesigned for learning activities 4) Interaction, which is interacting and exchanging in the subjects of learning that will create an interaction between the teacher and the learner, learners and learners, learners and learning activities, and learners and the environment in the Metaverse ,and5 ) Hi Speed Internet System. KEYWORDS: Online Learning, Challenges, Metaverse บทนำ ในช่วงของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ผ่านมา การจัดการศึกษาได้ให้ ความสำคญั กบั การเรยี นผ่านสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Learning) รวมถึงการจัดการเรยี นการสอนผ่านทางออนไลน์เป็นอย่าง มาก เพราะการจดั การเรยี นรู้ลักษณะน้ีช่วยทำใหก้ ารเรียนง่ายและสะดวกข้นึ ทัง้ ยงั ปลอดภยั จากการติดเชือ้ ฯ โดยในการ เรียนนัน้ ขอเพยี งแค่ผูเ้ รยี นมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์และมีระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตกส็ ามารถเข้าถึงการจัดการเรียน การสอนของครูผู้สอนได้โดยไมต่ ้องเสียค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางมาเรียน (ธัชพนธ์ สรภูมิ และ ศศิธร อิ่มวุฒิ, 2564) ซึ่ง จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและมีการเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วจนเกิดการออกแบบ โครงสรา้ งสถาปตั ยกรรมทางระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตยุคใหม่ทใ่ี ช้ในการรับสง่ ข้อมูลระหว่างกนั เปน็ ไปได้อย่างรวดเร็ว มากย่งิ ขนึ้ ชว่ ยใหก้ ารออกแบบและการพัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษากลายเปน็ เครอื่ งมอื การเรียนรู้ที่สำคัญในช่วงที่ทุก คนไม่สามารถออกมาพบเจอกันได้ การเรียนหลายแห่งมกี ารปรบั ตัวโดยการนำเทคโนโลยีห้องเรียนเสมอื นจริง (Virtual Classes) มาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อสร้างการตอบสนองในการเรียนรู้ของผู้เรียน มีการจับกลุ่มและการใช้สื่อสังคม ออนไลนเ์ พ่ือแบ่งปนั สิ่งที่ไดเ้ รยี นรู้รว่ มกัน รวมถึงแบ่งปันเนื้อหาองค์ความรู้ ผลงาน และการแสดงทักษะความสามารถ ต่างๆ ให้เพ่ือนร่วมชั้นเรยี นและครูผ้สู อนไดเ้ กิดการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ร่วมกัน (ววิ ฒั น์ มสี ุวรรณ2554 ,) 1. การเรยี นแบบออนไลน์ 1.1 ผูใ้ ห้บรกิ ารการเรียนแบบออนไลน์ การเรียนการสอนแบบออนไลน์นั้นเริ่มมกี ารใชเ้ พื่อจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรีและระดับบณั ฑิตศึกษาของ สถาบันการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศมาหลายสิบปีแล้ว ซึ่งในระยะหลังได้รับความนิยมมากขึ้นเพราะมี สถาบันการศึกษาหลายแห่งได้จัดทำหลกั สูตรการเรียนการสอนระยะสัน้ เพื่อมวลชน (Massive Open Online Course: MOOC) ขึ้น เช่น โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (Thailand Cyber University: TCU) ซึ่งได้จัดทำโดยเครือข่าย มหาวิทยาลัยช้ันนำท่วั ประเทศ โดยปัจจบุ นั มีระบบทน่ี ิยมใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนออนไลนแ์ บบ MOOC ดังนี้ 1. EdX เป็นระบบจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ทไ่ี ด้รบั ความสนใจเป็นอนั ดับตน้ ๆ ของโลก เนอื่ งจาก มีเนื้อหา รายวิชาที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชาและให้บริการฟรี แต่หากต้องการเพิ่มพูนความรู้เพื่อรับ Certificate ก็อาจจะมี ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมขึ้นมาบ้าง นอกจากนี้ยงั มีหลักสูตรที่มคี ุณภาพสูงจากมหาวิทยาลัยและสถาบันที่มีคุณภาพมากมาย จากทว่ั ทุกมุมโลก ก่อตงั้ โดยมหาวิทยาลัย MIT และมหาวิทยาลัย Harvard รวมถึงสถาบันต่างๆ ที่เข้ารว่ มอกี มากกวา่ 50 331
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แห่ง เพื่อพัฒนาหลักสูตรและเปิดสอนออนไลน์ในหลากหลายสาขาวิชา เช่น สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตรแ์ ละสาขาอืน่ ๆ มากมาย ซึ่งนอกจากนแ้ี ลว้ ระบบจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ Open edX น้ี ยังเปิดเป็น Open Source เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่ต้องการพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของตนเองได้ นำไปใช้งานได้ เชน่ KMOOC, JMOOC, Thai MOOC เป็นต้น 2. Coursera เป็นระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่ได้รับความนิยมไม่แพ้กันกับ Edx โดยมี หลักสูตร มากกว่า 100 มหาวิทยาลัยทั่วโลก เช่น Stanford, Princeton, Bocconi, Centrale Paris เป็นต้น Coursera เป็นองค์กร ทางดา้ นการศกึ ษาที่นำเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศกึ ษา ก่อต้ังโดย Andrew Ng และ Daphane Koller ในปี 2012 มี รูปแบบในการดำเนินงานคือ สร้างความรว่ มมือกับหลายๆ มหาวิทยาลัยเพื่อเปิดหลักสูตรและสอนออนไลนโ์ ดยมีเนื้อหาที่ ครอบคลุมหลายสาขาวิชา ได้แก่ ศิลปะ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ กฎหมาย วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ เคมี และ อ่นื ๆ อีกมากมาย ซึ่งสอนโดยอาจารยท์ ม่ี ชี ื่อเสียงจากทัว่ โลก ในปจั จุบัน Coursera ได้รว่ มมือกบั มหาวทิ ยาลยั หลายแห่งเพื่อ ขยายหลกั สูตรปรญิ ญาตรแี ละโทโดยเมอื่ เรยี นจบแลว้ Coursera ยังมีใบปรญิ ญาจริงมอบให้แกผ่ ูเ้ รียนอกี ด้วย 3. Khan Academy เป็นองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร ให้เรียนฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย มีวัตถุประสงค์ของการทำเพ่ือ ต้องการขยายโอกาสทางด้านการศึกษาที่มีคุณภาพแก่คนทั่วโลกผ่านระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ khanacademy.org โดยระบบดังกล่าวมีเครื่องมือหลักในการสอนคือ วิดีโอและการปฏิบัติตามซึ่งเป็นกิจกรรม การ เรียนรู้หลกั ปัจจุบนั มีรายวิชามากมายหลายสาขาวิชา เชน่ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ เป็นต้น ในการจัดการศึกษามีตั้งแตร่ ะดับอนุบาลไปจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และมี ภาษาท่ใี ช้ในการจัดการเรยี นการสอนนอกเหนอื จากภาษาองั กฤษอยู่หลายภาษา เช่น Spanish, Portuguese, Hebrew, Italian, Russian, Chinese, Turkish, French, Bengali, Hindi, German แ ล ะ Thai (https://th.khanacademy.org) Khan Academy ถกู ก่อตั้งโดย Salman Khan เปน็ ชาวอเมริกันเช้ือสายบังคลาเทศ-อินเดีย ซ่ึงในอดีตเป็นนักวิเคราะห์ ของบรษิ ัทเฮจด์ฟันดแ์ ละเคยเรียนจบท้ัง MIT และ Harvard Business School 4. Udemy Udacity ก่อตั้งขึ้นในปีเดียวกันกับ Coursera โดย Sebastian Thrun David Stavens และ Mike Sokolsky ที่เล็งเห็นวา่ โดยปกติแล้วการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนจะสามารถรองรับผู้เรียนไดไ้ ม่เกนิ 200 คนต่อ คลาสเรียนโดยผู้เรียนส่วนใหญ่นัน้ มีพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ชอบดวู ิดีโอการสอนย้อนหลังมากกว่า เพราะมีอิสระในการ เรียนรู้ จึงได้สร้างระบบ Udacity ขึ้นมา เน้นเปิดหลักสูตรในสาขาวิชา วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ แต่ต่อมาได้ขยาย สาขาวิชาสู่คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และธุรกิจ หลักสูตรทั้งหมดมีตารางเรียนแบบที่นักเรียนสามารถวางแผนเองได้ ดังน้ัน นักเรียนจึงสามารถศึกษาได้มากน้อยตามที่ต้องการในแต่ละสัปดาห์ ทำให้เหมาะสำหรับนักเรียนที่มีเวลาว่างน้อย นอกจากนี้ยังไดแ้ บ่งหลักสูตรออกเป็น 3 ระดับคือ ระดับเริ่มต้น (beginner) ระดับกลาง (intermediate) และระดับสงู (advanced) เพ่อื ใหเ้ หมาะสมกบั ผูเ้ รียน 5. Canvas เป็นระบบ LMS ที่มีความแตกต่างจาก Edx, Coursera และ MOOC Platform ทั่วไปโดย Canvas นี้จะเน้นไปที่การให้ความสะดวกในการบริหารจัดการ Online Course ภายในองค์กรหรือภายในมหาวิทยาลัย Canvas ได้รับความนิยมในระดับวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา โดยในการเรียนจะให้มีการบริการเป็นแบบ Opensource และแบบ freemium 332
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 6. FutureLearn คือ ระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์แบบ MOOC ที่มีคุณสมบัติคล้ายกับ MOOC Platform ทั่วไปมีเคร่อื งมือเดน่ ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ คอื เครอื่ งมือในการตดิ ตอ่ สอื่ สารระหว่างผู้เรียนกับ ผู้เรียนและผเู้ รียนกบั ผู้สอน เพราะ FutureLearn เชือ่ ว่าการพดู คุยในเรือ่ งที่เรยี นรูก้ บั คนอื่นๆ จะทำใหไ้ ด้พบโอกาสและ แนวทางการเรียนรใู้ หมๆ่ ทำให้การเรยี นออนไลน์ประสบผลสำเรจ็ มากขนึ้ นอกจากนี้ยังมี The Open University ซง่ึ เป็น บรษิ ัทเอกสารท่ีใหก้ ารสนับสนุนดแู ลและบริหารจัดการ จนทำใหเ้ ชอ่ื ได้วา่ Course Online และระบบดังกลา่ วมีคุณภาพ มากๆ 7. Udacity คือ ระบบจัดการเรียนการสอนออนไลนแ์ บบ MOOC ทม่ี เี ปา้ หมาย คือ การเขา้ ถงึ องค์ ความรู้จาก มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดทั่วโลก โดยมีเนื้อหาการเรียนรู้ที่มุง่ เน้นไปที่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ เกิดขึ้นใหม่ เพื่อเป็น ทางออกทดี่ ีทสี่ ดุ สำหรบั ผูเ้ รียนท่ีสนใจในเน้อื หาเฉพาะด้าน ใหส้ ามารถศกึ ษาจาก Udacity ไดอ้ ย่างลกึ ซ้งึ 8. Open Education Europa เป็นระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์แบบ MOOC ที่พัฒนาขึ้นเพื่อเป็น ประตูสู่นวัตกรรมแหง่ การเรียนรู้ในกลุ่มประเทศยุโรป โดยคณะกรรมาธิการยโุ รปได้เปิดตัวครั้งแรกในเดือนกันยายนปี 2013 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการริเร่ิมการศึกษาเพื่อจัดหาเกตเวย์เดียวสู่ European Open Education Resources โดยเป้าหมายหลัก คือ การนำเสนอแหล่งข้อมูลทางการศึกษาที่เปิดสอนในยุโรปทั้งหมดที่มีอยู่ในหลายภาษาเพื่อให้ สามารถนำเสนอแก่ผู้เรียน ครู และนักวิจัย นอกจากน้ีแล้ว Education Europa ยังเป็นแพลตฟอร์มการจัดการสอน ออนไลน์แบบไดนามกิ ทีส่ ร้างขน้ึ ด้วยเทคโนโลยี Open source ล่าสดุ ท่มี คี วามสามารถในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างการ ปฏสิ ัมพนั ธก์ นั ของสมาชกิ ในกล่มุ เรียนได้มากขึน้ 9. The Open University เป็นระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์แบบ MOOC ที่เน้นการ ปรับตัวของ ผู้เรยี นทีไ่ ม่เคยเรยี นออนไลนม์ าก่อน เนอื่ งจากระบบมกี ารออกแบบส่วนตดิ ตอ่ กบั ผู้ใช้งานทเี่ ข้าใจ ง่าย มรี ะบบชว่ ยเหลือ ใหก้ ับผู้เรยี นและคณุ สมบตั ิอื่นๆ เพ่ือการเรยี นรู้โดยเนน้ ความงา่ ยต่อการใช้งาน ซึง่ เนอ้ื หาการเรยี นรูส้ ่วนใหญ่จะเก่ยี วขอ้ ง กบั นวัตกรรม 1 . 2การจัดการเรยี นการสอนออนไลนใ์ นช่วงสถานการณโ์ รคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID–19) ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สถาบันการศกึ ษาโดยครู ผสู้ อนและผู้บริหารไดห้ าแนวทางในการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์โดยมีการเลือกใช้แอปพลิเคชนั (Application) สำหรับการประชุมออนไลน์ในแพลตฟอร์มต่างๆ ซึ่งมีทั้งให้ใช้ฟรีและแบบเสียค่าใช้จ่าย เช่น Google Meet, Zoom, Skype, Slack และ Microsoft Team เป็นต้น ซึ่งในแต่ละ Application สามารถที่จะนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการ เรียนการสอนได้ดงั น้ี - Google Meet เป็นโปรแกรมประชุมออนไลน์ในรูปแบบของ VDO Conference สามารถนำเสนอ งานหรือ ประชุมทางไกลได้งา่ ยๆ เพียงแค่ตงั้ คา่ Google Meet ใน Google Calendar และเมือ่ ถึงเวลาประชุมกเ็ พียงกดตาม Link ทส่ี ร้างข้ึนใน Google Calendar กส็ ามารถเข้ารว่ มประชุมได้ทันที ไม่ต้องเช่อื มต่อให้ยุ่งยาก เป็นการประชุมออนไลน์ใน รปู แบบท่ีเรียบงา่ ย - Zoom เป็นโปรแกรมการประชุมผ่านระบบคลาวด์ในรูปแบบของ VDO Conference สามารถเปิดวิดีโอคอล เพ่อื ส่ือสารกนั ได้ อีกทง้ั ยงั สามารถแชรห์ น้าจอเพอ่ื อธบิ ายรปู แบบงานให้เข้าใจได้ง่าย สามารถรองรับผูใ้ ช้งานได้พร้อมกัน 333
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สูงสุดถึง 50 คน ซึ่งนอกจากการประชมุ แล้วก็ยงั สามารถใช้เพ่ือเปิดคอร์สสอนออนไลน์หรือการอบรมสัมมนาก็ได้ดว้ ย เช่นกัน - Skype เปน็ โปรแกรมทห่ี ลายคนคุน้ เคยดีกับการเปน็ แอปพลิเคชันเพื่อการสนทนาที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ทงั้ ในเรอื่ งความคมชดั ของเสียงและการเช่ือมต่อที่หลากหลาย สามารถพูดคุยผ่านเว็บแคมเคร่ืองพซี ี กล้องโทรศพั ทม์ อื ถอื แท็บเล็ตได้ ซึ่งในตัว Skype เองน้ีก็เป็นอีกหนึ่งโปรแกรมที่มักใช้กนั มากท่ีสุด เช่น ใช้ในงานสัมภาษณ์ การประชุมงาน เพราะในการใชง้ านสามารถรับส่งภาพและเสยี งรวมทัง้ ไฟลต์ ่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี - Slack เปน็ แอปพลเิ คชนั ที่ใช้ในการส่ือสารภายในองค์กรท่ีมรี ูปแบบการใช้งานท่ีสามารถพดู คยุ กนั สง่ ภาพถา่ ย วิดีโอ ลิงก์ โค้ดต่างๆ ได้ นอกจากนี้ยังสามารถสร้างห้องขึ้นมาสำหรับพูดคุยกันในรูปแบบขององค์กรได้ มีการสนทนา แบบ IRC มีการแชร์ไฟล์ อัพโหลดไฟล์กันได้ และมีฟีเจอร์การใช้งานมากมายที่ดสู นุกสนาน เช่น มีอิโมจิไอคอนที่ทำให้ การทำงานดนู ่าสนใจไมน่ า่ เบื่อหน่าย - Microsoft Team เป็นบริการสนทนาแบบกล่มุ ทำงานรว่ มกบั Office 365 สำหรับองค์กร มีลกั ษณะคล้ายกับ Slack ซึง่ สามารถเช่ือมตอ่ กับ Office ไดท้ ้งั หมด รองรบั การคุยด้วยเสยี ง วดิ ีโอผา่ น Skype ในตวั มหี นา้ ติดตามการทำงาน ของคนในทมี รองรบั การสรา้ งบ็อตด้วย Microsoft Bot Framework ท้งั ยงั สามารถเช่ือมต่อได้กับหลายแพล็ตฟอร์มทั้ง Windows, Mac, Android และยังสามารถใชง้ านบน web browser ได้อีกด้วย 2. การเรยี นรใู้ นโลกของความเป็นจรงิ และโลกเสมือน ปจั จุบันเทคโนโลยสี ารสนเทศก้าวหน้ามากข้นึ รูปแบบการเรียนรู้ผ่านส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์และการเรียนรู้แบบเสมือนจริง มีการพัฒนาออกไปหลากหลายรูปแบบ เช่น การใช้เทคโนโลยีโลกเสมือนผสานโลกจริง (Augmented Reality Technology: AR) (รุ่งศักดิ์ เยื่อใย, 2562) เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality: VR) และความจริงผสม (Mixed Reality: MR) จนถึงจักรวาลนฤมิต (Metaverse) ซึง่ เปน็ เรือ่ งทีน่ า่ สนใจมากสำหรับการผสานเทคโนโลยตี ่างๆ ให้ มนษุ ย์ได้เข้าไปทำกิจกรรมต่างๆ ไดจ้ ริงโดยอาศัยอปุ กรณ์ต่างทต่ี ิดหรอื สวมใส่ไวก้ บั ตัวมนุษย์เรา 2 .1 การเรียนรู้กบั เทคโนโลยีโลกเสมอื นในโลกของความจรงิ Cheok, A.D. (2013) นกั วิชาการดา้ นคอมพิวเตอรไ์ ดเ้ สนองานวจิ ัยเพ่ือสร้างนวัตกรรมให้มนุษย์สามารถติดต่อกัน ไดม้ ากกว่าการอ่านและการฟงั อยา่ งทเี่ ปน็ อยู่ โดยส่งิ ทน่ี ำเสนอน้ันต้องการให้คนเราสามารถเสพขอ้ มูลหรือสือ่ สารกันผ่าน ประสาทสมั ผัสท้งั ห้าได้ นอกจากนง้ี านวิจยั ของ Ranasinghe et al (2011) ยังไดพ้ ฒั นาระบบทีพ่ ยายามจะทำให้มนุษย์ สามารถสื่อสารกันได้ด้วยวิธีการส่งกลิ่นและการรับกลิ่น ส่วนการมองเห็นก็จะไม่ใช่เป็นเพียงแค่การเห็นในหน้าจอ คอมพิวเตอร์อีกต่อไป แต่หมายรวมถึงการที่จะมีกราฟิกคอมพิวเตอร์โผล่ออกมาให้ข้อมูลข้างนอกหน้าจอด้วยหรือที่ เรียกว่า ความเป็นจริงเสริม หรือภาษาอังกฤษใช้คำว่า Augmented Reality หรือ AR ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มีการ ผสมผสานโลกเสมอื นเพม่ิ เข้าไปในโลกจริง เพ่ือทำใหเ้ กิดการกลมกลนื กนั มากท่สี ดุ จนมนษุ ยไ์ มส่ ามารถแยกออก (ชตุ สิ ันต์ เกิดวิบูลย์เวช, 2555) ซึ่งโดยสรุปแล้ว AR ก็คือการนำเทคโนโลยีที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริง (Real) เข้ากับโลก เสมอื น (Virtual) โดยผ่านอปุ กรณ์ Webcam กล้องมอื ถอื รวมทั้งการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ ท่ีจะทำให้สามารถ เหน็ ภาพวัตถุ สิ่งของ ปรากฏในจอภาพของอปุ กรณ์ท่เี ราใชใ้ นการสอ่ งดวู ตั ถตุ า่ งๆ เหลา่ น้นั ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจรงิ 334
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ภาพที่ 1 ลกั ษณะของภาพ 3 มติ ทิ ่ีปรากฏบนหน้าจอของอปุ กรณ์เมือ่ ใช้กลอ้ งส่องไปท่ีวตั ถุส่งิ ของ 2 มิติ ท่มี า https://www.dreamstime.com/photos-images/heart-ar.html 2 .2 การเรยี นรู้กบั เทคโนโลยีความเป็นจรงิ เสมือน โลกเสมือนจริง หรือ Virtual Reality (VR) เป็นการจำลองวัตถุหรอื องค์ประกอบเสมือนภายใต้บรรยากาศเสมือน โดยที่ต้องผ่านอุปกรณ์สารสนเทศที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องอยู่ในสถานที่หรือมีความเกี่ยวเนื่องใดๆ กับพื้นที่น้ัน (Kamarulzaman, 2014) ซง่ึ ในขณะท่ใี สแ่ วน่ VR ผู้ใช้จะไดเ้ หน็ สถานท่ตี ่างๆ เสมือนจริงซ่ึงเกิดอยู่ในแวน่ เชน่ ภาพของ ท้องฟา้ ท้องทะเล หรอื อวกาศนอกโลก โดยทงั้ หมดเป็นภาพการจำลองบรรยากาศรอบข้างให้เสมือนจรงิ ในมุมมอง 360 องศา เห็นได้และหันดูได้รอบทิศทางเพราะแว่นที่สวมอยู่กับศีรษะของผู้ใส่ การจำลองภาพสถานการณ์ลักษณะนี้จะ เหมาะสมกบั การจำลองการฝึกตา่ งๆ ทมี่ คี วามเส่ียง รวมไปถงึ การจำลองภาพสถานการณ์สำหรับการเลน่ เกม เปน็ ต้น ภาพท่ี 2 ภาพจำลองการเห็นบรรยากาศใต้ท้องทะเลเม่ือใสแ่ วน่ VR ทมี่ า https://www.youtube.com/watch?v=fw2xlCs9F4k&t=116s 2.3 การเรยี นรกู้ ับโลกความจรงิ ผสม ความก้าวหน้าทำให้เกิดสื่อใหม่ (New Media) ที่เกิดจากเทคโนโลยีดิจิทัลซึ่งมีศักยภาพในการช่วยเพ่ิม ประสทิ ธิภาพการส่ือสารมากขึ้นด้วยการหลอมรวมการส่อื สารมวลชน เทคโนโลยคี อมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยคี มนาคมเข้า ด้วยกัน (อศั วนิ เนตรโพธ์ิแกว้ , 2558) ก่อใหเ้ กดิ เป็นเทคโนโลยีต่อยอดท่ีเรียกว่า MR หรือ Merged Reality ซ่ึงเป็นการ รวมกันของโลกเสมือนจริงและการผลิตสภาพแวดล้อมใหม่ การสร้างภาพที่วัตถุทางกายภาพและดิจิทลั อยู่ร่วมกันและ โต้ตอบกันได้ในเวลาจริง เป็นประสบการณ์รูปแบบใหมข่ องการมปี ฏิสมั พันธ์ระหวา่ งโลกเสมือนจริงและสภาพแวดล้อม รอบตัว เป็นการพัฒนามาจากเทคโนโลยี AR และ VR โดยเทคโนโลยี MR นี้สามารถมอบประสบการณ์เสมือนจริงอัน หลากหลายไดด้ ีกวา่ และมีความเปน็ ธรรมชาติในระบบดิจิทลั ที่สมจรงิ กว่า ทำให้ประสบการณ์บางอย่างที่ยากจะกระทำ 335
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้ในโลกของความจริงสามารถพบเจอและสัมผัสได้ในโลกของ MR นี้ (ธารทิพย์ รัตนวิจารณ์ และ ชนิชา พงษ์สนิท, 2559) ภาพที่ 3 การรวมกันของโลกเสมอื นจริงและการผลิตสภาพแวดล้อมใหมส่ รา้ งภาพทว่ี ัตถทุ างกายภาพและดิจทิ ัลอยู่ ร่วมกันและโตต้ อบกนั ได้ในเวลาจริงของเทคโนโลยี MR ทม่ี า https://www.popticles.com/business/what-is-the-difference-between-vr-ar-mr/ ภาพที่ 4 แสดงภาพและการรบั ร้ผู ่านเทคโนโลยี VR - AR - MR ที่มา https://img.online-station.net/_content/2018/1004/gallery/1538651339.jpg 3. ความทา้ ทายของการเรียนรู้ในจกั รวาลนฤมิต 3 .1 ความเปน็ มาของจกั วาลนฤมิต จุดเริ่มต้นของจักรวาลนฤมติ หรือ “Metaverse” นั้น ปรากฏเป็นแนวคิดครัง้ แรกในหนังสอื นยิ ายวทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง “Snow Crash” ของ Neal Stephenson นักเขยี นชาวอเมรกิ นั ในปี ค.ศ. 1992ซึ่งเล่าเร่อื งราวของโลกยุคอนาคตท่ี มนุษย์และคอมพิวเตอร์ตอบโตก้ ันผ่านเทคโนโลยีและซอฟต์แวรต์ ่างๆ ไดโ้ ดยอาศยั อยู่ในพ้นื ทโ่ี ลกเสมอื นจริงทลี่ ำ้ สมยั ซง่ึ ความหมายของคำว่า “Metaverse” นี้ มาจากคำ 2 คำ คอื คำว่า Meta ท่ีแปลวา่ “เหนือกว่า, พ้น, เกนิ ขอบเขต” กบั คำ ว่า Universe ที่แปลว่า “จักรวาล” ดังนั้น หากนำคำสองคำนี้มารวมกันและแปลตรงตัวแล้วก็จะหมายถึงโลกที่พ้น ขอบเขตไปแลว้ หรือจกั รวาลท่พี ้นขอบเขตท่เี รารูจ้ กั ไปแล้ว แตใ่ นทางปฏิบัตสิ ำหรบั การประยกุ ต์ใชก้ ลับเปน็ การเรียกโลก น้ีว่าโลกเสมือนจริงที่ผู้คนหรอื ผู้ใช้งานสามารถเข้าไปทำกิจกรรมและดืม่ ด่ำไปกับความสนุก และความท้าทายในอีกโลก 336
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หนึ่งผ่านระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตซึ่งในโลกของความเป็นจรงิ อาจจะทำไม่ได้ โดยในการเข้าสูโ่ ลกของจักรวาลนฤมติ เพ่ือมปี ฏิสมั พันธ์และทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันโดยกิจกรรมท่ีสามารถทำได้ เชน่ การพบปะพดู คยุ การประชุม การช้อป ปิ้งเสมือนอยู่ในโลกจริงผ่านตัวตนที่เป็นอวตาร (Avatar) ซึ่งเป็นกราฟิก 3 มิติแทนตัวเราเวลาทำกิจกรรมในจักรวาล นฤมิตที่ใช้เทคโนโลยีและอุปกรณ์รองรับการเข้าถึงโลกเสมือนนี้โดยอาศัยการใช้เทคโนโลยีหลายประเภทที่เป็น ส่วนประกอบในการสร้างจกั รวาลนฤมิตให้สมจรงิ ซึ่งมอี ปุ กรณแ์ ละเทคโนโลยีรวมถงึ คำศพั ท์ตา่ งๆ ที่เกยี่ วข้องกับโลกของ จักรวาลนฤมิตมีดงั นี้ 1. Assisted Reality เป็นเทคโนโลยผี ู้ช่วยที่ทำหนา้ ท่ีอำนวยความสะดวกให้ผู้คนสามารถดูหน้าจอและโต้ตอบ กับหน้าจอได้โดยไม่ต้องใช้มือ (hands-free) ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ เช่น แว่นตาอัจฉริยะที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย อินเทอร์เนต็ เพอื่ ทำให้ผู้ใชส้ ามารถสือ่ สารและสงั่ การผา่ นเสียงแลว้ นำข้อมลู ขึน้ สู่การรบั รู้ทางสายตาไดท้ นั ที 2. Augmented Reality (AR) หรือการใช้เทคโนโลยีโลกเสมือนผสานโลกจริง เป็นเทคโนโลยีโลกเสมือนที่ สามารถสร้างวัตถุ 3 มิติให้ปรากฏอยู่ในโลกแห่งความเป็นจริงได้ผ่านหน้าจอของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งส่วนใหญ่ ธุรกิจค้าปลกี จะใช้เทคโนโลยี AR เพื่อใหล้ กู คา้ สามารถทดสอบนำสนิ ค้าในโลกออนไลนไ์ ปจำลองในโลกจรงิ ได้ เช่น IKEA แบรนด์เฟอร์นเิ จอร์ระดับโลกได้ผลิตแอปพลิเคชนั เพื่อให้ลูกค้าได้ทดลองนำรูปเฟอร์นิเจอร์ที่ทำจากเทคโนโลยี AR ไป ทดลองวางในหอ้ งของตนเองได้ 3. Meatspace เป็นคำศัพท์ท่ีใชเ้ รียกโลกทางกายภาพหรอื โลกทเ่ี ราใช้ชวี ติ อยเู่ ป็นสว่ นใหญ่ 4. Multiverse หรอื จักรวาลโลกคขู่ นานใช้เรยี กแพลตฟอร์ม หรือ Community ในโลกดิจิทัลที่ทำงานอสิ ระจาก กันและกัน เช่น Facebook, Minecraft, Instagram, Roblox, Fortnite, Discord โดยตามทฤษฎีแล้ว Metaverse สามารถดงึ Multiverse เหล่านี้มาทำงานอย่ใู นทีเ่ ดยี วกันได้ 5. NFT หรือ Non-Fungible Tokens เป็นเสมือนเครื่องยืนยันว่าใครก็ตามสามารถครอบครอง ซื้อ หรือขาย และสร้างมูลค่าใหก้ ับผลติ ภณั ฑ์ใดก็ตามทีป่ รากฏอยใู่ นโลกดิจิทัล ซ่ึงมีเทคโนโลยบี ลอ็ กเชนคอยกำกับความเป็นเจ้าของ และป้องกนั การขโมย ตวั อยา่ งของ NFT เชน่ ผลงานศิลปะ บตั รกีฬา ของสะสม โดย NFT สามารถซ้ือขายไดโ้ ดยสกุลเงิน ดจิ ิทัล Cryptocurrency 6. Virtual Reality (VR) หรือโลกเสมือนจริง หรอื ประสบการณ์เสมือนจริงในโลกเสมือนเปน็ การใชอ้ ปุ กรณ์หรือ เทคโนโลยที ่ีใช้เพือ่ เช่ือมโยงผู้ใช้งานในโลกดิจิทัล ตวั อยา่ งเช่น การที่ตัวละครในภาพยนตร์เรื่อง Ready Player One ใช้ ชุดแว่น Virtual Reality เพื่อเดินทางสู่โลกแห่งเกม เป็นต้น ซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้หากคนส่วนใหญ่บนโลกสามารถ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ด้วยความเร็วสูงกว่าระดับ 6G ถึงวันนั้นเราอาจเหน็ โลกคู่ขนานอกี ใบเกดิ ขึ้นในชื่อที่เราเรยี กวา่ จกั รวาลนฤมติ นำไปสูก่ ารพฒั นาและการใช้ประโยชนใ์ นด้านต่างๆ อย่างมากมาย เช่น - ดา้ นการแพทย์: ใช้ในการผ่าตัดทางไกล, จำลองการผา่ ตัดเสมือนจริง - ดา้ นวศิ วกรรม: ใช้ในการออกแบบหุน่ ยนต,์ ออกคำสั่งทางไกลในการปฏิบตั งิ าน - ดา้ นอคี อมเมริ ์ซ: ใชใ้ นการเลือกซ้อื สินคา้ ชอ้ ปปิง้ ออนไลน,์ จำลองการใชส้ ินค้าโดยไม่ตอ้ งไปทีร่ า้ นค้าหรือหน้า ร้านเพอื่ ของสนิ คา้ จริง - ดา้ นการลงทนุ : ใช้ในการซื้อสนิ คา้ NFT ออนไลน์, การเทรดครปิ โตฯ 337
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี - ด้านท่องเที่ยว: ใช้ในการจำลองแหล่งท่องเที่ยว พิพิธภัณฑ์, จำลองสถานที่ต่างๆ ที่อันตรายหรือยากแก่การ เดินทาง การเข้าถึง ซงึ่ โลกของจกั รวาลนฤมิตน้ีจะช่วยทุกคนได้สัมผัสและไดร้ บั ประสบการณ์ท่ียากจะสัมผัสในชีวิตจรงิ ได้ - ด้านบนั เทงิ : ใช้ในการจัดคอนเสริ ต์ เสมอื นจรงิ , สรา้ งตัวละครเสมือนจริงในภาพยนตร์ และผชู้ มอาจเข้าไปมี ส่วนร่วมในภาพยนตร์ไดใ้ นโลกของจักรวาลนฤมิต 3 .2 การเรียนรูใ้ นจักรวาลนฤมิต ในอนาคตจักวาลนฤมิตจะเป็นโลกคู่ขนานใบใหม่ ซึ่งเป็นโลกที่สามารถสร้างอุตสาหกรรมและความมั่งคั่ง “ยุค ใหม”่ ได้ โดยการเปลีย่ นแปลงที่อาจเกิดข้นึ ก่อนอาจเป็นกจิ กรรมในโลกของการทำธุรกิจ เช่น การสร้างห้างสรรพสินค้า ธนาคาร การจำลองโลกของเกมรวมถึงการใช้เพื่อสร้างความบันเทิงและการใช้เพ่ือประโยชน์ในการท่องเที่ยวในสถานที่ ต่างๆ โดยในส่วนของการศกึ ษาน้นั อาจมีการเปลยี่ นแปลงทยี่ ง่ิ ใหญโ่ ดยเฉพาะระดบั อดุ มศึกษา ซง่ึ ในอนาคตนกั ศึกษาอาจ เลือกเรียนในมหาวิทยาลัยที่อยู่ในออนไลน์หรืออยู่ในโลกเสมือนมากกว่าที่จะเลือกเดินทางมาที่มหาวิทยาลัยที่เปิดให้ เรียนจริงๆ เพราะในการเรียนผ่านระบบน้นั นักศกึ ษามอี ิสระ และมีโอกาสท่ีจะไดพ้ บหรอื ได้เรียนกับมืออาชีพระดับโลก หรือเรียนกับอาจารย์ทีม่ ีช่อื เสียง หรือผ้ปู ระสบความสำเร็จในศาสตร์หรือสาขาน้นั ๆ ผ่านอวตารในจักรวาลนฤมิต ซงึ่ การ เกดิ ขนึ้ เหล่านีไ้ มม่ ขี อ้ จำกัดว่าจะตอ้ งมานัง่ เรยี นอยูใ่ นห้องสี่เหลยี่ มหรือในมหาวทิ ยาลัยเพียงอยา่ งเดยี วอีกตอ่ ไป ภาพที่ 5 ลกั ษณะการเกิดโครงข่ายเชอ่ื มโยงการเรยี นรู้ในจกั รวาลนฤมติ ขนาดเลก็ ท่มี า https://youtu.be/a-LwEOWeZno ภาพท่ี 6 การเกิดโครงขา่ ยเชอ่ื มโยงการเรยี นรขู้ นาดใหญ่ขึ้นในจักรวาลนฤมิต ท่มี า https://youtu.be/a-LwEOWeZno จากภาพที่ 5 และ 6 แสดงโครงข่ายการเชื่อมโยงคนเข้าสู่จักรวาลนฤมิต โดยในหนึ่งหน่วยการเชื่อมโยงจะ ประกอบไปด้วยคน อปุ กรณ์ และซอฟต์แวร์ เพ่ือสร้างปฏสิ มั พันธ์ของกิจกรรมในจักรวาลนฤมิต ซง่ึ กจิ กรรมน้ันอาจเป็น ห้องเรียนหรือสถานศึกษา ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการออกแบบสภาพแวดล้อมในจักรวาลนฤมิต โดยเมื่อเกิดโครงข่ายการ 338
การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เชอ่ื มโยงกันในจักรวาลนฤมิตแลว้ กจ็ ะเกิดการเชื่อมโยงขา้ มกจิ กรรม ขา้ มสถานทเ่ี สมอื นการเดนิ ทางจากสถานที่แหง่ หน่ึง ไปยังอีกสถานทีแ่ ห่งหน่ึงโดยใชโ้ ครงขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ความเร็วสูง ซ่งึ ย่ิงเทคโนโลยที กุ อยา่ งก้าวหนา้ และผคู้ นเข้าถึงได้ง่าย และมากเท่าไหร่ โลกเสมือนก็ยิ่งคล้ายคลึงหรือใกล้เคียงโลกจริงมากเท่านัน้ และจักรวาลนฤมติ ในอนาคตก็จะสมบรู ณ์ แบบจนเราทุกคนอาจจะอยากใชช้ ีวติ ในรูปแบบของอวตารมากกว่าท่จี ะใช้ชวี ติ ในโลกจรงิ ก็เปน็ ได้ องค์ประกอบของการเรยี นรู้ในจักรวาลนฤมิตประกอบด้วย คน อุปกรณ์ ซอฟตแ์ วร์ และการปฏิสมั พนั ธซ์ ่งึ แสดง ไดด้ งั ภาพที่ 7 ดงั นี้ Internet Internet Internet Internet Internet คน อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ปฏิสมั พันธ์ (1ครู ผู้สอน 1) Assisted Reality 1) Multiverse เช่น (1ผ้สู อนกับผเู้ รียน (2นักเรยี น ผ้เู รยี น 2) Augmented Facebook, Minecraft, (2 ผู้เรยี นกับผ้เู รียน (3ฝา่ ยสนบั สนนุ การ Reality Instagram, Roblox, (3ผู้เรียนกบั กิจกรรมการ เรียนการสอน 3) Virtual Reality Fortnite, Discord เรียนรู้ 4) Non-Fungible 4) ผู้เรยี นกับสภาพแวดลอ้ ม Tokens ภาพที่ 7 องค์ประกอบของการเรียนร้ใู นจกั รวาลนฤมติ ทมี่ า https://youtu.be/a-LwEOWeZno จากภาพที่ 7 องคป์ ระกอบของการเรียนรูใ้ นจกั รวาลนฤมิตประกอบไปดว้ ยมนุษยห์ รอื คนซง่ึ เก่ียวข้อง กับการจัดการเรียนการสอนไดแ้ ก่ ครผู ู้สอน นักเรียน และฝ่ายสนับสนุนดา้ นอปุ กรณ์ ส่ือ สารสนเทศและซอฟตแ์ วร์ โดย คนทุกคนที่กล่าวมาจะต้องมีอุปกรณ์สวมใส่หรืออุปกรณ์ประจำตวั เพื่อใช้ทำกิจกรรมในโลกของจักรวาลนฤมิต และใน อุปกรณ์อิเล็กรวมถึงกิจกรรมต่างๆ ที่ทำกันนั้นก็จะต้องอาศัยโปรแกรมต่างๆ ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยเฉพาะสำหรับ กิจกรรมน้ันๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ สร้างการปฏิสัมพันธ์ใหเ้ กิดขึ้นในเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ ซึ่งโปรแกรมที่ใช้ จะตอ้ งมกี ารสร้างปฏิสัมพนั ธ์ในส่วนของผู้สอนกบั ผู้เรยี น ผู้เรยี นกบั ผู้เรยี น ผเู้ รียนกับกิจกรรมการเรียนรู้และผู้เรียนกับ ผู้สอนและกบั สภาพแวดล้อมการเรยี นรู้ในจกั รวาลนฤมติ ผา่ นระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตความเรว็ สงู สรุปผล จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ช่วยให้การเรียนรู้ เกิดขึ้นไดง้ า่ ย สะดวก ในบางสถาบันมีการใช้เทคโนโลยีห้องเรียนเสมอื นจริง หรือในการสอนบางครั้งมีการจับกลุ่มและ การใชส้ ่อื สังคมออนไลน์เพื่อแบง่ ปันสิ่งที่ได้เรยี นรู้รว่ มกนั รวมถึงแบ่งปันเนอ้ื หาองค์ความรู้ ผลงานและการแสดงทักษะ ความสามารถต่างๆ ทไี่ ด้จากการเรยี นรู้ ซง่ึ จากสถานการณ์ของการระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำใหก้ ารเรยี นการสอนแบบออนไลน์ได้รับความนิยมเพม่ิ ขึน้ โดยมกี ารใชห้ ลักสูตรการเรียนการสอนระยะสั้นเพื่อมวลชน 339
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี หรอื MOOC เข้ามาชว่ ยในการจัดการเรยี นรู้ และนอกจากนยี้ ังมกี ารใชเ้ ทคโนโลยีทที่ ำให้การเรียนรู้น่าสนใจและทำให้ชั้น เรียนตื่นเต้น ผู้เรียนมีความสนุกและเกิดการเรียนรู้ได้เสมือนอยู่ในสถานที่จริงหรือเห็นอุปกรณ์จริงๆ นั้นก็คือ การใช้ เทคโนโลยโี ลกเสมือนผสานโลกจรงิ (AR) เทคโนโลยคี วามเปน็ จรงิ เสมอื น (VR) และความจริงผสม (MR) จนถึงแนวคดิ ของ การสร้างการเรียนรู้ในโลกคขู่ นานท่ีเรยี กวา่ จกั รวาลนฤมติ (Metaverse) ซ่ึงมีองค์ประกอบของการเรยี นร้ดู งั น้ี 1. ครผู ู้สอน นกั เรียน และฝา่ ยสนับสนุนดา้ นอปุ กรณ์ สือ่ สารสนเทศและซอฟตแ์ วร์ 2. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออุปกรณ์สวมใส่และอุปกรณ์ประจำตัวเพื่อใช้ทำกิจกรรมในโลกของจักรวาล นฤมติ 3. ซอฟตแ์ วรแ์ ละแพลตฟ์ อรม์ ดิจิทลั ทถี่ ูกออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรบั กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ปฏสิ ัมพันธ์ ซึง่ เป็นการโต้ตอบ แลกเปลี่ยนกัน โดยเปน็ ปฏสิ มั พนั ธ์ในเรื่องของการเรียนร้นู ัน้ จะเป็นการสร้าง ปฏิสัมพันธใ์ นสว่ นของผูส้ อนกับผเู้ รียน ผ้เู รียนกบั ผ้เู รียน ผเู้ รยี นกับกจิ กรรมการเรียนรู้ และผ้เู รียนกบั สภาพแวดล้อมใน จักรวาลนฤมิต 5. อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการส่งข้อมลู อันมหาศาลทั้งหมด (Big Data) ให้สามารถ ทำงานพร้อมกันได้อย่างมีเสถียรภาพเท่ากันหมดทุกคน จนทุกคนสามารถทำกจิ กรรมรว่ มกันมีปฏสิ ัมพันธ์ร่วมกันและ เกิดการเรยี นร้รู ่วมกันไดแ้ บบเป็นธรรมชาตมิ ากท่ีสดุ เสมอื นอยใู่ นโลกจริงๆ อภปิ รายและข้อเสนแนะ จากการศึกษาแนวคิดของจักรวาลนฤมิตประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของโลกเทคโนโลยีที่มีอุปกรณ์ต่างๆ ถูก ผลิตออกมามากมายและมีการแข่งขันกันสูงทำให้ราคาถูกลง ผู้ใช้งานมีความสะดวกสบายและสามารถใช้งานผ่านการ เชื่อมต่อกันได้อย่างไร้พรมแดน จนเกิดแนวคิดของการสรา้ งโลกเสมือนจริงอีกโลกหนึ่งเพ่ือให้คนสร้างอวตารเขา้ ไปอยู่ และมีการใช้ชีวิตทำกิจกรรมปฏิสัมพันธ์กันได้จริงๆ แต่อย่างไรก็ตามจักรวาลนฤมิตที่กล่าวมานี้อาจจะยังไม่สามารถ เกิดข้นึ ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ เพราะยังขาดองค์ประกอบสำคัญในเร่ืองของเทคโนโลยีเครอื ขา่ ยและการสร้างการส่งต่อและการ ไหลเวียนของข้อมูลอนั มหาศาล (Big Data) ทั้งหมดให้ทำงานได้พร้อมกันและมีเสถียรภาพเท่ากันหมดทุกคน เพราะใน ความเปน็ จริงแล้วผู้คนนับล้านยังหา่ งไกลจากเทคโนโลยเี ครือข่ายทจ่ี ะนำอวตารของตนเองเข้าไปใช้ชีวิตและทำกิจกรรม อยู่ได้มาก และที่สำคัญองค์กรหรือหน่วยงานที่จะสร้างพื้นที่รวมถึงกฎเกณฑ์หรือกฎหมาย รวมทั้งการสร้างโครงสรา้ ง พื้นฐานในจักรวาลนฤมิตนัน้ ก็ยงั ไม่เกิดข้ึนจริงๆ นอกจากการประกาศแนวคิดจากบริษทั Meta เท่านั้น และนอกจากน้ี โลกออนไลน์ทเ่ี ราอาศัยใช้ทำงานอยู่ปัจจุบนั ก็ยงั ไมส่ ามารถจัดการสตรีมข้อมูลหลายร้อยรายการพร้อมกันเพราะคลาวด์ ยังไม่รองรับการประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่มหึมาขนาดนั้นได้ จะเหน็ ได้วา่ ต่อให้มีการผลิตเทคโนโลยีและอุปกรณ์การ เข้าถึงจักรวาลนฤมิตมากมายถึงเพียงใด แต่หากการเชื่อมต่อทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของทุกคนยังไม่มีความ เสถียรแล้วกุญแจอันสำคัญในการใช้ชีวิตของอวตารในจักรวาลนฤมิตก็ยังคงเป็นได้เพียงแค่แนวคิดที่ยงั คงรอเวลาและ ความพร้อมในดา้ นตา่ งๆ ซง่ึ คาดว่าอาจจะใช้เวลาไมเ่ กิน 10 ปนี ับจากน้ี จากที่กล่าวมาหากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเร็วจนคนทุกระดับ อายุ ทุกสาขาอาชีพมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เครื่องมือเหล่านี้เพือ่ ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตทั้งในด้านของ การศึกษาหาความรู้ การประกอบธรุ กจิ การบรหิ ารจดั การชวี ิต การพกั ผ่อนและความบนั เทิงรวมทัง้ การสร้างโอกาสใหม่ๆ 340
การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ให้กับชีวิต ซงึ่ เทคโนโลยีใหมๆ่ เหลา่ นหี้ ลายอย่างมนุษยอ์ าจตอ้ งปรบั ตัวทั้งในด้านของการใช้งานกบั ร่างกาย และในด้าน ของสุขภาพเมื่อใช้งานไปนานๆ โดยข้อเสนอแนะผูเ้ ขียนเห็นวา่ การนำอุปกรณ์สวมใส่และการใช้งานเพื่อปฏิสัมพันธใ์ น จกั รวาลนฤมิตอาจมผี ลกระทบต่อรา่ งกายของมนษุ ยเ์ ราดงั นี้ 1. ภาพที่เห็นในแว่นเป็นภาพ Computer Graphic ดังนั้นเวลาสวมใส่แว่นแรกๆ อาจจะมีอาการเวียนศีรษะ หรอื อาเจยี นได้ 2. การใส่แว่นแบบนี้จะมีระยะห่างระหว่างสายตากับจอภาพเพียง 5-10 เซนติเมตรอาจส่งผลข้างเคียงหรือ ผลเสยี ต่อสายตาในอนาคตได้ 3. ไมค่ วรสวมแวน่ ติดต่อกนั เป็นเวลานาน ควรมีการหยุดพกั สายตาระหวา่ งใชง้ าน 4. น้ำหนกั ของแว่นอาจมีน้ำหนกั มากเกินไปสำหรับเด็กๆ หรือผู้หญงิ ใส่แลว้ อาจรูส้ กึ ถึงความหนกั และความปวด เม่อื ยคอหรือ ปวดเม่อื ยรา่ งกายส่วนอ่นื ๆ เช่น ไหล่ หลงั เป็นต้น ในอนาคตหากบริษัทผู้ผลิตมีการพัฒนาทั้งในเรื่องน้ำหนัก รูปลักษณ์ของแว่นหรือกล้องสวมศีรษะ รวมถึง ฟังก์ชันการใช้งานเพื่อตอบสนองให้กับผู้ใช้งานทุกช่วงวัยและทุกเพศ ซึ่งจุดที่ยังถือว่าเป็นข้อที่ควรปรับปรุงอยู่ของ อุปกรณ์ที่เป็น Project Alloy นั้น ยกตัวอย่างเช่น เวลาสวมใส่นั้นจะมองเหน็ วัตถจุ ากโลกแห่งความจริงผ่านจอในแวน่ ซึ่งหากวัตถุนั้นเป็นวัตถทุ ี่มีความละเอียดมาก ผู้ใช้งานจะเหน็ จุด Pixel ชัดเจน กล่าวคือ หากผู้ใช้ไม่เคล่ือนไหวขณะใช้ งานภาพที่เหน็ กจ็ ะยงั ดูดีอยู่ แต่หากผู้ใช้เคลือ่ นไหวเมือ่ ไหรจ่ ุด Pixel จะปรากฏให้เหน็ ในจอทันที และในด้านของราคา เทคโนโลยี MR ยงั คงพบว่า ราคายังคงสูงอยู่ ผผู้ ลติ ควรมีการปรับลดราคาเพ่ือให้เกดิ การใชง้ านที่เขา้ ถึงมากข้นึ และส่ิงท่ี ควรระวงั อยา่ งยงิ่ คอื การทีเ่ ราสวมแว่นหรืออุปกรณ์สวมศรี ษะเข้าไปแล้วจะทำให้มองเหน็ แต่โลกเสมือน ซึ่งตัวเราจะไม่ สามารถมองเห็นสภาพแวดล้อมในโลกจริงได้ ฉะนั้น เวลาสวมใส่แว่นผู้ใช้ควรอยู่หรือใช้สถานที่ที่เหมาะสม ควรเป็น สถานที่โล่งไม่มีสง่ิ กีดขวางเพราะเมื่อสวมแวน่ แลว้ หากเคลอ่ื นไหวร่างกายจะได้ไม่เกิดอนั ตรายต่อร่างกายจริงขณะท่ีเรา อยใู่ นจกั รวาลนฤมิต เอกสารอา้ งอิง ชตุ ิสันต์ เกิดวบิ ลู ยเ์ วช. (2555). จากโลกแห่ง Augmented reality สู่โลกแห่ง E-Commerce. คอลัมน์ Marketing. นิตยสารอีคอมเมิร์ช (e-commerce). 16(5) ธารทพิ ย์ รัตนวจิ ารณ์ และ ชนิชา พงษส์ นทิ . (2559). โลกเสมอื นจริงทกี่ ลายเปน็ โลกสมจริงใน ภาคอตุ สาหกรรมการผลติ . วารสารการส่ือสารและการจดั การ นดิ า้ .2 (3), 97-114. ธชั พนธ์ สรภมู ิ และ ศศธิ ร อ่มิ วุฒ.ิ (2564). พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ด้วย Mobile Learning ในรปู แบบเชิงรกุ เพือ่ พัฒนาศักยภาพของครผู ้สู อนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19). วารสารวชิ าการ “การจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม”. 8(2), 48-62. รงุ่ ศกั ดิ์ เย่ือใย. (2562). เทคโนโลยคี วามเป็นจริงเสรมิ : ความทา้ ทายต่อการพัฒนาการเรยี นการสอนของ ประเทศไทยในศตวรรษท่ี 21. วารสารสมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 25(2), 127-140. วิวฒั น์ มีสุวรรณ. (2554). การเรียนรดู้ ว้ ยการสร้างโลกเสมือนผสานโลกจรงิ . วารสารศึกษาศาสตร์ 341
การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลยั นเรศวร. 13(2), 119-127. อัศวนิ เนตรโพธิ์แกว้ . (2558). นวัตกรรมส่อื สงั คมกบั ประชาคมอคต.ิ วารสารนเิ ทศศาสตรแ์ ละนวัตกรรม นิด้า, สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร,์ ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 เดอื นกรกฎาคม – ธันวาคม 2558. Cheok, A.D. (2013). Making a Huggable Internet over, on IEEE Spectrum. Kamarulzaman, A. B. A. (2014). Virtual reality and augmented reality combination as a holistic application for heritage preservation in the UNESCO world heritage site of Melaka. International Journal of Social Science and Humanity, 4(5), 333-338. Ranasinghe, N., Karunanayaka, K., Cheok, A. D., Fernando, O. N., Nill, H., & Ponnampalam, G. (2011). Digital taste & smell for remote multisensory interactions, 6th International Conference on Body Area Networks, pp. 128-129. 342
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู กบั การศึกษาไทยยคุ โควดิ 19 Teaching Professional Ethics with Thai Education in Covid-19 Circumstance กรัณฑรตั น์ พึง่ โพธิท์ อง1 พจมาลย์ สกลเกียรติ2 มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑิตย์ E-Mail [email protected] [email protected] บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาตนเองของครูตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ด้าน จรรยาบรรณต่อตนเอง ในการพัฒนาการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์โควิด 19 จรรยาบรรณของวชิ าชีพครูถือเปน็ กรอบกำหนดการประพฤติปฏบิ ตั ิของครูทางด้านวชิ าชีพ ทง้ั ตอ่ ตนเองและผู้เรียน จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโค วิด 19 ระรอกใหม่ ส่งผลใหค้ รตู ้องปรับการจัดการเรียนการสอนจำเปน็ ต้องพฒั นาตนเพือ่ ให้เท่าทนั กับการเปลี่ยนแปลง ที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยจรรยาบรรณของวิชาชีพครูด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง เป็นสิ่งที่บ่งช้ีให้ครูต้องไมห่ ยุดทีจ่ ะ พฒั นาตนเอง ใหก้ า้ วทันการเปลี่ยนแปลงของโลก ครตู อ้ งแสวงหาความรเู้ ก่ียวกับการเปลยี่ นแปลงใหก้ ับตนเอง และการ ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยครูต้องพัฒนาตนเองจากการอบรมการใช้สื่อการสอนรูปแบบ ออนไลน์ การพฒั นาตนของผู้ประกอบวิชาชีพครู คือ การประเมนิ ความสามารถของตนเอง เพ่ือนำไปสกู่ ารวางแผนการ พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนอย่างรอบด้าน การใช้เทคโนโลยีเพื่อการสอน ซึ่งการพัฒนา ตัวครูนั้น นำไปสู่การ พัฒนาการสอนและการพัฒนาผู้เรียน แม้จะต้องมีการปิดโรงเรียน ต้องหยุดการจัดการเรียนการสอน หรือตอ้ งเรียนผา่ นสื่อต่าง ๆ เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นได้รับการพัฒนาองค์ความรู้อย่างครบถว้ น โรงเรยี นอาจหยุดการจัดการเรียน การสอนได้ แต่ครูต้องไม่หยุดในการพัฒนาตนเอง ครูจะต้องตระหนักรู้ภายในตนเองอยู่ตลอดเวลา ครูจำเป็นที่จะต้อง เปดิ ใจเรยี นรู้ส่งิ ใหม่ ๆ ท่เี กิดข้นึ อยูต่ ลอดเวลา ติดตามขา่ วสาร คน้ หาความรูด้ ว้ ยตนเอง และก้าวทันกับการเปลยี่ นแปลง ของสังคมยคุ ดจิ ทิ ลั ครยู คุ เก่าจะต้องเปิดใจยอมรบั ต่อการเปลย่ี นแปลงของสงั คมในปัจจุบัน ครูตอ้ งขวนขวายทจี่ ะเรียนรู้ ในการพัฒนาองคค์ วามท่ีมีอยู่แล้วให้มีมากยิง่ ข้นึ โดยการเขา้ ร่วมอบรมในรปู แบบ Online จากหนว่ ยงานต่าง ๆ การเข้า ร่วมอบรมเป็นกระบวนการหนึ่งที่ช่วยพัฒนาตนเอง (UpSkill - ReSkill) ครูต้องเป็นผู้ที่มีทัศนคติเชิงบวกต่อการ เปลี่ยนแปลงและเป็นผู้ที่รอบรู้ มีข้อมูลข่าวสารอย่างกว้างขวาง รู้จักวินจิ ฉัยตนเองตามความเป็นจริงเพื่อทราบจดุ อ่อน จุดแข็ง พร้อมยอมรับเพื่อปรับเปลี่ยนตนเองให้เห็นคุณค่าในตนเอง พยายามสร้างแรงบันดาลใจให้กับตนเอง แสวงหา ความรู้และสะสมประสบการณ์การทำงานอยา่ งมืออาชีพ เพื่อสร้างพลงั ในตนเองให้สามารถเผชิญ การเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์รอบข้างได้อยา่ งย่งั ยืน ครูจำเปน็ ต้องมที กั ษะท่ีจำเปน็ สำหรบั อนาคต คำสำคญั : จรรยาบรรณวชิ าชีพครู, การศกึ ษาไทย, โควิด 19 343
การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี Abstract This article aims to present guidelines for teacher self-development in accordance with teacher professional ethics. Ethics for self in developing teaching and learning under the COVID-19 situation. The professional ethics of teachers are a framework that defines the behavior of teachers in the profession. It defines the behavior of teachers towards students and teacher themselves. Due to the ongoing pandemic of COVID-19 situation, teachers have to adjust their teaching plans and improve their skills to keep up with the changes continuously. Since ethic towards self is the indication that teachers cannot stop improving while the world is changing rapidly, teachers must keep seeking knowledge to gain new skills to make lesson plans that accord with this pandemic situation. For example, teachers have to be able to teach online and use educational technology. To improve self, teachers must start with self-evaluation. This will lead to a development plan for learning activities improvement in all areas. When teachers keep seeking new knowledge, their teachings also progress which will affect the students' outcome. Even if the school has to be closed or teaching has to be stopped, teachers never stop seeking new knowledge. Teachers need to be aware of themselves all the time Teachers need to be open to learning new things that happen all the time. Follow the news Find knowledge by yourself and keep up with the changes of the digital society. Older teachers must be open to accepting changes in today's society. Teachers have to work hard to learn to develop an existing body to have more By participating in online training from various agencies, joining the training is one process that helps develop one's self (UpSkill - ReSkill). Teachers must have a positive attitude towards change. And is knowledgeable There is a wide range of information learn to self-diagnose realistically to know your strengths and weaknesses. Ready to accept to change yourself to see your self-worth try to inspire yourself Seek knowledge and accumulate professional work experience To create self-power to be able to face the changes in the surrounding situation sustainably Teachers need to have the skills they need for the future. KEYWORDS: Professional Ethics of Teachers, Education, Covid 19 บทนำ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พุทธศักราช 2560 - 2579) คือการพัฒนาประเทศตามนโยบายที่มุ่งหวังให้ประเทศมี ความม่นั คง มง่ั คั่ง และย่งั ยืน ก้าวสยู่ คุ ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจดว้ ยเทคโนโลยี รฐั บาลจงึ เป็นส่วนขับเคลื่อนท่ีสำคัญในการ พัฒนาการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กำหนดนโยบายยกระดับคุณภาพการศึกษาในการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีจรรยาบรรณของวิชาชีพ มีความรู้ ความสามารถอย่างแท้จริง มีทักษะการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี รวมถึงมีความรู้ และทักษะในสังคมยุคชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) 344
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในมาตรา 52 หมวดที่ 7 แห่ง พระราชบัญญัติทางการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 (ฉบับที่ 3พ.ศ. 2553) ที่ว่า “ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบกระบวนการผลิต การพฒั นาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษา ใหม้ คี ุณภาพและ มีมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง” วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพชั้นสูงซึ่งจะต้องมีการกำกับดูแลโดยสภาสภา วิชาชีพ โดยผู้ประกอบวิชาชีพครตู ้องมใี บอนุญาตประกอบวิชาชีพ มีการควบคุมคณุ ภาพจรรยาบรรณวิชาชีพในมาตรา 53 ให้มีองค์กรวชิ าชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของ สภาวิชาชพี ในกำกับของกระทรวง มีอำนาจหน้าทีก่ ำหนดมาตรฐานวิชาชีพออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กำกับดแู ลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมท้งั การพฒั นาวชิ าชีพครู ผบู้ ริหารสถานศึกษา และ ผู้บรหิ ารการศกึ ษาและบคุ ลากรทางการศึกษาทัง้ รัฐและเอกชน ตอ้ งมใี บอนุญาตประกอบวชิ าชพี ตามที่กฎหมายกำหนด ครูจึงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อคุณภาพการศึกษา ผู้ที่จะเข้ามาเป็นครูต้องต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลัก จรรยาบรรณของวชิ าชพี เพราะเป็นหลักประกันวา่ ครูสามารถใหบ้ รกิ ารในการจดั การศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพแก่คนในสงั คม ในยุคของการเปลี่ยนแปลงของโลกที่มีความผันผวนสูง (VUCA World) ที่มีความมั่นคงน้อยไม่สามารถ คาดการณถ์ ึงส่ิงที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต (ศศมิ า สขุ สว่าง, 2560) การเกดิ การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID- 19) ที่แพร่กระจายไปทั่วโลกอยู่ในขณะนี้ ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างต่อทุกสาขาอาชีพโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการจัด การศึกษาของไทย โรงเรียนหลายแห่งต้องปิดการเรียนการสอนตดิ ต่อกันเปน็ ระยะเวลานานเมื่อครั้งการระบาดระรอก แรกและรอบใหม่ที่มาถงึ นายณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ เมือ่ คร้ังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปดิ เผยถึงการวางแผน รบั มอื การเตรยี มความพร้อมการเปดิ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 กำหนดใหเ้ ปดิ ภาคเรยี นในวนั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563ระยะแรกโดยใหท้ ยอยผ่อนผันการใชอ้ าคารสถานที่ของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา เพื่อจัดการศึกษารูปแบบ การเรียนการสอน ให้มกี ารดำเนินการทง้ั แบบผ่าน DLTV ออนไลน์ และออฟไลน์ ในช้นั เรยี นซึ่งจะใชว้ ิธผี สมผสาน หรือ อาจจะเปน็ การเรียนรู้ท่ีบ้านกับครอบครวั อย่าง Home School ตามความเหมาะสมการกำหนดแนวการเรียนการสอนท่ี เหมาะสม เพื่อให้สามารถดำเนินการเรียนการสอนต่อไปได้ กระทรวงศึกษาธิการได้เลง็ เหน็ ความสำคัญของการนำ ICT (Information and Communications Technology) มาใช้ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการยกระดับ คุณภาพการศกึ ษา ช่วยเพ่ิมประสทิ ธิภาพการเรียนการสอน และพฒั นาครูไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ดังน้นั โรงเรียนและครูจึงต้อง ปรับเปลี่ยนการจัดการเรยี นการสอน สำหรับโรงเรียนและกลุ่มผู้เรียนทีม่ คี วามพรอ้ มด้านอุปกรณแ์ ละเข้าถึงเทคโนโลยี และโรงเรียนและกลุ่มผเู้ รียนทไี่ ม่สามารถเข้าถงึ อุปกรณ์และเทคโนโลยี เพอ่ื ไมใ่ หก้ ารเรียนรู้ของผู้เรยี นเกิดการหยุดชะงกั ขอ้ บงั คบั คุรุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2556 ด้านจรรยาบรรณต่อตนเองโดยผ้ปู ระกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทาง วิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยูเ่ สมอ (สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2563) ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโควดิ 19 ทป่ี ระเทศไทยกำลงั เผชญิ อยูใ่ นขณะนี้ เปน็ ส่งิ ที่จำเปน็ อยา่ งย่ิงที่ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาควร มีความต่นื ตัวหาแนวทางในการพัฒนาตนเองตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ด้านจรรยาบรรณต่อตนเองซึ่งเป็นด้านท่ีมี ความสำคัญยิ่งในสภาวะปัจจุบัน เพื่อสามารถก้าวทันความผันผวนตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และนำไปสู่การบริหาร จัดการออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอน เพ่อื ให้พรอ้ มรับกบั การเปล่ียนแปลงตามสถานการณ์ของโลกต่อไป 345
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี วตั ถุประสงค์ เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาตนเองของครูตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง ใน การพัฒนาการเรยี นการสอนภายใต้สถานการณโ์ ควิด 19 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู พระราชบัญญัตสิ ภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 43 ได้กำหนดให้วชิ าชีพครเู ป็นวชิ าชีพ ควบคุม ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบวิชาชีพควบคุมโดยไม่ได้รับใบอนุญาต มาตรา 4 ได้กำหนดความหมาย “ผู้ประกอบ วิชาชีพทางการศึกษา” หมายความว่า ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่น ซึ่ง ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัตินี้ “ครู” หมายความว่า บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพหลัก ทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสรมิ การเรียนรขู้ องผูเ้ รียนดว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ ในสถานศึกษาปฐมวยั ข้ันพนื้ ฐานและ อุดมศึกษาที่ต่ำกว่าปริญญา ทั้งของรัฐและเอกชน มีข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 จรรยาบรรณวิชาชีพครมู ี 5 ดา้ น 1) จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง 2) จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชพี 3) จรรยาบรรณต่อผูร้ ับบรกิ าร 4) จรรยาบรรณต่อผู้รว่ มประกอบวิชาชพี และ 5) จรรยาบรรณต่อสงั คม มาตรฐานการปฏิบัติตนหรือจรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นแบบแผนในการประพฤติปฏิบัติตน ซึ่งผู้ประกอบ วชิ าชพี ทางการศกึ ษาตอ้ งปฏิบัตเิ พื่อรักษาและส่งเสรมิ เกยี รติคุณ ช่อื เสียงและฐานะของผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ใหเ้ ปน็ ทีเ่ ชื่อถือศรทั ธาแกผ่ รู้ ับบริการและสังคมอันจะนำมาซงึ่ เกียรตแิ ละศกั ด์ศิ รีแห่งวิชาชพี การรักษามาตรฐานวิชาชีพ ครคู วรมคี ณุ ธรรมจริยธรรมในการปฏบิ ัตงิ าน ถือว่าเปน็ สงิ่ ทีส่ ำคัญในการรักษามาตรฐานวิชาชีพตามข้อบังคับคุรุสภาว่า ด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ผู้ประกอบวิชาชีพครูจะต้องมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพเกี่ยวกับ มาตรฐานการปฏบิ ัติงานดังต่อไปน้ี 1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวชิ าการเกี่ยวกบั การพัฒนาวิชาชพี ครูให้กา้ วหนา้ อยู่เสมอ 2) ตดั สนิ ใจปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ โดยคำนงึ ถงึ ผลทจ่ี ะเกิดแก่ผู้เรยี น 3) ม่งุ มั่นพัฒนาผูเ้ รียนให้เตม็ ตามศกั ยภาพ 4) พฒั นาแผนการสอนให้สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ จริงในชั้นเรยี น 5) พัฒนาส่ือการเรียนการสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพอยู่เสมอ 6) จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้ผู้เรียนรู้จัก คิดวเิ คราะห์คิดสร้างสรรค์ โดยเนน้ ผลถาวรท่เี กดิ แก่ผูเ้ รียน 7) รายงานผลการพฒั นาคุณภาพของผ้เู รียนได้อย่างมีระบบ 8) ปฏิบัตติ นเปน็ แบบอยา่ งที่ดแี กผ่ เู้ รยี น 9) ร่วมมือกับผอู้ ืน่ ในสถานศึกษาอยา่ งสรา้ งสรรค์ 10) รว่ มมอื กบั ผอู้ น่ื ในชุมชน อย่างสร้างสรรค์ 11) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา และ 12) สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุก สถานการณ์ ตารางที่ 1 แบบแผนพฤตกิ รรมตามวชิ าชพี “ คร”ู พฤติกรรมบง่ ช้ีจรรยาบรรณวชิ าชีพครู ด้านจรรยาบรรณต่อตนเองครูตอ้ งมีวินัย ในตนเองพัฒนาตนเอง ด้านวิชาชพี บคุ ลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการเศรษฐกจิ และการเมอื งอยูเ่ สมอ พฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค์ พฤตกิ รรมทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ 1. ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็น 1. ไม่ค้นคว้าแสวงหาและนำเทคนิคด้าน แบบอย่างที่ดี วิชาชีพที่พัฒนาและกา้ วหน้าเป็นทีย่ อมรับมาใช้ 2. ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนิน แก่ศิษย์และผู้รับบริการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ที่พึง ชวี ติ ตามประเพณีและวัฒนธรรมไทย ประสงค์ 346
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พฤตกิ รรมท่ีพึงประสงค์ พฤติกรรมท่ไี ม่พึงประสงค์ 3. ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ 2. ขาดความรับผิดชอบความกระตือรือร้น สำเรจ็ อย่างมีคณุ ภาพตามเปา้ หมายท่ีกำหนด ความเอาใจใส่จนเกิดความเสียหายในการ 4. ศึกษาหาความรู้วางแผนพัฒนาตนเองพัฒนา ปฏิบตั ิงานตามหนา้ ท่ี งานและสะสมผลงานอย่างสมำ่ เสมอ 3.ไม่รับรู้หรือไม่แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ใน การจัด การเรียนรู้และการปฏิบัติ หนา้ ที่ 4. ขัดขวางการพัฒนาองค์กรจนเกิดผล เสียหาย ทมี่ า: ราชกจิ จานุเบกษา พ.ศ.2550 (หน้า37-56), (2550). เล่ม 124 ตอนพิเศษ 51 ง การพัฒนาตนเองของครูตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู “......ครูที่แทจ้ ริงน้นั ต้องเปน็ ผ้ทู ำแตค่ วามดี คือ ตอ้ งหม่ันขยนั และอุตสาหะพากเพยี ร ต้องหนกั แนน่ อดทน และ อดกลั้น ให้อยู่ในระเบียบ แบบแผนที่ดีงาม รวมทั้งต้องซื่อสัตย์ รักษาความจริงใจ …...” พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ล อดลุ ยเดช พระราชทานแกค่ รูอาวุโส วันที่ 28 ตลุ าคม พ.ศ. 2523 การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 นั้น Panic, W. (2012) กล่าวว่า ต้องเปลี่ยนมุมมองใหม่ (Perspectives) จากกระบวนทศั นแ์ บบเดิม (Tradition Paradigm) ไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) ปานใจ ธารทัศนวงศ์ และ ศิริพร ศักดิ์บุญรัตน์ (2564) กล่าวว่า การพัฒนาตนเองทั้งทักษะและความรู้ (ReSkill - UpSkill) เพื่อตอบสนองความ ต้องการของสถานศึกษา รูปแบบการศึกษาในอนาคตจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นและปรับให้เขา้ กบั บริบทที่แตกต่างกัน และตามความตอ้ งการ ของสงั คมทเ่ี ปล่ียนแปลงไป นบั ตัง้ แต่ศตวรรษที่ 21 ถอื เป็นชว่ งเวลาทีท่ ้าทายความสามารถของ มนุษยชาติเพราะเป็นยุคที่โลกต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว การแสวงหาความรู้ทำผ่านโลก ดิจิทัลก้าวข้ามพรมแดนไปได้ทุกมมุ โลก เพราะฉะนัน้ รูปแบบการศึกษาทีใ่ ช้อยู่ในปจั จุบนั จำต้องเปล่ียนแปลงเพื่อทีจ่ ะ รองรับรูปแบบการเปลี่ยนแปลงตามกระแสของโลก ครูในยคุ ใหมต่ อ้ งเตรยี มคนออกไปสู่โลกเพือ่ ใชอ้ งค์ความรู้ตา่ ง ๆ และ พรอ้ มเรียนรตู้ ลอดชวี ติ (Lifelong Learning) ในการดำรงชีวิตและการทำงานในอนาคตภายใต้สง่ิ แวดลอ้ มทางการเรียนรู้ ใหม่ ๆ ซึ่งสอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ที่ต้องมี Soft Skill และ Hard Skill (สันติธาร เสถียรไทย, 2562) ครูคือผู้ที่สรา้ งผู้เรียนให้เป็นคนที่มีคณุ ภาพ (Character Qualities) เพื่อสามารถใชช้ ีวิตใหเ้ หมาะสม กบั บริบทของโลก สามารถจัดการกับความทา้ ทายในชวี ติ และสามารถรบั มือกับโลกทีเ่ ปล่ียนแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ ดังนั้นการพัฒนาตนเองของครู คือการศึกษาค้นคว้า แสวงหาองค์ความรู้ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ ความรู้ใหม่ ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพ มีการสร้างองค์ความรู้ สร้างนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนางาน ครูคือ บุคคลที่มีความสำคัญต่อการจดั การเรียนรู้ให้แกผ่ ู้เรียน ครูจะต้องตระหนักรู้ภายในตนเองอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้เท่าทัน ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ครูจำเป็นที่จะต้องเปิดใจเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลารวมถึงการ ติดตามข่าวสาร ค้นหาความรู้ด้วยตนเอง และก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุคดิจิทัล ครูยุคเก่าจะต้องเปิดใจ ยอมรบั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงของสงั คมในปจั จุบนั เรียนรกู้ ารจัดกิจกรรมผา่ นส่ือเทคโนโลยี ครูตอ้ งศึกษาค้นหาความรู้ได้ 347
การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ด้วยตนเองอยูต่ ลอดเวลาและสง่ ตอ่ ทักษะการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตให้กับผู้เรียน ครจู ึงต้องพรอ้ มทีจ่ ะปรับตวั พัฒนาตนเอง ใหเ้ ทา่ ทันเทคโนโลยี มคี วามกระตือรือร้นทจี่ ะพัฒนาทักษะและวิทยาการให้ทันสมยั เพ่อื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้เทคนิควิธีการ เรยี นการสอนแบบใหม่ ๆ ทม่ี ีประสิทธิภาพ ทำใหไ้ ดเ้ ด็กไทยมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามทส่ี ังคมไทยและสังคมโลก ต้องการ บทบาทของครูในฐานะสมาชิกของวิชาชีพครูสามารถจำแนกได้เป็น 2 ด้านดังนี้ (สำนักงานเลขาธิการสภา การศกึ ษา, 2563) 1. บทบาทในการปฏิบัตงิ านบทบาทในการปฏิบัติงานของครูท่ีสำคัญไดแ้ ก่ 1.1 ปฏบิ ตั ิงานประจำทีร่ บั ผิดชอบให้มีประสิทธภิ าพสูงสุดตามแนวทางการปฏริ ูปการศึกษา เช่นการ จัดการเรียนการสอนการดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี นการเป็นฝา่ ยวิชาการของสถานศึกษา 1.2 การปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมส่วนรวมโดยปฏิบัติกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์ เช่นการพัฒนางาน ของสถานศึกษาการสรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ีดีกับชุมชน 2. บทบาทในการพัฒนาวชิ าชีพ 2.1 การพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพและสมรรถนะให้เหมาะสมกับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง สอดคล้องกับมาตรฐานวชิ าชีพดา้ นความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติงานและจรรยาบรรณวิชาชีพรวมทั้งการพัฒนา งานตามเสน้ ทางวชิ าชีพ 2.2 การร่วมพัฒนาวิชาชีพด้วยการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการพฒั นาวิชาชีพ เช่นเข้าร่วมกิจกรรม หรือเป็นผนู้ ำกิจกรรมทร่ี กั ษาและยกระดับมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างสม่ำเสมอ บทบาทของครูตามสมาชิกของวิชาชีพ ครูต้องมกี ารพฒั นาตนเองด้านการสอน การให้ความชว่ ยเหลือนักเรียน ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสูงสดุ รวมทงั้ รว่ มปฏิบตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ กบั สงั คม สถานศึกษา และพฒั นาตนเองให้มีความร้ใู นสายงาน ผา่ นการเขา้ ร่วมอบรมสัมมนาท่เี ป็นประโยชน์ต่อการยกระดับมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพครูอยู่เสมอ การ พฒั นาตนเองเป็นสง่ิ ทีส่ ำคัญอยา่ งยง่ิ ของผปู้ ระกอบวชิ าชีพครู เน่อื งจากครูตอ้ งเป็นผูน้ ำทางปัญญาผนู้ ำทางจติ ใจผู้นำทาง สังคม เป็นผู้นำทางวชิ าชีพ ดังนั้นการพัฒนาตนเองของครคู ือการพัฒนาคุณลักษณะของการเปน็ ผู้นำทางการศึกษา ที่ นำมาซึ่งการเปล่ียนแปลงในการจดั การเรียนการสอน (สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2563) จากผลการประเมินความตอ้ งการจำเป็นในการพัฒนาครผู ู้สอนด้านการจดั การเรียนรู้ โรงเรียนกรงุ เทพมหานคร (จริ นนั ท์ น่นุ ชูคนั และคณะ, 2559) พบว่าครผู ้สู อนมีความต้องการจำเป็นในการพัฒนา ดังน้ี 1. ครูผู้สอนมีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาเรื่องจัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเพือ่ ค้นหาความรู้อย่างเป็น ระบบ เปน็ ลำดบั ท่ี 1 การจัดการเรียนรู้แบบโครงการเพ่ือฝกึ ทกั ษะการคิด เป็นลำดบั ท่ี 2 การจดั การเรียนรู้แบบร่วมมือ เพอื่ ฝกึ ทักษะการจัดการและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ท้งั ผลงานและกระบวนการ เป็นลำดับที่ 3 ประเมินผลการเรียนรู้ จากการปฏบิ ัติจรงิ และจัดการเรยี นร้ใู ห้ผ้เู รียนสรปุ ความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง เป็นลำดับที่ 4 และการจัดการเรยี นรู้แบบค้นพบ เพอ่ื ฝึกทกั ษะการเผชญิ สถานการณแ์ ละแกป้ ญั หา เป็นลำดับท่ี 5 2. ครผู สู้ อนส่วนใหญม่ ีความต้องการจำเปน็ ในการพฒั นาดา้ นพฤติกรรมในการจัดการเรียนรเู้ ร่ืองจัดการเรียนรู้ โดยใช้การวิจัยเพื่อค้นหาความรู้อย่างเป็นระบบ เป็นลำดับที่ 1 การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการบูรณาการ เพื่อบูรณาการสาระความรู้ ด้านต่าง ๆ เป็นลำดับที่ 2 การประเมินผลการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง เป็นลำดับที่ 3 348
การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี การจัดการเรียนรูโ้ ดยใชโ้ มเดลซิปปาเพื่อใหน้ กั เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและมีปฏิสัมพันธก์ ับผอู้ ่ืน เปน็ ลำดับท่ี 4 และการจัดการเรียนรแู้ บบรว่ มมือเพอื่ ฝกึ ทกั ษะการจัดการ เปน็ ลำดับที่ 5 จะเห็นไดว้ ่าผ้ปู ระกอบวิชาชพี ครูท่ีตอ้ งการพัฒนาวชิ าชพี ของตนให้มคี วามกา้ วหน้าได้นัน้ ตอ้ งเปน็ ผทู้ ี่มีทัศนคติ เชงิ บวกต่อการเปล่ยี นแปลง และเปน็ ผทู้ ี่รอบรู้ มขี ้อมูลขา่ วสารอย่างกว้างขวาง รจู้ กั วนิ จิ ฉัยตนเองตามความเป็นจริงเพ่ือ ทราบจุดอ่อนจดุ แขง็ ของตนเอง พรอ้ มยอมรบั เพอ่ื ปรบั เปลี่ยนตนเองให้เห็นคุณค่าในตนเอง พยายามสรา้ งแรงบันดาลใจ ให้กับตนเอง แสวงหาความรู้และสะสมประสบการณก์ ารทำงานอย่างมอื อาชพี เพื่อสร้างพลังในตนเองให้สามารถเผชญิ การเปล่ียนแปลงของสถานการณ์รอบข้างไดอ้ ยา่ งยั่งยนื จากกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร “ครดู ีควรมีจิต วญิ ญาณของความเปน็ ครู” จงึ ควรจะถูกอญั เชญิ มาเปน็ บรรทดั ฐานของประกอบอาชพี ครู นน่ั คอื การมลี กั ษณะของความ เป็น “ครูดี” คอื เป็น “ผูใ้ ห”้ ท่ใี หท้ ้ังวิชาความรู้ ความรักและเมตตา ความหว่ งใย ความปรารถนาดี และการให้อภัย ซ่ึง เป็นลักษณะสำคัญทางพฤติกรรมท่ีมีตอ่ นักเรียนและต่อสังคม (เดลินวิ ส2์ 558 ,) ศาสตราจารย.์ นพ.วิจารณ์ พานิช ประธานกรรมการมูลนธิ ิสยามกัมมาจล ไดใ้ ห้ขอ้ คดิ ไวอ้ ยา่ งน่าฟัง ในวันครูปี พ.ศ. 2559 ไว้ว่า \"ครเู ปน็ บุคคลสำคัญ และเป็นผจู้ ัดชน้ั เรยี น ให้ช้ันเรียนมกี ารเรียนที่ถกู ตอ้ ง” คณุ สมบัติที่สำคัญท่ีสุด คอื ครูต้องอย่กู ับการเรยี นรตู้ ้องมีฉันทะ มีแรงบนั ดาลใจทจ่ี ะเรยี นรู้ ซึง่ การเรียนรู้ในทีน่ ี้ คือการเรียนรูเ้ พ่ือทำหน้าที่ครูที่ ดี เป็นครูแห่งศตวรรษท่ี 21 ครูสมัยใหม่ ถ้ามีอันนีอ้ ยา่ งอืน่ ก็ตามมา จากมุมมองของผมการเรียนรูด้ ีทีส่ ุดคือการอย่ทู ี่ ห้องเรียน การเป็นครูที่ดีต้องตั้งเปา้ หมายในตัว Learning Out Come ในปีนี้ เทอมนี้ หรือวิชาน้ี คืออะไร ซึ่งต้องมที งั้ สองสว่ น ทั้งในส่วนวชิ าการ นสิ ยั ใจคอ แต่อยา่ ลืมที่จะทำความรจู้ ักลกู ศษิ ย์ ตั้งเป้าหมายหาวิธที ีจ่ ะทำใหบ้ รรลุเป้าหมาย วิธีก็คือการออกแบบการเรียนรู้ต้องเป็นการเรียนรู้ที่ทำกิจกรรมเยอะ ๆ เพื่อให้เขาได้เรียนรู้ส่ิงเหล่านั้นจากการสร้าง ความรู้นั้นข้างในตัวเอง จากการปฏิบัติ การสมั ผสั การปฏสิ ัมพันธก์ ับผ้อู ืน่ ซงึ่ อาจจะไปทำกจิ กรรมต่าง ๆ มาแลว้ ล้มเหลว ต้องแก้ไข สิ่งเหล่านี้เป็นการเรียนรู้หมด ระหว่างนั้นครูต้องทำความเข้าใจว่าจะเดินไปกับเด็กอย่างไร ต้องทำอย่างไร จงึ จะสง่ เสรมิ และใหก้ ำลงั ใจเดก็ ซงึ่ ในกระบวนการนั้นครูจะคอยประเมิน Access ไมใ่ ช่ Evaluate แลว้ ก็ Feedback ครู ต้องให้กำลังใจและเป็นแรงเสริมเพื่อใหเ้ ด็กรับรู้ เด็กจะได้ทักษะการเรียนรูจ้ ากปฏิบัตไิ ปตลอดชีวติ ครูจะเรียนรู้ทกั ษะ เหลา่ นีไ้ ดต้ ลอดหน้าที่ของครูทีไ่ ม่ใชเ่ พียงการเปิดตำราแล้วสอน แต่เป็นการเรมิ่ ตน้ ด้วยการวางแผนแล้วทำให้บรรลุแผน นั้น จากข้อคิดของ ศาสตราจารย์.นพ.วิจารณ์ พานิช จะเห็นความครูต้องมีเป้าหมายในการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ พฒั นาการสอนเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้สำคัญ เกิดทกั ษะทีต่ ิดตวั ไปในอนาคต ออ่ งจิต เมธยะประภาส (2557) กล่าววา่ “ครใู นยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมลี ักษณะ E – Teacher” ดงั น้ี 1) Experience มปี ระสบการณใ์ นการจัดการเรยี นรแู้ บบใหม่ 2) Extended มที กั ษะการแสวงหาความรู้ 3) Expended มีความสามารถในการถ่ายทอดหรือขยายความรู้ของตนสูน่ กั เรยี นผ่านสื่อเทคโนโลยีได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 4) Exploration มีความสามารถในการเสาะหาและคัดเลือกเนื้อหาความรู้หรือเนื้อหาที่ทันสมัย เหมาะสมและ เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนผ่านทางสอ่ื เทคโนโลยี 5) Evaluation เป็นนกั ประเมนิ ทด่ี ีมีความบรสิ ทุ ธิแ์ ละยตุ ธิ รรม และสามารถใช้เทคโนโลยใี นการประเมินผล 349
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 577
Pages: