Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

Published by ED-APHEIT, 2022-04-04 03:34:12

Description: ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ ครั้งที่ 6 การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565

Search

Read the Text Version

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมาอีกด้วยความสามารถในการจัดระบบการสื่อสารให้ได้ผล เพื่อ เช่อื มโยงขอ้ มลู ข่าวสารตา่ ง ๆ ไดท้ ั่วถงึ ด้านการทำงานอยา่ งเป็นทีม โดยภาพรวมอยู่ในระดบั 1.5 การมีความคิดสร้างสรรค์ ระดับความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุม่ 7 ด้านการมีความคิดสร้างสรรค์ โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก เมื่อพิจารณ เป็นรายด้าน พบวา่ อย่ใู นระดับมากทุกด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉล่ียสงู สุด 3 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ มีความคิดริเร่ิมนำส่ิง และวธิ กี ารแปลกใหมม่ าใช้ในการวางแผนการปฏิบัตงิ านและการบริหารจดั การศึกษาเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ผู้บริหาร สถานศกึ ษามีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ นำนวตั กรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา สถานศึกษาใชว้ ธิ ีการ และเทคนคิ ทีแ่ ปลกใหม่และมีผลการปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) อยเู่ สมอ และค่าเฉล่ียต่ำสุด ไดแ้ ก่ มีการกระตุ้น ผู้บริหารสถานศึกษาให้เกิดความคิดสรา้ งสรรค์สิง่ ใหม่และคิดนอกกรอบในการทำงานให้ประสบความสำเร็จ เนื่องจาก ผู้บริหารต้องมองโลกในแง่ดี มีความคิดเชิงบวกและมีความเฉลียวฉลาด สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี มีความ คล่องแคลว่ ในการทำงานดว้ ยความกระฉบั กระเฉงรวดเรว็ ตงั้ เปา้ หมายในการทำงานเป็นระยะ ๆโดยคำนึงถึงความเป็นไป ได้ และต้องพัฒนาตนเองให้ทันต่อเทคโนโลยี เพื่อเตรียมพร้อมในการเรยี นรู้สิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ ดังนั้น ผู้บริหารสถาน สกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ ินทร์ ตัง้ เป้าหมายในการทำงานเป็นระยะ และตอ้ งพัฒนาตนเอง ใหท้ นั ตอ่ เทคโนโลยี เพื่อเตรียมพร้อมในการเรยี นรสู้ ิง่ ใหม่ ๆ อยู่เสมอ สอดคลอ้ งกบั จทุ าทพิ ย์ ทัพไทย (2560, น. 124) ได้ ศึกษาเรื่อง ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลสามเสน (สลากกินแบ่งรัฐบาลอุปถัมภ์) สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานครพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลสามเสน (สลากกนิ แบง่ รัฐบาลอุปถัมภ์) สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร ตาม ความคิดเห็นของครูการมคี วามคดิ สร้างสรรค์ อยใู่ นระดบั มา ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 จำแนกตามตัวแปร อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน ขนาดของสถานศกึ ษา และประเภทสถานศึกษาในสงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุม่ 7 2.1 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรคข์ องผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 ทีม่ ีตามตวั แปรอายตุ ่างกนั พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกตา่ งกนั เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ดา้ นการมีความคิดสร้างสรรค์ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ .01 และปรบั ตวั , และด้านการมี ความคิดสร้างสรรค์ ตามลำดับ ซึ่งองค์ประกอบต่างๆ จะทำให้เกิดภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียนที่พง่ึ ประสงค์ มผี ลตอ่ การพัฒนาองคก์ ารทั้งในปัจจบุ นั และในอนาคต โดยภาวะผ้นู ำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บรหิ ารโรงเรียนที่พบ มีความสอดคล้องกบั สถานการณข์ องโลกที่เปลี่ยนแปลงไป มกี ารคัดเลอื ก และพฒั นาทกั ษะสำหรับผบู้ ริหารสถานศึกษา ในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาชั้นพื้นฐานถอื ว่าเป็นกรอบสำคญั ในการปฏิรูปการศึกษา สอดคล้องกับ มณฑา ศิริวงษ์ (2559, น. 128) ไดศ้ กึ ษาเรอื่ ง ความสมั พันธภ์ าวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความ คิดเห็นของครู อำเภอองครักษ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก พบว่า ผลการเปรียบเทียบภาวะ ผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู อำเภอองครักษ์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 250

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประถมศึกษานครนายก จำแนกตามอายุพบว่าครทู ี่มอี ายุต่างกนั มีความคิดเหน็ ต่อภาวะผู้นำเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บริหาร สถานศกึ ษา อำเภอองครักษ์ สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครนายกโดยรวม และรายดา้ นไม่แตกต่างกนั 2.2 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูตอ่ ภาวะผูน้ ำเชิงสรา้ งสรรคข์ องผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม 7 ที่มีตามตัวแปรประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมไมแ่ ตกตา่ งกัน เมอื่ พิจารณารายด้านพบวา่ ดา้ นการมวี ิสยั ทศั น์ มีความแตกตา่ งอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .01 ซง่ึ เปน็ ไปตามที่มี ประสบการณใ์ นการปฏิบัติงานแตกตา่ งกนั ใหค้ วามสำคญั ของตอ่ ภาวะผ้นู ำเชงิ สรา้ งสรรค์ ซ่ึงผนู้ ำสว่ นใหญ่ใช้ภาวะผู้นำ เชิงสร้างสรรค์ ในการบริหารงานและการตัดสินใจ ทำให้บคุ ลากรทุกคนไดร้ ับความเสมอภาคมีความเท่าเทียมกันในการ ปฏิบัติงาน ความสัมพันธ์ระหว่างครูที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในระดับต่าง ๆ มีการปรึกษาหารือ เข้าใจถึง กระบวนการต่าง ๆ จนทำงานอย่างมีประสิทธิภาพเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ครูผู้สอนในโรงเรียน ที่มีประสบการณ์การ ทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สอดคล้องกับงานวิจัยของศิริกมล อินทรสุข (2559, น. 134) ได้ศึกษาเรื่อง ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มพัฒนาที่ 5 สังกัดองค์การ บรหิ ารส่วนจงั หวัดนนทบุรี การวิจยั ครง้ั น้ีมีวตั ถปุ ระสงค์ เพื่อเปรียบเทยี บภาวะผนู้ ำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียน กลุ่มพัฒนาที่ 5 สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดั นนทบุรี จำแนกตามวุฒิการศกึ ษาและประสบการณ์การทำงาน กลุ่ม ตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนกลุ่มพฒั นาที่ 5 สังกัดองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดนนทบุรี สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดั นนทบุรีจำนวน 123 คน ได้มาโดยเปิดตารางกำหนดขนาดกลุ่มคน ได้มาโดยเปิดตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ เครจซี่ และ มอร์แกน จากนน้ั สุ่มอย่างงา่ ยแบบมีสัดสว่ น เคร่อื งมอื ในการวจิ ัยเปน็ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณ ค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.80-1.00 น และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู คอื ร้อยละ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าที่ การวิเคราะหค์ วามแปรปรวนแบบทางเดียว และการ เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการทำของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ที่มีประสบการณ์ทำงานต่างกัน สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนนทบุรี โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการมี วิสัยทัศน์ และด้านการมีความยดื หยุ่นแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 ส่วนด้านการมีจินตนาการไม่ แตกตา่ งกัน 2.3 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูตอ่ ภาวะผู้นำเชิงสรา้ งสรรค์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลมุ่ 7 ที่มีตามตัวแปรขนาดของสถานศกึ ษาต่างกนั พบว่า โดยภาพรวมไมแ่ ตกตา่ งกัน เมื่อ พิจารณารายด้านพบว่า ด้านการมีความคิดสร้างสรรค์ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 ผู้บริหาร สถานศึกษาให้ความสำคัญกับครูผู้สอนเป็นอย่างยิ่ง ให้ครูได้แสดงศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ ส่งเสริมให้เข้ารับการ อบรมเพือ่ พฒั นาตนเองอยู่เสมอ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ครูผสู้ อนในโรงเรียนที่มขี นาดของสถานศกึ ษาตา่ งกัน มีความ คิดเหน็ ต่อภาวะผูน้ ำเชิงสร้างสรรค์ของผบู้ ริหารสถานศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 ไมแ่ ตกต่างกัน สอดคลอ้ งกับงานวิจยั ของธนาภรณ์ นลี พัทธนนั ท์ (2562, น. 116) ได้ศึกษาเรอื่ ง ภาวะผูน้ ำเชงิ สร้างสรรค์ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและ เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา การปรับความคิดเห็นของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏบิ ตั ิงาน และขนาดของโรงเรยี นกลุม่ ตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ จำนวน 341 คน โดย กำหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งตามตารางของ เครจซ่ี และ มอรแ์ กน แล้วสมุ่ แบบหลายข้ันตอนตามขนาดของสถานศึกษา 251

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมี 3 ลักษณะ คือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่าและ แบบปลายเปิด แบบสอบถามมีค่าความเชื่อม่ันเท่ากับ 9677 สถิติที่ใช้วิเคราะหข์ ้อมูล ได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลวิจัยพบว่า ผลการ เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 32 ตามความคิดเหน็ ของครู ตวั แปรขนาดของสถานศึกษาโดยรวมแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .05 จำแนก ตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงานโดยรวมไม่แตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามขนาด ของโรงเรียน โดยรวมแตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิตทิ ่ี ระดับ.05 2.4 ผลการเปรียบเทียบความคดิ เห็นของครูต่อ ภาวะผูน้ ำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ 7 ที่มตี ามตวั แปรประเภทสถานศกึ ษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม 7 ต่างกัน พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการมีความยืดหยุนและปรับตัว มีความ แตกตา่ งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 ขอ้ เสนอแนะ 1. ภาวะผู้นำด้านการมีวิสัยทัศน์ ผู้บริหารสามารถกำหนดเป้าหมายของหน่วยงานสู่ความเป็นเลิศ นำไปใช้ พฒั นาบุคลากรใหม้ แี บบแผนการประพฤติปฏบิ ัตไิ ปในทิศทางทต่ี อ้ งการ 2. ภาวะผู้นำด้านการคำนึงถึงปัจเจกบุคคล ผบู้ ริหารต้องยอมรับฟงั ความคิดเหน็ และเหตุผลของครูในโรงเรียน สง่ เสริมสนับสนุนครูให้เกดิ การพฒั นาตวั เองอยเู่ สมอ 3. ภาวะผู้นำด้านการมีความยืดหยุ่นและปรับตัว ควรมีบุคลิกภาพที่ดีสามารถปรับตัวตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลง และสามารถคดิ แกป้ ัญหาท่เี หมาะสมกบั สถานการณ์ 4. ภาวะผนู้ ำด้านการทำงานเปน็ ทีม ผู้บริหารต้องร่วมรบั ผดิ ชอบเม่อื ครทู ำงานผิดพลาดภายหลังจากมอบหมาย งาน รว่ มกันพฒั นา ยอมรับความคดิ เหน็ ของครูด้วยความจรงิ ใจ 5. ภาวะผู้นำด้านการมีความคิดสร้างสรรค์ ต้องโน้มน้าวจิตใจ เอาใจครูให้ความเช่ือมั่นในองค์กร มีความคิด สร้างสรรค์ในการปฏบิ ัตงิ านในสำเรจ็ ลุลว่ งด้วยดี ข้อเสนอในการวิจยั ครั้งตอ่ ไป 1. ควรศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่ม 7 2. ควรศึกษาปัจจยั ท่ีมผี ลต่อภาวะผนู้ ำเชงิ สร้างสรรค์ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สงั กดั สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษา พิเศษ กลมุ่ 7 252

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เอกสารอา้ งอิง ศริ กิ มล อินทรสขุ . (2562). ภาวะผนู้ ำเชิงสรา้ งสรรคข์ องผ้บู รหิ ารสถานศึกษาสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 32. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ . มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย.์ บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2557). ภาวะผ้นู ำความเป็นไปในสงั คมไทยและวธิ ีการแกไ้ ข. กรงุ เทพฯ: ธนวัชการ ประสาร มาลากุล ณ อยธยุ า. (2545). การคดิ และกระบวนการคิด. ค้นเม่อื 28 สิงหาคม 2561.คน้ หาจาก: http://www.slideshare.net/3430600501681 พีระพงษ์ สทิ ธอิ มร. (2561). ความเปน็ ผนู้ ำทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ไพฑรู ย์ สนิ ลารัตน์. (2561). ภาวะผู้นำเชงิ สรา้ งสรรค์ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาตามความคดิ เห็นของครูอำเภอองครักษ์ สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครนายก. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิต. มหาวทิ ยาลัยปทมุ ธานี. ดวงแข ขำนอก. (2559). ภาวะผนู้ ำการเปลย่ี นแปลงของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงาน เขตพ้นื ท่ีการศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 1วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศกึ ษา. มหาวิทยาลยั ราชภฎั ราช นครนิ ทร์. ฉะเชิงเทรา. ธนาภรณ์ นีลพทั ธนนั ท.์ (2552). ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งภาวะผ้นู ำการเปลย่ี นแปลงกบั การบรหิ ารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน ของผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกดั องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดสระแกว้ .วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร.์ ฉะเชิงเทรา. มณฑา ศริ ิวงษ.์ (2559). ภาวะผนู้ ำเชิงสรา้ งสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียนกลมุ่ พฒั นาท่ี 5 สังกัดองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด นนทบุรี. (วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยปทุมธาน)ี . สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษกล่มุ 7. \"รูปแบบการพัฒนาผู้นำสูก่ ารสรา้ งแรงผลักดันเชิงสรา้ งสรรค์ \" เขา้ ถึงเม่ือ 1 กรกฎาคม 2560. ค้นหาจาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal สรัญญา เกิดแก้ว. (2553). ความสมั พันธร์ ะหวา่ งภาวะผนู้ ำการเปลย่ี นแปลงของผบู้ รหิ ารกบั การบรหิ ารจดั การระบบการ ดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นในสถานศึกษา. วิทยานพิ นธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ราชนครินทร.์ ฉะเชงิ เทรา. สภุ าพ ฤทธบ์ิ ำรงุ . (2556). ภาวะผู้นำเชงิ สรา้ งสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาท่ีสง่ ผลตอ่ ความมปี ระสทิ ธิผลของโรงเรียน สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 30 . วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการบรหิ าร การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. ขอนแก่น. Hoy and Miskel (2012). Lisa Leadership and Creativity in Research Investigations of Leadership and Leader-Member Exchange (Lmx) in Research Groupd. Ph.D. dissertation.Department of Psycology: University of Guthenburg. Krejcie and Morgan. (1974). Handbook of leadership: A survey of theory and research. New York: Free Press.Udom. Mungkasem. (2001). The experimental chief executive officer. Doctoral dissertationGraduate School Technical University of the Philippines. James and Connolly. (2011). Leading for Creativity. Competing Leader Influence Doctoral Dissertation. Graduate College University of Oklahoma. 253

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปัญหาการทจุ รติ คอรัปชัน กบั ภาวะผนู้ ำเชงิ คุณธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ และธรรมาภบิ าลของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาในการบรหิ ารโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา The problem of corruption with Moral leadership Professional ethics and Good governance of school administrators in secondary school administration ธนพล กัณหสิงห์1 , ผศ.ดร.พลเรอื ตรีหญิง สภุ ัทรา เอื้อวงศ์2 บณั ฑิตวิทยาลยั ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม E-mail thanapol.kan@siam .edu1 [email protected] บทคดั ยอ่ บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอขอ้ มูลปัญหาการทุจริตคอรัปชันที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ปัญหาการทุจริต คอรัปชันในโรงเรียนมัธยมศึกษา และได้เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาจากการสังเคราะห์หลักการ แนวคิด ทฤษฎีของ นักวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมุ่งให้ผูบ้ ริหารสถานศึกษาได้มีภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม ซึ่งมีองคป์ ระกอบ สำคัญ 3 ด้าน ได้แก่ 1) ความยุติธรรม 2) การเป็นแบบอย่างด้านคุณธรรม 3) ความซื่อสัตย์ รวมทั้งการมีจรรยาบรรณ วิชาชีพ จำนวน 5 ด้าน ได้แก่ 1) จรรยาบรรณต่อตนเอง 2) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 3) จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ 4) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ 5) จรรยาบรรณต่อสังคม รวมทั้งการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิ บาลอันเป็นแนวทางสำคัญในการแก้ไขปัญหาการทุจริตคอรัปชันในการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 10 ด้าน ได้แก่ 1) หลักประสิทธิผล 2) หลักประสิทธิภาพ 3) หลักการตอบสนอง 4) หลักภาระรับผิดชอบ 5) หลักความโปร่งใส 6) หลักการมีส่วนร่วม 7) หลักการกระจายอำนาจ 8) หลักนิติธรรม 9) หลักความเสมอภาค 10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ โดยแนวทางดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ในการวางแผน กำหนดเป็นแนวทาง และพัฒนาบุคคล โครงการ กิจกรรม เพื่อ สง่ เสริมการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษาอยา่ งมธี รรมาภิบาล อนั จะนำมาซึง่ ความถกู ต้องตามหลักการ สะทอ้ นถงึ ความเปน็ ผู้บรหิ ารท่ีมีคณุ ธรรม และสง่ ผลตอ่ ภาพลักษณ์ของโรงเรียนมธั ยมศึกษาให้เปน็ ท่ีศรัทธา เชื่อมัน่ ไดร้ ับความไว้วางใจจาก ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียและประชาชน รวมทง้ั เปน็ ทีย่ อมรับในระดบั สากล ปราศจากการทุจริตคอรปั ชนั อนั จะสง่ ผลทำให้การ พฒั นาของประเทศเปน็ ไปไดอ้ ย่างยั่งยืน คำสำคญั : ปญั หาการทจุ รติ คอรัปชนั ; ภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม; จรรยาบรรณวิชาชพี ; ธรรมาภิบาล ABSTRACT This article aims to present information about the problem of corruption that occurs in Thai society. Corruption problem in secondary schools and has proposed solutions to problems from the synthesis of principles, concepts and theories of academics both domestically and internationally. by aiming to provide educational institution administrators with moral leadership which consists of 3 254

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี aspects, namely 1) Justice 2) Moral Role Model 3) Honesty including having professional ethics in 5 areas namely 1) Code of Conduct 2) Code of Conduct Profession 3) Code of Ethics towards Clients 4) Code of Conduct for Associates in Profession 5) Code of Conduct for Society including the administration of educational institutions using good governance, which is an important approach to solving corruption problems in the administration of secondary schools in 10 sides, namely 1) Effectiveness Principle 2) Efficiency Principle 3) Response Principle 4) Accountability Principle 5) Transparency Principle 6) Participation Principle 7) Decentralization Principle 8) Rule of Law 9) Equality Principle 10) Consensus Principle Such guidelines are useful in planning. set as a guide and develop personnel, projects, activities to promote the administration of educational institutions with good governance which will lead to the correctness according to the principles reflects the ethical management and affecting the image of the secondary school to be faith, trust, and gain the trust of stakeholders and the public. as well as being accepted internationally free from corruption which will result in sustainable development of the country. KEYWORDS : Problem of corruption; Moral leadership; Professional ethics; Good governance บทนำ ปญั หาการทจุ ริตคอร์รัปชั่น เป็นพฤติกรรมด้านมืดของสงั คม เป็นการใชอ้ ำนาจท่ไี ดร้ ับมอบหมายหรอื ท่มี ีอยู่ ในทางมิชอบเพื่อจะได้มาซึ่งผลประโยชน์ส่วนตน สำหรับในประเทศไทยแล้ว การทุจริตคอร์รัปชั่นมีมาตั้งแต่สมัย ประวัติศาสตร์ ปรากฏหลักฐานตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัยว่ามีการทุจริตเกิดขึ้นในระบบราชการ และมีวิวัฒนาการมา ตามลำดับ ในปัจจุบันการทุจริตได้เปลี่ยนแปลงไปมาก วิธีการทุจริตได้มีการพัฒนาไปในทิศทางที่สลับซับซอ้ นมาก ยง่ิ ข้นึ และมักเกิดข้นึ กับโครงการขนาดใหญ่ของรัฐทอี่ ิงแอบอยู่กบั ผลประโยชนข์ องประชาชน อาศัยขา้ ราชการในการ หาเหตุผลที่แนบเนียน เป็นการกระทำทุจริตโดยรอบคอบ มีการจัดเตรียมอย่างเป็นระบบ และมีบุคคลที่เกี่ยวข้อง สนับสนุน ซึ่งปัญหาเหล่านี้ยังคงเป็นปัญหาที่แก้ไม่ตกและนับวันมีแต่จะเพิ่มมากขึ้น จากดัชนีภาพลักษณ์การ คอร์รัปชั่น (Corruption Perceptions Index) ซึ่งจัดทำโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International) ได้มกี ารจัดอันดับความโปรง่ ใสของประเทศตา่ ง ๆ โดยข้อมลู ในปี พ.ศ. 2564ประเทศไทยถูกจัดอยู่ใน อนั ดบั ที่ 110 มคี ะแนนคือ 35 คะแนน ลดลงจากปี 2563 ทไ่ี ดค้ ะแนนอยูท่ ่ี 36 คะแนน (คะแนนจะมตี ้งั แต่ระดับ 0- 100 คะแนน ต่ำสุดคือ 0 หมายถึง มีการคอร์รัปชั่นสูงมาก และคะแนนเต็ม 100 คะแนน หมายถึง มีความโปร่งใส มากที่สุด) ตัวเลขดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาการคอร์รัปชั่นในประเทศได้เป็นอย่างดีและควรได้รับการแก้ไข ปัญหาอย่างเร่งดว่ น (ปรชี า อยุ ตระกลู , 2561) ในการแก้ไขปัญหาเรื่องน้ีหากมองแบบผิวเผิน อาจเสนอให้มีการเพ่ิมโทษแกผ่ ู้กระทำผิดเพื่อลดแรงจูงใจ แต่ อยา่ งไรก็ตาม ปญั หาการทุจริตคอรัปชันนี้ไม่อาจแก้ปัญหาไดด้ ้วยการออกกฎหมายเพ่ิมโทษผู้กระทำผิดเพียงอย่างเดียว เพราะเป็นปญั หาเชงิ สงั คมและวฒั นธรรม ดังนัน้ การจัดการกบั ปญั หาการทุจริตจงึ ต้องใชห้ ลากหลายวธิ กี ารผสมผสานกัน 255

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี หนึ่งในนั้นคือการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน (ปรีชา,2561) เมื่อพิจารณาต่อไปจะพบวา่ ในการขับเคลื่อน ธรรมาภิบาลมาใช้กับการบริหารสถานศึกษา ผู้ที่จะต้องมีธรรมาภบิ าลเป็นอย่างสูงนั่นคอื ผู้อำนวยการสถานศึกษา ซ่ึง เปรียบเสมือนหัวเรือใหญ่ บังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา บริหารกิจการของ สถานศึกษา การวางแผนการปฏิบัติงาน การควบคุม กำกับ ดูแลเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ งบประมาณ การ บริหารงานบุคคล การบริหารทั่วไป งานอื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย ตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (สำนักงาน คณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา,2564) บนพืน้ ฐานของความเป็นผู้ที่มภี าวะผนู้ ำเชงิ คุณธรรม และ จรรยาบรรณของวิชาชีพ ภาวะผู้นำมีความสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาองค์การและการจัดการ ผู้บริหารที่มีความเป็นผู้นำ หรือใช้ ภาวะผ้นู ำ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและเปน็ ไปตามบทบาทหนา้ ที่ของผู้บริหารท่ีดี จะสง่ ผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานได้ อย่างชัดเจน เนื่องจากมีความสามารถในการใช้อิทธิพลโน้มน้าวจูงใจบุคลากรในการปฏิบัติงาน (รัตติกรณ์ จงวิศาล, 2555) จากการศึกษาภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม (Moral Leadership) ตามแนวคิดของ Kohlberg (1981) พบว่าลักษณะ สำคญั ของผูท้ มี่ ภี าวะผู้นำเชิงคุณธรรม จะยดึ ความถูกต้องเปน็ การแสดงการกระทำ ทเี่ ป็นไปตามข้อตกลงและยอมรับกัน ของผู้ที่มีจิตใจสูง โดยจะต้องนำเอากฎเกณฑ์ของสังคม กฎหมาย ศาสนา และความคิดเห็นของบุคคลรอบด้านมาร่วม พจิ ารณาความเหมาะสมด้วยใจเป็นกลาง เขา้ ใจในสิทธิของตนและของผูอ้ น่ื สามารถควบคมุ ตนเองได้ มีความภาคภูมิใจ เมื่อทำดแี ละละอายในตนเองเมอื่ ทำ ช่ัว เห็นความสำคัญของส่วนรวม มหี ลักธรรมประจำใจของตนเอง เกลียดกลัวความ ชัว่ เลอ่ื มใสศรัทธาในความดงี าม จรรยาบรรณของวิชาชีพ เป็นอีกสว่ นหน่ึงที่มีความสำคญั มากเชน่ เดียวกนั ท่ีจะส่งเสรมิ ให้เกิดธรรมาภิบาลได้ ดังที่ Baron (1994) กล่าวว่า จรรยาบรรณเป็นมาตรฐานของความประพฤติและการใช้ดุลยพินิจทางศีลธรรมที่ว่าการ กระทําของบุคคล ถูกหรือผิด สมควรหรือไม่สมควร และ วริยา ชินวรรโณ (2546) ได้กล่าวถึงสำคัญของจรรยาบรรณ วิชาชีพไว้วา่ ผู้ที่ประกอบวิชาชีพเปน็ ผู้ที่ได้รับการฝึกฝนมคี วามรู้ความชำนาญสูงเกินกวา่ คนธรรมดาสามัญ เมื่อเป็น เช่นนั้นจึงมีโอกาสที่จะใช้วิชาความรู้ของตนเพื่อหาประโยชน์โดยที่ประชาชนทั่วไปไม่รู้เท่าทัน เช่น แพทย์อาจรักษา ผู้ป่วยแบบเลี้ยงไข้ ตำรวจอาจใช้ตำแหน่งหน้าที่กลั่นแกล้งประชาชนเพื่อแลกกับผลประโยชน์ หรือสินบน ครูก็อาจ เบยี ดเบียนหาผลประโยชน์จากศษิ ย์ เปน็ ตน้ วัตถุประสงค์ในการนำเสนอ เพอื่ ต้องการนำเสนอข้อมูลสภาพปญั หาการทุจริตคอรัปชันที่เกิดข้ึนในสังคมไทย ปญั หาการทุจริตคอรปั ชันทางการศกึ ษาในประเทศ และเสนอแนวทางการแก้ไขปญั หาโดยมุ่งให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษาได้มี ภาวะผนู้ ำเชงิ คุณธรรม รวมทง้ั การมีจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งจะสง่ ผลโดยตรงต่อการมีธรรมาภิบาลซ่ึงเปน็ แนวทางสำคัญ ในการแกไ้ ขปญั หาการทุจรติ คอรปั ชนั ในการบริหารโรงเรยี นมธั ยมศึกษา ปัญหาการทุจริตคอรัปชัน สำนกั งานคณะกรรมการกำกบั หลกั ทรัพยแ์ ละตลาดหลักทรัพย์ (สำนักงานคณะกรรมการกำกบั หลักทรพั ย์และ ตลาดหลกั ทรัพย์,2564) ได้เผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการ เรื่องการทจุ รติ คอรปั ชนั (Anti-corruption) ซง่ึ มีรากศัพท์มาจาก ภาษาลาตินว่า Corruption เป็นคำที่รู้จักกันดีทั่วไปมานาน แต่ความหมายของคำนี้มีหลากหลายต่างๆ ขึ้นอยู่กับ วตั ถปุ ระสงค์การใช้ หลักการหรือมุมมองในทางศีลธรรม ทางการเมืองหรือทางเศรษฐศาสตร์ (Magavilla, 2012 อ้างถงึ ใน สำนกั งานคณะกรรมการกำกบั หลักทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรัพย์,2564) ในมมุ มองของพฤตกิ รรมหรือการกระทำน้ัน คอร์ รัปชันอาจจดั เปน็ อาชญากรรม (crime) ประเภทหนึง่ ในบางกรณีคอร์รัปชนั อาจจะถกู มองในความหมายที่แคบและต่าง 256

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากการโกง ยักยอก รีดไถ การขู่ โดยมองว่าคอร์รัปชันเป็นการกระทำของคนสองฝ่ายที่หาประโยชน์ร่วมกันจากฝ่ายท่ี สาม (Bowles, 1999 อ้างถึงใน สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (2564) ) เช่น การติด สินบน องค์การสหประชาชาติใหค้ วามหมายคอร์รัปชัน คือ ไม่ใช่แค่พฤติกรรม แต่เป็นปรากฏการณ์ (phenomenon) ในทางสังคม การเมืองและเศรษฐศาสตร์ ที่เป็นปัญหาสำคัญและเปน็ อุปสรรคต่อการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมท่วั โลก (UNODC, 2009 อ้างถึงใน สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์,2564) และองค์กรระหว่าง ประเทศด้านความโปร่งใส Transparency International (TI) ให้นิยามคำคอร์รัปชัน คือ การใช้อำนาจที่ได้รับความ ไว้วางใจในทางที่ผิด (abuse of entrusted power) เพื่อประโยชน์ส่วนบุคคลซึ่งใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน ภาค ประชาคมยุโรปได้ให้คำจำกดั ความคอร์รัปชัน หมายถึง การใช้อำนาจสาธารณะที่มิชอบเพื่อผลประโยชนส์ ่วนตน หรือ การให้สินบน และความประพฤตทิ ้งั หลายของบุคคลซึง่ ไดร้ ับมอบหมายหน้าท่ีและความรับผิดชอบในภาครัฐหรือเอกชน ประพฤติที่ฝ่าฝืนหน้าที่ของตน โดยไม่สมควรกับตำแหน่งหน้าที่ของตนในฐานะเจ้าพนักงานแห่งรัฐ เจ้าหน้าที่ใน หน่วยงานเอกชน ตัวแทนหรือฐานะความสัมพันธอ์ ื่นๆ โดยมุ่งประสงค์ให้ได้รับประโยชน์ใดๆ โดยมิชอบสำหรับตนเอง หรือผู้อื่น โดยสรุป คอร์รัปชัน เป็นการกระทำที่มีการใช้อำนาจ หรือการให้สินบน ที่อาจจะผิดหรือไม่ผิดกฎหมายก็ได้ แต่มเี จตนาใหไ้ ด้รบั ประโยชน์อันไมส่ มควรจะได้ และคอร์รัปชันนัน้ เกดิ ขึน้ ไดท้ ั้งในภาครฐั และภาคเอกชน โดยการคอรร์ ัป ชันในภาคเอกชนอาจหมายถงึ การที่ผู้บรหิ ารใช้อำนาจหรือตำแหนง่ ท่ีไดม้ าจากผู้ถอื หุ้นในการดำเนินงานของบริษัทเพื่อ แสวงหาประโยชน์ส่วนตน (ฐานันท์,2554 อ้างถึงใน สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ,2564) ปญั หาการทุจรติ คอรัปชันในสังคมไทย ชูเกียรติ มุทธากาญจน์ (2554) ได้กล่าวถงึ ข้อมลู การทีน่ กั วิชาการต่างประเทศหลายคนได้มาศกึ ษาการทจุ รติ คอรัปชันในประเทศไทย โดยพบข้อมูลท่ีนา่ สนใจ ได้แก่ Morell (1975,อ้างถึงในชเู กียรติ มุทธากาญจน์ (2554)) พบว่า ส.ส. ไมต่ ำ่ กว่ารอ้ ยละ 75 ไดร้ บั ค่านายหนา้ จากโครงการต่างๆ และไดร้ ับเงนิ สนบั สนนุ จากหัวหนา้ พรรคอกี ด้วย และยังมี ส.ส.อีกเปน็ จำนวนมากท่ีขูดรดี เงนิ จากบรรดานักธุรกิจในทอ้ งถ่นิ Riggs (1967,อ้างถึงใน ชเู กยี รติ มุทธากาญจน์(2554)) พบวา่ นักธรุ กจิ ชาวจีนประสบความสำเร็จในประเทศไทย โดยไดร้ ับใบอนุญาตประกอบธุรกจิ จากเจ้าหน้าท่ีของไทยโดย นักธุรกิจเหล่านี้ต้องจ่ายเงินให้เจ้าหนา้ ที่ของไทยเป็นการตอบแทนและเพือ่ เป็นการคุ้มครองธรุ กิจของตน ขณะที่ Roy (1970,อ้างถึงใน ชูเกียรติ มุทธากาญจน์(2554)) อธิบายการดำรงอยู่ของการคอรัปชันในประเทศไทยว่ามาจาก ความสัมพันธ์แบบระบบอุปถัมภ์ ซึ่งสานต่อมาจากยุคก่อนศักดินาสมัยใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วัฒนธรรมการให้ ของขวัญแก่เจ้าหน้าที่ระดับสูงของไทย การทุจริตคอรัปชันหยั่งรากลึกอยู่ในระบบราชการไทยและเมืองไทยเพราะ สถาบนั ทางการเมอื งที่จะถว่ งดุลไดพ้ ฒั นาไปอย่างเชอ่ื งช้า ปัญหาการทุจริตคอรัปชนั ในการบรหิ ารโรงเรยี นมัธยมศึกษา ปัญหาการทุจริตคอรัปชันในการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาพบมาอย่างยาวนาน โดยพบปัญหาผู้บริหาร สถานศกึ ษามกี ารทจุ ริตในหลายรูปแบบ ดงั จะเห็นไดจ้ ากข่าวสารทีเ่ ผยแพร่สูส่ าธารณะชนบอ่ ยคร้งั ท้ังในเรือ่ งการจัดซ้ือ จัดจ้างไม่โปร่งใส การเรียกรับผลประโยชน์ ทำให้เกิดการประท้วงขับไล่ผู้บริหารสถานศึกษา ส่งผลให้สถานศึกษาขาด ความน่าเชื่อถือ ขาดประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการบริหารสถานศึกษา อาทิ ข่าวการทุจริตสนามฟุตซอลจากปม พิรธุ การใช้งบก่อสรา้ ง “สนามฟุตซอลฉาว” ในโรงเรียน 17 จังหวดั ทางภาคอสี านและภาคเหนอื (ไทยพีบเี อส,2563) และ กรณีสำนักงานคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เปิดเผยเรื่องกล่าวหาคดีทุจริตใน 257

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สถานศกึ ษา 16 จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พุง่ 2,000 เร่อื งโดยแบ่งเปน็ จังหวัดชยั ภูมิ 51 คดี จังหวดั นครราชสีมา จำนวน 249 คดี จังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 119 คดี จังหวัดยโสธร จำนวน 40 คดี จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 165 คดี และ จงั หวดั สุรินทร์ จำนวน 112 คดี เป็นตน้ (ไทยพับลกิ า้ ,2559) นอกจากนจ้ี ากผลการศึกษา \"แนวทางการแก้ไขปัญหาทจุ ริต ในสถานศึกษาและการสรา้ งนักเรียนให้เปน็ คนเกง่ คนดี ที่ไม่คดโกง\" ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน (สพฐ.) เมื่อปีพ.ศ.2556 พบว่าสถานศึกษากลายเป็น \"จุดเริ่มโกง\" จากการวิจัยเชิงปริมาณใน 45 โรงเรียน เกี่ยวกับการ ทุจริตในโรงเรียน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามรอ้ ยละ 53.08 เคยพบเห็นการทุจริตในสถานศึกษา ซึ่งพฤติกรรมที่พบเหน็ มากที่สุด คือ การเบียดบังเวลาราชการเพื่องานอ่ืน รองลงมาคือการใช้ทรัพย์สินของทางราชการเพื่อประโยชน์ส่วนตน การเอื้อประโยชน์ต่อพวกพ้อง การแสวงหาผลประโยชน์จากตำแหน่งหน้าที่และประพฤติมิชอบในการจัดซื้อจัดจ้าง ตามลำดับ ดังเช่นที่สื่อนำมาเสนอข่าวหลากหลายกรณี เช่น การทุจริตงบประมาณอาหารกลางวันนักเรียน การทุจริต โครงการนมโรงเรยี นท่ีจัดซอื้ นมไมไ่ ด้มาตรฐาน การทุจรติ สนาม เดก็ เล่นทใ่ี ช้งบประมารณจัดซอื้ แพงกว่าทอ้ งตลาด การ ทุจริตทุนการศึกษากองทุนเสมาพัฒนาชีวิต เสียหายกว่า 88 ล้านบาท การทุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาปลอมช่ือ นักเรียนเพ่ือโกงงบประมาณมาใชส้ ว่ นตวั เปน็ ตน้ (องคก์ รตอ่ ตา้ นคอรร์ ัปชันประเทศไทย , 2561) นอกจากน้ีเม่อื พิจารณา ข้อมูลเชิงประจักษ์จากประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เรื่อง ผลการประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online: ITA Online) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 พบข้อมลู ว่า จำนวนสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาในประเทศไทย มีท้ังหมด 225 เขต มผี ลการประเมนิ ระดับคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานไมผ่ า่ นถงึ 108 เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา ขณะที่รายงานการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ,2555) ได้เสนอข้อมลู รายงานผลการสำรวจของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวทิ ยาลัยอัสสัมชญั เรอื่ ง \"ประเมินคุณธรรม จริยธรรมของเจ้าหน้าทรี่ ัฐและขา้ ราชการไทยในสายตาเด็กและเยาวชนใน กทม.\" จากกลมุ่ ตัวอย่าง เด็กและเยาวชนอายุ 12-24 ปี จำนวน 1,127 คน พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.9 ระบเุ คยพบเหน็ การกระทำผิดของเจ้าหน้าที่รัฐและข้าราชการ ในการรับสินบน การคดโกง การทุจริตคอรัปชัน และส่วนใหญ่ร้อยละ 59.5 ระบุว่า ข้าราชการ เจ้าหน้าที่รัฐและ ประชาชนท่ียอมรบั ผ้บู งั คบั บัญชาหรือเจ้าหนา้ ทร่ี ัฐท่ีทุจริตคอรปั ชันกลบั ได้ดมี ีตำแหน่งสงู ขนึ้ และไดร้ ับผลประโยชน์ต่าง ตอบแทน ในขณะทร่ี อ้ ยละ 40.6 ระบุข้าราชการ เจ้าหน้าทร่ี ฐั และประชาชนที่ต่อตา้ นการทจุ รติ คอรปั ชัน ถูกทอดทง้ิ ไม่ มีหน่วยงานใดของรัฐให้ความคุ้มครองอย่างจริงจังต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม มีประเด็นที่น่าเป็นห่วงจากการสำรวจของ สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ กับประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป ใน 17 จังหวัด จำนวน 2,117 คน พบว่า ประชาชนท่ีศึกษามแี นวโนม้ ยอมรับได้ ถ้ารัฐบาลทุจริตคอรัปชันแต่ขอใหต้ นเองได้ประโยชน์ด้วย เพ่ิมสูงข้ึนจากร้อยละ 63.4 ในเดือนมิถุนายน เปน็ ร้อยละ 65.8 ในเดอื นสิงหาคม นอกจากน้ใี นรายงานดังกล่าวยงั ระบุวา่ ผบู้ ริหารขาดคุณธรรม ในการแต่งตัง้ โยกยา้ ยข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาอย่างไม่เปน็ ธรรม มีการรบั ฝากนักเรียนเข้าเรียนไม่เป็นไป ตามกฏหรอื ระเบียบที่เกีย่ วขอ้ งกำหนด แนวทางการแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ คอรัปชันในการบรหิ ารโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา ปรีชา อุยตระกูล (2561) ได้เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาการทุจริตคอรัปคอรัปชันในการบริหารโรงเรียน มัธยมศึกษา โดยกล่าววา่ หากมองแบบผวิ เผินอาจเสนอใหม้ กี ารเพม่ิ โทษแกผ่ ูก้ ระทำผิดเพ่ือลดแรงจงู ใจ แตอ่ ย่างไรก็ตาม ปัญหาการทุจริตนี้ไม่อาจแก้ปัญหาได้ด้วยการออกกฎหมายเพิ่มโทษผู้กระทำผิดเพียงอย่างเดียว เพราะเป็นปัญหาเชิง สังคมและวฒั นธรรม ดงั น้ันการจดั การกับปญั หาการทุจริตจงึ ตอ้ งใช้หลากหลายวธิ ีการผสมผสานกนั หนึ่งในน้ันคือการ 258

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสริมสรา้ งธรรมาภบิ าลในการบริหารงาน ซึ่งมผี ้อู ำนวยการสถานศกึ ษาเป็นผบู้ ังคับบัญชาสงู สดุ ย่อมต้องมธี รรมาภิบาลใน การบริหารเป็นอย่างสูง บนพื้นฐานของความเป็นผู้ที่มีภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม และจรรยาบรรณของวิชาชีพ อย่าง เครง่ ครัดดว้ ย จงึ จะสามารถยับย้งั หรอื ขจดั ปัญหาดงั กล่าวออกไปจากสงั คมไทยได้ ภาวะผนู้ ำเชงิ คุณธรรม ภาวะผู้นำมีความสำคญั อย่างมากต่อการพัฒนาองค์การและการจัดการ ผบู้ รหิ ารทีม่ คี วามเป็นผ้นู ำ หรือใช้ภาวะ ผนู้ ำ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและเปน็ ไปตามบทบาทหน้าท่ีของผบู้ รหิ ารท่ีดี จะส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานได้อย่าง ชัดเจน เนอื่ งจากมีความสามารถในการใช้อิทธพิ ลโนม้ นา้ วจงู ใจบคุ ลากรในการปฏิบตั งิ าน (รตั ติกรณ์,2555) ภาวะผู้นำเชิง คุณธรรม (Moral Leadership) เกิดขนึ้ มาเป็นระยะเวลานาน แตไ่ ม่มีการกล่าวถงึ ในประเด็นของการวิจัยอย่างชัดเจนนัก ต่อมาในระยะหลังจงึ เร่ิมมีความชดั เจนขนึ้ เห็นไดจ้ ากงานของ Sergiovanni (1992) ทกี่ ลา่ วถึงภาวะผนู้ ำเชงิ คณุ ธรรมโดย ใช้คำว่า Moral Leadership ในหนังสือที่จัดพิมพ์โดย Jossey-Bass ในช่วงต่อมาการศึกษาเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิง คุณธรรม เริ่มมกี ารพดู ถึงมากข้ึน ภาวะผู้นำเชงิ คณุ ธรรม หมายถึง คุณลกั ษณะทดี่ ีของผูน้ าํ แสดงออกดว้ ยความประพฤติ ทเ่ี หมาะสมตามบรรทัด ฐานของสงั คม สามารถเป็นตน้ แบบ ดา้ นความประพฤตขิ องบุคลากรในองค์การ ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านของผู้นํา และมีมีอิทธิพลในการจูงใจคนอืน่ ให้ร่วมกนั ปฏบิ ัติงานให้สําเร็จ โดยอาศัยศีลธรรม จริยธรรม สามารถแยกแยะสิ่งที่ถูก ออกจากสงิ่ ทีผ่ ดิ และการทำในสิ่งที่ถูกต้อง มุ่งเน้นการยกระดับคณุ ธรรมและจริยธรรมของเพอ่ื นร่วมงานให้สูงข้นึ จากการ สงั เคราะห์ หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง จากนกั วิชาการทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ จำนวน 15 ท่าน ได้แก่ Burns (1978) Kohlberg (1981) Gardner (1987) Covey (1991) Sergiovanni (1992) Draft (2001) Nancy (2001) Moorhouse (2002)Fullan (2003) National Policy Board for Educational Admiinstration (2004) Paul (2013) สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ (2544) สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา (2550) สำนักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น (2555) สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2553) พบองค์ประกอบแสดง ดังตารางที่ 1 การสังเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผนู้ ำเชงิ คณุ ธรรมตามแนวคดิ ของนักวชิ าการ ตารางท่ี 1 การสงั เคราะห์องคป์ ระกอบของภาวะผู้นำเชงิ คณุ ธรรมตามแนวคิดของนักวชิ าการ องคป์ ระกอบของ Burns (1978) ภาวะผนู้ ำเชิงคุณธรรม Kohlberg (1981) Gardner (1987) Covey (1991) Sergiovanni (1992) Draft (2001) Nancy (2001) Moorhouse (2002) Fullan (2003) National Policy Board for Educational Adminstration Pa(u2l0(0240)13) สนง.คณะกรรมการการศึกษา แ ่หงชาติ (2544) สำนักงานสภาการศึกษา (2550) สนง.คณะกรรมการข้าราชการพล สนง.คณะเกืรรอรนม(ก2าร55กา5)รศึกษา ัข้น ้ืพนฐาน 2553) รวม 1.ความยตุ ิธรรม       10 2.การเปน็ แบบอยา่ ง      8 ด้านคณุ ธรรม     8 3. ความซอ่ื สตั ย์ 4. ความเมตตา    6 5. มีความเข้าใจผูอ้ นื่ 6. ความรับผดิ ชอบ  4 (Responsibility)   4 259

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์ประกอบของ Burns (1978) ภาวะผนู้ ำเชิงคณุ ธรรม Kohlberg (1981) Gardner (1987) Covey (1991) Sergiovanni (1992) Draft (2001) Nancy (2001) Moorhouse (2002) Fullan (2003) National Policy Board for Educational Adminstration Pa(u2l0(0240)13) สนง.คณะกรรมการการศึกษา แ ่หงชาติ (2544) สำนักงานสภาการศึกษา (2550) สนง.คณะกรรมการ ้ขาราชการพล สนง.คณะเกรืรอรนม(ก2า5ร5กา5)รศึกษา ั้ขน ้ืพนฐาน 2553) รวม 7. การมุ่งผลสมั ฤทธใ์ิ นงาน    3 8. มคี วามเสยี สละ    3  9. การประสานความ  2 รว่ มมอื (Cooperation)   1 10. การดลใจทางจริยธรรม   1 11. ความเสมอภาค  12.การยอมรับนับถอื  1 ในเสรีภาพ  13.การมสี ัจจะ   1  2 14. การประสานความร่วมมอื 1 15. ความอดทน  1 16. การเช่ือถือในคน  1 17.การเปิดโอกาสให้มี สว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการ 1 18. การสรา้ งทีมงานที่ 1 มีประสิทธภิ าพ 1 19. ความอ่อนน้อมถอ่ มตน 20. เปน็ ผู้เฉลยี วฉลาด ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมพบว่ามีองค์ประกอบเชิงทฤษฎี (Theoretical Framework) จำนวน 20 องค์ประกอบ แต่การศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้หลักเกณฑ์ในการพิจารณาจากความถี่ของ องค์ประกอบที่นักวิจัยส่วนใหญ่เลือกเป็นองค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมในระดบั สูง (ความถี่ตั้งแต่ 8 ขึ้นไป) พบว่าสามารถคัดสรรองค์ประกอบของภาวะผูน้ ำ เชิงคณุ ธรรมได้ 3 องคป์ ระกอบ ได้แก่ องคป์ ระกอบที่ 1 ความยตุ ิธรรม (Justice) องค์ประกอบที่ 2 การเป็นแบบอย่างด้านคุณธรรม (Moral Role Model) องค์ประกอบที่ 3 ความซื่อสัตย์ (Honesty) จากการศึกษาและสงั เคราะห์ขอ้ มลู พบคุณลักษณะสำคญั ของแต่ละองค์ประกอบ ได้ดงั น้ี องค์ประกอบท่ี 1 ความยุติธรรม (Justice) องค์ประกอบดา้ นความยุติธรรมประกอบด้วยคุณลักษณะ 1) ยึดความถูกต้องเป็นหลัก ถูกต้องตามกฎหมาย หรือ กฎ ระเบียบ ข้อบงั คบั 2) การตดั สินใจทถ่ี กู ตอ้ ง 3) การพจิ ารณาอยา่ งละเอียดรอบคอบในข้อเท็จจริงของทุกกลุ่มที่ เกี่ยวขอ้ ง 4) ไม่ปล่อยใหส้ งิ่ ที่ผิดพลาดหรอื ขอ้ บกพรอ่ งนี้นำไปสูข่ อ้ ได้เปรียบ องคป์ ระกอบท่ี 2 การเป็นแบบอย่างด้านคณุ ธรรม (Moral Role Model) องค์ประกอบด้านการเป็นแบบอย่างดา้ นคุณธรรม ประกอบดว้ ยคณุ ลกั ษณะ 1) การยึดหลักธรรมเป็นพื้นฐาน 2) มคี วามนอบน้อม 3) ปฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างท่ีดี 4) ไม่เหน็ แกต่ ัว 5) ความมุ่งมัน่ ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทซ่ี ่ือสัตย์ต่อตนเอง และหนว่ ยงาน และ 6) มองโลกในแง่ดี คือการมองเห็นโอกาสท่จี ะเกิดข้นึ และมองทกุ สิ่งทกุ อยา่ งอย่างมีเหตแุ ละผล 260

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี องคป์ ระกอบที่ 3 ความซอ่ื สตั ย์ (Honesty) องค์ประกอบด้านความซื่อสัตย์ ประกอบด้วยคณุ ลักษณะ 1) เป็นผู้มีความซ่ือสัตย์ การปฏิบัติหน้าที่การงาน ของตนเองด้วยความรบั ผิดชอบและดว้ ยความซอื่ สตั ย์ไม่แสวงหาผลประโยชน์ให้แกต่ นเองและพวกพอ้ งด้วยการใช้อำนาจ หน้าทโ่ี ดยมิชอบ 2) เปน็ ผู้เชอื่ ถือไดต้ รงไปตรงมา ปฏิบตั อิ ย่างตรงไปตรงมา ทั้งกาย วาจา ใจ ต่อตนเองและผูอ้ ืน่ 3) เปน็ ผู้ ทีม่ บี คุ ลกิ นา่ เกรงขาม 4) เปน็ ผทู้ ี่พ่งึ พาอาศยั ได้ 5) เปน็ ผไู้ ม่มอี คติ ดังนั้นการที่มีผู้บริหารสถานศึกษาจะมีภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม จะต้องมีการประพฤติปฏิบัติตนตาม องค์ประกอบท่ีได้กล่าวไปแล้วข้างตน้ โดยตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งสม่ำเสมอ จรรยาบรรณวิชาชพี จรรยาบรรณ เป็นประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและ ส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน,2556) จรรยาบรรณวิชาชีพ มี วัตถุประสงค์สำคัญอยู่ 3 ประการได้แก่ เป็นแนวทางให้ผู้ประกอบวชิ าชีพยดึ ถือปฏบิ ัติอย่างถกู ต้อง เพื่อให้วิชาชพี คง ฐานะได้รับการยอมรับและยกย่องจากสงั คม และเพื่อผดงุ เกยี รตยิ ศและศักดศิ์ รแี หง่ วชิ าชีพ คุรุสภา ไดอ้ อกข้อบังคับคุรุสภา วา่ ดว้ ย แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพผูบ้ ริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2550 ไว้ 5 ส่วน เพื่อให้ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวชิ าชีพ บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทาง วิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ ส่วนที่ 2 จรรยาบรรณต่อวชิ าชพี ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ต้องรกั ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ ส่วนที่ 3 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าท่ี โดยเสมอหนา้ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาต้องสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการเรียนรทู้ กั ษะและ นสิ ัยทีถ่ ูกต้องดีงาม แก่ศิษยแ์ ละผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ และผู้บริหารสถานศึกษาต้องให้บริการด้วยความจริงใจ และเสมอภาค โดยไม่เรยี กรบั หรือยอมรบั ผลประโยชน์ จากการใช้ตำแหน่งหน้าทีโ่ ดยมิชอบ สว่ นท่ี 4 จรรยาบรรณต่อผู้ รว่ มประกอบวิชาชพี ผบู้ ริหารสถานศึกษา พึงช่วยเหลือเกือ้ กลู ซ่ึงกันและกนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สรา้ งความสามคั คีในหมคู่ ณะ และ สว่ นท่ี 5 จรรยาบรรณตอ่ สังคม ผู้บริหารสถานศึกษา พงึ ประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ในการอนรุ ักษ์และพฒั นาเศรษฐกิจสังคม ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมิปญั ญา ส่งิ แวดล้อม รักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวม และยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ดังนน้ั การทีม่ ผี บู้ ริหารสถานศึกษาจะมีจรรยาบรรณวิชาชพี จะตอ้ งมกี ารประพฤติปฏิบัตติ นตามข้อบังคับท่ีได้ กล่าวไปแลว้ ขา้ งตน้ โดยต้องปฏบิ ตั ิอย่างสมำ่ เสมอ ธรรมาภบิ าล ธรรมาภบิ าล (Good Governance) หมายถงึ การปกครอง การบรหิ าร การจดั การ การควบคมุ ดูแลกิจการต่าง ๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน 261

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ธรรมทใ่ี ชใ้ นการบรหิ ารงานนี้ มคี วามหมายอยา่ งกวา้ ง กล่าวคอื หาได้มีความหมายเพยี งหลักธรรมทางศาสนาเท่านนั้ แต่ รวมถึง ศลี ธรรม จริยธรรม และความถกู ตอ้ งชอบธรรมทง้ั ปวง ซ่งึ วญิ ญูชนพงึ มี (อรรจน์ สหี ะอำไพ ,2558) ความเปน็ มาของธรรมาภิบาล ธรรมาภบิ าล (Good Governance) ของการบริหารกจิ การบา้ นเมืองทด่ี ีเปน็ หลกั การสากลทไ่ี ดถ้ ูกกลา่ วถึงครั้ง แรกในรายงานของธนาคารโลก (World Bank) เมื่อปี ค.ศ. 1989 โดยมีการกล่าวถึงความสำคัญของการมีหลักธรรมาภิ บาลเพอ่ื ชว่ ยสง่ เสริมการบริหารกจิ การบา้ นเมืองที่ดีวา่ เปน็ ลกั ษณะและเป็นวิถีทางของการใช้อำนาจในการใช้ทรัพยากร ทางเศรษฐกจิ และทางสังคมของประเทศเพื่อการพัฒนาอยา่ งย่ังยืน ซึ่งครอบคลุมการมีสว่ นร่วมของภาคส่วนต่างๆ การ บริหารจดั การภาครัฐ การรับผิดชอบ กรอบตัวบทกฎหมายเกี่ยวกับการพฒั นา ความโปรง่ ใสและข้อมูลขา่ วสาร (ปัณฑา รยี ์ อคั รเศรษฐนนท์ ,2561) ท้งั นป้ี ระเทศไทยได้มีการบังคบั ใชห้ ลกั การดังกล่าวและปรบั แก้กฏหมายต่างๆ เพื่อก่อให้เกิด และเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการภาครัฐทุกส่วนภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้จาก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้มีการวางรากฐานของธรรมาภิบาลโดยมีหลักการสร้างความ โปร่งในการบริหารประเทศ การตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนท้ังระดับชาติ ท้องถิ่น ชุมชน และได้มีพัฒนาการมาเป็นลำดับ โดยมีการออกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีในปีพุทธศักราช 2542 จนกระทั่งปี พุทธศักราช 2546 ได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาว่าดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเป็นการ กำหนดแนวทางในการปฏิบัตริ าชการของทกุ สว่ นราชการว่าต้องมีความม่งุ หมายให้บรรลุเป้าหมาย เกดิ ประโยชน์สุขของ ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความ จำเป็น มกี ารปรบั ปรุงภารกจิ ของสว่ นราชการใหท้ ันต่อเหตุการณ์ ประชาชนไดร้ ับการอำนวยความสะดวก การตอบสนอง ตอ่ ความต้องการท่มี กี ารประเมนิ ผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ ตอ่ มารฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 ระบุเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในหมวดที่ 4 มาตรา 71 วรรคหนึ่ง ระบุว่า “บุคคลผู้เปน็ ข้าราชการ ลกู จ้างของหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรฐั มหี นา้ ทีด่ ำเนนิ การให้เปน็ ไปตามกฎหมายเพ่ือ รกั ษาประโยชนส์ ว่ นรวม อำนวยความสะดวก และใหบ้ รหิ ารแก่ประชาชน” รวมท้งั จะเห็นเร่ืองของการให้ความสำคัญใน การให้หน่วยงานของรัฐมีการบรหิ ารโดยใช้หลักธรรมาภิบาล ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาตทิ ี่ 69/2557 เรื่อง มาตรการป้องกนั และแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ ข้อ 1 ให้ทุกภาคส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ กำหนด มาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วน ราชการและหน่วยงานของรัฐโดย มุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบ เฝ้าระวงั เพอ่ื สกัดก้ันมใิ ห้เกิดการทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบ (ปัณฑารยี ,์ 2561) ความสำคัญของธรรมาภิบาล หลกั ธรรมาภิบาล (Good Governance) เป็นแนวทางสำคัญในการจัดระเบียบใหภ้ าครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน เพื่อป้องกันและแก้ไขภาวะวิกฤติด้านการทุจริตที่จะมีมาในอนาคต เพราะในสังคมจำเป็นจะต้องมีความ ยตุ ิธรรม ความโปร่งใสและการมสี ่วนร่วม อกี ทง้ั หลกั ธรรมาภิบาลยงั สามารถเพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารงานได้ และเป็น กลไกในการควบคุมติดตาม ตรวจสอบ โดยมีประชาชนหรอื องค์กรภายนอกเข้ามามสี ่วนรว่ ม ทั้งนีเ้ พื่อปอ้ งกันไม่ใหเ้ กิด ความเสยี หายแกก่ ารบรหิ ารหนว่ ยงานสรา้ งสำนกึ ท่ีดใี นการบรหิ ารงาน ไม่ส้นิ เปลอื ง มกี ารตดิ ตามการทจุ ริต (ณฐั กฤช มสุ ิ 262

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กะโสภณ,2563) ทั้งนี้การนำหลกั ธรรมาภบิ าลมาใช้ในหน่วยงานภาครัฐนั้นยอ่ มหมายรวมถึงสว่ นราชการที่เปน็ โรงเรียน มัธยมศึกษาดว้ ยเช่นกัน องคป์ ระกอบของธรรมาภิบาล ในปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการทำหน้าที่ส่งเสริม เผยแพร่ จดั อบรม ติดตาม ใหค้ ำแนะนำการวัดและประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ไดก้ ำหนดหลักธรรมาภิบาลของการบริหาร กจิ การบา้ นเมืองท่ีดี 10 หลัก ไดแ้ ก่ หลกั ประสิทธิผล หลกั ประสิทธิภาพ หลักการตอบสนอง หลักภาระรับผิดชอบ หลักความ โปรง่ ใส หลกั การมีส่วนรว่ ม หลักการกระจายอำนาจ หลักนิตธิ รรม หลกั ความเสมอภาค และหลกั มงุ่ เนน้ ฉนั ทามติ สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (2552) ไดก้ ล่าวถงึ สาระสำคญั ขององค์ประกอบไว้ดังนี้ หลักประสทิ ธิภาพ (Efficiency) หมายถงึ ในการปฏิบัตริ าชการต้องใช้ทรพั ยากรอย่างประหยัดเกิดผลิตภาพที่ คมุ้ คา่ ต่อการลงทนุ และบังเกิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ ส่วนรวม ท้งั นี้ต้องมีการลดขัน้ ตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติงานเพื่อ อำนวยความสะดวก และลดภาระค่าใชจ้ า่ ย ตลอดจนยกเลิกภารกจิ ท่ลี า้ สมยั และไมม่ ีความจำเปน็ หลักประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ในการปฏิบัติราชการต้องมีวิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์ เพ่ือ ตอบสนองความต้องการของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ปฏิบัติหน้าที่ตามพันธกิจให้บรรลุ วัตถุประสงค์ ขององคก์ ารมีการวางเป้าหมายการปฏิบัติงานทช่ี ัดเจนและอยู่ในระดบั ท่ีตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชน สร้าง กระบวนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน มีการจัดการความเสี่ยงและมุ่งเน้น ผลการปฏิบัติงานเป็นเลศิ รวมถงึ มีการตดิ ตามประเมินผลและพฒั นาปรับปรุงการปฏิบัติงานใหด้ ีขน้ึ อยา่ งต่อเน่อื ง หลักการตอบสนอง (Responsiveness) หมายถึง ในการปฏิบัติราชการต้องสามารถให้บริการได้ อย่างมี คุณภาพ สามารถดำเนนิ การแลว้ เสร็จภายในระยะเวลาท่กี ำหนด สรา้ งความเช่อื ม่ันไวว้ างใจ รวมถงึ ตอบสนองตามความ คาดหวงั /ความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ และผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียท่มี ีความหลากหลาย และมคี วามแตกต่างกันได้ อย่างเหมาะสม หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึง ในการปฏิบัตริ าชการตอ้ ง สามารถตอบคำถามและชี้แจงได้ เมื่อมีข้อสงสัย รวมทั้งต้องมีการจัดวางระบบการรายงานความก้าวหน้าและ ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ต่อ สาธารณะเพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและการให้คุณ ให้โทษ ตลอดจนมีการจัดเตรียมระบบการแก้ไขหรือบรรเทา ปัญหาและผลกระทบใด ๆ ที่อาจจะเกดิ ข้นึ หลักความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง ในการปฏิบัติราชการต้องปฏิบัติงานด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต ตรงไปตรงมา รวมทั้งต้องมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและเชื่อถือได้ให้ประชาชนได้ รับทราบ อย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนวางระบบใหก้ ารเขา้ ถงึ ข้อมูลขา่ วสารดงั กล่าวเปน็ ไปโดยง่าย หลักความเสมอภาค (Equity) หมายถึง ในการปฏิบัติราชการต้องให้บริการอย่างเท่าเทียมกัน ไม่มี การ แบ่งแยกด้านชายหญิง ถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทาง เศรษฐกิจและสงั คม ความเชอ่ื ทางศาสนา การศึกษาอบรม และอน่ื ๆ อกี ทง้ั ยังต้องคำนึงถึงโอกาสความ เท่าเทียมกนั ของ การเข้าถงึ บรกิ ารสาธารณะของ กลุม่ บคุ คลผดู้ อ้ ยโอกาสในสังคมด้วย หลักมุง่ เน้นฉนั ทามติ (Consensus Oriented) หมายถงึ การหาข้อตกลงทว่ั ไปภายในกลุ่มผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นข้อตกลงที่เกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดเห็น จากกลุ่มบุคคล ที่ได้รับประโยชน์และเสีย 263

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มท่ไี ด้รบั ผลกระทบโดยตรงซึง่ ตอ้ งไมม่ ีข้อคัดค้านท่ียตุ ิ ไม่ได้ในประเด็นท่ีสำคัญ โดยฉันทามติไม่ จำเป็นตอ้ ง หมายความว่าเปน็ ความเห็นพอ้ งโดยเอกฉันท์ ดังนัน้ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา จำเปน็ ตอ้ งตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของธรรมาภบิ าล และขับเคลอ่ื นการดำเนินงาน ในสถานศกึ ษาโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี 10 หลกั มาใช้อย่างเครง่ ครดั สม่ำเสมอ ก็จะ สามารถทำใหอ้ งคก์ รมีความเข้มแข็ง มปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธผิ ลกบั องคก์ รในทส่ี ุด สรปุ ปัญหาการทุจริตคอรัปชันในการบริหารโรงเรียนมธั ยมศึกษา มีมาอย่างยาวนานซ่ึงจำเป็นต้องได้รับการแก้ไข อย่างเร่งด่วน แนวทางการแก้ไขปัญหาไม่อาจแก้ปัญหาได้ด้วยการออกกฎหมายเพิ่มโทษผู้กระทำผิดเพียงอย่างเดียว เพราะเป็นปัญหาเชงิ สงั คมและวฒั นธรรม ดังนนั้ การจดั การกับปัญหาการทจุ ริตจงึ ตอ้ งใช้หลากหลายวิธกี ารผสมผสานกัน ได้แก่ การส่งเสริมให้ผู้บริหารสถานศึกษาในฐานะผู้นำองค์การมีภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม ประกอบด้วย ความยุติธรรม (Justice) การเป็นแบบอย่างด้านคุณธรรม (Moral Role Model) และความซื่อสัตย์ (Honesty) การส่งเสริมให้ปฏิบัติ ตามจรรยาบรรณวิชาชพี ของผู้บริหารสถานศึกษาท้ัง 5 สว่ นไดแ้ ก่ 1) จรรยาบรรณต่อตนเอง 2) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 3) จรรยาบรรณต่อผ้รู ับบริการ 4) จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวิชาชีพ 5) จรรยาบรรณตอ่ สังคม รวมทัง้ การสง่ เสริมให้ ผู้บริหารตระหนักถึงความสำคัญของธรรมาภิบาล (Good Governance) ปฏิบัติและขับเคลื่อนการดำเนินงานใน สถานศึกษาโดยยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 10 หลัก ได้แก่ 1) หลักประสิทธิผล 2) หลัก ประสิทธิภาพ 3) หลกั การตอบสนอง 4) หลักภาระรับผิดชอบ 5) หลักความโปร่งใส 6) หลกั การมีส่วนรว่ ม 7) หลักการ กระจายอำนาจ 8) หลักนิติธรรม 9) หลักความเสมอภาค 10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ เมื่อผู้บริหารสถานศึกษาสามารถ ปฏิบตั ิตามแนวทางทีก่ ลา่ วไปขา้ งตน้ อยา่ งเคร่งครัด สมำ่ เสมอ จะนำมาซงึ่ ความถกู ต้องตามหลักการ ปราศจากการทจุ ริต คอรัปชันในโรงเรยี นมัธยมศึกษา สะท้อนถึงความเป็นผู้บริหารที่มีคุณธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ส่งผลต่อภาพลักษณ์ ของโรงเรียนมัธยมศกึ ษาใหเ้ ป็นท่ีศรัทธา เชื่อมั่น และได้รับความไว้วางใจจากผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียและประชาชน รวมท้งั เปน็ ทย่ี อมรับในระดบั สากล อันจะสง่ ผลทำให้การพฒั นาของประเทศเปน็ ไปได้อยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไปในอนาคต ข้อเสนอแนะ ดงั ที่ไดน้ ำเสนอไปขา้ งต้นแลว้ ว่า ปญั หาการทุจรติ คอรัปช่ันเป็นปัญหาเชงิ สงั คมและวฒั นธรรม ไม่อาจแก้ปัญหา ไดด้ ้วยการออกกฎหมายเพ่ิมโทษผกู้ ระทำผดิ เพียงอย่างเดยี ว ดังนนั้ การจดั การกับปญั หาการทุจริตจึงตอ้ งใช้หลากหลาย วธิ กี ารผสมผสานกนั หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องทง้ั ทางตรงและทางอ้อม ควรส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนากลยุทธ์ใน การเสริมสร้างภาวะผ้นู ำเชงิ คุณธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และส่งเสรมิ ให้มกี ารศึกษารายกรณี ของผู้บริหารสถานศกึ ษาที่มผี ลงานเชงิ ประจักษใ์ นด้านภาวะผู้นำเชงิ คณุ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพและถอดบทเรียนเพื่อ เผยแพร่ใหก้ บั สาธารณะชนได้เปน็ แบบอย่างท่ีดีในการปฏิบัตติ นและปฏิบัติงาน ซึ่งจะส่งผลดตี ่อการบริหารสถานศึกษา อยา่ งยั่งยนื ตอ่ ไปในอนาคต เอกสารอา้ งองิ ขอ้ บงั คับครุ ุสภาวาดว้ ยแบบแผนพฤตกิ รรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2550 (2550,27 เมษายน) . ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม 124. 264

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ชูเกียรติ มุทธากาญจน์ มุทธากาญจน์. (2554). หลักธรรมาภบิ าล. เข้าถึงเม่ือ 1 กรกฎาคม 2564. เข้าถงึ ได้ จาก http://www.iadopa.org /KM/54.pdf. ณัฐกฤช มุสิกะโสภณ. (2563). หลกั การบรหิ ารกิจการบ้านเมอื งทด่ี ีกับหน่วยงานทางปกครอง. เขา้ ถงึ เมอ่ื 1 กรกฎาคม 2564. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/ elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=1420. ไทยพับลกิ ้า. (2559). ป.ป.ช. เผยเรื่องกล่าวหาคดีทจุ รติ ใน 1ุ6 จังหวัดภาคอีสาน พงุ่ 2 พันเร่ือง. เขา้ ถงึ เมื่อ 1 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงไดจ้ าก https://thaipublica.org/2015/07/nacc-9/. ไทยพบี ีเอส. (2563). The Exit : 8 ปี ทจุ ริตสนามฟุตซอล. เข้าถงึ เมอ่ื 1 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงไดจ้ าก https://news.thaipbs.or.th/content/293586 นิคม นาคอา้ ย. (2550). ภาวะผูน้ ำเชงิ จริยธรรม (Moral Leadership): แนวคดิ ในโลกตะวนั ตก. วารสารวชิ าการบริหารการศกึ ษา มศว. ปีท่ี 4 ฉบับที่ 8 หนา้ 62-70 ปณั ฑารยี ์ อัครเศรษฐนนท.์ (2561). รปู แบบการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของการบรหิ ารกิจการบา้ นเมือง ทด่ี ขี องผู้บริหารโรงเรยี นมัธยมศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาในภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนลา่ ง. วารสารบณั ฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. ปที ่ี 5 ฉบับที่ 2 หน้า 278-294 ปรชี า อยุ ตระกลู . (2561). ทางออกของไทยในการแกป้ ญั หาทจุ รติ คอรร์ ัปชัน. เขา้ ถงึ เม่ือ 23 กรกฎาคม 2564. เข้าถงึ ได้จาก https://researchcafe.org/civil-society-and-implementation-of- governance/. รตั ติกรณ์ จงวิศาล. (2555). ภาวะผนู้ ำ: ทฤษฎี การวจิ ยั และแนวทางสกู่ ารพัฒนา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรงุ เทพฯ : ราชบัณฑติ ยสถาน. วริยา ชินวรรโณ. (2555). จริยธรรมในวิชาชพี . กรงุ เทพฯ : สำนักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจยั สำนักงานขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา. (2547). มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวทิ ยฐานะของ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. เขา้ ถงึ เมือ่ 20 กรกฎาคม 2564. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://otepc.go.th/images/00_YEAR2563/04_PV2/circular_document/v3-2564.pdf สำนกั งานคณะกรรมการกำกบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรัพย.์ (2564). การทุจรติ คอรปั ชัน (Anti-corruption). เขา้ ถึงเมอื่ 15 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงไดจ้ าก https://www.sec.or.th/cgthailand/TH/Pages/corruption.aspx สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2552). หลกั ธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบา้ นเมอื งที่ด.ี เขา้ ถึงเมื่อ 1 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงไดจ้ าก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files /attachment/article/7.1_hlakthrrmaaphibaalkhngkaarbrihaarkicch kaarbaanemuuengthiidii.pdf สำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภา. (2550). แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา. เข้าถึงเม่ือ 1 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงไดจ้ าก http://www.act.ac.th/act_fsg/document. 265

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2555). การป้องกันการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การศึกษา. เข้าถึงเมอ่ื 2 กรกฎาคม 2564. เขา้ ถึงได้จาก http://www.onec.go.th/index.php/ book/BookView/1149 องคก์ รต่อต้านคอรร์ ัปชันประเทศไทย. (2564). 'โรงเรยี น' จุดแก้โกง หรือ จุดเรมิ่ โกง. เข้าถงึ เมอ่ื 1 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงได้จาก http://www.anticorruption.in.th/2016/th/detail/1281/4/ อรรจน์ สีหะอำไพ. (2560). ธรรมาภิบาล : บริหารแนวการบริหารยคุ ใหม่. ปทุมธานี. มหาวทิ ยาลยั รงั สิต. Fullan, M. (2003). The Moral Imperative of School Leadership. เขา้ ถงึ เม่ือ 5 กรกฎาคม 2564. เขา้ ถึงได้จากhttps://www.researchgate.net/publication/264998311_Fullan_M_2003_ The_Moral_Imperative_of_School_Leadership_Review_article Jeff Moorhouse. (2002). Desired Characteristics of Ethical Leaders in Business, Educational, Political and Religious Organizations from East Tennessee: A Delphi Investigation. เขา้ ถึงเมื่อ 1 กรกฎาคม 2564. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://core.ac.uk/download/pdf/214064933.pdf Kohlberg, L. (1981) Essays on Moral Development, Vol. I: The Philosophy of Moral Development. Harper & Row, San Francisco, CA.National Policy Board for Educational Administration (2004). Standards for advanced programs in educational leadership for principals, superintendents, curriculum directors, and supervisors. เข้าถงึ เม่อื 5 กรกฎาคม 2564. เขา้ ถึงได้จาก http://www.npbea.org/ELCC/ELCCStandards%20_5-02.pdf Robert A. Baron. (1986). Behavior in Organization. Boston : Allyn and Bacon Sergiovanni. (1992). Moral Leadership: Getting to the Heart of School Improvement. San Francisco, CA: Jossey Bass. 266

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บทบาทผู้บรหิ ารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญสงั กัด สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน The Role of School Administrators to Promote Learning and Teaching Learner Centered of School under Office of the Private Education Commission เอกฉันท์ อตั ชู ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา วัฒนศกั ด์ิ ดร.ภัทรฤทยั ลุนสำโรง หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ คณะศกึ ษาศาสตร์ วิทยาลยั นครราชสมี า E-mail: [email protected]. บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาและเปรียบเทียบระดบั บทบาทผู้บรหิ ารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามความคดิ เหน็ ของครูผู้สอน สังกดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน จำแนกตาม ขนาดของโรงเรียน และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติการสอนโรงเรียน เอกชนในกำกับของสังกัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน จำนวน 148 คน เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการรวบรวม ข้อมลู สำหรบั การวจิ ัย เป็นแบบสอบถาม ชนิดมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดับ มีค่าความสอดคล้องของขอ้ คำถามเท่ากับ 0.60-1.00 และมคี า่ ความเชอ่ื ม่ันของแบบสอบถามเท่ากบั 0.973 วิเคราะหข์ ้อมูลโดยหาคา่ ความถี่ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี และ เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยใช้การทดสอบ ค่าเอฟ หากพบความ แตกต่างอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิตจิ ะทำการทดสอบด้วยวธิ ขี อง Scheffe´ ผลการวจิ ยั พบว่า 1. บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ย สูงสุด คือพัฒนาครูและบคุ ลากรให้รูแ้ ละเข้าใจในการจัดการเรยี นรู้ รองลงมาคือการจัดระบบนเิ ทศภายใน กำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล สว่ นดา้ นทม่ี คี า่ เฉลีย่ ต่ำสุด คอื การประชาสัมพนั ธส์ ร้างความเขา้ ใจ 2. ครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการ สง่ เสรมิ การจัดการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน ทั้งโดยภาพรวม และรายด้านแตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .05 267

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 3. ครทู ่ีมีประสบการณ์ในการทำงานต่างกนั มีความคดิ เห็นตอ่ ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศกึ ษาในการส่งเสริม การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ทั้งโดยภาพรวมและ รายดา้ นทุกดา้ นไม่แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 คำสำคัญ : ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ,การส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรูท้ ีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศกึ ษาเอกชน ABSTRACT The objectives of this study were to study and compare the role of school administrators to promote learning and teaching learner centered as opinions of teachers under office of the private education commission, classified by size schools and work experience. A sample of 148 teachers. The research instruments were 5 rating scale questionnaires, and to find its validity and the index item- objective congruence (IOC) value ranking from 0.60 - 1.00, and reliability of 0.973. The data were analyzed in terms of frequency, percentage, mean, standard deviation and one way ANOVA, and Scheffé ’s post hoc paired comparisons. The research findings revealed as follows : 1. The role of school administrators to promote learning and teaching learner centered as opinions of teachers under office of the private education commission under office of the private education commission as a whole were at a high level. When considering on each aspect, the research found to be at the highest mean were the aspect of develop teachers and personnel to know and understand in learning management, the second highest mean was Internal Supervision System management, monitoring and evaluation internal supervision, and the lowest mean were public relations for understanding. 2. The opinions of teachers who had the different in working size schools toward the role of school administrators to promote learning and teaching learner centered of teachers under office of the private education commission had the statistical significantly different at .05. 3. The opinions of teachers who had the different in working experiences toward the role of school administrators to promote learning and teaching learner centered of teachers under office of the private education commission had did not display concomitant differences at the statistically significant level of .05. KEYWORDS : School Administrators, Promote Learning and Teaching Learner Centered, Office of the Private Education Commission 268

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี บทนำ ปัจจบุ ันสภาพสังคมไทยมกี ารเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างรวดเรว็ ท้งั ดา้ นเศรษฐกจิ การเมอื ง สงั คม สว่ นหน่ึง สง่ ผลให้มีความเจริญก้าวหนา้ ทางดา้ นวตั ถุ มากกว่าทางด้านจติ ใจ เกดิ ความเสือ่ มทรามของสงั คม ศีลธรรมและจรยิ ธรรม การแข่งขันด้านคุณภาพและสมรรถภาพต่างๆ ของผู้เรียนไม่ทัดเทียมระดับสากล จากสถานการณ์ดังกล่าว จึงจำเป็นที่ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องร่วมกันพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการปฏริ ูปการศึกษาครัง้ ใหญ่ในประเทศ เพื่อปรับปรุงและ พฒั นาคนไทยให้สามารถปรับตัวเข้ากบั การเปล่ยี นแปลงของสงั คมโลกโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในปจั จุบนั ท่ีเป็นสังคมของโลก ยคุ ขอ้ มูลสารสนเทศดว้ ยแลว้ ผทู้ ส่ี ามารถจะดำรงชวี ิตในสงั คมที่เปล่ียนแปลงนไ้ี ดอ้ ยา่ งมีความสุขต้องเป็นคนที่สามารถ พ่งึ ตนเองและพฒั นาตนเองได้รู้จกั คิดรู้จักวเิ คราะห์รู้จักแก้ปัญหาและนำความรปู้ ระสบการณ์จากการเรียนรู้ไปปรับปรุง ประยกุ ต์ใช้ใหเ้ ขา้ กับสถานการณ์ (สำนกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ 2545 : 4) ความมุง่ หมายของการจัดการเรยี นรทู้ ่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญนั้น ก็เพอ่ื พัฒนาคนไทย ใหเ้ ป็นมนษุ ยท์ ี่สมบูรณ์ ท้ัง ทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา มีคุณธรรมจริยธรรม มีวัฒนธรรมที่ดีในการดำรงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกบั ผอู้ ่นื ไดอ้ ยา่ งมีความสุข ตลอดจนมที กั ษะและเจตคติที่ดีตอ่ การประกอบอาชีพ แนวทางในการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ มาจากพื้นฐานความเชื่อว่าผู้เรยี นทกุ คนมีความสามารถในการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ กระบวนการการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ เน้นการจัดเนื้อหาสาระ และ กิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกให้ผู้เรียนมี ทักษะกระบวนการคิด จัดสถานการณ์จำลองเพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน, 2546 : 7) ดงั คำกล่าวที่วา่ “ผ้เู รียนสำคญั ที่สุด” ดังน้ัน โรงเรียนจะต้อง เนน้ ในเรอื่ งของการจัดกจิ กรรมให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นร้จู ากประสบการณจ์ รงิ ได้ลงมือปฏบิ ตั ิ คิดเปน็ ทำเปน็ แก้ปญั หาเปน็ มี ความสามารถศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ครูจะต้องจัดรูปแบบการเรียนรู้โดย ผสมผสานความรู้ต่างๆ ให้ได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งควรปลูกฝังคณุ ธรรม ค่านิยมความดีงาม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคไ์ วใ้ นทกุ กล่มุ สาระการเรยี นทุกกลุ่มวิชา การพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ นั้น จึงขึ้นอยู่กับยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ โรงเรียนเป็นสำคัญ โดยเฉพาะการบริหารด้านวิชาการ ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการบริหารโรงเรียน ดังที่ สุนทร โคตร บรรเทา (2552) กลา่ ววา่ การบริหารวิชาการถอื เป็นหัวใจของโรงเรยี น ทผ่ี ูบ้ รหิ ารและครจู ะตอ้ งมีความเข้าใจภารกิจของ การบรหิ ารวิชาการ เพอ่ื จะได้ปฏิบตั แิ ละบริหารงานวชิ าการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสทิ ธิผล การทส่ี ถานศึกษา จะประสบผลสำเร็จได้จริงหรือไม่เพียงใดนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับบทบาทและหนา้ ที่ของผู้บริหารที่มีความรับผิดชอบในการ บริหารจัดการอย่างเตม็ ความสามารถ และมีทักษะในการบริหาร มีวิสัยทัศน์ ก็จะสามารถพัฒนาสถานศึกษาให้ประสบ ผลสำเร็จได้ ในทางกลับกันหากผู้บริหารขาดทักษะ ประสบการณ์ความสามารถพัฒนาสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ บทบาทไดอ้ ย่างเหมาะสม ดงั กลา่ วแลว้ กย็ ากทจ่ี ะพัฒนาสถานศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับบทบาทได้ อุดม ธาระณะ (2553) กล่าวว่า ผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทที่สำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา นอกเหนือจากงาน 4 งาน คือ งานวิชาการ งานบุคลากร งานงบประมาณ และงานบริหารทั่วไปแล้ว ยังต้องมีบทบาท หน้าท่ีอืน่ ๆ อีก เช่น บทบาทในการเป็นผ้นู ำทางวชิ าการ บทบาทในการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา บทบาทในการ 269

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สร้างสรรค์และพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา บทบาทในการเป็นผูใ้ ห้ความชว่ ยเหลือ เกื้อกูลผู้ร่วมงานและผู้ใต้บงั คับบัญชา และบทบาทในการตัดสนิ ใจ จากการศึกษาทฤษฎีทางการบริหารจากตำราและเอกสารต่างๆ พบว่า ในการบริหารสถานศึกษาผู้บริหาร จำเป็นต้องกำหนดแบบแผนวิธีการ และขั้นตอนตา่ งๆ ในการปฏบิ ัตงิ านไวอ้ ย่างเป็นระบบ ซ่ึง (ศศธิ ร เวยี งวะลัย, 2556) กล่าวว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้จงึ ต้องส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ ด้วยเหตุน้ี ครผู ู้สอนทกุ คนจึงจำเปน็ ต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองจากการเป็นผ้บู อกความรู้ใหจ้ บไปในแต่ละคร้ังที่เข้าสอนมา เปน็ ผ้เู อ้ืออำนวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรใู้ ห้แกผ่ เู้ รยี น สอดคล้องกับ Lang (1997)ได้กลา่ วถึง การจัดการ เยนการสอนทีย่ ึดเดก็ เป็นสำคญั ว่า เปน็ แนวทางช่วยให้ผูเ้ รยี นได้เรียนรูเ้ นื้อหาครบถ้วน ดว้ ยวธิ กี ารของแต่ละบุคคลท่ีอาจ แตกต่างกันไป เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมในการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น และมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน สำหรับ (พิมพ์พันธ์ เตชะคุปต์, 2544) กล่าวว่า การจัดการเรยี นการสอนเพื่อใหผ้ ู้เรียนเป็นผูม้ ีคุณภาพ คือ ดี มีปัญญา คือ เก่ง และเป็นผมู้ คี วามสุข คือ สขุ ภาพกาย และจติ ดี โดยสรุปเป็นประชาชนท่ีดี เก่ง สุข เป็นประชาชนที่มองกว้างคิด ไกล ใฝ่รู้เชดิ ชูคณุ ธรรมนัน้ ต้องเปน็ การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั นอกจากน้ี ทิศนา แขมมณี (2545) กล่าวว่า ในการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาจะต้องใหก้ ารสนับสนุนในดา้ นส่ือ วัสดุอุปกรณ์ และแหล่ง การเรยี นรู้อยา่ งเพยี งพอ จัดบรรยากาศภายในโรงเรียนให้เออื้ ต่อการเรียนการสอน ส่งเสริมสนบั สนุน ครใู ห้ได้ พัฒนาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกรูปแบบ และต้องส่งเสริมให้ครูจัด กิจกรรมที่สอดคล้องกับความ แตกต่างระหวา่ งบคุ คล ให้ผ้เู รยี นได้พฒั นาเต็มตามความสามารถท้ัง ดา้ นความรู้ จิตใจ อารมณ์ และทกั ษะตา่ งๆ สง่ เสริม ให้ผเู้ รยี นกบั ผูส้ อนมบี ทบาทในฐานะผู้กระตุน้ ผเู้ ตรยี มการ ผ้อู ำนวยความสะดวก ผู้จดั สงิ่ เรา้ ใหค้ ำปรกึ ษา และวางแนว กิจกรรมให้กับผู้เรยี น และ (สิรินภา จงทำมา, 2559) ได้เสนอแนวคดิ เกีย่ วกับการบริหารสถานศึกษาไว้ว่า ผู้ที่ทำหนา้ ท่ี พัฒนารักษาคุณภาพของครูให้ปฏิบัตหิ น้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีบทบาทสำคัญในการ ส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ผู้บริหารต้องรู้ เข้าใจถึงแก่นแท้ของการเรียนรู้ของเด็กวาง แนวทางในการปฏิบัติตน กำหนดแนวนโยบายที่ชัดเจนให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของทอ้ งถนิ่ สอดคลอ้ งกับแนวนโยบายแหง่ รัฐโดยเฉพาะบทบาทของสถานศึกษา บทบาทของผู้บรหิ าร บทบาท ของครู บทบาทของผมู้ ีส่วนเก่ยี วข้อง ตอ้ งสร้างกลไกลในการจดั การเรียนรแู้ บบครบวงจร ท้ังวธิ กี ารเรยี นร้ขู องเดก็ วธิ กี าร สอนของครู หลักสูตร การวัดประเมินผล และการจัดสภาพแวดล้อม เพื่อสร้างทักษะพื้นฐานที่ให้เกิดแก่ผู้เรียนตาม มาตรฐานทก่ี ำหนด มีระบบในการตรวจสอบคุณภาพท่ีชดั เจนตรวจสอบไดจ้ นเป็นท่ียอมรับของทุกฝา่ ย จากแนวคดิ ของ นักวิชาการหลายๆ ท่านต่างมีแนวคิดที่สอดคล้องกัน คือ ผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลง พฤตกิ รรมการเรียนการสอนของครู โดยกำหนดเป้าหมายในการพัฒนางานวชิ าการ ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรขู้ องครู หาแนวทางที่จะจัดกจิ กรรมให้สอดคล้องกบั ความต้องการของผูเ้ รียน สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนให้เปน็ สังคมแห่งการเรียนรู้ ส่งเสริมสนับสนุนครูในด้านต่างๆ เพื่อให้ครูสามารถพัฒนาการเรียนการสอน สามารถถ่ายทอด ความรู้ และประสบการณใ์ ห้แก่ผู้เรียน ใหผ้ ้เู รยี นสามารถใชช้ วี ิตในสังคมท่มี ีการเปล่ยี นแปลงได้ จากความเป็นมา และความสำคัญของปญั หา ที่ได้กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาใน การส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั เป็นปจั จยั หลกั ที่สำคัญต่อการจัดการศึกษาอันเป็นพ้ืนฐาน การศึกษาทุกระดับ เพ่ือท่ีจะไดบ้ รรลุถงึ เป้าหมายทางการศกึ ษา ผู้วจิ ัยจงึ สนใจศกึ ษาระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษา 270

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในการส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และ และเปรยี บเทียบบทบาทผ้บู ริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ซึ่งผลการศึกษาในครัง้ นี้สามารถนำมาประยกุ ต์ ปรับปรุง เพื่อพัฒนา ทักษะ ความสามารถ และกระบวนการในการใช้บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ให้ส่งผลด้านประสิทธิภาพ และ ประสทิ ธผิ ลของการจัดการศกึ ษาท่ีสูงขน้ึ ตามมาตรฐานการศึกษาตอ่ ไป นอกจากนผี้ ลการศกึ ษาทีไ่ ด้จะเป็นประโยชน์ต่อ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน บุคลากร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนักงาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน และยงั ใชใ้ นการศึกษาค้นคว้าในเรอ่ื งอ่ืนท่ีเก่ยี วกบั บทบาทผู้บริหารสถานศึกษา ในการส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญได้อกี ด้วย วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ศกึ ษาระดับบทบาทผู้บริหารสถานศกึ ษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัด สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน 2. เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน และประสบการณใ์ นการทำงาน สมมุติฐานของการวจิ ัย 1. ครูผู้สอนที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเหน็ ต่อบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการ ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน แตกตา่ งกัน 2. ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการสอนต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการ ส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน แตกต่างกนั วธิ ีดำเนินการวจิ ยั 1. ประชากร ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2564 จำนวน 240 คน จาก 8 โรงเรียน (ข้อมูลประชากรจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2564) 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2564 จำนวน 148 คน จาก 8 โรงเรียน โดยใช้ ตารางสำเร็จรูปของเครจซี และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970 อ้างถงึ ใน พิมพ์อร สดเอยี่ ม, 2557) ไดก้ ล่มุ ตัวอย่างจำนวน 148 คน เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการรวบรวมข้อมลู สำหรบั การวิจัยเชิงปรมิ าณในครงั้ นี้ เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) จานวน 1 ฉบบั แบ่งเป็น 2 ตอน ดงั น้ี 271

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตอนท่ี 1 สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม มีลกั ษณะเป็ นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ถาม เก่ียวกบั ขนาดของโรงเรียน และประสบการณใ์ นการทางาน ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการ เรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามความคิดเห็นของครูผูส้ อน สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) ตามแนวคิด ของ ลิเคิร์ท (Likert) (ภัทราพร เกษสังข์, 2549) แบ่งเป็น 5ดา้ น ดงั น้ี ดา้ นส่งเสริมการพัฒนาการจัดทำหลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ ดา้ นส่งเสริมการจัดบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ดา้ นพัฒนาครู และบุคลากรให้รู้ และเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ ดา้ น ประชาสมั พนั ธ์สร้างความเข้าใจ ดา้ นการจดั ระบบนเิ ทศ และภายใน กำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การสร้างเครื่องมือท่ใี ชใ้ นการวิจัย ไดด้ ำเนินการตามขัน้ ตอน ดงั น้ี 1. การสร้างแบบสอบถาม ศึกษาหลักการแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกีย่ วข้องกับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศนข์ องผู้บริหาร สถานศึกษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน กำหนดกรอบแนวคิด และ สรา้ งแบบสอบถามใน การวิจัยตามกรอบแนวคดิ นำร่างแบบสอบถามเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา และนำข้อเสนอแนะมาแก้ไขปรับปรุง 2. การตรวจสอบค่าความตรงเชงิ เน้ือหา (Content validity) 2.1 เสนอเครื่องมือต่อผู้เช่ียวชาญจำนวน 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบว่าข้อคำถามให้ตรงกับนิยาม ศัพท์เฉพาะ และนำข้อเสนอแนะจากผ้เู ชย่ี วชาญมาแกไ้ ขพรอ้ มท้งั เสนออาจารย์ท่ปี รกึ ษาตรวจสอบอกี คร้ัง 2.2 นำแบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับนิยามศัพท์เฉพาะ (Index of item objective congruence : IOC) 2.3 คดั เลอื กขอ้ คำถามทมี่ ีคา่ IOC ต้ังแต่ 0.50 ขึน้ ไป (Rovinelli and Hambleton, 1977 อ้างถึงใน (ภัท ราพร เกษสงั ข,์ 2549 : 138) ซึง่ แบบสอบถามนม้ี คี า่ IOC ตั้งแต่ 0.80-1.00 (ภาคผนวก ง) สรุปได้วา่ ใช้ได้ทกุ ข้อ 2.4 ตรวจสอบ ปรบั ปรงุ แบบสอบถาม และนำเสนออาจารยท์ ่ปี รกึ ษา 3. การตรวจสอบคา่ ความเทยี่ ง (Reliability) 3.1 นำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try out) กับครูผู้สอนในโรงเรียนของสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน ที่ไม่ใชก่ ลมุ่ ตวั อยา่ งจำนวน 30 คน 3.2 นำข้อมูลที่ได้ ไปคำนวณหาค่าความเที่ยง (Reliability) ของแบบสอบถามทั้งฉบับโดยใช้สูตร สัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha Coefficient Method) ตามวิธีของ ครอนบาค (Cronbach) (ภัทราพร เกษสังข์, 2549 : 143) ซงึ่ แบบสอบถามฉบับน้ี พบว่า มคี า่ ความเที่ยง โดยภาพรวม และรายด้านอยรู่ ะหวา่ ง 0.973 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองตน้ ของกลุ่มตัวอยา่ งเกี่ยวกบั ขนาดของโรงเรยี นและประสบการณ์ในการ ทำงาน ดังแสดงในตารางที่ 1 272

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตารางที่ 1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม จำแนกตามขนาดของโรงเรยี น และประสบการณ์ในการทำงาน 1. ขนาดของโรงเรยี น รายการ ความถี่ (n=148) รอ้ ยละ 1.1 ขนาดเลก็ รวม 1.2 ขนาดกลาง รวม 17 11.49 1 .3 ขนาดใหญ่ 30 20.27 1 .4 ขนาดใหญพ่ เิ ศษ 32.43 48 35.81 2. ประสบการณ์ในการทำงาน 53 2.1 ตำ่ กวา่ 5 ปี 100.0 2.2 5-10 ปี 148 2.3 มากกวา่ 10 ปี 43.24 64 35.14 52 21.62 32 100.0 148 จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ จำนวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 35.81 ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 32.43 ปฏิบัติงานอยู่ใน โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 30 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 20.27 และนอ้ ยที่สุดปฏิบัตงิ านอยู่ในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 11.49 และผ้ตู อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการทำงานต่ำกว่า 5ปี จำนวน 64 คน คิด เป็นร้อยละ 43.24 รองลงมาอยู่ระหว่าง 5-10 ปี จำนวน 52คน คิดเป็นร้อยละ 35.14 และน้อยที่สุดมากกว่า 10 ปี จำนวน 32 คน คดิ เป็นร้อยละ 21.62 ตามลำดบั 2. ผลการวิเคราะห์ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคญั สังกดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเกย่ี วกบั ระดบั บทบาทผู้บริหารสถานศกึ ษาในการส่งเสรมิ การจดั การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคญั สังกัดสำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชนดงั ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน โดยภาพรวมและรายดา้ น ขอ้ ที่ บทบาทผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา X S.D. แปลผล ในการส่งเสรมิ การจดั การเรยี นรูท้ ี่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ 1. สง่ เสรมิ การพัฒนาการจดั ทำหลักสตู รและการจัดการเรยี นรู้ 4.34 0.48 มาก 4.28 0.56 มาก 2. สง่ เสรมิ การจดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มให้เออ้ื ต่อการเรียนรู้ 4.38 0.47 มาก 4.23 0.59 มาก 3. พฒั นาครแู ละบุคลากรใหร้ แู้ ละเข้าใจในการจัดการเรยี นรู้ 4. ประชาสัมพันธส์ รา้ งความเข้าใจ 273

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ข้อท่ี บทบาทผู้บรหิ ารสถานศึกษา X S.D. แปลผล ในการสง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ท่เี น้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั 4.37 0.51 มาก 5. การจดั ระบบนิเทศภายใน กำกบั ติดตามและประเมนิ ผล 4.32 0.48 มาก รวม จากตารางที่ 2 พบว่า บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 4.32, S.D. = 0.48) เม่ือ พิจารณาเป็นรายดา้ นพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุดคือ ด้านที่ 3 พัฒนาครูและบุคลากรให้รู้ และเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ (X = 4.38, S.D. = 0.47) ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านที่ 4 ประชาสัมพันธ์สร้าง ความเข้าใจ (X = 4.23, S.D. = 0.59) 3. ผลการเปรียบเทียบบทบาทผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาในการสง่ เสริมการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรยี น และประสบการณใ์ นการทำงาน ผลการเปรียบเทียบบทบาทผ้บู ริหารสถานศึกษาในการสง่ เสริมการจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน ซ่งึ แบ่งเป็น 4 กล่มุ โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่ และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ใช้การทดสอบสมมุติฐาน ด้วยการวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดยี ว (One – Way ANOVA) โดยค่าเอฟ (F - test) ดังตารางท่ี 3-4 ตารางท่ี 3 แสดงผลการเปรียบเทยี บบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยภาพรวมและรายด้าน จำแนกตามขนาดของ โรงเรียน บทบาทผูบ้ ริหารสถานศึกษา ขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ ในการสง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ (n=17) (n=30) (n=48) (n=53) ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั S.D. S.D. S.D. S.D.   1. ส่งเสรมิ การพฒั นาการจัดทำหลักสูตรและ 4.63 0.43 4.40 0.14 4.30 0.50 4.68 0.42 จัดการเรียนรู้ 2. สง่ เสรมิ การจดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ ม 4.58 0.54 4.45 0.10 4.22 0.57 4.63 0.43 ใหเ้ อ้อื ต่อการเรียนรู้ 3. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหร้ ู้และเขา้ ใจในการ 4.68 0.42 4.48 0.13 4.33 0.48 4.33 0.48 จดั การเรยี นรู้ 4. ประชาสมั พนั ธส์ ร้างความเข้าใจ 4.55 0.50 4.49 0.24 4.16 0.61 4.72 0.37 5. การจดั ระบบนิเทศภายใน กำกบั ติดตามและ 4.72 0.37 4.51 0.12 4.31 0.54 4.26 0.49 ประเมนิ ผล รวม 4.63 0.44 4.47 0.10 4.26 0.49 4.63 0.44 274

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี จากตารางที่ 3 พบว่า ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมและรายด้าน พบวา่ ครทู ่ีปฏบิ ตั ิการสอนในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยภาพรวมมีค่าเฉลยี่ ความคิดเห็นอยู่ในระดบั มากท่ีสุด (X = 4.63, S.D. = 0.44) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่ 5 การจัดระบบนิเทศภายใน กำกับ ติดตามและประเมินผลมี คา่ เฉลี่ยสูงสุด (X = 4.72, S.D. = 0.37) รองลงมาคอื ดา้ นที่ 3 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหร้ ู้และเขา้ ใจในการจัดการเรียนรู้ (X = 4.68, S.D. = 0.42) ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านที่ 4 ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ (X = 4.55, S.D. = 0.50) ครูท่ีปฏิบัตกิ ารสอนในโรงเรียนขนาดกลาง โดยภาพรวมมีคา่ เฉลี่ยความคิดเหน็ อยู่ในระดับมาก (X = 4.47, S.D. = 0.10) และเม่อื พิจารณาเป็นรายดา้ นพบวา่ ดา้ นที่ 5 การจัดระบบนิเทศภายใน กำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลมีค่าเฉล่ีย สูงสุด (X = 4.51, S.D. = 0.12) รองลงมาคือ 4 ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ (X = 4.49, S.D. = 0.24) ส่วนด้านที่มี ค่าเฉล่ยี ต่ำสดุ คือด้านท่ี 1 สง่ เสริมการพัฒนาการจดั ทำหลักสูตรและการจดั การเรยี นรู้ (X = 4.40, S.D. = 0.14) ครูท่ีปฏิบัติการสอนในโรงเรียนขนาดใหญ่ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (X = 4.26, S.D.=0.49) และเมื่อพจิ ารณาเป็นรายด้านพบว่า 3 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้รู้และเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉล่ีย สูงสดุ (X = 4.33, S.D. = 0.48) รองลงมาคอื 5การจัดระบบนิเทศภายใน กำกบั ติดตามและประเมนิ ผล (X = 4.31, S.D. = 0.54) สว่ นด้านทมี่ คี ่าเฉลีย่ ต่ำสุดคอื ด้านท่ี 4 ประชาสมั พันธส์ ร้างความเขา้ ใจ (X = 4.16, S.D. = 0.61) ครทู ี่ปฏบิ ัตกิ ารสอนในโรงเรียนขนาดใหญพ่ ิเศษ โดยภาพรวมมีค่าเฉลย่ี ความคิดเหน็ อยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.63, S.D.=0.44) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่ 4 ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจมคี ่าเฉลี่ยสูงสุด (X = 4.72, S.D. = 0.37) รองลงมาคือ 1. สง่ เสริมการพฒั นาการจดั ทำหลกั สตู รและการจดั การเรยี นรู้ (X = 4.68, S.D. = 0.42) สว่ นด้านที่มคี า่ เฉลยี่ ต่ำสดุ คอื ด้านที่ 5.การจดั ระบบนเิ ทศภายใน กำกับ ตดิ ตามและประเมินผล (X = 4.26, S.D. = 0.49) ตารางท่ี 4 แสดงผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ี เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยภาพรวมและรายด้าน จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา บทบาทผู้บรหิ ารสถานศึกษาในการสง่ เสริมการ แหล่งความ df SS MS F Sig. จดั การเรยี นรูท้ เ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ แปรปรวน 2 1.65 0.83 3.68* 0.03 164 36.84 0.23 1. ส่งเสริมการพัฒนาการจัดทำหลักสูตรและการ ระหว่างกลมุ่ 166 38.49 2 2.49 1.24 4.14* 0.02 จัดการเรยี นรู้ ภายในกลุ่ม 164 49.29 0.30 166 51.77 รวม 2. ส่งเสรมิ การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้ ระหว่างกล่มุ เอ้ือตอ่ การเรียนรู้ ภายในกล่มุ รวม 275

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี บทบาทผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในการสง่ เสริมการ แหล่งความ df SS MS F Sig. จดั การเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ แปรปรวน 2 2.04 1.02 4.83* 0.01 164 34.56 0.21 3. พัฒนาครูและบุคลากรให้รู้และเข้าใจในการ ระหว่างกลมุ่ 166 36.59 จัดการเรียนรู้ ภายในกลุ่ม 2 3.34 1.67 5.01* 0.01 164 54.60 0.33 รวม 166 57.93 4. ประชาสัมพนั ธส์ ร้างความเขา้ ใจ ระหวา่ งกลุม่ 2 2.77 1.39 5.51* 0.01 164 41.24 0.25 ภายในกลมุ่ 166 44.01 รวม 2 2.37 1.19 5.42* 0.01 164 35.88 0.22 5. การจัดระบบนิเทศภายใน กำกับ ติดตามและ ระหวา่ งกลมุ่ 166 38.25 ประเมินผล ภายในกลุ่ม รวม โดยรวม ระหว่างกลมุ่ ภายในกลมุ่ รวม จากตารางที่ 4 พบว่า ครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับบทบาทผู้บริหาร สถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน ทั้งโดยภาพรวมและรายดา้ นแตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .05 สรปุ ผลการวิจัย จากการวิเคราะหข์ อ้ มูล ผูว้ ิจัยสรุปผลการวิจยั ได้ดงั ต่อไปน้ี 1. บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ใน ระดบั มาก ด้านทมี่ คี ่าเฉลย่ี สงู สุด คือพัฒนาครูและบคุ ลากรให้รแู้ ละเขา้ ใจในการจัดการเรียนรู้ รองลงมาคอื การจัดระบบ นเิ ทศภายใน กำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผล สว่ นดา้ นท่มี คี ่าเฉลีย่ ตำ่ สุด คือ การประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ 2. บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ด้านการส่งเสริมการพัฒนาการจัดทำหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ โดย ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก 3. บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ด้านการส่งเสริมการจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้เอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมอื่ พิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ ทกุ ข้ออย่ใู นระดับมาก ข้อทมี่ ีคา่ เฉล่ยี สงู สดุ คือผู้บรหิ ารส่งเสริม การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน รองลงมา คือ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับการ 276

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พฒั นาสิง่ แวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้ ส่วนข้อที่มคี า่ เฉลี่ยต่ำสุด คือ ผู้บรหิ ารประเมนิ ผลการจัดสภาพแวดล้อมท่ี เอือ้ ต่อการเรยี นการสอน 4. บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรให้รู้และเข้าใจในการจัดการเรียนรู้โดยภาพ รวมอยู่ในระดบั มาก เม่อื พจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกขอ้ อยใู่ นระดับมาก ข้อที่มีคา่ เฉล่ียสงู สุด คือ ผู้บริหารส่งเสริมให้ ครูนำผลการวิจยั ในชั้นเรียนไปปรบั ปรงุ และแก้ปัญหาพฒั นาผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล รองลงมา คอื ผบู้ รหิ ารส่งเสริมให้ครู ทำวิจยั ในช้ันเรียน ส่วนขอ้ ท่ีมีคา่ เฉลี่ยต่ำสุด คอื ผู้บริหารสง่ เสริมใหว้ ิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นมีส่วนร่วม ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 5. บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน ด้านการประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ โดย ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า ทกุ ขอ้ อยูใ่ นระดับมาก ขอ้ ทมี่ คี า่ เฉล่ยี สงู สดุ คือผบู้ รหิ ารเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร รายงานความก้าวหน้า ชี้แจงให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้าใจบทบาทในการมีส่วนร่วมส่งเสริมจัดกิจกรรม การเรียน รู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยการใช้สื่อที่หลากหลายให้ผู้ปกครองและชุมชนทราบ รองลงมา คือ ผู้บริหาร กำหนดนโยบายในการเผยแพร่ข่าวสารของสถานศึกษาเพื่อให้ชุมชนทราบถึงแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ส่วนข้อที่มี ค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ผู้บริหารเชิญบุคลากร ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนที่มีความรู้ความสามารถ เข้าร่วมในการจัดการ เรยี นรู้และจดั ทำหลักสตู รท้องถนิ่ ทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ 6. บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน การจัดระบบนิเทศภายใน กำกับ ติดตามและประเมินผล โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกขอ้ อยู่ในระดับมาก ขอ้ ที่มีค่าเฉลย่ี สูงสุด ผู้บริหารสนับสนุนส่งเสริมให้นำ ผลการประเมินด้านต่างๆ ไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ รองลงมา คือผู้บริหาร ประเมินผลและนำผลการนเิ ทศมาวเิ คราะห์เพ่ือวางแผนการจดั การเรยี นรูท้ เ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญผ้บู ริหารประเมนิ ผลและ นำผลการนิเทศมาวเิ คราะห์เพ่ือวางแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ส่วนข้อทม่ี คี ่าเฉลย่ี ต่ำสุด คอื ผู้บริหาร สร้างความร้คู วามเขา้ ใจให้กับบุคลากรเก่ยี วกับการวดั และประเมนิ ผลการจัดการเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ 7. ผลการเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน พบว่า ครูที่ปฏิบัติงาน อยู่ใน โรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเปน็ สำคัญ สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ท้งั โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพบว่าครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนขนาดเล็กมีความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมาคอื ครูที่ปฏิบตั งิ านในโรงเรยี นใหญ่ และครูท่ปี ฏบิ ตั ิงานในโรงเรียนขนาดกลางตามลำดับ สว่ นครูท่ีมีปฏิบัติงาน ในโรงเรียนขนาดใหญพ่ ิเศษ มีระดับความคิดเหน็ นอ้ ยทส่ี ดุ 8. ผลการเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน พบว่า ครูที่มี ประสบการณ์ในการทำงานต่างกันมีความคิดเห็นต่อระดับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัด 277

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี กระบวนการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั ท้งั โดยภาพรวมและรายดา้ นทุกด้านไม่แตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติ โดย พบว่าครทู ี่มีประสบการณ์ในการทำงาน ระหว่าง 5- 10ปี มรี ะดับความคิดเหน็ มากท่ีสุด รองลงมาคอื ครูท่มี ปี ระสบการณ์ใน การทำงาน มากกว่า 10 ปี และครูทีม่ ปี ระสบการณ์ในการทำงาน ต่ำกวา่ 5 ปี มีระดบั ความคิดเห็นนอ้ ยท่ีสุด การอภิปรายผล ผ้วู ิจัยเสนอการอภปิ รายผลเฉพาะประเดน็ สำคัญ ดงั น้ี 1. บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้พบว่า บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก อาจเนื่องมาจาก พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ หมวดท่ี 8 มาตรา 58 ไดก้ ำหนดไว้ว่า ให้บุคคล ครอบครวั ชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น องค์กรเอกชน สถาบันศาสนา และสถานประกอบการ มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพย์สินหรือ ทรัพยากรอื่นๆ ให้แก่สถานศึกษา และมีส่วนร่วมในการรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความ จำเปน็ จงึ ทำให้ผู้บริหารสถานศึกษาได้เล็งเหน็ ความสำคัญจึงจัดให้มีการสร้างเครอื ข่ายการมสี ว่ นร่วมของผ้ปู กครองและ ชุมชน ในการส่งเสริมสนับสนุนในการจัดการศึกษาซึ่งสอดคล้องกับ อรพินท์ สพโชคชัย (2551) ที่ได้กล่าวถึง แนว ทางการจัดการศึกษาในปัจจุบันว่าผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นต้องมีวิสัยทัศน์ และต้องแสดงบทบาทที่สำคัญในการ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา โดยเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มในด้านการบริหารงานวิชาการ การ บริหารงานบุคลากร การบริหารงบประมาณ และการบริหารทั่วไป เพื่อให้การจัดการศึกษาประสบผลสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ อุดม ธาระณะ(2553) ที่ได้ทำการวิจัยเรื่อง บทบาทผู้บริหาร สถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษากำแพงเพชร เขต 2 ผลการวิจัยพบว่าบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในการส่งเสริมการจัด กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับผลการวิจัย และยัง สอดคลอ้ งกบั ผลการวิจัยของ เชวง เพชรภา (2553) ท่ีได้ทำการวิจยั เรือ่ งบทบาทผบู้ ริหารสถานศกึ ษาในการส่งเสริมการ จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 3 ผลการวิจัยพบว่า ความเห็นของครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับ สมหมาย ออ่ นดอนกลอย ทีไ่ ดก้ ลา่ วถงึ ความสำคญั ของการสร้างเครือขา่ ยวา่ ผู้บรหิ ารตอ้ งปรับบทบาทการสร้างเครอื ข่ายการเรียนรู้ ท้ังภายใน ภายนอกสถานศกึ ษา เพ่อื พัฒนาผเู้ รยี นให้มีความร้คู วามสามารถ มที กั ษะเทา่ เทยี มเป็นท่ียอมรับของชาติต่างๆ และสามารถดำรงชวี ิตไดอ้ ยา่ งมีความสขุ 2. ผลเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน และประสบการณ์ในการ ทำงาน 2.1 ผลการเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการสง่ เสรมิ การจัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตามขนาดของโรงเรียน พบว่า ครูที่ปฏิบัติการสอนใน 278

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี โรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ทั้งโดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่าง กนั อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิที่ .05 และเป็นไปตามสมมติฐานท่ีต้งั ไว้ โดยพบว่า ครทู ป่ี ฏบิ ัติการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก มีระดับความคิดเหน็ สูงกว่าทั้งน้ีอาจเป็นเพราะว่าความคิดเหน็ ของครูตอ่ บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษา นี้เป็นเร่อื งของ มมุ มองของครตู ่อผ้บู ริหารสถานศึกษา ดังนนั้ ในโรงเรียนขนาดเลก็ มีจำนวนนักเรยี นน้อยและจำนวนครกู น็ ้อย อาจทำให้ ผู้บริหารสถานศึกษาได้มีโอกาสได้ใกล้ชิด มีโอกาสที่จะสัมพนั ธ์กบั คุณครูทกุ ท่านมาก ทำให้ครูได้มองเห็นบทบาทของ ผู้บริหารได้อยา่ งชัดเจน ส่วนครูท่ีปฏิบัตกิ ารสอนในโรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวนนักเรียนก็มากจำนวนครูก็มาก โอกาสที่ ผู้บริหารสถานศึกษาจะมโี อกาสใกล้ชิดสัมพันธ์กับครทู ุกท่านอาจจะน้อยกวา่ ส่งผลให้ครูที่ปฏิบัติงานโนโรงเรยี นขนาด เล็กมรี ะดบั ความคิดเหน็ สงู กว่า ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ อุไรวรรณ ฉัตรสภุ างค์ (2551) ไดท้ ำการวิจยั เร่ือง บทบาท ผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียนเอกชน จังหวัดสมุทรปราการ ผลการวจิ ยั พบว่า ครูที่ปฏบิ ัติงานในโรงเรียนทม่ี ีขนาดต่างกันมีความคดิ เหน็ ว่าผู้บริหารมีบทบาท ในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ยั ของ สรพงษ์ จนั ทรพ์ ราหมณ์ (2555) ไดท้ ำการวิจัยเรื่อง การส่งเสรมิ การจดั กิจกรรม การเรยี นการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า การสง่ เสริมการจัดกระบวนการเรยี นร้ทู เ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญของผ้บู รหิ ารโรงเรียนประถมศกึ ษา สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาระยองเขต 2 จำแนกตามขนาดโรงเรยี น พบว่า แตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05 และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ อดิศักดิ์ สำนักบ้านโคก ได้ทำการวิจัยเร่ือง บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานในการจัดการเรยี นรทู้ ี่เน้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั อำเภอเซกา จังหวดั หนองคาย ผลการวจิ ยั พบว่า เปรยี บเทยี บบทบาท ของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จำแนกตามขนาดของ สถานศกึ ษาโดยภาพรวมแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ิ ทรี่ ะดับ .01 2.2 ผลการเปรยี บเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศกึ ษาในการส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน พบว่า ครูที่มี ประสบการณ์ในการทำงานตา่ งกนั มีความคดิ เหน็ ตอ่ ระดบั บทบาทผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจดั การเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ทั้งโดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านไม่ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และไม่เปน็ ไปตามสมมตฐิ านท่ีตั้งไว้ อาจเป็นเพราะผู้บรหิ ารสถานศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจ และให้ความสำคัญของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และได้มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั อยา่ งต่อเนื่อง ทำให้ครทู กุ คนมีความรู้ความเข้าใจมีความสามารถ ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ทำให้ผลจากประสบการณ์ในการสอนของครูแต่ละคนไม่ส่งผลต่อความ คิดเห็นของครเู กี่ยวกับบทบาทของผ้บู ริหารโรงเรยี นในการส่งเสริมการจัดการเรียนรทู้ ่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ดังน้ันความ คิดเห็นของครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน จึงมีความคิดเห็นต่อระดับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาไม่ แตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ เชวง เพชรภา ได้ทำการวจิ ัยเร่ืองบทบาทผู้บรหิ ารสถานศึกษาในการส่งเสริม การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 3 ผลการวจิ ยั พบว่า ความเห็นของครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยภาพรวมและ 279

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รายด้านไมแ่ ตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ แตไ่ ม่สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ สภุ าพร ศรีสรุ ะ (2557) ได้ทำการวิจัย เรอ่ื ง บทบาทผูบ้ ริหารในการสง่ เสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ของโรงเรยี นประถมศึกษาสังกัด สานักการศกึ ษากรุงเทพมหานคร ผลการวจิ ัยพบว่าผ้บู ริหารสถานศึกษาสงั กดั สำนักการศึกษากรงุ เทพมหานครมีบทบาท ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับบทบาทผู้บริหารในการส่งเสริมการจดั กระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั แตกต่างกันอยา่ งมีนัยสำคัญ ทางสถิติท่ี 0.01 และไม่สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของ กฤชณรงค์ สภุ าพ (2559) ทีพ่ บว่า โดยภาพรวมผู้บรหิ ารสถานศึกษาท่ี มีประสบการณ์ในการบริหารตา่ งกนั มีบทบาทในการสง่ เสริมการจัดการเรียนรทู้ ่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญแตกต่างกัน โดยมี บทบาทแตกต่างกันใน 4 ด้าน คือ ด้านการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ด้านการจัด บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และด้านการจัดสรรทรัพยากร เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบว่า ผู้บริหารที่มีประสบการณ์ในการบริหารต่ำกว่า 5 ปี มีบทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั แตกตา่ งจากผู้บรหิ ารท่ีมีประสบการณ์ในการบรหิ ารระหวา่ ง 5-10 ปี และมากกวา่ 10 ปขี นึ้ ไปในทกุ ดา้ น ท้ังนี้ อาจเป็น เพราะว่าผู้บริหารที่มีประสบการณ์มากกว่าจะมีวุฒิภาวะ มีความเชี่ยวชาญในการตัดสินใจการแก้ไขปัญหาในการ ปฏิบัติงาน และยังมีโอกาสทีไ่ ดเ้ ขา้ รบั การอบรม การสัมมนาเพื่อพฒั นาทักษะตา่ งๆ ในด้านการบรหิ ารบ่อยครั้งกว่า จึง ทาใหม้ กี ารแสดงพฤติกรรมตามบทบาทในการบรหิ ารแตกตา่ งจากผทู้ มี่ ีประสบการณ์ในการบริหารนอ้ ยกว่า ขอ้ เสนอแนะการวิจัย จากผลการวิจัยดงั กล่าวผวู้ ิจัยได้ใหข้ ้อเสนอแนะ 2 ประการ คอื ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับ การนำผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ และขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกับประเด็นปัญหาท่คี วรศึกษาวจิ ัยต่อไปในอนาคต ดังนี้ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ 1.1 ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรให้รู้และเข้าใจในการจดั การเรียนรู้โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก แต่เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อจะเห็นว่า การส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยวิธีที่หลากหลาย ดังนั้นผู้บริหาร สถานศึกษา จึงควรส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยวิธีที่หลากหลาย จัดกิจกรรมและสถานการณ์ให้ นกั เรยี นไดแ้ สดงออกและคดิ อย่างสร้างสรรค์ใชแ้ หลง่ เรียนร้ทู ่ีหลากหลายและเช่ือมประสบการณก์ ับชีวิตจริงเพื่อเป็นการ ส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้และ สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศกั ยภาพของตนเอง 1.2 ด้านการจัดระบบนิเทศภายใน กำกับ ติดตามและประเมินผล โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก แต่เม่ือ พจิ ารณาเป็นรายขอ้ จะเห็นว่าดา้ นการนำผลการนเิ ทศมาวิเคราะหเ์ พ่ือวางแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ มคี ่าเฉลี่ยต่ำกวา่ ทกุ ขอ้ ดงั นัน้ ผู้บริหารสถานจึงควรนำผลการนเิ ทศมาวเิ คราะหเ์ พ่อื วางแผนการจัดการเรยี นรู้ท่เี นน้ ผู้เรียน เปน็ สำคญั และติดตามประเมินผลอยา่ งต่อเนอ่ื ง 1.3 ด้านการสง่ เสริมการพัฒนาการจดั ทำหลกั สูตรและการจัดการเรยี นรู้โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก แต่เม่ือ พจิ ารณาเป็นรายข้อ จะเห็นวา่ ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูจดั ทำสาระท้องถน่ิ อย่างจรงิ จัง จึงควรเปิดโอกาสให้ครู มีส่วนร่วม ในการจัดทำสาระทอ้ งถ่นิ รว่ มกนั อยา่ งจริงจัง 280

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 1.4 ด้านการสง่ เสรมิ การจัดบรรยากาศและภาพแวดล้อมใหเ้ อือ้ ต่อการเรยี นรู้โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก แต่ เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อจะเห็นว่า การระดมทรพั ยากรต่างๆ ในท้องถ่ินเพอื่ ประโยชน์ในการจดั สภาพแวดล้อม ผู้บริหาร สถานสถานศกึ ษา จงึ ควรหาแนวทางในการระดมทรัพยากรต่างๆ ในทอ้ งถนิ่ เพอื่ ประโยชน์ในการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือ ตอ่ การเรยี นการสอนใหม้ ากขนึ้ 1.5 ด้านการประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจ มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าทุกด้านดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาควรมี การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ กับบุคลากรทุกฝ่ายให้ได้ทราบถึงแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนการ สอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั 2. ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาวิจยั ต่อไป 2.1 ควรศึกษาบาทบาทในการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหาร สถานศึกษาในโรงเรียนเอกชนในกำกับของสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยใช้การวิจัยเชิง คุณภาพหรือการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research : AR) หรือการวิจัยและพัฒนา (Research & Development : R&D) จะทำใหไ้ ดข้ อ้ ค้นพบที่ละเอยี ด ลกึ และผลจาก การวิจัยสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นการพัฒนาได้ 2.2 ควรศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างบทบาทในการสง่ เสริมการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนเอกชนในกำกับของสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนกับ ประสทิ ธิผลของโรงเรียน เอกสารอ้างองิ กฤชณรงค์ สุภาพ. (2559). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญใน สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช. เชวง เพชรภา. (2553). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ของ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา. มหาวทิ ยาลัยราชภัฎเลย. ทิศนา แขมมณี. (2545). กระบวนการเรียนรู้ ความหมาย แนวทางการพัฒนาและปัญหาข้องใจ. กรุงเทพฯ : พัฒนา คณุ ภาพวิชาการ (พว.). พิมพ์พันธ์ เตชะคุปต์. (2544) . การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : แนวคิดวิธีและเทคนิคการสอน 1. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอรก์ รุป๊ แมเนจเมนท.์ พิมพ์อร สดเอี่ยม. (2557). สถิติสำหรับการวิจัยทางการศึกษา. เอกสารประกอบการสอน. ภาควิชาการบริหาร การศึกษา, มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตศรลี ้านชา้ ง. ภัทราพร เกษสังข์. (2549). การวิจัยการศึกษา. เลย: ภาควิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะคุรุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย. ศศิธร เวยี งวะลัย. (2556). การจัดการเรียนรู้. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร.์ 281

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สมหมาย อ่อนดอนกลอย. (2556). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2546). พระราชบัญญัติสภาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ: โรง พิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว. สริ ินภา จงทำมา. (2559). บทบาทของผู้บริหารสถานศกึ ษาในการส่งเสรมิ การะบวนการจัดการเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเป็น สำคัญของโรงเรียนเอกชนในกำกับของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลยั . สรพงษ์ จันทร์พราหมณ์. (2555). การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของผูบ้ ริหาร โรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาระยอง เขต 2 วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา.คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. สนุ ทร โคตรบรรเทา. (2552). หลักการและทฤษฎกี ารบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน. สุภาพร ศรีสรุ ะ. (2557). บทบาทผ้บู รหิ ารในการส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ของโรงเรียน ประถมศึกษาสังกัดสานักการศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. สาขาวชิ าการการบรหิ ารการศึกษา. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั . อภิศักดิ์ สำนักบ้านโคก. (2553). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาขึ้นพื้นฐานในการจัดการเรียนรูท้ ี่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหาร การศกึ ษา. มหาวิทยาลัยนครพนม. อรพินท์ สพโชคชยั . (2551) . หลกั สำคัญในการบรหิ ารราชการแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: สำนกั งานรบั รองมาตรฐาน และประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน). อุดม ธาระณะ. (2553). บทบาทผบู้ ริหารสถานศกึ ษาในการสง่ เสริมการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 2.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา บัณฑติ . สาขาการบริหารการศกึ ษา. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎกำแพงเพชร. อไุ รวรรณ ฉตั รสภุ างค์. (2551). บทบาทของผู้บริหารโรงเรียนในการสง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนเอกชน จงั หวัดสมทุ รปราการ.วิทยานพิ นธ์ ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช Lang.(1997).Relationships between Teacher Change in Attitude toward Science and Some Professional Variables. Journal of Research in Science Teaching. 282

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี การขอตำแหนง่ ทางวิชาการ: ปจั จัยเอือ้ ปญั หาและอปุ สรรค ที่อาจารยอ์ ุดมศึกษาต้องเผชญิ Academic Promotion: The Factors Conducing, Problems and Obstacles of Instructors Confronted ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรุดา ชยั สวุ รรณ คณะการจัดการการศึกษาเชงิ สร้างสรรค์ สถาบนั การจัดการปัญญาภิวฒั น์ E-mail [email protected]; [email protected] บทคดั ย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยเอื้อในการขอตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ใน สถาบันอุดมศึกษา ประกอบด้วย ปัจจัยระดับสถาบัน ได้แก่ 1) วัฒนธรรมองค์การ 2) ค่านิยมในการทำงานของผู้บริหาร 3) การสง่ เสริมสนบั สนนุ จากสถาบนั ปจั จัยระดับบุคคล ได้แก่ 1) การมองเหน็ คุณค่าในตนเอง 2) แรงจงู ใจในการขอตำแหน่ง ทางวิชาการ 3) เจตคติต่อการเข้าสูต่ ำแหน่งทางวิชาการ4) การพัฒนาตนเอง ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการขอตำแหน่งทาง วชิ าการของอาจารย์ในสถาบันอุดมศกึ ษา ได้แก่ ความต่อเน่อื งของอาจารย์ผูส้ อนในรายวิชา ภาระงานสอนมาก การมสี ว่ นร่วมใน ผลงานทางวิชาการ ความเข้าใจในระเบียบ หลกั เกณฑ์ ความลา่ ช้าของการบรหิ ารจัดการ อาจารย์ขาดประสบการณ์การวิจยั การ รบั รู้ข้อมูลทคี่ ลาดเคลอ่ื นและปญั หาจากผู้ทรงคุณวฒุ ปิ ระเมินผลงานทางวิชาการ คำสำคญั : การขอตำแหนง่ ทางวชิ าการ ปจั จัยเอือ้ ปญั หาและอปุ สรรค อาจารย์ ,อดุ มศึกษา ABSTRACT This paper’s objective is to present the concept of facilitating factors in applying for academic position of instructors in higher education institutions. Institutional level factors comprised of 1) organizational culture, 2) work value of the administrators, 3) promotion and supporting from institutes, and personal factors comprised of 1) self-esteem, 2) motivation in applying for academic position, 3) attitude toward applying for academic position, and 4) self-academic development. The problems and obstacles in applying for academic position of instructors in higher education institutions are as follows: continuity of the instructors in the course, more teaching load, participation in academic works, regulation, the criteria and procedures knowledge and understanding in applying for the academic position, academic time management delayed, lack of research experience, perception of misleading information, and problems from reviewers who evaluate academic performance. KEYWORDS: Academic Promotion, Factors Conducing, Problems and Obstacles, Instructors, Higher Education 283

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บทนำ สถาบนั อดุ มศกึ ษาถือเป็นขุมปัญญาของประเทศ การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจึงเปน็ การพฒั นากำลังคน ระดับสูงที่มีคุณภาพเพื่อการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน เนื่องจากมีบุคคลที่เป็นทรัพย์กำลังและมันสมองของประเทศที่ สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ดำเนินไปอย่างตอ่ เนื่อง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบและมี คุณภาพตามมาตรฐานดังนั้นผู้รับผิดชอบจะต้องส่งเสริมให้อาจารย์ในสถาบนั ทำการศกึ ษาวจิ ัยเพื่อแสวงหาและพฒั นา องค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอน รวมทั้งการแกไ้ ขปัญหาและพฒั นา ประเทศ การดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นสิ่งสะท้อนการปฏิบัติงานดังกล่าวของอาจารย์ตามพันธกิจของหลักสูตร (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2558 ; เบญจมาส วงศ์สัตยนนท์ (2562) เพื่อให้ได้บุคลากรทีม่ ีคณุ วุฒิ และ คณุ สมบัตทิ ีเ่ หมาะสมในการผลิตบัณฑติ ในสาขาวิชาที่ใหบ้ ริการ ดงั นั้นอาจารยจ์ ึงเป็นตวั แปรท่สี ำคัญอย่างย่งิ ของการจัด การศึกษาในระดบั อุดมศกึ ษา (ศิวาพร ยอดทรงตระกลู , 2562) สิ่งท้าทายที่สำคัญที่สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งจะต้องพยายามให้บรรลุผลสำเร็จ ทุกสถาบันจะต้องมุ่งหา แนวทาง ในการพฒั นาเพ่อื ความเป็นเลิศทางวชิ าการซึ่งหมายถึง ความสมบรู ณ์สงู สดุ ทางวชิ าการในสาขาวิชาการน้ันๆ ท่ีจะพงึ เปน็ ไปได้ และเหมาะสมกบั บริบทของสถาบัน อันหมายรวมถึง ผลงาน ความสามารถของอาจารย์และนักศึกษา หลักสูตรการสอน การประเมินผล และกระบวนการอื่น ๆ ในสถาบันซึ่งเกี่ยวข้องกบั งานวชิ าการ รวมทั้งคุณลักษณะ และองคป์ ระกอบของสภาพแวดล้อมในสถาบนั ทางกายภาพ และบคุ ลากรต่าง ๆ ที่มีสว่ นรว่ มให้เกิดความเปน็ เลิศ การ พัฒนาตนเองจากการผลิต ผลงานวิชาการประเภทต่างๆอย่างต่อเนื่อง ผลงานทางวิชาการเป็นตัวบ่งชี้ที่สำคัญในการ แสดงให้เหน็ วา่ อาจารย์ได้สร้างสรรค์ข้นึ จากองคค์ วามร้เู พือ่ แสดงให้เหน็ ถึงความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการอยา่ งตอ่ เน่ือง ทำให้ มีคุณค่าทางวชิ าการ เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้ทรงคุณวุฒทิ ี่มีความรู้ความสามารถ ก่อให้เกดิ องค์ความรู้ใหม่ สมควรส่งเสริมใหม้ ีการเผยแพรแ่ ละนำไปใชป้ ระโยชน์ท้งั ในเชงิ วิชาการและการแข่งขันของประเทศ ตำแหนง่ ทางวิชาการเปน็ การสร้างความกา้ วหนา้ ในวชิ าชพี สำหรบั อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา เป็นตวั ชวี้ ัดเพ่ือ ใชใ้ นการจัดอนั ดบั สถาบนั เป็นตัวชว้ี ัดคณุ ภาพในระบบประกันการศึกษา แต่การทีอ่ าจารย์จะขอตำแหนง่ ทางวิชาการได้ นอกจากความเช่ียวชาญในสายวิชาชีพแลว้ การสอนและงานวจิ ยั ก็เปน็ ส่วนท่ีสำคญั ภาระงานตา่ ง ๆ ของอาจารย์อาจทำ ใหไ้ ม่สามารถจัดการเวลาในการพัฒนาตำแหนง่ ทางวชิ าการได้ รวบไปถงึ หลกั เกณฑ์และวธิ ีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งทางวชิ าการที่มี การเปลี่ยนแปลงในชว่ งรอยต่อระหว่างการเปล่ียนหลกั เกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งต้ัง บคุ คลใหด้ ำรงตำแหน่งทางวชิ าการในปี 2563 (คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ, 2563) การ เข้าสู่ตำแหนง่ ทางวิชาการจึงเป็นเสมอื นหนึง่ รางวัลแห่งความก้าวหน้า และความสำเร็จในวชิ าชีพ ผู้ที่ได้รับการกำหนด ตำแหน่ง และระดับตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้นย่อมได้รับความคาดหวังว่าจะต้องทำการศึกษา และผลิตผลงานทาง วชิ าการทม่ี คี ุณภาพ ดงั น้ันการเขา้ สู่ตำแหน่งทางวชิ าการจึงเปน็ ดัชนีคุณภาพและความสำเร็จของมหาวิทยาลัย กล่าวคือ หากมหาวิทยาลัยมีปริมาณของอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการสูง ก็จะสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ ความ น่าเชื่อถือ ตลอดจนเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความมีคุณภาพ และศักยภาพของสถาบัน (จันทนันท์ จารุโณปถัมภ์, สญั ญา เคณาภูมิ, 2558) ในรอบ 15 ปีที่ผ่านมา อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพจาก ขา้ ราชการ ไปเปน็ พนกั งานมหาวทิ ยาลัยอย่างตอ่ เนือ่ งประกอบกับเป็นชว่ งระยะเวลาทีม่ อี าจารยร์ ุ่นอาวุโสเป็นจำนวน 284

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มากทยอย การเกษียณอายุ ทำให้เกิดการรับอาจารย์รุ่นใหม่มาทดแทนในระยะเวลาอันสั้น ส่งผลให้ภาพรวมมีการ เพิ่มขึ้นของจำนวนอาจารย์ในอุดมศึกษาของประเทศไทยทั้งสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน (176 สถาบันในปี 2565) จำนวนเกอื บ 59,799 คน ดังตาราง 1 ตาราง 1 ตารางแสดงจำนวนผู้ดำรงตำแหน่งทางวชิ าการ แยกตามประเภทสังกดั ประเภทสงั กัด อ. ผศ. ผศ. รศ. รศ. ศ. ศ. ศ.11 รวม พิเศษ พเิ ศษ พิเศษ ทัง้ หม ด ประเภทสังกัด : สถาบันอดุ มศกึ ษาของรฐั มหาวิทยาลยั ของรฐั 13270 6050 6 2849 7 221 68 26 22497 มหาวิทยาลยั 23 2781 29 1 530 0 ในกำกับของรัฐ 8074 3841 30 6,160 36 548 47 89 15432 10 0 0 10177 มหาวิทยาลัยราชภัฏ 7044 2592 62 425 11 779 115 115 48,106 0 30 0 รวม 28,388 12,483 0 22 0 62 477 11 ประเภทสังกัด : สถาบันอุดมศึกษาของเอกชน 0 00 มหาวทิ ยาลัยเอกชน 7823 1850 0 00 59 6 2 10238 92 6,637 47 7 1 0 857 วิทยาลยั เอกชน 725 94 2 0 0 377 68 7 2 11,472 สถาบัน 250 103 รวม 8,798 2,047 ประเภทสงั กัด : วทิ ยาลัยชมุ ชน วิทยาลยั ชมุ ชน 220 1 0 0 0 221 0 0 0 221 รวม 220 1 847 122 117 59,799 รวมท้งั หมด 37,406 14,531 ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา. (2565). ทำเนียบผู้ดำรงตำแหน่งทางวชิ าการแหง่ ชาต.ิ ** ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 15/02/2565 14:02:10 ** 285

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ** ข้อมูล ณ วนั ที่ 15/02/2565 14:02:10 ** ภาพท่ี 1 กราฟแสดงจำนวนผดู้ ำรงตำแหนง่ ทางวชิ าการภาพรวม ภาพที่ 2 กราฟแสดงจำนวนผู้ดำรงตำแหน่ง ภาพท่ี 3 กราฟแสดงจำนวนผู้ดำรงตำแหนง่ ทางวชิ าการสถาบนั อุดมศึกษาของรฐั ทางวิชาการสถาบันอุดมศกึ ษาของเอกชน ท่ีมา: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา. (2565). ทำเนียบผดู้ ำรงตำแหน่งทางวิชาการแหง่ ชาติ ** ข้อมลู ณ วันที่ 15/02/2565 14:02:10 ** จากข้อมูลเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ของทำเนียบผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการแห่งชาติ พบว่าอาจารย์ใน สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนมีจำนวน 59,799 คน ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ตำแหน่งทางวิชาการตั้งแต่ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ขึ้นไป จำนวน 22,393 คน คิดเป็นร้อยละ 37.45 และตำแหน่งอาจารย์ 37,406 คน คิดเป็นร้อยละ 62.55 เป็นตัวเลขที่สะท้อนให้เห็นว่า ยังมีอาจารย์อีกจำนวนมากที่เข้ามาสู่สายวิชาชีพอาจารย์ที่ยังคงต้องได้รับการ พัฒนาผลงานทางวิชาการเพื่อยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ อีกทั้งมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย คงต้องมีการกำกบั ดูแลและให้ความสำคัญกับการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา จึงเป็นระบบที่มี ความสำคัญอยา่ งย่งิ ต่อการพัฒนาบคุ ลากร และระบบอดุ มศึกษาของประเทศ ทั้งนี้จาก ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วย ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. 2564ทไี่ ดป้ ระกาศในวนั ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2564 และให้ใช้ ในวันถัดไป ส่งผลกระทบให้อาจารย์ที่ผลิตผลงานทางวิชาการอยู่แล้วเกิดความชะงักและข้อสงสัยที่พึงมีต่อประกาศ ดังกลา่ วเกยี่ วกับทิศทางของการผลิตผลงานทางวิชาการ ตลอดจนการตพี ิมพ์เผยแพรซ่ ึ่งเกณฑ์เดิมท่ีประกาศใช้ยังไม่ถึง 286

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เวลาสิ้นสุดการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ แต่อย่างไรก็ดี การปรับปรุงหลักเกณฑ์การพิจารณากำหนดตำแหน่งทาง วชิ าการของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศกึ ษาในครง้ั ล่าสุดท่ีผ่านมา ไดก้ ่อใหเ้ กิดกระแสวพิ ากษว์ ิจารณก์ ันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในประเด็นความยากงา่ ย ความเหมาะสม ตลอดจนความเป็นมาตรฐานสากล ในภาพรวมการปรับปรุง ดังกล่าวมีเป้าหมายที่ต้องการทำให้ระบบมมี าตรฐานท่ีสูงขึน้ พร้อมกับเปิดช่องทางการจัดทำตำแหน่งทางวิชาการใหม้ ี ความหลากหลายมากขึ้น ซึ่งดูจะมีความสอดคล้องกับบริบทของสังคมวิชาการของประเทศไทยแต่ประเด็นที่ยังคงเปน็ ปญั หาในระบบก็คือกระบวนการและรายละเอยี ดของขัน้ ตอนท่ใี ช้ในการกำหนดตำแหนง่ ยังคงอยู่ในรูปแบบเดิม ตำแหน่งทางวิชาการมคี วามสำคญั ตอ่ วชิ าชีพของอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาเปน็ อย่างยง่ิ เนอ่ื งจากเป็นวชิ าชีพ ที่จะต้องถา่ ยทอดความร้ใู หก้ บั บุคคลในระดบั ปัญญาชน ดังน้ันจึงต้องพัฒนาตนเองใหเ้ กิดองคค์ วามรใู้ หม่ ๆ ดว้ ยการวจิ ัย เขียนเอกสารทางวิชาการ ผลิตตำรา หรือผลงานวชิ าการในลกั ษณะอื่น เพือ่ ประกอบการขอตำแหน่งทางวิชาการอันเป็น ตำแหน่งท่ีบง่ บอกถงึ คุณภาพของอาจารย์ ส่งผลให้อาจารยไ์ ด้รับเกียรติและศักดิศ์ รีต่อวิชาชีพของการสอน เนื่องจาก มหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพ ย่อมบ่งบอกถึง อาจารย์ที่มีคุณภาพ (ศรุดา ชัยสุวรรณและคณะ ,2550) ซึ่งการขอตำแหนง่ ทางวิชาการ ขน้ึ อยกู่ ับปจั จัยหลายประการ ไดแ้ ก่ ความร้คู วามสามารถในการผลติ ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ภาระ งาน ความรับผิดชอบ เจตคติและแรงจงู ใจ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง วฒั นธรรมองค์การ การสนบั สนุนของผู้บริหารสถาบัน และนโยบายองค์การ ในบทความนี้ผู้เขียนขอรวบรวมเสนอแนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยเอื้อ ปัญหาและอุปสรรคในการขอ ตำแหน่งทางวิชาการ เพ่ือนำไปประกอบการพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการในสถาบันอดุ มศกึ ษาได้พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ที่เพิ่มขนึ้ และพฒั นาอาจารย์ให้มคี วามก้าวหนา้ ทางวิชาชีพและนำไปสูค่ ุณภาพระดบั สากลตอ่ ไปได้ สารตั ถะท่ีสำคัญ ตำแหน่งวิชาการของอาจารย์มหาวิทยาลยั ถือได้ว่าเป็นตำแหน่งอันทรงคณุ วฒุ แิ ละทรงเกียรตภิ ูมิ ท่ีประชาคม ของอาจารยม์ หาวิทยาลัยและวงการวิชาการ ตลอดจนสงั คมทั่วไปภายนอกพงึ เชื่อถือได้อย่างสนิทใจว่า มีการได้มาและ การครองตำแหน่งทางวชิ าการ ด้วยความซ่อื สตั ยส์ ุจริต ถูกตอ้ งและชอบธรรม มีคุณภาพและมาตรฐานและประกอบด้วย คุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณทางวชิ าการ วงการมหาวิทยาลัยและระบบอุดมศึกษาของไทย ควรรักษาคุณค่าและ ความนา่ เชื่อถอื ของตำแหน่งวิชาการของอาจารย์มหาวิทยาลัยไวใ้ ห้ย่ังยนื และไมค่ วรทำใหค้ ุณค่าและความน่าเชื่อถือของ ตำแหน่งทางวชิ าการลดน้อยถอยลง (เพทาย เย็นจติ โสมนัส, 2553) ดังนั้นตำแหน่งทางวชิ าการจึงเปน็ ความปรารถนาของ อาจารยท์ กุ คน การมตี ำแหนง่ ทางวิชาการสำหรับวิชาชพี ครู ในระดบั อุดมศึกษามีความสำคญั มาก เริ่มต้ังแต่ในมุมมอง ของนักศึกษา มุมมองจากอาจารย์ด้วยกันเอง และมุมมองจากภายนอก ทั้งนี้ ธีระ รุญเจริญ (2564) ได้ให้แนวคิด เกยี่ วกบั ตำแหน่งทางวิชาการไวด้ ังนี้ 1. ตำแหนง่ ทางวิชาการ คอื ตำแหนง่ แท้ๆ และเป็นตำแหน่งตัวบคุ คล ตำแหนง่ บริหารเปน็ ตำแหนง่ เฉพาะกจิ 2. การขอตำแหนง่ ทางวชิ าการ ผขู้ อต้องสอดคลอ้ งกับสาขาวชิ าท่ขี อเปน็ หลกั 3. เป้าหมายของการขอตำแหน่งทางวิชาการ คือ การพัฒนาการเพิ่มองค์ความรู้ให้แก่วิชาชีพ (Professional) และเพ่ือประสิทธภิ าพในการสอน เพ่อื คณุ ภาพในการสอน ไม่ใชเ่ พม่ิ รายไดเ้ ปน็ หลกั 4. ตำแหนง่ ทางวชิ าการจำเป็นตอ้ งอาศยั หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารตามทีก่ ำหนดและมีจรรยาบรรณ 5. วฒั นธรรมของแต่ละสาขาวชิ ามีผลต่อการพจิ ารณาดว้ ย 287

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 6. ผลงานทางวิชาการจะเนน้ คณุ ภาพเป็นหลัก การเข้าสูต่ ำแหน่งทางวิชาการของอาจารยเ์ ปน็ เสมือนหนึง่ รางวัลแห่งความก้าวหน้าและความสำเร็จในวิชาชีพ เป็นดัชนีคุณภาพและความสำเร็จของสถาบันการศึกษา หากมีปริมาณของอาจารย์ที่ดำรงตำแหนง่ ทางวชิ าการสูงกจ็ ะ สร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ ความน่าเชื่อถือตลอดจนเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความมีคุณภาพและศักยภาพของ สถาบนั การศกึ ษา (อำนวยพร มโนวงค,์ 2552) สภาพการสอนและการผลิตผลงานทางวิชาการเป็นสงิ่ สำคญั ของการเข้าสูต่ ำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์อัน เป็นสภาวะด้านหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่จะต้องได้รับการแก้ไขปรับปรุงโดยเริ่มตั้งแต่การจูงใจให้อาจารย์รักงานและมี จติ สำนึกในการทุม่ เทความรู้ความสามารถเนอื่ งจากต้องใช้ความมงุ่ มนั่ ความเพยี รพยายามและความมานะอดทน การ พัฒนาอาจารยใ์ หเ้ กิดทัศนคติ ความรู้ ความสามารถด้านการผลิตผลงานทางวชิ าการจึงเปน็ สงิ่ จำเป็นอย่างย่ิงในการเข้าสู่ ตำแหนง่ ทางวชิ าการ ซง่ึ เกดิ จากปัจจัยทีส่ ำคัญ 2 ส่วน คือปัจจัยสว่ นทหี่ นึง่ คือ ตวั อาจารย์เอง ส่วนทส่ี องคือ การให้การ สนับสนุนของสถาบัน ดังนั้นการขอตำแหน่งทางวิชาการจึงเกี่ยวข้องกับบุคคล 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มอาจารย์ หรือผู้ขอ ตำแหน่งทางวิชาการ กลุ่มผู้บังคับบัญชา ได้แก่ ระดับหัวหน้าภาควิชา ระดับคณบดี ระดับอธิการบดี และกลุ่ม ผู้ทรงคณุ วุฒปิ ระเมินผลงานทางวิชาการ ดงั ทผี่ เู้ ขียนจะขอสรุปการมีส่วนร่วมในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการในแต่ละ ระดับดังนี้ ระดบั สถาบนั การบริหารจัดการระบบการขอตำแหน่งทางวิชาการเป็นหัวใจสำคัญในการขับเคลื่อนและกระตุ้นให้อาจารย์ พัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ ผู้บริหารมีบทบาทและหน้าที่ในการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างเต็มที่เพ่ือใหอ้ าจารย์ได้ใช้ ความรู้ ความสามารถในการสรา้ งสรรค์ผลงานทางวิชาการ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกบั แนวทาง ระเบียบ กฎเกณฑ์ วิธีการ ตลอดจนกระบวนการและขั้นตอนของการเสนอขอตำแหน่งทางวิชาการเพื่อให้อาจารย์ใช้เป็นกรอบในการวาง แผนการทำงาน และการตงั้ เปา้ หมายในการเขา้ สตู่ ำแหนง่ ทางวชิ าการในระดบั สถาบัน ดังที่ ศรดุ า ชัยสวุ รรณ (2564) ได้ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขในการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการของอาจารย์มหาวิทยาลัยเอกชนพบว่า ด้าน ความพึงพอใจต่อการบริหาร เป็นปัจจัยที่พยากรณ์ความสุขในการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ มหาวิทยาลัยเอกชนมากที่สุด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการบริหารงานที่มีความคล่องตัวมากจะส่งผลทำให้อาจารย์ที่มี ศักยภาพในการทำงานสงู จะเกิดความรู้สึกว่า การทำงานในมหาวิทยาลยั ที่มีความคลอ่ งตวั ในทางการบริหารน้ันมีความ ท้าทาย การทำงานมีความรวดเร็วซึ่งนา่ จะมสี าเหตุมาจากการที่มหาวิทยาลัยมีนโยบายการสนับสนนุ ทางด้านการวิจัย อย่างชัดเจนตลอดจนการวางแผนกลยุทธ์ในการบริหารงานวิจัยเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตผลงานวิจัยของ อาจารย์ การจดั ให้มีระบบกลัน่ กรองผลงานทางวชิ าการที่ยุตธิ รรมและสามารถบอกไดว้ ่าผลงานวิชาการที่อาจารย์ส่งเข้า มารบั การพิจารณา มแี นวโน้มจะเข้าข่ายหรอื ไม่เข้าข่ายจะได้ตำแหนง่ ทางวิชาการหรอื ไม่ และใครกส็ ามารถเปิดไปดูใน ฐานข้อมูลเหล่านี้ได้ว่า งานที่อาจารยส์ ่งมารับการพิจารณา อยู่ในฐานข้อมูลเหล่านี้หรือไม่ ดังนั้นการบอกว่าในกรณีท่ี กระบวนการพิจารณาล่าชา้ แลว้ ได้ตำแหนง่ ไปเลย จะไม่เหมาะสม กไ็ มม่ ีนำ้ หนกั มากนกั หากงานท่ีสง่ เข้ามามีปรากฏใน ฐานข้อมลู เหลา่ นี้ หรอื เขา้ ขา่ ยตัวบง่ ช้ีคุณภาพท่ีเปน็ สาธารณะทเี่ ปน็ ทยี่ อมรบั กันทวั่ ไปอย่างอน่ื ๆ 288

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับคณะวิชา คณะวิชาคือหัวใจของศาสตร์ในแต่ละมหาวิทยาลัย คณบดีจึงต้องเป็นบุคคลที่มีวิสัยทัศน์ทางสังคม มอง มหาวิทยาลัยและคณะวิชาในลักษณะของอนาคตข้างหน้า เข้าใจความเคล่ือนไหวและการเปล่ียนแปลงภายในสังคม มี อดุ มการณ์ของการเปน็ มหาวทิ ยาลยั และการมีวิสัยทศั นท์ ก่ี วา้ งไกลในสาขาวิชาชีพของคณะ ตลอดจนสามารถวเิ คราะห์ เจาะลึกสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ และมีศักยภาพที่จะพัฒนาคณะให้บรรลุเป้าหมาย ดังนั้นคณบดีของแต่ละคณะวิชา จำเปน็ ตอ้ งมีความเป็นผู้นำในศาสตรข์ องตนเองและต้องปกครองดูแลอาจารย์ในสงั กัด นอกจากน้ีคณบดีควรต้องได้รับ การยอมรับและศรทั ธาจากนกั วิชาการท้ังในระดบั คณะ ระดับมหาวทิ ยาลยั และในสังคม การเป็นผู้นำทางวชิ าการจงึ ต้อง เป็นผู้ท่มี ีความรอบรู้ กวา้ งขวาง มคี วามสามารถมากกว่าตำแหนง่ ทางวิชาการทตี่ นมีอยู่ หวั ใจสำคญั ของการเปน็ คณบดคี อื การเป็นบคุ คลสาธารณะ ต้องมีความเสยี สละเพื่อคนอ่นื เพอ่ื พัฒนาองค์การ และเพอื่ พฒั นาวชิ าชพี นัน้ ๆ มีความยุตธิ รรม บริหารดว้ ยเหตุผลและความชอบธรรม และสงิ่ สำคัญต้องมีแนวคิดในการ บริหารท่ีชัดเจนในการพัฒนาองค์การและพัฒนาวิชาการ พฒั นาวิชาชพี โดยมใี จกวา้ งในการยอมรับในความสามารถของ อาจารย์ในคณะพร้อมที่จะสนับสนุนศกั ยภาพของอาจารย์เพื่อความเปน็ เลิศของคณะวิชาในฐานะที่เปน็ ผู้นำองค์กร การ ผลักดันให้เกิดโอกาสของอาจารย์ในการทำผลงานทางวิชาการด้วยการบริหารจัดการที่เอื้อให้อาจารย์ในคณะตนเองมี โอกาสการทำงานวจิ ยั เนอื่ งจากอาจารยอ์ าจมีภาระงานสอนเยอะจนเกดิ ภาวะเครียดหรอื วิตกกงั วลจนทำให้การผลิตผล งานวิชาการ งานวิจัย หรือการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการไม่ได้เป็นเป้าหมายหลักของอาจารย์ หรืออาจจะเคยเป็น เป้าหมายแล้วก็ถูกวางไว้เพราะมีปัจจัยอื่นๆเข้ามาแทน หากคณบดีมีการบริหารจัดการที่ดีก็จะเกิดความคล่องตัวใน ระดับสาขาวิชาในแต่ละสาขาก็จะสลับกนั ไป ท้งั นใ้ี นระดับสาขาวชิ ามีส่วนสำคญั ในการบริหารจัดการหลกั สูตรโดยการ วางแผนผ้สู อนของแต่ละรายวชิ า ไม่วา่ จะเป็นรายวชิ าที่มีผสู้ อนต่อเน่ือง และรายวิชาทีม่ ีการปรับเปล่ียนผู้สอนอย่างไม่ ต่อเนื่อง ก็จะส่งผลต่อการเขียนเอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน ตำรา หรือหนังสือที่จะใช้ประกอบการขอ ตำแหน่งทางวิชาการ การไม่ถูกสับเปลี่ยนวิชาหรือการให้โอกาสอาจารย์ได้สอนในรายวิชาที่ต้องการเขียนเอกสาร ประกอบการสอนจึงเปน็ การสรา้ งขวัญและกำลงั ใจให้กบั อาจารย์ บทบาทและภารกจิ ของคณบดี คอื การบริหารคณะวิชาในด้านการบรหิ ารงานวชิ าการและการบริหารงานทั่วไป คณบดจี ึงตอ้ งเป็นผู้นำทางวิชาการ มีค่านิยมทางวชิ าการและมีวิสยั ทัศน์ทก่ี ว้างไกลเพอื่ การพฒั นาคณะวิชาให้มีการจัด การศกึ ษาท่ที ันสมัยต่อการเปล่ยี นแปลงของสังคม และทส่ี ำคัญของการบริหารคณะวชิ าก็คอื การบรหิ ารคนภายในคณะ ให้มีการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ได้พัฒนาตนเองด้านวิชาการทั้งในการใหศ้ ึกษาต่อใน ระดับสูง การพฒั นาการเรยี นการสอน การวิจัย การขอตำแหนง่ ทางวชิ าการ ระดับบุคคล อาจารยจ์ ึงเปรยี บเสมอื นเป็นเครื่องมือที่สำคญั ในการขบั เคลื่อนพนั ธกจิ หลกั โดยการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความเจริญกา้ วหน้าทางวิชาการ ส่งผลให้เกิดพลังสังคมทางวิชาการ หากอาจารย์ได้ผลิตผลงานทางวิชาการ ออกมารับใช้สังคมย่อมส่งผลให้คุณภาพการเรียนการสอนและคุณภาพผู้เรียนดีขึ้น อาจารย์ต้องเริ่มต้นศึกษาการเป็น นักวจิ ัย ท้งั นีก้ ารเร่ิมทำวจิ ัยจะต้องมีการเตรยี มตัวใหพ้ ร้อมในการค้นคว้าหาความรู้ ตอ้ งมีความตงั้ ใจ อดทนและมุ่งม่ัน อาจารย์ส่วนใหญ่มีความรู้สึกหรือความเชื่อต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการว่าเป็นสิ่งที่ดีมีประโยชน์และมีคุณค่า 289

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี นอกจากอาจารยใ์ นมหาวิทยาลยั บางคนยังเน้นการศกึ ษาต่อในระดับท่ีสูงข้นึ อาจเป็นเพราะวา่ นโยบายของมหาวิทยาลัย ต้องการให้อาจารย์พัฒนาตนเองด้านวุฒิการศึกษามากกว่าการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ จึงได้มีการกำหนดฐาน เงนิ เดอื นของอาจารย์มวี ุฒิการศกึ ษาสงู ๆ มากกว่าการใหเ้ งนิ คา่ ตอบแทนตำแหนง่ ทางวิชาการ ปัจจัยเอือ้ ปัญหาและอปุ สรรคของการขอตำแหนง่ ทางวชิ าการ อาจารย์จึงต้องพัฒนาวิชาชีพ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ อาจารย์จึงต้องมีความ กระตือรือร้นทีจ่ ะแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ แต่ก็ยังมีสิ่งที่เป็นสาเหตุหรือการกระทำคอื ปัจจัยเอื้อที่สนับสนุนให้ อาจารย์เกิดความกระตือรือร้นผลิตผลงานทางวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการจนประสบความสำเร็จ ปัญหาและ อุปสรรคทอ่ี าจารย์จะตอ้ งเผชิญประกอบด้วย ปจั จยั เอ้อื สิ่งที่เป็นสาเหตุหรือการกระทำคือปัจจัยเอื้อที่สนับสนุนให้อาจารย์เกิดความกระตือรือร้นผลิตผลงานทาง วชิ าการเพ่อื ขอตำแหนง่ ทางวิชาการจนประสบความสำเร็จ ไดแ้ ก่ 1. ปัจจยั ระดบั สถาบัน 1.1 วัฒนธรรมองคก์ าร วัฒนธรรมองค์การมีความสำคัญต่อการผลิตและเผยแพร่ผลงาน ผู้บริหารอุดมศึกษาจึงต้องทำความ เข้าใจเกย่ี วกับวัฒนธรรมทห่ี ลากหลายเหล่าน้ีเพอื่ ความอย่รู อดและฟนั ฝา่ วิกฤติตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด การ บริหารจดั การของผูบ้ ริหาร บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มภายในมหาวิทยาลัยมีผลต่อการสอนและการผลิตผลงานทาง วิชาการของอาจารย์เปิดโอกาสให้แสดงคุณค่า ศักยภาพและความสามารถที่มีอยู่ในตัว ออกมาให้ปรากฏ และเลือก ทรพั ยากรมนษุ ยท์ หี่ ายาก คอื เป็นบคุ คลทม่ี ภี าวะผู้นำ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ กล้าคิด กล้าแสดงออกเพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรู้ สิ่งใหม่ ผู้บริหารมีการใช้วิธีการหรือกลยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทางวิชาการภายใน มหาวทิ ยาลัยให้อือ้ ต่ออาจารย์ในการเข้าสู่ตำแหนง่ ทางวิชาการ วัฒนธรรมองคก์ ารของมหาวิทยาลยั จะเป็นวัฒนธรรมที่ เน้นการวจิ ยั มากกวา่ วฒั นธรรมการสอน 1.2 คา่ นยิ มในการทำงานของผบู้ รหิ าร ผ้บู รหิ ารทกุ ระดบั ตอ้ งใหค้ วามสำคญั ตอ่ การเข้าสู่ตำแหนง่ ทางวิชาการของอาจารย์ ท้ังนน้ี กั มานุษยวิทยา ยอมรบั วา่ คา่ นิยมมีอิทธพิ ลเหนอื พฤตกิ รรมทางวัฒนธรรมของคน กล่าวคอื ค่านยิ มเปน็ มาตรฐาน ทใี่ ช้ในการประเมินว่า อะไรสำคัญ อะไรไม่สำคัญ ทำหน้าท่กี ำหนดวธิ ีการดำเนนิ ชีวิต เป็นแกนของระบบสงั คม เปน็ ปัจจยั พ้นื ฐานสำหรับบุคคล ในสงั คม ท่ีจะเขา้ ใจและรับรู้ส่ิงต่างๆท่ีอยู่ในสงั คมค่านิยมเปน็ ตัวกำหนดว่าส่ิงใดมีค่าควรเลือก สถานการณ์ใดควรเลือก สิ่งใดจึงจะเหมาะ ค่านิยมจึงมีอิทธิพลต่อการเลือกวิธีการ และเป้าหมายของการกระทำที่ผู้บริหารอยากจะทำหรือไม่ อยากจะทำ ซึง่ หมายถึง อยากจะส่งเสรมิ สนับสนุน หรอื ไม่อยากสง่ เสรมิ สนับสนนุ ซึง่ ผ้บู ริหารทม่ี ีตำแหนง่ ทางวิชาการ จะมคี า่ นิยมในการทำงานของผ้บู รหิ ารแตกต่างจากผู้บรหิ ารทไ่ี ม่มตี ำแหน่งทางวชิ าการ 1.3 การสง่ เสริมสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย 290

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การสง่ เสรมิ สนับสนนุ จากมหาวทิ ยาลยั โดยมีการจัดประชมุ อบรมและสัมมนา มีการพัฒนาและส่งเสริม ให้อาจารย์เปน็ นักวิจยั ส่งเสรมิ การผลติ ผลงานวิจยั ตลอดจนการตพี มิ พ์เผยแพร่ สง่ เสรมิ ใหอ้ าจารย์เข้าร่วมกิจกรรมทาง วชิ าการท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเขา้ สู่ตำแหนง่ ทางวิชาการ การสร้างระบบนักวิจัยพี่เลยี้ ง ทัง้ นเี้ น่ืองจากการท่อี าจารย์มีความ เป็นผู้นำการวิจัยสามารถที่จะเป็นผู้ชี้แนะแนวทางหรือการเป็นพี่เลี้ยง (Mentor) เพื่อให้คำปรึกษากับอาจารย์รุ่นใหม่ ต่อไป 2. ปัจจยั ระดบั บคุ คล 2.1 การมองเหน็ คุณค่าในตนเอง การมองเห็นคุณค่าในตนเองเป็นสิ่งสำคัญข้อแรกของอาจารย์ว่าสามารถดึงศักยภาพของตนเองในการ เขยี นและผลติ ผลงานทางวชิ าการให้ประสบผลสำเรจ็ การเห็นคุณคา่ แหง่ ตนเปรียบเสมอื นเปน็ พลงั ทีอ่ ยูภ่ ายในจิตใจ แต่ ละคนจะมีการเห็นคณุ คา่ แหง่ ตนในระดับทแี่ ตกต่างกนั ผทู้ ่มี ีการเหน็ คณุ ค่าแห่งตนในระดับสงู จะเชอ่ื ว่าตนเองทำอะไรก็ ประสบความสำเร็จ (Cai et al., 2015) การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นปจั จัยภายในที่สำคัญ ซึ่งทำให้เกิดความสุขที่ยั่งยนื มากกว่าปัจจัยภายนอก เพราะการเหน็ คุณค่าในตนเองจะทำให้บคุ คลเกิดความรู้สึกดีต่อ ตนเอง มั่นใจ (ในระดับจิตใต้ สำนึก) วา่ “ฉันมีค่า ฉันใชไ้ ด้ ฉันมขี ้อดี ฉันมั่นใจวา่ ฉันสามารถรบั มือกับปญั หาทีเ่ กดิ ขึ้นในชีวติ ของฉนั ได้” ความสามารถ ในการมองเห็นค่าและ ยอมรับตนเองเปน็ สิ่งท่พี ฒั นาได้แม้ว่าจะยากและตอ้ งใช้ เวลาอยู่บา้ ง แต่ก็ไม่ ได้หมายความว่าจะ ทำไมไ่ ด้ ถ้าพยายามและเมอ่ื ทำได้สำเรจ็ ก็ถือวา่ “คุ้ม” (มาลณิ ี จโุ ฑปะมา, 2553) 2.2 แรงจงู ใจในการเขา้ สูต่ ำแหน่งทางวชิ าการ แรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เกิดจากความรักในวิชาชีพ ตั้งใจ อดทนและมุ่งมั่นในการ ผลิตผลงานทางวิชาการ โดยมีเป้าหมายด้านความก้าวหน้าในอาชีพการงาน การยอมรับ เกียรติและศักดิ์ศรีตลอดจน คา่ ตอบแทน การเข้าสู่ตำแหนง่ ทางวชิ าการของอาจารยเ์ กิดจากแรงจงู ใจภายใน และแรงจงู ใจภายนอกทั้งน้ีเพราะได้มา ของตำแหนง่ ทางวิชาการไม่ได้มกี ารแขง่ ขัน แตเ่ ปน็ การแขง่ ขนั กบั ตวั เอง การบรหิ ารจดั การตนเอง และเมื่อได้ตำแหน่ง ทางวิชารนั้นมาแล้วก็จะเป็นการได้รับแบบถาวร ซึ่งแตกต่างจากตำแหน่งบริหาร และอีกอย่างทางด้านสังคมให้การ ยอมรับ เม่ือได้รับตำแหน่งทางวิชาการตั้งแต่เริ่มต้น และพฒั นาขึน้ มาตามลำดับขนั้ เป็นการมองเหน็ ความสวยงามของ ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นหากได้ดำรงตำแหนง่ ทางวิชาการตามที่ยื่นขอไว้ปัจจัยของการยอมรับในแวดวงวิชาการ และปัจจัย ทางอ้อมก็คือความภาคภูมิใจในการเผยแพร่ผลงานวิชาการ เพราะผลงานนั้นเราทำด้วยความทุ่มเท ก็รู้สึกภูมิใจกับ ผลงานทไี่ ดน้ ำเสนอออกไป ปัจจยั ทสี่ ำคัญ ก็คือ ความอยากที่จะคงอยู่ในวิชาชีพอาจารยเ์ ป็นสว่ นสำคญั อย่างหนึ่งที่ส่งผล ให้อาจารย์มีการพฒั นาการเขา้ สู่ตำแหนง่ ทางวิชาการ ตำแหนง่ ทางวชิ าการ เป็นเครือ่ งแสดงถงึ ความเป็นผู้ทรงคุณวฒุ ิ มคี วามรคู้ วามสามารถ มีประสบการณ์ ในสาขาวิชา ท่อี าจารยม์ คี วามเชี่ยวชาญ เป็นตำแหนง่ อันทรงเกยี รติท่ีอาจารยม์ หาวทิ ยาลัยได้มาจากการพัฒนาตนด้วย ความเพียรพยายาม การสร้างสรรค์ผลงานในด้านการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม อีกท้ังยงั ได้รบั การยอมรบั ในสังคมของอาจารย์มหาวิทยาลัย ไดร้ บั การยกย่องและเชิดชู เกียรติ ได้รับ สิทธิประโยชน์และผลตอบแทนตา่ ง ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น เงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง (เพทาย เย็นจิตโสม มนสั , 2553) 291

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อาจารยร์ ุน่ เก่าทไ่ี ม่มแี รงจงู ใจหรอื ค่าตอบแทนเพ่ิมเติมก็ไม่ประสงค์จะขอตำแหน่งทางวิชาการ และอาจ เป็นเพราะว่าอาจารย์รุ่นใหมห่ รอื อาจารย์ทีม่ ีประสบการณ์ใหม่มีความตืน่ ตัวต่อการได้รับการพฒั นางานวิชาการ มีการ ปรบั ตวั ใหส้ ามารถเข้ากับองค์กรใหม่ มกี ารปรับปรุงตนเองให้มีความรู้ ความสามารถเพื่อเพม่ิ ศักยภาพและนำความรู้ไป พัฒนาการเรียนการสอนเพ่ือการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ เตรียมพร้อมที่จะเปน็ นักวชิ าการ ส่วนอาจารย์รุน่ เกา่ หรอื อาจารย์ท่ีมปี ระสบการณเ์ กา่ เร่มิ เกดิ ความล่าช้าในการพฒั นาตนเองตลอดจนอาจารย์ไดท้ ำการสอนมาเปน็ ระยะเวลานาน จนมีความชำนาญไม่จำเป็นที่จะต้องแสวงหาความรู้ใหม่อีกทั้งการได้รับอัตราเงินเดือนขั้นสูงสุดจึงไม่ประสงค์จะขอ ตำแหนง่ ทางวิชาการ แรงจงู ใจน้เี ป็นองคป์ ระกอบทผ่ี ลกั ดันให้บคุ คลตอ้ งการอยู่ในตำแหนง่ ทส่ี งู ขน้ึ มีความรับผิดชอบมากขึ้น และมีความต้องการความสำเรจ็ สูง ลักษณะของคนทีม่ แี รงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ จะเป็นคนท่ีมีความปรารถนาอย่างแรงกลา้ ท่ี จะรับภาระ หรือความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ไม่ชอบเกี่ยงงาน จะค้นหาว่าปัญหาจะถูกแก้ได้โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ตั้งเป้าหมายไว้สูงกว่าปกตแิ ละชอบเสี่ยงกับเป้าหมายในระดับที่เป็นไปได้ หรือสถานการณ์ที่ท้าทายตลอดจนต้องการ ขอ้ มูลย้อนกลบั เกีย่ วกบั ผลการปฏิบตั ิงานของตน (McClelland, D.C., 1985 อ้างถงึ ใน โมลี สุทฺธิโมลิโพธิ, 2563) 2.3 เจตคตติ ่อการเข้าสูต่ ำแหนง่ ทางวิชาการ เจตคติ หมายถงึ ความรสู้ ึก ความคดิ ความเชอ่ื ความพึงพอใจของบุคคลทีม่ ตี ่อประสบการณ์ หรือ เป็นสงิ่ หน่ึงส่งิ ใดท่ีบคุ คลไดร้ ับทา่ ทที แี่ สดงออกมาจากจิตใจ อันเกดิ จากการโน้มเอยี งจากการเรยี นรอู้ นั จะส่งผลให้บุคคล แสดงพฤติกรรมออกมาต่อส่ิงใดส่งิ หน่ึง โดยจะแสดงพฤติกรรมออกมา 2 ลักษณะคือ ทางบวกหรอื เจตคตเิ ชิงนิมานจะ แสดงออกในลกั ษณะความชอบ ความพงึ พอใจ เห็นด้วย อยากได้ และอีกลกั ษณะหน่งึ คือ ทางลบหรือเจตคติเชิงนิเสธ จะแสดงออกในลักษณะของความเกลยี ด ไม่สนใจไม่พึงพอใจ ไม่เห็นด้วย (ศรุดา ชัยสุวรรณ, 2550) เมื่ออาจารย์ที่ขอ ตำแหน่งทางวชิ าการมเี จตคติทีด่ ีตอ่ การเข้าสตู่ ำแหนง่ ทางวิชาการ ให้คณุ ค่าและความสำคญั ของตำแหน่งทางวิชาการว่า เป็นสง่ิ ทีด่ ี มองเห็นความแตกต่างระหวา่ งการมีตำแหนง่ ทางวชิ าการดีกวา่ กวา่ การที่ไม่มีตำแหนง่ ทางวิชาการจึงเกิดความ พร้อมและตั้งใจจะผลิตผลงานทางวิชาการเพือ่ แสดงออกถึงการเพิ่มสถานภาพทางสังคมอย่างหนึ่ง ผู้ที่ได้ตำแหน่งทาง วิชาการโดยผ่านกระบวนการตามกฎและระเบยี บที่มีอยู่ ถา้ อาจารยม์ เี จตคตทิ ่ีดตี ่อการผลิตผลงานทางวชิ าการก็จะส่งผล ตอ่ การนำเสนอผลงานทางวิชาการ ซึง่ จะตอ้ งผา่ นกระบวนการขน้ั ตอนในการผลิตทม่ี ีความยากเพื่อให้ไดค้ ุณภาพ ผ่าน การพิจารณาจากคณะกรรมการ หากอาจารย์มีเจตคติในทางบวก การผลิตผลงานวิชาการดังกล่าวก็จะไม่พ้นขีด ความสามารถของอาจารย์ท่ีจะนำความรู้ ความสามารถทีม่ ีอยมู่ าใชใ้ นการเขยี นผลงานเพื่อการเข้าสู่ตำแหนง่ ทางวิชาการ จะเกิดความภาคภูมิใจว่าได้มาอย่างถูกต้อง เป็นเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งตน ตลอดจนความก้าวหน้าในวิชาชีพของ อาจารย์อกี ด้วย นอกจากน้อี าจารย์ยังจะตอ้ งตระหนกั ถงึ คณุ ค่าและความสำคัญของการเขา้ สตู่ ำแหน่งทางวชิ าการ ส่งผล ต่อพฤติกรรมที่แสดงออกก็คือ มคี วามมงุ่ มนั่ พยายามและอดทนศึกษาค้นควา้ เนื่องจากเกิดความรูส้ ึกชอบและพอใจท่ี จะกระทำ แต่หากอาจารย์มเี จตคตทิ ่ีไม่ชอบ ไมพ่ อใจ กจ็ ะไม่สนใจที่จะกระทำการใด ๆ ไมค่ ำนงึ ถงึ ความยากหรือง่าย ไม่ มกี ารศกึ ษาคน้ คว้า ไม่มคี วามพยายามท่ีจะฝา่ ฝนั อปุ สรรคของการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ 2.4 การพฒั นาตนเอง ใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น มคี วามกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ การทำงานวิจัยเปน็ ปจั จัยสำคัญเพ่อื นำมาพฒั นา 292

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี และปรบั ปรงุ การเรียนการสอนและการเข้าสู่ตำแหนง่ ทางวิชาการ อีกประเด็นหน่ึงทีถ่ ือวา่ สำคญั ก็คือวา่ จะต้องมีความ กระตือรือรน้ ทางวชิ าการ มคี วามทะเยอทะยาน ชอบในงานวชิ าการและจัดระเบียบความคดิ ให้เปน็ ระบบ เนอ่ื งจากการ ขอตำแหน่งทางวิชาการต้องอาศยั การจัดระบบความคิด อาจารย์ในมหาวิทยาลัยมีลักษณะอืน่ ๆ ท่นี อกเหนือจากบุคคล ทั่วไปกล่าวคอื เป็นบุคคลท่ีจะต้องมีความรู้ ความสามารถ ซ่งึ ตอ้ งผ่านการอบรมและฝึกฝนมาเปน็ อย่างดี และที่สำคัญ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยต้องเป็นทั้งอาจารย์สอนหนังสือ และเป็นนักวิชาการในสาขาวิชาของตัวเอง อาจารย์ต้องเป็น แบบอยา่ งของผูม้ ีความรับผดิ ชอบด้านความเจริญกา้ วหนา้ ทางวิชาการให้แกม่ หาวิทยาลัย ฐานะทางวิชาการของอาจารย์ สามารถแสดงความเป็นเลิศทางวิชาการให้กับมหาวิทยาลัย อาจารย์จึงเปรียบเสมือนเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการ ขบั เคลอ่ื นพนั ธกิจหลกั โดยการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ปัญหาและอปุ สรรค 1. การเริ่มตน้ บรรจใุ นสถาบนั อดุ มศึกษา ภาระงานสอนของอาจารย์ต้องเป็นไปตามการกำหนดภางะงานของ สถาบนั สง่ ผลให้อาจารยต์ อ้ งมีภาระงานสอนมาก 2. การขาดความต่อเนื่องของอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาที่มหาวิทยาลัยจัดให้ ก็เป็นปัญหาที่ส่งผลต่อการขอ ตำแหนง่ ทางวิชาการเนื่องจากอาจารย์มีการผลิตเอกสารประกอบการสอนไว้แล้วเอกสารนั้นก็จะใช้ไม่ได้ หากมีการปรบั เปลี่ยน โยกย้ายรายวิชาทีอ่ าจารย์ได้สอนอยู่ จึงทำให้การพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ด้านการผลิตผลงานวจิ ัยและผลงานทาง วชิ าการยังไม่เกดิ ประสิทธภิ าพและคุณภาพอย่างแท้จรงิ 3. การมีส่วนรว่ มของผลงานทางวชิ าการ การขาดความชัดเจนต้ังแตเ่ รม่ิ ต้นทำวิจัยจนถงึ กระบวนการตพี มิ พ์ เผยแพร่ 4. อาจารย์ท่ีดำรงตำแหน่งผู้บรหิ าร มภี าระงานท่ีเพม่ิ มากขึน้ ขาดการบรหิ ารจดั การเวลาท่ดี ีหรือแบง่ เวลา ให้กบั การเขียนผลงานทางวิชาการ 5. อาจารย์ขาดความรแู้ ละความเข้าใจทีช่ ดั เจนในระเบียบ หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการ ตลอดจนความยุง่ ยาก ซับซ้อนของกระบวนการและขั้นตอนในการเสนอขอตำแหน่งทางวิชาการทำให้การขอตำแหน่งทางวิชาการต้องใช้ เวลานาน ซึ่งการศึกษาและทำความเข้าใจประกาศ ก.พ.อ. และเอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และ วิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์หรือ ระเบียบ คณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย การกำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการพิจารณา ตำแหน่งทางวชิ าการประจำสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน 6. อาจารย์ขาดประสบการณ์ทางด้านการวิจัย งานวิจัยมีน้อย ขาดความเข้าใจและความชัดเจนว่าผลงานวิจัย บางอย่างมนั เอาไปใช้ขอตำแหน่งทางวิชาการไม่ได้ 7. อาจารย์ได้รับรูแ้ ละรับฟังข้อมูลท่ีคลาดเคล่ือนจากประสบการณ์เดิมของอาจารย์ท่เี คยทำวิจัยหรือผ่านการ ขอตำแหน่งทางวชิ าการแล้วแตไ่ มป่ ระสบความสำเร็จ จึงอาจทำใหเ้ กดิ ความเชอ่ื ทีไ่ ม่ชัดเจนและยงั มองไม่เหน็ ผลลัพธ์เชิง บวกจากการได้รบั ตำแหน่งทางวิชาการที่ควรจะไดร้ ับ 293

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 8. ปัญหาที่สำคัญและสง่ ผลกระทบและส่งผลเสียทีส่ ุดคือการบริหารจัดการล่าชา้ และไม่ใช่เรื่องคุณภาพของ งานวิจยั หรือผลงานทางวิชาการท่ีอาจารย์ส่งเข้ามารับการพิจารณา อาจารยห์ ลายท่านรอผลการพิจารณาเป็นเวลานาน มาก ทำใหก้ ระบวนการขาดประสิทธภิ าพมาก ขาดความนา่ เชอื่ ถือ 9. ปญั หาจากผ้ทู รงคณุ วุฒิประเมนิ ผลงานทางวิชาการในด้านความเข้าใจในผลงานทางวิชาการที่อาจารย์ย่ืนขอ ไป ความใจกว้างในการยอมรบั ผลงานทางวชิ าการน้นั ๆ การใชเ้ วลาในการอา่ นหรือพจิ ารณาคอ่ นขา้ งนาน หรือแมแ้ ต่การ รอผลการพจิ ารณาจากผู้ทรงคณุ วุฒิคนสุดท้าย รวมทัง้ การนำผลเขา้ ทปี่ ระชมุ ตำแหน่งทางวิชาการเป็นเครื่องบ่งชี้ให้เห็นถึงการเพิ่มสมรรถภาพสถานะของอาจารย์ให้สูงขึ้น มีความ รับผิดชอบมากขึ้นเป็นดัชนีที่สำคัญของการประกันคุณภาพของอาจารย์ผู้สอนในแต่ละสถาบัน ซึ่งแสดงถึงปัญญาและ ความสามารถของอาจารย์ท่ีจะแสดงให้เห็นถงึ คุณภาพและมาตรฐานในการพฒั นาวชิ าการของสถาบัน ซ่ึงธรี ะ รุญเจริญ (2564) ได้ใหแ้ นวคิดในการทำผลงานทางวิชาการทีป่ ระสบความสำเรจ็ ไวด้ งั น้ี 1. เปน็ ผสู้ นใจใฝ่รู้อยา่ งตอ่ เน่อื ง 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจในหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารขอตำแหน่งทางวิชาการเปน็ อยา่ งดีมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานใหมๆ่ 3. แสวงหาหรือผลติ นวัตกรรมในการเรยี นการสอนใหมๆ่ 4. มจี รยิ ธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ 5. มีคุณภาพและทักษะในการเขียนตลอดทงั้ รูปแบบที่เขา้ ใจ 6. การอา้ งองิ ถกู ต้อง ถูกหลกั วชิ าการและคงเส้นคงวา 7. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในผลงานที่ทำ 8. มีความวิรยิ ะ อตุ สาหะ และอดทน ผเู้ ขียนขอสรปุ คุณลกั ษณะของอาจารยท์ ่ีประสบความความสำเร็จในการขอตำแหน่งทางวิชาการ มีดงั ต่อไปนี้ 1. มีมุมมองเชิงบวก ความรู้สึกว่าอยากทำ อยากเขียนผลงานเพราะว่ามันเป็นบวก มีความหฤหรรษ์ สนุกสนาน มี ความสขุ กับการทำงานวิจยั เม่อื ทำแล้วก็ไดป้ ระสบผลสำเรจ็ ในชีวติ 2. มคี วามมุ่งมั่น ความมงุ่ ม่นั เป็นความตัง้ ใจ ทุ่มเทในการปฏบิ ตั ิกจิ ใหป้ ระสบความสำเรจ็ แม้ว่าจะประสบตอ่ อุปสรรคและปัญหา อาจารย์ทีม่ ีความต้ังใจตอ่ การผลิต ผลงานทางวิชาการ คาดหวงั ถงึ ความสำเร็จของการขอตำแหน่ง ทางวชิ าการสง่ ผลให้อาจารย์เกิดแรงผลักดนั และแรงกระต้นุ ให้อาจารย์ผลิตผลงานทางวิชาการเพ่อื การเสนอขอตำแหน่ง ทางวิชาการ ตามแนวพทุ ธเรียกว่า อิทธบิ าท 4 ดังน้ี Attitude (ฉนั ทะ) = มีเจตคติท่ีดีต่องาน มคี วามรักพอใจในสง่ิ ท่ีทำ ทำในสิง่ ทร่ี ักเหน็ คุณค่าของ งาน Behavior (วิริยะ) = มีพฤติกรรมใฝ่รู้ต่องาน แข็งขัน อดทนศึกษาหาความรูใ้ ฝ่รู้ มีความมุ่งมั่น ทมุ่ เท เพียรพยายาม Commitment (จติ ตะ) = มีความผกู พันตอ่ งาน เอาใจใส่ด้วยความจดจ่อ ให้ความสำคัญในงาน 294

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เปน็ ชีวติ จติ ใจ มีความพร้อมทจ่ี ะทำงานด้วยความเต็มใจ Evaluation (วิมงั สา) = มกี ารไตรต่ รองตรวจตรา รู้จกั ใครค่ รวญ ตรวจตาในงานท่ีทำ ใชเ้ หตุผลและ สติปญั ญา หากมปี ัญหาและอุปสรรคสามารถแกไ้ ขปัญหาเพ่อื ปรบั ปรุงใหด้ ีได้ อาจกลา่ วได้ว่า ความมงุ่ ม่ันเป็นความตัง้ ใจ ทุ่มเทในการปฏิบตั กิ จิ ให้ประสบความสำเรจ็ แม้วา่ จะ ประสบตอ่ อุปสรรคและปัญหา อาจารย์ท่ีมีความตั้งใจต่อการผลิต ผลงานทางวิชาการ คาดหวังถงึ ความสำเร็จของการ ขอตำแหนง่ ทางวชิ าการสง่ ผลให้อาจารย์เกดิ แรงผลกั ดันและแรงกระตนุ้ ใหอ้ าจารย์ผลติ ผลงานทางวิชาการเพือ่ การเสนอ ขอตำแหนง่ ทางวชิ าการ 3. มีความอดึ อดทน (AQ = Adversity Quotient) มองเหน็ ปัญหาเปน็ เรื่องเลก็ น้อยสามารถแก้ปญั หาและ การเผชิญกบั วิกฤติต่างๆ ท่ีเขา้ มาทง้ั ปญั หาท่ีเข้ามาในชีวิต ครอบครัว การทำงานหรือ สถานการณ์ทไี่ ม่สามารถควบคุมได้ 4. หมั่นฝึกฝนทักษะการเขียนผลงานทางวิชาการ และการฝึกเขียนผลงานทางวิชาการอย่างสม่ำเสมอ พรอ้ มที่จะให้ผูท้ ี่มีความเช่ยี วชาญช่วยแนะนำและตกแต่งความสละสลวยของภาษา 5. นำตัวเองเข้าบรรยากาศทางวิชาการอยู่เสมอๆ ไม่คิดเบื่อหน่ายเมื่อเช้าฟังการบรรยายหรือการ ถา่ ยทอดจากผู้ทรงคุณวุฒิโดยเฉพาะหากเป็นเรอื่ งที่เกี่ยวข้องกบั การผลติ ผลงานวชิ าการ การเขียนผลงานวิจัย การเข้าสู่ ตำแหน่งทางวิชาการ 6. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนรายการอา้ งองิ การเขียนบรรณานุกรม ตลอดจนรูปแบบการเขียนท่ีถูกต้อง 7. ตอ้ งมคี วามรู้สึกว่าถ้าไมม่ ผี ลงานตพี มิ พ์เผยแพร่ในรอบปีการศึกษา แสดงวา่ ขาดความมวี ินยั และความ รบั ผิดชอบต่อพันธกิจของสถาบันท่อี าจารยม์ สี ่วนรับผดิ ชอบในด้านการผลิตผลงานวจิ ัย 8. สดุ ทา้ ย ต้องร้สู ึกวา่ การผลติ ผลงานทางวิชาการทำให้อาจารย์มีความสุข ไมใ่ ชส่ รา้ งความทกุ ข์และสรา้ ง ภาระ แต่เป็นการสร้างพันธะผกู พันกับวิชาชพี ของอาจารย์ที่อาจารย์จะต้องดำรงอยูต่ ่อไป สรปุ อาจารย์จะต้องตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ท่ีสำคัญคือ ความรับผิดชอบงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากสังคมในการ สรา้ งทรพั ยากรมนษุ ย์ ดงั นัน้ อาจารย์จึงต้องพฒั นาวิชาชพี พฒั นาตนเองใหม้ ีความรูค้ วามสามารถทางวชิ าการ อาจารย์ จึงต้องมีความกระตือรือร้นที่จะแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ มีความขยัน หมั่นเพียร มานะ บากบั่นในการแสวงหา ความรอู้ ยเู่ สมอ มีการสร้างงานวชิ าการท่ีมคี ุณภาพตลอดจนพฒั นาตนเองให้ได้มาซ่ึงตำแหน่งทางวิชาการท่ีสูงข้ึน แต่ใน ความเปน็ จรงิ แลว้ ส่ิงที่เป็นสาเหตหุ รือการกระทำคอื ปัจจยั เอ้ือทสี่ นับสนุนให้อาจารย์เกิดความกระตือรือร้น สนใจท่ีจะ ผลิตผลงานทางวิชาการเพื่อประกอบการขอตำแหน่งทางวิชาการจนประสบความสำเร็จ ประกอบด้วย ปัจจัยระดับ สถาบันและปัจจัย ระดับบุคคลนอกจากนี้ ปัญหาและอุปสรรคที่อาจารย์จะต้องเผชิญตั้งแต่ตัวอาจารย์เองคือผู้ขอ ตำแหนง่ ทางวชิ าการ กลมุ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื ผูบ้ ริหาร ผทู้ รงคุณวฒุ ิประเมนิ ผลงานทางวิชาการ ข้อเสนอแนะ 295

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1. อาจารยต์ ้องมกี ารวางแผนและตั้งเปา้ หมายในการเขา้ สูต่ ำแหน่งทางวิชาการตง้ั แต่เรมิ่ เข้าสู่เส้นทางวชิ าชพี อาจารย์ เพราะเปน็ ความเจรญิ งอกงามในศาสตร์และสาขาวิชาทเ่ี ชีย่ วชาญ 2. อาจารย์ต้องเห็นคณุ ค่าในตวั เอง และมีความเชือ่ มนั่ ในศกั ยภาพของตนเองวา่ สามารถผลิตผลงานเพ่ือขอ ตำแหนง่ ทางวชิ าการได้ 3. อาจารย์ต้องมีความอดึ อดทน มงุ่ มั่น ตั้งใจ ไม่ท้อถอย สามารถเผชิญกบั ปญั หาและอปุ สรรคในการขอ ตำแหน่งทางวชิ าการ 4. อาจารย์ต้องพัฒนาทักษะและเทคนคิ การเขยี นผลงานทางวชิ าการ การอา้ งองิ ตลอดจนรูปแบบการเขยี น ผลงาน เอกสารอ้างอิง คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ. (2563). สรปุ กจิ กรรมการจัดการความรู้ (Knowledge management) เรอ่ื ง วางแผนอยา่ งไรใหไ้ ดต้ ำแหนง่ ทางวิชาการ วนั จันทรท์ ี่ 29 มิถนุ ายน 2563 เวลา 9.00 – 12.00 น. สมทุ รปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉยี วเฉลิมพระเกยี รติ. จันทนนั ท์ จารโุ ณปถัมภ์ และสญั ญา เคณาภูมิ. (2558). ปัจจยั ท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ การเข้าสู่ตำแหน่งทางวชิ าการของบุคลากร สายวิชาการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม .วารสารรัฐศาสตร์และนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ. 4(2), 208-231. ธรี ะ รุญเจริญ. (2564). แนวคดิ เกย่ี วกบั ตำแหน่งทางวิชาการ. ในเอกสารประกอบการบรรยายการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การเขยี นผลงานเพื่อขอ ตำแหนง่ ทางวิชาการในยคุ น้ี วันท่ี 3 ธันวาคม 2564 จัดโดยคณะอนกุ รรมการ สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศ ไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์. เบญจมาส วงศ์สัตยนนท์. (2562). กรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารยร์ ะดับอดุ มศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการ การอดุ มศึกษา (สกอ). กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทวิโรฒ. เพทาย เยน็ จิตโสมนัส, 2553) ตำแหนง่ ทางวิชาการของอาจารย์มหาวิทยาลัย. บทความ, 2553. มาลณิ ี จุโฑปะมา. (2553). การเห็นคุณคา่ ในตนเองนนั้ สำคัญไฉน? และจะสร้างไดอ้ ยา่ งไร? วารสารวชิ าการมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์. 2(2), 13-16. โมลี สุทฺธโิ มลิโพธ.ิ (2563). ลักษณะของบคุ คลที่มีแรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธ์.ิ วารสารพุทธจิตวิทยา. 5(6), 11-16. ศรดุ า ชัยสุวรรณ, วิชยั วงษใ์ หญ,่ เสริมศักด์ิ วิศาลาภรณ์ และสุดา ทัพสวุ รรณ. (2550). ปัจจัยท่ีเอ้ือต่อ การเข้าสตู่ ำแหน่งทางวิชาการของอาจารยใ์ นมหาวทิ ยาลยั เอกชน. วารสารศึกษาศาสตร.์ 18(2), 85-97. ศรุดา ชยั สุวรรณ. (2564). ปัจจัยทีม่ ีอิทธพิ ลต่อความสุขในการสรา้ งสรรค์ผลงานทางวิชาการของ อาจารย์ในมหาวิทยาลยั เอกชน. วารสารบรรณศาสตร์ มศว. 14(1), 139-152. ศวิ าพร ยอดทรงตระกลู . (2562). “อาจารย์ : ตวั ช้วี ัดสำคัญในการประกนั คุณภาพการศึกษา”. 296

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. 17(2), 22-32. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2558). คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดม ศึกษา พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ : สำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา . (2565). ทำเนยี บผ้ดู ำรงตำแหนง่ ทางวชิ าการ แหง่ ชาติ. ได้มาจาก http://202.44.139.160/FacultyRecord/Report/University/Summary.aspx เปิดดู เม่ือ 15 กุมภาพันธ์ 2565. อำนวยพร มโนวงค์ . (2552). การเขา้ สตู่ ำแหนง่ ทาง วชิ าการ ของอาจารย์มหาวิทยาลัยพายัพ. เชียงใหม:่ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. Cai, Z., Guan, Y., Li, H., Shi, W., Guo, K., Liu, Y., & Hua, H. (2015). Self-esteem and proactive personality as predictors of future work self and career adaptability: An examination of mediating and moderating processes. Journal of Vocational Behavior, 86, 86-94 297

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี รอบรู้จรรยาบรรณ เทา่ ทนั การศกึ ษา 5.0 Ethical Knowledge As Education 5.0 พงศธ์ าริน ฉ่ำสุภาพ E-mail: [email protected] วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ ย์ อัจจมิ า บุญพัตร์ E-mail: [email protected] วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย์ ทวศี ักด์ิ ยอดพังเทียม E-mail: [email protected] วทิ ยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ ย์ ณชั กวติ า แดงสว่าง E-mail: [email protected] วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกจิ บัณฑิตย์ ชุตญิ าดา ผลความดี E-mail: [email protected] วทิ ยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์ ดร. พจมาลย์ สกลเกยี รติ บทคดั ย่อ ปจั จบุ ันความก้าวหน้าในสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเร็วท้ังทางดา้ นสังคม การเมอื ง เศรษฐกิจ การศกึ ษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านของเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทในสังคมมากยิ่งขึ้น ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงที่มากมายใน ปัจจบุ นั กส็ ง่ ผลกระทบตอ่ ผู้ประกอบวชิ าชพี ครูด้วยเช่นกนั ซง่ึ สถานภาพของครูในปัจจุบนั ได้ถูกวพิ ากษ์ วิจารณ์ต่อการ ไมป่ ฏบิ ัตติ ามหลกั จรรยาบรรณวิชาชีพครู จรรยาบรรณวชิ าชีพครูถือเปน็ สง่ิ สำคัญเบื้องต้น ทคี่ รูทุกคนจะต้องปฏิบัติตน ให้ถกู ตอ้ งเหมาะสม ซ่งึ ต่อมาไดม้ ีการกาํ หนดให้มีจรรยาบรรณวิชาชพี ครขู น้ึ เพอ่ื เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตน ของผ้ปู ระกอบวชิ าชีพครู เพอ่ื การคัดกรอง ควบคุมและดแู ลคณุ ภาพของครใู หเ้ ปน็ ตามลักษณะท่ีเหมาะสม ซึ่งการปฏิบัติ ตนตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพครูนั้น ครูจะต้องมีวินัย และพัฒนาตนเองในด้านวิชาชีพอยู่เสมอ ครูจะต้องเป็น แบบอยา่ งทด่ี ีท้งั ของผูเ้ รยี นและของสงั คม และครจู ะตอ้ งมีความรักความสามคั คกี นั ในหมคู่ ณะ และต้องรว่ มมือรว่ มใจกนั เพอื่ พฒั นาและผลกั ดันการศกึ ษา ในการเตรยี มความพรอ้ มสำหรับการศกึ ษาอนาคต 5.0 น้นั ได้มกี ารเตรียมความพร้อม ทั้งทางด้านความรู้และบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งบคุ ลากรครูนัน้ เป็นปจั จัยที่สำคัญสว่ นหนึ่งท่ีจะช่วยยกระดบั คุณภาพ ทางการศึกษา ให้ผู้เรยี นเกิดการพฒั นาในดา้ นความรู้ ความสามารถ ให้ผ้เู รยี นมคี วามพรอ้ มท้ังทางกาย และจติ ใจ เพอื่ อยู่ 298

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้ บทความนีจ้ งึ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ นำเสนอเกยี่ วกบั จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี ครทู ี่ครคู วรปฏิบตั ิ เพือ่ เป็น แนวทางในการส่งเสรมิ บคุ ลากรทางการศกึ ษา และเปน็ แนวทางในการยกระดับคุณภาพการศึกษาของไทยใหด้ ียิง่ ข้ึนตอ่ ไป คำสำคญั : จรรยาบรรณวชิ าชีพครู, การศึกษาอนาคต 5.0, คุณภาพการศกึ ษา ABSTRACT At present, the progress in Thai society is changing rapidly in terms of society, politics, economy, education, especially in the field of technology that plays an increasingly important role in society. Among the many changes today are affecting teachers as well. which the current teacher's status has been criticized Criticism for non-compliance with professional ethics of teachers Professional ethics of teachers are essential. that every teacher must behave properly Subsequently, a professional code of ethics was established for teachers. as a guideline for the behavior of professional teachers for screening control and supervise the quality of teachers to be in an appropriate manner which the practice according to the professional ethics of teachers. Teachers must be disciplined and always develop oneself in the professional field Teachers must be good role models for both students and society. And teachers must have love and unity among the faculty. and must work together to develop and drive education In preparation for future education 5.0, there has been a preparation for both knowledge and educational personnel. The teacher personnel is one of the important factors that will enhance the quality of education. To develop learners in knowledge and ability, to be ready both physically and mentally to live in harmony with others in society. This article therefore aims to present the ethics of teaching profession. that teachers should practice as a guideline for promoting educational personnel and is a guideline for further raising the quality of education in Thailand. Keywords: teacher professional ethics, future education 5.0, educational quality บทนำ สภาพการศกึ ษาในปัจจบุ นั เข้าสูศ่ ตวรรษที่ 21 โลกมกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว กระแสโลกาภิวัตน์ได้เข้ามา มีอิทธิพลหลายๆ ด้านในสังคมไม่เวน้ แต่ระบบทางการศึกษาที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เพื่อก่อให้เกิดความทันสมัยในองค์ความรู้ และสอดคล้องต่อผู้เรียน สถาบันการศึกษามีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้เพือ่ อำนวยความสะดวกให้กับผเู้ รียน (เอกกวรี ์ พทิ กั ษ์ธนัชกลุ , 2557) ซ่งึ การศกึ ษาในยุคปจั จุบนั นนั้ มีการมงุ่ เน้นให้ผู้เรียนมี ทักษะในการประยกุ ต์ใช้ในเร่อื งของเทคโนโลยสี ามารถสร้างนวัตกรรมได้ รวมถงึ ผู้เรียนจะตอ้ งมีทกั ษะในการดำเนินชีวิต ในสถานการณท์ ่เี ปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว (พาสนา จลุ รัตน์, 2561) ในการพฒั นาหลักสตู รหรือการปรับปรงุ หลกั สตู รก็ เป็นอีกปัจจัยสำคัญที่เป็นการยกระดับคุณภาพทางการศึกษาให้ดีขึ้นแล้วยังมีการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้ สอดคล้องกับหลักสูตรและความต้องการของสังคมอีกด้วย (เอกกวีร์ พิทักษ์ธนัชกุล, 2557) ความพร้อมของระบบการ 299


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook