Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ

Published by ED-APHEIT, 2022-04-04 03:34:12

Description: ED-APHEIT 2022 ระดับชาติ ครั้งที่ 6 การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565

Search

Read the Text Version

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขั้นตอนการทำ งานให้ดียิ่งขึ้น ปรับปรุงทันที และทำซ้ำ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนเป็นกระบวนการในขัน้ การประเมนิ (Evaluation) 5. ผลการใช้รูปแบบการเสรมิ สร้างสมรรถนะครู ด้านการจัดการเรยี นรู้ออนไลนใ์ นโรงเรยี นกรุงเทพคริสเตียน วทิ ยาลัย ดา้ นประสิทธภิ าพ ด้านประสทิ ธิผล ดา้ นคณุ ค่า และดา้ นความพงึ พอใจ ปรากฏผลดงั น้ี 5.1 ด้านประสิทธิภาพของรูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ออนไลนใ์ นโรงเรียน กรงุ เทพคริสเตยี นวิทยาลัย ผลปรากฏโดยภาพรวมทกุ ด้านอยู่ในระดบั มาก ข้อทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพอย่ใู นระดับมากที่สุด ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรูอ้ อนไลน์มีความเก่ียวข้องกับงานในหน้าที่ทีต่ ้องรบั ผิดชอบ และ รูปแบบการจดั การ เรียนรูอ้ อนไลนท์ ีน่ ำมาทดลองใช้คุ้มค่าเหมาะสมกับงบประมาณที่ต้องใช้ ข้อที่มีประสทิ ธิภาพอยู่ในระดับมากไดแ้ ก่ รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ออนไลนท์ ี่นำมาทดลองใช้คุ้มค่า เหมาะสมกับสื่อและอุปกรณท์ ี่นำมาปฏบิ ัติ รูปแบบการ จดั การเรียนรอู้ อนไลน์ท่นี ำมาทดลองใชม้ ีการกำหนดวตั ถปุ ระสงคไ์ วอ้ ย่างชัดเจน รูปแบบการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ ทน่ี ำมาทดลองใช้คุ้มค่า เหมาะสมกบั บุคคลท่ีเข้ารว่ มกิจกรรม รูปแบบการจัดการเรียนรูอ้ อนไลนท์ ี่นำมาทดลองใช้ มขี นั้ ตอนชัดเจนและปฏิบตั ไิ ด้ รปู แบบการจดั การเรียนรูอ้ อนไลน์ท่ีนำมาทดลองใช้คมุ้ ค่า เหมาะสมกับระยะเวลา ในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม รูปแบบการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ที่นำมาทดลองใช้คุม้ ค่าและเปน็ ประโยชน์ตอ่ นักเรียน และ ครู รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลนท์ ี่นำมาทดลองใช้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ทีก่ ำหนดไว้ และรูปแบบการจัดการ เรยี นรอู้ อนไลนท์ นี่ ำมาทดลองใชค้ ุ้มค่า เหมาะสมกับสถานท่ี และมีความคดิ เหน็ ท่ีสอดคล้องกันไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจากระบบที่ใช้ในการปฏิบัติทดลองเป็นรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเป็นประจำ สมำ่ เสมอตลอดปีการศึกษา จนเกดิ สมรรถนะในการจัดการเรยี นร้ทู ี่เกิดประสิทธิภาพ สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ Li- Ling Chen (2016) ศกึ ษาเรอ่ื ง รูปแบบการออกแบบการเรยี นการสอนออนไลน์ที่มีประสิทธภิ าพ โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้ด้วยโมเดล ICCEE ได้แก่ 1) Identify กำหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน 2) Choose เลือกแบบเรียน เนื้อหา และเครื่องมือท่ีเหมาะสม 3) Create การสร้างแบบฝึกและเครอื่ งมือวัดผล 4) Engage การมสี ่วนรว่ มในการอภิปราย ร่วมกัน การที่ครูเป็นผู้สนับสนุนในด้านการจัดการเรียนรู้และรับฟังผลสะท้อนกลับของนกั เรยี น 5) Evaluate ผล ประเมินจากชิ้นงาน การนำเสนอผ่านเครื่องมือ ภาระงาน แบบทดสอบ และสมรรถนะของผู้เรยี น สามารถนำเสนอ และตรวจสอบผา่ นออนไลนอ์ ย่างมปี ระสิทธภิ าพแก่ผู้เรียน 5.2 ดา้ นประสทิ ธผิ ลอยู่ในระดบั มาก ขอ้ ที่มีประสทิ ธผิ ลอยู่ในระดับมากทส่ี ดุ คือ รปู แบบสามารถปรับปรุง และพัฒนาให้ดีข้ึนได้อย่างตอ่ เน่ือง รองลงมาขอ้ ทีม่ ปี ระสทิ ธผิ ลอยูใ่ นระดบั มากมี 4 ข้อ ไดแ้ ก่ รูปแบบเกดิ ประโยชน์ ต่อนักเรยี นและครู รปู แบบเกดิ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา รปู แบบเกดิ ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน ของครู รูปแบบทำใหเ้ กดิ การมีสว่ นรว่ มท่ีเกดิ ประโยชน์ต่อส่วนรวม และมีความคดิ เหน็ ทส่ี อดคล้องกันไปในทิศทาง เดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจากรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ที่นำมาทดลองใช้สามารถปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นได้ อย่างต่อเนื่องเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน ต่อครูและต่อส่วนรวม ส่งผลให้เกิด ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของครู ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เอมมิกา วชิระวินท์ และคณะ (2560) เรื่อง การศึกษาประสิทธิภาพหลักสูตรฝึกอบรมออนไลน์เรื่องการประยุกตใ์ ช้เว็บ 2.0 ในชั้นเรียนโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ ร่วมกันบนออนไลน์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะไอซีทีครู ผลการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมออนไลน์กับผู้เรียนที่มี 550

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คุณลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เรียนสามารถใช้งานบนบทเรียนออนไลน์ (e-Learning) ในการเรียนร้ไู ด้ ด้วยตนเอง รวมถึงผเู้ รยี นสามารถใชเ้ ฟซบุ๊ค (Facebook) ในการสอ่ื สารไดอ้ ย่างคล่องแคล่ว และมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม ต่างๆเป็นอยา่ งดี ตลอดจนการ สื่อสารผ่าน โปรแกรม สไกป์ (Skype for business) มีความเหมาะสมเนอ่ื งจากมีความ น่าสนใจ มีบรรยากาศ ในการเรียนรู้ที่ดี สามารถทดแทนการเรียนแบบดั้งเดิม (Face-to-Face) ได้ รวมถึงมีความ เหมาะสมกับเน้ือหาที่ มีความซับซ้อน หรือ การฝึกปฏิบตั กิ ารตา่ งๆ โดยจะต้องมีการกำหนดขั้นตอนและหลักเกณฑ์ ในการใช้ งานเทคโนโลยีต่างๆบนหลักสูตรให้ชัดเจนเหมาะสมแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนสามารถใช้งานผ่านหลักสูตร ฝกึ อบรมบนออนไลนไ์ ด้ 5.3 ดา้ นคุณคา่ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ข้อทมี่ คี ณุ คา่ อยู่ในระดับมากทสี่ ุด คือ รปู แบบมีคุณประโยชน์ ตอ่ ผ้เู รยี นและครู รองลงมาด้านคุณค่าที่อยู่ในระดับมากมี 4 ข้อ ตามลำดบั ได้แก่ รปู แบบทำให้เกิดสมรรถนะของ ครู รูปแบบเป็นพลังขับเคลื่อนให้เกิดคุณภาพต่อการจัดการศึกษา รูปแบบจำเป็นต้องกำหนดเป็นนโยบายสู่การ ปฏบิ ตั ิของโรงเรียน รปู แบบมคี วามสำคัญตอ่ การจัดการศกึ ษา และมคี วามคดิ เหน็ ที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจากยังคงเป็นความจำเป็นอย่างต่อเนื่องในการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ส่งผลให้เกิดการร่วมแรงร่วมใจกัน พัฒนาสื่อการสอนใหน้ า่ สนใจและเกิดคุณค่ามากย่ิงข้ัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ เพ็ญพนอ พ่วงแพ และ อรพิณ ศริ สิ ัมพนั ธ์ (2558) เรือ่ ง การพัฒนารปู แบบการเรียนการสอน เพ่อื สง่ เสรมิ สมรรถนะการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ สังคม สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับ นักศึกษาวชิ าชพี ครู พบวา่ คะแนนผลการเรียนรู้ เร่ือง การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ของนกั ศกึ ษากลุ่ม ขยายผลที่เรยี นโดยใชร้ ูปแบบหลงั เรยี นสงู กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.05 โดยคุณลักษณะหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนนั่นแสดงวา่ รูปแบบการเรียนการสอนเพือ่ ส่งเสริมสมรรถนะการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ สังคมศึกษา สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม สามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมสมรรถนะการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและมปี ระสิทธิผล เกดิ คุณค่า สามารถนำรูปแบบการ เรียนการสอนไปใชไ้ ดท้ นั ที สง่ ผลให้นักศึกษามคี วามสามารถในการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้สงั คมศึกษาได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ 5.4 ด้านความพงึ พอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ข้อทม่ี คี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดับมากที่สุด มี 2 ขอ้ คือ มีความพึงพอใจในรูปแบบที่ผู้วิจัยใช้ในการปฏิบัติงานครั้งนี้ มีความพึงพอใจกับรูปแบบในสถานการณ์ปัจจุบัน รองลงมาข้อที่อยู่ในระดับมากมี 3 ข้อ ได้แก่ มีความพึงพอใจกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการเสริมสร้าง สมรรถนะครเู ก่ยี วกับการจัดการทใี่ ชป้ ฏิบัติการครง้ั นี้ มีความพึงพอใจกับผลการจัดรูปแบบปฏิบัตกิ ารคร้งั นี้ มีความ พึงพอใจกบั กระบวนการหรือวธิ ีการของนวัตกรรมหรือรปู แบบที่ใช้ปฏิบตั ิการครง้ั นี้ และมคี วามคิดเห็นที่สอดคล้อง ไปในทิศทางเดยี วกนั ทัง้ น้เี น่ืองจากผลการปฏิบตั กิ ารทดลองทำให้ครูพึงพอใจกบั รปู แบบการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ใน ปัจจบุ ัน ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่กี ำหนด สามารถจัดทำสือ่ การสอนและการวัดผลสมั ฤทธิ์อย่างมปี ระสิทธภิ าพและรวดเร็ว ทำให้การจัดการเรียนรูใ้ นคาบเรียนเกิดความกระชบั และเป็นไปตามข้ันตอนของระบบ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ภาสกร เรืองรอง (2562) เรื่อง การพัฒนารูปแบบบทเรียนบน Tablet PC ร่วมกับการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 551

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี พบวา่ ความพงึ พอใจของนสิ ิตต่อรปู แบบบนเรียน Tablet PC ร่วมกับการเรียนร้โู ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน การวจิ ัยดำเนิน ตามรูปแบบข้ันตอน ADDIE Model มคี า่ เฉล่ียอยู่ในระดับพงึ พอใจมาก ขอ้ เสนอแนะ 1. การจัดการเรียนรู้ออนไลนใ์ นสถานการณ์ทีค่ รูผู้สอนตอ้ งนำบทเรยี นไปสูผ่ ู้เรียนจากความตอ้ งการของครูใน ดา้ นการจดั การใชร้ ูปแบบสถานการณ์จำลอง การสาธติ เกมทางการศกึ ษา แบบฝึกทักษะ เปน็ สื่อที่ครูผูส้ อนได้พัฒนา อย่างเป็นระบบ เสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ จากผลการวิจัย ควรนำแบบจำลองเอ็ดดี ADDIE ไปใช้กับการเสริมสร้างสมรรถนะครูให้มีความพร้อมในด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้การจัดการเรียนรู้เกิด ประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้ึน 2. ADDIE Model เป็นแบบจำลองรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในการเพิ่มสมรรถนะของครู ด้านการจัดการเรียนรู้ ออนไลน์ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และมีคุณคา่ ควรนำไปใช้เป็นนวตั กรรมทางการบริหารจดั การเรียนรเู้ พอ่ื เปน็ ประโยชนต์ อ่ ครูในศตวรรษที่ 21 หรือ ในยุคแหง่ การเปลย่ี นแปลง 3. โรงเรียนควรกำหนดเป็นนโยบายในการพัฒนาการจัดการเรียนรูอ้ อนไลน์เพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะครใู ห้ สามารถวิเคราะห์บทเรียนหรือ หลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้มี ประสทิ ธิภาพยงิ่ ขนึ้ และจัดเปน็ ตน้ แบบในการเสริมสร้างสมรรถนะครูทกุ รายวชิ า ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครั้งตอ่ ไป 1. ศึกษาพัฒนารปู แบบด้านการจดั การเรยี นรอู้ อนไลน์ จากวชิ าแกนหลักไปสวู่ ิชาที่เปน็ ทักษะหรอื วิชา ปฏบิ ัติให้มากข้ึน เพอ่ื การพัฒนาท่เี กดิ ประสทิ ธิภาพครบทุกดา้ นการเรียนรขู้ องผเู้ รียนเป็นสำคัญ 2. ศึกษาพัฒนารูปแบบการจดั การเรียนรูอ้ อนไลนอ์ ย่างต่อเนื่องเพอ่ื ใหม้ รี ปู แบบที่เหมาะสมกบั ความ เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และการจดั การเรยี นรู้ให้ทันสมัยยง่ิ ข้นึ เอกสารอ้างอิง ภาสกร เรอื งรอง.(2562). การพัฒนารปู แบบบทเรียนบน Tablet PC รว่ มกับการเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน.วารสาร ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร,21 (1),156-171 ____________.(2564). การจดั การเรียนร้อู อนไลนบ์ นฐานชวี ิตใหม่สำหรบั นักเรยี นระดับชนั้ ประถมศกึ ษาตอนปลาย. วารสารรัชต์ภาคย์ , 15(43),101-117 พวงรตั น์ จินพล. (2564) . การจัดการเรยี นออนไลน์ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ใิ นยคุ การเปล่ียนแปลงโลกท่ามกลางวกิ ฤตโควดิ -19 : กรณศี กึ ษาโรงเรียนตนั ตวิ ัตร อำเภอทงุ่ สง จังหวดั นครศรีธรรมราช. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้ ,14(2) พัชราภรณ์ ดวงช่นื . (2563, 23กรกฎาคม). การบริหารจัดการศกึ ษารับความปกติใหม่หลงั วิกฤตโควิด-19. สบื ค้นจาก https://so02.tcithaijo.org/index.php/jam/article/view/243660/165879 พศิ ษิ ฐ ตัณฑวณชิ และ พนา จินดาศร. (2561). ความหมายที่แท้จริงของคา่ IOC. วารสารการวดั การศกึ ษา มหาวทิ ยาลัย 552

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี มหาสารคาม, 4(2), 3-12 เพ็ญพนอ พว่ งแพ และอรพิณ ศิริสมั พนั ธ.์ (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพื่อสง่ เสรมิ สมรรถนะการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรสู้ ังคมศึกษา สำหรบั ครวู ิชาชีพคร.ู วารสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ Veridian มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร (มนุษยศาสตรส์ งั คมศาสตร์และศิลปะ),8(1),430-447 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตยี น.(2563, 20กรกฎาคม). รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR) ประจำปีการศึกษา 2562. สืบคน้ จากhttp://www.bcc.ac.th/wpth/?p=954. รสสคุ นธ์ มกรมณี. (2556). บทบาทของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยีดิจทิ ัลและไอซที ี ท่มี ีผลต่อการเปล่ยี นแปลงของ โลกยุคใหม.่ สบื คน้ จาก https://sites.google.com/site/education429502/it21 วิวรรธน์ จนั ทรเ์ ทพย.์ (2554). การพัฒนารปู แบบฝึกอบรมผสมผสานด้วยการเรยี นรเู้ ปน็ ทีมเพื่อพฒั นาสมรรถนะการ ออกแบบการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการแบบสหวิทยาการสำหรับครผู ู้สอนระดับประถมศึกษา. วารสาร ศิลปากรศึกษาศาสตรว์ จิ ยั , 3(1,2),135-149 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2561). เข้าใจสมรรถนะอย่างง่ายๆ ฉบบั ประชาชน และเขา้ ใจหลักสูตรฐาน สมรรถนะอย่างงา่ ยๆ ฉบับครู ผบู้ ริหาร และบคุ ลากรทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : เอมมิกา วชิระวนิ ท์ และคณะ .(2560). การศกึ ษาประสทิ ธภิ าพหลกั สูตรฝกึ อบรมออนไลน์ เร่ืองการประยกุ ตใ์ ชเ้ ว็บ 2.0 ในช้ันเรียนโดยใชท้ ฤษฎกี ารเรียนรรู้ ว่ มกนั บนออนไลน์เพือ่ ส่งเสรมิ สมรรถนะไอซีทีของคร.ู วารสารวิชาการ ศึกษาศาสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ, 18(1),182-197 John W. Best. (1981). Research in Education, 4 th ed. New Jersey: Prentice – Hall Inc. David C McClelland. (1970). Test for Competency. rather than intelligence American Psychologists. 17(7), pp.57-83. Kruse, K. (2008). Introduction to instructional design and the ADDIE model. Retrieved January 22,2022, from http://www.e-learningguru.com/articles/art2_1.html. Li-Ling Chen (2016). “A Model for Effective Online Instructional Design”. Literacy Information and Computer Education Journal (LICEJ), 6(2), June 2016 Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, pp. 49-60. 553

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี แนวทางพัฒนาครผู สู้ อนกจิ กรรมลกู เสือโรงเรยี นวัดบางควู ดั สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 THE GUIDELINES FOR DEVELOPING SCOUT TEACHERS OF WATBANGKHUWAT SCHOOLS UNDER PATHUMTHANI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1 เฉลมิ ศกั ดิ์ เย่ียมเพ่ือน บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1).ศกึ ษาสภาพและปัญหาของครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวัดบางควู ดั และ 2).ศึกษาแนวทางการพัฒนาครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือโรงเรียนวัดบางคูวัด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 ผู้วจิ ัยไดใ้ ชร้ ปู แบบการวิจยั เชงิ คุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณเ์ ชิงลึก และนำเสนอข้อมูลเชิง พรรณนา โดยการศึกษาสภาพและปัญหาของครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวัดบางคูวัด จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน รองผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน ผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ รองผู้กำกับกลุ่มลูกเสือโรงเรียน ผู้กำกับกองลูกเสือ และรองผู้กำกับกองลูกเสือของโรงเรียนวัดบางคูวัด จำนวน 32 คน และศึกษาแนวทางการพัฒนา ครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต1 จำนวน 1 คน ผ้บู รหิ าร และครจู ากโรงเรียนวัดบางพนู ซง่ึ เป็นโรงเรยี นต้นแบบลูกเสือที่มี แนวปฏบิ ัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จำนวน 5 คน รวมทงั้ ส้นิ 6 คน ผลการวจิ ยั พบวา่ 1 ) สภาพการดำเนินงานของครผู ู้สอนกิจกรรมลกู เสือ โรงเรียนวัดบางควู ดั ที่สำคญั คือ มีการ แต่งตั้งผ้กู ำกบั ลูกเสอื ให้เป็นไปตามระเบียบข้อบงั คบั ของสำนักงานคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง่ ชาติ ผู้บริหารช้ีแจง นโยบายของการจัดกิจกรรมลูกเสือให้ครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือทราบ จัดทำทะเบียน หลักฐาน จัดตั้งกลุ่มกองลูกเสือ ครบถ้วนตาม พ.ร.บ.ลกู เสือ กฎกระทรวง ขอ้ บงั คบั ทเ่ี กย่ี วกับลูกเสอื มกี ารจดั กิจกรรมลกู เสอื ตามหลกั สูตรสถานศึกษาท่ี สอดคล้องกบั หลกั สูตรของสำนักงานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแห่งชาติ และการตดิ ตามและประเมินผลที่เป็นไปตาม หลักสูตรสถานศึกษา2 ) ปัญหาการดำเนินงานของครูผูส้ อนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวดั บางคูวัด คือ การพัฒนาตนเอง ของบุคลากร การจัดบุคลากรให้เพียงพอกับการจัดกจิ กรรมลูกเสอื ความรู้ความเข้าใจในหลกั สูตรลูกเสือ ความร่วมมอื กันในการจัดกิจกรรมลูกเสือ และงบประมาณ อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สื่อและเทคโนโลยี และ3 ) แนวทางการ พฒั นาครผู สู้ อนกจิ กรรมลกู เสอื ที่สำคญั คอื ผบู้ รหิ ารโรงเรียนควรช้แี จงใหบ้ ุคลากรเกดิ ความตระหนักถึงความสำคัญของ กจิ กรรมลกู เสือและหน้าท่ีรับผิดชอบ ศรัทธา ใหถ้ อื เปน็ ภารกิจหลกั สง่ เสรมิ ใหบ้ ุคลากรพฒั นาตนเองใหม้ วี ุฒิทางลูกเสือ 554

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี โดยรัฐเป็นผสู้ นับสนนุ คา่ ใช้จ่าย รวมกลมุ่ โรงเรยี นทอี่ ยูใ่ กลเ้ คยี งเมื่อต้องจัดกจิ กรรมสำคัญ ผ้บู ริหารควรมีนโยบายพัฒนา บคุ ลากรเข้าอบรมการวางแผนการจัดอบรม ฝึกทบทวนกิจกรรมลูกเสอื ตามหลกั สตู ร ผ้บู ริหารกำหนดหน้าทีต่ ามตำแหน่ง ลกู เสือใหบ้ ุคลากรอยา่ งชัดเจน และโรงเรยี นมกี ารจดั สรรงบประมาณในการจดั กจิ กรรมลูกเสืออย่างเพียงพอ คำสำคัญ : การพัฒนาครผู ูส้ อน, กจิ กรรมลกู เสือ,แนวปฎิบัตทิ ่ีเปน็ เลิศ,กิจกรรมลกู เสือ Abstract The purposes of this research were: 1) to study the conditions and problems of scout teachers of Watbangkhuwat school, and 2) guidelines for developing scout teachers of Watbangkhuwat schools under Pathumthani primary educational service area office 1. The researcher used a qualitative research model using in-depth interviews and present descriptive information by studying the condition and problems of the Scout teachers Wat Bang Khu Wat School from key informants School Scout Director, Deputy Director of School Scouts, Director of the Boy Scouts, Deputy Superintendent of School Boy Scouts, Director of the Boy Scouts and deputy director of the Scout Division of Wat Bang Khu Wat School, totaling 32 people and study guidelines for development of Scout teachers from key informants, namely the academics in action studies. Office of Pathum Thani Primary Education Area 1, 1 person, administrators and teachers from Wat Bang Phun School which is a model school for Boy Scouts with best practices, consisting of 5 persons, a total of 6 persons. The results of the research were as follows: 1) The operating conditions of the Scouting Activities Teachers Wat Bang Khu Wat School, the important thing is that the Scout Superintendent has been appointed in accordance with the regulations of the Office of the National Scout Executive Board. The administrators explain the policy of Scouting activities of the Ministry of Education to teachers who teach Scouting activities, prepare registration, evidence, and set up Scout Groups in accordance with the Scouting Act, ministerial regulations, and regulations relating to Scouts. Scouting activities are organized according to the school curriculum that is consistent with the curriculum of the National Scout Executive Board. and monitoring and evaluation This is in accordance with the school curriculum of Wat Bang Khu Wat School. 2) Problems in the operations of Scout teachers. Wat Bang Khu Wat School Under the Pathum Thani Primary Educational Service Area Office, Region 1 is the personnel's self-development. Providing sufficient personnel for Scouting activities. Knowledge of Scouting Curriculum cooperation in organizing Scout activities and budgets, buildings, places, materials, equipment, media and technology; and 3) guidelines for developing Scout teachers importantly, school administrators should explain to personnel the importance of Scouting activities and their responsibility and faith to be the main mission. Encourage personnel to develop themselves to have qualifications in Scouting. with the state sponsoring 555

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี the cost Group nearby schools when important events need to be organized. Executives should have a policy to develop personnel for training in planning and organizing training. Practice reviewing Scout activities according to the curriculum. Executives clearly define duties according to the position of Scouts to personnel and the school has sufficient budget allocated for Scouting activities. บทนำ กิจกรรมลูกเสือของโรงเรียน เป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ัง รา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสรา้ งให้เปน็ ผมู้ ีศีลธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวินัย ปลูกฝังและสรา้ งจิตสำนึก ของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกบั ผู้อื่นอย่างมคี วามสุข กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นมุ่ง พฒั นาผเู้ รยี นใหใ้ ชอ้ งคค์ วามรู้ ทกั ษะและเจตคติ จากการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และประสบการณข์ องผู้เรียนมา ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลใน การพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มงุ่ มั่นในการทำงาน รกั ความเป็นไทย และมจี ิตสาธารณะ เกดิ ทกั ษะการทำงาน และอยู่รว่ มกับผู้อื่นในสังคมได้ อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553) ดังนั้นโรงเรียนจำเป็นจะต้องนำ กิจกรรมลูกเสือไปปฏิบัตอิ ย่างเป็นรูปธรรมโดยส่งเสริมสนบั สนุน การจัดการเรียนการสอนลูกเสือในทุกระดับ และจัด กจิ กรรมในวนั สำคญั ทางลูกเสอื กิจกรรมทักษะการดำรงชีวิต กจิ กรรมทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของลกู เสือ และกิจกรรมบำเพ็ญ ประโยชน์อื่น ๆ มุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีต่อกิจการลูกเสือไทย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนที่ส่งผล ทางด้านคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องเยาวชนไทยต่อไป (ปรติ า พืชผล, 2563) โรงเรยี นวัดบางควู ดั เป็นโรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 เปิดสอน ตัง้ แตช่ น้ั อนุบาลศกึ ษาถงึ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในสว่ นของกจิ กรรมลกู เสือนัน้ โรงเรยี นวัดบางควู ัดในดำเนินการโดยจัด อย่ใู นกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน โดยมงุ่ ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงได้ฝึกปฏิบัตจิ ริงและค้นพบความถนัด ของตนเอง สามารถค้นควา้ หาความรู้เพิม่ เตมิ ตามความสนใจจากแหลง่ เรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย บำเพญ็ ประโยชนเ์ พอื่ สงั คม มี ทักษะในการดำเนินงาน ส่งเสริมให้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์สังคม ศีลธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง สามารถวางแผนชีวิตและอาชีพได้อย่างเหมาะสมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตาม ศักยภาพ พัฒนาการเรียนรู้อย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสรมิ สรา้ งให้เป็นผูม้ ีศลี ธรรม จรยิ ธรรม มีระเบียบวนิ ัย ปลูกฝงั ใหส้ รา้ งจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพอ่ื สงั คม สามารถ จัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสขุ โรงเรียนวัดบางคูวัด ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โดยกิจกรรมลูกเสือ/ เนตรนารี เป็นกิจกรรมที่มุ่งปลูกฝังระเบียบวินัยและกฎเกณฑ์เพื่อการอยู่ร่วมกันให้รู้จักการเสียสละและบาเพ็ญ ประโยชน์แก่สังคมและวิถีชวี ิตในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งการจัดกิจกรรมลกุ เสือ เนตรนารี ให้เป็นไปตามข้อบังคับของ สานักงานลกู เสือแห่งชาติรวมทงั้ ให้สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 คือ ลูกเสือ 556

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สำรอง ชน้ั ประถมศึกษาปีท1ี่ -3 ลูกเสือสามัญ ชั้นประถมศกึ ษาปที 4่ี -6 และลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท1่ี - 3 นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด 40 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา (ระดับประถมศึกษา) 20 ชว่ั โมงตอ่ ปีการศกึ ษา (ระดับมธั ยมศกึ ษา) (โรงเรยี นวัดบางควู ัด, 2563) จากการสัมภาษณ์นายไพโรจน์ กันตพงษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางคูวัด( 29 มกราคม 2565) ได้กล่าวว่า การพฒั นาลูกเสอื ในวดั บางคูวัดจะต้องม่งุ เนน้ ไปท่กี ารพฒั นาคณุ ภาพของผกู้ ำกบั ลูกเสือจะตอ้ งมีความรู้ความสามารถ มี ทักษะในการสอนลกู เสอื ให้ไปในทศิ ทางเดียวกัน โดยจะตอ้ งมีการสำรวจคณุ วฒุ ิของผ้กู ำกับลูกเสือแต่ละท่านว่ามีคุณวุฒิ ความรูแ้ ละความสามารถทางดา้ นใดบ้าง หลังจากนน้ั กส็ ง่ เขา้ ฝกึ อบรมลกู เสือให้ตรงตามคณุ วุฒติ ามระเบยี บของลูกเสือท่ี กำหนดไวเ้ พ่อื ทจี่ ะมาพฒั นานกั เรยี นลกู เสือต่อไป สอดคลอ้ งกับนางมนพร นุ่มนก รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดบางคูวัด ได้กล่าวไว้ว่าการท่ีจะพัฒนากิจกรรมลกู เสือโรงเรียนต้องเร่ิมต้นจากการสำรวจบุคลากรครูที่จะเป็นผู้กำกับว่ามีคณุ วุฒิ ทางด้านลูกเสอื ก่ีคนหลงั จากนั้นกต็ ้องพัฒนาครูผู้สอนลูกเสือ โดยการส่งผู้กำกับเข้าอบรมใหม้ คี ุณวุฒิตามท่ีต้องการซ่งึ สอดคล้องกับแนวคิดของผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางคูวัดที่จะต้องพัฒนาผู้กำกับลูกเสือให้มีความรู้ความสามารถ มี ประสบการณ์ในการสอนลูกเสือมีความรู้ทางลกู เสือทางด้าน B.T.C. A.T.C. และ W.B. เพื่อทจ่ี ะมาพฒั นาลกู เสือโรงเรียน วัดบางคูวัด แต่อย่างไรก็ตามการดำเนนิ งานใด ๆ ย่อมเกิดปัญหาไม่มากก็น้อย การดำเนินงานกิจกรรมลกู เสอื ก็เช่นกัน ปัญหาที่เกิดพบว่า ครูผู้สอนลูกเสือมีวุฒิทางลูกเสือไม่ตรงตามประเภทของลูกเสือในสถานศึกษา ทำให้ครูมีความรู้ ความสามารถ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนลูกเสือไม่ตรงตามหลกั สูตรทีก่ ำหนดไว้ ผเู้ รียนจงึ มคี วามจำกัดในการ พัฒนาการเรียนรู้ ไม่สามารถเรียนรู้ได้ทกุ เรื่องตามประเภทของลูกเสือ ยังไม่มีการพัฒนาครูผู้สอนลูกเสือในโรงเรียนท่ี เป็นรูปธรรม ซึ่งหากโรงเรียนมีแนวทางในการพัฒนาบุคลากรผู้สอนลูกเสอื ของโรงเรียนที่ชัดเจนเป็นรปู ธรรมจะชว่ ยให้ การพัฒนาบุคลากรของโรงเรียนใหเ้ ป็นผมู้ ี ความรู้ ความสามารถ มีความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ พัฒนานกั เรียนของโรงเรียน วดั บางควู ัด ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ สง่ ผลโดยตรงต่อเด็ก ให้มวี นิ ยั ตรงต่อเวลา มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อ่ืนใน อนาคตกจ็ ะได้เปน็ กำลงั สำคญั ในการพัฒนาประเทศชาตติ อ่ ไป จากความสำคัญและปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาแนวทางการพัฒนาครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรยี นวดั บางควู ดั สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซงึ่ มองวา่ การจดั การเรยี นการสอน กิจกรรมลูกเสือที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น ก็ต้องมาจกครูที่มีประสิทธิภาพ มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการถ่ายถอดความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวผู้เรียนนั้น ต้องเริ่มจากการพัฒนาบุคลากรหรือครูผู้สอนให้มีทักษะ มีคุณภาพ มี ความสามารถที่ดีในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน ให้สามารถเรียนได้เต็มศักยภาพ โดยม่งุ ผเู้ รยี นใหม้ ีคุณภาพชวี ิตท่ีดมี ีระเบียบวินยั เกิด ความรกั ความสามคั คใี นหมู่คณะ มีความรบั ผิดชอบ ตลอดจนเป็น การปลกู ฝักจติ สานกึ ในการเปน็ พลเมอื งท่ดี ขี องชาตติ ่อไป วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาของครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวัดบางคูวัด สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต1 2. เพอื่ หาแนวทางการพฒั นาครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสอื โรงเรยี นวัดบางคูวัด สงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต1 557

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี วิธดี ำเนินการวิจยั ขน้ั ตอนที่ 1 ศกึ ษาสภาพและปญั หาของครผู ูส้ อนกิจกรรมลูกเสอื โรงเรียนวัดบางคูวดั สงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 1. ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน รองผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน ผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ รองผู้กำกบั กลมุ่ ลูกเสอื โรงเรียน ผกู้ ำกับกองลูกเสือ และรองผ้กู ำกบั กองลูกเสือของโรงเรียนวัดบางคูวัด สังกัดสำนักงาน เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 จำนวน 32 คน 2. เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล คือ แบบสัมภาษณ์กง่ึ โครงสร้าง ซง่ึ ไดจ้ ากการศึกษาเอกสารและ งานวิจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง แต่ตรวจสอบความครอบคลมุ ของเนอ้ื หาจากอาจารยท์ ี่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ และประเมนิ ความ เหมาะสมของแนวทางการพฒั นาครูผู้สอนกจิ กรรมลูกเสือโรงเรียนวดั บางควู ดั สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 ท่าน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยใช้แบบสัมภาษณ์ก่ึง โครงสร้างทีผ่ ูว้ ิจยั สร้างขึน้ การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ เป็นการสัมภาษณ์ การนัดแนะ เวลา สถานที่แน่นอนไวก้ ่อน และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ เป็นการสัมภาษณ์โดยการพบปะโดยส่วนตัว และมีการจดบันทึก รวมไปถึงการ บันทกึ เสียงของผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ ในการสมั ภาษณ์ผวู้ ิจัยได้ขออนญุ าตใช้เคร่ืองบันทึกเสยี ง เพอ่ื เกบ็ รายละเอียดของข้อมูล ใหไ้ ดถ้ กู ต้องและครบถ้วน โดยไม่ต้องกงั วลกับการจดบันทกึ ซง่ึ จะทำให้การสนทนาเปน็ ไปอย่างธรรมชาติและเป็นกันเอง ผวู้ จิ ยั ทำการสมั ภาษณ์จนครบ 32 คน 4. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ในการศึกษาวิจัยครัง้ นี้ใช้การวเิ คราะหข์ ้อมูลวิธีการเชงิ คุณภาพ โดยเป็นการวิเคราะห์ ข้อมูลแบบบรรยายและพรรณนา (Descriptive Research) เมื่อผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเอกสารและภาคสนามได้ เพียงพอ ตรงตามวัตถุประสงค์แล้ว ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำมาจัดหมวดหมู่ ตามเค้าโครงเรื่องแล้วสรุป ออกมา เพ่อื เปน็ แนวทางในการวิเคราะห์และหาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ต่อไป ขั้นตอนที่ 2 การหาแนวทางการพัฒนาครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือโรงเรยี นวัดบางคูวัด สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ี การศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 ในขน้ั ตอนท่ี 2 แบ่งเปน็ ข้นั ตอนยอ่ ย 2 ข้นั ตอน คือ การสร้างแนวทางการพัฒนา ครผู สู้ อนกจิ กรรมลกู เสอื โรงเรียนวัดบางควู ัด และการรบั รองแนวทางการพฒั นาครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือโรงเรียนวัด บางคูวัด โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1.การสร้างแนวทางการพฒั นาครผู ูส้ อนกิจกรรมลกู เสอื โรงเรียนวัดบางควู ัด 1.1 ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 จำนวน 1 คน และผบู้ ริหาร และครจู ากโรงเรยี นวัดบางพูน ซ่ึงเปน็ โรงเรียนต้นแบบลกู เสือท่มี แี นวปฏบิ ัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) จำนวน 5 คน รวมทงั้ สน้ิ 6 คน 1.2 เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล คอื แบบสัมภาษณ์ก่งึ โครงสรา้ งที่ผวู้ ิจัยสรา้ งขนึ้ ไดจ้ ากการนำ ผลการวิจัยในขั้นตอนที่ 1 มาเป็นประเด็นในการสัมภาษณ์ ใน 5 ประเด็น คือ การพัฒนาตนเองของบุคลากร การจัด บุคลากรให้เพยี งพอกับการจัดกิจกรรมลูกเสอื ความรูค้ วามเข้าใจในหลกั สตู รลกู เสอื ความรว่ มมือกันในการจัดกิจกรรม ลกู เสอื และงบประมาณ อาคาร สถานท่ี วสั ดุอปุ กรณ์ สื่อและเทคโนโลยี 558

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 1.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่ง โครงสร้างที่ผูว้ ิจัยสร้างขึ้น การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ เป็นการสัมภาษณ์ การนัดแนะ เวลา สถานที่แน่นอนไวก้ ่อน และมกี ารจดบันทกึ รวมไปถงึ การบนั ทึกเสยี งของผใู้ หส้ ัมภาษณ์ ในการสมั ภาษณ์ผวู้ จิ ยั ไดข้ ออนญุ าตใชเ้ คร่ืองบันทกึ เสียง เพือ่ เกบ็ รายละเอียดของข้อมลู ให้ได้ถูกต้องและครบถ้วน โดยไมต่ อ้ งกังวลกบั การจดบนั ทกึ ซึง่ จะทำให้การสนทนาเป็นไป อย่างธรรมชาตแิ ละเป็นกันเอง ผู้วิจยั ทำการสมั ภาษณจ์ นครบ 6 คน 1.4 การวิเคราะห์ข้อมูล ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลวิธีการเชิงคุณภาพ โดยเป็นการ วิเคราะห์ ข้อมลู แบบบรรยายและพรรณนา (Descriptive Research) เมื่อผูว้ ิจัยเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากการสมั ภาษณ์ตรง ตามวตั ถปุ ระสงค์แลว้ ผวู้ ิจยั ได้ทำการวเิ คราะห์ข้อมูล โดยนำมาจดั หมวดหมู่ ตามเคา้ โครงเรอื่ งแลว้ สรุปออกมาเป็นแนว ทางการพฒั นาครูผสู้ อนกจิ กรรมลกู เสอื โรงเรียนวดั บางคู 2.การรบั รองแนวทางการพฒั นาครูผูส้ อนกจิ กรรมลูกเสือโรงเรยี นวัดบางควู ดั 2.1 ผู้รับรองแนวทางการพัฒนาครูผสู้ อนกจิ กรรมลูกเสือโรงเรียนวดั บางควู ดั คือ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ จำนวน 7 คน 2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความเหมาะสมของแนวทางการพัฒนา ครูผสู้ อนกจิ กรรมลูกเสอื โรงเรียนวัดบางคูวดั ท่ตี รวจสอบความครอบคลุมและถกู ตอ้ งของเน้ือหาจากอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาการ ค้นคว้าอิสระ 2.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองโดยใช้แบบประเมินแนวทางการพัฒนา ครผู ู้สอนกิจกรรมลูกเสอื โรงเรยี นวัดบางคูวัด จนครบ 7 ฉบบั 2.4 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ด้วยคา่ ร้อยละ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 1. ผลการศึกษาสภาพและปัญหาของครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวดั บางควู ัด สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต1 มรี ายละเอียดดังน้ี 1.1 สภาพการดำเนินงานของครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวัดบางคูวัด พบว่า 1) ด้านบุคลากรลูกเสือ มีการแต่งตั้งผู้กำกับลูกเสือให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ มีการ สำรวจวุฒทิ างลกู เสือของบุคลากรทกุ ปกี ารศึกษา สง่ เสริมให้บุคลากรทยี่ งั ไม่มวี ฒุ ิทางลูกเสอื เข้ารับการอบรมเพื่อให้ได้ วฒุ ทิ างลูกเสอื สง่ เสรมิ บคุ ลากรใหไ้ ด้รับการอบรมเพ่ือให้มีวุฒิทางการศกึ ษาที่สูงขึน้ และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่าง บุคลากรภายในและภายนอกโรงเรียน 2) ด้านการบริหารทั่วไป ผู้บริหารชี้แจงนโยบายของการจัดกิจกรรมลูกเสือของ กระทรวงศึกษาให้ครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือทราบ จัดทำทะเบียน หลักฐาน จัดตั้งกลุ่มกองลูกเสือ ครบถ้วนตาม พ.ร.บ. ลูกเสอื กฎกระทรวง ขอ้ บงั คับทเ่ี กี่ยวกับลูกเสือ วางแผนการดำเนนิ กิจกรรมลูกเสือโดยเน้นการมีส่วนร่วม มีการสำรวจ ความต้องการเกี่ยวกับความเพียงพอวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร ตารา สื่อ คู่มือการดำเนินงานกิจกรรมลูกเสือ และจัดสรร งบประมาณในการจัดซือ้ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการกำเนินงานกิจกรรมลกู เสือของโรงเรียนที่เหมาะสมตามความจำเปน็ 3) ด้านการจัดกิจกรรมลกู เสือ มกี ารจัดกจิ กรรมลูกเสือตามหลักสูตรสถานศกึ ษาที่สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรของสำนักงาน คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ และกฎ ข้อบังคับ เช่น กิจกรรมที่เกี่ยวกับสัญลักษณล์ ูกเสือ กิจกรรมคำปฏิญาณ และกฎ กิจกรรมพัฒนา มีการจัดทำแผนการ 559

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จัดการเรียนรู้กิจกรรมลูกเสือทุกระดับ และยึดหยุ่นตามสถานการณ์ และ 4) ด้านการติดตามและประเมินผล มีการ ประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลกิจกรรมลูกเสือโรงเรยี นให้ครูทุกคน ทำการวัดผลประเมนิ ผลกิจกรรม ลูกเสือให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบางคูวัด ซึ่งนำเกณฑ์การประเมินคุณภาพลูกเสือภายใน สถานศึกษาของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติมาใช้ในการประเมินให้สอดคล้องกัน มีการกำหนดปฏิทิน ระยะเวลา การ ติดตามประเมินผล และครูจะทำการประเมินผลกิจกรรมลูกเสือ โดยทำการจากการสังเกตและเวลาในการเข้าร่วม กจิ กรรม 1.2 ปญั หาการดำเนนิ งานของครผู สู้ อนกจิ กรรมลูกเสอื โรงเรียนวัดบางคูวัด พบว่า ปัญหาการดำเนินงานของ ครูผูส้ อนกจิ กรรมลูกเสือ คือ 1) การพฒั นาตนเองของบุคลากร 2) การจดั บุคลากรให้เพียงพอกบั การจัดกิจกรรมลูกเสือ 3) ความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรลูกเสือ 4) ความร่วมมือกันในการจัดกิจกรรมลูกเสือ และ 5) งบประมาณ อาคาร สถานท่ี วสั ดุอุปกรณ์ ส่อื และเทคโนโลยี 2. แนวทางการพัฒนาครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวัดบางคูวัด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 ซ่ึงมีผลการประเมินความเหมาะสม โดยภาพรวม คดิ เปน็ ร้อยละ 97.61 มีรายละเอยี ดดังนี้ 2.1 ดา้ นการพฒั นาตนเองของบคุ ลากร ได้แก่ 1) ผบู้ ริหารสถานศึกษาควรชีแ้ จงให้บคุ ลากรเกดิ ความตระหนัก ถึงความสำคัญของกิจกรรมลูกเสือ และหน้าที่รับผิดชอบ ศรัทธา ให้ถือเป็นภารกิจหลัก เพื่อพัฒนานกั เรียนดา้ นความ เป็นมนุษย์ การอยู่ร่วมกัน การใช้กฎระเบียบทางสังคม 2) กำหนดนโยบายให้บุคลากรทุกคนในโรงเรียนต้องมีวุฒิทาง ลกู เสอื 3) ส่งเสรมิ ใหบ้ คุ ลากรพฒั นาตนเองให้มวี ุฒิทางลูกเสอื โดยรัฐเป็นผ้สู นับสนุนค่าใช้จ่าย 4) นำผลการปฏิบัติงาน เกย่ี วกบั ลกู เสือให้เปน็ ส่วนหน่งึ ของการพิจารณาความดคี วามชอบ 5) สรา้ งขวญั และกำลังใจให้แก่บุคลากรทเี่ กีย่ วข้องกับ การดำเนินงานกจิ การถูกเสือ และ 6) ส่งเสริมสนับสนนุ ให้บคุ ลากรเขา้ รับการพจิ ารณาคัดเลอื กเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ดีเด่น 2.2 ด้านการจัดบุคลากรให้เพียงพอกับการจัดกิจกรรมลูกเสือ ได้แก่ 1) เชิญวิทยากรพิเศษร่วมกิจการ ลูกเสือ เพื่อแก้ปัญหาบุคลากรไม่เพียงพอหรือขาดความรู้ และ 2) รวมกลุ่มโรงเรียนที่อยู่ใกล้เคียงเมื่อต้องจัดกิจกรรม สำคัญ เช่น การเข้าคา่ ยพกั แรม 2.3 ด้านความรูค้ วามเข้าใจในหลักสตู รลูกเสือ ได้แก่ 1) ผู้บริหารควรมีนโยบายพฒั นาบุคลากรเข้าอบรม การวางแผนการจัดอบรม ฝึกทบทวนกิจกรรมลูกเสือตามหลักสูตรให้แก่บุคลากรทางการลูกเสือ เพื่อเป็นการเพิ่มพูน ประสบการณ์และทบทวนความรู้ทดี่ ีรบั การฝึกมา 2) บุคลากรทางการลูกเสอื ควรมีการเข้ารับการฝกึ อบรมให้เกิดทักษะ ความรู้ที่เหมาะกับหลักสูตรตามระดับชั้นที่สอน 3) บุคลากรทางการลูกเสือควรมีการจัดกิจกรรมลูกเสือ ในแต่ละ หลักสูตรให้เป็นไปตามแผน และสรุปผลตามแผนที่วางไว้ ซึ่งการประเมินคุณภาพงานลูกเสือภายในโรงเรียนควรเน้น การบรู ณาการร่วมกนั 4) บุคลากรทางการลกู เสือควรปฏิบัติตามเกณฑ์ ซึ่งมีการปฏิบตั ใิ นทิศทางที่ใกล้เคยี งกัน กำหนด มาตรฐานดา้ นลกู เสือใหค้ รบู คุ ลากรลกู เสอื ไดป้ ฏบิ ัติตามอย่างเครง่ ครดั 5) จดั ทำแผนการจดั กิจกรรมตามหลักสตู รลูกเสือ ตลอดปีการศึกษา ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนครบถ้วน ถูกต้อง มีการวัดผลและประเมินผลและรายงานอย่างเปน็ ระบบ 6) จดั ทำเอกสารประจำกองลูกเสือของโรงเรียนตรงตามประเภทของลูกเสือ ตามระเบยี บสำนักงานลกู เสือแห่งชาติ มีการบรหิ ารงาน และมเี อกสารหลักฐานพร้อมท้งั จดั เก็บอย่างเป็น ระบบครบถว้ นเปน็ ปัจจุบัน และ 7) ผู้บรหิ ารโรงเรียน ควรมีการนิเทศ กำกบั ติดตามเป็นระยะ 560

การประชมุ วชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครัง้ ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2.4 ด้านความร่วมมือกันในการจัดกิจกรรมลูกเสือ ได้แก่ 1) ผู้บริหารควรมีการวางแผนปฏิบัติงาน กำกบั ติดตาม และประเมินผล ให้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ ตามที่กำหนดไว้ โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วม 2) ผู้บริหาร กำหนดหน้าที่ตามตำแหน่งลูกเสือให้บุคลากรอย่างชัดเจน 3) บุคลากรทางการลูกเสือควรมีความร่วมมือในการจัด กิจกรรมลูกเสอื ให้เกิดการพัฒนา ตอบสนองวัตถปุ ระสงค์ที่กำหนดไว้ 4) สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาควรจดั ให้มีศนู ย์ การจัดกิจกรรมลูกเสือในแต่ละพื้นที่ ภายใต้ความควบคุมของเขตพื้นท่ี เพื่อดำเนินงานด้านกิจกรรมลูกเสือติดตาม ประเมนิ ผล และเปน็ ตวั อย่างในด้านกิจการลูกเสือ โดยผบู้ งั คับบัญชา และครลู ูกเสืออาวโุ สกว่าตอ้ งให้กำลงั ใจ เมื่อมีการ สอนอาจผิดพลาด ไม่ควรตกิ ารกระทำต่อหน้าโดยเฉพาะหน้าท่ีประชมุ เพราะจะทำให้เสียกำลังใจสำหรับผู้ทีต่ ้ังใจ และ อยากฝึก และ 5) บุคลากรทางการลกู เสือ ควรเขา้ ร่วมศึกษาดงู าน การฝึกอบรม โดยมกี ารพบผเู้ ช่ียวชาญ มีการทำความ เข้าใจ รับความรู้ตามคำแนะนำ เพื่อนำมาพัฒนากิจการลูกเสือในโรงเรียน และการถ่ายทอดความรูใ้ ห้กับครูคนอื่นใน โรงเรยี น 2.5 ด้านงบประมาณ อาคาร สถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ สื่อและเทคโนโลยี ได้แก่ 1) โรงเรียนควรมีการสำรวจ ความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับทรัพยากรในการจัดกิจกรรมลูกเสือ ได้แก่ งบประมาณ อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สื่อ และเทคโนโลยี ทกุ ภาคการศึกษา 2) โรงเรยี นมกี ารจดั สรรงบประมาณในการจัดกิจกรรมลกู เสอื อย่างเพียงพอ 3) โรงเรียน มีการจัดหาอาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สื่อและเทคโนโลยีอย่างเพียงพอ 4) โรงเรียนมีการระดมทรัพยากรจาก ภาคเอกชน และชุมชนเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานลูกเสือ และ 5) จัดอาคารสถานท่ี แหล่งเรียนรู้ วัสดุอุปกรณ์ เครอื่ งมือ สอื่ และเทคโนโลยี สำหรับจดั กิจกรรรม และฝึกอบรมลูกเสือตามแผนการจัดกจิ กรรมอย่างมีคุณภาพ เช่น จัด ให้มีห้องลกู เสอื อภปิ รายผล 1. จากผลการศกึ ษาสภาพและปัญหาของครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรยี นวดั บางคูวัด สังกัดสำนักงานเขต พน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 ผวู้ จิ ัยมีประเด็นในการอภิปรายผล ดงั นี้ 1.1 จากผลการศกึ ษาสภาพการดำเนนิ งานของครูผูส้ อนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวดั บางควู ดั พบวา่ โรงเรียน วัดบางคูวัดมีการดำเนินงาน 1) ด้านบุคลากรลูกเสือมีการแต่งตั้งผู้กำกับลูกเสือให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของ สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ มีการสำรวจวุฒิทางลูกเสือของบุคลากรทุกปีการศึกษา ส่งเสริมให้ บุคลากรที่ยังไม่มวี ฒุ ทิ างลูกเสอื เข้ารบั การอบรมเพ่อื ให้ได้วฒุ ิทางลูกเสือ ส่งเสรมิ บุคลากรให้ได้รับการอบรมเพื่อให้มีวุฒิ ทางการศกึ ษาทีส่ งู ขึน้ และการแลกเปลย่ี นเรยี นร้รู ะหว่างบุคลากรภายในและภายนอกโรงเรยี น 2) ด้านการบริหารทั่วไป ผู้บริหารชี้แจงนโยบายของการจัดกิจกรรมลูกเสือของกระทรวงศกึ ษาใหค้ รูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือทราบ จัดทำทะเบียน หลักฐาน จดั ต้ังกลมุ่ กองลกู เสอื ครบถว้ นตาม พ.ร.บ.ลูกเสอื กฎกระทรวง ข้อบงั คับท่เี กยี่ วกับลูกเสอื วางแผนการดำเนิน กิจกรรมลูกเสือโดยเน้นการมีสว่ นรว่ ม มีการสำรวจความต้องการเกี่ยวกับความเพียงพอวัสดุ อปุ กรณ์ เอกสาร ตารา สื่อ คู่มือการดำเนนิ งานกจิ กรรมลูกเสือ และจัดสรรงบประมาณในการจัดซื้อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการกำเนินงานกิจกรรม ลูกเสือของโรงเรียนที่เหมาะสมตามความจำเป็น 3) ด้านการจัดกิจกรรมลูกเสือ มีการจัดกิจกรรมลูกเสือตามหลักสูตร สถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ และกฎข้อบังคับ เช่น กิจกรรมที่เกี่ยวกับสัญลักษณ์ลูกเสือ กิจกรรมคำ 561

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ปฏิญาณ และกฎ กิจกรรมพัฒนา มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมลูกเสือทุกระดับ และยึดหยุ่นตาม สถานการณ์ และ 4) ด้านการติดตามและประเมินผล มีการประชุมชี้แจงเก่ียวกับการติดตามและประเมินผลกิจกรรม ลูกเสือโรงเรียนให้ครูทกุ คน ทำการวัดผลประเมนิ ผลกิจกรรมลูกเสือให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวดั บางควู ัด ซึง่ นำเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพลกู เสือภายในสถานศึกษาของสำนกั งานลกู เสอื แห่งชาติมาใช้ในการประเมินให้ สอดคลอ้ งกนั มีการกำหนดปฏิทนิ ระยะเวลา การตดิ ตามประเมนิ ผล และครูจะทำการประเมินผลกิจกรรมลกู เสือ โดยทำ การจากการสงั เกตและเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรม ทงั้ นี้อาจเนื่องมาจาก โรงเรียนวัดบางคูวดั ตระหนักถึงความสำคญั ของ การบุคลากรลกู เสือ ซ่งึ บคุ ลากรมคี วามสำคญั ต่อการพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ของโรงเรยี นเปน็ อยา่ งมาก ดังนนั้ ครตู ้องได้รับ การฝกึ อบรมวิชาผูก้ ำกับลูกเสือ และมคี ุณสมบัติเหมาะสม ไดร้ บั การแต่งตั้งตามข้อบงั คับคณะลูกเสือแห่งชาติมีความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองลูกเสือ มีทักษะดา้ นมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ เกี่ยวกับการวางแผน การปฏิบัตกิ ิจกรรมลูกเสอื จึงจะทำให้การ ดำเนินงานกจิ กรรมลกู เสอื ของสถานศกึ ษาสำเร็จบรรลุตามวตั ถุประสงค์ทวี่ างไว้ สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ เรอื งณวิน มี ดินดา (2558) เร่ือง การพัฒนาแนวทางการบริหารกิจการลกู เสอื - เนตรนารี สามญั ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ทใ่ี หข้ อ้ เสนอแนะไวว้ า่ ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนควรสนับสนุน ส่งเสริมให้บุคลากร ได้เข้าร่วมการอบรม สัมมนาหรือดงู านเกี่ยวกับกิจการลูกเสือ เพื่อพัฒนาบุคลากรท่ีเกีย่ วข้องกับการดำเนินงานกิจการ ลกู เสือ – เนตรนารสี ามญั ในสถานศึกษา นอกจากนี้ กจิ กรรมลกู เสือเปน็ กิจกรรมทสี่ ำคญั ตอ่ เยาวชนมกี ระบวนการพฒั นา ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่สามารถตอบสนองความมุ่งหมายทางการศึกษาของรัฐอีกทั้งยังเป็นกระบวนการสากลที่มี รูปแบบวิธีการพิเศษเฉพาะทาง มีเนื้อหากิจกรรมตามสาระต่าง ๆ ที่เหมาะสมตามวัยของนักเรียน ดังนั้นจึงต้องจัด กิจกรรมลูกเสือตามหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรของสำนกั งานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานกระทรวงศึกษาธกิ าร และกฎขอ้ บงั คบั สอดคล้องกับงานวิจัยของ ชาญชัย ชุม่ เมอื งเยน็ (2555) วจิ ัยเร่อื งการบริหารกิจการลูกเสือในสถานศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 3 พบว่า ครูผู้สอนควรจัดการเรยี นการสอนตามหลักสูตรและจัดกิจกรรม การเรียนการสอนตามแผนการ จัดการเรยี นร้อู ยา่ งจริงจัง มีการใช้สื่อ นวัตกรรมใหม่ ๆ 1.2 ปัญหาการดำเนินงานของครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวัดบางคูวัด สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 พบว่า มีปัญหาในประเด็น ดังน้ี1 ) การพัฒนาตนเองของบุคลากร2 ) การจัด บุคลากรให้เพียงพอกับการจัดกิจกรรมลูกเสือ3 ) ความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรลูกเสือ4 ) ความร่วมมือกันในการจัด กิจกรรมลูกเสือ และ5 ) งบประมาณ อาคาร สถานท่ี วสั ดอุ ปุ กรณ์ สือ่ และเทคโนโลยี ทั้งนอี้ าจเน่ืองมาจาก บคุ ลากรบาง คนยงั ไม่ให้ความสำคญั กับการพฒั นาตนเองให้มีวุฒิทางลูกเสอื เนอื่ งจากภาระการสอนในกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่นื ๆ ก็มี มากอยู่แล้ว บางทีครูทีเ่ ข้ามาสอนใหม่ ๆ จึงยงั ไมม่ โี อกาสได้เข้าอบรมวุฒิทางลูกเสอื สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ โยษิตา อุ่นเปง็ (2559) เรอ่ื งแนวทางการบริหารกจิ กรรมลูกเสือของโรงเรยี นบ้านใหม่ สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา พะเยา เขต 1 พบว่า การบริหารกิจกรรมลูกเสือของโรงเรียนบ้านใหม่ในด้านการจัดบุคลากร มีปัญหาอยู่ในระดับมาก โดยการจัดผกู้ ำกับลกู เสือเพยี งพอตอ่ การเรียนการสอนกิจกรรมลกู เสือ การจัดบคุ ลากรในการจดั กิจกรรมลูกเสือตรงต่อ ความรู้ความสามารถ มีปัญหาอยู่ในระดับมาก และงานวิจัยของ วรเดช จริงจังชนังกูล (2559) เรื่องแนวทางการ ดำเนนิ งานกิจกรรมลูกเสือในโรงเรียนจงั หวัดนครสวรรค์ สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 42 พบว่า ปัญหาการดำเนินงานกิจกรรมลูกเสือในโรงเรียนจงั หวัดนครสวรรค์ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก โดยประเด็นท่ีมีปัญหา 562

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สูงสุด คือ การให้ความสนใจงานลูกเสือ รองลงมา คือ ความรู้ความเข้าใจของครูในหลกั สูตรลูกเสือในระดับทีส่ อน และ ความรว่ มมือกนั ในการจัดกจิ กรรมลูกเสอื 2. การหาแนวทางการพัฒนาครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวัดบางคูวัด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 ซึ่งมผี ลการประเมินความเหมาะสม โดยภาพรวม คิดเป็นรอ้ ยละ97 .61 พบว่า ผบู้ ริหารโรงเรียนควรช้แี จงใหบ้ ุคลากรเกิดความตระหนกั ถงึ ความสำคัญของกิจกรรมลกู เสือและหน้าท่ีรบั ผิดชอบ ศรทั ธา ให้ถือเป็นภารกิจหลัก ส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเองให้มีวุฒิทางลูกเสือ โดยรัฐเป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่าย รวมกลุ่ม โรงเรียนที่อยู่ใกล้เคียงเมื่อต้องจัดกิจกรรมสำคัญ ผู้บริหารควรมีนโยบายพัฒนาบุคลากรเข้าอบรมการวางแผนการจดั อบรม ฝกึ ทบทวนกิจกรรมลูกเสือตามหลกั สูตร ผูบ้ รหิ ารกำหนดหน้าทตี่ ามตำแหน่งลูกเสือให้บุคลากรอย่างชัดเจน และ โรงเรยี นมีการจัดสรรงบประมาณในการจัดกจิ กรรมลกู เสอื อย่างเพียงพอ ท้งั นีอ้ าจเน่ืองมาจาก การสรา้ งความตระหนักให้ เกิดกับครู มคี วามสำคัญเพราะการตระหนกั รู้จะช่วยให้ทำงานร่วมกับผู้อืน่ ได้ดีข้นึ เพราะการเข้าใจตนเองทำให้เรารับรู้ อารมณ์ภายในไดด้ ี ทำให้สามารถควบคุมตวั เอง ความคิด และพฤติกรรม เพื่อให้แสดงออกได้อยา่ งเหมาะสม รวมไปถงึ การสง่ เสรมิ การสนับสนนุ การสรา้ งขวัญและกำลังใจจะทำใหก้ ารทำงานประสบการความสำเร็จได้เป็นอย่างดี สอดคล้อง กับงานวิจัยของ ชาญชัย ชุ่มเมืองเย็น (2555) เรื่องการบริหารกิจการลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 พบว่า แนวทางการบริหารงานกิจการลูกเสือในสถานศึกษา ประการสำคัญคอื ผู้บริหารควรสง่ เสรมิ สนับสนุนใหค้ รูผรู้ ับผดิ ชอบงานลูกเสือ ได้รับการอบรม พฒั นาทักษะการจัดกระบวนการเรียนการ สอนวิชาลูกเสือ ให้มีคนอยู่เสมอ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ วรเดช จริงจังชนังกูล (2559) เรื่องแนวทางการ ดำเนินงานกจิ กรรมลูกเสือในโรงเรียนจงั หวัดนครสวรรค์ สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 พบว่า แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมลูกเสือ ด้านบุคลากรลูกเสือ คือ ผู้บริหารโรงเรียนมีนโยบายแผนงานส่งบุคลากรเข้า อบรมวางแผนการจัดอบรม ฝึกทบทวนกิจกรรมลูกเสือให้แก่บุคลากรทางการลูกเสอื เพื่อเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ และทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษามา และสอดคล้องกับแนวคิดของ สุรเดช รอดจินดา (2560) ที่กล่าวว่า ผู้บริหาร สถานศึกษาต้องสรา้ งความตระหนกั ในการจัดกจิ กรรมลูกเสือ ให้แก่ ครู บุคลากรในสถานศึกษา และให้ผู้บังคับบัญชา ลูกเสือ แต่งเครื่องแบบลูกเสือ เพื่อเป็นแบบอย่างแก่ลูกเสือในสถานศึกษา สถานศึกษาต้องจัดทำโครงสร้างการ บรหิ ารงานลูกเสือในสถานศึกษา และให้ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาส่งเสรมิ และสนับสนุนให้ขวญั กำลังใจแก่บุคลากรทางการ ลกู เสอื และลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด สมาชิกผู้บำเพ็ญประโยชน์ในสถานศึกษา ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวจิ ยั ไปใช้ 1.1 จากผลการวิจัยที่พบว่า โรงเรียนวดั บางคูวัด มีบุคลากร จำนวน 32 คน แต่มีครูที่ไมม่ ีวุฒทิ างลูกเสือ 8 คน แสดงว่า มีบุคลากรที่จัดกิจกรรมลูกเสือ 24 คน ซึ่งอาจจะไม่เพียงพอสำหรับการจัดกิจกรรมลูกเสือของโรงเรียน ดงั น้ัน ควรสง่ เสริมให้บคุ ลากรทีย่ ังไม่มีวฒุ ทิ างลกู เสือเขา้ รับการอบรมเพอ่ื ให้ไดว้ ฒุ ทิ างลูกเสอื 1.2 จากผลการวจิ ยั ทีพ่ บวา่ ปญั หาการดำเนินงานของครูผูส้ อนกิจกรรมลกู เสือ โรงเรยี นวัดบางคูวดั เกิดจาก การพัฒนาตนเองของบุคลากร การจัดบุคลากรให้เพียงพอกับการจัดกิจกรรมลูกเสือ ความรู้ความเข้าใจในหลักสูตร ลกู เสอื ความร่วมมือกนั ในการจัดกิจกรรมลูกเสอื และ งบประมาณ อาคาร สถานท่ี วัสดอุ ปุ กรณ์ สอ่ื และเทคโนโลยี ซึ่ง 563

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านบุคลากรดังนั้นผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาตนเองของบุคลากร โดย กำหนดนโยบายในการใหค้ รูได้เข้ารับการฝกึ อบรมทางลกู เสอื อยา่ งจริงจงั 1.3 จากผลการวิจัยที่พบว่า แนวทางการพัฒนาครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ โรงเรียนวัดบางคูวัด สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ประกอบด้วย 1) การพัฒนาตนเองของบุคลากร 2) การจัด บุคลากรให้เพียงพอกับการจัดกิจกรรมลูกเสือ 3) ความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรลูกเสือ 4) ความร่วมมือกันในการจัด กิจกรรมลกู เสือ และ 5) งบประมาณ อาคาร สถานที่ วัสดอุ ปุ กรณ์ ส่อื และเทคโนโลยี ซึง่ เปน็ การศกึ ษาจากมีผู้ให้ข้อมูล สำคัญจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 และผู้บริหาร และครูจากโรงเรียนวัดบางพูน ซ่ึง เป็นโรงเรยี นต้นแบบลกู เสือที่มแี นวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ดงั น้นั ผูบ้ ริหารโรงเรียนวัดบางคูวัดควรนำมาเป็น แนวทางในการกำหนดนโยบายการพัฒนาครูผ้สู อนกจิ กรรมลกู เสอื เพอื่ ใหก้ ารดำเนินกจิ กรรมลูกเสอื มีประสิทธิภาพมาก ยงิ่ ขึน้ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครง้ั ต่อไป 2.1 การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ จึงได้ข้อมูลเฉพาะในเชิงลึกเท่านั้น ดังนั้นเพื่อเพิ่มความ น่าเช่อื ถอื ให้กับขอ้ มูลจงึ ควรเพม่ิ เติมในเชงิ ปริมาณดว้ ย 2.2 ควรมีการศึกษาถึงความเหมาะสม และความเปน็ ไปได้ของแนวทางการพฒั นาครูผ้สู อนกจิ กรรมลูกเสือ โรงเรยี นวดั บางควู ัด สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 ท่ีสร้างขน้ึ เพอ่ื ประเมินแนวทางให้ มคี วามน่าเช่อื ถือมากข้ึน เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2553). แนวทางการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช2551 . กรุงเทพฯ: ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. ชาญชัย ชุ่มเมอื งเยน็ . (2555). การบริหารกิจการลูกเสอื ในสถานศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต3 . วิทยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งราย. ปรติ า พชื ผล. (2563). การพัฒนาการบรหิ ารงานลูกเสอื สามญั รุน่ ใหญ่ โรงเรียนเวียงสระ สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นท่ี การศึกษามธั ยมศึกษา เขต11 . การคน้ คว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา, มหาวิทยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี. ไพโรจน์ กันตพงษ์. (2565,29 มกราคม). ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดบางคูวดั . สัมภาษณ.์ โยษิตา อุ่นเปง็ . (2559). แนวทางการบรหิ ารกิจกรรมลูกเสอื ของโรงเรียนบ้านใหม่ สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษาพะเยา เขต1 . การค้นควา้ อิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งราย. เรอื งณวิน มีดนิ ดา. (2558). การพัฒนาแนวทางการบริหารกิจการลูกเสอื -เนตรนารี สามัญในสถานศกึ ษา สงั กัด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต3 . วิทยานพิ นธก์ ารศึกษามหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา, มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. 564

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนวัดบางควู ัด. (2563). หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดบางคูวดั ปีการศึกษา2563 . กรุงเทพฯ : โรงเรียน วดั บางควู ัด. วรเดช จริงจงั ชนังกลู . (2559). แนวทางการดำเนนิ งานกจิ กรรมลูกเสอื ในโรงเรยี นจังหวดั นครสวรรค์ สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต42 . วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศกึ ษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค.์ สุรเดช รอดจินดา. (2560). แนวทางการพฒั นากจิ กรรมลกู เสือในสถานศึกษา. นา่ น: สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา ประถมศึกษานา่ น เขต1 . 565

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครงั้ ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี แนวทางการสง่ เสรมิ การทำวจิ ัยในชนั้ เรยี นของครูผสู้ อนในโรงเรียนขยายโอกาส สงั กดั สำนักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 The Guidelines for Promoting Classroom Research of Teachers in the Opportunity Expansion School, PathumThani Primary Educational Services Area Office1 สภุ าพร หมายตามกลาง บทคัดย่อ การวิจัยครัง้ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1 ) เพื่อศึกษาระดับสภาพการส่งเสริมการทำวจิ ัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนใน โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 2) เพ่อื ศึกษาแนวทางการส่งเสริม การทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรยี นขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้วิธกี ารวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอยา่ ง คือ ผู้บริหาร และครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขต พนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซ่ึงไดม้ าโดยการสุ่มตวั อยา่ งแบบง่าย จำนวน 265 คน เครอื่ งมือที่ใช้ในการ วิจัยได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสนทนากลุ่ม มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา ระหว่าง 0.67-1.00 มีค่าความเที่ยงของ แบบสอบถาม เท่ากบั 0.79 วเิ คราะห์ข้อมูลโดยคา่ เฉล่ยี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และรอ้ ยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับสภาพการทำวิจัยในชนั้ เรียนของครผู ู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านนโยบายและแผน สง่ เสริมการดำเนนิ งานวิจัยในชั้นเรยี น รองลงมา คอื ด้านการสรา้ งแรงจงู ใจในการทำวิจยั ในชน้ั เรียน และด้านการสร้าง ความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับงานวจิ ยั ในช้ันเรยี น ตามลำดบั 2) แนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 ประกอบด้วย 1) การกำหนดนโยบายและแผนส่งเสริม 2) การสร้างความรู้ความ เข้าใจ 3) การจัดหาทรัพยากรและแหล่งเรยี นรู้ 4) การสร้างแรงจูงใจ 5) การกำกับตดิ ตามการดำเนินงานวิจยั อย่างเปน็ ระบบและตอ่ เน่ือง 6) การเผยแพร่ผลงานวจิ ัย และ7 ) การสรา้ งเครอื ข่ายทางการศึกษา คำสำคญั : การวิจัยในชั้นเรียน, แนวทางการสง่ เสริมการทำวิจัย, การพฒั นาครูโรงเรยี นขยายโอกาส 566

การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังท่ี 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วิกฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ABSTRACT The objectives of this research were 1) to study the level of Promoting Classroom Research of Teachers in the Opportunity Expansion School, Pathum Thani Primary Educational Services Area Office 1 2) to study the guidelines for Promoting Classroom Research of Teachers in the Opportunity Expansion School, Pathum Thani Primary Educational Services Area Office 1. Thisresearch was mixed methods research, a sample was selected from 265 school directors and teachers in the Opportunity Expansion School, Pathum Thani Primary Educational Services Area Office 1. The research instruments were 1) a questionnaire and 2) Focus group. The validity during 0.67-1.00.The data were analyzed using mean, standard deviation and percentage. The results showed that 1) the level of the level of Promoting Classroom Research of Teachers in the Opportunity Expansion School, Pathum Thani Primary Educational Services Area Office 1 was the highest level. The highest mean was the policy and the plan to promote classroom research.The second one was motivation for doing classroom researchand the third one was creating knowledge and understanding about classroom research. 2) The guidelines for Promoting Classroom Research of Teachers in the Opportunity Expansion School, Pathum Thani Primary Educational Services Area Office 1 were 1) Planning 2) Cooperate 3) Advocate 4) Motivating 5) Nourish & Coach 6) Publishing and 7) Educational Network. KEYWORDS : classroom research, the guidelines for Promoting Classroom Research, development of teachers in the Opportunity Expansion School บทนำ การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว การแข่งขันกันทางด้านเศรษฐกิจ ค่อนข้างสูง การ ติดต่อสื่อสาร การคมนาคม และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทำให้สะดวกและรวดเร็วก่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้า ทางด้านเทคโนโลยี ประเทศใดที่เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ประเทศนั้นก็จะมีความเจริญก้าวหน้า มี ความมัน่ คง และไดเ้ ปรยี บทางการแข่งขนั เพราะมที รพั ยากรมนุษยท์ ่ีมีคุณภาพ ซงึ่ สะท้อนใหเ้ ห็นถึงความสำคัญของ ระบบการศกึ ษาท่สี ามารถตอบสนองต่อกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง ประเทศไทยในปัจจุบันกำลังเผชญิ กับปัญหาการ เปล่ียนแปลงทส่ี ำคัญในหลายดา้ นทง้ั ทีเ่ ป็นโอกาส และขอ้ จำกดั ในการพฒั นาประเทศ จงึ จำเป็นตอ้ งเตรียมความพร้อม ในเรื่องของคน และระบบเพื่อให้สามารถปรับตัวพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงและรู้เท่าทันโลก ซึ่งในการพัฒนา 567

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประเทศตามพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ. 2560-2564) ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศเน้นการเสริมสร้าง และพัฒนาศักยภาพทุนมนุษยใ์ หค้ วามสำคญั กับการวางรากฐานการพัฒนาคนให้มคี วาม สมบูรณ์ พัฒนาคนไทยในทุกช่วงวัยใหเ้ ป็นคนดมี ีสุขภาวะที่ดี มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสำนึกท่ีดีต่อ สังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้ และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัว บนพื้นฐานของการมี สถาบันทางสังคมที่เข้มแข็งท้ังสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนที่ ร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกทั้งยังเป็นทุนทางสังคมสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต,ิ 2559, น. 65) การจดั การศึกษาเป็นกระบวนการท่มี ีความสำคญั ต่อการพฒั นาประเทศ เนือ่ งจากการศึกษาเป็นรากฐานของ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรคท์ ่ีจะทำใหเ้ กดิ ความรู้ และนวัตกรรมใหมๆ่ เพอ่ื ใช้เป็นเครื่องมือในการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ อย่างยง่ั ยนื และพัฒนาศกั ยภาพการแข่งขันของประเทศ ดังน้นั จงึ ต้องปฏริ ูปการศึกษาขึ้นมาอยา่ งจริงจัง โดยการออก พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งพระราชบญั ญตั ฉิ บับนีเ้ ป็นกฎหมายแม่บททางการศึกษาฉบับแรก ของประเทศไทย ส่งผลให้เกดิ กระแสสรา้ งความตนื่ ตัวและความเคลอื่ นไหวในการดำเนนิ งานทง้ั หนว่ ยงาน องค์กร และ บุคคลที่เกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ ต่อมาได้มีการปรบั แกก้ ฎหมาย โดยออกเป็นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทีแ่ กไ้ ขเพ่มิ เตมิ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 แก้ไขเพมิ่ เติมฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2553 และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562 ซึ่งเป็นกฎหมายทางการศึกษาที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน กฎหมายฉบับนี้มีเจตนารมณ์ และเป็นหัวใจสำคัญของการ ปฏิรูปการศึกษา กล่าวคือการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด นอกจากนี้ยังได้ระบุไว้ชัดเจน ในหมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 24(5) กำหนดให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ส่ือ การเรียนการสอน และอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนร้แู ละมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย เปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการเรยี นรู้ ท้งั นผ้ี ูส้ อนและผู้เรยี นอาจเรยี นรไู้ ปพรอ้ มกัน จากส่อื การเรียนการสอนและแหล่ง วิทยาการประเภทต่างๆ และมาตรา 30 กำหนดว่าให้สถานศึกษาพัฒนาการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้ง ส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนในแต่ละระดับการศึกษา (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ, 2562, น 14-17) คณะกรรมการคุรุสภา ได้ประกาศรายละเอียดของมาตรฐานความรู้ และประสบการณ์ วิชาชพี ครู ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 ซ่งึ ได้กล่าวถงึ การวัดประเมินผลการ เรียนรู้ และการวิจัยเพื่อแก้ปญั หา และพัฒนาผู้เรียน โดยกำหนดในสาระความรู้และสมรรถนะของครู ดังนี้ สาระ ความรู้ ได้แก่ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวิจยั เพ่ือแกป้ ญั หา และพฒั นาผ้เู รยี น กำหนดสมรรถนะไว้ดังน้ี วัด และประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผู้เรยี น และนำผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการพฒั นาผู้เรยี นได้ เลอื กใช้ผลการวิจัยไปใช้ใน การจัดการเรยี นรู้ได้ ทำวิจยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน และพัฒนาผู้เรียนได้ (ราชกิจจานเุ บกษา, 2563, น. 11-12) การวิจัยในชัน้ เรียนเปน็ การแสวงหาแนวทาง วิธีการหรอื นวัตกรรมเพือ่ แก้ปัญหา หรอื พัฒนาผเู้ รียนโดยครซู ่ึงมีความรู้ เกี่ยวกับสภาพปัญหาของผู้เรียน และการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนอย่างดีที่สุด ได้แก่ การวางแผน การปฏิบัติการ สังเกต และการสะท้อนหรือประเมินผลการปฏิบัติ ดงั นนั้ การวิจยั ในช้ันเรียนจึงเปน็ กระบวนการวิจัยปฏิบัติการที่มุ่ง แก้ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนและการจัดการเรียนการสอนของครูอย่างเป็นระบบมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 568

การประชมุ วิชาการและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหมห่ ลงั วิกฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ปัญหาการวิจัยเป็นปัญหาที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ของครู การพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน โดยมีครูเป็น ผู้ดำเนินการวิจัย และใช้ผลการวิจัยในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เป็นการคิดค้น พัฒนา หรือสร้างนวัตกรรมใหม่ ผลการวิจยั สามารถนําไปใชป้ รับปรุงแกไ้ ขปัญหาทีเ่ กิดข้ึนไดท้ นั ที (จติ ตริ ตั น์ แสงเลศิ อทุ ยั และชัยยธุ มณรี ตั น์, 2562) โดยแนวคิดการวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) เป็นการเปิดโอกาสให้ครูได้ค้นหาสะท้อนผลการ ปฏบิ ตั ิ และการแปลความหมายของผลการวิจัยด้วยตนเอง เป็นการวิจยั ท่ที ำโดยครผู สู้ อนในช้ันเรยี น เพอื่ แก้ไขปัญหา ทเี่ กดิ ขน้ึ ในชน้ั เรยี น และนำผลมาใช้ในการปรับปรงุ การเรียนการสอน หรอื ส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนให้ดีย่ิงข้ึน ทั้งน้ี เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกบั ผูเ้ รียน การวิจยั ที่ต้องทำอยา่ งรวดเร็วนำผลไปใชท้ ันที และสะท้อนข้อมลู เกี่ยวกับการ ปฏิบตั งิ านตา่ งๆ ในชีวติ ประจำวันของครู และเพื่อนร่วมงานในโรงเรียนได้มีโอกาสวิพากษ์อภปิ รายแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในแนวทางปฏิบตั ิ และผลทเ่ี กิดขนึ้ เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรูท้ งั้ ของครู และผเู้ รยี น (สุกญั ญา แชม่ ช้อย, 2559) ที่ผ่านมาโรงเรียนขยายโอกาส ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ครูยัง ประสบกับปัญหาต่างๆ ในการทำวิจัยในชั้นเรียน จากรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปี การศึกษา 2562 พบว่ามาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ตัวบ่งชี้ที่ 3.5 การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ ค่าเฉลี่ยผลการประเมินอย่ใู น ระดับปานกลาง (สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1, 2562) ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาแนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนใน โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งจะเป็นข้อมูลและเป็น แนวทางสำคัญที่จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนา และส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพการ จัดการเรียนการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเป็นขอ้ มูลใหก้ บั สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่จะส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนให้ทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของประเทศตอ่ ไป วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั 1) เพอื่ ศึกษาระดับสภาพการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรยี นของครูผสู้ อนในโรงเรียนขยายโอกาส สงั กัด สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 2) เพอื่ ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการทำวจิ ยั ในชนั้ เรียนของครูผู้สอนในโรงเรยี นขยายโอกาส สังกัดสำนกั งาน เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 วิธดี ำเนินการวิจยั ขั้นตอนท่ี 1 การวจิ ัยเชิงปริมาณศกึ ษาสภาพการทำวจิ ัยในชนั้ เรียนของครูผ้สู อนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามสภาพการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 569

การประชมุ วิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลงั วกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 มีลกั ษณะเปน็ มาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดบั ซง่ึ มคี า่ ความตรงเชิงเนอื้ หาระหวา่ ง 0.67- 1.00 และมีค่าความเที่ยง เท่ากบั 0.79 กลุ่มผู้ให้ข้อมลู ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ าร และครใู นโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนกั งาน เขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 ไดม้ าโดยการส่มุ ตัวอยา่ งแบบง่าย จำนวน 265 คน ขั้นตอนที่ 2 การวิจัยเชิงคุณภาพศึกษาแนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนใน โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 เคร่ืองมือทีใ่ ช้ ได้แก่ แบบ สนทนากลุ่ม กล่มุ ผู้ให้ขอ้ มลู มลู ได้แก่ 1) ศึกษานิเทศก์ 2) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น 3) หวั หนา้ งานบรหิ ารวชิ าการ 4) ครู ชำนาญการพเิ ศษ โดยวิธีการสนทนากลมุ่ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู การวจิ ัยแนวทางการส่งเสริมการทำวิจยั ในช้นั เรยี นของครูในโรงเรยี นขยายโอกาส สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 ผูว้ ิจยั ขอนำเสนอผลการวิจัยดงั ต่อไปนี้ 1. ผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ผู้บริหาร และครูโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จำนวน 265 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 201 คน ระดับการศึกษา ปริญญาตรี จำนวน 197 คน มีประสบการณใ์ นการทำงาน 5 ปีขึ้นไป จำนวน 138 คน 2. ผลการวิเคราะห์ระดับสภาพการส่งเสริมทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัด สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1พบว่า โดยรวมอยูใ่ นระดับมากที่สุด (X̅= 4.98) และเมื่อ พิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดบั มากที่สุด 3 ด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสงู ที่สุด คือ ด้านนโยบายและแผนส่งเสริม การดำเนินงานวิจัยในชั้นเรียน (X̅= 4.44) รองลงมา คือ ดา้ นการสรา้ งแรงจูงใจในการทำวิจยั ในชัน้ เรยี น (X̅= 4.37) และด้านการสรา้ งความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานวจิ ัยในชน้ั เรยี น (X̅= 4.35) ตามลำดับ ส่วนด้านท่ีมีค่าเฉล่ียต่ำที่สุด คือ ดา้ นการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัย (X̅= 3.44) 3. แนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 แบง่ ออกเปน็ ขั้นตอนดงั นี้ 3.1 ผลการกำหนดแนวทางการสง่ เสริมการทำวิจยั ในช้ันเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1จากการสนทนากลุ่ม (Focus group) ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน เพื่อร่วมหาแนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน สมาชิกที่เข้าร่วมสนทนากลุ่มให้ ข้อเสนอแนะที่ตรงกัน 1) การกำหนดนโยบายและแผนส่งเสริมการดำเนินงานวิจัย 2) การสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานวิจัยในชัน้ เรียน3) การจัดหาทรัพยากรและแหล่งเรียนรู้ 4) การสร้างแรงจูงใจ 5) การกำกับติดตามการ ดำเนนิ งานวิจัยอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เน่อื ง6) การเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และการสร้างเครือข่ายทางการศกึ ษา 3.2 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมแนวทางการสง่ เสริมการทำวิจยั ในชนั้ เรยี นของครผู ูส้ อนใน โรงเรียนขยายโอกาส สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 พบว่า โดยรวมมีความ 570

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 \"ความทา้ ทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เหมาะสม คิดเป็นรอ้ ยละ 94.94 เมอื่ พิจารณารายด้าน พบวา่ ดา้ นการจดั หาทรัพยากรและแหลง่ เรียนรู้เกย่ี วกับ งานวจิ ัยในชนั้ เรียน และดา้ นการกำกบั ติดตามการดำเนนิ งานวจิ ัยอยา่ งเปน็ ระบบ และตอ่ เน่อื ง เท่ากนั คิดเป็นร้อยละ 97.14 รองลงมา คือดา้ นการสร้างแรงจูงใจในการทำวจิ ัยในชน้ั เรียน และด้านการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั เทา่ กัน คิดเป็น รอ้ ยละ 96.57 สรปุ ผลการวิจยั จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยสามารถสรุปผลการวิจัยแนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของ ครูผสู้ อนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยมีรายละเอียด เรียงตามลำดบั ดังน้ี 1. สรปุ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลลกั ษณะประชากรศาสตร์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลลกั ษณะประชากรศาสตร์ จากกลมุ่ ตัวอย่าง คอื ผูบ้ รหิ าร และครผู ู้สอนในโรงเรียนขยาย โอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จำนวน 265 คน (ร้อยละ 100.00) จาก โรงเรียนทั้งสิ้น 27 โรงเรียน โดยมีลักษณะประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ เพศ ระดับการศึกษา และ ประสบการณ์ในการทำงาน ซ่งึ สามารถสรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลประชากรศาสตร์ ดังนี้ กลมุ่ ตวั อยา่ งผู้บริหาร และ ครผู สู้ อนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง สำเร็จการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรแี ละมีประสบการณ์ในการทำงาน 5 ปีขนึ้ ไป 2. สรุปผลการวเิ คราะหร์ ะดบั สภาพการทำวิจยั ในชนั้ เรียนของครูผู้สอนในโรงเรยี นขยายโอกาส สงั กดั สำนกั งาน เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 ระดับสภาพการทำวิจยั ในช้ันเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เม่ือพจิ ารณารายด้านพบว่า อยูใ่ นระดับมากที่สุด 3 ดา้ น โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสงู ท่ีสุด คือด้านนโยบายและแผนสง่ เสริมการดำเนนิ งานวิจัยในชัน้ เรียน รองลงมา คือ ด้าน การสรา้ งแรงจงู ใจในการทำวจิ ัยในชั้นเรยี น และดา้ นการสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับงานวิจยั ในชัน้ เรยี นตามลำดับ ส่วนดา้ นทีม่ ีค่าเฉลยี่ ตำ่ ทีส่ ุด คือ ด้านการเผยแพร่ผลงานวจิ ัย 3. แนวทางการส่งเสรมิ การทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผูส้ อนในโรงเรยี นขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 แนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 โดยภาพรวม และแยกออกเปน็ รายดา้ น มรี ายละเอียด ดงั น้ี 571

การประชุมวชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 \"ความท้าทายของการจัดการการศกึ ษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 3.1 ผลจากการกำหนดแนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชน้ั เรยี นของครผู ู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาส สงั กัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1จากการบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus group) ผูท้ รงคุณวฒุ ิ จำนวน 7 คน เพอ่ื ร่วมหาแนวทางการสง่ เสรมิ การทำวจิ ัยในชนั้ เรียน 3.2 สรปุ ผลผลการประเมนิ ความเหมาะสมแนวทางการสง่ เสริมการทำวิจยั ในชั้นเรยี นของครูผ้สู อนในโรงเรียน ขยายโอกาส สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยผูท้ รงคณุ วุฒิ 7 คน พบว่า โดยรวม มคี วามเหมาะสมอยูใ่ นระดับมากที่สุดเมอ่ื พิจารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ อยู่ในระดบั มากที่สุดทกุ ดา้ น ดังน้ดี ้านนโยบาย และแผนส่งเสรมิ การดำเนนิ งานวิจยั ในชน้ั เรยี นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากทสี่ ุดดา้ นการสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกบั งานวิจัยในชั้นเรียนมคี วามเหมาะสมอยูใ่ นระดบั มากที่สุดด้านการจัดหาทรัพยากรและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับ งานวิจัยในช้ันเรียนมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำวิจัยในชั้นเรียนมีความ เหมาะสมอยใู่ นระดับมากที่สุดด้านการกำกับติดตามการดำเนนิ งานวจิ ัยอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ืองมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากทีส่ ุดด้านการเผยแพร่ผลงานวิจัยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และด้านการสร้างเครือข่าย ทางการศึกษามคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ อภิปรายผล 1. สภาพการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยภาพรวม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดจากการดำเนินงานวิจัย จะเห็นได้ว่า โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 มีการปฏิบัติแนวทางการ ส่งเสริมการทำวจิ ยั ในช้นั เรียนของครูผ้สู อน ซึง่ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัยของกนกจติ สดี ้วง (2558) ได้ศกึ ษาวจิ ัยเร่ืองการ ส่งเสริมการดำเนินงานวิจยั ในช้ันเรียนของโรงเรยี นมัธยมศึกษา จังหวัดนนทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 3 พบวา่ การส่งเสริมการดำเนินงานวิจัยในชั้นเรียนของโรงเรยี นมัธยมศึกษา จงั หวัดนนทบุรี สังกัด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 3 อยู่ในระดบั มาก 2. แนวทางการส่งเสริมการทำวจิ ัยในชน้ั เรียนของครูผ้สู อนในโรงเรยี นขยายโอกาส สังกดั สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จากการสนทนากลุ่มจากผู้เชี่ยวชาญ ได้ให้แนวทางการส่งเสริมการทำวิจยั ในชั้นเรียน ของครูผสู้ อนดงั น้ี 2.1 ด้านนโยบายและแผนส่งเสริมการดำเนินงานวิจยั ในชัน้ เรียนกำหนดทศิ ทาง เป้าหมาย มาตรการในการ ทำวจิ ัยไว้อย่างชดั เจน อกี ทั้งมกี ารประชมุ กรรมการวิจยั และครใู ห้ทราบนโยบาย และความสำคญั สนับสนุนให้ครูทำ วิจัยในชั้นเรียนจนบรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของปราชญา รัตพลที (2558) ได้ศึกษาเรื่องแนว ทางการส่งเสริมครูด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนบ้านสันติสุข อำเภอแม่จัน สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 3 ได้วิเคราะห์แนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนด้าน นโยบายและแผนส่งเสรมิ การดำเนนิ งานวจิ ัยในช้ันเรียนและงานวิจัยของพิชามญชุ์ ตากมจั ฉา และวรชยั วิภอู ปุ รโคตร 572

การประชุมวชิ าการและเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ คร้งั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหมห่ ลังวกิ ฤติ COVID-19” วันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จัดโดยคณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (2563) ได้ศึกษาแนวทางส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบรุ เี ขต 1 2.2 ด้านการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัยในชั้นเรียนให้ความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัย ประชุม กรรมการเพื่อร่วมวางแนวทางในการปฏิบัติ ให้คำปรึกษา แนะนำ และจัดการศึกษาดูงานโรงเรียนที่ได้รับรางวัล เกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อให้ครูมีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัย และนำผลการวิจัยไปใช้ แก้ปัญหา และพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของอรนุช ศรีคำ และคณะ (2558) ไดศ้ กึ ษาเรอื่ งการพฒั นาการวิจยั ในช้ันเรียนใหบ้ ุคลากรทางการศึกษาในการพฒั นานักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู ด้านการสร้างความร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับงานวิจัยในชั้นเรยี น และงานวิจัยของพิชามญชุ์ ตากมัจฉา และวร ชัย วิภูอุปรโคตร (2563) ได้ศึกษาแนวทางส่งเสรมิ การวิจัยในชัน้ เรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ เี ขต 1 2.3 ด้านการจัดหาทรัพยากร และแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับงานวิจัยชั้นเรียนมีการสนับสนุนงบประมาณ คำแนะนำ สิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยเชิญวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญ และได้จัดทำเอกสารข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของของพิชามญชุ์ ตากมัจฉา และวรชัย วิภูอุปรโคตร (2563) ได้ศึกษาแนวทางส่งเสริมการวิจัยในชัน้ เรียน ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต 1ด้านการจดั หาทรัพยากร และ แหล่งเรียนรเู้ กีย่ วกับงานวิจัยชั้นเรียน 2.4 ดา้ นการสร้างแรงจูงใจในการทำวจิ ยั ในชน้ั เรยี นมกี ารยกย่อง ชมเชย ครทู ่มี ผี ลงานเกย่ี วกบั การทำวิจัยใน ชน้ั เรียนทกุ คน มอบรางวลั และเกียรตบิ ัตรแก่ครูทม่ี ีผลงานเกี่ยวกบั การทำวจิ ัยในชั้นเรียนดเี ดน่ สนบั สนุนครูให้ส่งผล งานการทำวิจัยในชั้นเรียนเข้าประกวด และนำผลกาวิจัยในชั้นเรียนมาเป็นส่วนหน่ึงของการเลื่อนวิทยฐานะ ซ่ึง สอดคล้องกบั งานวิจัยของปราชญา รัตพลที (2558) ได้ศึกษาเร่ืองแนวทางการส่งเสริมครูด้านการทำวิจัยในชั้นเรยี น ของครูในโรงเรียนบ้านสันติสุข อำเภอแม่จัน สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชียงรายเขต 3 ได้วิเคราะห์ แนวทางการสง่ เสริมการทำวิจยั ในชน้ั เรียนของครูผู้สอนดา้ นการสร้างแรงจูงใจในการทำวิจยั ในชั้นเรียนและงานวิจัย ของของพิชามญชุ์ ตากมัจฉา และวรชัย วิภูอุปรโคตร (2563) ได้ศึกษาแนวทางส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ีเขต 1 2.5 ด้านการกำกับติดตามการทำวิจัยอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องมีการกำกบั ติดตาม ให้ความช่วยเหลือ และให้กำลังใจครูในการทำวิจัยในช้ันเรียน และนำผลการนิเทศติดตามการทำวิจยั ในชั้นเรียนไปพัฒนา ปรับปรุง ใน การดำเนนิ การรอบตอ่ ไปสอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของอรนชุ ศรีคำ และคณะ (2558) ไดศ้ กึ ษาเรือ่ งการพฒั นาการวิจัยใน ชั้นเรียนใหบ้ ุคลากรทางการศกึ ษาในการพัฒนานกั ศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครูด้านการกำกับติดตามการทำวิจัย อย่างเป็นระบบ และต่อเนือ่ ง และงานวจิ ัยของพชิ ามญชุ์ ตากมัจฉา และวรชยั วภิ อู ปุ รโคตร (2563) ได้ศกึ ษาแนวทาง สง่ เสริมการวจิ ัยในช้นั เรยี นของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาจันทบรุ เี ขต 1 573

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งท่ี 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหมห่ ลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 2.6 ดา้ นการเผยแพรผ่ ลงานวิจัยมีการจัดกิจกรรมเผยแพร่ผลงานวิจัยของครู เช่น แผน่ พับ เอกสาร เว็บไซต์ ของโรงเรียน และยังส่งเสริมให้ครูนำผลการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ในการแก้ปัญหาการเรียนการสอนซึ่งสอดคล้องกบั งานวิจัยของของพิชามญชุ์ ตากมัจฉา และวรชยั วภิ ูอปุ รโคตร (2563) ได้ศกึ ษาแนวทางสง่ เสริมการวจิ ัยในช้ันเรียนของผู้บริหารสถานศกึ ษา สงั กัดสำนกั งาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ีเขต 1 ด้านการเผยแพร่ผลงานวิจัย ขอ้ เสนอแนะ 1.ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใช้ 1.1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรให้ความสำคัญส่งเสริมและสนับสนุนการทำวิจัยในชั้นเรียนในทุกๆ ดา้ น ควรสรา้ งความตระหนกั ใหค้ รูเห็นคณุ ค่าของการวจิ ยั ในช้ันเรียน และมีการกำกบั ติดตามอย่างต่อเน่ือง 1. 2ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาควรสนบั สนุนจัดหาทรพั ยากร เพือ่ อำนวยความสะดวกให้ครูผู้ทำวิจยั 1. 3ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการขยายผล และเผยแพร่ผลงานวิจัยทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา หรือเขา้ ร่วมเวทีวชิ าการทีส่ ่งเสริมงานวิจยั 1. 4ครูผู้สอนควรเหน็ คุณคา่ และประโยชน์ของงานวิจยั ว่าการทำวิจัยในชัน้ เรยี นนัน้ เกิดประโยชน์ ตอ่ ผูเ้ รียน สามารถนำผลของการวิจัยมาปรับปรงุ การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และพฒั นาคุณภาพการจัดการ เรียนรู้ ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาในระดับสงู ต่อไป นอกจากน้ียงั เกดิ ประโยชนก์ ับตัวครูผู้สอนใช้เป็นผลงานทาง วชิ าการ เพ่ือขอเลื่อนตำแหน่งและสง่ เสรมิ ครนู กั วจิ ยั ส่กู ารเป็นครมู ืออาชีพ 2. ขอ้ เสนอแนะในการวิจยั คร้งั ตอ่ ไป 2. 1ควรศกึ ษาทำวจิ ัยเก่ยี วกับปัจจัยทส่ี ง่ ผลสำเร็จต่อการทำวจิ ยั ในช้ันเรยี นของครู 2.2 ควรศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการส่งเสริมการทำวิจัยในชัน้ เรยี นของผู้บริหารกบั ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรขู้ องนักเรียน เอกสารอา้ งองิ กนกจติ สีด้วง. (2558). การสง่ เสริมการดำเนนิ งานวิจยั ในชั้นเรยี นของโรงเรยี นมธั ยมศึกษา จังหวดั นนทบุรี สังกัด สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 3. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย์. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2562). พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เติม กรงุ เทพฯ: องค์การรบั สง่ สินค้าและพัสดภุ ณั ฑ์ (ร.ส.พ.). จิตติรัตน์ แสงเลศิ อทุ ยั และชัยยธุ มณรี ตั น.์ (2562). การวจิ ยั ปฏิบตั กิ ารในชน้ั เรียนเพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน. วารสาร วิจัย และพฒั นาหลกั สูตร. ปราชญา รตั พลท.ี (2558). แนวทางการสง่ เสริมครดู า้ นการทำวิจยั ในชนั้ เรียนของครูในโรงเรียนบ้านสนั ติสุข อำเภอแมจ่ นั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งรายเขต 3. วารสารบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย. 574

การประชุมวิชาการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ คร้ังที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศกึ ษาใหม่หลังวิกฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พิชามญช์ุ ตากมัจฉา และวรชยั วิภูอปุ รโคตร. (2563). แนวทางสง่ เสรมิ การวิจัยในชน้ั เรียนของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาจนั ทบรุ เี ขต 1. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศกึ ษา เอกชนแหง่ ประเทศไทย (สสอท.). สำนกั งานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-12. สืบค้น 1 เมษายน 2563, จาก http://www.royalthaipolice.go.th/downloads/plan12.pdf. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน. (2554). แนวทางการวิจัยและส่งเสรมิ การวิจยั ปี 2554- 2556. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สุกัญญา แช่มช้อย. (2559). กลยทุ ธก์ ารเสริมสรา้ งพลงั อำนาจครูในการทำการวจิ ยั ในช้ันเรียน สำหรบั ผบู้ รหิ าร สถานศึกษาสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐานในเขตภาคเหนือตอนลา่ ง. วารสารวิชาการ มหาวทิ ยาลัยฟารอ์ สี เทอร์น. อรนุช ศรีคำ. (2558). การพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนให้บุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนานักศึกษาฝึก ประสบการณว์ ชิ าชีพครู. วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลัยราชภัฏบรุ รี มั ย์. Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1986). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement. 575

การประชมุ วชิ าการและเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ ครง้ั ที่ 6 \"ความท้าทายของการจดั การการศึกษาใหม่หลงั วกิ ฤติ COVID-19” วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ Eco Cozy Beachfront Resort Cha-am, Phetchaburi Province จดั โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 576


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook