Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Published by Research Chula, 2019-09-12 10:38:21

Description: หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Search

Read the Text Version

สารยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ จาก นายกสภามหาวทิ ยาลัย การก้าวย่างเข้าสู่ศตวรรษท่ี ๒ ในการด�ำเนินงานของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์ที่จะเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งชาติ ในระดับโลกสร้างสรรค์องค์ความรู้และนวัตกรรมเพ่ือสร้างเสริมสังคมไทยสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืน” ข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายด้าน ปัจจัยที่ส�ำคัญอย่างยิ่งคือ บุคลากรท่ีมีคุณภาพและความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติงานให้เกิดมรรคผลอันมี คุณคา่ และก่อประโยชน์ต่อสังคม ไมว่ า่ จะเปน็ สงั คมเมือง ประเทศ หรอื ใน ระดบั ภมู ิภาคและระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีทรัพยากรบุคคลที่ผ่านการคัดสรรมา เป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคล่ือนพันธกิจให้บรรลุเป้าหมาย นับเป็นความ ภาคภูมิใจของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในความพากเพียรของบุคลากรที่ สรา้ งผลงานประเภทต่าง ๆ และไดน้ �ำพาให้มหาวทิ ยาลยั เป็นที่ร้จู ักและยอมรับในคุณภาพทีม่ งุ่ ความเปน็ เลศิ ซึ่งส่งผลให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นท่ีเช่ือถือและไว้วางใจของภาคส่วนต่าง ๆ ตลอดจนได้รับมอบหมาย งานมากมายจากท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ท�ำให้มหาวิทยาลัยได้มีโอกาสสนองความต้องการของสังคม อย่างกว้างขวางเป็นการสืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาท สมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อย่หู ัว พระผ้พู ระราชทานกำ� เนิดและพระผทู้ รงสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยขอแสดงความยินดีและร่วมเชิดชูเกียรติบุคลากรทุกท่าน ประกอบด้วยศาสตราจารย์และ ศาสตราภิชานผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญมีผลงานทางวิชาการดีเด่นและท�ำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัย รวมท้ังอาจารย์ นักวิจัยและนิสิตบัณฑิตศึกษาที่สร้างสรรค์ผลงานวิจัยที่มีคุณค่า อาจารย์ที่มีผลงานด้าน การเรียนการสอน มีความมุ่งม่ัน ทุ่มเท เพื่อสร้างทรัพยากรบุคคลให้แก่สังคม อาจารย์ท่ีมีผลงานโดดเด่น ดา้ นกจิ การนสิ ติ ผอู้ ทุ ศิ ตนใหก้ บั การพฒั นานสิ ติ บคุ ลากรสายสนบั สนนุ ทป่ี ระพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี นการ ขับเคล่ือนระบบการดำ� เนินงานของมหาวิทยาลัย ท้งั ยังมบี คุ ลากรจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ทไี่ ด้สร้างชอ่ื เสียง ดา้ นวิชาการและวจิ ยั แกม่ หาวิทยาลัย โดยได้รับรางวลั จากหน่วยงานภายนอกทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั ขอมอบกำ� ลงั ใจใหบ้ คุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั สานสรา้ งพลงั ความคดิ และรว่ มขบั เคลอ่ื นการ ปฏิบตั ิเพ่อื ใหเ้ กิดความยง่ั ยนื อย่างตอ่ เนอื่ งสืบไป (ศาสตราจารย์กติ ติคุณ นายแพทย์ภริ มย์ กมลรตั นกลุ ) นายกสภามหาวิทยาลัย ๑๓ กันยายน ๒๕๖๒

สารยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ จาก อธกิ ารบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยช้ันน�ำท่ีมุ่งสร้างสรรค์ ความรู้ ผลงาน วิจยั นวตั กรรม และความเป็นเลศิ ในการประสิทธ์ปิ ระสาท วิชาการเพื่อผลิตก�ำลังคนท่ีมีคุณภาพ โดยได้รับการจัดเป็นมหาวิทยาลัย อันดับ ๑ ของประเทศไทยและติดอันดับที่ ๕๐ ของภูมิภาคเอเชีย ท้ังได้ ไต่ขึ้นมาเป็นอันดับที่ ๒๔๗ ของโลก จากการจัดอันดับโดย QS World University Rankings สำ� หรบั ปี ๒๐๒๐ ซงึ่ แสดงให้เห็นถึงการพฒั นาอยา่ ง ต่อเน่ืองพร้อมด�ำรงไว้ซ่ึงมาตรฐานสากล โดยมุ่งม่ันให้เป็นประโยชน์อย่าง สงู สดุ และรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมผ่านการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในยุคของการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกโฉมนี้ ทุกองค์กรรวมทั้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยต้องรับรู้กระแสความเคล่ือนไหวและจ�ำเป็น ต้องปรับยุทธศาสตร์รองรับได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีต้องได้รับความร่วมมือจากทุกหน่วยงาน ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ เป็นปีที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครบ ๑๐๒ ปี แห่งการสถาปนาและเป็นช่วงเวลา ของความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่งท่ีคณาจารย์ นักวิจัย บุคลากรสายสนับสนุนและนิสิต ได้ผลิตผลงานเป็นที่ประจักษ์ ซ่ึงสะท้อนและแสดงถึงศักยภาพและความพร้อมของบุคลากร ที่จะร่วม เดินทางไปด้วยกันบนเส้นทางการพัฒนามหาวิทยาลัยอย่างเชิงรุก เพื่อบรรลุเป้าหมายที่จะเป็นมหาวิทยาลัย ชนั้ น�ำระดบั โลก มหาวิทยาลัยจัดงานพิธียกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ไม่เพียงแค่แสดงความช่ืนชมและยินดีกับความส�ำเร็จในการปฏิบัติงาน หรือการสร้างผลงานที่มี คุณภาพเทา่ นนั้ มหาวิทยาลยั ขอขอบคณุ ทกุ ๆ ท่าน ทเ่ี ป็นบุคลากรผูท้ รงคณุ ค่า ท�ำประโยชน์และช่ือเสียงให้ กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เกียรติยศท่ีได้รับจะเป็นพลังเสริมให้บุคลากรมุ่งม่ัน สร้างสรรค์ผลงานเพ่ือน�ำพาสังคมและประเทศให้เติบโตด้วยความม่ันคง ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนา อยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Development Goals) ซ่ึงเปน็ แนวทางทท่ี ุกประเทศในโลกใหค้ วามส�ำคญั ในการ ขบั เคลอื่ นทง้ั เชงิ นโยบายและแผนปฏิบตั ิการให้เกดิ มรรคผลและธรรมาภิบาลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม (ศาสตราจารย์ ดร.บณั ฑติ เออื้ อาภรณ์) อธกิ ารบดี ๑๓ กันยายน ๒๕๖๒



ประกาศเกยี รติคุณศาสตราจารย์ ๓๐ ๓๒ ศาสตราจารย์ ดร.ศักดา ธนิตกุล ๓๔ ศาสตราจารย์ นายแพทย์เกยี รติ รักษ์รุ่งธรรม ๓๖ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ธรี ะพงษ์ ตณั ฑวเิ ชยี ร ๓๘ ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิทธศิ ักดิ์ หรรษาเวก ๔๐ ศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ ธนาศภุ วฒั น ์ ๔๒ ศาสตราจารย์ ดร.ณชั ชา พันธ์ุเจริญ ๔๔ ศาสตราจารย์ ดร.วีรชาติ เปรมานนท ์ ๔๖ ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.จโิ รจ ศศปิ รยี จนั ทร ์ ๔๘ ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.สนั นิภา สรุ ทัตต ์ ๕๐ ศาสตราจารย์ ดร.อนุวฒั น์ ศริ ิวฒั น์ ๕๒ ศาสตราจารย์ ดร.เอมอชั ฌา วฒั นบุรานนท์ ๕๔ ศาสตราจารย์ ดร. ทนั ตแพทย์ธนภมู ิ โอสถานนท์ ๕๖ ศาสตราจารย์ กติ ตคิ ณุ เมตตา วิวฒั นานกุ ูล ๕๘ ศาสตราจารย์ร่งุ นภา พติ รปรชี า ๖๐ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยเ์ ผดจ็ สิรยิ ะเสถยี ร ๖๒ ศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ สุปราณี นิรุตติศาสน์ ๖๔ ศาสตราจารย์ ดร.จันทรเ์ พ็ญ จันทรเ์ จา้ ๖๖ ศาสตราจารย์ ดร.ประณฐั โพธิยะราช ๖๘ ศาสตราจารย์ ดร.พรเทพ สมพรพิสทุ ธ์ิ ๗๐ ศาสตราจารย์ ดร.อลสิ า วังใน ๗๒ ศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ชวาลภาฤทธ์ิ ศาสตราจารย์ ดร.กอบบุญ หล่อทองคำ�

ศาสตราจารย์ ดร.พสิ ทุ ธ์ิ เพยี รมนกลุ ๗๔ ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ สิงหถนดั กิจ ๗๖ ศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ เตชวรสนิ สกลุ ๗๘ ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑรู ย์ ไกรพรศักดิ์ ๘๐ ศาสตราจารย์ ดร.จามรี อาระยานิมิตสกลุ ๘๒ ศาสตราจารย์ นาวาโทไตรวฒั น์ วิรยศริ ิ ๘๔ ศาสตราจารย์ ดร.เภสชั หญงิ จงจติ ร อังคทะวานิช ๘๖ ศาสตราจารย์ ดร.กง่ิ กาญจน์ เทพกาญจนา ๘๘ ศาสตราจารย์ ดร.บุนยรชั ต์ กติ ยิ านนั ท์ ๙๐

ประกาศเกียรตคิ ุณศาสตราภชิ าน ศาสตราจารย์กิตตคิ ุณ ดร.นงลกั ษณ์ วริ ัชชยั ๙๔ ศาสตราจารยพ์ เิ ศษธงทอง จนั ทรางศ ุ ๙๖ ศาสตราจารย์กิตตคิ ุณวทิ ิต มันตาภรณ์ ๙๘ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์นภดล นพคุณ ๑๐๐ ศาสตราจารย์ ดร.ปญั ญา จารุศิร ิ ๑๐๒ ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ุณ ดร.เปยี่ มสุข พงษ์สวัสด์ ิ ๑๐๔ ศาสตราจารยก์ ติ ติคณุ ดร.ภัทรพรรณ ประศาสนส์ ารกจิ ๑๐๖ รองศาสตราจารย์ ดร.สพุ ตั รา จินาวฒั น ์ ๑๐๘ Professor Takashi Hibiki ๑๑๐ รองศาสตราจารย์ทวีรัก เจริญสขุ ๑๑๒ รองศาสตราจารย์ปกรณ์ รอดช้างเผอ่ื น ๑๑๔ รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.สุพล เลอ่ื งยศลอื ชากุล ๑๑๖ รองศาสตราจารยอ์ ัจฉรา ธวชั สิน ๑๑๘ รองศาสตราจารย์ ดร.นภาพร ชโยวรรณ ๑๒๐ รองศาสตราจารย์ ดร.นพิ นธ์ เทพวลั ย์ ๑๒๒ รองศาสตราจารย์ เภสชั กร ดร.นจิ ศิริ เรอื งรงั ษ ี ๑๒๔ นายแพทยส์ �ำลี เปลีย่ นบางช้าง ๑๒๖ Associate Professor Dr.Ravi Aron ๑๒๘

รางวัลระดับนานาชาติ ๑๓๒ ประเภทบุคคล ๑๓๔ ๑๓๖ ศาสตราจารยก์ ิตติคุณวิทติ มันตาภรณ์ ๑๓๘ ศาสตราจารย์ เภสชั กรหญงิ ดร.พรอนงค์ อรา่ มวทิ ย ์ ๑๔๐ ผู้ช่วยศาสตราจารยบ์ ญุ เสริม เปรมธาดา ๑๔๒ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สรุ ัตน์ โหราชัยกลุ ๑๔๔ รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนชิ ย ์ รองศาสตราจารย์ ดร.อญั ชลี กฤษณจนิ ดา ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สกลวรรณ ชาวไชย

รางวัลระดบั นานาชาติ ๑๔๘ ประเภทผลงาน ๑๕๐ ๑๕๒ รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เทพ เขยี วหอม และคณะ ๑๕๔ รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เทพ เขียวหอม และคณะ ๑๕๖ รองศาสตราจารย์ ดร.สุรเทพ เขียวหอม และคณะ ๑๕๘ รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวงั ธนโรจน์ และคณะ ๑๖๐ รองศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ กรณีกิจ ๑๖๒ รองศาสตราจารย์ เภสชั กรหญิง ดร.อังคณา ตนั ติธุวานนท์ และคณะ ๑๖๔ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อินทิรา พรมพันธ์ุ ๑๖๖ รองศาสตราจารย์ ดร.จนิ ตวรี ์ คล้ายสงั ข์ ๑๖๘ รองศาสตราจารย์ ดร.จินตวีร์ คลา้ ยสงั ข์ ๑๗๐ รองศาสตราจารย์ ดร.เนาวนติ ย์ สงคราม ๑๗๒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์อมรพนั ธ์ุ เสรีมาศพนั ธ ุ์ ๑๗๔ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สตั วแพทย์หญงิ ภาวนา เชอื้ ศิร ิ ๑๗๖ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญงิ ดร.พรอนงค์ อรา่ มวิทย ์ ๑๗๘ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะศกั ดิ์ ชอุ่มพฤกษ ์ ๑๘๐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะศักดิ์ ชอุม่ พฤกษ์ ๑๘๒ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สัตวแพทยห์ ญงิ ดร.ภาวนา เชอื้ ศิร ิ ๑๘๔ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ โสฬพทั ธ์ เหมรญั ชโ์ รจน ์ ๑๘๖ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงโสฬพัทธ์ เหมรัญชโ์ รจน ์ ๑๘๘ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ โสฬพัทธ์ เหมรญั ชโ์ รจน ์ ๑๙๐ รองศาสตราจารย์ ดร.ใจทพิ ย์ ณ สงขลา นางสาวบัดดารหี ยะ๊ โส๊ะสนั สะ และนางสาวนารญี า วาเล๊าะ ศาสตราจารย์ ดร.สนอง เอกสทิ ธิ์ และคณะ

ศาสตราจารย์ ดร.นงนุช เหมอื งสิน และคณะ ๑๙๒ ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ศร วนิชเวชารุง่ เรือง ๑๙๔ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยอ์ มรพันธ์ุ เสรมี าศพนั ธ์ุ ๑๙๖ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชยั ลภากลุ และคณะ ๑๙๘ รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลติ รัตนธรรมสกุล ๒๐๐ รองศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ กรณีกจิ ๒๐๒ รองศาสตราจารย์ ดร.จนิ ตวีร์ คลา้ ยสงั ข์ ๒๐๔ รองศาสตราจารย์ ดร.จนิ ตวรี ์ คล้ายสงั ข์ ๒๐๖ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปยิ ะศกั ดิ์ ชอุ่มพฤกษ์ ๒๐๘ รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญงิ ร.ต.อ.หญงิ ดร.ฐณัฎฐา กติ ตโิ สภี ๒๑๐ ศาสตราจารย์ ดร.ศุภวรรณ ตนั ตยานนท ์ ๒๑๒ อาจารย์ ดร.ธนธรณ์ ขอทววี ัฒนา ๒๑๔ อาจารย์ ดร.สธุ ี อนนั ต์สขุ สมศรี ๒๑๖ รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง ๒๑๘ อาจารย์ ดร.รณพรี ์ ชัยเชาวรัตน ์ ๒๒๐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนชุ กลน่ิ วงษ ์ ๒๒๒ รองศาสตราจารย์ ดร.วมิ ลวรรณ พิมพ์พนั ธุ์ ๒๒๔ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บุญโชติ เผา่ สวัสด์ิยรรยง ๒๒๖ รองศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.ธงชัย สุขเศวต ๒๒๘ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรถกร ปาละสุวรรณ ๒๓๐ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดวงดาว ปาละสุวรรณ ๒๓๒

รางวลั ระดบั ชาติ ๒๓๖ ประเภทบุคคล ๒๓๘ ๒๔๐ ศาสตราจารย์ ดร.วรเวศม์ สวุ รรณระดา ๒๔๒ ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เผดจ็ ธรรมรกั ษ์ ๒๔๔ รองศาสตราจารย์ ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร ๒๔๖ ศาสตราจารย์ ดร.สมศกั ดิ์ ปญั หา ๒๔๘ ศาสตราจารย์ ดร.มงคล สขุ วฒั นาสนิ ิทธ ์ิ ๒๕๐ รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนชิ ย ์ ๒๕๒ ศาสตราจารย์ ดร.นงนชุ เหมอื งสนิ ๒๕๔ ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ศร วนิชเวชารงุ่ เรือง ๒๕๖ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวรักษ์ เฟือ่ งสวสั ด ิ์ ๒๕๘ รองศาสตราจารย์ ดร.สริ ชิ ัย อดิศกั ด์วิ ัฒนา ๒๖๐ รองศาสตราจารย์ ดร.ปณุ ณรัตน์ พิชญไพบูลย์ ๒๖๒ ศาสตราจารย์ ดร.สรุ ชาติ บ�ำรงุ สุข ๒๖๔ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวรกั ษ์ เฟ่อื งสวสั ดิ์ ๒๖๖ ศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.อลงกร อมรศิลป ์ ๒๖๘ รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สดุ สรร ศริ ิไวทยพงศ ์ ๒๗๐ รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ดร.พรชัย จันศิษย์ยานนท์ ๒๗๒ รองศาสตราจารย์ ดร.กุลยา สมบรู ณ์วิวัฒน์ ๒๗๔ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรมนิ ท์ จารุวร ๒๗๖ ผู้ช่วยศาสตราจารยบ์ ุญเสรมิ เปรมธาดา ๒๗๘ ศาสตราจารยก์ ิตติคุณ ดร.ผาสกุ พงษไ์ พจติ ร ๒๘๐ ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ทุ ธพิ งศ์ วชั รสินธ ุ ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยอ์ ภวิ ัฒน์ มุทิรางกูร รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ศกั นนั มะโนทัย

ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงนิจศรี ชาญณรงค์ ๒๘๒ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยด์ ังกมล ณ ปอ้ มเพชร ๒๘๔ ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ุรศักดิ์ ฐานีพานชิ สกุล ๒๘๖ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พงษ์ลดา ธรรมพิทกั ษก์ ลุ ๒๘๘ รองศาสตราจารยส์ ุพีชา วิทยเลศิ ปญั ญา ๒๙๐ ดร.รัชดา ไชยคปุ ต ์ ๒๙๒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญดา รงุ่ โรจนม์ งคล ๒๙๔ อาจารย์ ดร.รงั สิมา ชาญพนา ๒๙๖ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สทิ ธิพร ภัทรดลิ กรตั น์ ๒๙๘ รองศาสตราจารย์ ดร.จติ รลดา อารียส์ นั ตชิ ัย ๓๐๐ ดร.กติ ติศักด์ิ เจมิ สิทธปิ ระเสรฐิ ๓๐๒ ดร.กติ ติศักดิ์ เจิมสทิ ธปิ ระเสรฐิ ๓๐๔ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สภุ างค์ จันทวานชิ ๓๐๖ ศาสตราจารย์กติ ตคิ ณุ ดร.สภุ างค์ จนั ทวานชิ ๓๐๘ นายสมคิด คชาพงษ ์ ๓๑๐ ศาสตราจารย์ ดร.ศริ ิรตั น์ จิตการค้า ๓๑๒ รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี อร่ามวิทย ์ ๓๑๔ ศาสตราจารย์ ดร.จนั ทรเ์ พญ็ จันทรเ์ จา้ ๓๑๖ ศาสตราจารย์ ดร.ธรรมรัตน์ อารีย์ ๓๑๘ ศาสตราจารย์ ดร.นงนชุ เหมืองสิน ๓๒๐ รองศาสตราจารย์ ดร.เอก ต้งั ทรัพย์วัฒนา ๓๒๒ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ ศกั ด์ิ ตรีนัย ๓๒๔ ศาสตราจารย์ เภสชั กรหญิง ดร.พรอนงค์ อรา่ มวิทย ์ ๓๒๖

รางวลั ระดับชาติ ๓๓๐ ประเภทผลงาน ๓๓๒ ๓๓๔ ศาสตราจารย์ ดร.สนอง เอกสิทธิ์ และคณะ ๓๓๖ ศาสตราจารย์ ดร.อรญั อนิ เจริญศักด์ิ ๓๓๘ รองศาสตราจารย์ ดร.สิริพรรณ นกสวน สวัสดี ๓๔๐ รองศาสตราจารย์ ดร.ปยิ บตุ ร บรุ คี �ำ ๓๔๒ รองศาสตราจารย์ ดร.นิศานาถ ไตรผล ๓๔๔ รองศาสตราจารย์ ดร.วรวีร์ โฮเว่น และคณะ ๓๔๖ รองศาสตราจารย์ ดร.วรวฒุ ิ จฬุ าลกั ษณานกุ ลู และคณะ ๓๔๘ รองศาตราจารย์ ดร.พนม คลี่ฉายา ๓๕๐ รองศาสตราจารย์ สตั วแพทย์หญงิ ดร.รงุ่ ทพิ ย์ ชวนชื่น ๓๕๒ ศาสตราจารย์ ดร.สนอง เอกสิทธิ์ และคณะ ๓๕๔ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชยั ลภากุล และคณะ ๓๕๖ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชยั ลภากลุ และคณะ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วันเฉลิม โปรา ๓๕๘ ศาสตราจารย์ ดร.นงนุช เหมืองสนิ และคณะ ๓๖๐ รองศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล สันตธิ รรมนนท์ และ ๓๖๒ รองศาสตราจารย์ ดร.วศิ ณุ ทรพั ย์สมพล ๓๖๔ รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.วริษา พงศ์เรขนานนท ์ ๓๖๖ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนั ยพร จันทร์กระจ่าง ๓๖๘ รองศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.ปติ ิ จันทร์วรโชต ิ ๓๗๐ ผ้ชู ่วยศาสตราจารยพ์ รเทพ เลศิ เทวศิริ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะศักดิ์ ชอ่มุ พฤกษ์ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ผาสกุ พงษ์ไพจิตร

ศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ดร.พสธุ า ธญั ญะกจิ ไพศาล และคณะ ๓๗๒ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.ภทั รรัฐ จนั ทร์ฉายทอง ๓๗๔ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สพุ นั ธิตรา ชาญประเสริฐ ๓๗๖ อาจารย์ นายแพทยด์ ารุจ อนวิ รรตนพงศ์ ๓๗๘ รองศาสตราจารย์ ดร.แพทยห์ ญงิ กนษิ ฐา ภทั รกุล ๓๘๐ อาจาย์ ดร.ทรงศักดิ์ หมดั สะและ ๓๘๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมรตั น์ จารุลกั ษณานนั ท ์ ๓๘๔ รองศาสตราจารย์ ทันตแพทยห์ ญงิ ดร.อรนาฎ มาตงั คสมบตั ิ ๓๘๖ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ทนั ตแพทย์หญงิ ดร.ชลดิ า ลิม้ จีระจรสั (นาคเลขา) ๓๘๘ นายวีระศักดิ์ จงเฟือ่ งปริญญา ๓๙๐ อาจารย์ นายแพทยน์ พดล วชั ระชัยสรุ พล ๓๙๒ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญดา ร่งุ โรจน์มงคล ๓๙๔ อาจารย์ ดร.ปรวีร์ พรหมโชต ิ ๓๙๖ รองศาสตราจารย์ ทันตแพทยห์ ญิง ดร.ฑัณฑรริ า พรทวีทัศน์ ๓๙๘ นายบญั ชา อุนพานิช และคณะ ๔๐๐ นายบญั ชา อุนพานชิ และคณะ ๔๐๒ นายธีรพงษ์ ประทมุ ศริ ิ ๔๐๔ นายธีรพงษ์ ประทมุ ศริ ิ ๔๐๖

รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ ๔๑๐ ด้านการเรียนการสอน ๔๑๒ ๔๑๔ รางวัลยกย่องเชดิ ชเู กียรตอิ าจารยด์ า้ นการเรียนการสอน ระดบั ดีเดน่ ๔๑๖ รองศาสตราจารย์ สตั วแพทย์หญงิ ดร.สริ ลิ ักษณ์ สุรเชษฐพงษ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ทนั ตแพทยห์ ญงิ ดร.พไิ ลพร วิวฒั น์บตุ รสริ ิ ๔๑๘ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เทิดศกั ด์ิ เตชะกิจขจร ๔๒๐ อาจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.วนิ ัย แก้วละมลุ ๔๒๒ ๔๒๔ รางวลั ยกย่องเชิดชูเกยี รติอาจารย์ด้านการเรียนการสอน ระดบั ดมี าก ๔๒๖ ศาสตราจารย์ นายแพทยช์ ูชพี สหกจิ รุ่งเรอื ง ศาสตราจารย์ ดร.ไชยันต์ ไชยพร ๔๒๘ รองศาสตราจารย์ ดร.อารยี ว์ รรณ อว่ มตานี ๔๓๐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระเทพ ปทุมเจรญิ วัฒนา ๔๓๒ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นนั ทรี ชัยชนะวงศาโรจน์ ๔๓๔ ๔๓๖ รางวัลเพอื่ สง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ในการปฏิบัติงานด้านการเรียนการสอน ๔๓๘ ส�ำหรับอาจารย์รุ่นใหม่ ๔๔๐ อาจารย์ ดร.กนษิ ฐ์ ศรเี คลือบ อาจารย์ ดร.ปภัสสรา ชัยวงศ์ อาจารย์ ดร.ดวงดาว มหากิจศิริ อาจารย์ ดร.ศจุ ิณัฐ จิตวิรยิ นนท์ อาจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.สธุ ีรา เตชคุณวฒุ ิ อาจารย์ ดร.สคุ นธ์เมธ จติ รมหนั ตกลุ อาจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.สหฤทัย เจียมศรีพงษ์

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์กฤษณ์ เจรญิ ลาภ ๔๔๒ อาจารย์ ทันตแพทย์ศิรวฒุ ิ หิรัญอัศว์ ๔๔๔ อาจารยศ์ ิรวชิ ญ์ อภัยราช ๔๔๖

รางวัลยกย่องเชิดชูเกยี รตอิ าจารย์ ๔๕๐ ด้านกิจการนสิ ติ ๔๕๔ รางวลั ยกย่องเชิดชเู กียรติอาจารย์ด้านกจิ การนสิ ติ ประเภทผู้บริหาร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรรเพชญ ช้อื นิธิไพศาล ๔๖๐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพนั ธิตรา ชาญประเสรฐิ ๔๖๔ รางวัลยกย่องเชิดชเู กยี รติอาจารยด์ า้ นกจิ การนสิ ิต ประเภทท่ัวไป ๔๖๘ ระดบั ดเี ด่น ๔๗๒ รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.กลุ วรา เมฆสวรรค ์ ๔๗๖ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาหนัน รฐั วงศ์จริ กลุ รางวัลยกย่องเชิดชเู กียรตอิ าจารยด์ า้ นกจิ การนสิ ติ ประเภททั่วไป ระดบั ดีมาก รองศาสตราจารย์ ดร.ขนิษฐา ธนานุวงศ ์ อาจารย์ ดร.ธญั ศภิ รณ์ จนั ทรห์ อม อาจารย์ นายแพทยภ์ านวุ ฒั น์ ชตุ วิ งศ ์

รางวัลการวิจยั และผลงานวิจยั ๔๘๒ ๔๘๖ รางวลั นักวจิ ัยดเี ดน่ ๔๙๐ สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ๔๙๔ รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ณฐั ชยั ศรสี วัสด์ิ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๙๘ ศาสตราจารย์ ดร.นงนุช เหมืองสนิ ๕๐๒ สาขาสงั คมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.ไชยันต์ ไชยพร ๕๐๖ สาขามนษุ ยศาสตร์ ๕๑๒ ศาสตราจารย์ ดร.วีรชาติ เปรมานนท์ รางวลั นักวจิ ัยรุ่นเยาว์ สาขาวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ เภสชั กรหญงิ ดร.วรษิ า พงศ์เรขนานนท ์ สาขาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนษิ ฐ์ ปราณนี รารัตน์ รางวัลศูนย์เช่ยี วชาญเฉพาะทาง (CE) ดเี ดน่ สาขาวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ ศาสตราจารย์ นายแพทยว์ รศกั ดิ์ โชตเิ ลอศกั ด ์ิ ศาสตราจารย์ ดร. แพทยห์ ญงิ ณัฏฐิยา หริ ญั กาญจน์

รางวลั หนว่ ยปฏิบัติการวจิ ยั (RU) ดีเดน่ ๕๑๘ สาขาวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ ๕๒๔ รองศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.ปิติ จนั ทร์วรโชต ิ สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อมรชยั อาภรณว์ ชิ านพ รางวลั ผลงานวิจัย ระดับดีเดน่ ๕๓๐ ผลงานวจิ ัยเรอื่ ง การตรวจแอนติบอดี (IgA, IgG) ต่อโปรตนี (E2, Erns) ของไวรสั อหิวาตส์ ุกร จากตวั อย่างน�้ำลายดว้ ยวธิ ีอไิ ลซา โดย อาจารย์ สตั วแพทยห์ ญงิ ดร.เยาวลกั ษณ์ ปัญญสิงห์ ผลงานวิจัยเรอ่ื ง ๕๓๔ โปรตีนและไมโครอาร์เอ็นเอควบคุมในระบบภูมคิ ้มุ กันของกงุ้ ต่อเชอ้ื ก่อโรครุนแรง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กลุ ยา สมบรู ณ์ววิ ฒั น์ ผลงานวิจยั เรื่อง การเคลื่อนไหวเชงิ นโยบายในชนบทไทย : กรณศี กึ ษานโยบายเกษตรและสวสั ดกิ ารชมุ ชน โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนพนั ธ์ ไลป่ ระกอบทรัพย์ ๕๓๘

ผลงานวจิ ยั เรอื่ ง ๕๔๒ การตา่ งประเทศไทยในยุคสงครามเยน็ ๕๔๔ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พวงทอง ภวัครพันธ ์ุ ๕๔๘ ผลงานวจิ ัยเรื่อง ๕๕๒ นวัตกรรมการบนั ทกึ โน๊ตเสยี งปาฬจิ ากพระไตรปฎิ กสชั ฌายะ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศศี พงศ์สรายทุ ธ ผลงานวิจัยเรอื่ ง การพฒั นาชุดอกั ษรโรมันเพอื่ เสรมิ ทกั ษะการอ่านออกเสยี งภาษาอาหรบั ของผู้เรียนชาวไทย โดย อาจารย์ ดร.ทรงศกั ดิ์ หมัดสะและ รางวลั ผลงานวจิ ัยดเี ดน่ ส�ำหรับนสิ ติ ระดับปริญญาเอก วิทยานพิ นธ์เรอ่ื ง การพฒั นาอปุ กรณ์แบบงา่ ยใช้ ณ จุดดูแลผปู้ ว่ ย สำ� หรบั ตรวจคัดกรอง การตดิ เชือ้ แบคทเี รยี และกลุ่มของสารชบ้ี ง่ การอกั เสบ โดย ดร.จุฬาลักษณ์ นอ้ ยพว่ ง

วิทยานิพนธเ์ รือ่ ง ๕๕๖ กลไกของสารสกัดสมนุ ไพรไทยในการออกฤทธติ์ ้านความเปน็ พิษของกลูตาเมต ๕๖๐ ต่อเซลล์ประสาท ๕๖๔ โดย อาจารย์ ดร.อญั ชลี ประสารสุขลาภ ๕๖๘ วทิ ยานพิ นธ์เรือ่ ง ฤทธติ์ ้านมะเร็งของอนพุ นั ธ์แมนโซโนนจตี อ่ เซลล์มะเรง็ ปอดชนิดไมใ่ ชเ่ ซลลเ์ ล็ก ของมุนษย์ : การศกึ ษาทางคอมพวิ เตอร์และกลไกการออกฤทธิ์ โดย ดร.ภาณพุ งศ์ มหาลาภบตุ ร วิทยานิพนธเ์ รื่อง ลกั ษณะสมบัติเชงิ หนา้ ท่ขี องฮตี ชอ็ กโปรตนี ในการตอบสนองตอ่ ความเครยี ด ในกุ้งขาวแปซฟิ ิก Penaeus vannamei และอารท์ ีเมยี Artemia franciscana โดย ดร.วิศรุต จันทร์ปรงุ วทิ ยานิพนธ์เร่อื ง เซนเซอรเ์ คมไี ฟฟ้าสำ� หรบั การตรวจวดั ฮวิ แมนแพปพลิ โลมาไวรัสดีเอ็นเอ ซี-รี แอคทีฟโปรตีนและสีผสมอาหาร” โดย ดร.ศกั ดดิ์ า จำ� ปาสา

วทิ ยานิพนธ์เรื่อง ๕๗๒ การพัฒนาการทดสอบแบบปรบั เหมาะแบบหลายขัน้ ตอนดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ๕๗๖ เพือ่ วัดสมรรถนะความรวู้ ิชาชพี พหุมิติของครชู า่ งอตุ สาหกรรม ๕๘๐ โดย ดร.สกุ ัญญา บุญศร ี ๕๘๔ วิทยานิพนธ์เรื่อง การพัฒนาโมเดลความสมั พันธเ์ ชิงสาเหตขุ องทกั ษะทางสังคมในเดก็ หหู นวกโดย มีความสามารถในการเขา้ ใจความคดิ ของผูอ้ ื่นเปน็ ตวั แปรสง่ ผา่ น โดย ดร.ปรญิ ญา สริ อิ ัตตะกลุ วิทยานิพนธ์เร่ือง มองผ่านตา “มาเฟียรสั เซยี ” : การวิเคราะห์รูปแบบองค์กรอาชญากรรมขา้ มชาติ ในบรบิ ทสังคมไทย” โดย ดร.แสงโสม กออุดม วิทยานพิ นธ์เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบการเรยี นการสอนโดยบูรณาการแนวคดิ การแก้ปัญหาด้วย สารสนเทศ การเสริมการเรียนรู้ และ Z tO A เพือ่ สรา้ งผลงานสร้างสรรค์ โดย ดร.ธดิ ารตั น์ ตันนิรตั ร์

วทิ ยานพิ นธเ์ รือ่ ง ๕๘๘ เพลงตบั “พิณทุกขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา” โดย ดร.วราภรณ์ เชดิ ช ู วิทยานิพนธ์เรือ่ ง ๕๙๒ นวัตกรรมการออกแบบเคร่อื งประดับเคล่ือนไหวจากแนวคดิ ทนุ วฒั นธรรมไทย ท่ีเคล่ือนไหวได้ โดย ดร.พสุ เรอื งปัญญาโรจน ์ รางวัลผลงานวิจยั ดเี ด่นส�ำหรับนิสิตระดับปริญญาโท ๕๙๖ วิทยานพิ นธเ์ ร่ือง ผลยับยัง้ ของไซพรีดินตอ่ การเปลย่ี นแปลงจากเซลลม์ เี ซนไคม์ในเซลลม์ ะเรง็ ปอด ชนดิ ไม่ใชเ่ ซลลเ์ ลก็ ผ่านวิถีของเอเคที โดย นางสาวสุรสั วดี ตรสี วุ รรณ วทิ ยานิพนธเ์ รื่อง ๖๐๐ การพฒั นาเทคนิค Allele specific- recombinase polymerase amplification เพอ่ื ใชใ้ นการตรวจวินิจฉยั เชือ้ Mycobacterium tuberculosis ท่ดี ้อื ต่อยา Rifampicin และ Isoniazid โดย นางสาวนนั ทิตา สิงหพ์ นมชยั

วิทยานิพนธเ์ ร่อื ง ๖๐๔ การตรึงโอพเี อน็ บนพอลิอะครลิ ิกแอซดิ บรัชท่กี ราฟตบ์ นพน้ื ผิวเพอ่ื สง่ เสริม ๖๐๘ การยึดติดและการเจรญิ ของเซลลส์ รา้ งกระดูก โดย นางสาวพณฎิ ฐา ด�ำส่งแสง ๖๑๒ ๖๑๖ วทิ ยานิพนธ์เรือ่ ง การระบุยนี และเมแทบอไลต์ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การสุกของผลทุเรียน โดย นางสาวพิณณพรรษ ปิ่นศร วิทยานพิ นธเ์ รือ่ ง ผลกระทบจากระนาบผลึกของซีเรยี ท่มี ีต่อความสามารถในการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี ของตัวเร่งปฏกิ ริ ิยาทองบนซเี รยี ในปฏิกิรยิ าออกซิเดชนั แบบเลอื กเกดิ ของ คารบ์ อนมอนอกไซด์ โดย นายไมค์ คาร์ลตนั เบริด์ รางวัลผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ ดา้ นการน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อสงั คม ผลงานวิจัยเร่อื ง การเทยี บคะแนนข้อสอบ CU-TEP กับกรอบมาตรฐานอา้ งองิ สากลยุโรป (CEFR) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรดา วุฑฒยากร

รางวัลบุคลากรสายปฏบิ ตั กิ าร “คนดี ศรจี ุฬาฯ” กลุม่ บริหารจัดการระดบั ตน้ ประเภท หวั หน้างาน หวั หนา้ กลมุ่ ภารกิจ หรอื เทยี บเทา่ นางสาวเพญ็ ศรี ใจบาน ๖๒๒ กลมุ่ ปฏิบตั ิการและวิชาชีพทีป่ ฏบิ ัตงิ านในต�ำแหน่งต่าง ๆ ระดบั ปรญิ ญาตรขี ึ้นไป ๖๒๔ บคุ ลากรสายปฏบิ ตั ิการกลุ่มตำ� แหนง่ นกั วจิ ยั นายวิสุทธ์ิ นวลช่นื กลุม่ ปฏบิ ตั ิการและวชิ าชีพทปี่ ฏบิ ตั งิ านในต�ำแหนง่ ต่าง ๆ ระดบั ปรญิ ญาตรีขนึ้ ไป ๖๒๖ บุคลากรสายปฏบิ ตั ิการตำ� แหนง่ อน่ื ๆ ทมี่ ีอายุการปฏบิ ตั งิ าน ๓ ปี ขนึ้ ไป ๖๒๘ นางสาวอภิญญา บตุ รล้ี ๖๓๐ นายชุติโชติ ปัทมดิลก ๖๓๒ นางสาวภทั รนิ วงศ์บางโพ ๖๓๔ นางสาวจันทรเ์ พ็ญ สวุ ิมลธีระบตุ ร นางสาวพมิ พน์ ภา อมฤตวรชัย กลุ่มปฏิบัตกิ ารและวชิ าชพี ท่ีปฏบิ ัติงานในต�ำแหน่งตา่ ง ๆ ระดบั ปริญญาตรีขึ้นไป บุคลากรสายปฏบิ ัติการตำ� แหน่งอ่ืน ๆ ทม่ี ีอายุการปฏบิ ัตงิ านตัง้ แต่ ๑ ปี แต่ไมถ่ ึง ๓ ปี นายสตั วแพทย์สทุ ธิโชค กลุ ตรยั ลักษณ ์ ๖๓๖ กลมุ่ ปฏบิ ตั กิ ารและวิชาชพี ท่ีปฏบิ ัตงิ านในต�ำแหนง่ ต่าง ๆ ระดบั ตำ�่ กวา่ ปริญญาตรี ๖๓๘ นายวฑิ รู ย์ พนู เพ็ชร์ ๖๔๐ นายธนกฤต สนิ เปรม ๖๔๒ นายสังวร อยู่สวา่ ง ๖๔๔ นายธนู สายสนิท

กล่มุ บริการ ๖๔๖ นางจนิ ดา กระแสร์ลม นางวริศรา รุมดอน ๖๔๘ นางสาวจีรภรณ์ สขุ ชูศรี นางสมพร เอ่ยี มรอด ๖๕๐ นางลดั ดาภรณ์ จนั ดก ๖๕๒ ประเภทกลุ่มบุคลากรยอดเยีย่ มขนาดกลาง กลมุ่ บุคคลส�ำนักงานวทิ ยทรัพยากร ๖๕๔ ประเภทกลุ่มบคุ ลากรยอดเยย่ี มขนาดเล็ก ๖๕๖ กล่มุ บคุ ลากรภาควิชาเภสัชวิทยา และห้องปฏบิ ัตกิ าร Chula Pharmacokinetic Research Center ๖๕๘ กลุ่มภารกิจภมู ทิ ัศน์และการจดั การขยะ ฝ่ายอาคารสถานที่ ส�ำนักบริหารระบบกายภาพ ๖๖๐

26 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ บคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๒๕๖๒ประจำ� ปี พ.ศ. ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 27

ศปารสะกตาศรเกาียจรตาิครุณย์



ผศาู้ทสี่ไตดรร้ าบั จกาารรยป์ รระะเดมับนิ ใAหด้-ำ�1รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.ศกั ดา ธนติ กลุ คณะนิติศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐๒-๒๑๘-๒๐๑๗ E-mail: [email protected] 30 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกดิ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๐๑ สำ� เร็จการศกึ ษานิติศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ต่อมา Certificate of Japanese Language Study, Osaka University of Foreign Studies, Osaka, Japan ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ LL.M. , Kyoto University, Japan ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ LL.M. , University of Washington , School of Law U.S.A. ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ Ph.D. (Law) , University of Washington , U.S.A. ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ และ LL.D., Kyoto University, Japan ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ด�ำรงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ระดับ ๑๐ เมื่อวันท่ี ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ และได้รับการประเมินให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดบั A-1 เมอื่ วนั ที่ ๒๔ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ ดร.ศักดา ธนิตกุล ผลิตผลงานทางวิชาการเร่ือง กฎหมายแข่งขัน ทางการค้าในประเทศญ่ีปุ่น สหภาพยุโรป สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เกาหลีใต้ และ สิงคโปร์ : วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บกับกฎหมายล�ำดับรองของไทย (มิถนุ ายน ๒๕๖๒) ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 31

ศาสตราจารย์ นายแพทย์เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม จบการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ ๑ และศึกษาต่อจนได้รับวุฒิบัตรฯ สาขาอายุรศาสตร์จากมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั จากน้ันจึงเดนิ ทางไปศึกษาต่อยอดในสาขาทเี่ กยี่ วข้องกบั ทางด้าน HIV และ ภูมิคุ้มกันทางคลินิก จากสถาบัน Johns Hopkins School of Medicine, Baltimore, U.S.A. จนไดร้ ับ Certificate of Visiting Fellow in HIV Research, จาก San Francisco General Hospital, University of California, San Francisco, U.S.A. ไดร้ บั Certificate of Intensive Tutorial Course in AIDS-related Clinical Trials, World AIDS Foundation (WAF) และจาก National Institute of allergy &Infectious Disease (NIAD), National Institutes of Health (NIH), Bethesda, Maryland, U.S.A. ไดร้ บั Certificate of Research Fellow in Immunology and HIV และยังได้รับการยกย่องเป็นนักวิจัยท่ีมีผลงานวิจัย คลอบคลุมท้ังวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน ตลอดจนการวิจัยด้ายวัคซีนท่ีเกี่ยวข้องกับเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ และท่ีเกี่ยวข้องกับโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน โดยมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ใน วารสารนานาชาติกว่า ๑๐๐ ผลงาน ล่าสุดได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และได้รับรางวัลนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยได้รับการกล่าวอ้างจากนานาชาติใน ฐานข้อมลู สคอปัส (Scopus) สงู สดุ ในจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ไดร้ บั การประเมินให้ด�ำรง ต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ระดบั ๑๑ เมือ่ วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ 32 ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศใผหาูท้ ้ดส่ีไ�ำตดรรร้ งาบั ตจก�ำาาแรรหยปน์ รร่งะะเดมับนิ ๑๑ ศนาาสยแตพรทาจยาเ์ รกยยี ์รติ รักษร์ ุ่งธรรม ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๓๓๔๒ E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 33

ผศาทู้ สี่ไตดรร้ าับจกาารรยป์ รระะเดมับนิ ใ๑หด้ ๑ำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ นายแพทยธ์ ีระพงษ์ ตัณฑวเิ ชียร ภาควชิ าอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๕๖-๔๕๗๘ E-mail: [email protected] 34 ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ธีระพงษ์ ตัณฑวิเชียร อาจารย์ประจ�ำภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั จบการศกึ ษา วฒุ บิ ตั รแสดงความรคู้ วามชำ� นาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาอายุรศาสตร์ ประกาศนียบัตร ในการฝึกอบรมและ วิจัยท่ี Kuzell Institute, CPBC, ซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมรกิ า อนมุ ตั ิบัตรแสดงความรู้ ความช�ำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาอายุรศาสตร์โรคติดเชื้อ และวุฒิบัตร แสดงความรู้ความช�ำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนง เวชศาสตร์การเดินทางและการท่องเที่ยว หัวหน้าสาขาโรคติดเช้ือ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวิชาการ และหัวหน้าคลินิกโรคพิษสุนัขบ้า และคลินิกเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ได้รับการ ประเมนิ ให้ดำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ ระดบั ๑๑ เมื่อวนั ที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ธีระพงษ์ ตัณฑวิเชียร มีความเช่ียวชาญเฉพาะอายุรกรรม โรคติดเช้ือ และการให้บริการวัคซีนในผู้ใหญ่ หรือประสบการณ์เฉพาะท่ีเก่ียวกับวัคซีน วิจัยพัฒนาเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ท�ำการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในกลุ่มอาสาสมัคร เช่น การตอบสนองทาง ภมู ิคุ้มกันจากสารนำ�้ ภายหลังการฉดี วัคซีนป้องกนั โรคพิษสนุ ัขบ้า ในผูใ้ หญ่ทตี่ ิดเชอื้ เอชไอวี ซ่ึงเคยได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ามาก่อน การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อ การได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในอาสาสมัครที่ได้รับยาสเตียรอยด์ การตอบสนอง ของภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (แบบก่อนสัมผัสโรค) ในผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดท่ี 2 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในผู้ใหญ่ ร่วมแต่งหนังสือท่ีเกี่ยวข้องกับ งานดา้ นวัคซีน เชน่ คมู่ อื วัคซีน, เรือ่ ง Vaccine antigen และ Vaccine development ใน หนังสอื Understanding Modern Vaccines ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 35

ศผาทู้ สี่ไตดร้ราับจกาารรยป์ รระะเดมบัินใ๑หด้ ๑ำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ นายแพทย์สิทธิศกั ดิ์ หรรษาเวก ภาควชิ าชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐๒-๒๕๖-๔๔๘๒ E-mail: [email protected] 36 ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนวัดสุทธิวราราม กรุงเทพมหานคร ก่อนเข้าศึกษาต่อในคณะ แพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้รบั พระราชทานปริญญาแพทยศาสตรบณั ฑิต ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ และได้รับการบรรจเุ ป็นอาจารยภ์ าควิชาชีวเคมตี ง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ตอ่ มาได้รับทนุ รฐั บาล ในการสง่ เสรมิ พัฒนาอาจารย์ ตามความต้องการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท-เอก และได้รับปริญญาวิทยาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาจลุ ชวี วทิ ยาและชวี วทิ ยาระดับโมเลกลุ จาก Medical College of Virginia, Virginia Commonwealth University ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ และปริญญาปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาชวี เวชศาสตร์ จาก Old Dominion University and Eastern Virginia Medical School ในปี ๒๕๔๖ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า จบปริญญาโท-เอกในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดก้ ลบั มา ปฏบิ ตั ริ าชการที่คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ไดร้ ับการแต่งต้งั เปน็ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ จากน้ันได้รับต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ และได้รับการโปรดเกล้าฯให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ ระดบั ๑๐ เม่อื วนั ท่ี ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ศาสตราจารย์ นายแพทย์.สิทธิศักด์ิ หรรษาเวกได้รับการยอมรับทางด้านวิชาการและการวิจัยท้ังทางด้านชีวเคม ี และอณูชีววิทยาระบบโครงสร้างกระดูกและข้อควบคู่กับด้านออร์โธปิดิกส์ หนังสือและต�ำราที่ได้รับการตีพิมพ์ดังเช่น เซลล์ชีววิทยาทางการแพทย์ ๑ และ ๒ ชีววิทยาของกระดูก: ชีวเคมีระดับเซลล์และโรคที่พบบ่อย ชีวเคมีและเซลล ์ ชีววทิ ยาของกระดูก : กลไกระดับโมเลกุลและโรคท่สี �ำคญั นอกจากน้ยี ังไดเ้ ขยี นแต่งหนังสือรว่ มกบั ท่านรองศาสตราจารย์ นายแพทย์วินัย พากเพียร อดีตประธานราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์และสมาคมออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย เช่น วิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ของกระดูก เซลล์ต้นก�ำเนิดและวิศวกรรมเนื้อเยื่อ ต�ำราแนวทางการวินิจฉัยและรักษา โรคออรโ์ ธปิดิกส์ ซงึ่ ประกอบด้วยชุดตำ� รา ๔ เล่ม ได้แก่ เน้ืองอกและโรคที่ส�ำคัญ (Tumors and Systemic Diseases) กระดูกหักและข้อเคล่ือนหลุด (Trauma: Fractures and Dislocations) การบาดเจ็บและความผิดปกติระบบสันหลัง (Spine: Injuries and Disorders) เวชศาสตร์การกีฬาโรคและการบาดเจ็บในเด็ก (Sports Medicine and Pediatrics) รวมทั้งได้รับอนุมัติบัตรผู้เช่ียวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ แพทยสภา และได้รับการอบรมเพิ่มพูนความรู้และการวิจัย ณ Rothman Institute of Orthopaedics, Thomas Jefferson University Hospital ผลงานการวิจัยทางวชิ าการได้ รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติมากกว่า ๑๒๐ เรื่อง และผลงานวิจัยได้รับการน�ำไปใช้อ้างอิงมากกว่า ๑,๖๐๐ citations ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ิทธิศกั ดิ์ หรรษาเวก ได้รับเชญิ เป็นวทิ ยากรบรรยายและน�ำเสนอผลงานทางวชิ าการในการ ประชมุ ระดบั นานาชาตแิ ละระดบั ชาติเปน็ ประจำ� เช่น การประชมุ Orthopaedic Research Society (ORS), American Academy of Orthopaedic Surgeon (AAOS), American Society of Bone and Mineral Research (ASBMR), World Congress of Tissue Engineering and Regenerative Medicine (TERMIS), Osteoporosis International Foundation (OIF), Osteoarthritis Research Society International (OARSI), Royal College of Orthopaedic Surgeon of Thailand (RCOST), Thai Hip & Knee Society (THKS) เปน็ ต้น นอกจากนยี้ ังไดร้ ว่ มเป็นคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินการขอต�ำแหน่งทางวิชาการและทุนวิจัยของหน่วยงานและสถาบันการศึกษาจ�ำนวนมาก ชว่ งระยะเวลาการรบั ราชการ ศาสตราจารย์ นายแสทิ ธศิ กั ดิ์ หรรษาเวกไดป้ ฏบิ ตั งิ านบรหิ ารทสี่ ำ� คญ้ ของคณะแพทยศาสตร์ เชน่ ประธานหลักสูตรชีวเคมีทางการแพทย์ คณะกรรมการชมรมคณาจารย์ บรรณาธิการบริหารวารสาร (Editor-in- Chief) Chulalongkorn Medical Journal และ Chulalongkorn Medical Bulletin รองบรรณาธกิ ารวารสาร Thai Journal of RCOST ผชู้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยกิจการนิสติ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 37

ศผาู้ทสี่ไตดร้ราบั จกาารรยป์ รระะเดมบันิ ใAหด้-ำ�1รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.สมบรู ณ์ ธนาศภุ วฒั น์ ภาควิชาชวี เคมีและจลุ ชวี วทิ ยา คณะเภสชั ศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๐-๐๘๗๖ E-mail: [email protected] 38 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกดิ วนั ที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ส�ำเร็จการศกึ ษาวิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ Diploma in Microbiology & Biotechnology มหาวิทยาลัยโอซากาในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ปริญญาเอก Agricultural Chemistry มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรโ์ ตเกียว ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ บรรจุเปน็ อาจารย์ทีภ่ าควชิ าจลุ ชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาจุลชีววิทยา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ รองศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้รับการโปรดเกล้าฯให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ A-2 สาขาจุลชีววิทยา คณะ เภสชั ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ต้งั แตว่ ันที่ ๒๘ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๓ และไดร้ ับการประเมินให้ ดำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ ระดบั A-1 วันท่ี ๖ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ ธนาศุภวัฒน์ ได้รับการยอบรับทางด้านวิชาการและการวิจัยทาง จุลชีววิทยาพื้นฐานและประยุกต์ เป็นผู้เช่ียวชาญทางอนุกรมวิธานของจุลินทรีย์ โดยได้ให้บริการอบรม เชิงปฏิบัติการแก่อาจารย์ นักวิจัย และให้ความรู้ทางจุลชีววิทยาแก่นักเรียนระดับประถมและมัธยม ได้เขียนหนังสือและบทความในหนังสือระดับนานาชาติ ๒๒ เรื่อง ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น Nagai Award ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ รางวลั ผลงานวจิ ยั ตพี มิ พใ์ นวารสารระดบั นานาชาตสิ งู สดุ ของคณะเภสชั ศาสตร์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ และรางวลั ผลงานวจิ ยั ระดบั ดจี ากสำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ นอกจากน้ียังได้รับเชิญเป็นวิทยากรในการประชุมวิชาการและการบรรยายระดับชาติและนานาชาต ิ รวมทั้งเป็นบรรณาธิการของวารสารระดับชาติและนานาชาติ ได้สร้างผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ระดับนานาชาติมากกว่า ๒๓๐ เรื่อง มีการค้นพบจุลินทรีย์สกุลใหม่ ๑๔ สกุล และสปีชีส์ใหม่มากกว่า ๑๓๐ สปีชีส์ โดยรวมทั้ง actinomycetes ที่คัดแยกจากดินและพืช rmarine bacteria ชึ่งสร้างสาร ปฎิชวี นะชนิดใหม่ lactic acid bacteria จากอาหารหมกั ในประเทศไทย ทม่ี ีความหลากหลาย ซ่งึ ไดว้ จิ ยั พัฒนาเป็นสายพันธุ์สารเสริมชีวนะ (probiotics) สายพันธุ์ท่ีใช้ผลิต GABAหรือ diacetyl ซ่ึงเป็น ประโยชน์ในการหมกั อาหาร สายพันธท์ุ ี่ผลิตกรดแลคตคิ ชนดิ D-lactic acid หรือ L-lactic acid ได้สงู เพอื่ ใชใ้ นอตุ สาหกรรมการผลติ พลาสตกิ ชวี ภาพ halophilic bacteriaทสี่ ามารถผลติ เอนไซม์ proteinase หรอื สามารถลดฮีสตามนี ในผลิตภณั ฑ์ในปลา acetic acid bacteria ที่ใชห้ มักนำ้� สม้ สายชู ซึ่งพฒั นาเปน็ ผลิตภณั ฑไ์ ซเดอร์ลำ� ไยพรอ้ มด่มื spore-forming bacteria ทีส่ ามารถสร้าง xylanase ยอ่ ย xylan และ cellulase ย่อย cellulose เพอื่ นำ� ไปใชเ้ ป็นแหลง่ คารบ์ อนในพฒั นาพลังงาน แบคทีเรยี ทม่ี บี ทบาทต่อ สิ่งแวดล้อม ได้แก่ arsenite-oxidizing bacteria แบคทีเรียท่ีย่อยเทอร์โมพลาสติก (polyethylene Terephthalate, PET) ท่ีเป็นสปีชีส์ใหม่ และได้พัฒนาผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ใน สิง่ แวดการกำ� จัดกลนิ่ ในบอ่ ปลา ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 39

ศผาทู้ สี่ไตดรร้ าบั จกาารรยป์ รระะเดมบันิ ใAหด้-ำ�1รงตำ� แหน่ง ศาสตราจารย์ ดร.ณชั ชา พันธ์ุเจรญิ ภาควชิ าดรุ ยิ างคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๔๖๐๔ E-mail: [email protected] 40 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ ดร.ณชั ชา พันธุ์เจรญิ เกดิ วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2501 สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดับ ประถมศึกษาจากโรงเรยี นราชนิ ี ระดับมัธยมศกึ ษาจากโรงเรยี นสตรวี ิทยา เม่อื พ.ศ. 2521 สอบ ชิงทนุ รัฐบาลไทย (ทุน กพ.) ไปศกึ ษาทป่ี ระเทศสหรัฐอเมรกิ า ส�ำเร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ด้านการแสดงเปียโนจาก The American University ปริญญาโทและปริญญาเอกด้านทฤษฎี ดนตรสี ากลจาก Kent State University พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้รับการบรรจุเป็นอาจารย์ภาควิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด�ำรงต�ำแหน่งภาคีสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสภาตั้งแต่วันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ ๑๐ เมื่อ วันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และได้รับการแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ ๑๑ เมื่อวนั ท่ี ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุ์เจริญ เป็นท่ีรู้จักในวงการศึกษาดนตรีของประเทศในฐานะ ผู้เขียนหนังสือดนตรีจ�ำนวนมาก เป็นต�ำราในหมวดทฤษฎีดนตรี พจนานุกรมศัพท์ดุริยางคศิลป์ โน้ตเพลงวรรณกรรมเปยี โน และหนังสือสำ� หรับบคุ คลทว่ั ไป รวม ๒๗ เลม่ ดว้ ยยอดพมิ พ์ทงั้ สน้ิ ประมาณ ๑๔๐,๐๐๐ เล่ม ผลงานหนังสือได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง และเป็นส่วนส�ำคัญ ในการยกระดับการเรียนการสอนดนตรีระดับอุดมศึกษาของประเทศ สามารถเชื่อมโยงความรู ้ ในศาสตร์ของดนตรีสากลกับดนตรีไทยไว้เป็นหน่ึงเดียว ผลงานคงไว้ซึ่งความเข้มข้นทางวิชาการ ซ่งึ สนบั สนนุ งานดนตรปี ฏิบัตใิ หเ้ ขม้ แข็ง นอกจากจะเป็นผู้น�ำด้านการเขียนหนังสือแล้ว ยังเป็นผู้บุกเบิกงานวิจัยสร้างสรรค์ ได้สร้าง บุคลากรช้ันน�ำเป็นจ�ำนวนมากซึ่งท�ำประโยชน์ด้านดนตรีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ได้รับ พระราชทานรางวลั “เมธีวจิ ัยอาวุโส สกว.” ประจ�ำปี ๒๕๕๖ จากส�ำนักงานกองทนุ สนบั สนนุ การ วิจยั เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ จัดตัง้ “สำ� นักเดีย่ วเปยี โนเพลงไทย” เพอื่ รอ้ื ฟ้นื อนุรกั ษ์ พฒั นาต่อยอด ศาสตร์การเด่ียวเปียโนเพลงไทย เรียบเรียงเพลงไทยส�ำหรับเปียโนตีพิมพ์เผยแพร่ท้ังในประเทศ และต่างประเทศ สร้างนักเปียโนเพลงไทยรุ่นใหม่ จัดแสดงทุกปีพร้อมบันทึกซีดีและวีดิทัศน์ ประยุกต์ใช้เทคนิคเปียโนคลาสสิกของตะวันตกมาพัฒนาและขัดเกลาวิธีการบรรเลงจนเกิดเสียง เปียโนเพลงไทยท่ีมีลีลาและเอกลักษณ์เฉพาะ อันเป็นผลงานดุริยางคศิลป์ในระดับวิจิตรของ ประเทศ ศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุเ์ จรญิ ไดส้ ร้างผลงานเป็นทปี่ ระจักษท์ ้ังดา้ นวิชาการและดา้ น ปฏบิ ัตอิ ยา่ งต่อเนื่อง ผลงานเป็นท่ียอมรับในวงการดนตรีระดับอดุ มศึกษาของประเทศ ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 41

ศาสตราจารย์ ดร.วรี ชาติ เปรมานนท์ สำ� เร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาดุษฎบี ณั ฑิต (Doctor of Music) สาขา ดรุ ยิ างคศลิ ป์ จาก University of the Auckland ประเทศนิวซีแลนด์ จากน้ัน ได้รับทุนมูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (Fulbright) เพื่อศึกษาและท�ำวิจัยหลังปริญญาเอก (Postdoctoral in Music Research) ณ Columbia University ประเทศสหรัฐอเมริกา เร่ิมรบั ราชการในตำ� แหนง่ อาจารยท์ จี่ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ตงั้ แตเ่ รม่ิ ตน้ การเปดิ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ และไดป้ ฏบิ ตั ริ าชการในดา้ นงานสอน การทำ� วจิ ยั และ ใน ดา้ นงานบรหิ ารในตำ� แหนง่ สำ� คญั เชน่ รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ รองคณบดฝี า่ ยวจิ ยั และหวั หนา้ ภาควิชา ดรุ ยิ างคศิลป์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ ได้รบั พระมหากรุณาธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯ แตง่ ต้งั เปน็ ศาสตราจารย์ ด้านดุริยางคศิลป์ สาขาดุริยางคศลิ ป์สากล นับเป็นศาสตราจารย์ดา้ นดรุ ิยางคศลิ ป์ ตะวันตกคนแรกของประเทศ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ผลงานวจิ ยั สรา้ งสรรคป์ ระเภทบทประพนั ธเ์ พลง ไดร้ บั การบนั ทกึ เสยี งและนำ� ออกแสดงโดย วงซิมโฟนอี อร์เคสตร้า ระดบั โลก เชน่ วง The New Japan Philharmonic วง The Auckland Philharmonia Orchestra วง The Tashkent Symphony Orchestra วง The National Symphony Orchestra of Taiwan วง The Vietnamese National Symphony Orchestra วง The Bangkok Symphony Orchestra วง The Royal Bangkok Symphony Orchestra วง The ASEAN Symphony Orchestra วง Shenandoah University Symphony Orchestra เปน็ ตน้ ไดร้ บั รางวลั ระดบั นานาชาติ ไดแ้ ก่ รางวลั ทหี่ นง่ึ จากการประกวด The Nelson International Composition Competition, New Zealand รางวลั The ASEAN Outstanding Chamber Music Work รางวลั ระดบั ชาติ เชน่ รางวลั ‘อาจารยด์ เี ดน่ ’ และ รางวลั ‘ศาสตราจารย’์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รางวลั ‘เพชรสยาม’ ดา้ นการประพันธ์เพลง โดยมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั จันทรเกษม และกระทรวงมหาดไทย รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติเป็น “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ” สาขามนษุ ยศาสตรแ์ ละศลิ ปกรรม ศาสตร์ (ปอมท.) รางวัลผลงานวิจยั ดีมาก กองทนุ รชั ดาภเิ ษก สมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รางวัลอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ดุษฎีบัณฑิตดีเด่น จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รางวลั ผลงานวจิ ยั ดมี าก จากสภาวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) รางวลั ‘ศาสตรเมธ’ี ด้านการประพันธ์เพลง มูลนิธิศาสตราจารย์ มล.ปิ่น มาลากุล ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี รางวัลเชิดชูเกียรติ ‘ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์’ (ศิลปิน แห่งชาติ) ‘Artistic Excellence Award 2016’ และได้รับ แต่งตง้ั เป็นศาสตราจารย์ ระดับ A-1 (ระดบั ๑๑) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ 42 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ใผศหาู้ทด้ ส่ีไ�ำตดรรร้ งาบั ตจก�ำาาแรรหยปน์ รรง่ ะะเดมบัิน A-1 ศาสตราจารย์ ดร.วีรชาติ เปรมานนท์ ภาควิชาดุรยิ างคศิลป์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๑๘๘-๔๖๑๕ E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 43

ผศาู้ทสี่ไตดรร้ าบั จกาารรยป์ รระะเดมบันิ ใ๑หด้ ๑ำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.จโิ รจ ศศปิ รียจนั ทร์ ภาควชิ าอายุรศาสตร์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๙๔๑๒ E-mail: [email protected] 44 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.จิโรจ ศศิปรียจนั ทร์ เกิดเมอ่ื วนั ที่ ๒๐ มีนาคม ๒๔๙๗ ทจ่ี ังหวดั เพชรบรุ ี ส�ำเรจ็ การศกึ ษาสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ เกยี รตินิยม จากจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ และไดร้ บั การบรรจุเปน็ อาจารย์ทภ่ี าควิชาอายรุ ศาสตร์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ จากจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ในปีเดียวกัน หลงั จากนัน้ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ไดเ้ ดนิ ทางไปศกึ ษาตอ่ ทมี่ หาวทิ ยาลยั มนิ เนโซตา สหรฐั อเมรกิ า ดว้ นทนุ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และจบการศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาจลุ ชวี วทิ ยาทางสตั วแพทย์ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ให้ ดำ� รงตำ� แหนง่ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ และรองศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และ ๒๕๓๗ ตามลำ� ดบั ไดร้ บั การโปรดเกลา้ ฯใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารยร์ ะดบั ๑๐ และไดร้ ับการประเมนิ ใหด้ ำ� รงตำ� แหน่งศาสตราจารยร์ ะดับ ๑๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ และ ๒๕๕๗ ตามล�ำดับ เคยด�ำรง ต�ำแหน่งบริหาร เปน็ หวั หน้าภาควชิ าอายุรศาสตร์ ๒ วาระ เป็นรองคณบดี ๒ วาระ เป็นคณะกรรมการอ�ำนวยการประจ�ำ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และ ผลิตภณั ฑ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒ วาระ เปน็ คณะอนกุ รรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการที่ปรกึ ษา ผู้ทรง คณุ วฒุ ิ และคณะทำ� งาน ของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สถาบนั การศกึ ษาอน่ื ๆ องคก์ รวชิ าชพี กรมปศสุ ตั ว์ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ และส�ำนักนายกรัฐมนตรี อาจารย์เป็นผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการร่างมาตรการ ซึ่งได้ประกาศเป็นแผนแม่บทของ ประเทศในการควบคุมและป้องกันโรคไขห้ วดั นก ฉบบั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๐ และฉบบั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๓ ดา้ นวชิ าการ อาจารยม์ ผี ลงานวจิ ยั และบทความวชิ าการ ทต่ี พี มิ พเ์ ผยแพรใ่ นวารสารวชิ าการทง้ั ในและตา่ งประเทศ อย่างต่อเน่ือง และเขียนต�ำราเพ่ือรวบรวมและเผยแพร่ความรู้จากประสบการณ์และงานวิจัยท่ีได้ท�ำ อาจารย์ได้รับเชิญ เปน็ วิทยากรในการประชมุ ทางวชิ าการ และในการบรรยายใหค้ วามรูเ้ กษตรกร และผทู้ ี่มหี น้าทด่ี แู ลสขุ ภาพไก่ เป็นประจ�ำ อย่างต่อเนื่อง ทั้งจากทางราชการและภาคเอกชน ทงั้ ในและต่างประเทศ ด้านการเรียน-การสอน อาจารย์ได้มีการปรับปรุงรูปแบบและเนื้อหาในการสอนอยู่เสมอ เพื่อให้มีความทันสมัย รวมทั้งมีเอกสารประกอบการสอนและต�ำราที่มีรูปภาพประกอบ เพื่อให้บทเรียนมีความสมบูรณ์ ง่ายต่อการจดจ�ำและ ทำ� ความเขา้ ใจ ซง่ึ ไดป้ ฏบิ ตั อิ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งตง้ั แตก่ ารเขา้ มาเปน็ อาจารยจ์ วบจนปจั จบุ นั เพอ่ื ประโยชนส์ งู สดุ ในการเรยี นรขู้ อง นิสิต อาจารย์ได้มีการประสานงานอย่างใกล้ชิดกับฟาร์มไก่ เพื่อให้นิสิตได้มีโอกาสเข้าไปเรียนรู้และปฏิบัติจริงในฟาร์ม ขนาดใหญท่ ม่ี กี ารบรหิ ารจดั การแบบครบวงจร เปน็ การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ และตอ่ ยอดแนวคดิ ของคณะสตั วแพทยศาสตร์ ท่ีต้องการให้บัณฑิตสัตวแพทย์มีความสนใจงานด้านสัตว์เศรษฐกิจมากขึ้น เป็นท่ีทราบกันดีว่าอาจารย์ไม่ได้สอนนิสิต เฉพาะเนอื้ หาวชิ าการเทา่ นนั้ แตค่ ำ� วา่ “ความรคู้ คู่ ณุ ธรรม” เปน็ สง่ิ ทอี่ าจารยไ์ ดส้ ง่ั สอนลกู ศษิ ยเ์ สมอมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อาจารย์ ยงั ไดส้ ง่ั สอนถงึ ความประพฤตแิ ละการปฏบิ ตั ติ นเมอ่ื จบออกไปปฏบิ ตั งิ าน แนะนำ� ใหน้ สิ ติ รจู้ กั พฒั นาบคุ ลกิ ภาพ ทำ� ใหน้ สิ ติ มีความม่ันใจในตนเองมากขึ้น อาจารย์มักเน้นย�้ำเสมอถึงเร่ืองการตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ การแต่งกายที่เหมาะสม การชว่ ยเหลือกัน และการทำ� งานร่วมกันเปน็ หมู่คณะ เป็นตน้ อาจารย์เป็นบุคคลท่ีได้รับการยอมรับในแวดวงวิชาการและวิชาชีพ ซึ่งสัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ใน พระบรมราชูปภัมภ์ ไดป้ ระกาศเกียรตคิ ณุ ยกย่องให้อาจารย์เป็นสตั วแพทย์ตวั อย่างสายงานวิชาการ ประจ�ำปี 2543 ไดร้ ับ การประกาศเกียรติคุณ ศิษย์เก่าดีเด่น ประจ�ำปี ๒๕๔๗ สาขาผลงานด้านวิชาการเพื่อประโยชน์แก่วิชาชีพ จากสมาคม นิสิตเก่าคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ประเภทอาจารย์ดีเด่น ระดับหน่วยงานที่สังกัด ประจ�ำปี ๒๕๔๗ รางวัลผลงานวิจัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รางวัล สำ� หรบั ศาสตราจารย์ จากจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รางวลั อาจารยด์ เี ดน่ แหง่ ชาติ ประจำ� ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ สาขาวทิ ยาศาสตร์ สขุ ภาพ ของทปี่ ระชมุ ประธานสภาอาจารยม์ หาวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย (ปอมท.) และรางวลั ผลงานวจิ ยั กองทนุ รชั ดาภเิ ษก สมโภช รางวลั สำ� หรบั ศาสตราจารยร์ ะดับ ๑๑ จากจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 45

ผศาู้ทส่ีไตดรร้ าบั จกาารรยป์ รระะเดมับินใAห้ด-ำ�1รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ สตั วแพทยห์ ญงิ ดร.สันนภิ า สุรทัตต์ ภาควชิ าจลุ ชีววิทยา คณะสตั วแพทยสาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๙๕๘๓ E-mail: [email protected] 46 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกิดเม่อื วันท่ี ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ ทป่ี ระเทศสหรฐั อเมริกา ส�ำเรจ็ การศึกษาระดับมธั ยมศึกษา จาก โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (CUD 20) ระดบั ปรญิ ญาตรี สตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ เกยี รตนิ ยิ ม อันดบั หนง่ึ (เหรยี ญรางวัล) จากคณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ เข้ารับ ราชการต�ำแหน่ง อาจารย์ สังกัดภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นได้รับทนุ รฐั บาลไทย (ก.พ.) เพือ่ ศึกษาต่อใน สาขา Veterinary Microbiology ณ Western College of Veterinary Medicine, University of Saskatchewan, Saskatoon, Canada สำ� เรจ็ การศึกษาในระดับ ดุษฎีบัณฑิต ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ภายหลังส�ำเร็จการศึกษาได้กลับเข้ารับราชการ รับผิดชอบงานทางด้าน การเรียนการสอน และงานวิจยั ทางด้านวทิ ยาภูมิคมุ้ กนั ทางสัตวแพทย์ โดยมีความก้าวหน้าเปน็ ลำ� ดับ ไดร้ ับ การแตง่ ต้ังให้ด�ำรงตำ� แหนง่ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ รองศาสตราจารยใ์ นปี พ.ศ. ๒๕๔๗ และ ไดร้ บั การโปรดเกลา้ ฯ ใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ ระดบั A-2 สาขาจลุ ชวี วทิ ยา สงั กดั คณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เมื่อวันท่ี ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.สันนิภา สุรทัตต์ เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิทยาภูมิคุ้มกัน ทางด้านสัตวแพทย์ โดยตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมามีผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ด้านวิทยาภูมิคุ้มกัน และวัคซีนวิทยาทางสัตวแพทย์มาอย่างต่อเนื่อง มีงานศึกษาวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการท�ำงานของเซลล์ ในระบบภูมคิ ุม้ กนั ของสุกร ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ ความส�ำเรจ็ ของการให้วคั ซีน และการศึกษาบทบาทของเช้ือไวรสั พี อาร์ อาร์ เอส ต่อการท�ำงานของระบบภูมิคุ้มกันของสุกร มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ อย่างตอ่ เนื่อง องค์ความร้ทู ีส่ รา้ งขึ้นไดน้ �ำไปส่กู ารพัฒนาและออกแบบวัคซีนโรค พี อาร์ อาร์ เอส ชนดิ ใหม่ ซงึ่ ไดร้ บั การจดสทิ ธบิ ตั รในระดบั นานาชาติ และชดุ งานวจิ ยั เรอ่ื ง การประยกุ ตอ์ งคค์ วามรโู้ รค พี อาร์ อาร์ เอส ในประเทศไทยเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคอย่างย่ังยืน ได้รับรางวัลรางวัลวิจัยดีเย่ียม จากส�ำนักงาน คณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยตลอดระยะเวลาในการทำ� งานไดร้ บั เชญิ เปน็ อาจารยพ์ เิ ศษ ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาวิทยาภูมิคุ้มกันและวัคซีนวิทยาทางสัตวแพทย์ ในองค์กรวิชาชีพ หน่วยงานทั้ง ภาครัฐและเอกชนมาอย่างต่อเนื่อง นอกจากน้ี ศาสตราจารย์ สตั วแพทยห์ ญิง ดร.สนั นิภา สรุ ทตั ต์ ยังเปน็ ผมู้ สี ว่ นร่วมในการวางรากฐาน การศกึ ษาวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั โรคอบุ ตั ใิ หมแ่ ละอบุ ตั ซิ �้ำในสตั ว์ และการจดั ตง้ั ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางโรคอบุ ตั ิ ใหม่และอุบัติซ�้ำในสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สร้างผลงานเชิงประจักษ์ท่ีเป็นท่ี ยอมรับในวงกว้างทั้งในประเทศและระดับนานาชาติ โดยระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗ ได้รบั เชิญให้ไป ปฏิบัติงานเต็มเวลา ในต�ำแหน่ง ผู้ประสานงานเครือข่ายห้องปฏิบัติการทางสัตวแพทย์ในระดับภูมิภาค ณ Emergency Center for Transboundary Animal Diseases (ECTAD) องคก์ ารอาหารและการเกษตร แห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations) เพื่อสนับสนุน การเตรียมความพร้อมในด้านการชันสูตรวินิจฉัยโรคในสัตว์ และการสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรคในสัตว์ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยยังคงปฏิบัติหน้าท ี่ ใหค้ �ำปรึกษาในฐานะผูเ้ ชยี่ วชาญทางเม่อื ได้รับการขอมาจนถงึ ปัจจบุ นั ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 47

ผศาู้ทส่ีไตดรร้ าบั จกาารรยป์ รระะเดมับนิ ใ๑ห้ด๑ำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.อนวุ ัฒน์ ศริ วิ ฒั น์ วทิ ยาลัยปโิ ตรเลียมและปโิ ตรเคมี จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๔๑๓๑, ๐๘-๐๔๘๐-๐๔๗๘ E-mail: [email protected] 48 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook