Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

63 กิจกรรมการเรียนการสอน 1. เฉลยคําถามทา้ ยบทและทบทวนบทเรียน 2. นกั ศึกษาดูคลปิ วดิ ีโอ Super mom 3. นักศึกษาร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับคลิปวิดโี อ Super mom 4. บรรยาย อภิปรายเนื้อหา และสรุปเนื้อหาสาระสําคัญประกอบการนําเสนอด้วย Microsoft Power Point ในหัวข้อความหมายของการรู้จักตนเอง, ความสําคัญของการรู้จักตนเอง, แนวคิดนักจิตวิทยาของการรู้จักตนเอง, ทฤษฎีการรู้จักตนเอง, ปัจจัยส่งเสริมการรู้จักตนเอง, มโนมติ พื้นฐานในการรู้จักตนเอง, การพัฒนาการรู้จักตนเอง, การตระหนักรู้ในตนเอง การเห็นคุณค่าในตนเอง การพฒั นาตน และการเข้าใจผอู้ น่ื 5. นกั ศกึ ษาสนทนา-ซักถาม การแลกเปล่ียนความคิดเหน็ ในหัวขอ้ ข้างต้น 6. แบ่งกลมุ่ นกั ศกึ ษาเปน็ กล่มุ ระดมความคดิ เกย่ี วกบั การพัฒนาตน แต่ละกลมุ่ นาํ เสนอ หน้าชนั้ เรียน 7. ทบทวนเน้ือหาโดยนักศึกษาแตล่ ะคนคิดการพัฒนาตนเองส่งงานในสปั ดาห์ต่อไป 8. ทบทวนโดยคําถามท้ายบท สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารคําสอน 2. หนงั สือ ตาํ ราทเ่ี กีย่ วข้องจติ วทิ ยา 3. กจิ กรรมกลมุ่ 4. Power Point ทจ่ี ัดทาํ ในหัวขอ้ ตา่ งๆ 5. คําถามทา้ ยบท

64 การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์ เคร่อื งมอื /วิธีการ การประเมนิ ผล 1. อธิบายความหมายของตัวตน, 1. ซกั ถาม แลกเปล่ยี น 1. นักศึกษาตอบคาํ ถาม ความสาํ คญั ของการรู้จักตนเอง, สนทนาพดู คุย ตอบคาํ ถาม ถกู ต้องไดร้ อ้ ยละ 80 แนวคดิ นักจติ วทิ ยาของการร้จู ัก 2. ปฏิบตั ิงานในการศกึ ษา 2. ศกึ ษาคน้ คว้างานอย่ใู น ตนเอง, ทฤษฎีการรู้จกั ตนเอง, ค้นควา้ ระดบั ดี ปัจจยั สง่ เสรมิ การรจู้ ักตนเอง, 3. การสงั เกตพฤติกรรม 3. สงั เกตพฤติกรรมใน มโนมตพิ ้ืนฐานในการร้จู กั ตนเอง, การรว่ มกจิ กรรม การเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ / การพฒั นาการรจู้ ักตนเองได้ 4. สังเกตการณน์ ําเสนอหนา้ ความสนใจ/ความรว่ มมืออยู่ 2. ตระหนกั รใู้ นตนเอง, เหน็ คณุ คา่ ใน ช้นั เรยี น ในระดับดี ตนเอง, พฒั นาตนเองและเขา้ ใจผอู้ น่ื 5. การมอบหมายงานท่ีได้รบั 4. การนาํ เสนอหน้าชนั้ เรียน ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาํ วันได้ มอบหมาย อย่ใู นระดับดี 6. การมอบหมายงานคําถาม 5. นักศกึ ษาทาํ งานที่ ทา้ ยบท มอบหมายไดอ้ ยใู่ นระดบั ดี 6. นกั ศึกษาทาํ คาํ ถาม ท้ายบทถกู ต้องรอ้ ยละ 80

65 บทที่ 2 การตระหนักรู้ในตนเองและการเข้าใจผู้อืน่ การท่ีเราเปิดเผยตัวเองมากเท่าไหร่ก็จะย่ิงให้เราเรียนรู้ที่จะเข้าใจตนเอง ยอมรับสภาพ ความเป็นจริงทเ่ี กิดขึน้ การรู้จักตนเอง (Self awareness) รวมไปถงึ การรับรแู้ ละรจู้ กั ความสามารถ ของตวั เราเอง จะตอ้ งรู้ว่าเราเปน็ คนอย่างไร ชอบอะไร ไมช่ อบอะไร เก่งอะไร ไม่เกง่ อะไร และทส่ี าํ คญั เราตอ้ งรอู้ ารมณข์ องตนเองด้วยว่าขณะนเี้ รามีอารมณ์เปน็ อยา่ งไร การร้จู ักอารมณต์ นเองจะนําไปสู่ การควบคมุ อารมณแ์ ละการแสดงออกที่เหมาะสมตอ่ ไป ซง่ึ การทจี่ ะรู้จักตนเอง รอู้ ารมณ์ของตนเองได้ ต้องเริ่มจากการรู้ตัวหรือการมีสติ การรู้จักตนเอง เป็นรากฐานของการสร้างความเชื่อม่ันในตนเอง เพราะการรูจ้ ักตนเอง หมายรวมถึง ขีดความสามารถของตัวเรา รขู้ อ้ จํากัดของตวั เองเรา อะไรที่ทําได้ อะไรที่เกินฝนั การรจู้ ักตนทาํ ใหเ้ ราเขา้ ใจผู้อนื่ ได้มากขนึ้ เราจะพบวา่ มีบางเร่ืองทีเ่ ราคลา้ ยคนอน่ื และ มีอีกหลายเรื่องทีแ่ ตกตา่ งกนั เช่น เจตคติ ความคิด ความเชอื่ ประสบการณ์ ฯลฯ ซง่ึ ส่ิงเหลา่ นเี้ องที่ ผลักดนั ใหเ้ รามพี ฤตกิ รรมหรอื การแสดงออกต่างกัน เม่ือเราได้เข้าใจปัจจัยต่างๆ เหล่าน้ี กจ็ ะทาํ ให้เกิด การยอมรับและเขา้ ใจผอู้ ่นื ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มิถนุ ายน 2559) ภาพที่ 24 แสดงภาพการตระหนักรู้ในตนเองและการเขา้ ใจผอู้ นื่ (ทมี่ า http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ นุ ายน 2559)

66 มนษุ ยโ์ ดยองคร์ วมเปน็ คําที่ใช้เรยี กส่งิ มีชีวิตชนดิ หนึ่ง ซึง่ มีลกั ษณะพิเศษตา่ งจากสัตวอ์ ืน่ ๆ ทวั่ ไป มนษุ ย์มเี หตุผลหรอื สติปัญญาที่สรรคส์ ร้างแตล่ ะบคุ คล แตล่ ะหมู่พวกใหม้ ีความแตกต่างกันในรูปลักษณ์ ความคดิ จินตนาการ รปู แบบการพัฒนา การจดั องคก์ ร แตโ่ ดยหน่วยย่อยเปน็ แต่ละคนแลว้ เรยี กวา่ ตนหรอื ตวั ตนหรอื รปู (พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน 2543) ในเรอื่ งการตระหนกั รู้ในตนเองและ การเขา้ ใจผ้อู ื่นน้ี มจี ุดมุง่ หมายใหผ้ ู้ท่ศี กึ ษาไดศ้ กึ ษาในความหมายของตัวตน ความสําคญั ของการรู้จกั ตนเอง รูปแบบของการรู้จกั ตนเอง มโนมติพน้ื ฐานในการรจู้ ักตนเองทฤษฎกี ารรจู้ ักตนเอง การพัฒนา การรู้จักตนเอง การตระหนักรู้ในตนเอง การเห็นคุณค่าในตนเองและการเขา้ ใจผอู้ ่ืน มีรายละเอียด ดงั น้ี ภาพที่ 25 แสดงภาพการรู้จกั ตนเอง (1) (ทีม่ า https://www.google.co.th/search 8 มถิ นุ ายน 2559) 1. ความหมายของการรจู้ กั ตัวเอง ตนหรือตัวตน (Self) เปน็ คาํ ทใ่ี ชเ้ รยี กส่งิ มีชวี ติ ชนดิ หนึ่งทีว่ วิ ฒั นาการตนเองมาหลาย ขัน้ ตอน ตามแตพ่ ันธุกรรมและสภาพแวดล้อม ตัวตนนไ้ี ดม้ ีผทู้ ่ีทาํ การศกึ ษาและให้ความหมายไว้หลาย ประการ ซึง่ จะกล่าวพอไดใ้ จความดงั นี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ ุนายน 2559) เค ยัง (K. Yolung, 1940) กล่าวว่า ตน คือ จิตสาํ นึก (consciousness) ต่อการกระทาํ และตอ่ ความคดิ ของตนเองและท่ีสมั พันธ์กบั บคุ คลอ่นื การที่ เค ยงั เน้นเรื่องจิตสาํ นกึ นนั้ หมายความว่า ตราบใดท่ีบุคคลยังสาํ นึกรู้ตัวตนอยู่ ตราบนั้นตัวตนก็ยังจะอยู่ ตัวตนน้ันไม่ใช่มี

67 โครงสร้างหรือองค์ประกอบเดียว จะมหี ลายองค์ประกอบซงึ่ จะทาํ หน้าท่สี มั พนั ธก์ นั ทาํ ใหต้ วั ตนดาํ รง อย่ไู ด้ ตวั ตนจะมีการพฒั นาตามสภาพครอบครวั สงั คม และองคป์ ระกอบทางสิ่งแวดลอ้ ม วลิ เลียม เจมส์ (William James) กล่าวว่า ตัวตนคอื ผลรวมของส่วนย่อยต่างๆ ทุกสว่ น ท่ีประกอบกันขึ้นในตัวบุคคล หมายถึง คุณลักษณะหรือบุคลิกภาพทางด้านรูปร่างหน้าตา กิริยา ท่าทาง นิสัยใจคอ สตปิ ญั ญา และความสามารถท่มี อี ยู่ในตวั บคุ คลน้นั ทางพุทธศาสนา กล่าวถึงตวั ตนวา่ ตวั ตน คือ การประกอบเขา้ ดว้ ยกันของกลุ่ม (ขันธ)์ 5 กลมุ่ (กอง) ที่เม่อื ประกอบกนั เขา้ แล้วกลายเปน็ สิ่งมชี วี ติ เปน็ สตั ว์ เปน็ บุคคล เปน็ ตวั ตน เปน็ เรา เป็นเขา ดงั นี้ 1. กลมุ่ ท่เี ป็นรปู เป็นร่างกาย เปน็ ส่วนที่ทาํ ให้เกิดพฤติกรรม เกิดคณุ สมบตั ิต่างๆ ทเี่ ปน็ บุคคลนนั้ ไดแ้ ต่ ผม ขน เลบ็ ฟัน หนงั เนอ้ื ส่วนต่างๆ ของร่างกายมที ง้ั ที่เป็นอวัยวะภายนอกที่ มองเห็นได้ และอวยั วะภายในทไี่ ม่สามารถมองเหน็ ได้ 2. กลุ่มความรสู้ กึ (เวทนา) คอื กลมุ่ ทที่ ําใหค้ นเราเกิดความรสู้ กึ เมอื่ อวยั วะสัมผสั คอื ตา หู จมกู กาย และใจ กระทบกับสง่ิ เรา้ ภายนอก ไดแ้ ก่ รูป เสยี ง กลนิ่ รส อารมณ์ตา่ งๆ แล้ว ทําให้บุคคลนนั้ เกดิ ความรู้สึก เป็นทกุ ข์ เปน็ สุข หรอื เฉยๆ ตอ่ สงิ่ เร้าทีเ่ ขา้ มากระทบนน้ั 3. กลุ่มจดจาํ (สญั ญา) คอื กล่มุ ท่ีเป็นสญั ญา ทาํ ใหบ้ คุ คลนัน้ จําได้ หมายรู้ รบั รู้ สิ่งตา่ งๆ ทีผ่ า่ นเขา้ มาทางทวาร คือ ตา หู จมูก ลนิ้ กายและใจ เช่น จาํ ได้วา่ เปน็ สแี ดง เขียว ขาว สูง ตา่ํ ดํา ขาว อ้วน เตี้ย ผอม สงู สงิ่ นั้นคอื อะไร มรี ูปทรงสัณฐานเปน็ อยา่ งไร สามารถบอกได้อยา่ ง ถูกตอ้ งชดั เจน 4. กล่มุ ปรุงแตง่ (สังขาร) เป็นกลุม่ ท่คี อยปรุงแต่ง หรอื ปรบั ปรงุ จติ ใหจ้ ติ คิดสง่ิ ท่ี พบเหน็ หรอื ส่ิงทรี่ ับรู้วา่ สงิ่ น้ันๆ ดหี รือไมด่ ี มลี ักษณะเป็นอย่างไร โดยมเี จตนาเป็นตัวนําทางท่คี อย บ่งช้วี ่า สิง่ ทคี่ ิดนั้นดี (กศุ ล) ไม่ดี (อกศุ ล) คือมีเจตนาดี หรือเจตนารา้ ย หรอื เจตนาทีเ่ ปน็ กลางๆ ตอ่ สิง่ ทพ่ี บเห็นแลว้ คิดในสงิ่ น้ันๆ 5. กลุม่ ความรคู้ วามเข้าใจ (วิญญาณ) คือกลุ่มท่ีทาํ ความรแู้ จ้ง เขา้ ใจ ไดพ้ บเห็น ได้สมั ผัสทาง ตา หู จมกู เป็นต้นว่า สง่ิ นั้นคอื อะไร มีรปู รา่ ง มีลักษณะอย่างไร สามารถเขา้ ใจอย่าง แจ่มแจง้ ดงั นน้ั สว่ นน้กี ค็ อื สว่ นท่ีเป็นจิต เปน็ ความคิดของคนเรานน่ั เอง ในกลุ่มทั้ง 5 กลมุ่ นน้ั ถ้าจะยอ่ ลงมาอีกก็จะเหลือ 3 กลมุ่ คอื กลุ่มทีเ่ ป็น รปู ที่ เรยี กว่า รปู กลมุ่ ท่ีเป็นความรู้สึก กลมุ่ จดจาํ กลมุ่ ปรุงแตง่ เรียกวา่ เจตสกิ และกลุ่มความรู้ ความ เข้าใจ เรียกว่า จิต ถ้าจะสรปุ ย่อให้เหลอื 2 กลุม่ กจ็ ะไดด้ ังนี้คอื กลุม่ รปู เรยี กวา่ รูป กลมุ่ ความรสู้ กึ กล่มุ จดจาํ และกลมุ่ ปรุงแต่ง เรียกว่า นาม สรุปก็คือ ตัวตนประกอบด้วย 2 ส่วนคือ รูปและนาม

68 ฮิกกนิ้ , มาร์กสั และวุฟ (Higgins, Markus & weef, 1987) กล่าววา่ ตัวตน คอื การรูจ้ ัก แยกแยะหรอื ความรูส้ ึกนกึ คิดเก่ียวกับตนเอง ในด้านภาพลกั ษณ์ จินตนาการ คุณสมบตั ิ รปู สมบตั ิ สง่ิ แวดลอ้ มตา่ งๆ การคิดเกีย่ วกับสังคม วธิ ีการคิด กระบวนการเรยี นรูข้ อ้ มูลขา่ วสาร เคลน โลฟตสั และเบอร์ตนั (Klein, Loftus & Button, 1989) เน้นตวั ตนทางด้าน แรงจูงใจ การปรับปรุงตนเองให้มีประสทิ ธภิ าพ การมีสุขภาพจิตและอารมณด์ ี เดวิส ฮุม (Davis Hume) กลา่ วว่า ตัวตน คอื กองหรอื ผลรวมของการรบั รแู้ บบตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนตอ่ ๆ กันอยา่ งรวดเร็ว การรบั รู้ของตวั เราจะทาํ ใหเ้ กดิ การผันแปรไปต่างๆ นานา ความคิด ระบบ ประสาทและสมรรถตา่ งๆ กม็ สี ว่ นต่อการเปลีย่ นแปลงตา่ งๆ ของตัวตน จากทกี่ ลา่ วมาสรปุ ได้วา่ ตัวตน หมายถึง การรู้จกั แยกแยะหรอื ความรสู้ ึกนึกคดิ เก่ียวกับตนเอง ประกอบด้วยภาพลกั ษณ์ จนิ ตนาการ คณุ สมบัติ รูปสมบตั ิ สง่ิ แวดลอ้ มต่างๆ ทาํ ให้เกิดการปรบั ปรงุ ตนเองใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ การมสี ขุ ภาพจติ และอารมณ์ดี 2. ความสําคญั ของการรจู้ กั ตนเอง การรู้จกั ตนเองมคี วามสําคญั ตอ่ การกระทํา การประพฤติ และการแสดงออก ผู้ท่ีรจู้ กั ตนเองทีพ่ อจะดาํ รงตนอยา่ งพอเหมาะพอควร ก่อนทีจ่ ะทาํ อะไรอื่นบคุ คลควรจะร้จู กั ตนเองก่อนและ คนทีจ่ ะรจู้ ักตนเองได้ดกี ค็ อื บุคคลน่ันเอง ดังคาํ กล่าวทวี่ ่า ไมม่ ใี ครรู้จักตวั เราเองไดด้ ีเทา่ กับตวั เราเอง มีนกั ปราชญ์หลายคนทไ่ี ด้ทําการศึกษาเก่ียวกบั ตนเอง ซึ่งจะกลา่ วดงั น้ี โสคราตสิ (Aristotle, 469-399 B.C.) เปน็ บุคคลแรกทมี่ องเห็นคุณคา่ และ ความสาํ คัญของการรจู้ กั ตนเอง โดยไดก้ ล่าวว่า จงร้จู ักตนเอง (Know yourself) และวา่ ชีวิตท่ีไมร่ ู้จัก ตนเองเปน็ ชวี ิตที่ไม่มีคา่ (An unexamined life is not worth living) ชวี ิตของบคุ คลนัน้ จะเปน็ ชวี ิต ที่มีคณุ คา่ หรอื ไมน่ ้นั อยู่ท่กี ารท่บี ุคคลนน้ั รจู้ ักหรอื สาํ รวจตนเอง หรือตระหนักร้วู า่ ชีวิตคืออะไร กําลงั ทําอะไรอยแู่ ละมชี ีวติ อยู่เพอ่ื อะไร เพลโต (Plato, 427-347 B.C.) ตัวตนของแตล่ ะคนนั้น มสี ว่ นสาํ คญั 3 ส่วนคอื สว่ นทเ่ี ป็นความอยาก ความตอ้ งการ ส่วนท่เี ป็นอารมณ์ ความรู้สกึ ต่าง ๆ และส่วนทเี่ ป็นเหตุผล สติปญั ญา มอญเตญ (Montes, 1533-1592) ชาวฝรง่ั เศสไดเ้ ขียนหนงั สอื เล่มหน่ึงชอ่ื The Essays ได้เนน้ ตวั ตนในที่รปู แบบการดําเนนิ ชีวติ วา่ จะต้องมี 4 ขน้ั ตอน คือ ศกึ ษาและทาํ ความเขา้ ใจตนเองทุกๆ ด้าน ยอมรบั ตนเอง หลังจากที่ได้รู้จักตนเองในทกุ สว่ น ควรทีจ่ ะยอมรบั ตนเองท้ังในส่วนดแี ละส่วนไมด่ ี เพือ่ ท่จี ะไดป้ รับปรุงตนเองต่อไป

69 จงยอมรับและเข้าใจผูอ้ นื่ ท่ีเกดิ จากการศึกษาตนเอง เพราะผลท่ไี ด้จาก การที่เราเข้าใจตนเองจะช่วยใหเ้ รายอมรบั และเข้าใจผูอ้ ่นื ไดด้ ี จงใชช้ ีวิตให้มีความสขุ โดยใหส้ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาตขิ องตนเอง ศาสตร์ แห่งตนนี้ เป็นศาสตร์ที่แปลกกว่าศาสตร์ท่ีเป็นวิทยาศาสตร์อื่นๆ ยิ่งศึกษาก็จะยิ่งมองลึกเข้าไปใน ตนเอง โดยอาศยั ปัจจยั หรือสง่ิ แวดล้อมภายนอก เป็นตัวเสรมิ เขา้ มา ทีจ่ ะทาํ ใหร้ ู้จักตวั เองดียิ่งขึน้ ภาพที่ 26 แสดงภาพการรจู้ กั ตนเอง (2) (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 8 มถิ ุนายน 2559) 3. แนวคดิ ของนกั จติ วทิ ยาของการรจู้ กั ตนเอง แนวคดิ ของนกั จิตวิทยาของการรูจ้ กั ตนเอง มีดงั นี้ 3.1 การรู้จกั ตนเองตามแนวคิดของคาร์ล อาร์ โรเจอร์ (Carl R. Roger, 1970) คาร์ล อาร์ โรเจอร์ (Carl R. Roger) ไดใ้ หแ้ นวคิดเกี่ยวกับตนเองไว้ ดังน้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มิถนุ ายน 2559) 3.1.1 ตนเองตามอุดมคติ (Ideal Self) หมายถึง ตนตามจินตนาการทต่ี นคิด อยากจะเป็นและอยากจะมี เชน่ อยากจะเป็นคนดี คนเดน่ คนดัง อยากรํ่ารวย เปน็ ต้น 3.1.2 ตนตามที่รบั รู้ (Perceived Self) หมายถงึ ตนตามที่ตนไดร้ บั รู้ ท้งั ท่ี ตนเองปกปดิ และเปิดเผย รวมทั้งตนตามทผ่ี ู้อ่ืนคาดหวงั (Other Expectation) เชน่ เพอ่ื นๆ คาดหวัง ว่าเราควรเปน็ คนดี ไม่ประพฤตผิ ดิ กฎหมายและศีลธรรมจรรยา พฤติกรรมดังกลา่ ว ทาํ ให้ตนเองมี ความคิดเกย่ี วกับตนเองข้นึ มาเรียกวา่ “อตั มโนทศั น์ (Self Concept)” ในสว่ นของอัตมโนทศั นน์ ้ัน ประกอบดว้ ยพฤตกิ รรมสว่ นจริง

70 พฤตกิ รรมส่วนเกนิ และพฤตกิ รรมสว่ นขาด คอื พฤติกรรมสว่ นจรงิ เปน็ พฤติกรรมจริงๆ ของตนเอง ทัง้ ที่มอี ยแู่ ละเปน็ อยู่ เชน่ ตนเองมีร่างกายจรงิ ๆ ทเ่ี คลอ่ื นไหวได้ เปน็ ต้น พฤติกรรมส่วนเกิน เป็นพฤติกรรมท่ีไม่มี/ไม่เป็นอยู่จริง เช่น การคุยโม้ โอ้อวด โกหก หลอกลวง การสรา้ งภาพลวงตาใหผ้ อู้ นื่ หลงเชื่อ และคลอ้ ยตาม เปน็ ตน้ พฤติกรรมสว่ นขาด เปน็ พฤตกิ รรมทม่ี ีจรงิ และเป็นจริงแต่เปน็ การเสแสร้ง หรอื บงั คบั ให้เปน็ เช่นนน้ั เช่น การออ่ นนอ้ ม ถ่มตน และการปฏิเสธความจริง เปน็ ตน้ 3.1.3 ตนตามความเปน็ จริง (Real Self) หมายถึง ตนท่เี ป็นจริง ซึ่งมีทง้ั จดุ เด่น และจุดด้อย ท้ังที่ทราบและไม่ทราบ ซ่ึงเป็นธรรมชาติของบุคคล ว่าไม่มีบุคคลใดที่สมบูรณ์แบบ ดัง คํากลา่ ววา่ “Nobody Perfect” ในความสมั พนั ธท์ งั้ สามลกั ษณะดงั กล่าว ถ้าบคุ คลใดมที ้งั สามขอ้ พอดีเท่าๆ กัน จะเปน็ คนดีไม่มปี ัญหา ไมม่ ีความยุ่งยากและวุ่นวาย ถา้ ตนตามอดุ มคติและตนตามท่ี รบั รสู้ อดคลอ้ งกนั ดี จะสง่ ผลตอ่ ความสาํ เร็จในการทํางาน ถา้ ตนตามทรี่ ับร้แู ละตนตามความเป็นจรงิ สอดคลอ้ งกนั ดี บคุ คลจะได้รบั การยกย่องนับถอื วา่ “เป็นคนดี” 3.2 การร้จู กั ตนเองตามแนวคดิ ของโบลส์ และดาเวน พอร์ท (Boles and Davenport อา้ งถึงในเสริมศักดิ์ วศิ าลาภรณ์, 2522) ได้แบง่ การรูจ้ กั ตนเอง 5 แบบ คือ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มิถุนายน 2559) 3.2.1 ความคาดหวงั ตนเอง (Self - Expectation) เปน็ รูปแบบทีต่ นเอง คาดหวังตนเองในลกั ษณะตา่ ง ๆ ทยี่ งั มาไมถ่ ึง 3.2.2 ตวั เองตามที่มองเห็นตนเอง (Self - Perception) เรามองเหน็ รับรตู้ นเอง อยา่ งไร 3.2.3 ตัวตนตามเป็นจรงิ (Real - Self) ซึง่ ดูไดจ้ ากการประพฤตปิ ฏบิ ัติของ ตนเอง 3.2.4 ตวั ตนทค่ี นอื่นคาดหวังต่อเรา (Other's Expectation) เป็นความ คาดหวังทีค่ นอ่ืนคาดหวงั เราว่า เราจะต้องเป็นอยา่ งนั้นอยา่ งน้ี 3.2.5 ตัวตนตามท่คี นอ่ืนรู้ (Other's perception) เปน็ ความรบั รตู้ ามอาชีพ ของแต่ละอาชีพ เชน่ อาชีพเปน็ ครู ทหาร ตํารวจ หมอ เปน็ อาชพี ท่คี นอน่ื ยอมว่า จะต้องประพฤติ ปฏิบตั ิตนอย่างน้นั อย่างนี้ ความสอดคล้องตามรูปแบบ 3.2.1 , 3.2.2 และ 3.2.3 จะเป็นคนทาํ งานท่มี ี ประสทิ ธิภาพ ความสอดคล้องตามรปู แบบที่ 3.2.3 , 3.2.4 และ 3.2.5 คนอืน่ จะมองเราว่าเปน็ คนดี ความสอดคล้องตามรูปแบบท่ี 3.2.4 และ 3.2.5 คนอ่นื จะยอมรับ

71 4. ทฤษฎีการเขา้ ใจตนเองและผอู้ ื่น ทฤษฎที ่ใี ช้ในการศกึ ษาการเขา้ ใจตนเองและผูอ้ น่ื เปน็ ทฤษฎที างจิตวิทยา มดี งั ตอ่ ไปนี้ 4.1 ทฤษฎีหนา้ ตา่ งของโจ-แฮรี่ 4.1.1 การตระหนักรู้ท่บี คุ คลจะพึงมตี อ่ ความเปน็ ตนเอง โจเซฟ ลฟั ท์ (Joseph Luft) และแฮรี อินแกม (Harry Ingham) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ซ่ึงได้ศึกษาเกี่ยวกับการตระหนักรู้ในตนเองในบุคคลและอธิบายแนวคิด ทีว่ ่า ความตระหนักรใู้ นตนเองจะเปน็ ไปไดห้ รอื ไมเ่ พียงใดนัน้ ไม่ไดข้ ้ึนอยู่กบั บุคคลแต่เพยี งฝ่ายเดยี ว หาก ขน้ึ อย่กู บั บุคคลอน่ื ท่ีบคุ คลนนั้ มปี ฏสิ มั พันธ์ดว้ ยในกระบวนการดาํ เนนิ ชวี ิต หากจะเปรียบ “ตนเอง” ใน ธรรมชาตทิ ัง้ หมดของบคุ คลหนง่ึ โดยสมั พนั ธ์กับการตระหนักรูท้ บ่ี คุ คลจะพงึ มตี อ่ ความเปน็ ตนเอง แบ่งได้เปน็ 4 สว่ น ดังตารางภาพตอ่ ไปนี้ บรเิ วณเปิดเผย บรเิ วณจุดบอด (Open Area) (Blind Area) บรเิ วณความลับ บริเวณอวิชา (Hidden Area) (Unknown Area) ตารางที่ 3 แสดงการตระหนกั รทู้ ่บี คุ คลจะพึงมตี อ่ ความเป็นตนเอง (ทีม่ า http://sanyod019.blogspot.com/2012/07/blog-post_7866.html 8 มิถุนายน 2559)

72 ภาพที่ 27 แสดงภาพบรเิ วณเปิดเผย (Open Area) (ท่ีมา http://sanyod019.blogspot.com/2012/07/blog-post_7866.html 8 มถิ ุนายน 2559) สว่ นที่ 1 บรเิ วณเปิดเผย (Open Area) อัตตาในสว่ นน้ี เปน็ ส่วนท่ีเปิดเผย ตนเองตระหนักในความเป็นตนเองอย่างดีและบคุ คลอ่นื ก็เห็นดว้ ย และรจู้ กั เราตรงตามท่ีเราเป็นอยวู่ า่ เราเปน็ บคุ คลลกั ษณะไหน (public self) และตรงกบั ทเี่ รารู้จักตนเองดว้ ย ทัง้ ด้านความคิด ความรสู้ กึ หรอื การกระทาํ เชน่ เรารู้จกั ตนเองดีวา่ เราเป็นคนใจร้อน โกรธงา่ ย และคนอืน่ ๆ ใกล้ชิดเราก็รู้จักเรา ตรงตามความจริงทว่ี า่ เราเปน็ คนใจร้อน และโกรธงา่ ย เป็นตน้ ภาพท่ี 28 แสดงภาพบรเิ วณจดุ บอด (Blind Area) (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 8 มิถนุ ายน 2559)

73 ส่วนที่ 2 บริเวณจุดบอด (Blind Area) เป็นอัตตาในส่วนท่ีผอู้ ่นื มองเหน็ อยู่วา่ เราเป็นคนอย่างไร แต่เราเองไม่รู้หรือไม่ได้ตระหนักว่า เราเป็นดังเช่นท่ีผู้อ่ืนมอง ท้ังด้านความคิด ความรสู้ ึกหรือการกระทาํ บรเิ วณนีจ้ งึ เปน็ จดุ บอด (semi public area) เชน่ เราเปน็ คนอคติเหน็ แกต่ วั และเอาเปรียบผู้อ่ืน แตเ่ ราไม่เคยตระหนกั ในธรรมชาตสิ ว่ นนีเ้ ลย หากแตผ่ ู้อนื่ ไดม้ องเหน็ ในส่งิ เหลา่ น้ี อย่างชดั เจน เปน็ ต้น ความตระหนกั ในตนเองในสว่ นนจี้ ะเกดิ ขนึ้ ได้ตอ่ เมอื่ บุคคลได้รับทราบจากการบอก กลา่ วของบคุ คลอนื่ โดยท่เี จา้ ตัวจะต้องรบั ฟัง พิจารณา และยอมรับ ภาพท่ี 29 แสดงภาพบรเิ วณความลับ (Hidden Area) (ท่มี า http://sanyod019.blogspot.com/2012/07/blog-post_7866.html 8 มิถนุ ายน 2559) ส่วนที่ 3 บริเวณความลับ (Hidden Area) ธรรมชาติของความเป็นตนเอง บางส่วนของเรา เราซ่งึ เป็นเจา้ ของตระหนักเป็นอยา่ งดี หากแต่บุคคลอน่ื ไม่รู้ ไมเ่ คยรบั ทราบ และเราเอง กพ็ ยายามปกปิดไมใ่ หผ้ อู้ น่ื รู้ เพราะความคิด ความรสู้ กึ หรอื พฤติกรรมบางอย่างไมเ่ ป็นทยี่ อมรับใน สงั คม เจา้ ตัวจึงปดิ ไว้เป็นความลับ (private self) เช่น เจ้าตัวตระหนักดวี า่ เราเป็นคนชอบอจิ ฉา รษิ ยา แต่เราพยายามปกปิดความรู้สกึ เช่นน้นั ไว้อย่างมดิ ชิด ไมใ่ ห้ผอู้ ืน่ รู้ เพราะความรู้สึกดังกลา่ วเป็น ส่งิ ทีส่ ังคมไม่นยิ มยกยอ่ ง เป็นต้น บคุ คลทม่ี อี ัตตาในสว่ นนีม้ ากจะเปน็ คนเขา้ ใจยากและลับลมคมใน มีส่ิงซอ่ นเร้นปกปิด การสรา้ งสมั พันธภาพกบั บุคคลอน่ื กเ็ กิดขน้ึ ไดย้ าก อตั ตาในสว่ นนี้จะเปน็ ทเี่ ปดิ เผย ต่อผูอ้ น่ื กต็ ่อเม่ือเจา้ ตวั บอกใหผ้ ้อู นื่ ทราบ

74 ภาพที่ 30 แสดงภาพบรเิ วณอวชิ า (Unknown Area) (ที่มา http://sanyod019.blogspot.com/2012/07/blog-post_7866.html 8 มถิ นุ ายน 2559) ส่วนท่ี 4 บริเวณอวิชา (Unknown Area) เปน็ อตั ตาที่อยู่ในสว่ นลกึ ของบคุ คล (inner self) เปน็ สว่ นประกอบของธรรมชาติสว่ นท่ีเปน็ พื้นฐานเดิมซึ่งยังซอ่ นเร้นอย่ใู นสว่ นลกึ ตวั เองก็ ไม่รู้และบคุ คลก็ไมร่ ้แู ละบคุ คลอื่นก็ไม่รู้ อาจจะปรากฏออกมาให้เหน็ ไดโ้ ดยท่เี จ้าตัวไมไ่ ดต้ ระหนกั เชน่ พฤตกิ รรมหรอื สญั ชาตญาณด้ังเดมิ ที่บุคคลมอี ย่ใู นระดับจิตใตส้ ํานึก เป็นตน้ อัตตาในสว่ นนจ้ี ะเป็นท่ี เปดิ เผยได้ อาจต้องใชว้ ิธกี ารทางจิตวทิ ยาในการวิเคราะหเ์ พ่อื ดึงขน้ึ มาสู่ระดบั จิตสาํ นึก การตระหนักรู้ ในตนเองของมนุษย์แต่ละคนมีไม่เท่ากัน คนท่ีมีความตระหนักรู้ในตนเองน้อย คือบุคคลท่ีไม่รู้จัก ตนเอง บริเวณเปิดเผยในส่วนท่ี 1 จะแคบ บริเวณอ่ืนๆ จะกว้าง ในทางตรงกันข้ามบุคคลท่ีมี ความตระหนกั ร้ใู นตนเองอย่างดี บริเวณเปิดเผยในส่วนท่ี 1 จะกวา้ ง แต่บริเวณอื่นๆ จะแคบ นนั่ คอื บคุ คลนั้นเป็นผ้รู จู้ กั ตนเองดี ไม่มีอะไรท่ีตนเองไม่รู้เก่ยี วกบั ธรรมชาติของตนและไมม่ อี ะไรทต่ี นจะต้อง ปิดบงั ซอ่ นเรน้ ไวเ้ ปน็ ความลบั เปน็ ต้น

75 4.1.2 กลวิธีการขยายบรเิ วณเปิดเผย เวช มงคล (2533 : 1-4) ได้เสนอกลวิธีขยายบริเวณทเ่ี ปิดเผยใหก้ ว้างขนึ้ ดงั รปู OB HU ภาพท่ี 31 แสดงภาพการขยายบรเิ วณเปดิ เผย (ที่มา http://tongsbac.blogspot.com/ 8 มิถุนายน 2559) จากภาพท่ี 31 การขยายบริเวณเปิดเผยตามแนวนอน คือ การพยายามลด พฤตกิ รรมบริเวณจดุ บอดใหน้ ้อยลงโดยการรบั ขอ้ มลู ยอ้ นคืนจากผ้อู ืน่ ให้คนอ่นื บอกข้อบกพรอ่ งแลว้ นํามาแก้ไข การขยายบริเวณเปิดเผยตามแนวด่ิง คือการพยายามลดบริเวณซ่อนเร้นให้เล็กลงด้วย วิธีการ 2 วธิ ี คือ 1) ให้ความช่วยเหลือไว้วางใจ โดยการเปิดเผยข้อบกพร่องของตนเอง ให้ผู้อน่ื ทราบเพ่อื จะได้ชว่ ยกนั แก้ไข 2) มคี วามหวังดีตอ่ กนั โดยการใหข้ อ้ วิจารณ์ขอ้ บกพร่องของผอู้ น่ื 4.1.3 การวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมคน 4 ประการ มีดงั น้ี 7.1.3.1 ประเภทที่ 1.รบั ข้อตชิ มใหม้ ากใหข้ อ้ ติชมท่ีน้อย มีบริเวณ หน้าตา่ งพฤติกรรมดังนี้ OB HU ภาพที่ 32 แสดงภาพการแสดงลกั ษณะหนา้ ต่างหวั ใจของผูท้ ่ีรบั ขอ้ ติชมมากใหข้ อ้ ตชิ มที่น้อย (ทมี่ า http://tongsbac.blogspot.com/ 8 มิถนุ ายน 2559)

76 O หมายถึง บริเวณเปดิ เผย B หมายถงึ บรเิ วณจดุ บอด H หมายถึง บรเิ วณความลับ U หมายถึง บรเิ วณอวชิ ชา จากภาพที่ 32 แสดงใหเ้ ห็นถึงบุคคลท่ีรบั ฟังมากกวา่ (สงั เกตความยาวของลกู ศร) แต่จะให้ข้อมลู น้อย คอื จะพูดนอ้ ย ไมค่ ่อยเปดิ เผย บคุ คลประเภทน้ีจะรับฟงั คําวจิ ารณข์ องคนอ่ืนมาก แล้วนํามาแก้ไขปรับปรงุ ตัวเองทาํ ใหจ้ ดุ บอดน้อยลง แต่เปน็ คนปดิ บังซ่อนเรน้ มาก จึงควรขยายบริเวณ เปิดเผยให้กว้าง ลดบรเิ วณซ่อนเรน้ ใหน้ อ้ ยลงโดยการพูดบอกให้ผู้อ่ืนรถู้ งึ ข้อบกพรอ่ งของตนเอง ผ้อู ่นื จะได้ช่วยแก้ไข 4.1.3.2 ประเภทที่ 2.ใหข้ อ้ ตชิ มมากรบั ขอ้ ติชมมาก มบี ริเวณหน้าตา่ ง พฤติกรรมดังน้ี OB HU ภาพที่ 33 แสดงภาพการแสดงลักษณะหนา้ ต่างหวั ใจของผู้ทีใ่ หข้ อ้ ตชิ มมากรับขอ้ ตชิ มมาก (ทมี่ า http://tongsbac.blogspot.com/ 8 มิถนุ ายน 2559) O หมายถงึ บรเิ วณเปิดเผย B หมายถึง บรเิ วณจุดบอด H หมายถึง บริเวณความลับ U หมายถึง บรเิ วณอวิชชา จากภาพท่ี 33 แสดงใหเ้ ห็นบคุ คลท่ชี อบให้ข้อมูลมากกวา่ รบั ข้อมลู หรือข้อติชม จะมีบริเวณจุดบอดมาก คนประเภทนี้ มักไม่ค่อยยอมรับฟังคําวิจารณ์ของผู้อื่น แต่ชอบพูดวิจารณ์ ผอู้ ืน่ มาก

77 4.1.3.3 ประเภทท่ี 3. ประเภทโงเ่ ขลา คนประเภทน้ีมกั มพี ฤติกรรมดงั น้ี OB U H ภาพท่ี 34 แสดงภาพลักษณะหน้าตา่ งหวั ใจของคนทีโ่ งเ่ ขลา (ทม่ี า http://tongsbac.blogspot.com/ 8 มิถุนายน 2559) O หมายถึง บรเิ วณเปดิ เผย B หมายถึง บริเวณจุดบอด H หมายถึง บริเวณความลบั U หมายถงึ บรเิ วณอวิชชา จากภาพท่ี 34 แสดงใหเ้ ห็นคนประเภทท่รี บั ฟังขอ้ วิจารณน์ ้อยและไมร่ จู้ กั วิจารณผ์ ้อู น่ื มบี รเิ วณมดื มนหรอื อวชิ ชามาก 4.1.3.4 ประเภทที่ 4.ประเภทคนเปดิ เผย มบี ริเวณหน้าตา่ งพฤติกรรม ดังน้ี OB HU ภาพท่ี 35 แสดงภาพลักษณะหนา้ ตา่ งหัวใจของคนที่เปดิ เผย (ทม่ี า http://tongsbac.blogspot.com/ 8 มิถนุ ายน 2559)

78 O หมายถงึ บรเิ วณเปิดเผย B หมายถงึ บริเวณจุดบอด H หมายถึง บรเิ วณความลับ U หมายถึง บริเวณอวชิ ชา จากภาพท่ี 35 บคุ คลประเภทน้ี จะเปน็ คนทเ่ี ปดิ เผยมาก มีความจรงิ ใจ พดู ถงึ ส่วนดีและสว่ นข้อบกพร่องของตนเอง และรบั ฟงั คําวิจารณ์ของผอู้ ่ืนพร้อมกบั นาํ มาแก้ไขปรับปรุง ตัวเอง มคี วามเจริญงอกงามเป็นที่ปรารถนาของสังคม (http://wbc.msu.ac.th/ge/0502102/page03_4_1.html 8 มถิ นุ ายน 2559) 4.1.4 ข้อคดิ การรู้จกั ตนเองในการใช้ทฤษฎหี นา้ ต่างของโจ-แฮรี่ 4.1.4.1 ไมม่ ีใครที่จะรจู้ ักตวั เองได้อยา่ งถ่องแท้ 4.1.4.2 คนเราอาจเปลีย่ นแปลงบคุ ลกิ ภาพหรือพฤติกรรมได้ ถ้าเขา ยอมรับในจุดด้อยคอื ลบ พฤติกรรม “ปกปดิ ซ่อนเร้น” ออกเสยี บ้าง เปล่ียนเปน็ พฤติกรรม “เปดิ เผย” 4.1.4.3 ส่วนทจ่ี ะมอี ิทธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมของคนคอื บรเิ วณจุด บอดและบรเิ วณ อวิชชาคือตัวของเราไมม่ ีโอกาสจะรู้ตัวได้ ทางแก้ไขคือ 1) ปรบั ปรุงตวั ในบริเวณจดุ บอด เพราะตวั เราเองไม่รูแ้ ต่คนอ่ืน เขารู้ มองเห็นหรอื สงั เกตได้โดยเปิดโอกาสใหค้ นอืน่ วพิ ากษว์ จิ ารณ์ตนในข้อบกพร่องของตนและแกไ้ ข ปรับปรงุ ตัวเราถา้ สามารถทําได้ 2) รจู้ ักระบายความทุกข์ ความคับขอ้ งใจ ท่ปี กปดิ ซ่อนเรน้ ออกมาเสียบา้ งเพราะการเก็บกดซ่อนเรน้ อาจจะตกลงไปใน “จติ ใต้สาํ นึก”บรเิ วณอวิชชาทา ให้ สขุ ภาพจติ เสียไปโดยเปล่า ประโยชน์ (สุธีรพนั ธุ์ กรลักษณ,์ 2528) ( http://www.geh2001.ssru.ac.th/8 มิถนุ ายน 2559) 4.2 ทฤษฎกี ารวิเคราะห์สอื่ สารสัมพนั ธ์ 4.2.1 โครงสรา้ งของบคุ ลกิ ภาพ โครงสรา้ งของบคุ ลิกภาพ (Structure of Personality) Berne เช่ือว่า บุคลิกภาพของบคุ คลประกอบขน้ึ ด้วยส่วนทีเ่ รียกว่า “Ego state” และในตวั บุคคลหนงึ่ จะมี Ego state อยู่ด้วยกนั 3 สว่ น คอื (http://ge.kbu.ac.th/ 8 มิถนุ ายน 2559: 1-14) 4.2.1.1 ส่วนทมี่ ลี กั ษณะคล้ายพ่อแม่ = Parent ego state 4.2.1.2 สว่ นทเ่ี ปน็ ผใู้ หญ่ = Adult ego state 4.2.1.3 ส่วนทเ่ี ป็นเดก็ = Child ego state บุคคลแต่ละคนจะมลี ักษณะบุคลิกภาพท้งั 3 สว่ นมากนอ้ ยแตกตา่ งกัน บางคนอาจจะมีลักษณะของความเป็นพ่อแม่มาก คือ ชอบส่ังสอน ชอบตําหนิ ให้ความเอาใจใส่อยู่

79 เกือบตลอดเวลา แต่บางคนอาจจะมีลักษณะของความเป็นผู้ใหญ่มาก และบางคนอาจจะมีลักษณะ ของความเปน็ เดก็ ในบคุ ลิกภาพมาก แต่ทีส่ าํ คญั คือ บุคลิกภาพทง้ั 3 ส่วนนน้ั จะมีอย่ใู นบคุ คล ซึ่งจะ แสดงออกมาในแตล่ ะโอกาสและสถานการณต์ ่างๆ โดยแสดงออก ทง้ั ทางด้านคาํ พูด กริยาทา่ ทาง และ การแสดงออก ซ่งึ สามารถวเิ คราะห์ได้ว่าเปน็ บคุ ลกิ ภาพของส่วนใดใน 3 สว่ น รายละเอยี ดเก่ยี วกบั โครงสรา้ งบคุ ลิกภาพทงั้ 3 ส่วน (อาภา จนั ทรสกุล : 2535 ) มดี งั น้ี 4.2.2 รายละเอยี ดเก่ยี วกับโครงสร้างบุคลิกภาพ 4.2.2.1 ลกั ษณะทเ่ี ป็นพ่อแม่ (Parent ego state = P) เปน็ ลกั ษณะ บคุ ลิกภาพทค่ี ล้ายพอ่ แม่ ผู้เลยี้ งดู หรือบคุ คลอ่ืนที่มีอทิ ธพิ ลในชวี ิตถ่ายทอดให้กบั เด็ก ลักษณะทเ่ี ปน็ พ่อแม่ จะเป็นส่วนทแ่ี สดงพฤติกรรมโดยไมใ่ ชเ้ หตผุ ล แต่จะเป็นพฤติกรรมตา่ งๆ ท่ีพอ่ แม่สง่ั สอนเราใน อดตี ซึ่งถูกเก็บรกั ษาไว้และจะกลับมาปรากฎในพฤตกิ รรมของเรา คาํ พดู ท่เี ราชอบใช้ในบุคลิกภาพ ลกั ษณะทีเ่ ปน็ บิดา มารดา เชน่ “ต้องทาํ อยา่ งนี้นะ” หรือ “อยา่ ทําอย่าง น้ีนะ” หรอื “เวลาเป็นสิ่งทม่ี ี ค่ามากมายมหาศาล อย่าปล่อยเวลาท้ิงนะ” ฯลฯ เม่อื บุคคลถูกควบคมุ ดว้ ยลกั ษณะทเ่ี ป็นพ่อแม่ เขา จะไม่พจิ ารณาปัญหาตา่ งๆ ตามสภาพข้อเทจ็ จริงในปจั จบุ ัน แตจ่ ะใหค้ าํ สง่ั สอน ความเช่ือต่างๆ ที่ บุคคลได้รบั การอบรมสง่ั สอนมาในอดตี เป็นตวั กําหนดพฤติกรรม กล่าวได้ว่า ลักษณะที่เปน็ พอ่ แม่เป็น ผลมาจากการที่บุคคลบนั ทึกขอ้ มลู ไมว่ ่าจะเป็นทศั นคติ คา่ นิยม กฏเกณฑต์ า่ งๆ ทพ่ี อ่ แมส่ งั่ สอน ตลอดจนทา่ ทางไว้ให้ตนเอง บคุ ลิกภาพในสว่ นทเี่ ปน็ พ่อแม่นี้ สามารถแบง่ ออกได้เป็นลกั ษณะยอ่ ยๆ อีก 2 ลกั ษณะ คือ 1) ลกั ษณะพอ่ แมแ่ บบดุ (Critical parent หรอื Controlling parent = CP) เป็นลักษณะที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ ผู้เล้ียงดู ซ่ึงเป็นการประเมนิ คา่ และ การตัดสินใจ โดยใช้มาตรฐาน ค่านิยม ความเช่ือ ตลอดจนวิถีการดาํ เนินชีวิตแบบที่เคยได้รับ การอบรมสง่ั สอนมา จนบางครง้ั อาจเกดิ อคตใิ นการประเมนิ คา่ หรอื ตดั สนิ ใจในเรือ่ งตา่ งๆ เน่อื งจากมี ความเช่ือท่ีผิดท่ีมีอยู่เดิมเป็นพ้ืนฐาน บุคลิกภาพของบุคคลท่ีถูกควบคุมด้วยลักษณะพ่อแม่ท่ีดุจะมี ทา่ ทางและวาจาที่แสดงออกให้เหน็ ถงึ ลักษณะการวิพากษ์วจิ ารณ์ ชอบตาํ หนิ ลกั ษณะจ้จู ้ี มีความรสู้ กึ ขร้ี ําคาญ ชอบวางอํานาจ ใช้วธิ กี ารลงโทษไมค่ อ่ ยพอใจในการเปล่ยี นแปลงหรอื ความ คิดเหน็ ใหมๆ่ และยึดติดอยกู่ ับความคดิ เหน็ ของตนเอง ลกั ษณะพ่อแมท่ ด่ี ุ เมอ่ื พจิ ารณาดอู าจรู้สึกว่าเปน็ สว่ นของ บคุ ลกิ ภาพท่ไี มด่ -ี ไร้คา่ เพราะเปน็ ลกั ษณะทีใ่ ชข้ อ้ มูลที่เคยมมี าในอดีต แต่ถา้ พจิ ารณาในอีกดา้ นหน่ึง ลักษณะพอ่ แมท่ ่ดี ุจะมีประโยชน์ เพราะเป็นลกั ษณะทท่ี ําหนา้ ท่ถี า่ ยทอดคณุ คา่ ทางวฒั นธรรม แนวคิด หรือความเชอื่ ที่ดแี ละคา่ นิยม ซงึ่ ช่วยใหบ้ คุ คลตอบสนองตอ่ เหตกุ ารณ์ในชีวิตประจําวันใหเ้ ป็นไปโดย อัตโนมตั ิหรือตามความเคยชิน โดยไมต่ อ้ งเสยี เวลาคดิ ไตรต่ รองไปเสียทกุ เรื่อง 2) ลกั ษณะพ่อแมท่ ใี่ จดเี ออื้ เฟ้อื (Nurturing parent = NP) เป็น บคุ ลิกภาพในลกั ษณะของ พอ่ แม่ท่คี อยดแู ล ปกป้อง ช่วยเหลือ คอยปลอบโยน ทําใหเ้ กดิ ความสบาย

80 ทงั้ ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ ห่วงใยและเอื้ออาทรตอ่ ความทุกขค์ วามสุข มลี กั ษณะเมตตา โอบออ้ มอารี มี ไมตรจี ิต เหน็ อกเหน็ ใจผู้อน่ื ใส่ใจคนรอบขา้ งและเข้าอกเขา้ ใจผู้อื่น และเปน็ ที่พึง่ ให้กบั ผูอ้ น่ื ได้ ลักษณะ พอ่ แมท่ ใี่ จดีเออื้ เฟ้อื จะแสดงออกดว้ ยคาํ พดู ทา่ ทาง คอยไต่ถามทุกข์สุข ช่วยดแู ลและคอยปลอบโยน ให้กาํ ลงั ใจแก่ผอู้ ่ืน 4.2.2.2 ลักษณะทเี่ ปน็ ผใู้ หญ่ (Adult ego state = A) เปน็ ลกั ษณะ บุคลกิ ภาพของบุคคลท่ที ํางานโดยใชห้ ลกั แหง่ เหตุผล สตปิ ัญญาในการพิจารณาสิง่ ตา่ งๆ โดยพจิ ารณา ตามสภาพขอ้ เท็จจรงิ เทา่ นัน้ จะไมค่ ํานงึ ถงึ ความรูส้ ึกและไม่มอี ารมณเ์ ข้ามาเกี่ยวขอ้ งสว่ นนจ้ี ะทํางาน คลา้ ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ พ่ี ยายามรวมรวมขอ้ มลู ตรวจสอบข้อมลู และประมวลผล โดยอาศยั ขอ้ เทจ็ จริง เทา่ นั้น ดงั นน้ั เมื่อเผชิญกบั ปญั หาอะไรก็ตาม บคุ คลทีม่ ีลักษณะท่เี ป็นผูใ้ หญ่ มกั จะตง้ั คําถามว่า “อะไร” “ทาํ ไม” “อย่างไร” “เพราะอะไร” แล้วตรวจสอบขอ้ มูลดว้ ย สภาพของขอ้ เท็จจรงิ แล้วจะ หาวิธกี ารแก้ปญั หานนั้ ต่อไป บุคคลทม่ี ีพฒั นาการเปน็ ไปตามวฒุ ภิ าวะและรจู้ ักตัวเองตรงตามความเป็น จริง ลกั ษณะทเ่ี ป็นผู้ใหญข่ องบุคคลนัน้ จะเปลยี่ นแปลงอยู่เสมอ จากประสบการณ์ทเ่ี ขาไดเ้ รียนรู้ ซ่ึงถา้ เปรยี บเทยี บกันระหว่างบุคลิกภาพท้ัง สามส่วนแลว้ ลักษณะท่ีเป็นเด็กและลักษณะทเ่ี ปน็ พอ่ แม่ มกั จะ คงทีไ่ มเ่ ปลีย่ นแปลงมากเหมอื นลักษณะทเ่ี ปน็ ผู้ใหญ่ เพราะขอ้ เท็จจริงตา่ งๆ บุคคลเรยี นรแู้ ละตอ้ ง เปล่ยี นแปลงไปตามสภาพการณ์ ยิง่ กว่าน้ันส่วนของลักษณะท่เี ปน็ ผู้ใหญ่จะสามารถพจิ ารณาใชเ้ หตผุ ล ตัดสนิ บคุ ลกิ ภาพในส่วนของลักษณะท่เี ป็นเดก็ กับลักษณะท่ีเปน็ พ่อแม่ วา่ ควรปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลง แก้ไขหรือควรลบล้างออกไปอยา่ งไรบ้าง แต่ไม่ได้หมายความว่า ลกั ษณะทเ่ี ปน็ ผูใ้ หญจ่ ะทําหนา้ ท่ีเป็น ผูบ้ งการ เพยี งแตจ่ ะพยายามใชเ้ หตุผลและขอ้ มูลต่างๆ มาพยายามปรับลกั ษณะทีเ่ ป็นเดก็ และลกั ษณะที่ เป็นพอ่ แม่ทีบ่ คุ คลมอี ยูใ่ นตัวให้เหมาะสมถกู ต้องตามเหตุการณ์ และอยใู่ นสภาวะสมดุลเพ่อื ใหบ้ คุ คล ปรับตัวได 4.2.2.3 ลักษณะทเ่ี ปน็ เด็ก (Child ego state = C) เปน็ ลกั ษณะ บคุ ลิกภาพท่แี สดงออกถึงความรสู้ ึกแท้จรงิ ท่ตี นมีอยู่ เชน่ ดีใจกร็ อ้ งกร๊ีดกรา๊ ด เสียใจกร็ อ้ งไห้ เปน็ ส่วน ท่แี สดงออกอยา่ งธรรมชาตถิ งึ ความตอ้ งการทแี่ ทจ้ ริงของตนเอง ไม่วา่ จะเป็นอารมณ์ทางด้านบวกหรอื ลบ ลักษณะท่ีเป็นเด็กนี้ จะมีอยู่ในตัวของบุคคลทุกคน ไม่ว่าบุคคลน้ันจะมีอายุมากหรือน้อยเพียงใด เพยี งแต่ลกั ษณะสว่ นน้จี ะมีอยูม่ ากน้อยต่างกันในแตล่ ะบุคคลและเมือ่ อายุมากขนึ้ บุคคลกจ็ ะไมแ่ สดงออก ถงึ ลักษณะสว่ นนีม้ ากเหมือนกบั วยั เด็ก บคุ ลิกภาพในส่วนทเี่ ป็นเดก็ น้สี ามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็นลกั ษณะ ย่อย ๆ อกี 3 ลกั ษณะ 1) ลักษณะท่เี ปน็ เดก็ ตามธรรมชาติ (Free child = FC) เป็น ส่วนของบคุ ลกิ ภาพทยี่ งั ไมไ่ ดข้ ัดเกลา จึงเปน็ ส่วนทแี่ สดงออกถึงอารมณแ์ ละความตอ้ งการทแ่ี ท้จรงิ ของ ตนเองออกมาอย่างโจ่งแจ้ง เช่น อารมณ์ สนุกสนาน กระโดด โลดเต้น ข้ึนอาย กลัว เช่น แสดง

81 ความกลัวทม่ี ืดๆ หรือสถานทแ่ี ปลกๆ ออกมาอย่างเปดิ เผย หรือแสดงออกถงึ อารมณ์อจิ ฉารษิ ยา ปงึ ปงั เพราะไมไ่ ด้ดังใจออกมาตรง ๆ โดยไมค่ วบคมุ 2) ลักษณะทเ่ี ปน็ เด็กได้รับการขดั เกลา (Adapted child = AC) เป็นส่วนของบุคลิกภาพที่พัฒนาขึ้น เพราะเด็กมีสัมพันธภาพกับพ่อแม่หรือผู้อบรมเลี้ยงดู ได้รับ การสง่ั สอน ควบคมุ ขัดเกลาจากพ่อแม่ และจากบคุ คลตา่ งๆ ท่มี ีอิทธิพลต่อตวั เดก็ ทําให้บคุ คลพฒั นา บุคคลกิ ภาพในส่วนของการเชื่อฟงั ยอมทําตาม พึง่ พาผู้อน่ื ขึ้นมา 3) ลกั ษณะท่เี ปน็ เดก็ มีความคิด (Little Professor = LC) เปน็ สว่ นของ Child ego state ทแี่ สดงออกถงึ ลกั ษณะบางส่วนของความเป็นผ้ใู หญ่ รู้จักใช้ความคดิ เหตผุ ล พจิ ารณาสิง่ ตา่ งๆ เปน็ สว่ นของความสามารถทางสตปิ ัญญา แสดงออกถงึ ความเฉลยี วฉลาด และ เป็นสว่ นของความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ โครงสรา้ งของบุคลิกภาพท้งั 3 สว่ น ตามความเชอื่ ของทฤษฎี การวเิ คราะหก์ ารสื่อสารสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง บุคคล Berne มักเขียนโดยใชส้ ัญลักษณ์ย่อวา่ P, A, C และ อธิบายได้ด้วยไดอะแกรม ดงั น้ี CP (Critical parent หรือ Controlling parent ) P NP (Nurturing parent) A A (Adult) LC (Little child) C AC (Adapted child) FC (Free child) ภาพท่ี 36 แสดงภาพโครงสรา้ งของบคุ ลกิ ภาพ PAC (ทีม่ า http://www.geh2001.ssru.ac.th/8 มถิ ุนายน 2559) จากโครงสร้างของบคุ ลกิ ภาพดงั กล่าว ทาํ ให้บุคคลแตล่ ะคนตอบสนองต่อส่ิงเร้าทต่ี น พบเห็น ด้วยท่าทาง และวาจาต่าง ๆ กนั ออกไป แลว้ แต่ว่าบคุ คลน้ันจะใชบ้ ุคลกิ ภาพในสว่ นใด ตอบสนอง ดังตวั อย่างต่อไปนี้

82 ตัวอยา่ งที่ 1 ตอ่ เพลงลูกทุ่ง P (CP) : เพลงอะไรใจความไมส่ ภุ าพเลย ไมค่ วรให้เด็ก ๆ ฟงั A : เพลงพวกนเี้ ปิดบอ่ ย คนคงนยิ มฟังกัน C (FC) : ฟงั เพลงลูกทุ่งทีไร มนั ในอารมณอ์ ยากเต้นทุกทเี ลย ตัวอย่างท่ี 2 ต่อบา้ นจัดสรร P (CP) : บ้านอะไรแคบจงั เพ่อื นบ้านกด็ ูไม่น่าไวใ้ จ A : บ้านน้ีราคา 1 ล้านบาท ให้เวลาผอ่ น 20 ปี C (LC) : ห้องแคบจงั แต่เราจะใช้สีแปลก ๆ แตง่ ให้น่าอยเู่ ชยี ว ตวั อยา่ งท่ี 3 ต่อเพอื่ นทบ่ี น่ ว่าไมส่ บาย P (NP) : พกั ก่อนนะ เดีย๋ วฉนั จะเอาผา้ เย็นเช็ดหน้าให้ A : เธอควรไปหาหมอ หมอจะวนิ ิจฉยั ได้ถูกตอ้ งทีส่ ุด C (AC) : ฉนั ไม่ร้จู ะชว่ ยเธออย่างไร เดย๋ี วไปตามคนมาใหน้ ะ บคุ ลิกภาพทัง้ 3 ส่วนดังท่ีกลา่ วขา้ งต้นนั้น บคุ คลแสดงทง้ั คําพูด น้ําเสียงและอาจ แสดงออกโดยกรยิ าท่าทางประกอบการพูดดว้ ย เพ่อื ทําใหก้ ารสื่อสารนนั้ ชัดเจนมากยง่ิ ข้ึน นอกจากน้ี บุคลิกภาพ แต่ละส่วนน้ันยังมีรายละเอียดทั้งในด้านบวก (บุคลิกภาพที่เหมาะสม) และด้านลบ (บุคลิกภาพท่ีต้องไดร้ บั การแกไ้ ข) อกี ดว้ ยดังรายละเอียดต่อไปน้ี

83 ลักษณะ ด้านบวก ดา้ นลบ บคุ ลกิ ภาพ CP กลา้ เปน็ ตวั ของตวั เอง และยอมรบั ใน การตาํ หนกิ ารบังคับ ควบคมุ คุณค่าของผู้อ่นื ด้วยกล้าแสดงความคิดเหน็ ชอบการอ้างกฎเกณฑ์มาลงโทษ และแลกเปลยี่ น ความคิดเหน็ กบั ผอู้ ื่น ชอบจดั การบงการ ยดึ ถือความคดิ ตนเอง กลา้ ยนื ยันความเชอื่ /ค่านยิ ม ของตนเอง บางครงั้ รนุ แรงขน้ั เผดจ็ การ ฯลฯ ถงึ แมว้ ่าคา่ นยิ มนนั้ แตกตา่ งจากกลมุ่ / สงั คม ควบคมุ ตนเองสูง มีวนิ ัย กล้าทวง สทิ ธอิ นั ชอบธรรม NP ความใส่ใจเอ้อื อาทร ความสนใจ หว่ งใย ลกั ษณะทเ่ี อาความปรารถนาดีของตนเอง ความเมตตาปราณี ชอบช่วยเหลอื ผ้อู ่นื ไปทําใหผ้ อู้ ่นื เป็นทุกข์ หว่ งใยจนเปน็ และปกป้องคุ้มครองผู้ที่อ่อนแอกว่า หวงแหน คอยตดิ ตาม หรือเอ้ืออาทรจน ก้าวกา่ ยความเป็นส่วนตวั ของผู้อนื่ ทาํ ดี แล้วร้สู กึ ว่า คนอนื่ ไม่เหน็ ความสาํ คญั / เปน็ บุญคุณ A ลกั ษณะทป่ี ะทะกับส่งิ เรา้ ใดๆ แลว้ บุคคล มเี หตุผล มีการตรวจสอบข้อมูล จะนาํ ส่วน ของเหตุผลมาใช้ใน การวเิ คราะห์ COMPUTER ถ้ามมี าก A การตอบสนองกบั สิ่งเรา้ นน้ั ๆ จะคมุ ส่วนอารมณใ์ น CP NP FC และ โดยปราศจากอารมณ์ **ใคร / อะไร / ที่ AC จนมลี ักษณะยดึ เหตผุ ล ปราศจาก ไหน / เมอื่ ไหร่ / ทาํ ไม / อยา่ งไร อารมณท์ ีเ่ ขา้ ใจผอู้ นื่ มลี ักษณะเฉยชา น่าเบ่ือ ไม่สามารถรบั รอู้ ารมณ์ความรู้สึก ผู้อื่น ไรอ้ ารมณ์ FC รา่ เริง สดช่นื แจ่มใส สนุกสนาน ลักษณะเลน่ ไมเ่ ลิก ลักษณะของเดก็ คอื ผ่อนคลาย กระตือรอื รน้ ในการเรียนรู้ ห่วงแตเ่ ลน่ ไมร่ บั ผดิ ชอบ ติดอยู่กับ เปิดตวั เองกบั ประสบการณ์ใหม่ มองชวี ติ ความสนกุ รกั สบาย ไม่จริงจงั กบั งาน/ ไม่นา่ เบ่อื ใชช้ วี ิตประจําวนั อยา่ ง ชีวติ ขน้ั รุนแรง ชอบเล่นแผลงๆ ชอบ กระฉับกระเฉง ส่ิงแวดล้อม สนกุ บนความทกุ ข์ผอู้ ่ืน ไมร่ สู้ กึ ผิด/ และบุคคลรอบขา้ งน่าสนใจ สํานึกผดิ

84 ลกั ษณะ ด้านบวก ดา้ นลบ บุคลิกภาพ เด็กทีย่ อมแบบยอมจํานน (เมอื่ ต้องยอม ทาํ ตามผู้อ่ืน กจ็ ะเก็บความรสู้ ึกวา่ ตนเอง AC เดก็ ที่ได้รบั ขัดเกลาจากสังคม เชอื่ ฟัง ดอ้ ยไว)้ มักซมึ เศรา้ คร่าํ ครวญ ชอบสงสารขัน้ รุนแรง ตวั เองไมอ่ ยาก ให้ความเคารพเช่อื ถอื ผอู้ นื่ ยอมรบั ใน ตอ่ ส้โู ดยใช้ IQ./ ความสามารถ ชอบ พ่ึงพงิ ติดพนั กับผอู้ น่ื แบบไมโ่ ต ชอบทําตัว บทบาทผู้นําของผู้อนื่ ได้(เป็นผ้ตู ามทดี่ )ี ใหผ้ อู้ น่ื ปกป้องชว่ ยเหลือ /ไมพ่ ่ึงตนเอง อ่อนนอ้ มถ่อมตน ไมฝ่ า่ ฝนื ทา้ ทาย กฎเกณฑ์ทางสังคม ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง ของกลุ่ม ทาํ ตามคํามั่นสัญญา พง่ึ พงิ (Depend) ผู้ทต่ี นเอง ไว้วางใจ อ่อนน้อม ถ่อมตน ตารางท่ี 4 แสดงบคุ ลิกภาพท่เี หมาะสม และบุคลกิ ภาพทตี่ อ้ งไดร้ บั การแกไ้ ข (ท่มี า http://www.geh2001.ssru.ac.th/ 8 มถิ นุ ายน 2559) 4.2.3 รูปแบบการส่อื สารสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคล การสื่อสารสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คล ชว่ ยใหเ้ ราสามารถวเิ คราะหบ์ ุคลิกภาพ ของบคุ คลได้ โดยสงั เกตจากคําพดู ทีบ่ คุ คลนน้ั ใช้สอ่ื สาร ตลอดจนท่าทางต่างๆ ท่ีแสดงออกมา รปู แบบ ของการสือ่ สารสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คล สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 รปู แบบ ดังนี้ 4.2.3.1 การสอ่ื สารสมั พนั ธท์ ไ่ี มข่ ดั แย้งกนั /พดู ตามกนั (Complementary or Parallels Transactions) การส่อื สารสมั พันธ์แบบนีจ้ ะมลี กั ษณะถอ้ ยทีถ้อยอาศยั กัน ผสู้ อ่ื สาร คาดหวังจะได้รับการตอบสนองจากบุคคลที่ตนส่ือสารอย่างไร ก็ได้รับการตอบสนองตามคาดหมาย ไมข่ ดั แย้งกนั ถา้ วิเคราะหจ์ ากทิศทาง (vector) ของการส่ือสาร ลกู ศรจะไมต่ ัดขา้ มกนั ลกู ศรจะขนาน กันไป การส่อื สารสัมพนั ธ์แบบน้ี ไมส่ ง่ ผลลบทางดา้ นสมั พนั ธภาพ ทาํ ใหส้ อื่ สารกันไปได้เรื่อยๆ ดังตัวอยา่ ง

85 ตัวอยา่ งที่ 1 แม่ ลกู P P 1 A C A 2 C 1. แมซ่ อื้ ขนมใหห้ นหู นอ่ ยนะคะ 2. ตกลงจ๊ะลูก ลูกอยากทานอะไรดีจ๊ะ ตวั อย่างที่ 2 สมปอง มติ รา PP 1 AA 2 C C 1. รายงานฉบับนี้ผมจะทาํ ใหเ้ สรจ็ วนั นี้ 2. ตกลงแล้วเอามาวางไว้บนโตะ๊ ผมนะ (ปรบั ปรุงตัวอยา่ งจากสุธรี พันธุ์ กรลกั ษณ,์ 2528) (http://www.geh2001.ssru.ac.th/8 มถิ นุ ายน 2559)

86 ตวั อย่างท่ี 3 1 ลีน่า ญาดา 2 P A P A CC 1. เดก็ สมัยนี้พดู จาไมส่ ภุ าพ…ฟงั ไมไ่ ด้เลย 2. นน่ั ซคิ ะ ถ้าเปน็ ร่นุ เราคงถกู ผใู้ หญ่ตตี าย ถา้ พูดแบบนี้ (ปรับปรงุ ตวั อยา่ งจากสธุ ีรพันธุ์ กรลกั ษณ,์ 2528) (http://www.geh2001.ssru.ac.th/8 มิถนุ ายน 2559) จากตัวอยา่ งท่ี 1, 2 และ 3 ทศิ ทาง (ลูกศร) ที่แสดงถึงการสอ่ื สาร สัมพันธจ์ ะไม่ตัดข้ามกนั จะมลี ักษณะคู่ขนานกันไป น่ันคือ จากตวั อย่างท่ี 1 ลูกสอ่ื สารกับแมจ่ าก Child ego state และเปน็ adapted Child ไปยัง Parent ego state ของแม่ โดยคาดหวงั ว่า จะ ไดร้ บั การตอบสนองจาก Parent ego state ในส่วน Nuturing Parent ของแม่มายงั Child ego state ของตน แมก่ ต็ อบสนองมาตามท่ีคาดหวงั การสอ่ื สารสัมพันธ์จึงไมข่ ดั แย้งกัน เช่นเดียวกนั จาก ตัวอย่างท่ี 2 และ 3 ก็สามารถอธิบายไดใ้ นลกั ษณะทค่ี ล้ายคลงึ กัน 4.2.3.2 การส่ือสารสัมพันธ์ที่ขัดแย้งกัน/พูดขัดกัน (Crossed Transactions) การสอ่ื สารสมั พนั ธ์แบบนีจ้ ะกอ่ ให้เกดิ สัมพันธภาพทางด้านลบ เกดิ การขัดแยง้ กันขึ้น มักทาํ ให้การส่ือสารสัมพันธ์ต้องหยุดชงัก ไม่สามารถดาํ เนินต่อไปได้หรือได้เพียงช่วงสั้นๆ เพราะ ผู้ส่ือสารสมั พันธไ์ มไ่ ดร้ ับการตอบสนองจากบุคคลทต่ี นมปี ฏสิ มั พันธ์ด้วยดงั ทคี่ าดหมายไว้ ถา้ วเิ คราะห์ จากทศิ ทาง (vector) ของการตดิ ต่อ ลูกศรจะตดั ข้ามกนั ดังตวั อย่าง

87 ตวั อยา่ งที่ 4 รงั รอง ประภา P P A 2 A C1 C 1. สองโมงแล้วนะ แต่งตัวเสรจ็ แลว้ ยงั 2. รแู้ ล้ว ฉันมนี าฬกิ า หยุดบอกใหอ้ ะไรเสยี ที ตวั อย่างที่ 5 รังรอง ประภา P 1P AA 2 CC 1. ฉันปวดหัวจัง หม่นู ี้ออ่ นเพลียจรงิ ๆ 2. คนทเี่ ธอควรเล่าอาการให้ฟงั คือ หมอ (ปรบั ปรงุ ตัวอยา่ งจากสธุ รี พันธุ์ กรลกั ษณ,์ 2528) (http://www.geh2001.ssru.ac.th/8 มถิ ุนายน 2559) จากตวั อยา่ งที่ 4 และ 5 ทิศทาง (ลูกศร) ทแ่ี สดงถงึ การส่ือสารสมั พันธจ์ ะ ตดั ข้ามกนั จากตัวอยา่ งท่ี 4 ประภาสื่อสารสัมพนั ธ์กบั รงั รอง จาก Adult ego state และคาดหวังจะ ไดร้ ับการตอบสนองจาก Adult ego state ของรงั รองกลับมาเช่นกัน แต่รังรองกลบั ตอบสนองจาก

88 Parent ego state ไปยัง Child ego state ของประภา การสอ่ื สารสมั พนั ธจ์ ึงขัดแยง้ กนั ตวั อยา่ งที่ 5 ก็อธิบายได้ในทานองทคี่ ล้ายกัน ในบางกรณีทิศทาง (ลูกศร) ที่แสดงการสื่อสารสัมพันธ์อาจจะไม่ตัดข้าม แต่ลกั ษณะการสื่อสารสัมพนั ธ์ไมไ่ ดร้ ับการตอบสนอง ตรงตามท่ีอีกฝา่ ยหนึง่ คาดหวงั หรือตอ้ งการ เปน็ ลักษณะการสอ่ื สารสมั พันธท์ ไี่ ม่สอดคล้องกัน ดังตัวอย่าง ตวั อยา่ งท่ี 6 วไิ ล สมบตั ิ 1 PP A A 2 C C 1. ครสู มยั นี้ไมอ่ ดทนและเสียสละเหมอื นสมยั ก่อน ดๆู แลว้ ไม่น่าเคารพ 2. คณุ ได้ข้อมูลจากไหนมาอา้ งองิ คาํ พูดดงั กล่าว (ปรับปรงุ ตัวอยา่ งจากสุธรี พันธ์ุ กรลักษณ,์ 2528) (http://www.geh2001.ssru.ac.th/8 มิถุนายน 2559) ในการสรา้ งสัมพันธภาพทด่ี ี การสอ่ื สารสมั พนั ธ์ทีม่ ีประโยชน์จะเปน็ ไปในรูปแบบของ complementary transactions เพราะไมท่ าํ ลายความร้สู ึกหรือทาํ ให้เกิดความขดั แย้งทางจิตข้นึ และภายหลังจากการส่ือสารสัมพันธ์ก็ไมม่ ปี ญั หาติดคา้ งในใจ ในชีวติ ประจาวัน การส่อื สารทางสงั คม ท่ัวไปมกั เปน็ ไปแบบ complementary transactions ในลกั ษณะทเ่ี รยี กว่า บัวไม่ใหช้ าํ่ นา้ ไมใ่ ห้ขนุ่ สว่ น crossed transactions ทาํ ใหก้ ารส่ือสารสัมพันธ์ติดขัด สะดดุ หรอื บางคร้ังหยุดชงัก มักก่อให้เกิด ความรสู้ กึ ทางด้านลบ แต่ crossed transactions ก็มีประโยชนท์ ช่ี ่วยทา้ ทายให้ผสู้ ื่อสารสัมพนั ธ์ด้วย ไดใ้ ช้ ego state อ่ืนๆ ในการคดิ การแสดงออกบา้ ง ไมใ่ ช่ใช้เพียง ego state เดยี วตามทต่ี นเองเคย ชนิ เท่านั้น ตัวอยา่ งเช่น เด็กทไี่ ม่ชอบคดิ ตัดสินใจส่งิ ต่างๆ ด้วยตนเอง ต้องการพ่ึงพาและคอยการ ชแี้ นะของพ่อแม่และครูอยตู่ ลอดเวลา แมแ้ ต่ปญั หาเล็กนอ้ ยก็ต้องคอยถาม ลกั ษณะเชน่ นีเ้ ป็นลกั ษณะ ของเด็กทไ่ี ด้รับการขัดเกลาหรอื เด็กทีต่ ้องการพึ่งพา (Adapted Child) แทนท่จี ะสอื่ สารสัมพันธใ์ น รูปแบบของ complementary transaction หรือส่ือสารดว้ ยลักษณะของพ่อแมท่ ี่เอ้ือเฟื้อ (Nurturing

89 Parent) ก็ควรสื่อสารสัมพันธ์ด้วย ego state อ่ืนๆ บ้าง แม้จะเป็น crossed transaction จะ ช่วยใหเ้ ดก็ คนน้นั ร้จู ักคิดและใช้ ego อนื่ ๆ ตวั อย่างของการสอื่ สารสมั พนั ธท์ างวาจาในลักษณะดงั กลา่ ว เช่น นักศกึ ษา : อาจารย์บอกหนซู คิ ะว่า ควรจะทาอยา่ งไรดกี บั ปัญหาการเรยี น คณติ ศาสตร์ของหนู อาจารย์ : ลองใชค้ วามสามารถของตนเองคิดซิคะว่า คณุ ควรจะแก้ปัญหานั้น อย่างไร (Adult ego state) : อยา่ วติ กเกินไปซิ มนั ไม่ใชป่ ญั หาโลกแตกหรอกน่า (Free Child) : ก่อนจะถามคนอน่ื ลองคดิ ด้วยตนเองก่อน แล้วบอกมาซวิ า่ คณุ จะ แกป้ ัญหาอยา่ งไรดี (Positive Controlling Parent) 4.2.3.3 การส่ือสารสัมพันธ์ที่มีนัยเคลือบแฝง/ไม่จริงใจ (Ulterior Transactions) เปน็ การสื่อสารสัมพนั ธ์ทผี่ สู้ อ่ื สารใช้วาจาหรือแสดงพฤติกรรมทสี่ งั เกตเหน็ ได้ (overt message) อยา่ งหน่งึ แตค่ วามต้องการที่แทจ้ รงิ เคลือบแฝงไว้ (over message) เปน็ อีกอยา่ งหนงึ่ เพราะผสู้ ือ่ สารทราบวา่ พฤตกิ รรมหรือวาจาท่ีเขาแสดงออกเปน็ สิ่งทสี่ งั คมยอมรบั เปิดเผยไดเ้ ปน็ social message ส่วนความตอ้ งการที่แทจ้ ริงน้นั เปดิ เผยโดยตรงไมไ่ ด้ แต่เป็นความต้องการท่เี ขาตระหนกั อยู่ แกใ่ จ เป็น psychological message อยา่ งไรกต็ าม ผทู้ ใ่ี ชก้ ารสอื่ สารสมั พันธ์ทม่ี นี ัยเคลอื บแฝง ตอ้ งการให้ผู้ทต่ี นสอื่ สารด้วยตอบสนองความตอ้ งการในระดับจติ วิทยา (psychological level) ของตน การส่อื สารสมั พันธ์ที่มีนยั เคลือบแฝง ผทู้ ใี่ ชจ้ ะเปน็ ผทู้ ี่รูต้ ัวหรือนักจติ วิทยาท่มี คี วามชํานาญในการวเิ คราะห์ การสอื่ สารสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล สามารถวเิ คราะหไ์ ดโ้ ดยสงั เกตจากทา่ ทางและพฤตกิ รรมอน่ื ๆ ที่แสดง ออกมาซงึ่ ไม่สอดคลอ้ งกับวาจาท่ีสื่อสารออกมาพฤตกิ รรมตา่ งๆ ท่ใี ชป้ ระกอบการสงั เกต เชน่ นาํ้ เสียง คาํ พูดทีเ่ ลอื กใช้สรรพนามทใี่ ช้ การพลัง้ ปาก การแสดงออกทางสีหนา้ การแสดงออกทางดา้ นรา่ งกาย เช่น ยกั ไหล่ การใชม้ ือประกอบคําพดู ฯลฯ

90 ตัวอยา่ งท่ี 7 1 บุหงา ระวี P P A 2 C A 1 C 2 1. (ลูกศรทึบ) : ไปดมื่ กาแฟต่อท่หี อ้ งผมนะครบั (ทําตาเจ้าชู้) 1. (ลกู ศรประ) : เรามาคยุ กันตามลาพังสองต่อสองนะครบั 2. (ลูกศรทึบ) : ดีซิคะ กําลงั อยากดื่มอย่เู ชียว (ยมิ้ หวาน) 2. (ลกู ศรประ) : นึกแลว้ เชยี วว่าคณุ คงชวน (ปรบั ปรงุ ตวั อยา่ งจากสุธีรพันธ์ุ กรลกั ษณ,์ 2528) (http://www.geh2001.ssru.ac.th/8 มิถนุ ายน 2559) จากตวั อยา่ งท่ี 7 การส่ือสารสมั พนั ธข์ องระวีและบุหงนน้ั แตล่ ะคนจะใช้ 2 ego state ในการตดิ ต่อ เรยี กวา่ Duplex transaction ลกู ศรทบึ เป็นการติดต่อในลกั ษณะ social message ส่วนลูกศรประ แสดงถงึ psychological message และจะมลี ักษณะเปน็ complementary transaction เพราะความตอ้ งการทีแ่ ท้จรงิ ในระดับจิตวิทยาไดร้ บั การตอบสนอง แต่ถา้ ผรู้ บั ตอบสนอง แตเ่ ฉพาะ social message การตดิ ต่อสัมพันธ์ก็เป็นแบบ crossed transaction ดงั ตัวอย่างที่ 8

91 ตวั อย่างท่ี 8 บุหงา ระวี P 2P 1 AA 2 CC 1 1. (ลูกศรทบึ ) : ไปดืม่ กาแฟต่อที่ห้องผมนะครับ (ทาตาเจา้ ชู้) 1. (ลกู ศรประ) : เรามาคยุ กนั ตามลาพงั สองตอ่ สองนะครับ 2. (ลูกศรทบึ ) : ดิฉันไม่ด่ืมกาแฟค่ะ (ทาหนา้ เฉยไม่สบตา) 2. (ลูกศรประ) : ฉันรทู้ นั คนอย่างคุณ อย่าพยายามเสยี ให้ยาก ตวั อย่างที่ 9 บหุ งา ระวี P1P A 1A C2 C ก็ได้ (ทําหน้ายิ้มๆ) 1. (ลูกศรทบึ ) : นีเ้ ป็นรุน่ ทดี่ ีทส่ี ดุ ของเรา แต่บางทีคุณอาจอยากดูรนุ่ ถูกๆ 1. (ลูกศรประ) : คุณคงไมก่ ลา้ ซ้ือของแพงๆ ดๆี ใชห้ รอก 2. (ลกู ศรทบึ ) : ฉนั จะเอารุน่ นแี้ หละ (ทาํ หน้างอ) (ปรับปรุงตวั อยา่ งจากสุธรี พันธ์ุ กรลกั ษณ,์ 2528) ( http://www.geh2001.ssru.ac.th/8 มิถุนายน 2559)

92 จากตัวอยา่ งท่ี 9 ผขู้ ายตดิ ต่อกบั ผูซ้ อื้ โดยใชห้ ลาย ego states และผซู้ ้อื ตอบสนองโดย ใชเ้ พยี ง ego state เดียวเทา่ นัน้ เรยี กว่า Angular transaction โดยผู้ขายส่ง social message จาก Adult ego state ไปยัง Adult ego state ของผซู้ ้อื และในขณะเดียวกนั ผู้ขายก็ส่ง psychological message จาก Adult ego state ไปตกเบ็ด Child ego state ของผซู้ อื้ ซึ่งผซู้ ้อื ก็ตดิ เบ็ดผขู้ าย 4.2.4 ตาํ แหนง่ ชีวิต (Life Position) ตาํ แหน่งชวี ิต (Life Position) เป็นความเข้าใจเก่ยี วกับตนเอง การร้จู กั ตนเอง ความรสู้ ึกท่ีบคุ คลมตี อ่ ตนเองและผอู้ น่ื จะสะทอ้ นใหเ้ หน็ จากการเลือกตาํ แหน่งของชีวิตในแตล่ ะ บคุ คลซึ่งการเลอื กตําแหน่งมพี ืน้ ฐานมาจากผลของการเข้าใจตนเองและสภาพแวดลอ้ มต้ังแตเ่ รายงั เด็ก Berne อธบิ ายวา่ เม่ือบคุ คลเผชญิ ปญั หา การตดั สินใจตอบสนองต่อปัญหานน้ั ๆ ด้วยวธิ ีการต่างๆ ที่ แตกต่างกันออกไป ซึ่งข้ึนอยู่กับตําแหน่งของชีวิตท่ีแต่ละบุคคลรู้สึกต่อตัวเองและผู้อ่ืน นอกจากน้ี การส่ือสารสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลเป็นไปในรปู แบบใด ส่วนหน่งึ ก็ข้นึ อยู่กบั ตาํ แหน่งของชวี ิตของบคุ คลนนั้ ตําแหนง่ ชีวติ แบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท บคุ คลจะวางตวั ไว้ในประเภทใดประเภทหน่ึงในการสือ่ สาร สมั พันธก์ ับผู้อน่ื ดังน้ี 4.2.4.1 I’m OK – You’re OK ตําแหนง่ น้ีเป็นตาํ แหนง่ สูงสดุ ของ การปรบั ตวั เป็นตาํ แหนง่ ของผู้มีสขุ ภาพจิตดี บคุ คลท่ีวางตนเองไว้ในตาํ แหนง่ ชวี ิตนี้ จะรูส้ ึกว่าตนเองมี ค่ายอมรับและเขา้ ใจตนเอง ในขณะเดยี วกันก็รสู้ ึกว่าชวี ิตของผอู้ ืน่ มีคา่ ยอมรบั และใหเ้ กียรติบคุ คลอ่นื ในฐานะมนุษย์คนหน่ึง มีความจริงใจในการสื่อสารสัมพันธ์กับผู้อื่น เมื่อเผชิญกับปัญหา บุคคลที่มี ตาํ แหน่งชวี ิตแบบนี้ จะกลา้ เผชิญกับปญั หาแก้ไขปญั หาต่างๆ ด้วยวิธสี ร้างสรรค์ และใชค้ วามสามารถ ทีต่ นเองมอี ยูอ่ ย่างเต็มที่ บคุ คลท่ีจะร้สู กึ ว่าตนเองอยใู่ นตาํ แหนง่ น้ี ได้ตอ้ งเรม่ิ พฒั นาความร้สู กึ ไว้วางใจ มาต้ังแต่เด็ก ซงึ่ บุคคลทอ่ี บรมเลยี้ งดูเดก็ จะมีอทิ ธพิ ลอย่างมาก ที่จะช่วยใหเ้ ดก็ รู้สึกวา่ ตนเองมคี ุณคา่ เป็นทีต่ อ้ งการ โดยการให้ความเอาใจใสส่ นใจแก่เดก็ 4.2.4.2 I’m OK – You’re not OK ตําแหน่งนีเ้ ปน็ ตําแหน่งชีวติ ที่ บคุ คลรสู้ ึกว่าตนเองดีกวา่ ผูอ้ ่ืน ดถู กู เหยียดหยามวา่ ผอู้ ่ืนดอ้ ยกว่าตน ไมไ่ ว้วางใจผอู้ ืน่ ว่ามีความสามารถ เม่ือประสบปญั หากม็ กั กลา่ วโทษผู้อื่นว่าทาํ ใหต้ นเองบกพรอ่ ง เปน็ ตําแหน่งของคนทีช่ อบปฏวิ ัติเปล่ียนแปลง อย่างรุนแรง ไม่รับฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื ยดึ ม่ันกบั ความคดิ เหน็ ของตนเองวา่ เปน็ เลิศ บคุ คลท่ีวาง ตนเองอยใู่ นตําแหน่งชวี ติ แบบน้ี มกั จะอยใู่ นแวดวงของคนประเภท “ขนุ พลอยพยัก” (yes men) เพราะเป็นวิธีการที่เขาจะได้มาซึ่งความเอาใจใส่ ยกย่อง สรรเสริญตามที่เขาต้องการ ถ้าบุคคลที่มี ตําแหน่งชีวิตแบบน้ี มีโอกาสทาํ หน้าท่ีในตาํ แหน่งสาํ คัญก็จะชอบลูกน้องท่ีประจบสอพลอ โดยไม่ คํานึงถึงสิ่งท่ีควรหรือไม่ควรเน่ืองจากบุคคลประเภทน้ีจะชอบคําเยินยอ โดยไม่คํานึงว่าจะมาจาก ความจริงใจหรอื ไม่ เพราะมคี วามเชือ่ อยู่แล้วว่า บุคคลอื่นไม่มีใครเก่งหรอื ดีเท่าตัวเขา

93 4.2.4.3. I’m not OK – You’re OK ตาํ แหน่งชีวิตแบบน้ี เป็นตาํ แหน่ง ชีวิตของบุคคลท่ีรู้สกึ วา่ ตนเองด้อยกวา่ ผูอ้ นื่ บคุ คลอืน่ เก่งและโชคดีกว่าตนไปทุกด้าน พฤติกรรมของ บคุ คลท่รี สู้ กึ ว่า “I’m not OK – You’re OK” จงึ ไม่กลา้ แสดงออกถึงความรู้สกึ ทแี่ ทจ้ ริง เกบ็ กด ความรสู้ กึ ไว้ ขลาดกลัวทจ่ี ะยืนยันถงึ สทิ ธิทตี่ นมอี ย่อู ย่างชอบธรรม มลี กั ษณะเป็นบุคคลอมทุกข์ ชอบ ปลกี ตัวเองอยู่ตามลาํ พงั เมอ่ื เผชญิ กบั ปัญหากม็ ักใชว้ ธิ เี ล่ยี งหนี ไม่พยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาที่ตนเอง เผชิญ บุคคลที่วางตนเองอยู่ในตําแหนง่ ชีวิตแบบน้ี มักพฒั นาความรสู้ ึกวา่ ตนเองไมม่ คี า่ (feeling unworthy) เป็นตําแหน่งท่ีเด็กเลือกเม่ือโดนผู้ใหญ่บังคับให้ทําสิ่งต่างๆ ตามความต้องการหรือ ความเห็นของผู้ใหญ่โดยไม่ให้อิสระแก่เด็ก ไม่เคยรับฟังความคิดเห็นของเด็ก ทําให้เขารู้สึกว่า ตนเองไม่มีความสามารถ ตอ้ งพง่ึ พาผู้ใหญอ่ ยู่เสมอ เม่อื ตนเองเตบิ โต จึงมคี วามร้สู กึ ยอมตาม ไมก่ ล้า แสดงออกกจ็ ะติดตวั มา บุคคลประเภทนี้ จึงพยายามแสวงหาการยอมรับ การเอาใจใสใ่ นการสอ่ื สาร สัมพันธ์กับบุคคลอืน่ โดยการพยายามทําตวั เข้าไปมสี ่วนร่วมในทุกๆ เรื่อง พยายามเอาอกเอาใจผอู้ ่ืน ยอมรบั ใช้และเสียเปรยี บบคุ คลอนื่ อยู่เสมอ 4.2.4.4 I’m not OK – You’re not OK ตาํ แหน่งชวี ติ แบบนี้ เปน็ ตําแหนง่ ชวี ิตของบุคคลท่รี สู้ กึ หมดอาลยั ตายอยากในชวี ิต รสู้ ึกชวี ติ ไมม่ คี ณุ คา่ ซงั กะตาย อยไู่ ปเรอ่ื ยๆ หดหู่ เศร้าหมอง ปราศจากความหวังใดๆ และรสู้ กึ วา่ ชีวิตของคนอ่ืนกไ็ ม่มคี ่า ไม่มคี วามหมายเชน่ กนั รู้สึกว่า โลกนโ้ี หดรา้ ยทารณุ ไม่น่าอยู่ ผปู้ ว่ ยท่เี ปน็ โรคประสาท โรคจิต มกั วางตนเองอยูใ่ นตําแหนง่ ชวี ติ นี้ ถ้าความรู้สกึ แบบน้ีรนุ แรงมาก กอ็ าจทาํ รา้ ยตนเองและผอู้ ื่นโดยไมร่ ู้สกึ วา่ ผิด เพราะไมค่ ิดว่า ชวี ิตมีความหวังและไม่มีความหมายอะไรเลย เด็กทไี่ ดร้ บั การทอดทิ้ง (rejected children) ไมไ่ ด้รับ การเอาใจใสจ่ ากผู้เล้ียงดมู ักเลอื กตําแหน่งชวี ิตแบบน้ี เพราะเขาไม่เคยได้รบั การเอาใจใส่และการแสดง ความรักหรอื ผกู พันใดๆ จากพ่อแมห่ รือบคุ คลทใ่ี กล้ชดิ ทําใหเ้ ขาพฒั นาความรู้สึก “I’m not OK” ข้ึนมา และเขาจะไม่ร้จู ักใหก้ ารเอาใจใสใ่ ดๆ แกใ่ ครดว้ ย เพราะรู้สกึ ว่า คนอนื่ โหดร้ายและไมม่ ีนํ้าใจ มองคนในแง่ “You’re not OK” ดว้ ย ลกั ษณะของผทู้ ม่ี ีสขุ ภาพจติ ที่ดีนั้น ถ้าพิจารณาโครงสร้างของบุคลกิ ภาพ จะพบวา่ ลักษณะของ P A และ C จะมลี ักษณะสมดุลกนั และถา้ พจิ ารณาจากตาํ แหนง่ ของชีวิต จะ พบว่า มีลกั ษณะ I’m OK, You’re OK ดังน้นั บุคคลควรสํารวจตนเองว่า มีบคุ ลิกภาพอยา่ งไร สมดลุ หรือไม่และใชช้ ีวิตในตําแหน่งใด ถ้าไมเ่ หมาะสมกจ็ าํ เป็นอยา่ งยง่ิ ที่ต้องมีการปรบั แก้ไขบคุ ลิกภาพ และ จากการศกึ ษา T.A. จะทาํ ใหเ้ ราเขา้ ใจตนเอง เข้าใจผู้อนื่ และทาํ ให้การติดต่อส่ือสารประสบผลสาํ เรจ็ ตามท่ีต้องการไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพดว้ ย

94 5. ปัจจยั สง่ เสรมิ การรจู้ ักตนเอง ปัจจัยท่สี ง่ เสรมิ การรูจ้ กั ตนเองนัน้ มีหลายปัจจัย (วิทยา เทพยา,2524 : 14-16) คอื 5.1 อัตมโนทศั น์ อันประกอบด้วย อัตตะ (ตัวตน) มโน (จิต, ความคิด) ทัศนะ (ความคิดเห็น) 5.2 ฐานะทางเศรษฐกิจ เปน็ หลักสาํ คญั ในการครองชีพ เราตอ้ งรู้จกั สถานภาพ ทางเศรษฐกิจของตนเองในเร่ืองของแหล่งท่ีมา จํานวนรายได้และจํานวนรายจ่ายของแต่ละเดือน และรูจ้ ักงบประมาณ การจ่ายการเกบ็ ใหเ้ หมาะสม ไมใ่ ช้จา่ ยเกินตัวหรอื ตระหนเ่ี กินไป 5.3 ความสามารถแห่งสมองและบุคลิกภาพ ความสามารถทางสมองหรือ สตปิ ัญญาและบุคลิกภาพนนั้ สว่ นหนงึ่ อาจจะมาจากพันธุกรรม แตเ่ ปน็ สงิ่ ทีป่ รับปรงุ และพัฒนาได้เรา กต็ ้องรวู้ า่ ความสามารถในการแกป้ ัญหาของตนเอง การเขา้ ใจสงิ่ ตา่ งๆ ส่วนบคุ ลกิ ภาพในด้านต่างๆ เช่น การวางตัว การพูด การเดนิ อารมณ์ อุปนสิ ัย ตลอดจนการแตง่ กายและอืน่ ๆ 5.4 ความรู้ ความรเู้ ปน็ สงิ่ สาํ คัญทเ่ี ราตอ้ งนาํ ไปประกอบอาชีพเราจึงต้อง ขวนขวายหาความรู้เบื้องตน้ และความร้พู เิ ศษให้มากทีส่ ดุ เพราะคนทม่ี คี วามรยู้ ่งิ มากเทา่ ใด การได้รับ การยอมรับจากผอู้ ืน่ กย็ ิ่งมากเทา่ นั้น 5.5 ความสามารถพิเศษ หมายถงึ ความสามารถที่เก่งและแตกต่างจากผู้อ่ืน เช่น ความสามารถในการฟ้อนรําหรือเล่นกีฬา เป็นต้น เราจะต้องคน้ หาให้ได้ว่า เรามคี วามสามารถ พเิ ศษอะไร 5.6 ความสนใจและนิสัย ลักษณะความสนใจของแต่ละบุคคลย่อมแตกต่าง กันไป เมื่อเราสนใจในส่ิงใดเราก็มักจะทุ่มเทเวลาและกาํ ลังกายกําลังใจให้กับส่ิงน้ันเราต้องตรวจสอบ ให้ไดว้ ่าเราสนใจในสง่ิ ใดสิง่ น้ันจะก่อใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ตัวเราและสังคม ภาพที่ 37 แสดงภาพมโนมติพนื้ ฐานของการรู้จักตนเอง (ที่มา https://www.google.co.th/search 8 มถิ นุ ายน 2559)

95 6. มโนมตพิ นื้ ฐานในการร้จู ักตนเอง มโนมติพ้ืนฐานในการรู้จกั ตนเอง ในการทาํ ความร้จู ักตนเองนั้น จําเป็นต้องทาํ ความเขา้ ใจ ในมโนมตพิ นื้ ฐาน 3 ประการเกยี่ วกับอัตตาหรอื ตัวตนของตนเอง อตั มโนทศั น์ โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ (http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog-post_7022.html 8 มิถุนายน 2559) 6.1 อัตตา 6.1.1 ความหมายของอัตตา http://www.ge.ssru.ac.th 8 มิถนุ ายน 2559 อตั ตาหรอื ตัวตน (Self) เป็นศูนย์ของบุคลิกภาพท่เี ป็นสว่ นของการรบั รแู้ ละค่านิยมเก่ยี วกับตวั เรา ตัวตนพัฒนามาจากท่ีบุคคล มปี ฏิสมั พันธ์กบั สภาพแวดล้อม เป็นประสบการณ์เฉพาะตนในการพัฒนาตัวตนของบุคคลนน้ั บคุ คล จะพบว่ามีบางส่วนท่ีคล้ายและบางส่วนที่แตกต่างไปจากผู้อ่ืน ตัวตนเป็นส่วนท่ีทาํ ให้พฤติกรรมของ บุคคลมีความคงเส้นคงวา (Consistency) และประสบการณ์ใดที่ช่วยยืนยัน อัตมโนทัศน์ (Self- concept) ท่ีบุคคลมีอยู่ บุคคลจะรับรู้และผสมผสานประสบการณ์นั้นเข้ามาสู่ตนเองได้อย่าง ไม่มีความคับขอ้ งใจ แต่ประสบการณ์ที่ทําให้บุคคลร้สู กึ ว่า อัตมโนทศั นท์ มี่ อี ยู่เบยี่ งเบนไป จะทําให้ บคุ คลเกิดความคับขอ้ งใจที่จะยอมรบั ประสบการณ์น้ัน อตั มโนทัศนเ์ ปน็ สงิ่ ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพราะบุคคลจะต้องอยู่ในโลกแห่งความเปล่ียนแปลงโดยมีตัวเอง (Self) เป็นศูนย์กลางในการแสดง พฤตกิ รรมตา่ งๆ http://sirirut2003.blogspot.com 8 มิถนุ ายน 2559 อัตตา หรือ ความเป็นตัวตนของตนเอง (Self) “อตั ตา” มีความสําคญั มากในชีวิตคนถอื เป็นกญุ แจสาํ คัญในการทํา ความเขา้ ใจพฤตกิ รรมของคน เป็นแนวทางในการทาํ ความเข้าใจตนเองและผอู้ นื่ “อัตตา” หมายถงึ ส่วนรวมท้ังหมดของบุคคล ตามธรรมชาติและความเป็นจริงของบุคคลน้ัน ทั้งทางด้านร่างกาย พฤติกรรม ความร้สู ึกนึกคดิ ค่านิยมท่บี คุ คลนัน้ เป็นอยูห่ รอื มอี ย่ตู ามความเป็นจรงิ (real self) สว่ น บุคคลจะเห็นตนเองตรงตามความเป็นจริงมากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายประการ ต้ังแต่ การอบรมเลย้ี งดู ความเจริญตามวุฒิภาวะ ส่ิงแวดลอ้ ม และการเรียนรู้ เปน็ ตน้ 6.2 อัตมโนทัศน์ 6.2.1 ความหมายของอัตมโนทศั น์ อัตมโนทัศน์ (Self concept) เป็นแนวคดิ ทบี่ ุคคลมตี ่อ “อัตตา” หรือ ความเป็นตัวตนของตนเอง เป็นการรับรู้และการประเมินผลท่ีบุคคลมีต่อตนเอง อัตมโนทัศน์แยก ออกเป็นอัตตะ (ตัวตน) มโน (จิต, ความคิด) ทัศนะ (ความคิดเห็น) เมื่อรวมกันก็หมายถึง ความคิดเห็นเกีย่ วกับตัวตน

96 6.2.2 การเกดิ อตั มโนทัศน์ คาร์ล จงุ (Carl Jung. 2000 : 491-494) กลา่ ววา่ “ตน (self) เปน็ ผลผลิตแหง่ พัฒนาการอย่างหนงึ่ ซ่ึงเกิดจากการประสมประสานกนั ระหวา่ งบคุ ลกิ ภาพด้านตา่ งๆ ทง้ั ท่ี อยใู่ นจติ รสู้ าํ นึกและจติ ไร้สาํ นึก” จุง เชื่อว่า คนเรามที ัง้ “โลกภายใน” และ “โลกภายนอก” โลก ภายในก็ประกอบด้วยสิ่งท่ีเหมาะสมอยู่จิตใจไร้สาํ นึก ส่วนโลกภายนอกก็ประกอบด้วยส่วนสาํ คัญ คือ persona อันหมายถึง “ตนตามท่ีสังคมตรา” จุงเอาคําน้ีมาใช้เพราะ Persona หมายถึง “หนา้ กาก” จุง ช้ีแจงว่า Persona เป็นส่ิงจําเป็นสําหรับการดํารงชีวิตอยู่ในสังคม เพราะว่าเป็น เครื่องปดิ บังความรูส้ ึกนกึ คิดภายในของคนเราไว้ ถา้ คนเราแสดงความรู้สึกนกึ คดิ อนั แท้จริงออกมาหมด (อา้ งถึงในศรีวรรณ จนั ทรวงศ,์ 2548 : 168-170) จากแนวความคดิ ของจุง เขาเชอื่ ว่าตนมีอยู่ 2 อยา่ ง คือ ตนจริง กบั ตนที่ คนปรารถนา หรือทีเ่ รียกวา่ “ตนในอดุ มคติ” ซ่ึงท้ัง 2 อย่างจะนําไปสูส่ งั คมกับเกีย่ วกบั ตนเอง หรือท่ี คนท่วั ไปเรียกวา่ อัตมโนทศั น์ (Self-concept) ซ่งึ กห็ มายถงึ การรับร้เู ก่ียวกับตนเอง โดยสอดคล้อง กับแนวคิดของ Mc Davis and Harrari 3 1 2 4 ภาพที่ 38 แสดงภาพอตั มโนทัศน์ของ Mc Davis and Harrari (ทม่ี า อา้ งถงึ ในศรวี รรณ จนั ทรวงศ์,2548 : 174) โดยกาํ หนดจากการแสดงแผนภมู ิ ตามหมายเลข มีรายละเอียดดงั นี้ (อ้างถงึ ในศรวี รรณ จันทรวงศ,์ 2548 : 172-174)

97 หมายเลข 1 เปรียบเสมอื น กอ้ นขนมปังกลมๆ หมายถงึ “ตนเอง” (real self) เป็นความคิดเห็นความร้สู ึกและเจตคตติ ่อตนเองวา่ ตนเองคอื ใคร ตนเปน็ คนอยา่ งไร มคี วามสัมพนั ธ์ กบั คนอ่นื อยา่ งไร และสําหรับส่ิงท่มี อี ทิ ธิพลตอ่ ความคดิ เห็นเก่ียวกับตนเอง หมายเลข 2 เปรยี บเสมอื น แผน่ เนยท่วี างบนขนมปงั ซ่ึงหมายถงึ อัตมโนทศั น์ (Self-concept) เปน็ ความคดิ เห็นเก่ียวกบั ตนเอง โดยการคดิ หรือประเมนิ ตนเองว่าคนที่อยรู่ ว่ มกบั ตน มองตนอย่างไรและตีราคาตนมากน้อยเพียงไหน เป็นความคิดเห็นท่ีพัฒนามาจากความคิดเห็น เก่ียวกับตนเองในสภาพทตี่ รงตอ่ ความจรงิ หรอื ในสภาพที่แท้จรงิ โดยบคุ คลน้นั ๆ จะเริม่ พิจารณาตัดสิน เกี่ยวกบั ตนเอง โดยการประเมินเกีย่ วกบั ตนเองใหเ้ ป็นไปในลกั ษณะท่ีสอดคลอ้ งกบั ความคดิ หรอื การมองของบุคคลอ่นื ในสงั คม หมายเลข 3 เปรียบเสมือน มุมแต่ละมุมของแผ่นเนย ซึ่งหมายถึง เป็น ความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองในอุดมคติ (self-ideal) หรือ “ตนตามปณิธาน” หรือ ตนอย่างที่ ตนอยากจะเป็น ซึ่งบุคคลอาจจะมองตนเองเกินเลยไปจากความเป็นจริง และอาจเป็นได้ทั้งใน ทางบวกหรือทางลบ อย่างไรก็ตาม ภาพท่ีตนอยากเห็นตนเองเป็นนั้นจะบรรลุผลสําเร็จมากน้อย เพียงใดนั้นข้ึนอยู่กับความสัมพันธ์ของความสามารถต่างๆและโอกาสของบุคคลนั้น การมองตนเอง สงู เกินไปหรือตํ่าเกนิ ไป หมายเลข 4 เปรียบเสมือน สว่ นโค้งของก้อนขนมปงั กลมๆ ซึ่งหมายถงึ ส่งิ ทเี่ ป็น ตัวตนและบุคคลมองไม่เห็น ซ่ึงอาจจะเป็นลักษณะท่ีดีหรือไม่ดีก็ได้ ถ้าคนเราทดลองทําจิตของตน ให้ว่างแล้วพิจารณาดูตนเอง (self) ว่าตนเองมีลักษณะท่ีดีและไม่ดีอย่างไร และเขียนลงบน แผ่นกระดาษ เราก็จะได้อตั มโนทัศนท์ ่ถี ูกต้องใกลเ้ คยี งกับความเปน็ จริงมากที่สดุ การที่เราเป็นบุคคลท่ีมีลักษณะอย่างหน่ึง แต่เราอาจะเห็นตนเองเป็นอีก ลักษณะหนึ่งซึ่งผิดไปจากลักษณะจริงๆของตนเองได้ หากจะเปรียบเทียบภาพวงกลมท้ังหมด คือ “อัตตา” ของบุคคลตามความเป็นจริงโดยธรรมชาติ ส่วนภาพสี่เหลี่ยมเป็นตัวแทนของ “อัตมโนทัศน์” แนวความคิดของบุคคลน้ันๆ เก่ียวกับตนเอง ซึ่งได้กล่าวแล้วว่า การมองเห็นตนเอง ของบุคคลนัน้ บางครัง้ ก็คลาดเคลือ่ นจากความเปน็ จรงิ ได้ เช่น ธรรมชาตบิ างอย่างบคุ คลเห็นว่าตนเปน็ เช่นนัน้ แต่ความเป็นจริงหาไดเ้ ป็นเชน่ นนั้ ไม่ หรอื ธรรมชาติบางอยา่ งบคุ คลมอี ยแู่ ละเปน็ อยู่ แต่ตนเอง ไมร่ ู้ เปน็ ตน้ มารก์ ัส (Markus, 1977) ไดแ้ ยกแยะความเปน็ ตัวตนของตนเองเป็น 2 ลกั ษณะคือ (http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog-post_7022.html 8 มิถนุ ายน 2559) (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มิถนุ ายน 2559)

98 1. การมีจนิ ตนาการเดียวกบั ตนเอง (Self - Image) บคุ คลจะมคี วามคดิ เกีย่ วกบั ตนได้ทง้ั ดา้ นดี มองตนเองมีคุณค่า มศี ักด์ิศรี หรอื ดา้ นเลว มองตวั เองตํา่ ตอ้ ย ไร้ศักดศิ์ รี โดย อาศยั ประสบการณท์ ี่ตนไดพ้ บเหน็ กอ่ น จนิ ตนาการทบ่ี คุ คลสร้างขนึ้ มานั้นจะสรา้ งจากทางร่างกายก่อน แล้วมาเป็นทางด้านสตปิ ญั ญา จติ ใจ และสงั คม เป็นลาํ ดบั มา (เรียม ศรที อง, 2542) 2. การมองเหน็ คุณคา่ ของตนเอง (Self - Esteem) การมองเหน็ คุณคา่ ในตัวเองว่า มนษุ ยเปน็ สัตวป์ ระเสรฐิ มสี ติปัญญากว่าสตั วอ์ ่นื ๆ ตนเองกเ็ ปน็ มนษุ ยเ์ ช่นเดียวกันก็จะ สามารถเรยี นรไู้ ด้ สามารถคดิ สามารถทํา สามารถจัดการกับปัญหาตา่ งๆ ได้ สามารถตดิ ต่อกบั บคุ คล อื่นได้ ทําอะไรได้เหมอื นกบั บุคคลอืน่ ๆ ผทู้ ค่ี ดิ ไดด้ ังกล่าว จะทาํ ใหเ้ กดิ ความเช่ือมน่ั ในตนเอง และจะ ทาํ ให้ประสบความสาํ เรจ็ ในชีวิต ทั้งในการดํารงชีวติ อยู่ และในการทาํ งาน นักจิตวิทยาทไ่ี ดใ้ ช้ความหมายของ “อัตตา” และ “อตั มโนทศั น”์ ใน ความหมายเดียวกันนัน้ ตรงที่อธบิ ายได้วา่ อัตตาหรอื อัตมโนทัศน์ เปรยี บเสมอื นความเป็นบุคคลนัน้ ๆ ซง่ึ แตกตา่ งจากบคุ คลอ่ืนและวตั ถอุ ื่นๆ ในโลกภายนอกบุคคลน้นั ดงั นนั้ ความเป็นบุคคลนั้นๆ ขึ้นอยู่ กบั ที่บคุ คลมองเห็นตนเองอยา่ งไร พฒั นาการของอตั ตาและอตั มโนทศั นเ์ กดิ ขนึ้ ไปดว้ ยกนั ในครรลองของ ชีวิตที่เจริญเติบโตขึ้นมา ทําให้บุคคลหนึ่งต่างจากบุคคลอื่นๆ ท้ังในแง่ค่านิยม เจตคติ ความรู้สึก ความคดิ และความตอ้ งการในชีวิต ซ่งึ เปน็ ผลใหก้ ารแสดงออกของบคุ คลตา่ งกันออกไป สิ่งสาํ คญั ทท่ี าํ ให้ การมองเห็นตนเองหรืออตั มโนทัศน์ต่างออกไปจากความเปน็ จรงิ ของบคุ คลนัน้ ขึ้นอยกู่ ับสาเหตหุ ลาย ประการ ต้ังแต่การรับรู้ของบุคคล ความรู้สึกนึกคิด ส่ิงแวดล้อมและการอบรมเล้ียงดู ซ่ึงเป็น ส่วนประกอบสาํ คัญท่ีจะทําให้บุคคลได้เกิดการเรียนรู้ “ความเป็นจริง” ท้ังท่ีเก่ียวกับตนเองและ ส่ิงอ่ืนๆ รอบตัวนั้นมีมากน้อยแค่ไหน เช่น การที่เด็กคนหน่ึงได้รับการบอกให้รู้อยู่ตลอดเวลา ว่า “เธอน่ะเป็นเด็กโง่” และส่ิงท่ีว่ากล่าวตอกยาํ้ อยู่ตลอดเวลาทุกคร้ังท่ีแสดงความคิดเห็น รวมทั้ง ความเหน็ ไม่ได้รบั การยอมรับนานๆ เขา้ เด็กผนู้ ้ันจะคอ่ ยๆ รูส้ ึกไปเองว่า ตนเองโง่และความร้สู กึ ท่ี ติดค้างอยเู่ ชน่ น้ันจะค่อยๆ สะสม และในที่สุดเด็กผู้น้ันจะมองเห็นตนเองเป็นเช่นนั้นจริงๆ ท้ังท่ีตาม ความเป็นจริงหรืออัตตาจริงๆของเด็กผู้น้ัน อาจไม่จําเป็นต้องเป็นเช่นน้ันก็ได้ และนั่นคือท่ีมาของ ความคลาดเคลอ่ื นระหวา่ งอตั มโนทัศนแ์ ละอัตตา ในการศึกษาเร่ือง “อัตตาและอัตมโนทัศน์” นับเป็นการศึกษาในเรื่อง พัฒนาการและส่วนประกอบซึ่งในที่นี้จะใช้คําว่า “อัตมโนทัศน์” แทนพัฒนาการของอัตมโนทัศน์ อัตมโนทัศน์เร่ิมพัฒนามาตั้งแต่วัยทารกเป็นส่วนหน่ึงของชีวิต โรเจอร์ (Roger) (Sturat and Sundeen, 1983 : 8-9) กล่าววา่ ขณะทท่ี ารกเร่มิ มีปฏสิ มั พนั ธ์กับสิ่งแวดลอ้ ม มโนทศั นแ์ ห่งตน ซ่ึง ไดร้ ับจากประสบการณ์จะเกดิ ข้ึน แมใ้ นขณะทยี่ งั ไมส่ ามารถใช้ภาษาพูด ทารกจะเรมิ่ รจู้ ักว่า สิง่ ใดคอื ฉนั สิง่ ใดเป็นฉนั ในระยะแรกของชีวติ กระบวนการแยกตัวเองเปน็ ไปได้ชา้ ต่อมาเมอื่ เริม่ พูดได้ การใช้ ภาษาจะช่วยให้มโนทัศน์แห่งตนพัฒนาได้ชัดเจนข้ึน ในระยะนี้ทารกเร่ิมแบ่งแยกสิ่งที่ตนชอบหรือ

99 ไม่ชอบและใหค้ ่านยิ มตามประสบการณท์ ีไ่ ดร้ บั ประสบการณท์ ี่ดี จะสง่ เสรมิ ตนใหค้ ่านิยมในทางบวก ประสบการณ์ทไี่ มด่ ีใหค้ า่ นยิ มในทางลบ ประสบการณ์เกยี่ วกับตนที่สาํ คญั ในวยั ทารก ไดแ้ ก่ การได้รับ ความรักหรือเป็นท่ีรักของบิดามารดา ซ่ึงการเลี้ยงดูเอาใจใส่ ความรัก ความอบอุ่น การทะนุถนอม ที่ได้รับเป็นประสบการณ์ท่ีสร้างความพึงพอใจ และมีอิทธิพลต่ออัตมโนทัศน์ เพราะสิง่ เหลา่ นี้ บอกให้ รวู้ ่าตนเปน็ ทีต่ อ้ งการและมีคณุ ค่า มีความผูกพนั ในสัมพนั ธภาพกับบิดา มารดา ต่อมาเมื่อบุคคลเร่ิม รับรู้การประเมินผลเกี่ยวกับพฤติกรรมและคุณลักษณะของตนจากบุคคลท่ใี กล้ชดิ โดยเฉพาะบคุ คลท่ี มีความสาํ คัญทําให้ได้ขยายการรับรู้เก่ียวกับตนเองเพิ่มมากข้ึน จึงกล่าวได้ว่า ในระยะแรกน้ัน บิดามารดา เป็นบุคคลสาํ คญั ทีม่ ีอิทธพิ ลตอ่ การพัฒนาอัตมโนทัศนข์ องเดก็ และเม่อื เดก็ เติบโตข้ึนก็มี ปฏสิ ัมพนั ธก์ ับบคุ คลอน่ื ๆ ประสบการณแ์ ละการประเมนิ ผลทางสงั คมทไ่ี ดร้ บั จะทําใหเ้ ดก็ ไดร้ ู้จักตนเอง มากขึ้นเร่ือยๆ ในขณะเดียวกันวัฒนธรรมและแบบแผนทางสังคมก็มีส่วนอย่างมากต่อการพัฒนา อตั มโนทัศน์และบุคลกิ ภาพของบคุ คล ดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ ว่า อัตมโนทัศน์พฒั นาจากปฏิสัมพันธร์ ะหว่าง บุคคลกบั สงิ่ แวดล้อม รวมท้ังประสบการณ์ทบี่ ุคคลรบั รูโ้ ดยการแปลผลจากบคุ คลผเู้ ปน็ เจา้ ของบคุ คลจึง มกั สนใจท่จี ะเปรยี บเทยี บแนวคามคิดเกย่ี วกบั ตนต่อมาตรฐานที่ยึดถือในสงั คม บคุ คลจะรบั รวู้ า่ ตนเป็น เช่นไรจากความคิดเห็นของบุคคลอ่ืนที่เกี่ยวข้องอัตมโนทัศน์ จึงพัฒนาตามวัยและวุฒิภาวะ จากประสบการณ์และสามารถพัฒนาไปในทางท่ีดีหรือไม่ดีก็ได้ ข้ึนกับการเรียนรู้และประสบการณ์ เหลา่ น้นั อัตมโนทศั นจ์ ะมีการพัฒนาไปได้เร่ือยๆ ตามระดับวฒุ ิภาวะและส่งิ แวดลอ้ ม ไม่มีการจํากัด เวลาและขอบเขตและเปล่ียนแปลงไปตามอายุของบุคคลนนั้ ๆ รวมทงั้ ยงั มีความสมั พนั ธก์ นั อย่างใกล้ชิด กับสภาพอารมณ์ เชน่ ความวติ กกงั วล การปรับตวั ทางด้านจิตใจ สภาพจติ อารมณ์ของบุคคลอีกด้วย บุคคลที่มีอัตมโนทัศน์ท่ีอ่อนแอหรือมีความรู้สึกเก่ียวกับตนไปในทางลบ มักจะขาดความเช่อื มนั่ ใน ตนเอง การรับรู้ต่อส่ิงต่างๆ มักจะอยู่ในวงแคบและมักจะเบี่ยงเบนไปจากความเป็นจริง มักจะ หวั่นไหวงา่ ย ระดับความวิตกกงั วลเพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็วและมกั จะสร้างเกราะปอ้ งกนั ตนเองสูงตรงกนั ข้ามกบั บคุ คลทีม่ อี ัตมโนทศั นท์ เ่ี ขม้ แขง็ หรอื มีความรสู้ กึ เกย่ี วกบั ตนเองไปในทางบวก มกั เป็นผทู้ ่เี ปดิ เผย และน่าเช่ือถือ ทั้งนี้เพราะมีพ้ืนฐานของประสบการณ์ ซ่ึงได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่น ประสบ ความสําเร็จในการอยู่ร่วมกบั บคุ คลอนื่ อัตมโนทัศน์ในทางทีด่ ีเปน็ ผลให้เกิดการรบั รทู้ ถี่ กู ตอ้ ง (http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog-post_7022.html 8 มถิ นุ ายน 2559) 6.2.3 สว่ นประกอบของอตั มโนทัศน์ ไดรเวอร์ (Driver, marie J, 1976 อ้าง ตามทัศนา บญุ ทอง,2544) นักจติ วทิ ยาได้แบง่ อัตมโนทัศน์ออกเป็น 2 ด้าน คอื อัตมโนทศั น์ดา้ น รา่ งกาย (physical self) และอตั มโนทัศนด์ า้ นส่วนตัว (personal self) 6.2.3.1 อัตมโนทศั น์ดา้ นรา่ งกาย (Physical Self) หมายถงึ การรบั รู้ เกีย่ วกับร่างกายของตนเองซง่ึ อธบิ ายได้ใน 2 ลักษณะ คอื ความสามารถในการทําหน้าท่ขี องร่างกาย และความสามารถในการควบคุมการทาํ หนา้ ทขี่ องร่างกายให้เหมาะสมกบั เวลาและสถานท่ี การรับรู้

100 เกี่ยวกบั รา่ งกายของตนเอง ยงั ครอบคลมุ ไปถึงการรจู้ ักตนเองในทางสรรี ภาพตามความเปน็ จริงท่ตี นเป็น เช่น ฉนั เป็นคนสูง เต้ีย ดาํ ขาว อว้ น ผอม ตามลักษณะทเ่ี ปน็ อยแู่ ละตนเองรับรู้ 6.2.3.2 อัตมโนทศั น์สว่ นบคุ คล (Personal Self) หมายถงึ การรบั ร้ขู อง บคุ คลเกยี่ วกบั คุณค่าของตนเอง เป็นความรสู้ กึ ที่เปน็ ส่วนตวั บคุ คลมีเกย่ี วกบั ตนเอง ท้งั ในดา้ นความเชอ่ื คา่ นิยม อดุ มคติ ความคาดหวงั และปณธิ านในชีวิต สง่ิ ตา่ งๆ เหลา่ น้ีมีผลต่อการดําเนินชวี ิตของบุคคล ความเชื่อม่ันและความรู้สึกในคุณค่าของตนเอง อัตมโนทัศน์ส่วนบุคคลน้ี รวมถึงลักษณะทางด้าน ร่างกาย หากแต่เปน็ นามธรรมซ่ึงมองได้ไม่ชดั เจน ตอ้ งใชก้ ารสงั เกตและพบไดบ้ ่อยท่ีผูอ้ ่นื มองอาจไม่ ตรงกบั ทเ่ี จ้าตัวมองตนเอง อัตมโนทศั น์ส่วนบุคคลนแี้ บง่ ออกได้เปน็ 1) อัตมโนทัศน์ด้านศลี ธรรมจรรยา (Moral-ethical self) เปน็ การรับรู้เก่ียวกับความถูกผิด ดีเลวที่บุคคลประเมินตนเอง อันเกิดจากการกระทาํ หรือความประพฤติ ท่ีฝ่าฝนื ค่านยิ มทางศลี ธรรมจรรยาทีต่ นเองยอมรับ และยดึ ถอื อยู่ในใจ 2) อัตมโนทศั น์ด้านความสมา่ํ เสมอแหง่ ตน (Self-consistency) เป็นความรูส้ ึกเก่ยี วกบั ตนเองในลักษณะประจาํ ตัวซึ่งคงท่ีบางประการของเราเอง เช่น เราร้จู ักตนเอง ว่าเป็นคนใจคอเยือกเย็น หนักแน่น ซงึ่ คุณสมบัตนิ ้ีเราร้วู ่าเรามีอยมู่ านานแล้ว จนกระทง่ั ขณะนี้เรากย็ ัง ยืนยันความรู้สึกเช่นเดิมที่มีต่อตนเอง ว่าเรามีลักษณะใจคอเยือกเย็น หนักแน่น หรือเรียกว่า เป็น ความสมาํ่ เสมอแห่งความเปน็ เรา ความเจ็บป่วยจะกอ่ ให้เกดิ ความสม่ําเสมอในบุคคลเสยี ไป ทําใหเ้ กดิ ความวิตกกังวลซง่ึ มผี ลกระทบต่อบคุ คลทงั้ ดา้ นร่างกาย จติ ใจ และการปฏบิ ัตติ ามบทบาทหนา้ ทีข่ อง บคุ คลอกี ด้วย 3) อตั มโนทศั น์ดา้ นปณธิ านหรอื ความคาดหวงั (Self ideal or Self expectation) เป็นความรู้สึกนึกคิด ทัศนคตเิ ก่ียวกบั ตนเองตามที่บคุ คลนั้น ปรารถนาจะเป็น บุคคลจะตงั้ ความคาดหวังเอาไว้วา่ ตนจะเปน็ อย่างนัน้ อยา่ งนี้ และจะพยายามเปลย่ี นแปลงตนเองให้ เปน็ อยา่ งทต่ี ง้ั ปณิธานเอาไว้ หากทําได้ความรู้สึกของบุคคลที่มีตอ่ ตนเองจะดีขน้ึ มีความม่ันใจข้ึน แต่ หากทาํ ไมไ่ ด้ความรูส้ ึกทม่ี ีตอ่ ตนเองจะลดลง คือรูส้ กึ ทอ้ ถอยและไรค้ ุณคา่ บทบาทในสงั คมเป็นส่ิงทม่ี ี อทิ ธิพลต่ออัตมโนทัศนด์ ้านปณิธานหรือความคาดหวัง ทําให้มนษุ ยม์ ปี ฏิกริ ยิ าการตอบสนองต่อสงั คม ในทางทีส่ งั คมส่วนใหญย่ อมรบั ความเจ็บปว่ ยมผี ลกระทบโดยตรงตอ่ การปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนา้ ท่ีของ บุคคลในหลายโอกาสที่ความเจ็บป่วย เปน็ สาเหตใุ ห้บคุ คลไมส่ ามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ทที่ างสังคมตามบทบาท ทต่ี นเคยปฏิบตั ติ ามปกตไิ ดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ความผิดหวงั และอาจเกดิ ความเศรา้ ใจไดห้ ากการเสยี บทบาทหน้าที่ น้นั เป็นไปอยา่ งถาวร (1) อัตมโนทัศน์ด้านการยอมรับนับถือตนเอง (Self Esteem) เป็นความรู้สึกนึกคิดท่ีเกี่ยวกับตนเองในคณุ คา่ หลายๆ ด้านท่ีตนเองมอี ยู่ โดยตนเองเป็น ผปู้ ระเมนิ จากคณุ คา่ ท่ตี นมองเห็นวา่ ตนมีอยหู่ รอื เปน็ อยู่โดยเปรียบเทยี บกบั คุณคา่ ที่ตนเองปรารถนา

101 อยากจะเป็น (Self ideal) หากตนเองมองเห็นว่าลักษณะท่ีตนเป็นอยู่นั้นคล้ายคลึงหรือเหมือนกับ ลกั ษณะทต่ี นอยากจะใหเ้ ปน็ บคุ คลจะเกิดความพงึ พอใจในความเปน็ ตนเอง ในสถานการณ์เช่นนบี้ ุคคล นั้นจะมีระดับของการยอมรบั นับถือตนเองสูง ในทางตรงกันขา้ มหากบุคคลมองเหน็ วา่ ลักษณะท่ตี น เปน็ อยูน่ ั้นแตกตา่ งหรือหา่ งไกลจากท่ีตนปรารถนาจะเป็นบุคคลจะไมพ่ งึ พอใจในตนเอง ระดบั การยอมรับ นบั ถอื ตนเองจะมนี ้อยขาดความมั่นใจ แสดงถงึ การยอมรับนบั ถือตนเองต่ํา 6.2.4 องคป์ ระกอบทท่ี ําให้อัตมโนทศั น์มกี ารเปลย่ี นแปลง อัตมโนทศั น์เปน็ ส่งิ ที่ ปฏิรปู มาจากประสบการณ์และสิ่งแวดล้อม เมือ่ ประสบการณ์และสิ่งแวดลอ้ มเปลย่ี นแปลงได้ อัตมโนทศั นจ์ ึงเป็นสง่ิ ทเี่ ปลี่ยนแปลงได้ และองค์ประกอบทีท่ ําใหอ้ ตั มโนทัศน์เปลีย่ นแปลงไป ได้แก่ 6.2.4.1 สงั คมทอี่ ย่อู าศยั การเป็นทยี่ อมรบั หรอื ไม่ยอมรับจากสังคมที่ตน อาศยั อยู่มีอทิ ธพิ ลตอ่ การเปลีย่ นแปลงอตั มโนทศั นข์ องบุคคล ท้ังในทางท่ดี ีขึน้ หรือเลวลง 6.2.4.2 ผใู้ กลช้ ิดและมีอทิ ธิพลเหนอื พัฒนาการของบคุ คลนน้ั เชน่ บิดา มารดา ครู ญาติ หรอื เพ่อื นสนิท ความไว้วางใจ ความเชอ่ื ถอื ทศั นคตทิ ค่ี นเหล่านม้ี ตี อ่ บุคคลนน้ั มผี ล ต่อการเปลย่ี นแปลงอัตมโนทศั นข์ องบคุ คลผ้นู ้นั 6.2.4.3 ปณิธานของบุคคลเอง เมื่อบุคคลตั้งปณิธานว่า อยากจะเห็น ตนเองเป็นอย่างใดอยา่ งหนึ่งและพยายามเปลย่ี นตวั เองตามนัน้ ก็จะทาํ ให้เกดิ การเปลีย่ นแปลง อตั มโนทศั นไ์ ปตามปณธิ านท่ตี นตัง้ ไว้ เปน็ ต้น 7. การพฒั นาการรู้จกั ตนเอง การพัฒนาการร้จู ักตนเอง คือ ความพยายามทีบ่ ุคคลจะทาํ ให้การรับรู้เก่ยี วกบั ตนเอง (self perception) หรือทีเ่ รยี กวา่ “อัตมโนทศั น์” ตรงกับความเปน็ จรงิ ตามธรรมชาตทิ บ่ี ุคคลนัน้ เปน็ อยู่ คอื ตรงกบั “อัตตา” ของบุคคลนน้ั การพฒั นาการรจู้ ักตนเอง จงึ สามารถกระทาํ ได้โดยพฒั นาการ ตระหนักรใู้ นตนเองหรือความมสี ตใิ นตนเอง ความเป็น “อตั ตา” จรงิ ๆ ตามธรรมชาติของบุคคล อาจจะมคี วามคลาดเคลอื่ นกันอยูบ่ ้างกับส่งิ ที่ตนคิดว่าตนเปน็ หรืออัตตาท่ีเรามองเห็นตวั เรา ทเี่ รียกวา่ “อัตมโนทศั น”์ และความคลาดเคลือ่ นเปน็ สาเหตุของความขดั แย้งไมป่ ระสมประสานของบคุ คลนน้ั ใน การอยูร่ ว่ มกนั กบั บคุ คลอื่นตามความเปน็ จรงิ ในสังคม บคุ คลทส่ี ามารถมองเห็นตนเองได้ตรงกับที่ตน เป็นจรงิ คอื ผู้ทรี่ จู้ กั ตนเองไดอ้ ยา่ งดี หากบุคคลสามารถรจู้ ักตนเองเปน็ อยา่ งดตี ามความเป็นจรงิ บุคคล นั้นจะสามารถอยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ กล่าวคอื บุคคลจะเปดิ เผย จรงิ ใจ และการแสดงออกของ บุคคลนั้นจะไมต่ อ้ งปกปิดและบคุ คลอ่นื กจ็ ะสามารถ “รู้จัก” บุคคลนนั้ ได้ตามความเปน็ จริง ในทาง ตรงกันข้ามบุคคลท่ีไม่รู้จักตนเอง โดยเฉพาะอย่างย่ิงตนเองในส่วนที่บกพร่องจะเป็นสาเหตุของ ความขดั แย้งและความทุกขท์ งั้ มวล บุคคลที่ไมร่ จู้ ักตนเองจะไม่สามารถใชต้ นเองเป็นส่ือในการบําบดั

102 ทางจติ แก่ผูอ้ ืน่ ได้ การรจู้ ักตนเองจะมีได้มากหรือนอ้ ยหรอื ตรงตามความเปน็ จรงิ แค่ไหนนั้นขึน้ อยูก่ บั ระดับของการตระหนักรู้หรือการรู้สติในตนเองที่บุคคลน้ันมีอยู่ การตระหนักรู้ในตนเองจึงเป็น ความจําเป็นอย่างยง่ิ ทบ่ี คุ คลจะต้องทาํ ความเขา้ ใจและหาคาํ ตอบ วา่ ตรงสว่ นไหนในความเป็นเราเองท่ี เรายังไม่ตระหนกั ท้ังนกี้ ารตระหนกั รู้ในตนเองจะทําให้บคุ คลไดเ้ ข้าใจตนเองและทําใหม้ นษุ ยอ์ ยใู่ นโลกน้ี ได้อย่างมีความสุข ขอบเขตของการตระหนักรู้ในตนเองของบุคคล ชีวิตมนุษย์เป็นกระบวนการ เปล่ยี นแปลง เมอื่ ชวี ติ ดาํ เนินไปมนษุ ยม์ ปี ระสบการณม์ ากขึน้ การเรียนรู้เพิม่ ขน้ึ ความเป็น “ตนเอง” หรอื อัตตาของบคุ คลจะค่อยๆ เปลย่ี นไปดว้ ยและมนุษยแ์ ต่ละคน ร้จู กั ตนเองและมีความตระหนักใน ความเปน็ ตนเองในขอบเขตทไี่ ม่เทา่ กนั บางคนตระหนกั รู้ในตนเองได้ใกลเ้ คียงกับความเปน็ จรงิ และใน ขอบเขตท่ีกวา้ ง ในขณะทบี่ างคนตระหนักรู้ในตนเองแตกตา่ งจากความเป็นจริงโดยธรรมชาติและยงั รู้จักตนเองเพียงนิดเดียวหรือในขอบเขตที่แคบอีกด้วย ในการศึกษาถึงการตระหนักรู้ในตนเอง นกั จติ วิทยามีความเหน็ พ้องต้องกนั วา่ ไม่มีผูใ้ ดในตนเองได้หมดทุกแง่ทกุ มมุ มีอตั ตาเพียงบางส่วน เท่านัน้ ท่บี ุคคลตระหนัก หากบางสว่ นซึง่ เป็นส่วนที่อยภู่ ายใน (inner self) บคุ คลอาจไมไ่ ดต้ ระหนัก เสยี ก็ได้ จากการอธบิ ายทฤษฎกี ารรจู้ กั ตนเอง ปัจจยั ส่งเสริมการรู้จกั ตนเอง มโนมติพืน้ ฐาน และการพฒั นาในการรจู้ กั ตนเองขา้ งต้นน้ัน ทําใหเ้ รารู้จกั ตนเอง และตระหนักรู้ในตนเองมากย่ิงข้ึน การตระหนักรู้ในตนเองเป็นความจําเป็นอยา่ งย่ิงทบี่ คุ คลจะตอ้ งทําความเขา้ ใจ ผเู้ ขยี นจงึ ขอเสนอ ตระหนักรูใ้ นตนเองหรอื ความมีสตใิ นตนเอง เพอ่ื ใหผ้ ู้อา่ นไดเ้ รียนรู้อยา่ งถ่องแท้ มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้ ภาพท่ี 39 แสดงภาพการตระหนักรใู้ นตนเอง (ที่มา https://www.google.co.th/search 8 มิถนุ ายน 2559)

103 8. การตระหนกั รู้ในตนเอง การตระหนักรู้ในตนเอง เป็นส่ิงที่พัฒนาได้และวิธีการพัฒนา คือการพยายามค้นหา ตนเองให้พบ (self discovery) และตอบคาํ ถามให้ได้ว่าตนคือใคร กระบวนการในการพัฒนา ความตระหนกั ในตนเอง ผทู้ จ่ี ะพฒั นาการตระหนกั รใู้ นตนเองไดด้ ี จะตอ้ งมีความกลา้ มคี วามเชอ่ื มน่ั และ ยอมรับ รวมท้ังต้องมีเจตคติท่ีดีต่อการพัฒนาและการเปล่ียนแปลงอีกด้วย เพราะการค้นหาข้อมูล เกีย่ วกบั ตนเองบางอย่างเปน็ ความรู้สึกเจ็บปวดและเสียหน้า บุคคลจะต้องยอมรับใหไ้ ด้ว่า ไม่มใี ครใน โลกทสี่ มบูรณพ์ ร้อมและไม่มอี ะไรต้องแก้ไข การยอมรับและพัฒนาจะชว่ ยใหบ้ คุ คลไดม้ ีความตระหนัก ในตนเองมากขนึ้ และสามารถดาํ เนนิ ชวี ติ ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ขนึ้ (http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog-post_7022.html 8 มถิ นุ ายน 2559) 8.1 ความหมายของการตระหนักรใู้ นตนเอง โกลแมน (Goleman, 1998 : 318) การตระหนักรอู้ ารมณข์ องตนเอง (Self- awareness) หมายถงึ การรับรอู้ ารมณ์ความรู้สกึ ของตัวเองในขณะนนั้ และใช้อารมณท์ ่ดี ีนนั้ เปน็ แนวทาง ในการตัดสินใจได้ สามารถประเมนิ ความสามารถของตนเองได้ตรงตามความเป็นจริงและมีความรสู้ กึ มั่นใจในตนเอง เมเยอร์และสโลเวย์ (Mayer and Salovey, 1997) การตระหนักร้ใู นอารมณ์ ตนเอง (Know one’s emotion) ว่า เปน็ การสังเกตและรบั ร้อู ารมณข์ องตนเองว่าเปน็ อยา่ งไร ท้ังใน ยามปกติและยามอารมณ์ไม่ปกติ ร้ถู งึ ลกั ษณะของอารมณ์ การแสดงออกตามอารมณ์ตา่ งๆ ตลอดจน ผลย้อนกลบั จากการเกดิ อารมณข์ องตนตามความเป็นจริง คอฟกา (วสกิ าส ญาณสาร. 2550: 17, อ้างอิงจาก Koffka, 1978) การตระหนกั รู้ ในตนเอง เป็นภาวะทางจิตทเี่ ก่ยี วกับความรู้สกึ ความคดิ และความปรารถนาต่างๆ เกิดการรบั รูแ้ ละ ความสาํ นกึ เป็นสภาวะทีบ่ ุคคลได้รบั รู้หรอื ประสบการณ์ได้ประสบการณต์ า่ งๆ แลว้ มกี ารประเมนิ คา่ และตระหนักถึงความสาํ คัญท่ีตนเองมีสิ่งนั้นๆ ซึ่งเป็นสภาวะตื่นตัวของจิตใจต่อเหตุการณ์น้ันๆ ส่ิงเร้าภายนอกเป็นปจั จัยทท่ี าํ ใหบ้ ุคคลเกดิ การตระหนกั รู้ในตนเองขึน้ ซาโลเวย์และสเตริ์นเบร์กิ (Salovey and Sternbery) (กรมสขุ ภาพจิต. 2544) การตระหนกั รูใ้ นตนเอง คือ การเข้าใจความรสู้ กึ ทเ่ี กิดขนึ้ สามารถแสดงอารมณไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมใน สถานการณ์ต่างๆ ซง่ึ เป็นสิง่ สาํ คัญที่นําไปส่กู ารเข้าใจตนเองในด้านจติ ใจ เทดิ ศกั ดิ์ เดชคง (2545: 18) การตระหนักรใู้ นตนเอง หมายถึง ความเขา้ ใจ ตนเอง (Self-awareness) การเขา้ ใจในความรูส้ กึ ของตนเอง การเขา้ ใจและมีจุดมุ่งหมายของชีวิต (goal) ทง้ั ระยะส้นั และระยะยาว ตลอดจนรขู้ อ้ เด่นและจุดดอ้ ยของตนเองอย่างไม่ลําเอียง

104 ผอ่ งพรรณ เกดิ พิทกั ษ์ (2545: 15) การตระหนักรใู้ นตนเอง หมายถึง รจู้ กั และ เข้าใจความรู้สกึ ตนเอง รจู้ ุดเด่น จดุ ด้อยของตนเอง สามารถควบคุมจัดการและแสดงอารมณ์ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม มสี ตทิ ่ีสามารถรบั รู้และตระหนกั ได้ว่าขณะนก้ี าํ ลงั ทาํ อะไร รสู้ กึ อย่างไร ตลอดจนสามารถ รับรู้เกี่ยวกับสภาพแวดลอ้ มได้อย่างเหมาะสม (ทศั นีย สรุ ิยะไชย,2554 : 34) การตระหนักรู้ในตนเองหรือการรู้สติในตนเอง (Self awareness) เป็น ภาวะซึ่งบุคคลรู้สึกตัวหรือรู้สติในความเป็นตัวเองและสิ่งแวดล้อมรอบตวั ขณะน้ัน เป็นความรู้สติ ของบุคคลครอบครัวถึงความคดิ ความรสู้ กึ และการกระทาํ ของตนในขณะนั้น รวมไปถึงความรู้สติของ บุคคลในแงท่ ่วี า่ ตนเป็นใคร และตนรูส้ ึกอย่างไรในขณะน้นั (http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog-post_7022.html 8 มถิ ุนายน 2559) โดยสรุป การตระหนักร้ใู นตนเอง (Self-awareness) หมายถึง เปน็ การสังเกต และรับรูอ้ ารมณ์ของตนเองโดยผ่านภาวะทางจติ ทเี่ กีย่ วกบั ความรสู้ ึก ความคิดและความปรารถนาต่างๆ เกดิ การรบั รแู้ ละความสาํ นึก สามารถแสดงอารมณไ์ ด้อยา่ งเหมาะสมในสถานการณต์ ่างๆ 8.2 ความสาํ คญั ของการตระหนักร้ใู นตนเอง อาดลี บี ลนิ (Adele B. Lynn, 2005: 169) กล่าววา่ ผู้ที่มีการตระหนักร้ใู น ตนเองในระดับมากมักจะไม่รสู้ ึกตกใจกบั ปฏิกริ ิยาตอบสนองทางอารมณข์ องตนเอง และการตระหนักรู้ ในตนเองยงั ทาํ ใหบ้ ุคคลสามารถตรวจสอบตัวกระตนุ้ ทางอารมณเ์ ป็นสาเหตใุ ห้เกิดปฏกิ ิรยิ าตอบสนอง ได้อีกด้วย จุดมุ่งหมายของการฝึกฝนตนเอง คือ เพ่ือเพิ่มการตระหนักรู้ตัวกระตุ้นทางอารมณ์ อาดลี บี ลิน (Adele B. Lynn) กลา่ ววา่ ผ้ทู มี่ คี วามสามารถทางอารมณท์ เ่ี รยี กวา่ เป็นผตู้ ระหนกั รใู้ น ตนเองจะมีการเห็นในคณุ ค่าของตนเองสูง มีความเชอื่ มั่นในตนเองมากและรู้ถึงผลกระทบของการปรบั ลดคุณลักษณะเหล่านี้ให้เกิดขึ้นได้ด้วย การทาํ ความเข้าใจอารมณ์ถือเป็นจุดสําคัญของการสร้าง ความสมั พนั ธท์ ด่ี ตี ่อบคุ คลอน่ื และชว่ ยใหเ้ กดิ อารมณ์ทางบวกของตนเองใหเ้ หมาะสมเมอื่ ตดิ ต่อสมั พันธ์ กับผอู้ ืน่ ในทที่ าํ งาน ในทางตรงกันข้าม ผู้ที่มกี ารตระหนักรู้ในตนเองระดับตํา่ นัน้ จะเป็นทร่ี บั รไู้ ดจ้ าก สายตาคนภายนอกวา่ บคุ คลนนั้ ไมส่ ามารถสมั ผสั อารมณห์ รอื รบั ร้อู ารมณข์ องตนเองไดอ้ ยา่ งลกึ ซงึ้ เขา จะไมเ่ ขา้ ใจอารมณ์ตนเองอย่างแทจ้ ริงวา่ ตนเองกําลงั รู้สึกอย่างไร ดว้ ยเหตุน้ี เขาจงึ ไมต่ ระหนักว่า อารมณข์ องตนเองจะมีผลกระทบต่อผู้อ่ืนอย่างไร ทําให้ไมสามารถเข้าใจจุดแข็งและจดุ อ่อนของ ตนเองไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ซึ่งจะทาํ ใหเ้ กดิ จุดบอดในการพัฒนาเปา้ หมายและจดุ มุ่งหมายต่างๆ ได้ นันทนา ธรรมบุศย์ (ปยิ นาถ สทิ ธิฤทธิ์, 2549 : 18) การเข้าใจตนเองและ การยอมรบั ในตนเองเป็นส่งิ สําคญั ในการพฒั นาตน ผทู้ ไ่ี มร่ ้จู ักตนเองยอ่ มไม่อาจทราบได้วา่ ตนคือใคร ตนมขี อ้ ดีขอ้ บกพร่องอย่างไร ตนมบี ทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบอะไรบ้าง ซึง่ จะเปน็ อุปสรรคที่ ขัดขวางไม่ให้คนกา้ วไปสูค่ วามเจรญิ กา้ วหนา้ และความสําเร็จของชวี ติ ตรงกนั ขา้ มกบั ผูท้ ีร่ จู้ กั ภาพของ

105 ตนอย่างแท้จริง ย่อมสามารถกาํ หนดแนวทางชีวิตให้อยู่ในทิศทางซ่ึงมีความหมายตามท่ีต้องการ การรจู้ ักตนเองยังทําให้เรามองเหน็ ขอ้ บกพร่องหรือจุดอ่อนของตนเอง โดยเฉพาะถา้ บุคคลน้นั เปน็ คน ท่มี กี ารยอมรบั ในตนเองแล้วก็จะมคี วามเตม็ ใจมากยง่ิ ขนึ้ ท่จี ะปรบั ปรุงตนให้มคี วามเจริญงอกงามใน ทกุ ด้าน (ทัศนยี สรุ ยิ ะไชย,2554 : 35-36) 8.3 องคป์ ระกอบของการตระหนกั รใู้ นตนเอง โกลแมน (Goleman, 1998 : 54-72) ไดแ้ บง่ องค์ประกอบของการตระหนักรู้ ในตนเองไว้ 3 ด้าน ดังนี้ 8.3.1 การตระหนักรอู้ ารมณต์ นเอง (Emotional awareness) หมายถงึ การตระหนักรถู้ งึ ผลของอารมณ์ท่ีมีต่อพฤตกิ รรมการแสดงออกของตนเอง และสามารถใชอ้ ารมณ์เพ่ือ เปน็ แนวทางในการตดั สินใจ ประกอบด้วย 8.3.1.1 ร้อู ารมณค์ วามรู้สกึ ของตนเองและสาเหตุของการเกิดอารมณ์ น้นั ๆ 8.3.1.2 ตระหนกั รถู้ งึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างอารมณ์และความคดิ การกระทาํ และคาํ พูด 8.3.1.3 ยอมรับได้วา่ อารมณ์ความรู้สึกของตนเองมผี ลตอ่ พฤตกิ รรม การแสดงออก 8.3.1.4 มีแนวทางในการตระหนกั ถึงคุณคา่ และเปา้ หมาย 8.3.2 การประเมินตนเองตามความเปน็ จรงิ (Accurate self-assessment) หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะหจ์ ดุ แขง็ และขอ้ จํากัดของตัวเองไดอ้ ย่างตรงไปตรงมา มีความตอ้ งการปรบั ปรงุ ตนเอง และสามารถเรยี นรจู้ ากประสบการณต์ า่ งๆ ได้ ประกอบด้วย 8.3.2.1 ร้จู ุดเด่นจดุ ด้อยของตัวเอง 8.3.2.2 สามารถไตร่ตรองและเรยี นรจู้ ากประสบการณต์ ่างๆ ได้ 8.3.2.3 เปิดใจรับข้อมลู สะทอ้ นกลบั มมุ มองความคดิ ใหม่ๆ เรียนร้อู ย่าง ต่อเนือ่ งและมกี ารพัฒนาตนเอง 8.3.2.4 สามารถมอี ารมณ์ขนั ตอ่ ตัวเองได้ 8.3.3 ความมนั่ ใจในตนเอง (Self-confident) หมายถงึ การมีความกลา้ และมี ความเชื่อม่นั ในความสามารถ ความมคี ุณคา่ และจดุ มงุ่ หมายของตวั เอง ประกอบด้วย 8.3.3.1 แสดงตนได้อยา่ งมัน่ ใจ ดว้ ยการมี “ตัวตน” ของตวั เอง 8.3.3.2 สามารถแสดงความคดิ เหน็ ทแี่ ตกต่างจากคนส่วนใหญแ่ ละ ยืนยันในสิง่ ทถ่ี กู ต้อง 8.3.3.3 มีความเด็ดขาด สามารถที่จะตดั สินใจได้อยา่ งเดด็ เดยี่ ว

106 แมจ้ ะรู้สึกไมม่ น่ั ใจและอยู่ท่ามกลางสถานการณท์ ่ีกดดนั และไมแ่ น่นอน 8.4 ระดบั ของการตระหนกั รใู้ นตนเอง ระดับของการตระหนกั รใู้ นตนเองจะมมี ากนอ้ ยเพียงใด ขนึ้ อยกู่ บั ปัจจยั 5 ประการ ได้แก่ 8.4.1 ระดบั วฒุ ิภาวะของบุคคล 8.4.2 สภาวะสขุ ภาพ 8.4.3 ภมู หิ ลังดา้ นขนบธรรมเนียมประเพณี 8.4.4 สง่ิ แวดลอ้ มท่ัวไป 8.4.5 สมั พนั ธภาพที่บคุ คลมตี ่อบุคคลอื่นท่ัวไป 8.5 กระบวนการของการตระหนักรู้ในตนเอง การตระหนกั รู้ในตนเอง จะพัฒนาเป็นกระบวนการตอ่ เนอ่ื งไมม่ ีวนั จบส้ิน จงึ ไมม่ ี บุคคลใดที่มีความตระหนักรู้ในตนเองหรือรู้สติในตนเองสมบูรณ์ครบถ้วน ถึงระดับสูงสุดที่ไม่ต้อง มีความตระหนักในส่ิงใดเพิ่มเติมอีก หากแต่การตระหนักรู้ในตนเองสามารถพัฒนาเพ่ิมข้ึนได้เรื่อยๆ นกั จติ วทิ ยาเชอ่ื ว่า ความสุขในชวี ิตเป็นประสบการณ์ท่ีดที จ่ี ะชว่ ยให้บคุ คลได้เพมิ่ การตระหนักรใู้ นตนเอง หรือรู้สติในตนเองได้ดีขนึ้ การตระหนกั รู้ในตนเองน้ัน มีดังตอ่ ไปน้ี 8.5.1 การตระหนกั ในตนเองในฐานะบุคคล การตระหนกั ในตนเองในฐานะบุคคล (Self as a Person) ความเป็น ตนเองของแต่ละคนแตกต่างกัน แต่ละคนมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง มีแบบแผนของตนในเร่อื ง ค่านยิ ม เจตคติ ความรสู้ กึ แนวความคดิ และความต้องการ ซ่งึ ความแตกต่างเหลา่ น้ี เปน็ ผลมาจาก พันธกุ รรมซง่ึ แตล่ ะคนไม่เหมอื นกันต้ังแต่กาํ เนิดแลว้ ยังมคี วามเชอื่ และคา่ นิยมซึ่งพัฒนาขึ้นจากแต่ละ ครอบครัว แต่ละสังคม วัฒนธรรม การศึกษาและสัมพันธภาพที่บุคคลมีต่อบุคคลอ่ืนๆ เหล่าน้ีมีผล ทําให้แต่ละคนไม่เหมือนกัน ความไม่เหมือนกันเหล่านี้ จะต้องตระหนักว่า ตนเองเป็นอย่างไร การแสดงออกในลกั ษณะของการกระทํา การพดู การคดิ หรอื การรสู้ กึ จะมผี ลกระทบต่อการเปล่ยี นแปลง ทเี่ รียกว่า “ผู้กอ่ ใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลง” (change agent) ไมว่ ่าจะเปน็ ทิศทางทถี่ ูกต้องที่ควรจะเปน็ หรอื ในทางท่ีไม่ถูกต้องกต็ าม 8.5.2 เป้าหมายของการเปล่ยี นแปลง เป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง คือ การเปล่ียนแปลงไปในทิศทางทจี่ ะ เป็นประโยชน์ คือ การพัฒนาบคุ ลิกภาพและแนวคดิ ตามความเปน็ จริง และการตระหนักรใู้ นตนเองนี้ จะต้องมีอยู่ตลอดเวลา ความตระหนักรู้ในตนเองในฐานะบคุ คล ว่า ตนเองเป็นบคุ คลลักษณะไหนและ การตระหนกั ร้ใู นตนเองนจี้ ะตอ้ งมอี ยตู่ ลอดเวลา หรอื กล่าวอีกนยั หนึ่ง จะต้องมสี ตใิ นความเปน็ ตนเองใน ฐานะบคุ คล ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปนี้

107 8.5.2.1 คา่ นิยมอยา่ งไรทีฉ่ นั ยดึ ถืออยู่ 8.5.2.2 อะไรคือส่งิ ทร่ี บกวนฉัน (สิ่งทฉี่ ันไมช่ อบ) 8.5.2.3 อะไรที่ทาํ ใหอ้ ารมณฉ์ ันเปลี่ยน และเปลย่ี นไปในลกั ษณะไหน 8.5.2.4 ฉนั เปน็ คนประเภท “อะไรกไ็ ด”้ ทั้งตอ่ ตนเองและกับผ้อู ื่น หรือไม่ 8.5.2.5 อุปนสิ ยั ของฉันเปน็ อย่างไร รวมทงั้ รปู ร่างลกั ษณะ ทา่ ทาง และ การพดู 8.5.2.6 ฉบั ตอบโตต้ อ่ สถานการณ์ต่างๆ อยา่ งไร 8.5.2.7 ฉันมองเหน็ ความสามารถของตนเองเกินกว่าหรือตาํ่ กวา่ ความเปน็ จริง 8.5.2.8 ฉันตดั สินใจอะไรไดย้ ากหรอื งา่ ยเพียงใด 8.5.2.9 ฉนั ชอบและนบั ถอื ตนเองบา้ งไหม 8.5.2.10 ฉันมคี วามสมั พนั ธก์ บั คนอื่นๆ อยา่ งไร 8.5.2.11 ฉนั ใชช้ ีวติ อย่างไร (ปฏบิ ัติตนอย่างไร) ในชวี ติ ทผ่ี ่านมา 8.5.2.12 ฉันเปน็ คนเขา้ ใจคนอนื่ หรือไม่ คําถามเหล่าน้ี จะช่วยใหเ้ ราได้ประเมินเพือ่ ทาํ ความร้จู กั ตนเอง และจาก คาํ ตอบที่ไดจ้ ะบอกเราอยา่ งครา่ วๆ วา่ เราเปน็ คนอยา่ งไร เราดาํ เนินชีวติ ประจาํ วัน ตอบโตต้ ่อบคุ คลอืน่ และส่งิ แวดล้อมอยา่ งไร ส่งิ เหล่านี้ จะช่วยให้เราได้ตระหนักรใู้ นตนเองในข้อดี ข้อจํากดั ได้ (http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog-post_7022.html 8 มิถุนายน 2559) การตระหนกั รใู้ นตนเองหรือความรสู้ กึ ในความเป็นตนเอง จงึ ถือเปน็ ปจั จุบันซงึ่ บุคคลรับรูแ้ ละเผชญิ กบั สิ่งต่างๆ ในชีวิตขณะนนั้ ๆ มีความหมายตรงกนั ขา้ มกบั ประสบการณแ์ ละการรบั รู้ ซง่ึ บคุ คลได้จากการเรียนรู้วา่ อะไรคือสิ่งที่ “ควร” หรอื “ไม่ควร” และความรู้สตใิ นความเป็นตนเอง ยังมีความหมายตรงกันข้ามกับความคิด ความรู้สึก และการกระทาํ ที่ได้ผ่านมาแล้วในอดีตหรือท่ีจะ กระทาํ ต่อไปในอนาคต หากแต่การรู้สติในตนเองเป็นความรู้สึกที่บุคคลรับรู้ถึงสภาวะการณ์แห่งตน ขณะน้ันโดยเฉพาะการตระหนักรู้ในตนเอง นอกจากจะต้องรู้จักว่า ตนเป็นใครแล้วยังรวมถึงการรู้สติ ด้วยว่า อะไรที่ทําให้ตนเป็นอย่างท่ีกําลังเป็นอยู่ แนวความคิดเป็นไปในลักษณะไหนและอะไรคือ สิ่งท่ีคาดหวัง เป็นต้น บุคคลจะต้องเป็นผู้ตระหนักรู้ในตนองได้ จะต้องรู้จักตนเองอย่างดี การรู้สติ ในตนเอง จึงมีความสมั พนั ธก์ นั อย่างใกล้ชิดกบั “ตน” และมโนทัศน์แห่งตน กล่าวคอื บคุ คลจะตอ้ ง เปน็ ผูร้ จู้ กั ตนและมโนทศั นแ์ หง่ ตนเทา่ น้ันจงึ จะเปน็ ผู้มคี วามตระหนกั ในตนเองได้ และการร้จู กั ตนเองน้ี จะต้องครอบคลุมภาพลกั ษณแ์ หง่ ตน (self image) อดุ มการณท์ ี่ตนมี (self ideal) และความสํานึก ในคุณคา่ แหง่ ตน (self esteem)

108 (http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog-post_7022.html 8 มิถุนายน 2559) 8.6 หลกั สําคญั ในการพฒั นาการตระหนกั รูใ้ นตนเอง หลักสําคญั ในการพฒั นาความตระหนกั ในตนเอง กระทําได้โดย 4 วิธี โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี 8.6.1 การพิจารณาตนเอง หรอื การประเมินตนเอง การพจิ ารณาตนเอง หรอื การประเมนิ ตนเอง (Self assessing) เปน็ การตรวจสอบและเก็บรวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกบั ตนเองทุกดา้ น เพ่อื ทําความร้จู ักตนเองท่ีแท้จริง โดยการประเมินตนเองใน 3 ดา้ น ดงั นี้ 8.6.1.1ด้านรา่ งกาย ดา้ นร่างกาย (Physical self) หมายถึง เจตคติ การรับรู้ และ ความร้สู ึกของบคุ คลในส่วนทเ่ี กยี่ วกบั ตนเองด้านสรีรวทิ ยา รวมถึงรปู รา่ งหน้าตาและการทาํ หน้าท่ขี อง ร่างกาย ซ่งึ บคุ คลแตล่ ะคนให้ความสําคัญกับส่วนต่างๆ ของรา่ งกายไม่เทา่ กนั เชน่ ผหู้ ญิงมกั ให้ ความสําคัญกบั ใบหน้ามากกวา่ ส่วนอื่น เป็นตน้ ความรสู้ ึกทบ่ี ุคคลมีตอ่ ตนเองในดา้ นรา่ งกายจะมผี ล ต่อความรู้สึกท่ีมีต่อความเป็นตนเองโดยรวม ดังเช่น บุคคลท่ีมีความพอใจต่อรูปร่างหน้าตาของตน มกั จะมอี ตั มโนทศั นไ์ ปในทางบวก เปน็ ตน้ การประเมนิ ตนเองดา้ นรา่ งกาย สามารถทําได้โดยใหบ้ ุคคล ทดลองวาดภาพ “ตนเอง” แล้วใหล้ องตอบคําถามดงั ตวั อยา่ งต่อไปนี้ 1) การวาดภาพตัวเอง มีความยากลําบากหรือไม่ 2) ท่านรสู้ กึ ว่าการวาดภาพอวยั วะบางสว่ นยากกวา่ อกี ส่วนหน่ึง บ้างหรือไม่ ตรงสว่ นใด 3) ทา่ นรู้สึกว่าอวัยวะบางส่วนมคี วามสําคญั เป็นพิเศษหรอื ไม่ 4) ท่านไดเ้ รยี นรู้อะไรใหมๆ่ เกย่ี วกับรปู ร่างหน้าตาของท่านบ้าง จากการวาดภาพตัวท่านเอง 8.6.1.2 ดา้ นอดุ มการณห์ รอื ปณธิ าน (Self ideal) ดา้ นอดุ มการณห์ รอื ปณิธาน (Self ideal) ซงึ่ รวมกบั ตนเองในทาง ศีลธรรมจรรยา คา่ นยิ ม และความคาดหวังในชวี ติ สิง่ เหล่าน้ี เป็นตัวเองในทางส่วนตัว อาจประเมินได้ โดยการลองตอบคําถามดงั ตัวอย่างต่อไปนี้ 1) ท่านประสงคจ์ ะให้รปู รา่ งหนา้ ตาของท่านเป็นไปในลกั ษณะใด 2) ทา่ นประสงค์อะไรในการมสี ัมพันธภาพกบั บคุ คลอน่ื 3) ท่านตอ้ งการใหบ้ คุ คลอื่นมองเหน็ วา่ ท่านเปน็ คนลักษณะใด 4) ทา่ นปรารถนาทจ่ี ะกระทาํ สิ่งใดบา้ งหรือไม่ในขณะนแี้ ละ ในอนาคต

109 5) อะไรคอื สง่ิ ทีท่ า่ นยดึ ถือปฏบิ ตั เิ ป็นกจิ วัตร 6) อะไรคอื ส่งิ ที่ทา่ นว่าไมค่ วรปฏิบัตใิ นการดาํ เนนิ ชวี ิต 7) ความดใี นความเหน็ ของท่านคืออะไร 8) ความไม่ดใี นความเห็นของท่านคอื อยา่ งไร 8.6.1.3 ด้านความสาํ นกึ ในคณุ คา่ แห่งตน ดา้ นความสาํ นกึ ในคณุ ค่าแห่งตน (Self esteem) เป็นการประเมนิ ถึงความรู้สึกการมีคุณค่าแห่งตน บุคคลจะประเมินได้จากการเปรียบเทียบจากเกณฑ์ที่ตนตั้งไว้หรือ โดยการเปรยี บเทียบกับบคุ คลอน่ื หากความรูส้ กึ ท่ีบุคคลมีตอ่ ตนเอง ในปจั จุบนั ต่ํากวา่ ความคาดหวงั ท่ี บุคคลไดต้ ง้ั ไว้ ระดบั ของความร้สู กึ มคี ณุ คา่ แหง่ ตนจะต่ํา ในทางตรงกนั ขา้ ม หากความรสู้ ึกท่บี คุ คลมี ต่อตนเองในปัจจบุ ันเปน็ ไปตามท่ีตนได้ต้ังปณิธานไว้ บคุ คลจะรูส้ ึกวา่ ตนมีคณุ ค่าและยอมรบั นบั ถอื ตนเอง เป็นต้น การประเมนิ ความรสู้ กึ มคี ุณคา่ อาจกระทาํ ได้โดยการทดลองตอบคาํ ถามดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี 1) ท่านพงึ พอใจการปฏิบตั ติ นของท่านเก่ียวกบั งานหรือไม่ 2) ท่านพึงพอใจการปฏบิ ตั ติ นในการดําเนนิ ชีวิตประจําวันอยา่ ง ท่ที า่ นปฏบิ ตั อิ ยู่หรือไม่ 3) ลองทบทวนความรสู้ กึ ทท่ี า่ นเคยรสู้ ึกตอ่ ตัวทา่ นเองในทางท่ี เลวร้ายท่สี ดุ ทเี่ พ่งิ ผา่ นไป คืออะไร ท่านได้กระทาํ อยา่ งไร และท่านได้เคยคาดหวงั อะไรไว้ในส่ิงนั้นๆ การประเมนิ จากขอ้ คําถามดังกลา่ ว มาแล้วจะชว่ ยให้บุคคลไดร้ ับ รคู้ วามเปน็ ตนเองโดยรวม ในสว่ นที่เรียกว่า “อตั มโนทัศน์” ซง่ึ ยังไม่เพยี งพอ บคุ คลยังตอ้ งประเมิน ความรู้ในปัจจบุ นั ของตนด้วย และส่วนนค้ี อื สว่ นทเี่ รยี กว่า “ความตระหนกั ในความเปน็ ตนเอง” โดย พยายามแยกแยะความรสู้ ึก และคน้ หาสาเหตุแหง่ ความรู้สกึ นั้นๆ โดยทดลองตอบคาํ ถามดงั ตวั อยา่ ง ต่อไปนี้ 1) ฉันรสู้ ึกอย่างไรในขณะท่ี (สบาย ไม่สบาย อดึ อัด ผา่ นคลาย) 2) อะไรคอื ความรสู้ ึกทฉ่ี นั กําลงั เปน็ อยู่ (กลวั โกรธ รสู้ กึ ผดิ บาป สนุกสนาน เศรา้ ) 3) มีอะไรเกิดขึน้ ท่ที ําใหฉ้ นั รู้สกึ อย่างที่เป็นอยู่ การประเมินดงั กลา่ วแลว้ นี้ เป็นกระบวนการคน้ หาตนเอง ซึง่ เปน็ ปจั จัยสาํ คญั ท่ีจะทําใหบ้ คุ คลไดต้ ระหนกั ในตนเอง ขอ้ พงึ ตระหนัก คอื การประเมนิ ตนเองจะต้อง กระทาํ อย่างยุติธรรมและเป็นกลาง เป็นการเปิดโอกาสให้บคุ คลไดส้ ําเร็จตนเองในดา้ นความคดิ ความร้สู กึ ความตอ้ งการ คา่ นยิ ม เปา้ หมาย และปญั หาในชีวิต ซึ่งเปน็ องค์ประกอบสาํ คญั ในการรจู้ ักตนเอง 8.6.2 การรบั ฟังจากบคุ คลอืน่ การเรียนรูจ้ ักตนเองจะสมบรู ณไ์ ม่ได้ หากปราศจาก ความสัมพนั ธท์ ่ีต้องมกี ับบุคคลอื่น การมสี ัมพันธภาพกับบคุ คลอ่ืน จะทาํ ให้บคุ คลได้เรยี นรู้จักตนเอง

110 ชัดเจนข้ึน ดังคาํ กล่าวที่ว่า “บุคคลอื่นเป็นกระจกเงาที่ดีท่ีสุด” นั่นก็คือ บุคคลไม่สามารถรู้จักตนเอง ได้หมดมีธรรมชาติหลายๆ อย่างในบุคคล ซึ่งเจ้าตัวไม่ทราบและไม่ได้ตระหนัก หากแต่บุคคลอ่ืน มองเห็นชัดเจน ตามที่เรียกว่า เป็นบริเวณจุดบอดในบุคคลตามการวิเคราะห์โดยหน้าต่างโจ-แฮร่ี ดังไดก้ ลา่ วแล้ว ธรรมชาติในสว่ นน้ี เจา้ ตวั จะรบั ทราบได้ตอ่ เมอื่ บคุ คลนั้นจะตอ้ งมใี จกว้าง เพราะท้งั น้ี เป็นขอ้ มลู ทําใหบ้ คุ คลเสยี หนา้ เกดิ ความละอายหรอื ไมท่ ราบโอกาส บุคคลไมย่ อมรบั ฟงั ขอ้ มลู จากคนอนื่ เปน็ เพราะวิธีการให้ข้อมูลไม่เหมาะสม ไม่ถูกต้องตามกาลเทศะ เป็นต้น การพัฒนาความตระหนัก ในตนเองโดยการรบั ฟังขอ้ มูลจากบคุ คลอืน่ นั้น จึงมีความสําคญั ทจ่ี ะต้องคาํ นึงถงึ ท้ัง 2 ดา้ น คือ 8.6.2.1 ดา้ นผ้รู ับฟัง จะต้องใจกวา้ งในการทีจ่ ะรับทราบขอ้ มลู เกยี่ วกับ ตนเองอย่างเปน็ กลาง พร้อมทจี่ ะนาํ ไปพจิ ารณา ไม่จาํ เปน็ เสมอไปวา่ การมองเห็นจากบุคคลอ่ืนจะตอ้ ง ถูกต้องทัง้ หมด การพจิ ารณาอย่างเปน็ กลางจะชว่ ยใหค้ วามตระหนักของบคุ คลถกู ต้องชัดเจนตรงตาม ความเปน็ จริงได้มาก 8.6.2.2 ด้านผูใ้ หข้ อ้ มูล เพื่อให้บคุ คลได้รูจ้ ักตนเองมากขึ้นนั้น ไมถ่ ือว่า เป็นการประเมนิ บุคคล หากแต่จะต้องเป็นการใหข้ อ้ มลู ตามท่ีตนสงั เกตได้จากพฤตกิ รรมที่บุคคลแสดงออก การเสนอขอ้ มูลในลกั ษณะเช่นนี้เรยี กว่า “การให้ข้อมลู ป้อนกลับ” (feed back) ซงึ่ มขี อ้ ควรระวัง คือ ควรกระทําดว้ ยความปรารถนาดี ไมใ่ ชเ่ พื่อมุ่งทําลายบุคคล การให้ข้อมลู จะตอ้ งถกู ต้องชัดเจน และ เฉพาะเจาะจง เขา้ ใจได้ไมค่ ลมุ เครอื บอกขอ้ มูลตามทเี่ ห็นและสงั เกตได้ ไมใ่ ชก่ ารตดั สินพฤติกรรมตาม ความร้สู ึกของผูใ้ ห้ขอ้ มลู และทสี่ ําคญั อย่างย่งิ คอื การให้ข้อมลู ต้องใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและ ความเปน็ จริง ใชภ้ าษาง่าย ๆ เปน็ ต้น 8.6.3 การเปิดเผยตนเอง (Self disclosing) การพัฒนาความตระหนกั ในตนเอง สว่ นหนง่ึ นน้ั ไดจ้ ากการเปดิ เผยตนเอง เป็นการใหข้ อ้ มลู เกยี่ วกบั ตนเอง เกย่ี วกับแนวความคิด ความรู้สกึ และเจตคติ การให้ข้อมูลเก่ยี วกับตนเองนี้ จึงเปรียบได้เสมือนหน่ึงการยืนยันว่า ตนได้ตระหนักใน ความเป็นตนเองพร้อมที่จะพัฒนา และเป็นการแสดงออกในความกล้าของเจ้าตัว เพราะการเปิดเผย ตนเองน้ีเน้นท่ีการให้ข้อมูลในส่วนที่ 3 ของหน้าต่างโจ-แฮรี่หรือบริเวณปิดบังซ่อนเร้น กล่าวคือ ความเปน็ ตนเองในส่วนน้มี ีเจ้าตวั เท่าน้ันทีต่ ระหนักอยแู่ ละได้ปกปดิ ไวเ้ ปน็ ความลับตลอดเวลา ผ้อู ืน่ ไมไ่ ด้ รับรู้ การเปิดเผยตนเองจะทาํ ให้ผู้อ่ืนได้รู้จักตนเองมากขึ้น และในทางกลับกันตนเองจะได้ตระหนัก ในความเปน็ ตนเองมากยง่ิ ข้ึน การเปิดเผยตนเองโดยปกติแล้วอาจกระทําได้ใน 3 ลักษณะ คือ การแสดง ความเหน็ ออกมาจากใจจรงิ การบอกข้อมูลเกี่ยวกบั ตนเองทั้งทีผ่ อู้ ่นื ทราบและทีผ่ ู้อื่นไม่เคยทราบ และ การใหข้ อ้ มูลในส่วนท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั บคุ คลอนื่ การแสดงออกทง้ั สามประเดน็ น้ี สมั พันธ์โดยตรงกบั ความคดิ ความรสู้ ึกและค่านิยมของผเู้ ปดิ เผยโดยตรง ดังนนั้ การแสดงออกเหล่าน้ี จงึ ถอื วา่ เปน็ การเปิดเผยตนเอง สงิ่ สําคญั ทส่ี ุดจะต้องระลึกถงึ ในการเปดิ เผยตนเองนี้คอื จะตอ้ งมคี วามจรงิ ใจและซื่อสัตยต์ อ่ ความรสู้ ึก

111 ความคดิ ของตนเองและแสดงออกอยา่ งเป็นธรรมชาติ โดยความรสู้ กึ ไว้เนอ้ื เชื่อใจและเชอื่ ม่นั ในบุคคลที่ ตนกาํ ลังให้ข้อมลู หากการเปดิ เผยตนเองได้กระทําในลักษณะเชน่ นี้จะก่อใหเ้ กดิ ความรู้สกึ ใกล้ชดิ และ เป็นกนั เองมากขึ้น ซ่งึ เป็นผลดอี ยา่ งยิ่งต่อการสรา้ งสัมพนั ธภาพระหว่างบุคคลอีกด้วย ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ี เปน็ สิง่ ทสี่ ง่ เสรมิ ให้บคุ คลไดเ้ รยี นรู้จากกนั และกันเพม่ิ ขน้ึ เรือ่ ยๆ อันเป็นบนั ไดท่ีสําคญั ตอ่ การพัฒนาการ ตระหนักรู้ในตนเองเพม่ิ ขนึ้ ดงั คาํ กลา่ วในพทุ ธศาสนาท่ีว่า บคุ คลที่เจรญิ แลว้ คอื บคุ คลท่จี ะต้องคิดและ กระทาํ อย่างผรู้ สู้ ตอิ ย่ตู ลอดเวลาและผรู้ สู้ ตใิ นท่ีนี้กค็ อื “สติ สัมปชญั ญะ” หรอื “การตระหนกั ” เป็น การเลอื กสรรการกระทําท่ีตนได้พิจารณาแล้วอย่างผู้ที่มีการตระหนักรู้ในตนเองอย่างแท้จริง และ บคุ คลสามารถประเมนิ ตวั เองค้นพบและภมู ใิ จในความสามารถด้านตา่ งๆ ของตนเอง นน่ั คือ การเหน็ คณุ ค่าในตนเอง (self-esteem) ผู้เขยี นจงึ ขออธิบายเร่อื งการเหน็ คุณค่าในตนเอง เพื่อทีบ่ คุ คลจะนาํ ข้อมูลท่ีได้นน้ั มาประเมนิ และวเิ คราะห์ตนเองอย่างละเอยี ด ได้ดงั ตอ่ ไปนี้ ภาพท่ี 40 แสดงภาพการเหน็ คุณค่าในตนเอง (ทีม่ า https://www.google.co.th/search 8 มิถุนายน 2559)

112 9. การเห็นคุณค่าในตนเอง การเห็นคุณค่าในตนเอง ตรงกับคาํ ว่าในภาษาอังกฤษว่า self-esteem มีคาํ นี้ใน ภาษาไทยหลายคําด้วยกนั เช่น การตระหนกั ในคุณค่าตนเอง ความภาคภมู ใิ จในตนเอง การนบั ถือ ตนเอง การประเมินคา่ ตนเอง เป็นตน้ 9.1 ความหมายของการเห็นคณุ คา่ ในตนเอง มีผใู้ หค้ วามหมายและคํากาํ จดั ความของการเหน็ คุณคา่ ในตนเอง (สรนิ ฎา ปตุ ิ.อริยา คหู า,2552) มดี ังนี้ กรมสุขภาพจิต (2541) ได้ให้ความหมายว่า เป็นความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า คน้ พบและภมู ใิ จในความสามารถด้านต่างๆของตน โดยไมม่ ุง่ สนใจเฉพาะแตเ่ รอ่ื งของความโก้เก๋ รปู ร่าง หน้าตา เสนห่ ์ หรือความสามารถทางเพศ ปริพันธ์ อภิวัฒน์การุญ (2543: 57) ได้ให้ความหมายว่า ความรู้สึกที่พอใจใน ตนเองของแตล่ ะคน อันเนอื่ งจากความสมั ฤทธผ์ิ ล การยอมรบั ตนเอง การยอมรบั จากคนอนื่ การปรับตัว ทางสังคมและความมน่ั คงทางอารมณ์ จีรนันท์ ยออดมณี (2547 : 26) ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ ความรสู้ ึกท่ีพอใจในตนเอง ของแตล่ ะคน อนั เนอ่ื งจากการยอมรบั ในตนเอง การเห็นคุณคา่ ในตนเอง และการปรบั ตัวใหเ้ หมาะสม สอดคล้องกับสิง่ แวดล้อมและสงั คม คเู ปอรส์ มทิ (Coopersmith, 1981) ได้ให้ความหมายวา่ การพิจารณาตัดสินค่า (Worthiness) ของตนตามความร้สู กึ และเจตคติทม่ี ตี อ่ ตนเองของแต่ละบคุ คล เป็นการยอมรับหรอื ไม่ ยอมรบั ตนเองและแสดงถงึ ขอบเขตความเชื่อท่บี คุ คลมตี ่อความสามารถ ความสําคญั ความสําเร็จ และ ความมีคา่ ของตนเอง เฟชบาคน์ (Feshbach, 1996) ได้ให้ความหมายว่า การท่ีบุคคลมองตัวเอง หรือมีเจตคติโดยรวมเก่ียวกับตัวเองว่าเป็นอย่างไร เป็นการมองว่าตนเองมีคุณค่าหรือไม่มีคุณค่าใน ระดับตา่ งๆกนั ออกไป ไวน์เนอร์ (Weiner, 1999) ไดใ้ หค้ วามหมายว่า การประเมินค่าของบคุ คลที่มี ตนเอง เป็นการตัดสินเก่ียวกับคุณค่าของตนเองโดยมีพ้ืนฐานมาจากความรู้ท่ีมีต่อตนเอง (Self knowledge) และการเห็นคณุ คา่ ในตนเองจะไดร้ บั อทิ ธพิ ลสงู จากการมสี มั พนั ธภาพระหว่างตนเองกับ บคุ คลอื่น นิวแมน (Newman, 2003) ไดใ้ ห้ความหมายวา่ การทบี่ คุ คลประเมนิ วา่ ตวั เอง มีคณุ คา่ มากนอ้ ยเพียงใด โดยมพี ้นื ฐานมาจากปจั จยั 3 ดา้ น คอื 1) การได้รับความรกั การเห็นคุณค่า หรือการสนับสนุนส่งเสริมจากคนอื่น 2) การมีคุณลักษณะหรือมีความสามารถอย่างเฉพาะเจาะจง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook