Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

363 3.1.1 องค์ประกอบด้านสรีระ (Physiological dimension) หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ ทางร่างกายที่จะตอ้ งเกิดขน้ึ ควบคกู่ ับปฏกิ ิริยาทางอารมณ์ เชน่ หวั ใจเตน้ เร็ว เหงื่อออกตามรา่ งกายหรอื ใบหน้ารอ้ นผา่ ว เปน็ ต้น อารมณท์ กี่ ่อให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงทางสรรี ะได้ มากทส่ี ดุ คือ อารมณก์ ลวั และอารมณ์โกรธ อารมณก์ ลัวจะก่อใหเ้ กดิ การหลัง่ ของฮอร์โมน แอดรนี าลีน จากต่อมแอดรีนัล (Adrenal gland) ส่วนอารมณ์โกรธ จะกอ่ ให้เกิดการหลงั่ ของฮอรโ์ มน นอรแ์ อดรีนาลีน (Noradrenalin) 3.1.2 องคป์ ระกอบทางดา้ นการนกึ คิด (Cognitive dimension) หมายถึง การมี ปฏิกิริยาดา้ นจิตใจที่เกิดขึน้ ต่อสถานการณ์ทก่ี าํ ลังเป็นอย่แู ละเกิดเปน็ อารมณ์ข้ึนมา เชน่ ชอบ - ไม่ ชอบ หรอื ถกู ใจ - ไมถ่ ูกใจ เป็นต้น 3.1.3 องคป์ ระกอบทางดา้ นการมีประสบการณ์ (Experiential dimension) หมายถึง การเรยี นรทู้ ีเ่ กดิ ขึ้นภายในจิตใจของแต่ละบคุ คลซงึ่ จะมคี วามแตกต่างกันไป การตอบสนองทาง อารมณ์ ประกอบดว้ ยปัจจยั ตา่ งๆ ดงั น้ี 3.1.3.1 ปฏกิ ิรยิ าทางอารมณ์ เชน่ การว่งิ หนจี ากส่งิ ทเ่ี รากลวั 3.1.3.2 การตอบสนองทางระบบประสาทอสิ ระ เชน่ หวั ใจเต้นแรงข้ึน และเหง่ือออก บรเิ วณฝา่ มอื เมอ่ื ตกใจกลัว 3.1.3.3 พฤตกิ รรมที่แสดงออกมา เช่น การยม้ิ หนา้ นวิ่ ค้ิวขมวด 3.1.3.4 ความร้สู กึ เชน่ ความโกรธ ความปีติ ความเศรา้ โศก การเปล่ียนแปลงทางสรรี วทิ ยาท่ีเกิดข้นึ ระหว่างท่ีอามรณ์รุนแรงเปน็ ผลจาก การกระตุ้นของระบบประสาทเสรีเพ่อื เปน็ การเตรียมพรอ้ มสาํ หรับภาวะฉุกเฉิน ปัจจุบนั เชอ่ื ว่า ระบบ ประสาทส่วนกลางของการตอบสนองทางอารมณ์ ถกู ควบคมุ โดยและซงึ่ ประกอบดว้ ยและอารมณ์ยัง ขน้ึ อยู่กบั สารสง่ ตอ่ พลงั ประสาท ในสมองปัจจุบันนีเ้ ป็นท่ียอมรับกันว่า “อาการซึมเศรา้ ”เกีย่ วข้องกับ ระดับของที่ลดลง ยาท่ีทําใหร้ ะดับของลดลง จะทําใหเ้ กดิ อาการซมึ เศรา้ ส่วนยาต้านซมึ เศร้า ทาํ ให้ ระดับของสูงขึ้น 3.2 การเปลีย่ นแปลงของอารมณ์ เมอ่ื มีเหตกุ ารณ์ สถานการณ์ หรอื ส่ิงเร้าทกี่ ระตนุ้ ดา้ นอารมณ์ การเกดิ อารมณ์ จะมกี ารเปลีย่ นแปลงเกิดขน้ึ ทง้ั ทางรา่ งกาย และจติ ใจ โดยมอี งคป์ ระกอบหลัก 3 ประการ ดงั น้ี 3.2.1 ด้านการรบั รู้ เป็นการทํางานรว่ มกนั ด้านรา่ งกายของระบบประสาทรบั ความรู้สกึ จากส่งิ แวดล้อม ส่งผา่ นขนึ้ ไปยังสมองเพอื่ แปลความหมายและรับรวู้ า่ ส่ิงกระตุน้ คืออะไร อาจจะเรียกว่าเปน็ สว่ นของความคิดทเี่ กิดขึ้นต่อสงิ่ เรา้ นั้น ความคดิ จะน้อมนาํ ไปสู่การเกดิ อารมณต์ ามมา ถา้ ความคิดไปในทางบวก อารมณ์ที่ตามมากเ็ ป็นอารมณ์ทางบวกถ้าความคดิ เป็นลบอารมณ์กเ็ ป็นลบ เชน่ กัน

364 3.2.2 ด้านอารมณ์จากการรับรู้สิ่งเร้าอารมณ์ จะมีการเปรียบเทียบกับ ประสบการณ์เดิม ทําให้เกิดความรู้สึกท่ีเป็นอารมณ์แสดงออกทั้งทางด้านจิตใจและด้านร่างกาย ด้านร่างกายจะกระทบระบบประสาทอัตโนมัติ ส่งผลต่ออวัยวะท่ีมีระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น หวั ใจเต้นเร็ว หนา้ แดง เหงือ่ ซมึ เป็นต้น อารมณท์ ่ีเกดิ ข้นึ สามารถปรุงแตง่ ใหก้ ารรับรูส้ ิง่ เรา้ หรือ ความคดิ ต่อสิ่งน้ันย่งิ เป็นบวกหรอื ลบมากขนึ้ เช่น เราไมช่ อบสง่ิ ท่เี พอ่ื นทํากบั เรา เกดิ อารมณไ์ ม่พอใจ อารมณ์อาจทาํ ให้เราคิดถึงความไม่พอใจท่ีเคยมีต่อเพื่อนคนน้ีมาก่อน ย่ิงมีอารมณ์ยิ่งคิด ย่ิงคิดมี อารมณ์ เป็นวัฏจักร 3.2.3 แรงผลักดัน จากรประสบการณ์ด้านอารมณ์ จะมีผลต่อแรงผลักดัน ภายในจิตใจ ทําใหอ้ ารมณท์ ่ีเกิดขึน้ ตอ่ สิ่งทีม่ าเร้าอารมณม์ ีทัง้ ระดับอารมณท์ เ่ี หมาะสมสอดคล้องกับ ตวั กระตนุ้ และระดบั อารมณท์ ี่ไม่เหมาะสม อันเป็นผลมาจากประสบการณก์ ารเรยี นรู้และแรงผลกั ดนั ภายในจติ ใจ สง่ ผลตอ่ ลกั ษณะอารมณ์และแบบแผนของพฤติกรรมท่ีตอบสนอง ตัวอย่าง เช่น บางคน มแี รงผลักดันทจี่ ะโทษว่าตนเองไมด่ ี เมื่อทาํ อะไรผดิ พลาดกจ็ ะเกดิ อารมณ์เศรา้ รสู้ กึ ผดิ หวงั ตนเอง ผลกั ดันใหเ้ ปน็ คนไม่กลา้ ทําอะไร เพราะกลวั ว่าจะผิด จากองคป์ ระกอบของอารมณท์ ้ังสามด้าน เมอ่ื มสี ิ่งเรา้ ท่กี ระตุ้นอารมณ์แลเกดิ เปน็ อารมณ์ข้ึน จะมกี ารแสดงออกของอารมณท์ างน้าํ เสยี ง แววตา สีหนา้ ทา่ ทาง และกําหนดทศิ ทางการแสดงออกของท่าทาง เชน่ อารมณโ์ กรธอาจจะแสดงทา่ ทางจ้องหนา้ พูดเสียงดัง ทุบโตะ๊ ขวา้ ง ปาขา้ วของ อารมณเ์ ศร้าแสดงท่าทางคอตก ฟุบหนา้ รอ้ งไห้ พดุ เสยี งเบา อารมณด์ ี แสดงทา่ ทาง กระโดดโลดเต้น ยกมีรอ้ งไชโย เปน็ ต้น สิ่งท่ีสําคัญคือ การเรยี นร้คู วามเขา้ ใจลักษณะทางอารมณข์ องตนเอง สังเกตและ ติดตาม การเกดิ อารมณ์ รวมท้งั การแสดงออก ท่ตี อบสองต่อ อารมณท์ เ่ี กิดขน้ึ โดยเฉพาะการเกิด อารมณท์ างลบท่อี าจทาํ ใหเ้ กดิ การแสดงออกทไี่ มเ่ หมาะสมและส่งผลทางลบตามมาได้ การเรียนรจู้ กั อารมณข์ องตนเอง จะเป็นพื้นฐานในการปรบั เปลย่ี นอารมณใ์ หม้ กี ารแสดงออกทเ่ี หมาะสมตอ่ ไป 4. การจําแนกของอารมณ์ นักจิตวิทยาและนักสรีรวิทยาพยายามแยกแยะอารมณ์ต่างๆ ออกจากัน โดยอาศัย การเปล่ยี นแปลงของร่างกาย แต่ไมป่ ระสบผลสาํ เรจ็ เพราะมีความยงุ่ ยากตา่ งๆ เกิดขึ้นเนอื่ งจาก (อารี เพชรพุด,2547: 214) 4.1 อารมณ์รุนแรงต่างๆ เช่น โกรธ กลัว ทําให้เกิดการเปล่ียนแปลงทาง รา่ งกายหลายอย่างเหมือนกัน คอื โกรธกห็ น้าซดี กลัวกห็ นา้ ซีด บางคนไมว่ า่ โกรธหรอื กลัวกเ็ ดนิ หนี เหมอื นกนั

365 4.2 บุคคลคนหน่งึ อาจแสดงอารมณ์อย่างใดอยา่ งหนึ่งไดห้ ลายวธิ ี เช่น เวลา กลัวอาจยนี แขง็ ทือ่ หรอื บางครงั้ อาจว่ิงหนี เวลาอยู่ในอารมณ์โกรธอาจกดั รมิ ฝีปาก หรอื ไมก่ ก็ ระทบื เท้า หรอื ไม่ทาํ ร้ายคนทีท่ าํ ใหโ้ กรธ 4.3 การต้ังชื่ออารมณ์ขนึ้ อยู่กับสงิ่ เร้าท่มี มี าเรา้ ใหเ้ กดิ อารมณ์และการกระทําที่ เกดิ ขึ้นจากส่ิงเร้า เช่น ถ้าสิ่งเร้าเปน็ สตั วด์ รุ ้าย บคุ คลก็ตอบสนองออกมาเรียกวา่ อารมณก์ ลวั (Fear) และพยายามหนีถูกดูเยาะเย้ย ปฏิกริ ยิ าตอบสนองก็เปน็ อารมณโ์ กรธ (Anger) แม้กระนน้ั ก็ตามการต้งั ช่อื อาจจะตั้งช่ือกนั ตา่ งๆ ออกไป Ax ไดท้ าํ การทดลองในปี 1953 เกย่ี วกับอารมณโ์ กรธและกลัว ใชก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งใน การทดลอง 43 คน โดยใช้เครื่องมือต่างๆ ทก่ี ่อให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงท่ีเกดิ ขนึ้ ในห้องทดลอง เช่น การเตน้ ของหัวใจ อณุ หภมู ติ ามผิวหนงั อุณหภมู ทิ ม่ี ือ การเกดิ กระแสไฟฟา้ ท่ีผวิ หนังและการทาํ งาน ของกล้ามเนือ้ ทีต่ า ฯลฯ ทั้งหมด 14 อย่าดว้ ยกัน ผลปรากฏว่าไมว่ า่ จะเกิดอารมณโ์ กรธหรอื กลัว ผถู้ กู ทดลองจะแสดงปฏิกิรยิ าเหมือนกนั 7 อยา่ ง แตกตา่ งกันออกไปอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะปฏกิ ริ ิยา แตกตา่ งกันระหว่างอารมณ์โกรธกับอารมณก์ ลวั การเกดิ อารมณก์ ลวั ขน้ึ อยู่กบั ปฏกิ ิรยิ าของ adrenalin แตอ่ ารมณโ์ กรธอยกู่ บั ปฏิกิริยาของ nonadrenalin การค้นพบความแตกต่างระหวา่ งอารมณ์โกรธและ อารมณ์กลวั นไ้ี ดร้ บั การสนับสนุนจากการศกึ ษา adrenal medullas ของสัตว์ปา่ กระต่ายป่าทมี่ ชี วี ิต อยู่ได้ดว้ ยการวิ่งหนเี ม่ือความกลวั มี adrenalin สูง ส่วนสงิ โตและสัตวด์ ุร้ายอนื่ ๆ ซงึ่ มพี ฤติกรรมแสดง คล้ายความโกรธอยู่เร่อื ยๆ มี nonadrenalin สงู 5. ปัจจัยที่มีสว่ นสัมพันธก์ ับอารมณ์ ปจั จัยท่ีมีสว่ นสัมพนั ธก์ ับอารมณ์ มีรายละเอียดดงั นี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559) 5.1 พันธกุ รรม พันธกุ รรมนอกจากมีสว่ นในการกําหนดคนเราทางด้านรา่ งกายแล้ว ยังมผี ลต่อลักษณะอุปนิสยั ด้วย เดก็ จะมลี ักษณะอปุ นสิ ยั และอารมณข์ องเดก็ ที่มมี าแต่กํานิด ซ่ึงเรยี กวา่ พื้นอารมณ์ 5.2 การเลี้ยงดูและสภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมและการเล้ียงดูก็มีอิทธิพลต่อ พฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ของเด็กในระยะต่อไปเชน่ กัน พ่อแม่จึงมบี ทบาทอยา่ งมากต่อพฒั นาการ ทางอารมณ์ของเด็ก โดยเฉพาะในช่วงต้นของชีวิต เด็กที่โยเย เล้ียงยาก หากพ่อแม่ให้ความรัก ความอบอนุ่ ยอมรบั เดก็ อยา่ งที่เด็กเปน็ กย็ อ่ มจะทาํ ใหพ้ นื้ อารมณท์ ร่ี นุ แรงน้เี บาบางลงได้ แต่หาก พ่อแมไ่ มอ่ ดกลน้ั มีการใชอ้ ารมณก์ บั เด็ก ก็จะยงิ่ ทําให้เดก็ มปี ฏิกิรยิ าทางอารมณ์ที่รนุ แรงมากข้ึน

366 5.3 การทาํ งานของสมอง ส่วนของสมองทีท่ ําหน้าทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั อารมณ์มีอยู่หลาย แหง่ เช่น ระบบลมิ บิก (limbic system) ทาํ หนา้ ทร่ี บั รู้และประเมินสถานการณต์ ่างๆ บริเวณท่ี เรียกวา่ อะมิกดาลา (amygdala) เปน็ จดุ เชอื่ มโยงทีส่ าํ คญั ระหวา่ งการประเมินข้อมลู จากประสาท รับรู้ต่างๆ ของสมองบริวเณคอร์ตคิ ลั คอรเ์ ทก็ (Cortical cortex) กับการแสดงออกด้านพฤตกิ รรม ของอารมณ์ต่างๆ อะมิกดาลายังมสี ว่ นสาํ คญั ในการรบั รสู้ งิ่ ที่เปน็ อนั ตราย กระตนุ้ ให้รา่ งกายมกี ารต่ืนตัว พร้อมท่จี ะรับมอื ตอ่ ส่งิ นนั้ จากการทดลองพบวา่ ในสตั วท์ ด่ี รุ า้ ยเม่ือผ่าตัดเอาสว่ นท่ีเปน็ อะมกิ ดาลา ออกไป สตั ว์จะมีลักษณะเชอ่ื ง เฉย ไมด่ รุ ้ายเหมอื นเดมิ 5.4 การทํางานของระบบประสาทอตั โนมตั ิ ของคนเราแบ่งออกเป็น 2 ระบบใหญ่ ได้แกร่ ะบบซมิ พาเธติกและระบบพาราซมิ พาเธตกิ 5.4.1 ระบบซิมพาเธตกิ (Sympathetic nervous system) จะทาํ งานเม่ือ คนเราสบกบั ภาวะเครยี ดหรือต่นื เต้น โดยสารส่ือประสาทในสมองท่ีเกยี่ วขอ้ งคือ นอรเ์ อพิเนฟริน (nor epinephrine) หรือบางครง้ั เรียกว่าอะดรีนนาลนี (adrenaline) ทาํ ให้มกี ารใชพ้ ลงั งานในรา่ งกายเพ่อื การปรับตวั ตอ่ สิง่ ทม่ี ากระตนุ้ น้ี เกดิ การเปลยี่ นแปลงทางร่างกาย เชน่ ขณะเดนิ เขา้ บ้านในซอยเปลีย่ ว มีชายแปลกหนา้ 2 คน เดนิ เขา้ มาหามที ่ปี ระสงค์ร้าย ระบบซิมพาเธติกกจ็ ะทาํ งานโดยหัวใจเตน้ เรว็ ความดันเลือดเพ่ิม นํ้าตาลในเลือดสูงข้ึน หายใจลึกและเร็ว ม่านตาขยายตัว ปากคอแห้ง และ กลา้ มเนอื้ เกรง็ ตัว เป็นต้น 5.4.2 ระบบพาราซิมพาเธติก (Parasympathetic nervous system) การทาํ งานจะเด่นเม่ือคนเราอยู่ในสภาวะผ่อนคลายและเปน็ ภาวะที่มกี ารเกบ็ สะสมพลังงานไวใ้ นร่างกาย โดยสารสื่อประสาทในสมองท่ีเกี่ยวขอ้ งคืออะเซทิลโคลนี (acetylcholine) การเปลย่ี นแปลงของ ร่างกายจะเป็นไปในทางตรงกนั ขา้ มกบั ข้างต้น เชน่ หวั ใจเตน้ ชา้ ลงกล้ามเนือ้ ผอ่ นคลาย ระบบยอ่ ย อาหารและดูดซมึ มกี ารทาํ งานมากขน้ึ ความผดิ ปกติของระบบทั้งสองนส้ี ง่ ผลต่อภาวะอารมณ์ของคนเราได้ เช่น ใน โรคไทรอยดเ์ ป็นพิษจะมกี ารหลง่ั ฮอร์โมนไทรอยด์ออกมามาก ซง่ึ จะไปกระตนุ้ ใหม้ ีการหล่ังอะดรีนาลีน ออกมามาก ผ้ทู ่ีเปน็ จะมอี ารมณห์ งุดหงดิ วิตกกังวลง่ายหรือแม้แตใ่ นกรณที ่ัวๆ ไปผทู้ อ่ี ยูใ่ นภาวะหิว อาหาร นํา้ ตาลในเลือดจะตา่ํ ซึ่งจะไปกระตุ้นให้ร่างกายหลังอะดรีนาลีนออกมามากจะเกิดอารมณ์ หงดุ หงดิ ฉนุ เฉยี วไดง้ า่ ย เปน็ ตน้ 5.5 สภาวะจิต ปัจจยั ที่กลา่ วทั้ง 4 ประการขา้ งต้น ทําใหด้ เู สมอื นวา่ อารมณ์เปน็ เพียง ปฏิกริ ิยาตอบสนองตามธรรมชาตทิ ่ีคนเรามีตอ่ สงิ่ ต่างๆ ที่มากระตุ้น แตใ่ นความเปน็ จริงแล้ว มนษุ ย์ เรามีความสามารถในการกล่ันกรองจัดลาํ ดับความสําคัญของข้อมูลต่างๆและนอกจากการรับรู้และ การประเมินแล้ว การแสดงออกซ่งึ อารมณ์ก็ยงั ไม่ได้เป็นไปในแบบอตั โนมัติตามสัญชาตญาณไปเสีย ทั้งหมด หาแตย่ ังมปี จั จัยด้านสภาวะจิต เช่น ความเหนย่ี วรงั้ คุณธรรม จริยธรรม มาประกอบด้วย ซ่ึง

367 เปน็ ลกั ษณะท่เี รยี กวา่ มกี ารกํากับดว้ ย “ปัญญา” ตวั อยา่ ง เชน่ มคี นชักชวนให้เรารว่ มมือในการโกง การสอบโดยจะใหค้ า่ ตอบแทน เรารสู้ ึกวา่ คา่ ตอบแทนเป็นเงินจํานวนมากและอยากได้เงนิ มาใชค้ น ชกั ชวนยังบอกวา่ โอกาสถูกจับไดน้ ้อยมากและถา้ หากจับได้เขาจะไมช่ ดั ทอด ความรู้สกึ อยากอยา่ งน้ี หากไม่มีปัญญาช่วยกํากับจะทําให้มีพฤติกรรมตอบสนองไปตามความต้องการ แต่หากใช้ปัญญา ไตร่ตรองผลที่ตามมาโดยเฉพาะสภาวะจิตใจของเราเองท่ที าํ ความผิดแมไ้ มม่ ีใครร้กู ็ตาม การพฒั นา สภาวะจติ ให้มปี ญั ญากาํ กบั จงึ ช่วยให้การดาํ เนนิ ชีวติ พ้นจากความทกุ ข์จากการยดึ ตดิ ยึดม่นั ในสิง่ ต่างๆ 6. ลักษณะของอารมณ์ ลกั ษณะของอารมณ์ (Emotion of Factor) เนล คารล์ สนั (Carlson, Neil R. 1993: 400) เช่อื วา่ อารมณ์พนื้ ฐานอยู่ 3 ชนิด คอื ความโกรธ ความกลัว ความพึงพอใจ สว่ นอารมณ์อื่นๆ เป็น ผลทเ่ี กิดจากอารมณ์ใดอารมณ์หนง่ึ หรือมากกว่าของอารมณท์ ง้ั สามนี้ ตวั อยา่ งเช่น รังเกียจ เดอื ดดาล เครียดแค้น เปน็ รูปแบบของอารมณโ์ กรธ การอจิ ฉาและความรูส้ กึ ผิดจะอยู่บนพืน้ ฐานของความกลวั ความรักและความสุขจะมพี ้ืนฐานมาจากความรสู้ กึ พงึ พอใจ ความโศกเศร้าเป็นเสมอื นการรวมกันของ อารมณก์ ลวั และอารมณ์โกรธ ท้ังน้ีอารมณ์โกรธ กลัว และพึงพอใจเกดิ มาจากสาเหตุทแ่ี ยกออกได้ แตกต่างกัน ซึ่งมีความเปน็ ไปได้ท่ีเราจะจัดการหรอื ควบคมุ มนั (https://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotion.htm 8 เมษายน 2559) ภาพท่ี 111 แสดงภาพอารมณ์โกรธ (ทีม่ า https://www.google.co.th/search 2 พฤษภาคม 2559) 6.1 ความโกรธ ความโกรธ (Anger) เปน็ อารมณ์ท่ไี มพ่ ึงพอใจอยา่ งแท้จริง มักเกิดข้นึ เน่อื งจาก ถูกขัดขวางไมใ่ ห้ทํากิจกรรมทต่ี นตอ้ งการ ในบุคคลแตล่ ะวัยความโกรธจะแตกต่างกนั ไป ในวยั เด็ก

368 เรื่องทีท่ ําให้โกรธมักจะเป็นกิจกรรมทเ่ี ดก็ กาํ ลงั ทําอยู่ หรอื การอยากรอู้ ยากเห็น และการแสดงออกซ่ึง ความโกรธกจ็ ะแสดงออกในรปู ของการกา้ วรา้ วทางกาย หนา้ ตาบดู บึ้ง ทุบตีสง่ิ ของ ตอ่ ยตี ถา้ เปน็ วยั รนุ่ และผใู้ หญ่ การโกรธจะเปน็ เรอ่ื งทางสงั คมและการแสดงอารมณโ์ กรธจะออกมาในรูปวาจา พูดตติ ิง นินทา พูดจาเสยี ดสี จะมีวยั รนุ่ บางกลุม่ บางพวกยังชอบใชก้ ารก้าวรา้ วทางกายอีกด้วย ทัง้ นเี้ นือ่ งจากได้ เรยี นรู้หรือไดร้ ับการปลูกฝังในสังคมที่เขาเป็นอยู่ ภาพที่ 112 แสดงภาพอารมณ์กลวั (ท่มี า https://www.google.co.th/search 2 พฤษภาคม 2559) 6.2 ความกลวั ความกลวั (Fear) เปน็ อารมณท์ ่แี สดงออกถึงความรูส้ กึ ว่าเปน็ อันตราย ซง่ึ จะมี อยมู่ ากมายทั้งทม่ี องเหน็ และมองไม่เห็น เด็กเลก็ ๆ จะกลวั เสยี งดัง กลัวสิง่ แปลกประหลาด ถึงแม้จะ เปน็ เดก็ โตกย็ ังกลัว นอกจากน้ยี งั กลวั ความมืด กลวั คําขู่ กลัวถูกทอดทิง้ ตามลําพัง ในเดก็ ตอนปลาย เด็กจะกลัวคาํ เยาะเย้ยจากเพ่ือน กลัวตัวเองจะไม่เท่าเทียมกบั เพอ่ื น ภาพท่ี 113 แสดงภาพอารมณ์พึงพอใจ (ที่มา https://www.google.co.th/search 2 พฤษภาคม 2559)

369 6.3 ความพึงพอใจ ความพึงพอใจ (Pleasure) เปน็ อารมณข์ องความรสู้ กึ ที่มคี วามสขุ รา่ เริงอย่างมาก เป็นความสาํ เร็จหรือความสุขสดช่ืนท่ีเกิดขึ้น เมื่อบุคคลได้รับผลการตอบสนองตามที่ต้องการไม่ ว่าจะเป็นความต้องการทางดา้ นร่างกายและจิตใจ ภาพที่ 114 แสดงภาพประเภทของอารมณ์ (ท่มี า https://www.google.co.th/search 2 พฤษภาคม 2559) 7. ประเภทของอารมณ์ เป็นเวลาหลายศตวรรษทนี่ กั ปรัชญาและนกั จิตวิทยาพยายามค้นหาและจดั ประเภท ของอารมณ์ ดังน้ี 7.1 พีรพล เทพประสทิ ธ,์ 2549 : 186-187 ยงั ไมส่ ามารถแยกแยะไดช้ ดั เจน ดร.เบร์ิต พลทู ชิค (Robert Plutchil) ได้ทาํ การศกึ ษาวิจัยเรื่องอารมณแ์ ละเช่อื ว่าอารมณม์ ีพืน้ ฐาน 8 ชนิด คือ กลวั ประหลาดใจ เศร้า รังเกียจ โกรธ คาดหวงั รนื่ เรงิ และยอมรบั อารมณ์พนื้ ฐานท้ัง 8 นย้ี ังแปร เปล่ียนไปตาระดับความเขม้ ขน้ ของอารมณแ์ ละยังมีชื่อเรยี กแตกต่างกันออกไปอีก เช่น อารมณ์เศรา้ จะมรี ะดบั ตง้ั แต่ เศร้า เสยี ใจ ทุกข์ใจ เปน็ ต้น อารมณ์ที่มรี ะดบั ความเข้มข้นน้อยๆ จะไมส่ ามารถ แยกแยะไดว้ า่ เป็นอารมณ์ใด นอกจากนี้อารมณ์พื้นฐานทง้ั 8 อาจผสมผสานกันเป็นอารมณท์ ซี่ บั ซ้อน ขน้ึ ไปอกี ตัวอยา่ งเช่น เด็กชายคนหนึ่งกาํ ลังแอบรับประทานขนมทีข่ โมยจากหอ้ งครวั อยู่ จะเกิด

370 อารมณ์ที่ร่ืนเริงผสมกับความกลัว คือ ความรู้สึกผิด (Guilt) หรืออารมณ์อิจฉาเป็นอารมณ์ท่ีผสม ระหว่างรกั โกระ และกลัว เป็นต้น จาค แพงค์เซปป์ (Jaak panksepp) ไดเ้ สนอแนวคิดการจําแนกอารมณ์แตกตา่ งไป จากพลทู ชคิ โดยเขาเสนอ ว่า อารมณพ์ น้ื ฐานมที ั้งหมด 4 ชนดิ ได้แก่ คาดหวัง เดอื ดดาล ตระหนก และหวาดกลวั โดยท่ีอารมณพ์ นื้ ฐานแตล่ ะชนิดเกิดขึน้ สมั พนั ธก์ ับตาํ แหนง่ ในสมองท่ีตั้งอยู่บริเวณไฮโป ทาลามสั ซงึ่ ในแตล่ ะตําแหน่งบนสมองจะสนองตอบต่ออารมณ์ต่างชนดิ กัน โดยอาศัยการแปลข้อมูลที่ ถกู กระต้นุ จากสิ่งแวดล้อมเป็นกระแสประสาทสง่ ไปยังระบบประสาทสง่ั การ ทําให้เกดิ การแสดงพฤตกิ รรม ท่ีสอดคล้องกับอารมณ์ต่างๆ จะเห็นได้วา่ การจําแนกอารมณน์ น้ั เปน็ เรือ่ งซับซ้อนและยงุ่ ยาก เพราะมนุษยม์ สี ภาวะ ทางอารมณ์หลายชนิดท่ีเปล่ียนแปลงไปตลอดเวลา และระดับทางอารมณ์ก็มีการเปล่ียนแปลงท่ี แตกตา่ งกันไป ทั้งน้ีเพอ่ื ให้งา่ ยตอ่ การทาํ ความเขา้ ใจ เราจงึ สามารถแยกอารมณอ์ อกได้เปน็ 2 ประเภท โดยการแบง่ ตามฐานที่เกดิ ข้นึ ของการเปล่ียนแปลงในรา่ งกาย ไดแ้ ก่ อารมณท์ ่พี ึงประสงค์ ไดแ้ ก่ อารมณท์ พ่ี ึงปรารถนาหรือเบกิ บานใจ เปน็ อารมณท์ ี่ ก่อให้เกิดความสุขและให้ประโยชน์ เป็นอารมณ์ท่ีบุคคลเกิดความพึงพอใจและยินดีท่ีจะมีอารมณ์ เชน่ นีอ้ ยเู่ รื่อยๆ อารมณเ์ หลา่ นจี้ ะไปกระตุ้นใหอ้ วัยวะต่างๆ ในรา่ งกายทาํ งานตามปกติ ไม่มากและไม่ น้อยจนเกินไป อารมณป์ ระเภทน้กี ็ เชน่ อารมณ์สงบ อารมณเ์ พลดิ เพลนิ อารมณ์ปลอดโปร่ง อารมณ์ รัก อารมณส์ ขุ อารมณต์ ่ืนเต้น เป็นต้น อารมณ์ทไี่ ม่พึงประสงค์ ได้แก่ อารมณ์ท่ีทาํ ให้เกดิ ความทกุ ข์และไมพ่ ึงประสงค์ บคุ คล หากมีอารมณป์ ระเภทน้ีเพยี งนิดกส็ ามารถใหโ้ ทษได้ บุคคลทมี่ ีปรมิ าณของอารมณ์ประเภทน้ีมากจึง ส่งผลใหเ้ กิดการเจบ็ ป่วยต่อร่างกายได้ อารมณ์ประเภทนี้ เช่น อารมณ์ท้อแท้ อารมณ์วา้ วนุ่ อารมณ์ รนั ทด อารมณว์ ิตกกงั วล อารมณเ์ จบ็ ปวด อารมณ์เบอ่ื เปน็ ตน้ อารมณเ์ หล่านจี้ ะไปกระตุน้ อวัยวะ ภายในให้มกี ารทาํ งานข้นึ มากขึ้นกวา่ เดมิ ทําให้รู้สึกไมด่ ีและเปน็ โทษต่อระบบประสาท ระบบกล้ามเนอื้ ระบบทางเดนิ หายใจ ระบบต่อมไรท้ ่อ ระบบการเต้นของหัวใจ ระบบการขับถ่าย เปน็ ตน้ 7.2 http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559 อารมณแ์ บง่ ได้เปน็ กลุ่มๆ ตามระดับความรนุ แรงของอารมณ์ โดยในแต่ละกลมุ่ เปน็ อารมณ์ใน กลมุ่ เดยี วกัน แต่จะมีคําทีใชแ่ ทนระดับของอารมณแ์ ตกตา่ งกนั ดังน้ี 7.2.1 กลุ่มอารมณโ์ กรธ มหี ลายลักษณะ เชน่ ไมช่ อบใจ ไมพ่ อใจ ขุน่ เคือง ไมส่ บอารมณ์ ฉุน โกรธ โมโห เดือดดาล คบั แคน้ เป็นต้น 7.2.2 กล่มุ อารมณก์ ลัว มหี ลายลกั ษณะ เช่น ไมก่ ล้า เกรงใจ หยาด หวาดกลวั ตระหนก ขวัญผวา อกสัน่ ขวญั แขวน เปน็ ตน้

371 7.2.3 กลุ่มอารมณ์กงั วล มีหลายลักษณะ เช่น ลังเล สองจติ ใจสองใจ ไม่แนใ่ จ ไม่มน่ั ใจ หว่ ง กังวล สบั สน อดึ อัดใจ กระวนกระวาย ร้อนใจ เป็นตน้ 7.2.4 กล่มุ อารมณเ์ กลยี ด มีหลายลกั ษณะ เช่น ไมช่ อบ รงั เกยี จ เกลียด เหม็น หน้า ชงิ ชัง เป็นต้น 7.2.5 กล่มุ อารมณ์ดี มีหลายลักษณะ เช่น ดีใจ สบายใจ ชืน่ ใจ รา่ เริง สนุกสนาน คกึ คกั อม่ิ เอบิ ใจ เปน็ สขุ ปิติ ตน้ื ตันใจ ปลาบปล้มื ซาบซึ้ง เปน็ ต้น ภาพที่ 115 แสดงภาพการเกดิ อารมณ์ (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 2 พฤษภาคม 2559) 8. การเกิดอารมณ์ นกั วทิ ยาศาสตร์ นักสรีรวิทยา และนกั ววิ ัมนาการต่างศกึ ษาระบบประสาทและได้ พยายามศึกษากลไกของสมอง (พรี พล เทพประสิทธ์,2549 : 188) เพอื่ ทจี่ ะหาคาํ ตอบของการอธิบาย เกย่ี วกบั ทมี่ าของอารมณ์ พบวา่ อารมณ์เปน็ พลังชนิดหนง่ึ และอารมณเ์ กดิ ข้ึนเพราะสิง่ เร้าทถ่ี กู สง่ เข้า ไปในสมองโดยเฉพาะส่วนทเ่ี รยี กว่า ทาลามสั (Thalamus) อนั เป็นสมองส่วนแรกของการรบั รู้และ ศูนย์กลางในการรบั รู้ขอ้ มูลขา่ วสาร จากน้นั ขอ้ มูลก้จะเขา้ ส่รู ะบบลมิ ปกิ (Limbic System) สมอง ส่วนอะมกิ ดาลา (amygdala) และสมองส่วนหนา้ (Frontal lobe) โดยทีร่ ะบบลิมปิกและสมอง สว่ นอะมิกดาลา เนน้ เปน็ สมองสว่ นทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั อารมณพ์ ื้นฐาน เช่น กา้ วรา้ ว โกรธ เปน็ ต้น นักวทิ ยาศาสตร์พบวา่ เหตุการณน์ น้ั ๆ มีสว่ นทาํ ใหอ้ ะมกิ ดาลาเกิดการต่ืนตัวมากข้ึนเทา่ ไหร่ เราจะ สามารถจดจําเหตุการณ์นั้นๆ ได้ดีท่ีสุด เรียกว่า ความทรงจํา อันเนื่องจากอารมณ์ (Affective

372 Memory หรอื Emotional Memory) oอกจากนี้ในทางกายภาคสาสตร์ยังพบว่า บรเิ วณสมองสว่ น หนา้ นนั้ มีหนา้ ทีร่ ับผดิ ชอบเก่ียวกับอารมณต์ ่างๆ นน่ั คอื 8.1 สมองสว่ นหนา้ บริเวณฐานสมอง (Orbital Frontal) รบั ผิดชอบเกี่ยวกบั สมาธิ การยับย่ังชง่ั ใจ และความมัน่ คงทางอารมณ์ 8.2 สมองสว่ นหน้าบริเวณผวิ ดา้ นนอก (Frontal Convexity) รับผดิ ชอบเกย่ี วกับ การมีอารมณ์สนุ ทรยี ์ และความไวตอ่ อารมณ์ 8.3 สมองส่วนหน้าบริเวณแนวกลาง (Medial Frontal) รับผิดชอบเกี่ยวกับ การควบคมุ กลา้ มเน้อื ขาท้งั สองขา้ ง แตไ่ มม่ กี ารศึกษาเฉพาะเจาะจงเกยี่ วกับอารมณ์ในสมองบรเิ วณนี้ เมอ่ื ส่ิงเร้าไดถ้ ูกส่งเขา้ ในบรเิ วณตา่ งๆ ทีร่ บั รเู้ ก่ียวกบั อารมณ์ ก็จะส่งขอ้ มูลนนั้ กลับสู่ ทาลามัสอีกครงั้ หนึ่ง เพ่ือส่งต่อไปยังไฮโปทาลามสั โดยจะทาํ การปรับปล่ยี นความรู้สกึ และพฤตกิ รรม ตอบสนองตามสิ่งเร้าที่เข้ากระตุ้นในแต่ละชนิด จากน้ันไฮโปทาลามัสก็จะส่งความรู้สึกไปยังระบบ ประสาทส่วนปลาย ระบบประสาทอตั โนมัติ และต่อมต่างๆ เพอ่ื ใหพ้ รอ้ มแสดงออกเป็นพฤตกิ รรมทาง อารมณ์ต่อไป 9. การเปลีย่ นแปลงทางรา่ งกายเมอ่ื เกิดอารมณ์ นกั จติ วิทยามคี วามสนใจและทําการศกึ ษาการเปล่ียนแปลงทางร่างกายเมื่อเกดิ อารมณ์ ดังนี้ (อารี เพชรพดุ ,2547: 211-213) 9.1 เก่ยี วกับการนําไฟฟ้าท่ผี ิวหนัง (Galvanic Skin Response) ในปี ค.ศ. 1888 นัก วทิ ยาศาตร์ ชาวฝรัง่ เศลชื่อ Vigouroux และ Fere ได้ทําการทดลองโดยเอา electrode ไปวาง บริเวณผิวหนงั แลว้ ต่อไปยงั กัลวานอมเิ ตอร์ เมอื่ วาง electrode ไว้บนฝา่ มอื นักศึกษาชายแลว้ ให้เขา สะกดช่อื คนรกั ของเขา ขณะท่เี ขาตน่ื เตน้ เมือ่ สะกดชือ่ และนึกถึงคนรัก เขม็ ของกลั ปว์ านอมเิ ตอร์จะ ส่ายผดิ ปกติ แสดงว่าพลังงานไฟฟา้ บนผวิ หนังเพม่ิ ข้นึ 9.2 การไหลของโลหิต (Blood Distribution) เมอื่ เกิดอารมณท์ าํ ให้เกิดการเปล่ยี นแปลง เก่ียวกบั ความกดดนั ของโลหติ และการไหลวนเวยี นของโลหิตตามบริเวณผวิ หนงั และภายในร่างกาย เช่น เมอ่ื คนอายกจ็ ะหนา้ แดง เวลาโกรธจัดหนา้ แดง คอแดง การเปล่ียนแปลงเช่นนี้ เกิดขึน้ จาก เสน้ โลหติ ฝอย บริเวณผิวหนงั ตรงน้ันขยายตวั และโลหติ ถกู ส่งไปหลอ่ เล้ียงบรเิ วณผิวหนงั มากขนึ้ อาการ ตรงกันขา้ ม คอื คนทมี่ คี วามกลวั หรือตกใจเส้นโลหติ จะหดตวั โลหิตไปเลี้ยงบรเิ วณผวิ หนังน้อยจะเห็น ว่าหนา้ ซดี 9.3 การเต้นของหวั ใจ (Heart Rate) หัวใจจะเต้นเรว็ และแรงเม่ือคนเกิดอารมณต์ ่นื เต้น หวั ใจเต้นแรงเปน็ สัญลกั ษณท์ ี่แสดงใหส้ ังเกตเหน็ ได้ง่ายเม่ือคนเกดิ อารมณ์

373 9.4 การหายใจ (Respiratory) อัตราการหายใจเข้าออกและการหายใจลึกเป็นเครื่อง ชีใ้ หเ้ หน็ ถงึ การเกดิ อารมณ์ โดยเฉพาะอารมณท์ เ่ี กีย่ วกับความขัดแยง้ ภายในใจ (conflicts) บางที หายใจไมอ่ อก บางทกี ถ็ อนใจ 9.5 การเปลีย่ นแปลงของม่านตาดํา (Pupillary Response) มา่ นตาดาํ มักจะขยาย กว้างเมือ่ คนมีอารมณ์โกรธ หรือเจบ็ ปวดหรอื ตื่นเตน้ และจะหดตัว เมื่อมอี ารมณเ์ ศร้า 9.6 ปฏิกิริยาที่ต่อมนาํ้ ลาย (Salivary Secretion) จากผลการทดลองซงึ่ สอดคล้องกับ การสังเกตพบวา่ เมือ่ เกิดอารมณต์ ่นื เตน้ จะรสู้ ึกคอแห้ง เพราะต่อมน้ําลายผลิตปริมาณนํ้าลายลดลง และออกมานอ้ ยลง 9.7 มีการขนลุก (Pilomotor Response) เมอื่ เกดิ อารมณบ์ างอยา่ งทําให้เส้นขนตา ตามตัวและเสน้ ผมลกุ ขนึ้ 9.8 เกิดการเปล่ียนแปลงภายในกระเพาะและลําไส้ (Gastrointestinal Motility) จากการตรวจสอบดว้ ยวธิ ี x-ray และวธิ ใี สล่ กู โป่งเข้าไปในกระเพาะอาหาร เพ่ือจะดูการเคลอื่ นไหว ของกระเพาะอาหารและลําไสเ้ ม่ือเกดิ อารมณร์ ุนแรง พบวา่ เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณอ์ ยา่ ง แรง บางครง้ั ทําใหม้ กี ารคลื่นไส้ หรอื ท้องเสยี บางคนท่มี อี ารมณค์ า้ ง หรือตึงเครียดนานๆ จะทําใหผ้ นงั กระเพาะอาหาร ลําไส้เกร็ง อาจทาํ ให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารได้ 9.9 มีการเกร็งตัวและส่นั ของกลา้ มเนือ้ (Muscle Tension and Tremor) เมื่อคน เกิดอารมณ์รุนแรง เช่น อารมณโ์ กรธ อาจเกดิ อาการเกร็งตัว และอาการสั่นของกลา้ มเนอ้ื หรือบางคร้ัง ถึงข้นั ตัวแข็งจนกระดุกกระดิกไม่ได้ 9.10 เกิดการเปล่ยี นแปลงสว่ นผสมของโลหิต (Blood composition) เพราะว่าเมอื่ เกิดอารมณน์ น้ั ตอ่ มไร้ทอ่ คอื Adrenal Medulla จะทาํ งานเพิม่ ขน้ึ โดยฉีดฮอรโ์ มนออกมามากว่า ปกติ ทําใหส้ ่วนผสมของโลหติ เปลย่ี นแปลงไป ทาํ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงปรมิ าณน้าํ ตาลในเลือดและ ความสมดลุ กรดและดา่ ง ฮอรโ์ มนทีต่ อ่ ม Adrenal Medulla มี 2 ชนิด คอื adrenalin และ noradrenalin ซง่ึ มผี ลต่อการเปลี่ยนแปลง การเปลย่ี นแปลงของร่างกายเมื่อเกิดอารมณด์ ังกล่าวมาแลว้ ขา้ งตันไมไ่ ด้เกิดขน้ึ อย่าง อสิ ระ จะเกดิ เปน็ แบบแผนทคี่ ล้องจองเป็นอนั หนึง่ อันเดยี วกัน และอยภู่ ายใต้อิทธิพลของระบบประสาท และตอ่ มไร้ทอ่ (Endocrine Glands) Walter B. Cannon นกั สรีรวทิ ยาไดใ้ หข้ ้อสงั เกตไวว้ า่ เวลาเกดิ ของอารมณ์รนุ แรง เชน่ เวลาโกรธเวลาจดั ร่างกายจะเตรยี มพรอ้ มเพ่ือจะเตรียมรบั เหตุฉกุ เฉินและ ปอ้ งกันอนั ตรายเกดิ ข้นึ

374 ตวั อยา่ งเชน่ แมวทกี่ นิ อาหารอมิ่ ใหมๆ่ กําลงั พักย่อยอาหารถูกสนุ ขั จโู่ จม ทําให้เกิด การเปล่ียนแปลงเกิดขนึ้ ดงั น้ี 1. กระเพาะจะหยดุ ยอ่ ยอาหาร 2. ความกดดนั โลหติ เพิม่ ขึ้น 3. หัวใจเต้นเรว็ 4. adrenalin จะถกู ฉีดเขา้ ผสมในโลหิต ปฏกิ ริ ิยาตอบสนองท่เี กิดข้นึ ภายใต้การควบคมุ ของระบบประสาทอัตโนมตั ิท่ีเรยี กวา่ Sympathetic และ ฮอร์โมน adrenalin ทาํ ให้เกิดผลดงั นคี้ อื 1. ความดนั โลหติ เพิม่ ข้ึน 2. น้าํ ตาลในโลหติ เพิม่ ขน้ึ ทาํ ให้เพ่ิมพลงั และเหนอ่ื ยช้า 3. หัวใจเตน้ เรว็ 4. adrenalin จะถูกฉดี เขา้ ผสมในโลหิต ปฏิกริ ิยาตอบสนองทเ่ี กดิ ขึ้นภายใตก้ ารควบคมุ ของระบบประสารทอัตโนมัตทิ ่ีเรยี กว่า Syn-pathetic และ adrenalin ทําให้เกิดผลดังน้ี คือ 1. ความดันโลหติ เพมิ่ ข้ึน 2. นาํ้ ตาลในโลหติ เพมิ่ ขึ้น ทาํ ให้เพม่ิ พลงั และเหน่อื ยชา้ 3. ทาํ ให้โลหติ แข็งตัวเร็วเวลามีบาดแผล ปฏกิ ริ ิยาอื่นๆ ที่แมวแสดงออก เช่น ทาํ เสียงขู่ กระดกิ หางไปมา หลงั โกง่ เตรียมพร้อม ที่จะสู้ แตอ่ าการท่แี สดงออกนไ้ี มไ่ ดอ้ ยู่ภายใตก้ ารควบคมุ ของระบบประสาท Sympathetic แตเ่ ปน็ ส่วนหนึง่ ท่เี กดิ ขน้ึ เมอ่ื เกิดอารมณ์ และพร้อมทจ่ี ะสู้ ถา้ มีบาดแผลโลหติ กจ็ ะแขง็ ตวั อยา่ งรวดเร็ว ปฏิกริ ิยาทงั้ หมดทีแ่ มวเตรียมต่อสู้ Cannon เรียกวา่ ปฏกิ ิริยาฉุกเฉิน (Emergency reaction) อารมณท์ ที่ าํ ใหเ้ กดิ ปฏกิ ิรยิ าเช่นนี้ อารมณ์ต่นื เตน้ (Excitement) เปน็ ต้น ในมนุษย์น้ันเวลา มีอารมณ์โกรธจะทําใหเ้ กดิ อาการปวดทอ้ งอยา่ งรุนแรง เพราะกระเพาะอาหารบีบตวั และหวั ใจจะเต้น เร็วผิดปกติ adrenalin จะต้องฉีดออกมาในเสน้ เลอื ดมากและเม่ือมบี าดแผลเลอื ดจะแขง็ ตัวเรว็ เช่น เวลาคนตกใจไฟไหม้ อาจสามารถยกของหนักซ่ึงในเวลาปกติยกไมไ่ ด้ เปน็ ต้น ตมุ่ นาํ้ โอง่ ข้าวสาร ตู้ หรือเม่อื มบี าดแผลเกดิ ข้นึ กไ็ มร่ ้สู กึ เจบ็ เลือดแหง้ เรว็ ระบบประสาท Sympathetic division และ Parrasympathetic division มีประสาทอยทู่ อ่ี วัยวะอย่างเดียวกัน แตท่ าํ หนา้ ที่ตรงกนั ขา้ ม Sympathetic division จะเป็นตวั เร่งให้ รา่ งกายเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเช่นทําให้หัวใจเต้นเรว็ Parrasympathetic division ทาํ ให้ปฏกิ ิรยิ าคนื สู่สภาพ ปกติทําให้หัวใจเต้นปกติ ดังน้ันสรุปได้ว่า Sympathetic division ทําให้เกิดอารมณ์แล้ว Parrasympathetic division ทําใหอ้ ารมณ์กลบั คืนสูภ่ าวะปกติ

375 ระบบประสาทสว่ นกลาง (Central Nervous System) มบี ทบาทเกี่ยวกบั การแสดงออก ทางอารมณ์เช่นกัน คือเก่ียวกับการเคล่ือนไหวของกล้ามเนื้อ ทําให้หน้าตาบูดเบ้ียว ตัวส่ัน เสียง ครวญคราง หัวเราะเสียงดังรื่นเริง ในการแสดงออกทางอารมณ์ ระบบประสาทส่วนกลางและ ประสาทอัตโนมัติ จะต้องประสานงานกันอย่างใกล้ชิด เชื่อกันว่า ศูนย์ควบคุมของคนเราน้ันอยู่ ที่ Hypothalamus เพราะจากผลการทดลองตดั ส่วนประสาทที่ควบคมุ ความดรุ า้ ยออก จะทาํ ให้แมว ท่เี คยเชอ่ื งกลายเป็นแมวทดี่ รุ ้ายกดั แมก้ ระทงั่ คนเลี้ยง 10. พฒั นาการทางด้านอารมณ์ พฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ (อารี เพชรพดุ ,2547: 215-218) ที่ตอ้ งอาศยั วฒุ ภิ าวะ อารมณ์ตอนแรกของเดก็ เปน็ ชนดิ ที่ไมเ่ ฉพาะเจาะจง การแสดงตอบทางอารมณ์ก็ศกึ ษาไดม้ คี วามซบั ซ้อน และจํากดั ลงไปไม่ได้ อารมณร์ ะยะแรกของเดก็ เป็นการแสดงตอบตอ่ ตัวเอง มปี ญั หาวา่ มีส่ิงเรา้ อะไรที่ ก่อใหเ้ กดิ อารมณซ์ ่งึ ส่ิงเรา้ ในระยะแรกๆมนี อ้ ย เพราะฉะนน้ั การแสดงตอบกม็ ขี อบเขตจาํ กดั นอกจากน้ี การแสดงปฏิกริ ยิ าทางอารมณแ์ ตกตา่ งกนั ออกไป โดยขึน้ อยกู่ ับลกั ษณะของตวั เดก็ และประสบการณข์ อง เดก็ ด้วย จากการศกึ ษาและการสังเกตของนกั จิตวทิ ยาเหน็ พอ้ งตอ้ งกันวา่ เดก็ แรกเกดิ มอี ารมณ์ตื่นเต้น (Excitement) เพียงอย่างเดียว 10.1 การศึกษาการแสดงออกทางอารมณ์ของเด็กทารก จากการศกึ ษาการแสดงออกทางอารมณข์ องเด็กทารกเป็นเวลา 4 เดือน จํานวน 60 คน คนท่ี Montreal Hospital ซ่งึ เป็นเดก็ ตั้งแตแ่ รกเกิดถึง 3 ขวบ ผลปรากฏว่า 10.1.1 เด็กแรกเกดิ มอี ารมณต์ ่ืนเตน้ (diffuse excitement) 10.1.2 เมือ่ เดก็ อายไุ ด้ 3 เดอื น เด็กจะมอี ารมณ์เพม่ิ ขึน้ จากตนื่ เตน้ คอื ความไมพ่ อใจ (distress) และดใี จ (delight) 10.1.3 เม่อื เดก็ อายุได้ 5 เดือน ความไม่พอใจจะเพิม่ ขึน้ กลายเป็นความโกรธ (anger) และขยะแขยง (dissgust) 10.1.4 เมื่อเด็กอายไุ ด้ 7 เดอื น จะมอี ารมณ์กลัว (fear) เพมิ่ ขน้ึ 10.1.5 เม่ือเด็กอายุได้ 10-12 เดือน เดก็ จะมอี ารมณร์ ัก (affection) และความพอใจสนุกสนาน (elation) 10.1.6 เม่อื เดก็ อายุได้ 15-16 เดือน เด็กจะมอี ารมณ์อิจฉา (jealousy) เพมิ่ ข้ึน จะสังเกตเห็นได้วา่ การแสดงออกทางอารมณ์ในระยะแรกๆ ข้ึนอยู่กบั วฒุ ิภาวะเปน็ ส่วนใหญ่ เม่อื เด็กโตขึน้ เด็กจะเรียนรเู้ พิม่ ขึ้น การแสดงออกทางอารมณก์ ็เพิ่มข้ึน มกี ารศึกษาเกย่ี วกับ การแสดงออกทางอารมณข์ องเดก็ อายุ 10 ขวบ คนหน่ึง หหู นวก ตาบอด ต้ังแต่กําเนดิ ไม่มโี อกาสรู้

376 หรอื เห็นการแสดงออกทางอารมณข์ องคนเลย แตเ่ มอื่ เด็กคนนีม้ อี ารมณ์ โกรธ กลวั ดีใจ ก็แสดงออก ทางสีหนา้ เหมอื นเด็กท่วั ไป ดังนนั้ แสดงวา่ อารมณ์เกิดจากวฒุ ภิ าวะ 10.2 การเรียนรอู้ ารมณ์ 10.2.1 การเรียนรู้ในการแสดงอารมณ์ การเรยี นรใู้ นการแสดงอารมณแ์ ตกต่างกนั ออกไป (อารี เพชรพุด,2547: 216) ตามการเรียนรูข้ องแต่ละบุคคล เชน่ เม่อื โกรธอาจจะมกี ารต่อสู้ อาจกลา่ วคาํ หยาบ หรอื ไมก่ เ็ ดนิ หนีไปเลย การเดนิ หนอี อกจากหอ้ งเม่อื โกรธเป็นการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาเรือ่ งการเรียนรใู้ นการแสดงออก ทางอารมร์ในแตล่ ะวฒั นธรรม จะเหน็ วา่ แตกต่างกันมาก จากวรรณคดจี นี เขียนไวว้ า่ “ตานางเบกิ โพลง” แสดงวา่ นางมคี วามโกรธ “เขาทง้ั หลายแลบลิ้นออกมา” แสดงวา่ เขาแปลกใจ “เขาตบมือฉาดใหญ่” แสดงว่า เขากาํ ลงั กลุ้มใจหรือผิดหวงั “เขาลูบคลําหแู ละแกม้ ” แสดงวา่ เขามีความสขุ จากตัวอย่างดังกล่าวนี้ แสดงว่า คนในแต่ละสังคมและวัฒนธรรม ถา่ ยทอดการแสดงออกทางอารมณต์ ดิ ต่อกนั มาเร่อื ยๆ จนกลายเป็นลกั ษณะประจาํ ชาติไป เดก็ ท่ี เจริญเติบโตขึ้นมาในสงั คมจะเรียนรแู้ ปลสญั ญาณทางอารมณ์ทคี่ นอืน่ ๆ แสดงต่อเขาและพยายาม แสดงเหมอื นคนอ่ืนๆ เพราะฉะนั้นสามารถในการแสดงออกทางอารมณข์ น้ึ อย่กู บั อายขุ องเด็ก 10.2.2 การเรียนรโู้ อกาสแสดงอารมณ์ คนเราเรียนรูโ้ อกาสท่ีจะแสดงอารมณ์ทม่ี ตี อ่ เหตุการณ์ และสิง่ ของบาง ทีเราโกรธ บางทเี ราก็เรยี นรู้อารมณ์ทีจ่ ะไมแ่ สดงความโกรธหรอื ความกลวั การแสดงออกทางอารมณ์ ขึ้นอยูก่ บั โอกาสเหมือนกัน เชน่ สังคมและวัฒนธรรมอเมรกิ นั ผชู้ ายจะไม่ร้องไหไ้ มว่ ่าโอกาสแต่งงาน ฝงั ศพ สอบตก ฯลฯ แตผ่ ูห้ ญิงร้องไห้ในโอกาสดงั กล่าวน้ี ถอื เปน็ เร่ืองธรรมดา แตผ่ ู้ชายฝรัง่ เศสถอื ว่า การร้องไห้เปน็ เรอ่ื งธรรมดา แมแ้ ต่ไปสง่ คู่รกั ทส่ี นามบินกร็ ้องไหไ้ ด้เพราะฉะนน้ั การแสดงออกทางอารมณ์ ก็ต้องข้ึนอย่กู บั โอกาสและสถานท่ี การเรียนรู้การแสดงออกทางอารมณข์ องเด็ก ขน้ึ อยูก่ บั วฒุ ิภาวะของ เดก็ การเรยี นรูใ้ นการแสดงออกทางอารมณ์ ส่วนมากเปน็ การเรียนร้แู บบวางเงือ่ นไข (Conditioning) เช่นกรณีหนนู ้อยอัลเบริต์ ท่ี Watson และ Raynor ทดลองในปี 1920 แรกทเี ดียวหนูน้อยอลั เบริต์ ไม่ กลวั หนูและไมไ่ ด้แสดงถงึ สญั ชาตญาณของความกลัว แตข่ ณะทีเ่ ขากาํ ลังสนใจหรือเลน่ อยกู่ บั หนูหรือ กําลงั จะจับหนู เกิดมีเสียงดังขึน้ ทาํ ใหเ้ ดก็ ตกใจจงึ ทําให้เด็กกลัวหนู กรณเี ช่นนกี้ ็เช่นเดียวกับทเี่ ดก็ กลวั สตั ว์อน่ื ๆ หรอื ฟา้ แลบ เพราะเด็กร้วู ่าจะมเี สยี งดัง ทาํ ใหเ้ กดิ วิง่ หนี เดก็ กลัวความมืดเพราะผู้ใหญ่ ใชค้ วามมืดเป็นเงอ่ื นไขกบั เด็ก เช่น บอกวา่ ในความมืดมผี ี มีสงิ่ ทดี่ รุ ้าย เป็นตน้

377 10.2.3 อารมณ์ในฐานะแรงจูงใจ อารมณใ์ นฐานะแรงจูงใจ (อารี เพชรพุด,2547: 217-218) ดังนี้ 10.2.3.1 อารมณ์กลวั อารมณ์กลัว (Fear) ความกลัวเปน็ อารมณ์ประเภทหนี คือ หนีอันตราย ในโลกน้ีมีอันตรายอยู่รอบตัว เราบางคร้ังเราไม่มองเห็น บางคร้ังมองไม่เห็นโดยตรง ความกลวั เป็นอารมณท์ ธ่ี รรมดาท่ีสุดทุกคนเคยประสบมา นักจิตวิทยาบางคนกลา่ วว่า ความกลวั เปน็ แกนของพฤติกรรมมนุษย์ ความกลัวนี้เองทาํ ให้โลกหมุนอยู่ได้ ความกลัวเกิดข้ึนเน่ืองจากเรามี ความคิดหรือประสบการณ์เกี่ยวกับอันตรายต่างๆ และบางคร้ังก็มีสิ่งมากระทาํ ต่อเรา เม่ือคนมี ความกลวั จะขาดกําลังความสามารถทจ่ี ะจดั การกบั สิ่งนัน้ ๆ จงึ พยายามหนี แตจ่ ะกลวั มากนอ้ ยแค่ไหน กข็ น้ึ อยู่กับอนั ตรายนัน้ วา่ อยู่ใกล้หรอื ไกลตวั เพยี งไร ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ รอบๆ ตัวเราทาํ ให้เกิด ความกลัว ความกลัวเปน็ แรงผลกั ดันอย่างหนึ่งให้มนุษยแ์ ละสัตวแ์ สดงพฤติกรรม เพือ่ นําไปสูภ่ าวะที่ ปลอดภยั จากการทดลองกับหนูโดยนาํ หนมู าใสก่ รงซ่ึงมี 2 หอ้ ง ระหว่างห้องมปี ระตทู ะลถุ งึ กนั ได้ ครง้ั แรกปิดประตแู ละชอ๊ ตด้วยไฟฟา้ หนกู ็แสดงความหวาดกลวั ออกมาและตะกายเพ่ือหาทางออกแต่ ไมเ่ ป็นผล คราวต่อไปจบั หนูใส่เข้าไปในกรงอกี ถึงแม้ไม่ช๊อตดว้ ยไฟฟ้า หนกู แ็ สดงอาการกลวั ออกมา ความกลัวกลายเป็นแรงขับท่ีปลูกฝังข้ึน เม่ือสอนให้หนูเกิดการเรียนรู้วิธีเปิดประตูทุกคร้ังท่ีจับใส่ใน กรงหนจู ะพยายามเปดิ ประตูไปสอู่ กี ห้องหนง่ึ ทนั ที ถา้ คนเรากลวั อะไรจนถงึ ขดี สุดจะทาํ ใหก้ ลายเปน็ โรคจิต ทเี รยี กวา่ Phobia คนทอี่ ย่ใู นภาวะของโรคจติ ชนิดนอ้ี าจกลวั สงิ ทไ่ี มม่ ีอันตรายก็ได้เชน่ กลัว ท่สี ูง กลัวท่ีแคบ กลวั ทโี่ ล่ง กลัวการเดนิ ทาง เปน็ ต้น คนท่ีกลัวการเดินทางจะไมย่ อมไปไหนเลย แมแ้ ต่ ออกจากประตูบ้าน 10.2.3.2 อารมณ์วิตกกังวล อารมณ์วิตกกงั วล (Anxiety) ความวิตกกงั วลคลา้ ยคลึงกบั ความกลัว แตเ่ ปน็ การกลวั ต่อส่งิ ทไ่ี มไ่ ด้เกดิ ข้นึ หรอื ยังไมร่ วู้ ่าเปน็ อะไร มักจะเกิดขนึ้ กับสถานการณท์ ่ี เราทาํ นายว่าจะเกิดขน้ึ ในอนาคตและมกั เกย่ี วข้องกับความคาดหวงั ของสงั คม (Social Expectation) คนทกุ คนเรียนรู้ถงึ ระเบยี บขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมตา่ งๆ เมอ่ื ทําอะไรผดิ ไป ถึงแมใ้ คร จะไมเ่ หน็ ก็ทาํ ใหผ้ ้ทู ํารู้สกึ ผดิ และทํานายเหตุการณใ์ นอนาคตไปต่างๆ นานา ทําใหเ้ กดิ ความวติ กกังวล เชน่ คนทีเ่ ตรียมตัวไมพ่ รอ้ มท่ีจะสอบเม่อื ใกล้สอบ จะมคี วามวิตกกงั วลมาก 10.2.3.3 อารมณ์ริษยา อารมณร์ ษิ ยา (Jealousy) เป็นลักษณะหนง่ึ ของความวิตก กังวล อนั เน่อื งจากความรู้สึกขาดความปลอดภยั (insecurity) อันเนอื่ งจากรสู้ ึกกลัวสูญเสยี ความรกั เชน่ ชายหนมุ่ อจิ รษิ ยาชายหนมุ่ คนอนื่ มาแย่งความรกั จากหญงิ สาวทีต่ นรักอยู่ ถ้าความรษิ ยารุนแรง อาจถึงข้นั ทําร้ายรา่ งกายทําให้เสยี ชวี ติ ความรษิ ยามกั จะเกิดข้นึ จากการเปรียบเทียบการแขง่ ขนั ชิงดี

378 ชิงเดน่ กนั และทาํ ให้เกดิ อารมณ์กา้ วรา้ วต้องการทําลาย ความริษยาตา่ งกับอิจฉา (Envy) ตรงท่อี ิจฉา เป็นความรู้สึกท่เี รามกั อจิ ฉาท่ีดเี ดน่ กวา่ เขามไิ ดค้ ิดทําลายเขา 10.2.3.4 อารมณโ์ กรธ อารมณ์โกรธ (Anger) ความโกรธ เป็นอารมณท์ างดา้ นไม่ดี ความโกรธมกั จะเกดิ ขึ้นเนอื่ งจากถูกขดั ขวางมิใหไ้ ปถึงตนปรารถนาได้ วยั เดก็ ความโกรธมกั จะเกิดข้ึน จากกิจกรรมทเ่ี ป็นกิจวัตรประจําวัน ผใู้ หญม่ ักบังคับใหท้ าํ เด็กไมอ่ ยากทาํ เมื่อเดก็ โตขน้ึ ความโกรธ อาจเกิดขนึ้ เนื่องจากการตดิ ต่อกบั คนอ่ืนและสถานการณส์ งั คม เมือ่ เกดิ อารมณ์โกรธอาจแสดงปฏิกริ ิยา ต่างๆ ออกมาในรูปของการต่อสู้ การทําลาย หรือทบุ ตขี า้ วของ กล่าวคาํ หยาบ ฯลฯ อารมณม์ ผี ลตอ่ การปรับตวั ของมนษุ ย์ คนไหนท่ีมีอารมณด์ ีอยูเ่ สมอจะเปน็ คนทสี่ ามารถปรับตัวเข้ากับสภาพส่ิงแวดล้อม และจะทําใหก้ ารทํางานตา่ งๆ มีชวี ติ ชีวามคี วามกระตอื รือรน้ แตท่ างตรงกันขา้ มอารมณเ์ สยี หรอื อารมณ์ รุนแรง เช่น โกรธจัด ฯลฯ จะทาํ ให้บุคคลขาดสมาธิในการทํางาน ไม่มีความต้ังใจ มักจะทําอะไร ผดิ พลาด ปรับตัวเขา้ กับสภาพส่งิ แวดลอ้ มไม่คอ่ ยไดแ้ ละอาจจะทาํ ใหบ้ ุคลกิ ภาพเส่อื ม บางคนเม่ือเกดิ อารมณอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนึง่ มักจะมีความรสู้ ึก อยเู่ ป็นเวลานาน เช่น เสยี ใจอย่เู ปน็ เวลานาน ลักษณะอารมณท์ ี่รู้สึกอย่นู านๆ เรียกว่า อารมณค์ า้ ง (Mood) ซึ่งกระทบกระเทือนสุขภาพท้งั ทางกายและทางจติ เชน่ ทาํ ให้คิดมาก มคี วามกลวั ขาด ความสขุ ในทส่ี ดุ จะทาํ ใหก้ ลายเป็นชนิดหนึ่งเรียกวา่ Psychosomatic disorders คือ เกดิ ความเจ็บปว่ ย ทางร่างกาย เชน่ ปวดทอ้ ง ท้องอดื ท้องเฟอ้ เป็นโรคเกี่ยวกับระบบยอ่ ยอาหารไมป่ รากฏสาเหตทุ าง รา่ งกาย แต่ปรากฏวา่ สาเหตุจากอารมณค์ า้ ง เรียกวา่ จิตกายาพาธ 11. ทฤษฎีอารมณ์ ทฤษฎีอารมณ์ (Emotion Theory) ประกอบด้วย ทฤษฎีอารมณ์ของเจมส์ แลง ทฤษฎีอารมณข์ องแคนนอน – บาร์ด ทฤษฎีอารมณข์ องแซตเตอร์ ซิงเกอร์ และทฤษฎอี ารมณว์ า่ ดว้ ย การใคร่ครวญและการเรยี นรขู้ องสมอง มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 11.1 ทฤษฎอี ารมณข์ องเจมส์ แลง ทฤษฎีอารมณข์ องเจมส์ แลง (James Lange Theory) (พีรพล เทพประสิทธ์,ิ 2549 : 189 -190) เนน้ วา่ อารมณ์ ของเราเกดิ ขึ้นเนื่องจากมสี งิ่ เร้าเขา้ มาเร้าอินทรีย์ หลงั จากนน้ั รา่ งกายจะเกดิ การเปลยี่ นแปลงทาํ ใหเ้ กดิ พลงั ประสาท (Nerve Impulse) และรายงานการเปลย่ี นแปลง นีไ้ ปยงั สมอง สง่ ผลทําให้เกิดอารมณ์ข้นึ

379 ทฤษฎีนี้อธิบายว่า มนุษย์จะมีการรับรู้ส่ิงเร้าเป็นอันดับแรก ต่อมาจึงเกิด การเปล่ยี นแปลงทางร่างกายและความร้สู ึกของทฤษฎีน้ีเสนอความคิดวา่ อารมณ์จะเกิดขนึ้ ภายหลงั จากมีปฏิกริ ยิ าหรอื การเปล่ียนแปลงของร่างกาย สงิ่ เรา้ ภายนอก ส่ิงเรา้ ทีส่ มองรบั รู้ เกดิ อารมณ์ ใยประสาทการ ใยประสาทรบั เคลื่อนไหว ความรูส้ ึก การรบั รทู้ างรา่ งกาย และการตอบสนอง แผนผงั ท่ี 5 แสดงทฤษฎอี ารมณ์ของเจมส์ แลง (ท่มี า พีรพล เทพประสิทธ์,ิ 2549 : 189) 11.1.1 กระบวนการเกิดอารมณข์ องเจมส์ แลง เกดิ ตามลําดับดังต่อไปน้ี 11.1.1.1 ส่งิ เร้าภายนอก 11.1.1.2 ส่งิ เรา้ ทสี่ มองรบั รู้ 11.1.1.3 ใยประสาทการเคลอ่ื นไหว 11.1.1.4 การรับร้ทู างรา่ งกายและการตอบสนอง 11.1.1.5 ใยประสาทรบั ความร้สู ึก 11.1.1.6 เกดิ อารมณ์ ตัวอย่างของเกิดอารมณ์ภายหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระมีมากมาย เช่น เมื่อเราเดนิ สะดุดบนั ได เรามกั จะใชม้ ือจับราวบนั ไดโดยอัตโนมตั ิ เหตกุ ารณด์ งั กล่าวนจี้ ะเกิดขึ้น กอ่ นทจ่ี ะเกดิ ความร้สู ึกหัวใจเต้นแรง หายใจหอบ มีความรสู้ กึ ว่าแขนขาอ่อนแรงหรือส่นั เป็นต้น

380 11.2 ทฤษฎอี ารมณข์ อง แคนนอน – บารด์ ทฤษฎีอารมณข์ อง แคนนอน – บารด์ (Cannon Bard Theory) เป็นทฤษฎที มี่ ี ความเชื่อตรงกันข้ามกับทฤษฎีของเจมส์ แลง โดยทฤษฎีน้ีเชื่อว่า สมองส่วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) จะควบคุมอารมณ์ของสิ่งมีชีวิต โดยเม่ือมีส่ิงเร้ามากระตุ้นจะมีการส่งกระแส ประสาทไปยงั สมองสว่ นน้ี จากนัน้ กระแสประสาทจะแยกไป 2 ทาง ทางหนึ่งจะส่งไปยังอวัยวะตอบโต้ เกิดเปน็ พฤตกิ รรม อีกทางหนึ่งจะส่งไปยังสมองสว่ นคอร์เทก็ ซ์ (Cortex) สิ่งเร้าภายนอก สงิ่ เรา้ ที่สมองรบั รู้ อารมณ์ทเี่ กดิ ข้นึ ใยประสาทของ Motor และ Sensory ความรูส้ ึกทางร่างกายและ การตอบสนอง แผนผงั ที่ 6 แสดงทฤษฎีอารมณ์ของ แคนนอน – บารด์ (ทมี่ า พรี พล เทพประสิทธิ์, 2549 : 189) 11.2.1กระบวนการเกิดอารมณข์ องแคนนอน – บารด์ เกิดตามลําดับดังตอ่ ไปน้ี 11.2.1.1 สิ่งเร้าภายนอก 11.2.1.2 สิ่งเร้าท่ีสมองรบั รู้ 11.2.1.3 ความร้สู ึกทางร่างกายและการตอบสนอง 11.2.1.4 ใยประสาทส่งั การ 11.2.1.5 ทาํ ให้เกดิ อารมณ์ สาระสาํ คัญของทฤษฎีอารมณ์ของเจมส์ แลง และทฤษฎีอารมณ์ของ แคนนอน – บาร์ด ยังเป็นทถ่ี กเถยี งกนั อยู่ ในบางสถานการณ์ เช่น ในกรณีทีม่ นษุ ยป์ ระสบกับอันตราย อย่างกะทันหัน การเกิดอารมณ์จะเกิดข้ึนภายหลังจากการเกิดพฤติกรรมชนิดท่ีเกิดโดยอัตโนมัติ และในบางสถานการณ์ อารมณ์ของมนุษย์จะเกิดความพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงสรีระและเกดิ กอ่ น พฤติกรรมชนิดที่เกิดอัตโนมตั ิ เชน่ อารมณก์ ลวั เกิดขนลุกแลว้ วง่ิ หนี เป็นตน้

381 11.3 ทฤษฎอี ารมณข์ องแซตเตอร์ ซิงเกอร์ ทฤษฎีอารมณข์ องแซตเตอร์ ซิงเกอร์ (Schachter Singer Theory) เปน็ ทฤษฎี ท่จี ัดอยใู่ นกลมุ่ พทุ ธนยิ ม (Cognitive Theory) ซ่ึงเนน้ ความสําคญั ของสมองในการตีความหมายของ สิ่งเร้าหรือสถานการณ์ท่ีพบเห็นว่ามีสาเหตุมาจากอะไร ทฤษฎีนี้เสนอว่าสมองไม่จําเป็นต้องมี การตอบสนองทางอารมณ์ด้วยการมีพฤติกรรมท่ีเฉพาะตายตัว แต่การรับรู้และการเข้าใจต่างหากที่ ก่อให้เกิดการสร้างแบบแผนปฏิกิริยาทางอารมณ์ให้แตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับตัวกระตุ้น ประสบการณข์ องแตล่ ะบุคคล ดังนน้ั ทฤษฎีน้เี น้นวา่ อารมณ์ คือ ความรสู้ ึกท่ีเกิดจากการประเมินของสง่ิ เร้าที่ สมองรบั รู้ ซึ่งเป็นการทาํ หนา้ ทีค่ วบคุมสมองข้นั ต้นเพ่ือป้องกนั รกั ษาชีวิต ตวั อย่างเช่น บทเพลงบาง เพลงบางคนฟังแล้วร้องไห้ อาจเป็นเพราะเน้ือเพลงมีความคล้ายคลึงกับชีวิตของตนเอง หรือขณะท่ี เรากาํ ลังเชียร์กีฬาอยู่น้ัน ความสนใจประกอบกับแรงเชียร์ท่ีพุ่งเป้าไปยังเกมส์กีฬานั้นๆ หากเรา สังเกตก็พบว่าเรากําลังหายใจถ่ีเร็ว หัวใจเต้นแรงเหงื่อออกเหล่าน้ีขึ้นอยู่กับอิทธิพลของความเขา้ ใจ และการรับรู้คุณค่าของการแข่งขันน้ัน ทฤษฎีนี้จึงเรียกอีกอย่างหน่ึงได้ว่า ทฤษฎีอารมณ์ตู้เพลง (Jubebox Theory) เพราะปุ่มเพลงท่ีกดเปรียบได้กับจังหวะ ท่วงทํานอง แนวทางท่ีแต่บุคคล ตีความหมายผสมผสานกบั ประสบการณ์ในอดตี ของแตล่ ะบุคคล ร่างกายถูกกระตุน้ และเกดิ การตอบสนอง ส่งิ เร้าภายนอก เกิดอารมณ์ บคุ คลเกดิ การรบั รู้ แผนผงั ท่ี 7 แสดงทฤษฎอี ารมณ์ของแซตเตอร์ ซงิ เกอร์ (ท่ีมา พรี พล เทพประสทิ ธิ,์ 2549 : 191) 11.3.1 กระบวนการเกิดอารมณ์ของแซตเตอร์ ซงิ เกอร์ เกดิ ตามลําดับดงั ต่อไปน้ี 11.3.1.1 ส่ิงเรา้ ภายนอก 11.3.1.2 ร่างกายถกู กระตุ้นและเกดิ การตอบสนอง บคุ คลเกดิ การรับรู้ 11.3.1.3 เกิดอารมณ์

382 อารมณ์เป็นกระบวนการทางสมอง ซ่ึงเป็นศูนย์กลางอวัยวะแหล่งสาํ คัญท่ี รบั ผดิ ชอบการเกดิ ของอารมณ์ เป็นฐานใหม้ ีปฏกิ ริ ิยาทางร่างกายเพื่อตอบสนองทางอารมณ์ และเพือ่ ปรับสมดลุ ในรา่ งกาย ทั้งน้ที ฤษฎีทางอารมณท์ ้งั สามทฤษฎกี ล่าวไดว้ ่าไม่มที ฤษฎใี ดทส่ี ามารถให้ความ กระจา่ งชัดว่าอารมณ์เกดิ ขนึ้ มาได้อย่างไร ถงึ แมก้ ระน้ันทง้ั สามทฤษฎีขา้ งตน้ กค็ งพอทจี่ ะชว่ ยตอบขอ้ สงสัยในเรือ่ งของการเกิดอารมณไ์ ดใ้ นระดบั หนงึ่ ทฤษฎีเจมส-์ แลง เห็นตะขาบ หัวใจเตน้ เรว็ และว่งิ หนี เกิดความกลัว ทฤษฎีแคนนอน-บาร์ค เหน็ ตะขาบ ทาลามัส เกดิ ความกลวั หัวใจเตน้ เร็วและ ว่ิงหนี ทฤษฎีแซตเตอร์ ซิงเกอร์ เห็นตะขาบ ตืน่ ตวั แปลการรับรู้ เกิดความกลวั แผนผังที่ 8 แสดงทฤษฎอี ารมณข์ องเจมส์ แลง แคนนอน – บาร์ด และแซตเตอร์ ซิงเกอร์ (ทม่ี า ปรับปรุงจาก พีรพล เทพประสิทธิ์, 2549 : 191) 11.4 ทฤษฎีอารมณว์ า่ ดว้ ยการใครค่ รวญและการเรยี นรขู้ องสมอง ทฤษฎีอารมณว์ ่าด้วยการใครค่ รวญและการรบั รทู้ างสมองน้ไี ดร้ บั การพัฒนาโดย นักจิตวทิ ยา ช่ือ ริชารด์ ลาซารัส (Richard Lazarus, 1995: 183 - 197) ทฤษฎีน้เี นน้ วา่ สว่ นสําคญั ท่ีสุดของการเกิดอารมณ์ คือ การตีความหรือการประเมินของสมองต่อส่ิงเร้าท่ีทาํ ให้เกิดอารมณ์ ส่วนประกอบอื่นๆ ของอารมณ์ รวมท้ังการตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางกายจะเกดิ ข้ึนตามการประเมนิ ของสมอง (ศรวี รรณ จันทรวงศ์,2548 : 123)

383 สําหรับลาซารัส (Lazarus) อารมณ์ทุกชนิดเป็นผลมาจากการประเมินของ สมองต่อเหตุการณ์หรือประสบการณ์กับความเป็นตัวคุณ ถ้าเราคิดว่าเราจะได้อะไรหรือจะเสีย อะไร จะเกิดอารมณ์ ดังนน้ั การประเมนิ นั้นจงึ เก่ียวข้องใกล้เคยี งกบั แรงจูงใจ ซาโจง (Zajonc , Robert B, 1984: 117 – 120) ท่คี ้านกระบวนการรับรู้ ใครค่ รวญของสมองและแย้งวา่ ปฏิกิริยาท่เี กดิ อารมณต์ ่อส่ิงเร้าหรือเหตกุ ารณเ์ กดิ ขนึ้ เกอื บจะในเวลา เดยี วกับทเี่ ผชญิ สง่ิ น้ันเรว็ เกินไปทีส่ มองจะทําหน้าทป่ี ระเมนิ พวกเขาเสนอวา่ คนเรามีความรสู้ กึ กอ่ น แลว้ จงึ คดิ แม้วา่ จะเป็นทป่ี ระจกั ษว์ ่า การประเมนิ ของสมองก่อใหเ้ กิดการตอบสนองทางอารมณ์ต่างกัน ผู้ศึกษาค้นคว้าเร่ืองอารมณ์มีความเห็นต่างกันในเรื่องความมากน้อยของบทบาทการรับรู้ทาง สมอง ภาพท่ี 116 แสดงภาพความฉลาดทางอารมณ์ (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 2 พฤษภาคม 2559) 12. ความฉลาดทางอารมณ์ ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient) หรอื E.Q. (พีรพล เทพประสทิ ธิ์, 2549 : 193-195) เปน็ คาํ กลา่ วทนี่ ยิ มใชก้ นั อยา่ งกว้างขวางในปัจจุบนั ในสมัยก่อนเมอื่ พูดกนั ถึงเร่อื ง ของความฉลาด ทุกคนมักจะให้ความสาํ คัญกับเฉพาะความฉลาดทางปัญญา (Intelligence Quotient) I.Q เสียเป็นสว่ นใหญซ่ ่ึงในทน่ี ี้ นักจติ วิทยาไดค้ ้นพบวา่ ความฉลาดท่ีแทจ้ ริงไม่น่าจะเป็น ปัจจยั เดยี วท่บี คุ คลใช้ในการอยรู่ ่วมกบั บคุ คลอืน่ ในสังคม ดงั นัน้ จงึ เกิดตวั แปรใหม่ในการเพิม่ ทกั ษะใน การอยู่รว่ มกบั บุคคลอื่นในสังคม ตัวแปร นนั่ คอื ความฉลาดทางอารมณ์ กรมสุขภาพจิตไดใ้ ห้ความหมายของคาํ ว่า ความฉลาดทางอารมณ์ว่าเปน็ ความสามารถ ในการดําเนินชีวติ รว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้อย่างสรา้ งสรรคแ์ ละมคี วามสุข บุคคลทม่ี คี วามฉลาดทางอารมณจ์ ะมี รากฐานท่พี ร้อมจะปรบั ตัวและเรยี นร้ทู ักษะชีวติ และนาํ ไปสู่ความสาํ เร็จในการดาํ เนินชีวติ ในดา้ นตา่ งๆ

384 ท้ังในการศึกษา การดํารงชิวิตอย่างมีความสุขและสามารถปรับตัวในสถานการณ์ต่างๆได้อย่าง เหมาะสม ท้งั นี้ กรมสขุ ภาพจิตได้เสนอองค์ประกอบของความฉลาดทางอารมณ์ไวว้ ่า ประกอบไปด้วย องค์ประกอบ 3 ประการ ได้แก่ เกง่ ดี และมคี วามสขุ องค์ประกอบแรก เกง่ ไดแ้ ก่ บคุ คลทถ่ี ือวา่ มอี งคป์ ระกอบความฉลาดทาง อารมณเ์ ปน็ ด้านน้ี จะตอ้ งมีลกั ษณะเด่นๆ คอื ควบคมุ อารมณ์และความตอ้ งการของตนเองได้ เหน็ ใจ ผู้อน่ื มีความรบั ผดิ ชอบและเห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนรวม องค์ประกอบสอง ไดแ้ ก่ ดี บุคคลทีถ่ อื วา่ มอี งค์ประกอบความฉลาดทางอารมณ์ เปน็ ด้านนี้ จะตอ้ งมลี กั ษณะเดน่ ๆ คือ รู้จกั และมแี รงจูงใจในตนอง มกี ารตัดสนิ ใจและแก้ปยั หาได้ รวมท้ังสร้างสัมพันธภาพกับผ้อู ื่นได้ องค์ประกอบสาม ไดแ้ ก่ มคี วามสุข บคุ คลทถ่ี ือว่ามอี งค์ประกอบความฉลาด ทางอารมณ์ในดา้ นนี้ จะต้องมีลกั ษณะเดน่ ๆ คือ มคี วามภาคภมู ใิ จในตนเอง พงึ พอใจในชีวติ และ ความสงบทางจิตใจ บคุ คลทีม่ คี วามฉลาดทางปญั ญา (I.Q.) สงู กใ็ ชว่ า่ จะประสบความสําเร็จได้เสมอไป ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ บุคคลที่มี I.Q. สูงไม่จําเป็นตอ้ งมี E.Q. สูงตามไปด้วย แต่ทนี่ ่าสงั เกตจะพบว่า บุคคลท่มี ี E.Q. สูงมักจะมกั จะสามารถพฒั นา I.Q. ใหส้ งู ไปด้วยไม่ยาก เนอ่ื งจาก E.Q. และ I.Q. เปน็ คุณลกั ษณะ ทีส่ าํ คัญยง่ิ ของบุคคล จากตารางเปรยี บเทยี บลกั ษณะเพศชายและหญงิ ที่มี E.Q. สงู และมี I.Q. สงู ซ่งึ ในภาพรวมพบวา่ เพศหญงิ สามารถรบั รแู้ ละมคี วามออ่ นไหวทางอารมณ์ได้มากกว่าเพศชาย ในขณะที่ เพศมีความม่ันคงทางอารมณ์มากกวา่ เพศหญงิ เพศ E.Q.สูง I.Q.สงู ชาย ชอบสังคม เปิดแผย มัน่ ใจในตนเอง รอบรูใ้ นหนา้ ท่ีการงาน หญงิ สามารถทาํ ใหผ้ ู้อ่ืนมีความสุขไดง้ า่ ย สนใจส่ิงทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ตนเอง ไม่หวาดกลัว รกั ษาคาํ พดู ชอบวิพากษแ์ ละจ้จู ี้ ม่ันใจในตนเองในระดับทเี่ หมาะสม เชอื่ ม่ันในความคิดของตนเอง เปดิ เผยความรูส้ กึ ตรงไปตรงมา วิตกกงั วลและคดิ มาก มีความรู้สกึ ทด่ี กี ับตนเอง และรสู้ ึกสนกุ กบั บางคร้ังไม่กลา้ แสดงจุดยนื ชวี ิต หรอื ความรู้สึกทแ่ี ทจ้ รงิ ตารางท่ี 15 แสดงเปรยี บเทยี บเพศและ E.Q.กบั I.Q. (ท่ีมา พีรพล เทพประสทิ ธิ,์ 2549 : 194)

385 ด้วยเหตทุ ่ีความฉลาดทางอารมณเ์ ปน็ สงิ่ ทเ่ี ชื่อวา่ พัฒนาได้เหมือนกับความฉลาดทาง สติปัญญา เพราะความฉลาดทางอารมณเ์ ป็นสว่ นท่ไี ดม้ าแตก่ ําเนิดหรือติดมากบั พนั ธุกรรม ดังนัน้ การพฒั นาความฉลาดทางอารมณจ์ ะสามารถประสบความสําเรจ็ ได้มากเพียงใดนนั้ ย่อมขนึ้ อยู่กบั ตัวบุคคลและสง่ิ แวดลอ้ มวา่ เกอ้ื หนุนมากนอ้ ยเพียงใด 12.1 แนวทางในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ อาจทาํ ได้ ดังนี้ 12.1.1 ฝกึ การรจู้ กั คณุ คา่ ในตนเอง รับรู้ตวั ตนของตนเอง ตระหนักและช่ืนชม ตนเองในแงด่ ี 12.1.2 ฝึกการแยกแยะถงึ ลักษณะของอารมณ์ชนดิ ต่างๆ ท้ังที่เปน็ อารมณ์ทพ่ี ึง ปรารถนาและไมพ่ งึ ปรารถนา แลว้ หาทางเลือกแสดงออกของพฤติกรรมทางอารมณ์ที่เหมาะสม 12.1.3 เรียนรู้การปฏบิ ตั ติ ามกรอบของกตกิ าของสังคม 12.1.4 รจู้ กั ฝึกลัเข้าใจธรรมชาติอารมณ์ของตน 12.1.5 ซอ่ื ตรงตอ่ การแสดงออกทางอารมณ์ทั้งคาํ พดู การกระทาํ และความคิด 12.1.6 ฝกึ การยับยงั้ ควบคมุ และระบายอารมณ์ทไี่ มเ่ หมาะสม รจู้ ักท่ีจะ ไตรต่ รองกอ่ นจะแสดงออกในทุกครงั้ 12.1.7 ฝกึ ความอดทนและรอจังหวะท่จี ะแสดงออกของพฤตกิ รรมทางอารมณ์ ทเ่ี หมาะสม 12.2 ประโยชน์ของความฉลาดทางอารมณ์ ปรัชญาและหลกั การของความฉลาดทางอารมณ์ คอื ยดึ ถอื การรู้จกั และเข้าใจ ตนเอง รจู้ ดุ ดีจุดดอ้ ยของอารมณ์ตนเอง และมที กั ษะทางอารมณท์ สี่ ามารถบรหิ ารอารมณ์ของตนเอง ได้ รวมทงั้ สามารถสร้างกาํ ลงั ใจและแรงจงู ใจ ตลอดจนร่วมทํางานกบั บุคคลในสงั คมได้อยา่ งปกติสุข บุคคลใดกต็ ามหากเปน็ ทม่ี ีเชาวน์ปัญญาท่ผี สมผสานกับความฉลาดทางอารมณ์ได้แลว้ ยอ่ มนํา ประโยชน์ของความฉลาดทางอารมณ์ไปประยกุ ต์ใช้กบั ชวี ิต ไดแ้ ก่ 12.2.1 สามารถประยุกตใ์ ชเ้ พื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มบี คุ ลิกภาพทด่ี ี โดยเฉพาะอย่างย่งิ วุฒิภาวะทางอารมณ์ท่ีมคี วามเหมาะสมในทุกสถานการณ์ 12.2.2 สามารถประยกุ ตเ์ พือ่ การส่ือสารใหม้ ีสมั พันธภาพ และประสาน ประโยชนร์ ่วมกนั ระหว่างบุคคลไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เชน่ รบั ฟงั ปญั หาของผู้อน่ื อยา่ งตงั้ ใจ หรือย้ิม ไดแ้ มจ้ ะมีความผิดหวงั เปน็ ต้น 12.2.3 สามารถประยกุ ตเ์ พอื่ พฒั นาองคก์ รให้สามารถทํางานรว่ มกนั ได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ลดความขัดแยง้ ผอ่ นปรน ยดื หย่นุ เคารพฟงั ความคิดเห็นของผอู้ น่ื รู้จกั เอาใจเขามาใส่ ใจเราไดม้ ากขึน้

386 12.2.4 สามารถประยุกตเ์ พื่อพฒั นาภาวะผู้นาํ ใหเ้ กดิ ความสําเรจ็ ในการบรหิ าร สามารถโนม้ นา้ วใจผ้อู นื่ ใหท้ าํ ในส่งิ ทต่ี นต้องการได้โดยทไี่ ม่สรา้ งความคับขอ้ งใจใหก้ บั ผูใ้ ด ผนู้ ําท่ีมี ความฉลาดทางอารมณ์สงู จงึ มักกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมและถกู กาลเทศะ 13. การวัดอารมณ์ การวดั อารมณ์ (อารี เพชรพดุ ,2547: 217-218) เม่ือบคุ คลมีอารมณจ์ ะทาํ ให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงทางร่างกายมากมาย เช่น ความตงึ เครยี ดของกลา้ มเน้อื หรอื หนา้ แดง เป็นตน้ เพราะฉะนนั้ เม่อื ต้องการวัดอารมณ์บางอย่างบางโอกาสจงึ ใช้เครอ่ื งจับเทจ็ เป็นเครอ่ื งมือจบั ได้ ได้แก่ The Lie Detector : เครอื่ งจบั เท็จ สาํ หรบั วัดความรสู้ ึกทางอารมณ์ เมื่อบคุ คลถกู กล่าวหาว่า ทําความผิดหรือประกอบอาชญากรรม เมื่อถกู นําเขา้ ไปในห้องเพ่อื สอบสวน ถ้าเขาถกู ถาม คําถามทีเ่ ขาจะตอบความจริงเขากจ็ ะตอบตามสบายโดยทร่ี า่ งกายจะไม่ร้สู ึกเปลย่ี นแปลง แต่ถ้าถาม คาํ ถามท่เี ขาตอ้ งตอบโดยการกล่าวคําเทจ็ ซ่ึงเขาไมเ่ คยมากอ่ น เขาจะร้สู กึ ไม่สบายใจ และอาจควบคุม ความรู้สึกบางอย่างไม่ได้ ขณะท่ีเขาถูกสอบสวนโดยเครื่องมือจับเท็จวัด เครื่องมือจะบันทึก การเปลยี่ นแปลงต่างๆ ทางรา่ งกาย เช่น การหายใจ ความดนั โลหติ และการเปลย่ี นแปลงกระแสไฟฟา้ บนผิวหนังซ่ึงการวัดนีใ้ ช้ G.R.S การใชเ้ ครอื่ งมอื ในการจับเทจ็ นตี้ ้องใช้โดยผูเ้ ช่ียวชาญจงึ จะได้รับผล เป็นท่ีพอใจ คอื เมือ่ ผถู้ กู กลา่ วหาไดบ้ นั ทกึ จากเคร่ืองจบั เทจ็ แลว้ มักจะสารภาพ แต่ก็มขี ้อยุ่งยากอยู่ มากในกรณีท่ีผู้ถูกทดสอบพยายามปิดบังความรู้สึกท่ีแท้จริงและบางครั้งก็มีอาการของ Psychosomatic disorder ปรากฏอยู่ด้วย จึงอ่านบันทึกใหถ้ ูกต้องได้ยาก Electroencephalogram (Egg) การวัดอารมณโ์ ดยใชก้ ารตรวจคลื่นสมอง เพราะ คลนื่ สมอง เป็นคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าชนดิ หน่ึงกระจายออกมาจากมนั สมองในลักษณะของกัมมันตภาพ คลืน่ สมองมชี อ่ื เรียกวา่ Electroencephalogram (Egg) นกั จติ วทิ ยาชาวเยอรมนั ชอื่ เบอร์เกอร์ (Berger,1921) เป็นผคู้ น้ พบ วิธกี ารคอื นาํ Electrode 2 อันมาวางทศ่ี รี ษะอนั หนง่ึ วางทีท่ ้ายทอย อีก อันหน่งึ วางทต่ี รงไหนกไ็ ด้ ที่วาง Electrode ตอ้ งโกนผมทงิ้ และต่อ Electrode กบั หมอ้ แปลงไฟฟ้า และเครือ่ งบันทกึ คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า เม่อื คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ เดินทางมากระทบกบั Electrode เครอ่ื งมอื บันทึกก็จะบันทึกคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเดินทางมากระทบกับ Electrode เครอ่ื งมือบนั ทึกกจ็ ะบันทกึ ลงเปน็ กราฟไว้ได้ คล่ืนชดุ แรกที่เบอรเ์ กอร์บันทกึ ไวไ้ ดม้ จี ํานวนถ่ีประมาณ 10 ครัง้ ตอ่ 1 วินาที และมกี าํ ลังประมาณ 100 ไมโครโวลท์ และเรียกชอ่ื คลื่นสมองทีพ่ บคร้ังแรกว่า แอลฟา นกั จิตวิทยาได้พยายามวัดคลื่นสมอง เพื่อดูวา่ มันจะเปล่ียนแปลงไปตามอารมณ์ชนิด ตา่ งๆหรอื ไม่ และกไ็ ด้พบว่า เมือ่ เวลาปกตขิ ณะไมม่ อี ารมณ์คลน่ื สมองจะเปน็ อยา่ งหน่ึง เวลานอนหลับ

387 จะเป็นอีกอย่างหนง่ึ และเมอ่ื เวลามีอารมณ์จะเป็นลกั ษณะอีกอยา่ งหนึง่ แต่ทวา่ เมื่ออารมณแ์ ตกตา่ ง กนั เช่น รัก กบั โกรธ คลน่ื สมองก็มิได้แสดงความแตกต่างใหเ้ ห็นชดั นกั จิตวทิ ยายังได้พบวา่ คลน่ื สมองของคนคนหน่งึ จะเหมือนกนั ทุกครงั้ และบคุ คลสอง คนทีเ่ ป็นฝาแฝดแท้ (Identical Twins) ทเ่ี กดิ จากไขใ่ บเดยี วกนั จะมลี กั ษณะคล่ืนสมองคลา้ ยคลึงกนั มาก ในคนคนเดยี วคลน่ื สมองจะแตกตา่ งกนั ถา้ วาง Electrode ตา่ งทีก่ ัน เวลาคนหลบั หรอื สลบเพราะ ดมยาคลื่นสมองจะชา้ และสงู แตถ่ า้ คนกําลงั ทาํ งานอยา่ งใดอย่างหนึ่งอย่อู ยา่ งตัง้ ใจหรอื กําลังต่นื เต้น คล่นื สมองจะเล็กละเอยี ด การใช้กัลป์วาโนมเิ ตอร์ (Galvanometer) แทจ้ รงิ แล้วมิใช่จะใช้สําหรับจับ เทจ็ อย่างเดียว เพราะถงึ แมอ้ ารมณ์ชนิดอื่นๆทไี่ มใ่ ชค่ วามกลัว หรือ ตกใจเสยี ใจ หรอื วิตกกังวล แต่ เป็นอารมณท์ างด้านสนุกสนาน สุข ร่าเริงช่ืนบาน ต่ืนเต้น ก็จะปรากฏผลออกมาเหมือนกนั เพราะฉะนัน้ G.R.S จะบอกเราแต่เพยี งว่าบุคคลนน้ั กาํ ลงั มอี ารมณ์หรือไม่ และมีรุนแรงเพียงไร โดยจะปรากฎขึ้น บนแผน่ กระดาษกราฟทใ่ี ช้บันทึกเทา่ นั้น จากการวดั อารมณ์แลว้ การวัดความรูส้ ึกทางอารมณ์ เมอ่ื บุคคลถกู กลา่ วหาวา่ ทาํ ความผดิ หรือประกอบอาชญากรรม เพอื่ สอบสวน หรอื แม้อารมณ์จะทาํ ใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงทางรา่ งกาย มากมาย เช่น ความตึงเครียดของกล้ามเน้ือหรือหน้าแดง เป็นต้น ส่งผลต่อร่างกายทาํ ให้เกิด ความเครียด ผเู้ ขียนจงึ ขอเสนอรายละเอียดเก่ียวกับความเครยี ด มดี ังตอ่ ไปน้ี ภาพที่ 117 แสดงภาพความเครยี ด (ที่มา https://sarochafon159.wordpress.com 18 เมษายน 2559)

388 14. ความเครียด ความเครยี ด (Stress) เป็นปฏกิ ริ ิยาของร่างกายทเี่ กดิ ข้ึน เมอ่ื ร่างกายถกู กระต้นุ และมี ปฏิกิริยาตอบโต้เป็นปฏิกิริยาทางสรีรวิทยาและจิตวิทยา โดยระบบต่อมไร้ท่อท่ีหลั่งฮอร์โมนและ ระบบประสาทอัตโนมตั ิ ทําให้เกิด การเปลีย่ นแปลง ไปทวั่ รา่ งกาย 14.1 ความเครยี ดภายในใจ เม่อื เกิดความเครียดภายในจติ ใจ มักส่งผลทําใหเ้ กิด การเปลี่ยนแปลงทส่ี งั เกตได้อยา่ งชัดเจน เช่น (www.si.mahidol.ac.th อ้างถงึ ใน http://www.novabizz.com/NovaAce/Stress 8 เมษายน 2559) 14.1.1 ทางกาย: ปวดศีรษะ ออ่ นเพลยี นอนไมห่ ลับ เบ่ืออาหาร หายใจไมอ่ ม่ิ หัวใจ เต้นเรว็ ขน้ึ ความดันโลหติ เพมิ่ ขนึ้ มอื เยน็ เทา้ เยน็ เหงอ่ื ออก ตามมอื ตามเทา้ หายใจตน้ื และเรว็ ขนึ้ ใจส่นั ถอนหายใจบ่อยๆ กัดขากรรไกร ขมวดควิ้ ตึงท่ีคอ ประสาทรบั ความรูส้ ึกหไู วตาไวข้ึน การใช้ พลังงานของร่างกายเพิม่ ข้ึน รู้สึกเพลีย ปวดศีรษะ ไมเกรน ทอ้ งเสียหรือ ทอ้ งผูก นอนไมห่ ลับ หรอื ง่วงเหงาหาวนอนตลอดเวลา ปวดเม่ือยกล้ามเนื้อ เบ่อื อาหารหรือกินมากกวา่ ปกติ ท้องอดื เฟอ้ อาหาร ไม่ย่อย ประจําเดือนมาไม่ปกติ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ผิวหนังเป็นผ่ืนคัน เป็นหวัดบ่อยๆ แพ้อากาศงา่ ย 14.1.2 ทางจิตใจ : หงุดหงดิ สับสน คดิ อะไรไม่ออก เบ่ือหน่าย โมโหงา่ ย ซึมเศรา้ สมองทาํ งานมากขึ้น ความคิดอา่ นระยะส้นั ดขี ้นึ การตดั สินใจเรว็ ขึน้ ความจําดขี ึน้ สมาธิดีข้ึน วติ กกังวล คดิ มาก คดิ ฟุ้งซ่าน หลงลมื งา่ ย ไม่มสี มาธิ หงดุ หงดิ โกรธง่าย ใจ น้อย เบอ่ื หนา่ ย ซึมเศรา้ เหงา วา้ เหว่ สิน้ หวัง หมดความรู้สึกสนกุ สนาน 14.1.3 ทางสังคม : บางครั้งทะเลาะววิ าทกับคนใกล้ชดิ หรือไมพ่ ูดจากับใคร จู้จ้ี ขีบ้ ่น ชวนทะเลาะ มเี รือ่ งขดั แย้งกับผ้อู ่นื บอ่ ยๆ 14.2 ชนดิ ของความเครยี ด 14.2.1 Acute stress คือความเครยี ดทเี่ กดิ ข้นึ ทนั ทแี ละร่างกายก็ตอบสนอง ตอ่ ความเครียดนั้นทนั ทเี หมอื นกนั โดยมกี ารหล่ังฮอร์โมนความเครียด เมือ่ ความเครยี ดหายไปร่างกาย ก็จะกลบั สปู่ กตเิ หมือนเดิมฮอร์โมนก็จะกลบั ส่ปู กติ ตวั อยา่ ง ความเครยี ด (www.si.mahidol.ac.th อา้ งถึงใน http://www.novabizz.com/NovaAce/Stress 8 เมษายน 2559) 14.2.1.1 เสยี ง 14.2.1.2 อากาศเย็นหรอื ร้อน 14.2.1.3 ชมุ ชนที่คนมากๆ 14.2.1.4 ความกลวั

389 14.2.1.5 ตกใจ 14.2.1.6 หิวข้าว 14.2.1.7 อันตราย 14.2.2 Chronic stress หรอื ความเครยี ดเรือ้ รังเปน็ ความเครยี ดทเ่ี กดิ ข้ึนทุกวัน และร่างกายไม่สามารถตอบสนองหรือแสดงออกต่อความเครียดนน้ั ซง่ึ เมอ่ื นานวันเข้าความเครียดนนั้ กจ็ ะสะสมเป็นความเครียดเร้ือรงั ตัวอย่าง ความเครยี ดเรือ้ รัง 14.2.2.1 ความเครยี ดทีท่ าํ งาน 14.2.2.2 ความเครยี ดท่ีเกิดจากความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล 14.2.2.3 ความเครียดของแมบ่ า้ น 14.2.2.4 ความเหงา 14.3 ฮอรโ์ มนทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ความเครยี ด เมื่อมีภาวะกดดันหรือความเครียดร่างกายจะฮอร์โมนท่ีเรียกว่า คอติซอล (cortisol) และ อะดรีนลนิ (adrenaline) ฮอร์โมนดังกล่าวจะทําให้ความดันโลหติ สงู และหัวใจเตน้ เรว็ เพ่ือเตรยี มพร้อมใหร้ า่ งกายแขง็ แรงและมพี ลังงานพร้อมท่ีจะกระทาํ เชน่ การว่งิ หนีอนั ตราย การยก ของหนีไฟถ้าหากได้กระทาํ ฮอรโ์ มนนน้ั จะถกู ใชไ้ ปความกดดนั หรือความเครยี ดจะหายไป แตค่ วามเครยี ด หรือความกดดันอาจจะเกิดขณะท่ีน่ังทํางานขับรถ กลุ้มใจไม่มีเงินค่าเทอมลูก ความกดดันหรือ ความเครียดไม่สามารถกระทําออกมาได้เกิดโดยท่ีไม่รู้ตัว ทาํ ให้ฮอร์โมนเหล่านั้นสะสมในร่างกาย จนกระทง่ั เกิดอาการทางกายและทางใจ 14.4 ผลกระทบของอารมณ์ 14.4.1 ผลกระทบของอารมณ์ต่อรา่ งกายที่เหน็ ไดช้ ัดคือ รบกวนการทาํ งานของ ความคดิ ในขณะทส่ี ภาวะจิตใจเตม็ ไปดว้ ยอารมณ์ ประสทิ ธิภาพในการคดิ จะลดลง ไมว่ า่ จะเป็นความคดิ ดว้ ยเหตุผลหรือการใช้ความสามารถของสมองเพือ่ ความคิดในด้านต่างๆ เช่น คํานวณ ความจํา เป็นต้น จะสงั เกตวา่ ในสภาพทีม่ อี ารมณ์ การรับรู้ขอ้ มูลตา่ งๆ จะแยล่ ง เป็นลักษณะของการขาดสมาธิ อันเป็น ผลจากประสิทธิภาพการทาํ งานของสมองลดลงผลกระทบประการต่อมา ด้านร่างกายจะกระทบ ตอ่ ระบบการทาํ งานของอวยั วะอน่ื ๆ โดยเฉพาะอวัยวะท่ีอยภู่ ายใตก้ ารทาํ งานของระบบประสาทอัตโนมตั ิ เช่น ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร แตถ่ า้ ตกอยภู่ ายใตภ้ าวะอารมณ์ทก่ี ดดนั เปน็ เวลานานจะสง่ ผลต่อระบบภมู ิคุ้มกนั ของร่ากาย ทาํ ให้ร่างกายอ่อนแอลง มคี วามเสี่ยงต่อการเจบ็ ปว่ ย 14.4.2 ผลกระทบของอารมณ์ตอ่ จติ ใจและพฤตกิ รรม เมอ่ื เกิดอารมณ์ทางลบ ทําใหส้ ภาพจติ ใจของคนคนนนั้ ไมแ่ จ่มใส ไม่เบิกบาน สง่ ผลตอ่ วธิ คี ิดและการแสดงออกทางพฤตกิ รรม ตามมา เชน่ ในคนที่มคี วามโกรธแคน้ อย่างมาก อาจแสดงพฤตกิ รรมรุนแรงโดยไมส่ ามารถพจิ ารณา ไตรต่ รองใหร้ อบคอบได้ ผลกระทบต่อจิตใจอกี ประการหนึ่งเป็นผลจากการตกอยภู่ ายใต้อารมณท์ างลบ

390 เป็นเวลานานจนไมส่ ามารถปรับตัวได้ อาจนาํ ไปสู่สภาวะการเจบ็ ป่วยทางจิต โดยเฉพาะการเกดิ โรค ซมึ เศร้า ซ่งึ เป็นผลจากความกดดันทางอารมณเ์ ป็นเวลานานจนรสู้ กึ วา่ ไมส่ ามารถหาทางออกได้ เมือ่ เกิดภาวะซึมเศร้าลักษณะอารมณ์จะหดหู่ ไม่สามารถสนุกได้อย่างที่เคย เบ่ืออาหาร นอนไม่หลับ เกบ็ ตัว มคี วามคดิ ทางลบต่อตนเองและอาจคดิ ทําร้ายตนเอง 14.4.3 ผลกระทบของอารมณ์ต่อผอู้ ่นื การท่สี ภาวะอารมณ์เป็นบวกหรอื เป็น ลบส่งผลตอ่ บคุ คลทีอ่ ยรู่ อบขา้ ง โดยเฉพาะอารมณ์ทางลบมผี ลต่อความสัมพนั ธข์ องบคุ คล เนอื่ งจาก อารมณ์เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการส่ือสารกับผู้อื่น ผลกระทบที่เกิดข้ึนอาจเกิดกับบุคคลใกล้ชิด คนในครอบครวั และคนอ่ืนๆที่มีความสัมพนั ธท์ างสงั คม ตวั อยา่ งเช่น การสือ่ สารระหวา่ งแม่และทารก อารมณ์จะเป็นองค์ประกอบสาํ คญั ของการสอ่ื สาร ซง่ึ นําไปสู่ความสมั พันธท์ ่ดี หี รอื ไมด่ ไี ด้ 15. ภาวะท่เี กิดจากความเครยี ด 15.1 ภาวะซมึ เศรา้ “ภาวะซมึ เศร้า” เป็นพยาธสิ ภาพทางจิตที่มีระดับความรู้สกึ เศรา้ รุนแรงหรือ เรื้อรงั รู้สกึ หมด หนทาง มภี าวะสน้ิ ยินดี และมอี ารมณ์หรอื มพี ฤติกรรมอื่นๆร่วมดว้ ย ซึง่ หากถกู วินิจฉัยโดยแพทย์ จะถูกเรียกวา่ “โรคซมึ เศร้า” ในค่มู ือการวนิ ิจฉยั และสถติ ิสําหรบั ความผดิ ปกตทิ าง จติ (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders: DSM) ทเ่ี ป็นหลกั เกณฑ์การวนิ จิ ฉัยความผดิ ปกติทางจิต ซึ่งจดั ทําโดยสมาคมจติ เวชศาสตร์สหรัฐอเมริกา (American Psychia tric Association: APA) กลา่ วว่าอารมณ์เศรา้ มักมรี ายงานของความรูส้ ึกซึมเศร้า ความเศร้าโศก และ หมดหวัง (http://haamor.com/th 24 เมษายน 2559) โดยท่ัวๆไป คาํ ว่า ภาวะซมึ เศร้า (Depression) และคาํ ว่าความเศร้า (Sad) มี ความหมายเหมือนกัน แตใ่ นทางคลินกิ ภาวะซึมเศรา้ จะประกอบด้วยความรสู้ กึ มากกวา่ 1 อยา่ งอาทิ ความโกรธ, ความกลวั , ความกังวล, ความสนิ้ หวงั , ความรสู้ ึกผดิ , ความไรอ้ ารมณ์ และ/หรือความ เศร้า ซึง่ เหล่าน้ีจดั เปน็ ภาวะทอ่ี นั ตรายต่อร่างกาย และมผี ลกระทบตอ่ การทํางานของสมอง โรคซมึ เศรา้ (Depressive disorder) คือ ความผิดปกติของอารมณท์ ีถ่ กู วินจิ ฉัย โดยแพทยแ์ ละเป็นพยาธสิ ภาพทางจิตทมี่ ีลักษณะอารมณเ์ ศรา้ มากเกนิ ไป รนุ แรง ยาวนาน และเรื้อรัง มีผลกระทบต่อชีวิตประจําวันของผู้ท่ีอยู่ในสภาวะโรคนี้ซ่ึงจะมีลักษณะอาการ ได้แก่ เศร้ามาก เศรา้ บอ่ ยๆ ขาดความสนใจจากสงิ่ ที่เคยสนใจ นํ้าหนักลดหรอื เพ่มิ มาก นอนไม่หลบั หรอื หลบั มากไป ข้ลี มื คดิ อะไรไมค่ อ่ ยออก เปน็ ตน้ ซึง่ มักไมด่ ีขึ้นเมอ่ื ใหก้ ําลงั ใจ บางรายอาจถึงขนาดคิดอยากตายหรือ ฆา่ ตัวตายได้ (http://haamor.com/th 24 เมษายน 2559)

391 ความชกุ จากกการคาดการณข์ ององค์การอนามัยโลก เมอ่ื ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) พบ วา่ มีผ้ปู ่วยด้วยโรคซึมเศรา้ มากถึง 150 ลา้ นคนท่วั โลก และพบว่าโรคซมึ เศร้ายงั เปน็ สาเหตุ ของภาวะทพุ พลภาพในประชากรโลกอกี ด้วย โดยปจั จุบันจัดลําดับโรคซึมเศรา้ เปน็ สาเหตุอนั ดับ 2 ของปีสขุ ภาวะที่สูญเสีย หรอื DALYs (Disability Adjusted Life Years: DALYs ซง่ึ เป็นการวัด สถานะสขุ ภาพของประชากรแบบองคร์ วมทีว่ ัดภาวะการสญู เสยี ดา้ นสขุ ภาพหรือช่องวา่ งสุขภาพ /Health gap โดยแสดงถึงจาํ นวนปที ีส่ ญู เสียไปจากการตายก่อนวัยอันควร/Years of Life Lost - YLL รวมกับจาํ นวนปที ม่ี ชี วี ิตอยกู่ ับความบกพรอ่ งทางสุขภาพ/Years Life with Disability - YLD ) ในประชากรช่วงอายุ 15 - 44 ปที ่วั โลก ในประเทศไทยจากผลการสาํ รวจระบาดวิทยาโรคทางจิตเวชระดบั ชาตโิ ดยกรม สุขภาพจติ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2551 พบว่าความชุกโรคซึมเศรา้ ในคนไทยอายตุ งั้ แต่ 15 ปีขึ้นไปทัว่ ประเทศมี 2.7% แบง่ รายภาคเป็น ภาคกลางความชกุ 2.4% ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ความชุก 2.7% ภาคใต้ ความชุก 2.3% ภาคเหนือความชุก 2.3% และกรงุ เทพมหานครความชกุ 5.1% 15.2 โรคซึมเศรา้ มีรูปแบบ ดังต่อไปนี้ 15.2.1 โรคซึมเศร้ารุนแรง เป็นภาวะซมึ เศรา้ ท่ีมอี ารมณ์หดหแู่ ละไม่อยากทํา กจิ กรรมทปี่ กตเิ คยชอบทํา มักจะหมกมุ่น มคี วามคดิ หรอื รสู้ กึ ถงึ การไมม่ คี ุณคา่ ความเสยี ใจหรือรสู้ กึ ผิดอยา่ งไมม่ ีเหตุผล ช่วยเหลอื ตัวเองไม่ได้ หมดหวงั และเกลยี ดตัวเอง ความต้องการทางเพศลดลง และมีความคดิ เก่ียวกบั ความตายหรอื การฆ่าตวั ตาย ในรายทรี่ นุ แรงจะแสดงอาการของภาวะทางจิต (Psychosis) และมีผลกระทบอยา่ งชัดเจนต่อครอบครวั ผู้ป่วย ความสัมพันธส์ ่วนตวั การทาํ งานหรือ การเรยี น การนอนหลับและการรบั ประทานอาหาร และสขุ ภาพท่ัวไป 15.2.2 โรคซมึ เศร้าตอ่ เนือ่ งยาวนาน มีความรุนแรงนอ้ ยกวา่ โรคซมึ เศรา้ แบบ รนุ แรงดงั กลา่ ว แตจ่ ะมีอาการต่อเน่ืองเร้ือรังเปน็ เวลานาน จะมีอารมณซ์ มึ เศรา้ การปฏิบตั งิ านไมไ่ ดด้ ี เท่าปกติ และมอี าการโรคซมึ เศร้าอนื่ ๆ เชน่ นอนไมห่ ลบั มองโลกในแง่ร้าย ขาดสมาธิ ไม่คอ่ ยสงั คม อาการเปน็ เกือบทุกวันเป็นเวลาอยา่ งน้อย 2 ปี ผ้ปู ว่ ยโรคซมึ เศรา้ เร้ือรังจงึ แตกตา่ งจากผปู้ ่วยโรคซมึ เศรา้ รุนแรงตรงทผี่ ปู้ ่วยโรคซึมเศรา้ เร้ือรังยังทําหน้าทตี่ า่ งๆได้ตามปกติ ซึ่งคนท่ปี ่วยดว้ ยโรคซึมเศรา้ เร้ือรงั นี้ สามารถเปลี่ยนเป็นโรคซมึ เศรา้ แบบรนุ แรงได้ 15.2.3 โรคซึมเศรา้ ทมี่ ปี ระสาทหลอน ผู้ป่วยชนิดนี้จะมีอาการรุนแรงและมี อาการประสาทหลอนหรืออาการหลงผดิ เช่น มคี วามคิดว่าตนมคี วามผดิ หรอื บาปอยา่ งมากหรอื มหี แู ว่ว เปน็ เสียงตาํ หนติ นเองหรือมีความคิดวา่ มคี นจะทาํ ร้าย เช่อื ว่า คนอืน่ ลว่ งรคู้ วามคดิ ของตนเองโรคซมึ เศรา้ หลงั คลอด ผหู้ ญงิ ท่เี พิ่งคลอดบุตร บางคนจะรอ้ งไหอ้ ยรู่ ะยะหนึง่ ถือเป็นเรอ่ื งปกติ ภาวะน้จี ะสามารถ หายไปได้เองในหนึ่งสปั ดาห์โดยไม่จําเปน็ ต้องได้รับการรกั ษา แตผ่ หู้ ญงิ ทเ่ี พงิ่ คลอดจะมีโอกาสเป็น

392 โรคซึมเศร้าหลังคลอด 1% ซ่ึงอาจเกิดข้ึนได้ตลอดในช่วงปีแรกหลังคลอด ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลัง คลอดจะมอี าการของโรคซึมเศรา้ และไมส่ นใจดแู ลลูก ไมม่ คี วามสุขกับลกู ทง้ั ทเี่ พง่ิ มลี ูก 15.2.4 โรคซึมเศร้าตามฤดูกาล เม่ือเขา้ สฤู่ ดูหนาว คนทว่ั ไปอาจมีความรู้สึกซมึ ได้เมอื่ สภาพอากาศท่มี ืดมัว แต่ผู้ป่วยซึมเศร้าตามฤดกู าลจะมีความรสู้ กึ แยก่ ว่าความร้สู กึ ซมึ เศรา้ ของ คนปกติ ซ่ึงสภาพอากาศจะทาํ ใหผ้ ูป้ ว่ ยรู้สกึ วา่ พลังงานลดลง รู้สกึ แยแ่ ต่ไมถ่ งึ ข้ันซึมเศร้า แตบ่ างราย อาจเปน็ เหมอื นกบั ผู้ปว่ ยโรคซึมเศรา้ รุนแรง ซึง่ อาการนี้สามารถดขี ้ึนได้เม่อื ไดร้ บั การบําบัดด้วยการให้ แสงสว่าง 15.2.5 โรคซมึ เศร้าในเด็กและวยั รุ่น อาการค่อนข้างแตกต่างจากผใู้ หญ่ ซ่ึงใน เด็กและวยั ร่นุ บางรายซึมเศรา้ จะไมซ่ ึม แต่จะมอี าการหงุดหงิด ฉนุ เฉียว เจ็บป่วยทางรา่ งกายบ่อยๆ ไมม่ สี มาธิในการเรยี น เก็บตัวไม่เล่นกับเพอ่ื นๆ 15.3 สาเหตขุ องโรคซมึ เศร้า สาเหตุของโรคซึมเศร้าในปัจจุบันทราบสาเหตุเพียงเล็กน้อย ซึ่งไม่ได้เป็น การบอกวา่ สาเหตใุ ดสาเหตหุ นึ่งจะทําให้เครยี ดหรอื ซมึ เศรา้ แต่หลายๆปจั จยั ประกอบกันทาํ ใหเ้ กิดโรค ซมึ เศร้าได้ ซึ่งปัจจุบันแบง่ สาเหตุโรคซมึ เศรา้ ออกได้ 3 สาเหตไุ ด้แก่ (http://haamor.com/th 24 เมษายน 2559) 15.3.1 สาเหตุทางกาย (Biological cause): สารเคมีที่เป็นสารส่อื ประสาทในสมองบางอยา่ งแปรปรวนไมส่ มดลุ ก็ ทาํ ให้เกิดซมึ เศร้าได้ ซึ่งพบวา่ ระบบสารเคมใี นสมองของผู้ป่วยโรคซึมเศรา้ มีการเปลยี่ นแปลงไปจาก ปกติอย่างชัดเจน โดยพบมสี ารสือ่ ประสาทที่สาํ คญั เช่น ซโี รโทนนิ (Serotonin) และนอรเ์ อพิเนฟริน (Norepinephrine) ลดตํา่ ลง อกี ทั้งสาเหตุด้านกรรมพนั ธุ์ ซง่ึ มีส่วนเกย่ี วข้องสงู ในโรคซมึ เศร้าโดยเฉพาะ ผู้มีครอบครัวเป็นโรคน้ีมีโอกาสป่วยด้วยโรคซึมเศร้า 2.8 เท่าของคนท่ัวไป ซึ่งอาการซึมเศร้าจาก สาเหตุนี้มีลักษณะเฉพาะตัว คือ มีอาการซึมเศร้าเป็นซ้าํ หลายๆครั้ง เกิดอาการเป็นพักๆในช่วง ระยะเวลาที่แน่นอนระยะหน่ึง หลังจากนั้นจะตามด้วยช่วงระยะปลอดอาการซึ่งจะกลับเป็นปกติ สมบรู ณ์โดยไมพ่ บความแปรปรวนดา้ นบคุ ลกิ ภาพใดๆใหเ้ หน็ เกดิ จากความผิดปกตเิ สียหายของสมอง ซ่ึงอาจมีสาเหตุได้หลายสาเหตุ เช่น โรคเส้นเลือดแข็งตัวผิดปกติหรือโรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Arteriosclerosis), โรคเสน้ เลือดอุดตนั หรือแตกในสมองหรอื โรคหลอดเลอื ดสมองชนิดขาดเลือดและ ชนดิ เลอื ดออก, โรคสมองซึ่งเกิดภายหลงั อุบัติเหตทุ างสมอง, โรคเนอ้ื งอกสมอง, หรอื โรคทางสมองท่ีมี อาการซึมเศร้ารว่ มกับภาวะจิตเภทและลมชัก นอกจากนี้ความผิดปกติทางกายอ่ืนๆ ก็อาจทําให้ เกิดโรคซึมเศร้าได้ เช่น โรคตับอักเสบ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคพารก์ ินสัน โรค SLE เปน็ ต้น รวมถงึ ผลขา้ งเคียงจากยาบางชนิดอาจเปน็ ผลให้เกิดภาวะซมึ เศร้าในบางคนได้ เช่น ยา Corticosteroid, Propranolol เป็นต้น

393 15.3.2 สาเหตดุ า้ นจิตใจ (Psychological cause): สาเหตุอนื่ ๆดา้ นจิตใจเชน่ การสญู เสยี บคุ คลอนั เป็นท่ีรกั ผดิ หวงั ในชวี ิต ล้มเหลว ผิดพลาด มคี วามโกรธแค้นแล้วระบายออกไม่ไดจ้ งึ ย้อนมากดดนั รสู้ ึกผดิ ในตนเอง มีความคิด บดิ เบือน มีความคดิ ลบ ไมม่ ีใครช่วยเหลอื ได้ ไมม่ คี วามหวงั แล้ว เป็นตน้ คนบางคนมแี นวโน้มเปน็ โรคซึมเศร้าได้มากกว่าผู้อื่น แม้ว่าลักษณะภายนอกจะเป็นคนบุคลิกม่ันคง มีความทะเยอทะยาน มีความซื่อตรงในหน้าที่ ความประพฤตดิ งี าม แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามในสภาพจิตใจระดบั ลึกๆ มคี วามลังเล สบั สนและขาดความมนั่ ใจ กม็ แี นวโนม้ ใหซ้ มึ เศรา้ ได้ โดยผูท้ เ่ี ป็นโรคนี้ตอ้ งประสบกบั ภาวะเหตกุ ารณ์ รนุ แรงบางอย่างในชวี ิตทีต่ นเองไมส่ ามารถจดั การได้ ซ่ึงอาจมสี าเหตุจากครอบครัวตงึ เครียด สะเทือน ใจอย่างมาก ถกู คาดหวงั สูง ถูกบบี ค้ันอยา่ งมาก การหย่ารา้ ง ความสูญเสยี เปน็ ต้น 15.3.3 สาเหตุดา้ นสงั คม (Social cause) เช่น ความกดดนั จากสังคมจาก เศรษฐกจิ เป็นเวลานาน การไมส่ ามารถทําไดต้ ามการคาดหวังของสงั คมเศรษฐกจิ 15.4 อาการของโรคซมึ เศร้า อาการเครยี ดสามารถเกิดขึ้นได้กับคนท่วั ไป แต่ที่จดั ว่าอยใู่ นเกณฑ์เครียดจน อาจกลายเป็นโรคซมึ เศรา้ ไดแ้ ก่ 15.4.1 รู้สกึ ผดิ หวงั ส้นิ หวงั ไมม่ ใี ครช่วยได้ 15.4.2 ไรค้ วามสนใจกจิ วตั รประจาํ วันหรอื สง่ิ แวดลอ้ มจากท่เี ดิมเคยสนใจเช่น เคยดทู ีวแี ลว้ สนุก กไ็ มอ่ ยากดทู วี ี 15.4.3 การกินและน้ําหนักเปลยี่ นแปลง บางคนกนิ เยอะข้ึน บางคนเบือ่ อาหาร ทาํ ใหน้ า้ํ หนกั เพม่ิ ขึ้นหรือลดลง 15.4.4 ปัญหาการนอน เมือ่ เกิดภาวะโรคซึมเศร้ามกั จะมอี าการนอนไม่หลับ รว่ มด้วย 15.4.5 โกรธและหงดุ หงิดงา่ ย ซึ่งมักจะเกิดจากความอดทนต่อความเครียด ต่ําลง มักจะพบในวยั รุน่ 15.4.6 รสู้ ึกไรค้ า่ ร้สู กึ ผดิ ตําหนิตนเองบอ่ ยๆ 15.4.7 ไร้พลัง มีความรู้สึกสญู เสยี พลัง ไมม่ พี ลงั ขับเคล่อื นให้ตอ้ งทาํ อะไรใน ชวี ติ ประจําวัน 15.4.8 พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เมื่อเศร้าแลว้ บางคนหาทางออกด้านพฤติกรรม เสีย่ ง เช่น ตดิ ยาเสพตดิ ตดิ พนัน ขบั รถเรว็ เลน่ กฬี าเส่ียงตาย เปน็ ตน้ 15.4.10 อาการทางร่างกายเช่น การเจ็บปว่ ย (เชน่ ปวดท้อง มึนศีรษะ) หรือ การเจ็บปวด (เช่น ปวดหลัง ปวดคอ ปวดไหล่) บ่อย โดยไม่สามารถ อธิบายสาเหตุทางร่างกายได้

394 15.5 สัญญาณเตือนว่าเร่ิมเครียดหรือเร่ิมซมึ เศรา้ เม่ือใดท่ีคนเรารู้ตัวเองว่าตนเองไม่ปกติ ทุกข์อย่างมาก จนไม่สามารถที่ลด ความเครียดลงได้ ส่งผลให้ทาํ งานหรอื เรียนตามปกตแิ ยล่ ง บางคร้ังอาจไปทาํ ให้คนอื่นเดือดร้อน จน หาทางออกไม่ได้หรอื ไม่มีที่พงึ่ แลว้ น่นั คอื เริ่มมปี ัญหาสุขภาพจติ แล้ว และจะสังเกตเบอ้ื งตน้ ก่อนจะ เกิดเปน็ โรคซึมเศรา้ คนส่วนใหญ่มักมคี วามเครยี ด ซ่งึ ปญั หาสุขภาพจิตส่วนใหญท่ ี่พบไดค้ ่อน ขา้ งบอ่ ย หลายครง้ั ทีเ่ ราเอง “ไม่รสู้ กึ ตวั ” วา่ กาํ ลังเครียด รอจนเกิดอาการผดิ ปกตขิ ้ึนมาจงึ จะเร่มิ ร้ตู ัววา่ เรา กําลงั เครยี ดเสยี แลว้ ซ่ึงสังเกตง่ายๆเมื่อเรามีความเครียดสมั พันธก์ ับอาการ 3 อยา่ งดัง ต่อไปน้ี 15.5.1 การหายใจ หลายคนละเลยไม่เคยสงั เกต เม่ือเราเครียด การหายใจ ของเราจะผดิ ไปจากปกติ เราจะหายใจถข่ี น้ึ ตนื้ ขึน้ และหลายครง้ั เรา “กลน้ั หายใจ” โดยไมร่ สู้ ึกตวั ซง่ึ หากเป็นแบบน้ีบอ่ ยๆ อากาศจะเขา้ สปู่ อดนอ้ ยลงเรอ่ื ยๆ สดุ ทา้ ยคนท่เี ครยี ดมกั จะ “ถอนหายใจ” เพื่อ ระบายอากาศออกมาและบังคับให้หายใจเข้าลึกๆใหม่อีกคร้ังหนึ่ง ซ่ึงบางคนก็ใช้เป็นการระบาย ความเครยี ดได้ชวั่ คราว 15.5.2 อาการร้อนท้อง ปวดท้องหรือรอ้ นกระเพาะอาหาร :เกดิ เน่อื งจากเวลา เครียดจากการทํางาน รับงานมาทําเยอะๆ หรอื ฟงั เรอื่ งรา้ ยๆ หรอื ถกู ตาํ หนิบ่อยๆ จะเกิดอาการรอ้ น ในทอ้ ง แสบทอ้ ง ซึ่งเกิดจากการหลงั่ กรดมากในกระเพาะอาหาร 15.5.3 ปวดศีรษะ ปวดขมับ เกิดขึ้นได้บ่อยเวลาเครียด สาเหตุก็มาจาก การหายใจซงึ่ ทาํ ใหอ้ อกซเิ จนไปเล้ียงสมองไมเ่ ตม็ ท่ี ทาํ ให้ตอ้ งสบู ฉดี เลือดไปสมองเรว็ ขน้ึ และเสน้ เลอื ด บีบ ตัวมากขน้ึ ทาํ ใหเ้ ราปวดต๊บุ ๆที่ศีรษะ 15.6 การรักษาโรคซมึ เศร้า 15.6.1 การคลายความเครียด ความเครยี ดมผี ลกบั รา่ งกาย 3 อยา่ งคือ การหายใจ ปวดทอ้ ง และ ปวดศีรษะ วิธีคลายเครียดหรือการดูแลความเครียดก็คือ วิธีทาํ ให้ท้ัง 3 ระบบของร่างกายได้ผ่อน คลาย เช่น ออกกําลังกาย ฝึกการหายใจเข้า-ออกลึกๆชา้ ๆ โยคะ ปลกู ต้นไม้ รดน้ําต้นไม้ ทาํ งาน อดเิ รกที่ตนเองชอบ พดู คยุ กับเพือ่ น ฝึกเจรญิ สตติ นเองได้ในระหว่างทาํ งาน เป็นตน้ ซง่ึ หากอย่ใู นขณะ ทํางานควรหาเวลาซัก 5 นาทีในการผ่อนคลายตนเอง จะทาํ ให้ความเครียดไม่ก่อตัวรุนแรงขึ้นจน กลายเปน็ โรคได้ หากใครมคี วามสามารถในการจดั การกบั ความคิดตนเองหรือก็จะทาํ ให้ความเครียด บรรเทาเบาบางลงได้มาก หลายคนสามารถจัดการความเครยี ดไดด้ ว้ ยตนเองหรือมบี คุ คลรอบข้างพดู คุย ผ่อนคลายได้บา้ งกไ็ มจ่ ําเป็นต้องพบแพทย์ก็ได้ ส่วนคนทเี่ ครยี ดจนรบกวนชีวติ ประจําวนั ของตนเอง และผูอ้ ่นื ทง้ั ด้านการทาํ งาน การเรียน และการใช้ชีวิต ควรพบจติ แพทยเ์ พื่อรบั การช่วยเหลือกรณเี กิด ความเครยี ดท่รี นุ แรงมากขนึ้ จนไมส่ ามารถจดั การได้ดว้ ยตนเอง กลา่ วคือ จนกลายเปน็ ภาวะซึมเศร้า หรือโรคซึมเศรา้ ควรไปพบแพทย์หรอื จิตแพทย์

395 15.6.2 การรักษาโรคซมึ เศรา้ 15.6.2.1 รกั ษาอาการทางกายใหส้ งบ เชน่ โรคกระเพาะอาการ โรค ความดันโลหิตสงู เป็นต้น ซึง่ ถือเปน็ การรักษาปลายเหตุแตเ่ ปน็ ส่งิ ท่จี ําเปน็ ตอ้ งทําก่อน 15.6.2.2 แพทยจ์ ะพดู คยุ สัมภาษณป์ ระวัติ ตรวจรา่ งกาย และตรวจ สภาพจิต เพือ่ วนิ ิจฉยั ทางการ แพทยแ์ ละหาเหตขุ องปัญหา 15.6.2.3 การใหย้ า ในกรณีท่ีบางคนมีปญั หาภาวะซึมเศร้าหรือ โรคซมึ เศรา้ รว่ มกบั มอี าการนอนไม่หลบั หรือมีอาการทางจิตอน่ื ๆที่แพทย์พจิ ารณาวา่ จําเป็นตอ้ งใช้ยา 15.6.2.4 การให้คาํ ปรึกษา ซึง่ เป็นกระบวนการให้ความชว่ ยเหลอื แก่ ผปู้ ระสบปัญหา โดยอาศยั ปฏิสมั พันธ์ระหว่างผู้ให้คาํ ปรกึ ษาและผู้รับการปรกึ ษา ใชเ้ ทคนิคการสือ่ สาร ทาํ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจถึงสาเหตุของปญั หา การรู้จกั ใชศ้ กั ยภาพของตนเองในการคดิ ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาไดด้ ้วยตนเอง 15.6.2.5 จิตบาํ บดั ซึง่ ต้องได้รับการบาํ บัดโดยจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยา บาํ บัดท่ีโรงพยาบาลของรฐั และเอกชน ในกรณที ี่เครยี ดเรอ้ื รงั จนเกิดภาวะซึมเศร้าหรอื โรคซมึ เศร้าเพื่อ ผอ่ นคลายความเครียดและอาการตา่ งๆรวมถงึ การแก้ไขปัญหาชีวิตให้สาํ เรจ็ และมกี ารปรบั ตัวใหเ้ ข้า กบั บุคคลอ่ืนได้ดีโดยในการบาํ บดั ผู้บําบัดจะพดู คุยเพยี งลําพังกับผ้ทู ี่ซมึ เศรา้ ครั้งละประมาณ 45 นาที 8 - 12 คร้ัง ซงึ่ จะมีการร่วมกนั แก้ปญั หาและหาทางออกปญั หานน้ั ๆรว่ มกนั เพ่อื ไมก่ ลบั ไปเกดิ ความรสู้ กึ หรือความคิดทท่ี าํ ให้เกดิ ภาวะซมึ เศร้าหรอื โรคซมึ เศรา้ ไดอ้ ีก 15.6.2.6 จัดสิง่ แวดลอ้ มให้เหมาะสมเชน่ จดั โตะ๊ ทํางานใหผ้ อ่ นคลาย ได้ ทาํ งานพอเหมาะไม่หนกั มากเกินไป ใหม้ เี วลาผอ่ นคลายระหวา่ งทํางาน 15.7 วิธีป้องกันความเครียด ภาวะซมึ เศร้า โรคซมึ เศรา้ ปอ้ งกันความเครยี ด ภาวะซึมเศร้า โรคซึมเศรา้ ได้ดงั น้ี 15.7.1 ตระหนักรู้ในตนเอง รู้จักว่าอารมณ์ตนเองเป็นอย่างไร ยอมรับตาม อารมณ์ท่ีตนเองเป็น (หากปฏิเสธอารมณ์ตนเองตามความเป็นจริงมักจะเกิดความขัดแย้งในใจ เกิดความเครยี ดและซมึ เศร้าได)้ 15.7.2 ฝึกจดั การอารมณต์ นเองอยา่ งเหมาะสม มนุษยท์ กุ คนลว้ นมีอารมณก์ นั ท้งั นน้ั การรเู้ ท่าทนั อารมณอ์ ยา่ งเดียว บางรายอาจอดทนได้ไม่พอ ทําให้เกดิ ความเครยี ดหรือซมึ เศร้าได้ การจดั การถอารมณท์ ่กี ่อใหเ้ กดิ ความเครยี ดจะทําใหไ้ ม่มขี ยะทางอารมณค์ ง่ั ค้างเช่น โกรธก็รู้อารมณแ์ ละ อาจไปปลอ่ ยอารมณเ์ ชงิ สรา้ งสรรค์จากการทํางานบ้าน คุยกบั เพอื่ น เปน็ ต้น 15.7.3 ออกกาํ ลงั กายสมา่ํ เสมอ เปน็ การเตรยี มพร้อมกายและใจเพื่อรองรบั สภาวะอารมณ์ท่เี ครยี ดและซมึ เศร้าในอนาคต และสามารถจดั การอารมณ์ไดง้ า่ ยขน้ึ

396 15.7.4 การพักผอ่ นใหเ้ พียงพอ ซงึ่ การท่ีนอนไม่หลบั รา่ งกายและสมองจะเกดิ ความเครียด และทาํ ใหเ้ กดิ การเหนอ่ื ยล้าทางกายและใจ ทาํ ใหป้ ระสิทธภิ าพการใช้ชีวติ ตํา่ ลงได้ ดังนนั้ การนอนอย่างเพียงพอสําคญั มากในการป้องกนั ความเครยี ด 15.7.5 ครอบครัวและเพอ่ื น คอื บคุ คลท่ีอยู่ใกลเ้ รามากทส่ี ดุ หากเกดิ สภาวะ เครียดเลก็ น้อย กค็ วรมกี ารพดู คุยเพอื่ ไม่ใหส้ ะสมจนกลายเป็นความเครยี ดเรื้อรังได้ 15.7.6 หางานอดเิ รกทํา เป็นส่งิ จาํ เปน็ เพอ่ื ใหต้ นเองมคี วามสขุ และเป็นการ เตรียมตัวเองเอาไว้ หากเครยี ดจะไดม้ ีวิธีทําใหต้ นเองมีความสขุ งานอดิเรกเช่น ดหู นัง ฟงั เพลง เลน่ คอมพวิ เตอร์ รอ้ งเพลง เต้นรํา อ่านหนังสอื ฯลฯ 15.7.7 ทอ่ งเที่ยวหาเวลาพักผ่อนไปทอ่ งเทย่ี วตามสมควรแล้วแต่ความพร้อม เชน่ อยา่ งน้อยเดือนละครัง้ เข้าหาธรรมชาติ ทะเล น้าํ ตก ภเู ขา ฯลฯ 15.7.8 รบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ หลกี เล่ียงอาหารและเครอื่ งดม่ื ท่ีไมเ่ ป็น ประโยชน์เชน่ แอลกอฮอล์ สารกระต้นุ ประสาท เป็นต้น อาหารบางอยา่ งทําใหเ้ กิดการบาํ รุงสมองได้ ทําใหไ้ ม่เครียดเช่น กลว้ ย บลอ็ กโคล่ี ผักโขม นม ธัญพืช สม้ เปน็ ต้น ภาพท่ี 118 แสดงภาพการจดั การอารมณ์ (ท่มี า https://sarochafon159.wordpress.com 18 เมษายน 2559)

397 16. การจดั การกับอารมณ์ ประเวช ตนั ติพิพัฒนสกลุ วธิ ีการจดั การอารมณ์ของคนเรา โดยกลา่ ววา่ เนื่องจาก อารมณเ์ ปน็ สัญญาณที่บอกอะไรบางอย่างแก่เราได้ ดังนัน้ บทเรียนทางอารมณจ์ ึงช่วยให้คนเราเข้าใจ ตนเองได้ดีขึ้น จึงนับเป็นประโยชน์ต่อเรา เพราะธรรมชาติของอารมณ์เป็นเรื่องจริง และเป็นส่ิงที่ เราจําเป็นต้องจัดกระทํากับอารมณ์ที่เรียกว่า “การจัดการอารมณ์” ด้วยการรูจ้ กั อารมณ์ของ ตนเอง เมอ่ื เกิดอารมณ์ขนึ้ มา (สินีนาฏ กําเนิดเพช็ ร์,2544 อา้ งถงึ ใน http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559) ปัจจุบันเป็นท่ียอมรับกันว่า ความฉลาดทางสติปัญญาน้ัน มิได้เป็นปัจจัยช้ีขาดใน การบง่ ชถี้ งึ ความสาํ เร็จในชวี ิตของคนเรา การประสบกับความสาํ เรจ็ ความสุขในชีวิตของคนเรานั้น ข้ึนอยู่กับสิ่งต่างๆ อีกมากมายทั้งปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในในแง่ของปัจจัยภายในนั้น การมี ทกั ษะอารมณท์ ด่ี ี เปน็ ส่งิ ที่มีความสาํ คญั ไมย่ ง่ิ หย่อนหรือบางคร้งั อาจจะมากกว่าการมีสติปญั ญาท่ดี ี ดังตวั อย่างที่มักพบเหน็ ได้ทัว่ ไปวา่ บางคนมกี ารศึกษาสูง แตเ่ มอ่ื ตกอยู่ภายใตก้ ารกดดนั ทางอารมณ์ กลบั ทาํ ส่ิงที่ไมน่ ่ากระทํา จนเกดิ ความเสียหายตอ่ ตนเอง และผู้อืน่ จนมคี าํ พดู ทก่ี ล่าวว่า คนฉลาดทาํ เรอ่ื งโง่ๆ นไ้ี ด้อยา่ งไร ทักษะทางอารมณ์ตอ่ ไปนี้จะเร่ิมจากทกั ษะขน้ั พ้ืนฐานทจี่ ําเป็นต่อการพฒั นาไปสู่ ทกั ษะในข้อต่อๆไปตามลําดับจนถึงทา้ ยสดุ จะเป็นทักษะทางอารมณท์ สี่ ัมพนั ธ์กับบุคคลอ่นื ทกั ษะทาง อารมณข์ ั้นพ้นื ฐานที่ควรฝึกฝนมีดงั ตอ่ ไปน้ี (พรรณพิมล หลอ่ ตระกลู ,2546) 16.1 การรู้เทา่ ทนั อารมณ์ตนเอง หมายถึง การรเู้ ทา่ ทนั วา่ อารมณข์ องตนเองในแต่ละ ขณะนั้นเป็นอย่างไรตนเองรูส้ กึ อย่างไร ร้เู ทา่ ทนั อารมณท์ เี่ ปล่ียนแปลงไปมองอารมณต์ นเองออกวา่ เป็นอยา่ งไร ข้อนีเ้ ปน็ จุดเร่มิ ต้นทส่ี าํ คัญทสี่ ุด เพราะจะเป็นการยบั ยง้ั กระบวนการทเ่ี กิดขึ้นเปน็ ส่งิ ผิด ในการทางตรงกันขา้ มอารมณห์ รอื ความรสู้ กึ ท่เี กิดข้ึนโดยอตั โนมตั หิ รอื ตามสญั ชาตญานนีไ้ ด้มสี ว่ นไม่ มากกน็ ้อยในการช่วยปกป้องหรอื ทําให้เราอยู่มาได้จนถงึ ทุกวันนี้ เพียงตอ่ เราจะมีพัฒนาการข้นึ ไปอีก ระดบั หนึ่ง คือ จะใหอ้ ารมณท์ ่ีเกิดข้ึนน้เี ปน็ เพียงองคป์ ระกอบหนึ่งทมี่ ผี ลตอ่ พฤตกิ รรมตอบสนองของ เราเท่าน้ัน 16.2 ยอมรบั อารมณข์ องตนเอง ข้ันตอนนเ้ี ป็นการมองอารมณ์ทเี่ กดิ ข้ึนอย่างยอมรบั ตามทเ่ี ป็นจริง ยอมรบั ว่าเรามีความรู้สกึ น้ันอยู่ เชน่ เรามีความกลัว ความโกรธ ความคบั ข้องใจ หรอื ความดใี จ สุขใจ เปน็ การมองอยา่ งไม่ตัดสินถกู ผดิ จะเหน็ วา่ การยอมรบั อารมณท์ างบวกเป็นเรื่องไม่ยาก แต่การยอมรบั ว่าตนเองมีอารมณท์ างลบเป็นเรอ่ื งไมง่ า่ ย เช่น เรามีความอจิ ฉาเพอ่ื น เวลาเหน็ เพ่ือนมี ความสําเร็จเราไม่สามารถทําจิตใจให้ยินดไี ปกบั เพอื่ นได้ ถา้ เราไม่ยอมรบั อารมณต์ นเองอาจเบีย่ งเบน ไปว่าไมเ่ หน็ จะเปน็ ความสําเรจ็ อะไร แตใ่ นใจจริงๆ ของเราเปน็ ทุกข์กบั ความอิจฉาทีเ่ กิดข้นึ หากเปน็

398 เช่นน้ี จะทาํ ให้ไม่เข้าใจตนเอง ว่าทาํ ไมเรามีความกดดันอยู่ลึกๆ ในใจ ที่จริงเป็นเพราะกดอารมณ์ ทางลบเอาไว้ ไม่กลา้ ยอมรับวา่ เราอจิ ฉา การยอมรับอารมณจ์ ะนําไปสู่การหาวิธจี ัดการกบั อารมณ์ให้ เหมาะสมขึน้ การฝึกปฏบิ ตั ใิ นข้อ 16.1 และ 16.2 ขา้ งตน้ นี้จะเป็นการงา่ ยหากเรม่ิ ขณะทีต่ นเองมี จิตใจที่สงบพอสมควร อาจเป็นช่วงตื่นนอนใหม่ๆหรือก่อนเข้านอน โดยให้สังเกตว่า ณ ขณะน้ัน ตนเองมีอารมณ์ความรู้สึกเช่นไร ต่อจากน้ันให้มองอารมณ์ที่เกิดข้ึนให้นานขึ้นด้วยท่าทีเป็นกลาง ไมห่ งดุ หงิดหรอื พยายามกดอารมณเ์ มือ่ ตนเองเกิดอารมณ์ดา้ นลบหรอื ชื่นชม อยากใหอ้ ารมณด์ า้ นบวก อยู่กับตนนานๆ กล่าวคือ ไม่ไปตอ่ เสริมอารมณท์ ่เี กิดขึ้น ควรฝกึ สังเกตติดตามอารมณ์ให้ไดน้ านอยา่ ง น้อยรอบละ 5-10 นาที และคอ่ ยๆ เพมิ่ จาํ นวนรอบขึน้ เม่ือฝึกปฏิบัตจิ นชาํ นาญแล้วจงึ นํามาฝึกปฏบิ ัติ ในช่วงกลางวนั ซึ่งมสี ิง่ เร้าตา่ งๆ เพิม่ มากขึ้น ขั้นตอนต่อมาของการยอมรับอารมณค์ วามรู้สึกท่ีเกิดข้ึนไดแ้ ก่ การยอมรับว่าอารมณ์ นั้นๆ เปน็ ของตนเองเป็นสง่ิ ทเ่ี กดิ ข้ึนภายในตนเอง ไมโ่ ทษว่าเป็นเพราะสิง่ โนน้ สงิ่ น้ีทําใหเ้ รามีอารมณ์ ความรู้สกึ เช่นน้ี เราแมใ้ นระยะแรกสดุ เราจะเกิดอารมณ์ซึ่งในบางสว่ นเปน็ ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองทอี่ าจ เกดิ โดยอัตโนมัติ แต่หากเรามคี วามรเู้ ทา่ กันอารมณ์ที่เกิดข้นึ แลว้ เรายอ่ มเปน็ ผู้ทส่ี ามารถจะกําหนดได้ ว่าเราจะอยใู่ นอารมณน์ น้ั และมีการแสดงออกตามอารมณท์ เี่ กดิ ขึ้นหรือเลือกที่หันเหอารมณค์ วามรูส้ ึก อกี ท้ังมกี ารแสดงออกในลักษณะอื่น กลา่ วคือ เราเลือกท่จี ะเปน็ ผกู้ าํ หนดอารมณ์ มิได้เปน็ ผอู้ ยูภ่ ายใต้ การครอบงําของอารมณ์ ตวั อย่างของการยอมรับอารมณข์ องตนเอง “ฉันรูส้ กึ ผดิ หวัง” แทนทจี่ ะเป็น “เขานา่ จะบอกฉันตั้งแต่เม่อื วานนเี้ ขามาช่วยไมไ่ ด”้ และ “ฉันจะมว่ั แตผ่ ดิ หวงั อยู่อย่างยิง่ น้หี รือจะทํางานทีค่ า้ งให้เสรจ็ เสีย” แทนทจ่ี ะเป็น “เขาต้องทาํ ตวั ให้ดีกว่านี้ ฉันทนตอ่ ไปไมไ่ ดอ้ ีกแล้ว” 16.3 การควบคุมอารมณ์ เปน็ ความสามารถท่จี ะจดั การกับอารมณท์ เ่ี กิดข้นึ ไดอ้ ย่าง เหมาะสม โดยเฉพาะอารมณ์ในทางลบ เช่น ความโกรธ ฉุนเฉียว อารมณ์ทกุ อยา่ งเกดิ ขึ้นกับเราได้ แต่ มิใชจ่ ะแสดงออกไปทุกอารมณท์ ีเ่ กดิ ข้นึ กับเรา ผู้ทม่ี ีวุฒิภาวะทางอารมณ์ย่อมสามารถควบคมุ อารมณ์ ทเ่ี กิดข้นึ อยู่ในขอบเขตทีเ่ หมาะสมตามแต่สถานการณ์ รูจ้ กั ระบายอารมณอ์ อกในรูปแบบที่เหมาะสม 16.4 เติมพลงั ใจใหต้ นเอง ทกั ษะทางอารมณ์มใิ ช่การเพียงคอยจดั การกบั อารมณ์ตาม สถานการณเ์ ทา่ นน้ั หากแตย่ งั หมายถงึ การเติมพลงั ให้จติ ใจของตนเอง อนั จะเป็นการสง่ เสรมิ พืน้ อารมณ์ ใหอ้ ยใู่ นระดับบวก หากในสถานการณ์อืน่ ๆ เชน่ หากเครียดเนอ่ื งจากที่ทาํ งานมีการเปลี่ยนหวั หน้า งานใหม่ ซ่ึงไม่ค่อยรับฟังหรือเห็นความสาํ คัญของตนเองเหมือนแต่ก่อน แนวทางในการแก้ไขคือ การทํางานในหน้าที่ท่ีรับผิดชอบให้ดี มผี ลงานใหห้ วั หนา้ รู้สกึ วา่ เราไว้วางใจได้ ในขณะเดยี วกัน แทนที่ จะใหจ้ ิตใจตกอยกู่ ับอารมณ์หงดุ หงดิ ขุ่นมวั อยู่ตลอด เราก็ควรหากิจกรรมท่ีผ่อนคลาย เช่น เสาร์

399 อาทิตย์ก็อาจไปเท่ียวในสถานท่ีที่ตนเองเคยสนใจแต่ยังไม่ได้ไปบ้าง หางานอดิเรกทํา เช่น เลย้ี ง ปลา เลน่ ดนตรี พบปะสังสรรคก์ ับเพอ่ื นท่ีไมเ่ คยเจอกันนาน เหล่านจี้ ะทําใหจ้ ติ ใจผ่อนคลายความตงึ เครียดลดลง ซึ่งก็จะส่งผลมาถึงสภาพอารมณใ์ นทท่ี ํางานให้ดขี น้ึ ตามไปด้วย พงึ ตระหนักว่า การเติม พลงั ใจให้ตนเองนเ้ี ปน็ สงิ่ ทตี่ ้องจัดเวลาให้พอเหมาะพอควร มีอยู่ 2 กิจกรรมทก่ี ารทําสมา่ํ เสมอจะให้ ผลดี ไดแ้ ก่ การออกกาํ ลังกายและการทาํ ใจใหส้ งบเยน็ 16.5 มีเจตคติและความคิดในเชิงบวก เจตคติและความคิดมีส่วนสัมพันธ์กับภาวะ อารมณ์อย่างแยกกันไม่ออก ในทางพุทธศาสนาได้ยกสัมมาทิฐิไว้ว่า เป็นปัจจัยท่ีสําคัญท่ีสุดใน การดาํ เนนิ ชวี ติ ท่ดี ีงามหรือดังคํากล่าวว่า “คดิ ดี ย่อมพดู ดี ทาํ ดี” ในที่นคี้ ือ การมองส่งิ ต่างๆ ที่เกดิ ขนึ้ ในทางบวก ร้จู กั มองบคุ คลหรือเหตุการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ ในแงม่ มุ อน่ื ท่ีตา่ งไปจากเดมิ ฝึกตนเองให้มอี ารมณ์ ขนั การฝกึ คดิ หรือมองสงิ่ ต่างๆ ในหลายๆ แงม่ ุมจะทําใหเ้ ราไมต่ ดิ กรอบหรือติดกับมายาคติทส่ี ร้างข้ึน เช่น ถ้าเราติดอยู่กับมุมมองแตว่ า่ เพือ่ นร่วมงานคนนเ้ี ป็นคนเห็นแกต่ วั พอเขาทาํ อะไรที่สอ่ ลักษณะ เช่นนัน้ เราก็จะไปเสรมิ ขอ้ มูลเดิมของเราทนั ที ขณะทใ่ี นเวลาอ่นื เขาไมม่ ีท่าทีเช่นนน้ั เรากลับมองไม่ เห็น เรยี กวา่ สมองเราไมไ่ ด้จัดโปรแกรมใหร้ ับข้อมลู ทีเ่ กี่ยวกบั คนๆ นีใ้ นด้านบวก 16.6 การรู้สึกดตี อ่ ตนเอง ผ้ทู ี่รู้สึกดตี อ่ ตนเองจะมคี วามร้สู กึ พึงพอใจกบั สภาพปจั จบุ นั ของเขา เขาไมจ่ ําเป็นตอ้ งมเี งนิ ทองหรือมคี วามสะดวกสบายมากมาย เขาอาจไม่เป็นคนฉลาดหรือเก่ง มาก แต่เขายอมรบั ตวั เองโดยไมร่ ู้สึกเสียหนา้ หรอื ตโี พยตพี ายวา่ คนไมเ่ ขา้ ใจตนเอง หรือโทษโน่นโทษน่ี เขาไมว่ ิตกกังวลที่ตนเองไมส่ มบูรณแ์ บบ เพราะเข้าใจดีว่าคนเราย่อมมีจุดเดน่ จดุ ดอ้ ยในแตล่ ะดา้ นแตกต่าง กันไป ภาพท่ี 119 แสดงภาพการควบคุมอารมณ์ (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 2 พฤษภาคม 2559)

400 17. การควบคุมอารมณ์ เทพ สงวนกติ ติพันธุ์ (2543) กล่าววา่ เม่อื เราไม่สามารถลว่ งร้ไู ดว้ ่าจะไดเ้ จอกบั อารมณ์ ที่เขา้ มาให้เรารับร้อู ย่างไรบา้ งในแตล่ ะวนั เราควรหมนั่ ฝกึ ให้มสี ติ คือระลกึ รอู้ ยู่เสมออยา่ ประมาทใน การดาํ เนนิ ชวี ิต เม่อื มีอะไรเข้ามากระทบทําใหเ้ ราเกิดความคิดและอารมณท์ ไ่ี ม่ดี ก็ควรจะใชส้ ตใิ น การขบคิดพจิ ารณา เพือ่ ใหเ้ ราเทา่ ทันและไม่ตกเป็นทาสของอารมณน์ ้นั โดยการกําหนดอารมณ์และ ความรูส้ ึกของเรา ไมใ่ ห้ส่งผลไปถึงการแสดงออกในทางท่ไี ม่เหมาะไมค่ วรวธิ คี วบคุมอารมณข์ องเราอาจ ทําไดห้ ลายวธิ ี ได้แก่ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559) 17.1 ให้มีสติอยเู่ สมอเพอ่ื ควบคุมอารมณ์ทร่ี ุนแรงให้คลายลง เชน่ อารมณว์ ติ กกงั วล อารมณ์โกรธ อจิ ฉาริษยา การใชอ้ ารมณข์ องคน หากใช้เพียงเล็กน้อยแลว้ พยายามควบคมุ มนั ให้ไดโ้ ดย ใช้ “สติ” หรอื หลกั ธรรมะเข้ามาช่วยในการเผชิญกับเหตุการณ์หรือปญั หาต่างๆ ก็จะทําให้เหตุการณ์ หรือปญั หาตา่ งๆนนั้ เปน็ ไปในทางที่ดีขนึ้ ได้ ในทางตรงกนั ขา้ มหากผใู้ ดใชอ้ ารมณม์ ากหรอื รนุ แรงเกนิ ไป ก็ อาจจะทําใหเ้ หตุการณ์หรอื ปญั หาตา่ ง ๆ ทเี่ ผชิญอย่กู ลบั เลวร้ายลงไปได้เชน่ กัน 17.2 ใชค้ าํ พูดแสดงความรู้สกึ แทนการกระทาํ (เทคนคิ การแสดงออกทเ่ี หมาะสม) เช่น โกรธเพือ่ นที่ผิดนดั ไม่ควรแสดงออกโดยการตาํ หนดิ ุด่า แต่ควรใชค้ ําพูดแทนวา่ “ฉันโกรธมากท่ีเธอผิด นดั เมื่อวาน” หรือ ถกู เพือ่ นตําหนิบางเรื่องทท่ี ําใหโ้ กรธ กไ็ ม่ควรแสดงออกโดยการทะเลาะกับเพ่ือน แตค่ วรใช้คาํ พูดแทนวา่ “คาํ พูดของเธอทาํ ให้ฉันรสู้ ึกโกรธมากและมนั จะทาํ ลายความเปน็ เพ่ือนของ เราด้วย” เปน็ ต้น 17.3 ให้ยืดเวลาออกไปก่อนที่จะตัดสินใจทาํ อะไรลงไปหรือพยายามหลีกเล่ียง สถานการณท์ กี่ ่อใหเ้ กดิ อารมณร์ นุ แรงหรืออารมณ์เสีย บางคนอาจใช้วธิ กี ารนับหนึง่ ถงึ สบิ หรอื ถงึ รอ้ ย ในใจเพือ่ ยดึ เวลาให้อารมณ์ทร่ี ุนแรงลดลง จะช่วยให้การแสดงออกทีร่ ุนแรงลดลงไปได้ หรืออาจจะใช้ วิธีออกจากเหตกุ ารณต์ รงนัน้ ไปก่อน รอใหอ้ ารมณ์ลดความรุนแรงลงแล้วจึงกลับมาเผชิญเหตุการณ์ น้นั อีกคร้ัง กจ็ ะทําให้เรามีสตมิ ากข้ึนในการตดั สินใจกระทาํ ส่ิงต่าง ๆ ลงไป 17.4 ใช้การขม่ ใจ การให้อภัยและมองโลกในแง่ดีใหค้ ดิ ถึงผลทจี่ ะเกิดขึ้น ถ้าเราแสดง อะไรออกไปด้วยอารมณ์ทีร่ นุ แรง รู้จกั ใหอ้ ภยั และพยายามฝกึ มองส่ิงทเ่ี กิดขนึ้ ต่างๆ ในดา้ นดี ถ้าทาํ ได้ จะทําใหเ้ รามอี ารมณท์ เ่ี ป็นสุขมากยง่ิ ขน้ึ หรอื ถ้าข่มใจไมอ่ ยู่จริงๆ ก็อาจใชว้ ิธีระบายออกโดยการเลี่ยง ไปแสดงออกกบั สิง่ อน่ื ๆ แทนก็ได้ เช่น เขยี นระบายอารมณใ์ นกระดาษ แอบร้องไหป้ ลดปลอ่ ยอารมณ์ หรอื ต่อยตีกระสอบทราย (อาจใช้ตุก๊ ตาแทน) แตอ่ ย่าให้กลายเป็นการทาํ รา้ ยตนเองหรือผู้อ่ืน 17.5 เมอื่ มีเรื่องทุกขใ์ จหรือเครยี ดควรปรึกษาเพอ่ื นสนทิ ท่ไี ว้ใจได้หรอื ผู้ใหญท่ เ่ี ราให้ ความเคารพนับถือ การที่คนเรามีความทุกข์หรือความเครียดแล้วเก็บกดไว้ในใจตนเองอยู่เสมอ

401 เปรยี บเสมือนลกู โปง่ ที่ถูกอดั อากาศเข้าไปเรื่อยๆ หากไมม่ กี ารปลดปลอ่ ยลมออกมาเสยี บ้าง ไม่นาน ลกู โป่งก็จะแตก เช่นเดียวกันหากคนเรามแี ต่ความทกุ ขเ์ กบ็ สะสมไวม้ ากเกินไป สักวนั หน่ึงก็อาจจะ กลายเป็นโรคประสาท หรือโรคจิตต่อไปได้ จึงควรปลดปลอ่ ยความทุกขท์ ม่ี อี ยอู่ อกไป 18. เทคนิคในการรจู้ กั และเข้าใจอารมณ์ผอู้ น่ื การฝกึ สงั เกตอารมณผ์ ้อู ่ืนจะทําใหเ้ ราสามารถแสดงอารมณข์ องเราตอบสนองผ้อู นื่ ได้ เหมาะสม โดยเฉพาะกบั คนทีม่ คี วามสมั พนั ธ์ใกลช้ ดิ ควรทาํ ความเข้าใจการแสดงออกทางอารมณ์ จะ ทาํ ให้มคี วามสขุ ในการใช้ชีวติ รว่ มกัน ส่งผลให้สภาพอารมณ์ท้ังของเราและผู้อืน่ ดขี ้นึ เทคนิคในการรจู้ ักและเข้าใจอารมณ์ผูอ้ ื่นทาํ ได้ ดังนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559) 18.1 ใหค้ วามสนใจการแสดงออกของผู้อ่ืน โดยการสงั เกตสหี นา้ แววตา ทา่ ทาง การพูด นํ้าเสยี ง ตลอดจนการแสดงออกอื่นๆ โดยเฉพาะการออกดา้ นรา่ งกายมกั บอกอารมณไ์ ด้โดยตรง เพราะ บางครัง้ เขาอาจไม่พูดบอกความรู้สึกของตนเอง เชน่ พอ่ แม่ อาจมีความเครียดบางเรอ่ื ง แต่ไมเ่ ล่าให้ ลูกๆ ฟงั หากเราสงั เกตการณ์แสดงออกจะรับรูไ้ ด้ และถา้ ตอบสนองด้วยการเข้าหา ดูแลเอาใจใสท่ า่ น อาจช่วยคลายความตึงเครียดลง ในบ้านจะมีบรรยากาศทด่ี ขี นึ้ 18.2 อ่านอารมณค์ วามรสู้ กึ ผ้อู ื่น จากการสงั เกตสนใจแสดงออกของผอู้ ่ืนจะทาํ ให้พอ ทราบวา่ เขารู้สึกอย่างไรแตบ่ างสถานการณอ์ าจตอ้ งถามเพ่ือให้แน่ใจวา่ ส่ิงที่เราคดิ ตรงกับ ความร้สู กึ จรงิ ของเขาหรอื ไม่ เชน่ ใกลส้ อบเราเห็นนอ้ งเงียบลง คงจะเครียดเร่ืองอา่ นหนงั สอื ไมท่ นั หากเราเขา้ ไปปลอบนอ้ งว่าอา่ นไปเรอ่ื ยๆ อาจไมต่ รงกับความรสู้ ึกของนอ้ งทีก่ ังวลอยู่ ควรใชว้ ธิ ีพูดคยุ ซักถามดว้ ย ความเอาใจใส่ น้องอาจกังวลไมเ่ ข้าใจคณติ ศาสตร์ท่ีจะต้องสอบเราจะได้สามารถหาทางชว่ ยใหต้ รงจุด ท่ีเปน็ ปัญหา

402 สรปุ บทท่ี 5 อารมณ์ มาจากภาษาอังกฤษ “Emotion” มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน “emovere” ซึง่ แปลว่า ความปน่ั ป่วน ความวุน่ วาย หรอื ความตนื่ เต้น อารมณ์ สภาวะดา้ นความรสู้ ึก ต่างๆ เช่น สุข เศร้า เสียใจ เป็นต้น ท่ีได้รับการกระตุ้นจากส่ิงเร้า ทั้งท่ีมาจากภายใน ได้แก่ ความสบาย ความเจ็บปวด หรือมาจากสิง่ เรา้ ภายนอก เช่น บุคคล อณุ หภูมิ ดนิ ฟ้าอากาศ ทําให้มี ความรูส้ กึ นึกคดิ มีผลตอ่ การแสดงพฤตกิ รรม หนา้ ทข่ี องอารมณ์ ได้แก่ เปน็ ตวั เรา้ ใหเ้ กิดพฤติกรรม เปน็ ตัวรวบรวมอารมณ์ เป็นตัวนําและเปน็ ตัวสนับสนุนใหม้ กี ารกระทําและการส่อื สาร องคป์ ระกอบของ อารมณ์ ประกอบไปด้วย 3 ประการ คือ ด้านสรีระ ด้านการนึกคิด ด้านการมีประสบการณ์ การเปล่ยี นแปลงของอารมณ์ ขน้ึ อยกู่ ับการรบั รู้ อารมณ์ และแรงผลกั ดัน ปจั จัยทม่ี สี ่วนสัมพนั ธ์กับ อารมณ์ นน่ั คอื พนั ธกุ รรม การเล้ียงดูและสภาพแวดล้อม การทํางานของสมอง ลกั ษณะของอารมณ์ ซ่ึงมอี ารมณ์พน้ื ฐาน ได้แก่ อารมณโ์ กรธ อารมณ์กลวั และอารมณ์พงึ พอใจ ประเภทของอารมณ์ มี 2 ประเภทไดแ้ ก่ อารมณท์ พ่ี ึงประสงค์ เช่น อารมณร์ ัก อารมณส์ งบ อารมณ์เพลดิ เพลนิ อารมณส์ ุข อารมณต์ ื่นเตน้ อารมณ์ปลอดโปรง่ เป็นต้น อารมณ์ที่ไมพ่ ึงประสงค์ ได้แก่ อารมณ์ทอ้ แท้ อารมณ์ วา้ วุ่น อารมณ์รันทด อารมณว์ ิตกกังวล อารมณ์เจ็บปวด อารมณ์เบื่อ เปน็ ตน้ การเกิดอารมณ์ ในทางกายภาคสาสตรย์ งั พบว่า บริเวณสมองส่วนหน้านน้ั มหี น้าที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับอารมณ์ต่างๆ นั่นคือ สมองส่วนหน้าบริเวณฐานสมอง (Orbital Frontal) รับผิดชอบเกี่ยวกับสมาธิ การยับย่ังช่ังใจและความม่ันคงทางอารมณ์, สมองส่วนหน้าบริเวณผิว ดา้ นนอก (Frontal Convexity) รับผิดชอบเกีย่ วกับการมีอารมณส์ ุนทรีย์ และความไวต่ออารมณ์, สมองสว่ นหน้าบรเิ วณแนวกลาง (Medial Frontal) รบั ผดิ ชอบเกี่ยวกับการควบคมุ กลา้ มเนือ้ ขาทง้ั สองข้าง การเปลย่ี นแปลงทางรา่ งกายเมอ่ื เกดิ อารมณ์ ดังน้ี การนาํ ไฟฟ้าที่ผวิ หนงั , การไหลของโลหิต, การเต้นของหัวใจ, การหายใจ, การเปล่ียนแปลงของม่านตาดํา, ปฏิกริ ิยาที่ต่อมนํ้าลาย, มีการขนลกุ , เกิดการเปลยี่ นแปลงภายในกระเพาะและลาํ ไส้, มกี ารเกร็งตัวและสน่ั ของกล้ามเนอ้ื , และเกดิ การเปลี่ยนแปลงส่วนผสมของโลหิต พัฒนาการของอารมณ์ของวัยทารกแรกเกิดมีอารมณ์ตื่นเต้น เด็กอายุ 3 เดือน มีอารมณเ์ พ่ิมขน้ึ คือ ความไม่พอใจ (distress) และดใี จ (delight) เดก็ อายุ 5 เดือน เพม่ิ ขน้ึ คอื ความโกรธ (anger) และขยะแขยง (dissgust) เดก็ อายุ 7 เดือน จะมีอารมณก์ ลวั (fear) เพมิ่ ขึน้ เด็ก อายุ 10-12 เดือน เดก็ จะมอี ารมณร์ ัก (affection) และความพอใจสนกุ สนาน (elation) เด็กอายุ 15-16 เดือน เดก็ จะมีอารมณอ์ จิ ฉา (jealousy) เป็นต้น

403 ทฤษฎอี ารมณ์ ได้แก่ กระบวนการเกดิ อารมณ์ของเจมส์ แลง เกดิ ตามลาํ ดบั ดังตอ่ ไปนี้ ส่ิงเรา้ ภายนอก ส่ิงเรา้ ท่ีสมองรับรู้ ใยประสาทการเคลอ่ื นไหว การรับรูท้ างรา่ งกายและการตอบสนอง ใยประสาทรบั ความร้สู กึ เกดิ อารมณ์ กระบวนการเกดิ อารมณ์ของแคนนอน – บารด์ เกิดตามลาํ ดับ ดังตอ่ ไปน้ี สิง่ เรา้ ภายนอก สง่ิ เรา้ ที่สมองรบั รู้ ความรสู้ ึกทางรา่ งกายและการตอบสนอง ใยประสาท สงั่ การ ทําใหเ้ กิดอารมณ์ ลาํ ดับสดุ ทา้ ยกระบวนการเกดิ อารมณข์ องแซตเตอร์ ซงิ เกอร์ เกิดตามลําดับ ดงั ต่อไปนี้ สง่ิ เรา้ ภายนอก ร่างกายถูกกระตุ้นและเกิดการตอบสนอง บุคคลเกดิ การรบั รู้ เกดิ อารมณ์ การวัดอารมณ์โดยใช้การตรวจคลื่นสมอง เพราะคล่ืนสมองเป็นคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ชนิดหนึ่งกระจายออกมาจากมันสมองในลักษณะของกัมมันตภาพคล่ืนสมอง เม่ือวัดอารมณ์อาจ คน้ พบในเรื่องความเครียด มักสง่ ผลทําใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงที่สังเกตไดอ้ ยา่ งชัดเจน เช่น ทางกาย ทางใจ ทางสังคม สง่ ผลต่อการเป็นโรคซมึ เศรา้ อารมณห์ ดหแู่ ละไม่อยากทํากจิ กรรมทปี่ กติเคยชอบ ทาํ มักจะหมกมนุ่ มคี วามคดิ หรอื รู้สึกถงึ การไม่มคี ณุ ค่า ความเสยี ใจหรอื รสู้ กึ ผดิ อย่างไมม่ เี หตผุ ล ชว่ ยเหลอื ตวั เองไมไ่ ด้ หมดหวัง และเกลียดตวั เอง ความต้องการทางเพศลดลง และมีความคดิ เกีย่ วกบั ความตาย หรือการฆา่ ตัวตาย วธิ ปี อ้ งกันความเครยี ด ภาวะซึมเศร้า โรคซมึ เศรา้ ไดด้ งั น้ี ตระหนักรู้ในตนเอง ฝึก จดั การอารมณต์ นเองอย่างเหมาะสม ออกกาํ ลังกายสมํ่าเสมอ ครอบครวั และเพอ่ื น การพกั ผอ่ นให้ เพียงพอ หางานอดิเรกทํา ทอ่ งเท่ียวหาเวลาพกั ผอ่ น รับประทานอาหารที่มปี ระโยชน์

404 คําถามท้ายบทท่ี 5 1. จงอธิบายความหมายของอารมณ์ และคาํ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับอารมณ์ 2. จงอธบิ ายการเปล่ียนแปลงทางรา่ งกายเม่อื เกดิ อารมณ์ 3. หน้าทข่ี องอารมณม์ กี ปี่ ระการ อะไรบา้ ง 4. จงอธบิ ายความแตกตา่ งของทฤษฎีทางอารมณท์ ั้งสามทฤษฎวี ่ามีความแตกตา่ งกนั อย่างไร พร้อมยกตัวอย่าง 5. อารมณเ์ กดิ ขึ้นไดอ้ ย่างไร อธิบาย 6. จงอธบิ ายพัฒนาการทางอารมณ์ของมนษุ ยม์ าพอสงั เขป 7. ความฉลาดทางอารมณค์ ืออะไร และสามารถนาํ ไปใช้ประโยชน์อะไรบ้าง 8. โรคซึมเศร้ามกี ่รี ูปแบบ และสามารถป้องกันได้อย่างไร 9. การควบคุมอารมณม์ วี ธิ ีการใดบา้ ง อธิบายเปน็ ขอ้ ๆ 10. นักศึกษาสาํ รวจแบบประเมนิ โรคซึมเศรา้ 9Q ของกรมสขุ ภาพจิต ขอ้ ในช่วง 2 สปั ดาห์ทีผ่ า่ นมารวมท้ัง ไมม่ ี เป็น เปน็ เป็นทุก รวม วนั น้ี ท่านมอี าการเหลา่ น้ีบอ่ ยแคไ่ หน เลย บางวัน บอ่ ย วัน คะ แนน 1-7 >7 วัน วนั 1 เบ่ือ ไมส่ นใจอยากทาํ อะไร 0123 2 ไมส่ บายใจ ซึมเศร้า ท้อแท้ 0123 3 หลับยาก หรือหลับๆต่นื ๆ หรอื หลบั 0 1 2 3 มากไป 4 เหนือ่ ยง่าย หรือไม่คอ่ ยมแี รง 0123 5 เบอ่ื อาหาร หรือกนิ มากเกินไป 0123 6 ร้สู ึกไม่ดีกับตวั เอง คดิ ว่าตนเอง ลม้ เหลวหรอื ทาํ ให้ตนเองหรือ 0123 ครอบครวั ผิดหวงั 7 สมาธไิ มด่ เี วลาทาํ อะไรเช่น ดูโทรทัศน์ ฟังวิทยุ หรอื ทํางานท่ีตอ้ งใช้ความต้งั ใจ 0 1 2 3

405 ข้อ ในชว่ ง 2 สัปดาห์ทผ่ี า่ นมารวมทัง้ ไม่มี เปน็ เปน็ เปน็ ทกุ รวม วันนี้ ท่านมอี าการเหล่านีบ้ อ่ ยแค่ไหน เลย บางวัน บอ่ ย วัน คะ แนน 1-7 >7 วัน วนั 8 พดู ชา้ ทําอะไรช้าลง จนคนอืน่ สังเกตเห็นได้ หรือกระสบั กระส่าย ไม่ 0 1 2 3 สามารถอยู่นง่ิ ไดเ้ หมือนท่ีเคยเปน็ 9 คิดทาํ ร้ายตนเอง หรือคิดว่าถา้ ตายไป 0 1 2 3 คงจะดี การแปลผล ระดบั คะแนน การแปลผล การดแู ลเบอื้ งต้น คะแนนนอ้ ยกว่า 7 คะแนน ไมม่ อี าการของโรคซมึ เศร้า ป้องกนั อาการซมึ เศร้า จดั การอารมณเ์ บอ้ื งต้น หรือพบ คะแนน 7 - 12 คะแนน มีอาการของโรคซมึ เศรา้ จิตแพทยห์ รือผ้เู ชยี่ วชาญ ระดบั นอ้ ย คะแนน 13 - 18 คะแนน พบจติ แพทยห์ รือผู้เชี่ยวชาญ มีอาการของโรคซมึ เศรา้ คะแนนมากกว่าหรอื เทา่ กบั 19 ระดบั ปานกลาง พบจิตแพทยห์ รอื ผู้เชีย่ วชาญ คะแนน มอี าการของโรคซมึ เศร้า ระดับรนุ แรง กรมสขุ ภาพจิตไดใ้ หช้ อ่ งทางการคลายเครียด 24 ชั่วโมงโดยโทรศัพทส์ ายดว่ น 1323 แตห่ ากท่านรูส้ กึ วา่ จดั การความเครียดเองไม่ได้ สบั สน ไมร่ จู้ ะแกป้ ญั หาชีวติ อยา่ งไร ควรไปพบแพทย์ ใกล้บา้ นหรือจติ แพทย์ อีกอย่างหากทา่ นทําแบบทดสอบ 9Q แลว้ พบว่า มากกว่า 7 คะแนนให้ พจิ ารณาวา่ ควรพบจติ แพทย์

406 11. นักศึกษาประเมนิ แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข : 2544, 45) มีคําตอบ 4 คําตอบ สําหรับ ข้อความแต่ละประโยค ไม่จริง จริงบางคร้ัง ค่อนข้างจริง จริงมาก โปรดใส่เคร่ืองหมาย  ในช่องที่ ทา่ นคิดวา่ ตรงกบั ตัวทา่ นมากท่ีสดุ ลําดับ คําถาม/คําตอบ ไม่ จรงิ คอ่ น จรงิ คะ จริง บาง ขา้ ง มาก แนน ครง้ั จรงิ 1 เวลาโกรธหรือไมส่ บายใจ ฉันรบั รู้ได้ว่าเกิด อะไรขน้ึ กบั ฉัน 2 ฉนั บอกไมไ่ ดว้ ่าอะไรทําใหฉ้ นั ร้สู กึ โกรธ 3 เม่อื ถูกขัดใจ ฉนั มกั รสู้ กึ หงดุ หงดิ จนควบคุม อารมณไ์ มไ่ ด้ 4 ฉนั สามารถคอยเพ่อื ให้บรรลุเปา้ หมายทพ่ี อใจ 5 ฉันมักมีปฏิกริ ยิ าโตต้ อบรนุ แรงตอ่ ปัญหาเพียง เลก็ นอ้ ย 6 เม่ือถกู บงั คับใหท้ าํ ในสง่ิ ท่ีไมช่ อบ ฉนั จะ อธิบายเหตผุ ลจนผู้อ่นื ยอมรบั ได้ รวม 7 ฉนั สงั เกตได้ เมื่อคนใกลช้ ิดมอี ารมณ์ เปลี่ยนแปลง 8 ฉนั ไมส่ นใจกบั ความทุกข์ของผู้อน่ื ทฉ่ี ันไม่รจู้ กั 9 ฉันไมย่ อมรบั ในสิ่งท่ีผอู้ นื่ ทาํ ตา่ งจากทีฉ่ นั คดิ 10 ฉันยอมรบั ได้ว่าผูอ้ นื่ กอ็ าจมเี หตุผลทจ่ี ะไม่ พอใจการกระทาํ ของฉนั 11 ฉันรู้สกึ วา่ ผอู้ น่ื ชอบเรียกรอ้ งความสนใจมาก เกินไป 12 แม้จะมภี าระทต่ี อ้ งทาํ ฉนั ก็ยนิ ดรี ับฟงั ความ ทกุ ข์ของผอู้ ่ืนท่ตี ้องการความช่วยเหลือ รวม

407 ลําดับ คําถาม/คําตอบ ไม่ จรงิ ค่อน จรงิ คะ จรงิ บาง ขา้ ง มาก แนน ครงั้ จรงิ 13 เปน็ เรอื่ งธรรมดาทจ่ี ะเอาเปรียบผู้อน่ื เมอ่ื มี โอกาส 14 ฉนั เห็นคุณค่าในนํ้าใจท่ีผอู้ ื่นมตี อ่ ฉัน 15 เมอ่ื ทาํ ผดิ ฉนั สามารถกลา่ ว “ขอโทษ” ผ้อู ่นื ได้ 16 ฉนั ยอมรบั ขอ้ ผิดพลาดของผอู้ ่นื ไดย้ าก 17 ถงึ แม้จะตอ้ งเสียประโยชนส์ ่วนตัวไปบ้าง ฉันก็ ยินดที ี่จะทาํ เพ่อื สว่ นรวม 18 ฉนั รสู้ ึกลาํ บากใจในการทําส่งิ ใดสิ่งหนงึ่ เพื่อ ผอู้ ื่น รวม 19 ฉนั ไม่รู้วา่ ฉันเกง่ เรอ่ื งอะไร 20 แมจ้ ะเป็นงานยาก ฉนั กม็ น่ั ใจวา่ สามารถทาํ ได้ 21 เม่ือทาํ สิง่ ใดไมส่ าํ เร็จ ฉันกม็ ่ันใจวา่ สามารถทาํ ได้ 22 ฉันรสู้ ึกมคี ุณคา่ เมื่อไดท้ ําสง่ิ ต่างๆ อย่างเตม็ ความสามารถ 23 เม่ือตอ้ งเผชญิ กับอปุ สรรคและความผิดหวงั ฉนั กจ็ ะไมย่ อมแพ้ 24 เมอ่ื เริ่มทาํ สงิ่ หน่งึ สง่ิ ใด ฉนั มกั ทาํ ตอ่ ไปไม่ สาํ เร็จ รวม 25 ฉนั พยายามหาสาเหตทุ แี่ ท้จรงิ ของปัญหาโดย ไมค่ ิดเอาเองตามใจชอบ 26 บอ่ ยครัง้ ทีฉ่ ันไมร่ ูว้ ่าอะไรทําให้ฉันไมม่ ี ความสุข 27 ฉันรสู้ กึ ว่าการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาเปน็ เรอื่ งยาก สาํ หรับฉัน

408 ลําดบั คําถาม/คาํ ตอบ ไม่ จริง ค่อน จรงิ คะ จริง บาง ข้าง มาก แนน ครงั้ จริง 28 เมอ่ื ตอ้ งทําอะไรหลายอย่างในเวลาเดยี วกนั ฉนั ตดั สินใจไดว้ ่าทาํ อะไรก่อนหลัง 29 ฉันลาํ บากใจเมอื่ ต้องอยกู่ บั คนแปลกหน้าหรือ คนไม่คนุ้ เคย 30 ฉนั ทนไม่ได้เมอื่ ต้องอยกู่ ับคนแปลกหน้าหรอื คนไมค่ ้นุ เคย รวม 31 ฉนั ทาํ ความรจู้ กั ผู้อืน่ ไดง้ า่ ย 32 ฉันมีเพอื่ นสนทิ หลายคนท่คี บกนั มานาน 33 ฉันไมก่ ลา้ บอกความตอ้ งการของฉนั ใหผ้ ู้อืน่ รู้ 34 ฉันทาํ ในสง่ิ ทีต่ อ้ งการโดยไมท่ ําให้ผู้อื่น เดอื ดร้อน 35 เป็นการยากสาํ หรบั ฉนั ท่จี ะโตแ้ ยง้ กบั ผู้อื่น แม้ จะมีเหตผุ ลเพยี งพอ 36 เม่อื ไมเ่ ห็นดว้ ยกบั ผอู้ ่ืน ฉนั สามารถอธิบาย เหตผุ ลทเ่ี ขายอมรับได้ รวม 37 ฉนั รู้สกึ ดอ้ ยกวา่ ผอู้ ่ืน 38 ฉันทําหน้าทไี่ ด้ดี ไม่วา่ จะอยใู่ นบทบาทใด 39 ฉนั สามารถทาํ งานท่ีได้รบั มอบหมายไดด้ ีทสี่ ุด 40 ฉนั ไมม่ นั่ ใจในการทาํ งานทย่ี ากลําบาก รวม 41 แมส้ ถานการณ์จะเลวร้าย ฉนั กม็ คี วามหวังว่า จะดีขึ้น 42 ทุกปัญหามักมที างออกเสมอ 43 เมอ่ื มีเรื่องท่ีทําใหเ้ ครียด ฉนั มกั ปรบั เปลยี่ นให้ เปน็ เร่อื งผ่อนคลายหรือสนุกสนานได้

409 ลาํ ดบั คําถาม/คําตอบ ไม่ จรงิ ค่อน จรงิ คะ จรงิ บาง ข้าง มาก แนน ครงั้ จรงิ 44 ฉนั สนุกสนานทุกคร้งั กบั กจิ กรรมในวนั สดุ สัปดาห์และวนั หยดุ พักผ่อน 45 ฉนั รูส้ ึกไมพ่ อใจท่ผี ู้อน่ื ได้รบั สงิ่ ดีๆ มากกวา่ ฉนั 46 ฉันพอใจกบั ส่งิ ทีฉ่ ันเปน็ อยู่ รวม 47 ฉนั ไมร่ ูว้ ่าจะหาอะไรทาํ เมอ่ื รู้สกึ เบ่ือหนา่ ย 48 เม่ือวา่ งเว้นจากภาระหนา้ ท่ี ฉันจะทาํ ในสิ่งที่ ฉันชอบ 49 เมอ่ื รสู้ กึ ไม่สบายใจ ฉันมวี ิธผี อ่ นคลายอารมณ์ ได้ 50 ฉันสามารถผ่อนคลายตนเองได้ แม้จะเหนด็ เหนอื่ ยจากภาระหน้าท่ี 51 ฉนั ไมส่ ามารถทําใจให้เปน็ สขุ ได้จนกว่าจะได้ ทุกสิ่งที่ต้องการ 52 ฉันมักทกุ ขร์ อ้ นกบั เรือ่ งเล็กๆ นอ้ ยๆ ทเี่ กดิ ข้ึน รวม การให้คะแนน แบ่งเป็น 2 กลุม่ ดงั น้ี กลุม่ ท่ี 1 ได้แก่ ข้อ 1 4 6 7 10 12 14 15 17 20 22 23 25 28 31 32 34 36 38 39 41 42 43 44 46 48 49 50 แตล่ ะข้อให้คะแนนดงั ตอ่ ไปนี้ 1 คะแนน ตอบไมจ่ ริง ให้ 2 คะแนน ตอบจริงบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ตอบคอ่ นข้างจรงิ ให้ 4 คะแนน ตอบจริงมาก ให้

410 กลุ่มที่ 2 ได้แก่ ขอ้ 2 3 5 8 9 11 13 16 18 19 21 24 26 27 29 30 33 35 37 40 45 47 51 52 แต่ละขอ้ ใหค้ ะแนนดังต่อไปนี้ 4 คะแนน ตอบไม่จรงิ ให้ 3 คะแนน ตอบจริงบางครง้ั ให้ 2 คะแนน ตอบคอ่ นข้างจรงิ ให้ 1 คะแนน ตอบจริงมาก ให้ การรวมคะแนน ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเอง ดา้ นดี หมายถงึ รู้จักเห็นใจผอู้ น่ื และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ส่วนรวม ด้านเกง่ หมายถึง ความสามารถในการรู้จกั ตนเอง มแี รงจูงใจ สามารถตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาและแสดงออกได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รวมท้งั มีสัมพนั ธภาพที่ดี ด้านสุข หมายถงึ กับผอู้ น่ื ความสามารถในการดําเนินชีวิตอย่างเป็นสขุ ดา้ น องคป์ ระกอบย่อย การรวมคะแนน ผลรวมคะแนน ดี 1.1 ควบคุมตนเอง ขอ้ 1-6 เก่ง 1.2 เหน็ ใจผูอ้ น่ื ขอ้ 7-12 สุข 1.3 รับผดิ ชอบ ข้อ 13-18 2.1 มีแรงจงู ใจ ข้อ 19-24 2.2 ตดั สินใจและแกป้ ัญหา ข้อ 25-30 2.3 สัมพนั ธภาพ ข้อ 31-36 3.1 ภูมิใจในตนเอง ขอ้ 37-40 3.2 พอใจชีวติ ข้อ 41-46 3.3 สขุ สงบทางใจ ขอ้ 47-52

411 เมอื่ นักศกึ ษารวมคะแนนแตล่ ะดา้ นเสร็จแลว้ ใหน้ าํ คะแนนที่ไดไ้ ปลงบนตาํ แหน่งเส้นกราฟ แลว้ ลากเสน้ ให้ต่อกันและพจิ ารณาคะแนนดา้ นใดทีส่ งู หรอื ตา่ํ กวา่ ช่วงคะแนนปกติ (กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ : 2544, 45) กราฟแสดงความฉลาดทางอารมณ์ (อายุ 12-17 ปี) 0 5 10 15 20 25 คะแนนเฉลย่ี แตล่ ะด้าน 1.1 ควบคมุ ตนเอง ช่วงคะแนนปกติ 13-18 …………………………. 15.5 1.2 เห็นใจผอู้ นื่ ช่วงคะแนนปกติ 16-21 …………………………… 18.1 1.3 รับผดิ ชอบ ชว่ งคะแนนปกติ 17-22 …………………………… 19.3 2.1 มีแรงจงู ใจ ช่วงคะแนนปกติ 15-20 …………………………… 17.3 2.2 ตัดสนิ ใจและแก้ปญั หา ชว่ งคะแนนปกติ 14-19 …………………………… 16.1 2.3 สัมพนั ธภาพ ชว่ งคะแนนปกติ 15-20 …………………………… 17.3 3.1 ภูมใิ จในตนเอง ชว่ งคะแนนปกติ 9-13 …………………………… 11.0 3.2 พอใจชีวติ ชว่ งคะแนนปกติ 16-22 …………………………… 18.9 3.3 สุขสงบทางใจ ช่วงคะแนนปกติ 15-21 …………………………… 17.8 กราฟแสดงความฉลาดทางอารมณ์ (อายุ 18-25 ป)ี 0 5 10 15 20 25 คะแนนเฉลี่ย แต่ละดา้ น 1.1 ควบคุมตนเอง ชว่ งคะแนนปกติ 13-18 …………………………… 15.5 1.2 เห็นใจผู้อน่ื ชว่ งคะแนนปกติ 16-21 …………………………… 18.1 1.3 รับผดิ ชอบ ชว่ งคะแนนปกติ 17-22 …………………………… 19.6 2.1 มแี รงจงู ใจ ชว่ งคะแนนปกติ 15-20 …………………………… 18.0 2.2 ตดั สินใจและแกป้ ัญหา ชว่ งคะแนนปกติ 14-20 …………………………… 16.8 2.3 สมั พนั ธภาพ ช่วงคะแนนปกติ 15-20 …………………………… 17.5 3.1 ภูมใิ จในตนเอง ชว่ งคะแนนปกติ 9-14 …………………………… 11.4 3.2 พอใจชวี ติ ช่วงคะแนนปกติ 16-22 …………………………… 19.0 3.3 สุขสงบทางใจ ช่วงคะแนนปกติ 15-21 …………………………… 18.1

412 กราฟแสดงความฉลาดทางอารมณ์ (อายุ 26-60 ป)ี 0 5 10 15 20 คะแนนเฉลี่ย แต่ละด้าน 25 15.6 1.1 ควบคุมตนเอง ชว่ งคะแนนปกติ 14-18 …………………………… 18.5 20.4 1.2 เห็นใจผ้อู นื่ ช่วงคะแนนปกติ 16-21 …………………………… 18.8 18.1 1.3 รับผิดชอบ ชว่ งคะแนนปกติ 18-23 …………………………… 17.8 12.1 2.1 มีแรงจงู ใจ ช่วงคะแนนปกติ 15-21 …………………………… 19.4 19.2 2.2 ตดั สินใจและแก้ปญั หา ช่วงคะแนนปกติ 15-21 …………………………… 2.3 สมั พันธภาพ ชว่ งคะแนนปกติ 15-21 …………………………… 3.1 ภูมิใจในตนเอง ช่วงคะแนนปกติ 10-14 …………………………… 3.2 พอใจชีวิต ช่วงคะแนนปกติ 16-22 …………………………… 3.3 สขุ สงบทางใจ ช่วงคะแนนปกติ 16-22 …………………………… (กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ : 2544, 45)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook