Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

513 เป็นตน้ แตบ่ างครง้ั คําชมก็จาํ เปน็ เหมือนกัน ถ้าคาํ ชมนั้นเป็นคาํ ชมท่ีจริงใจจากผู้อน่ื เราควรรู้จกั ประมาณ ตน มองตนเองโดยไม่ลําเอยี งหรอื เช่ือคําชมของผู้อน่ื งา่ ยเกินไป การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลอื่นนั้น เราควรมีความจริงใจต่อผู้อ่ืน เนื่องจาก ความจริงใจต่อกันโดยไม่หวังผลประโยชน์นั้น จะก่อให้เจตคติที่ดีซึ่งกันและกัน มีความไวว้ างใจกนั อันจะนําไปส่คู วามสมั พันธท์ ีด่ แี ละแนบแนน่ ระหวา่ งเรากับบคุ คลที่สมาคมดว้ ย นอกจากนี้เราควรมี การสํารวจตนเองว่า เรามักติเตียนปมดอ้ ยของผ้อู น่ื หรอื ไม่และมีมารยาทในสังคมหรือไม่ เชน่ การใช้ กิริยาและวาจาทส่ี ภุ าพ การปฏบิ ัตติ นตามขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรมและคา่ นยิ มของสังคม เปน็ ต้น หากเราปรารถนาจะสร้างมนษุ ยสมั พันธ์กบั ผอู้ ื่นให้มัน่ คง เราควรมองปมด้อยของผู้อ่นื เป็น เรอ่ื งธรรมดา และถา้ สามารถช่วยเหลือเขาได้ควรชว่ ยเหลือเขาตามสมควร เช่น เพื่อนตดิ สรุ าจนเปน็ โรคพิษสุราเรอื้ รงั กห็ าทางตักเตือนและแนะนําด้วยความหวังดี ใหก้ ําลงั ใจแก่เขาให้กลบั มาทาํ งาน หรอื ศึกษาตอ่ ตามปกติ เปน็ ตน้ การมีมารยาทในสังคมนบั ว่าจาํ เป็นในการสร้างมนษุ ยสมั พันธก์ ับบคุ คล อน่ื เชน่ กัน เพราะชว่ ยใหค้ นเราปฏิบัติตนต่อกนั ได้อยา่ งเหมาะสม ถกู ตอ้ งตามกาละเทศะและก่อให้เกดิ ความสามัคคขี นึ้ ในสังคม 13.2การศึกษาสงิ่ ทคี่ วรรู้เก่ยี วกับบุคคล บุคคลโดยทว่ั ไปมกั มีลักษณะทค่ี ลา้ ยๆกนั อยู่ หลายประการ หากเราได้ตระหนักถึงลกั ษณะเหลา่ น้ี ก็จะช่วยเสรมิ การสร้างมนุษยสมั พันธก์ ับบคุ คล อ่ืนไดง้ ่ายขนึ้ และดาํ รงความสัมพันธ์อันดีให้มน่ั คงได้ ลกั ษณะตา่ งๆ เกย่ี วกับบคุ คลดงั กล่าว มดี งั น้ี 13.2.1 ไม่ชอบให้ใครตาํ หนิ แม้ว่าความคิดหรือการกระทําน้ันจะผิดก็ตาม เนอื่ งจากเรามักเข้าใจว่าสง่ิ ทีเ่ ราคดิ หรือกระทําลงไปนนั้ ถูกต้องแลว้ คนเราจะกระทําส่งิ ใดยอ่ มีเหตผุ ล ของตนเองเสมอ แต่เป็นเหตผุ ลในแงค่ วามนึกคดิ ของแต่ละคน ฉะนัน้ ความคิดของแต่ละบคุ คลยอ่ ม แตกต่างกนั ได้ ด้วยเหตุนก้ี ารตาํ หนิผูอ้ น่ื เมอื่ คดิ ว่าเขากระทาํ ผดิ นนั้ นบั วา่ ไม่มีประโยชน์ เน่อื งจาก ความคิดเหน็ ของแตล่ ะบุคคลต่างกนั อาจทาํ ให้ผ้ถู กู ตาํ หนิไม่พอใจและรู้สึกวา่ เปน็ การทําลายเกียรติ ของตน ฉะนัน้ เมื่อธรรมชาติของมนษุ ยไ์ มช่ อบให้ใครมาตาํ หนิตนเช่นน้ี เราควรงดการตาํ หนผิ ้อู นื่ ควร รู้จักนําใจเขามาใส่ใจเรา ร้จู ักให้อภยั ซงึ่ กันและกัน 13.2.2 อยากมชี อ่ื เสียงเดน่ คนเรามักชอบใหผ้ ู้อื่นยกย่องสรรเสรญิ ตนว่า เปน็ คนเก่งหรอื มเี กยี รติ ด้วยเหตุนจี้ ึงทาํ ใหค้ นเราเกดิ ความคดิ สร้างสรรคใ์ นการประดิษฐส์ ่ิงตา่ งๆ ทีอ่ ํานวย ประโยชนแ์ กม่ วลมนุษย์ เพอื่ สรา้ งชอื่ เสยี งใหแ้ กต่ น เราควรรู้จักประมาณตนและมคี วามมานะพยายาม ในทางท่ถี ูก ไมเ่ อารดั เอาเปรียบผอู้ ่ืนดว้ ย 13.2.3 ชอบคนทอี่ ารมณ์ดีมากกว่าอารมณ์เสีย คนทยี่ ้ิมแยม้ แจม่ ใส หรอื มีนิสยั ร่าเรงิ อย่เู สมอนัน้ เป็นบุคคลท่นี ่าคบหาสมาคมมากกวา่ คนทมี่ แี ต่ความทกุ ข์ อารมณไ์ มม่ ั่นคง หงุดหงิด และโกรธง่าย การยมิ้ ของคนเราน้นั นบั วา่ สําคัญมาก ดงั สภุ าษติ ของจนี กลา่ วไวว้ า่ “คนที่ยมิ้ ไมเ่ ปน็ จะ คา้ ขายขาดทนุ ” เพราะการยิ้มแสดงถึงการมคี วามสุข การตอ้ นรับ การมนี ้าํ ใจโอบอ้อมอารี ทาํ ให้ผทู้ ี่

514 พบเหน็ อยากสมาคมด้วย ดังน้ัน เราควรย้ิมแยม้ แจ่มใสกบั บคุ คลทเี่ ราสมาคมด้วยเสมอ เพื่อสร้าง มนษุ ยสัมพันธก์ บั บคุ คลน้ัน 13.2.4 ไมช่ อบให้ใครโตเ้ ถียง โดยธรรมชาตขิ องมนุษยน์ ้ัน ไมช่ อบใหใ้ ครมาพูด ขัดแย้งหรอื โต้เถียงตน โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งต่อหนา้ ทีป่ ระชุมหรอื ในกลมุ่ คนและหากผ้โู ตเ้ ถยี งเปน็ บุคคล ที่มีฐานะตาํ่ กว่าด้วยแล้วก็ย่ิงจะทําให้เกิดความไม่พอใจมากย่ิงขึ้น ผู้สูงอายุซ่ึงเป็นบุคคลที่มี การเปลี่ยนแปลงทางสภาพจิตใจ มักยึดมั่นในความคิดดั้งเดิมของตน ยึดมั่นในขนบธรรมเนียม ประเพณแี ละวฒั นธรรมเดิม อาจต่อต้านการเปลย่ี นแปลงแนวทางชวี ติ ใหมๆ่ ความคดิ ใหมๆ่ ทข่ี ดั แยง้ กบั ความคดิ เดิมของตน ดงั น้ัน จงึ มักมีปัญหาขัดแย้งระหว่างผสู้ ูงอายุกบั ผเู้ ยาว์อยูเ่ สมอ เราจึงควร เข้าใจถึงสภาพทางธรรมชาติของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การเปล่ียนแปลงทางสภาพจิตใจของ ผสู้ ูงอายุ เพ่ือให้เราสามารถปฏิบตั ติ นในการสร้างมนษุ ยสมั พนั ธก์ ับบคุ คลต่างๆได้ 13.2.5 อยากใหบ้ คุ คลอ่นื เคารพนับถอื และยกยอ่ งตน คนเราสว่ นใหญป่ รารถนา ให้ผู้อื่นเคารพนับถือและยกย่องว่าตนเป็นคนดี มีน้าํ ใจโอบอ้อมอารีต่อผู้อ่ืน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผูส้ ูงอายมุ กั ปรารถนาใหบ้ ตุ รหลานและบุคคลอนื่ ๆ ในครอบครวั เคารพยกย่องนบั ถือตนและคิดวา่ ตน ยงั มปี ระโยชน์ต่อครอบครวั ดงั น้นั ในฐานะที่เราเป็นผู้เยาวค์ วรใหค้ วามเคารพนับถอื และยกย่องทา่ น รับฟังความคิดเห็นของท่านและขอคาํ ปรึกษาในเรื่องท่ีเหมาะสมตามสมควร ก็จะช่วยส่งเสริม ความสัมพนั ธอ์ ันดรี ะหวา่ งเรากับผู้สงู อายุและชว่ ยป้องกันปัญหาขดั แยง้ ทอี่ าจเกดิ ข้ึนในครอบครวั ได้ 13.2.6 ชอบเหน็ การรับผดิ เม่ือกระทาํ ผิด ผู้ทกี่ ระทาํ ผดิ แลว้ ยอมรบั ผดิ นัน้ เป็น บคุ คลทคี่ วรใหอ้ ภยั น่าสรรเสริญ เพราะการยอมรับผิดน้ัน มไิ ดท้ าํ ใหต้ นตอ้ งเสียเกียรติ หรือแสดงถงึ ความบกพรอ่ งและความอับอาย แตเ่ ป็นการแสดงถงึ ความมนี ํ้าใจเปน็ นกั กีฬา เปน็ บคุ คลทนี่ ่าเคารพ นับถอื ของคนทัว่ ไป 13.2.7 ต้องการให้เป็นกันเองกับทุกคน การปฏิบัติตนเป็นกันเองกับผู้อื่น ไม่วางตวั ขม่ เหงผอู้ นื่ จะชว่ ยสรา้ งมนษุ ยสมั พนั ธฺกบั ผ้อู ่นื ไดง้ ่าย กล่าวคือ บุคคลที่วางตัวได้เหมาะสมกบั ฐานะของตนโดยไม่ถอื ตัว ไม่แบง่ พรรคแบง่ พวกหรือฐานะทางเศรษฐกจิ จะสามารถเข้ากับผอู้ ื่นได้ง่าย เป็นที่รักใครข่ องคนทวั่ ไปและสรา้ งความประทบั ใจใหผ้ ้อู น่ื การปฏิบัติตนเปน็ กนั เองกับผู้อน่ื น้ัน ควร เหมาะสมกับระดับของบคุ คลและกาลเทศะ เชน่ การปฏิบตั ิตนเปน็ กันเองกับเพือ่ นๆ ครู ผ้สู ูงอายุ เป็นตน้ 13.2.8 ชอบให้ผู้อ่ืนพูดในเรื่องท่ีตนสนใจ คนเรามีความแตกต่างกันใน ด้านความคิด การศึกษา การอบรม ฐานะและความเปน็ อยู่ จงึ ทําใหค้ วามพอใจ และความสนใจของ คนเราแตกต่างกนั ดงั น้นั เรอ่ื งท่ีเราจะสนทนากบั บุคคลตา่ งๆนนั้ ควรสอดคลอ้ งกบั ความพอใจ และ ความสนใจของเขาใหม้ ากที่สดุ จงึ จะชว่ ยสง่ เสรมิ ความเขา้ ใจและความสมั พนั ธท์ ดี่ ซี งึ่ กนั และกัน

515 13.2.9 ชอบให้ผู้อ่ืนฟังเมื่อตนพูด การพูดคุยหรือการแสดงความคิดเห็น รว่ มกนั น้ัน ควรเปิดโอกาสให้ผู้อื่นพดู หรอื แสดงความคดิ เหน็ บา้ ง โดยตนเป็นผูส้ นใจฟงั ควรต้ังคาํ ถาม ในเรอื่ งท่เี ขากําลังพดู จะชว่ ยสง่ เสรมิ ให้ผพู้ ดู เกดิ ความพอใจ เพราะมผี ู้อืน่ สนใจฟังขณะท่ีตนพดู ลกั ษณะ ตา่ งๆของคนเราโดยทวั่ ไป ดงั ทก่ี ลา่ วมาข้างต้น เป็นเรือ่ งทคี่ วรคาํ นึงถึงในการวสร้างมนษุ ยสมั พนั ธก์ บั ผู้อืน่ หรอื การคบมติ ร การนําหลักมนุษยสัมพนั ธข์ องแอนดรู คาร์เนก้ี ทว่ี ่า “ให้ส่ิงทเี่ ขาตอ้ งการแล้ว ท่านจะได้ส่ิงทท่ี ่านต้องการ” มาใชใ้ นการสร้างมนษุ ยสมั พันธน์ ้นั เราควรรู้จักประยุกตใ์ ช้ให้เหมาะสม กบั ชวี ติ จริงจะช่วยสร้างมนุษยส์ ัมพันธ์ กบั ผอู้ ่นื ไดด้ ยี ่ิงขึ้น 13.3การผกู มิตร หลกั เบ้อื งต้นในการผูกมติ ร เพื่อเสรมิ สร้างสมั พนั ธภาพทีด่ ีต่อกนั ให้ ยัง่ ยนื มดี งั นี้ 13.3.1 ความจรงิ ใจต่อกัน นบั เป็นเรอ่ื งสําคญั ความจริงใจตอ่ กนั เปน็ อันดับ แรกในการผูกมิตร เน่อื งจากความจริงใจต่อกนั ช่วยสร้างความไวว้ างใจซึง่ กันและกัน ซ่งึ จะนําไปสู่ การปฏิบัติตนอยา่ งเป็นกันเอง เปดิ เผยและไมร่ ะแวงกันเมอื่ มีปญั หาเกิดขน้ึ กส็ ามารถปรกึ ษากันได้ ช่วย เสรมิ สรา้ งความสมั พันธใ์ หแ้ นน่ แฟ้นยงิ่ ขนึ้ 13.3.2 การช่วยเหลือกนั คนเราเมือ่ อยู่ร่วมกนั ในสงั คม จาํ เปน็ ตอ้ งพง่ึ พาอาศยั ซง่ึ กันและกัน บางครั้งคนเราไม่สามารถทํางานบางอยา่ งให้สําเรจ็ ลุลว่ งได้โดยลําพัง ดังนน้ั เราจงึ ควร ช่วยเหลือกัน การช่วยเหลอื กันชว่ ยทําใหค้ นเราได้มโี อกาสใหช้ ิดสนิทสนมกันและสรา้ งความสัมพันธ์ อนั ดีต่อกัน ซ่งึ มีความสําคัญยง่ิ ในการผูกมติ รกบั ผูอ้ น่ื 13.3.3 ความมีนา้ํ ใจตอ่ กัน เป็นการแสดงให้เห็นถึงความมจี ิตเมตตากรุณาไม่ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว รู้จักเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ต่อผู้อ่ืนและการร่วมทุกข์ร่วมสุขกับเพ่ือน นับเป็น การแสดงความมีน้ําใจท่ดี ตี อ่ เพอื่ น ซ่งึ เราควรปฏิบัตเิ พ่ือสร้างความสมั พันธ์อนั ดตี อ่ กันสบื ไป 13.3.4 การให้เกยี รตซิ ง่ึ กนั และกนั ในการผูกมติ รเราควรใหเ้ กยี รตแิ กเ่ พอ่ื นตาม สมควร ไม่ควรลบหลู่ดูถกู กนั ไมค่ วรเปดิ เผยความลับของเพ่ือนให้ผอู้ ่นื ทราบ ไมค่ วรลอ้ เลยี นให้เพื่อน อับอายหรือแสดงความเป็นกันเองมากเกินไปจนขาดความเกรงใจ ซึ่งทาํ ให้เพ่ือนเบื่อหน่าย ดงั น้นั การใหเ้ กยี รตซิ งึ่ กนั และกันช่วยใหเ้ รารู้จักปฏิบัตติ นตามฐานะเพ่ือนได้ อย่างเหมาะสม ความสําคัญของการติดต่อส่อื สารในการสรา้ งมนุษยสัมพนั ธน์ นั้ ในการอธิบายเรื่องน้ี ผู้เขียน จะขอใช้แนวคิดเร่ือง การติดต่อสื่อสาร ซึ่งจะทาํ ให้ได้ว่า ในเรื่องการติดต่อสื่อสารมีความสําคญั และความจาํ เปน็ อย่างยิ่งในการสร้างมนษุ ยสัมพันธ์ โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

516 ภาพที่ 152 แสดงภาพการตดิ ตอ่ ส่ือสาร (ที่มา https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) 14. การตดิ ต่อส่ือสาร 14.1 ความหมายของการตดิ ต่อสอ่ื สาร การตดิ ตอ่ ส่ือสารเป็นกระบวนการ หมายถงึ วา่ เป็นการกระทาํ ที่มีขนั้ ตอนและ มีลาํ ดับของการแปรเปลี่ยนจากขัน้ ตอนหนง่ึ ไปส่อู กี ขน้ั ตอนหนึง่ ดังนัน้ จดุ เร่ิมตน้ ทีส่ ะดวกทส่ี ดุ ใน การตดิ ตอ่ สอื่ สารเพอื่ สรา้ งความสมั พันธอ์ นั ดเี พ่ือการทาํ ความเข้าใจกระบวนการสอ่ื สาร ประกอบด้วย สว่ นย่อย 2 สว่ น คอื องค์ประกอบของการส่อื สารและขนั้ ตอนที่การส่อื สารดําเนนิ ไป (http://www.novabizz.com/NovaAce/HumanRelations. 9 กนั ยายน 2559) 14.2 ความสาํ คญั ของการติดตอ่ ส่ือสาร การติดตอ่ ส่ือสาร (สมพร สุทศั นยี ์,2551 : 283-285) เปน็ ปัจจัยสาํ คญั ใน การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ทั้งน้ีเพราะการติดต่อส่ือสารเป็นวิธีการนําข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความต้องการอารมณ์และความร้สู กึ จากผูส้ ง่ หรือผู้พูดไปยังผู้ฟังให้เข้าใจตรงกนั และเกิดความพึงพอใจ สื่อสาร หมายถึง กระบวนการถา่ ยทอดข้อมูล ข่าวสาร ขอ้ เทจ็ จริง ตลอดจน ความตอ้ งการ อารมณค์ วามรสู้ กึ จากผสู้ ่งไปยงั ผูร้ บั เพ่ือให้เขา้ ใจตรงกนั จากความหมายจะเหน็ ไดว้ ่า การตดิ ต่อสอ่ื สารเกิดจากบุคคลสองฝ่ายมาตดิ ต่อเก่ียวข้องกนั โดยการสอ่ื ความด้วยการพดู การเขยี น แสดงกิรยิ าท่าทาง สญั ลกั ษณ์หรอื สิ่งทเี่ ปน็ ผลิตผลของเทคโนโลยตี า่ งๆ เช่น วิทยุ โทรทศั น์ โทรศพั ท์ โทรสาร ฯลฯ ผรู้ บั กจ็ ะรบั ขอ้ มูลต่างๆ แลว้ แปลความหมายจากสือ่ นน้ั ๆ ผู้รบั จะแปลความหมายตรง กับผู้สง่ หรอื ไมน่ ้ันย่อมมีผลตอ่ การสร้างมนุษยสมั พันธ์ ทัง้ นีเ้ พราะมีองคป์ ระกอบหลายประการทีม่ ีผล

517 ต่อการแปลความ เชน่ ผู้ส่งสารมคี วามสามารถในการถ่ายทอดขอ้ มูลแคไ่ หน ส่อื ทใ่ี ช้มคี ณุ ภาพเพียงใด บรรยากาศในขณะนนั้ เป็นอย่างไร ผรู้ บั สารมีอารมณ์ ความรู้สกึ ตอ่ การส่อื ความนน้ั อยา่ งไร เปน็ ตน้ องค์ประกอบต่างๆ อาจทําใหก้ ารตคี วามข้อมลู บดิ เบือนและนําไปสู่สมั พนั ธภาพที่ไม่ดดี ไี ด้ เช่น ปรานี พูดวา่ “วนี าจะซื้อกาแฟทัง้ ทซี ื่อขวดใหญซ่ ิ ถ้าเปน็ ฉัน ฉนั ไม่ซื้อขวดเลก็ หรอก” วนี าซ่ึงมีความรู้สึก ด้อยเพราะตนมฐี านะยากจนกว่าปรานอี าจจะไม่พอใจเพราะคิดว่า ปรานีดูถูกเธอ เปน็ ต้น การใช้สอ่ื ที่เป็นภาษาในการติดต่อสือ่ สาร ไม่ว่าจะเปน็ ภาษาพดู หรอื ภาษาเขยี น ผูส้ ง่ สารควรระมดั ระวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ เช่น ศึกษาลักษณะบคุ คลท่เี ราตดิ ต่อสัมพนั ธ์ด้วยว่ามตี ําแหน่ง ฐานะอย่างไร ชอบและพอใจอะไร ควรใช้คาํ พดู อยา่ งไรเพ่ือให้เขาเกิดความพึงพอใจและภาคภูมใิ จ โดยใชน้ าํ้ เสียง สีหนา้ แววตาและทา่ ทางประกอบในการสอ่ื ความ ผู้ฟังก็เช่นกันควรฟังอย่างระมดั ระวงั คอื ตงั้ ใจฟงั ถา้ เป็นการสื่อสารด้วยการเขยี น ผ้เู ขียนต้องเขยี นให้ชดั เจนเพราะผูเ้ ขียนไมอ่ าจใชส้ ีหนา้ แววตาหรือท่าทางประกอบได้ ดงั นนั้ สรุปความสําคญั ของการติดตอ่ สื่อสารได้ ดงั น้ี คือ 14.2.1 การติดต่อสอ่ื สารเป็นปัจจยั สําคัญในการติดตอ่ สมั พนั ธ์ เปน็ เคร่ืองมอื ถ่ายทอดข้อมูล อารมณ์ความรู้สึก ความคิดและความต้องการเพื่อให้อีกฝ่ายเกิดความเข้าใจ เกิด ความรู้สกึ พงึ พอใจ รกั ใคร่ เกดิ ความเช่อื ศรัทธา ซ่งึ นําไปสคู่ วามร่วมมอื รว่ มใจในการทาํ กจิ กรรมต่างๆ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย 14.2.2 เป็นสิง่ จําเปน็ ในการดาํ เนนิ ชีวติ และบรหิ ารงานใหป้ ระสบความสาํ เรจ็ ภาพที่ 153 แสดงภาพองคป์ ระกอบของการติดต่อสอื่ สาร (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 16 กนั ยายน 2559)

518 14.3 องค์ประกอบของการติดตอ่ ส่ือสาร องคป์ ระกอบของการติดต่อส่อื สาร (สมพร สุทัศนยี ,์ 2551 : 285) ไดแ้ ก่ 14.3.1 ผู้สง่ (Sender) อันเปน็ แหล่งของสารสนเทศทถี่ ูกสง่ ออกไป 14.3.2 สารหรอื ขอ้ มูล (Message) สิง่ ที่เรยี กวา่ สารน้นั ประกอบดว้ ยข้อเทจ็ จริง ความรูส้ กึ เจตคติ การคาดการณ์ ขอ้ แนะนําและความคดิ เห็น เป็นต้น การสง่ สารไปกเ็ พื่อใหผ้ ้รู บั เกดิ ความรู้ ความรสู้ ึกหรอื เกดิ พฤติกรรมอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง 14.3.3 สื่อ ส่งิ ที่เลือกเพ่ือใช้สง่ สารไปยังผ้รู ับ สอ่ื สารเปน็ ภาษาพูดหรือเขยี น ทา่ ทางหรอื สญั ลกั ษณ์เฉพาะอยา่ งท้ังนโี้ ดยมจี ดุ มุ่งหมายใหผ้ รู้ บั เขา้ ใจส่งิ ทส่ี ง่ ไปได้ตรง ถกู ต้องและชดั เจน ตามความต้ังใจของผู้สง่ สาร 14.3.4 ผู้รบั สาร (Receiver) อันอาจเปน็ ไดท้ งั้ บุคคลหรอื กลมุ่ บคุ คลซง่ึ จะเปน็ ผรู้ ับสารท่สี ง่ มา ซึง่ ในสว่ นของการรับสารน้จี ะมกี ารตีความสารทไ่ี ด้รับปรากฏการณท์ แ่ี สดงว่าผรู้ ับสาร ได้รับสารและตีความแล้ว คอื ผูร้ ับสารจะมกี ารสนองตอบต่อสาร เช่น คลอ้ ยตาม ขดั แยง้ ต่อตา้ นหรอื แมแ้ ต่เป็นกลาง เมอ่ื สารถงึ ปลายทางแลว้ จงึ ถอื วา่ กระบวนการสอ่ื สารไดเ้ กิดแล้วอยา่ งครบถว้ น (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 กนั ยายน 2559) ผูส้ ง่ สารจะผ่านสอื่ ตา่ งๆ เชน่ คาํ พูด กิรยิ า ท่าทาง การเขยี น สญั ลักษณ์ เปน็ ตน้ ผ้สู ่งสารอาจใชว้ ิธกี ารสง่ สารทางเดียวโดยไมเ่ ปิดโอกาสใหผ้ รู้ บั สารซกั ถามหรอื โต้ตอบ หรือใชว้ ธิ ีสง่ สารสองทางโดยผรู้ ับสารได้ซกั ถาม เราอาจแสดงรปู การสง่ ไดด้ งั นี้

519 ผสู้ ่งสาร สาร สื่อ ผู้รับสาร (ข้อมลู ) ภาษาพดู (วาจา) -คําพูด -เพลง คาํ กลอน ภาษาเขยี น -จดหมาย -คําสั่ง ฯลฯ สัญลักษณ์ รปู ภาพ สื่อตา่ งๆ -วิทยุ โทรศัพท์ ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั แผนผงั ท่ี 10 แสดงองคป์ ระกอบของการตดิ ต่อสอื่ สาร (ทม่ี า สมพร สทุ ศั นยี ,์ 2551 : 285) จะเห็นไดว้ า่ การสง่ สารน้ันต้องมีผสู้ ง่ สาร สง่ สารหรอื ข้อมลู และมผี ู้รบั สารโดยมี สื่อเป็นตวั นําสารของผูส้ ่งไปยงั ผู้รบั 14.4 กระบวนการติดตอ่ สื่อสาร ในการตดิ ตอ่ สอื่ สารนนั้ ผสู้ ง่ สาร ส่งสารไปยงั ผรู้ บั สารผ่านข้ันตอนตอ่ ไปน้ี ความคดิ ประมวล ถ่ายทอด รับสาร ถอดความ ถอดความ ความคดิ การใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั แผนผงั ที่ 11 แสดงข้ันตอนการติดต่อส่ือสาร (สมพร สุทศั นยี ,์ 2551 : 285)

520 14.4.1 ขน้ั ตอนการสื่อสาร ขั้นตอนการสอ่ื สารในองคป์ ระกอบทง้ั หมดของการส่ือสารจะมเี หตุการณ์ เกิดขึน้ เรียงตามลาํ ดับอย่างน้อย 4 ข้ันตอนดว้ ยกัน คอื แรกทเี ดยี ว ข่าวสารจะถกู เข้ารหสั เพื่อให้อยใู่ น รูปที่ผู้รับจะเข้าใจได้ ต่อมาสารจะถูกนาํ ไปโดยส่ือท่ีเหมาะสม หลังจากนั้นสารจะถูกถอดรหัสหรือ ตคี วามหมายโดยผู้รับและข้ันสุดท้าย ผู้รับจะโต้ตอบเพื่อนําข้อมูลป้อนกลับมายังผู้ส่งอีกท่ีหนึ่ง รอบบินส์ (Robbins,1992) ได้ขยาย รายละเอียดดังนี้ กระบวนการติดต่อสอื่ สาร จะเร่ิมจากการเกิดความคิดของผูส้ ง่ สาร โดย ผสู้ ่งจะเร่ิมจดั ระบบความคดิ ของตนเองท่ีมีตอ่ เร่อื งใดเรื่องหน่ึง แต่ก่อนทส่ี ารจะถูกสง่ ออกไปจะตอ้ งถูก นํามาเข้ารหสั เสยี ก่อน โดยเปลี่ยนให้อยใู่ นรปู ของถอ้ ยคําหรอื ทา่ ทาง ทง้ั น้เี พื่อใหส้ ารที่สง่ ออกไปตรง กบั ความคิดความรูส้ กึ เจตคติความตง้ั ใจของผู้สง่ สารขณะเดยี วกันก็เพอื่ ให้ผรู้ บั สารเข้าใจได้ ซึง่ ใน บรรดาพฤติกรรมท่แี สดงออกเพอ่ื การติดต่อสือ่ สารน้ัน ทีส่ งั เกตได้ พบว่า 7% เป็นภาษาถ้อยคาํ แต่อีก 93% เป็นภาษาทา่ ทาง สอื่ ทใ่ี ชส้ ่งสารอาจอยู่ในรูปอืน่ ๆ ได้อีก เช่น รปู ภาพหรอื แผนภูมิ เป็นต้น ตวั อยา่ งเช่น ในการโฆษณาสนิ คา้ มักใช้ภาพเป็นสอื่ ในการบอกความคดิ ในการประชุม มกั ใชแ้ ผนภาพ ตารางหรือกราฟในการแสดงข้อมลู เปน็ ตน้ เมอื่ สารมาถงึ ผรู้ ับก็จะมกี ระบวนการรับสารเกดิ ขึ้น โดย ผู้รบั จะตคี วามสารทผ่ี ู้ส่งส่งออกมาชง่ึ เรยี กว่า เป็นกระบวนการเขา้ รหสั สิ่งท่ีเขา้ มาเกยี่ วขอ้ งดว้ ยใน กระบวนการนี้ ได้แก่ การรบั รู้ ประสบการณแ์ ละความรสู้ ึกของผูร้ ับ เม่ือตคี วามได้อย่างไรแล้วผ้รู ับก็ อาจโตต้ อบกลับไปยงั ผู้สง่ ตามความเข้าใจของตนเอง 14.5 ปัญหาและอุปสรรคในการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร จากปญั หาดังกล่าวรอบบินส์ได้นาํ มาวเิ คราะห์และจําแนกออกเป็นอปุ สรรคใน การตดิ ตอ่ สือ่ สาร 3 ประการใหญ่ ๆ ดงั น้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 กนั ยายน 2559) 14.5.1 ความแตกตา่ งระหว่างการรบั รูข้ องบคุ คล การรับรู้ เป็นกระบวนการท่ีบุคคลจัดส่ิงเร้าท่ีปรากฏให้เป็นหมวดหมู่ มคี วามหมายแลว้ จงึ ตคี วาม ตอ่ จากนัน้ จัดเกบ็ สงิ่ ที่ตคี วามไดไ้ วเ้ ปน็ ความจรงิ ในความคิดของตน ซ่ึง บคุ คลจะมีพฤติกรรมตอบสนองออกมาตามความจรงิ ทีต่ นรับรู้ จากความหมายจะเหน็ ไดว้ า่ การรับรู้ โลกของบุคคลประกอบด้วยวิธีการทเ่ี ลอื กรับสิง่ เร้า วธิ กี ารจดั ส่ิงเรา้ และวธิ กี ารตีความ ดงั น้ัน การทีจ่ ะ เขา้ ใจความแตกต่างในการรบั รขู้ องบุคคลจงึ ต้องทําความเข้าใจกระบวนการท้งั สามน้ี 14.5.1.1 การเลือกรับสาร มนุษย์เราถกู แวดล้อมไปด้วยสารหลายชนดิ และจาํ นวนมหาศาล แต่มนุษย์จะไม่รับรู้สารท้ังหมดท่ีปรากฏ แต่จะเลือกรับรู้เพียงบางอย่างที่มี

521 ความสาํ คัญสาํ หรบั ตนเทา่ น้ัน โดยสงิ่ ทีเ่ ลอื กรบั จะเป็นสง่ิ ทสี่ อดคล้องกบั ความคาดหวัง ความตอ้ งการ ความสนใจ ค่านิยมหรอื อารมณ์ของตนในขณะนน้ั 14.5.1.2 การจัดระบบสาร เม่อื เราเลือกสารท่เี ราตอ้ งการรบั รูแ้ ลว้ ขัน้ ต่อไปคอื จดั สิ่งทรี่ บั รู้นั้นใหเ้ ปน็ ระบบและมคี วามหมาย มอี ยู่หลายวธิ ที ค่ี นเราใชจ้ ัดระบบสาร ท่ีพบมาก ในการตดิ ตอ่ ส่ือสาร ได้แก่ 1) วธิ ีการของภาพและพนื้ ในบรรดาส่ิงเร้าทงั้ หลายนน้ั ส่งิ ทเี่ รา เอาใจใสเ่ ปน็ พเิ ศษและใหค้ วามสาํ คญั จะเปน็ ภาพและสง่ิ อน่ื ๆ ที่เหลือจะกลายเปน็ พืน้ หรอื ฉากหลังซง่ึ เราให้ความสําคัญไม่มากนัก ดงั นั้น เป็นไปไดท้ ค่ี นสองคนท่ีกาํ ลังเจรจากนั และตา่ งฝา่ ยตา่ งนกึ ว่าตน กําลังพดู ถงึ เรือ่ งเดยี วกันแต่แท้จริงแล้วกาํ ลงั พูดคนละเร่อื งกัน ปรากฏการณเ์ ชน่ น้ี เรยี กกันว่า dual monologue และตรงน้เี องทท่ี าํ ให้เกดิ ความเขา้ ใจผดิ อยา่ งมากระหว่างทม่ี ีการติดตอ่ สื่อสาร 2) วิธีการของการเติมให้เต็มสมบูรณ์ วิธีการท่ีสองน้ีอธบิ าย ไดว้ า่ บุคคลมแี นวโน้มจะเตมิ สิ่งทข่ี าดหายไปจากส่งิ เร้าลงไป ในการรับรู้ของตนเพ่ือใหส้ ่งิ ทร่ี ับรนู้ น้ั สมบรู ณ์ข้นึ และโดยทัว่ ไปในการติดต่อสอ่ื สารแล้วคนเรามแี นวโนม้ ตามธรรมชาติท่จี ะเตมิ สงิ่ ท่ีเปน็ ลบ ลงไปมากกว่าสง่ิ ทเี่ ป็นบวก ตัวอย่างเชน่ ในหน่วยงานมีการประชุมแต่เราไม่มรี ายชอ่ื เขา้ ประชมุ ทง้ั ๆ ท่ี เราคดิ วา่ เราควรจะมคี นสว่ นใหญ่จะไมค่ ิดวา่ ผจู้ ดั ประชุมลมื แตจ่ ะคิดว่าจงใจทจ่ี ะไม่เชญิ เราเข้าประชุม การกระทาํ ที่ควรจะทาํ สาํ หรบั ขจัดอปุ สรรคอันเนอ่ื งมาจากการจัดระบบสารดว้ ยวิธีนี้ คอื ตรวจสอบ กบั ขอ้ เท็จจรงิ หรือกับความตงั้ ใจของผ้สู ่งสาร 3) การตคี วามสาร ในการตีความสารของบุคคลนัน้ โดยมีปัจจัย หลักเขา้ มาเกยี่ วข้องอย่างนอ้ ย 3 ปัจจยั ซ่งึ มผี ลทําให้คนเราตคี วามสารอยา่ งเดยี วกันตา่ งกันออกไป ได้แก่ (1) ความกํากวมของสาร การสื่อสารบางอยา่ งเป็นสารที่ เก่ียวขอ้ งกบั ความรูส้ กึ และยากที่จะแสดงท้งั ด้วยถ้อยคําหรอื ท่าทาง จงึ มีผลทําใหผ้ ู้รับสารตคี วามตงั้ ใจ ของสารไม่ออกหรอื ไมต่ รงกับความจริง ตัวอยา่ งเช่น ผู้ส่งสารร้สู ึกรําคาญคสู่ นทนา สารทีแ่ สดงออกน่ิง ไมพ่ ูดอะไร ซงึ่ การนง่ิ และการไมพ่ ดู อะไรน้นั ผ้รู ับสารอาจแปลความว่า กาํ ลังสนใจฟงั หรือเหน็ ด้วยกับ ส่งิ ท่ีแสดงออกกไ็ ด้ (2) อารมณแ์ ละความรสู้ กึ อารมณแ์ ละความรสู้ กึ ของคน นน้ั จะเปล่ยี นแปลงไปมาทัง้ วันขน้ึ อยู่กับบคุ คลหรือเหตกุ ารณท์ ีเ่ ข้าไปติดตอ่ ด้วย เจ้าตวั น้นั ทราบดวี ่า ในเวลานต้ี นตกอย่ใู นอารมณใ์ ดหรือความรู้สึกใดแต่คสู่ ่อื สารอาจไม่รู้ ดังนนั้ เพ่อื แกป้ ญั หาในขอ้ นบ้ี าง คนจงึ บอกคู่สอ่ื สารก่อนว่า ตนรูส้ กึ อย่างไรกับเรือ่ งทีจ่ ะนํามาสนทนากัน ในสังคมของเราจะไมค่ อ่ ยมี ผู้บอกถึงสภาวะทางอารมณ์ของตนออกมาตรงๆ วิธีหนึ่งที่จะช่วยได้คือ การสังเกตอารมณ์และ ความร้สู ึกของคูส่ นทนา

522 (3) ภูมิหลังและประสบการณ์สังคม คนเราทุกคนล้วน เตบิ โตมาจากสภาพแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึง่ เชน่ ถ่ินทอี่ ยู่ ศาสนา การศกึ ษา อาชีพ เชือ้ ชาติ ฐานะ ทางสงั คมและเศรษฐกจิ หรอื อ่ืนๆ อีกมากมาย สงิ่ เหล่านี้ทาํ เรามีเอกลกั ษณแ์ ละแตกตา่ งไปจากบคุ คล อน่ื และเป็นไปได้ที่ส่ิงเหลา่ นจี้ ะกลายเป็นอปุ สรรคของการสือ่ สาร (4) บรบิ ททางจิต ในการรบั รสู้ ารนน้ั มีอทิ ธพิ ลอย่างหน่ึง เข้ามาเกยี่ วข้องด้วย ร้จู กั กันในนามของ primacy effect น่นั หมายถงึ ว่า คนเราสามารถรับรู้สารตาม สารแรกสุดท่ีได้ยนิ มาแทนทจี่ ะฟงั สารทีไ่ ดร้ บั ภายหลงั แมจ้ ะไดร้ ับสารใหม่ระหว่างการตดิ ตอ่ กนั บุคคล กจ็ ะประเมนิ เรื่องใหมไ่ ปในทศิ ทางเดียวกันท่ีรบั รูม้ าก่อน กรณเี ชน่ นจ้ี ะเปน็ เหตุให้เกิดการเปล่ยี นแปลง ความหมายของสารทีไ่ ดร้ ับภายหลงั หรอื ความเอาใจใสส่ ารอาจลดลงหรอื ไม่ก็ตัดสารนน้ั ทง้ิ ไปเลย ใน กรณีทไี่ มส่ อดคล้องกับสารเดมิ ท่เี คยได้รบั มากอ่ น ซึง่ ทัง้ หมดนีอ้ าจแกไ้ ขไดโ้ ดยตรวจสอบความสอดคล้อง ของสารที่เราคดิ ว่าได้ยินกับสารท่ีถกู สง่ ออกมาจรงิ ๆ 14.6 ความแตกต่างระหวา่ งแบบของพฤติกรรม รียดอรน์ (Reardon, 1987) นกั จิตวทิ ยาการสื่อสาร ไดเ้ สนอว่า ในการร้จู ัก บุคคลในติดต่อสอ่ื สารนน้ั เปน็ คู่สอื่ สารนบั วา่ เป็นส่ิงสาํ คญั ท่สี ดุ อย่างหน่งึ นกั ส่อื สารทงั้ หลายย้อนหลัง ไปไดจ้ นถึงอริสโตเติลลว้ นแล้ว แตพ่ ยายามศึกษาผู้ที่ตนติดตอ่ ด้วยและพยายามปรับการสือ่ สารของตน ใหก้ ับพฤตกิ รรมของคสู่ อ่ื สารเพอ่ื ให้เกดิ ผลดที สี่ ดุ เมอริลและคณะ (Merill and others cited by Robbins, 1992: 21 – 27) ได้จําแนกแบบพฤติกรรมของบุคคลในการตดิ ต่อสอ่ื สารออกเป็น 4 แบบ ใหญด่ ้วยกัน แตล่ ะแบบล้วนมีแนวโน้มในการส่อื สารทีต่ า่ งกันออกไป และเม่ือบุคคลต่างแบบมา ส่ือสารกันก็เป็นไปได้ท่ีอาจติดต่อกันลาํ บากมากกว่าปรกติ แบบของพฤติกรรมที่อา้ งถงึ น้ันจําแนก ดังตอ่ ไปน้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 กนั ยายน 2559) 14.6.1 ช่างวเิ คราะห์ บุคคลแบบนม้ี แี นวโนม้ ในเรอื่ งสมบรู ณ์นิยม มักสนใจเรอื่ ง ขอ้ เทจ็ จรงิ ขอ้ มลู ตรรกะและรายละเอยี ด มักชะลอการตดั สนิ ใจจนกว่าจะแนใ่ จว่าตนตอ้ งการอะไร เสยี ก่อน ผลทตี่ ามมา คือ ดเู หมอื นว่าเปน็ คนทีร่ ะมดั ระวงั จนเกนิ ไปและไม่กล้าเส่ยี ง การตัดสนิ ใจและ ขอ้ มลู ของคนประเภทน้เี ทีย่ งตรงและเช่อื ถือได้ ยง่ิ ไปกวา่ น้ันคนชา่ งวเิ คราะหม์ กั ซอ่ นอารมณ์และไม่ ชอบเปิดเผยใหผ้ อู้ ่ืนรู้ 14.6.2 เปน็ มิตร บุคคลแบบน้ที ม่ี ลี ักษณะอบอนุ่ และคิดว่ามติ รภาพเปน็ สิง่ สาํ คญั ทสี่ ุด พวกนชี้ อบทจ่ี ะดึงเอาคนอื่นๆเขา้ ไปเก่ยี วขอ้ งในกิจกรรมต่างๆ ถนดั ในการเลือกสรรคนเข้ารว่ ม กิจกรรม ทํางานทลี ะหลายๆ อยา่ ง สนใจความร้สู กึ ของผอู้ นื่ แตไ่ มอ่ ยากบอกวา่ ตนคดิ อยา่ งไร บคุ คลท่มี ี พฤตกิ รรมประเภทนี้ ชอบสง่ บตั รใหผ้ คู้ นในวาระตา่ งๆและจะเสียใจหรอื ขดั เคืองหากผู้ท่ีไดร้ ับไม่สนใจ การกระทําของเขา

523 14.6.3 ผลกั ดัน บคุ คลแบบนีม้ ลี กั ษณะผลกั ดนั แรง ตรงไปตรงมาและมงุ่ ผลใน การกระทาํ มักจะให้คําแนะนาํ แกผ่ อู้ นื่ ท้ังๆ ท่ีบางคนต้องการและบางคนก็ไมต่ อ้ งการคําแนะนาํ บางครั้ง จะดูเหมือนคนชอบเร่งเร้า บังคับตนเองและผู้อื่น ไม่ชอบแสดงอารมณ์ นอกจากน้ันยังพอใจกับ การวิพากษต์ นเองและเห็นว่าการคุยเรอื่ งเลก็ ๆ น้อยๆ เพอ่ื ความบนั เทงิ เปน็ การกระทําท่ีเสียเวลาและ ไร้สาระ 14.6.4 แสดงออก บคุ คลแบบนมี้ ลี กั ษณะเด่นคอื ชอบสมาคม ชอบงานการ สังสรรค์ มคี วามกระตอื รือรน้ สงู และคิดสรา้ งสรรคท์ จ่ี ะทําส่ิงตา่ งๆ มักกระทําส่ิงใดกต็ ามโดยอาศยั แรง บนั ดาลใจและสงั หรณ์ มคี วามอดทนต่าํ ตอ่ คนทมี่ ลี ักษณะตา่ งออกไปจากตน เนือ่ งจากบุคคลทช่ี อบ แสดงออกมักเบ่อื ง่ายจึงมกั เปลี่ยนงานไปเรื่อย ๆ และสนใจสง่ิ ต่าง ๆ เปน็ พัก ๆ บุคคลท่ีมีแบบของพฤติกรรมต่างกัน มักจะประสบปัญหาในการสื่อสารกัน ใหเ้ ข้าใจเนื่องจากตา่ งคนตา่ งคดิ วา่ อกี ฝา่ ยหน่งึ มีเจตนาทจ่ี ะทําใหต้ นโกรธ ตวั อย่างเชน่ เมอื่ คนชา่ ง วเิ คราะห์ ตดิ ตอ่ กบั คนชอบแสดงออก คนช่างวิเคราะหจ์ ะต้องการขอ้ มูลและรายละเอยี ดซึ่งฝา่ ยหลัง จะไมม่ ีให้ ในขณะเดยี วกนั ผ้ทู ่ีชอบแสดงออกคุยถึงภาพในอนาคต กม็ ักเกดิ ความขัดแยง้ พวกท่ีผลักดัน ซ่ึงสนใจแต่ปัจจุบัน เป็นต้น นักจิตวิทยาได้จับคู่ของแบบพฤติกรรมซึ่งขัดแย้งกันในการสอื่ สารไว้ ดังนี้ คือ วเิ คราะหก์ บั แสดงออก ผลกั ดันกบั เป็นมิตร และผลกั ดนั กบั แสดงออกแต่มไิ ดห้ มายความว่า คู่แย้งเหลา่ น้ีจะส่อื สารกันไมไ่ ด้เลย คู่แยง้ เหลา่ นจ้ี ะส่ือสารกันไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพหากปรบั ตวั โดย เรยี นรแู้ บบของตนเองและของคสู่ นทนา ทาํ ในสง่ิ ทอ่ี ีกฝา่ ยหน่ึงต้องการ และหลีกเล่ียงสงิ่ ทฝี่ ่ายหนึ่ง ไม่ ต้องการ 14.7 ความแตกต่างระหว่างการรับสาร รปู แบบของการรับสารของแต่ละคนจะต่างกันออกไปเช่นกัน โดยปรกติแล้วจะ จาํ แนกออกเป็น 3 ประเภท คือ รบั โดยการฟงั การดู และการสมั ผสั แตล่ ะประเภทมีลกั ษณะเด่นดงั น้ี 14.7.1 การฟัง มีแนวโน้มทีจ่ ะรับสารทเี่ ปน็ ภาษาพูดไดด้ ี สนใจเหตผุ ล แนวคิด ยุทธวธิ ีและการแกป้ ญั หา คาํ ที่มกั ใชเ้ สมอๆ และส่อแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การรับสารดว้ ยการฟงั ได้แก่ คิด ความคดิ แนวคดิ วเิ คราะห์ ได้ยิน และฟงั ดู ตัวอย่างประโยคทชี่ อบพดู เช่น ขอคิดดูก่อน ฟังดูแลว้ เข้าทา่ ลองบอกจํานวนใหฟ้ งั หน่อย คุณชอบความคิดน้ีไหม ดสู มเหตผุ ลดี นไ่ี ง ข้อมูล 14.7.2 การดู มีแนวโน้มจะรบั สารทเี่ ปน็ ภาพได้ดี สนใจภาพ สญั ลกั ษณ์ วิธี หรอื การแกป้ ญั หาทเ่ี ปน็ องคร์ วม คาํ ทม่ี ักใชเ้ สมอๆและสอ่ แสดงใหเ้ ห็นถึงการรับสารโดยการดู ได้แก่ เหน็ เกิดภาพ มอง วสิ ัยทศั น์ ค้นหา สมดุล เป็นตน้ ตวั อย่างประโยคท่ชี อบพดู เช่นลองมองวธิ ีน้ีดู เหน็ ไหมวา่ หมายความอยา่ งไร เราตอ้ งการให้มนั ดสู มดลุ ลองวาดภาพคร่าวๆ ใหด้ ูก่อน 14.7.3 การสัมผัส มีแนวโน้มจะรับสารโดยอาศัยประสบการณ์ สนใจเร่ือง สงั หรณ์ ความบันดาลใจ การรบั ร้ถู ึงการตดั สนิ ใจและการเปลีย่ นแปลงของบคุ คล คําทม่ี กั ใชเ้ สมอๆ

524 และส่อแสดงให้เห็นถงึ การับสารโดยการดู ได้แก่ รสู้ กึ จับ สมั ผสั รบั รู้ เกิดอารมณ์ และรสู้ กึ ร่วม เป็นต้น ตัวอย่างประโยคทช่ี อบพูด เชน่ คณุ รใู้ ชไ่ หมวา่ ฉนั หมายความว่าอยา่ งไร คุณรูส้ ึกอย่างไรกบั เรือ่ งน้ี ฉนั รสู้ กึ ไม่สบายใจกบั เร่ืองท่ีเกิดขน้ึ 15. การเพม่ิ ประสิทธิภาพการตดิ ตอ่ ส่อื สาร การส่ือสารมีประสิทธิภาพการติดต่อสื่อสารมีทักษะอยู่หลายทักษะ ได้แก่ การฟัง ภาษาทา่ ทาง เทคนิคการสอ่ื สารกบั บคุ คลทมี่ แี บบพฤตกิ รรมตา่ งกนั และการให้และรบั ข้อตชิ ม มีดงั น้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 กันยายน 2559) 15.1 การฟงั การฟัง ทักษะพ้ืนฐานท่ีสาํ คญั ในการสร้างสมั พันธภาพระหว่างบคุ คล การทจ่ี ะ โต้ตอบกบั คสู่ นทนาหรอื ผสู้ ง่ สารไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพเพียงใดน้นั ตอ้ งเรมิ่ จากการฟงั ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ การฟังท่ีมีประสิทธิภาพ หมายถึง การฟังท่ีสามารถเข้าใจถึงสาระสําคัญที่ผู้ส่งสารสื่อออกมาได้ สาระสําคัญท่ีผู้ส่งสารส่ือออกมา สามารถสื่อได้ 2 ช่องทาง คือ ส่ือสารโดยการใช้วาจาหรือถ้อยคํา สารท่สี ือ่ โดยผา่ นถ้อยคาํ สว่ นใหญจ่ ะเป็นสาระทเ่ี ป็นเน้ือหา ผู้ฟังจึงควรจบั ใจความของเนอื้ หา ใหไ้ ด้ 5 ประเดน็ หลกั คือ ใคร ทาํ อะไร ท่ีไหน เมอ่ื ไร และส่อื สารโดยการผ่านทางนา้ํ เสียง สีหน้าและท่าทาง สารท่ีส่ือผ่านนํ้าเสียง สีหน้าและท่าทางมักจะเป็น สารท่ีบ่งบอกถึงความรู้สึกของผู้ส่งสาร เช่น ความจริงจงั ความสนุกสนาน ดีใจ เสียใจ เป็นตน้ การท่จี ะจับสาระสาํ คญั จากผสู้ ่งสารใหไ้ ด้ถกู ต้อง จะต้องอาศัยสารที่ได้จากการฟังเนื้อหาและสารที่ได้จากการสังเกตน้ําเสียง สีหน้า และท่าทาง ประกอบกนั เพือ่ จะได้เข้าใจความหมายทแ่ี ทจ้ รงิ ของสารทผี่ ู้ส่งสารเจตนาจะสอื่ หรือหรอื พยายามทีจ่ ะ หลบซอ่ น กลบเลอื่ นด้วยการใช้ถอ้ ยคาํ ท่ีไมต่ รงกับใจ แต่มักปดิ บังไมไ่ ด้จากสหี นา้ และท่าทาง ในการฟงั แตล่ ะครง้ั นกั วิจยั ด้านการสอ่ื สาร พบวา่ ปรกตแิ ล้วเราจะเข้าใจส่ิงที่ เราฟังประมาณ 50% และหลังจากเวลาผา่ นไป 48 ช่ัวโมงความเขา้ ใจจะลดลงเหลอื ประมาณ 25% หรอื นอ้ ยกวา่ นั้น ดังน้ัน หากเราฟังไมเ่ ป็นหรือขาดทักษะการฟงั สารที่ไดร้ บั มาแต่ละครง้ั อาจถูกลืมไป จนหมดสิ้น ทั้งๆท่ีการฟังมีความสาํ คัญแต่การฟังดูจะเป็นทักษะท่ีถูกฝึกกันน้อยที่สุดในการติดต่อ ส่ือสารซึ่งในชีวิตจริงแล้ว เราจะสื่อสารได้ดีเท่าใดข้ึนอยู่กับคุณภาพในการฟังของเรา การฟังที่มี ประสิทธภิ าพจะช่วยให้การติดต่อชดั เจนขึ้น ชว่ ยให้เข้าใจความต้งั ใจท่ีอยู่เบื้องหลัง การส่งสารและ เขา้ ใจตวั สารเองได้ดขี ้ึน ตอนแรกนจ้ี ะได้กลา่ วถึงนสิ ัยการฟังท่ที าํ ลายประสิทธภิ าพการส่อื สารกอ่ น แลว้ จึงจะกล่าวถึงเทคนคิ การฟังท่เี พม่ิ ประสทิ ธิภาพการสื่อสาร ดงั ตอ่ ไปน้ี

525 15.1.1 นสิ ยั การฟังทที่ าํ ลายประสทิ ธภิ าพการสื่อสาร นสิ ยั การฟงั เชงิ ลบทค่ี วรลดลง 10 ขอ้ ได้แก่ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 กนั ยายน 2559) 15.1.1.1 ไมส่ นใจในเรื่องท่ฟี งั 15.1.1.2 สนใจสว่ นประกอบอื่น ๆ ของผู้พดู มากกวา่ เนอ้ื หา 15.1.1.3 ขัดจังหวะผพู้ ดู 15.1.1.4 สนใจรายละเอียดมากกวา่ ประเด็นท่ผี พู้ ดู ตั้งใจจะพดู 15.1.1.5 เลอื กฟงั ในส่ิงที่ตอ้ งการฟังและบดิ เบอื นหรอื ตดั ทอนส่งิ ที่ไม่ ตอ้ งการรบั รู้ 15.1.1.6 ใช้ภาษาทา่ ทางที่แสดงถงึ ความเฉ่ือยและไมส่ นใจการสอ่ื สาร 15.1.1.7 เสียสมาธกิ ับส่ิงเร้าอ่นื ๆ ไดง้ ่าย 15.1.1.8 ข้ามหรือไม่ยอมฟังสง่ิ ทย่ี ากสําหรบั ความเข้าใจ 15.1.1.9 ควบคมุ อารมณ์ซ่งึ ขดั ขวางการรับรู้สารไมไ่ ด้ 15.1.1.10 ฝนั กลางวันขณะฟัง 15.1.2 เทคนคิ การฟังท่เี พ่ิมประสทิ ธภิ าพการสอื่ สาร จากประมวลความคดิ เห็น ของนักจิตวทิ ยาการส่อื สารหลายคน ได้เสนอเทคนคิ การฟงั ทเี่ พมิ่ ประสทิ ธภิ าพการสือ่ สารไว้ ดังน้ี 15.1.2.1 การจดั สิ่งแวดลอ้ ม ควรจัดสง่ิ แวดลอ้ มใหส้ ง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพ การฟังโดยมสี ่ิงรบกวนสมาธนิ ้อยทีส่ ดุ (การจัด แสง สี เสียง การไม่ทาํ กจิ กรรมอ่นื ๆ แทรกขณะฟงั ) ไม่ มสี ิง่ กีดขวางระหว่างผ้พู ูดและผูฟ้ งั (โตะ๊ เกา้ อ้ี แจกนั หรอื พ่มุ ดอกไมข้ นาดใหญ)่ และให้มกี ารขดั จงั หวะ น้อยที่สุดเทา่ ทจ่ี ะเปน็ ไปได้ (โทรศัพทห์ รือแขกมาขอพบ) 15.1.2.2 มีบทบาทเปน็ ผรู้ บั โดยสนใจความคดิ หลกั (คน้ หาความคดิ หลัก ของผพู้ ดู ประเมนิ สารอืน่ ๆกบั ความคดิ หลกั สนใจเฉพาะขอ้ มูลทสี่ อดคล้องกับความคิดหลกั หากอยาก ทราบวา่ ส่งิ ท่ีเราคดิ เปน็ ความคดิ หลกั ของผพู้ ดู นั้นถกู ต้องหรือไม่ อาจซกั ถามผูพ้ ดู ได้) ควบคุมอารมณ์ ขณะรบั ฟงั (พยายามหยุดความคิดท่ขี ดั ขวางการฟงั หรอื ทําใหฟ้ ังไมร่ ้เู รอื่ ง) ประเมนิ สาร (มโี อกาสมาก ทีจ่ ะใจลอยขณะฟงั ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งใช้เวลาประเมินว่าส่ิงทเี่ ราได้ฟงั คอื อะไร เหน็ ด้วยหรอื ไม่เห็นดว้ ย อยา่ งไร และอาจบนั ทกึ ขอ้ มลู ใหม่หรอื แนวคดิ ใหมข่ องผูพ้ ดู ทเี่ ราไดร้ บั จากการฟัง) 15.1.2.3 ใช้ภาษาท่าทางท่แี สดงถึงความสนใจ เช่น สบตา นง่ั เอนตัวไป ข้างหน้า พยักหน้า ยม้ิ จดบนั ทึก ผอ่ นคลายแขน ขา ไมบ่ ดิ มอื เคาะดนิ สอ หรือแทะเล็บ เป็นตน้ ใช้ ภาษาถอ้ ยคําทแ่ี สดงถึงความสนใจ เชน่ ถามคําถามในโอกาสทค่ี วรจะถามตอบสนองการพูด (เชน่ สรุป ถามเพอ่ื ตรวจสอบความคิด ขอใหอ้ ธบิ ายเพ่ิม ชื่นชม) ตอบคาํ ถามทผ่ี ูพ้ ูดถาม แย้งความคิดของผู้ พูดหรอื ให้ความเหน็ เพิ่มเติม โดยทั้งหมดนก้ี ระทําด้วยทา่ ทแี ละถอ้ ยคาํ ทส่ี ภุ าพ ไม่คุกคามหรือกดดัน

526 15.2 ภาษาท่าทาง สือ่ ที่เราใชเ้ พอ่ื สง่ สารไปยงั ผู้รบั นน้ั อย่างหน่ึงคือ ภาษาทา่ ทาง ซึ่งเป็นภาษาท่ี กํากวม ตคี วามยาก และอาจก่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจผิดไดง้ า่ ย หากไมต่ ระหนกั ถึง ภาษาทา่ ทางท่ีใชใ้ น การติดตอ่ ส่ือสารน้นั นกั จติ วิทยาส่ือสารไดจ้ ําแนกออกเปน็ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ การเปลง่ เสียง การเคล่ือนไหวร่างกาย และการใช้ระยะทาง จาํ แนกออกเปน็ ประเภท ดังน้ี 15.2.1 การเปลง่ เสยี ง การสื่อสารประเภทน้ี เป็นสารที่มากับการใช้ถ้อยคําหรืออาจไม่ใช่ ถอ้ ยคาํ สิ่งที่นาํ มาพิจารณาไมใ่ ชเ่ นอื้ หาของสาร แต่เป็นลักษณะท่เี ปล่งเสยี ง ออกมา ประกอบดว้ ย (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 กันยายน 2559) 15.2.1.1 สาํ เนียง เชน่ กระด้าง นุ่มนวล หรอื แขง็ กร้าว 15.2.1.2 จังหวะ เชน่ เรว็ ชา้ ตะกุกตะกัก ระลํา่ ระลัก 15.2.1.3 ระดบั เสยี ง เชน่ แหลม ทุ้ม ต่ํา หวาน 15.2.1.4 วธิ กี ารพูด เชน่ พูดเลน่ พูดจรงิ พูดส่อเสยี ด หรอื ถากถาง เป็นต้น 15.2.2 การเคลอ่ื นไหวของร่างกาย การสอ่ื สารแบบน้เี ป็นการสื่อสารโดยนําเอาการเคลือ่ นไหวของร่างกาย มาเปน็ ส่ือ เชน่ การเคลอื่ นไหวของศรี ษะ หนา้ เอว แขน และอวยั วะสว่ นอ่นื ๆ โดยทั่วไปคนเราจะ เคลือ่ นไหวเพอ่ื การสื่อสารใน 3 แบบคือ 15.2.2.1 การเคล่ือนไหวแทนคําพูดอยา่ งจงใจ เช่น พยกั หน้า แปลว่า รบั เห็นดว้ ย หรอื ใช่ 15.2.2.2 ใช้การเคลอ่ื นไหวประกอบคาํ พูดแสดงการย้าํ เนน้ เชน่ พดู วา่ ไปก่อนนะ แลว้ โบกมือลา 15.2.2.3 ใชก้ ารเคลอื่ นไหวแสดงความรสู้ กึ ซง่ึ จงใจควบคุมเพอ่ื สอื่ สาร ใหไ้ ด้เนื้อหาดว้ ยความต้ังใจ เช่น เพอื่ นเหยียบเท้า แล้วบอกว่าขอโทษ เรายิม้ แล้วตอบว่าไมเ่ ป็นไร ท้ังๆ ทใี่ นใจโกรธมาก เป็นตน้ นักจติ วิทยาสนใจการเคลอื่ นไหวประเภททีส่ ามนม้ี าก เพราะหลายครั้ง ท่ีพบว่า คนเราแสดงในสิ่งที่ตรงข้ามกับที่รู้สึกเพราะต้องการปกปิดความจริง แต่หากสังเกตด้วย ความรอบคอบก็จะเห็นสารทซี่ อ่ นไว้ได้

527 15.2.3 ระยะทาง ถงึ แม้ว่าคนเราจะอยใู่ นท่วงท่าทส่ี งบแต่กพ็ บว่า มีการส่งสาร ออกมาไดอ้ ย่างหนึง่ ที่เห็น คอื ระยะทางทบ่ี ุคคลผูน้ ้ันหา่ งจากคปู่ ฏสิ ัมพันธ์ของตน ปรกติแล้วระยะทาง จาํ แนกได้เป็น 4 ประเภทดว้ ยกัน คอื 15.2.3.1 ระยะทางของคนสนิท อยใู่ นระยะแตะต้องกนั ได้ –18 น้ิว เชน่ พอ่ แม่-ลกู สาม-ี ภรรยา คนรกั และเพ่ือนสนิท 15.2.3.2 ระยะทางสว่ นบคุ คล อยูร่ ะหวา่ ง 1.5-4 ฟตุ ใกล้ชิดพอจะ สมั ผสั กันได้ เช่น สาม-ี ภรรยา คนรัก 15.2.3.3 ระยะทางทางสงั คม ระหว่าง 4-12 ฟุต ปรกตแิ ลว้ การ ปฏิสมั พันธท์ างสงั คมจะอยู่ในระยะนี้ เช่น ผูร้ ว่ มงาน คนรจู้ ัก 15.2.3.4 ระยะทางสาธารณะหา่ งประมาณ 12-15 ฟตุ ซ่งึ เป็นระยะทาง ระหว่างคนธรรมดากบั คนแปลกหนา้ หรอื บคุ คลสาํ คญั ของประเทศ ในเรือ่ งของระยะทางนี้หากคนไม่ สนิทกันแต่มาอยู่ในระยะทางท่ีใกล้กันมากจะรู้สึกอึดอัดดูว่าไม่มีมารยาทหรือบุกรุก แต่หากมี ความสัมพันธใ์ กล้ชิดกันแตอ่ ยู่ในระยะทางทหี่ า่ งจะเกดิ ความรู้สกึ วา่ ห่างเหนิ และอาจเกิดปัญหาด้าน ความสัมพนั ธไ์ ด้ 15.3 การสบตา การสบตา เปน็ การสือ่ สารทบ่ี อกความหมายไดช้ ดั เจนอีกแบบหน่งึ ส่วนใหญแ่ ล้ว ตาจะใชเ้ ป็นช่องทางเปิดเผยความรสู้ กึ ภายใน ใช้แสวงหาข้อมลู จากอีกฝา่ ยหนึง่ และยิ่งไปกวา่ นัน้ ยังมี อทิ ธิพลเหนอื พฤติกรรมของผอู้ ื่น โดยปกตแิ ล้วการสบตากนั นั้นถือวา่ เป็นการเพ่ิมประสทิ ธิภาพของ การส่ือสาร แตก่ ารสบตาทท่ี อดระยะนานจนกลายเปน็ จ้องหรอื เพ่งมองจะทําใหอ้ ีกฝ่ายหนง่ึ รสู้ ึกอึดอดั 15.4 การแสดงสีหนา้ สีหน้าของคนจะเป็นเคร่อื งบง่ ชอ้ี ารมณท์ ี่เกิดขึ้นในขณะนนั้ ทง้ั นี้เนอื่ งจากการ เปลีย่ นไปของสีหน้าจะเกิดขึน้ เองโดยอัตโนมตั ิ สีหนา้ ท่พี บวา่ คนแสดงออกมา คล้ายคลึงกันแทบทกุ ท่ี ในโลก ได้แก่ โกรธ สขุ เศรา้ กลวั รังเกยี จ และประหลาดใจ แตก่ ารแสดงสหี นา้ น้จี ะว่า ควบคมุ ไมไ่ ด้ เสียทีเดียวก็ไม่ใช่ เพราะคนเรามคี วามสามารถทีจ่ ะควบคุมการแสดงสีหน้าของตนเองไดใ้ นบางโอกาส โดยเฉพาะเมื่อต้องแสดงมารยาทสังคมหรอื ปกปิดความร้สู กึ บางอย่าง 15.5 การสมั ผสั การส่ือสารดว้ ยการสมั ผสั มกั พบบ่อยในระหว่างบคุ คลท่ีสนิทกัน แตใ่ นระหว่าง คนไม่สนิท ไม่คุ้นเคยหรือคนแปลกหน้า การสัมผัสจะทําให้รู้สึกอึดอัดและไม่สบายใจ โดยท่ัวไป การสัมผสั เปน็ การสอ่ื สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพมากวิธีหน่งึ โดยเฉพาะการสัมผสั ระหวา่ งผใู้ หญก่ บั เด็ก จะ มผี ลต่อพัฒนาการในทกุ ด้าน ระหวา่ งคนไข้โรคจติ กับแพทย์ พบวา่ การสัมผสั มคี วามหมายมากกว่า

528 ถ้อยคาํ และชว่ ยใหค้ นไข้เปดิ เผยความจรงิ และในระหวา่ งคนสนทิ การสัมผัสจะทาํ ใหเ้ กดิ ความรู้สกึ อบอ่นุ ผอ่ นคลาย 15.6 การเข้าใจมุมมองของผูอ้ ื่น ขา่ วสารหรือข้อความการสอ่ื สารเดยี วกนั อาจจะถกู ตีความและเขา้ ใจแตกตา่ ง กันไปตามมุมมองของผ้รู ับสาร การเขา้ ใจผดิ ต่อกันในการส่ือสารจึงมักจะเกิดข้ึน จากการทผี่ สู้ ง่ สารก็ มกั จะคิดวา่ ทกุ คนจะมมี ุมมองและคดิ เขา้ ใจเช่นเดียวกนั กบั ตน ทงั้ ทีใ่ นสภาพการณท์ เ่ี ปน็ จริงแลว้ สาร ที่บุคคลแต่ละคนรับไปจะถูกตีความและให้ความหมายแตกต่างกัน ไปตามมุมมองของบุคคลน้ันๆ ความสามารถในการแสดงออกทีส่ ่ือสารใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจไดถ้ ูกตอ้ งชัดเจน ทําให้เกดิ ความเข้าใจต่อกนั และ สานตอ่ เรอื่ งราวที่ส่อื สารระหวา่ งผ้สู ง่ สารและผรู้ ับสาร ซง่ึ เป็นส่ิงสาํ คัญของการสรา้ งสัมพนั ธภาพทีด่ ี ตอ่ กัน ไดแ้ ก่ การทวนเน้อื ความ การสะทอ้ นความรู้สึก และการถามคาํ ถาม โดยมีรายละเอียดดงั นี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Skill. 9 กันยายน 2559) 15.6.1 การทวนเนอ้ื ความ การทวนเน้ือความ (Restatement) เปน็ การพดู ทบทวนในเนือ้ หาทเ่ี รา ฟังจากค่สู นทนา ซ่ึงต้องอาศัยความรอบคอบในการพูดทวนเนอ้ื ความให้ถูกต้อง เพื่อเป็นการแสดงใหค้ ู่ สนทนารู้ว่า เราสนใจและเข้าใจในส่ิงท่ีคู่สนทนาพูดและยังเป็นการตรวจสอบความเข้าใจในส่ิงท่ี สนทนากัน ซึ่งหากมีการเข้าใจผิด การพูดทวนเนื้อความยังเป็นโอกาสของการอธิบายเพ่ิมเติมให้ ชัดเจนยิง่ ขึ้น ตัวอย่าง: “เพอื่ นๆ ชอบพดู ล้อเล่นเร่ืองรูปรา่ งของฉัน ฉนั ไม่ ชอบเลยนะ ทเ่ี อาเร่อื งอ้วนๆ ของฉนั มาเปน็ เร่อื งตลก” การทวนเนือ้ ความ: “เธอไมช่ อบทีเ่ พอ่ื นเอาเรือ่ งรูปร่างของเธอ มาล้อเล่น” 15.6.2 การสะท้อนความรสู้ กึ การสะท้อนความรสู้ กึ เป็นการจับความรู้สกึ ของคู่สนทนาจากการสนทนา ซ่ึงอาจเข้าใจได้จากเนื้อหาที่สนทนาและการสังเกตสีหน้า กริยาท่าทาง และน้าํ เสียงของคู่สนทนา การสะท้อนความรสู้ ึกเปน็ การแสดงใหค้ สู่ นทนารู้ว่า เราเขา้ ใจเขาในความรู้สกึ ของเขา ซ่งึ เป็นความ เขา้ ใจในระดับทลี่ กึ ซ้งึ กวา่ เนื้อความทเ่ี ขาสนทนาโดยตรง ตัวอยา่ ง: “ถ้าเพยี งแต่แมบ่ อกตรงๆ ว่า ไมอ่ ยากให้ฉันซอื้ ของ ช้นิ นีต้ ง้ั แต่แรก ฉันกค็ งไมต่ อ้ งส้อู ุตส่าห์เกบ็ เงินและตัง้ ความหวังไวม้ ากอย่างนี้” การสะทอ้ นความรสู้ ึก: “เธอผิดหวงั มาก เมอ่ื แม่บอกไมใ่ หซ้ อ้ื ”

529 15.6.3 การถามคําถาม การถามคําถาม เป็นทักษะสาํ คญั ทีช่ ว่ ยใหค้ ู่สนทนาไดบ้ อกถึงเรอื่ งราว ความคดิ และความรูส้ กึ ตา่ งๆ คาํ ถาม แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื คาํ ถามปิด เป็นคําถามท่ีถามเพ่ือให้ผู้ตอบเลือกตอบอย่างใด อย่างหนึ่ง ตอบว่าใช่ หรือ ไมใ่ ช่ ตอบว่า ถกู หรือ ผิด มีลกั ษณะเปน็ การซกั ถามที่ได้คาํ ตอบเพียงส้ันๆ คําถามเปิด เป็นคําถามท่ีไม่ได้กาํ หนดขอบเขตของการตอบ ผ้ตู อบมีโอกาสพูดถงึ ความคิด ความรู้สึกและสิ่งต่างๆตามความตอ้ งการของตน ซงึ่ ผ้พู ดู จะพดู ได้เต็มท่ี และสะดวกใจ เช่นคาํ ถามอะไร และอยา่ งไรในการสนทนาท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ูพ้ ูดได้เปิดเผยในส่ิงท่เี ตม็ ใจ และตอ้ งการจะเปิดเผย และไมเ่ ปิดเผยในสงิ่ ที่ไมพ่ ร้อมท่ีจะเปดิ เผยน้ัน การใชค้ ําถามเปดิ จงึ เหมาะสม กวา่ การใช้คําถามปิด ซึ่งบางครง้ั อาจจะทาํ ใหผ้ ู้ตอบรูส้ กึ เหมอื นถกู ซกั ไซแ้ ละบงั คบั ให้ตอบในสิ่งทไ่ี ม่อยาก พดู ถึงได้ ตัวอย่าง: คําถามปิด - คณุ คดิ ว่า สมพลเปน็ คนไม่จรงิ ใจใชไ่ หม คําถามเปิด- คณุ คดิ อย่างไรกับการกระทําของสมพล 15.7 การให้และรับข้อติชมในการตดิ ต่อสอื่ สาร ขอ้ ติชมเป็นกระบวนการยอ้ นกลบั ในการติดต่อส่อื สาร โดยปกตมิ ักอยใู่ นรูปของ การบรรยายความรู้สึกและพฤติกรรมเม่อื ได้รับสารจากอีกฝ่ายหน่ึง แบ่งเป็นการใหแ้ ละการรับขอ้ ติชม และถือเปน็ การกระทาํ ทตี่ ้องใช้ความระมัดระวงั มาก เนอ่ื งจากมักกอ่ ให้เกิดผลในทางลบมากกวา่ บวก โดยเฉพาะเมอื่ ผู้รบั สารอยใู่ นภาวะกงั วลหรอื ไม่สบายใจแตเ่ ม่ือหลีกเล่ียงไม่ได้ กค็ วรทาํ อย่างมีหลกั การ ดังนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 กนั ยายน 2559) 15.7.1 เม่ือเป็นฝ่ายใหข้ ้อติชม 15.7.1.1 พูดถึงพฤติกรรมทเ่ี ฉพาะเจาะจงที่สงั เกตเห็นได้ 15.7.1.2 บอกถึงผลกระทบจากพฤติกรรมนน้ั ทม่ี ตี อ่ การทาํ งานหรือต่อ บุคคลอนื่ หรอื ต่อตนเอง 15.7.1.3 วธิ ีพดู ต้องไม่ประชดประชนั หรือดวุ า่ ไม่ใชค้ ําพดู คลุมเครอื ท่ี ต้องคดิ และแปลความเอาเอง ไมช่ มก่อนแลว้ จึงว่าทหี ลังและไม่ถามคําถามทเ่ี รารคู้ ําตอบดีอยู่แลว้ 15.7.1.4 หาขอ้ ตกลงร่วมกนั ว่าจะเปลย่ี นพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้ 15.7.1.5 ผ้ถู กู ตชิ มตอ้ งอย่ใู นสภาพทีพ่ รอ้ มจะรับฟัง 15.7.2 เมือ่ เป็นฝา่ ยถกู ติชม สาํ หรบั รูปแบบทีใ่ ช้รับมอื กบั คําตชิ ม โดยเฉพาะเมื่อถูกติหรือ วิพากษ์วิจารณ์ แมคเคยแ์ ละ แฟนนงิ (McKay & Fanning,1987) ไดเ้ สนอไวด้ ังนี้

530 คําติชมนัน้ ว่าอยา่ งไร สรา้ งสรรค์หรอื ไม่ สร้างสรรค์ ไม่สร้างสรรค์ คําตชิ มน้นั ว่าอยา่ งไร ตรงหรอื ไม่ ตรงหรอื ไม่ สบื คน้ ตอ่ ไมต่ รง ตรง ไม่ตรง แก้ความเข้าใจผิด ยอมรับและปรบั ปรุง เฉยไมร่ บั รู้ หยุด แผนผงั ที่ 12 แสดงรปู แบบการรับมือกับคําติชม (ที่มา McKay & Fanning, 1987) เม่อื ไดร้ ับรคู้ ําตชิ ม อย่างแรกทต่ี อ้ งทํา คอื พิจารณาว่า คําติชมนน้ั เป็นเรอื่ งอะไร เป็นเชงิ สรา้ งสรรคห์ รือไม่ ถา้ หากคําติชมเป็นไปในเชงิ สรา้ งสรรค์ ใหพ้ จิ ารณาต่อวา่ ตรงหรอื ไม่ หากไม่ ตรงก็ให้แก้ความเข้าใจให้ถูกต้อง แต่หากตรงก็ให้ยอมรับและแก้ไขปรับปรุง ในกรณีที่คาํ ติชม ไม่สรา้ งสรรค์ แตต่ รงกค็ วรจะยอมรบั และปรบั ปรุงแก้ไขเชน่ กนั แต่หากไมต่ รงกไ็ มม่ ปี ระโยชนท์ ่ีจะ เสยี เวลาไปใสใ่ จ สว่ นในกรณที ่ฟี ังแล้ว ไมแ่ นใ่ จ หากยังคดิ วา่ สําคญั ก็สบื ค้นตอ่ จนเขา้ ใจชดั เจน แลว้ จงึ ทําเหมอื นขา้ งตน้ นอกจากการเพ่มิ ประสิทธิภาพของการสอ่ื สารจะเปน็ ไปตามหลกั ทเี่ สนอ สิ่งสําคญั อีกประการหนงึ่ คือ การติดตอ่ สอื่ สารกบั บคุ คลนน้ั ตอ้ งคาํ นึงถงึ สถานภาพและสถานการณค์ วบคู่ไป ดว้ ย สถานภาพของบคุ คลท่เี ราสื่อสารด้วยมีได้ตัง้ แตส่ ถานภาพทเ่ี หนอื กวา่ เช่น พ่อแม่ ครู พระ ผู้อาวโุ สหรอื ผูบ้ งั คับบญั ชา เปน็ ต้น สถานภาพทเ่ี ทา่ กนั เช่นเพ่อื นและสถานภาพทีต่ ํ่ากวา่ เช่นผดู้ อ้ ย อาวโุ สหรอื ผู้ใตบ้ ังคับบญั ชา เป็นต้น สว่ นสถานการณก์ ็เชน่ กัน มีได้ตั้งแต่สถานการณ์ปกติท่ัวไปจนถึง

531 สถานการณ์ที่เป็นปัญหาหรือวิกฤต การสื่อสารต้องสอดคล้องกันกับสถานภาพของคู่สอ่ื สาร และ สถานการณเ์ กิดการตดิ ตอ่ สอื่ สารน้นั จงึ จะเกดิ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลดงั ตอ้ งการ 15.8 เทคนคิ การส่ือสารกบั บุคคลทม่ี แี บบพฤตกิ รรมต่างกนั ในการติดต่อสื่อสารน้ัน การรู้จักแบบของพฤติกรรมของคู่สื่อสารนับว่าเป็น ปจั จยั สําคัญประการหนง่ึ ตอ่ การสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน แต่การรู้จักอยา่ งเดยี วยังไม่พอ จาํ เปน็ ต้อง ร้เู ทคนคิ ในการสื่อสารกบั บุคคลแบบตา่ งๆ ด้วย การติดต่อสื่อสารจึงจะสามารถสรา้ งความสัมพันธ์ท่ีดี ต่อกนั ได้ นกั จิตวทิ ยาการสอื่ สารไดม้ ีข้อเสนอแนะและขอ้ ควรระวงั ในการติดต่อกบั บคุ คลแบบต่างๆ ดงั นี้ (Robbins, 1992:31-34) (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 กันยายน 2559) 15.8.1 ชา่ งวเิ คราะห์ สําหรบั คนที่มพี ฤติกรรมแบบนี้ ขอ้ เสนอ ควรจะเตรยี มตัวล่วงหนา้ กอ่ น เจรจาเร่อื งใดๆ พดู ให้ส้ันและตรงจุด มหี ลกั การและขอ้ มลู สนับสนนุ แสดงขอ้ ดีข้อเสียใหเ้ ห็นชัดเจน เฉพาะเจาะจงและพดู ในสิง่ ทที่ าํ ได้ มีตารางเวลาในการทํางาน หากไม่เห็นด้วยต้องเสนอความคิดที่ เปน็ ระบบ ตรงไปตรงมา มีหลกั ฐานท่ีเชื่อถอื ได้สําหรับการอ้างองิ เสนอทางเลือกอ่นื ๆ ดว้ ย ข้อควรระวงั ไมค่ วรจะทําสงิ่ ต่อไปน้ี คอื พดู วกวน แสดงความเปน็ กนั เองมากเกินไป รีบตัดสินใจ ใชเ้ วลามาก เสนอสง่ิ ตอบแทนให้เปน็ การส่วนตัว ใชห้ ลักฐานการอา้ งองิ ทไี่ มน่ ่าเชื่อถอื ขูห่ รอื คกุ คาม เสนอในสง่ิ ทที่ ําไมไ่ ด้ 15.8.2 เป็นมิตร สําหรับคนที่มีพฤติกรรมแบบนี้ ข้อเสนอควรจะเร่ิมการสนทนาด้วย การไต่ถามทกุ ขส์ ุข แสดงความสนใจอย่างจรงิ ใจในสง่ิ ทส่ี นใจร่วมกัน ฟงั และโตต้ อบ เป็นกันเองไมม่ ี พธิ ีรีตอง ถามคาํ ถามทข่ี นึ้ ตน้ ว่าอยา่ งไร เพ่ือให้เขาแสดงความคิดเห็น ระมดั ระวังการแสดงความไม่ เห็นด้วย ใหก้ ารยนื ยนั วา่ สง่ิ ท่ีเขาตดั สินใจจะไม่สง่ ผลกระทบทางลบต่อผอู้ น่ื ใหก้ ารสนับสนนุ ในสง่ิ ที่ เขาแสดงออก ข้อควรระวงั ไม่ควรจะทาํ ส่งิ ตอ่ ไปนี้ เร่ิมตน้ เรือ่ งงานบังคบั ให้ตอบสนอง อยา่ งรวดเร็วและตรงเปา้ เรยี กร้องหรือคุกคาม อภิปรายขอ้ เท็จจรงิ เสนอทางเลอื กและความนา่ จะ เป็นหลายๆ อยา่ ง รบั ประกนั ในสิ่งท่ที าํ ไม่ได้ ตัดสินใจแทน 15.8.3 ผลกั ดัน สาํ หรับคนท่ีมพี ฤติกรรมแบบนี้ ข้อเสนอ ควรจะพูดสั้น ๆ ตรงประเด็น ใช้เวลานอ้ ย เตรียมทุกอยา่ งท่ีจาํ เปน็ ตอ่ การเจรจามาใหเ้ รยี บร้อย เสนอขอ้ มลู เป็นระบบและเปน็ ไป ตามหลกั ตรรกะ ถามคําถามเฉพาะเจาะจง เสนอทางเลือกและปล่อยใหเ้ ขาตัดสินใจ หากไมเ่ หน็ ด้วย

532 ต้องไม่เห็นด้วยกับข้อมูล ไม่ใช่ตัวบุคคล เกล้ียกล่อมโดยชี้ให้เห็นถึงจุดมุ่งหมายและผลที่ได้รับ หลังจากเจรจาเสร็จกลบั ทนั ทโี ดยไม่อ้อยอิ่ง ขอ้ ควรระวงั ไมค่ วรจะทาํ สง่ิ ต่อไปนี้ พดู ใช้เวลามาก สรา้ งความสัมพนั ธ์ สว่ นตัว ยกเว้นวา่ เขาจะเปน็ ฝา่ ยเร่มิ ตน้ ถามในส่ิงท่ีไมม่ ีคาํ ตอบเตรียมไว้ ตดั สนิ ใจมาแล้วลว่ งหน้าและ บบี ใหค้ ลอ้ ยตาม แสดงความไมเ่ หน็ ดว้ ยกับตวั เขา บอกเขาวา่ เราอยฝู่ ่ายเดยี วกบั เขา เพราะคนประเภทนี้ จะไมส่ นใจ นาํ หรอื ส่ังให้ทําตาม คนพวกนจี้ ะต่อต้านทันที 15.8.4 แสดงออก สาํ หรับคนท่มี พี ฤตกิ รรมแบบน้ี ข้อเสนอ ควรจะสนับสนนุ สิง่ ท่เี ขาคดิ ฝันและต้ังใจ ใชเ้ วลาเพือ่ ความสนกุ ด้วย ไม่ใช่พูดแตเ่ รื่องการงานเทา่ นั้น คยุ ถงึ เปา้ หมายของเขาและ สิ่งทเ่ี ขาสนใจ ถามความเหน็ และความคดิ สนใจภาพกวา้ งๆ มากกว่ารายละเอยี ด หาตัวอย่างของ บุคคลอืน่ ๆ มาสนับสนุนส่งิ ท่เี ขาคดิ เสนอ สงิ่ ตอบแทนพิเศษเป็นส่วนตัว ขอ้ ควรระวงั ไม่ควรจะทาํ สงิ่ ต่อไปน้ี เยน็ ชา เหนิ หา่ ง มุง่ ไปที่ขอ้ เทจ็ จรงิ และกดดันให้แกป้ ัญหา ถามหารายละเอียดแล้วใหเ้ ขียนหรือลงมือทาํ ท้ิงส่งิ ต่างๆ ไว้โดยไม่จัดการให้ เรยี บร้อย ฝันรว่ มไปกบั เขาตลอดเวลาเพราะจะไม่มีเวลาพอสาํ หรบั ทํางานอย่างอ่นื ดแู คลนสิง่ ทเี่ ขาคดิ

533 สรุปบทที่ 7 ในการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลน้ัน ต้องมีความรู้ความเข้าใจเร่ือง การสร้างมนุษยสัมพันธ์และการติดต่อส่ือสารระหว่างบุคคล มนุษยสัมพันธ์เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึง ความสัมพนั ธ์มนษุ ย์ในสถานการณต์ ่างๆ โดยมีจดุ มงุ่ หมายทจี่ ะนําความรู้นนั้ มาควบคมุ ความสมั พันธ์ ระหวา่ งมนุษยใ์ หเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางท่ีต้องการ โดยทัว่ ไปความสมั พันธ์ระหวา่ งมนุษย์จําแนกออกเปน็ 3 ระดับ ไดแ้ ก่ ระดับคนรู้จกั ระดบั เพอื่ น และระดับลกึ ซึ้ง แตไ่ ม่วา่ จะเป็นระดับใดสามารถอธบิ าย การเกิดความสัมพันธ์ด้วย 5 ทฤษฎีหลัก คือ การแลกเปล่ียนความดึงดูดใจ การมีเจตคติคล้ายกัน การเตมิ ความแตกตา่ งใหส้ มบูรณ์ การเปรยี บเทียบทางสงั คมและการเสรมิ แรง นอกไปจากข้ออธิบาย ดังกล่าวแลว้ การเกดิ ความสัมพันธร์ ะหว่างมนุษย์ยงั มขี น้ั ตอน ประกอบด้วย การเร่ิมความสัมพันธ์ การสร้างความสัมพันธ์ การรกั ษาความสัมพนั ธ์ และการจบความสัมพันธ์ สว่ นการตดิ ต่อส่อื สารเปน็ กระบวนการท่ีผู้ส่งสารส่งสารไปยังผ้รู ับ โดยมุง่ ทจ่ี ะให้เกดิ ผลต่อผู้รับ โดยใช้สญั ลักษณ์เชน่ กัน ทั้งนี้ จุดประสงค์เบ้ืองต้นของการส่ือสารน้ันเป็นไปเพื่อการสร้างความเข้าใจร่วมกันและตรงกัน จากการวิเคราะห์กระบวนการส่ือสารปรากฏวา่ องคป์ ระกอบเบอ้ื งต้นของ การติดตอ่ สอื่ สารน้ัน ไดแ้ ก่ ผสู้ ่งสาร สาร สื่อ และผู้รบั สาร และในระหวา่ งการสอ่ื สารนนั้ อาจมีสิ่งรบกวนปรากฏอยูด่ ้วย สาํ หรับ ข้ันตอนของการสอ่ื สารนน้ั จะเรมิ่ จากการเข้ารหัสสารเพอ่ื การส่งสารถูกนาํ ไปโดยสื่อ ผู้รบั จะถอดรหัส สาร และจะโตต้ อบเพ่อื ป้อนข้อมลู กลับมายงั ผู้ส่งอีกคร้งั หน่งึ อย่างไรก็ตามในการสอื่ สารนนั้ บอ่ ยครงั้ จะเกิดปัญหาและอุปสรรคท้ังน้ีสาเหตุหลักมาจากการรับรู้ของแต่ละบุคคลแตกต่างกัน แบบของ พฤติกรรมของบุคคลแตกต่างกัน และแนวโน้มการรับสารของแต่ละคนแตกต่างกันและการแก้ไข ปัญหาการสือ่ สารกระทาํ ไดโ้ ดยการเพิ่มประสิทธิภาพของการส่ือสาร ซึง่ ทกั ษะสําคญั ทีค่ วรตระหนัก ได้แก่ การฟัง การใช้ภาษาท่าทาง การใชภ้ าษาถ้อยคําใหส้ อดคลอ้ งกบั แบบของพฤตกิ รรมบุคคล และ การใหแ้ ละรบั ขอ้ ติชม

534 คาํ ถามท้ายบทที่ 7 1. ความสมั พันธร์ ะหว่างบคุ คลมีก่ีระดบั อธบิ าย 2. จงอธิบายทฤษฎอี ธบิ ายการเกดิ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 3. จงอธิบายขัน้ ตอนของการเกิดความสมั พนั ธ์ 4. ทาํ ไมจําเปน็ ต้องมีความสัมพันธ์ระหวา่ งบคุ คล 5. คณุ ลกั ษณะใดบ้างที่ทาํ ให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คล 6. เราควรใช้ทกั ษะการสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลอยา่ งไรบ้าง 7. มนษุ ยสัมพนั ธห์ มายถึงอะไร อธิบาย 8. องค์ประกอบของมนุษยสัมพนั ธ์มีอะไรบา้ ง อธบิ าย 9. จงเปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ งของทฤษฎีความต้องการอรี คิ ฟรอมมแ์ ละ ทฤษฎคี วามตอ้ งการของฮมั ราฮมั มาสโลว์ 10. จงอธิบายทฤษฎีสององค์ประกอบของเฟรเดอริค เฮอรซ์ เบรกิ์ พอสังเขป 11. มนุษย์มคี วามตอ้ งการสัมฤทธผิ ลตรงกบั ทฤษฎีแมคเคลแลนด์ ซ่ึงบุคคลทม่ี คี วามต้องการ สมั ฤทธผิ ลมลี กั ษณะอย่างไร 12. จงอธบิ ายความหมายของคําว่า Valence, Instrumentality, Expectancy ของทฤษฎี ความคาดหวงั ของวรูม 13. จงอธบิ ายทฤษฎีต้นไมจรยิ ธรรมของดวงเดอื น พนั ธุมนาวิน 14. อทิ ธิพลของมนษุ ยสมั พนั ธ์ตอ่ บคุ คลมอี ะไรบ้าง 15. จงอธิบายความหมายของการติดต่อสื่อสาร 16. ทาํ ไมเราจึงต้องมีการติดตอ่ สื่อสาร 17. องคป์ ระกอบของการตดิ ตอ่ สื่อสารมีอะไรบ้าง อธบิ าย 18. จงอธบิ ายกระบวนการติดตอ่ ส่ือสาร 19. นักศกึ ษาสงั เกตปญั หาและอุปสรรคในการติดตอ่ ส่ือสารมอี ะไรบ้าง ยกตวั อยา่ ง 20. จงอธิบายวธิ ีการเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการสื่อสาร

535 เอกสารอา้ งอิงบทที่ 7 จนี แบรี่. (2538). คู่มอื การฝกึ ทักษะให้การปรึกษา. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ทวีศักด์ิ ญาณประทีป. (2534). พจนานุกรมฉบบั พระเกยี รติ พ.ศ.2530. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ไทยวัฒนาพานิช. วจิ ติ ร อาวะกุล (2542). เทคนิคมนษุ ยสัมพนั ธ์. พิมพค์ รั้งที่ 8. กรงุ เทพฯ: โอ.เอส.พร้ินต้งิ เฮาส.์ ศิริโสภาคย์ บรู พาเดชะ. (2528). ปัจจยั จงู ใจ. อ้างถึง http://digital_collect.lib.buu.ac.th/ 22 กนั ยายน 2559 สมพร สุทัศนีย์. (2551). มนุษยสัมพันธ.์ กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สจุ ิตรา พรมนชุ าธปิ . (2549).: มนุษยสมั พันธ.์ กรงุ เทพฯ: สวุ รี ยิ าสานน์. เสริมศักด์ิ วิศาลาภรณ.์ (2522). พฤตกิ รรมผู้นาํ ทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานชิ . อาํ นวย แสงสวา่ ง. (2536). การบรหิ ารงาน. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ทพิ ย์วิสุทธ.ิ์ . ( 2544). การจดั การทรพั ยากรมนษุ ย.์ พิมพ์คร้งั ที่ 2 กรุงเทพฯ : อกั ษรพิพฒั น์. อัญชลี อา่ นวรุฬหวาณิช. (2539). ทฤษฎแี ละแนวคิดความคาดหวัง. อ้างถึง http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/ Expectancy_Theory.htm. Carkhuff, Robert r., et al. (1978). The Art of Helping. Second ed. Massachusetts :Human Resource Development Press. Dillon, J.T. (1990). The Practice of Questioning. London: Routledge. Duck. (1982). Relationship Dissolution. Duck’s Model. Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal.htm 9 September 2016 Gamble, Teri Kwal and Gamble, Michael. (1990). Communication Work. Third ed. New York: McGraw-Hill, Inc.,1990. Herzberg. (1959). Two -Factor – Theory of Herzberg. pp.113 -115 Reference http://digital_collect.lib.buu.ac.th/ 22 September 2016 Johnson, David W.(1997). Reaching Out : Interpersonal Effectiveness and Self- Actualization. Sixth ed. Boston: Allyn and Bacon.

536 McKay and Fanning. (1987). Cognition and Aging : A theory of new Learning and The use of old connections. Pomona Collega Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 September 2016 McClelland. (1961). Motivation Theory of McClelland. Reference http://digital_collect.lib.buu.ac.th/ 22 September 2016 Organ and Hamner. (1982). Interpersonal relationship. Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal.htm 9 September 2016 Parasuraman, Zeithmal and Berry. (1990). Expectancy Theory. Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Expectancy_Theory. 9 September 2016 Robbins. (1992). Communication process. Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 September 2016 Reardon. (1987). Special relationship. Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 September 2016 .The difference between patterns of behavior. Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 September 2016 http://www.baanjomyut.com/library_2/ethics/06.html 22 กนั ยายน 2559 https://www.google.co.th/search 16 กนั ยายน 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship 9 กนั ยายน 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal. 9 กันยายน 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Skill. 9 กันยายน 2559 http://hanjsah.blogspot.com/ 20 กันยายน 2559 http://digital_collect.lib.buu.ac.th 22 กนั ยายน 2559 https://romravin.wordpress.com 22 กนั ยายน 2559

537 แผนบริหารการสอนบทท่ี 8 จติ สาธารณะ เวลาเรียน 6 ช่ัวโมง จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม หลังจากได้ศกึ ษาบทเรียนน้ีแล้ว นกั ศึกษาควรมีพฤติกรรม ดังน้ี 1. อธิบายความหมายของจิตสาธารณะ, ความสําคัญของจิตสาธารณะ, การก่อรูปของจิต สาธารณะ, ปัจจัยท่ีก่อให้เกิดจิตสาธารณะ, องค์ประกอบของจิตสาธารณะ, ลักษณะของบุคคลท่ีมีจิต สาธารณะ, กลยุทธ์ในการปลูกฝังจิตสาธารณะ, การสร้างเสริมจิตสาธารณะต่อส่วนรวม, ประโยชน์ ของการมจี ติ สาธารณะได้ 2. อภปิ รายแนวคิดและทฤษฎีทใี่ ช้ในการพฒั นาจิตสาธารณะได้ 3. จดั ทําโครงงานผา่ นกระบวนการเรียนรเู้ พื่อพัฒนาจติ สาธารณะโดยใช้เครือ่ งมือวดั จติ สาธารณะได้ เนือ้ หา 1. ความหมายของจติ สาธารณะ 2. ความสาํ คญั ของจิตสาธารณะ 3. การกอ่ รปู ของจิตสาธารณะ 4. ปจั จยั ท่กี อ่ ใหเ้ กิดจติ สาธารณะ 5. องค์ประกอบของจิตสาธารณะ 6. ลักษณะของบุคคลทีม่ จี ติ สาธารณะ 7. กลยุทธ์ในการปลกู ฝังจติ สาธารณะ 8. แนวคดิ เก่ียวกบั จติ สาธารณะ 8.1 แนวคดิ การอาสาสมัคร 8.2 แนวคดิ พฤติกรรมเอ้อื สังคม 9. แนวคิดและทฤษฎที ่ีใช้ในการพัฒนาจติ สาธารณะ 9.1 ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 9.2 ตามหลกั คาํ สอนพทุ ธศาสนา 9.3 ตามทฤษฎีการเรยี นรู้การวางเงื่อนไขแบบกระทํา

538 9.4 ตามทฤษฎีการเรยี นรทู้ างปญั ญาเชงิ สังคม 10. กระบวนการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาจิตสาธารณะ 11. เครื่องมอื วดั จติ สาธารณะ 12. การสรา้ งเสรมิ จิตสาธารณะตอ่ สว่ นรวม 13. ประโยชนข์ องการมีจิตสาธารณะ กิจกรรมการเรียนการสอน 1. นาํ เสนอขา่ วเก่ียวกับจติ สาธารณะในสงั คม 2. บรรยาย สรุปเน้ือหาสาระสาํ คัญประกอบการนําเสนอด้วย Microsoft Power Point ในหวั ขอ้ ความหมายของจิตสาธารณะ, ความสาํ คญั ของจติ สาธารณะ, การก่อรูปของจิตสาธารณะ, ปจั จยั ที่ก่อใหเ้ กดิ จติ สาธารณะ, องค์ประกอบของจติ สาธารณะ, ลกั ษณะของบุคคลทีม่ จี ิตสาธารณะ, กลยุทธ์ในการปลูกฝงั จิตสาธารณะ, การสรา้ งเสริมจิตสาธารณะตอ่ สว่ นรวม, ประโยชนข์ องการมจี ิต สาธารณะ 3. นักศกึ ษาแบง่ กลุ่มร่วมกนั อภิปรายแนวคดิ และทฤษฎีเกยี่ วกับจติ สาธารณะ สนทนา- ซักถาม การแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ตอบคาํ ถาม 4. นักศึกษารว่ มกนั ระดมความคิดในการจดั โครงงานพฒั นาจติ สาธาณะพร้อมเลือกใช้ เครอ่ื งมือวัดจิตสาธารณะ เช่น เกบ็ ขยะ ทาํ นบุ าํ รงุ โรงเรียน ทาํ ความสะอาดวัด เปน็ ต้น 5. แต่ละกลุม่ นําเสนอโครงงานโดยใชก้ ารถ่ายวิดโี อ และภาพถา่ ย รว่ มกนั อภิปราย 7. สง่ งานท่ไี ด้รับมอบหมานและทบทวนโดยคาํ ถามท้ายบท สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารคาํ สอน 2. หนงั สือ ตาํ ราทีเ่ กีย่ วขอ้ งจิตวิทยา 3. กจิ กรรมกลมุ่ 4. Power Point ท่ีจดั ทาํ ในหัวข้อตา่ งๆ 5. คําถามทา้ ยบท

539 การวัดผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์ เคร่ืองมอื /วิธีการ การประเมนิ ผล 1. อธบิ ายความหมายของจิต 1. ซักถาม แลกเปลี่ยน 1. นักศกึ ษาตอบคาํ ถาม สาธารณะ, สนทนาพดู คยุ ตอบคาํ ถาม ถกู ต้องได้ร้อยละ 80 ความสําคัญของจติ สาธารณะ, 2. ปฏบิ ัติงานในการศึกษา 2. ศกึ ษาค้นควา้ งานอยูใ่ น การกอ่ รปู ของจิตสาธารณะ, ปจั จัยท่ี ค้นคว้า ระดับดี กอ่ ใหเ้ กดิ จิตสาธารณะ, องค์ประกอบ 3. การสงั เกตพฤตกิ รรม 3. สงั เกตพฤติกรรมใน ของจิตสาธารณะ, ลกั ษณะของ การร่วมโครงงานจิตสาธารณะ การเข้าร่วมโครงงาน/ บุคคลทม่ี จี ติ สาธารณะ, กลยุทธ์ใน รายกลุ่ม ความสนใจ/ความร่วมมืออยู่ การปลกู ฝังจติ สาธารณะ, การสรา้ ง 4. สงั เกตการณน์ ําเสนอหน้า ในระดับดี เสริมจติ สาธารณะตอ่ ส่วนรวม, ชั้นเรยี น 4. การนาํ เสนอหนา้ ชน้ั เรยี น ประโยชนข์ องการมีจิตสาธารณะได้ 5. จัดทําเคร่อื งมือการวดั จติ อย่ใู นระดับดี 2. อภิปรายแนวคิดและทฤษฎที ใี่ ชใ้ น สาธารณะใช้วัดในโครงงาน 5. เคร่อื งมือการวดั จิต การพัฒนาจติ สาธารณะได้ 6. การมอบหมายงานคําถาม สาธารณะอยู่ในระดับดี 3. จดั ทําโครงงานผ่านกระบวนการ ท้ายบท 6. นกั ศกึ ษาทาํ คาํ ถาม เรยี นรู้เพื่อพฒั นาจิตสาธารณะโดยใช้ ทา้ ยบทถกู ตอ้ งรอ้ ยละ 80 เครอื่ งมือวัดจิตสาธารณะได้

540

541 บทที่ 8 จิตสาธารณะ ภาพที่ 154 แสดงภาพจติ สาธารณะ (1) (ทีม่ า https://learningktbwiset.wordpress.com 16 กันยายน 2559) ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวัตถุ ในยคุ ปัจจุบันส่งผลตอ่ วิถชี ีวิตและคา่ นยิ มของคนในสงั คม เกิดการแกง่ แยง่ ชิงดี แขง่ ขนั กัน การใหค้ วามสําคญั กบั เร่อื งเงินทอง วตั ถนุ ยิ มมากกวา่ ดา้ นจติ ใจจนขาด คุณธรรมจริยธรรมเกิดความมาสมดุลระหวา่ งจติ ใจและวตั ถสุ งิ่ เหลา่ นี้ ลว้ นส่งผลกระทบต่อความเสอื่ ม ในสงั คมและปญั หาตา่ งๆ ดงั นั้น การให้ความสาํ คัญกับการปลกู ฝงั ค่านิยมจิตสาํ นึกสาธารณะ โดย การเร่ิมต้นจากการปลูกจิตสาํ นึกให้คนในสังคมตระหนักและเห็นผลกระทบถึงส่ิงท่ีเกิดข้ึน พร้อม ทั้งร่วมมอื กันรบั ผิดชอบ ด้วยเหตนุ ้ี จิตสาธารณะ (Public Mind) หรอื จิตสํานึกสาธารณะ (Public Consciousness) จึงเป็นสงิ่ จําเปน็ อย่างย่งิ สําหรบั คนในสังคมปจั จุบนั เพือ่ เป็นแนวทางในการส่งเสรมิ และพัฒนาตอ่ ตนเอง สงั คม และประเทศชาติ (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ นุ ายน 2559) 1. ความหมายของจติ สาธารณะ คําว่า จิตสาธารณะ (Public Mind) หรอื จิตสํานึกสาธารณะ (Public Consciousness) เป็นคําใหม่ท่ีมีใช้เมื่อไม่นานมาน้ีและเป็นเร่ืองใหม่สาํ หรับคนไทย ซึ่งมีผู้ให้ ความหมายของจิตสาํ นึกสาธารณะหรอื จิตสาธารณะไวห้ ลากหลายและมีการเรยี กจิตสํานกึ สาธารณะ ไวแ้ ตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ การเหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนรวม จติ สาํ นึกต่อสังคม จติ สาํ นกึ ตอ่ ส่วนรวม จิตสํานกึ

542 ต่อสาธารณะสมบัติ เป็นต้นซึ่งคําเหล่านี้ มีผู้ให้ความหมายไว้ใกล้เคียงกันเมื่อแยกศึกษา ความหมายของจิตสาํ นึกและจติ สาธารณะ มีผูใ้ ห้คาํ จาํ กดั ความไว้หลากหลาย ดังนี้ (http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 กันยายน 2559) จรรจา สวุ รรณทตั (2535: 11) ไดใ้ หค้ วามหมายว่า ความสํานึก หมายถงึ การรับร้หู รือ การท่บี ุคคลมคี วามรู้ในส่ิงตา่ งๆ การรบั รหู้ รือความสํานกึ ของบุคคลนี้ จัดเปน็ ขั้นต้นของกระบวนการ ทางจติ หลายประเภท เป็นต้นวา่ กระบวนการของการรับนวัตกรรมและกระบวนการเกิดทัศนคติ ราชบัณฑิตสถาน (2538: 231) ให้ความหมายของจิตสาํ นึกวา่ หมายถงึ ภาวะท่จี ิตตนื่ และรูส้ กึ ตัว สามารถตอบสนองต่อสง่ิ เร้าจากประสาทสมั ผัสท้ัง 5 คือ รปู รส กล่นิ เสยี งและส่งิ สมั ผัสได้ ราจ (Raj,1996: 605) กล่าว่า จิตสํานกึ เป็นคําที่ไม่สามารถใหค้ ําจํากัดความไดช้ ัดเจน แต่สามารถอธิบายทใี่ กล้เคียงได้ 2 แนวทาง ได้แก่ แนวทางแรก เป็นความคดิ ทีเ่ ปล่ียนแปลงตลอดเวลา ไม่หยุดน่ิง แนวทางที่สอง หมายถึง จิตสํานึกของบุคคลเป็นความรู้สึกของบุคคลท่ีมีอยู่ ตลอดเวลาแมช้ ่วงว่างของเวลา เช่น การนอนหลับ ภาพที่ 155 แสดงภาพจติ สาธารณะ (2) (ท่ีมา https://learningktbwiset.wordpress.com วนั ท่ี 16 กนั ยายน 2559)

543 จากความหมายของจิตสาํ นึกที่กล่าวมา จงึ สรุปได้วา่ จติ สาํ นกึ เป็นพฤตกิ รรมภายใน อยา่ งหนึง่ ของมนษุ ยท์ ่แี สดงออกถึงภาวะทางจติ ใจท่ีเกยี่ วกบั ความรสู้ ึก ความคิด ความปรารถนาตา่ งๆ เปน็ ภาวะทางจิตต่ืนตวั และร้ตู ัวสามารถตอบสนองตอ่ ส่งิ เรา้ จากประสาทสมั ผสั ท้ังหา้ เปน็ ส่งิ ท่เี กิดจาก ประสบการณต์ า่ งๆ ของมนุษย์ท่รี วมตัวกนั ขนึ้ และมคี วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งประสบการณต์ า่ งๆ เหลา่ นนั้ และประเมินค่าส่ิงเหล่าน้ันออกมาเป็นจิตสํานึกสาธารณะ (Public) เป็นคาํ ที่มีความหมายกว้าง สามารถใช้ได้กบั สิ่งของ บคุ คล สถานทแ่ี ละการกระทํา ซ่ึงมีการให้ความหมายของคาํ ว่า สาธารณะ ได้ ว่า ส่ิงของ บุคคล สถานทแี่ ละการกระทําทเ่ี ปน็ ของสว่ นรวม ทุกคนมสี ิทธทิ์ ่จี ะใช้ประโยชนเ์ ปน็ เจ้าของ หวงแหนในสง่ิ เหล่านน้ั รว่ มกัน (http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 กนั ยายน 2559) เม่ือรวมคาํ ว่า จิตสํานึกและสาธารณะ จึงได้คาํ ว่า จิตสํานึกสาธารณะ (Public Consciousness) หรือจิตสาธารณะ (Public Mind) ซึ่งมีผู้ให้ความหมายไว้หลากหลายและมี การเรียกทีแ่ ตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ การเห็นแกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม จติ สาํ นึกตอ่ สังคม จติ สาํ นกึ ตอ่ ส่วนรวม จติ สํานกึ ตอ่ สาธารณะสมบตั ิ เป็นตน้ ซ่งึ คําเหลา่ นีม้ ีผใู้ หค้ วามหมายไวใ้ กลเ้ คยี งกนั ดงั นี้ ชาย โพธสิ ิตา และคณะ (2540: 14 – 15) ใช้คําว่า จติ สาํ นกึ ตอ่ สาธารณะสมบตั แิ ละ ให้ความหมายในเชงิ พฤติกรรมไวว้ า่ คือ การใชส้ าธารณสมบตั ิอย่างรับผิดชอบหรอื การรับผดิ ชอบต่อ สาธารณสมบตั ิ ซ่ึงมีนัยสองประการ ได้แก่ 1) การรบั ผดิ ชอบต่อสาธารณสมบัติ ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้และการกระทาํ ท่ี จะก่อให้เกดิ ความชาํ รดุ เสยี หายต่อสาธารณสมบตั ินนั้ ๆ รวมไปถงึ การถอื เปน็ หน้าที่ท่ีจะมสี ่วนร่วมใน การดแู ลสาธารณะสมบัติในวสิ ัยทตี่ นสามารถ ทําได้ 2) การเคารพสทิ ธกิ ารใชส้ าธารณสมบัตขิ องผู้อื่น โดยการคํานงึ ว่า คนอืน่ ก็มี สิทธิ์ในการใช้เช่นเดียวกันจะต้องไม่ยึดสาธารณะสมบัตินั้นไว้เป็นของส่วนตัว และไม่ปิดก้ันโอกาส การใช้ประโยชนส์ าธารณะสมบตั ิของผู้อ่ืนวิรัตน์ กนษิ ฐา นิทัศนพ์ ฒั นาและคณะ (2541: 8) ไดใ้ หค้ วามหมายของคําวา่ จิตสาํ นกึ สาธารณะ ว่าเป็นคําเดียวกับคําวา่ จิตสาํ นึกทางสังคม หมายถึง การตระหนกั รู้และคาํ นงึ ถงึ สว่ นรวม รว่ มกัน หรอื คาํ นึงถงึ ผู้อนื่ ทรี่ ่วมความสมั พันธเ์ ป็นกลมุ่ เดียวกบั ตน ศักดิ์ชัย นริ ัญทวี (2541: 57) กล่าวว่า การมีจิตสํานกึ สาธารณะคอื มีจติ ใจที่คํานึงถึง ประโยชนข์ องสว่ นรวม คาํ นงึ ถงึ ความสําคญั ของสิ่งอนั เปน็ ของท่ีต้องใชห้ รือมผี ลกระทบร่วมกันในชมุ ชน เช่น ปา่ ไม้ ความสงบของชุมชน พรศักด์ิ ผอ่ งแผ้ว (2541) ใช้คาํ ว่า “จิตสํานกึ ” จติ สํานึก (Consciousness) เป็น สภาวะจติ ใจท่ีเก่ยี วกับความร้สู ึก ความคดิ ความปรารถนาต่างๆ สภาวะจิตใจดงั กลา่ ว เกดิ การรับร้ซู ่ึง มคี วามหมายเหมือนกบั การรู้ตวั (Awareness) อนั เป็นผลจากการประเมนิ ค่า การเหน็ ความสาํ คัญซึ่ง

544 เปน็ สง่ิ ท่ีไดม้ าจากทศั นคติ (Attitude) ความเช่ือ (Beliefs) ค่านยิ ม (Values) ความเห็น (Opinion) ความสนใจ (Interest) ของบุคคล คําวา่ “จติ สํานกึ ” มคี วามหมายใกลเ้ คยี งทีส่ ุดกับคําวา่ “ความเชอ่ื (Beliefs) ซ่ึงเปน็ ส่ิงที่เกดิ จากการรวบรวมและสัมพันธก์ นั ของประสบการณ์ของคน ทาํ หน้าทปี่ ระเมิน ค่าของจติ ใจวา่ สง่ิ ใดเป็นสิง่ สาํ คญั หากปราศจากความเชือ่ ประสบการณ์ตา่ งๆ ท่คี นมีอยู่นนั้ กจ็ ะอยู่ เพียงในความทรงจําไมม่ ีสว่ นใดมคี วามสําคญั เดน่ ชดั ขึ้นมา แตห่ ากวา่ การประเมนิ คา่ แล้วตระหนกั ถึง ความสําคัญทม่ี ีตอ่ สิง่ นั้นแสดงวา่ จิตสาํ นกึ ถงึ สงิ่ นน้ั ๆ ของบุคคลไดเ้ กดิ ข้นึ แล้ว จิตสํานกึ ของบุคคลเปน็ สภาวะท่จี ิตใจกอ่ นการแสดงออกเชิงพฤติกรรมทางกายภาพของ บคุ คล การมีจิตสาํ นกึ ที่ดีต่อส่ิงหนึ่ง ไม่ทําให้คนต้องแสดงออกตามจติ สํานึกเสมอไป พฤติกรรมแสดงออกใดๆ ของมนุษยน์ นั้ เป็นผลมาจาก 1) ทศั นคติ 2) บรรทัดฐานของสังคม 3) นสิ ยั 4) ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับหลังจากการทาํ พฤตกิ รรมน้ันๆ แลว้ มัลลิกา มตั ิโก (2541: 5) ให้ความหมายของจิตสํานกึ ทางสังคมว่า เป็นการตระหนักรู้ และคํานึงถึงสว่ นรวมรว่ มกนั หรอื คาํ นงึ ถงึ ผูอ้ น่ื ที่รว่ มความสัมพันธเ์ ปน็ กลุ่มเดียวกับตน สาํ นักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (2542: 14) ได้ให้ความหมายจติ สาธารณะวา่ เป็นการร้จู กั เอาใจใสเ่ ปน็ ธุระและเขา้ รว่ มใน เรอื่ งของสว่ นรวมทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อชาติ บุญสม หรรษาศิรพิ จน์ (2542: 71 – 73) ใช้คําวา่ จติ สาํ นกึ ทีด่ ใี นสงั คม สงั คมในทน่ี ้ี หมายถงึ สังคมในชุมชนของตน การปฏบิ ตั ิตนให้มีจิตสํานึกท่ดี ีตอ่ ชุมชนของตน คอื การปฏิบตั ิตน และการมีส่วนร่วมท่ีดีในกิจกรรมของชุมชน การช่วยกันดูแลชุมชนของตน การให้ความร่วมมือ การเสียสละกาํ ลงั กาย กําลังทรัพย์ เพ่ือการรักษาความปลอดภยั ในชมุ ชน เพอื่ สาธารณปู โภคในชมุ ชน การให้ความเปน็ มติ รและมนี ้าํ ใจตอ่ กัน ชัยวัฒน์ ถริ ะพนั ธ์ (2542: 21 – 27) กลา่ วถงึ จิตสาธารณะในความหมายของฝรั่งคํา วา่ สาธารณะ คอื สิ่งทรี่ ่วมกนั สรา้ งรว่ มกนั ย้ือแย่ง มาจากเจา้ จากรัฐ มันเปน็ กระบวนการตอ่ สู้ จนรสู้ กึ เปน็ เจา้ เขา้ เจา้ ของร่วมกัน เกรียงศกั ดิ์ เจรญิ วงศศ์ กั ด์ิ (2543: 17) ได้ให้ความหมายของคําวา่ จิตสาธารณะ ว่า หมายถึง ความคดิ ที่ไมเ่ หน็ แกต่ วั มีความปรารถนาท่ีจะชว่ ยเหลอื ช่วยแกป้ ญั หาให้แก่ผู้อนื่ หรอื สงั คม พยายามฉวยโอกาสท่ีจะชว่ ยเหลืออย่างจริงจงั และมองโลกในแง่ดีบนพน้ื ฐานของความเปน็ จรงิ

545 หฤทัย อาจเปรุ (2544: 37) ให้ความหมาย จิตสาํ นกึ สาธารณะ คอื ความตระหนักของ บุคคลถึงปญั หาทีเ่ กดิ ขึ้นในสงั คม ทําให้เกิดความรูส้ กึ ปรารถนาทจี่ ะชว่ ยเหลือสังคม ตอ้ งการเขา้ ไปแก้ วิกฤตการณ์ โดยรับร้ถู ึงสทิ ธิควบคไู่ ปกับหนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบ สาํ นกึ ถงึ พลังของตนว่าสามารถ รว่ มแกไ้ ขปัญหาได้ และลงมอื กระทาํ เพื่อให้เกดิ การแกป้ ญั หาด้วยวธิ ีการตา่ งๆ โดยการเรยี นร้แู ละ แกไ้ ขปญั หาร่วมกนั กับคนในสังคม ลดั ดาวัลย์ เกษมเนตร และคณะ (2547: 2 – 3) ใหค้ วามหมายของจติ สาธารณะ หมายถึง การร้จู ักเอาใจใส่เปน็ ธรุ ะและเข้ารว่ มในเรอ่ื งของสว่ นรวมท่ใี ชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั ของกลุม่ โดย พจิ ารณาจากความร้คู วามเข้าใจหรอื พฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงลกั ษณะ ดังนี้ 1) การหลีกเลี่ยงการใชห้ รอื การกระทาํ ท่ีจะทาํ ใหเ้ กดิ การชํารุดเสียหายต่อของ สว่ นรวมทใ่ี ช้ประโยชนร์ ่วมกนั ของกลุ่มและการถอื เปน็ หน้าทที่ จ่ี ะมสี ่วนรว่ มในการดูแลรักษาของ สว่ นรวมในวสิ ยั ท่ตี น สามารถทําได้ 2) การเคารพสทิ ธิ ในการใชข้ องส่วนรวมที่ใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั ของกลุม่ โดยไม่ ยดึ ครองของสว่ นรวมนน้ั เป็นของตนเอง ตลอดจนไมป่ ดิ กัน้ โอกาสของบคุ คลอ่นื ที่จะใชข้ องส่วนรวมนั้น ซงึ่ แบง่ นยิ ามออกเป็น 3 องค์ประกอบ และ 6 ตัวชีว้ ดั ดงั ตารางต่อไปน้ี องคป์ ระกอบ ตวั ช้ีวดั 1. การหลีกเลย่ี งการใชห้ รอื การกระทําทีจ่ ะทําให้ 1.1 การดแู ลรกั ษา เกดิ ความชํารุดเสยี หายต่อส่วนรวม 1.2 ลักษณะของการใช้ 2. การถอื เปน็ หน้าท่ีทีจ่ ะมสี ว่ นรว่ มในการดแู ล 2.1 การทาํ ตามหนา้ ท่ที ี่ถูกกาํ หนด 3. การเคารพสิทธิในการใช้ของส่วนรวม 2.2 การรับอาสาทีจ่ ะทําบางสิ่งบางอย่างเพื่อ สว่ นรวม 3.1 ไมน่ ําของส่วนรวมมาเป็นของตนเอง 3.2 แบ่งปนั หรือเปิดโอกาสใหผ้ ู้อ่ืนไดใ้ ชข้ อง สว่ นรวม ตารางที่ 17 แสดงความสัมพันธ์ขององคป์ ระกอบและตวั ชี้วัด ในแต่ละองคป์ ระกอบของจิตสาธารณะ (ทม่ี า https://learningktbwiset.wordpress.com)

546 ชัยวัฒน์ สทุ ธริ ตั น์ (2552: 17) กล่าวไว้ว่า จิตสาธารณะเปน็ การกระทําด้วยจิตวิญญาณท่ี มคี วามรกั ความหว่ งใย ความเอือ้ อาทรต่อคนอ่นื และสังคมโดยรวม การมีคุณธรรมจริยธรรมและ การไม่กระทําท่ีเสื่อมเสียหรือเป็นปัญหาต่อสังคม ประเทศชาติ การมจี ติ ที่คดิ สรา้ งสรรค์ เป็นกุศล และมุ่งทํากรรมดีที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม คิดในทางท่ีดี ไม่ทาํ ลายเบยี ดเบยี นบคุ คล สงั คม วัฒนธรรมประเทศชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การกระทําและคาํ พูดที่มาจากความคิดท่ดี ี การลดความขัดแยง้ และการใหข้ วญั และกําลังใจต่อกนั เพอ่ื ให้สังคมโดยสว่ นรวมมคี วามสขุ กรรยา พรรณนา (2559 : 13-14) จติ สาธารณะ หมายถงึ การร้จู กั เอาใจใสเ่ ปน็ ธรุ ะใน เรือ่ งของสว่ นรวมท่ใี ช้ประโยชน์ร่วมกัน การคิดในส่ิงทดี่ ี ประพฤติดี ยึดผลประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ ที่ตั้ง ไม่เห็นแก่ผลประโยชน์ส่วนตน การรู้จักสิทธิของตนเองและผู้อ่ืน การไม่ทาํ ลายเบียดเบียนบุคคล สงั คม วฒั นธรรม ประเทศชาติและสิ่งแวดล้อม โดยพิจารณาจากความร้คู วามเข้าใจหรือพฤตกิ รรมท่ี แสดงออก แบง่ ออกเปน็ ดา้ น 4 ดา้ น ดงั นี้ 1. ดา้ นการใช้ หมายถึง ลกั ษณะพฤตกิ รรมของผู้เรียนในการใชข้ องสว่ นรวม การรักษาทรัพยส์ ิน การดแู ลรักษาความสะอาด การไมท่ ําลายทรพั ยส์ นิ ทเี่ ปน็ สาธารณสมบตั ใิ นโรงเรยี น ท้ังในห้องเรียนและนอกหอ้ งเรยี น ใหเ้ กิดความชํารดุ ความเสยี หาย โดยแสดงออก ดังน้ี 1.1 ดแู ลรักษาส่งิ ของ เม่ือใช้แล้วมกี ารเก็บรักษาใหค้ งอยู่ในสภาพดี 1.2 ลกั ษณะของการใช้ ใชข้ องส่วนรวมอย่างประหยัดและทะนุถนอม 2. ด้านการถอื เป็นหน้าที่ หมายถงึ พฤติกรรมท่แี สดงออกถึงการมุง่ ปฏิบตั เิ พื่อ ส่วนรวมในการดูแลรกั ษาของสว่ นรวมในโรงเรียน ทง้ั ในห้องเรียนและนอกห้องเรียนในวสิ ยั ทตี่ นสามารถ ทําได้ โดยแสดงออกดังนี้ 2.1 ทําตามหนา้ ที่และเคารพกฎระเบียบที่กาํ หนด 2.2 รบั อาสาทจ่ี ะทาํ บางส่งิ บางอย่างเพ่อื สว่ นรวม คอยสอดส่องดูแล สาธารณสมบตั ิของสว่ นรวม 3. ดา้ นการเคารพสิทธิ หมายถึง พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ การเคารพสิทธใิ น การใชข้ องสว่ นรวมทีป่ ระโยชนร์ ่วมกนั ของกลุ่ม การไม่ยดึ ครองของสว่ นรวมมาเป็นของตน ตลอดจน ไมป่ ิดก้ันโอกาสของบุคคลอนื่ ทจี่ ะใช้ของสว่ ยรวมนน้ั โดยแสดงออกดงั นี้ 3.1 ไมน่ าํ ของสว่ นรวมมาเป็นของตนเอง 3.2 แบง่ ปันและเปิดโอกาสใหผ้ อู้ ่นื ไดใ้ ชข้ องส่วนรวม 4. ดา้ นการปฏิบัติกิจกรรมทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม หมายถึง พฤตกิ รรมท่ี แสดงออกถงึ การทาํ ความดใี หเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ผอู้ ่นื และสังคมส่วนรวมดว้ ยความจรงิ ใจและเตม็ ใจโดย ไมห่ วงั ผลตอบแทน การเขา้ ไปชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ดว้ ยกําลงั กาย กําลังทรพั ย์ ตามความสามารถของตนเอง

547 ซงึ่ ผลการกระทาํ จะก่อเกดิ ประโยชนแ์ กค่ นส่วนใหญ่ ด้วยความบรสิ ุทธ์ิใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน โดย แสดงออกดังน้ี 4.1 การกระทาํ บางส่ิงทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อผู้อืน่ และสงั คมสว่ มรวมดว้ ย ความเต็มใจ 4.2 การเขา้ ช่วยเหลือผอู้ ื่นด้วยกาํ ลงั กาย กาํ ลังปญั ญา และกาํ ลังทรัพย์ ตามความสามารถ taamkru.com/th 16 กนั ยายน 2559 จติ สาธารณะ หมายถึง ความรู้สกึ ตระหนัก ของบุคคลถึงปญั หาท่ีเกิดขน้ึ ในสังคม ทําใหเ้ กดิ ความรสู้ ึกทีป่ รารถนาจะรว่ มและมสี ่วนชว่ ยเหลือสงั คม โดยรับรู้ถึงสิทธิควบคู่ไปกับหน้าที่และความรับผิดชอบ สํานึกถึงพลังของตนว่าสามารถร่วมแก้ไข ปัญหาได้ และลงมอื กระทําเพอ่ื ให้เกิดการแก้ปญั หาด้วยวิธกี ารต่างๆ โดยการเรยี นร้แู ละแก้ไขปญั หา ร่วมกันกับคนในสังคมเพราะการอยู่ร่วมกันในสังคมทุกวันนี้ จาํ เป็นอย่างย่ิงที่จะต้องอาศัยความมี นํ้าใจไมตรีการเออ้ื เฟือ้ เผ่อื แผ่ การช่วยเหลือเกอ้ื กลู กนั โดยไม่หวังผลตอบแทน การดํารงชวี ิตในสังคมท่ี มกี ารชว่ ยเหลือกนั ถงึ แม้ว่าเรอ่ื งราวหรือเหตุการณน์ นั้ ไมไ่ ด้มคี วามเก่ียวขอ้ งกบั เราหรอื เราไมไ่ ดเ้ ดือดรอ้ น ด้วย แตก่ ็เตม็ ใจทจี่ ะแบ่งปนั ใหก้ ารชว่ ยเหลอื เออ้ื อาทรกัน นั่นคือ การแสดงความมีจิตสาธารณะ สรุปไดว้ ่า จิตสาธารณะ หมายถึง ความรูส้ กึ ตระหนกั ของบุคคลในการรจู้ ักเอาใจใสใ่ น เร่ืองของส่วนรวมที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน การคิดและกระทําในสิ่งที่ดีด้วยจิตวิญญาณที่มีความรัก ความห่วงใย ความเอ้ืออาทรตอ่ คนอื่นและสังคมโดยรวม การมีคุณธรรมจริยธรรม ยึดผลประโยชน์ ส่วนรวมเปน็ ท่ตี ั้ง ไม่เห็นแก่ผลประโยชน์ส่วนตน การรู้จักสิทธิของตนเองและผู้อื่น สามารถร่วม แก้ไขปญั หาได้ และลงมือกระทําเพอ่ื ให้เกดิ การแกป้ ัญหาดว้ ยวิธีการต่างๆ โดยการเรียนรู้และแกไ้ ข ปญั หาร่วมกันกับคนในสังคมและไม่ทาํ ลายเบียดเบียนบุคคล สังคม วัฒนธรรม ประเทศชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม

548 2. ความสาํ คญั ของจิตสาธารณะ ภาพที่ 156 แสดงภาพความสําคญั ของจติ สาธารณะ (ทม่ี า taamkru.com/th 16 กนั ยายน 2559) การท่ีมนุษยใ์ นสงั คมจะแสดงออกซ่งึ การมจี ติ สาธารณะน้ันเป็นเรอ่ื งที่ยาก หากไมไ่ ดร้ ับ การเลี้ยงดูมาแบบส่งเสริมหรอื เออ้ื ตอ่ การเกิดพฤติกรรมการมจี ติ สาธารณะ สังคมก็จะเปน็ ไปแบบเหน็ แก่ตวั คือ ตวั ใครตวั มัน ไม่สนใจสังคมรอบข้างคิดแตป่ ระโยชนแ์ ห่งตนเท่าน้ัน ชมุ ชนออ่ นแอ ขาด การพฒั นาเพราะตา่ งคนต่างอยู่ สภาพชุมชนมีสภาพเช่นไรกย็ ังคงเช่นนั้น ไม่เกิดการพัฒนา และยงิ่ นานไปก็มีแตเ่ สอื่ มทรดุ ลง อาชญากรรมในชุมชนอย่ใู นระดบั สูง ขาดศนู ยร์ วมจิตใจ ขาดผูน้ ําทนี่ ําไปสู่ การแกป้ ัญหา เพราะคนในชมุ ชนมองปัญหาของตวั เองเป็นเร่ืองใหญ่ ขาดคนอาสานําการพัฒนา เพราะกลวั เสียทรพั ย์ กลัวเสยี เวลา หรอื กลวั เป็นทีค่ รหาจากบคุ คลอ่นื ดังนน้ั การศกึ ษาแนวทางและ ความสําคญั ของการมีจิตสาธารณะเพ่อื ใหเ้ กดิ ในจติ สาํ นกึ ของเด็กและเยาวชนนน้ั เป็นเรื่องสาํ คญั ทเ่ี รา ควรกระทาํ เพอ่ื สงั คมท่ีน่าอยูต่ อ่ ไป ท้งั นี้เพราะเด็กช่วงแรกเกิดจนถึงก่อน 10 ขวบ เปน็ ชว่ งทเี่ ดก็ มี ความไวต่อการรับการปลกู ฝัง และสง่ เสริมจรยิ ธรรมเปน็ อยา่ งยง่ิ เพราะเดก็ ยงั เปน็ “ไมอ้ ่อนทีด่ ัดง่าย” ฉะนั้น การปฏิบัติต่อเด็กอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการด้านสังคมและด้านจิตใจของเด็ก จะเป็น การปอ้ งกนั ปัญหาท่จี ะเกดิ ขนึ้ เพ่ือทจ่ี ะไดเ้ ปน็ พลเมอื งท่ดี ีของสงั คม กอ่ ให้เกดิ ความเข้มแขง็ ของสังคม จะสง่ ผลใหก้ ารเมอื ง เศรษฐกิจ ศลี ธรรมในสังคมนัน้ ดขี ึน้ (taamkru.com/th 16 กันยายน 2559) สมพงษ์ สิงหะพล (2542: 16) กลา่ ววา่ จติ สาํ นกึ เป็นความรูส้ กึ นึกคิดภายในบุคคล และเป็นสิง่ ทเ่ี กดิ ข้นึ ไดโ้ ดยการเรียนรู้ จติ สํานึกเมื่อเกดิ ข้นึ แลว้ ยากนกั ทจ่ี ะหยดุ หรือหมดหายไป คนทมี่ ี จิตสํานกึ ทดี่ จี ะประพฤตปิ ฏบิ ัติอย่างเหมาะสมกบั จติ สํานกึ นน้ั และใช้จติ สํานกึ ของตน เพ่อื ประโยชน์ ตอ่ สงิ่ ตา่ งๆ ตามมา เช่น บุคคลทีม่ จี ติ สํานกึ ด้านระเบยี บวินยั จะไมข่ ับรถผดิ กฎจราจร บคุ คลท่ีมี

549 จติ สํานกึ สาธารณะจะไมข่ ีดเขียนในสถานทส่ี าธารณะ และดวงเดอื น พนั ธมุ นาวิน (2538 : 77) กลา่ วถึง การปลปู ฝังคุณธรรมจรยิ ธรรมวา่ เดก็ ชว่ งแรกเกดิ จนถึงกอ่ น 10 ขวบ เปน็ ชว่ งทเี่ ด็กมี ความไวต่อการรับการปลูกฝังและส่งเสริมจริยธรรมและวัฒนธรรมเป็นอย่างยิ่ง เพราะเด็กยังเป็น “ไมอ้ ่อนดัดง่าย” ฉะนัน้ การปฏบิ ตั ิต่อเด็กอย่างเหมาะสมกบั พฒั นาการทางรา่ งกายและโดยเฉพาะ เหมาะสมกับพัฒนาการทางจิตใจของเด็ก จะเป็นการป้องกันปัญหาที่จะเกิดข้ึนเม่ือสู่วัยรุ่นและ วัยผใู้ หญ่ไดม้ าก การทคี่ นมาอยรู่ วมกันเป็นสังคมยอ่ มตอ้ งมีความสมั พันธ์ในรปู แบบการพึง่ พากัน คน ในสังคมซึ่งมีบทบาทหน้าท่ีแตกต่างกันไป ถ้าคนในสังคมขาดจิตสาํ นึกสาธารณะ นอกจากจะมี ผลกระทบตอ่ บุคคล ครอบครัว องค์กรแล้ว การขาดจติ สาํ นกึ สาธารณะยงั มผี ลกระทบต่อชมุ ชน ระดบั ประเทศและระดับโลก (กรรยา พรรณนา,2559 : 16-17) ระดับ ผลกระทบจากการท่ีบุคคลขาดจิตสาธารณะ บคุ คล สรา้ งความเดอื ดร้อนใหก้ ับตนเองและผูอ้ ืน เพราะคิดแต่เร่ืองผลประโยชน์ของตนเองจึง ทําทุกทกุ อย่างเพ่ือให้ได้มาวึง่ ทตี่ นเองต้องการ โดยไมค่ าํ นึงถึงหลักคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมที่ดี ทําให้กระทาํ ในสิง่ ทีผ่ ิดศลี ธรรมและกฎหมาย เชน่ คดโกง เอารัดเอาเปรียบ ผอู้ ่นื เบียดบังทรพั ยากรธรรมชาติ ลักขโมย ฯลฯ นอกจากจะทาํ ใหผ้ ้อู นื่ เดือดรอ้ นแล้วยัง ทาํ ใหต้ นเองเดือดรอ้ นดว้ ยเช่นกัน เช่น อาจถกู จับ/ไดร้ บั ผลรา้ ยอน่ื ๆ จากการกระทาํ ที่ไม่ ดีนั้นๆ ครอบครวั ขาดความรกั ความสามคั คี ทะเลาะเบาะแว้ง แก่งแยง่ ชิงดีชงิ เดน่ กนั ในครอบครัว องค์กร เหน็ แก่ตัว ประจบเจ้านายเพ่ือผลประโยชน์ของตนเอง ทําทกุ อย่างให้ตวั เองได้รับ ผลประโยชน์ แบง่ พรรคแบง่ พวก เอาสมบตั ิของส่วนรวมมา เปน็ สมบัตสิ ว่ นตนหรอื เอา มาหาผลประโยชน์ใหก้ บั ตนเอง องค์กรมีปญั หา ขาดการพฒั นาและคุณภาพของงาน ลดลง ชมุ ชน ต่างคนต่างอยู่ ไมส่ นใจคนอ่นื /กิจกรรมของส่วนรวม ขาดความสามคั คี ชมุ ชนอ่อนแอไม่ มกี ารรวมกล่มุ เพื่อสรา้ งความเขม้ แข็ง เต็มไปดว้ ยปัญหานานัปการและไม่มีใครคดิ ทจ่ี ะลง มอื แก้ไขมแี ตค่ นวพิ ากษ์วจิ ารณ์ ต่างคนต่างมองปญั หาของตนเองเป็นสําคัญ เกดิ ปัญหา อาชญากรรมต่างๆ ประเทศ/ เหน็ ประโยชน์ของตนเองและพวกพอ้ ง ขาดความสามคั คี ทจุ ริตคอร์รปั ชนั แกง่ แย่งชงิ ดี ชาติ ชิงเดน่ ประเทศตอ้ งอยใู่ นสภาพลา้ หลงั เพราะกจิ กรรม/นโยบาย/มาตรการใดๆทีผ่ ้นู าํ ประเทศนาํ ออกมาใช้กไ็ มไ่ ด้รับความร่วมมือจากประชาชน เพราะทกุ คนตา่ งคิดแตเ่ รื่อง ของตนเอง

550 ระดับ ผลกระทบจากการท่ีบคุ คลขาดจิตสาธารณะ โลก เกดิ การแข่งขนั ชิงดชี ิงเดน่ ทาํ ทุกอยา่ งเพื่อให้ประเทศของตนอยู่เหนอื กว่าประเทศอน่ื ๆ ในทุกด้าน มกี ารกลนั่ แกล้งหรือใช้อํานาจในการเอารัดเอาเปรียบเพอ่ื ผลประโยชนข์ อง ประเทศตน ขาดความไว้วางใจซึ่งกนั และกนั หวาดระแวงประเทศอืน่ ๆ อยตู่ ลอดเวลา จนนาํ ไปสู่การสะสมอาวธุ ที่มอี าํ นาจในการทําลายล้างสงู เพือ่ ข่มขปู่ ระเทศอนื่ ๆ และเมอื เกิดปัญหาความขัดแย้งกม็ แี นวโนม้ ในการใชอ้ าวธุ ท่สี ะสมไว้ออกมาทาํ ลายลา้ งกนั และ นอกจากนน้ั ยงั ก่อให้เกดิ การดถู ูกเหยยี บหยามคนตา่ งเชือ้ ชาติ ตา่ งศาสนา ตา่ งเผ่าพนั ธุ์ ไปจากตนเองด้วย ตารางท่ี 18 แสดงผลกระทบจากการท่บี คุ คลขาดจติ สาธารณะในระดบั ต่างๆ (ทีม่ า กรรยา พรรณนา,2559 : 16-17) 3. การก่อรูปของจติ สาธารณะ นกั จิตวทิ ยาการศึกษามคี วามเห็นพอ้ งต้องกันว่า จติ สาํ นกึ เปน็ คุณลกั ษณะทางจิตพสิ ัย ทีป่ รากฎหรอื กอ่ รูปขน้ึ ในจิตใจของมนษุ ยแ์ ตล่ ะคนภายหลงั ไดร้ ับรปู้ รากฏการณห์ รอื ไดร้ บั สิง่ เรา้ จาก ภายนอกในเชงิ สะสม การก่อรปู ที่มคี วามตอ่ เนอ่ื งกัยจงึ ยากทีจ่ ะกําหนดแยกแยะหรอื การทําจากจัดลําดบั ชน้ั เพ่ือบ่งช้ีว่าบุคคลมีความรูส้ ึกอยู่ทใี่ ดไดอ้ ยา่ งชดั เจน แนน่ อน การกอ่ รูปของจิตสํานึกยังเกย่ี วกนั กับ คุณลักษณะด้านสติปัญญาและการกระทําของมนุษย์หรืออาจกล่าวอีกนัยหน่ึงได้ว่า จิตสานึกเป็น ผลลพั ธเ์ ชิงคณุ ลักษณะทางจติ ใจของมนษุ ยท์ ี่ก่อรูปขึ้นผา่ นกระบวนการเรียนร้ขู องบุคคล กระบวนการ เรยี นรู้นี้มีองคป์ ระกอบสาํ คญั 3 ส่วน ได้แก่ (กรรยา พรรณนา,2559 : 16-17) 3.1 คุณลักษณะทางดา้ นพุทธิพิสัย หมายถงึ การได้รบั รู้ (Cognition) หรอื การมี ประสบการณ์ตรงกับสิง่ ตา่ งๆ ท้ังท่ีเปน็ รปู ธรรมและนามธรรมผา่ นประสาทสัมผสั ตา่ งๆ ทาํ ให้บคุ คล รูจ้ ักหรือระลึกถงึ มีความเขา้ ใจสามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้สามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และเมอื่ สามารถประเมนิ คุณคา่ ของสงิ่ ตา่ งๆ ได้วา่ ดีหรอื ไมด่ ีอยา่ งไร กจ็ ะนําไปสคู่ ณุ ลกั ษณะดา้ นจิตพิสัยหรือ การก่อรูปของจติ สาธารณะต่อไป 3.2 คุณลกั ษณะดา้ นจติ พสิ ยั หมายถึง ความรสู้ กึ ทางจิตใจ (Affection) เช่น เมอ่ื บุคคลมีประสบการณก์ บั ส่งิ เร้า กจ็ ะเกดิ การรับรู้/สนใจ/ใฝใ่ จในสง่ิ ตา่ งๆ ทาํ ให้ปฏิกิรยิ าสนองตอบด้วย การเห็นหรือให้คุณค่า จากน้ันก็จะมีการจัดระบบของคุณค่าด้วยการนาํ ไปเป็นแนวปฏิบัติใน การดําเนินชวี ติ ประจําวันและยดึ ถอื ปฏิบัติจนกลายเป็นลกั ษณะนิสยั /บคุ ลกิ ภาพของตนเองอนั นาํ ไปสู่ พฤตกิ รรมจติ สาธารณะต่อไป

551 3.3 คุณลักษณะทางด้านทักษะพิสัย หมายถึง พฤติกรรม (Behavior) หรือ การแสดงออก/การกระทาํ ทสี่ ามารถจะสงั เกตรปู แบบความประพฤตไิ ด้อย่างชดั เจนที่เรียกวา่ บุคลกิ ภาพ จิตสาธารณะของบุคคลจงึ เป็นผลจากการเรยี นร้ทู เี่ กดิ ขน้ึ ภายหลังจากมีประสบการณ์ ตรงกับสงิ่ เร้า การรบั รใู้ นสว่ นนไ้ี ดก้ ่อขน้ึ ในจติ ใจของบคุ คลในรูปของความเช่อื ค่านิยม ทัศนคติ ที่ ก่อใหเ้ กิดพฤติกรรมเปน็ คณุ ลกั ษณะทางจติ ท่กี อ่ รปู ผ่านกระบวนการทางปัญญา เปน็ ปฏิกิรยิ าตอบสนอง ตอ่ ปรากฏการณท์ างสงั คม สามารถเขียนเป็นแผนภาพได้ดงั น้ี

552 ความรู้ (พทุ ธิพสิ ยั ) ความรูส้ ึก (จิตพสิ ัย) พฤติกรรม (ทกั ษะพิสัย) การประเมนิ คณุ คา่ การสรา้ งกจิ นิสัย บุคลกิ ภาพ การสงั เคราะห์ การจดั ระบบคณุ ค่า การกระทํา การวเิ คราะห์ การจัดเห็นคณุ ค่า การนําไปใช้ การจาํ ได้ การตอบสนอง การรบั รู้ ประสบการณ์ แผนผงั ท่ี 13 แสดงกระบวนการเรียนรขู้ องบคุ คล (ท่มี า สุพจน์ ทรายแก้ว, (2546, มกราคม-มถิ นุ ายน), จติ สาํ นึกสาธารณะ : การกอ่ รปู และกระบวนการเสริมสร้าง, วารสารเพชรบรุ ีวิทยาลงกรณ์, 4 (1) :47.) การเสริมสรา้ งการเรียนรใู้ หแ้ กบ่ คุ คลในสังคมตามกระบวนการเรยี นรู้ที่แสดงไว้ขา้ งตน้ อย่างเปน็ ระบบเพ่อื ทาํ ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ทรพั ยากรบุคคลทมี่ ีคุณภาพ (มคี วามรู้ ทศั นคติ บคุ ลกิ ลกั ษณะและ ทักษะ) ทส่ี อดรับกบั ความต้องการด้านเศรษฐกิจ สงั คม การเมืองและประเพณี วัฒนธรรม เปน็ สิ่งท่ี สงั คมทุกสงั คมตอ้ งดาํ เนินการผา่ นกระบวนการจดั การศึกษาซง่ึ ในทางสังคมศาสตรจ์ ะเรยี กกจิ กรรม หรือกระบวนการดังกล่าวว่า เป็นการกลอ่ มเกลาทางสังคม (Socialization) อนั เป็นกระบวนการผลิต ซํ้าทางอุดมการณท์ มี่ ีผลทําใหส้ มาชกิ ของสังคมเกดิ การบั รมู้ จี ติ สํานึกและพฤติกรรมทพี่ ึงประสงค์ เป็นไปในทิศทางเดยี วกันไดใ้ นระดับหนงึ่

553 4. ปจั จยั ท่ีกอ่ ให้เกิดจิตสาธารณะ ปจั จยั ท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ การมจี ิตสาธารณะนั้น เปน็ ส่ิงท่เี กิดตามวถิ กี ารดําเนนิ ชวี ิตของแตล่ ะ บุคคลสภาพแวดล้อมตา่ งๆ ต้ังแตร่ ะกับครอบครวั ชุมชน มผี ลตอ่ การพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของ บุคคล (ไพบูลย์ วฒั นศิรธิ รรม และสังคม สัญจร,2543 : 13) สรปุ ว่า จติ สํานึกสาธารณะหรือจิตสํานึก ทางสังคมอยภู่ ายใต้อทิ ธพิ ลของปจั จยั แวดลอ้ มทัง้ ภายในและภายนอก ดงั น้ี (กรรยา พรรณนา,2559 : 31-32) 4.1 ปจั จัยภายนอก เป็นปจั จัยทีเ่ ก่ยี วกบั ภาวะทางสมั พนั ธภาพของมนุษย์ ภาวะทาง สังคมเป็นภาวะทลี่ ึกซง้ึ ทม่ี ผี ลต่อจิตสํานกึ ด้านตา่ งๆ ของมนษุ ย์ เป็นภาวะทีไ่ ด้อบรมกลอ่ มเกลาและ สะสมอยใู่ นส่วนของการรับรู้ทลี ะเล็กทลี ะนอ้ ย ทําใหเ้ กิดสาํ นึกที่มีรปู แบบหลากหลาย ภาวะแวดล้อม ทางสงั คมน้ีเริ่มตงั้ แตพ่ ่อแม่ พ่ีน้อง ญาติ เพื่อน ครู สอื่ มวลชน บคุ คลทั่วไป ตลอดจนระดับองค์กร วฒั นธรรม ประเพณี ความเชื่อ กฎหมาย ศาสนา รวมทง้ั ภาวะแวดล้อมดา้ นส่อื สารมวลชน และสว่ นที่ กาํ กับสาํ นึกของบุคคล คือ การไดส้ มั ผัสจากการใช้ชวี ติ ทม่ี พี ลังต่อการเกดิ สํานึก เชน่ การไปโรงเรยี น การไปทาํ งาน ดูละคร ฟังผคู้ นสนทนา รับรเู้ หตกุ ารณ์บา้ นเมือง ขับรถฝ่าการจราจรที่แออดั 4.2 ปัจจัยภายใน สํานึกทเ่ี กดิ จากปจั จยั ภายใน หมายถึง การคดิ วเิ คราะหข์ องแต่ละ บุคคลในการพิจารณาตัดสินคุณค่าและความดีงาม ซ่ึงส่งผลต่อพฤติกรรมและการประพฤติปฏิบัติ โดยเฉพาะการปฏิบัตทิ างจติ ใจ เพ่อื ขัดเกลาตนเองใหเ้ ป็นไปทางใดทางหน่ึง โดยเกิดจากการรบั รจู้ าก การเรยี นรู้ การมองเห็น การคดิ แลว้ นาํ มาพจิ ารณาเพอื่ ตัดสนิ ใจวา่ ตอ้ งการสร้างสาํ นึกแบบใด กจ็ ะมี การฝกึ ฝนและสรา้ งสมนึกเหลา่ นัน้ การเกดิ จติ สาํ นกึ ไมส่ ามารถสรปุ แยกแยะไดว้ า่ เกิดจากปจั จยั ภายในหรอื ภายนอกเพยี ง อยา่ งอย่างหนึ่ง เพราะทุกสรรพสิ่งมคี วามสมั พันธ์เก่ียวข้องกัน จติ สํานกึ ท่ีมาจากภายนอกเป็นการเข้า มาโดยธรรมชาติ กระทบตอ่ ความรสู้ กึ ของบุคคล แลว้ กลายเปน็ จติ สาํ นึกโดยธรรมชาติ และมักไมร่ ู้ตวั แต่จติ สาํ นึกทเี่ กิดจากปัจจยั ภายในเป็นความจงใจเลือกสรร บุคคลระลึกรตู้ นเองเปน็ อย่างดี เป็นสํานึก ที่สร้างขนึ้ เองระหวา่ งปัจจัยภายในและภายนอก เปน็ ปฏสิ มั พันธ์ทมี่ คี วามต่อเน่อื งกนั ดังน้ัน การพัฒนา จติ สํานึกจึงต้องกระทําควบคกู่ นั ไปท้ังปัจจัยภายในและภายนอก 5. องค์ประกอบของจิตสาธารณะ องคป์ ระกอบของจติ สาธารณะนัน้ มกี ารแบง่ องค์ประกอบท่แี ตกตา่ งกนั ไปตามระดบั อายุของกลุม่ ตวั อย่างท่ีศึกษา ซ่ึงไดแ้ บง่ องค์ประกอบของจิตสาํ นกึ ตามนกั การศกึ ษาไว้ ดังนี้ (e-learning.e-tech.ac.th/learninghtml/s1301/unit08.html 18 กันยายน 2559)

554 5.1 กอบรตั น์ เรอื งผกา (2532: 807 – 808) ได้สรุปถึงพฤติกรรมการรักสิ่งแวดลอ้ ม ของเดก็ ระดบั ปฐมวัย มขี อบข่ายครอบคลมุ พฤติกรรมใหญๆ่ 3 ด้าน คอื 5.1.1 การรักษาสภาพแวดลอ้ มใหค้ งอย่ใู นสภาพดี ไดแ้ ก่ การรักษาความสะอาด สถานท่สี ่ิงของเครือ่ งใช้ การดแู ลสง่ิ แวดล้อมให้อย่ใู นสภาพดี การช่วยกันดแู ลไมใ่ หส้ ่ิงของเครือ่ งใชส้ ูญ หาย เป็นตน้ 5.1.2 การถนอมใชท้ รพั ยากรจากสง่ิ แวดล้อมอยา่ งประหยัด อยา่ งมคี ุณคา่ เชน่ การปดิ ไฟและปดิ นาํ้ เมื่อใชเ้ สร็จแลว้ การเปิดนาํ้ ลา้ งมือเบาๆ การใช้วัสดุส่วนรวมอย่างประหยัด และ เกิดคุณคา่ อยา่ งเต็มที่ เช่น ใชส้ ีน้ําจากหลอด ควรบบี ใช้ทีละนอ้ ย ใชก้ ระดาษเขียนหนังสอื ใหเ้ ตม็ หน้ากระดาษค่อยใช้หน้าใหม่ การหยิบใช้กระดาษ เช็ดหน้า เช็ดมือ ควรหยิบใช้ให้พอเหมาะหรือ การรับประทานอาหารใหห้ มดอย่าเหลอื อาหารทิง้ ไว้ 5.1.3 การจัดสงิ่ แวดลอ้ มใหด้ ูสวยงาม และเป็นระเบียบ ไดแ้ ก่ การจัดห้องเรียน ให้เป็นระเบยี บ การปลูกไม้ดอกไมป้ ระดบั การจดั สวนดอกไม้ เปน็ ตน้ จากการศกึ องคป์ ระกอบของ การมีจติ สํานกึ สาธารณะในระดับก่อนประถมศึกษาน้ัน จะใช้คาํ ว่า การรกั ษาสง่ิ แวดล้อม การอนรุ กั ษ์ ส่ิงแวดล้อม ซ่ึงเป็นองค์ประกอบเบื้องต้นของการมีจิตสาํ นึกสาธารณะ 5.2 กรมวิชาการ (2540: 27) ได้กล่าวไว้ในคู่มือการอบรมเล้ียงดูเด็กระดับก่อน ประถมศึกษาของสํานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ โดยได้ระบถุ งึ เปา้ หมายที่พึงประสงค์ จะใหเ้ กิดในเดก็ วัย 3 – 6 ปี ที่เกย่ี วข้องกบั การอนุรักษว์ ฒั นธรรม และสิ่งแวดล้อมไว้อยา่ งชดั เจนตาม ระดบั อายุดังน้ี คือ วยั 3 – 4 ปี ทงิ้ ขยะใหถ้ ูกที่ ไมท่ าํ ลายสง่ิ ของเครอื่ งใชส้ ว่ นรวม วัย 4 – 5 ปี ทง้ิ ขยะให้ถกู ที่ รกั ษาสิ่งของท่ใี ชร้ ่วมกนั วัย 5 – 6 ปี ทง้ิ ขยะให้ถกู ท่ี ชว่ ยดูแลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม 5.3 ชาย โพธิสติ า (2540: 14 – 15) และการแบ่งองคป์ ระกอบของจติ สาธารณะจาก งานวิจัยของลัดดาวัลย์ เกษมเนตร (2546: 2 – 3) ทีศ่ ึกษากับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เพราะ องค์ประกอบดังกล่าว สอดคลอ้ งกบั พัฒนาการทางดา้ นต่างๆ ของเดก็ วัยทผ่ี ู้วิจยั ศกึ ษาและสมบตั ขิ อง สว่ นรวมทีผ่ ู้วจิ ยั ศึกษาในครั้งน้ี เปน็ สมบัตสิ ว่ นรวมท่อี ย่ใู นโรงเรยี น ท้ังสมบตั ิสว่ นรวมในห้องเรยี นและ นอกหอ้ งเรียน ซึง่ แบง่ องคป์ ระกอบของจิตสาธารณะเป็น 3 องคป์ ระกอบ 6 ตัวช้วี ัด คอื 5.3.1 การหลีกเลี่ยงการใชห้ รือการกระทาํ ทจี่ ะทาํ ใหเ้ กิดความเสยี หายตอ่ สมบตั ขิ องสว่ นรวมในโรงเรยี นทใ่ี ชป้ ระโยชนร์ ว่ มกันของกลุ่ม หมายถึง การกระทาํ ในการรกั ษาทรพั ยส์ ิน การดูแลรกั ษาความสะอาด การไมท่ ําลายทรพั ย์สินท่เี ปน็ สาธารณสมบตั ิในโรงเรียน ท้ังในห้องเรยี น เชน่ โตะ๊ เก้าอ้ี กระดานดํา ช้นั วางหนงั สือ ถงั ขยะ ไมก้ วาด เป็นต้น และสมบัตินอกห้องเรียน เช่น

555 หอ้ งอาหาร ห้องสขุ า หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารต่างๆ ห้องสมุด สวนหยอ่ มในบริเวณโรงเรยี น สนามเดก็ เลน่ เป็น ตน้ โดยวดั ได้จาก 2 ตัวชว้ี ัด คอื 5.3.1.1 การดูแลรกั ษาสมบตั ิของส่วนรวมในโรงเรยี น คือ เมือ่ มกี ารใช้ แลว้ มกี ารเกบ็ รักษา ใชแ้ ลว้ เกบ็ เขา้ ที่เดมิ การไมท่ ง้ิ เศษขยะในหอ้ งเรียนและบรเิ วณโรงเรยี น การไม่ ขดี เขียนหรอื ทําลายวัสดแุ ละอปุ กรณใ์ นห้องเรียนและในโรงเรียน เพอ่ื ให้ของสว่ นรวมอยู่ในสภาพดี เชน่ การใช้ไม้กวาดแล้วเกบ็ เข้าท่เี ดมิ การใชห้ นังสือในหอ้ งสมดุ แล้วเก็บเขา้ ที่ การใช้อปุ กรณก์ ีฬาแลว้ นาํ ส่งคืน การใช้เครอื่ งคอมพิวเตอร์แล้วปิดเคร่ืองและจัดเขา้ ที่เดิม 5.3.1.2 ลักษณะของการใช้ คือ การใช้ของส่วนรวมในโรงเรียนอย่าง ประหยัด ใช้อย่างทะนุถนอม ใช้อย่างระมัดระวัง เพื่อให้ของส่วนรวมมีความคงทนใช้ได้นาน เช่น การเปดิ อา่ นหนงั สือเบาๆ การใชแ้ กว้ น้ํารองนา้ํ ดืม่ การปิดไฟและพดั ลมกอ่ นออกจากห้อง การใชแ้ ป้น เคร่ืองคอมพิวเตอร์เบาๆ 5.3.2 การถอื เปน็ หน้าทีท่ ีจ่ ะมีส่วนรว่ มในการดูแลรกั ษาของส่วนรวมในวสิ ัยท่ี ตนสามารถทําได้ หมายถงึ พฤตกิ รรมที่แสดงออกถึง การมุ่งปฏบิ ตั เิ พื่อสว่ นรวมในการดูแลรักษาของ สว่ นรวมในโรงเรยี น ท้ังในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียนท่ตี นสามารถทาํ ได้ โดยวัดได้จาก 2 ตัวชี้วัด คือ 5.3.2.1 การปฏิบตั ิตามหนา้ ที่ ทถ่ี ูกกําหนดในการดแู ลรกั ษาสมบตั ขิ อง สว่ นรวมในโรงเรียน คอื การทาํ ตามหน้าทีท่ ไ่ี ดร้ ับมอบหมายในการให้ดูแลรกั ษาสมบัตขิ องโรงเรยี น เช่น การทาํ หน้าทเ่ี วรทําความสะอาดห้องเรียน การทาํ ความสะอาดบรเิ วณโรงเรยี นการดูแลหอ้ งสมดุ และการดูแลหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 5.3.2.2 การอาสาปฏิบัติหน้าท่ีบางอย่างเพื่อส่วนรวมในโรงเรียน คือ การชว่ ยทาํ หนา้ ที่อ่นื ท่ไี มใ่ ชห่ น้าทท่ี ่ีได้รบั มอบหมายในวิสัยทตี่ นสามารถทาํ ได้ เชน่ การอาสานําขยะ ไปทิง้ การอาสาชว่ ยเกบ็ ส่งิ ของ การอาสากวาดหอ้ งเรียนหรือบริเวณโรงเรียน 5.3.3 การเคารพสิทธิในการใช้ของส่วนรวมในโรงเรียนท่ีใช้ประโยชน์ ร่วมกันของกลมุ่ โดยไม่ยดึ ครองของส่วนรวมนัน้ มาเป็นของตนเอง ตลอดจนไมป่ ิดก้ันโอกาสของบุคคล อน่ื ทจี่ ะใชข้ องส่วนรวมนัน้ หมายถงึ พฤติกรรมที่แสดงออกถึงการเคารพสิทธิในการใช้ของส่วนรวม โดยวัดไดจ้ าก 2 ตวั ชว้ี ัด คอื 5.3.3.1 การไม่ยดึ ครองของส่วนรวมในโรงเรียนมาเป็นสมบตั ิของตนเอง คือ การไม่นาํ สมบัติของโรงเรียนมาเก็บไว้ท่ีตน เช่น การไม่นาํ สีของโรงเรียนไประบายภาพท่ีบ้าน การไมน่ าํ อุปกรณ์กฬี าไปเลน่ ที่บา้ น 5.3.3.2 การแบ่งปันหรือการเปิดโอกาสให้ผู้อ่ืนได้ใช้ของส่วนรวมใน โรงเรยี น คอื การแบ่งปนั สิ่งของกบั ผอู้ ่นื การไมแ่ สดงอาการหงึ หวงสมบตั ิของสว่ นรวม เช่น การไมน่ ํา หนงั สือหอ้ งสมดุ มาเกบ็ ไว้ทตี่ นหลายๆ เลม่ การเปลีย่ นให้เพื่อนใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอรเ์ มอื่ ตนใชเ้ สร็จ

556 5.4 สมพงษ์ สงิ หะพล (2542: 15 – 16) ได้กล่าวถงึ จติ สาํ นกึ ว่า มีอยู่ 3 ด้านหลักๆ คือ 5.4.1 จติ สํานกึ เก่ยี วกบั ตนเอง (Self Consciousness) เปน็ จติ สํานกึ เพ่ือ พัฒนาตนเองทําใหต้ นเองเป็นบุคคลทสี่ มบรู ณย์ ่งิ ขน้ึ จิตสํานกึ ด้านน้ี การศกึ ษาไทยมงุ่ มัน่ ปลกู ฝังมา นาน เกดิ บ้างไม่เกิดบ้างไปตามสภาพการณ์ เป็นจิตสํานึกแบบคลาสสิกทที่ กุ สงั คมพยายามเหมอื นกันที่จะ สร้างให้เกดิ ขน้ึ ใหไ้ ด้ เช่น ความขยนั ความรบั ผดิ ชอบ ความมานะอดทน เปน็ ต้น เป็นจิตสาํ นึกทถ่ี กู ปลูกฝงั และมมี านานตามสภาพสังคมไทย 5.4.2 จติ สํานึกเกยี่ วกับผอู้ ื่น (Others Oriented Consciousness) เป็น จติ สํานึกของความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลของคนในกลุ่มชนหนงึ่ สังคมหน่ึง เชน่ ความเห็นอกเห็นใจ ความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ ความสามัคคี เป็นต้น เป็นจิตสาํ นึกที่คนไทยส่วนใหญ่ถูกหล่อหลอมมาจาก พ้ืนฐานดง้ั เดมิ ของวฒั นธรรมไทยอยูแ่ ล้วสรา้ งกนั ไดไ้ ม่ยากนัก 5.4.3 จิตสํานึกเก่ียวกับสังคมหรือจิตสาํ นึกสาธารณะ (Social or Public Consciousness) เปน็ จิตสํานกึ ทตี่ ระหนกั ถงึ ความสําคญั ในการอยรู่ ่วมกัน หรือคํานึงถงึ ผอู้ น่ื ท่ีร่วม ความสมั พันธเ์ ป็นกล่มุ เดียวกนั เป็นจิตสํานกึ ทคี่ นไทยยงั ไม่คอ่ ยมแี ละขาดกนั อย่มู าก เพราะพืน้ ฐาน ความเปน็ มาของสังคมไทย สมควรท่ีจะรีบพัฒนาขน้ึ โดยเรว็ เช่น จิตสํานกึ ดา้ นเศรษฐกจิ จติ สาํ นกึ ดา้ น การเมอื ง จติ สํานกึ ด้านสิ่งแวดลอ้ ม จติ สํานกึ ด้านสุขภาพ เป็นต้น 5.5 หฤทัย อาจปุระ (2544: 46) ไดใ้ ช้องคป์ ระกอบของการมจี ติ สํานกึ สาธารณะของ นักศกึ ษาพยาบาลปี 1 – 4 ในสถาบันการศกึ ษาพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร โดยศึกษาองคป์ ระกอบ การมจี ิตสํานึกสาธารณะใน 6 ด้าน คือ 5.5.1 ด้านความตระหนกั ถงึ ปัญหาทเ่ี กิดขน้ึ ในสงั คมปัจจุบัน 5.5.2 ดา้ นการวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ ปัญหาท่เี กิดขน้ึ ในสังคม 5.5.3 ด้านความรัก ความเอื้ออาทร และความสามัคคี 5.5.4 ด้านการรับรู้ และความสามารถในการผลกั ดัน เพอ่ื แก้ไขปัญหาที่เกิดขนึ้ ในสงั คม 5.5.5 ด้านการปฏิบตั ิในการแก้ไขปญั หาสงั คม 5.5.6 ด้านการมีเครือข่ายในการนํากจิ กรรมทางสงั คม 5.6 สริ ิมา ภญิ โญอนนั ตพงษ์ (2544: 26 – 31) ไดก้ ลา่ วถงึ จติ สาธารณะของเด็กใน ลกั ษณะของการอนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มไว้วา่ วัยเดก็ ตั้งแตแ่ รกเกดิ จนถงึ 8 ปี เป็นระยะที่สําคญั ทสี่ ุดของ การพฒั นาการทงั้ ทางรา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ จติ ใจ สังคม และบคุ ลกิ ภาพ เปน็ วัยท่เี รียกว่า ช่วง แห่งพลังการเจรญิ เติบโต งอกงามสําหรบั ชวี ิต แนวความคดิ เหล่าน้ี เปน็ สิ่งที่สบื เนื่องมาจากการมอง เดก็ ในทศั นะของการทเ่ี ด็กมีพัฒนาการดา้ นต่างๆ แตกตา่ งจากเดก็ วัยอื่นๆ ในช่วงชีวิตของความเป็น

557 มนษุ ย์ ดงั นัน้ หลกั การปลกู ฝงั เดก็ วยั นีใ้ ห้เรียนรเู้ กดิ ความรกั ส่ิงแวดลอ้ ม ควรคํานงึ ถึงองคป์ ระกอบ ดังน้ี 5.6.1 หลักการเรยี นรู้ การเรยี นรูท้ าํ ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมโดยอาศยั สภาพการณ์ประสบการณ์ต่างๆ ที่ไดร้ บั การเรยี นร้จู ะทําใหม้ นุษยป์ รับตัวให้เข้ากบั สถานการณต์ า่ งๆ ในชีวติ เพอื่ ใหส้ ามารถดํารงชีวิตอยูไ่ ด้ 5.6.2 กระบวนการปลกู ฝังเดก็ ปฐมวยั ใหร้ กั สงิ่ แวดล้อม ประกอบดว้ ย ปจั จยั 5 ด้าน คือ การให้ความรู้ การสร้างความเข้าใจ การสร้างกรอบแนวคิด การเสริมสร้างทักษะ และ การเสริมสรา้ งเจตคติ จากกระบวนการดังกล่าว จะต้องเรม่ิ จากการใหค้ วามรูเ้ กี่ยวกบั สง่ิ แวดลอ้ มโดย ในลักษณะของรปู ธรรม แลว้ สร้างความเขา้ ใจ และความสําคัญของส่ิงแวดลอ้ มตอ่ ตนเองและมนุษย์ แล้วสร้างกรอบแนวคิดใหเ้ ดก็ รบั รวู้ า่ ส่งิ แวดลอ้ มเปน็ บริบทและเป็นปัจจยั สาํ คญั ในการดํารงชีวิตของ มนษุ ย์ การเสริมสรา้ งทักษะในการรักสงิ่ แวดล้อม ต้องเกิดจากการจดั ประสบการณต์ ้องให้เดก็ ได้ ปฏิบัติจรงิ และควบคูก่ บั การเสริมสรา้ งเจตคติที่ดี รูจ้ กั การดแู ลรกั ษาสิ่งแวดล้อมเหน็ คณุ คา่ ประโยชน์ สง่ิ แวดล้อมตอ่ ตัวเอง ครอบครวั และสังคม เช่น การใชท้ รัพยากรอย่างประหยดั ไมเ่ หน็ แก่ตวั เกิด ความรสู้ ึกผดิ ชอบช่ัวดี ทาํ เป็นตัวแบบทีด่ ตี ่อการอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม 5.7 ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร (2547: 2 – 3) ได้ศึกษารูปแบบการพัฒนานกั เรยี นระดบั ประถมศึกษาใหม้ จี ิตสาธารณะ : การศึกษาระยะยาวและใชอ้ งค์ประกอบของจิตสาธารณะเปน็ 3 องคป์ ระกอบ คือ 5.7.1 การหลกี เลยี่ งการใช้หรอื การกระทํา ที่จะทาํ ให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ ของ สว่ นรวมทีใ่ ชป้ ระโยชนร์ ่วมกนั ของกลมุ่ 5.7.2 การถือเปน็ หนา้ ท่ีทจ่ี ะมีส่วนรว่ มในการดูแลรกั ษาสมบตั ขิ องส่วนรวมใน วสิ ยั ที่ตนสามารถทําได้ 5.7.3 การเคารพสิทธใิ นการใช้ของสว่ นรวมที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของกลมุ่ โดย ไม่ยดึ ครองของส่วนรวมนน้ั มาเปน็ ของตนเอง ตลอดจนไม่ปดิ กน้ั โอกาสของบคุ คลอื่นทจี่ ะใช้ของสว่ นรวม จากการศึกษาองค์ประกอบของจิตสํานึกสาธารณะศึกษาจากเอกสารและ งานวิจัยดังกล่าว มีการศึกษาจิตสาธารณะในองคป์ ระกอบทแ่ี ตกต่างกันไป ข้นึ อยู่กบั กลมุ่ ผใู้ ชใ้ น ศึกษา เพอ่ื ความสอดคล้องของการศึกษาองค์ประกอบของจิตสาํ นึกสาธารณะลําดบั ตอ่ ไปผเู้ ขยี นขอ อธบิ ายคุณลกั ษณะของบคุ คลทีม่ จี ิตสาํ นกึ สาธารณะ มีรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

558 6. ลกั ษณะของบคุ คลทม่ี ีจิตสาธารณะ บคุ คลที่มจี ติ สาธารณะ มพี ฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรบั ผิดชอบตอ่ สาธารณสมบตั ิ ด้วยการเอาใจใส่ดแู ลเป็นธุระและเขา้ ร่วมในเรื่องส่วนรวมที่เปน็ ประโยชนร์ ่วมกันของกลมุ่ โดยหลีกเลยี่ ง การใช้หรอื กระทําทที่ าํ ใหเ้ กดิ การชาํ รดุ เสยี หายตอ่ ของสว่ นรวม การถอื เปน็ หน้าท่ที ีจ่ ะมีสว่ นร่วมใน การดูแลการเคารพสทิ ธิในการใช้สาธารณสมบตั ขิ องผอู้ ืน่ มงุ่ ปฏบิ ตั เิ พ่ือสว่ นรวมในการดแู ลรักษาของ ส่วนรวม เชน่ การทําตามหน้าทท่ี ี่กาํ หนดการดูแลความสงบเรยี บรอ้ ย การรักษาสาธารณสมบตั ิ รบั รู้ ถึงปญั หาทีเ่ กดิ ข้ึน มสี ่วนร่วมในการหาแนวทางป้องกันแก้ไข รวมไปถงึ การรบั อาสาทําบางอยา่ งเพ่ือ สว่ นรวม เคารพสทิ ธขิ องผู้อนื่ ในการใชข้ องส่วนรวม ไมป่ ิดกั้นในการใชข้ องบุคคลอืน่ มีการแบ่งปัน หรอื เปิดโอกาสใหผ้ ูอ้ ่นื ไดใ้ ชข้ องสว่ น รวม ไมย่ ึดครองของสว่ นรวมมาเปน็ ของตนเอง ซึง่ สังเกตได้ ดังนี้ 6.1 ยุทธนา วรุณปิติกลุ (2542 : 181-183) กลา่ วถึงบุคคลท่ีมจี ติ สาธารณะ ตอ้ งมี ลกั ษณะดงั น้ี (กรรยา พรรณนา,2559 : 30-31) 6.1.1 การท่มุ เทและอทุ ิศตน มีความรับผิดชอบต่อสังคม บคุ คลไม่เพยี งพอแต่ ปฏบิ ตั ิตามสทิ ธเทา่ น้ัน แต่ต้องปฏบิ ตั ิเพอื่ ช่วยเหลือให้บรกิ ารแก่บุคคลอน่ื เพื่อพฒั นาสงั คมด้วย อาทิ เช่น ถ้าต้องการให้ผู้แทนราษฎรมีความรับผิดชอบต่อความต้องการ และประโยชน์ของประชาชน ประชาชนก็ต้องให้ความใสใ่ จและติดตาม ไมเ่ พียงทาํ การหย่อนบัตรเลือกตั้เท่านั้น ต้องเสยี สละเวลาให้ ในการเขา้ ไปมสี ่วนร่วมกับการเมอื งระดบั ท้องถ่นิ และในสถาบนั ต่างๆ 6.1.2 เคารพความแตกตา่ งระหว่างบุคคล จากกระแสปัจเจกชนนิยม ส่งผลให้ คนในสังคมมีลกั ษณะปิดกน้ั ตนเอง ไม่ไว้วางใจผ้อู ่ืน เลอื กคบเฉพาะกลุม่ ทีม่ ีความเหมอื นกัน ไมส่ นใจ การเมือง ทาํ ให้ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ภิ ารกิจของสงั คมเพ่อื ผลประโยชน์ของสว่ นรวม เกิดขอ้ แย้ง การยตุ ิ ข้อขัดแย้งโดยการฟังเสียงขา้ งมาก ไม่นาํ ไปส่ปู ระโยชนส์ ว่ นรวม ดงั น้ัน ผู้มีจิตสํานกึ สาธารณะตอ้ งเป็น พลเมืองในฐานะทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณท์ างการเมืองใหม่ มีความอดทนตระหนักว่า การมสี ่วนร่วมไมท่ ําให้ ไดอ้ ย่างท่ีต้องการเสมอไป ตอ้ งเคารพและยอมรบั ความแตกตา่ งที่หลากหลาย และหาวิธอี ยูร่ ่วมกับ ความขดั แยง้ โดยการแสวงหาทางออกร่วมกนั การจาํ แนกประเด็นปัญหา การใชเ้ หตผุ ลในการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นการตดั สนิ ใจ ต้องมกี ารพูดแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นระหว่างกันให้มากทสี่ ุด เพื่อหายุติ สร้างการเข้ารว่ มการรับรู้ ตัดสินใจและผนกึ กาํ ลงั เพื่อให้เกดิ การยอมรบั ทุกฝา่ ย 6.1.3 คํานงึ ถงึ ผลประโยชนส์ ่วนรวม คนในสังคมตอ้ งคดิ ถึงการเมอื งในฐานะ กจิ การเพ่ือส่วนรวมและเพื่อคุณธรรมมากขนึ้ 6.1.4 การลงมือการกระทํา การวิพากษ์วิจารณป์ ัญหาท่เี กิดขน้ึ เพยี งอย่างเดียว ไมส่ ามารถทําให้สถานการณด์ ีขึน้ ตอ้ งลงมอื กระทาํ โดยเร่มิ จากครอบครวั ในการวางพน้ื ฐานใหอ้ บรม ด้านจริยธรรมของพลเมอื งสถาบนั ทางการศึกษาไม่เพียงเป็นสถานทีฝ่ กึ ทักษะและใหค้ วามรู้ตอ้ ง

559 รบั ชว่ งต่อในการสรา้ งค่านิยมทเ่ี หมาะตอ่ ครอบครัว รวมทง้ั เครอื ข่ายสงั คมทเ่ี กดิ ขนึ้ ระหวา่ งเพื่อนบ้าน ท่ที ํางาน สโมสร สมาคมต่างๆ เชอ่ื มโยงบุคคลทส่ี นใจเรอื่ งตนเข้าเป็นกล่มุ ทใี่ ส่ใจผอู้ นื่ ช่วยดํารงรกั ษา ประชาคม สังคม และกฎจรยิ ธรรม รวมทง้ั สถาบนั ทม่ี ีอทิ ธพิ ลสงู ตอ่ สงั คม คอื สถาบันศาสนา และ สอ่ื มวลชนนับว่ามีบทบาทสําคัญในการรว่ มสรา้ งใหส้ คั มเขม้ แขง็ 6.2 คณุ ลกั ษณะของบุคคลทม่ี จี ิตสาธารณะ (taamkru.com/th 16 กันยายน 2559) 6.2.1 คิดในทางบวก (Positive thinking) คอื คดิ ในทางท่ดี ีตอ่ คนอ่ืน 6.2.2 มสี ่วนร่วม (Participation) คอื การมีสว่ นร่วมในการอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ่ืน รสู้ กึ เป็นส่วนหนง่ึ ของสงั คม การอยู่รว่ มกนั อย่างกลมกลนื เกอ้ื กูล เป็นธรรมชาติ 6.2.3 ทาํ ตวั เปน็ ประโยชน์ (Useful) คือ เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผ้อู ่ืน ตอ่ สาธารณะ ต่อสังคม ไมน่ ่ิงดูดาย อะไรทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อสาธารณะแมเ้ พียงเลก็ น้อยกจ็ ะทํา 6.2.4 ไมเ่ หน็ แกต่ ัว (Unselfish) คือ การฝึกเอื้อเฟ้อื เผ่อื แผ่ซึ่งกนั และกัน แบง่ ปนั ของเล่น ของใช้ให้เพอ่ื น รู้จักใหท้ าน 6.2.5 มคี วามเขา้ ใจ (Understand) คอื เข้าใจผู้อน่ื (Empathy) ไมท่ ับถมผอู้ ื่น ไมซ่ ํา้ เตมิ ผู้อนื่ 6.2.6 มีใจกวา้ ง (Broad Mind) คอื มีจติ ทกี่ ว้างใหญ่ เปิดกว้าง ไม่คับแคบ รบั ฟงั ความคิดเห็นของผอู้ ่นื รับฟังข้อมลู แสวง หาความรใู้ หม่อยูเ่ สมอ 6.2.7 มคี วามรัก (Love) คอื รกั เพ่อื น รกั ผ้อู ่ืน เมตตาตอ่ สตั ว์และพชื 6.2.8 มกี ารสือ่ สารทดี่ ี (Communication) คือ มมี นษุ ยสัมพนั ธท์ ด่ี ีกบั ผ้อู ื่น เลน่ และทาํ งานรว่ มกับผูอ้ ืน่ ได้ 7. กลยทุ ธใ์ นการปลกู ฝงั จติ สาธารณะ ประเวศ วะสี (2541 : 13) ได้เสนอกลยุทธ์ในการปลูกฝงั จิตสาธารณะ โดยใช้กลยทุ ธ์ หลักของการสร้างประชาคม เนื่องจากประชาคมตอ้ งขับเคล่อื นด้วยความร่วมมือรว่ มใจเช่อื มโยงเป็น เครือขา่ ยโดยอาศัยเทคนคิ คอื (กรรยา พรรณนา,2559 : 31-32) 7.1 ความรกั เปน็ ความรักข้นั สงู ของสังคมซึ่งมากกว่าความรักในความเปน็ พรรคพวก เป็นความรกั ท่เี อาชนะความเห็นแก่ตัวของมนษุ ย์ เป็นความรักสากลเป็นมติ รภาพเพื่อสรา้ งวสิ ยั ทศั น์ ร่วมกนั ทาํ ให้เกิดความเขม้ แขง็ เพอื่ เปน็ พลังทางสังคม ความรกั ในที่น้ีหมายถงึ ความรกั ในธรรมชาติใน แผน่ ดินจะสร้างความผูกพนั ในความเป็นสังคมไทยเปน็ ตวั ปลูกจิตสาํ นึก 7.2 ความรู้ การเสรมิ ความรู้เป็นส่วนสําคัญในการสร้างความรกั ความร้อู ยา่ งแทจ้ รงิ เกิดจากการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง เรียนรดู้ ้วยการกระทาํ (Learning by doing) กลยทุ ธก์ ารปลูกจติ สํานึก

560 เพอ่ื สว่ นรวมจึงตอ้ งสร้างความรู้ความเข้าใจใหเ้ กิดความซาบซงึ้ และความตระหนักเพื่อก่อใหเ้ กดิ ความคาํ นงึ ถึงส่วนรวม 7.3 ความเป็นธรรมชาติ การดาํ เนนิ การเพอื่ การพัฒนาของรฐั ทไ่ี ม่ประสบความสาํ เร็จ สว่ นหนึ่งมาจากการเรงรดั ท่จี ะใหไ้ ปถงึ เปา้ หมายโดยเร็ว ดว้ ยมเี วลาและงบประมาณจาํ กดั แตก่ ารสร้าง จติ สาํ นกึ ใหป้ ระชาชนต้องอยู่บนพืน้ ฐานของการเตบิ โตแบบธรรมชาตเิ พ่ือความเป็นอิสระและยง่ั ยนื 8. แนวคดิ เกย่ี วกบั จิตสาธารณะ แนวคิดทางจิตวิทยาทก่ี ล่าวถงึ พฤตกิ รรมการมีจิตสาธารณะ ไดแ้ ก่ แนวคดิ การอาสาสมคั ร (Volunteerism) และแนวคดิ พฤตกิ รรมเออ้ื สงั คม (Prosocial Behavior) ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ ุนายน 2559) 8.1 แนวคดิ การอาสาสมัคร การอาสาสมคั ร (Volunteerism) หรอื การมจี ติ อาสา (Volunteerspirit) มี การใชค้ รัง้ แรกในชว่ งศตวรรษที่ 17 ซึ่งหมายถึง ผู้ทสี่ มัครใจเข้าเป็นทหารโดยไม่ได้ถูกบังคบั ในเวลา ต่อมาการเปน็ อาสาสมัครได้รวมถึงการสมคั รใจทาํ งานใดๆ โดยไมร่ บั คา่ ตอบแทน หรือการใหบ้ ุคคล อื่นโดยไมห่ วังผลตอบแทน ซง่ึ การให้นน้ั ไม่ไดร้ ะบุว่าเป็นแรงงาน เป็นเงิน เปน็ สง่ิ ของ แตก่ ารให้ท่ี แทจ้ ริงจะสง่ ผลใหเ้ กดิ ความสขุ ทางจติ ใจทง้ั ผ้ใู หแ้ ละผรู้ ับ ซูซานและเคทเทอเรนน์ (Susan J. Ellis and Katerines H. Noyes, 2003 อ้างในศุภรตั น์ รัตนมุขย์, 2544) ให้ความหมายวา่ การอาสาสมคั ร คือ การเลอื กกระทาํ สงิ่ ต่างๆ ท่ีเห็น วา่ เป็นสงิ่ ทเี่ หมาะสมถือเป็นความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมซ่งึ ไม่ใช่ภาระงานที่ต้องทาํ ตามหน้าท่ีและไมห่ วงั สง่ิ ตอบแทนเป็นตัวเงนิ สามารถแบง่ องคป์ ระกอบเป็น 4 องค์ประกอบดงั นี้ 8.1.1 การเลอื ก (Choose) หมายถึง พฤติกรรมตา่ งๆ ที่เน้นจํานงที่เปน็ อสิ ระใน การเลอื กการกระทําหรอื ไมก่ ระทาํ ในสถานการณต์ า่ งๆ ทีเ่ กิดขนึ้ 8.1.2 การมคี วามรบั ผิดชอบต่อสงั คม (Social Responsibility) หมายถึง การกระทําที่มจี ุดมุง่ หมายเพ่อื เป็นประโยชน์ต่อบคุ คลอ่ืน กลุ่มคน หรอื สงั คมส่วนรวม 8.1.3 การกระทําโดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงนิ ทอง (Without Monetary Profit) หมายถงึ การลงมอื กระทาํ ส่ิงตา่ งๆ โดยไม่ไดห้ วงั ผลรายไดท้ างเศรษฐกิจ แตอ่ าจเปน็ ลักษณะ ของรางวลั หรือเปน็ คา่ ใช้จ่ายทดแทนทีต่ นเองได้ใช้จ่ายไปแต่ไม่อาจเทยี บได้กับคา่ ของสง่ิ ท่ไี ด้กระทาํ

561 8.1.4 การกระทําทไ่ี ม่ใชภ่ าระงานทีต่ ้องทําตามหน้าท่ี (Beyond Basic Obligations) หมายถงึ การกระทําทีอ่ ยนู่ อกเหนอื ความจําเปน็ หรือสงิ่ ท่ีถกู คาดหวงั ว่าจะต้องทาํ ตาม ภาระหน้าท่ี การศกึ ษาด้านจิตวิทยา ระบุว่า อารมณ์มบี ทบาทอย่างยิ่งต่อการกระทําในเชงิ คณุ ธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤตกิ รรมการอาสาสมคั รหรอื การมจี ิตอาสา โดยอารมณ์ท่มี ีส่วนสําคญั ตอ่ พฤตกิ รรมการใหค้ วามชว่ ยเหลอื คือ ความเข้าอกเข้าใจ (Empathy) หมายถึง ความสามารถของ บุคคลที่จะเข้าใจสภาพอารมณ์และความคดิ ของบุคคลอืน่ ได้ นอกจากน้ี ความเขา้ อกเข้าใจนีย้ ังรวมถึง การท่ีบุคคลให้ความใส่ใจและมีการตอบสนองต่อความรู้สึกและความคิดของบุคคลอ่ืน รวมท้ังมี ความปรารถนาอยากให้บคุ คลอื่นมีความสขุ พฤตกิ รรมอาสาสมคั ร มสี ว่ นเกี่ยวขอ้ งกบั การทําประโยชน์ใหแ้ ก่บคุ คลอืน่ และ สงั คมทเี่ รยี กไดว้ ่าเปน็ การสง่ เสรมิ จิตสาธารณะอย่างหนงึ่ นักจติ วทิ ยาสังคม ได้อธบิ ายว่า พฤตกิ รรม การอาสาสมัครหรือการมีจิตอาสาน้ีว่า สามารถเกิดจากการมีแรงจูงใจท่ีนึกถึงบุคคลอ่ืนเป็นหลัก (alruism) และการมแี รงจูงใจทค่ี าํ นงึ ถึงตนเองเปน็ หลกั (egoism) ตัวอย่าง เช่น นาย ก. ไปเป็น อาสาสมคั ร ชว่ ยเหลอื คนที่ประสบพิบัตินํา้ ท่วม อาจเนอ่ื งมาจาก นาย ก. เห็นผทู้ ี่ประสบภยั ไดร้ บั ความยากลําบาก จึงตัดสินใจไปเป็นอาสาสมัครช่วยเหลือ โดยเห็นแก่ประโยชน์ของผู้ประสบภัย เป็นหลักและไม่หวังส่ิงตอบแทนใด บางครั้งการอาสาสมัครก็เกิดจากแรงผลักดันท่ีคาํ นึงถึงตนเอง เปน็ หลัก เช่น การเป็นอาสาสมคั รเพราะอยากไดร้ ับคําชม อยากได้บุญหรือไดร้ ับความสบายใจ หรือ การยกย่องจากสงั คมเป็นผลตอบแทน (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ ุนายน 2559) 8.2 แนวคดิ พฤตกิ รรมเอื้อสงั คม (Prosocial Behavior) แนวคดิ ทางจิตวิทยาที่เกยี่ วขอ้ งกบั การมจี ิตสาธารณะ คือ แนวคิดพฤตกิ รรมเออื้ สงั คมในทางจิตวทิ ยาได้อธบิ ายว่า พฤตกิ รรมเอื้อสงั คมเป็นพฤติกรรมที่พงึ ประสงคแ์ ละมคี วามสาํ คัญตอ่ สังคม ซึ่งเปน็ ผลของ “อารมณ์ท่ีอ่อนโยน” โดยเกิดข้ึนจากสญั ชาตญาณความเปน็ พอ่ แม่ทมี่ ีการกระทํา เพื่อช่วยเหลือบุคคลอื่นโดยไมค่ าดหวงั ผลประโยชนห์ รือผลตอบแทนใดๆ ท้งั สิ้น โดยลักษระที่สาํ คญั ของพฤตกิ รรมเอือ้ สังคม คือ การมคี วามใส่ใจทีจ่ ะช่วยเหลอื บุคคลอน่ื แม้วา่ การกระทําน้ันจะสําเร็จ ตามท่ีต้ังใจไวห้ รือไม่กต็ าม การมีพฤตกิ รรมเออ้ื สังคมนับวา่ เป็นประโยชนต์ อ่ บคุ คลอื่นอย่างแทจ้ ริง ซึง่ พฤตกิ รรมเออื้ สงั คมนัน้ จะเกดิ ประโยชน์ได้ต้องข้ึนอยู่กบั เวลา สถานท่ี หรอื บริบทแวดล้อมของสงั คมท่ี เหมาะสมและเกิดประโยชน์แกบ่ ุคคลตัง้ แต่หน่ึงคนข้นึ ไปจนถงึ ระดบั สังคมโดยรวม โดยไม่ไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ นเอง พฤติกรรมเอื้อสังคม มีความเก่ียวข้องกับพฤติกรรมการให้ความช่วยเหลือ (Helping Behavior) และความเอือ้ เฟ้ือ (Altruism) โดย ฮันส์ เวอร์เนอร์ (Hans-Werner, 2002) สามารถอธิบายถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งพฤตกิ รรมเอ้ือสงั คม พฤตกิ รรมการให้ความชว่ ยเหลอื และ

562 ความเอ้ือเฟ้อื ไวว้ ่า พฤตกิ รรมการช่วยเหลือ เปน็ คาํ ที่มีขอบเขตความหมายกวา้ งกว่าอกี สองคําโดย ครอบคลมุ ถึงรปู แบบของการสนบั สนุนแบบมปี ฏสิ มั พันธร์ ะหว่างบุคคลทุกรปู แบบ ส่วนพฤติกรรมเอ้ือ สงั คม จะมขี อบเขตความหมายแคบลงมาคอื เปน็ พฤติกรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อบุคคลอน่ื ด้วยความ ตัง้ ใจจริงไม่วา่ จะเปน็ การช่วยเหลือ การแบง่ ปัน การอาสาสมัครโดยไม่หวงั ผลตอบแทน ส่วนคําว่า ความเอ้ือเฟื้อ หมายถึง แรงจูงใจของผู้ให้ความช่วยเหลือ ช่วยด้วยความเต็มใจและไม่คาดหวังถึง ผลประโยชนท์ ตี่ นจะได้รบั ความเออ้ื เฟ้ือมีลกั ษณะสาํ คญั คือ มีความปรารถนาในการให้ มคี วามรู้สกึ เขา้ ใจและเห็นใจบคุ คลอน่ื และไม่มีแรงจูงใจที่จะรับสงิ่ ใดจากสิง่ ทีต่ นเองกระทําเพอื่ บุคคลอ่ืนนัน้ โดย ความสัมพันธ์ของทัง้ สามคาํ สามารถแสดงรายละเอียดได้ ดังน้ี พฤตกิ รรมการใหค้ วามช่วยเหลือ (Helping พฤตกิ รรมเออื้ สงั คม Behavior) (Behavior) ความเอ้อื เฟือ้ (Altruism) ภาพที่ 157 แสดงภาพความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งพฤติกรรมเอื้อสงั คม พฤติกรรมการให้ความช่วยเหลอื และความเอื้อเฟ้ือไบเออร์ออฟ (Bierhoff,2002) (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ ุนายน 2559) ไอเซนเบอรก์ และคณะ (Eisenberg; et al, 1984 อ้างในกรกนก เตชะอมรานันท์, 2554) ไดก้ ล่าวถึงพฤติกรรมเออื้ สังคมว่า เป็นพฤติกรรมที่เป็นประโยชนต์ อ่ บคุ คลอนื่ โดยมีเจตนาและ ความต้ังใจท่ีจะทาํ ประโยชนเ์ พ่ือบคุ คลอ่ืนโดยไม่มีแรงจงู ใจในการกระทาํ หรอื คาดหวงั รางวัล พฤตกิ รรมเอ้ือสังคมสามารถแบ่งได้ 3 องค์ประกอบ ดงั ต่อไปน้ี 8.2.1 การแบง่ ปัน (Sharing) หมายถึง การแบง่ ปนั ของของตนเอง หรือส่งิ ของ ท่ีตนเองเคยครอบครองแกบ่ ุคคลอ่ืน คา่ ของการสญู เสียจะเปน็ รปู ธรรม ซง่ึ การสญู เสียอาจคาดการณ์ ไวก้ อ่ นหรือไม่ก็อาจเปน็ ได้ 8.2.2 การชว่ ยเหลอื (Helping) หมายถึง ความพยายามบรรเทาความต้องการ ของบุคคลอ่ืนโดยการช่วยเหลอื ใหบ้ ุคคลอืน่ บรรลุเปา้ หมาย เชน่ การใหข้ อ้ มลู การให้สงิ่ ของทไ่ี มใ่ ช่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook