Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

463 7.2.2.3 มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ บุคคลท่ีมคี วามสามารถใน การตัดสนิ ใจสว่ นใหญ่จะเปน็ ผทู้ มี่ ีประสบการณใ์ นด้านต่างๆ ร้บู ทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง มองเห็นผลท่ี จะเกดิ ข้ึนตามมาจากการตัดสินใจของตน ซงึ่ ส่วนใหญ่จะใหเ้ กิดความเสยี หายน้อยทส่ี ดุ หรอื องค์กร ไดร้ บั ผลประโยชน์สงู สุด 7.2.3. บุคลิกภาพทางวาจา ลักษณะทางวาจาท่ีดี ควรมีตอ่ ไปนี้ 7.2.3.1 วาจาสภุ าพนมุ่ นวล การพูดทีด่ ีจะตอ้ งพดู สุภาพนุม่ นวล และมี หางเสียง จะทาํ ใหเ้ ปน็ ทชี่ ื่นชม รกั ใครข่ องคนทัว่ ไป และสามารถทําใหเ้ กดิ มนษุ ยสัมพันธ์ที่ดตี อ่ ทกุ คน 7.2.3.2 ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่ายและจดจําได้ง่าย บุคคลที่จะต้องติดต่อ พบปะกับผู้อน่ื จาํ นวนมาก จาํ เป็นต้องส่ือสารให้ผ้อู ่ืนเขา้ ใจและแปลความหมายไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง จดจํา งา่ ย จําเป็นต้องใชภ้ าษาหรือคําพูดที่ เหมาะสมกบั ผฟู้ ัง จะทาํ ใหเ้ ข้าใจได้งา่ ยไม่สบั สน หรืออาจจะตอ้ ง มีศลิ ปะในการจูงใจเป็นการสร้างบุคลกิ ภาพใน การพูดไดอ้ ย่างดียงิ่ 7.2.3.3 น้ําเสียงและคําพูดที่มีความเหมาะสม เปน็ ส่ิงสําคญั อีกอย่างหน่ึง ทีผ่ พู้ ดู จะต้องระมดั ระวังใหอ้ ยใู่ นลักษณะทพ่ี อดี ไมแ่ ขง็ กระดา้ งหรอื ออ่ นหวานเกนิ ไป เชน่ กระด้างจน เหมือนกับการเกรีย้ วกราดหรอื นุม่ นวลมากจนเหมือนการเสแสรง้ มจี รติ มายาเกนิ พอดีซ่ึงจะเป็นผลเสีย ตอ่ ผพู้ ดู และจะต้องเลอื กใช้คาํ พดู ท่ีเหมาะสม สุภาพไมก่ ระทบตอ่ จติ ใจของผู้ฟัง 7.2.3.4 ใช้ภาษาที่เหมาะสม การพูดกับผู้อื่นไม่ว่าจะต่างสถานะ กันอย่างไรกจ็ ะตอ้ งใช้น้ําเสียงหรือภาษาท่เี หมาะสมกับบคุ คลน้ัน จะตอ้ งรสู้ ่งใดควรพูด ส่งิ ใดไม่ควร พดู และในการพูดจะตอ้ งเลอื กภาษาทถ่ี กู ต้อง และเหมาะส 7.3 การวางตัวของผ้หู ญงิ ในสงั คมไทย 7.3.1 การวางตัวในสังคม ทุกชนชาติต่างยกย่องให้เกียรติผู้หญิงท่ีวางตัวดี มีกิริยามารยาทดี และถ้ามีคุณสมบัติของหญิงไทยที่รู้จักกาลเทศะ มีสัมมาคารวะ อ่อนโยน และ อ่อนหวานร่วมด้วยแล้วก็จะย่ิงเป็นท่ีช่ืนชอบมากข้ึน เด็กผู้หญิงได้รับการสอนให้รักนวลสงวนตัว การจะให้ความสนใจกบั ใครควรมขี อบเขต และควรมีความระมัดระวังไม่ไปไหนกบั ผู้ชายแปลกหน้า ไม่ ควรให้ผ้ชู ายถูกเน้อื ต้องตัวและควรรกั ษามารยาทเมอ่ื อยใู่ นทสี่ าธารณะ ไมค่ วรพดู เสียงดังหรือตะโกนพดู กนั เพราะเปน็ กริ ยิ าทไ่ี ม่น่าดู 7.3.2 การแต่งกายท่ีเหมาะสมกับวัย วัยรุ่นยุคนี้นิยมแต่งกายตามแฟชั่น ต่างประเทศทบี่ างคร้งั ไมเ่ หมาะสมกบั สภาพของสงั คมไทย เด็กผหู้ ญงิ ไทยควรจะแต่งกายใหง้ ามตามแบบ ไทยและสรา้ งแฟชัน่ ของเราเอง เพราะในสงั คมยุคใหมค่ นทม่ี คี วามเช่อื ม่นั ในตวั เองเทา่ น้ัน จงึ กล้าทํา แต่คนที่ขาดความเชอ่ื ม่นั จะทาํ ตามอยา่ งและเลียนแบบผอู้ น่ื 7.3.3 เดก็ ผู้หญิงไทยควรเรยี นรู้บทบาทของแม่บ้าน การชว่ ยแมท่ ํางานบา้ น จะ ทาํ ให้เป็นคนทม่ี คี วามสามารถในการทาํ งานและสามารถตดั สินใจแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ได้ดี นอกจากน้ี

464 ยังเป็นโอกาสดีที่จะได้ปรึกษาปัญหาต่างๆกับแม่ดีกว่าปรึกษาเพ่ือนที่เป็นวัยเดียวกัน และขาด ประสบการณ์ คนทเี่ ชอื่ ตวั เองและเชือ่ เพ่อื นมากเกนิ ไป ขาดผูแ้ นะนาํ ที่เชื่อถือได้ อาจปฏิบตั ิตนไม่ ถูกต้อง นอกจากนน้ั การชว่ ยงานบา้ นยังได้ประโยชนค์ ือ ได้ความรใู้ นการดแู ลบ้าน การทํากบั ขา้ ว ซงึ่ จะเป็นประโยชน์เมือ่ โตเปน็ ผ้ใู หญ่ งานบ้านจึงนบั วา่ เป็นงานท่สี าํ คัญ 7.4 การวางตวั ของผ้ชู ายในสงั คมไทย 7.4.1 หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผิดชอบ เดก็ ผ้ชู ายควรเลียนแบบบทบาทการทาํ หน้าท่ี ของพ่อบ้าน ด้วยการช่วยพ่อทาํ งานเพื่อจะไดม้ ีโอกาสปรกึ ษาพอ่ ถงึ ปัญหาต่างๆ ดกี วา่ ปรึกษาเพือ่ นวัย เดียวกนั พ่อจะเป็นผู้ช้ีแนวทางการแก้ไขปญั หาไดด้ ีกวา่ รวมทั้งสามารถแนะนําการวางตวั การปฏิบัติ ตัวเมอ่ื โตขึ้นใหม้ ลี กั ษณะเป็นสภุ าพบรุ ุษทมี่ คี ณุ ลกั ษณะทผ่ี ู้ชายควรมอี กี ด้วยนอกจากเรียนนอกเวลาที่ ไดจ้ ากพ่อ ยงั ชว่ ยให้เรารู้วา่ ชอบและไมช่ อบอะไร ซึ่งเป็นประโยชน์ในการเลือกอาชีพเมอื่ โตขนึ้ บาง คนได้เรยี นรูธ้ ุรกจิ ของครอบครวั ตง้ั แตย่ ังเล็กจึงสามารถเขา้ ใจระบบงานและขยายออกไปไดใ้ นอนาคต ผ้ชู ายได้รบั การยอมรบั ในสงั คมใหเ้ ป็นผนู้ าํ การฝกึ ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละมคี วามรบั ผิดชอบจึงถอื วา่ มบี ทบาท สาํ คญั เพ่ือให้โตข้ึนเป็นหลกั ของครอบครัวได้ และเป็นผู้นาํ ทด่ี ีของสังคมต่อไป 7.4.2 การเลน่ ของเด็กผู้ชาย เด็กผ้ชู ายควรมีกจิ กรรมการเล่นทตี่ ้องตัดสนิ ใจ มี การเคลือ่ นไหว เพอ่ื ใหก้ ลา้ มเนือ้ ได้พัฒนาตามวยั นอกจากนัน้ เด็กผชู้ ายเม่อื โตขน้ึ มักจะมีความร้สู กึ ทางเพศมากกว่าเด็กผู้หญิง การฝกึ เล่นกีฬาและการออกกําลังกายจงึ เป็นทางออกทีด่ ีต่อสุขภาพ ดังน้ัน จงึ ควรเล่นกีฬาและออกกําลงั กายอยา่ งสมํ่าเสมอ 7.4.3 ฝึกการคิดอยา่ งมเี หตุผลและรอบคอบ เด็กผู้ชายมักชอบเล่นรนุ แรงหรอื กจิ กรรมที่เส่ียงต่อการบาดเจ็บหรอื ขาดเหตุผล ซ่งึ ไม่เป็นคณุ ลักษณะทดี่ ีของผูช้ ายในวันข้างหนา้ ควร ฝึกตัวเองให้คิดอย่างมีเหตุผลและรอบคอบ ให้สามารถช่วยคนอื่นพ้นภัยได้หรือคิดทาํ งานใหญ่ที่มี อันตรายได้ เพราะรู้ดีว่าจะสามารถป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดอนั ตรายกับตวั เองและผู้อนื่ ได้ (http://www.baanmaha.com/community/threads/36843 16 กันยายน 2559) 7.5 การวางตัวเพอื่ เหมาะสมในสถานท่ีต่างๆ การวางตัวทเ่ี หมาะสมในสถานทต่ี ่างๆ (http://www.oeauk.net/home/ 16 กันยายน 2559) ดงั น้ี 7.5.1 ที่โรงเรยี น 7.5.1.1 ในหอ้ งเรยี น เปน็ เรือ่ งสําคญั ทีต่ อ้ งเข้าหอ้ งเรยี นให้ตรงเวลา ไม่ มาสาย ตั้งใจเรียน กล้าพดู กลา้ ถามในสงิ่ ที่ไมเ่ ขา้ ใจ กลา้ ตอบคําถาม กล้าแสดงความคิดเห็น หลกั ความคดิ ทส่ี ําคญั คอื ตอ้ งไมก่ ลวั ผดิ เพราะผิดเปน็ ครู หากพดู ผิดกจ็ ะทําใหค้ รูร้วู ่าเราผดิ ตรงไหน จะได้ ช่วยแก้ไข บอกส่งิ ที่ถูก ทาํ ใหเ้ ราได้พัฒนาและเรียนร้มู ากขนึ้

465 7.5.1.2 นอกห้องเรยี น ทีโ่ รงเรยี น จะมหี ้องรบั แขกหรอื สถานที่ที่จัดไว้ ให้เขา้ ไปน่งั พกั ผ่อน พูดคยุ กนั หรอื เปน็ สถานทีอ่ อกกาํ ลังกาย มีกิจกรรมนนั ทนาการตา่ งๆ เหล่าน้ี เป็นโอกาสทจี่ ะได้พดู คุยกับเพือ่ น มสี มั พนั ธภาพอันดีต่อเพือ่ น 7.5.2 ที่บ้านพกั หรอื หอพกั ประพฤตติ นใหเ้ ป็นประโยชน์ เสนอตัวเขา้ ชว่ ยเหลอื พ่อแม่เทา่ ที่เราจะทํา ได้ ซึง่ จะทําใหพ้ อ่ แม่ ผูป้ กครอง เอน็ ดู รักใคร่ และทําใหจ้ ะไดร้ ับความช่วยเหลอื ถา้ เกิดปัญหาใดไมว่ า่ เลก็ หรอื ใหญ่ หากมคี วามจําเป็นตอ้ งไปค้างคนื ทีอ่ นื่ ต้องขออนญุ าตจากพอ่ แมผ่ ้ปู กครอง จากครอบครวั ทพ่ี กั อาศยั และสํานักงานผู้ดูแลฯ ก่อนในทกุ คร้ัง 7.5.3 มารยาทในการใชห้ อ้ งนอน อยู่ในหอ้ งนอนเมอ่ื ถึงเวลานอน ไม่ควรเก็บตวั อยทู่ ั้งวันแตใ่ นหอ้ งนอน ดงั นั้น หากเปน็ ช่วงเวลาอ่ืนๆ ทไ่ี ม่ใช่เวลานอน ควรลงไปน่ังทหี่ ้องนงั่ เลน่ หรือ ไปรว่ มทํากจิ กรรมต่างๆ รว่ มกับสมาชกิ ของครอบครัว เชน่ ร่วมทํางานบ้าน ชว่ ยทาํ ครัว ร่วมนัง่ ดู โทรทัศน์ ฯลฯ ควรดูแลรักษาความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยของห้องนอนของตวั เอง จดั ท่ีนอนของตัวเอง ทกุ ครัง้ หลังจากตน่ื นอนตอนเช้า 7.5.4 มารยาทในการใช้หอ้ งนํา้ ไมค่ วรอาบนํา้ ในชว่ งดึกเกนิ ไป เพราะอาจจะ เกิดเสียงรบกวนคนในบ้าน โดยเฉพาะหากเป็นบ้านขนาดเล็กหรือบ้านท่ีมีเด็กเล็ก ทุกคร้ังหลังใช้ ห้องนา้ํ ควรดูแลความสะอาดเพ่ือให้เป็นมารยาทท่ดี ี สําหรับคนท่จี ะใชห้ อ้ งนํ้าถัดไป เช่น เดก็ ผชู้ าย ควรยกท่ีนั่งชักโครกข้ึนเมื่อจะปัสสาวะ และทําความสะอาดก่อนออกจากห้องน้ําทุกคร้ังทุกคร้ังท่ี อาบนาํ้ ต้องระมดั ระวงั ไมใ่ หน้ าํ้ หกหรือกระเดน็ ออกไปนอกลงพืน้ ห้องนาํ้ ในส่วนทไี่ มใ่ ชเ่ ปน็ สว่ นทอ่ี าบน้ํา ทาํ ความสะอาดพืน้ หอ้ งน้าํ ส่วนดงั กลา่ วให้ดูเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย เพอื่ คนอื่นทีเ่ ขา้ หอ้ งนํ้าถดั จากเรา จะไดไ้ ม่ร้สู ึกอึดอัดขยะแขยง 7.5.5 มารยาทในการรับประทานอาหาร ควรมาร่วมโต๊ะอาหารเย็นใหต้ รงเวลา และควรแจง้ ให้พ่อแม่ ผู้ปกครองทราบล่วงหนา้ ทกุ ครั้ง หากบางครง้ั โรงเรียนจะจัดกจิ กรรมในชว่ งเย็น หลงั เลกิ เรยี น 7.5.6 มารยาทในการใช้โทรศพั ท์ ไม่ควรใช้โทรศัพท์ในสถานทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น ห้องเรยี น ห้องประชมุ เป็นต้น

466 8. การปฏบิ ตั ิตนตอ่ ผอู้ ่นื ในทางทีด่ ี การปฏิบัตติ นตอ่ ผูอ้ นื่ ในทางทดี่ ี มรี ายละเอยี ดดังต่อไปนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce 16 กนั ยายน 2559) 8.1 ให้ความสนใจเพอ่ื รว่ มงาน คอื บุคคลสว่ นใหญ่ชอบให้ผูอ้ ืน่ สนใจ ดังน้ัน จงึ ควรให้ ความสนใจเพอื่ นร่วมงานโดยการทกั ทายปราศรัย ถามในสงิ่ ดๆี ของเพือ่ นรว่ มงาน เชน่ ผลงานท่ีไดร้ บั ความสําเร็จ ครอบครวั ท่ีอบอ่นุ ลูกๆ ทีเ่ จรญิ ก้าวหนา้ ฯลฯ ซ่งึ จะชว่ ยใหเ้ พอื่ นร่วมงาน ร้สู ึกพอใจ และ เปน็ สุข 8.2 ยม้ิ แย้ม คอื การย้ิมของบคุ คลที่ให้แกอ่ กี ฝา่ ยหนง่ึ มักแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความนยิ ม ชมช่นื ชอบพอ รักใคร่ จึงเหน็ ไดว้ า่ การยิม้ เปน็ หวั ใจ สําคัญของการสรา้ งสัมพนั ธภาพ โดยไมจ่ ํากัด สถานะ เชือ้ ชาติ เพศ หรือวัย แต่ขณะเดยี วกนั กค็ วรใชก้ ารยิม้ ใหเ้ หมาะสมกับกาลเทศะด้วย ถ้าย้มิ ผิด เวลาผดิ ที่กอ็ าจทําลายความสัมพนั ธก์ ันได้ เช่น เพ่อื น กําลังมีความทกุ ขแ์ ตเ่ รายิ้ม เพ่อื นกาํ ลงั ถกู ส่งั พัก งาน เรากย็ ิ้มกับคําสัง่ นน้ั เชน่ น้ีเรยี กว่ายม้ิ ผดิ เวลา 8.3 แสดงการจําได้ วธิ กี ารแสดงการจําได้ เชน่ จําช่อื จําเหตกุ ารณห์ รอื เรื่องราวที่ดๆี ท่เี คยเก่ียวข้องกัน จําความสําเร็จที่เพอ่ื นได้รบั จําวันเกิด วนั สมรสของเพอ่ื นได้ ฯลฯ ซ่ึงเมอื่ มโี อกาสก็ ทกั ทายหรอื คยุ เรอื่ งเกา่ ท่เี กบ็ ไวใ้ นความทรงจาํ หรอื อวยพอในโอกาสวันสาํ คัญ ซงึ่ จะช่วยสร้างความรสู้ กึ ทดี่ ตี ่อกนั ได้มากขนึ้ 8.4 เปน็ คสู่ นทนาทดี่ ี การแสดงตนเป็นคสู่ นทนาที่ดีของเพ่อื นรว่ มงานนนั้ อาจโดยทํา ตัวเป็นผู้ฟงั ทด่ี ี ปลอ่ ยให้อกี ฝา่ ย ไดพ้ ดู คยุ ตาม ความตอ้ งการของเขา ทัง้ นีโ้ ดยต้อง ฟงั อย่างตงั้ ใจฟงั เพอ่ื ให้จับใจความได้ และตอบสนองตอบคําพูดของคูส่ นทนา ไม่ขัดจังหวะ ไม่ขัดคอ ซงึ่ หนา้ จะช่วยให้ ผูพ้ ดู มีความสุข แต่ควรระวังงดการพูดเสริม เมื่อมกี ารนนิ ทาบคุ คลทส่ี าม เพือ่ ป้องกนั ปญั หาท่อี าจ เกิดขน้ึ ตอ่ ไป 8.5 รับฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ ืน่ คอื ไมผ่ ูกขาดอยูก่ ับความคดิ ของตนเองขา้ งเดยี ว ผู้ท่ี ผูกขาดความคิดเหน็ ของตนมกั เปน็ คนที่ชอบ เอาชนะเมอื่ แสดงความคิดเหน็ ถอื เอา ความเหน็ ของตน ว่า สําคัญกวา่ ความเห็นของผอู้ ่นื มกั โต้แยง้ ความเหน็ ของผูอ้ นื่ ฯลฯ การแสดงตอ่ ผู้อ่ืน โดยวิธนี มี้ ักทํา ใหข้ าดเพอ่ื น ไมม่ ีใครอยากคบหาสมาคม หัวหน้า งานก็มักไม่อยาก มอบหมายงาน ให้ทาํ งานสาํ คัญ เพราะมีลักษณะ “เข้าทไี่ หนวงแตกที่นน่ั ” จงึ ควรทําในสิ่งตรงข้าม คอื พยายามรับฟัง และยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อ่นื 8.6 แสดงการยอมรบั นับถอื ผอู้ ่ืนตามสถานภาพ ทั้งนเ้ี นื่องจากเพื่อนร่วมงานของ เราน้นั บางคนมีอาวุโสด้านอายุ อาจสูงสง่ ด้วยชาติตระกลู อาจมีความรสู้ ูง อาจมที กั ษะ ประสบการณ์ เหนือผู้อ่นื หรอื อาจมตี าํ แหน่งงานเหนอื ใครอยบู่ า้ ง ผ้มู ีจิตใจสูง มีวฒุ ภิ าวะของความเป็นผ้ใู หญ่ ควรให้

467 เกยี รติ และเคารพในศักดศิ์ รขี องเพ่ือนร่วมงานตามสถานภาพนั้นๆ หรืออยา่ งนอ้ ยก็ยอมรับ ในศกั ด์ศิ รี ของความเปน็ เพ่อื นมนษุ ยแ์ ละเพื่อนร่วมงาน 8.7 แสดงความมีนาํ้ ใจ ซงึ่ การมนี ํา้ ใจตอ่ ผอู้ ่นื อาจแสดงออกไดห้ ลายแนวทาง เชน่ การเปน็ ผูใ้ ห้ ให้ความรกั ใหค้ วามห่วงใย แบง่ ปนั ชว่ ยเหลอื ให้อภัย ให้กําลังใจ คณุ ลกั ษณะต่างๆ เหลา่ นี้ เปน็ เอกลักษณ์ของคนไทยซงึ่ ควรรักษาไว้ และแสดงตอ่ เพอื่ นรว่ มงานด้วยกัน ซ่งึ จะช่วยให้ สมั พนั ธภาพเป็นไปด้วยดี 8.8 แสดงความช่ืนชมยินดี เน่ืองจากเพ่ือนร่วมงานแต่ละคนในหน่วยงาน มักมี วนั พิเศษหรือเหตกุ ารณ์สาํ คัญของชีวติ ดว้ ยกันทง้ั นั้น เชน่ อาจจะเปน็ วันรบั รางวลั พิเศษ การได้เหรยี ญ เชิดชเู กยี รติ ฯลฯ ความพเิ ศษดงั กลา่ ว เหลา่ น้ีบุคคลควรหาโอกาส แสดงความช่ืนชม ยนิ ดีต่อเพือ่ น ร่วมงานด้วยความจริงใจ ซ่ึงจัดว่าเป็นการแสดงน้ําใจให้ความสนใจ และยอมรับเพื่อนร่วมงานใน ความสําเร็จนนั้ ๆ ด้วย

468 สรุปบทที่ 6 บคุ ลกิ ภาพ คอื ลกั ษณะของมนุษยท์ ี่มีการจัดรวบรวมระบบทางร่างกายและจิตใจ ทง้ั ส่วนภายนอกและภายใน เปน็ ของการมีปฏสิ มั พันธ์กับสง่ิ แวดล้อมซึ่งอยู่กบั แต่ละบคุ คลมีความแตกต่าง บคุ ลิกภาพมคี วามสําคัญต่อการดํารงชีวติ ของมนษุ ย์ในสังคม ดังต่อไปนี้ เกดิ การยอมรบั ความแตกต่าง ระหวา่ งบคุ คล เกิดตระหนักในเอกลักษณ์ของบุคคล สามารถพยากรณ์พฤตกิ รรมได้ เกิดความมัน่ ใจ ในตวั เอง สามารถปรบั ตวั ให้เขา้ กบั ผ้อู น่ื ได้ การยอมรับของกลมุ่ และบุคลิกภาพทําให้เกดิ ความสาํ เรจ็ องคป์ ระกอบของบุคลกิ ภาพ ไดแ้ ก่ ลักษณะทางกาย ลกั ษณะทางใจ อปุ นิสยั อารมณ์ และการสมาคม เปน็ ตน้ บุคลิกภาพกับความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล คอื พันธกุ รรม (Heredity) และ สิ่งแวดล้อม (Environment) ทฤษฎีบุคลิกภาพ (Personality Theory) ไดแ้ ก่ ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ของฟรอยด์ (Sigmund Freud) ทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพของคาร์ล จุง (Carl Jung) ทฤษฎีจติ วิทยารายบุคคลของอลั เฟรด แอดเลอร์ (Alfed Adler) ทฤษฎบี ุคลกิ ภาพของวลิ เลยี ม เชลดอน (William H. Sheldon) ทฤษฎี บุคลิกภาพของแฮนส์ ไอแซงค์ (Hans Eysenck) ทฤษฎอี ปุ นสิ ัยของอัลพอร์ต (Allport) ทฤษฎลี กั ษณ เฉพาะของเรมอนด์ บี แคทเทลส์ (Raymond B. Catteell) ทฤษฎบี ุคลกิ ภาพของคารล์ โรเจอร์ (Carl Roger) ทฤษฎีบุคลกิ ภาพของอับบาฮมั มาสโลว์ (Abraham Maslow) ทฤษฎีการวเิ คราะห์ การสอื่ สมั พนั ธข์ องเบร์นิ (Berne) วิธีการประเมนิ บุคลกิ ภาพ สามารถทําได้หลายวิธีท่ีสําคัญ ไดแ้ ก่ การสงั เกต และ การสมั ภาษณแ์ ละการวัดบุคลกิ ภาพ ใชแ้ บบทดสอบบคุ ลกิ ภาพประเภทแบบสอบถาม (Personality Questionnaires) เช่น แบบสาํ รวจบุคลกิ ภาพรวมมิเนโซต้า แบบสาํ รวจทางจิตวิทยาแคลฟิ อรเ์ นีย แบบทดสอบบคุ ลกิ ภาพของเอด็ เวริ์ด แบบสอบถามองคป์ ระกอบทางบุคลกิ ภาพทัง้ 16 เปน็ ตน้ แบบทดสอบบคุ ลิกภาพประเภทฉายภาพ แบบทดสอบหยดหมกึ ของรอรช์ าช และแบบทดสอบทีเอที ลักษณะของผู้ที่มีบุคลิกภาพท่ีดี ดังน้ี ความสามารถในการรับรู้และเข้าใจสภาพเป็น จริงอย่างถูกต้อง, การแสดงอารมณ์ในลักษณะและขอบเขตท่ีเหมาะสม, ความสามารถในการสร้าง ความสัมพันธ์ทางสังคม, ความสามารถในการทํางานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม, ความรัก และความตอ้ งการทางเพศ, และความสามารถในการพฒั นาตน

469 คําถามทา้ ยบทที่ 6 1. จงอธบิ ายความหมายของบุคลิกภาพ 2. บคุ ลกิ ภาพมคี วามสาํ คญั อยา่ งไร 3. จงอธบิ ายขั้นพัฒนาการบคุ ลิกภาพของทฤษฎจี ิตวเิ คราะหข์ องฟรอยด์ 4. จงอธิบายสาเหตทุ ที่ าํ ใหเ้ กดิ ความแตกต่างของบคุ ลิกภาพในแต่ละบคุ คลมอี ะไรบา้ ง อธิบายโดยสังเขป 5. เชลดอนแบง่ ประเภทบคุ ลิกภาพออกเป็นกีล่ ักษณะ อะไรบ้ง อธิบาย 6. ประเภทของบคุ ลกิ ภาพในทศั นะของจุงมกี ปี่ ระเภท อะไรบ้าง 7. บคุ ลิกภาพของทฤษฎีของไอแซงคม์ ีกแ่ี บบ อะไรบา้ ง อธิบาย 8. ลาํ ดบั ข้นั ความต้องการของมาสโลวม์ กี ่ีขน้ั อะไรบ้าง 9. การประเมนิ บคุ ลกิ ภาพที่นิยมมีก่วี ิธี อะไรบา้ ง อธิบายพอสงั เขป 10. การวดั บุคลกิ ภาพทีน่ ยิ มมกี ่ีวธิ ี อะไรบ้าง อธบิ ายพอสังเขป 11. การวางตวั ทเ่ี หมาะสมในสังคมไทย ควรปฏิบัติอย่างไรบา้ ง 12. อธบิ ายการปฏบิ ัตติ นตอ่ ผู้อื่นในทางทีด่ ี ควรปฏบิ ตั อิ ย่างไรบา้ ง

470 เอกสารอา้ งองิ บทที่ 6 พีรพล เทพประสิทธ.ิ์ (2549). จติ วทิ ยาทัว่ ไป. กรงุ เทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุป๊ วภิ า ภักดี. (2547). จิตวิทยาทัว่ ไป. กรุงเทพฯ : ภาควชิ าจติ วทิ ยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ศรีเรอื น แก้วกังวาล. (2547). จติ วทิ ยาท่ัวไป. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ Goldstein. (1994). Eysenck’s Theory. Sriruen Kaewkangawan. (2004). : 332 Hall and Lindzey. (1978). Psychoanalysis Theory. Sriruen Kaewkangawan. (2004). : 326-327 Raymond B. Catteell. (1965). Raymond B. Catteell Theory. Sriruen Kaewkangawan. (2004). : 330 http://www.baanmaha.com/community/threads/36843 16 กันยายน 2559 https://www.google.co.th/search 16 เมษายน 2559 https://www.google.co.th/search 16 กนั ยายน 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce 16 กนั ยายน 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Personality/Theory 15 ตุลาคม 2555 http://www.novabizz.com/NovaAce/Personality/Theory_Carl_Jung.htm 30 มีนาคม 2555 http://www.oeauk.net/home 16 กนั ยายน 2559

471 แผนบริหารการสอนประจาํ บทท่ี 7 การสรา้ งสมั พันธภาพระหว่างบุคคล เวลาเรยี น 6 ช่ัวโมง จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม หลงั จากได้ศึกษาบทเรียนนแ้ี ล้ว นักศึกษาควรมีพฤตกิ รรม ดังนี้ 1. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคล, การเกิดความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคล, สาเหตุโดยท่ัวไป ของการเกิดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล, ข้ันตอนของการเกิดความสัมพันธ์, คุณค่าของสัมพันธภาพ ระหว่างบุคคล, คุณลักษณะสําคัญในการสัมพันธภาพระหว่างบุคคล, ความหมายของมนุษยสัมพันธ์, ลักษณะของมนุษยสัมพันธ์, องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์, และอิทธิพลของมนุษยสัมพันธ์ต่อบุคคล ได้ 2. อภปิ รายทฤษฎีท่ีเกีย่ วข้องกับมนษุ ยสัมพันธ์, วธิ ีการสรา้ งมนษุ ยสมั พันธไ์ ด้ 3. ปฏบิ ตั ทิ กั ษะการสรา้ งสมั พนั ธภาพทีด่ ีระหวา่ งบคุ คล, การติดต่อสือ่ สาร และการเพมิ่ ประสิทธภิ าพของการตดิ ต่อสอื่ สารเพอื่ ใช้ในชีวติ ประจําวนั ได้ เนื้อหา 1. ความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คล 1.1 ระดบั คนรูจ้ กั 1.2 ระดับเพื่อน 1.3 ระดบั ลกึ ซง้ึ 2. การเกิดความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คล 2.1 ทฤษฎอี ธบิ ายการเกดิ ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คล 3. สาเหตุโดยทั่วไปของการเกิดความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคล 3.1 การมีจุดมงุ่ หมายทส่ี อดคลอ้ งกนั 3.2 ความตอ้ งการใฝส่ มั ฤทธ์ิ 3.3 ความพอใจในกจิ กรรมของผ้อู นื่ 3.4 กาส่งเสรมิ สถานภาพสว่ นตัว 3.5 การลดความวิตกกงั วล 3.6 การใชค้ วามสมั พนั ธ์กบั คนอ่ืน

472 4. ข้ันตอนของการเกิดความสัมพันธ์ 4.1 การเรม่ิ ความสัมพนั ธ์ 4.2 การสร้างความสัมพนั ธ์ 4.3 การกระชับความสัมพันธ์ 4.4. การจบความสมั พนั ธ์ 5. คุณค่าของสมั พนั ธภาพระหวา่ งบุคคล 6. คณุ ลักษณะสาํ คญั ในการสัมพนั ธภาพระหวา่ งบุคคล 7. ทกั ษะการสรา้ งสมั พันธภาพทด่ี รี ะหวา่ งบุคคล 7.1 การเปิดเผยตนเอง 7.2 ความไว้วางใจและความนา่ ไวว้ างใจ 8. ความหมายของมนษุ ยสมั พนั ธ์ 9. ลักษณะของมนุษยสมั พันธ์ 10. องคป์ ระกอบของมนษุ ยสมั พันธ์ 11. ทฤษฎีทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั มนุษยสัมพันธ์ 11.1 ทฤษฎคี วามต้องการ 5 ขัน้ ของอิริค ฟรอมม์ 11.2 ทฤษฎคี วามตอ้ งการ 5 ขั้นของมาสโลว์ 11.3 ทฤษฎคี วามตอ้ งการความสัมฤทธ์ขิ องแมคเคลแลนด์ 11.4 ทฤษฎีสององคป์ ระกอบของเฟรเดอริค เฮอร์เบรก์ิ 11.5 ทฤษฎี ERG ของอลั เดอรเ์ ฟอร์ 11.6 ทฤษฎคี วามต้องการของมอร์เรย์ 20 ประการ 11.7 ทฤษฎีความคาดหวงั ของวิตเตอร์ วรมู 11.8 ทฤษฎตี ้นไม้จริยธรรมของดวงเดือน พันธมุ าวิน 12. อิทธิพลของมนุษยสมั พนั ธต์ ่อบุคคล 13. วธิ ีการสร้างมนษุ ยสมั พันธ์ 14. การติดต่อสอ่ื สาร 14.1 ความหมายของการติดต่อส่อื สาร 14.2 ความสาํ คัญของการตดิ ตอ่ สื่อสาร 14.3 องคป์ ระกอบของของการติดตอ่ สื่อสาร 14.4 กระบวนการตดิ ตอ่ ส่ือสาร 14.5 ปญั หาและอปุ สรรคในการติดต่อส่ือสาร 14.6 ความแตกตา่ งระหว่างแบบของพฤตกิ รรม

473 14.7 ความแตกตา่ งระหว่างการรับสาร 15. การเพมิ่ ประสิทธภิ าพของการติดต่อส่ือสาร 15.1 การฟงั 15.2 ภาษาทา่ ทาง 15.3 การสบตา 15.4 การแสดงสหี นา้ 15.5 การสมั ผสั 15.6 การเขา้ ใจมุมมองของผอู้ ื่น 15.7 การใหแ้ ละรับขอ้ ตชิ มในการตดิ ต่อสอื่ สาร 15.8 เทคนิคการส่อื สารกบั บุคคลทม่ี แี บบพฤตกิ รรมตา่ งกนั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. ยกตัวอย่างและใหด้ ูคลิปวิดีโอของบคุ คลท่มี ีสัมพันธ์ภาพท่ดี ี เชน่ พธิ ีกร กะลาแม พัชรศรี เบญจมาศ เน็ก เศรษฐสวัสดิ์ ปาลกะวงษ์ เป็นต้น 2. นักศกึ ษาแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับบคุ คลท่มี ีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลทดี่ ี 3. บรรยาย สรุปเน้อื หาสาระสําคัญประกอบการนาํ เสนอดว้ ย Microsoft Power Point ในหัวขอ้ การสร้างสัมพนั ธภาพระหวา่ งบคุ คล 4. นกั ศึกษาแบ่งกล่มุ โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรโู้ ดยใช้เทคนคิ Jigsaw เพื่อร่วมกนั ศึกษา ในหวั ข้อ ทฤษฎีทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับมนุษยสัมพนั ธ์ตอ่ ไปน้ี ทฤษฎีความต้องการ 5 ขัน้ ของอริ คิ ฟรอมมม์ ทฤษฎีความต้องการ 5 ข้ันของมาสโลว,์ ทฤษฎคี วามต้องการความสัมฤทธข์ิ องแมคเคลแลนด์, ทฤษฎี สององคป์ ระกอบของเฟรเดอรคิ เฮอร์เบรก์ิ , ทฤษฎี ERG ของอลั เดอรเ์ ฟอร์, ทฤษฎคี วามตอ้ งการของ มอร์เรย์ 20 ประการ, ทฤษฎคี วามคาดหวงั ของวติ เตอร์ วรูม, ทฤษฎีตน้ ไมจ้ ริยธรรมของดวงเดอื น พนั ธุมาวิน 5. นักศึกษาสรุปกิจกรรม สนทนา-ซักถาม การแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น ตอบคาํ ถาม 6. นกั ศึกษาปฎิบัติกจิ กรรมกล่มุ สมั พนั ธ์ ใช้เกม ลา่ รายชอ่ื 7. มอบหมายงานศกึ ษาค้นคว้า เรือ่ ง การติดต่อส่อื สาร 8. ส่งงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายและทบทวนโดยคําถามทา้ ยบท

474 ส่อื การเรียนการสอน 1. เอกสารคําสอน 2. หนงั สือ ตําราทเ่ี กย่ี วขอ้ งจิตวิทยา 3. กิจกรรมกลมุ่ 4. Microsoft Power Point ทจ่ี ัดทาํ ในหวั ข้อตา่ งๆ 5. คําถามท้ายบท การวัดผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์ เครือ่ งมือ/วิธกี าร การประเมินผล 1. อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง 1. ซกั ถาม แลกเปลี่ยน 1. นักศกึ ษาตอบคําถาม บุคคล, การเกดิ ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง สนทนาพดู คยุ ตอบคําถาม ถกู ต้องได้ร้อยละ 80 บคุ คล, สาเหตโุ ดยท่วั ไปของการเกิด 2. ปฏบิ ัติงานในการศกึ ษา 2. ศกึ ษาคน้ คว้างานอย่ใู น ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คล, ขน้ั ตอน ค้นควา้ ระดบั ดี ของการเกิดความสัมพันธ,์ คณุ ค่า 3. การสังเกตพฤตกิ รรม 3. สังเกตพฤติกรรมใน ของสัมพันธภาพระหวา่ งบคุ คล, การร่วมกิจกรรมการอภิปราย การเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ / คุณลกั ษณะสําคญั ในการสมั พนั ธภาพ รายกลมุ่ ความสนใจ/ความรว่ มมืออยู่ ระหวา่ งบคุ คล, ความหมายของ 4. สงั เกตการณ์นําเสนอหน้า ในระดับดี มนุษยสมั พันธ์, ลักษณะของมนุษย ชั้นเรยี น 4. การนาํ เสนอหนา้ ชัน้ เรียน สมั พนั ธ,์ องค์ประกอบของมนุษย 5. รว่ มกจิ กรรม อยใู่ นระดบั ดี สัมพันธ์, และอิทธิพลของมนษุ ย การตดิ ตอ่ ส่ือสารโดยการเลน่ 5. การตดิ ตอ่ สื่อสารโดยการ สัมพนั ธ์ตอ่ บคุ คลได้ เกม เลน่ เกมอยูใ่ นระดับดี 2. อภิปรายทฤษฎที เี่ ก่ียวข้องกบั 6. การมอบหมายงานคําถาม 6. นักศกึ ษาทําคาํ ถาม มนุษยสัมพันธ์, วธิ กี ารสรา้ งมนุษย ทา้ ยบท ทา้ ยบทถูกต้องร้อยละ 80 สัมพันธไ์ ด้ 3. ปฏบิ ัติทักษะการสร้าง สัมพนั ธภาพทด่ี ีระหวา่ งบุคคล, การตดิ ต่อส่อื สาร และการเพม่ิ ประสิทธภิ าพของการติดต่อสื่อสาร เพ่อื ใชใ้ นชวี ิตประจําวัน

475 บทที่ 7 การสร้างสมั พันธภาพระหวา่ งบุคคล ภาพที่ 139 แสดงภาพความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคล (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) การมีความสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่นเป็นส่ิงจําเป็นในการมีชีวิตอยู่ของมนุษย์ พัฒนาการทาง สังคมและความคิดความเข้าใจของบุคคลพัฒนาขึ้นจากการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น เอกลักษณ์ของ แตล่ ะบคุ คล ความสาํ เร็จในอาชีพ การคน้ พบความหมายของชวี ิตและสขุ ภาพจติ ล้วนได้รบั ผลกระทบ จากสมั พนั ธภาพระหว่างบุคคลมนษุ ยแ์ ตล่ ะคนถกู หล่อหลอมจากประสบการณใ์ ห้มีความคดิ ความเชอ่ื ทัศนคติและค่านิยมที่แตกต่างกัน ดังน้ัน การเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างคน 2 คน จึงต้องอาศัย ความเข้าใจถึงปัจจัยท่ีสาํ คัญที่ส่งผลต่อสัมพันธภาพที่มีระหว่างกัน เพื่อบุคคลท้ังสองฝ่ายจะได้ ประสบความสําเรจ็ ในการสรา้ งสมั พันธภาพที่ดีต่อกัน (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship 9 กนั ยายน 2559) 1. ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคล ในชวี ติ ของเราต้องสัมพนั ธ์อยู่กบั บคุ คลหลายประเภท แตล่ ะประเภทล้วน มปี ทสั ถาน ในการปฏบิ ัตติ ่างกนั ออกไป นักวิชาการได้จดั จําแนกประเภท ความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคล โดยอาศัย ระดับความสัมพนั ธเ์ ป็นเกณฑ์จากผวิ เผนิ ไปส่ลู ึกซ้งึ การจดั ประเภทเช่นนี้ จะทาํ ใหเ้ รารลู้ ่วงหนา้ วา่ จะ

476 คาดหวังอะไรจากกันและกันได้และจะเตรียมตัวติดต่อกันอย่างไร จึงจะไม่เกิดปัญหาความสัมพันธ์ ระหวา่ งบคุ คล ในท่นี จี้ ําแนกเป็น 3 ระดบั คือ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal.htm 9 กันยายน 2559) 1.1 คนรู้จัก คนรู้จกั น้ันเปน็ ความสัมพันธ์ทผ่ี ิวเผนิ การสอ่ื สารกันมักเปน็ เรอ่ื งของ ข้อเท็จจรงิ และจาก ขอ้ เท็จจรงิ ก็จะประเมินวา่ ควรจะสรา้ ง ความสัมพันธ์ ในระดบั ตอ่ ไปหรือไม่ คนรจู้ กั กันนัน้ จะใชย้ ทุ ธวิธใี นการสอ่ื สาร เพอื่ หาข้อเทจ็ จรงิ จากกันและกันใน 3 ประเภท ประเภทแรก เปน็ การต้ังรบั หมายถึง ใชก้ ารสังเกตการกระทาํ ของคนอ่ืนแทนที่ จะซักถามหรือเข้าไปร่วมในสถานการณ์ ประเภทท่สี อง แบบรุก หมายถึง การเขา้ ไปจัดการกับสถานการณท์ างสังคม เพอื่ ให้ได้ข้อมลู มากข้ึน เช่น ใชก้ ารคุย การถาม หรือการสมั ภาษณ์ ประเภททีส่ าม แบบปฏสิ ัมพนั ธ์ หมายถงึ ใช้การสื่อสารเพ่อื แลกเปลย่ี น ขอ้ เทจ็ จริงและความคิดเหน็ ระหว่างกนั และกนั ควบคกู่ นั ไปกับการสงั เกต (Berger,1978) จากข้อมูลทไ่ี ดม้ าไมว่ ่าจะโดยวธิ ีใด คนเราจะใชข้ อ้ มลู เหล่าน้ันเพ่อื กรองว่าเรา จะสัมพันธ์กับคนผู้นั้นต่อไปในระดับใด ความสัมพันธ์อาจเป็นไปในระดับเดิม หรือเพ่ิมระดับไปสู่ ความลึกซึง้ หากข้อมูลทรี่ บั มาก่อใหเ้ กิดความพอใจ แต่หากข้อมูลทร่ี บั มาเป็นขอ้ มลู ทีไ่ มน่ ่าพอใจเราก็ อาจเลอื กท่จี ะไมพ่ บกนั ตอ่ ไปอกี 1.2 เพ่อื น คําว่าเพอ่ื นเป็นคําทีพ่ ดู งา่ ยแตใ่ ห้ความหมายยาก เพราะเพือ่ นเป็นบทบาทที่ เกิดขึ้นได้ในคสู่ มั พนั ธ์ทุกประเภท ต้งั แตเ่ พ่ือนกบั เพ่อื นจรงิ ๆ เพอื่ นในระหวา่ งสามีภรรยา นายกับ ลูกน้อง ครูกบั ศษิ ย์หรือแมแ้ ตพ่ อ่ แม่กบั ลกู เมื่อเอ่ยถึงคาํ ว่าเพือ่ น นักมนุษยสมั พันธไ์ ด้เสนอว่า หมายถึง ความสมั พนั ธ์ทมี่ ลี ักษณะพเิ ศษ ดังนี้ (Reardon, 1987) 1.2.1 เพื่อนมีสถานะพิเศษในชีวติ เปน็ คนท่ีเราไว้ใจและเป็นท่ยี อมรับ ยงิ่ ไป กว่านั้น ความสมั พนั ธ์ระหว่างเพอ่ื นเปน็ ความสัมพันธแ์ บบไมเ่ อาเปรียบ ทัง้ นม้ี ไิ ด้หมายความว่า คนเรา จะไม่รับสงิ่ ใดจากเพือ่ น แต่การได้สิง่ ใดจากเพ่ือนน้นั เปน็ การไดม้ าโดยไม่ทาํ ให้อีกฝา่ ยหนงึ่ รสู้ กึ ว่าตน ถูกบงั คบั หรอื ข่เู ขญ็ 1.2.2 เพ่ือนมฐี านอยู่บนความเท่าเทยี มกัน หมายถงึ ว่า ระหวา่ งเพ่ือนไม่มีใครมี อํานาจหรืออทิ ธพิ ลเหนอื ใคร แมว้ า่ อกี คนหนงึ่ จะมีสถานภาพเหนอื กวา่ และตรงจดุ นีเ้ ปน็ สาเหตุหนึ่งท่ี ทาํ ใหบ้ ุคคลมเี พ่ือนทมี่ สี ถานภาพทางสังคมหรอื เศรษฐกจิ ตา่ งจากตนเองมากๆ ได้ เนอื่ งจากอาจเกิด ความขดั แยง้ ระหวา่ งบทบาทขน้ึ 1.2.3 เพือ่ นต้องยอมรับซึง่ กันและกนั ซ่ึงจะรไู้ ด้จากการสังเกตพฤตกิ รรมของ อีกฝ่ายหนึ่งวา่ คลอ้ ยตามกฏของความเป็นเพือ่ นหรอื ไม่ กฏของความเปน็ เพือ่ น โดยทว่ั ไปประกอบด้วย เมอ่ื มีข่าวใดๆ เก่ยี วกบั ความสาํ เร็จก็บอกใหเ้ พือ่ นรู้

477 แสดงการสนับสนนุ ทางอารมณ์ เสนอความชว่ ยเหลอื เมื่อต้องการ พยายามทาํ ใหม้ คี วามสขุ เมอื่ อยู่รว่ มกัน เสนอตวั ทาํ งานแทนถ้าเพอ่ื นขาดไป 1.3 ระดบั ลกึ ซึ้ง ความสมั พนั ธ์ในระดับน้ีเปน็ ความสัมพนั ธ์ท่ีเกิดขึ้นซํา้ ๆ เปิดตนเอง ตอ่ กนั มาก ขึน้ ตอ่ กนั และกันสงู มเี รือ่ งของอารมณเ์ ข้ามาเกี่ยวข้องมาก ความสัมพันธเ์ ช่นน้ปี รากฏอยู่ ในสาม-ี ภรรยา พอ่ แม-่ ลูก พ่ี-นอ้ ง เพอ่ื นสนิท ค่รู ัก หรอื ลักษณะอ่ืนๆ มขี อ้ ค้นพบทนี่ ่าสนใจสําหรบั ความสัมพนั ธป์ ระเภทน้ี ดังน้ี 1.3.1 คูส่ ัมพนั ธ์ระดับลกึ ซึ้ง มักคาดหวังจากกันและกันสงู เกินกวา่ ขอบเขตท่ี เป็นจริง เมื่อไม่เป็นไปตามที่คาดก็มักกล่าวโทษอีกฝ่ายหน่ึง ความสัมพันธ์ระดับนี้มิได้ขึ้นอยู่กับคู่ สมั พนั ธ์อย่างเดียว การส่ือสารจากคนอ่นื ๆ กม็ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความสัมพันธ์น้นั ดว้ ย ความสมั พนั ธ์ระดับ ลกึ ซ้งึ ที่เรยี กวา่ ความรกั นัน้ จาํ แนกไดเ้ ปน็ 3 ประเภทย่อยและแต่ละประเภทกม็ ลี กั ษณะตา่ งกนั ดังนี้ 1.3.3.1 รกั แบบหลงไหล ซงึ่ ปรกตจิ ะอยนู่ อกเหนอื การควบคมุ เปน็ เรอ่ื ง ของอารมณแ์ ทม้ ากกว่าเหตุผลมักกระตุ้นใหเ้ กดิ การตอบสนองอยา่ งฉับพลนั พฤติกรรมระหว่างค่สู มั พนั ธ์ มกั พยากรณ์ไม่ได้และไม่เป็นฐานความสัมพันธ์ที่ย่ังยืน การได้อยู่ร่วมกันเป็นประจาํ หรือการท่ีได้มี ความสัมพนั ธ์ทางเพศสมํ่าเสมอจะทาํ ใหค้ วามต่นื เตน้ อันเกิดจากความหลงไหลลดลง 1.3.3.2 รักแบบความจริง เปน็ ความรกั ทพี่ ฒั นามาจากแบบแรก เกิดขน้ึ ทีละนอ้ ยและอยภู่ ายใต้การควบคุมของคนทีเ่ ข้ามาเกี่ยวขอ้ ง มีการตอบแทนกนั และกัน มองความสัมพันธ์ ในลกั ษณะสมดุล 1.3.3.3 รกั แบบเอ้อื อาทร เป็นรักที่เกดิ จากแรงจูงใจภายใน ซึง่ จะมสี ว่ น เพ่ิมชีวิตชีวาให้กับความรักแบบท่ีสอง พฤติกรรมท่ีสื่อให้เห็นความสัมพันธ์ลึกซ้ึงนั้นเป็นได้ท้ังภาษา ถ้อยคําและทา่ ทาง ภาษาเหลา่ นี้ส่อใหเ้ ห็นว่า คูส่ ัมพันธม์ ีความใกลช้ ิดกันทั้งกายและใจ อาจเห็นได้จาก การมองตา การใช้เวลาอยู่ร่วมกันมาก การย้มิ การยนื ใกลก้ ันหรือการสัมผสั เป็นตน้ 2. การเกิดความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคล การที่บคุ คลจะเลอื กมคี วามสมั พนั ธ์กับใคร เปน็ ส่งิ ทน่ี กั จติ วิทยาสงั คมใหค้ วามสนใจมาก นกั วิชาการในสาขาน้ีไดพ้ ัฒนาทฤษฎีและขอ้ คดิ เห็นเพือ่ นาํ มาอธบิ าย ดงั น้ี (Organ & Hamner, 1982) (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal.htm 9 กนั ยายน 2559)

478 ภาพท่ี 140 แสดงภาพการเกิดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) 2.1 ทฤษฎีอธบิ ายการเกิดความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คล 2.1.1 ทฤษฎกี ารแลกเปลีย่ น ทฤษฎนี ้ีไดอ้ ธิบายการเกิดความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลในรปู ของกาํ ไร และตน้ ทนุ โดยท่ีกําไร หมายถงึ สงิ่ ท่เี ราไดจ้ ากการมคี วามสมั พันธก์ ับบุคคลอ่ืน ขณะที่ต้นทุน หมายถึง สง่ิ ทไี่ ม่นา่ พอใจในการสรา้ งความสัมพนั ธน์ นั้ เช่น ความลา้ เบ่อื วติ กกงั วล เปน็ ตน้ คนเราจะประเมิน กาํ ไรจากความสัมพันธ์โดยอาศยั มาตรฐาน 2 ประการ ประการแรก ได้แก่ ระดบั ของการเปรียบเทยี บ ในอดตี ซึ่งเปน็ สง่ิ ทเี่ คยไดร้ ับจากการมคี วามสมั พันธใ์ นอดีต เม่ือเปรยี บเทยี บกบั ปจั จุบัน และประการ ทส่ี อง ได้แก่ ระดบั การเปรียบเทียบกบั ทางเลอื กอนื่ ๆ ในปัจจบุ นั ในข้อนี้หมายถึงว่า บุคคลจะเลอื ก สร้างความสัมพนั ธก์ บั ผใู้ ดต้องคํานงึ แล้ววา่ ระหว่างคนตา่ งๆ ที่แวดล้อมอยผู่ ู้ใดจะทาํ ให้ไดส้ งิ่ ท่ีต้องการ มากท่ีสดุ ไม่วา่ ความสัมพันธ์กับคนปจั จุบันจะทาํ ให้ได้ผลดีแค่ไหนก็ตาม หากบคุ คลคดิ วา่ การสรา้ ง ความสัมพนั ธ์กับคนใหมใ่ หผ้ ลดกี ว่า เขาก็มีแนวโนม้ ท่ีจะไปสร้างความสัมพนั ธก์ ับคนใหม่หรือกลุ่มใหม่ ในทางตรงข้ามแม้ความสมั พันธใ์ นปจั จุบนั จะทําใหไ้ มพ่ อใจขนาดใดก็ตามบุคคลจะยงั คงความสัมพนั ธ์ นัน้ ไว้ หากเปรยี บเทียบแล้วว่า การไปสรา้ งความสมั พันธ์กับคนใหมอ่ าจทาํ ให้ไดผ้ ลร้ายกวา่ เดิม

479 2.1.2 ความคลา้ ยคลงึ ของเจตคติ ทฤษฎีน้ีอธิบายว่า ผู้ที่มีเจตคติคล้ายกันจะดึงดูดเข้าหากันและเป็น องคป์ ระกอบสําคญั ของการคบหากัน 2.1.3 การเติมความแตกตา่ งให้สมบูรณ์ การเตมิ ความแตกตา่ งใหส้ มบูรณ์ ในบางกรณพี บว่า ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง บุคคลเกิดขึ้นได้แม้จะมีความแตกต่างกันโดยส้ินเชิงลักษณะเช่นนี้ อธิบายด้วยหลักของการเติมให้ สมบรู ณโ์ ดยทฤษฎีนี้ กลา่ วว่า ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกันของบคุ คลนัน้ หากสามารถตอบสนองความต้องการ ของอกี ฝ่ายหนง่ึ ได้ ความตา่ งจะกลายเปน็ เสมือนส่ิงดงึ ดดู ใจอกี ฝ่ายหนงึ่ ใหเ้ ข้ามาสร้างความสัมพันธ์ด้วย ทฤษฎีน้ีสอดคล้องกับทฤษฎกี ารแลกเปลยี่ นเนือ่ งจากลักษณะของอกี ฝ่ายหน่งึ จะถอื ว่า เปน็ กําไรของ อกี ฝา่ ยหนงึ่ ที่มไิ ดเ้ ป็นเจ้าของลักษณะน้นั 2.1.4 การเปรียบเทียบทางสงั คม ทฤษฎกี ารเปรยี บเทียบทางสงั คมน้ี คนเราแตล่ ะคนมคี วามต้องการท่ีจะ ประเมินตนเอง ดังนั้น จึงต้องการทดสอบตนเองกับคนอื่นๆ เพอื่ ทราบว่าสงิ่ ท่เี รามีหรือเราคิดหรือเรา เป็นสอดคลอ้ งกับความเป็นจริงทางสังคมหรือไม่และการที่จะกระทาํ เช่นน้ีได้จาํ เป็นท่ีจะต้องสร้าง ความสัมพันธ์กับคนอ่ืนๆ 2.1.5 ตวั แบบเสริมแรง ทฤษฎตี ัวแบบเสรมิ แรงน้ไี ด้คํานยิ ามวา่ ความดึงดูดระหวา่ งบุคคลนัน้ มา จากประสบการณท์ ไ่ี ดร้ บั การเสรมิ แรงเม่อื มคี วามสัมพนั ธ์กบั บคุ คลอน่ื ทฤษฎีนี้เสนอวา่ คนเราจะชอบ บุคคลทมี่ คี วามสมั พันธอ์ ยู่กับสิ่งเร้าที่ทําใหเ้ ราพอใจ นักทฤษฎนี ต้ี ้ังขอ้ เสนอว่า ปฏกิ ิริยาซงึ่ เปน็ ความชอบ พอทเี่ ราจะตอบสนองตอ่ บคุ คลหรอื วัตถเุ กิดข้ึนไดโ้ ดยการวางเง่ือนไขด้วยความใกล้กนั ในแง่ของพืน้ ที่ หรือเวลา ตวั อยา่ งเชน่ เราอาจมีความสมั พนั ธท์ ี่ดีต่อใครคนหนง่ึ ได้เพยี ง เพราะเขามาปรากฏตัวอยู่ใน ขณะท่เี รามปี ระสบการณท์ ่ีนา่ ยินดีและพงึ พอใจ 3. สาเหตโุ ดยทั่วไปของการเกิดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล สําหรับสาเหตโุ ดยทว่ั ไปทีค่ วรจะนาํ มาพิจารณาประกอบด้วย 3.1 การมีจดุ มงุ่ หมายทีส่ อดคล้องกัน การมีความสมั พนั ธ์ทด่ี ีกับใครนน้ั อาจเกิดขน้ึ ได้เพราะการมองเหน็ ประโยชนซ์ ึ่ง อาจได้รับทง้ั ทางตรงและทางอ้อม ท่ีเปน็ เชน่ น้นั เพราะว่าทัง้ คมู่ จี ุดมุง่ หมายทเ่ี ขา้ กันได้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal.htm 9 กนั ยายน 2559)

480 3.2 ความต้องการใฝ่สมั พันธ์ หากรับรูว้ ่า การมีความสัมพนั ธก์ บั ใครสามารถจะตอบสนองความต้องการทจี่ ะ ไดร้ บั ความรกั ความเป็นมติ รและการไดผ้ กู พันกม็ แี นวโนม้ ทเี่ ราจะเขา้ ไปสร้างความสมั พนั ธก์ บั คนผู้น้ัน 3.3 ความพอใจในกจิ กรรมของผอู้ ืน่ กจิ กรรมทผ่ี อู้ ืน่ ทําอยู่เป็นสาเหตทุ ี่ทาํ ให้มผี เู้ ข้ามาสร้างความสมั พนั ธ์ด้วย เนื่องจากการมคี วามสมั พนั ธ์นัน้ เปน็ โอกาสให้ไดเ้ ขา้ ไปทํากจิ กรรมทีต่ นพอใจ 3.4 การสง่ เสรมิ สถานภาพสว่ นตัว ในบางกรณแี มต้ ัวบุคคลทตี่ ัง้ ใจจะมคี วามสมั พันธ์ดว้ ยนนั้ ไมน่ า่ สนใจและไม่ดงึ ดูด ใจ แตห่ ากบุคคลนัน้ มสี ถานภาพทางสงั คมหรือเศรษฐกจิ อยู่ในระดบั สงู กอ็ าจเปน็ ปัจจยั ดงึ ดดู ให้เขา้ ไป มคี วามสัมพันธด์ ้วย เพราะจะไดร้ บั เกยี รติและการยกยอ่ งว่าเป็นพวกเดยี วกนั กบั บคุ คลผ้นู ั้น 3.5 การลดความวิตกกงั วล สาเหตหุ นง่ึ ที่คนเราสรา้ งความสัมพนั ธก์ ับบุคคลอ่ืนก็เพอ่ื ลดความวิตกกังวลอัน เกิดจากความรสู้ ึกไมป่ ลอดภัยเม่ือต้องอยู่โดดเดยี่ ว การมีความสัมพนั ธล์ กั ษณะน้ีจะเกิดข้ึนได้ง่ายเม่อื คนเรารสู้ ึกวา่ ถูกขหู่ รอื ถกู ทาํ ให้กงั วล การเขา้ รว่ มกับคนอ่ืนจะทาํ ให้ความรูส้ กึ ดังกลา่ วลดลงเพราะคน อนื่ ๆกก็ งั วลเหมอื นกันหรอื เป็นไปได้วา่ เมือ่ มาอยรู่ วมกันกส็ ามารถจะหาทางจดั การกับความกงั วลนั้น หากสถานการณน์ น้ั ทําให้กงั วลรว่ มกับอบั อาย คนเรามีแนวโน้มจะอยู่คนเดียวมากกว่าอยู่รวมกบั ผอู้ น่ื 3.6 การใช้ความสัมพนั ธก์ ับคนอ่นื เป็นเครื่องมอื สาํ หรบั การบรรลจุ ุดมงุ่ หมายส่วนตัว การสรา้ งความสมั พนั ธ์กบั บุคคลนนั้ เปน็ ไปได้อีกเชน่ กันท่คี นเราจะทําไป เพราะเปน็ ชอ่ งทางทีท่ ําให้ตนเอง ไดป้ ระโยชนแ์ ละบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ส่วนตนได้โดยทม่ี ไิ ด้พอใจในตวั บุคคลน้นั เลย 4. ขั้นตอนของการเกิดความสมั พันธ์ ความสมั พันธร์ ะหว่างมนษุ ย์เกิดขน้ึ อยา่ งมเี งอ่ื นไขและเงอื่ นไขทสี่ าํ คัญ คอื ท่าทแี ละ ความรสู้ ึกท่ีเราแสดงต่ออกี ฝ่ายหน่ึงท่าทีเหลา่ นี้ มผี ลอยา่ งย่งิ ต่อการงอกงามและการส้ินสดุ ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งกันและกนั ซง่ึ กระบวนการเกดิ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลน้นั เปน็ ไปตามขั้นตอน ดังนี้ 4.1 การเร่มิ ความสัมพนั ธ์ มีปัจจัยจํานวนมากทีม่ อี ทิ ธิพลตอ่ การเริม่ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทีไ่ ดร้ ับ ความสนใจกนั มาก ไดแ้ ก่ 4.1.1 การมีลกั ษณะทางกายทดี่ งึ ดดู ใจ 4.1.2 ความถขี่ องการไดพ้ บปะกัน 4.1.3 ความคลา้ ยคลึงกันในลกั ษณะตา่ งๆ

481 4.2 การสรา้ งความสัมพันธ์ โดยท่วั ไป การสร้างความสมั พันธ์ จะเกดิ ใน 2 ลักษณะ คอื 4.2.1 เกิดทีละนอ้ ยตามเวลาของการท่ีไดต้ ิดตอ่ กัน 4.2.2 เกิดเพราะมีเหตุการณว์ ิกฤตเกิดขน้ึ แต่เม่ือเกิดความสมั พันธ์ขน้ึ มาแล้ว ทัง้ สองฝ่ายจะเพม่ิ ปรมิ าณของความสัมพนั ธ์ขนึ้ เรอื่ ยๆ เชน่ อาจทาํ กิจกรรมต่างๆ ร่วมกนั ใช้เวลาอยู่ รว่ มกนั มากข้ึน มกี ารปอ้ งกันตนเองนอ้ ยลง บอกถึงความต้องการของตนเองมากขนึ้ และจะเรม่ิ รสู้ ึก สนทิ กนั สามารถสือ่ สารกนั ถงึ เรอ่ื งส่วนตวั ซงึ่ กา้ วไปไกลกว่าการคุยกันตามมารยาท 4.3 การกระชับความสมั พนั ธ์ ในขั้นนตี้ า่ งฝ่ายต่างพยายามหาวธิ รี ักษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งกนั โดยการรกั ษา ความน่าสนใจในการอยู่ร่วมกันเรยี นรู้นสิ ยั ของอกี ฝา่ ยหนึ่ง ในขณะเดยี วกนั กพ็ ฒั นานิสยั บางอย่างของ ตนเพอ่ื การตอบสนองและการปรับตวั ซงึ่ ท้งั สองฝา่ ยตา่ งต้องทําเชน่ นด้ี ้วยกัน ความสมั พนั ธจ์ ะเร่ิมงอก งามจนรับรู้ได้ ทั้งคู่จะข้ึนอยู่กับกันและกันมากข้ึน มีพันธะในการคบหากันในลักษณะของการทํา ประโยชน์ใหแ้ กก่ ันและกัน แนวคดิ ท้ังหมดทําใหม้ องเห็นว่า ความสัมพันธ์ระหว่างมนษุ ย์แปรเปล่ียน ไปได้เป็นระยะ หากเป็นไปตามขั้นตอนความสัมพันธ์จะก้าวคืบหน้าไปจนกระชับแน่น ในทางตรง ข้ามหากข้นั ตอนหมนุ ย้อนหลงั ความสมั พนั ธ์จะเสือ่ มคลายลงและอาจมาถงึ ขัน้ ตอนที่ 4 คอื การจบ ความสัมพนั ธ์ 4.4 การจบความสัมพันธ์ ข้อเท็จจรงิ อย่างหน่งึ ของความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคล คือ มกี ารเร่ิมตน้ และมี การส้ินสุดและการส้นิ สุดความสมั พันธม์ กั ตามมาดว้ ยความรสู้ ึกทางลบหรอื ความขดั แยง้ ในการจบ ความสัมพันธ์มขี ้ันตอนท่เี ขา้ มาเก่ียวข้องด้วย ดังน้ี (Duck, 1982) 4.4.4.1 ฝ่ายใดฝา่ ยหนึ่งร้สู กึ ว่า มปี ญั หาเกดิ ขึน้ ในความสมั พันธ์ 4.4.4.2 อีกฝ่ายหนง่ึ จะเรม่ิ ตน้ สอื่ ให้อีกฝา่ ยทราบถงึ ความร้สู ึกน้นั 4.4.4.3 ค่สู มั พันธเ์ ผชญิ หนา้ กบั ปัญหาอันอาจนาํ ไปสกู่ ารปรับ ความเข้าใจกนั หรือความขดั แยง้ 4.4.4.4 หากไม่สามารถปรับความเขา้ ใจกนั ได้จะมกี ารหันไปหาฝ่าย ทีส่ าม ซ่ึงตรงจดุ น้ีจะมกี ารเข้าข้างหรือแยกฝา่ ย 4.5 ท้ังสองฝ่ายรวู้ า่ ความสมั พนั ธส์ นิ้ สดุ ลงจึงอาจตัดสนิ ใจยตุ คิ วามสัมพนั ธ์หรือปรับ รปู แบบความสมั พันธใ์ หม่

482 5. คณุ คา่ ของสัมพันธภาพระหวา่ งบคุ คล บุคคลเรยี นรจู้ กั ตนเองได้จากการมคี วามสมั พนั ธก์ บั ผู้อื่นจากสมั พนั ธภาพนี้ บคุ คลจะ ได้รู้จุดเดน่ และจุดดอ้ ยของตนเอง ร้แู ละเขา้ ใจถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล รวมทัง้ เรยี นรคู้ วามเป็น จรงิ ของโลกโดยสมั พนั ธภาพอนั ดรี ะหว่างบคุ คลจะชว่ ยใหก้ ารเรยี นรูเ้ ปน็ ไปโดยไม่บิดเบอื น มีการยอมรับ และเขา้ ใจสิง่ ที่เกดิ ข้นึ อยา่ งที่เปน็ จริง ดังนั้น สมั พันธภาพอนั ดีระหวา่ งบุคคล จงึ เป็นกญุ แจสําคญั ทจ่ี ะ นําบคุ คลไปส่กู ารพัฒนาเอกลักษณข์ องตนเอง การมสี ัมพนั ธภาพความรู้สึกว่าชีวติ มคี วามหมายและมี คุณคา่ และการมีสขุ ภาพจติ ท่ดี แี ละสามารถพัฒนาตนใหไ้ ปถึงศักยภาพสงู สุดของตนได้ แต่บคุ คลทไี่ ม่ สามารถสรา้ งสมั พนั ธภาพท่ดี ีกับผู้อนื่ ไดจ้ ะร้สู กึ อา้ งว้าง โดดเดี่ยว เกิดความรสู้ ึกวา่ ชวี ิตไรค้ วามหมาย และนาํ ไปส่คู วามรูส้ กึ ซมึ เศร้าและทอ้ แทใ้ นชวี ิต และการมพี ฤตกิ รรมท่ีเปน็ ปัญหาได้ เช่น พฤตกิ รรม แยกตวั จากสังคม การตดิ ยาเสพตดิ เปน็ ตน้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal.htm 9 กันยายน 2559) การสร้างและคงไว้ซ่งึ สัมพันธภาพท่ีดีกบั ผู้อืน่ จะเกิดบรรลุผลได้ ตอ้ งอาศยั คุณลักษณะ ทสี่ าํ คญั ของบุคคลในการสรา้ งและยอมรบั และสง่ เสรมิ ซึง่ กันและกัน โดยสามารถเรยี นร้แู ละอธบิ าย ดงั น้ี 6. คุณลักษณะสาํ คญั ของบุคคลในการสมั พันธภาพระหวา่ งบคุ คล ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งคน 2 คน จะเป็นสมั พนั ธภาพท่ีดตี ่อกนั ต้องอาศัยคณุ ลกั ษณะ ภายในหรอื ทัศนคติของบุคคลทสี่ าํ คญั บางประการ ไดแ้ ก่ (ดร.เอมอร กฤษณะรังสรรค์ อ้างถึง http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Skill.htm 9 กันยายน 2559) 6.1 การยอมรบั และใหเ้ กยี รติ หมายถงึ การยอมรบั ลกั ษณะส่วนตัวหรือลักษณะเฉพาะ ของบคุ คลตามทเี่ ขาเป็น ใหเ้ กยี รติและเคารพในคุณค่าของบคุ คล มีความเป็นมิตรและความอบอนุ่ ใจ แก่ผอู้ นื่ 6.2 การเข้าใจสาระและความรูส้ ึก หมายถงึ การเข้าใจในเน้ือหาสาระของสงิ่ ท่ีสอ่ื สาร ระหว่างกนั และเขา้ ใจในความรสู้ กึ ของผูอ้ น่ื เสมอื นเราเปน็ ตวั เขา ซึ่งในสัมพันธภาพท่ขี าดความเขา้ ใจ ความรูส้ กึ ซ่งึ กนั และกัน สัมพนั ธภาพนัน้ ไม่สามารถดําเนินไปถึงข้นั ที่ลกึ ซึง้ ได้ 6.3 การจริงใจ หมายถงึ การไม่เสแสร้งในการแสดงออกถงึ ความคดิ ความรู้สกึ และ ทัศนคตขิ องตนเอง คณุ ลกั ษณะของบคุ คล 3 ประการน้ี จะส่งผลตอ่ สมั พันธภาพระหวา่ งบคุ คลได้มากนอ้ ย เพียงใดนั้น ไม่ใช่เพียงแต่มีคุณลักษณะเช่นนี้อยู่ภายในเท่านั้น สิ่งสาํ คัญอีกประการหนึ่ง คือ

483 ความสามารถในการส่อื หรือแสดงออกถึงคุณลักษณะเหลา่ นี้ออกมาให้ผู้อน่ื รบั รดู้ ้วย ซงึ่ ความสามารถ ในการแสดงออกหรือการสอ่ื สารใหผ้ อู้ น่ื ทราบถงึ คณุ ลกั ษณะสาํ คัญเหล่านี้ เรยี กว่า ทักษะการสร้าง สมั พันธภาพท่ดี รี ะหวา่ งบคุ คล อันไดแ้ ก่ การเปดิ เผยตนเอง การไวว้ างใจซ่ึงกนั และกนั และการส่ือสาร ความเข้าใจ กลา่ วในลําดับต่อไป ภาพท่ี 141 แสดงภาพทักษะการสรา้ งสัมพันธภาพทด่ี รี ะหวา่ งบคุ คล (ทม่ี าhttps://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) 7. ทกั ษะการสร้างสัมพนั ธภาพท่ีดรี ะหวา่ งบคุ คล สมั พนั ธภาพระหวา่ งบุคคลเกดิ ขึน้ ได้หลายรปู แบบ บางคเู่ กิดข้นึ เปน็ แค่เพยี งความรจู้ ัก บางคู่เป็นความสนิทสนมกลายเป็นเพ่ือนรัก คู่รักหรือคู่สมรส บางคู่สัมพันธภาพมีอันต้องสิ้นสุดลง ด้วยความเบ่อื หนา่ ยหรือทกุ ข์ใจ ซ่งึ สัมพันธภาพระหว่างบคุ คลจะเร่ิมตน้ และดาํ เนนิ ไปอย่างลกึ ซ้งึ หรือ มีอนั ตอ้ งสิน้ สุดลงนัน้ ขน้ึ กบั ทักษะการสรา้ งสัมพันธภาพระหว่างกนั (ดร.เอมอร กฤษณะรงั สรรค์ อ้างถึง http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Skill.htm 9 กนั ยายน 2559) การเริม่ ตน้ ของสมั พนั ธภาพท่ีดีต่อกนั จนสมั พนั ธภาพนน้ั ได้ พัฒนาตอ่ ไปเป็นความแน่น แฟ้นลึกซ้งึ และรกั ษาใหส้ มั พนั ธภาพอันดีน้ยี ั่งยนื ตลอดไป ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งง่าย หากแตจ่ ะต้องอาศัยทกั ษะท่ี สําคัญหลายประการด้วยกัน ซง่ึ ทกั ษะแหง่ การสรา้ งสัมพันธภาพทดี่ ตี ่อกนั นี้ มิใช่สิง่ ทีจ่ ะเกิดขน้ึ ไดเ้ อง แตจ่ ะตอ้ งอาศัยการฝึกฝนหรอื ฝึกหัด ดังนน้ั จงึ กลา่ วได้ วา่ ทักษะการสรา้ งสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคล เปน็ สง่ิ ทจี่ ําเป็นสําหรับมนษุ ย์

484 มิตรภาพจะกอ่ เกิดข้ึนได้ ต้องอาศยั เวลา ความพยายามและทักษะการสร้างสัมพันธภาพ ทดี่ ตี อ่ กัน การสรา้ งสัมพันธภาพทด่ี กี บั ผู้อื่น อาจเปน็ ไปไดใ้ น 3 รูปแบบ คอื รปู แบบท่ี 1 เปน็ รูปแบบท่งี ่ายทสี่ ุด คอื การรอคอยใหผ้ ้อู น่ื กา้ วเข้ามาผกู มิตร ด้วย รปู แบบที่ 2 เป็นรปู แบบท่ยี ากขนึ้ คอื การขอให้ใครสกั คนเป็นเพอ่ื นดว้ ย ซงึ่ เรามักจะรู้สกึ เส่ยี งตอ่ การถกู ปฏิเสธ รปู แบบที่ 3 เป็นรปู แบบในการสร้างสัมพนั ธภาพท่ีดี ดว้ ยการใหม้ ติ รภาพแก่ ผู้อื่น ซ่งึ ความสัมพันธ์ของบคุ คลในระยะยาว การสรา้ งสัมพนั ธภาพรปู แบบนีใ้ ห้ผลทแี่ นน่ อนทสี่ ุด ดงั ที่ เดวิส ดับเบล้ิ ยู จอหน์ สนั (David W. Johnson, 1997) กลา่ วว่า ถ้าทา่ นต้องการเพ่อื น จงเป็นเพ่ือนของผ้อู น่ื ถา้ ท่านตอ้ งการความห่วงใย จงใหค้ วามห่วงใยแกผ่ อู้ น่ื ถ้าทา่ นต้องการคาํ ปลอบโยน จงให้คาํ ปลอบโยนแกผ่ ูอ้ ่นื เมอื่ โอกาสแหง่ การสรา้ งมิตรภาพมาถงึ สงิ่ ที่จะตอ้ งมอี กี ประการหนง่ึ คอื ทกั ษะท่ีใช้ใน การสร้างและคงไว้ซ่ึงมิตรภาพที่ย่ังยืนต่อไป ทักษะในสร้างสัมพันธภาพท่ีจะกล่าวในท่ีนี้ ได้แก่ การเปิดเผยตนเอง การไวว้ างใจซ่ึงกันและการสอ่ื สารท่ีเข้าใจตรงกนั โดยมรี ายละเอยี ดดังต่อไปนี้ ภาพท่ี 142 แสดงภาพการเปดิ เผย (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 16 กนั ยายน 2559)

485 7.1 การเปิดเผยตนเอง การเปิดเผยตนเอง (Self Disclosure) หมายถึง การเปิดเผยให้ผู้อ่ืนรู้ถึง ความร้สู กึ หรือปฏิกรยิ าท่ีตนเองมีตอ่ เหตุการณท์ ี่เกิดขนึ้ ในปัจจบุ นั การเปิดเผยตนเองไมไ่ ด้ หมายถึง การบอกถึงประวตั ิหรือเรือ่ งราวในอดีตของ ตนเอง แต่เร่ืองราวในอดีตก็อาจจะช่วยให้บุคคลอ่ืนเข้าใจสาเหตุหรือท่ีมาของความรู้สึกที่เรามีต่อ เหตุการณน์ น้ั ๆ 7.1.1 ประโยชนข์ องการเปิดเผยตนเอง การเปิดเผยตนเองมีผลดีต่อการสรา้ งและคงไวซ้ ่ึงสัมพนั ธภาพระหว่าง บคุ คลหลายประการ คอื 7.1.1.1 ทําให้ผอู้ ่ืนรู้จกั เรามากขึ้น เพิ่มโอกาสท่ีผอู้ ่ืนจะชอบและเกิด ความคุ้นเคยสนิทสนมมากขน้ึ 7.1.1.2 ทําใหส้ ามารถทํากิจกรรมทเ่ี ปน็ เปา้ หมายรว่ มกัน สนใจร่วมกนั 7.1.1.3 เปน็ การตรวจสอบความถูกตอ้ งของการรับรขู้ องตนเองกับผู้อนื่ 7.1.1.4 ชว่ ยในการจดั การกบั ความเครียดและความทกุ ข์ 7.1.1.5 การเล่าหรือบอกความไม่สบายใจของตนเองกบั ผ้อู ่ืน จะช่วยให้ เจ้าตัวมองเหน็ ปัญหาของตนเองชัดข้ึนและนอกจากนีค้ วามหว่ งใย ปลอบโยนช่วยหาทางออกของเพ่ือน จะเป็นกาํ ลงั ใจ ความอบอ่นุ ใจ ทําใหส้ ัมพนั ธภาพของบคุ คลทั้งสองเพม่ิ ความสนมิ สนมและลกึ ซ้งึ ย่งิ ข้นึ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal.htm 9 กนั ยายน 2559) 7.1.2 ความเหมาะสมของการเปิดเผยตนเอง การเปิดเผยตนเองมากเกนิ ไปหรอื นอ้ ยเกินไป มีผลทาํ ใหส้ ญู เสยี สัมพันธภาพ ไปไดเ้ ชน่ กัน การเปดิ เผยตนเองท่มี ผี ลทาํ ให้เกดิ สมั พันธภาพท่ดี ีและย่ังยนื น้ัน ต้องมคี วามเหมาะสม ของการเปิดเผย ในโอกาสดังนี้ 7.1.2.1 เมอื่ มีการเปดิ เผยตนเองของซง่ึ กนั และกัน เม่ือบุคคลหนง่ึ เปิดเผย ตนเอง กม็ ีความคาหวงั ว่า อีกฝ่ายหนง่ึ จะเปดิ เผยตนเองด้วย แตถ่ า้ การเปิดเผยตนเองเกิดขน้ึ ฝ่ายเดียว ก็ควรจาํ กัดการเปิดเผยตนเองไว้ในขอบเขตหนงึ่ เท่านัน้ 7.1.2.2 การเปิดเผยตนเองควรเป็นเก่ียวข้องกบั เรื่องราวระหว่างบุคคล ที่เป็นปัจจุบัน ผลของการเปิดเผยตนเองขึ้นกับบุคคลอีกฝ่ายหน่ึงด้วย การเปิดเผยความรู้สึกของ ตนเองของฝ่ายหน่งึ อาจกระทบกระเทอื นอกี ฝ่ายหนง่ึ ได้ ดงั นนั้ จึงควรพิจารณาทัศนคตใิ นมมุ มองของ อีกฝา่ ยหนึง่ ทม่ี ีต่อการเปดิ เผยตนเองด้วย 7.1.2.3 การเปดิ เผยตนเองควรเร่ิมตน้ จากระดับท่ัวๆไปแล้วค่อยๆไปสู่ การเปดิ เผยตนเองในระดบั ทล่ี กึ หรือเป็นสว่ นตัวมากขึ้นเรอื่ ยๆ เชน่ อาจจะเริ่มตน้ จากการพูดถึงงาน

486 อดเิ รก กีฬาทชี่ อบ เหตุการณ์ปจั จุบนั ท่สี นใจ แล้วเมอ่ื มติ รภาพดําเนินไป มีความคุน้ เคยมากขึ้นแลว้ การเปิดเผยตนเองจะค่อยๆไปสูเ่ รอ่ื งใกลต้ วั และเกี่ยวกบั ความรสู้ กึ ทีล่ กึ ซ้งึ มากขน้ึ เช่น การเปิดเผย ตนเองเกี่ยวกบั ความกลวั ความรกั ซ่งึ การเปิดเผยในส่ิงเหล่านี้ เมอ่ื สมั พนั ธภาพมีความใกล้ชดิ กนั แล้ว ก็จะยง่ิ เพมิ่ ความลึกซ้ึงในสมั พันธภาพยิ่งขึ้น ภาพที่ 143 แสดงภาพความไวว้ างใจ (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) 7.2 ความไวว้ างใจและความนา่ ไวว้ างใจ ความไวว้ างใจ (Trust) และความนา่ ไว้วางใจ (Trustworthy) เปน็ ส่ิงจําเปน็ สาํ หรับการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลให้งอกงาม วิกฤตการณ์สําคัญที่สุดที่เกิดขึ้นใน สัมพันธภาพ คือ ความไม่สามารถในการไว้วางใจซ่ึงกันและกัน ระดับความไว้วางใจเป็นสิ่งที่ เปลย่ี นแปลงได้ตลอดเวลา ข้นึ อยู่กบั การกระทาํ ของบคุ คลทั้งสองฝา่ ย และเป็นสงิ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ ได้ยากแต่ ทําลายไดง้ ่ายในสมั พันธภาพระหว่างบคุ คล ความไวว้ างใจซง่ึ กนั และกันมรี ะดบั ทเ่ี หมาะสมตามโอกาส และสถานการณ์ การไม่ไว้วางใจเลยและไว้วางใจในทุกโอกาส เป็นการไว้วางใจที่ไม่เหมาะสม ความไว้วางใจเกิดขึ้น เมื่อบุคคลเต็มใจท่ีจะเส่ียงต่อผลท่ีจะเกิดขึ้นจากการเปิดเผยตนเองเกี่ยวกับ ความคิด ความรสู้ ึก ทัศนคตแิ ละปฏิกริ ิยาทีเ่ ขามตี อ่ เหตุการณต์ า่ งๆ ความนา่ ไว้วางใจ จะเกดิ ขึน้ ต่อเมื่อบุคคลทําให้ผู้อ่ืนมั่นใจว่า เขาได้รับประโยชน์จากการเสี่ยงเปิดเผยตนเอง บุคคลท่ีจะได้รับ ความไว้วางใจ คอื บคุ คลทแ่ี สดงออกถึงการยอมรบั การชว่ ยเหลือสนับสนุนและให้ความรว่ มมือกบั ผู้อื่น การแสดงออกถงึ การยอมรับจะชว่ ยใหอ้ กี ผ้อู ่ืน ลดความรสู้ กึ กลวั และความกงั วลตอ่ ความออ่ นแอ ของเขาเองและทาํ ใหก้ ล้าเปดิ เผยตนเองมากขึน้

487 7.2.1 การสร้างความไวว้ างใจให้เกดิ ข้นึ ในสมั พันธภาพระหว่างบุคคล สัมพันธภาพความไว้วางใจเป็นสิง่ ทก่ี ่อเกิดขน้ึ จากลําดบั ขน้ั ตอนของการกระทาํ ของทั้งสองฝ่าย ดงั นี้ เม่ือบุคคลหน่ึงเสี่ยงที่จะเปิดเผยความคิด ความรู้สึก และปฏิกิริยาต่ออีกบุคคลหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่ง ตอบสนองด้วยการยอมรับการชว่ ยเหลือสนบั สนุนและใหค้ วามรว่ มมือตอ่ ผู้ท่เี ปดิ เผยและมีการเปิดเผย ตนเองตอบ ซึ่งกันและกัน 7.2.2 การทําลายความไวว้ างใจ ความไม่ไว้วางใจเกิดขึ้นได้ง่ายบุคคลรู้สึก ได้ว่า อีกฝ่ายหนึ่งหลอกลวง แม้แตเ่ พียงครงั้ เดยี ว ความไว้วางใจต่อกันก็จะเปลี่ยนเป็นความไม่ไวว้ างใจ ซ่ึงความรู้สกึ ไม่ไวว้ างใจน้ี เปน็ สิ่งท่เี ปล่ยี นแปลงได้ยาก เพราะบคุ คลจะเกิดการรับรู้ว่า การหลอกลวงอาจเกดิ ข้ึนอกี ในอนาคต พฤตกิ รรมท่ีทาํ ให้ความรู้สึกไวว้ างใจลดลง ได้แก่ การปฏเิ สธ เยาะเยย้ เห็นเป็นเร่อื งนา่ ขําหรือตลก และไมใ่ ห้เกยี รติ เม่ืออีกฝ่ายหนึง่ เปิดเผยตนเอง การไมเ่ ปิดเผยตนเองตอบ เมอ่ื ฝา่ ยหนง่ึ เปดิ เผยตนเอง การท่ีฝ่ายหน่ึงเปิดเผยตนเองแต่อีกฝ่ายหน่ึงปิดตนเอง จะทําให้ฝ่ายท่ีเปิดเผยตนเองเกิดความไม่ ไวว้ างใจและรสู้ กึ วา่ ตนเองเปิดเผยมากเกนิ ไปและไม่ม่ันใจท่จี ะเปิดเผยตอ่ ไป 7.2.3 การปฏิเสธทีจ่ ะเปิดเผยเกย่ี วกบั ความคดิ ความรู้สกึ ของตนเอง เมอื่ อกี ฝา่ ยหน่ึงแสดงการยอมรับเต็มใจที่จะช่วยเหลือและรว่ มมอื การตอบสนองการยอมรบั ความเตม็ ใจทีจ่ ะช่วยเหลือและร่วมมือของอีกฝ่ายหน่ึงด้วยการปกปิดและ ระมัดระวังตัวท่ีจะเปิดเผย จะทาํ ให้อีกฝา่ ยหน่ึงรสู้ กึ วา่ ตนเองไมไ่ ดร้ บั ความเช่อื ถอื และถกู ปฏิเสธ 7.2.4 ความเหมาะสมของความไว้วางใจผ้อู ื่น คาํ ถามทมี่ ักเกดิ ขึน้ ในสัมพนั ธภาพระหว่างบุคคลเสมอ คอื เราสามารถ ไวว้ างใจทุกคนและในทกุ สถานการณน์ นั้ ๆ ความไวา้ งใจในผอู้ ่นื เปน็ สง่ิ ที่ตอ้ งพิจารณาตามความเหมาะสม ตามบคุ คลและสถานการณ์ การไวว้ างใจที่ไมเ่ หมาะสมอาจจะทาํ ให้เกิดผลเสียขึน้ ได้ แตก่ ารไม่ไว้วางใจ ใครเลยก็เปน็ ความไมเ่ หมาะสมเช่นกนั การพิจารณาความเหมาะสมของความไว้วางใจ สามารถพจิ ารณา ไดจ้ ากการเปรียบเทยี บความมนั่ ใจในการเสยี่ งระหว่างการได้รบั ประโยชนห์ รอื ผลดีจากการไวว้ างใจ และผลเสยี ที่อาจเกดิ ขนึ้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Interpersonal.htm 9 กันยายน 2559) ความสัมพันธ์ของเราจะเป็นประเภทใด นักจิตวิทยาล้วนเตือนว่าเป็นเพียงความสัมพันธ์ ชว่ั คราวเทา่ น้ัน เมอ่ื เวลาผา่ นไปความสมั พนั ธ์จะแปรเปลีย่ นระดับหรืออาจสิ้นสุดลงซง่ึ หมายความว่า ควรจะเรยี นรู้เรอื่ งของมนษุ ยสมั พันธ์ โดยผู้เขียนอธบิ ายไว้ดงั ตอ่ ไปนี้

488 ภาพที่ 144 แสดงภาพมนษุ ยสมั พนั ธ์ (ทีม่ า https://www.google.co.th/search 16 กนั ยายน 2559) 8. ความหมายของมนษุ ยสมั พนั ธ์ คาํ วา่ มนษุ ย์สมั พนั ธ์ (Human Relation) มาจาก 2 คาํ คือ มนุษย์ กบั สมั พันธ์ มี ความหมายตามพจนานุกรม พ.ศ. 2530 (ทวีศกั ดิ์ ญาณประทปี ,2534: 401,402,529) ดงั นี้ มนุษย์ หมายถงึ สัตว์ทรี่ ู้จักใชเ้ หตผุ ล สตั วท์ ม่ี จี ิตใจสงู สัมพนั ธ์ หมายถงึ ผกู พนั เกี่ยวขอ้ ง มนุษย์สัมพันธ์ หมายถงึ ความสมั พนั ธ์ในทางสงั คมระหวา่ งมนุษย์ ซึง่ ทาํ ให้เกดิ ความเข้าใจอันดตี ่อกนั 8.1 ความหมายของมนษุ ย์ ไดม้ ีผู้ให้ความหมายของคําว่า มนษุ ย์ ไดแ้ ก่ (สุจติ รา พรมนุชาธปิ ,2549: 1-2) อํานวย แสงสวา่ ง (2536: 20-21) ไดก้ ลา่ วว่า ความหมายของคําวา่ มนุษย์ สามารถจาํ แนกไดเ้ ปน็ 3 แนวทาง คือ แนวทางที่ 1 มนุษย์เป็นสตั ว์สงั คม มนษุ ย์มีรปู ร่างลกั ษณะร่างกายเหมอื นสัตว์อ่ืนทม่ี อี ยใู่ นโลก เปน็ ประเภท สตั ว์ทีม่ ีลกู และเล้ยี งลกู ด้วยนํา้ นม มีธรรมชาตกิ ารดํารงชวี ิตท่รี วมตวั กันเปน็ กลุ่ม เป็นพวกเดียวกัน มี การตดิ ต่อสมั พนั ธก์ นั อาศยั พึ่งพากนั และช่วยเหลอื เกื้อกูลกนั ได้ตลอดเวลา มีความรักตวั เอง รกั กล่มุ รกั คณะมคี วามตอ้ งการการดาํ รงชีวิตให้อยรู่ อดได้ ต้องการความปลอดภัย จึงมีการตอ่ สู้กบั ศตั รเู พือ่ ปอ้ งกันรักษาชีวติ ให้ปลอดภัยและสามารถดาํ เนินชวี ิตอยู่ไดอ้ ย่างมีความสุข และปราชญ์ อรสิ โตเติล

489 (Aristotle) ใหน้ ิยามคําว่า มนษุ ย์ว่าเป็นสตั วส์ งั คมดว้ ยเหตุผลทวี่ า่ มนุษยด์ ํารงอยไู่ ด้ด้วยการอยรู่ ่วมกัน เปน็ กล่มุ รจู้ ักอาศยั กัน มีการช่วยเหลอื กันต้ังแตเ่ กดิ จนสนิ้ ชวี ิต แนวทางท่ี 2 มนษุ ย์เปน็ สัตวโ์ ลก มนษุ ยเ์ ป็นสัตวท์ ี่มชี วี ิต มคี วามต้องการข้ันพืน้ ฐาน เพ่อื การดํารงให้อยู่ รอดได้ จงึ มีความจําเป็นตอ้ งการสิง่ ยังชีพ ได้แก่ ปจั จัย 4 คือ อาหาร ท่ีอยู่อาศัย เสื่อผ้าเครอื่ งน่งุ ห่ม และยารักษาโรค เปน็ ต้น เพือ่ ใหไ้ ด้มาซึ่งปจั จัย 4 ดังกล่าว มนษุ ย์จึงต้องมกี ารตอ่ สเู้ พอ่ื การดาํ รงชีวิต เร่ิมตัง้ แตว่ ยั เด็ก วัยรุน่ วัยผใู้ หญ่ และวยั ชรา การตอ่ สเู้ รม่ิ จากการเข้าศึกษาเล่าเรยี นจนกระท่ังสําเร็จ การศกึ ษา มงี านทาํ หรอื ประกอบอาชีพเพ่อื หารายไดส้ าํ หรบั เลีย้ งตนเองและครอบครวั แนวทางที่ 3 มนุษยเ์ ปน็ สตั วป์ ระเสริฐ มนุษยเ์ ปน็ สตั วป์ ระเสรฐิ ทีม่ คี ณุ ลักษณะพเิ ศษ มีศักยภาพ และมีความรบั ผิดชอบสูงกวา่ สตั วอ์ น่ื ๆ ดงั นี้ 1. สติปัญญาสูง ฉลาด สามารถคดิ สร้างสรรค์วิทยาการ เทคโนโลยี พัฒนาและสรา้ งความเจรญิ ให้แก่มนุษยท์ ัว่ โลกได้ 2. มวี ฒั นธรรม เปน็ ผู้คดิ สร้าง ถา่ ยทอด ตดิ ตอ่ สื่อสมั พนั ธ์ ทําความ เข้าใจ ธํารงไว้ซ่ึงวฒั นธรรมอันดีงาม ซึ่งเป็นทง้ั แบบแผนและแนวทางในการดาํ เนินชวี ิตของมนษุ ย์ 3. จติ ใจสงู เปน็ ผทู้ ่รี จู้ กั รบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว สังคม สว่ นรวม รจู้ กั ละอายและเกรงกลวั ต่อบาป ยึดมน่ั ในศีลธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มนษุ ยจ์ ึงเปน็ ผู้ประกอบแต่ กรรมดี ละเว้นกรรมชว่ั เป็นผสู้ ร้างสรรค์สงั คมใหเ้ กดิ ความสุข 8.2 ความหมายของมนษุ ยสมั พันธ์ สมพร สุทัศนีย์ (2551 : 3-5) ได้มีผู้ให้ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ไว้หลาย ลักษณะ สรุปไว้เป็น 3 ลักษณะ คือ ความหมายท่ัวๆไป ความหมายในลักษณะท่ีเป็นวิชา และ ความหมายท่ีใชใ้ นองคก์ าร 8.2.1 ความหมายทว่ั ๆ ไป มผี ้ใู หค้ วามหมายว่า มนษุ ยสัมพันธ์ ดงั น้ี ดิวบริน (Dubrin, 1981: 4) ให้ความหมายวา่ มนษุ ยสมั พันธ์ หมายถึง ศลิ ปะและการปฏบิ ตั ใิ นการนาํ ความรู้เกยี่ วกบั พฤตกิ รรมมนุษยม์ าใชใ้ นการตดิ ตอ่ เก่ียวขอ้ งเพือ่ ให้ บรรลจุ ุดประสงค์ส่วนตวั และส่วนรวม นพิ นธ์ คันธเสวี (2525 : 4) ใหค้ วามหมายว่า มนษุ ยสมั พันธ์ หมายถงึ สภาพความสมั พันธ์ของมนุษยข์ องมนษุ ย์ท่เี ออื้ อาํ นวยต่อการดาํ รงชีวติ ร่วมกนั อยา่ งราบรน่ื หรอื ทาํ งาน ร่วมกันอย่างมีประสทิ ธิภาพและทกุ ฝา่ ยต่างกม็ ีความพงึ พอใจทุกด้าน

490 วิจิตร อาวะกุล (2527 : 25) ใหค้ วามหมายวา่ มนุษยสมั พันธ์ หมายถึง การติดต่อเกย่ี วข้องกันเพือ่ เป็นสะพานทอดไปส่คู วามเปน็ มิตร รวมท้ังการพฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ ท่ีรักใคร่ ชอบพอและได้รบั ความรว่ มมอื สนบั สนนุ จากผู้อน่ื สรุปจากความหมายทั่วไปว่า มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง การติดต่อ เก่ยี วขอ้ งกนั ระหว่างบคุ คลเพื่อให้เกดิ ความรักใครช่ อบพอ ความร่วมมือร่วมใจในการทํากิจกรรมให้ บรรลุเป้าหมายและการดําเนินชวี ติ ใหม้ คี วามราบรื่น 8.2.2 ความหมายในลักษณะวชิ า มีความหมายดังนี้ ธรรมรส โชติกุยชร (2524: 6) มนษุ ยสมั พันธ์ หมายถึง วชิ าท่ีว่าด้วย ศาสตรแ์ ละศลิ ปใ์ นการสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลเพือ่ ใหไ้ ด้มาซ่ึงความรักใครน่ บั ถอื จงรักภกั ดแี ละความร่วมมือ ตลอดจนการอยรู่ ว่ มกบั ผูอ้ ืน่ มคี วามสุข โยธนิ ศันสนยทุ ธ์ (2525: 2) เนอ่ื งจากวิชามนษุ ยสมั พันธ์เก่ียวข้องวิชา ต่างๆ หลายวชิ า ซึ่งนบั ได้วา่ เป็นสหวทิ ยาการ (Interdisciplinary) ไดแ้ ก่ วิชารฐั ศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ เช่น มานุษยวิทยา สังคมวิทยา และจิตวิทยาเป็นต้น ดังน้ัน การใหค้ วามหมายของมนษุ ยสัมพนั ธ์เนน้ ความหมายในแงพ่ ฤติกรรมศาสตร์ ความหมายในแงส่ ังคมวิทยา นักสังคมวิทยา ใหค้ วามหมายวา่ มนุษยสมั พนั ธ์ หมายถึง การมีพฤติกรรมโต้ตอบกันระหว่างมนษุ ยใ์ นสังคมเดยี วกนั ความสมั พนั ธข์ อง มนุษยใ์ นสังคมมีหลายลกั ษณะทง้ั การรว่ มมอื แข่งขนั ต่อสู้ ความสมั พันธ์ในลกั ษณะดังกล่าวมีจรยิ ธรรม เปน็ ตวั ควบคุม ฉะนนั้ พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบัตติ อ่ กนั เปน็ การแสดงออกถึงการเคารพศกั ด์ิศรีของความเปน็ มนษุ ย์ พรรณทิพย์ วรรณบุศญ์ (2528: 1-2) ความหมายในแง่จติ วิทยา มนษุ ยสมั พนั ธ์ หมายถึง การแสดงพฤติกรรมตอ่ กนั ในระบบสังคม เน่ืองจากจติ วิทยาเปน็ ศาสตร์ท่ี ศึกษาพฤตกิ รรมของมนุษย์ กล่าวโดยสรุป มนุษยสัมพันธ์ในลักษณะวิชา หมายถึง วิชาที่ว่าด้วย ศาสตรแ์ ละศลิ ปใ์ นการแสดงพฤตกิ รรมโต้ตอบต่อกนั ในสงั คมเพ่อื ใหอ้ ย่รู ว่ มกันอย่างมคี วามสขุ 8.2.3 ความหมายทใี่ ช้ในองค์การ มผี ใู้ หค้ วามหมายไวด้ ังน้ี เดวิส (Davis, 1957:9) ให้ความหมายว่า มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง กระบวนการจูงใจคนให้ทาํ งานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลโดยมีความพอใจเป็น พ้ืนฐาน ฟลปิ โป (Flippo, 1966: 15) ให้ความหมายวา่ มนุษยสมั พนั ธ์ หมายถงึ การรวมคนใหท้ าํ งานรว่ มกันในลกั ษณะทม่ี งุ่ ให้เกิดความรว่ มมือ สมานฉนั ทเ์ พอ่ื ให้งานบรรลุเป้าหมาย

491 หรอื เปน็ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลในองคก์ ารทม่ี ุ่งหมายใหเ้ กดิ ความร่วมมอื ในการทํางานอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพและเกดิ ความเข้าใจอันดตี อ่ กนั เกลเลอรแ์ มน (Gellerman, 1966 : 12) กลา่ วว่า มนษุ ยสมั พนั ธ์ หมายถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลในองค์การใดองคก์ ารหนง่ึ ถ้าเป็นความสัมพนั ธท์ ี่ดีจะกอ่ ใหเ้ กิด ความรักใคร่และความเข้าใจอันดีตอ่ กนั ซึ่งสง่ ผลใหเ้ กิดสมั ฤทธิผลในการทํางาน แต่ถ้ามนุษยสัมพันธ์ ไมด่ กี ท็ าํ ให้เกดิ ความขดั แยง้ ไมเ่ ขา้ ใจกนั และส่งผลให้เกดิ ความลม้ เหลวในการทํางานได้ กล่าวโดยสรุป มนุษยสัมพันธ์ที่ใช้ในองคก์ าร หมายถงึ กระบวนการจูงใจเพอ่ื ใหบ้ คุ คล เกิดความร่วมมือร่วมใจในการทาํ งานท่ีนําไปสู่ความสาํ เร็จขององค์การและความเข้าใจอันดีต่อกัน ระหว่างบคุ คลในองคก์ าร สรปุ มนษุ ยสมั พนั ธ์ หมายถึง เปน็ ทงั้ ศาสตร์และศลิ ปใ์ นการแสดงพฤตกิ รรมมนุษยใ์ น การติดต่อเก่ียวขอ้ งกันระหว่างบุคคลเพ่อื ให้เกิดความรักใครช่ อบพอ ความร่วมมอื ร่วมใจในการทํางาน ทนี่ าํ ไปสู่ความสาํ เร็จและอย่รู ว่ มกนั อยา่ งมีความสุข ภาพท่ี 145 แสดงภาพลักษณะของมนษุ ยสัมพนั ธ์ (ทีม่ า https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) 9. ลกั ษณะของมนษุ ยสมั พันธ์ มนุษยสมั พนั ธ์ เป็นเรือ่ งราวทีเ่ ก่ยี วข้องกับพฤติกรรมของคนในสังคมท่ีเปน็ อยูร่ ่วมกนั และการทํางานกันเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย สรปุ ลักษณะของมนษุ ยสมั พนั ธ์ไดด้ งั นี้ (เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์, 2522 : 128)

492 9.1 มนษุ ยสัมพนั ธ์ เน้นตัวบุคคลมากกว่าเครอ่ื งจักรกลหรือเศรษฐศาสตร์ 9.2 บคุ คลดังกล่าวรวมกนั เปน็ กลมุ่ สงั คมทมี่ ีระบบ และแสดงพฤตกิ รรมตอบสนองต่อ กนั เป็นความสมั พนั ธท์ ม่ี รี ะบบระเบยี บ 9.3 กจิ กรรมสาํ คญั ของมนุษยสัมพนั ธ์ คือ การจงู ใจใหบ้ คุ คลเกดิ พลงั ในการติดต่อ สมั พนั ธแ์ ละแสดงพฤติกรรมตอบสนองใหม้ ากทสี่ ดุ เทา่ ทีจ่ ะมากได้ 9.4 การจงู ใจนัน้ เกดิ จากการผสมผสานระหว่างวิทยาการต่างๆ กบั ความสามารถ เฉพาะตวั แล้วประยุกต์ใช้ในการติดต่อสอื่ สารเพือ่ ใหค้ รองในคนและเอาชนะใจคนได้ 9.5 การจูงใจก่อใหเ้ กดิ การทํางานเปน็ หมคู่ ณะซง่ึ ตอ้ งอาศยั การประสานงาน ความรว่ มมือร่วมใจของบคุ คล 9.6 การจูงใจทม่ี ีประสิทธภิ าพคอื การจูงใจทสี่ นองความตอ้ งการของผู้อ่ืน 9.7 มนุษยสมั พันธท์ ีเ่ กิดข้นึ ในหมคู่ ณะนัน้ ย่อมกอ่ ให้เกดิ ผล 2 ประการ คือ ตอบสนอง ความตอ้ งการของบุคคล และตอบสนองความตอ้ งการขององคก์ าร 9.10 มนุษยสัมพนั ธก์ ่อใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการทํางาน ถ้าเปรียบเทยี บการลงทนุ นบั ได้วา่ ลงทุนน้อยทสี่ ุด แต่ไดผ้ ลดที ีส่ ดุ 10. องคป์ ระกอบของมนษุ ยสมั พันธ์ มนษุ ยสัมพนั ธน์ บั ไดว้ ่า (สมพร สุทัศนีย์,2551 : 6-7) เป็นทงั้ ศาสตร์และศลิ ปใ์ น การเข้ากบั คน มนุษยสัมพนั ธเ์ ป็นศาสตร์หมายถึง วิทยาการหรือความร้ทู เี่ ปน็ ระบบระเบียบที่เชอ่ื ถอื ได้ และสามารถศึกษาหาความรู้ได้อย่างมีระบบ ส่วนมนุษยสัมพันธ์ท่ีเป็นศิลป์ หมายถึง การประมวล วิทยาการสาขาต่างๆมาผสมกลมกลนื กนั ให้เป็นศลิ ปะในการติดตอ่ สัมพนั ธก์ บั ผู้อ่นื ซึง่ เปน็ เร่อื งเฉพาะตวั ท่ตี อ้ งใชค้ วามสามารถ สตปิ ญั ญา ประสบการณ์ ความรู้ เวลา สถานที่ สถานการณ์ และกรณแี วดลอ้ ม อน่ื ๆ เช่น เหตผุ ลทางประเพณี วฒั นธรรมและกฏเกณฑ์ตา่ งๆ มาบรู ณาการกันให้เกดิ ความเหมาะสม การสร้างมนุษยสัมพันธ์ท่ีทาํ ให้ตนเองมีความสุข ผู้อ่ืนมีความสุข และสังคมมี ประสิทธิภาพจากจะประกอบด้วยการศึกษาและปรับปรงุ ตนเอง เข้าใจผอู้ ืน่ และสง่ิ แวดลอ้ ม ปรบั ตัว เขา้ กับสิ่งแวดล้อม รวมถึง “การใหแ้ ละการรบั ” อย่างเหมาะสม หรอื จะพดู ใหเ้ หมาะกบั สังคมปัจจบุ นั ท่ีเตม็ ไปด้วยการแลกเปลยี่ นว่า “การแลกเปลีย่ นผลประโยชน์ซึง่ กันและกนั ” หมายถึง การแลกเปลี่ยน วตั ถสุ ิง่ ของเพียงอยา่ งเดยี ว รวมถึงการให้ความช่วยเหลือ ความเออ้ื อาทร การให้เกยี รติ การให้โอกาส การใหอ้ ภยั ฯลฯ และการใหค้ วามรสู้ ึกทดี่ ๆี ตอ่ กนั

493 มนษุ ยสัมพันธ์ ศกึ ษาและปรับปรุง ศกึ ษา เขา้ ใจ ศกึ ษา เข้าใจ ตนเอง และยอมรับผ้อน่ื และสิ่งแวดล้อม ปรบั ตนให้เขา้ กบั ผู้อ่ืน และสิ่งแวดล้อม แลกเปล่ียนผลประโยชน์ ซ่ึงกนั และกัน ตนเองเป็นสุข ผู้อืน่ เปน็ สขุ สังคมมีประสิทธิภาพ แผนผงั ท่ี 9 แสดงองคป์ ระกอบและผลของการสรา้ งมนษุ ยสัมพนั ธ์ (ที่มา สมพร สุทัศนีย์,2551 : 7) จากแผนภูมิซ่ึงแสดงความสัมพันธ์ในหน่วยงาน จะเห็นได้ว่า มนุษยสัมพันธ์ ใน หนว่ ยงานมีองค์ประกอบเป็น 3 ประการ คอื การรจู้ ักตน การเขา้ ใจเพือ่ นรว่ มงาน และสง่ิ แวดล้อมใน การทํางานท่ดี ี ในเรื่องของการรู้จักตนน้นั บคุ คลควรต้องวเิ คราะห์ตน เพอื่ ใหร้ ู้จกั ตัวเองอย่างแทจ้ ริง ทั้งลกั ษณะท่ีดแี ละไม่ดีแลว้ ปรับปรุงตน ในส่วนที่เป็นลักษณะท่ไี ม่ดซี ง่ึ อาจสรา้ งปัญหาและอุปสรรคใน การทํางานและการสรา้ งสมั พนั ธก์ ับผอู้ น่ื ได้ นอกจากน้จี ะเป็นแนวทางใหว้ เิ คราะหเ์ พื่อนรว่ มงานและ เขา้ ใจเพ่ือนร่วมงานใหม้ ากขนึ้ แลว้ ยงั ชว่ ยยอมรบั ความแตกต่างระหว่างบุคคลและพฒั นาตนให้เขา้ กบั เพ่ือนร่วมงานได้ดี ส่วนความเข้าใจในเรื่องของส่ิงแวดล้อมในที่ทาํ งานดีจะเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคล วเิ คราะหส์ ิง่ แวดล้อมในทท่ี าํ งานแลว้ ปรบั ปรุงใหด้ ีขน้ึ รวมทัง้ เป็นแนวทางพฒั นาตนใหเ้ ขา้ กบั ทที่ ํางาน ใหไ้ ดด้ ว้ ย ซง่ึ ทง้ั หมดดงั กล่าวน้ันจะส่งผลตอ่ มนษุ ยสัมพนั ธใ์ นองค์การ เมอ่ื มนษุ ยสมั พันธ์ ในองค์การดี กจ็ ะทําใหบ้ ุคคลเป็นสุข เพอ่ื นร่วมงานสุขและส่ิงแวดลอ้ มในทท่ี าํ งานดี ซึ่งหมายถงึ ประสทิ ธิภาพท่ีดี ขององคก์ าร จึงเห็นได้ว่า การศึกษาในเรอื่ งองค์ประกอบของมนุษยสมั พนั ธ์ ดงั กลา่ ว จะช่วยให้บุคคล

494 เกดิ ความเข้าใจและเกดิ แรงกระตุ้นในการประพฤตปิ ฏบิ ัตใิ หเ้ กดิ องคป์ ระกอบ ดังกลา่ ว อนั นํามาซึ่ง ความสมั พันธอ์ ันดีในองค์การ มนี กั ปรัชญาหลายท่านได้อธิบายองค์ประกอบของมนษุ ยสมั พนั ธ์ ดงั ต่อไปนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/HumanRelations. 9 กันยายน 2559) 10.1 http://www.novabizz.com/NovaAce/HumanRelations. องค์ประกอบของมนษุ ยสมั พนั ธ์ มนษุ ยสมั พนั ธ์เกดิ ได้ต้องมอี งค์ประกอบ 3 ประการ มดี ังน้ี 10.1.1 ต้องมีความเขา้ ใจตนเอง ความเขา้ ใจตนเอง หมายถึง ความเขา้ ใจในความตอ้ งการของตนเอง การรจู้ ดุ เดน่ จุดดอ้ ย ของตนการรถู้ งึ จุดทจ่ี ะตอ้ งปรบั ปรุงพัฒนาคน 10.1.2 ต้องมีความเขา้ ใจบคุ คลอ่นื ความเขา้ ใจบคุ คลอื่น หมายถงึ การท่ีเรารถู้ ึงความตอ้ งการหรอื ปัญหา ของบคุ คลอ่นื บคุ ลิกลกั ษณะเฉพาะตวั ของบุคคลนน้ั ๆ และธรรมชาติของคน 10.1.3 ตอ้ งยอมรับความแตกตา่ งของบุคคลอื่น ความแตกต่างของบุคคล หมายถึง ลักษณะที่ทําให้คนแต่ละคนไม่ เหมอื นกันซ่งึ แต่ละคนย่อมมคี วามคิด จิตใจ สติปญั ญา ความสามารถ เจตคติ ประสบการณต์ ่างๆ กนั ส่งิ ทท่ี ําใหม้ นษุ ยเ์ ราแตกต่างกันไมเ่ หมือนกันนัน้ มาจากหลายสาเหตดุ ว้ ยกันอาจประมวลได้ดังนี้ คือ รปู รา่ งหนา้ ตา (appearance) อารมณ์ (emotion) นิสัย (habit) เจตคติ (attitude) พฤตกิ รรม (behavior) ความถนดั (aptitude) ความสามารถ (ability) สุขภาพ (health)รสนยิ ม (taste) และ สังคม (social) ความแตกตา่ งจากสาเหตุดังกลา่ ว เปน็ สาเหตใุ หม้ นุษยข์ ัดแยง้ กันไมส่ ามารถเขา้ กัน หรอื สมั พันธ์กนั ได้ หากขาดความรคู้ วามเข้าใจเกิดการดหู มน่ิ เหยียดหยาม ไม่เคารพสทิ ธิ ไมใ่ หเ้ กยี รติ เคารพนบั ถือในความแตกต่างกนั ถอื วา่ เปน็ สง่ิ ธรรมดาสามญั ท่วั ไป ถา้ เราได้เขา้ ใจในเร่ืองเหล่านแ้ี ลว้ ความขัดแยง้ กจ็ ะลดน้อยลงหรอื สามารถขจดั ออกไปได้ความสมั พันธ์กบั ผูอ้ น่ื ก็จะดขี นึ้ 10.2 วิจิตร อาวะกลุ (2542:34) องค์ประกอบของมนษุ ยสมั พันธแ์ บ่งเป็น 3 ประการ คือ 10.2.1 การเข้าใจตนเอง เปน็ ลักษณะการรูจ้ ักตนเองอย่างแทจ้ รงิ ว่า ตนเอง เปน็ ใคร มคี วามรคู้ วามสามารถ ทักษะ ประสบการณ์แคไ่ หนระดบั ใด มจี ดุ แข็งคอื ความเกง่ และ จดุ อ่อนคือ ความไม่เก่งในด้านใดบา้ งเรื่องใดบ้าง การเข้าใจตนเอง ทําให้บคุ คลเกดิ การรูส้ กึ ยอมรบั ใน คุณคา่ แหง่ ตน นบั ถือตนเองและรจู้ ักเขา้ ใจสิทธิ เสรภี าพ หน้าที่ ความรับผดิ ชอบของตนเอง สิ่งท่ี สําคัญในการเข้าใจตนเองจะชว่ ยใหเ้ รารู้จักปรบั ตวั เขา้ กบั บุคคลอืน่ ได้ดีมาก 10.2.2 การเข้าใจบุคคลอื่น เป็นการเรยี นรธู้ รรมชาติของคน ความแตกต่าง ระหว่างบคุ คลความต้องการของบคุ คล แรงจูงใจของบุคคล สภาพสิ่งแวดล้อมทาํ ให้เกดิ ประโยชน์ ใน การนําไปใชต้ ดิ ตอ่ สมั พนั ธ์กับบุคคลอน่ื ไดน้ านัปการ เมอื่ เราต้องการไปติดตอ่ สัมพนั ธก์ ับบคุ คลใด เรา

495 ต้องทราบก่อนว่าบคุ คลนน้ั ช่อื ใดเป็นใคร มคี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ทางดา้ นใด อยู่ ในระดับใดชอบสง่ิ ใด ไมช่ อบสง่ิ ใด โปรดปรานในสิง่ ใดเปน็ พเิ ศษ มคี ณุ ลักษณะทเี่ ดน่ ทางดา้ นใดบ้าง เม่อื เรานําเอาบคุ คลอ่ืนท่ีเราตอ้ งการตดิ ตอ่ สัมพันธ์ มาพจิ ารณาดวู ่า เรามีความเขา้ ใจในตัวเขาอยา่ งไร เรายอมรับในตัวเขาได้แคไ่ หน เพอื่ จดั ระดบั คณุ ค่าและความสาํ คญั ของบคุ คลทีเ่ ราจะตอ้ งมกี ารตดิ ต่อ สมั พนั ธร์ วมทั้งการที่เรารู้จักปรบั ตัวให้เข้ากบั บคุ คลอน่ื ได้ในการติดต่อสัมพันธก์ นั 10.2.3 การเข้าใจสิ่งแวดล้อม เปน็ การเรียนรธู้ รรมชาติของสิ่งแวดล้อมท่อี ยู่ รอบตวั เราและบคุ คลอนื่ ซง่ึ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การดําเนินชีวิตประจาํ วนั และมสี ่วนสัมพนั ธก์ ับมนษุ ยสมั พนั ธ์ ได้แก่ สภาพการณ์เหตกุ ารณ์ สถานการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในปัจจบุ นั และในอนาคต ลว้ นแต่มีอทิ ธพิ ลมาจาก สงิ่ แวดลอ้ มทงั้ สนิ้ ไดแ้ ก่ สถาบันครอบครัว สถาบันท่เี ป็นองคก์ าร สถาบันการศึกษา หนว่ ยงาน บรษิ ทั หา้ งร้าน โรงงาน รัฐบาล ศาสนา องค์การระหว่างประเทศ ความร้จู ากการเข้าใจสงิ่ แวดล้อม สามารถ นํามาปรับใชก้ บั ตวั เรา 10.3 อํานวย แสงสวา่ ง (2544:101) องคป์ ระกอบของมนุษยสมั พนั ธ์ มักจะเกีย่ วขอ้ ง กับเรอ่ื งพฤตกิ รรม การจูงใจ ขนบธรรมเนยี มประเพณี คา่ นยิ ม เจตคติ นสิ ัย ระบบสงั คม สง่ิ เหล่าน้ี เป็นปัจจัยผสมผสานกันอย่างเหมาะสมเกิดเป็นพฤติกรรมท่ีน่าพึงพอใจแก่บุคคลอื่นๆ ท่ีเรียกว่า “มนุษยสัมพันธ์” การที่จะเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีนั้น จําเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจถึง องค์ประกอบทีจ่ ะชว่ ยส่งเสรมิ ใหเ้ ปน็ ผู้มมี นษุ ยสัมพันธ์ท่ีดี ดงั ตอ่ ไปนี้ 10.3.1 พฤติกรรมของคน (Human Behavior) ในการอยู่ร่วมกัน ไมว่ ่าจะเปน็ เพื่อความสุขในการดาํ เนินชีวิตหรือเพื่อการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นในหน่วยงาน เราทุกคนต้องเข้าใจ พฤตกิ รรมของคน 10.3.2 การจูงใจ (Motivation) เป็นแรงกระตุ้น เป็นพลังให้เปลี่ยนแปลง พฤติกรรม เพอ่ื อาํ นวยประโยชนแ์ ละสรา้ งความพึงพอใจ ในการปฏิบตั ิงาน 10.3.3 กลุ่มพวกในการปฏิบัตงิ าน (Team work) ตามรูปแบบของปฏกิ ิริยา สมั พันธ์ระหว่างความเป็นมนุษย์ ทด่ี ํารงตนดว้ ย การเคารพนบั ถือ ซึ่งกัน และกนั หรือเคารพนบั ถอื ใน ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 10.3.4 การมีปฏสิ ัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างบคุ คลต่อบคุ คล บุคคลต่อ หน่วยงานหรอื องคก์ าร มนุษยอ์ ยูร่ วมกนั เป็นกลุ่มๆ แบง่ แยกกลุ่มไปตามลักษณะของความตอ้ งการ มี การต่อส้แู ย่งชงิ ผลประโยชน์ซง่ึ กนั และกนั

496 11. ทฤษฎที ี่เกยี่ วขอ้ งกับมนุษยสัมพนั ธ์ 11.1 ทฤษฎีความตอ้ งการ 5 ข้ันของอริ ิค ฟรอมม์ ภาพท่ี 146 แสดงภาพอรี ิค ฟรอมม์ (ที่มา http://hanjsah.blogspot.com/ 20 กนั ยายน 2559) อีริค ฟรอมม์ (Erich Fromm) เป็นนักทฤษฏีบุคลิกภาพท่ีมีพื้นฐานการศึกษาทาง สังคมวทิ ยาและจิตวิทยาแล้วทาํ งานเป็นอาจารย์ จากพนื้ ฐานการศกึ ษาอย่างกว้างขว้างทางประวัตศิ าสตร์ สงั คมวทิ ยา วรรณคดีและปรชั ญา เขาได้ทุม่ เทความสนใจเพอื่ อธิบายความเหน็ วา่ โครงสร้างของสงั คม ใดๆย่อมกล่อมเกลาบุคลิกภาพของสมาชิกให้เข้ากันได้กับค่านิยมส่วนรวมของสังคมน้ันๆ หนังสือ ของฟรอมม์ (Fromm) ได้รับการต้อนรบั อย่างแพรห่ ลายจากนักอ่านทัว่ โลก นอกจากผ้ศู ึกษาสาขา จิตวิทยา จติ แพทย์ สังคมวทิ ยา ปรัชญา และศาสนายังรวมทง้ั ผอู้ ่านทส่ี นใจความรูท้ วั่ ๆไปดว้ ย 11.1.1 แนวคดิ ทีส่ ําคญั แนวคดิ ทีส่ ําคญั ของอิรคิ ฟรอมม์ (Erich Fromm) สะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ ได้รับอทิ ธพิ ลจากความคิดของคารล์ มารก์ ซ์ (Karl Maex) เปน็ อย่างมาก โดยเฉพาะจากหนงั สอื ชื่อท่ี เขยี นในปี1944 และหนังสอื ท่เี ขาเขยี นเก่ียวพนั กับความคดิ ของมารก์ ซ์ (Maex) โดยตรงมีหลายเลม่ เช่น ฟรอมม์ (Fromm) เปรยี บเทียบความคดิ ของฟรอยด์ (Freud) กบั มาร์กซ์ (Fromm) และแสดง ความชื่นชมความคิดของมาร์กซ์ (Maex) มากกว่าความคิดของฟรอยด์ (Freud) จนฟรอมม์ (Fromm) ได้รับการกลา่ วถงึ วา่ เปน็ นักทฤษฎีบุคลิกภาพแบบมาร์กซ์ (Maex) แนวคิดที่สําคัญบาง ประการมีดงั น้ี ความอา้ งว้างเดียวดาย เร่อื งนี้เป็นสาระทฟี่ รอมม์ (Fromm) อธบิ ายมาก เขาเช่ือว่า มนุษย์ยคุ ปัจจบุ ันตอ้ งเผชญิ กบั ความอา้ งว้างเดียวดายด้วยสาเหตุหลายประการ เชน่

497 11.1.1.1 การท่ีมนุษย์มีเหตุผลและจินตนาการต่างๆ ทาํ ให้มนุษย์มี วิวัฒนาการทางอารยธรรมเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันก็แยกตัวเหินห่างจากธรรมชาติจากสัตว์โลก พวกอื่นๆ และจากบุคคลอืน่ ๆ 11.1.1.2 มนุษย์แสวงหาอสิ ระเสรีทุกขน้ั ตอนของกระบวนการพัฒนา เม่ือได้มาแล้วก็จาํ ต้องแลกเปล่ียนด้วยความอ้างว้าง ตัวอย่างเช่น เด็กวัยรุ่นท่ีเป็นอิสระพ้นจาก ความดแู ลพอ่ แม่ผ้ปู กครอง จะพบว่า ตัวเองเผชญิ ความวา้ เหว่ 11.1.1.3 พัฒนาการทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ในวัตถุใช้สอย ประจําวัน เช่น เครอ่ื งมือเพื่อความบนั เทงิ เครื่องทุ่นแรงในการทํางาน ทาํ ใหม้ นษุ ยม์ คี วามสมั พันธ์กบั ผูอ้ ื่นน้อยลง เม่อื ต้องตดิ ต่อพดู จากม็ ที ่าทหี ่างเหนิ ไว้ตัว ฟรอมมเ์ สนอทางแก้ความอา้ งวา้ ง 2 ประการ คือ 1) สร้างสัมพันธภาพกับเพื่อนมนุษย์บนพ้ืนฐานความรัก สร้างสรรค์ (productive Love) ซ่ึงได้แก่ ความเอ้ืออาทรต่อกัน ความรับผิดชอบต่อกันและกัน ความนบั ถอื ซ่งึ กันและกนั และความเขา้ ใจซงึ่ กันและกัน 2) ยอมตนออ่ นน้อมและทําตัวคลอ้ ยตามสงั คม 11.1.2 ความต้องการของมนุษย์ของอริ ิค ฟรอมม์ ฟรอมม์ (Fromm) มีความเห็นว่า มนุษย์เราใช้เสรีภาพสร้างสังคมให้ ดีขึ้นได้ตามข้อเสนอข้อแรก สว่ นการแกไ้ ขความอ้างว้างดว้ ยการทาํ ตัวคล้อยตามสังคมตามขอ้ เสนอ ข้อหลังเขาเห็นวา่ เป็นการเขา้ สคู่ วามเป็นทาสรปู แบบใหมน่ ่ันเอง ในหนงั สือ Escape from Freedom ท่ีเขาเขยี นในปี 1941 ขณะลัทธินาซกี ําลังรุง่ โรจน์ เขาชีใ้ หเ้ ห็นว่า ลทั ธิเผด็จการเบด็ เสร็จน้ันถูกใจคน หมมู่ ากเพราะเสนอจะให้ความมั่นคง (แก่ผรู้ สู้ ึกอา้ งว้าง) ความตอ้ งการของฟรอมม์ (Fromm) กลา่ ว ว่า มนษุ ย์มีความตอ้ งการ 5ประการ คอื 11.1.2.1 ความต้องการมีสมั พันธภาพ เนือ่ งจากมนษุ ย์พบกบั ความอ้างว้างเดยี วดายตามเหตทุ ่ีได้ กลา่ วมาจึงตอ้ งแกไ้ ขดว้ ยการสรา้ งสมั พนั ธภาพกบั คนอ่ืนๆ วิธที ่ีดงี ามตอ้ งต้งั อยูบ่ นพืน้ ฐานความรักแบบ สร้างสรรค์ (ความเอื้ออาทรต่อกัน ความรบั ผิดชอบต่อกันและกนั ความนบั ถอื ซึ่งกนั และกัน ความเขา้ ใจซึ่งกันและกัน 11.1.2.2 ความต้องการสร้างสรรค์ ความตอ้ งการสร้างสรรค์ เนือ่ งจากมนุษยม์ คี วามสามารถทาง สติปัญญาและอารมณ์สูง จึงมคี วามต้องการสร้างสรรคส์ งิ่ แวดล้อมของชีวติ แตกตา่ งกับสตั ว์โลกชั้นต่ํา หากผ้ใู ดไม่มีความต้องการประเภทนี้กม็ กั จะเปน็ นกั ทาํ ลาย เป็นอันตรายต่อผู้อน่ื และสงั คม

498 11.1.2.3 ความต้องการมีสงั กดั ความต้องการมสี ังกัด คอื ความต้องการท่ีจะเป็นส่วนหนึ่งของ ครอบครัวของสงั คมของโลก ความตอ้ งการประเภทน้ที นี่ ่าพึงพอใจและถูกตอ้ ง คือ การมไี มตรีจติ กบั เพอ่ื นมนุษยโ์ ดยท่ัวไป 11.1.2.4 ความตอ้ งการมอี ัตลกั ษณ์แหง่ ตน ความต้องการมีอตั ลกั ษณ์แหง่ ตน คอื ความตอ้ งการจะเป็นตวั ของตัวเอง ความต้องการท่ีจะรู้จกั วา่ ตวั เองเปน็ ใคร 11.1.2.5 ความตอ้ งการมหี ลกั ยึดเหนีย่ ว ความตอ้ งการมหี ลักยดึ เหนยี่ ว คอื ความตอ้ งการท่ีจะมีหลัก สําหรับอา้ งองิ ความถูกตอ้ งในการกระทาํ ของตน เชน่ คาํ กล่าวอ้างว่า ฉนั ทาํ อย่างน้ีเพราะหวั หน้าสง่ั ให้ ทําหรือฉันต้องมีรถยนต์เพราะไปทาํ ธรุ ะสะดวกขึ้น/ขอ้ อา้ งเหลา่ นอ้ี าจสมเหตุสมผลหรอื ไมก่ ไ็ ด้ 11.2 ทฤษฎีความตอ้ งการ 5 ข้ันของฮัมราฮมั มาสโลว์ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Need_Theories. 9 กันยายน 2559) เป็นทฤษฎีที่พัฒนาขึ้นโดย อับราฮัม มาสโลว์ (Abrahum Maslow) นกั จติ วิทยาแหง่ มหาวทิ ยาลยั แบรนดสี ์ เปน็ ทฤษฎที ีร่ จู้ ักกันมากทีส่ ดุ ทฤษฎหี นึง่ ซึ่งระบวุ ่า บคุ คลมี ความตอ้ งการเรยี งลาํ ดบั จากระดับพืน้ ฐานทส่ี ุดไปยังระดับสูงสดุ 11.2.1 กรอบความคิดท่สี ําคญั ของทฤษฎีนี้ มีสามประการ คอื 11.2.1.1 บุคคลเป็นสิง่ มชี ีวติ ทีม่ คี วามตอ้ งการ ความตอ้ งการมอี ิทธพิ ล หรอื เปน็ เหตจุ งู ใจตอ่ พฤติกรรม ความต้องการท่ยี งั ไม่ได้รับการสนองตอบเทา่ นน้ั ท่เี ป็นเหตจุ ูงใจ ส่วน ความต้องการที่ได้รับการสนองตอบแล้วจะไม่เปน็ เหตจุ งู ใจอีกต่อไป 11.2.1.2 ความต้องการของบุคคลเป็นลาํ ดับชั้นเรียงตาม ความสาํ คัญจากความต้องการพื้นฐานไปจนถึงความตอ้ งการทซ่ี ับซ้อน 11.2.1.3 เม่ือความต้องการลําดับตาํ่ ได้รับการสนอบตอบอย่างดีแล้ว บคุ คลจะกา้ วไปส่คู วามต้องการลําดบั ท่สี งู ขึ้นตอ่ ไป 11.3 ทฤษฎสี ององคป์ ระกอบของเฟรเดอริค เฮอร์ซเบร์ิก ทฤษฎสี ององคป์ ระกอบของเฮอร์ซเบอร์ก (Herzberg, 1959,pp.113 -115) เป็นศาสตราจารย์ หัวหน้าภาควิชาจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลยั เวสเทอร์นรเี สิรฟ์ (Western Reserve University) ไดท้ ําวิจยั เกีย่ วกบั แรงจูงใจในการทาํ งานของมนุษยไ์ ด้พบซ่งึ บทสรุปออกมาเปน็ แนวคิด ตามทฤษฎสี ององค์ประกอบ (Two -Factor - Theory) เปน็ 2 ด้าน ดังนี้ (http://digital_collect.lib.buu.ac.th/ 22 กันยายน 2559)

499 ภาพท่ี 147 แสดงภาพทฤษฎีสององคป์ ระกอบของเฟรเดอริค เฮอร์ซเบริ์ก (ทมี่ า http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Need_Theories. 9 กนั ยายน 2559) 11.3.1 ปจั จยั จงู ใจ (Motivation Factors) หรอื องค์ประกอบดา้ นกระตุ้น เปน็ ปัจจัยที่สร้างแรงจูงใจในทางบวก ซึ่งจะเป็นผลให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน มีลกั ษณะสมั พนั ธ์กบั เรื่องงานโดยตรง ปจั จยั ดา้ นนี้ ได้แก่ 11.3.1.1 ความสาํ เร็จในการทํางาน (Achievement) หมายถึง การที่ บุคคลสามารถทาํ งานได้ เสร็จส้นิ และประสบความสําเรจ็ อยา่ งดี ความสามารถในการแกป้ ญั หาตา่ งๆ 11.3.1.2 การไดร้ ับการยอมรบั นับถอื (Recognition) หมายถงึ การได้รับ การยอมรบั นับถือจากผูบ้ งั คบั บัญชา เพ่ือร่วมงาน กล่มุ เพอื่ นและบุคคลอนื่ โดยท่วั ไป ซึง่ การยอมรบั นับถอื นีบ้ างคร้ัง อาจจะแสดงออกในรปู ของการยกย่องชมเชย 11.3.1.3 ลกั ษณะของงานทป่ี ฏบิ ัติ (Work Itself) หมายถงึ ความรูส้ ึกที่ ดแี ละไมด่ ีตอ่ ลกั ษณะงานวา่ งานนน้ั เปน็ งานทจ่ี าํ เจ น่าเบือ่ หน่าย ทา้ ทายความสามารถ กอ่ ใหเ้ กดิ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรคห์ รอื เป็นงานท่ยี ากหรอื งา่ ย 11.3.1.4 ความรับผดิ ชอบ (Responsibility) หมายถึง ความพงึ พอใจที่ เกิดขึ้นจากการได้รบั มอบหมายให้รบั ผดิ ชอบงานใหมๆ่ และมีอาํ นาจในการรับผดิ ชอบอยา่ งเต็มที่ 11.3.1.5 ความกา้ วหนา้ ในตาํ แหนง่ หนา้ ทก่ี ารงาน (Advancement) หมายถึง การเปล่ียนแปลงในสถานะหรือตําแหน่งของบุคคลในองค์การ แต่ในกรณีที่บุคคลย้าย ตําแหน่งจากแผนกหนึ่งไปยงั อกี แผนกหนง่ึ ขององค์การโดยไม่มีการเปลีย่ นแปลงสถานะถือเปน็ เพยี ง

500 การเพิ่มโอกาสให้มีความรับผิดชอบมากข้ึน เรียกได้ว่า เป็นการเพ่ิมความรับผิดชอบแต่ไม่ใช่ ความกา้ วหนา้ ในตําแหนง่ การงานอย่างแท้จริง 11.3.2 ปัจจยั คํา้ จุน (Hygiene Factors) หรอื องค์ประกอบดา้ นอนามยั เป็น ปัจจยั ท่ีปอ้ งกนั ไม่ให้เกดิ ความไมพ่ อใจในการปฏิบตั ิงาน ซึ่งมลี ักษณะเกย่ี วข้องกบั สภาวะแวดลอ้ มหรือ ส่วนประกอบของ งาน ปัจจยั ดา้ นนี้ ได้แก่ 11.3.2.1 นโยบายการบริหารงาน (Company Policy and Administration) หมายถงึ การจดั การและการบรหิ ารงานขององคก์ าร การใหอ้ ํานาจแก่บุคคลใน การให้เขา้ ดําเนนิ งานได้สําเร็จ รวมทั้งการตดิ ต่อสือ่ สารในองค์การ เช่น การท่บี คุ คลจะตอ้ งทราบว่า เขาทํางานให้ใครนั่นคือ นโยบายขององค์การจะตอ้ งแน่ชัด เพื่อให้บุคคลดําเนนิ งานได้ถูกตอ้ ง 11.3.2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในหน่วยงาน (Interpersonal Relation Peers) หมายถงึ การพบปะสนทนา ความเปน็ มติ ร การเรียนรงู้ าน ความรู้สกึ เปน็ ส่วนหนง่ึ ในกลมุ่ งาน 11.3.2.3 ความม่นั คงในการทาํ งาน (Job Security) หมายถงึ ความรสู้ ึกของบคุ คลทมี่ ตี อ่ ความมัน่ คงในงาน ความม่ันคงขององคก์ าร 11.3.2.4 สภาพแวดล้อมในการทํางาน (Working Condition) หมายถงึ สภาพแวดล้อมทางกายภาพทจ่ี ะอาํ นวยความสะดวกในการปฏบิ ัตงิ าน เช่น แสง เสียง อากาศ เครอ่ื งมือ อปุ กรณ์และอื่นๆ รวมทงั้ ปรมิ าณงานทีร่ ับผิดชอบ 11.3.2.5 รายได้และสวัสดิการ (Salary) หมายถึง ค่าเบ้ียเลี้ยง เงิน ช่วยเหลอื บุตร ค่าพาหนะ ค่ารักษาพยาบาล ตลอดจนเงนิ สวัสดิการประเภทตา่ งๆ เฮอร์ซเบอรก์ ให้ ความเห็นว่า ผบู้ รหิ ารส่วนมากมักใหค้ วามสาํ คัญด้านปจั จัยคาํ้ จุน เชน่ เม่อื เกดิ ปญั หาวา่ ผู้ปฏิบตั ิงาน ขาดประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติงานมักแก้ไขโดยการปรบั ปรงุ สภาพในการทาํ งานหรอื ปรบั เงินเดอื นให้ สูงข้ึน การปฏิบัติดังน้ีเป็นการแก้ไขไม่ให้เกิดความไม่พอใจในการปฏิวัติ แต่มิได้เป็นการจูงใจให้ ผู้ปฏบิ ตั งิ านใหด้ ีขึ้น ผู้บรหิ ารควรเนน้ ถงึ ปัจจยั กระตนุ้ ท่กี อ่ ใหเ้ กิดแรงจูงใจในการทาํ งาน เชน่ มอบหมาย งานทร่ี บั ผิดชอบมากขึน้ หรอื สง่ เสรมิ ความกา้ วหนา้ ของคนงาน จะเป็นการกระตนุ้ คนงานได้ดีกวา่ ทจ่ี ะ ให้ทาํ งานในตาํ แหน่งเดิมแตเ่ พม่ิ เงนิ เดอื นให้ ผบู้ ริหารตอ้ งพยายามรักษาปจั จัยคา้ํ จนุ ใหอ้ ย่ใู นระดบั ท่ี นา่ พอใจเพื่อป้องกนั ไม่ให้ ผูป้ ฏิบัตงิ านเกดิ ความไมพ่ อใจในการปฏิบัตงิ าน (ศิรโิ สภาคย์ บรู พาเดชะ, 2528, หนา้ 69) การสร้างแรงจูงใจแกผ่ ปู้ ฏิบัติงานจึงมสี องขั้นตอน คือ ตอนแรกหัวหนา้ งานหรือผ้บู รหิ ารต้องตรวจสอบใหม้ ่ันใจว่า ปจั จยั อนามัย ไมข่ าดแคลนหรือบกพร่อง เช่น ระดบั เงนิ เดอื นคา่ จ้างเหมาะสม งานมคี วามมน่ั คง สภาพแวดลอ้ ม ปลอดภัยและอนื่ ๆ จนแนใ่ จวา่ ความรู้สกึ ไมพ่ อใจจะไม่เกดิ ข้ึนในหมูผ่ ู้ปฏบิ ตั งิ าน

501 ตอนท่ีสอง การให้โอกาสท่ีได้รับปัจจัยจูงใจ เช่น การได้รับการยกยอ่ ง ในความสําเร็จและผลการปฏิบัตงิ าน มอบความรับผดิ ชอบตามสัดส่วน ใหโ้ อกาสใชค้ วามสามารถใน งานสําคญั ซง่ึ อาจต้องมกี ารออกแบบการทาํ งานให้เหมาะสมดว้ ย การตอบสนองด้วย ปัจจัยอนามยั ก่อนจะทาํ ให้เกดิ ความรสู้ ึกเปน็ กลาง ไม่มคี วามไม่พอใจ แลว้ จึงใชป้ ัจจยั จงู ใจเพือ่ สรา้ งความพอใจ ซึ่ง จะส่งผลใหผ้ ู้ปฏิบตั ิงานทุ่มเทในการทํางานอย่างมปี ระสิทธผิ ลมากขึน้ ภาพที่ 148 แสดงภาพทฤษฎีความตอ้ งการความสมั ฤทธผ์ิ ลของแมคเคลแลนด์ (ที่มา http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Need_Theories. 9 กันยายน 2559) 11.4 ทฤษฎคี วามต้องการความสัมฤทธิ์ผลของแมคเคลแลนด์ ทฤษฎีความตอ้ งการของแมคเคลแลนด์ (McClelland) มีความเช่ือวา่ แรงจูงใจ ทีส่ าํ คัญทสี่ ดุ ของมนษุ ย์ คอื (http://digital_collect.lib.buu.ac.th/ 22 กนั ยายน 2559) 11.4.1 ความตอ้ งการสัมฤทธิผล มนุษย์มีความตอ้ งการสัมฤทธิผล (Needs for Achievement: N Act) ความปรารถนาท่จี ะทําสิง่ หนง่ึ สง่ิ ใดให้บรรลคุ วามสําเรจ็ มลี กั ษณะพฤติกรรมดงั น้ี 11.4.1.1 มเี ป้าหมายในการทาํ งานสูง ชัดเจนและทา้ ทายความสามารถ 11.4.1.2 มงุ่ ทค่ี วามสาํ เรจ็ ของงานมากกวา่ รางวลั หรอื ผลตอบแทนเปน็ เงนิ ทอง

502 11.4.1.3 ตอ้ งการข้อมลู ยอ้ นกลบั ในความก้าวหน้าสู่ความสําเรจ็ ทกุ ระดบั 11.4.1.4 รับผดิ ชอบงานสว่ นตัวมากกว่าการมีส่วนร่วมกบั ผอู้ ืน่ 11.4.2 ความตอ้ งการความรกั ความผูกพนั ความตอ้ งการความรักความผูก (Needs for Affilation: N Aff ) เปน็ ความตอ้ งการที่จะรักษามติ รภาพและความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลไว้อยา่ งใกล้ชดิ ผมู้ ีความตอ้ งการ ความรกั ความผูกพันมลี ักษณะพฤติกรรม ดงั นี้ 11.4.2.1 พยายามสร้างและรกั ษาสมั พนั ธภาพและมิตรภาพให้ย่งั ยืน 11.4.2.2 อยากให้บคุ คลอื่นชนื่ ชอบตัวเอง 11.4.2.3 สนกุ สนานกบั งานเลย้ี ง กิจกรรมทางสงั คมและการพบปะ สงั สรรค์ 11.4.2.4 แสงหาการมสี ว่ นรว่ ม ด้วยการรว่ มกิจกรรมกบั กลุม่ หรือ องคก์ รต่างๆ 11.4.3 ความต้องการอํานาจ ความตอ้ งการอาํ นาจ (Needs for Power: N Power) เป็นความต้องการที่จะมีสว่ นควบคุม สรา้ งอิทธพิ ล หรือรบั ผดิ ชอบในกจิ กรรของผอู้ ่นื ผมู้ คี วามตอ้ งการอาํ นาจจะมลี กั ษณะพฤตกิ รรม ดังนี้ 11.4.3.1 แสวงหาโอกาสในการควบคมุ หรือมีอทิ ธพิ ลเหนือบคุ คลอนื่ 11.4.3.2 ชอบการแข่งขันในสถานการณท์ ม่ี โี อกาสใหต้ นเองครอบงํา คนอืน่ ได้ 11.4.3.3 สนกุ สนานในการเชิญหนา้ หรอื โต้แยง้ ตอ่ สกู่ ับผ้อู น่ื ทฤษฎีแรงจูงใจของแมคเคลแลนด์ (McClelland, 1961, pp. 100 -110) ได้ เน้นสาระสําคัญดา้ นแรงจูงใจ ผ้ทู จี่ ะทํางานได้อยา่ งประสบผลสาํ เร็จตอ้ งมแี รงจงู ใจ N Ach เป็นสาํ คัญ บคุ คลแตล่ ะคนเมื่อมี N Ach สงู กส็ ามารถทาํ งาน ได้สาํ เรจ็ และช่วยใหห้ นว่ ยงานมีประสิทธภิ าพ และ แมคเคลแลนดไ์ ดส้ รปุ ทฤษฏแี รงจงู ใจไวว้ า่ ความต้องการของบุคคลสามารถใหก้ ารเรยี นร้แู ละกระตุ้น ใหเ้ กิดขน้ึ ได้ โดยเฉพาะความต้องการสมั ฤทธผิ ล N Ach นน่ั คือ บุคคลที่มคี วามต้องการสัมฤทธิผลตา่ํ สามารถให้ประสบการณเ์ รยี นร้หู รอื การฝกึ อบรมจนทาํ ให้ความตอ้ งการด้านน้สี ูงขึน้ ได้ สงั คมหรอื ประเทศ ทมี่ ฐี านะทางเศรษฐกิจไมด่ ีกอ็ าจทําใหด้ ขี ้ึนไดโ้ ดยการกระตนุ้ ใหค้ นในสังคมนน้ั มคี วามต้องการสมั ฤทธิผล สงู ข้นึ (McClelland, 1961, pp. 100 -110) โดยสรปุ แลว้ ทฤษฎใี นกลุ่มทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ความต้องการ ของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีข้ันความต้องการของมาสโลว์ ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอรซ์ เบอรก์ และทฤษฎีความตอ้ งการทแ่ี สวงหาของแมคเคลแลนด์ ตา่ งพยายามศกึ ษาความตอ้ งการของมนษุ ยเ์ กิด

503 จากอะไรทําให้ผู้บริหาร สามารถออกแบบงานตลอดจนปรับปรุงรางวัลและสิ่งตอบแทนในงานให้ สอดคล้องกับความต้องการของพนักงาน เพ่ือสร้างพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทาํ งานต่อไป โดย เปรยี บเทยี บทฤษฎตี ่างๆ ในกลุ่มนี้ ซง่ึ มีพน้ื ฐานใกล้เคยี งกนั แมว้ า่ จะมศี ัพทท์ แี่ ตกตา่ งกัน ผบู้ ริหารควร พิจารณาทุกทฤษฎีเหล่านี้ร่วมกัน เพื่อให้เข้าใจลึกซึ้งถึงความต้องการของพนักงานในองค์การ มี รายละเอยี ดในตารางดังตอ่ ไปน้ี ความตอ้ งการ มาสโลว์ เฮอรซ์ เบอรก์ แมคแคลแลนด์ ปจั จัยจงู ใจ ความต้องการ ระดบั สูง ความต้องการความสําเรจ็ (Motivations) ความสาํ เร็จ (Achievement) (Self - actualization) ปัจจัยคํา้ จนุ (Hygiene factors) ความตอ้ งการอํานาจ ความต้องการการยกยอ่ ง (Power) (Esteem) ความตอ้ งการ ความตอ้ งการ ความตอ้ งการทางสังคม ความสมั พันธ์ ระดบั ล่าง (Social) (Affiliation) ความต้องการความมั่นคง (Safety) ความตอ้ งการทางร่างกาย (Physiological) ตารางที่ 16 แสดงการเปรียบเทียบทฤษฎีแรงจูงใจเกยี่ วกบั ความตอ้ งการของมนษุ ย์ (ท่ีมา http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Need_Theories. 9 กนั ยายน 2559)

504 11.5 ทฤษฎี ERG ของเคลย์ตนั อลั เดอรเ์ ฟอร์ ภาพท่ี 149 แสดงภาพทฤษฎี ERG ของเคลย์ตนั อลั เดอรเ์ ฟอร์ (ทีม่ า http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Need_Theories. 9 กนั ยายน 2559) 11.5.1 ความตอ้ งการของเคลย์ตัน แอลเดอร์เฟอร์ เคลยต์ ัน แอลเดอรเ์ ฟอร์ (Claton Elderfer) แหง่ มหาวทิ ยาลยั เยล ไดร้ บั ปรับปรงุ ลาํ ดับความตอ้ งการตามแนวคิดของมาสโลว์ (Maslow) มคี วามต้องการ 3 ระดบั คือ 11.5.1.1 ความต้องการดาํ รงชีวิตอยู่ (Existence Needs) คือ ความตอ้ งการทางร่างกายและความปลอดภัยในชวี ติ เปรยี บได้กับความตอ้ งการระดบั ต่อของมาสโลว์ (Maslow) ย่อโดย E 11.5.1.2 ความต้องการความสัมพนั ธ์ (Relatedness Needs) คือ ความตอ้ งการตา่ งๆทีเ่ กย่ี วเนอ่ื งกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล ทง้ั ในทีท่ าํ งานและสภาพแวดล้อมอ่นื ๆ ตรงกับความต้องการทางสงั คมตามแนวคิดของมาสโลว์ (Maslow) ยอ่ โดย R 11.5.1.3 ความต้องการเจรญิ เตบิ โต (Growth Needs) คอื ความตอ้ งการภายในเพอ่ื การพฒั นาตัวเองเพื่อความเจรญิ เติบโตพฒั นาและใชค้ วามสามารถของตัวเอง ไดเ้ ต็มท่ี แสวงหาโอกาสในการเอาชนะความท้าทายใหมๆ่ เปรยี บไดก้ บั ความตอ้ งการชอ่ื เสยี งและ ความต้องการการเตมิ ความสมบูรณใ์ ห้ชีวิตตามแนวคิดของมาสโลว์ (Maslow) ยอ่ โดย G

505 11.5.2 ความแตกตา่ งระหว่างทฤษฎี ERG และทฤษฎลี าํ ดบั ความตอ้ งการ มีความแตกตา่ งสองประการระหว่างทฤษฎี ERG และทฤษฎีลําดับ ความตอ้ งการ มดี ังน้ี 11.5.2.1 มาสโลว์ (Maslow) ยนื ยันวา่ บุคคลจะหยดุ อยู่ที่ความต้องการ ระดบั หนึง่ จนกวา่ จะได้รบั การตอบสนองแล้ว แตท่ ฤษฎี ERG อธิบายว่า ถา้ ความตอ้ งการระดับน้ัน ยังคงไมไ่ ด้รบั การตอบสนองต่อไป บคุ คลจะเกดิ ความคบั ข้องใจ แล้วจะถดถอยลงมาให้ความสนใจใน ความความตอ้ งการระดับตํา่ กว่าอีกครัง้ หน่ึง 11.5.2.2 ทฤษฎี ERG อธบิ ายวา่ ความต้องการมากกวา่ หน่งึ ระดบั อาจ เกิดขึ้นได้ในเวลาเดียวกันหรือบุคคลสามารถถูกจูงใจด้วย ความต้องการมากกว่าหน่ึงระดับในเวลา เดียวกนั เช่น ความต้องการเงินเดอื นท่สี ูง (E) พร้อมกับความต้องการทางสงั คม (R) และความต้องการ โอกาสและอสิ ระในการคิดตดั สนิ ใจ (G) 11.6 ทฤษฎีความตอ้ งการของมอร์เรย์ ทฤษฎีความต้องการตามแนวความคิดของเมอร์เรย์ (Murray) เมอร์เรย์มี ความคิดเห็นวา่ ความตอ้ งการเปน็ สงิ่ ทบี่ คุ คลได้สร้างขนึ้ ก่อให้เกดิ ความรสู้ ึกซาบซง้ึ ความต้องการน้ี บางครงั้ เกดิ ขนึ้ เนือ่ งจากแรงกระตุ้นภายในของบุคคล และบางครง้ั อาจเกดิ ความต้องการเน่ืองจากสภาพ สงั คมก็ได้ หรอื อาจกลา่ วได้ว่า ความตอ้ งการเป็นส่งิ ทีเ่ กิดข้ึนเนื่องมาจากสภาพทางร่างกายและสภาพ ทางจิตใจ ทฤษฎีความต้องการตามหลกั การของเมอร์เรย์สามารถสรุปได้ดังนี้ (โยธิน ศนั สนยทุ ธ, 2530 : 36) (https://romravin.wordpress.com 22 กันยายน 2559) 11.6.1 ความต้องการท่จี ะเอาชนะด้วยการแสดงออกความก้าวร้าว (Need for Aggression) ความต้องการทีจ่ ะเอาชนะผอู้ น่ื เอาชนะต่อสง่ิ ขดั ขวางท้ังปวงด้วยความรุนแรง การแก้ แคน้ มีการตอ่ สู้ การทาํ รา้ ยร่างกายหรอื ฆ่าฟนั กัน เชน่ การพูดจากระทบกระแทกกบั บุคคลที่ไม่ชอบ กัน หรือมี ปญั หากนั เปน็ ตน้ 11.6.2 ความต้องการท่ีจะเอกชนะฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ (Need for Counteraction) ความตอ้ งการท่ีจะเอาชนะนีเ้ ปน็ ความตอ้ งการทีจ่ ะฟันฝา่ อปุ สรรค ความล้มเหลว ตา่ งๆ ดว้ ยการสร้างความพยายามข้นึ มา เชน่ เม่ือได้รับคําดถู ูกดูหม่นิ ผูไ้ ดร้ ับจะเกดิ ความพากเพียร พยายามเพื่อเอาชนะคาํ สบประมาทจนประสบความสาํ เรจ็ เป็นต้น 11.6.3 ความตอ้ งการทจ่ี ะยอมแพ้ (Need for Abasement) ความต้องการ ชนดิ นี้ เปน็ ความตอ้ งการท่ีจะยอมแพ้ ยอมรบั ผิด ยอมรบั คาํ วจิ ารณ์ หรอื ยอมรบั การถกู ลงโทษ เชน่ การเผาตัวตายเพอื่ ประทว้ งระบบการปกครอง พันท้ายนรสงิ หไ์ มย่ อมรบั อภัยโทษ ตอ้ งการจะรับโทษ ตามกฎเกณฑ์ เป็นต้น

506 11.6.4 ความต้องการท่ีจะป้องกันตนเอง (Need for Defendant) เป็น ความต้องการที่จะป้องกนั ตนเองจากคําวิพากยว์ จิ ารณ์ การตาํ หนติ ิเตือน ซ่งึ เป็นการป้องกนั ทางด้าน จิตใจ พยายามหาเหตุผลมาอธิบายการกระทาํ ของตน มีการป้องกนั ตนเองเพอ่ื ใหพ้ ้นผดิ จาก การกระทาํ ตา่ งๆ เชน่ ใหเ้ หตผุ ลวา่ สอบตกเพราะครูสอนไมด่ ี ครู อาจารย์ที่ไมม่ วี ญิ ญาณครู ข้ีเกียจ อบรมสง่ั สอนศษิ ย์ หรอื ประเภท “ราํ ไม่ดีโทษปโี ทษกลอง” 11.6.5 ความต้องการเป็นอิสระ (Need for Autonomy) เป็นความต้องการท่ี ปรารถนาจะเป็นอิสระจากสง่ิ กดขีท่ งั่ ปวง ต้องการทจ่ี ะตอ่ สู้ด้ินรนเพื่อเป็นตวั ของตัวเอง 11.6.6 ความต้องการความสาํ เร็จ (Need for Achievement) คือ ความตอ้ งการท่ีจะกระทาํ ส่ิงต่างๆ ทยี่ ากลําบากให้ประสบความสาํ เร็จจากการศกึ ษาพบว่า เพศชายจะ มรี ะดับความตอ้ งการความสําเร็จมากกวา่ เพศหญิง 11.6.7 ความต้องการสร้างมิตรภาพกับบุคคลอืน่ (Need for Affiliation) เปน็ ความต้องการท่จี ะทาํ ใหผ้ อู้ ่นื รกั ใคร่ ตอ้ งการรจู้ ักหรอื มีความสมั พันธก์ บั บคุ คลอืน่ ตอ้ งการเอาอกเอก ใจ มคี วามซอ่ื สตั ยต์ อ่ เพ่ือนฝงู พยายามสรา้ งความสมั พันธ์ใกล้ชดิ กับบุคคลอ่นื 11.6.8 ความต้องการความสนุกสนาน (Need for Play) เป็นความต้องการท่ี จะแสดงความสนุกสนาน ตอ้ งการหัวเราะเพื่อการผ่อนคลายความตงึ เครยี ดมีการสรา้ งหรอื เล่าเร่ือง ตลกขบขนั เชน่ มกี ารพักผอ่ นหย่อนใจมีส่วนร่วมในเกมกฬี าเปน็ ต้น 11.6.9 ความตอ้ งการแยกตนเองออกจากผอู้ น่ื (Need for Rejection) บคุ คล มักจะมีความปรารถนาในการท่จี ะแยกตนเองออกจากผอู้ ่นื ไม่มีความรสู้ กึ ยินดยี ินร้ายกบั บุคคลอืน่ ตอ้ งการ เมินเฉยจากผู้อน่ื ไม่สนใจผอู้ น่ื 11.6.10 ความต้องการความช่วยเหลือจากบคุ คลอน่ื (Need for Succorance) ความตอ้ งการประเภทนี้จะเป็นความตอ้ งการใหบ้ คุ คลอ่นื มีความสนใจ เหน็ อกเหน็ ใจ มีความสงสารใน ตนเอง ต้องการได้รับความช่วยเหลือ การดแู ล ให้คาํ แนะนาํ ดแู ลจากบุคคลอื่น 11.6.11 ความต้องการท่ีจะให้ความช่วยเหลือต่อบุคคลอื่น (Need for Nurture) เป็นความตอ้ งการทจี่ ะเข้ารว่ มในการทํากจิ กรรมในการทาํ กิจกรรมกบั บุคคลอน่ื โดยการให้ ความช่วยเหลอื ใหบ้ ุคคลอนื่ พ้นจากภยั อนั ตรายตา่ งๆ 11.6.12 ความต้องการที่จะสร้างความประทับใจให้กับผู้อ่ืน (Need for Exhibition) เปน็ ความตอ้ งการท่จี ะใหบ้ คุ คลอืน่ ไดเ้ ห็น ได้ยินเก่ยี วกบั เรื่องราวของตนเอง ต้องการให้ ผ้อู ่ืนมีความสนใจ สนกุ สนาน แปลกใจ หรอื ตกใจในเร่ืองราวของตนเอง เชน่ เลา่ เรือ่ งตลกขบขัน ไห้ บคุ คลอ่นื ฟังเพ่อื บุคคลอื่นจะเกดิ ความประทบั ใจในตนเอง เปน็ ตน้

507 11.6.13 ความต้องการมีอิทธิพลเหนือบคุ คลอ่นื (Need for Dominance) เป็นความตอ้ งการที่จะให้บุคคลอืน่ มีการกระทําตามคําสงั่ หรอื ความคิด ความตอ้ งการของตน ทาํ ให้ เกดิ ความรู้สึกว่าตนมอี ิทธพิ ลเหนือกว่าบคุ คลอื่น 11.6.14 ความต้องการที่จะยอมรับนับถือผู้อาวุโสกว่า (Need for Deference) เป็นความต้องการท่ยี อมรบั นบั ถอื ผู้ท่อี าวุโสกวา่ ด้วยความยนิ ดี รวมทั้งนยิ มชมช่ืนใน บคุ คลท่ีมีอาํ นาจเหนอื กว่า พรอ้ มที่จะใหค้ วามร่วมมือกบั บคุ คลดังกลา่ วด้วยความยนิ ดี 11.6.15 ความต้องการหลกี เลี่ยงความรูส้ ึกลม้ เหลว (Need for Avoidance of Inferiority) ความตอ้ งการจะหลีกเลีย่ งใหพ้ น้ จากความอบั อายทง้ั หลาย ต้องการหลกี เล่ียงการดถู ูก หรอื การกระทาํ ต่างๆ ทกี่ ่อใหเ้ กดิ ความละอายใจ รสู้ กึ อบั อายล้มเหลว พ่ายแพ้ 11.6.16 ความตอ้ งการทีจ่ ะหลีกเลีย่ งจากอันตราย (Need for Avoidance Harm) ความต้องการนเ้ี ป็นความตอ้ งการทจ่ี ะหลีกเลย่ี งความเจบ็ ปวดทางดา้ นรา่ งกาย ต้องการไดร้ บั ความปลอดภยั จากอนั ตรายทง้ั ปวง 11.6.17 ความต้องการทจ่ี ะหลกี เล่ยี งจากการถกู ตาํ หนหิ รอื ถูกลงโทษ (Need for Avoidance of Blame) เปน็ ความต้องการทีจ่ ะหลีกเลี่ยงการลงโทษดว้ ยการคลอ้ ยตามกลมุ่ หรอื ยอมนับคําสงั่ หรอื ปฏบิ ตั ติ ามกฎข้อบังคับของกลุม่ กฎเกณฑเ์ พราะกลัวถกู ลงโทษ 11.6.18 ความต้องการความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย (Need for Orderliness) เป็นความต้องการที่จะจดั สง่ิ ของต่างๆ ใหอ้ ย่ใู นสภาพท่ีเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย มคี วามประณีต งดงาม 11.6.19 ความต้องการท่ีจะรักษาช่ือเสียง เป็นความต้องการที่จะรักษา ชื่อเสยี งของตนท่ีมอี ยไู่ วจ้ นสดุ ความสามารถ เช่น การไม่ยอมขโมย แมว้ า่ ตนเองจะหิว หรอื ไม่ยอมทาํ ความผิด ไม่คดโกงผู้ใดเพอ่ื ชื่อเสยี งวงศต์ ระกลู เป็นต้น 11.6.20 ความต้องการให้ตนเองมีความแตกต่างจากบุคคลอ่ืน (Need for Contrariness) เปน็ ความต้องการทอ่ี ยากจะเดน่ นาํ สมัย ไม่เหมือนใคร 11.7 ทฤษฎคี วามคาดหวังของวรูม ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory) ของวิคเตอร์วรมู (Vroom) มี องคป์ ระกอบของทฤษฎที สี่ ําคญั คอื (อญั ชลี อ่านวรฬุ หวาณิช, 2539:53) (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Expectancy_Theory. 9 กันยายน 2559) Valence หมายถึง ความพงึ พอใจของบุคคลทมี่ ีต่อผลลัพธ์ Instrumentality หมายถงึ เครอ่ื งมอื อุปกรณ์ วถิ ีทางที่จะไปสู่ ความพึงพอใจ Expectancy หมายถึง ความคาดหวังในตัวบคุ คลนน้ั ๆ ซึง่ ทาํ ให้บุคคลมี ความต้องการหลายสิ่งหลายอย่าง ดังน้ัน จึงพยายามด้ินรนแสวงหาหรือกระทาํ ด้วยวิธีใดวิธีหน่ึง

508 เพื่อตอบสนองความตอ้ งการหรอื สิง่ ท่ีคาดหวงั ไว้ ซ่ึงเม่อื ได้รบั การตอบสนองแล้วก็ตามความคาดหวัง ของบคุ คล จะไดร้ บั ความพงึ พอใจ ขณะเดียวกันก็คาดหวงั ในส่ิงท่สี งู ขน้ึ เรอ่ื ยๆ พาราสุมาน, ไซแธมอลและแบรรี (Parasuraman, Zeithmal and Berry. 1990 ) ไดร้ ะบถุ ึงปจั จยั หลกั ทม่ี ผี ลต่อความคาดหวงั ของผูบ้ รกิ าร แบง่ ออกเปน็ 5 ประการ ไดแ้ ก่ 1. การได้รับการบอกเลา่ คําแนะนาํ จากบุคคลอน่ื 2. ความต้องการของแตล่ ะบคุ คล 3. ประสบการณใ์ นอดีต 4. ขา่ วสารจากสือ่ และ จากผูใ้ ห้บรกิ าร 5. ราคา สรุปได้วา่ ความคาดหวงั คอื ความรสู้ ึกความตอ้ งการทม่ี ตี ่อสงิ่ ใดสิง่ หนึ่ง ทเ่ี ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั ไปจนถงึ อนาคตข้างหน้า เปน็ การคาดคะเนถงึ ส่ิงที่จะมากระทบตอ่ การรับรู้ของ คนเรา โดยใชป้ ระสบการณ์การเรยี นร้เู ปน็ ตัวบ่งบอก 11.8 ทฤษฎีตน้ ไม้จริยธรรมของดวงเดอื น ดวงเดือน พันธุมนาวนิ ได้ทาํ การศึกษาวิจยั ถงึ สาเหตุพฤตกิ รรมของคนดีและ คนเก่ง โดยไดท้ ําการประมวลผลการวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการศึกษา สาเหตุของพฤตกิ รรมตา่ งๆ ของคน ไทยทงั้ เดก็ และผ้ใู หญ่ อายตุ ้ังแต่ 6-60 ปี วา่ พฤตกิ รรมเหล่าน้นั มีสาเหตุทางจิตใจอะไรบา้ ง และได้ นาํ มาประยกุ ต์เป็นทฤษฎตี น้ ไมจ้ ริยธรรมสําหรับคนไทยขนึ้ โดยแบง่ ต้นไมจ้ รยิ ธรรมออกเปน็ 3 สว่ น ดังนี้ (http://www.baanjomyut.com/library_2/ethics/06.html) ส่วนทห่ี นึง่ ได้แก่ ดอกและผลไม้บนต้น ทแี่ สดงถึงพฤติกรรมการทําดีละ เว้นชว่ั และพฤติกรรมการทาํ งานอยา่ งขยนั ขันแขง็ เพอื่ ส่วนรวม ซึ่งล้วนแตเ่ ป็นพฤติกรรมของพลเมอื งดี พฤติกรรมทเี่ ออ้ื เฟ้ือตอ่ การพัฒนาประเทศ สว่ นท่สี อง ไดแ้ ก่ สว่ นลําตน้ ของต้นไม้ แสดงถงึ พฤตกิ รรมการทาํ งาน อาชีพอยา่ ง ขยันขันแข็ง ซง่ึ ประกอบด้วยจิตลกั ษณะ 5 ด้าน คือ 1) เหตผุ ลเชงิ จรยิ ธรรม 2) ม่งุ อนาคตและการควบคุมตนเอง 3) ความเชอ่ื อํานาจในตน 4) แรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธิ์ 5) ทศั นคติ คณุ ธรรมและคา่ นยิ ม

509 ภาพที่ 150 แสดงภาพทฤษฎีตน้ ไม้จรยิ ธรรม (ท่ีมา http://www.baanjomyut.com/library_2/ethics/06.html 22 กันยายน 2559) ส่วนที่สาม ไดแ้ ก่ รากของต้นไม้ ทแ่ี สดงถงึ พฤติกรรมการทํางานอาชีพ อย่างขยันขันแขง็ ซงึ่ ประกอบด้วยจติ ลกั ษณะ 3 ดา้ น คอื 1) สตปิ ญั ญา 2) ประสบการณท์ างสังคม 3) สุขภาพจติ จิตลักษณะทงั้ สามนี้ อาจใชเ้ ป็นสาเหตุของการพฒั นาจิตลกั ษณะ 5 ประการ ที่ลาํ ต้นของต้นไม้ก็ได้ กล่าวคือ บุคคลจะตอ้ งมลี ักษณะพ้ืนฐานทางจติ ใจ 3 ดา้ น ในปริมาณทสี่ งู พอเหมาะกบั อายุ จงึ จะเปน็ ผทู้ ี่มีความพรอ้ มทจ่ี ะพัฒนาจิตลกั ษณะทง้ั 5 ประการ ท่ีลาํ ต้นของต้นไม้ โดยท่ีจิตทง้ั 5 ลกั ษณะน้ี จะพัฒนาไปเองโดยอตั โนมัติ ถ้าบคุ คลทม่ี คี วามพรอ้ มทางจติ ใจ 3 ด้าน ดังกล่าวและอยู่ในสภาพแวดล้อมทางครอบครัวและสังคมที่เหมาะสม นอกจากน้ัน บุคคลยังมี ความพร้อมที่จะรับการพัฒนาจิตลักษณะบางประการใน 5 ด้านนี้ โดยวิธีการอ่ืนๆ ด้วย ฉะน้ัน จิตลักษณะพ้ืนฐาน 3 ประการ จึงเป็นสาเหตุของพฤติกรรมของคนดีและของคนเก่ง นอกจากนี้ จิตลักษณะพื้นฐาน 3 ประการที่รากนี้ อาจเป็นสาเหตุร่วมกับจิตลักษณะ 5 ประการท่ีลาํ ต้น หาก

510 บคุ คลมีพืน้ ฐานทางดา้ นจิตใจเปน็ ปกตแิ ละได้รับประสบการณท์ างสงั คมท่ีเหมาะสม บุคคลนั้นกจ็ ะ สามารถพฒั นาโดยธรรมชาติ แต่ในสงั คมไทยมีการวิจัยพบว่า พฒั นาการหยดุ ชะงกั อย่างไมเ่ หมาะสม กบั วัย กลา่ วคอื ผใู้ หญ่จํานวนหน่ึงซ่งึ สมควรพฒั นาการใชเ้ หตผุ ลไปถงึ ขนั้ สงู แล้วแตย่ งั หยดุ ชะงักท่ขี ้ันตํ่า เชน่ ยังยึดหลักแลกเปลยี่ นผลประโยชนส์ ่วนตนและสว่ นพวกพ้อง เป็นต้น บุคคลทม่ี แี รงจงู ใจดงั กลา่ ว จงึ ยงั ไม่สามารถคิดประโยชน์เพ่อื สังคมได้ ดังนน้ั บุคคลจึงควรมกี ารตรวจสอบจรยิ ธรรมของตัวเองอยู่ตลอดเวลา บนั ทึก กจิ กรรมทีไ่ ดก้ ระทาํ แต่ละวันทําให้ได้ขอ้ มลู เพอ่ื ใช้ในการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมทีไ่ มเ่ หมาะสมให้ดีงาม ย่งิ ขน้ึ ซง่ึ การบนั ทกึ ข้อมลู การปฏบิ ัติหรอื กิจกรรมทไี่ ดก้ ระทําเสมือนการปฏบิ ตั ธิ รรมโดยวิธนี ัง่ สมาธิ เพราะในขณะที่จิตกาํ ลังทบทวนสง่ิ ทไี่ ด้กระทําเสมอื นเป็นการพิจารณาตัวเอง พจิ ารณาการกระทําดี และไมด่ ี ในขณะทจ่ี ติ พิจารณากจ็ ะเกิดสมาธิและเมอื่ ไดพ้ จิ ารณาตนเองแล้ว ก็สามารถเข้าใจตนเอง และปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมใหม่ ซง่ึ เปน็ เสมอื นเกิดปัญญาในการนําพาชวี ิตผ่านพน้ ทุกข์ได้ 12. อิทธพิ ลของมนษุ ยสมั พันธต์ อ่ บคุ คล อทิ ธพิ ลของมนุษยสมั พนั ธต์ ่อบุคคลในนนั้ ในการอธิบายเร่อื งนี้ ผเู้ ขยี นจะขอใชแ้ นวคิด เร่ืองมนุษยส์ ัมพันธ์ ซึ่งทาํ ให้เหน็ ภาพไดใ้ นเรอ่ื งมนุษยสัมพันธม์ ีความสาํ คัญและความจาํ เปน็ อย่างยิ่ง ในการพบปะผ้คู นในระดับตา่ งๆและเม่ือเรารบั รู้เชน่ น้แี ล้ว วา่ มนุษยสมั พันธม์ อี ิทธพิ ลตอ่ มนุษย์มาก บุคคลจึงมีความจาํ เป็นในการเรียนรู้เรื่อง มนุษย์สัมพันธ์ ตลอดจนการวางตนอย่างเหมาะสมใน เข้าสงั คม การอยูก่ บั ผู้อน่ื และปฏิบตั ิตนให้ดดู ใี นสายตาของผอู้ น่ื เสมอ มีความเปน็ ตวั ของตัวเองให้โดย ระลึกเสมอว่า ใจคนอื่นกับใจเราก็ใจเหมือนกัน มีมิตรภาพและความจริงใจให้ผู้อื่น พยายาม เข้าใจผู้อ่ืน เคารพศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ให้มากท่ีสุด เมื่อเราอยู่ได้สังคมอยู่ได้ ชาติก็ เจริญรุ่งเรอื ง สงั คมโลกกป็ กตสิ ุข การจะปฏิบัตติ นเป็นผู้มีไมตรจี ิตไมตรีกายอาจเรยี กส้นั ๆ ได้ว่า การมี มนุษย์สัมพันธ์และเมื่อเราทุกคนยอมรับว่า อิทธิพลของมนุษยสัมพันธ์มีต่อบุคคล ดังท่ีกล่าวแล้ว บคุ คลจึงควรจะปฏิบัตติ นเพื่อใหอ้ ยู่กบั คนในสงั คมอย่างมีความสขุ แนวทางท่ีจะอยู่รว่ มกับคนอ่ืนอย่าง มคี วามสุข เราควรจะมลี ักษณะบุคลิกภาพดงั น้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/HumanRelations. 9 กันยายน 2559) 12.1 จงพยายามเป็นคนที่ง่ายๆ ไม่เร่ืองมาก ไม่มีมาดมากจนทําให้คนอื่นรู้สึกเบ่ือ ราํ คาญ และมาอยากเขา้ ใกล้ เพราะเข้าใกลท้ ไี ร ร้สู กึ ร้อนทุกครงั้ 12.2 จงพยายามเป็นคนท่ีมอี ัธยาศยั ดี ยิม้ แยม้ แจ่มใส ร่าเริงสดช่นื ใครเหน็ ใครรกั ยิม้ งา่ ย การยมิ้ ของมนษุ ย์ใช้กล้ามเน้ือ 14 มดั แต่ถา้ เราทําหนา้ งอ ปัน้ หน้าใหก้ ล้ามเน้ือต้ัง 72 มดั ใคร ไม่ชอบยิ้มแก่เรว็ กวา่ อายุจริง และการยมิ้ ก็ไม่ตอ้ งลงทุน เช้าขึ้นมาก็มรี อยย้มิ ใหก้ ัน

511 12.3 จงเปน็ คนเปิดเผย ไมม่ หี น้ากากหลายช้ัน จรงิ ใจ ไม่เสแสรง้ การที่เราเปิดตน ยอมใหค้ นอ่นื รจู้ ักตวั เราจะเป็นสิ่งที่คนอ่นื ชน่ื ชมเรา การเปิดตวั เปน็ การแสดงออกของความจรงิ ใจ คบกนั อยา่ งจรงิ ใจไม่มีประโยชนอ์ น่ื ใดแอบแฝง สมั พนั ธภาพของคนดีถา้ รู้จกั เปดิ เผยตน 12.4 ระมัดระวังในการสื่อสาร ในการต้องสัมพันธ์กับคนอ่ืนการสื่อสารสําคัญมาก ไมใ่ ชค้ ําสงั่ ข้อรอ้ ง ขอคาํ แนะนํา ขอความชว่ ยเหลอื ดกี ว่าการออกคาํ สงั่ หรอื การพดู แบบเผชญิ หนา้ ดกี วา่ การพูดลับหลงั ในเร่ืองคาํ พดู ต้องพดู แบบเปิดเผย พดู จริงใจ และพดู แบบตรงไปตรงมา 12.5 การรู้จักให้กาํ ลังใจคนอื่น เพ่ือให้คนอ่นื รสู้ กึ ว่าเราสนใจเขา เห็นใจ การกระตุ้น ให้ บุคคลมีกําลงั ใจ จะทาํ ใหค้ นอ่ืนมองเรา เป็นเพอ่ื น ในความจรงิ คนท่เี ราช่วยให้กาํ ลังใจ เขาสามารถ ทํา กิจกรรมนน้ั ๆ ได้ดว้ ยตัวเขาเพยี งแต่ ยงั กล้าๆ กลัวๆ ถา้ เราให้กาํ ลงั ใจบุคคล อาจจะทําในสงิ่ ทเ่ี ขา ตอ้ งการ จะทาํ ได้ตามเปา้ หมาย ผลพลอยได้ เราก็จะเปน็ ทีช่ ืน่ ชมของเพือ่ น 12.6 จงเคารพศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนุษยข์ องบุคคล ใหเ้ กียรตบิ คุ คล ใหก้ ารยอมรบั นับ ถือ สงิ่ เหล่านี้ จะทําให้ความร้สู ึกของเพ่อื นเราดี เราควรเข้าใจเรือ่ ง ศักด์ิศรคี วามเป็นมนุษย์ และ ปฏิบตั ิกบั คนอื่นโดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกันหมด ไมว่ ่าเขาจะเป็นใคร ทํางานในตําแหน่งไหน เขาเป็นคน เช่นเดยี วกบั เรา จงปฏบิ ตั ิตอ่ คนอื่นเชน่ เดียวกับท่ี เราปฏบิ ัตกิ บั ตัวเอง 12.7 จงเปน็ ผ้มู นี าํ้ ใจ น้าํ คําท่ีดี ร้จู กั ช่วยเหลอื คนอนื่ พูดจากบั คนอ่นื ให้ฟงั แลว้ ร่นื หู หวานแบบมีความจรงิ ใจกํากบั เรากจ็ ะไดร้ บั ความจรงิ ใจตอบ 12.8 เปน็ คนทร่ี ู้จักฟงั คนอื่น การฟังคนมากๆ เรียกว่าพหุสูตร มนษุ ย์เราธรรมชาตใิ ห้ หู มาสองอัน หนา้ ที่ของหูคอื ฟงั มาก ฟังแบบตงั้ ใจ ฟงั แบบสนใจในคาํ พดู ไม่ใชฟ่ งั บ้างไม่ฟังบ้าง จ้อง จะพูดแทรก หรอื ไมส่ นใจที่ผพู้ ดู พูดถา้ เราไม่รจู้ ักฟังเราจะไมร่ อู้ ะไรเลย 12.9 ตรงตอ่ เวลา รับผดิ ชอบในงานทที่ าํ มวี ินัยในตนเองสงิ่ เหล่านไี้ ม่ต้องให้ใครชนี้ ํา แต่ เราทําจนเปน็ นิสยั มันกจ็ ะเป็น เสน่หท์ เี่ กดิ กบั ตัวเรา 12.10 รจู้ กั ให้อภยั ให้เวลา ให้โอกาสผูอ้ ่นื ไม่ยดึ ตดิ วา่ เปน็ อย่างน้นั อย่างนี้จนขาด ความยดื หยนุ่ ต้องการใหค้ นอน่ื รักเรา ตอ้ งรกั คนอื่นกอ่ น 12.11 จงหลกี เลย่ี งการแข่งขัน การเอาชนะการชิงดีชงิ เดน่ ซงึ่ จะนาํ มาซ่งึ การประจบ สอพอ การแตกแยก การแบง่ กลมุ่ การเล่นเกม ถา้ เลน่ เกมหลายๆ คนกห็ วงั ชนะ แตไ่ มว่ ่าแพ้ หรอื ชนะ แลว้ ไดอ้ ะไร ทา่ นมคี วามสขุ หรอื ถา้ เห็นความลม้ เหลวของผอู้ ่ืน ถ้าท่านสุขต้องพจิ ารณาแลว้ วา่ ใจของ ทา่ นปกติอย่หู รือเปลา่ 12.12 จงหลกี เลีย่ งการทําตนเหนอื กว่าคนอื่น ไมว่ า่ จะเปน็ ฐานะตําแหน่งสง่ิ เหลา่ น้ี ไม่ได้สร้างสรรค์ให้เกิดมนุษย์สัมพันธ์เลย ถ้าท่านอยู่ในตําแหน่งที่สูง ท่านพูดไม่รับผิดชอบคําพูด วางตนขามขูค่ นอน่ื พูดให้คนอ่นื เสีย วางอาํ นาจ วนั หนง่ึ ไม่มีใคร ทํางานกับท่านแนน่ อน ด่าลูกนอ้ ง ลับหลงั ถามขอ้ มลู ของคนอืน่ กบั คนใกลเ้ คยี ง ฟังความข้างเดียว หทู าํ ด้วยสําลี ปากทาด้วย ตาํ แยเป็น

512 ประจาํ คนประเภทนไ้ี ม่สร้างมนษุ ย์สัมพันธใ์ นงานเลย แตก่ ลับสรา้ งความแตกแยกในสงั คมอกี ฉะนนั้ จงหลกี เลย่ี ง พฤติกรรมที่อยู่เหนอื คนอืน่ เรากจ็ ะเป็นท่รี ักใครข่ องใครๆ สรปุ วิธกี ารสร้างความสัมพันธก์ ับบุคคลอนื่ จะช่วยให้บุคคลสามารถอยูร่ ่วมกบั คนอ่นื ไดอ้ ยา่ งมีความสุข ท้งั ความสุขท่ีเกดิ ขน้ึ ภายในครอบครวั ความสขุ ท่เี กิดจากการได้สมั พันธก์ ับคนอนื่ กล่มุ เพ่อื น กลุม่ อาชพี การท่ีบคุ คลตอ้ งอยู่ร่วมกับคนอ่นื นเ้ี อง จะทาํ ใหบ้ ุคคลมีกลั ยาณมติ ร หรอื มี เพื่อนนน้ั เอง และเพอื่ นทเี่ รารู้จักอาจมีอายุทต่ี ่างกัน เพศตา่ งกนั ระดบั การศึกษาตา่ งกัน ซึง่ เราควร จะต้องเข้ากบั เขาใหไ้ ด้ทง้ั เพ่ือนทอ่ี ย่รู ่วมสังคมเดยี วกับเรา เพือ่ นมนษุ ยท์ ีอ่ ยู่ในโลกใบเดยี วกับเรา สังคมก็ จะสะอาดเกดิ สนั ตใิ นโลก ทุกวนั นมี้ กี ารทะเลาะกันต้ังแต่จุดเลก็ ๆ ไปจนถึงกระบวนการกอ่ ความไม่ สงบให้กับหลายประเทศ น่ันเป็นเพราะมนุษย์ขาดการสัมพันธ์ที่ดี ขาดมิตรจิตมิตรใจขาดความรู้สึก ของความเป็นมนุษย์เหมือนๆ กัน ปญั หาตา่ งๆ เหล่านี้ ตง้ั แต่สังคมระดับยอ่ ยและระดบั ใหญจ่ งึ วนุ่ วาย ดังนั้น เราจึงต้องศึกษาวิธีการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืนให้สามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่าง มีความสขุ และสรา้ งสังคมสะอาดและสงั คมสนั ตสิ ขุ ขึ้น ภาพท่ี 151 แสดงภาพวธิ กี ารสรา้ งมนุษยสมั พันธ์ (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) 13. วธิ กี ารสรา้ งมนษุ ยสัมพันธ์ หลักในการสรา้ งมนุษยสัมพนั ธ์นัน้ เราควรคาํ นึงถึงหลกั ต่อไปนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/HumanRelations. 9 กนั ยายน 2559)) 13.1 การสํารวจตนเอง ในการสมาคมกับบุคคลอ่ืนในชีวิตประจาํ วันน้ัน เราควร สาํ รวจตนเองว่า เรามีส่ิงใดบกพร่องมากไปหรือไม่ หากมีควรหาทางแก้ไขปรับปรุงตนเอง การชม ตนเองมากเกนิ ไปน้ันมีผลเสยี มาก เชน่ ทาํ ใหบ้ างคนลมื ตวั คดิ วา่ ตนเองดแี ลว้ ไม่ตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook