Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

213 ในเร่ืองใดเร่อื งหนึง่ แก่ผู้เรียนกอ่ นการสอนเนือ้ หาสาระนัน้ ๆ จะช่วยให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นเนื้อหาสาระน้ัน อยา่ งมคี วามหมาย ออซูเบล (Ausubel) สนใจทจ่ี ะหากฎเกณฑ์และวธิ กี ารสอน การเรียนรูอ้ ย่างมคี วามหมาย ไมว่ ่าจะเปน็ โดยการรับหรือคน้ พบ เพราะออซูเบลคิดว่าการเรียนรใู้ น โรงเรยี นส่วนมากเปน็ การทอ่ งจาํ โดยไม่คดิ 1) การเรยี นรู้ การเรยี นรูอ้ อกเปน็ 4 ประเภท ดังต่อไปน้ี (1) การเรียนรูโ้ ดยการรับอยา่ งมีความหมาย (Meaningful Reception Learning) (2) การเรยี นรู้โดยการรบั แบบท่องจําโดยไม่คดิ หรอื แบบ นกแกว้ นกขุนทอง (Rote Reception Learning) (3) การเรียนรโู้ ดยการค้นพบอยา่ งมีความหมาย (Meaningful Discovery Learning) (4) การเรียนรโู้ ดยการค้นพบแบบท่องจําโดยไมค่ ิดหรอื แบบนกแกว้ นกขุนทอง (Rote Discovery Learning) 2) การเรียนรูอ้ ยา่ งมีความหมายขึ้นอยกู่ ับตวั แปร การเรียนรู้อย่างมคี วามหมายข้นึ อยู่กบั ตวั แปร 3 อย่าง ดังตอ่ ไปน้ี (1) ส่งิ ท่จี ะตอ้ งเรียนรู้ (Materials) จะตอ้ งมีความหมาย ซ่ึงหมายความวา่ จะต้องเป็นส่ิงท่ีมคี วามสัมพนั ธก์ ับส่ิงท่ีเคยเรยี นร้แู ละเกบ็ ไว้ในโครงสรา้ งพุทธปิ ญั ญา (cognitive structure) (2)ผู้เรียนจะต้องมีประสบการณ์ และมีความคิดที่จะ เชอ่ื มโยงหรือจัดกลมุ่ ส่ิงทีเ่ รยี นรู้ใหมใ่ หส้ ัมพนั ธก์ บั ความร้หู รือสิ่งที่เรียนรูเ้ ก่า (3) ความตง้ั ใจของผเู้ รียนและการที่ผเู้ รียนมคี วามรู้-คิดที่ จะเช่ือมโยงสง่ิ ท่ีเรยี นรู้ใหมใ่ หม้ คี วามสมั พนั ธก์ ับโครงสรา้ งพุทธปิ ัญญา (Cognitive Structure) ทีอ่ ยู่ ในความทรงจาํ แล้ว 3) ประเภทของการเรยี นรู้อย่างมีความหมาย การเรยี นรู้อย่างมีความหมายเป็น 3 ประเภท คือ (1) Subordinate learning เป็นการเรยี นรูโ้ ดยการรบั อยา่ งมคี วามหมาย โดยมีวธิ กี าร 2 ประเภท คอื

214 (ก)Derivation Subsumption เป็นการเชือ่ มโยงส่ิงท่ีจะต้องเรยี นรใู้ หมก่ บั หลักการหรอื กฎเกณฑ์ทเี่ คยเรียนมาแลว้ โดยการไดร้ บั ขอ้ มลู มาเพ่ิม เชน่ มคี นบอก แลว้ สามารถดูดซมึ เขา้ ไปในโครงสรา้ งทางสติปญั ญาที่มอี ยแู่ ลว้ อย่างมคี วามหมาย โดยไมต่ อ้ งทอ่ งจํา (ข) Correlative subsumptionเปน็ การเรยี นรทู้ ีม่ ี ความหมายเกดิ จากการขยายความ หรือปรบั โครงสรา้ งทางสตปิ ญั ญาทีม่ ีมากอ่ นใหส้ มั พนั ธก์ ับสิ่งท่ีจะ เรยี นร้ใู หม่ (2) Superordinate learning เปน็ การเรยี นรู้โดย การอนุมาน โดยการจดั กลมุ่ ส่งิ ที่เรียนใหมเ่ ขา้ กับความคิดรวบยอดที่กว้างและครอบคลมุ ความคิดยอด ของส่งิ ทเี่ รยี นใหม่ เช่น สุนขั แมว หมู เป็นสตั ว์เลี้ยงลกู ด้วยนม (3) Combinatorial learning เป็นการเรยี นรหู้ ลักการ กฎเกณฑ์ตา่ งๆเชงิ ผสม ในวิชาคณติ ศาสตร์ หรือ วิทยาศาสตร์ โดยการใช้เหตผุ ล หรอื การสังเกต เชน่ การเรยี นรู้เกีย่ วกบั ความสมั พันธร์ ะหวา่ งน้าํ หนกั กบั ระยะทางในการทท่ี าํ ให้เกิดความสมดลุ 4) ข้อสรปุ สาํ คัญของการเรยี นรู้อยา่ งมคี วามหมาย ใช้เทคนคิ การสอนแบบ Advance Organizer คอื เปน็ วิธีการสร้างการเชื่อมช่องว่างระหว่างความรู้ที่ผู้เรียนได้รู้แล้ว (ความรู้เดิม) กับความรู้ใหม่ท่ีได้รับ ที่จําเปน็ จะตอ้ ง เรยี นรู้เพ่อื ผเู้ รียนจะได้มีความเขา้ ใจเนอื้ หาใหมไ่ ดด้ แี ละจดจาํ ได้ดขี ึ้น โดยมีขนั้ ตอน ดงั นี้ (1) การจัด เรียบเรียง ขอ้ มลู ข่าวสารที่ต้องการใหเ้ รียนรู้ ออกเปน็ หมวดหมู่ (2) นําเสนอกรอบ หลกั การกวา้ งๆ กอ่ นทจ่ี ะใหเ้ รยี นรูใ้ น เร่ืองใหม่ หรือ (3) แบง่ บทเรียนเปน็ หวั ขอ้ ท่ีสําคัญ และบอกใหท้ ราบ เกย่ี วกับหัวข้อสําคญั ท่เี ป็นความคดิ รวบยอดใหม่ท่จี ะตอ้ งเรยี น (nusilasaleh.blogspot.com/2012/09/david-p-ausubel.html 21 กรกฎาคม 2559)

215 แมกซ์ เวอร์ไทมเ์ มอร์ วุลฟ์ แกงค์ โคหเ์ ลอร์ เคิรท์ คอฟฟ์กา เคิรท์ เลวนิ ภาพท่ี 61 แสดงภาพแมกซ์ เวอรไ์ ทมเ์ มอร,์ วุล์ฟแกงค์ โคห์เลอร,์ เคริ ท์ คอฟฟ์กา และเคริ ท์ เลวนิ (ท่มี า https://www.google.co.th/search 24 สงิ หาคม 2559) 9.2 การคดิ แบบญาณปัญญาหรอื แบบหย่ังเห็น 9.2.1 การคิดแบบญาณปัญญาหรือแบบหยั่งเห็น ผู้เขียนอธิบายถึงทฤษฏี การเรยี นรขู้ องกลมุ่ เกสตลั ท์ (Gestalt Theory) ทเ่ี กยี่ วขอ้ งการคิดแบบญาณปัญญาหรอื แบบหยง่ั เห็น ผู้นาํ ของกลมุ่ คอื แมกซ์ เวอร์ไทมเ์ มอร์ (Max Wertheimer), วลุ ์ฟแกงค์ โคหเ์ ลอร์ (Wolfgang Kohler), เคริ ์ท คอฟฟ์กา (Kurt Koffka), และ เคริ ท์ เลวนิ (Kurt Lewin) ซง่ึ ต่อมาภายหลังเลอวินได้ นําเอาทฤษฎีของกลุ่มเกสตัลท์น้ีมาปรับปรุงดัดแปลงเป็นทฤษฎีใหม่ คือทฤษฎีสนามเกสตัลท์เป็น คําศพั ท์ในภาษาเยอรมัน มีความหมายว่า แบบแผนหรือรูปรา่ ง (form or pattern) ซงึ่ ต่อมาใน ความหมายของทฤษฎีน้ี หมายถึงสว่ นรวมหรือส่วนประกอบทงั้ หมด สาเหตุทีเ่ รียกเชน่ นเ้ี พราะความคดิ หลกั ของกลมุ่ นเ้ี ชือ่ ว่า การเรยี นร้ทู ่ีดียอ่ มเกดิ จากการจดั ส่ิงเรา้ ต่างๆ มารวมกนั ใหเ้ กดิ การรับรโู้ ดย

216 สว่ นรวมกอ่ นและจึงแยกวเิ คราะหเ์ พือ่ เรียนรู้สว่ นย่อยทลี ะสว่ นตอ่ ไป ถา้ มนุษยห์ รือสัตวม์ องภาพพจน์ ของส่ิงเรา้ ไม่เห็นโดยสว่ นรวมแล้ว จะไมเ่ ขา้ ใจหรือเรียนรไู้ ด้อย่างแทจ้ รงิ ภาพท่ี 62 แสดงภาพการเรยี นรู้แบบหยั่งเห็นของโคหเ์ ลอร์ (ท่มี า https://www.google.co.th/search 24 สงิ หาคม 2559) ตัวอยา่ ง การเรียนรแู้ บบหยงั่ เห็น (Insight) โคหเ์ ลอร์ ได้สังเกตการเรียนรขู้ อง ลงิ ในการทดลอง ลิงพยายามที่จะเอากลว้ ยซง่ึ แขวนอย่สู งู เกนิ กวา่ จะเอือ้ มถงึ ในทส่ี ดุ ลงิ กเ็ กิดความคิดที่ จะเอาไมไ้ ปสอยกลว้ ยทีแ่ ขวนเอามากินได้ สรุปไดว้ า่ ลิงมกี ารเรียนรูแ้ บบหยั่งเหน็ การหยัง่ เหน็ เป็น การค้นพบหรอื เกิดความเขา้ ใจในชอ่ งทางแก้ปัญหาอย่างฉับพลันทันที อนั เนือ่ งมาจากผลการพิจารณา ปญั หาโดยสว่ นรวม และการใช้กระบวนการทางความคิดและสตปิ ัญญาของบุคคลนั้นในการเชื่อมโยง ประสบการณ์เดิมกับปัญหาหรือสถานการณท์ เ่ี ผชิญ ดงั นน้ั ปัจจัยสําคญั ของการเรียนรูแ้ บบหยัง่ เห็นก็ คือประสบการณ์ หากมีประสบการณ์สะสมไวม้ าก การเรียนรแู้ บบหยั่งเห็นก็จะเกดิ ข้นึ ได้มากเชน่ กัน (http://nanadisak.blogspot.com/ 21 กรกฎาคม 2559) 9.2.2 แนวคิดการคิดแบบญาณปัญญาหรอื แบบหยงั่ เห็น 9.2.2.1 กระบวนการคิดเป็นกระบวนการสําคัญในการเรยี นรู้ การสง่ เสรมิ กระบวนการคดิ จึงเปน็ สิง่ จาํ เปน็ และเป็นส่งิ สําคัญในการช่วยให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ 9.2.2.2 การเสนอภาพรวมใหผ้ เู้ รียนเหน็ และเขา้ ใจก่อนการเสนอสว่ นยอ่ ย จะชว่ ยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรไู้ ด้ดี

217 9.2.2.3 การสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมปี ระสบการณ์มาก ไดร้ บั ประสบการณท์ ่ี หลากหลายจะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนสามารถคิดแกป้ ญั หาและคิดรเิ รมิ่ ไดม้ ากข้ึน 9.2.2.4 การจดั ประสบการณใ์ หมใ่ หม้ คี วามสัมพนั ธก์ ับประสบการณเ์ ดิม ของผูเ้ รยี นจะชว่ ยให้ผู้เรยี นสามารถเรยี นรไู้ ด้งา่ ยขึ้น 9.2.2.5 การจดั ระเบยี บสิ่งเร้าทีต่ อ้ งการใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรใู้ หด้ ีคือ การจดั กลมุ่ สง่ิ เร้าทเ่ี หมอื นกันหรอื คลา้ ยคลึงกนั ไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน 9.2.2.6 การเสนอบทเรยี นหรือเนอ้ื หาควรจัดให้มีความต่อเนอื่ งกนั จะ ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้ดี และรวดเร็ว 9.2.2.7 การสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั ประสบการณ์ทห่ี ลากหลาย จะชว่ ย ใหน้ ักเรียนเกิดการเรยี นรู้แบบหย่ังเห็นได้มากขน้ึ 9.2.3 สรุปการคดิ แบบญาณปญั ญาหรอื แบบหยงั่ เหน็ 9.2.3.1 การหยั่งเห็นขนึ้ อยู่กับสภาพปญั หา การหยงั่ เห็นจะเกดิ ข้ึนไดง้ า่ ย ถ้ามีการรับรู้องค์ประกอบของปัญหาที่สัมพันธ์กัน บุคคลสามารถสร้างภาพในใจเกี่ยวกับข้ันตอน เหตกุ ารณ์ หรอื สภาพการณ์ท่ีเก่ียวข้องเพ่อื พยายามหาคาํ ตอบ 9.2.3.2 คาํ ตอบท่เี กิดขึน้ ในใจถือว่าเป็นการหยั่งเห็น ถา้ สามารถแกป้ ัญหา ไดบ้ คุ คลจะนาํ มาใชใ้ นโอกาสต่อไปอีก 9.2.3.3 คาํ ตอบหรือการหยง่ั เห็นท่ีเกดิ ขึ้นสามารถนาํ ไปประยกุ ต์ใช้ใน สถานการณ์ใหม่ได้ ภาพที่ 63 แสดงภาพการคดิ บวก (ทมี่ า https://www.google.co.th/search/ 24 สงิ หาคม 2559)

218 9.3 การคิดบวก การคิดบวก เปน็ วธิ หี น่ึงอยา่ งหนึ่งที่เป็นการคดิ อย่างมสี ติ โดยมี การเปรยี บเทยี บการคิดทางบวกกับการคดิ ทางลบ ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ การคิดทางบวก การคดิ ทางลบ - มองโลกในแงด่ ี - นนิ ทาวา่ รา้ ย - เอ้อื เฟ้อื เผอ่ื แผ่ - อจิ ฉารษิ ยา - การให้อภยั - คดิ ระแวง - การคดิ สรา้ งสรรค์ - คิดเผดจ็ การ - ความศรทั ธาในศาสนา - เหน็ แกต่ ัว ฯลฯ - ฯลฯ ตารางที่ 12 แสดงการเปรียบเทียบการคิดทางบวกกับการคิดทางลบ (ท่มี า http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking.htm 21 กรกฎาคม2559) การคิดทางบวก ก่อใหเ้ กิดความสุข สามารถอธิบาย มีดังนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking.htm 21 กรกฎาคม 2559) 9.3.1 เร่มิ จากคิดดีแต่ตนเองกอ่ น ให้เวลาแกต่ นเอง เชน่ คิดดแู ลตนเอง รกั ษา สขุ ภาพให้ได้ดี รา่ งกายทแี่ ขง็ แรงสมบรู ณ์ จิตใจที่ แจม่ ใสเบิกบาน ยอ่ มจะทําใหอ้ ารมณด์ ี และชีวติ เปน็ สขุ ดั่งสุภาษิตทวี่ ่า “ความไม่มโี รคเปน็ ลาภอนั ประเสริฐ” 9.3.2 มองคนรอบข้างในแง่ดี การมองคนรอบข้างในทางที่ดีน้ัน จะทําให้ บรรยากาศทีอ่ ยู่น้ันผ่อนคลายหายเครียด เป็นสุขไว้ใจกนั และเขา้ ใจกนั ใจของเรา ก็จะเปน็ สุข หนา้ ตา ของเราก็จะแจม่ ใส และอายุกจ็ ะยนื ยาว 9.3.3 ไม่เป็นคนข้ีสงสัยระแวง ต้องตัดความคิดเร่ืองระแวงแคลงใจออกจาก ตัวเองให้เร็วท่ีสุด มากท่ีสุด สง่ิ ทค่ี วรจะทาํ คอื การเลกิ รบั ข่าวสารทีไ่ ม่เปน็ ประโยชน์ต่อตนเองออกไป เลิกอ่านหนงั สือพิมพ์ทเ่ี ขียนข่าวแตใ่ นทางรา้ ย เลกิ ฟงั วิทยุหรือชมรายการโทรทศั นท์ ี่ไม่ประเทืองปัญญา ความเปน็ คนขรี้ ะแวงจะลดลง 9.3.4 อยา่ มองโลกในแง่ร้าย โบราณกล่าวว่า “คบคนพาลพาลพาไปหาผดิ คบ บณั ฑิตบณั ฑติ พาไปหาผล” พยายามหลกี ตวั หนหี ่างจาก การคบหาสมาคมกับ คนทม่ี องโลกในแงร่ า้ ย คนทข่ี อ้ี ิจฉาริษยา คนขีร้ ะแวง ซงึ่ นาํ ไปสู่การมองโลกในแงร่ า้ ย ควรคบคนทม่ี องโลกในแง่ดี คิดในทาง สรา้ งสรรค์ ไม่เหน็ แกต่ ัว

219 9.3.5 เอาใจเขามาใสใ่ จเรา การเอาใจเขามาใสใ่ จเรา อยา่ เอาแตค่ วามคิดของ ตนเป็นใหญ่ พยายามคิดในทางท่ีดีถึงการกระทําของคนใกล้ตัว ให้อภัยซ่ึงกันและกัน ในความผดิ พลาด 9.3.6 คดิ ก่อนพูด การคดิ ก่อนพดู ไม่ว่าเป็นจะต้องพูดทกุ อย่างทร่ี ู้ (ซ่งึ อาจจะ ไม่เป็นความจริงทุกเร่ืองเสมอไป) แต่จะต้องรู้ทุกเรื่องท่ีจะพูดออกไปว่า เป็นประโยชน์ต่อผู้ฟังหรือ ตวั เองหรือไม่ 9.3.7 อยา่ ใชอ้ ารมณค์ ิดต้องใช้ความคิดในทางทเ่ี ปน็ เหตแุ ละผล โดยเฉพาะตอ้ ง มองเหตกุ ารณท์ ุกอย่างในชีวิตวา่ เปน็ เพราะเหตใุ ดจงึ เกดิ ผลของการกระทํานน้ั และถา้ ปรบั เปลยี่ นบาง สิง่ บางอยา่ งแล้ว ตน้ เหตทุ ่ไี มด่ งี ามอาจจะหายไป และผลดี ต่างๆ กน็ า่ จะตามมาแทนที่ ภาพที่ 64 แสดงภาพการคดิ แกป้ ัญหา (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 24 สิงหาคม 2559) 9.4 การคดิ แกป้ ญั หาและการตัดสนิ ใจ 9.4.1 การคิดแกป้ ัญหา เปน็ วิธกี ารคิดอย่างหนงึ่ ทเี่ ป็นการคิดอย่างมสี ติ โดยมี รายละเอียดดังน้ี (บังอร ชินกุลกิจนวิ ัฒน์,2547 : 228-231-233) นักจิตวิทยามองเห็น ว่า การคิดเป็นกระบวนการท่ีทาํ ให้คนสามารถ แก้ปัญหาโดยใช้ประสบการณ์และการเรียนรู้ท่ีได้รับมา การแก้ปัญหาจึงเป็นพฤติกรรมขั้นสูงของ การคดิ ซึ่งเกิดจากความตอ้ งการของคนเราในการคน้ หาวิธีการแก้ปัญหาในสถานการณท์ ี่เขาไมเ่ คยขอ้ ง เกยี่ วมาเลย คนเรามักนําเอาประสบการณก์ ารเรยี นรขู้ องเขาไปใช้ในการแกป้ ญั หาในสถานการณ์ใหมๆ่ และเม่อื เขาสามารถแกป้ ญั หาไดค้ รงั้ หน่งึ แล้วก็จะไมเ่ ป็นปญั หายุ่งยากในครัง้ ต่อไปอีก

220 9.4.1.1 การลองผิดลองถูก การลองผิดลองถูก เป็นการแก้ปัญหาวิธีหน่ึง คือ พยายามใช้ วิธกี ารท่ีคดิ วา่ เหมาะสมเข้าแกป้ ัญหาคร้งั แลว้ ครง้ั เลา่ จนกระทั่งได้วธิ ที ่ีถกู ตอ้ งคอื ประสบความสําเรจ็ การลองผิดลองถูกดังกลา่ วน้ี จึงสามารถใชแ้ ก้ปัญหาได้วิธหี นง่ึ แตม่ กั จะใชแ้ ก้ปญั หาท่ีงา่ ยๆ และไม่ ต้องใชก้ ารคิดลึกซ้งึ จรงิ จัง ตวั อย่างเช่น ผจู้ ดั สรรบ้านไดใ้ หก้ ญุ แจบ้านแกเ่ ราท้งั พวง ซึง่ มกี ุญแจประตู หนา้ บา้ น หลงั บา้ น กุญแจหอ้ งต่างๆ กุญแจโรงรถ โดยไมม่ เี ครื่องหมายใดๆ กําหนดใหร้ ู้ว่า กญุ แจดอก ใดใช้ไขห้องใด ดงั นัน้ เม่อื เราตอ้ งการเขา้ บ้าน เราก็ต้องสมุ่ กญุ แจทดลองใชไ้ ปเรือ่ ยๆ นั่นคือ เรากําลัง ลองผิดลองถูกเพ่ือหาวิธีท่ีถูกต้องในการแก้ปัญหา และเราก็ต้องลองผิดลองถูกเช่นนี้กับทุกประตู จนกระทง่ั เหลอื กุญแจดอกสดุ ทา้ ย การลองผดิ ลองถกู อาจจะเป็นแบบท่ีมองไมเ่ หน็ ก็ได้ น่นั คือ อาจ เปน็ การคดิ หาวธิ ที เี่ ป็นไปได้ เมื่อไดว้ ิธที ค่ี ดิ วา่ ถกู ต้องเหมาะสมจริงๆ จงึ กระทําตาม เชน่ ในกรณีทที่ ํา กุญแจหาย แทนทเี่ ราจะค้นหาทัว่ บา้ น เราอาจจะนัง่ คดิ ว่า ลืมทงิ้ ไว้ท่ีใด การคดิ หรือนึกภาพเช่นนเี้ ป็น วธิ ีการลองผดิ ลองถกู ทม่ี ีวธิ ีหนึ่งเพราะเราสามารถประหยัดเวลาและพลงั งาน 9.4.1.2 กระบวนการแก้ปัญหา ในการแกป้ ัญหานน้ั คนสว่ นใหญไ่ มส่ นใจวา่ พวกเขามกี ารคิด เก่ียวกบั ปัญหาอยา่ งไร อาจเพราะพวกเขาเพ่งเลง็ ทีต่ ัวปัญหาท่ีจะตอ้ งแก้มากกวา่ และดาํ เนินการคิด แกป้ ญั หาไปอย่างอัตโนมัติ จากการรวมกระบวนการในการแก้ปัญหาก็พบว่า โดยทว่ั ไปมขี นั้ ตอนของ การแกป้ ัญหาขั้นตอนด้วยกัน ซง่ึ เป็นขนั้ ตอนท่คี นสว่ นใหญใ่ ชแ้ ก้ปญั หาอยู่เสมอๆ กลา่ วคือ ข้ันท่ี 1 ข้ันจัดเตรียม (Preparation) เม่ือเผชิญปัญหา ต้อง ศกึ ษาปัญหาเสยี กอ่ น ใหค้ วามสนใจส่วนสําคญั ๆของปัญหา ขัน้ จดั เตรียมน้ีจะกระทําได้โดย ในตอนแรก ทําความคนุ้ เคยกับปญั หา ต่อไปจงึ สมมตแิ นวคดิ ทจี่ ะแกป้ ัญหาหลายๆ แนวทาง แนวคิดเหล่านจ้ี ะ ได้รบั การพจิ ารณาและตดั ทง้ิ ไปเรอื่ ยๆ จนกระท่ังเหลือวิธีการแกป้ ญั หาบางวิธที สี่ ามารถเปน็ ไปได้ ขั้นที่ 2 ขัน้ ฟกั ตัว (Incubation) หมายถึง การอยเู่ ฉยๆ คนเรา จะพยายามลดวิธีการแก้ปัญหาให้เหลือเฉพาะท่ีสามารถจะใช้ได้บางวิธีเท่านั้น จากนั้นเขาจะ ยอมให้ความคิดของเขาหยุดพักไม่ต้องกังวลว่า ในระยะน้ีจะมีความก้าวหน้าเพียงใด นักจิตวิทยา บางคนยืนยันว่า การนอนหลบั เปน็ ชว่ งเวลาของการฟกั ตวั ซ่งึ มีนักวิทยาศาสตร์หลายคนให้สนับสนุน วา่ ทฤษฎีสาํ คญั ๆ หลายทฤษฎีได้มาจากท่คี วามคดิ ของพวกเขามกี ารฟักตวั ขณะพักผอ่ นนอนหลบั เชน่ นักคณิตศาสตร์ เรเน่ เดสคารท์ กล่าวว่า เขาแนวคิดสาํ คญั ๆจากการฝนั ด้วยเหตุนน้ี กั วทิ ยาศาสตร์ และนกั เขียนหลายคน จึงเอากระดาษปกึ หน่งึ ไวใ้ กลเ้ ตียง เพ่อื จดบนั ทกึ สิ่งท่เี ขาคดิ ไดจ้ ากการนอนได้ ทันท่วงที เปน็ ความจริงทวี่ า่ การนอนไม่ใช่การกระทําในระยะฟกั ตวั แต่การนอนช่วยไมใ่ ห้พฤติกรรม อ่ืนใดเข้ามาเกี่ยวข้อง ซ่ึงพฤติกรรมอื่นๆที่ไม่เก่ียวกับการแก้ปัญหานั้น จะทาํ ตัวเหมือนเป็นสื่อของ การระลกึ ได้จากการคดิ ในจิตใตส้ าํ นกึ

221 ข้นั ท่ี 3 ข้นั รชู้ ดั แจ้ง (Illumination) การคิดขน้ึ มาได้ทนั ทีทันใด หรือการระลกึ ได้จากการคิดในระยะฟักตวั เปรยี บเสมอื นการสอ่ งแสงให้รชู้ ัดแจง้ ซงึ่ มลี กั ษณะคล้ายกบั การหยงั่ รู้ (Insight) คนเรามักจะม่ันใจเสมอว่า เขาแกป้ ญั หาได้ในขั้นที่ 3 รชู้ ัดแจ้งนี้ ข้นั ท่ี 4 ขัน้ ตรวจสอบว่าเปน็ จรงิ (Verification) เปน็ การพิจารณา ตวรจสอบด้วยวิธีการท่ีถูกต้องโดยนักวิทยาศาสตร์ วิธีการแก้ปัญหาใดๆ ต้องได้รับการพิสูจน์ ตรวจสอบ ไมว่ ่าจะเป็นการตรวจสอบด้วยการกระทาํ หรือด้วยหลักเหตุผลทางตรรกศาสตร์ ในวิชา คณิตศาสตร์ การตรวจสอบเป็นการนาํ ทฤษฎีมากล่าวอ้าง แต่ในชีวิตจริงเราตรวจสอบโดยนาํ เอา ความตอ้ งการของสงั คมหรือความตอ้ งการความพอใจของเราเปน็ เกณฑ์ ในการแก้ปัญหานั้นประสบการณ์ส่วนตัวของแต่ละบุคคลจะ เข้ามาอิทธิพลอย่างมาก แต่ก็เป็นการยากที่จะแยกแยะให้เห็นว่า ประสบการณ์ใดมีอิทธิพลต่อ การแก้ปัญหาในสถานการณ์ใด เพียงแต่เราทราบว่า ประสบการณ์จะมีส่วนช่วยให้เราค้นพบวิธี แก้ปัญหาท่ีถูกต้องได้รวดเร็วข้ึน อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์ที่กล่าวถึงน้ีอาจเป็นตัวขัดขวาง สมรรถภาพในการแก้ปัญหาของเราได้ โดยกดี กน้ั วธิ แี ก้ปัญหาแบบใหม่ แบบฉบั พลนั ทนั ใดหรือแบบ จินตนาการที่ควรจะเกดิ ขึ้นมใิ หเ้ กิดขน้ึ ได้ เร่อื งของแกป้ ญั หา ปจั จยั สาํ คญั ที่ตอ้ งคํานงึ ถงึ ประการหนึง่ คือ นสิ ัยใจคอของบุคคลน้ัน เพราะแต่ละบคุ คลมกั นําเอานิสยั ใจคอซงึ่ บทบาทสําคัญต่อการแสดง พฤติกรรมเข้ามาเก่ียวขอ้ งกบั การแก้ปัญหา โดยท่ัวไปนิสัยใจคอช่วยให้เราทาํ พฤติกรรมประจําวัน ได้อย่างประสิทธิภาพ แต่ในการแกป้ ญั หา เราไมไ่ ดเ้ ผชญิ หน้ากับพฤตกิ รรมนนั้ เปน็ ประจํา จึงทาํ ให้ ต้องหาวิธที ีเ่ หมาะสมมาใช้ นสิ ัยใจคอมักจะเขา้ มาขัดขวางการแก้ปัญหามากกว่าเข้าช่วย นอกจากนี้ ความตั้งใจและการยดึ ม่นั ของแตล่ ะบุคคลยงั เข้ามาเก่ยี วข้อง โดยเฉพาะเขา้ มาขัดขวางการแก้ปัญหา ของบคุ คลด้วย ทํานองเดยี วกนั กบั นิสัยใจคอ คอื ความต้งั ใจเป็นความคิดที่เราจัดตั้งไว้ก่อน ดังน้ัน เมื่อได้รับส่ิงเร้า เราจะจัดกระทําตามท่ีตั้งใจไว้ทันที และเชน่ เดยี วกันการยดึ มน่ั เชื่อม่ันในบางสิง่ บางอย่างทําใหเ้ กิดความไขวเ้ ขวและผดิ พลาดในการแก้ปัญหา 9.4.2 การตดั สนิ ใจ 9.4.2.1 ความหมายของการตดั สนิ ใจ การตดั สนิ ใจ (Decision Making) หมายถงึ กระบวนการเลือก ทางเลือกใดทางเลือกหน่ึงจากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่า เป็น ทางให้บรรลุวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายขององค์การ การตดั สนิ ใจ เปน็ สง่ิ สาํ คญั และเกยี่ วข้องกับ หนา้ ทกี่ ารบริหารหรือการจัดการเกือบทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นการวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทาํ งาน การประสานงาน และการควบคมุ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Decision_Making.htm21 กรกฎาคม 2559)

222 ภาพที่ 65 แสดงภาพการตัดสนิ ใจ (ท่มี า https://www.google.co.th/search 24 สงิ หาคม 2559) นกั วชิ าการไดใ้ หค้ วามหมายของการตดั สนิ ใจ ไว้แตกตา่ งกนั ดังนี้ บารน์ ารด์ (Barnard, 1938) ไดใ้ ห้ความหมายของการตัดสนิ ใจ ไว้ว่า คือ เทคนิคในการท่จี ะพิจารณาทางเลือกตา่ งๆ ใหเ้ หลือทางเลอื กเดยี ว ไซมอน (Simon) ได้ให้ความหมายว่า การตัดสินใจ เป็น กระบวนการของการหาโอกาสท่ีจะตัดสนิ ใจ การหาทางเลอื กที่พอเป็นไปได้และทางเลอื กจากงานต่างๆ ทม่ี ีอยู่ มดู ี (Moody) ไดใ้ หค้ วามหมายว่า การตดั สินใจ เป็นการกระทํา ที่ต้องทําเม่ือไม่มีเวลาท่ีจะหาข้อเท็จจริงอีกต่อไป ปัญหาท่ีเกิดข้ึนก็คือ เม่ือใดถึงจะตัดสินใจว่า ควรหยดุ หาขอ้ เท็จจริง แนวทางแก้ไขจะเปล่ียนแปลงไปตามปัญหาทต่ี อ้ งการแก้ไข ซง่ึ การรวบรวม ขอ้ เท็จจริง เกย่ี วพันกบั การใช้จ่ายและการใช้เวลา กบิ สนั และอิวาน เซวชิ (Gibson and Ivancevich) ไดใ้ ห้ ความหมายของการตดั สินใจไว้วา่ เปน็ กระบวนการสาํ คญั ขององคก์ ารท่จี ะตอ้ งกระทาํ อยูบ่ นพ้ืนฐาน ของข้อมูลข่าวสาร (information) ซึ่งได้รับมาจากโครงสร้างองค์การพฤติกรรมบุคคลและกลุ่ม ในองคก์ าร โจนส์ (Jones) ได้ให้ความหมายของการตัดสินใจองค์การ ว่า เป็นกระบวนการที่จะแก้ไขปัญหาขององค์กร โดยการค้นหาทางเลือกและเลือกทางเลือกหรือ แนวทางปฏิบัตทิ ีด่ ที ี่สดุ เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายขององค์การที่ไดก้ าํ หนดไว้

223 จากคํานิยามข้างตน้ อาจกลา่ วได้ว่า มีมุมมองของนกั วิชาการท่ี แตกตา่ งกันไปบ้างในรายละเอยี ดแตป่ ระเด็นหลักทีม่ องเหมอื นกนั คือ 1. การตดั สนิ ใจเป็นกระบวนการ (process) หมายความวา่ การตดั สนิ ใจต้องผา่ นกระบวนการคดิ พิจารณาไตรต่ รอง วเิ คราะห์แลว้ ค่อยตดั สนิ ใจเลอื กทางทด่ี ีท่สี ดุ การตัดสินใจไม่มีขั้นตอน ซึ่งในความเป็นจริงแล้วการคิดก็ต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสาร (search) การออกแบบ (design) และการเลือก (choice) เพอ่ื ใหส้ ามารถเลอื กทางเลือกได้ดที ่สี ุด 2. การตัดสินใจเกี่ยวข้องกับทางเลือก (solution) การตัดสินใจเป็นการพยายามสร้างทางเลอื กใหม้ ากทสี่ ดุ เทา่ ท่จี ะทําได้ ทางเลอื กทน่ี อ้ ยอาจปิดโอกาส ใหเ้ กดิ ความคดิ สร้างสรรค์หรอื ทางเลอื กที่ดกี ว่าได้ บุคคลจงึ จาํ เป็นต้องมีการฝึกฝนการสรา้ งทางเลือก ที่มากข้ึน หลากหลายด้วยวิธีการคิดแบบริเร่ิม (initiative) และคิดแบบสร้างสรรค์ (creative thinking) 3. การตดั สินใจเกี่ยวข้องกบั โครงสรา้ งขององค์การ จะเห็นวา่ หัวหน้าในแต่ละระดับช้ันก็มีหน้าที่ในการตัดสินใจต่างกัน กล่าวคือ หัวหน้าระดับสูงจาํ เป็นต้อง ตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (strategic decision) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับแนวทางที่ถูกต้องเพื่อใช้ ทรัพยากรท่ีจาํ เป็นใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ ทาํ ให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ขององค์การท่ีกําหนดไว้ หัวหน้า ระดับกลางจะตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ (management decision) เป็นการตัดสินใจเพ่ือให้ สามารถใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หัวหน้าระดับต้นจะตัดสินใจเก่ียวกับ การปฏิบัติการ (Operational decision) เป็นการตัดสินใจดาํ เนินการควบคุมงานให้สําเร็จตาม ระยะเวลาและเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ 4. การตดั สนิ ใจเก่ยี วข้องกบั พฤติกรรมคน การตัดสินใจจะเหน็ วา่ การตัดสินใจเกย่ี วขอ้ งตัง้ แต่คนเดยี ว กลมุ่ และทั้งองค์การ ซงึ่ พฤติกรรมคนแตล่ ะคนกแ็ ตกต่างกนั หวั หนา้ ที่ดจี ะต้องมคี วามเขา้ ใจและมีจติ วิทยาเกยี่ วข้องกบั บุคคลกลมุ่ และองคก์ ารที่ดีพอจงึ จะทาํ ให้ การตดั สนิ ใจประสบผลสาํ เรจ็ ได้ ดังนั้นกล่าวได้ว่าการตัดสินใจ คือ ผลสรุปหรือผลข้ันสุดท้ายของ กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล เพ่ือเลือกแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ ทรัพยากรและบุคคล สามารถนําไปปฏิบัติและทําให้งานบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามที่ ต้องการ

224 9.4.2.2 ความสาํ คัญของการตัดสนิ ใจ ทฤษฎกี ารบริหารองค์การในยุคหนึง่ ไดใ้ ห้ความสาํ คัญเกีย่ วกับ กระบวนการบริหาร (Management Process) อนั ไดแ้ ก่ การวางแผน การบรหิ ารงานบคุ คล การจัดการ องค์การ การอํานวยการและการควบคุม ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนแนวคิดไปว่า แม้ว่าจะทาํ หน้าท่ี ดังกล่าวได้ดีเพียงใดก็ตาม แต่ถ้าขาดการตัดสินใจท่ีดีพอแล้วยากที่จะทาํ ให้การบริหารองค์การสู่ ความสําเร็จได้ การตัดสนิ ใจจงึ มคี วามสําคญั 4 ประการ ดงั นี้ 1) การตดั สนิ ใจ เป็นเครอื่ งวดั ความแตกตา่ งระหวา่ งหัวหนา้ กับ ผู้ปฏบิ ตั งิ าน ผทู้ เ่ี ปน็ หัวหนา้ ในระดับตา่ งๆ จะต้องแสดงความรู้ ความสามารถในการตัดสนิ ใจท่ีดกี ว่า ผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้าจะต้องมีเหตุผล มีหลักการ มีเจตคติและวิจารณญาณที่ดีกว่าความสามารถใน การตัดสินใจ คือ มูลค่าเพิ่มท่ีหัวหน้าต้องทําให้เหน็ ว่า ความแตกต่างทีส่ มแล้วกับค่าจ้างเงนิ เดือนใน ตาํ แหนง่ หวั หนา้ 2) การตัดสินใจ เป็นมรรควิธีนําไปสู่เป้าหมายองค์การ ควร ตระหนกั เสมอวา่ การตัดสนิ ใจมใิ ชเ่ ปน็ เปา้ หมายในตวั ของมันเอง แตเ่ ป็นมรรควธิ แี นวทาง วิธีการและ เคร่ืองมือที่จะทําให้การบริหารองค์กรประสบความสาํ เร็จบรรลุเปา้ หมายท่ีได้กําหนดไว้ ดงั น้นั กาํ หนด เป้าหมายองค์การให้ชัดเจน ก็เป็นสิ่งสาํ คัญที่จะต้องเร่ิมต้น การหาวิธีการและแนวทางปฏิบัติที่ หลากหลายกเ็ ปน็ ขน้ั ตอนทก่ี ระทาํ ตามมา และน่คี ือ การตัดสนิ ใจ เปน็ การกําหนดแนวทางวธิ กี ารท่ีดี ที่หลากหลายและสรา้ งสรรค์จะนาํ พาให้องค์การสคู่ วามสาํ เร็จได้ 3) การตดั สินเปน็ เสมือนสมองขององค์การ การตัดสนิ ใจทด่ี ีก็ เหมอื นกับคนเรามสี มองและระบบประสาททีด่ กี จ็ ะทําให้ตวั เราประสบผลสําเรจ็ ในชีวติ การงาน ชีวิต สว่ นตวั และชีวิตทางสงั คมได้ ในขณะเดียวกนั ถา้ เป็นการตดั สนิ ใจขององค์กรทีด่ ีก็จะต้องมสี มองและ ระบบประสาทขององคก์ รที่ดดี ้วยจงึ จะทําใหอ้ งค์กรมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลได้ ตอ้ งกระตอื รือร้น ใฝห่ าแนวทางแก้ไขปัญหาอยตู่ ลอดเวลา จะตอ้ งดําเนินการอยา่ งตอ่ เนื่องเพ่ือปรบั ปรงุ สถานการณ์ กาํ หนดแนวทางใหมๆ่ ยกระดบั มาตรฐานและป้องกนั ปัญหาทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การดําเนินงานตามแผน ที่กาํ หนดไว้ได้ 4) การตัดสินปญั หาเปน็ กลยุทธก์ ารแก้ปัญหาในอนาคต ทฤษฎี การตัดสนิ ใจทว่ั ไปมองว่า เป็นการแกไ้ ขปญั หาในอดตี ซ่ึงได้แก่ ปญั หาขอ้ ขัดขอ้ งซงึ่ มีสะสมมาต้ังแต่ใน อดีตและมีแนวโนม้ มากขนึ้ ในอนาคต ซ่งึ กไ็ มส่ ามารถแก้ปญั หาไดห้ มดสน้ิ และยงั มปี ญั หาใหม่ๆ เข้ามา อกี มากมาย โดยเฉพาะการปรับเปลยี่ นกรอบแนวคดิ (paradigm) ในการมองปญั หาใหม่ให้มองไปถึง ปัญหาในอนาคต ซ่ึงไดแ้ ก่ ปญั หาป้องกนั ร้แู ล้ววา่ จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต ก็ควรมกี ารตดั สนิ ใจลว่ งหน้า ก่อนทปี่ ัญหาจะเกดิ ขน้ึ ปัญหาเชิงพฒั นาก็เปน็ อกี เรอื่ งหนง่ึ ท่ตี อ้ งให้ความสนใจ เปน็ การมองโดยใช้ วสิ ัยทศั น์ (vision) ของในการพยากรณเ์ หตุการณ์ในอนาคต กําหนดภาพอนาคต (scenario) ไวพ้ ร้อม

225 กาํ หนดทางเลือกเพอ่ื แก้ปญั หาในแต่ละภาพอนาคตนน้ั ด้วย อาทิ ภาพอนาคตมงุ่ เนน้ 3 C ได้แก่ ลกู คา้ (Customer) การแข่งขนั (Competition) และการเปลี่ยนแปลง (Change) ดงั นัน้ เตรียมการที่จะคดิ วางแผนและกาํ หนดกลยุทธ์ ไม่ว่าจะเป็นกลยุทธ์ในการบริการลูกค้าเหนือความคาดหวัง กลยุทธ์ การแข่งขันสคู่ วามเป็นเลิศ และกลยทุ ธส์ ู่องค์การอจั ฉรยิ ะ เป็นต้น 9.4.2.3 ลกั ษณะของการตัดสนิ ใจ กุลชลี ไชยนันตา (2539:130) ได้สรุปลักษณะของการตดั สนิ ใจ จาก ลมู บา (Loomba, 1978:100-103) ไว้ดงั นี้ 1) การตัดสนิ ใจ เปน็ กระบวนการของการเปรียบเทียบผลตอบแทน หรอื ผลประโยชนท์ ี่จะไดร้ บั จากทางเลอื กหลายๆ ทาง โดยทผ่ี ู้ตัดสินใจจะเลอื กทางเลอื กที่ใหป้ ระโยชน์ สูงสดุ 2) การตัดสินใจเป็นหน้าที่ท่ีจําเป็น เพราะทรัพยากรมีจาํ กัด และมนุษยม์ ีความตอ้ งการไม่จํากัด จงึ จาํ เป็นตอ้ งมกี ารตัดสนิ ใจ เพือ่ ให้ได้รับประโยชน์และความพอใจ จากการใช้ทรพั ยากรท่มี จี ํากดั เพ่อื บรรลเุ ปา้ หมายขององค์การ 3) ในการปฏบิ ตั งิ านของฝา่ ยต่างๆ ในองคก์ าร การขดั แยง้ กนั เช่น ฝา่ ยผลติ ฝา่ ยบคุ คล ฝา่ ยการเงนิ การบญั ชี ฝ่ายการบริหารงานบุคคล แต่ละฝา่ ยอาจมเี ป้าหมาย ของการทํางานขัดแย้งกัน หัวหนา้ จงึ ตอ้ งเป็นผูต้ ัดสนิ ใจชี้ขาด เพอื่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายขององค์การโดย ส่วนรวม 4) กระบวนการตัดสินใจประกอบดว้ ย 2 สว่ น คือ ส่วนแรกเป็น เร่ืองเกี่ยวกับการกาํ หนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ข้อจํากัด การกาํ หนดทางเลือก ส่วนท่ีสอง เป็น การเลอื กทางเลอื กหรือ กลยทุ ธ์ทดี่ ที ีส่ ุดตามสภาวการณ์ 5) การตัดสินใจมีหลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับจุดมุ่งหมายและ ลักษณะของปัญหา เช่น อาจแบ่งออกได้เป็นการตัดสินใจตามลําดับขั้น ซึ่งมักเป็นงานประจํา เช่น การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ตารางการทํางาน เป็นต้น และการตัดสินใจท่ีไม่เป็นไปตามลําดับขั้น เป็น การตัดสินใจเกีย่ วกบั ปัญหาท่ีไมไ่ ดเ้ กดิ ขนึ้ ประจาํ เป็นปัญหาท่เี กิดข้ึนนานๆ คร้งั เชน่ การตัดสินใจ เก่ียวกบั การริเร่ิมงานใหม่ เชน่ ตง้ั คณะใหม่ หรอื ขยายโรงงานใหม่ เป็นตน้ 9.4.2.4 ชนดิ ของการตัดสินใจ ไซมอน (Simon, 1960:5-6) ได้แบง่ ชนดิ ของการตดั สนิ ใจออกเปน็ 2 ชนดิ ใหญ่ๆ ดังน้ี 1) การตัดสนิ ใจทกี่ าํ หนดไวล้ ่วงหนา้ หรือมแี บบอยา่ งไวล้ ่วงหน้า (Programmed decisions) เปน็ การตดั สินใจตามระเบยี บ กฎเกณฑ์ แบบแผนที่เคยปฏิบัติมาจน กลายเป็นงานประจํา เช่น การตัดสินใจเก่ยี วกับการลาป่วย ลากจิ ลาบวช การอนมุ ัติการเบิกจ่ายเงิน

226 การอนุมัติผลการศกึ ษา เปน็ ตน้ การตดั สินใจแบบกาํ หนดไวล้ ่วงหนา้ น้ี เปิดโอกาสใหเ้ ลอื กทางเลือก ได้นอ้ ย เพราะวา่ เป็น การตดั สนิ ใจภายใต้สภาวการณ์ทีแ่ น่นอน 2) การตดั สินใจทไี่ มไ่ ดก้ ําหนดหรอื ไมม่ แี บบอยา่ งไว้ล่วงหน้า (Nonprogrammer decisions) เป็นการตัดสินใจในเร่ืองใหม่ท่ีไม่เคยมีมาก่อน ไม่มีระเบียบ กฎเกณฑ์ แบบแผนที่เคยปฏิบัติมาก่อน จึงเป็นเรื่องยุ่งยากแก่ผู้ตัดสินใจ โดยท่ีผู้ตัดสินใจ จะต้อง คาํ นึงถึงความเสีย่ งและความไม่แนน่ อนด้วย เช่น การตัดสินใจนําเงินไปลงทนุ เพอ่ื หาผลตอบแทนหรอื ผลกาํ ไรในธรุ กจิ การตดั สินใจผลติ สนิ คา้ ตัวใหม่ การตัดสนิ ใจในการขยายกิจการ เป็นต้น 9.4.2.5 กระบวนการตัดสนิ ใจ กระบวนการตัดสนิ ใจ (Process of decision making) หมายถึง การกําหนดข้ันตอนของการตัดสินใจต้ังแต่ขั้นตอนแรกไปจนถึงข้ันตอนสุดท้าย การตัดสินใจโดยมี ลาํ ดับข้ันของกระบวนการดังกล่าว เป็นการตัดสินใจโดยใช้หลักเหตุผลและมีกฎเกณฑ์ ซึ่งเป็น การตดั สินใจโดยใช้ระเบียบวิธที างวทิ ยาศาสตร์ เปน็ เครื่องมือช่วยในการหาข้อสรุปเพ่ือการตดั สินใจ ข้ันตอนของกระบวนการตัดสินใจมีอยู่หลายรูปแบบแล้วแต่ความคิดเห็นของนักวิชาการ พลันเกต และแอต็ เนอร์ (Plunkett and Attner, 1994:162) ได้เสนอลําดับขน้ั ตอนของกระบวนการตดั สนิ ใจ เป็น 7 ขัน้ ตอน ดงั นี้ (กลุ ชลี ไชยนนั ตา, 2539:135-139) 1) การระบปุ ญั หา (Define the problem) เป็นขนั้ ตอนแรกที่ มีความสําคัญอย่างมาก เพราะการระบุปัญหาได้ถูกต้องหรือไม่ ย่อมมีผลต่อการดาํ เนินการในขั้น ต่อๆ ไปของกระบวนการตัดสินใจ ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพของการตดั สินใจดว้ ย ดงั นนั้ จึงควร ระมัดระวังมิให้เกิดความผิดพลาดในการระบุปัญหาขององค์การ ทั้งน้ีควรแยกแยะความแตกต่าง ระหว่างอาการแสดง (symptom) ทเี่ กดิ ข้นึ กบั ตวั ปญั หาทแ่ี ท้จริงเสียกอ่ น ยกตัวอยา่ ง เชน่ กรณที ี่ ยอดขายของบริษัทลดลงซึ่งมีสาเหตุมาจากคุณภาพสินค้าตา่ํ จะเห็นว่า การท่ียอดขายลดลงเป็น อาการแสดงและปัญหาทต่ี อ้ งแกไ้ ข ไดแ้ ก่ การทคี่ ณุ ภาพสนิ ค้าตํ่า ดงั นั้น บคุ คลท่ชี าญฉลาดต้องคอย สังเกตอาการแสดงต่างๆ ทัง้ ตอ้ งรวบรวมข้อมูลท่จี าํ เป็นต่อการคน้ หาสาเหตขุ องอาการแสดงเหล่าน้ัน ซ่ึงจะนาํ ไปส่กู ารระบุปญั หาที่แท้จริงได้อยา่ งถกู ตอ้ งแมน่ ยํา 2) การระบุขอ้ จํากดั ของปัจจยั (Indentify limiting factors) เม่ือสามารถระบุปญั หาไดถ้ ูกต้องแล้ว ควรพจิ ารณาถึงข้อจํากัดตา่ งๆขององค์การ โดยพิจารณาจาก ทรพั ยากรซึ่งเป็นองค์ประกอบของกระบวนการผลิต ไดแ้ ก่ กําลังคน เงินทุน เคร่ืองจักร ส่ิงอํานวย ความสะดวกอ่ืนๆ รวมทง้ั เวลาซง่ึ มกั เปน็ ปัจจยั จํากัดทีพ่ บอยเู่ สมอๆ การรถู้ ึงข้อจํากดั หรือเง่ือนไขทไ่ี ม่ สามารถเปลยี่ นแปลงได้ จะชว่ ยให้กําหนดขอบเขตในการพัฒนาทางเลอื กให้แคบลงได้ ตัวอย่าง เช่น ถ้ามเี งอื่ นไข ว่า ตอ้ งสง่ สนิ คา้ ใหแ้ ก่ลูกค้าภายในเวลา 1 เดือน ทางเลอื กของการแก้ไขปัญหาการผลิต สนิ คา้ ไมเ่ พียงพอทีม่ รี ะยะเวลา ดาํ เนินการมากกว่า 1 เดอื น ก็ควรถูกตัดทิง้ ไป

227 3) การพฒั นาทางเลอื ก (Develop potential alternatives) การพฒั นาทางเลอื กขั้นตอนต่อไป ควรทําการพัฒนาทางเลือกต่างๆ ข้ึนมา ซ่งึ ทางเลอื กเหล่านัน้ ควร เป็นทางเลือกท่ีมีศักยภาพและมีความเป็นไปได้ ในการแก้ปัญหาให้น้อยลงหรือให้ประโยชน์สูงสุด ตัวอย่างเช่น กรณที อ่ี งค์การประสบปัญหาเวลาการผลติ ไม่เพียงพอ อาจพิจารณาทางเลือก ดังน้ี (1) เพ่มิ การทาํ งานกะพิเศษ (2) เพ่มิ การทาํ งานลว่ งเวลาโดยใชต้ ารางปกติ (3) เพมิ่ จํานวนพนักงาน (4) ไมท่ ําอะไรเลย ในการพฒั นาทางเลือก อาจขอความคิดเห็นจากอ่ืนๆ ทปี่ ระสบ ความสําเร็จท้ังภายในและภายนอกขององค์การ ซ่ึงอาจใช้วิธีการปรึกษาหารือเป็นรายบุคคลหรือ จัดการประชุมกลุ่มย่อยขึ้น ข้อมูลท่ีได้รับจากบุคคลเหล่านั้น เม่ือผนวกรวมกับสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละประสบการณข์ องตนเอง จะชว่ ยใหส้ ามารถพฒั นาทางเลอื กได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4) การวิเคราะหท์ างเลือก (Analyze the alternatives) เม่อื ไดท้ าํ การพฒั นาทางเลอื กตา่ งๆ โดยจะนาํ เอาข้อดแี ละข้อเสยี ของแต่ละทางเลือกมาเปรยี บเทียบกัน อย่างรอบคอบและควรวิเคราะหท์ างเลอื กใน 2 แนวทาง คอื (1) ทางเลือกนน้ั สามารถนาํ มาใช้ จะเกดิ ผลต่อเนื่องอะไร ตามมา ตวั อย่างเชน่ ถา้ โควตาปกตใิ นการผลติ มอเตอรข์ องแผนกผลิตเท่ากับ 500 เครอื่ งต่อเดอื น แต่ แผนกผลติ ตอ้ งผลติ มอเตอร์ให้ได้ 1,000 เคร่อื ง ภายในส้ินเดือนนี้ โดยมีขอ้ จาํ กดั ด้านต้นทนุ ของ องค์การว่า จะจา่ ยค่าจา้ งพนกั งานเพ่ิมขึน้ ไม่เกนิ 10,000 บาทเทา่ น้ัน ทางเลอื กหนึ่งของการแก้ปัญหา อาจทําได้โดยการจา้ งพนกั งาน ทาํ งานล่วงเวลา ในวันหยดุ และเวลากลางคืน แต่เม่ือประเมินได้แลว้ พบว่า วิธีนจ้ี ะตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ ่ายเพ่มิ ขึน้ ถงึ 17,000 บาท ควรตัดทางเลอื กน้ีทง้ิ ไป เพราะไมส่ ามารถ นาํ มาใช้ไดภ้ ายใตข้ อ้ จาํ กัดด้านต้นทนุ อย่างไรก็ตามทางเลือกบางทางเลือกท่อี ย่ภู ายใต้ขอ้ จํากดั ของ องคก์ ารก็อาจทําให้เกิดผลต่อเนื่องท่ีไม่พึงประสงค์ตามมา เช่น ทางเลือกหน่ึงของการเพ่ิมผลผลิต ได้แก่ การลงทนุ ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะช่วยใหแ้ กป้ ญั หาได้ แตอ่ าจมปี ญั หาเกย่ี วกับการลดลง ของขวัญกาํ ลงั ใจของพนกั งานในระยะต่อมา เป็นต้น (2) การเลอื กทางเลือกท่ีดที ่สี ุด (Select the best alternative) เม่อื ไดท้ ําการวิเคราะห์และประเมนิ ทางเลือกตา่ งๆ แลว้ ควรเปรียบเทียบขอ้ ดแี ละ ข้อเสยี ของแต่ละทางเลือกอีกครัง้ หน่งึ เพ่ือพจิ ารณาทางเลือกทดี่ ที ี่สดุ เพยี งทางเดยี ว ทางเลือกทดี่ ที ่สี ุด ควรมีผลเสยี ตอ่ เน่ืองในภายหลังน้อยที่สุดและใหผ้ ลประโยชนม์ ากทสี่ ดุ แต่บางคร้ังอาจตดั สินใจเลอื ก ทางเลอื กแบบประนีประนอม โดยพจิ ารณาองคป์ ระกอบทดี่ ที ่ีสุดของแตล่ ะทางเลือกนาํ มาผสมผสานกนั

228 5) การนาํ ผลการตดั สินใจไปปฏิบัติ (Implement the decision) เมือ่ ได้ทางเลือกท่ดี ที ่ีสดุ แลว้ ก็ควรมกี ารนําผลการตัดสินใจนัน้ ไปปฏบิ ตั เิ พ่อื ให้การดาํ เนินงานเป็นไป อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ควรกําหนดโปรแกรมของการตัดสินใจ โดยระบุถึงตารางเวลาการดาํ เนนิ งาน งบประมาณและบุคคลทเ่ี กี่ยวข้องกับการปฏบิ ัติ ควรมีการมอบหมายอํานาจหน้าท่ที ช่ี ดั เจน และจดั ให้ มรี ะบบการติดต่อสอื่ สารที่จะช่วยใหก้ ารตดั สินใจเปน็ ทย่ี อมรบั นอกจากนค้ี วรกาํ หนดระเบียบวิธี กฎ และนโยบาย ซง่ึ มสี ว่ นสนบั สนนุ ใหก้ ารดําเนนิ งานเป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 6) การสร้างระบบควบคุมและประเมินผล (Establish a control and evaluation system) ขน้ั ตอนสดุ ท้ายของกระบวนการตัดสนิ ใจ ได้แก่ การสรา้ งระบบ การควบคมุ และการประเมินผล ซงึ่ จะชว่ ยใหไ้ ดร้ บั ขอ้ มูลย้อนกลับเก่ียวกบั ผลการปฏิบตั งิ านว่าเป็นไป ตามเป้าหมายหรอื ไม่ ขอ้ มลู ยอ้ นกลับจะช่วยใหแ้ ก้ปัญหาหรอื ทําการตัดสินใจ ใหม่ได้โดยได้ผลลพั ธ์ ของการปฏิบตั ิทดี่ ที สี่ ุด (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Decision_Making.htm 21 กรกฎาคม 2559) 9.4.2.6 ทฤษฎีการตดั สินใจ 1) Rational Decision-Making Model (1) การกาํ หนดเป้าหมาย (2) การกําหนดปญั หา (3) การพจิ ารณารปู แบบการตัดสินใจ (4) การกาํ หนดทางเลือก (5) การประเมนิ และการเลือกทางเลอื ก(ทาํ การตัดสินใจ) (6) การปฏบิ ัตกิ ารตามการตัดสนิ ใจ (7) การควบคุม การประเมินผลลัพธ์ (8) การจัดหาการป้อนกลบั 2) Bounded Rationality Herbert Simon : Good Enough ผตู้ ัดสนิ ใจจะใช้ข้อมลู ท่ี สะดวกและเสยี คา่ ใช้จ่ายน้อยทส่ี ดุ ไมจ่ ําเปน็ ตอ้ งเป็นขอ้ มูลทท่ี ําใหม้ ีผลลพั ธส์ งู สุด 3) Mix Scanning - Amitai Etzioni ประเภทของการตัดสนิ ใจ มดี ังนี้ (1) Programmed / Non-programmed (2) Centralization / Decentralization

229 4) ขัน้ ตอนการตัดสนิ ใจ สามารถแบง่ ออกได้เป็นดงั น้ี คอื ข้ันท่ี 1 การระบุปญั หา (Define problem) เปน็ ขั้นตอน แรกที่มีความสําคัญอยา่ งมาก เพราะจะต้องระบปุ ัญหาไดถ้ ูกตอ้ ง จึงจะดําเนนิ การตัดสินใจในขัน้ ตอน ตอ่ ๆ ไป ขนั้ ที่ 2 การระบขุ อ้ จํากัดของปัจจยั (Identify limiting factors) เป็นการระบปุ ัญหาได้ถูกตอ้ งแล้ว นําไปพจิ ารณาถงึ ข้อจาํ กัดต่างๆ ขององคก์ ร โดยพจิ ารณา จากทรพั ยากรซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบของกระบวนการผลิต ขน้ั ที่ 3 การพัฒนาทางเลอื ก (Development alternative) ข้ันตอนที่ต้องพัฒนาทางเลือกต่างๆข้ึนมา ซ่ึงทางเลือกเหล่านี้ ควรเป็นทางเลือกที่มีศักยภาพและมี ความเปน็ ไปได้ ในการแกป้ ญั หาใหน้ อ้ ยลงหรอื ให้ประโยชน์สูงสุด เช่น เพ่ิมการทํางานกะพิเศษ เพิ่ม การทํางานล่วงเวลาโดยใช้ตารางปกติ เพิม่ จาํ นวนพนักงาน ข้ันท่ี 4 การวิเคราะหท์ างเลือก (Analysis the alterative) เมอื่ ไดท้ าํ การพฒั นาทางเลอื กตา่ งๆ โดยนําเอาขอ้ ดีข้อเสียของแตล่ ะทางเลอื กมาเปรียบเทียบกนั อยา่ ง รอบคอบควรพจิ ารณาว่าทางเลือกนน้ั นาํ มาใช้ จะเกดิ ผลตอ่ เนอ่ื งอะไรตามมา ข้นั ที่ 5 การเลอื กทางเลือกท่ดี ีทส่ี ดุ (Select the best alternative) เม่ือได้ทําการวิเคราะห์และประเมินทางเลือกต่างๆ แล้ว ควรเปรยี บเทยี บข้อดีและ ขอ้ เสยี ของแต่ละทางเลือกอีกครง้ั หนึง่ เพื่อพจิ ารณาวา่ ทางเลอื กทีด่ ีทส่ี ดุ เพยี งทางเดียว ขั้นท่ี 6 การนําผลการตัดสินใจไปปฏิบัติ (Implernent the decision) เม่อื ไดห้ าทางเลือกทีด่ ที สี่ ดุ แลว้ กค็ วรมีการนาํ ผลการตัดสินใจน้ันไปปฏบิ ตั ิ เพ่อื ให้ การดําเนนิ งานเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ขน้ั ท่ี 7 การสร้างระบบควบคุมและประเมนิ ผล (Establish a control and evaluation system) เปน็ ขั้นตอนสดุ ทา้ ยของกระบวนการตดั สินใจ ได้แก่ การสร้างระบบการควบคุมและประเมินผล ซึ่งจะช่วยให้ได้รับข้อมูลย้อนกลับท่ีเก่ียวกับผล การปฏิบัตงิ านว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ ข้อมลู ยอ้ นกลับจะชว่ ยให้แก้ปัญหาหรือทําการตดั สนิ ใจ ใหม่

230 ภาพที่ 66 แสดงภาพการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ (ที่มา https://www.google.co.th/search 24 สิงหาคม 2559) 9.6 การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) เป็นวธิ ีการคดิ อย่างหนึ่งทเ่ี ป็น การคิดอย่างมีสติ โดยมีรายละเอียดดังน้ี (https://krukohkhan.wordpress.com 21 กรกฎาคม 2559) 9.6.1 ความหมายการคิดอย่างมีวิจารณญาณ นอรสิ และอินสิ (Norris & Ennis,1989) การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ คอื การคิดอย่างมีเหตผุ ล ไตรต่ รอง เพ่ือการตัดสินใจว่าสิ่งใดควรเช่ือและสิง่ ใดควรทํา เออื้ ญาติ ชชู ่ืน (2535: 23) การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ หมายถงึ การคิดท่ี ใชเ้ หตผุ ลในการคิดแบบไตร่ตรอง เพ่อื ตดั สนิ ใจเช่ือหรือกระทําในดา้ นต่างๆ ดงั น้ี การใช้เหตผุ ลเชงิ อุปมาน การใชเ้ หตผุ ลเชิงอนมุ าน การสงั เกต การตีความ การตงั้ สมมตฐิ าน การพจิ ารณาความน่าเชื่อถอื การตดั สินคณุ ค่า และกลวิธกี ารแก้ปัญหา เพ็ญพิศทุ ธ์ิ เนคมานรุ กั ษ์ (2536: 8) การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ หมายถึง กระบวนการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบเก่ยี วกับข้อมูล หรอื สถานการณ์ที่ปรากฏ โดยใช้ความรู้ ความคดิ และประสบการณข์ องตนเอง ในการสาํ รวจหลกั ฐานอย่างรอบคอบเพ่ือไปสขู่ อ้ สรปุ ทีส่ มเหตสุ มผล

231 ชาลิณี เอ่ยี มศรี (2536: 7) การคดิ วิจารณญาณ หมายถึง ความสามารถ ทางสมองของบุคคลทแี่ สดงออกมา โดยใชก้ ระบวนการคดิ อยา่ งมีเหตุผลและตรกึ ตรองอย่างรอบคอบ เพือ่ นําไปใช้ในการตัดสนิ ใจทจี่ ะเชอ่ื หรอื กระทําสิง่ ต่างๆ ซงึ่ จาํ แนกออกเปน็ 4 ความสามารถยอ่ ย คือ ความสามารถในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหลง่ ข้อมลู และการสงั เกตความสามารถในการนิรนัย ความสามารถในการอปุ นัย ความสามารถในการระบขุ อ้ ตกลงเบอื้ งตน้ โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ (2543: มปป.) ความคิดเชงิ วิจารณ์ เป็นทัศนคติ พ้ืนฐานและทกั ษะทช่ี ว่ ยใหป้ จั เจกชนสามารถแก้ปญั หาต่างๆ และมหี ลกั การในการเชื่อและการตัดสนิ ใจ อําพร ไตรภัทร (2543: 1) การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ คือ การคิดไตร่ตรอง ทีเ่ นน้ ในเรอ่ื งการตดั สินใจวา่ จะเชอ่ื หรอื ไมเ่ ชือ่ สง่ิ ใดหรอื จะทาํ หรอื ไมท่ ําส่งิ ใด (http://home.kku.ac.th/thai416102/SubjectWeb/Critical-Reading_Meaning.htm 21 กรกฎาคม 2559) โกวทิ (2547) การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ เป็นรูปแบบหนึ่งของการคิด ในระดบั สงู ทอี่ ย่บู นพ้นื ฐานของหลกั การและเหตผุ ล มกี ารศกึ ษาข้อเทจ็ จรงิ ถอื วา่ เปน็ ทักษะการคดิ ที่ มีความสําคัญตอ่ การเรยี นรู้และการดาํ เนนิ ชีวิตในโลกปัจจบุ นั ศันสนยี ์ และอษุ า (2544) การคดิ เชงิ วจิ ารณญาณ เปน็ กระบวนการทาง จิตสาํ นึกเพ่อื วิเคราะหห์ รอื ประเมนิ ข้อมูล ในคาํ แถลงหรือขอ้ เสนอทมี่ ีผู้แถลงหรืออา้ งว่า เป็นความจริง การคิดเชิงวิจารณ์ เป็นรูปแบบของกระบวนการท่ีสะท้อนให้เห็นความหมายของคําแถลงและ การตรวจสอบหลักฐานท่ีได้รับการไต่ตรองด้วยเหตุและผล แล้วจึงทาํ การตัดสินคาํ แถลงหรือ ข้อเสนอท่ีถูกอ้างว่า เป็นความจรงิ นนั้ วิกพิ ีเดยี : การคิดเชิงวพิ ากษ์ หมายถงึ ความตั้งใจทีจ่ ะพจิ ารณาตดั สิน เรอื่ งใดเรือ่ งหนึ่ง โดยการไม่เห็นคล้อยตามข้ออ้างที่นําเสนอ แต่ต้งั คําถามทา้ ทายหรือโตแ้ ยง้ ข้ออา้ งนนั้ เพอ่ื เปิดแนวทางความคดิ ออกสทู่ างต่าง ๆ ทแ่ี ตกตา่ ง อันจะนําไปสกู่ ารแสวงหาคําตอบท่ีสมเหตุสมผล มากกว่าขอ้ อ้างเดิม เกรียงศักด์ิ (2549) การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ หมายถงึ หลักการคดิ ประเภทหน่งึ ทีเ่ นน้ กระบวนการพิจารณาและประเมินข้อมูลหลกั ฐานท่ีเกย่ี วข้องกบั เร่ืองท่คี ิดทกุ ด้าน อย่างรอบคอบโดยใชห้ ลักเหตผุ ลจนกระท่งั ได้คําตอบท่เี หมาะสมหรือดที สี่ ดุ เพอ่ื นําไปใชใ้ นการตดั สนิ ใจ หรอื ประเมินหรือแก้ปญั หาตา่ ง ๆ ราชบณั ฑติ สถาน (2551) ชื่อเรยี กของการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณมแี ตกต่าง กันไป คอื การใชเ้ หตผุ ล หลกั ฐาน และตรรกะมาวิเคราะหใ์ หแ้ น่ชดั ก่อนลงความคิดเหน็ และตัดสนิ ซึ่ง ปัจจุบนั ไดร้ ับการยอมรับว่า มีความสาํ คญั ในการพฒั นาบุคลากรระดบั สูงของประเทศตา่ งๆ ท่ัวโลก เพอ่ื เพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ในโลกาภวิ ตั น์ ทกุ ประเทศตืน่ ตวั นาํ การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ

232 บรรจเุ ปน็ วชิ าหรือส่วนของการเรยี นการสอนในหลักสตู รการศึกษาต้งั แตช่ ัน้ ระดบั ประถมถงึ อุดมศึกษา (วิกิพีเดยี ) สรปุ ได้ว่า การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ หมายถงึ การทํางานของสมองท่ีมี การคิดพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบเกี่ยวกับประเมินข้อมูลหรือสภาพการณ์ท่ีปรากฏ โดยใช้ ความรู้ ความคดิ และประสบการณ์ของตนเองในการสาํ รวจหลักฐานอย่างละเอยี ด เพื่อนาํ ไปสขู่ ้อสรุป ที่สมเหตุสมผล 9.6.2 ลาํ ดับขน้ั ของกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (http://home.kku.ac.th/thai416102/SubjectWeb/Critical- Reading_Meaning.htm 21 กรกฎาคม 2559) (นรรี ตั น์ สรอ้ ยศรี http://becreativetv.com/) เกรยี งศักดิ์ (2549) กล่าวว่า สามารถจัดลาํ ดับขั้นของการคิดอย่างมีวิจารณญาณท่ีเกิดขึ้นตาม ธรรมชาติได้ 5 ข้ันตอน อนั ไดแ้ ก่ 9.6.2.1 เผชญิ หน้ากบั เหตุการณท์ ่ีไมค่ าดหวงั (Trigger event) เมอ่ื สมมติฐานที่เราคาดหวังว่าน่าจะเกิดขึ้นไม่สอดคล้องกับความจริงที่ประสบ ทําให้เรารับรู้ถึง ความผดิ ปกติไปจากสง่ิ ทีค่ วรจะเปน็ หรือเกิดการกระทาํ ในทางตรงกนั ข้าม กอ่ ให้เกิดความไมส่ บายใจ สบั สน ส่งผลให้เราเริ่มเปล่ยี นมุมมองและเรียนร้ทู จี่ ะคิดในเชิงโตแ้ ยง้ 9.6.2.2 การประเมนิ สถานการณ์ (Appraisal) โดยตรวจสอบด้วยตนเอง อยา่ งละเอียดว่า เกดิ ส่ิงใดข้ึนเพื่อจะประเมนิ คา่ วา่ จะตอบสนองตอ่ เหตุการณท์ ่เี กดิ ข้ึนอยา่ งไร 9.6.2.3 การวินิจฉัยตรวจสอบอย่างละเอียด (Exploration) เริ่มยอมรบั ความขัดแย้งและพยายามหาทางอธิบายความขดั แย้งทเ่ี กดิ ขน้ึ เพื่อลดความรู้สึกไมส่ บายใจ อันนําไปสู่ ทําให้เกิดการคน้ หาทางเลือกใหม่ คาํ ตอบใหม่ แนวคดิ ใหมๆ่ การจัดระเบยี บโลกทัศนใ์ หม่ เป็นต้น 9.6.2.4 พัฒนามุมมองท่ีแตกต่างไปจากเดิม (Development of Alternative Perspectives) เม่ือพบว่าสิง่ ท่เี คยเชอื่ เคยยึดถือ ไมส่ ามารถเปน็ จริงได้อกี ต่อไป จงึ พยายามทางเลือกใหม่ มุมมองใหม่ และพัฒนามุมมองใหม่เหล่าน้ันในทางปฏิบัติโดยคิดว่าจะต้อง ดีกวา่ เดิม 9.6.2.5 บูรณาการวิธีคิดและพฤติกรรมใหม่ที่เกิดขึ้น (Integration) โดยคิดวา่ ส่งิ นั้นถกู ตอ้ งและเหมาะสม ขั้นนี้เปน็ ลาํ ดับข้ันของการเปลีย่ นแปลงขน้ั สุดท้ายทท่ี าํ ให้เกดิ โลกทศั น์ใหม่ ทศั นคติใหม่ สมมตฐิ านใหม่และเริม่ เกิดความคุ้นเคยตอ่ การเปล่ียนแปลงที่เกดิ ขน้ึ 9.6.3 ความสามารถในการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ ประกอบด้วย 7 ประการ ดงั นี้

233 9.6.3.1 ความสามารถในการระบุประเดน็ ปญั หา เป็นความสามารถใน การระบหุ รอื ทาํ ความเขา้ ใจโดยพิจารณาความหมาย ความชัดเจนของข้อมลู ข้อความ ขอ้ อ้างหรือ ขอ้ โต้แยง้ หรอื สถานการณท์ ีป่ รากฏ เพ่อื กาํ หนดขอ้ สงสยั และประเดน็ หลักทค่ี วรพิจารณาและแสวงหา คาํ ตอบ 9.6.3.2 ความสามารถในการรวบรวมข้อมูล เป็นความสามารถใน การพิจารณาข้อมูลทั้งทางตรงและทางอ้อมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ซ่ึงได้จากการคิด การพูดคุย การสังเกตท้งั จากตนเองและผู้อื่น รวมถึงการดงึ ขอ้ มูลจากประสบการณเ์ ดิมท่ีมอี ยู่ 9.6.3.3 ความสามารถในการพจิ ารณาความน่าเชื่อถอื ของแหลง่ ขอ้ มลู เป็นความสามารถในการพจิ ารณา ประเมิน ตรวจสอบ ตดั สนิ ขอ้ มูลท้ังในเชิงปริมาณและคณุ ภาพ โดย พจิ ารณาถึงท่มี าของขอ้ มูล สถติ ิ และหลักฐานที่ปรากฏ 9.6.3.4 ความสามารถในการระบุลักษณะข้อมูลเป็นความสามารถ ในการจาํ แนกประเภทของข้อมูล ระบุแนวคิดท่ีอยู่เบ้ืองหลังข้อมูลที่ปรากฏซ่ึงประกอบด้วย ความสามารถในการพิจารณาแยกแยะ เปรยี บเทยี บความตา่ งของขอ้ มูล การตคี วาม ประเมนิ วา่ ขอ้ มลู ใดเป็นจรงิ ขอ้ มูลใดเปน็ เท็จ รวมถงึ การระบขุ ้อสันนษิ ฐานหรอื ขอ้ ตกลงเบื้องตน้ ทอ่ี ยูเ่ บ้ืองหลงั ข้อมูลท่ีปรากฏ การนําความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ที่อาศัยข้อมูลจากประสบการณ์เดิมมาร่วม พิจารณาดว้ ย 9.6.3.5 ความสามารถในการต้ังสมมุติฐาน เป็นความสามารถใน การพิจารณาถึงความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างข้อมูลที่มีอยู่ สังเคราะห์ จัดกลุ่มและลาํ ดับ ความสําคัญของข้อมูลเพ่ือระบุทางเลือกท่ีเป็นไปได้ โดยเน้นที่ความสามารถพิจารณาเช่ือมโยง เหตุการณ์และสถานการณ์ 9.6.3.6 ความสามารถในการลงข้อสรปุ เปน็ ความสามารถในการพิจารณา อย่างมีเหตุผลเพื่อให้ข้อสรุปโดยใช้เหตุผลเชิงอุปนัย (Inductive Reasoning) หรือเหตุผลเชงิ นริ นัย (Deductive Reasoning) 1) การสรปุ ความโดยใช้เหตุผลเชิงอปุ นัย เป็นการสรปุ ความโดย พิจารณาขอ้ มูลหรอื เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ เฉพาะเรื่อง เพ่อื นําไปสกู่ ฎเกณฑห์ รอื หลักการ 2) การสรุปความโดยใชเ้ หตุผลเชิงนริ นยั เป็นการสรปุ ความโดย พิจารณาจากกฎเกณฑ์ และหลักการท่วั ไป เพ่ือไปสเู่ ร่ืองเฉพาะหรอื สถานการณ์ทป่ี รากฏ 9.6.3.7 ความสามารถในการประเมินผล เปน็ ความสามารถในการพิจารณา ประเมนิ ความถกู ตอ้ ง สมเหตสุ มผลของขอ้ สรุปจงึ เกิดจากการคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองอยา่ งรอบคอบ ใช้ เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ รวมทง้ั ความรแู้ ละประสบการณท์ ี่มีอยู่ การตัดสินคณุ ค่าและเหตุการณ์อย่างถกู ต้อง (อรพรรณ ลอื บุญธวชั ชัย, 2537: 12-13)

234 ภาพที่ 67 แสดงภาพการคดิ สร้างสรรค์ (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 24 สิงหาคม 2559) 9.7 การคดิ สร้างสรรค์ 9.7.1 นิยามการคิดสรา้ งสรรค์ Creativity มีรากศพั ทม์ าจากภาษาละตนิ “creo” = to create, to make = สรา้ งหรือทําใหเ้ กิดการคิดสร้างสรรค์ คอื ปรากฏการณท์ ีบ่ คุ คลสร้างสรรค”์ ส่ิงใหม”่ อาทิ ผลผลิต การแก้ปัญหา นวัตกรรม หรืองานศิลปะ ฯลฯ ซึ่งมีคุณค่า การจะตีความเกี่ยวกับ “ความใหม”่ ข้ึนอยูก่ ับผู้สร้างสรรค์หรอื สงั คมหรือแวดวงท่ีสง่ิ ใหม่นนั้ เกดิ ขึ้น การประเมินคณุ ค่าก็ใน ทาํ นองเดียวกัน คณุ สมบัติทม่ี ักใช้ในการตคี วาม “ความใหม”่ ประกอบด้วย (เพญ็ นิดา ไชยสายัณห์ อา้ งถงึ http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Creative_Thinking.htm 21 กรกฎาคม 2559) 234-241 1. สง่ิ ประดิษฐ์ที่ไมเ่ คยปรากฏมาก่อน 2. ส่งิ ประดษิ ฐท์ ี่อาจปรากฏอยทู่ ่อี น่ื แตม่ ผี ู้สรา้ งสรรคข์ ้ึนใหม่ โดยอิสระ 3. การคดิ วธิ ีดําเนินการใหม่ 4. ปรับกระบวนการผลผลติ เข้าสตู่ ลาดท่ีแตกตา่ งออกไป 5. คิดวิธกี ารใหมใ่ นการแก้ไขปัญหา 6. เปล่ยี นแนวคดิ ทแ่ี ตกตา่ งจากผู้อืน่

235 นยิ ามการคดิ สรา้ งสรรค์ “You cannot teach a man anything; you can only help him to find it within himself.” (Galileo) (อยา่ คิดวา่ จะสามารถสอนใครได้ ทําไดเ้ พยี งช่วยใหเ้ ขาคน้ พบศกั ยภาพภายในตวั เขาเอง) กระบวนการคดิ ของสมองซึง่ สามารถคดิ ได้ หลากหลายและแปลกใหม่ สามารถนําไปประยกุ ตท์ ฤษฎหี รอื ปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งรอบคอบและถูกต้อง 9.7.2 ความหมายของการคดิ สร้างสรรค์ นกั วชิ าการได้ใหค้ วามหมายของการคิดสรา้ งสรรค์ ไวด้ ังน้ี การคดิ สรา้ งสรรค์ คือ ความคดิ ใหมๆ่ แนวทางใหมๆ่ ทศั นคติใหมๆ่ ความเข้าใจและการมองปัญหาในรูปแบบใหม่ ผลลัพท์ของการคิดสร้างสรรค์ที่ชัดเจน คือ ดนตรี วรรณกรรม การแสดง ละคร สงิ่ ประดิษฐ์ นวตั กรรมทางเทคนคิ แตบ่ างคร้งั การคิดสรา้ งสรรค์ก็มองไม่ เห็นชัดเจน เช่น การต้ังคาํ ถามบางอย่างที่ช่วยขยายกรอบของแนวคิดซ่ึงให้คําตอบบางอย่างหรือ การมองโลกหรือปัญหาในแนวนอกกรอบ การคิดสร้างสรรค์ คือ ความคิดเชอ่ื มโยงที่พยายามหาทางออกหลายๆ ทาง ใช้ความคดิ ท่ีหลากหลายแสวงหาความเป็นไปไดใ้ หมๆ่ และนอกกรอบคดั สรรค์หาทางเลือกใหมๆ่ และพยายามปรบั ปรงุ ให้ดขี น้ึ เร่อื ยๆ ซง่ึ มวี ิธกี ารอยู่ 6 ข้นั ตอน คือ 1. แสวงหาขอ้ บกพรอ่ ง (Mess Finding) 2. รวบรวมข้อมลู (Data Finding) 3. มองปัญหาทกุ ด้าน (Problem Finding) 4. แสวงหาความคิดท่ีหลากหลาย (Idea Finding) 5. หาคาํ ตอบที่รอบดา้ น (Solution Finding) 6. หาขอ้ สรุปที่เหมาะสม (Acceptance Finding) กระบวนการของการคิดสร้างสรรค์ อาจเกิดข้ึนโดยบังเอิญหรือโดย ความตั้งใจ ซง่ึ สามารถทําได้ดว้ ยการศกึ ษา การอบรมฝกึ ฝน การระดมสมอง (brain-storming) มากกว่า คร่งึ หนึง่ ของการค้นพบท่ยี ง่ิ ใหญข่ องโลกเกดิ จากการค้นพบโดยบงั เอิญ (serenity) หรือการคน้ พบ สง่ิ หน่ึงซ่ึงใหม่ ในขณะที่กาํ ลังตอ้ งการค้นพบสงิ่ อน่ื มากกว่า การคิดเชิงสรา้ งสรรค์ (Creative thinking) หมายถึง ความสามารถใน การมองเหน็ ความสมั พนั ธ์ของสิง่ ต่างๆ การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดเดมิ ทีม่ ี อยู่สคู่ วามคดิ ใหมๆ่ ที่ไมเ่ คยมมี าก่อน เพอื่ คน้ หาคาํ ตอบท่ดี ีท่ีสุดให้กับปญั หาท่เี กดิ ข้ึน เป็นการสร้างสรรค์ ส่ิงใหมท่ แี่ ตกตา่ งไปจากเดมิ เปน็ ความคดิ ทหี่ ลากหลาย คิดได้กว้างไกล หลายแงห่ ลายมุม เนน้ ทงั้ ปริมาณและคณุ ภาพ องคป์ ระกอบของการคดิ สรา้ งสรรค์ (เพญ็ นิดา ไชยสายณั ห)์ ได้แก่ 1. ความคิดนนั้ ต้องเป็นสิง่ ใหมไ่ ม่เคยมมี ากอ่ น (New Original) 2. ใช้การได้ (Workable) และมคี วามเหมาะสม (Appropriate)

236 3. การคิดเชิงสรา้ งสรรค์จงึ เป็นการคดิ เพอ่ื การเปลยี่ นแปลงจาก ส่ิงเดมิ ไปสู่สงิ่ ใหมท่ ดี่ กี วา่ ซงึ่ จะได้ผลลพั ธ์ทตี่ า่ งไปโดยสิ้นเชงิ หรือทเี่ รียกว่า “นวตั กรรม”(Innovation) การคิดสร้างสรรค์ มีความหมายแยกได้เปน็ 3 ประเดน็ หลัก คือ 1. เปน็ ความคดิ แงบ่ วก หรอื Positive thinking 2. เป็นการกระทําที่ไมท่ ําร้ายใคร หรือ Constructive thinking 3. เปน็ การคิดสรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหมๆ่ หรอื Creative thinking การคิดสรา้ งสรรคเ์ กดิ ขึน้ ได้ 2 ทาง คอื เริ่มจากจนิ ตนาการแล้วสู่ความจริง เกิดจากการทเี่ รานาํ ความฝัน และจินตนาการ ซ่งึ เปน็ เพียงความคิด ความใฝฝ่ นั ทยี่ งั ไม่เป็นจรงิ แตเ่ กดิ ความปรารถนาอย่างแรงกล้า ท่จี ะทาํ ใหค้ วามฝนั นนั้ เปน็ จรงิ เริ่มจากความรู้ที่มแี ล้วคดิ ต่อยอดสู่สงิ่ ใหมท่ ่ี เรียกว่า นวัตกรรม (Innovation) เกดิ จากการนาํ ขอ้ มูลหรือความร้ทู ี่มีอยูม่ าคดิ ต่อยอดหรือคดิ เพิ่มฐานขอ้ มูลท่ีมีอยู่ จะ เป็นเหมอื นตวั เข่ียความคดิ ใหเ้ ราคดิ ใน เร่อื งใหมๆ่ สรปุ การคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความคดิ ใหม่ๆ ความคดิ แง่บวก อาจเกิดข้ึน โดยบังเอิญหรือโดยความตัง้ ใจ สามารถคิดได้หลากหลายและแปลกใหม่ สามารถนําไปประยุกตท์ ฤษฎี หรือปฏบิ ัติไดอ้ ยา่ งรอบคอบและถูกตอ้ ง จนนาํ ไปสกู่ ารคดิ ค้นและนวตั กรรม 9.7.3 วธิ ีการปรับปรงุ ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์ การคิดสร้างสรรค์และการค้นหาวิธกี ารแก้ปัญหาเป็นกิจกรรมท่ี ปฏสิ มั พนั ธ์กัน ความพยายามแก้ปัญหาใดปัญหาหนึง่ ดว้ ยการใช้เหตผุ ล (ตรรกะ) หนึง่ เช่ือมโยงไปยัง อีกเหตุผลหนึ่งเป็นขั้นตอนข้ึนไปเร่ือยๆ เพื่อให้บรรลุการแก้ปัญหา เรียกวิธีการน้ีว่า “ความคิด แนวตงั้ ” (vertical thinking) ซึ่งเป็นการใช้งานสมองซกี ซา้ ยเปน็ หลกั เอ็ดเวริ์ด ดิ โบโน (Dr.Edward de Bono) นักจิตวิทยาและนักวิจัย ทางการแพทย์แห่งมหาวิทยาลยั เคมบริดจ์ ไดเ้ สนอการใชก้ ารคิดสรา้ งสรรคด์ ้วยแนวคดิ ที่เรยี กว่า “ซึ่งแตกตา่ งจากวิธกี ารเดมิ ๆ จากการใช้ความคดิ ในแนวต้งั แตใ่ ช้จนิ ตนาการวาดภาพแบบนอกกรอบ ซ่งึ เป็นการใช้งานสมองซกี ขวา แดเนยี ล พิงส์ (Dr. Daniel Pink) ในหนงั สอื ขายดี A Whole New Mind (2005) ว่าเรากําลังเข้าสู่ยุคสมัยท่ีความสร้างสรรค์มีความสาํ คัญมากขึ้นเรื่อยๆในยุคแห่ง วิสัยทัศน์ การเสริมสร้างและกระตุ้นการใช้สมองซีกขวา(right-directing thinking) ซง่ึ หมายถงึ การคิดสร้างสรรค์มากกว่าสมองซกี ซา้ ย (left-directed thinking) ซง่ึ หมายถงึ เพยี งการใชเ้ หตุผล

237 และการวิเคราะหซ์ ึง่ เปน็ เร่ืองปกติอย่แู ล้ว พิงส์ (Pink) อธิบายถงึ “แรงจูงใจ”(Motivation) ทีจ่ ะช่วย กระตนุ้ ให้เกิดการคิดสร้างสรรค์อยา่ งนา่ สนใจวา่ 1. แรงจงู ใจในการสรา้ งการคิดสร้างสรรคท์ ด่ี มี ีคณุ ภาพ ไมส่ ามารถใช้เงินเปน็ ตัวนําหลักได้ ยง่ิ ใชเ้ งนิ มากเทา่ ใด งานสร้างสรรค์ยงิ่ มคี ุณภาพตา่ํ 2. การใชเ้ งนิ สรา้ งแรงจูงใจตอ้ งระมดั ระวงั และเฉพาะท่ีจาํ เปน็ อย่างเหมาะสม แตต่ อ้ งใหค้ วามสาํ คญั กับจติ ใจและความตัง้ ใจจรงิ 3. การจะสรา้ งการคดิ สร้างสรรค์ทดี่ ี ตอ้ งใช้องค์ประกอบสําคัญ 3 ประการ คือ อสิ ระในการคดิ และทํางาน (Autonomy) 4. มีสิทธิและอาํ นาจที่จะพยายามปรบั ปรุงให้ดขี ึน้ เรือ่ ยๆ หรอื กา้ วไปส่คู วามเปน็ เลศิ (Mastery) มคี วามตัง้ ใจจริง (Purpose) 9.7.4 ขอบเขตของการคดิ สรา้ งสรรค์ ขอบเขตของการคิดสรา้ งสรรค์ ประกอบดว้ ย ดังตอ่ ไปนี้ 9.7.4.1 ความสามารถ (ability) ในการจินตนาการหรือสร้างสรรค์ สงิ่ ใหมๆ่ ซงึ่ มิไดเ้ ริ่มตน้ จากสญู ญากาศ เป็นการสร้างสรรคค์ วามคดิ ใหมจ่ ากการผสมผสานเปลี่ยนแปลง (changing) หรอื การนํากลบั มาใชใ้ หม่ (reapplying) การคดิ สร้างสรรคบ์ างเรื่องอาจนา่ ท่งึ และยอด เยี่ยมมาก อาจจะเป็นเรือ่ งพ้ืนๆธรรมดาท่คี นสว่ นใหญม่ องข้ามความจริงทุกคนมกี ารคิดสร้างสรรค์ ดู ไดต้ ัง้ แตว่ ยั เดก็ แตเ่ มอื่ มอี ายมุ ากขน้ึ การคิดสร้างสรรคม์ กั จะถูกครอบงาํ ดว้ ยกระบวนการศึกษา แต่ สามารถจะปลกุ ให้ต่นื ได้ เพียงแตว่ ่าตอ้ งมคี วามต้ังใจทจ่ี ะร้อื ฟนื้ ขึ้นมาใหมแ่ ละให้เวลา 9.7.4.2 ทศั นคติ (attitude) คอื ความสามารถท่จี ะยอมรับเปล่ียนแปลง และสิง่ ใหมๆ่ พร้อมทจี่ ะเล่นกับความคิดท่หี ลากหลายและความเปน็ ไปได้ (probability) มคี วามคิดท่ี ยืดหยุ่น ชอบเห็นสง่ิ ทดี่ ีข้ึนและพรอ้ มท่จี ะปรบั ปรุงอย่เู สมอ ตัวอย่างเชน่ ชอคโกแลตไม่จําเปน็ ตอ้ ง เคลอื บด้วยสตอรเ์ บอรเี่ สมอไป อาจจะเคลอื บด้วยถว่ั ลิสงหรอื ผลไมช้ นิดอ่ืนได้ 9.7.4.3 กระบวนการ (process) ผูท้ ีม่ ีการคดิ สร้างสรรค์จะทาํ งานหนัก เพอื่ พฒั นาความคิดและแนวทางแก้ปัญหาใหด้ ขี ้ึนอยา่ งต่อเนอื่ ง ด้วยวิธกี ารเปลยี่ นแปลงแบบคอ่ ยเป็น ค่อยไปหรอื ปรบั ปรุงให้มคี วามสมบรู ณข์ น้ึ ตามลําดบั การคิดสร้างสรรค์ทีเ่ ย่ียมยอดไม่เคยปรากฏวา่ เกดิ จากการคดิ เพียงคร้งั เดยี วหรอื จากกจิ กรรมสัน้ ๆ ผทู้ มี่ ีการคิดสรา้ งสรรค์รู้ดีว่าการปรบั ปรงุ ใหด้ ขี นึ้ สามารถทาํ ได้เสมอ

238 9.7.5 วิธกี ารคิดสร้างสรรค์ วิธกี ารคดิ สร้างสรรค์ มีวิธีการท่ีหลากหลายแตท่ สี่ ําคัญมี 5 วธิ ีการ คือ 9.7.5.1 วิวฒั นาการ (evolution) เป็นวธิ ีการปรับปรงุ ให้ดขี นึ้ ดว้ ยวิธีการ แบบสะสมทีละขั้นตอน ความคดิ ใหม่เกิดจากความคิดหลากหลาย แนวทางแกป้ ัญหาใหมๆ่ เกิดจาก แนวทางเกา่ ๆ แต่ปรบั ปรุงให้ดีขึน้ 9.7.5.2 การผสมผสาน (synthesis) เป็นการผสมผสานหรอื สังเคราะห์ แนวคดิ ที่ 1 กบั ท่ี 2 เป็นแนวคดิ ที่ 3 ซ่ึงกลายเปน็ ความคิดใหม่ เช่น ความคดิ เกีย่ วกบั หนงั สอื แมก กาซนี กบั เคร่อื งเลน่ เทป กลายเปน็ แมกกาซนี ที่สามารถเปดิ ฟังได้ ซง่ึ เป็นประโยชน์ตอ่ ผู้พิการทีต่ าบอด 9.7.5.3 การปฏิวตั ิ (revolution) เป็นการเปลยี่ นแปลงอย่างมากมาย เช่น แทนทีจ่ ะใหอ้ าจารยบ์ รรยายใหน้ ักเรยี นฟังแบบเดิมๆ กเ็ ปล่ียนเป็นใหน้ ักเรียนทาํ งานเปน็ ทมี และ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้กันด้วยการนาํ เสนอสงิ่ ที่ตนคน้ พบ 9.7.5.4 ปรับเปลี่ยนวธิ ีการใหม่ (reapplication) ปรับมมุ มองเรอื่ งเก่า ดว้ ยมมุ มองใหม่หรือมองแบบนอกกรอบ เช่นการใช้คลปิ หนีบกระดาษเปน็ ไขควง เป็นต้น 9.7.5.5 ปรับเปลยี่ นทศิ ทาง (changing direction) เปน็ การปรับเปล่ียน ทศิ ทางการมองปญั หาดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย 9.7.6 องคป์ ระกอบของการคิดสร้างสรรค์ การคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ ความคดิ ท่ีมลี กั ษณะอเนกนยั ซึง่ ประกอบด้วย 9.7.6.1 ความคดิ ริเริ่ม (Originality) มลี ักษณะแปลกใหม่แตกต่างจาก ของเดิม คดิ ดัดแปลง ประยุกต์เปน็ ความคิดใหม่ ความคิดคลอ่ งตวั (Fluency) 1) ด้านถ้อยคาํ (Word Fluency) หลากหลาย ใชป้ ระโยชนไ์ ด้ และไมซ่ ํา้ แบบผอู้ ืน่ 2) ด้านความสมั พันธ์ (Associational Fluency) จากสงิ่ ทีค่ ดิ รเิ ร่มิ ออกมาได้อย่างเหมาะสม 3) ด้านการแสดงออก (Expressional Fluency) เปน็ ความคิด ทีส่ ามารถนําเอา ความคดิ ริเริ่มน้ันมา แสดงออก ให้เห็นเปน็ รูปภาพได้อยา่ งรวดเร็ว 4) ความคดิ คลอ่ งด้านความคิด (Ideational Fluency) เปน็ การสรา้ งความคิดให้เกิดขน้ึ อย่างรวดเร็ว คิดไดท้ ันที ทต่ี อ้ งแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 9.7.6.2 ความคดิ ยดื หยุ่น (Flexibility) มคี วามเป็นอสิ ระคดิ ไดห้ ลายๆ อย่าง

239 9.7.6.3 ความคิดสวยงามละเอียดละออ (Elaboration) รอบคอบ มี ความคดิ สวยงาม ดา้ นคณุ ภาพ มีความประณีต ในความคดิ สามารถนาํ ไปประยุกตใ์ ช้ได้อย่างมคี ุณภาพ ในทุกๆดา้ น 9.7.7 กระบวนการสร้างการคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการสร้างการคิดสร้างสรรค์ กลา่ วถึงดังต่อไปน้ี 9.7.7.1 เกดิ สิ่งกระทบความรูส้ กึ ใหต้ อ้ งคดิ เป็นต้นเหตหุ รอื สาเหตุของ เรอ่ื งท่ีตอ้ งใชค้ วามคดิ ในการทาํ ใหเ้ รอ่ื งนัน้ ๆ บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ 9.7.7.2 รวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง ทุกประเดน็ ทกุ แงม่ มุ 9.7.7.3 แจกแจง วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมลู นําขอ้ มลู ทเ่ี ก็บรวบรวม ได้มาแจกแจง วิเคราะห์ ความสมั พันธ์หรือดูความเช่ือมโยงระหว่างกัน 9.7.7.4 การคิดและทําให้กระจา่ งชัด จดั ระบบความคดิ ตามข้อมลู ท่ีได้ แจกแจงและวิเคราะหค์ วามสมั พนั ธแ์ ลว้ ใหส้ ามารถมองเห็นภาพ ขนั้ ตอน ความเชอื่ มโยงของแต่ละ สว่ นได้อยา่ งชัดเจน 9.7.7.5 แสดงออก เป็นการนําเสนอผลจากการคดิ เพ่อื ทดสอบความคดิ และพสิ ูจนใ์ ห้เห็นจรงิ เจมส์ เวฟ ยงั (James Webb Young) ไดเ้ สนอแนวความคิด 5 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ (1) ขน้ั รวบรวมวัตถุดิบ (ก) วตั ถุดิบเฉพาะ เป็นข้อมูลวัตถุดบิ ตา่ งท่เี กี่ยวข้องโดยตรง กบั เรื่องที่ต้องการประชาสมั พันธ์ (ข) วัตถุดิบทั่วไป เปน็ ข้อมูลวัตถุดิบทว่ั ๆไปท้งั ในส่วนของ องคก์ าร และสภาพแวดลอ้ ม เพอ่ื นํามาประกอบการสร้าง การคิดสร้างสรรค์ ใหส้ มบูรณ์ (2) ข้นั บดย่อยวัตถุดบิ เปน็ ขั้นการนําขอ้ มูลวัตถดุ บิ ต่างๆ ทไี่ ด้ เก็บรวบรวมมาได้ นํามาแจกแจง พิจารณาวิเคราะห์ หาความสัมพนั ธ์ ความเก่ียวขอ้ งกันของขอ้ มลู (3) ขั้นความคดิ ฟักตัว (4) ขั้นกาํ เนดิ ความคิด (5) ขัน้ ปรบั แตง่ และพฒั นา ก่อนไปใชป้ ฏบิ ัติจะนําเสนอ ความคดิ สกู่ ารวิพากษ์วิจารณ์ เพอ่ื การปรับแตง่ และพฒั นาความคิดให้เหมาะสมกบั สภาพการณท์ ีเ่ ป็น จรงิ

240 9.7.8 วิธีการฝึกเพื่อพฒั นาศกั ยภาพการคิดสร้างสรรค์ วธิ ีการฝกึ เพือ่ พฒั นาศักยภาพการคดิ สร้างสรรค์ มีดงั ตอ่ ไปนี้ 9.7.8.1 ฝกึ คิดเชงิ บวก (Positive Thinking) ไมว่ า่ จะเกดิ อะไรขน้ึ เรา ตอ้ งฝึกคดิ วา่ มีอะไรท่ีเป็นประโยชนก์ บั เราบ้าง เชน่ ถ้าเราตกงานเรากค็ ิดวา่ เป็นโอกาสที่ดีทเี่ ราจะได้มี เวลาพัฒนาตัวเองแบบเต็มเวลา ถ้าเราอกหักก็คดิ เสียวา่ เปน็ โอกาสดีที่จะไดเ้ ปิดโอกาสใหก้ บั คนดๆี อกี หลายคนเข้ามาในชีวิตของเรา ถา้ เครียดมากๆ ก็ใหค้ ิดเสยี ว่าเปน็ การทดสอบความแขง่ แกร่งของจติ ใจ ว่าจะสามารถรบั มือกับสภาพความเครยี ดไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด เพราะในอนาคตเราอาจจะมเี รื่องท่เี ครยี ด มากกว่านี้ก็ได้ การฝกึ คดิ เชงิ บวก นอกจากจะช่วยใหเ้ ราฝึกการแสวงหาโอกาสแลว้ ยงั ชว่ ยให้เราเกิด การเรียนรูท้ ่ีเหนือกว่าคนอน่ื เพราะถา้ เหตุการณห์ นง่ึ เกดิ ขึ้น เราสามารถเรยี นรทู้ ้ังสงิ่ ทคี่ นทวั่ ไปเขารู้ กนั แลว้ เรายงั เรยี นรู้ในสิ่งท่คี นอืน่ ๆ เขามองข้ามไป เม่ือเราฝกึ แบบน้ีไปนานๆ หลายๆคร้ังเขา้ จํานวน เทา่ ของความรู้ของเราจะ เหนือกว่าคนท่ัวไปอยา่ งนอ้ ยสองสามเทา่ ตัว 9.7.8.1 ฝกึ คิดยอ้ นศร (Backward Thinking) เมอื่ ไหร่กต็ ามเราคิดสวน ทางกบั คนอื่น อาจจะทาํ ใหเ้ ราเกดิ การคดิ สรา้ งสรรคท์ ดี่ ๆี ขน้ึ มาก็ได้ ตัวอยา่ ง การทาํ ธรุ กจิ ท่ตี รงกนั ข้ามจากคนอ่นื เช่น ปกติรถเสยี ต้องพารถไปหาอู่ แตเ่ ม่ือคดิ ใหมค่ ือเอาอไู่ ปหารถ จงึ ทําใหเ้ กิดธุรกิจ บริการซอ่ มรถฉุกเฉนิ ขึ้นมามากมาย หรือเมื่อก่อนถ้าเราจะกนิ พซิ ซ่าเราจะตอ้ งไปทรี่ ้าน แต่เมอ่ื มคี น คิดยอ้ นศรคอื ส่งพซิ ซา่ ไปหาลกู ค้าจงึ เกดิ ธรุ กจิ Home Delivery ขน้ึ มามากมาย ปัจจบุ ันนีเ้ กิดธรุ กิจ อีกมากมาย เช่น การสง่ ดอกไม้ ร้านหนังสอื ร้านวีดีโอ เปน็ ต้น 9.7.8.2 ฝึกคิดในส่งิ ท่เี ปน็ ไปไมไ่ ด้ (Impossible Thinking) บางส่งิ บางอย่างท่เี ราเคยคดิ ว่า มนั เปน็ ไปไมไ่ ดใ้ นอดตี แต่ในปัจจุบนั มันเป็นไปได้และเปน็ ไปแล้ว ส่งิ ท่ีเราคดิ ว่าเป็นไปไมไ่ ด้ในวนั นี้ มนั อาจจะเปน็ ไปได้ในอนาคต ดงั น้ัน อะไรกต็ ามทีเ่ ราคิดว่า เป็นไปไมไ่ ดอ้ ยา่ เพงิ่ ด่วนตัดทง้ิ ไป เพราะน่ันเทา่ กบั เปน็ การดบั อนาคตแหง่ การคดิ สรา้ งสรรค์ของเราเอง ตวั อย่าง การคิด สร้างสรรค์แบบน้ีเห็นได้จากภาพยนตร์ การ์ตูน บางประเภทที่เราคิดว่าเป็นไปไม่ได้ ความคิดของ นักวทิ ยาศาสตร์นาํ ไปคน้ คว้าวจิ ัยเพ่อื นาํ ไปสคู่ วามเป็นไปได้ตอ่ ไป เช่น ในอดตี ใครเคยคิด บ้างวา่ เรื่อง การโคลนนิ่งสตั วห์ รือมนุษยจ์ ะเป็นไปได้ ใครเคยคิดบ้างว่า มนษุ ย์จะมีธรุ กจิ การท่องเท่ยี วในอวกาศ ใครจะคิดบ้างว่า คนท่ีอยู่กันคนละโลกสามารถพูดคุยกันแบบเห็นหน้าตาได้เหมือนสมัยน้ี ใน ชีวิตการทํางาน เรามักจะตกหลมุ พรางทางความคดิ แบบนีอ้ ย่บู ่อยๆ พอคิดจะทําโน่นทําน่เี ราก็ มักจะ ถูกขัดขวางด้วยความคิดท่ีว่า มันทําไม่ได้หรอก หัวหน้าเขาคงไม่มีงบประมาณ คงไม่สนับสนุน สภาพแวดล้อมภายนอกมาทาํ ลายต้นกลา้ แหง่ การคดิ สรา้ งสรรค์ของเราเสยี เอง ต้ังแต่ยังไม่ลงมือทํา อะไรเลย ทําใหเ้ ราไม่มีโอกาสได้คดิ ไปถึงท่สี ุดว่าทเ่ี ราคิดว่ามนั เปน็ ไปไมไ่ ดน้ น้ั จริงๆแลว้ มันเปน็ เช่นนั้น จรงิ หรือ

241 9.7.8.3 ฝึกคดิ บนหลักของความเปน็ จรงิ (Thinking Based Principle) การฝกึ คิดแบบน้คี อื การคิดวิเคราะหส์ ง่ิ ต่างๆ โดยยอ้ นกลบั ไปหาหลักความเป็นจริงของสิง่ นนั้ ๆว่าคอื อะไร เชน่ คนท่ีสามารถผลติ เครอ่ื งบินได้น้ัน จะตอ้ งเข้าใจถงึ หลกั ความเป็นจริงในเรอื่ งแรงโน้มถ่วง ของโลกก่อน จงึ จะสามารถออกแบบเคร่ืองบินได้ ต้องเข้าใจว่า การบินได้นั้น จะต้องมพี ลังขับเคลือ่ น เทา่ ไหร่ มีความเรว็ เทา่ ไหร่ จงึ จะสามารถหนี ออกจากแรงโน้มถ่วงของโลกได้ 9.7.8.4 ฝึกคิดขา้ มกลอ่ งความรู้ (Lateral Thinking) การคดิ ขา้ มกลอ่ ง ความรู้ คอื การนาํ เอาความรู้ท่ีมอี ยใู่ นหวั ในเรื่องต่างๆ มาคดิ ไขว้กัน ยง่ิ เรามกี ลอ่ งความรหู้ ลากหลาย โอกาสทเ่ี ราจะคิดข้ามกลอ่ ง เพอ่ื ใหเ้ กิดความคดิ ใหมๆ่ กม็ มี ากย่งิ ขึ้น เชน่ ก๋วยเต๋ียวต้มยํามาจากกลอ่ ง ความรู้เก่ยี วกบั กว๋ ยเตยี๋ วผสมกบั กลอ่ งความร้ใู นการทําตม้ ยาํ หรอื แอรม์ งุ้ มาจากกลอ่ งความรู้ดา้ นแอร์ กับกล่องความรู้ด้านมุ้ง ปลาดุกในห้องเช่ามาจากกล่องความรู้เร่ืองห้องเช่ากับกล่องความรู้เร่ือง การเลี้ยงปลาในบอ่ ดิน 9.7.9 วธิ พี ฒั นาการคิดสรา้ งสรรค์ วิธีพัฒนาการคิดสร้างสรรค์ มดี งั ต่อไปนี้ 9.7.9.1 ชว่ ยกันระดมสมอง เปน็ วธิ ีท่ไี ด้รบั ความนิยมมากท่ีสุดในองค์กร เพราะวิธีนส้ี ามารถทําให้เกดิ ความคดิ ใหมๆ่ ข้นึ มากมาย 9.7.9.2 ลองคดิ ในมมุ กลบั การคิดวิธนี จี้ ะทาํ ใหเ้ ราไม่ยึดติดกับความคิด เดิมๆ และเป็นการชว่ ยกระตุ้นให้ เกดิ ความคิดใหมๆ่ ที่เราไมค่ าดคิดมากอ่ น 9.7.9.3 ตงั้ คาํ ถามใหต้ ัวเอง วธิ นี ้ีเป็นการฝกึ นสิ ัยเราให้เป็นคนใชค้ วามคิด โดยที่เราหมนั่ ตง้ั คําถามกับสิง่ ท่ีเกดิ ขน้ึ รอบตวั 9.7.9.4 ใช้การเปรียบเทียบเทคนิคน้ีได้รับความนิยมอย่างมากใน การพัฒนาองค์กร ปัญหาท่ีเราไม่คุ้นเคยจะถูกทําให้เข้าใจได้ง่ายข้ึน เม่ือเรานํามาเปรียบเทียบ หรืออปุ มาอุปไมยและปญั หาที่เราคนุ้ เคยมาก จนกลายเป็นอุปสรรคที่ทาํ ใหเ้ ราไมส่ ามารถคดิ อะไร ใหมๆ่ ได้วธิ นี ี้กจ็ ะชว่ ยใหเ้ ราคดิ ในมุมทแี่ ตกต่างได้ 9.7.10 การฝกึ ในการมมุ ต่างมมุ วธิ กี ารฝกึ ในการมมุ ต่างมุม มดี งั ต่อไปน้ี (เกรียงศกั ด์ิ เจรญิ วงศ์ศักด์,ิ 2547) 9.7.10.1 การฝึกมองในมมุ ทีแ่ ตกต่างหรือการแหวกมา่ นประเพณี ทาง ความคดิ จะชว่ ยพัฒนาความคิดสรา้ งสรรคไ์ ด้อยา่ งดี โดยฝึกมองตา่ งมุม สร้างจินตนาการอสิ ระ ขยาย ขอบเขตของความเป็นไปได้ ต้ังคําถามแบบมองต่างมุม เป็นคนไม่พอใจอะไรง่ายๆ ด้วยคําถาม “ทําไม” กระตุน้ ความคดิ ดว้ ย คําถาม”อะไรจะเกิดขน้ึ ถ้า” มองมุมตรงข้ามตง้ั คําถามและหาคาํ ตอบ เชื่อมโยงสิ่งท่ีไม่คุ้นเคย คิดทางลัด ค้นหาข้อบกพร่องเพื่อพัฒนาและคิดเองทาํ เอง เทคนิคใน

242 การแก้ปัญหาและพัฒนางานต่างๆ ในชีวิตประจําวันท่ีช่วยให้ค้นพบแนวคิดใหม่ๆ นอกกรอบ ความซ้ําซากเดิมๆ กอ่ นที่จะนําไปส่กู ารค้นพบทางออกของปญั หา 9.7.10.2 หาความคิดใหม่ที่หลากหลายด้วยการระดมสมอง (Brainstorming) เปน็ เทคนคิ การระดมความคิดแปลกๆใหมๆ่ เป็นการแกป้ ัญหาในองคก์ รทไ่ี ดร้ ับ ความนยิ มมากท่ีสุดทาํ ของเก่าให้เปน็ ของใหม่ โดยการพิจารณา 9 แนวทาง ได้แก่ เอาไปใชอ้ ย่างอน่ื ดัดแปลง ใชอ้ ยา่ งอ่นื ปรบั เปล่ยี น เพ่ิม, ขยาย ลด, หด ทดแทน จัดใหม่ สลบั และผสม,รวม ได้หรือไม่ เปน็ เทคนคิ ทชี่ ่วยในการสรา้ งส่ิงประดิษฐ์ใหม่ๆ 9.7.10.3 ขยายขอบเขตปัญหาจากรูปธรรมส่นู ามธรรมแล้วค่อยคิด คอื ไมค่ ดิ ในเรื่องท่ีกําลงั คิดอยแู่ ต่ คิดในความเป็นนามธรรมของเร่ืองน้ันทมี่ ีอย่ใู นสิง่ ทั้งปวง เนื่องจาก นามธรรมของปญั หาสามารถนําไปสกู่ ารสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรมใหมๆ่ เทคนคิ น้ไี ด้มกี ารนาํ ไปใช้รว่ มกบั การระดมสมอง แตจ่ ะแตกตา่ งกับวธิ กี ารระดมสมอง คอื ไมม่ ีการชแ้ี จงปญั หาอยา่ งละเอียดก่อนลว่ งหน้า แต่จะกลา่ วถึงปัญหาในแนวกว้างๆ 9.7.10.4 ปรับสภาพแวดล้อมและเวลาให้เหมาะสมสาํ หรับการคิด การอยูใ่ นสภาพแวดล้อมแบบเดยี วกันนานๆ อาจจํากัดการคดิ สร้างสรรค์ และเวลากม็ ีความสําคัญต่อ การคิด ในบางเวลาจะคิดได้ดีและในบางเร่ืองการจาํ กัดเวลาช่วยกระตุ้นความคิดได้ แต่บางเรื่อง จาํ เปน็ ต้องให้เวลาในการคดิ 9.7.10.5 กลบั ส่ิงทีจ่ ะคิด แล้วลองคดิ ในมมุ กลับ เป็นเครื่องท่ชี ่วยให้ มองมมุ อกี มมุ หนึ่งทเ่ี ราไม่เคยคิดท่จี ะมองมาก่อน และการคดิ แบบกลบั ดา้ นจะทาํ ใหไ้ ม่ยดึ ตดิ กับรูปแบบ การคดิ เดิมๆ ทเี่ คยชิน เป็นการชว่ ยกระตุ้นให้เกดิ ความคิดใหมๆ่ ทคี่ ิดว่าไม่น่าจะเปน็ ไปไดม้ าก่อนจับคู่ ตรงขา้ มเพื่อหักมมุ สสู่ ่งิ ใหม่ เป็นวิธีการหาส่ิงที่อยูต่ รงข้าม ในลกั ษณะขัดแย้ง (conflict) เพอื่ กอ่ ให้เกิด การหักมุมความคาดหวงั ทค่ี นทัว่ ๆ ไปไม่คดิ วา่ จะเป็น กลายเป็นสง่ิ สรา้ งสรรค์ใหม่ เชน่ มติ ร ศตั รู 9.7.10.6 คิดแหวกวงความน่าจะเป็น ยอ้ นกลับมาหาความเป็นไปได้ เป็นการเชือ่ มโยงถงึ ความเปน็ ไปได้โดยแสวงหาแนวคิดใหม่ จากการคดิ นอกกรอบของตรรกศาสตร์ทม่ี ี ตัวเลอื กวา่ ถกู -ผดิ ใช-่ ไมใ่ ช่ แต่พยายามหาคาํ ตอบท่แี หวกกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ให้มากทส่ี ดุ แลว้ จากน้นั พยายาม ดัดแปลงความคดิ น้นั ใหท้ าํ ได้จริงในทางปฏบิ ตั ิ 9.7.10.7 หาส่ิงไม่เชอื่ มโยง เปน็ ตวั เข่ียการคิดสรา้ งสรรค์ เพือ่ ใหเ้ กิด การคน้ พบส่งิ ใหม่ เพ่ือตอบปญั หาท่คี ดิ อย่ใู หเ้ ห็นทางออกของปัญหาท่ีสรา้ งสรรค์ และปฏบิ ตั ิได้จริง โดยตวั เขยี่ ความคดิ หาไดจ้ ากเปดิ หนงั สอื และเปดิ พจนานุกรม 9.7.10.8 ใช้เทคนิคการสังเคราะห์ส่วนประกอบ เป็นการเขยี น รายการของแนวคดิ ทเ่ี ก่ียวกับลกั ษณะหรือแงม่ มุ ของส่งิ ทต่ี ้องการตอบ ออกมาเขยี นไว้ในแกนหนึง่ และ

243 เขยี นรายการของแนวคิดทเี่ กยี่ วกับลักษณะหรือแงม่ มุ ของสิ่งทีต่ อ้ งการตอบออกมาแล้วเขยี นไวอ้ กี แกนหนึ่ง ผลทไี่ ดค้ อื ช่วงตดั (matrix) ระหว่างรายการของแนวคิดทง้ั สอง 9.7.10.9 ใช้การเปรียบเทยี บ เพอ่ื กระต้นุ มมุ มองใหมๆ่ เทคนิคน้ีได้รบั ความนิยมในวงการอุตสาหกรรมและองค์กรที่ต้องการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ วิธีการรวมกันของ องคป์ ระกอบทแี่ ตกตา่ งและไม่เก่ยี วขอ้ งกนั ในลกั ษณะของการเทยี บเคยี ง หรืออุปมาอปุ ไมย เนอื่ งจาก ปัญหาที่ไม่ค้นุ เคยจะถูกทําใหเ้ ขา้ ใจได้งา่ ยข้ึนเมอ่ื เทยี บเคยี งกบั ส่ิงท่คี นทวั่ ไปคุ้นเคย เพราะทําใหเ้ หน็ ภาพชัดข้ึน ในทางตรงกันข้าม ปัญหาท่คี นุ้ เคยมากเกินไป จนกลายเปน็ อุปสรรคทําให้เราไม่สามารถ คิดอะไรใหมๆ่ ได้ การอปุ มาหรอื เทียบเคยี งในลักษณะที่เราไมค่ นุ้ เคย จะชว่ ยกระตนุ้ ใหเ้ ราคดิ ในมมุ ที่ แตกต่างได้ โดยเปรียบเทียบตนเองกบั สง่ิ อื่น เปรยี บเทยี บส่งิ หน่งึ กับอกี ส่งิ หนง่ึ โดยตรง 9.7.11 การสรา้ งทศั นคตทิ เ่ี อ้ือต่อการสรา้ งการคดิ สรา้ งสรรค์ คนทมี่ ีการคดิ สรา้ งสรรค์ ต้องเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการสรา้ งทศั นคติทเี่ อ้อื ต่อสร้าง การคดิ สร้างสรรค์ เพอ่ื เป็นหลักการใหส้ ามารถปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจําวันได้โดย 9 อย่างหรือสง่ิ ท่คี วร หลีกเล่ียง และ 9 ต้อง หรือจําเปน็ ต้องพฒั นาให้เกิดขน้ึ ดังนี้ 9.7.11.1 อยา่ คดิ แง่ลบ ตอ้ งคดิ แงบ่ วก 9.7.11.2 อยา่ ชอบพวกมากลากไป ตอ้ งลองหวั เดียวกระเทยี มลบี ดบู ้าง 9.7.11.3 อย่าปิดตัวเองในวงแคบ ตอ้ งเปดิ รับสถานการณ์ใหม่ 9.7.11.4 อยา่ รักสบายทาํ ไปเรอ่ื ยๆ ต้องลงแรง บากบ่นั ม่งุ ความสาํ เร็จ 9.7.11.5 อยา่ กลัว ตอ้ งกลา้ เส่ยี ง 9.7.11.6 อย่าหมดกําลงั ใจเม่ือไมพ่ บคาํ ตอบ ต้องอดทนต่อ ความคลมุ เครอื 9.7.11.7 อยา่ ทอ้ ใจกับความผิดพลาด ต้องเรยี นรู้จากความล้มเหลว 9.7.11.8 อย่าละทงิ้ ความคดิ ใดๆ จนกวา่ จะพสิ จู นไ์ ด้วา่ ไรป้ ระโยชน์ ต้องชะลอการตัดสินใจ 9.7.11.9 อย่ากลัวการเผยแพรผ่ ลงาน ตอ้ งกล้าเผยแพร่ผลงาน “ทัศนคติจะเปน็ ตัวบ่งบอกตงั้ แต่ตน้ วา่ เราเป็นคนมกี ารคดิ สร้างสรรค์ มากนอ้ ยหรอื ไมส่ ร้างสรรคเ์ ลย ทัศนคติทีไ่ ม่ถูกตอ้ งจะเป็นอปุ สรรคสาํ คญั ใหเ้ ราไมส่ ามารถสร้างสรรค์ ส่ิงใหมๆ่ ได้ แม้จะรู้เทคนคิ วธิ ีคิดสรา้ งสรรคม์ ากมายเพียงใด ดงั นัน้ ในก้าวแรกเราจาํ เปน็ ตอ้ งปรบั ปรุง แกไ้ ขและเปลย่ี นแปลงทศั นคตทิ ม่ี ีอยใู่ หส้ มกบั การเปน็ นกั คิดสรา้ งสรรคเ์ สยี ก่อน ” “ การคิดสรา้ งสรรค์ นาํ ไปส่กู ารพฒั นาสติปัญญาของตนเอง พัฒนางาน และการพฒั นาสงั คม ” (วัชราภรณ์ หาสะศรี)

244 10. อปุ สรรคของการคิด มนษุ ยท์ กุ คนจะมีความสามารถในการคดิ เหมอื นกนั แตศ่ กั ยภาพ ในการคดิ นนั้ อาจจะ แตกตา่ งกันน่ันก็เพราะว่า กระบวนการคดิ เหล่านั้นถูกขัดขวางดว้ ยอุปสรรค ดังตอ่ ไปน้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking.htm 21 กรกฎาคม 2559) 10.1อปุ สรรคทางการรบั รู้ ผทู้ ี่ไมใ่ ชน่ กั ฟงั ทด่ี ี มกั จะประสบกบั ปัญหานี้ เพราะทาํ ให้ เขาไมเ่ ห็นภาพทแ่ี ทจ้ ริงของภายนอก ขาดขอ้ มลู ท่ีจะนํามาใชใ้ นการคดิ ทาํ ใหเ้ กดิ การเช่อื มโยงเหตผุ ล ท่ีผดิ ได้ การเป็นนกั ฟงั ทดี่ ี คอื คนฉลาดฟัง “ต้องฟังอย่างตั้งใจฟังแล้วคดิ ทั้งด้านบวกและดา้ นลบ” ฟงั แล้วต้องคิดวิเคราะห์ เพอ่ื กาํ หนดน้ําหนักความเช่อื ถอื 10.2 อุปสรรคเชงิ กลยทุ ธ์ หมายถึง วธิ ีคิดต่างๆทไ่ี ม่สนบั สนนุ ความคดิ สรา้ งสรรค์ วธิ ีการ ทเ่ี ปน็ อุปสรรคเหล่าน้ี ไดแ้ ก่ การคิดแนวต้ัง การคดิ หาคําตอบทถ่ี ูกตอ้ งเพยี งคําตอบเดียว ซง่ึ ทาํ ใหผ้ ทู้ ี่ ละเลยไมส่ นใจวิธแี กป้ ญั หาหรือทางเลือกอืน่ ๆ ท่ีอาจเป็นไปได้ อนั เนื่องมาจากความเคยชนิ 10.3อุปสรรคทางอัตตา ยึดความคดิ ตัวเองเป็นหลัก ชอบหาขอ้ บกพรอ่ งของความคดิ ผู้อื่นท่ีแปลกแตกตา่ งจากความคิดของตน แตก่ ลบั มองข้ามขอ้ บกพรอ่ งของความคดิ ของตวั เอง ซงึ่ ใช้ เหตผุ ลโดยเอาตนเองเป็นศูนย์กลาง 10.4 อุปสรรคทางสังคม ผู้คนท่ีพา่ ยแพ้ตอ่ อุปสรรคประเภทนี้ มกั เปน็ ผทู้ ี่ไมม่ ั่นใจตนเอง ไมส่ ามารถทนต่อคําวิจารณ์ คําปฏเิ สธหรอื การต่อตา้ นจากสังคมได้และมักจะอ้างว่า “ฉนั ทาํ ไม่ได”้ “มันไม่ใชห่ นา้ ที่ของฉนั ” “ทาํ เหมอื นเดมิ ดีแลว้ ไม่เหน็ ตอ้ งเปล่ียนแปลงเลย” 10.5 อปุ สรรคทางความเช่อื และคา่ นิยม ความคิดของบคุ คลอาจไดร้ ับผลกระทบจาก ความเช่อื และค่านิยมของตวั เองได้ และทาํ ใหเ้ ขาไม่ยอมรับเอาวิธกี ารหรือความคดิ บางอยา่ งทขี่ ัดกับ ความเชอื่ สว่ นตวั มาพจิ ารณาความเช่ือเหลา่ นี้ ได้แก่ ขนบธรรมเนียมประเพณที ย่ี ดึ ถือกนั มานานตาม คนเฒ่าคนแก่ โหราศาสตรต์ ่างๆ และความเชอ่ื ทางดา้ นโชคลางเปน็ ต้น 10.6 อุปสรรคทางอารมณ์ปล่อยให้ความรู้สึกต่างๆ เช่น ความโกรธ ความกังวล ความอจิ ฉารษิ ยาอย่เู หนือเหตุผล จนไม่สามารถสรา้ งความคดิ ตอ่ ไปได้ เพราะมัวหมกมุ่นอยกู่ ับอารมณ์ เหล่านั้น เป็นผลต่อหมวกไตจะหลั่งสารออรีนาลินเข้าสู่กระแสเลือดขึ้นสู่สมองไปขัดขวางการส่ง กระแสคลื่นความคดิ หรือคลน่ื ประสาท (Nerve Impulse) เกดิ อาการท่ีเราเรยี กว่า เลอื ดขน้ึ หนา้ สมองตบี ตัน คิดอะไรไม่ออก 10.7อปุ สรรคจากความกลวั เป็นอปุ สรรคต่อพัฒนาการของความคิด เน่ืองจากกลัว ความผิดพลาด ความล้มเหลวและความพ่ายแพ้ กลัวคนอื่นมองว่าตนเอง “โง่”กลัวคนอ่ืน หวั เราะเยาะ กลัวถูกมองวา่ ตนเองแปลกแยกจากคนอ่นื ๆ ทําให้ ถูกกดี กนั ออกจากสังคมน้นั ๆ

245 11. การปอ้ งกนั และแกไ้ ขขอ้ บกพร่องในการคิด 11.1 สมรรถภาพในการคดิ นักจิตวทิ ยาได้เสนอแนะเพ่ือฝึกฝนใหม้ สี มรรถภาพในการคิด มีดังนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking.htm 21 กรกฎาคม 2559) 11.1.1 หมั่นศกึ ษาหาความรใู้ หก้ วา้ งขว้าง 11.1.2 หดั พจิ ารณาปญั หาท่เี กดิ ข้ึนให้ถี่ถว้ น 11.1.3 การคดิ ทําจติ ใจใหเ้ ป็นธรรมและเปน็ กลางมากทีส่ ดุ 11.1.4 พยายามพลิกแพลงวิธีคิดหลายๆ วธิ ี 11.1.5 ศกึ ษาวธิ ีคดิ ของคนอ่ืนๆ 11.1.6 หมั่นวิจารณ์ความคิดของตนเอง และหาวธิ ีแก้ไข 11.2การพฒั นาสมองของมนษุ ย์ การพัฒนาสมองของมนุษย์อาจมคี วามไมส่ มบูรณ์ หรอื มีอปุ สรรคข้ึนอยกู่ บั สาเหตหุ ลายประการ ได้แก่ 11.2.1 สมองถกู กระทบกระเทือนจากอุบตั เิ หตหุ รือมลภาวะ 11.2.2 รบั ประทานอาหารท่ีไม่มีประโยชน์ การดื่มสุรา และเสพสารเสพติด 11.2.3 การพกั ผ่อนไมเ่ พียงพอ 11.2.4 คิดแต่สิ่งที่เปน็ แงร่ า้ ย 11.2.5 ขาดสมาธิ ชอบเกบ็ ตวั เครียด ไมก่ ลา้ เผชญิ ปญั หา 11.2.6 ไม่ชอบคิด มที ัศนคติ แรงจงู ใจท่ไี มถ่ กู ตอ้ งในการคิด 11.2.7 ไมช่ อบศึกษาหาความรู้ ทาํ ใหข้ ้อมลู ในสมองลา้ สมัย

246 สรุปบทที่ 3 การคิด เปน็ กระบวนการทางสมองที่ใชส้ ัญลกั ษณห์ รือภาพแทนสิ่งของ เหตกุ ารณห์ รอื สถานการณ์ต่างๆ ซึง่ เปน็ กระบวนการทางสมองในระดับสงู อนั ไดแ้ ก่ ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา จนิ ตนาการ ความใส่ใจ เชาวน์ปญั ญา ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละอนื่ ๆ นําจัดระบบความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร เพอื่ แกป้ ญั หา แสวงหาคาํ ตอบ ตดั สนิ ใจหรอื สรา้ งสรรค์สิง่ ใหม่ การคิดมคี วามสําคัญต่อ การเรยี นรู้ ต้องอาศัยการสงั เกต พฤติกรรม การแสดงออกและการกระทํา ถา้ คนแตล่ ะคนคดิ ดี คิด ถกู ต้อง คดิ เหมาะสม การดําเนนิ ชีวติ ของคนและความเป็นไปของสังคม กจ็ ะดาํ เนนิ ไปอยา่ งมคี ณุ คา่ สงู การคดิ จึงเป็นเรอ่ื งสําคญั ของมนุษย์ การถามและการตอบสามารถช่วยกระตุ้นการคดิ ได้ โดยการตัง้ ประเด็นคําถามท่ีสําคญั จะช่วยกระตุน้ ความกระตอื รือร้นในการแสวงหาคําตอบ โดยการใช้เทคนคิ การสืบสวนและการสังเกต ซ่ึงใช้เป็นการกระตุ้นให้เกิดการคิดโดยใช้ปัญญาได้ การเกดิ การคดิ เม่ือเกิดสภาวะสมดุลจะได้คาํ ตอบ/ไมส่ งสยั /ไมข่ ดั แยง้ สามารถตอบขอ้ สงสยั ได้ ในทางตรงกันข้าม สภาวะไม่สมดลุ จะไม่ได้คําตอบ/สงสัย/ขัดแยง้ ไม่ได้คําตอบ เกดิ ความเครียด ทกุ ข์ใจได้ มนษุ ยม์ ี ความคิดโดยใช้กรอบการคิด ได้แก่ ทักษะการคิด แบ่งออกเป็น ทักษะการคิดที่เป็นแกน, ทักษะ การคดิ ช้ันสูง เปน็ ตน้ ส่วนลกั ษณะการคิด คือ การคิดระดับพืน้ ฐาน ได้แก่ การคดิ คลอ่ ง, การคิด หลากหลาย, การคิดละเอยี ดลออ, การคิดชดั เจน เปน็ ตน้ การคดิ ระดบั กลาง ได้แก่ การคิดมเี หตุผล การคดิ ถกู ทาง, การคดิ กวา้ ง, การคิดลกึ ซ้งึ , การคดิ ไกล เป็นต้น การคดิ ระดับสูง ได้แก่ การคดิ อย่างมี วจิ ารณญาณ สว่ นประเภทของการคดิ แบง่ ตามขอบเขตความคดิ ไดแ้ ก่ การคิดในระบบปดิ และการคดิ ในระบบเปิด แบ่งตามความแตกต่างของเพศ ได้แก่ การคิดแบบวิเคราะห์และการคิดแบบโยง ความสัมพันธ์ แบ่งตามความสนใจของนกั จิตวทิ ยา ไดแ้ ก่ ความคิดรวบยอด การคดิ หาเหตผุ ล และ การคดิ สร้างสรรค์ แบง่ ตามลกั ษณะทว่ั ๆไป ได้แก่ การคิดประเภทสัมพันธ์ และการคิดทเ่ี ปน็ อิสระ แบ่งตามความคิดโดยตรงที่ใชใ้ นการแก้ปญั หา ไดแ้ ก่ การคิดเชิงวจิ ารณ์ และการคดิ สรา้ งสรรค์ แบง่ ตามความคิดและการกระทํา ได้แก่ คดิ และทํา คิดแต่ไมท่ าํ ทาํ แตไ่ มค่ ิด และไม่คิด ไมท่ าํ เป็นต้น ในศตวรรษที่ 21 ได้พัฒนาวสิ ัยทัศน์และกรอบความคิดเพือ่ การเรียนรู้ สามารถสรุป ทกั ษะสาํ คัญอยา่ งยอ่ ๆ ที่เดก็ และเยาวชนควรมีได้ว่า ทกั ษะการเรียนรแู้ ละนวตั กรรม หรือ 3R และ 4C ซงึ่ มอี งคป์ ระกอบ ดงั น้ี 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขยี น (Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C (Critical Thinking - การคดิ วิเคราะห์, Communication- การสือ่ สาร Collaboration-การรว่ มมือ และ Creativity-การคิดสรา้ งสรรค์ รวมถึงทักษะชีวติ และอาชพี และ ทกั ษะด้านสารสนเทศสอื่ และเทคโนโลยีและการบรหิ ารจัดการด้านการศกึ ษาแบบใหม่ ในบทเรียนนี้ จึงเน้นการคิดแบบอภิปัญญาหรือการรู้คิด หมายถึง การรู้และตระหนักท่ีเกิดจากกระบวนการ

247 ทางสติปัญญาหรือกระบวนการท่ีเกิดขนึ้ ในสมอง เช่น การรับรู้ ความสนใจ การจํา การคิด การใช้ เหตุผล การตดั สินใจ การวางแผน การแกป้ ัญหา การจินตนาการ เป็นตน้ , การคดิ แบบญาณปัญญา หรือการหยง่ั เหน็ บคุ คลสามารถสรา้ งภาพในใจเกย่ี วกับขน้ั ตอนเหตุการณ์ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งเพอื่ พยายามหา คาํ ตอบสามารถนาํ ไปประยกุ ต์ ใช้ในสถานการณ์ใหมไ่ ด้ อีกประการหน่ึงการคิดบวก เรมิ่ จากคิดดแี ต่ ตนเองก่อน มองคนรอบข้างในแง่ดี ไมเ่ ปน็ คนข้สี งสัยระแวง อยา่ มองโลกในแง่รา้ ย เอาใจเขามาใส่ใจ เรา คดิ กอ่ นพดู และอยา่ ใช้อารมณค์ ิด โดยการคิดแกป้ ัญหาเปน็ อีกวิธีเพือ่ ใหม้ นุษย์เกดิ ความคิดอย่าง มีสติมีข้ันตอนต่อไปน้ี ข้ันจัดเตรียม ข้นั ฟักตวั ขัน้ รู้ชดั แจ้ง และข้ันตรวจสอบว่าเปน็ จรงิ การตดั สินใจ ผลสรปุ หรอื ผลขัน้ สดุ ทา้ ยของกระบวนการคิดอย่างมเี หตผุ ล เพอื่ เลือกแนวทางการปฏิบัติท่ีถูกต้อง เหมาะสมและการคิดอีกอย่างท่ีเป็นการคิดระดับสูง น่ันคือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ หมายถึง การทํางานของสมองทีม่ กี ารคดิ พจิ ารณาไตรต่ รองอยา่ งรอบคอบเก่ียวกบั ประเมนิ ขอ้ มูลหรอื สภาพการณ์ ที่ปรากฏโดยใช้ความรู้ ความคดิ และประสบการณ์ของตนเองในการสาํ รวจหลกั ฐานอย่างละเอียด เพ่ือนาํ ไปสู่ข้อสรุปท่ีสมเหตุสมผลประกอบกับการคิดสร้างสรรค์ จะทําให้มนุษย์มีความคิดใหม่ๆ ความคิดแง่บวก อาจเกิดขึ้นโดยบังเอิญหรือโดยความตั้งใจ สามารถคิดได้หลากหลายและแปลก ใหม่ สามารถนาํ ไปประยุกต์ทฤษฎีหรือปฏิบัติได้อย่างรอบคอบและถูกต้องจนนาํ ไปสู่การคิดค้นและ นวตั กรรม

248 คําถามท้ายบทท่ี 3 1. จงอธบิ ายความหมายการคดิ 2. จงอธิบายการเกดิ ของการคิด 3. จงอธบิ ายลกั ษณะของการคดิ 4. การคดิ แบบอภิปญั ญาหรอื การรูค้ ิด โดยนาํ ทฤษฎีการเรยี นรขู้ องกาเย่เปน็ หลกั ในการคิด พร้อมอธบิ าย 5. การคดิ แบบญาณปัญญาหรือแบบหยง่ั เหน็ เป็นอยา่ งไร และมผี ลต่อมนุษย์หรอื ไม่ อธิบาย 6. การคิดบวกคอื อะไร และยกตวั อยา่ ง หรือเหตุการณเ์ ก่ยี วกบั การคดิ บวก 7. การคดิ อย่างมสี ติ เกิดผลกบั นักศกึ ษาอยา่ งไรบา้ ง 8. มนุษยส์ ามารถนําการคิดอยา่ งมสี ติไปใช้ประโยชนใ์ นสงั คมไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด 9. การคดิ สรา้ งสรรคม์ ปี ระโยชนอ์ ยา่ งไรบา้ ง 10. ใหน้ ักศึกษาคิดและตดั สนิ ใจ คดิ อยา่ งวิจารณญาณ ในอา่ นเรื่องดังต่อไปน้ี มีทารกชาย แสนนา่ รัก ถกู ทง้ิ ไวท้ ่ีศาลาริมทาง ประจวบกับพระท่เี ดนิ ธดุ งพบเหน็ เข้าจงึ เดินเข้าไปช่วยเหลือ และ แจ้งตํารวจเพือ่ ประกาศหาพ่อแมข่ องเดก็ แตป่ รากฏว่า มีแมส่ องคนมาแสดงตวั ว่า ตนเองเปน็ แม่ ถา้ นักศกึ ษาอยู่ในสถานการณ์ นกั ศกึ ษาจะทาํ อย่างไรว่าแม่คนไหนเป็นแม่ของเดก็ ทารกตัวจริง 11. ให้นักศึกษาทําแบบสํารวจวิธคี ดิ ตามความถนดั การสาํ รวจความถนัดในการคดิ และการทาํ งานของแต่ละคน ใหเ้ ลือกระหว่างคาํ ตอบ (a) หรือ (h) ทเี่ ห็นเมาะสมกบั ตวั เองท่สี ดุ หรือเกิดข้นึ กับตัวเรามากที่สุด 11.1 (a) ชอบจดรายการ วางแผน จดั ตารางเวลา (h) รสู้ ึกอสิ ระที่จะตอบสนองต่อสง่ิ ต่างๆ โดยอัตโนมตั ิ 11.2 (a) ชอบการทํางานหรือการเล่นที่ต้องแข่งขนั กับผอู้ นื่ (h) ชอบการทาํ งานหรอื การเลน่ ทีร่ ่วมมอื กนั เป็นทีม 11.3 (a) ชอบจดั มุมทํางานใหส้ ะอาดและเป็นระเบยี บ (h) ชอบให้มมุ ทาํ งานมีความสะดวกสบายมากกว่าเปน็ ระเบยี บ 11.4 (a) ชอบให้มีการอธิบายอย่างเปน็ ข้ันตอนและเรยี งตามลาํ ดับ (h) ชอบให้อธบิ ายภาพรวมก่อนแล้วคอ่ ยตามด้วยรายละเอียด 11.5 (a) ไมส่ นใจในเรอ่ื งสว่ นตัวของใคร (h) สนใจเร่ืองส่วนตวั ของคนอนื่

249 11.6 (a) มกั เรียนรดู้ ว้ ยการปะติดปะต่อข้อมูลตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั (h) มกั เรยี นรดู้ ้วยความเข้าใจท่ีบงั เกดิ ข้นึ ณ ขณะน้ัน 11.7 (a) ให้ความสาํ คญั กับการทาํ งานเสรจ็ ทนั เวลา (h) ไมก่ ังวลกบั วันกําหนดสง่ งานและไมส่ นใจว่าจะเสรจ็ ทนั หรอื ไม่ 11.8 (a) สามารถอธิบายความคดิ และความรสู้ ึกของตัวเองได้ชดั เจน (h) บางคร้งั อาจมีปญั หาในการใชค้ ําพูดอธิบายความร้สู กึ 11.9 (a) ชอบจดจําขอ้ มลู และรายละเอยี ด (h) ชอบจดจําภาพรวม แต่อาจลมื รายละเอยี ด 11.10 (a) ซอื้ เส้ือผ้าดว้ ยความรอบคอบ และมักวางแผนก่อนลว่ งหน้า (h) ซ้ือเสอ้ื ผา้ ทนั ทีท่ีเหน็ วา่ ถกู ใจ 11.11 (a) ชอบทาํ อะไรทีละอยา่ งและทําให้ถกู ตอ้ ง (h) ชอบทําหลายๆอยา่ งในคราวเดียวกัน 11.12 (a) ชอบกฎเกณฑ์และทําตามข้อบงั คับอยา่ งเครง่ ครัด (h) ชอบยืดหยุ่นตอ่ กฎระเบยี บและข้อบงั คบั 11.13 (a) ต้องการหาความหมายท่ตี รงตามพจนานุกรม (h) รสู้ ึกหงุดหงดิ ถา้ ใครทตี่ อ้ งการหาความหมายตรงพจนานุกรม 11.14 (a) เวลาเขา้ ครวั ทาํ อาหาร มกั ทําตามสตู รอาหาร (h) เวลาเข้าครวั ทําอาหาร มกั ทําตามความคดิ ของตวั เอง 11.15 (a) จดบันทึกรายละเอียดต่างๆ เขียนไดอาร่ี และบญั ชีใช้จา่ ยเปน็ ประจํา (h) จดบนั ทึกในตอนแรก แตพ่ อผ่านไปสกั พกั มักลมื ทาํ 11.16 (a) ช่ืนชมผูท้ ท่ี าํ งานโดยมเี ป้าหมายไวช้ ดั เจน (h) ชน่ื ชมผทู้ ่มี จี นิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ไดด้ ังใจนกึ 11.17 (a) มกี ารตัดสนิ ใจท่รี อบคอบและสมเหตสุ มผล (h) ตดั สินใจตามความรู้สกึ และฉบั พลนั ทนั ดว่ น 11.18 (a) คิดวา่ การตดั สนิ ใจจะตอ้ งชดั เจนและสมเหตสุ มผล (h) คิดวา่ การตดั สนิ ใจโดยไม่ “ฟันธง” อาจเป็นทางออกท่ีดที สี่ ุด 11.19 (a) ชอบศกึ ษาเร่อื งทม่ี ีข้อมลู ชดั เจนและมีคาํ ตอบทีแ่ น่นอน (h) ชอบศึกษาเรื่องทเี่ กยี่ วกบั แนวคดิ 11.20 (a) อยากให้ครสู อนวิธกี ารต่างๆ บนจอภาพเป็นขน้ั เป็นตอน (h) อยากใหค้ รฉู ายใหเ้ หน็ ภาพรวมทเี ดียวบนจอภาพ

250 จํานวนขอ้ ท่ีตอบ (a).................ขอ้ จํานวนข้อทตี่ อบ (h).................ขอ้ คําอธิบาย (a) แสดงถงึ การคิดวเิ คราะห์ (analytic) และ (h) แสดงถงึ การคดิ แบบองคร์ วม (holistic) ผู้ท่ตี อบ (a) 15 ข้อหรอื มากกว่า ถอื ว่าเป็นผถู้ นดั ในการคดิ เชงิ วิเคราะห์ ในขณะที่ผตู้ อบ (h) 15 ข้อ หรอื มากกวา่ ถือว่าเปน็ ผูถ้ นัดในการคดิ แบบองค์รวม

251 เอกสารอา้ งองิ บทท่ี 3 กุลชลี ไชยนนั ตา. (2539). การตดั สนิ ใจ. อา้ งถึง http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Decision_Making.htm21 กรกฎาคม 2559 เกรียงศักด์ิ เจรญิ วงศ์ศักด์ิ. (2547). การคดิ เชิงวเิ คราะห.์ กรงุ เทพฯ: บรษิ ัทซสั เซค มเี ดีย. วัชราภรณ์ หาสะศร.ี (ม.ป.ป.). การคดิ สรา้ งสรรค.์ เจ้าหนา้ ทวี่ ิเคราะหง์ บประมาณ 6 ว ส่วนการงบประมาณ 1 สํานกั นโยบายและแผนงบประมาณ. พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน. (2555). การรคู้ ิด. 93 – 95 เพญ็ นิดา ไชยสายัณห์. การคิดสรา้ งสรรค์. อ้างถงึ http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Creative_Thinking.htm 21 กรกฎาคม 2559 ทศิ นา แขมมณี. (2545). ศาสตรก์ ารสอน : องคค์ วามรู้เพือ่ การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมี ประสทิ ธิภาพ. พมิ พ์ครงั้ ที่ 2 กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . บังอร ชนิ กลุ กิจนวิ ัฒน.์ (2547). จิตวทิ ยาทว่ั ไป. กรุงเทพฯ จามจรุ โี ปรดักท.์ มารตุ พัฒผล. การรู้คดิ . อา้ งถึง http://www.curriculumandlearning.com/ สุวิทย์ มลู คํา. (2549). กลยทุ ธก์ ารพฒั นากระบวนการคดิ . นักคิด E K BOOK. อรพรรณ ลือบญุ ธวัชชัย. (2537). การวิเคราะห์ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งแบบการเรียนของนิสติ นกั ศกึ ษา กับแบบการสอนของอาจารยต์ ่อการพัฒนาความคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณของนักศึกษา พยาบาล. (วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสตรดษุ ฎีบัณฑติ สาขาอุดมศกึ ษา) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. (สาํ เนา) Ausubel David. (1963). Psychology for Teacher: A Theory of Meaningful Verbal Learning. Reference nusilasaleh.blogspot.com/2012/09/david-p-ausubel.html 21 July 2016 Barsalou and Kellett. (2008). Oxford Learning Centres 2013.: online, Wikipedia. 2013: online Beyer. (1987). Strategic thinking development. E K BOOK. Bragg. (2001). Reference http://www.baanjomyut.com/library_2/scientific_thinking_skills/02.html 21 July 2016

252 Brunner. (1963). Reference surinx.blogspot.com Dewey. (1933). Reference http://www.baanjomyut.com/library_2/scientific_thinking_skills/02.html 21 July 2016 Jonassen. (1992). Reference http://52e186001ee.blogspot.com/p/constructivism.html 21 July 2016 Fosnot. (1992). Reference http://52e186001ee.blogspot.com/p/constructivism.html 21 July 2016 Devries. (1992). Reference http://52e186001ee.blogspot.com/p/constructivism.html 21 July 2016 Barnard. (1938). Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Decision_Making.htm 21 July 2016 Loomba. (1978). Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Decision_Making.htm 21 July 2016 Norris and Ennis. (1989). Reference https://krukohkhan.wordpress.com 21 July 2016 Plunkett and Attner. (1994). Reference https://krusmart.wordpress.com Simon. (1960). Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Decision_Making.htm 21 July 2016 http://innovation.kpru.ac.th 1 เมษายน 2556 http://nanadisak.blogspot.com/ 21 กรกฎาคม 2559 http://home.kku.ac.th/thai416102/SubjectWeb/Critical-Reading_Meaning.htm 21 กรกฎาคม 2559 https://krukohkhan.wordpress.com 21 กรกฎาคม 2559 https://sites.google.com 21 กรกฎาคม 2559 http://52e186001ee.blogspot.com/p/constructivism.html 21 กรกฎาคม 2559 http://www.baanjomyut.com/library_2/scientific_thinking_skills/01.html 21 กรกฎาคม 2559

253 http://www.baanjomyut.com/library_2/scientific_thinking_skills/02.html 21 กรกฎาคม 2559 https://www.google.co.th/search 24 สิงหาคม 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Decision_Making.htm 21 กรกฎาคม 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_is.htm 21 กรกฎาคม 2559 http://www.qlf.or.th 21 กรกฎาคม 2559 https://www.scribd.com http://www.slideshare.net/ 21 กรกฎาคม 2559

254

255 แผนบรหิ ารการสอนประจําบทที่ 4 การฝกึ สมอง เวลาเรียน 6 ชัว่ โมง จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม หลงั จากไดศ้ กึ ษาบทเรยี นนแ้ี ล้ว นักศกึ ษาควรมพี ฤตกิ รรม ดงั น้ี 1. อธิบายระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ เซลล์ประสาท ไขสันหลัง สมอง ประสาทรับ ความรู้สึก สารส่อื ประสาทในสมอง และระบบประสาทอสิ ระได้ 2. บอกตาํ แหนง่ และหน้าทร่ี ะบบประสาทและสมองได้ 3. อธบิ ายยุคของความหลากหลายทางสมอง, หนา้ ทข่ี องสมองซีกซา้ ยกบั สมองซกี ขวา, การใช้สมองท้งั สองซีก, คลน่ื สมอง, การปิดและเปดิ ของการทํางานของสมอง, การพัฒนาสมองดว้ ย Brain Gym, การบริหารสมอง Brain Activation, สมองกับความจํา, สมองกบั ความฉลาดและความคิด, สมองกับนํา้ , สมองกับการหายใจ, สมองกับดนตร,ี สมองกับการผอ่ นคลาย, สมองกบั สารอาหาร, สมอง กับกิจกรรมในแตล่ ะช่วงเวลาได้ 4. ปฏบิ ัติฝกึ สมอง Brain Gym และ Brain Activation และนาํ ใชใ้ นชวี ิตประจาํ วันได้ เนือ้ หา ระบบประสาท 1. ระบบประสาทส่วนกลาง 1.1 เซลล์ประสาท 1.1.1 ลักษณะโครงสรา้ งของเซลลป์ ระสาท 1.2 ไขสันหลัง 1.2.1 หนา้ ที่หลักของไขสันหลัง 1.2.1.1 การถา่ ยทอดกระแสประสาท 1.2.1.2 ศูนยก์ ลางของปฏกิ ิริยารเี ฟลกซ์ 1.2.2 ระบบการกระจายของไขสนั หลงั 1.2.3 โครงสร้างของไขสันหลัง 1.2.4 ปลอ้ งของไขสนั หลงั

256 1.2.5 เสน้ ประสาทของไขสันหลัง 1.3 สมอง 1.3.1 พัฒนาการของสมอง 1.3.1.1 โครงสร้างของสมอง 1.3.2 สว่ นประกอบของสมอง 1.3.2.1 สมองสว่ นหลงั 1.3.2.2 สมองสว่ นกลาง 1.3.2.3 สมองส่วนหนา้ 1.3.2.4 เส้นประสาทสมอง 1.3.2.5 ก้านสมอง 1.3.2.5 บรเิ วณอน่ื ๆในสมอง 1.3.3 ประสาทรับความร้สู กึ 1.3.3.1 Perfrontal Cortex 1.3.3.2 Brodmann Area 4 1) คอร์เทก็ ซ์การเห็นปฐมภมู ิ 2) คอรเ์ ท็กซก์ ารได้ยนิ ปฐมภมู ิ 1.3.4 สารส่ือประสาทในสมอง 1.3.4.1 สารเคมใี นสมองที่สําคัญ 1.3.4.2 การสร้างและการทาํ งานของสารสื่อประสาท 1.3.4.3 การทาํ งานของสารเคมใี นสมอง 1.3.4.4 เสน้ ทางเดนิ ของข่าวสาร 2. ระบบประสาทอสิ ระ 2.1 ระบบยอ่ ยของระบบประสาทอสิ ระ 2.1.1 ระบบซมิ พาเตติค 2.1.2 ระบบพาราซิมพาเตติค การฝึกสมอง 1. ยคุ ของความหลากหลายทางสมอง 1.1 ยุคแหง่ ความล้นหลามทางวัตถุ 1.2 ความรุ่งเรอื งของเอเชยี 1.3 เทคโนโลยี

257 2. หนา้ ท่ขี องสมอง 2.1 หนา้ ทข่ี องสมองซกี ซา้ ยกบั สมองซีกขวา 2.1.1 สมองซกี ซ้าย 2.1.2 สมองซกี ขวา 2.2 การใชส้ มองทง้ั สองซกี 3. คลื่นสมอง 3.1 ประเภทของคลื่นสมอง 3.2 คลนื่ สมองกับการเรียนรู้ 4. การปดิ และเปิดของการทํางานของสมอง 4.1 กิจกรรมการปิดสวติ ซ์ของสมอง 4.2 กจิ กรรมการเปดิ สวิตซ์ของสมอง 5. การพัฒนาสมองด้วย Brain Gym 6. การบรหิ ารสมอง Brain Activation 7. สมองกับความจํา 8. สมองกับความฉลาดและความคดิ 9. สมองกับนา้ํ 10. สมองกบั การหายใจ 11. สมองกับดนตรี 12. สมองกับการผ่อนคลาย 13. สมองกบั สารอาหาร 14. สมองกบั กิจกรรมในแต่ละช่วงเวลา

258 กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. บรรยาย สรปุ เน้ือหาสาระสําคญั ประกอบการนําเสนอดว้ ย Microsoft Power Point ในหวั ขอ้ ระบบประสาทและการฝึกสมอง 2. นกั ศึกษารว่ มกจิ กรรมโดยแบง่ กลุม่ การวาดภาพบอกตําแหนง่ และหนา้ ทใ่ี นระบบ ประสาทสมอง 3. นกั ศกึ ษาสนทนา-ซกั ถาม แลกเปล่ียนความคิดเห็น ตอบคําถาม 4. นกั ศกึ ษาปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยมีผูม้ คี วามรใู้ นการพฒั นาสมองนํากจิ กรรม กิจกรรมกลมุ่ ได้แก่ การพฒั นาสมองด้วย Brain Gym และการบรหิ ารสมอง Brain Activation 5. สรุปบทเรียนในการปฏิบัตกิ ิจกรรม และเนอื้ หาอ่นื ๆในบทเรียน 6. มอบหมายงานศึกษาค้นควา้ หรอื คาํ ถามท้ายบท ส่ือการเรยี นการสอน 1. เอกสารคําสอน 2. หนงั สือ ตําราท่เี กย่ี วข้องจิตวิทยา 3. กจิ กรรมกลมุ่ 4. Power Point ทจี่ ดั ทําในหวั ข้อตา่ งๆ 5. คาํ ถามทา้ ยบท

259 การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์ เครอ่ื งมอื /วธิ กี าร การประเมนิ ผล 1. อธบิ ายระบบประสาทสว่ นกลาง 1. ซกั ถาม แลกเปล่ยี น 1. นกั ศึกษาตอบคําถาม ได้แก่ เซลล์ประสาท ไขสันหลงั สนทนาพดู คยุ ตอบคาํ ถาม ถกู ต้องไดร้ ้อยละ 80 สมอง ประสาทรบั ความรสู้ กึ สารสอ่ื 2. ปฏิบัติงานในการศกึ ษา 2. ศกึ ษาค้นควา้ งานอยใู่ น ประสาทในสมอง และระบบประสาท คน้ ควา้ ระดับดี อิสระได้ 3. ร่วมปฏิบตั วิ าดภาพ 3. วาดภาพตําแหน่งและ 2. บอกตาํ แหนง่ และหนา้ ทร่ี ะบบ ตําแหน่งและหน้าทีข่ องระบบ หนา้ ทข่ี องระบบประสาทและ ประสาทและสมองได้ ประสาทและสมอง สมองอยใู่ นระดับดี 3. อธิบายยคุ ของความหลากหลาย 4. การสังเกตพฤติกรรม 4. สงั เกตพฤติกรรมใน ทางสมอง หนา้ ทขี่ องสมองซีกซา้ ยกับ การรว่ มปฏบิ ัติฝกึ สมองโดย การเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ / สมองซกี ขวา การใชส้ มองทัง้ สองซีก แบบต่างๆ ความสนใจ/ความร่วมมอื อยู่ คล่ืนสมอง การปดิ และเปดิ ของการ 5. สังเกตการณ์นาํ เสนอหน้า ในระดับดี ทาํ งานของสมอง การพัฒนาสมอง ชั้นเรียน 5. การนาํ เสนอหน้าช้ันเรยี น ด้วย Brain Gym การบรหิ ารสมอง 6. การมอบหมายงานคาํ ถาม อยใู่ นระดับดี Brain Activation สมองกบั ความจาํ , ท้ายบท 6. นักศึกษาทําคาํ ถาม สมองกับความฉลาดและความคิด, ทา้ ยบทถูกตอ้ งร้อยละ 80 สมองกับนาํ้ , สมองกบั การหายใจ, สมองกบั ดนตร,ี สมองกับการผ่อน คลาย, สมองกบั สารอาหาร, สมอง กับกิจกรรมในแตล่ ะช่วงเวลาได้ 4. ปฏบิ ัตฝิ ึกสมอง Brain Gym และ Brain Activation และนาํ ใชใ้ น ชีวิตประจําวันได้

260

261 บทที่ 4 การฝึกสมอง การฝึกสมอง เป็นการเสรมิ สร้างความแข็งแกรง่ ใหเ้ ซลล์สมองทํางานเชอื่ มต่อกันเป็นเครอื ขา่ ย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่สัมฤทธิผล ก่อนที่จะเรียนรู้การฝึกสมอง ควรเริ่มจากส่วนต่างๆ ของระบบ ประสาทอย่างชัดเจน ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับกลไกระบบประสาทเพื่อนําไปใช้ในการฝึกสมอง ผเู้ ขียนจงึ ขออธิบายรายละเอียดมดี งั ต่อไปนี้ ระบบประสาท การทํางานของระบบประสาท อาจแบง่ ออกตามหน้าท่ีเปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ คอื 1. ระบบประสาทสว่ นกลาง (Central Nervous System) 2. ระบบประสาทอสิ ระ (Autonomic Nervous System) ระบบประสาท (Nervous System) ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทอิสระ (Central Nervous System) (Autonomic Nervous System) ไขสันหลัง ระบบซมิ พาเทติค (Spinal cord) (Sympathitic Nervous System) สมอง ระบบพาราซมิ พาเทตคิ (Brain) (Parasympathitic Nervous System) แผนผงั ท่ี 2 แสดงหนา้ ทข่ี องระบบประสาท (ทีม่ า ศนั สนีย์ ตันตวิ ิท,2547 : 43)

262 1. ระบบประสาทสว่ นกลาง เราอาจเปรียบเทยี บระบบประสาทของมนุษยไ์ ดก้ ับระบบชุมสายโทรศพั ท์ หรอื ระบบ คอมพวิ เตอร์ นัน่ คอื ระบบประสาททําหนา้ ท่ีเสมอื นสถานศี ูนย์กลาง เครอื ขา่ ยสามารถติดต่อรับและ สง่ ขา่ วสาร สงั่ การไดต้ ลอดเวลา เหมือนระบบโทรศพั ท์ทต่ี ิดต่อได้ท้ังในกรุงเทพและตา่ งจังหวัด ระบบ ประสาทหลายๆ เซลล์ต่อกัน ตัวการท่ีสาํ คญั ในระบบน้ี ได้แก่ เซลลป์ ระสาทหรอื นวิ โรน (neuron) ซ่งึ กระจายอย่ทู ่วั ร่างกายและมมี ากท่ีสดุ ในสมองและไขสันหลัง (สชุ ญั ญา รตั นสัญญา,2549 : 94-95) ภาพที่ 68 แสดงภาพเซลลป์ ระสาท (Neuron) (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 29 กนั ยายน 2559) 1.1 เซลล์ประสาท (Neuron) เซลล์ประสาท (Neuron) เปน็ หน่วยโครงสรา้ งทที่ าํ หน้าท่ีเฉพาะในระบบ ประสาท คอื การนาํ กระแสประสาท ประกอบด้วยตวั เซลล์ (Cell body) และแขนงท่ีออกจาก ตวั เซลล์ ได้แก่ เดนไดรท์ (dendrites) และแอกซอน (axon) 1.1.1 ลักษณะโครงสรา้ งของเซลล์ประสาท 1.1.1.1 ตวั เซลล์ (Cell body) มสี ่วนประกอบคล้ายเซลลท์ ัว่ ๆไป คอื ประกอบด้วยนิวเคลยี ส (nucleus) ไซโตปลาซึม (Cytoplasm) และผนงั เซลล์ (plasma membrane)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook