Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

563 ของตนเองซึง่ เปน็ พฤตกิ รรมท่ีไมเ่ กี่ยวการสญู เสยี ท่ตี นเคยครอบครอง แตเ่ ป้นคา่ ของการสูญเสยี เวลา และความพยายาม 8.2.3 การปลอบโยน (Comforting) หมายถึง ความพยายามบรรเทาความทุกข์ ของบุคคลอ่นื ดว้ ยคาํ พูดหรือการลงมอื กระทาํ อย่างใดอยา่ งหนึ่งเพื่อใหบ้ ุคคลอื่นผ่อนคลายความกงั วล ความเครยี ด ความไมส่ บายใจลง การปลอบโยนเก่ียวกบั เวลาและความเอาใจใสข่ องผใู้ หเ้ ปน็ หลกั นอกจากน้ี การสรา้ งแรงจงู ใจทางบวกที่จะทําให้บคุ คลเกดิ พฤตกิ รรมเอือ้ สังคม จงึ เปน็ สงิ่ สําคญั และเป็นสิ่งจาํ เปน็ อย่างย่ิงในสงั คม มีนกั จติ วทิ ยากลา่ วว่า คนท่มี แี รงจูงใจจะมีแนวโนม้ ทจี่ ะแสดงพฤติกรรมเออ้ื สังคมสงู กวา่ คนท่มี แี รงจงู ใจต่าํ กวา่ ท้งั น้ีแรงจูงใจเออื้ สงั คม 3 ดา้ น ดังนี้ 1) ดา้ นการคาํ นึงสว่ นรวม หมายถงึ แรงจูงใจที่จะแสดงความใส่ใจต่อ ประโยชนส์ าธารณะ แสดงความภาคภมู ิใจ และการไดม้ ีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สาธารณะ 2) ดา้ นการใหค้ ณุ ค่าเออ้ื สังคม หมายถงึ แรงจูงใจทจ่ี ะแสดงพฤตกิ รรม ชว่ ยเหลอื และแสดงสัมพนั ธภาพทีด่ ีกับบุคคลอื่น 3) ด้านการสรา้ งความประทับใจ หมายถงึ แรงจงู ใจท่ีจะหลกี เลย่ี งการมี ภาพลักษณท์ ไี่ มด่ ีในสายตาบคุ คลอน่ื และแรงจูงใจท่จี ะแสดงพฤตกิ รรมให้ได้รับรางวลั หรอื สง่ิ ท่ตี นเอง ต้องการ ท้งั น้ี หากคนเรามแี รงจงู ใจในพฤติกรรมเอื้อสงั คม น่นั คือ การมแี รงจูงใจ ภายในของบคุ คลที่จะแสดงพฤตกิ รรมทมี่ ีลกั ษณะเอือ้ สงั คม เช่น การแสดงความรสู้ ึกหว่ งใย การเข้าอก เขา้ ใจและการแสดงพฤติกรรมโดยม่งุ ประโยชน์ของบคุ คลอืน่ เป็นหลกั และไมค่ าดหวงั หรอื เก่ยี วข้องกับ ผลประโยชน์ทีต่ นเองจะได้รบั ซ่งึ ประกอบดว้ ยแรงจงู ใจทใี่ หค้ วามใสใ่ จตอ่ บคุ คลอ่ืน แรงจูงใจทอ่ี ยากจะ ชว่ ยเหลอื บคุ คลอ่ืนและการสรา้ งสมั พนั ธภาพที่ดีต่อบคุ คลอ่นื ในทางบวก รวมท้งั แรงจงู ใจทจ่ี ะหลกี เลย่ี ง การมภี าพลักษณ์ที่ไม่ดใี นสายตาบคุ คลอ่ืน เป็นตน้ 9. แนวคดิ และทฤษฎที ่ใี ชใ้ นการพฒั นาจิตสาธารณะ 9.1 แนวคิดการพัฒนาจิตสาธารณะตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 (กรรยา พรรณนา,2559 : 45-48) มแี นวคดิ หลักท่สี าํ คญั ประกอบด้วยความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี การมีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) และมคี ุณธรรม (ซ่อื สัตย์ สุจรติ ขยนั อดทน สตปิ ัญญา และแบง่ ปัน) จริ ายุ อิศรางกูร (2552 :ง-จ) ไดก้ ลา่ ววา่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรัชญาท่ชี ้ีแนะถึงแนวการดาํ รงอย่แู ละ ปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทุกระดับ ต้งั แต่ครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรฐั ทงั้ ในการพัฒนาและ การบริหารประเทศให้ดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือให้ก้าวทัน

564 ตอ่ โลกยคุ โลกาภิวฒั น์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตมุ ีผล รวมถงึ ความจาํ เปน็ ที่ จะต้องมีระบบภมู คิ ุ้มกันในตวั ทดี่ พี อสมควรต่อการมผี ลกระทบๆใด อนั เกดิ จากการเปลี่ยนแปลงทง้ั ภายนอกและภายในทัง้ นี้ตอ้ งอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวงั อยา่ งยิง่ ในการนาํ วชิ าการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดาํ เนินการทกุ ข้นั ตอนและขณะเดียวกันจะต้องเสรมิ สร้าง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั นักทฤษฎแี ละนกั ธุรกิจทุกระดบั ให้มีสาํ นกึ ใน คณุ ธรรม ความซือ่ สัตยส์ จุ รติ และใหม้ คี วามรอบรทู้ ่ีเหมาะสม ดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสตปิ ญั ญาและความรอบคอบเพ่อื ให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ทั้งดา้ นวตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ มและวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้อย่างเป็นอย่างดี การพัฒนาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ การพฒั นาทต่ี ้ังอยบู่ นพน้ื ฐานของทางสาย กลางและความไมป่ ระมาท โดยคํานงึ ถึงความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ท่ีดใี นตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผนการตดั สนิ ใจและการกระทํา วตั ถุ/สงั คม/สงิ่ แวดล้อม/วัฒนธรรม นาํ สู่ ทางสายกลาง = พอเพยี ง สมดลุ และพรอ้ มรับต่อการเปลย่ี นแปลง พอประมาณ มีเหตผุ ล มภี มู ิคมุ้ กนั ดี ในตัว เงอ่ื นไขความรู้ เงอื่ นไขคุณธรรม (รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวัง) (ซื่อสัตยส์ ุจรติ ขยนั อดทน เพียร สติ ปญั ญา) ภาพท่ี 158 แสดงภาพสรปุ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการวจิ ัยเศรษฐกิจพอเพีงสาํ นกั งานทรัพยาสนิ ส่วนพระองค์,2544, ตามรอยพอ่ ชวี ติ พอเพยี งสกู่ ารพฒั นาทีย่ งั่ ยนื , หนา้ ซ. (กรรยา พรรณนา,2559 : 45-48)

565 9.1.1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบดว้ ย 9.1.1.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ีไ่ ม่นอ้ ยเกนิ ไปจนขาด แคลนและไม่มากเกนิ ศกั ยภาพ โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่นื เช่น การผลิตและการบรโิ ภคท่ีอยู่ใน ระดบั ทพี่ อประมาณ การใชท้ รัพยากรทอี่ ย่ใู นระดบั ทพี่ อประมาณและต้องไมเ่ บยี ดเบียนตนเองและ ผูอ้ ่นื 9.1.1.2 ความมเี หตมุ ีผล หมายถึง การตัดสินใจดาํ เนนิ การเกี่ยวกับเรื่อง ต่างๆอยา่ งมเี หตุผล บนพ้นื ฐานของความถูกต้อง ความเป็นจริง ตามหลักวิชาการ หลกั กฎหมาย หลกั ศีลธรรม จรยิ ธรรม และวฒั นธรรม ค่านยิ มทีด่ ีงาม การตัดสนิ ใจในระดับของความพอเพยี งนัน้ จะต้อง เปน็ ไปอย่างมีเหตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จัยท่ีเก่ียวขอ้ งตลอดจนคาํ นึงถงึ ผลทค่ี าดว่าจะเกดิ ขนึ้ จาก การกระทํานน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ 9.1.1.3 การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงในดา้ นต่างๆ ไม่วา่ จะเปน็ ด้านวัตถุ สงั คม สิ่งแวดล้อมและวฒั นธรรม ท่ีจะเกิดขน้ึ โดยคาํ นึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ คาดวา่ จะเกิดขึ้นในอนาคตท้ังใกลแ้ ละไกล เพอื่ ให้สามารถปรับตวั และรับมอื ไดอ้ ย่างทันท่วงที 9.1.2 เงื่อนไขการตดั สินใจและการดําเนินกจิ กรรมต่างๆ ใหอ้ ยู่ในระดับ พอเพยี งนน้ั ต้องอาศยั ทง้ั ความร้แู ละคุณธรรมเปน็ พนื้ ฐาน ดงั นี้ 9.1.2.1 เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วย การฝกึ ตนใหม้ คี วามรอบรู้เกยี่ วกับ วิชาการต่างๆท่ีเกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบและระมัดระวังท่ีจะนําความรู้เหล่านั้นมา พิจารณาให้เช่อื มโยงกนั เพอื่ ประกอบวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 9.1.2.2 เงอ่ื นไขคณุ ธรรม การเสรมิ สรา้ งพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาตใิ ห้มี ความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซ่อื สัตยส์ จุ ริตและมคี วามอดทน มคี วามพากเพยี รใช้สตปิ ญั ญาใน การดําเนนิ ชีวิต รูร้ กั สามัคคี ไม่โลภ ไม่ตระหนแี่ ละรูจ้ กั แบง่ ปันให้ผ้อู ืน่ 9.1.3 แนวทางปฏิบัตหิ รือผลทคี่ าดว่าจะได้รับจากการนําหลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้ คือ การพัฒนาทส่ี มดุลและย่ังยืน พรอ้ มรับต่อการเปลย่ี นแปลงทกุ ๆ ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ส่ิงแวดล้อม ความรแู้ ละเทคโนโลยี โดยน้อมพระราชดาํ รัสของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อย่หู วั ภูมพิ ลอดุลยเดชฯ รัชการท่ี 9 ไปประยุกต์ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนเ์ พ่อื การพัฒนาอยา่ งยั่งยืน ดงั นี้ (กรรยา พรรณนา,2559 : 48-50) 9.1.3.1 ระดบั บุคคล/ครอบครัว บคุ คลครอบครวั สามารถให้ตนเปน็ ท่ีพึ่งแหง่ ตนใน 5 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) ด้านจติ ใจ คอื การทําตนใหเ้ ป็นท่ีพ่งึ ของตนเอง มีจิตใจท่ี เข้มแขง็ มจี ติ สาํ นึกทดี่ ี สรา้ งสรรคใ์ หต้ นเองและชาติโดยรวม มจี ิตใจเอือ้ อาทร ประนีประนอม ซ่อื สตั ย์

566 สุจรติ เหน็ ประโยชน์ส่วนรวมเป็นท่ีตั้ง ดงั พระราชดาํ รัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมพิ ลอดลุ ย เดชฯ รชั กาลท่ี 9 เกี่ยวกับการพฒั นาจติ ใจของคน ความวา่ “บคุ คลตอ้ งมีรากฐานทางจิตใจทด่ี ี คอื ความหนักแนน่ มนั่ คงในสุจรติ ธรรมและความมุ่งมั่นที่จะปฏบิ ัติหน้าทีใ่ ห้จนสําเร็จ ทงั้ ต้องมกี ศุ โลบาย หรือวิธีการแยบยลในการปฏิบัติงาน ประกอบพร้อมด้วยจึงจะสัมฤทธิผลที่แน่นอน และบังเกิด ประโยชน์อนั ย่ังยืนแกต่ นเองและแผน่ ดนิ ” 2) ดา้ นสงั คม คอื การทแ่ี ต่ละชุมชนมีการชว่ ยเหลอื เก้ือกูลกนั เช่ือมโยงกันเป็นเครอื ขา่ ยชุมชนท่ีเข้มแข็ง ดังพระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวภมู ิพล อดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ความว่า “เพื่อใหง้ านรุดหน้าไปพรอ้ มเพรียงกนั ไม่ลดหลน่ั จงึ ขอใหท้ ุกคน พยายามทจี่ ะทํางานในหน้าทอ่ี ย่างเตม็ ทแ่ี ละใหม้ กี ารประชาสมั พันธก์ ันให้ดีเพือ่ ใหง้ านท้ังหมด เป็น งานท่เี ก้ือหนุนสับสนนุ กัน” 3) ด้านเทคโนโลยี คอื จากการที่ในปจั จบุ นั สภาพแวดลอ้ มมี การเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วเทคโนโลยที เ่ี ข้ามาใหมๆ่ ในสงั คมกท็ ง้ั ที่ดแี ละไมด่ ีจงึ แยกแยะบนพื้นฐาน ของภูมปิ ญั ญาชาวบ้านและเลอื กใช้เฉพาะท่ีสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของสภาพแวดลอ้ ม ภมู ิประเทศ สงั คมไทยและควรพฒั นาเทคโนโลยี จากภูมปิ ญั ญาของเราเอง ดังพระราชดํารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภมู ิพลอดุลยเดชฯ รชั การท่ี 9 ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับเทคโนโลยี ความว่า “การเสรมิ สรา้ งสงิ่ ที่ ชาวชนบทขาดแคลนและตอ้ งการ คอื ความรูใ้ นดา้ นเกษตรกรรม โดยใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ ปน็ สง่ิ ท่ี เหมาะสม” “การใช้เทคโนโลยีอยา่ งใหญโ่ ตเตม็ รูปหรอื เต็มขนาด ในงานอาชพี หลกั ของประเทศยอ่ มจะ มปี ญั หา” 4) ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม คอื การใชแ้ ละการ จดั การอยา่ งชาญฉลาดพรอ้ มทัง้ การเพม่ิ มลู คา่ โดยให้ยดึ หลกั การของความยง่ั ยยืนและเกดิ ประโยชน์ สูงสดุ ดังพระราชดํารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ภมู ิพลอดลุ ยเดชฯ รัชการที่ 9 ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ความว่า “การรักษาส่งิ แวดล้อมให้เหมาะสมนึกว่าอยไู่ ด้อกี หลายรอ้ ยปี ถึงเวลานนั้ ลูกหลานของเราก็อาจหาวธิ แี กป้ ัญหาตอ่ ไป เป็นเร่อื งของเขา ไมใ่ ชเ่ ร่ืองของ เรา แตเ่ ราก็ทาํ ได้ ได้รักษาสงิ่ แวดล้อมไวใ้ หพ้ อสมควร” 5) ดา้ นเศรษฐกจิ คอื เดิมนักพัฒนามกั มุ่งไปทกี่ ารเพ่ิมรายได้ แต่ไมม่ ีการม่งุ ลดรายจ่าย ในเวลาเช่นนจี้ ะตอ้ งปรบั ทิศทางใหม่ ไดแ้ ก่ เราต้องมงุ่ ลดรายจา่ ยกอ่ นเป็น สําคัญ และยดึ หลักพออยู่พอกินพอใช้และสามารถอยู่ได้ด้วยตนเองในระดับเบอ้ื งต้น ดังพระราชดํารัส ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดชฯ รัชการที่ 9 ที่เกีย่ วขอ้ งกบั ด้านเศรษฐกจิ ความวา่ “การท่ีตอ้ งการให้ทุกคนพยายามทจี่ ะหาความรแู้ ละสรา้ งตนเองให้มั่นคงน้ี เพอ่ื ตนเอง เพอ่ื ท่จี ะให้ ตนเองมคี วามเปน็ อย่ทู ี่ก้าวหน้าทมี่ ีความสุข พอมี พอกนิ เปน็ ขั้นหน่งึ และข้นั ต่อไป คอื ให้เกียรตวิ ่า

567 ยืนได้ดว้ ยตนเอง” “หากพวกเรารว่ มมือรว่ มใจ ทําสักเศษหน่ึงส่วนสี่ ประเทศชาติของเรา กส็ ามารถ รดิ พ้นจากวกิ ฤติได”้ 9.1.3.2 ระดับชมุ ชน การท่ีคนในชุมชนมีการรวมกลมุ่ กันทําประโยชนเ์ พอ่ื สว่ นรวม ชว่ ยเหลือเก้อื กลู กนั ภายในชุมชนบนหลกั ของความรกั สามัคคี สรา้ งเป็นเครอื ขา่ ยเช่อื มโยงกันในชุมชน และนอกชุมชน การช่วยดูแลรักษาความสะอาด ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย รวมทงั้ การใช้ภมู ิปญั ญา ท้องถน่ิ และทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในชมุ ชนมาสรา้ งประโยชน์สขุ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 9.1.3.3 ระดบั ประเทศ การเน้นการบริหารจดั การประเทศ โดยเรมิ่ จากการวางรากฐาน ให้ประชาชนสว่ นใหญข่ องประเทศอยู่อย่างพอมีพอกนิ พอใช้และมคี วามสามารถพง่ึ ตนเองได้ มีความรู้ และคณุ ธรรมในการดําเนินชีวิต มกี ารรวมกล่มุ ของชมุ ชนหลายๆ แหง่ เพอ่ื แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ สืบทอด ภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมและรว่ มกนั พัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งอย่างรู้รกั สามัคคเี สรมิ สรา้ ง เครือข่ายเชือ่ มโยงระหวา่ งชุมชนใหเ้ กดิ ความพอเพยี ง พฒั นาเศรษฐกจิ แบบคอ่ ยเป็นค่อยไปโดยเน้น การวางรากฐานของประเทศใหพ้ รอ้ มจึงพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศในลําดบั ตอ่ ไป 9.1.3.4 ระดับท่วั ไป สําหรบั คนทุกวยั สามารถปฏิบตั ิตนตามแนวทาง กว้างๆ ได้ดงั ต่อไปนี้ 1) ใช้ชวี ติ บนพน้ื ฐานของการรูจ้ ักตนเอง เขา้ ใจตนเอง เน้นการพ่งึ พาตนเอง แลว้ จึงคอ่ งพ่งึ พาอาศัยซึ่งกนั และกัน มคี วามรกั ความเมตตาและความเออื้ เฟอื้ เผ่ือแผ่แก่ คนรอบขา้ ง 2) ใชช้ ีวิตอยา่ งพอเพียง และใชช้ ีวติ ใหส้ อดคล้องกบั หลกั คาํ สอนของศาสนาทต่ี นนับถอื คือ การมีคณุ ธรรม 3) จะทําสง่ิ ใดตอ้ งไม่เบียดเบยี นผ้อู ่ืนและไมเ่ บยี ดเบียน สิ่งแวดลอ้ ม (ไม่ทาํ ใหค้ นอื่นเดือดรอ้ นจากกระทําของตน) 4) ไม่เน้นการใหค้ วามสําคัญกบั วตั ถแุ ตต่ ้องเนน้ การให้ ความสําคัญกบั ความดีงามในจติ ใจ 5) รจู้ กั แบง่ ปันผ้อู ื่นตามความสามารถและความเหมาะสม ของตน 6) ใชช้ ีวติ บนทางสายกลาง (ไมม่ ากเกินไปและไม่น้อยเกินไป)

568 9.2 แนวคิดการพัฒนาจิตสาธารณะตามหลกั คาํ สอนทางศาสนา แนวคดิ การพัฒนาจิตสาธารณะตามหลกั คาํ สอนทางศาสนาที่สาํ คัญ ศาสนา ทุกศาสนาต่างมุ่งสอนให้คนเป็นคนดี โดยในหลักคําสอนของแต่ละศาสนาจะมีแนวคิดทสี่ มั พนั ธ์ กบั จติ สาธารณะท่สี อดแทรกอยู่เสมอ (กรรยา พรรณนา,2559 : 48-50) 9.2.1 ศาสนาพทุ ธ หลกั คําสอนของพระพทุ ธศาสนาที่เก่ยี วข้องกับจติ สาธารณะ กวนิ ชุติมา (2552, อ้างถึงใน ชยั วฒั น์ สทุ ธิรัตน,์ 2552 : 27-32) ได้กลา่ วดงั น้ี 9.2.1.1 การใหโ้ ดยไม่หวงั ผลตอบแทน ผใู้ หต้ ้องใหอ้ สิ ระแก่ผูร้ บั การให้ โดยคาดหวังว่า จะไดอ้ ะไรตอบแทน (แมแ้ ตค่ ําขอบคุณ) ไม่เรยี กว่า การให้ เน่ืองจากไม่บริสทุ ธ์ิ หรอื ทําใหก้ ารให้เปน็ การแลกเปลย่ี น ดงั ท่คี นโดยทวั่ ไปมกั การใหเ้ ปน็ เครื่องมอื ไปบงั คบั จติ ใจคนอื่น 9.2.1.2 สิ่งที่ใหต้ อ้ งเหมาะสม เป็นการใหแ้ ลว้ ทกี่ ่อให้เกิดประโยชนอ์ ย่าง แทจ้ รงิ กับผรู้ บั ไมใชใ่ หแ้ ลว้ ทาํ ให้ผูร้ บั เป็นอนั ตราย เสยี นสิ ยั หรอื นาํ สิ่งทไี่ ด้ไปใช้ประโยชนอ์ ะไรมิได้ 9.2.1.3 การให้กับผทู้ ส่ี มควรได้รบั น่นั คือ ผรู้ บั เปน็ ผทู้ ส่ี มควรได้รบั สงิ่ น้ันจริงๆ รบั ไปแล้วกอ่ ให้เกิดประโยชน์อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 9.2.1.4 การให้ด้วยอาการทีเ่ หมาะสมถกู ตอ้ ง เปน็ การให้ดว้ ย ความเคารพในความเป็นมนุษยข์ องเขาไมใ่ ชใ่ ห้แบบผทู้ ี่เหนอื กว่า การใหห้ รอื การเสยี สละ ซึง่ การให้หรือการเสยี สละ หมายถงึ การให้ การแบง่ ปนั ในส่ิงทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อผู้อน่ื มเี งอื่ นไขวา่ การให้หนอื การเสียสละนัน้ จะต้องไมม่ ี ข้อแม้ หรือโดยไม่หวังผลตอบแทนใหโ้ ดยบรสิ ทุ ธิ์ การให้ การเสยี สละเปน็ คุณธรรมขน้ั พ้ืนฐานของผทู้ ี่ อยรู่ ่วมกันในสงั คม ทุกคนในสงั คมต้องมนี ํ้าใจเอ้ือเฟอื้ เสยี สละแบ่งปันใหแ้ ก่กนั ไม่มีจิตใจคับแคบ เหน็ แก่ตัว ความเสียสละจึงเปน็ คุณธรรมเครือ่ งผกู มิตรไมตรี ยดึ เหน่ียวจิตใจ เปน็ เครื่องมอื สร้างลกั ษณะ นิสัยให้เป็นคนที่เห็นแก่ประโยชน์สูงสุดส่วนรวมมากกว่าประโยชน์สุขส่วนตัว การเสียสละจึงเป็น คณุ ลักษณะสาํ คญั อย่างหนง่ึ ในสงั คม เร่ิมตง้ั แต่ครอบครวั อนั เป็นหนว่ ยเล็กๆ ของสังคม ต้องเสยี สละ ความสุขส่วนตวั ใหแ้ กก่ นั เสียสละทรัพย์สนิ ท่หี ามาได้ด้วยความเหนื่อยยากลําบากให้แกก่ นั ท้ังในยาม ปกติและคราวจําเปน็ ดังจะเหน็ ได้จากทมี่ กี ารเสียสละและบริจาคทรพั ย์ สิ่งของเพื่อช่วยเหลอื กนั เมอ่ื ประสบภยั อย่างใดอย่างหน่งึ เกิดขน้ึ แกค่ นทใ่ี ดท่ีหนง่ึ ก็มกั จะมกี ารรับบรจิ าคเพ่อื นาํ เงนิ หรือส่งิ ของไป ชว่ ยเหลือผทู้ ี่ได้รบั ความทุกข์ ความเดอื ดร้อนอนั เกิดจากภัยพบิ ตั ิตา่ งๆ เชน่ อุทกุ ภัย วาตภยั หรอื ไม่ก็ มีการรบั บรจิ าคสิ่งของเพ่อื นําไปสร้างเปน็ สาธารณะประโยชน์ใหแ้ กส่ ังคมสว่ นรวม (สาํ นกั งานพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2557)

569 9.2.2 คาํ สอนเรื่องการเสียสละจงึ มสี อดแทรกอยใู่ นหลกั ธรรมคาํ สอนต่างๆ ของพระพุทธศาสนา เพอ่ื ให้พทุ ธศาสนกิ ชนน้อมนําคาํ สอนน้ีไปใชเ้ ป็นหลักในการดาํ เนินชีวิต อันไดแ้ ก่ 9.2.2.1 สงั คหวัตถุ 4 เป็นหลักของการสงั คมสงเคราะห์ เป็นเรือ่ ง การเสียสละเกอื้ กลู ในสงั คม ประกอบดว้ ย ทาน คือ การให้ การแบง่ ปนั สิ่งของของตนแก่คนทค่ี วรได้ ปยิ วาจา คือ การมีวาจาทเี่ รียบร้อย เจรจาด้วยถ้อยคําที่ อ่อนหวาน อัตถจริยา คือ ปฏบิ ตั ิในสงิ่ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้อน่ื สมานตั ตา คือ การปฏบิ ัตติ นให้เหมาะสมกับฐานะของตน 9.2.2.2 ฆราวาสธรรม เปน็ หลักธรรมสําหรบั ผคู้ รองเรือน (ครอบครวั ) ประกอบด้วย สจั จะ คอื การกั ษาความซือ่ สตั ย์ ซ่ือตรงต่อกนั ทมะ คือ ความขม่ ใจตนเอง ขันติ คือ ความอดทน จาคะ คอื การบริจาค เสียสละ เอื้อเฟ้อื แบ่งปนั แกผ่ ู้อ่นื 9.2.2.3 พรหมวิหาร 4 เป็นหลักธรรมสําหรบั ทุกคน เป็นหลกั ธรรม ประจาํ ใจทจี่ ะ ชว่ ยให้เราดาํ รงชวี ติ อยูไ่ ดอ้ ย่างประเสริฐและบรสิ ทุ ธ์ิ ได้แก่ เมตตา คือ ความปรารถนาให้ผูอ้ ่นื ไดร้ บั ความสุข ความสขุ เป็น สง่ิ ทท่ี กุ คน ปรารถนา ความสขุ เกดิ ข้ึนไดท้ ง้ั กายและใจ เชน่ ความสขุ เกดิ จากการมที รัพย์ ความสขุ เกิด จากการใชจ้ ่ายทรัพย์เพื่อการบริโภค ความสุขเกิดจากการไมเ่ ปน็ หน้ี ความสุขท่เี กิดจากความไมเ่ ปน็ โรค และความสขุ ท่ีเกดิ จากการได้ทํางานที่ปราศจากโทษ กรณุ า คอื ความปรารถนาใหผ้ ูอ้ ่นื พน้ ทุกข์ ความทุกข์ คือ ส่งิ ที่ เข้ามาเบยี ดเบียนใหเ้ กดิ ความไม่สบายไม่สบายใน มทุ ิตา คือ ความยินดีเมอ่ื ผูอ้ นื่ ได้ดี เปน็ ความปรารถนาใหผ้ อู้ นื่ มี ความสขุ และความเจริญก้าวหน้า ไมค่ ดิ อิจฉาริษยา การมมี ุทิตาจะช่วยสร้างมิตรไมตรกี บั ผ้อู ื่นๆไดง้ า่ ย และลกึ ซึง้ อเุ บกขา คือ การรจู้ กั วางเฉย การวางใจเป็นกลาง เพราะ พจิ ารณาเห็นว่าใครทําดีย่อมไดด้ ี ใครทําชัว่ ย่อมไดช้ ั่ว ซึ่งเป็นไปตามกฎแหง่ กรรม พรหมวิหาร 4 ประการนี้ นับว่าเป็นหลักธรรมท่ีย่ิงใหญ่อีก หลกั ธรรมหนง่ึ ของพระพทุ ธศาสนาทคี่ วรปลกู ฝังให้กบั เยาวชนเป็นอยา่ งยงิ่ เพราะคนทจี่ ะมจี ติ สาธารณะ จะตอ้ งมคี วามปรารถนาใหผ้ อู้ นื่ ไดร้ ับความสุข (เมตตา) มีความปรารถนาให้ผู้อนื่ พน้ ทุกข์ (กรณุ า)

570 มีความยินดเี มอ่ื ผ้อู ื่นไดด้ ี ไมค่ ิดรษิ ยา (มทุ ติ า) และการรจู้ กั วางเฉย วางใจเป็นกลางไม่คดิ ซ้ําเดิมใคร เม่อื มีทกุ ข์เพราะใครทํากรรมดยี อ่ มไดด้ ี ใครทาํ กรรมช่วั ย่อมได้ช่วั ซึง่ เปน็ ไปตามกฎแหง่ กรรม (อเุ บกขา) 9.2.3 คริสตศ์ าสนา หลกั ธรรมสําคญั ของครสิ ตศ์ าสนา คือ เรื่องความรกั ครสิ ตศ์ าสนาจึงได้ ช่อื ว่าเป็น “ศาสนาแห่งความรกั ” เป็นความรกั ของพระเจ้า มใิ ชค่ วามรักท่ีประกอบดว้ ยตัณหา ราคะ แบบรักหนุ่มสาวทัว่ ๆไป แตเ่ ปน็ ความรักทม่ี เี งอ่ื นไข เป็นการปรถนาใหผ้ ู้อืน่ มคี วามสุข มีความเมตตา กรุณา ให้อภยั ซง่ึ กันและกนั และยินดีเมือ่ เหน็ ผูอ้ น่ื ได้ดี เป็นความรกั ทจ่ี ะตอ้ งมีการเสยี สละ ครสิ ต์ ศาสนาสอนให้ผู้นับถือรักในพระเจ้า รักเพื่อนมนุษย์และรักแม้กระท่ังศัตรู นับว่าเป็นการสอนใน คริสตศ์ าสนกิ ชนรู้จกั ใหอ้ ภยั และเสียสละอยา่ งย่ิงใหญ่ ความรักเปน็ หลกั ธรรมสําคญั ทีส่ ดุ ทพี่ ระเยซทู รง ส่งั สอนวา่ พระเจ้ารักโลก จนไดท้ รงสง่ พระบุตร (พระเยซู) ของพระองค์มาส่โู ลกนี้ เพือ่ ทรงใชห้ นีบ้ าป แทนมนษุ ย์ เพือ่ ให้มนษุ ย์รอดพน้ จากบาป เป็นแบบอยา่ งให้แกม่ นษุ ยไ์ ดร้ จู้ กั การเสยี สละ อนั เปน็ หลัก คาํ สอนทที่ าํ ใหเ้ กดิ ความสงบสุขขึ้นในโลก (กรรยา พรรณนา,2559 : 76) 9.2.4 ศาสนาอิสลาม คําวา่ อสิ ลาม แปลวา่ สันติ ในสังคมท่ีจะมสี ันติสุขได้นนั้ จะตอ้ งมหี ลัก เก่ยี วกับ “ความเสยี สละ” การแบง่ ปัน ทาํ ใหเ้ กดิ ความรักความผูกพัน ความรกั ความสามัคคีขึ้นในสังคม หลกั การเสยี สละของศาสนาอิสลาม เมือ่ พิจารณาแล้วจะเหน็ ว่าเป็นระเบยี บวินัยทค่ี รอบคลุมทกุ ยา่ ง ก้าวของชีวติ ทงั้ ในด้านความคิดจิตใจและการกระทาํ ซ่ึงแสดงออกด้วยการปฏบิ ัตทิ เ่ี ครง่ ครัด ได้แก่ 9.2.4.1 การละหมาด เป็นการนมัสการตอ่ พระเจา้ เพอ่ื แสดงความภักดี โดยมุสลมิ ตอ้ งเสียสละเวลาทาํ ทุกวนั อย่างเคร่งครัดวันละ 5 เวลา การเสียสละเชน่ นท้ี ําให้เปน็ ผู้หา่ ง จากความช่ัวร้าย ช่วยขัดเกลาจิตใจของผู้กระทาํ ให้สะอาดบรสิ ทุ ธิ์ ยับย้งั การกระทาํ ทีไ่ ม่ดีทั้งหลาบ 9.2.4.2 การบรจิ าคซะกาต เป็นการจา่ ยทานของมุสลิมเพ่ือช่วยเหลอื คน ยากจน ถือเป็นการขดั เกลาจติ ใจใหเ้ ปน็ ผรู้ จู้ กั เสยี สละและขจัดความตระหนี่ถเี่ หนยี วใหพ้ น้ จากจิตใจ 9.2.4.3 การถอื ศีลอด เปน็ การเสยี สละความสุขสบายจากการบริโภคใช้ สอยมาเป็นการอดอาหาร และงดเวน้ จากสง่ิ ท่ผี คู้ นปกตคิ วรจะได้รบั คือ งดเวน้ จากการกินการดมื่ ตั้งแต่พระอาทิตย์ข้ึนถงึ พระอาทติ ย์ตก งดเว้นการมเี พศสัมพันธ์ งดเวน้ การกระทําความช่ัวทง้ั ทางกาย ใจและวาจา ทง้ั นเ้ี พือ่ ใหผ้ ู้ปฏบิ ตั ิเข้าใจถงึ ผ้อู ดอยากแรน้ แคน้ เกดิ ความยินดที จี่ ะช่วยเหลอื ผอู้ ื่น

571 9.2.4.4 การเดนิ ทางไปประกอบพธิ ฮี ัจญ์ เป็นการไปปฏิบัตศิ าสนกจิ ที่ เมืองเมกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ซ่ึงต้องเสียสละท้ังสุขภาพร่างกาย ทุนทรัพย์หรือบางคร้ังต้อง เสยี สละ แมก้ ระท่ังชวี ติ ในอันทีจ่ ะกระทําสง่ิ ทถ่ี ือวา่ เป็นสิง่ ทีถ่ กู ต้องเป็นความดขี องมุสลมิ ทกุ คน คือ การะลกึ ถึงพระเจา้ ศาสดาและไดพ้ บกับพ่ีน้องมสุ ลิมทัว่ โลก 9.3 แนวคดิ การพัฒนาจติ สาธารณะตามหลกั ทฤษฎกี ารเรียนร้กู ารวางเงื่อนไขแบบ กระทํา แนวคดิ การพฒั นาจติ สาธารณะตามหลักทฤษฎกี ารเรียนรู้การวางเง่ือนไขแบบ กระทาํ (Operant Conditioning Theory) (กรรยา พรรณนา,2559 : 78-80) 9.3.1 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้การวางเง่ือนไขแบบกระทาํ (Operant Conditioning Theory) ของสกนิ เนอร์ สรปุ ได้ดังนี้ (ชยั วัฒน์ สทุ ธริ ตั น,์ 2552 : 37-38) 9.3.1.1 การกระทําใดๆ ถ้าได้รับการเสรมิ แรงจะมแี นวโน้มเกดิ ขึ้นอกี สว่ นการกระทาํ ท่ีไม่มีการเสรมิ แรงจะมีแนวโน้มท่คี วามถ่ีของการกระทํานัน้ จะลดลงและหายไปใน ท่สี ุด 9.3.1.2 การเสริมแรงทแี่ ปรเปลย่ี นทาํ ให้เกดิ การตอบสนองมากกวา่ การเสรมิ แรงทต่ี ายตัว 9.3.1.3 การลงโทษทําให้เรยี นรู้ได้เร็วและลมื เร็ว บางครงั้ เชอ่ื ว่า การลงโทษไมท่ าํ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 9.3.1.4 การใหแ้ รงเสรมิ หรือให้รางวัลเม่ือมีการแสดงพฤติกรรมท่ี ตอ้ งการสามารถชว่ ยปรับหรือปลูกฝงั นิสัยทต่ี อ้ งการได้ 9.3.2 การนาํ ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบกระทาํ (Operant Conditioning Theory) ของสกนิ เนอรไ์ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพัฒนาจติ สาธารณะของผู้เรียน ดงั น้ี 9.3.2.1 การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement) เมื่อมี การแสดงออกซึง่ พฤตกิ รรมจติ สาธาณะ ควรใช้ตัวเสริมแรงได้ 4 ประเภท คือ 1) ตัวเสรมิ แรงทเี่ ป็นส่งิ ของ (Material reinforcement) เปน็ ตัวเสริมแรงทปี่ ระกอบไปดว้ ยอาหาร ของที่เล่นไดแ้ ละสงิ่ ของตา่ งๆ เชน่ ขนม ของเลน่ เส้ือผา้ นา้ํ หอม รถยนต์ สมุดวาดเขียน ต๊กุ ตา ปากกา เปน็ ตน้ 2) ตวั เสรมิ แรงทางสังคม (Social reinforcement) ตวั เสรมิ แรง ทางสังคม เป็นตัวเสริมแรงท่ีไม่ต้องลงทุนซ้ือหามีอยู่ในตัวเราและค่อนข้างจะมีประสิทธิภาพสูงใน การปรับพฤติกรรม แบ่งเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ คาํ พดู ไดแ้ ก่ คําชมเชย เชน่ ดมี าก น่าสนใจมาก ผมชอบ มากเลยเยี่ยมมาก เป็นความคิดท่ีหลักแหลม ใช่เลยฉลาดจริงๆ นายแน่มาก สุดยอดจริงๆ และ การแสดงออกทางท่าทาง เช่น ย้ิม มองอย่างสนใจ การแตะตัว จับมือ การพยักหน้า

572 3) ตัวเสรมิ แรงทเี่ ป็นกิจกรรม (Activity reinforcement) เป็นการใชก้ จิ กรรมหรือพฤตกิ รรมท่ีชอบไปเสรมิ แรงกจิ กรรมหรอื พฤตกิ รรมทไี่ มช่ อบ 4) ตัวเสริมแรงท่เี ปน็ เบีย้ อรรถกร (Token reinforcement) โดยการนําเบ้ียอรรถกรไปแลกเปน็ ตัวเสรมิ แรงอน่ื ๆ ได้ เชน่ ดาว คูปอง เงนิ คะแนน 9.3.2.2 การเสรมิ แรงทางลบ (Negative reinforcement) เปน็ การทํา ใหค้ วามถ่ีของพฤตกิ รรมคงทหี่ รือเพิม่ มากข้ึน ซึง่ การเสรมิ แรงทางลบ คือ ทําทันทหี รอื เรว็ ท่สี ุด เมอ่ื พฤติกรรมทีไ่ มต่ ้องการเกิดขึ้น ควรให้มคี วามรนุ แรงเหมาะสมมากหรอื นอ้ ยเกินไป ควรใหผ้ ู้ถูกลงโทษรู้ วา่ พฤตกิ รรมใดทถ่ี กู ลงโทษควบค่กู บั การเสริมแรงทางบวก ผ้ลู งโทษควรเปน็ ตวั แบบท่ีดี ในทุกๆดา้ น และการลงโทษควรเปน็ วธิ ีสดุ ทา้ ย ถ้าไม่จาํ เปน็ ไม่ควรใช้การลงโทษ เพราะเปน็ การหยดุ ยง้ั พฤติกรรม เพยี งช่ัวคราวแต่จะไมเ่ กดิ การเรยี นรู้ 9.4 แนวคดิ การพฒั นาจิตสาธารณะตามหลักทฤษฎกี ารเรยี นรูท้ างปัญญาเชงิ สังคม แนวคดิ การพฒั นาจิตสาธารณะตามหลกั ทฤษฎกี ารเรยี นร้ทู างปญั ญาเชงิ สงั คม (Social Conditioning Theory) (กรรยา พรรณนา,2559 : 81-84) แบนดูรา (Bandura, 1977 อ้างถึงใน ชยั วฒั น์ สทุ ธรตั น์, 2552 : 39-40; อัชรา เอิบสุขสริ ,ิ 2557 : 88) เป็นนักจิตวทิ ยาชาวอเมริกนั ได้พฒั นาทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทางปญั ญาเชิง สงั คมขึ้นมา ซงึ่ เขามองว่า กระบวนการเรียนรเู้ ปน็ กระบวนการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม จะสามารถ ถา่ ยทอดความคดิ และการแสดงออกได้พร้อมๆ กันและตวั แบบจะทําหน้าท่ี 3 ลกั ษณะ คือ 1) ส่งเสรมิ การเกดิ พฤติกรรม 2) ยบั ย้ังการเกดิ พฤติกรรม 3) ช่วยใหพ้ ฤตกิ รรมนนั้ คงอยู่ ตามหลักการของแบน ดูรา มนุษย์จะใช้ปญั ญาพิจารณาพฤติกรรมของตัวแบบทเ่ี ขารู้สกึ ประทบั ใจ และคดิ ว่าจะมีประโยชน์ ตอ่ ตวั เขา เม่อื ไดล้ องปฏิบตั ิตามพฤติกรรมตัวแบบแลว้ ร้สู ึกว่าดี มปี ระโยชน์ และเหมาะสมกบั ตวั เอง มนุษยก์ ็จะปฏบิ ัติตามเช่นนัน้ ตอ่ ไปจนตดิ เป็นลกั ษณะนิสยั หรอื บุคลกิ ภาพประจาํ ตวั ต่อไป แบนดรู า (Bandura, 1977, อ้างถงึ ใน ชัยวัฒน์ สทุ ธรตั น์, 2552 : 39-40) ไดแ้ บ่งตวั แบบไว้เปน็ 2 ชนดิ คือ 9.4.1 ตวั แบบทม่ี ชี วี ติ จริง คอื ตัวแบบทเี่ ป็นบุคคล เชน่ พ่อแม่ เพอ่ื น พี่น้อง ครู อาจารย์ ขอ้ ดีของการเสนอตัวแบบท่ีมชี ีวิตจรงิ มดี ังนี้ 9.4.1.1 ตัวแบบจริงทาํ ให้ผสู้ งั เกตสนใจและเลียนแบบไดด้ ีกวา่ วธิ อี ่ืน เพราะตัวแบบประเภทนี้มีความใกลเ้ คยี งหรอื เหมือนกับสภาพจริงมากท่สี ุด 9.4.1.2 การเสนอตัวแบบทม่ี ีชวี ิตจริงสามารถปรับปรงุ หรือ เปลี่ยนแปลงให้เมาะสมกับสภาพการณ์ได้

573 9.4.2 ตัวแบบท่ีเปน็ สญั ลักษณ์ ซึง่ อาจจะเปน็ คําพูด หนังสอื เอกสาร หรอื ใช้ ทศั นวสั ดุ เชน่ วิทยุ โทรทศั น์ ภาพยนตร์ สไลด์ หรือวิดโี อเทป เป็นตน้ ข้อดขี องการเสนอตัวแบบท่ีท่ี เป็นสัญลักษณ์ มีดังนี้ 9.4.2.1 ตัวแบบเพียงตัวเดียวสามารถก่อให้เกิดการทําตามตัวแบบ พฤตกิ รรมแกบ่ คุ คลได้เป็นจาํ นวนมากอยา่ งพร้อมเพยี งกันในหลายๆ สถานการณ์อย่างกวา้ งขวาง เช่น ตวั แบบจากโทรทศั น์และหนงั สอื 9.4.2.2 ตัวแบบสญั ลักษณเ์ หมาะท่จี ะใช้กบั สถานการณท์ ี่มาสามารถ สงั เกตได้หรอื สงั เกตได้ยาก เช่น พฤติกรรมทเี่ กดิ มาจากกระบวนการทางปัญญา 9.4.2.3 สามารถจดั กระบวนการเสนอตัวแบบใหเ้ หมาะสมได้ก่อนท่ีจะ นาํ ไปใชจ้ รงิ 9.4.2.4 ตัวแบบสัญลักษณ์เร้าความสนใจและอยแู่ วดล้อมบคุ คล ตลอดเวลา 9.4.2.5 ตัวแบบสญั ลกั ษณส์ ามารถเกบ็ ไวใ้ นการเสนอตวั แบบที่ต้องการ ใหบ้ ุคคลกระทาํ พฤตกิ รรมตามตวั แบบในทาํ นองเดียวกันใหม่ได้ 9.4.3 ตวั แบบมีอทิ ธิพลตอ่ ผู้สังเกต ดงั นี้ 9.4.3.1 การสร้างพฤติกรรมใหม่ เม่ือผู้สังเกตได้เห็นการกระทาํ ของ ตัวแบบ ซ่งึ เป็นการกระทําที่ผู้สังเกตไมเ่ คยพบเหน็ มากอ่ น ผสู้ งั เกตจะรวบรวมขอ้ มูลของการกระทํา ใหม่นี้ในรูปของสัญลกั ษณแ์ ละถ่ายทอดออกมาเป็นพฤตกิ รรมใหม่ 9.4.3.2 การสร้างกฎเกณฑ์หรือหลักการใหม่ จะเกิดขึ้นในสภาพท่ี ผู้สังเกตเหน็ การกระทําของแมแ่ บบในลกั ษณะตา่ งๆ และถ้าการตอบสนองสง่ ผลทางบวก ผสู้ งั เกตก็จะ รวบรวมรปู แบบลกั ษณะของแม่แบบในรปู แบบต่างๆ แลว้ นาํ มาสร้างเป็นกฎเกณฑ์ใหมห่ รอื หลกั การ ใหม่ 9.4.3.3 การสอนความคิดและพฤติกรรมการสรา้ งสรรค์ การมแี มแ่ บบ จะช่วยสนบั สนนุ การพัฒนาเชิงสรา้ งสรรค์ เพราะเม่อื มนษุ ยเ์ หน็ แมแ่ บบกระทําพฤตกิ รรมใดพฤติกรรม หนงึ่ การมแี ม่แบบของมนษุ ย์ มนุษยอ์ าจจะใช้ประสบการณต์ า่ งๆท่ีมอี ยปู่ ระกอบกับการกระทาํ ของ แมแ่ บบมาพฒั นาเป็นความคดิ หรอื พฤตกิ รรมใหมข่ นึ้ มา 9.4.3.4 การยบั ยั้งการกระทาํ และลดความหว่นั เกรง ทจ่ี ะกระทาํ การที่ ได้เหน็ แมแ่ บบถูกลงโทษ ผสู้ ังเกตมีแนวโนม้ ทีจ่ ะไมก่ ระทําตามแม่แบบนนั้ และในทํานองเดยี วกนั ถ้าได้ เห็นแม่แบบทาํ พฤติกรรมท่ีไม่ถูกต้องและไม่ห้ามปรามแล้วไม่มีผลกรรมใดๆ ตามมา ผู้สังเกตก็มี แนวโนม้ ที่จะกระทาํ ตามแม่แบบ

574 9.4.3.5 การสง่ เสรมิ การกระทํา การมีแมแ่ บบจะมอี ิทธพิ ลส่งเสรมิ การ กระทําทงั้ ที่เปน็ ทางบวกและทางลบ ถ้าผู้สงั เกตได้เห็นแมแ่ บบแสดงพฤติกรรมหนึ่งและไดร้ บั รางวัล ผู้สงั เกตมแี นวโนม้ ท่ีจะกระทําตามมากขน้ึ ในทาํ นองเดยี วกัน ถา้ ผสู้ ังเกตได้เหน็ แมแ่ บบที่แสดงความ ก้าวร้าวและได้รบั การยกยอ่ งวา่ เปน็ สิ่งดี ผ้สู ังเกตมีแนวโนม้ กระทาํ ตามมากขึน้ ดงั นน้ั การนําเสนอ แม่แบบในสังคมจําเปน็ ตอ้ งมีความระมดั ระวงั อย่างยิ่ง เพาะอาจจะมีผลตอ่ การเพม่ิ พฤตกิ รรมทางลบ ได้ 9.4.3.6 ทางด้านอารมณ์ การมแี มแ่ บบนอกจากจะสง่ ผลต่อการกระทํา แล้วยงั สง่ ผลตอ่ อารมรข์ องผู้สงั เกตใหร้ นุ แรงเพิม่ ข้นึ และกระตุ้นให้เกดิ อารมณ์คลอ้ ยตามไปด้วย 9.4.3.7 การเอ้อื อาํ นวยใหเ้ กิดการกระทาํ ตามแมแ่ บบ การกระทําที่คน เหน็ คณุ คา่ และมีความชื่นชอบอยู่เสมอ การกระทาํ ของแมแ่ บบนัน้ ก็จะทาํ ให้ผสู้ ังเกตทาํ ได้รวดเรว็ และ กระทําไดง้ า่ ย นอกจากน้ีเมื่อตนสามารถกระทําไดต้ ามแม่แบบไดเ้ ร็ว จะใหเ้ กิดการแผ่ขยายจากสงั คม หนงึ่ ไดร้ วดเร็วด้วย 9.4.4 แนวทางการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม สามารถนํามาใชเ้ ป็นแนวทางใน การพฒั นาจิตสาธารณะ ไดค้ ือ (ทศิ นา แขมมณ,ี 2546 : 20-21, อ้างถึงใน ชัยวัฒน์ สทุ ธรัตน,์ 2552 : 40-41) 9.4.4.1 การกระตุ้นให้ผเู้ รยี นเกดิ ความเอาใจใสแ่ ละตัง้ ใจสงั เกตตัวแบบ 9.4.4.2 การเสนอตวั แบบ ตัวแบบจะต้องเด่นชัด ไม่สลัลซบั ซอ้ น จนเกินไป เป็นตัวแบบทมี่ ีคณุ คา่ มปี ระโยชน์ สามารถดึงดดู จิตใจ และทาํ ใหผ้ สู้ ังเกตพอใจ 9.4.2.3 การชว่ ยให้ผเู้ รียนเก้บจาํ ตวั แบบนั้น โดยใช้วธิ กี ารต่างๆ เช่น การทาํ เปน็ รหสั การจาํ การวกั ซอ้ มลักษณะตัวแบบในความคิดและด้วยการกระทาํ 9.4.2.4 การจูงใจให้ผู้เรยี นปฏบิ ัติ โดยการช่วยผู้เรยี นไดร้ ับรู้ เหน็ คณุ คา่ รบั รู้ ความสามารถของตนเอง เรยี นร้วู ิธกี ารกํากับตนเอง และเหน็ ผลทีน่ า่ พงึ พอใจของการปฏิบัติ 9.4.2.5 การลงมอื กระทําหรือปฏิบัติ โดยช่วยใหผ้ ูเ้ รียนได้ลงมือทํา การสังเกตการณก์ ระทาํ ของตนเอง โดยผู้เรยี นไดข้ ้อมลู ปอ้ นกลบั และให้ผ้เู รยี นได้เทยี บเคียงการ กระทําของตนกับภาพตวั แบบในความคดิ

575 10. กระบวนจัดการเรยี นรู้เพือ่ พฒั นาจติ สาธารณะ กระบวนจดั การเรียนรูเ้ พ่ือพฒั นาจติ สาธารณะ (กรรยา พรรณนา,2559 : 134-147) ไดแ้ ก่ 10.1วิธกี ารจัดการเรียนรู้แบบเทคนิคการเรียนรูด้ ว้ ยการรับใช้สังคม ชวาลา เวชยันต์ (2544) และกรรยา พรรณา (2553: 6-7) ไดก้ ล่าวว่า การจัดการเรียนรู้แบบเทคนคิ การเรยี นรดู้ ้วย การรบั ใชส้ งั คม เป็นการดําเนินการช่วยให้ผ้เู รยี นเกิดการเรียนรู้ โดยการใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ไปมีประสบการณใ์ น การรบั ใช้สังคม ทัง้ น้ี ผู้เรยี นจะต้องมกี ารสํารวจความต้องการของชุมชนท่ีมคี วามเกีย่ วขอ้ งกบั เรื่องที่ เรียน และวางแผนการเข้าไปมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมตา่ งๆ ลงมอื ปฏิบัติการรับใชส้ ังคมตามแผน และนาํ ประสบการณท์ ง้ั หลายทไ่ี ดร้ ับมาคดิ พิจารณาไตร่ตรอง จนกระทัง่ เกิดความคดิ รวบยอด หลกั การ หรอื สมมติฐานต่างๆ ซ่ึงสามารถนาํ ไปทดลองหรือประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ ได้ การเรียนรู้จาก ประสบการณเ์ ปน็ การเรียนรจู้ ากรปู ธรรมไปส่นู ามธรรม อันจะชว่ ยให้ผเู้ รียนเกดิ ความคิด ความรใู้ หม่ ดว้ นตนเอง จึงทาํ ให้มคี วามหมายตอ่ ตนเองและตอ้ งการทน่ี ําไปใช้ ประสบการณใ์ นดา้ นการับใชส้ ังคม นับเป็นประสบการณ์ท่ีมีคุณค่าสูงต่อการเรียนรู้ การรับใช้ตามความต้องการของชุมชนและสังคม นอกจากจะเปน็ การชว่ ยเหลอื สังคมโดยตรงแล้ว ประสบการณ์ทผ่ี ู้เรยี นไดร้ ับยังสามารถพัฒนาความรู้ ทกั ษะและเจตคติของผู้เรียนได้อย่างดี การเรยี นรูท้ เ่ี กดิ ขนึ้ เป็นการเรยี นรู้จากความเปน็ จรงิ ตามสภาพ ทแี่ ท้จริง จึงเป็นการเรียนรูท้ ่สี ามารถนําไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตและสงั คมไดจ้ รงิ (ทิศนา แขมมณี, 2551 : 132-133) โดยมขี ้ันตอนการจดั การเรียนรู้ ดงั นี้ 10.1.1 การเรยี นวิชาการ โดยกําหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ การศึกษาชุมชน การกาํ หนดปัญหา การแบ่งกลุ่มเพ่ือศึกษาปัญหาท่ีสนใจ การเขียนโครงการการรับใช้สังคม การวางแผนปฏิบตั กิ าร การพฒั นาความรคู้ วามสามารถท่ีเกี่ยวขอ้ ง การเรียนเน้อื หาในรายวิชา โดย จดั กจิ กรรมการเรียนร้วู ิชาการ ตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ 10.1.1.1 ข้นั ตง้ั เข็มทศิ หมายถงึ รว่ มกันพิจารณากาํ หนดจดุ ประสงค์ การเรยี นรใู้ หค้ รอบคลุมเนือ้ หาและคัดเลือกเร่อื งตา่ งๆทจี่ ะศกึ ษารายวชิ า โดยสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ ของแนวคิดการรับใช้สังคมรวมถงึ การระบุชมุ ชนของผเู้ รยี น การเลือกปญั หาท่ีมคี วามสนใจและเกย่ี วขอ้ ง กับจุดประสงค์ 10.1.1.2 ขั้นคิดรอบคอบ แบ่งออกได้เป็น 2 ขอ้ คือ 1) การทบทวนความรู้ คือ ร่วมกนั ทบทวนความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ และความสามารถของผเู้ รียนแตล่ ะคน ดว้ ยการอภปิ รายซกั ถามถึงประสบการณท์ ี่ เกยี่ วขอ้ งกบั เร่ืองท่ีน่าสนใจ หรือใช้กจิ กรรมต่างๆ ในการทบทวนความรเู้ ดิม

576 2) การนําเสนอความร้ใู หม่ และวิธกี ารเรยี นรู้ หมายถงึ ผูเ้ รยี น ไดร้ บั ความรู้ใหม่ อาศัยการใช้วิธกี ารเรยี นรู้ตา่ งๆ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถวางแผนและเรยี นรู้อย่างเปน็ ขน้ั ตอนตามเป้าหมายท่ตี งั้ ไว้ 10.1.1.3 ขน้ั ประกอบกิจ หมายถงึ แบง่ กล่มุ ปฏบิ ัติการตามความสนใจ ทาํ การศกึ ษาปญั หา สามารถเขยี นโครงการ วางแผนปฏิบัตกิ ารและปฏิบตั กิ าร โดยการแบง่ งานกนั ทาํ ในกลมุ่ ตามความสนใจ ความถนัด หรอื การทาํ งานสว่ นบุคคลแต่ปรึกษาหารอื กันได้ 10.1.1.4 ขัน้ พนิ จิ ไตร่ตรอง หมายถงึ ผเู้ รยี นไตร่ตรองผลจากการปฏิบตั ิ ทง้ั ส่วนตัวและรว่ มกัน ทั้งจากการเรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี นและจากประสบการณ์ท่ไี ดร้ บั จากการไปปฏิบัติ กจิ กรรมการรบั ใชส้ ังคม โดยการพูด การเขยี น รายงาน ซ่ึงเป็นการสะทอ้ นความรสู้ กึ จากการเรยี นรู้ และงานทีท่ าํ ไป 10.1.1.5 ข้ันตอบสนองและประเมิน ดว้ ยการทาํ ข้อสรุป แนวทาง การปฏิบตั ติ อ่ ไปและการประเมนิ กระบวนการและผลลัพธ์ 10.1.2 การทาํ กจิ กรรมรบั ใช้สงั คม โดยแบ่งหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบและปฏิบตั ิ ตามแผนงานท่ีวางไว้ โดย 10.1.2.1 การระบชุ มุ ชน 10.1.2.2 การสาํ รวจความต้องการและปญั หาของชุมชน 10.1.2.3 การเลือกประเดน้ ปญั หาและการเขยี นโครงการเพือ่ ทาํ กิจกรรมรบั ใชส้ งั คม 10.1.2.4 การปฏิบัติกจิ กรรมรบั ใช้สังคม 10.1.2.5 การประเมนิ เพือ่ ปรบั ปรงุ การดาํ เนินงาน 10.1.3 การไตรต่ รอง ด้วยการบนั ทึก การอภิปราย เขียนรายงานสว่ นบุคคล/ กลุ่ม เก่ียวกบั ความรูส้ กึ ความคดิ ในการทํากิจกรรมและสงิ่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรูต้ ้งั แต่กจิ กรรมแรกในช้ันเรียน ระหว่างการทํากจิ กรรมการรบั ใชส้ งั คม และความสัมพันธ์กบั ผ้คู นท่อี ย่ใุ นดครงการ 10.1.4 การประเมินผลและแสดงผลงาน โดยการทผี่ เู้ รียนสรุปการเรยี นรเู้ ป็น ของตนเอง และนาํ ผลงานออกแสดง รวมถงึ การประเมนิ ตนเอง และนําผลมาไตรต่ รองมาเพอื่ ปรบั ปรุง การทาํ งานในครง้ั ต่อไป 10.2 วิธีการจัดการเรียนรู้แบบเทคนิคศึกษากรณีตัวอย่างท่ีเน้นการเสนอ ตัวแบบสัญลักษณ์ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่นําเหตุการณ์ เรื่องราวหรือผลงานการทาํ ความดีของ บุคคลในดา้ นตา่ งๆท่เี กิดขน้ึ ในสงั คมรอบตวั ผ้เู รียน มานาํ เสนอเปน็ กรณตี ัวอยา่ งหลากหลายรูปแบบ โดยอาจดัดแปลงเพ่ิมเติมหรือเรื่องราวท่ีสมมติขึ้นเพื่อเป็นตัวแบบในการวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง ความคดิ เหน็ ประเมนิ คณุ ค่า อภปิ ราย และนําไปส่กู ารตดั สนิ ใจหาขอ้ สรปุ ของเหตกุ ารณ์ เรื่องราวหรือ

577 ผลงานอยา่ งมีเหตผุ ล เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แบบอยา่ งในการปฏิบตั ิตนเป็นพลเมอื งทด่ี ีของสงั คม รู้จกั เสยี สละ ความสขุ สว่ นตน คดิ ถึงผู้อ่ืนและผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นท่ตี ั้ง โดยให้ผเู้ รียนคดิ สังเกต และ ปฏบิ ัติกิจกรรมรว่ มกันเปน็ กล่มุ ยอ่ ยๆ มขี ัน้ ตอนการจดั การเรียนรู้ ดังนี้ 10.2.1 ขัน้ เตรียม 10.2.1.1เรา้ ความสนใจนาํ เข้าส่บู ทเรยี น นําสือ่ ทเี่ ก่ยี วกับเนื้อหาโดยเสนอ ภาพขา่ วจากหนงั สอื พิมพแ์ ละส่อื มวลชนตา่ งๆ โดยใช้วดี ิโอ ซดี ี และพาวเวอรว์ อยด์ (ICT) เพอื่ กระตุ้น ใหผ้ ูเ้ รียนตอบสนองต่อการเรียนรู้ ดังน้ี 1) ใชค้ ําถามให้เกดิ แนวคิดในเนือ้ หาวิชาโดยใหผ้ ู้เรยี นรใู้ ช้ ความรู้และประสบการณเ์ ดิมในการตอบคาํ ถาม 2) สุม่ ผเู้ รยี นเปน็ ตัวแทนตอบคาํ ถาม จํานวน 2-3 คน 3) สรปุ คาํ ตอบของผู้เรยี นเพ่ือให้เกดิ แนวคดิ ท่ถี ูกต้อง 10.2.1.2แจง้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 10.2.2ขนั้ เสนอกรณตี วั อยา่ ง แบ่งผเู้ รียนออกเป็นกลุม่ กลมุ่ ละ 5-6 คน ใชว้ ธิ กี ารแบง่ กลุม่ โดยการจบั ฉลากรูปภาพสตั วต์ ามจาํ นวนกลุ่ม โดยให้แตล่ ะกลุ่มเลอื กประธาน เลขานกุ าร และกรรมการตามท่ี ภายในกลุ่มพิจารณาคัดเลือกกัน หลังจากนั้นประธานของแต่ละกลุ่มรับเอกสารประกอบการสอน เช่น บัตรกาํ หนดงาน ใบความรู้ กรณีตัวอย่าง ใบงาน แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม แล้วร่วมกัน ศกึ ษาเอกสารตา่ งๆ โดยประธาน กลมุ่ ประสานงานและใหค้ วามช่วยเหลอื ภายในกล่มุ ตน 10.2.3 ขั้นวเิ คราะห์ ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มร่วมกันระดมสมองอภิปรายประเด็นคําถามจากบตั ร กาํ หนดงาน แล้วรวบรวมขอ้ มลู จากเอกสารใบความรู้ ประสบการณ์เดมิ แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับ กรณีตวั อยา่ งเพื่อพิจารณาหาแนวคําตอบและเตรยี มการสรุปลงในเอกสารใบงาน 10.2.4 ขัน้ สรปุ 10.2.4.1 ตัวแทนแต่ละกลุม่ เสนอผลงานการตอบคําถามอยา่ งมีเหตมุ ี ผล กาํ หนดใหจ้ ากกิจกรรมใบงานกรณีตัวอยา่ ง และสรปุ ลงในแผนทคี่ วามคิด (Mind Mapping) 10.2.4.2 รว่ มกันอภปิ รายแนวคดิ ของผ้เู รียนแต่ละกลมุ่ เพอ่ื เป็นข้อสรปุ ของเหตกุ ารณ์ เรอ่ื งราวหรือผลงานจากกรีตวั อยา่ ง 10.2.5 ข้นั ประเมินผล 10.2.5.1 สงั เกตจากการทํางานกล่มุ 10.2.5.2 การทํางานตามบตั รกําหนดงาน 10.2.5.3 การเสนอรายงานช้นั (กรรยา พรรณนา,2538 : 8-9)

578 10.3 วิธีการจดั การเรียนร้แู บบโครงงาน เคตซแ์ ละชารด์ (Kathz and Chard, 1994, อา้ งถงึ ในเดือนฉาย แซ่โปว้ ,2551 : 19-20) ไดแ้ บง่ ขั้นตอนการดําเนนิ กจิ กรรมในวิธกี ารเรียนแบบโครงงานไว้ โดยแบ่งออกเปน็ 4 ระยะ ท่สี าํ คญั คือ 10.3.1 ระยะเตรียมการวางแผนเข้าสู่โครงงาน (Preliminary planning) ระยะนี้ เปน็ ระยะทผ่ี เู้ รียนและผ้สุ อนใชเ้ วลาในการพดู คุยคดั เลอื กหัวขอ้ สาํ หรบั ทําโครงงาน หวั ขอ้ มา จากผเู้ รยี นเป็นผู้เสนอ โดยมหี ลักเกณฑ์ในการคัดเลอื กหัวขอ้ ดังตอ่ ไปน้ี 10.3.1.1 หัวขอ้ ควรจะมีความสัมพันธเ์ กยี่ วขอ้ งกับประสบการณ์ใน ชีวิตประจาํ วันของผ้เู รียน อยา่ งนอ้ ยทสี่ ดุ ผเู้ รยี นควรจะมีความคุ้นเคยกบั หัวขอ้ 10.3.1.2 มกี ารสง่ เสริมทกั ษะพนื้ ฐานด้านการอา่ นออก เขยี นได้ และ การคํานวณ และควรทจี่ ะบรู ณาการกบั วชิ า เช่น วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ภาษา และศิลปะ 10.3.1.3 หัวข้อควรจะมคี รุ ตา่ เพยี งพอท่จี ะให้ผู้เรียนได้ใช้เวลา การศกึ ษาค้นควา้ อย่างน้อย 1 สัปดาห์ 10.3.1.4 หวั ขอ้ สามารถคน้ คว้าหรือทดสอบสถานท่ีต่างๆ เชน่ สถานบัน การศกึ ษา 10.3.2 ระยะเริ่มต้นโครงงาน (Getting project progress) เมอ่ื หวั ข้อไดร้ บั การคดั เลอื กเร่มิ ตน้ ด้วยการสร้างแผนภูมิ เครอื ขา่ ยการเรียนรู้ (web) หรอื แผนภมู ิความคิด (concept map) โดยใชก้ ารระดมสมองเพือ่ วางแผนในการศึกษาและรว่ มกนั ต้ังคําถามเพื่อค้นหาคาํ ตอบ โดยใน ระยะนีม้ ักจะเป็นระยะทีผ่ เู้ รียนทบทวนประสบการณ์เดมิ เกี่ยวกบั หวั ขอ้ ทกี่ ําลังศกึ ษาอยู่ 10.3.3 ระยะการดําเนินโครงงาน (Project progress) ระยะน้ปี ระกอบดว้ ย การลงมือปฏบิ ัติตาม มกี ารไปทศั นศึกษาเพือ่ คน้ หาข้อมุลเก่ยี วกับหวั ข้อและใช้กจิ กรรมศลิ ปะตา่ งๆ เช่น การวาด การป้นั การประดษิ ฐ์ การกอ่ สรา้ ง และกิจกรรมทางวทิ ยาศาสตร์ เช่น การทดลอง การทดสอบตา่ งๆ ในระยะนผี้ ู้เรยี นจะได้รับความรแู้ ละประสบการณใ์ หมจ่ ากการศึกษาในโครงงาน มี การทดสอบสมมตฐิ าน และปรบั ปรุงแกไ้ ขผลงานที่ทาํ ในโครงการให้เปน็ ผลสําเร็จ ผ้เู รยี นมักจะใช้เวลา ในการทําโครงงานในระยะนี้นานกวา่ ระยะอ่นื ๆ 10.3.4 ระยะสรุปและอภิปรายผลโครงงาน (Consolidating project) ระยะน้ี ประกอบดว้ ย การเตรียมการสาํ หรบั นาํ เสนอผลการศึกษาโครงงานในรูปแบบตา่ งๆ เชน่ การแสดง การจัดนทิ รรศการ การสาธิต เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ และเพอ่ื นๆ ได้ชมผลงานและกจิ กรรมท่ี จดั ข้นึ เม่อื เสร็จสนิ้ กิจกรรมแล้วผู้เรยี นร่วมกนั ประเมินผลการเรยี นรูท้ ี่ได้จากการโครงงาน และแผน เตรยี มการสาํ หรับศึกษาในโครงงานอน่ื ๆ ตอ่ ไป

579 10.4 วิธีการจัดการเรยี นร้แู บบอริยสัจ การจดั การเรยี นรแู้ บบอริยสจั เปน็ วีการแกป้ ัญหา โดยมขี ้ันตอนการคดิ อยา่ งมี ระบบเป็นกระบวนการใช้ความคิดหรือการแก้ปญั หาอยา่ งมเี หตุผล เรยี กไดอ้ ีกอยา่ งหน่งึ วา่ “วธิ ีการ แห่งปัญญา” หรอื “วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์” โดยมวี ิธีการจดั การเรียนรู้ ดังนี้ (ชัยวฒั น์ สทุ ธรตั น์, 2552 : 162-166) 10.4.1 ข้ันกาํ หนดปญั หา (ข้ันทกุ ข)์ ผู้เรียนศกึ ษาปญั หาที่เกดิ ขึน้ ดว้ ยตนเอง แลว้ กาํ หนดขอบเขตของ ปญั หาท่ีต้องคดิ แก้ไขใหไ้ ด้ 10.4.2 ข้นั สมมตฐิ าน (ข้ันสมทุ ยั ) ผเู้ รยี นพจิ ารณาสาเหตุของปัญหาทย่ี กมาและคิดหาวธิ แี กป้ ญั หา โดยคาดวา่ วิธีใดจะแก้ปัญหาได้บา้ ง 10.4.3 ขน้ั การทดลองและเกบ็ ขอ้ มลุ (ขัน้ นโิ รธ) ผูเ้ รียนกระทาํ ตามวิธกี ารแก้ปญั หาท่กี าํ หนดดว้ ยตนเอง แลว้ บนั ทกึ ผล การทดลองไว้ 10.4.4 ขน้ั วเิ คราะหข์ อ้ มลู และสรุปผล (ขนั้ มรรค) ผ้เู รยี นวิเคราะหล์ ะเปรยี บเทียบข้อมลู ที่ไดบ้ ันทกึ ไว้ในข้นั ท่ี 3 จนเห็น ชัดเจนว่าทําอย่างไร จงึ แกป้ ัญหาทก่ี าํ หนดไว้ไดส้ าํ เรจ็ แลว้ บนั ทึกผลไวเ้ พ่อื นําสกู่ ารปฏิบตั ิ 10.5 วิธีการจดั การเรียนร้แู บบบทบาทสมมติ มีขน้ั ตอนการจัดการเรยี นรู้ ดงั น้ี 10.5.1 ขัน้ เตรยี มการ 10.5.1.1 ผู้เรียนนําเสนอสถานการณ์สมมติและบทบาทสมมติ อาจจะเป็นบทบาทสมมติแบบละคร ผสู้ อนกําหนดสถานการณใ์ ห้แสดงแต่ไมม่ ีบทให้ ผ้แู สดงจะตอ้ ง คิดและแสดงออกเองหรอื อาจจะใช้สถานการณ์ใหแ้ สดงแต่ไม่มีบทให้ ผแู้ สดงจะตอ้ งคดิ และแสดงออก เองหรืออาจจะใช้สถานการณ์บทบาทสมมติแบบแก้ปัญหา ซึ่งเป็นสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหาหรือมี ความขัดแย้งท่ีมีข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้สอนบ้าง ผู้แสดงต้องใช้ข้อมูลเหล่าน้ันในการแสดงออกตาม ความรู้สึกนึกคดิ ของตนเอง 10.5.1.2 ผู้สอนหรือผู้เรียนเลือกผู้แสดงบทบาทสมมติ บางคร้ังให้ ผู้เรียนเปน็ ผู้อาสาทจ่ี ะแสดงบทบาทเอง วธิ กี ารในการเลือกผู้แสดงบทบาท โดยอาจเลอื กผู้ท่มี ลี กั ษณะ เหมาะกับบทบาททจ่ี ะแสดง เพอ่ื ใหก้ ารแสดงเป็นไปอย่างราบร่ืนตรงตามจดุ ประสงคข์ องการเรียนรู้ หรือผู้สอนอาจจะเลือกผู้ท่ีมีลักษณะตรงกันข้ามกับบทบาทท่ีจะแสดงก็ได้ ทั้งน้ีเพื่อช่วยส่งเสริมให้ ผเู้ รยี นคนนัน้ ได้รับประสบการณ์ใหม่ ได้ทดลองแสดงพฤติกรรมใหม่ทีต่ นเองไมเ่ คยกระทํา อนั จะทําให้

580 ผู้เรียนคนนั้นเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้สึกของบุคคลอื่นๆ ที่มีลักษณะและพฤติกรรม แตกต่างจากตน ทั้งนขี้ ้นึ อยู่กบั การพิจารณาของผู้สอน เมือ่ ไดผ้ ู้แสดงแล้วผู้สอนควรมเี วลาที่มากพอ เพ่อื ให้ผแู้ สดงไดเ้ ตรียมการและซักซอ้ มตามความเหมาะสม 10.5.1.3 ผ้สู อนเตรียมผสู้ งั เกตการณแ์ สดง เนอื่ งจากในการแสดงบทบาท สมมตนิ ัน้ ผูเ้ รยี นจะถูกแบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ คอื กลุ่มที่เปน็ ผูแ้ สดง และผูส้ ังเกตการณ์ว่า การแสดง บทบาทสมมตนิ ้ีมจี ดุ ม่งุ หมายเพ่อื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้เปน็ สําคัญ ไม่ใชแ่ สดงเพือ่ ความบนั เทงิ หรือสนุกสนาน แตอ่ ยา่ งใด ผ้สู อนควรชี้แนะวา่ ผูส้ ังเกตควรสงั เกตเกี่ยวกบั อะไร และบันทกึ ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการสงั เกต อยา่ งไรบา้ ง 10.5.2 ข้ันแสดง 10.5.2.1 ผู้แสดงแสดงบทบาทและผู้สังเกตการณ์ทาํ การสังเกต การแสดงในระหว่างการแสดงนน้ั ไมค่ วรมีการขดั การแสดงกลางคัน บางครงั้ ผแู้ สดงอาจจะแสดงออก นอกทางบ้าง ผูส้ อนควรใหก้ ารชแี้ นะและเมื่อการแสดงดําเนินไปไดส้ กั ระยะแล้ว ผูส้ อนต้องตัดบทเพ่ือ ยุติการแสดง เพราะการแสดงท่ยี ืดยาวอาจทําให้ผสู้ ังเกตการณเ์ กดิ ความรูส้ ึกเบือ่ หนา่ ยได้ 10.5.3 ขั้นวเิ คราะห์ อภิปรายผล แลกเปลี่ยนประสบการณแ์ ละสรปุ 10.5.3.1 ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์ อภิปรายเก่ียวกับความรู้ ความคิด ความรสู้ ึกและพฤติกรรมท่แี สดงออกของกลุ่มผูแ้ สดง ขน้ั นเ้ี ปน็ ขัน้ ตอนทส่ี ําคัญท่สี ุดของการจดั การ เรยี นร้แู บบบทบาทสมมตเิ พราะการแสดงบทบาทสมมติทง้ั หมดจะไมม่ ีคณุ ค่าเลย ถา้ ปราศจากข้ันตอน น้ี ในการวเิ คราะหแ์ ละอภิปรายผลการแสดงน้นั มีหลกั การดงั นี้ 1) ตอ้ งมกี ารสัมภาษณ์ความร้สู ึก ความคดิ เห็นของกลมุ่ ผู้แสดง บทบาท 2) ตอ้ งมีการสัมภาษณก์ ลมุ่ ผสู้ งั เกตการณ์ด้วยว่า ไดข้ อ้ มูลจาก การสังเกตอยา่ งไร 3) ผเู้ รียนทุกกลมุ่ ตอ้ งไดร้ ่วมอภปราย แสดงความคิดเหน็ และ สรุปประเดน็ การเรยี นรู้ การแสดงบทบาทสมมติเพ่อื ใช้บทบาทเปน็ เครื่องมือในการดึงข้อมูลเกี่ยวกับ ความรสู้ ึกนกึ คดิ เจตคติและอคตทิ ่ีซ่อนอยูภ่ ายในของผ้แู สดงเพื่อในการเรียนรู้ ดังนั้น การอภปิ ราย ต้องมุ่งไปที่เหตุผลสาํ คัญท่ีทาํ ให้เกิดการแสดงพฤติกรรมต่างๆ น้ันออกมา เช่น ผู้แสดงได้แสดง พฤติกรรมอะไรออกมาบ้าง อะไรเป็นสาเหตุท่ีทําให้แสดงพฤติกรรมน้ัน การแสดงพฤติกรรมน้ัน ก่อให้เกิดผลอะไรตามมา หากแต่ไม่ควรมุ่งเน้นประเด็นไปท่ีการแสดงของผู้แสดงว่าแสดงได้ดี หรอื ไม่ สมบทบาทหรอื ไม่ อย่างไร เพราะไมใ่ ชว่ ัตถุประสงคข์ องการแสดงบทบาทสมมติและทสี่ ําคัญ อาจทําใหผ้ แู้ สดงรูส้ ึกเสียใจ อาย และกระทบกระเทอื นจิตใจได้

581 10.6 วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ารเผชิญสถานการณ์ มขี ัน้ ตอนในการจดั การเรียนรู้ ดังนี้ 10.6.1 ขัน้ ที่ 1 การรวบรวมขา่ วสาร ข้อมลู ขอ้ เท็จจรงิ ความรู้และหลักการ เปน็ ข้ันตอนพื้นฐานของเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหาความรู้หรือ ข้อมูลข่าวสาร เพ่ือให้ได้ข้อมลู เก่ยี วกบั เรอ่ื งทศ่ี ึกษา หรอื การกระทําทส่ี อดคล้องกับเร่อื งที่ศึกษา 10.6.2 ขน้ั ที่ 2 การประเมนิ คุณค่าและประโยชน์ เม่ือผู้เรียนไดศ้ ึกษาความรู้ หรือขอ้ มลู ขา่ วสารจากขน้ั ท่ี 1 ใหผ้ ้เู รยี นสามารถรจู้ กั คดิ และวธิ ีการคดิ ในรปู แบบต่างๆ เพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อคิด ว่าสถานการณจ์ ากขอ้ มูล ข่าวสารที่ไดศ้ ึกษามานัน้ มคี ุณคา่ มากนอ้ ยหรือมีประโยชนอ์ ย่างไรหรอื มโี ทษ อยา่ งไร ในการประเมินคณุ คา่ นี้ ควรมีการจดั ทําใบงานหรอื กิจกรรมทม่ี คี าํ ถามเพ่อื ฝึกให้ผู้เรียนได้รู้จกั วิเคราะห์ เพอ่ื เปน็ พืน้ ฐานของการประเมินค่า และประโยชน์หรือโทษของเรื่องทศ่ี ึกษาได้ 10.6.3 ขน้ั ที่ 3 การเลือกและการตัดสินใจ เปน็ ข้ันการประเมนิ คณุ ค่าและ ประโยชน์ เมื่อผู้เรียนประเมินคุณค่าและประโยชน์ของข้อมูลข่าวสารแล้ว ผู้เรียนจะสามารถ มองเห็นช่องทางว่า ถ้าตัวผู้เรียนได้ประสบกับสถานการณ์น้ันๆ สถานการณ์ที่คลา้ ยคลึงกัน ผู้เรยี น จะเลือกหรือตดั สินใจอย่างไรจงึ จะถูกต้องและไดร้ ับประโยชน์อย่างแทจ้ ริง เพ่อื จะไดไ้ ม่เกดิ ปัญหาจาก การตัดสินใจทผ่ี ิดพลาด 10.6.4 ข้ันที่ 4 การปฏบิ ัติ เม่อื ผ้เู รียนไดฝ้ กึ ทักษะมาตั้งแต่ ข้ันที่ 1-3 แล้ว ขั้นตอนน้ีต้องฝึกให้ผู้เรียนได้รู้จักนําไปปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนได้พิสูจน์ว่าที่ตนได้ตัดสินใจไปแล้ว นั้นถูกตอ้ งและนาํ ไปปฏบิ ัติได้หรือไม่ 10.7 วิธกี ารจดั การเรยี นรูโ้ ดยใชเ้ กม มขี ั้นตอนในการจัดการเรยี นรดู้ งั น้ี 10.7.1 นาํ เสนอเกม พรอ้ มท้ังชีแ้ จงวธิ ีการและกติกาในการเลน่ เกม 10.7.2 ผเู้ รียนดาํ เนนิ การเลน่ เกมตามวธิ ีการและกตกิ า ผสู้ อนต้องทาํ หน้าท่ีใน การคอยสังเกตพฤตกิ รรมการเล่นของผเู้ รยี น และบนั ทกึ ขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รยี น ไว้ เพ่ือนาํ ไปเป็นขอ้ มลู ในการอภปิ รายหลังการเล่นเกม 10.7.3 การเล่มเกมเพอ่ื ให้เกดิ การเรียนรหู้ ลงั เลน่ เกมต้องมกี ารอภิปรายใน ประเดน็ ต่างๆ ดังนี้ 10.7.3.1 ผเู้ รยี นได้เรยี นสาระอะไรบา้ งจากการเล่นเกม รไู้ ด้อยา่ งไรดว้ ย วธิ ีใด มคี วามเข้าใจในเนอื้ สาระนน้ั ๆ อยา่ งไร 10.7.3.2 ผเู้ รียนได้พฒั นาตาทกั ษะอะไรบ้างจากการเล่นเกม ประสบ ความสาํ เรจ็ ตามความตอ้ งการหรอื ไม่ และวิธใี ดอีกบา้ งทจี่ ะชว่ ยให้ประสบความสาํ เร็จมากข้ึน 10.7.3.3 ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรคู้ วามจริงอะไรบ้าง เรียนรู้จากอะไร

582 10.7.3.4 ผู้เรียนไดต้ ดั สินใจอยา่ งไรบา้ ง ทาํ ไมจึงตัดสนิ ใจเช่นนั้น และ ผลของการตัดสินใจมีอะไรบา้ ง 10.7.3.5 ผู้เรียนได้ขอ้ สรปุ อย่างไรบ้าง เพราะเหตุใดจึงสรปุ เช่นนั้น 10.8 วธิ กี ารจัดการเรยี นรโู้ ดยการอภิปรายกล่มุ ย่อย มีขน้ั ตอนในการจัดการเรียนรู้ ดังน้ี 10.8.1 ขัน้ เตรยี มการอภปิ ราย 10.8.1.1 จัดผเู้ รยี น เปน็ กล่มุ ประมาณ 4-8 คน 10.8.1.2 กาํ หนดประเด็นในการอภปิ ราย การอภปิ รายในแตล่ ะคร้งั ไมค่ วรมีประเด็นมากจนเกนิ ไป เพราะอาจทําให้ผูเ้ รยี นไม่สามารถอภปิ รายได้อย่างเต็มที่ 10.8.2 ขน้ั ดาํ เนินการอภิปราย 10.8.2.1 ผเู้ รยี นอภิปรายตามประเด็นทีก่ ําหนด โดยการพูดคุย ถกเถียงแลกเปล่ียนความคิดเหน็ ภายใต้การดูแลของผสู้ อนอย่างใกล้ชิด 10.8.3 ข้นั สรุป 10.8.3.1 ผเู้ รยี นสรุปสาระสาํ คญั ท่ไี ด้จากการร่วมกนั อภิปรายเปน็ ขอ้ สรุปของกลมุ่ 10.8.3.2 ผสู้ อนและผู้เรยี นนําข้อสรปุ ของแต่ละกล่มุ มาใชใ้ นการสรุป บทเรยี นร่วมกัน 10.8.3.3 ผสู้ อนประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี น 11. เคร่ืองมือวัดจิตสาธารณะ เครอ่ื งมือทีใ่ ชว้ ัดพฤติกรรมด้านจติ สาธารณะนน้ั มหี ลายชนดิ /ประเภท มีดังน้ี (กรรยา พรรณนา,2559 : 310-329) 11.1 เครื่องมือวัดจิตสาธารณะแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Numerical rating scale) เปน็ มาตราส่วนทท่ี าํ ขัน้ โดยใชร้ หสั ตวั เลขสําหรับประมาณค่าคุณลกั ษณะตา่ งๆ เลขรหสั น้จี ะใช้ แทนคาํ บรรยาย เชน่ 1 หมายถงึ ไม่เกดิ พฤตกิ รรม 2 หมายถึง เกดิ พฤตกิ รรมนานๆครงั้ 3 หมายถงึ เกดิ พฤตกิ รรมบางครง้ั 4 หมายถงึ เกดิ พฤตกิ รรมบ่อยครงั้ 5 หมายถึง เกดิ พฤติกรรมทกุ ครั้ง

583 11.1.1 มาตราส่วนประมาณค่าแบบบรรยาย (Descriptive rating scale) เครือ่ งมอื แบบน้ีจะเขยี นคาํ บรรยายบอกคุณลักษณะของเร่อื งน้ันๆ วา่ อยู่ในระดับใด โดยมาตราส่วน ค่าไมว่ ่าจะเปน็ แบบใดก็ตามจะมโี ครงสรา้ งทคี่ ล้ายๆกัน 11.1.1.1 ส่วนที่เปน็ คาํ ช้แี จง สว่ นน้จี ะเปน็ สว่ นทบ่ี อกใหผ้ ้ตู อบทราบถงึ จุดมุ่งหมายของความต้องการข้อมูลของผู้วัด ว่าข้อมุลท่ีได้จะเอาไปใช้เพื่ออะไร จะเกิดประโยชน์ อย่างไร และผวู้ ัดต้องไมล่ มื ชี้แจงให้ผตู้ อบรสู้ กึ ว่าปลอดภยั / สบายใจในการตอบด้วยเสมอ 11.1.1.2 สว่ นท่เี ป็นขอ้ มลู ส่วนตัว อาจจะเปน็ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา อาชพี อายุการทาํ งาน ตาํ แหน่ง 11.1.1.3 สว่ นทเี่ ปน็ ข้อมลู เก่ียวกับเรอ่ื งท่ตี ้องการศกึ ษา เปน็ ส่วนของ คาํ ถามที่ต้องการให้ผู้ตอบตอบ อาจจะเป็นคาํ ถามแบบปลายเปิด (ผู้ตอบได้อย่างหลากหลายตาม ความคดิ ของตนเอง) และคาํ ถามปลายปดิ (ผวู้ ดั เตรียมคาํ ตอบไวใ้ หแ้ ลว้ ) ดังนั้น ถ้าจะสร้างเคร่ืองมือวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่าเพ่ือนําไปใช้ใน การวัดจิตสาธารณะของผู้เรียนต้องสร้างแบบวัดจิตสาธารณะท่ีมีโครงสร้างครบถ้วนและวัดให้ ครอบคลุมทกุ ๆด้านองคป์ ระกอบของจติ สาธารณะ เนอื่ งจากผ้เู ขียนใหผ้ ศู้ ึกษาเรยี นรู้เข้าใจอยา่ งถอ่ ง แท้ จึงขอปรับปรุงจาก (กรรยา พรรณนา,2559 : 310-329) ตวั อยา่ งดงั นี้ แบบวดั จติ สาธารณะ (มาตราสว่ นประมาณค่าแบบตวั เลข) คําชแี้ จง 1. ใหน้ กั ศึกษาอ่านรายการที่กาํ หนดแลว้ ทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชอ่ งให้ตรงกับสภาพ ความเป็นจริงของนักศกึ ษามากทีส่ ดุ 2. ขอใหน้ กั ศกึ ษาตอบคาํ ถามให้ครบทกุ ข้อ ถา้ ตอบไมค่ รบแล้วจะทาํ ให้ แบบสอบถาม นีไ้ มส่ มบูรณแ์ ละไม่สามารถนาํ ไปวเิ คราะห์ได้ 3. ขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการตอบแบบสอบถามจะนําไปใชเ้ พือ่ วัดพฤตกิ รรมจติ สาธารณะของ นักศกึ ษาเทา่ นัน้ จึงไมมผี ลตอ่ คะแนนของนักศึกษา จึงขอใหน้ กั ศึกษาตอบดว้ ยความสบสยใจและตรง กบั ความเปน็ จรงิ ใหม้ ากท่ีสุด ขอ้ มูลท่วั ไปของนกั ศกึ ษา 1. เพศ ชาย หญงิ 2. คณะ ครุศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ วทิ ยาการจัดการ

584 ท่ี รายการ ระดบั พฤตกิ รรม 5432 1 องค์ประกอบด้านที่ 1 การหลกี เล่ยี งการใชห้ รือการกระทําที่จะทาํ ให้ เกดิ ความชาํ รุดเสยี หายตอ่ ส่วนรวมท่ใี ช้ประโยชน์ร่วมกันของกลมุ่ 1 ดแู ลรักษาสงิ่ ของ เม่ือใชแ้ ลว้ มกี ารเก็บรกั ษาใหค้ งอย่ใู นสภาพดี 2 ใช้ของส่วนรวมอย่างประหยัด และทะนุถนอม องค์ประกอบด้านท่ี 2 การถอื เป็นหน้าท่ีทจี่ ะมีส่วนรว่ มในการดุแล ของส่วนรวมในวสิ ัยทตี่ นสามารถทําได้ 3 ทํางานตามหน้าที่และเคารพกฎระเบยี บทกี่ าํ หนด 4 รบั อาสาท่ีจะทาํ บางสงิ่ บางอย่างเพอื่ สว่ นรวม สอดสอ่ งดูแล สาธารณะสมบัติของส่วนรวม องคป์ ระกอบด้านที่ 3 การเคารพสทิ ธใิ นการใชข้ องส่วนรวมท่ีเป็น ประโยชน์รว่ มกันของกล่มุ 5 ไม่นาํ ของส่วนรวมมาเปน็ ของตนเอง 6 แบ่งปนั และเปดิ โอกาสให้ผอู้ ื่นได้ใช้ของสว่ นรวมนน้ั องคป์ ระกอบด้านที่ 4 การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อ ส่วนรวม 7 กระทาํ ส่ิงท่ีเป็นประโยชนต์ ่อผู้อน่ื และสงั คมส่วนรวมดว้ ยความเต็มใจ 8 ช่วยเหลอื ผู้อื่นดว้ ยกําลงั กาย กําลงั ปญั ญา กาํ ลงั ทรัพยต์ าม ความสามารถของตน

585 แบบวดั จิตสาธารณะ (มาตราส่วนประมาณคา่ แบบบรรยาย) คําชแ้ี จง 1. ใหน้ ักศึกษาอ่านรายการที่กาํ หนดแล้วทําเครื่องหมาย √ ลงในชอ่ งใหต้ รงกบั สภาพ ความเปน็ จริงของนกั ศึกษามากท่สี ดุ 2. ขอใหน้ ักศกึ ษาตอบคําถามใหค้ รบทกุ ขอ้ ถ้าตอบไม่ครบแลว้ จะทําให้ แบบสอบถาม นไ้ี ม่สมบรู ณแ์ ละไมส่ ามารถนาํ ไปวิเคราะห์ได้ 3. ข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการตอบแบบสอบถามจะนาํ ไปใชเ้ พื่อวัดพฤตกิ รรมจติ สาธารณะของ นกั ศึกษาเทา่ นนั้ จึงไมมผี ลตอ่ คะแนนของนักศกึ ษา จงึ ขอให้นกั ศกึ ษาตอบด้วยความสบายใจและตรง กับความเปน็ จรงิ ให้มากท่ีสดุ ขอ้ มูลท่วั ไปของนักศกึ ษา 1. เพศ ชาย หญงิ 2. คณะ ครุศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ วทิ ยาการจัดการ ที่ รายการ ระดับพฤตกิ รรม เกดิ เกิด เกิด เกิด ไม่เกดิ ทุกครง้ั บอ่ ย บาง นานๆ เลย ครงั้ ครัง้ ครง้ั องค์ประกอบด้านที่ 1 การหลกี เลีย่ งการใช้ หรอื การกระทําทีจ่ ะทาํ ให้เกดิ ความชํารุด เสียหายต่อส่วนรวมที่ใช้ประโยชนร์ ว่ มกัน ของกลุ่ม 1 ดแู ลรกั ษาส่ิงของ เมอื่ ใชแ้ ล้วมีการเก็บ รกั ษาใหค้ งอยู่ในสภาพดี 2 ใช้ของส่วนรวมอย่างประหยัด และทะนุ ถนอม

586 ที่ รายการ ระดบั พฤติกรรม เกดิ เกดิ เกดิ เกดิ ไมเ่ กิด ทุกคร้งั บ่อย บาง นานๆ เลย ครั้ง ครั้ง คร้งั องค์ประกอบด้านที่ 2 การถือเปน็ หนา้ ทท่ี ่ี จะมสี ่วนรว่ มในการดแู ลของสว่ นรวมใน วสิ ยั ทีต่ นสามารถทาํ ได้ 3 ทาํ งานตามหน้าท่แี ละเคารพกฎระเบียบท่ี กําหนด 4 รบั อาสาทจี่ ะทาํ บางสงิ่ บางอย่างเพื่อ ส่วนรวม สอดส่องดูแลสาธารณะสมบตั ิ ของสว่ นรวม องคป์ ระกอบด้านที่ 3 การเคารพสิทธใิ น การใชข้ องส่วนรวมทีเ่ ป็นประโยชน์รว่ มกัน ของกลุ่ม 5 ไมน่ าํ ของสว่ นรวมมาเปน็ ของตนเอง 6 แบ่งปนั และเปิดโอกาสใหผ้ อู้ ื่นไดใ้ ชข้ อง ส่วนรวมนน้ั องค์ประกอบด้านที่ 4 การปฏบิ ตั ิกิจกรรม ทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม 7 กระทําสง่ิ ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อผอู้ น่ื และ สังคมสว่ นรวมดว้ ยความเตม็ ใจ 8 ช่วยเหลอื ผอู้ ่ืนด้วยกาํ ลังกาย กําลังปญั ญา กาํ ลังทรพั ยต์ ามความสามารถของตน

587 11.2 เครื่องมอื วดั จิตสาธารณะแบบสังเกต ดงั ตัวอยา่ ง (กรรยา พรรณนา,2559 : 317-318) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมด้านจิตสาธารณะ ช่อื -นามสกุล................................................................................ช้ัน...........................เลขท.ี่ .......... วนั /เดอื น/ปี..................................................................................................................................... เวลาทีส่ งั เกต.................................................................................................................................... กจิ กรรม/สถานทที่ ี่สังเกต(หอ้ งเรยี น/นอกห้องเรียน)........................................................................ ......................................................................................................................................................... ท่ี รายการ ระดบั พฤติกรรม เกิด เกดิ เกดิ เกิด ไม่เกิด ทุกคร้งั บอ่ ย บาง นานๆ เลย ครง้ั คร้ัง คร้ัง องค์ประกอบด้านที่ 1 การหลกี เลี่ยงการใช้ หรอื การกระทําที่จะทาํ ให้เกดิ ความชาํ รุด เสียหายต่อสว่ นรวมทใ่ี ชป้ ระโยชน์ร่วมกัน ของกลุ่ม 1 ดแู ลรกั ษาสิ่งของ เม่อื ใชแ้ ล้วมีการเก็บ รักษาใหค้ งอยูใ่ นสภาพดี 2 ใช้ของส่วนรวมอย่างประหยัด และทะนุ ถนอม องค์ประกอบด้านท่ี 2 การถือเป็นหนา้ ทที่ ่ี จะมสี ว่ นรว่ มในการดุแลของสว่ นรวมใน วิสัยท่ตี นสามารถทาํ ได้ 3 ทํางานตามหน้าทแ่ี ละเคารพกฎระเบยี บที่ กําหนด 4 รบั อาสาท่ีจะทาํ บางส่ิงบางอย่างเพ่ือ สว่ นรวม สอดส่องดแู ลสาธารณะสมบตั ิ ของส่วนรวม

588 ท่ี รายการ ระดบั พฤตกิ รรม เกิด เกิด เกิด เกิด ไม่เกดิ ทุกคร้ัง บอ่ ย บาง นานๆ เลย ครั้ง ครง้ั ครง้ั องคป์ ระกอบด้านที่ 3 การเคารพสทิ ธใิ น การใชข้ องส่วนรวมทเี่ ปน็ ประโยชนร์ ่วมกัน ของกลมุ่ 5 ไม่นาํ ของส่วนรวมมาเปน็ ของตนเอง 6 แบ่งปันและเปดิ โอกาสใหผ้ ูอ้ ื่นไดใ้ ชข้ อง สว่ นรวมน้นั องค์ประกอบด้านที่ 4 การปฏิบตั ิกจิ กรรม ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อส่วนรวม 7 กระทําส่ิงที่เปน็ ประโยชนต์ ่อผู้อ่ืนและ สงั คมส่วนรวมดว้ ยความเตม็ ใจ 8 ชว่ ยเหลอื ผู้อน่ื ด้วยกาํ ลงั กาย กําลงั ปัญญา กาํ ลงั ทรัพยต์ ามความสามารถของตน ลงชอื่ .......................................................................ผู้สงั เกต (..............................................................................)

589 11.3 เครือ่ งมือวัดจติ สาธารณะแบบสัมภาษณ์ ดงั ตัวอย่าง ปรับปรุงจาก (กรรยา พรรณนา,2559 : 319-320) แบบสัมภาษณเ์ พือ่ วดั จติ สาธารณะ (การสัมภาษณแ์ บบมาตรฐาน) ช่ือ-สกลุ ...............................................................................................ชัน้ ...........................เลขที.่ ........ คําชแี้ จง : ให้สมั ภาษณถ์ ามคาํ ตอบแตล่ ะขอ้ แล้วทําเคร่อื งหมาย √ ลงในช่องท่ีนกั ศกึ ษาตอบคาํ ถาม 1. องคป์ ระกอบด้านที่ 1 การหลีกเลีย่ งการใช้หรือการกระทาํ ทีจ่ ะทาํ ให้เกดิ ความชํารดุ เสียหายตอ่ ส่วนรวมที่ใช้ประโยชน์ร่วมกนั ของกลุ่ม 1.1 ดแู ลรกั ษาสงิ่ ของ เมอื่ ใช้แลว้ มีการเกบ็ รกั ษา ใหค้ งอยู่ในสภาพดี ใช่ ไมใ่ ช่ 1.2 ใช้ของสว่ นรวมอย่างประหยดั และทะนถุ นอม ใช่ ไมใ่ ช่ 2. องคป์ ระกอบด้านที่ 2 การถอื เป็นหน้าทที่ ่ีจะมสี ่วนรว่ มในการดแุ ลของส่วนรวมใน วิสยั ทต่ี นสามารถทาํ ได้ 2.1 ทาํ งานตามหน้าที่และเคารพ กฎระเบยี บท่ีกาํ หนด ใช่ ไมใ่ ช่ 2.2 รับอาสาทจ่ี ะทาํ บางสง่ิ บางอยา่ ง เพ่อื ส่วนรวม สอดสอ่ งดแู ลสาธารณะสมบตั ิ ของส่วนรวม ใช่ ไมใ่ ช่ 3. องคป์ ระกอบดา้ นที่ 3 การเคารพสิทธิในการใชข้ องส่วนรวมทีเ่ ป็นประโยชน์ร่วมกนั ของกลมุ่ 3.1 ไม่นาํ ของสว่ นรวมมาเป็นของตนเอง ใช่ ไมใ่ ช่ 3.2 แบง่ ปันและเปิดโอกาสใหผ้ ูอ้ ื่นได้ ใช้ของส่วนรวมนนั้ ใช่ ไมใ่ ช่ 4. องค์ประกอบด้านท่ี 4 การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม 4.1 กระทําสิง่ ที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผ้อู ่นื และ สงั คมสว่ นรวมดว้ ยความเต็มใจ ใช่ ไมใ่ ช่ 4.2 ช่วยเหลอื ผู้อื่นด้วยกาํ ลังกาย กําลงั ปัญญา กําลังทรพั ย์ตามความสามารถของตน ใช่ ไมใ่ ช่

590 แบบสมั ภาษณเ์ พือ่ วดั จติ สาธารณะ (การสัมภาษณ์แบบไม่เปน็ มาตรฐาน) ชือ่ -สกลุ ...............................................................................................ชนั้ ...........................เลขที่......... คําชแี้ จง : ให้ผสู้ ัมภาษณถ์ ามคําถามแต่ละขอ้ โดยให้นักศกึ ษาได้แสดงความคิดและความรู้สึกของตน โดยไม่มกี ารบงั คับให้จาํ ใจตอบ แลว้ ผสู้ มั ภาษณท์ าํ หนา้ ทบ่ี นั ทึกข้อมลู ท่นี กั เรียนตอบคาํ ถามลงใน ช่องว่าง 1. องค์ประกอบดา้ นท่ี 1 การหลกี เล่ียงการใช้หรือการกระทาํ ท่ีจะทําใหเ้ กิดความชํารุด เสยี หายตอ่ สว่ นรวมทใ่ี ช้ประโยชนร์ ว่ มกันของกล่มุ 1.1 การดูแลรกั ษาสง่ิ ของส่วนรวมเมื่อใชแ้ ล้ว นกั ศึกษามวี ิธีการเกบ็ รักษาให้คง สภาพดไี ดอ้ ยา่ งไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 1.2 นักศกึ ษาใช้ของส่วนรวมอย่างประหยดั และทะนถุ นอมได้อย่างไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. องคป์ ระกอบด้านท่ี 2 การถอื เป็นหน้าทท่ี จ่ี ะมสี ว่ นร่วมในการดแุ ลของสว่ นรวมใน วสิ ยั ที่ตนสามารถทาํ ได้ 2.1 นกั ศกึ ษาทาํ งานอะไรบา้ งตามบทบาทหนา้ ท่แี ละเคารพกฎระเบยี บที่ กําหนดรว่ มกนั ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2.2 นักศึกษาเคยรับอาสาทจ่ี ะทําบางส่งิ บางอย่างเพ่ือสว่ นรวมและสอดส่อง ดูแลสาธารณะสมบัติของส่วนรวมอยา่ งไรบา้ ง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. องค์ประกอบดา้ นท่ี 3 การเคารพสิทธใิ นการใชข้ องสว่ นรวมท่ีเปน็ ประโยชนร์ ว่ มกนั ของกล่มุ 3.1 นักศึกษาไมน่ ําของสว่ นรวมมาเปน็ ของตนเอง เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

591 3.2 นกั ศกึ ษาแบง่ ปันและเปิดโอกาสใหผ้ อู้ น่ื ไดใ้ ช้ของส่วนรวมร่วมกันอย่างไร บ้าง เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4. องค์ประกอบดา้ นท่ี 4 การปฏิบตั ิกิจกรรมทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อส่วนรวม 4.1 นกั ศกึ ษาไดก้ ระทําสง่ิ ท่ีเป็นประโยชนต์ ่อผ้อู ื่นและสังคมส่วนรวมดว้ ยความ เตม็ ใจอะไรบา้ ง เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4.2 นกั ศกึ ษาไดช้ ว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื ด้วยกําลังกาย กําลังปัญญา กาํ ลังทรัพย์ ตาม ความสามารถของตนได้อยา่ งไรบ้าง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 11.4 เครื่องมือวัดจิตสาธารณะแบบตรวจสอบตามรายการ ดังตัวอยา่ ง แบบตรวจสอบตามรายการเพือ่ วัดจิตสาธารณะ ชื่อ-สกุล...............................................................................................ชัน้ ...........................เลขท.ี่ ........ คําช้ีแจง : ใหน้ กั ศกึ ษาอ่านรายการทป่ี ฏบิ ตั ิแล้วตอบคําถามตามความเปน็ จรงิ 1. องคป์ ระกอบด้านที่ 1 การหลีกเลยี่ งการใช้หรอื การกระทําทจ่ี ะทาํ ใหเ้ กดิ ความชาํ รุด เสียหายตอ่ ส่วนรวมท่ใี ชป้ ระโยชนร์ ่วมกนั ของกลมุ่ 1.1 ดแู ลรักษาส่งิ ของ เมอ่ื ใชแ้ ล้วมีการเก็บรกั ษา ใหค้ งอย่ใู นสภาพดี ใช่ ไมใ่ ช่ 1.2 ใชข้ องสว่ นรวมอยา่ งประหยัด และทะนุถนอม ใช่ ไมใ่ ช่ 2. องคป์ ระกอบด้านที่ 2 การถอื เป็นหนา้ ท่ที ี่จะมีส่วนร่วมในการดุแลของสว่ นรวมใน วสิ ยั ท่ีตนสามารถทาํ ได้ 2.1 ทํางานตามหนา้ ทีแ่ ละเคารพ กฎระเบยี บท่กี าํ หนด ใช่ ไมใ่ ช่ 2.2 รับอาสาที่จะทําบางสงิ่ บางอย่าง เพอ่ื สว่ นรวม สอดสอ่ งดแู ลสาธารณะสมบัติ ของส่วนรวม ใช่ ไมใ่ ช่

592 3. องคป์ ระกอบด้านท่ี 3 การเคารพสทิ ธิในการใชข้ องส่วนรวมทเ่ี ป็นประโยชนร์ ว่ มกัน ของกล่มุ 3.1 ไม่นําของส่วนรวมมาเปน็ ของตนเอง ใช่ ไมใ่ ช่ 3.2 แบง่ ปนั และเปดิ โอกาสให้ผ้อู ่นื ได้ ใช้ของส่วนรวมนัน้ ใช่ ไมใ่ ช่ 4. องค์ประกอบดา้ นที่ 4 การปฏิบัตกิ จิ กรรมที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม 4.1 กระทําสิง่ ท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ ผู้อนื่ และ สังคมสว่ นรวมดว้ ยความเต็มใจ ใช่ ไมใ่ ช่ 4.2 ชว่ ยเหลือผอู้ น่ื ด้วยกําลังกาย กําลังปญั ญา กาํ ลังทรพั ย์ตามความสามารถของตน ใช่ ไมใ่ ช่ 11.5 เคร่อื งมอื วัดจติ สาธารณะแบบวัดจินตนาการ ดังตวั อยา่ ง แบบวัดจนิ ตนาการเพื่อวัดจิตสาธารณะ ชื่อ-สกุล...............................................................................................ชนั้ ...........................เลขที.่ ........ คําชี้แจง : ให้นกั ศึกษาดรู ูปภาพหรืออ่านสถานการณ์ตอ่ ไปนีแ้ ล้วแสดงความคดิ เหน็ ได้อย่างเสรี 1. องค์ประกอบดา้ นที่ 1 การหลีกเลี่ยงการใช้หรือการกระทาํ ทจี่ ะทาํ ให้เกดิ ความชาํ รดุ เสยี หายตอ่ สว่ นรวมท่ใี ชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั ของกลมุ่ ภาพที่ 159 ภาพห้องเรียน (ทีม่ า https://www.google.co.th/search 14 กันยายน 2559)

593 1.1 จากภาพนักศกึ ษาคิดวา่ การดูแลรกั ษาสง่ิ ของสว่ นรวมและเม่ือใชแ้ ลว้ มวี ิธี เก็บรักษาใหค้ งอยู่ในสภาพดีหรอื ไม่ อย่างไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 1.2 จากภาพนักศึกษาคดิ ว่า มีการใชข้ องสว่ นรวมอย่างประหยดั และทะนุ ถนอมหรอื ไม่ อย่างไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. องคป์ ระกอบด้านที่ 2 การถือเปน็ หนา้ ที่ทจ่ี ะมีสว่ นร่วมในการดุแลของส่วนรวมใน วิสัยท่ตี นสามารถทาํ ได้ ภาพท่ี 160 แสดงภาพนกั ศกึ ษาทาํ ความสะอาด (ทีม่ า https://www.google.co.th/search 14 กันยายน 2559) 2.1 ภาพด้านซ้ายมอื นกั ศึกษาคิดวา่ เปน็ การทาํ ตามหนา้ ท่ที ี่จะส่วนรว่ มในการดูแล รกั ษาของส่วนรวมในวิสยั ท่ีตนสามารถทําไดห้ รอื ไม่ อย่างไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2.2 ภาพด้านขวามอื นกั ศกึ ษาคิดว่าเป็นการรับอาสาทีจ่ ะทําบางส่งิ บางอย่างเพอื่ สว่ นรวมหรือไม่ อยา่ งไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

594 3. องคป์ ระกอบด้านท่ี 3 การเคารพสิทธใิ นการใชข้ องสว่ นรวมท่เี ปน็ ประโยชนร์ ่วมกนั ของกลมุ่ 3.1 หลังจากทาํ กจิ กรรมจดั บอรด์ นักศกึ ษามอี ปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการจดั บอรด์ เชน่ กรรไกร ปากกา เป็นตน้ ทเี่ ปน็ ของสว่ นรวมมาเปน็ ของตนเองหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3.2 ณ สนามบาสเกตบอล ในขณะท่ีนักศกึ ษากาํ ลงั เล่นบาสเกตบอล มีเพือ่ น ต่างคณะอยากเลน่ เหมือนกนั นกั ศึกษาจะใหเ้ พื่อนตา่ งคณะเลน่ ดว้ ยเพอ่ื เป็นการแบง่ ปันและเปิดโอกาส ใหผ้ อู้ ่นื ไดใ้ ช้ของสว่ นรวมรว่ มกนั หรือไม่ เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4. องคป์ ระกอบด้านท่ี 4 การปฏบิ ัติกิจกรรมที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม 4.1 ถา้ นัศกึ ษาได้รบั เลือกตงั้ ใหเ้ ปน็ ประธานนักศกึ ษาในปกี ารศกึ ษาน้ี นกั ศึกษา จะกระทําสิ่งทเี่ ป็นประโยชน์ต่อผอู้ ื่นและสังคมส่วนรวมด้วยความเต็มใจอะไรบา้ ง เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4.2 ถ้าวันหน่งึ ทางมหาวิทยาลัยประกาศเชญิ ชวนให้นกั เรยี นร่วมกันบริจาคเงิน เสื้อผา้ อาหาร ขา้ วของเครื่องใช้ตา่ งๆ ให้กับผปู้ ระสบอุทกภัยในภาคใต้ นกั ศกึ ษาจะชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืน ดว้ ยกําลังกาย กาํ ลังปญั ญา กาํ ลังทรพั ย์ ตามความสามารถของตนไดอ้ ย่างไรบ้าง เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

595 11.6 เคร่ืองมอื วดั จิตสาธาณะแบบสอบถามสถานการณ์ แบบสอบถามวดั จติ สาธารณะ คําชแ้ี จง : แบบทดสอบฉบบั น้เี ป็นแบบสถานการณ์ 5 ตัวเลือก จาํ นวน 8 ขอ้ ใหน้ ักศึกษาอ่าน สถานการณ์ต่อไปน้ี แลว้ พจิ ารณาเลือกขอ้ ความในแตล่ ะขอ้ ท่ตี รงตามความรู้สึกของนกั ศกึ ษามากทีส่ ดุ คําตอบท่ีนักศึกษาตอบไม่มีข้อใดถูกหรือผิด ให้นักศึกษาตอบทุกข้อ หากขาดข้อใดข้อหนึ่งจะทําให้ แบบทดสอบฉบบั นี้ไม่สมบูรณแ์ ละไมส่ ามารถนาํ ไปวเิ คราะห์ได้ และทุกคําตอบจะไม่มผี ลต่อคะแนน ของนักศกึ ษา ขอใหน้ กั ศึกษาตอบด้วยความสบายใจและตามความเป็นจรงิ เกณฑ์การเลอื กคําตอบ (ปรับปรงุ จากกรรยา พรรณนา,2559 : 329-331) คาํ ตอบในแตล่ ะข้อมี 5 ตวั เลือก ให้นักศึกษาเลอื กคําตอบเดียวจากข้อ ก ข ค ง หรือ จ โดยทาํ เครอื่ งหมายกากบาท (x) ลงบนกระดาษคาํ ตอบท่แี จกให้ 1. องคป์ ระกอบดา้ นที่ 1 การหลีกเลยี่ งการใช้หรือการกระทําที่จะทาํ ใหเ้ กิดความชาํ รุด เสียหายต่อสว่ นรวมทีใ่ ชป้ ระโยชนร์ ่วมกันของกลมุ่ 1.1 หลังจากเลกิ เรียนวิชาพลศกึ ษาแลว้ ธานจี ะรบี วง่ิ ขึ้นไปบนอาคารก่อนเพอ่ื น คนอนื่ ๆ ทกุ ครง้ั โดยไมเ่ คยชว่ ยเพ่ือนเกบ็ อุปกรณ์กฬี าเลย ถา้ นักศกึ ษาเป็นธานี นักศึกษาจะทาํ เชน่ น้ี หรอื ไม่ ก. ทํา เพราะเด๋ยี วจะไปเรยี นวิชาตอ่ ไปไม่ทนั ข. ไม่ทาํ เพราะต้องขึ้นไปบนอาคารพรอ้ มกันกบั เพอ่ื นๆ ค. ทํา เพราะแดดร้อนมากต้องรบี ว่ิงเขา้ ร่มใหเ้ ร็วท่สี ดุ เด๋ียวจะมาสบาย ง. ไมทํา เพราะตอ้ งช่วยครูและเพือ่ นเก็บอุปกรณก์ ฬี าทกุ คร้ังหลงั เล่น เสรจ็ จ. ไมท่ าํ เพราะยงั ไมเ่ หน่อื ยอยู่ไม่ควรรีบเร่งอาจทาํ ใหเ้ หนื่อยกว่าเดมิ สง่ ผลใหไ้ ม่มสี มาธิในการเรยี นวิชาต่อไป 1.2 เมอ่ื วีระเข้าไปใชห้ อ้ งคอมพวิ เตอร์เสรจ็ แลว้ จะเก็บเมาสแ์ ละแปน้ พมิ พเ์ ข้าท่ี ทุกครั้ง ถ้านกั ศกึ ษาเปน็ วีระ นกั ศกึ ษาจะทาํ เช่นน้ี เพราะเหตใุ ด ก. ทํา เพราะถ้าครทู ราบเข้าจะโดนทาํ โทษ ข. ทาํ เพราะเดีย๋ วกม็ ีคนอื่นมาใชจ้ ะไดส้ ะดวก ค. ทาํ เพราะถา้ ครูเหน็ อาจได้รับคาํ ชมเชยและรางวัล ง. ทาํ เพราะเป็นหนา้ ทข่ี องเราทุกคนท่ีใชแ้ ล้วตอ้ งเกบ็ เข้าที่ใหเ้ รียบร้อย จ. ทํา เพราะเปน็ การช่วยดแู ลอปุ กรณ์การเรียนและสะดวกต่อการใช้ ของคนอน่ื ตอ่ ไป

596 2. องคป์ ระกอบดา้ นที่ 2 การถอื เปน็ หน้าทีท่ ่ีจะมสี ว่ นร่วมในการดูแลของส่วนรวมใน วิสยั ท่ตี นสามารถทาํ ได้ 2.1 เมอื่ อรยาเขา้ ห้องสมดุ ทกุ ครงั้ จะชอบส่งเสยี งดงั รบกวนคนอื่นเสมอ ทําให้ คนอื่นไม่มีสมาธใิ นการอ่านหนงั สือและค้นควา้ นกั ศึกษาคดิ วา่ อรยาทําไม่ถูกด้วยเหตผุ ลใด ก. เพราะเปน็ การละเมิดสิทธิของบคุ คลอืน่ ข. เพราะเปน็ กฎระเบยี บของโรงเรียนว่าเข้าหอ้ งสมดุ ห้ามสง่ เสียงดัง ค. เพราะเป็นระเบียบของหอ้ งสมดุ การเข้าใชบ้ รกิ ารทกุ ครงั้ ไม่ควรส่ง เสยี งดงั รบกวนผู้อืน่ ง. เพราะเป็นสถานท่ีสาธารณะและเป็นแหลง่ ค้นคว้าความรทู้ กุ คน ตอ้ งการสมาธิ จ. อาจทาํ ให้คนอน่ื ๆ ท่ีกาํ ลังอ่านหนังสอื และค้นควา้ อย่ไู มม่ ีสมาธแิ ละ ถกู ตอ่ วา่ ได้ 2.2 ทกุ ครง้ั ทอ่ี าจารยม์ อบหมายงานให้วิฑูรจะทําดว้ ยความเตม็ ใจเสมอ นกั ศึกษาคิดว่าวฑิ รู ทาํ ถูกด้วยเหตผุ ลใด ก. เพราะจะได้คะแนนเยอะๆ ข. เพราะอาจารยจ์ ะได้รักและเอน็ ดู ค. เพราะถ้าเป็นคําส่งั อาจารยน์ กั ศึกษาไมค่ วรปฏิเสธ ง. เพราะเปน็ หนา้ ท่ขี องนักศกึ ษาทีต่ ้องคอยช่วยเหลอื และตอบแทน พระคุณอาจารย์เม่ือมีโอกาส จ. เพราะการไดอ้ าสาหรือชว่ ยแบง่ เบาภาระงานของอาจารย์ถอื เปน็ การ ทําประโยชนเ์ พ่ือส่วนรวม 3. องคป์ ระกอบด้านที่ 3 การเคารพสทิ ธิในการใช้ของสว่ นรวมที่เปน็ ประโยชนร์ ่วมกนั ของกลุ่ม 3.1 วนั น้อี าจารยแ์ จกเสอื้ กีฬาใหค้ นละ 1 ตวั แตป่ ระภาได้เกนิ มา 1 ตวั โดย ไม่ไดต้ ง้ั ใจ ถ้านกั ศกึ ษาเปน็ ประภา นักศกึ ษาจะทําอย่างไร ก. นําไปใหน้ อ้ งทบ่ี ้านใส่เพราะเป็นเสื่อที่ไดฟ้ รี ข. นําไปคืนครเู พราะกลวั ถกู จบั ไดแ้ ละอาจถกู ทาํ โทษ ค. ขอร้องใหเ้ พื่อนนาํ เสอ้ื ไปคนื อาจารยเ์ พราะไม่กล้านาํ คืนเอง ง. นําไปคนื ครูเพราะอาจจะได้รบั คาํ ชมเชยจากอาจารย์และเพ่ือนๆ ว่ามี ความซอ่ื สัตย์

597 จ. นาํ ไปคืนอาจารย์ เพราะถา้ เสื้อไม่พอคนอนื่ อาจจะไมไ่ ดแ้ ละเป็นการ แสดงถึงความซอื่ สตั ย์ 3.2 วันนี้ธีรกรเข้าไปใช้หอ้ งคอมพวิ เตอรแ์ ลว้ เหน็ เครอื่ งบนั ทึกขอ้ มูลติดอยทู่ ่ี เครื่องคอมพวิ เตอร์ กา้ นกั ศกึ ษาเป็นธรี กร นกั ศกึ ษาจะทาํ อยา่ งไร ก. เกบ็ ไว้ใชเ้ อง เพราะไมม่ ใี ครรู้ ข. ส่งคืนอาจารยท์ เี่ ป็นเจา้ ของ เพราะอาจไดร้ ับรางวัล ค. เกบ็ ไปฝากคนท่ีบา้ น เพราะเปน็ ของทไ่ี ดม้ าฟรี ง. ปลอ่ ยค้างไว้อย่างน้ันและไมบ่ อกใครเพราะไมใ่ ช่หนา้ ท่ี จ. สง่ คืนอาจารยท์ ี่เปน็ เจ้าของเพราะไม่ใช่ของเราและอาจมขี อ้ มูลที่ สําคัญอยู่ในเครือ่ งบนั ทกึ ข้อมลู 4. องคป์ ระกอบดา้ นท่ี 4 การปฏิบัตกิ จิ กรรมท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม 4.1 ในวนั แข่งขันกฬี าวงั แดงปนี ้ี อาจารยข์ อใหช้ ยั ศิรคิ อยช่วยเหลอื หลายอยา่ ง เช่น ยกของท่ตี อ้ งใช้ จดั เตรียมสถานท่ี ดแู ลเร่อื งอาหารและเครอื่ งดม่ื เป็นคณะกรรมการตัดสนิ กฬี า ตา่ งๆ และชัยศริ กิ ็ชว่ ยเหลอื ให้ความรว่ มมืออย่างเต็มท่ี ถา้ นักศึกษาเปน็ ชัยศิริ นกั ศกึ ษาจะทาํ อย่างนี้ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด ก. ทาํ เพราะสงสารอาจารย์ทีไ่ ม่มคี นชว่ ยงาน ข. ไม่ทาํ เพราะเหนือ่ ยเปน็ คนลงแข่งกีฬาเองจะดกี วา่ ค. ทาํ เพราะเป็นการเสียสละความสุขสว่ นตวั เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม ง. ทํา เพราะมโี อกาสชว่ ยเหลือหรือทําประโยชน์ให้กับมหาวทิ ยาลัยก็ ควรทํา จ. ไม่ทํา เพราะดูยุง่ ยากและทาํ ใหไ้ ม่สะดวกในการร่วมกจิ กรรมกบั เพ่อื นๆ 4.2 ในขณะทรี่ ว่ มกิจกรรมเข้าคา่ ยนอกสถานที่ ปณั ชัยจะคอยชว่ ยเหลอื อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบโรงการตลอดเวลาทง้ั กอ่ นเดินทาง ระหวา่ งเดนิ ทาง ขณะรว่ มกจิ กรรมและ เดินทางกลบั นักศึกษาคดิ วา่ ปณั ชัยทําถกู ดว้ ยเหตผุ ลใด ก. เพราะถา้ ไมช่ ว่ ยอาจารย์ก็จะไมม่ ใี ครช่วย ข. เพราะการช่วยเหลอื อาจารยจ์ ะทําใหอ้ าจารยร์ ักและเมตตา ค. เพราะเป็นการเสียสละและแสดงถงึ ความกตัญญู ง. เพราะเปน็ การให้ความรว่ มมือในการทาํ กจิ กรรมของมหาวทิ ยาลัย จ. เพราะเปน็ การช่วยเหลือแบง่ ภาระงานของอาจารย์และเปน็ การทาํ ประโยชนใ์ หก้ บั สงั คม

598 ภาพที่ 161 แสดงภาพการสร้างเสรมิ จิตสาํ นกึ สาธารณะต่อสว่ นรวม (ทม่ี า www.oknation.net 16 กันยายน 2559) 12. การสร้างเสรมิ จติ สาํ นกึ สาธารณะตอ่ ส่วนรวม “สภาพแวดล้อมมีผลต่อการเรียนร”ู้ (กรรยา พรรณนา,2559 : 23-29) นบั เป็นคํากลา่ วที่ถกู ตอ้ ง และหวั ขอ้ ขา้ งตน้ นไี้ ด้กล่าวว่า จติ สาธารณะเกดิ ขนึ้ จากกระบวนการเรียนร้ขู องมนษุ ย์ ดงั นั้น ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งที่อย่ใู กล้ หรือรอบตวั ผเู้ รียน ไม่ว่าจะเป็นสมาชิกในครอบครวั ครู อาจารย์ กลมุ่ สังคมเพ่อื น วดั หรือแมก้ ระทั่ง ส่ือมวลชนตา่ งๆ ก็จดั ว่าเปน็ สภาพแวดล้อมที่มผี ลต่อการเรียนรู้ได้โดยตรง

599 รญั จวน อนิ ทรกาํ แหง (2528 : 110-119) ชี้แนวทางในการเสรมิ สร้างจติ สาํ นกึ ของคน ในสังคม วา่ จะตอ้ งเกิดขึ้นได้จากการคลุกคลอี ยูก่ บั ความถูกตอ้ ง การปลูกฝงั อบรม การฝึกปฏิบตั ิ การได้เหน็ ตัวอย่างทีช่ วนใหป้ ระทบั ใจปัจจยั เหลา่ น้ี ค่อยๆโน้มนําใจของบคุ คลใหเ้ กดิ จติ สํานกึ ท่ถี กู ตอ้ ง และกาสร้างจติ สาํ นกึ ตอ่ ส่วนรวมให้เกิดขึ้นจาํ ตอ้ งอาศยั สถาบันทางสงั คมหลายสว่ นเขา้ มารว่ มมือกนั ดังน้ี 12.1 สถาบนั ครอบครวั ความอบอนุ่ ของสถาบนั ครอบครัวมคี วามสาํ คญั เปน็ อันดบั แรก เพราะเป็นจุดเรมิ่ ตน้ ท่ชี ่วยใหท้ ารกจะเกดิ จิตสาํ นกึ เหน็ ความสําคัญของสว่ นรวม ความใกลช้ ิดระหวา่ ง พอ่ แม่กับลูกจงึ เป็นสงิ่ จําเป็นอยา่ งย่งิ ในการเลย้ี งอบรมเล้ยี งลกู เพราะความใกลช้ ิดจะเป็นส่อื ท่ีทําให้ เกดิ ความเข้าใจซึง่ กนั และกนั และกลายเป็นเกิดความเห็นใจซง่ึ กนั และกัน สถานบันครอบครัวจงึ เป็น พน้ื ฐานของสงั คม ถ้าครอบครัวมแี ต่ความคลอนแคลน สงั คมกพ็ ลอยคลอนแคลนและเด็กท่เี ติบโตจาก ครอบครัวที่คลอนแคลนจะมจี ิตสาํ นกึ ทคี่ ลาดเคลอื่ น การสอนและการอบรมจากสถาบันครอบครัว ควรดาํ เนนิ การใหส้ อดคลอ้ งประสานไปจดุ หมายเดียวกันกบั การสอนการอบรมของสถาบนั การศกึ ษา และสถาบันทางศาสนา เพอื่ เป็นพ้ืนฐานหรือฝงั รากใหเ้ ด็กมจี ิตสํานึกที่เป็นสัมมาทิฐิเสียตั้งแต่ยังเด็ก เพื่อที่เด็กจะได้เป็นกําลังในการสร้างสรรค์ที่มีความร่มเย็นเป็นสุขต่อไป ชัยวฒั น์ สุทธริ นั ต์ (2552 : 55-60) ไดก้ ลา่ วเพอื่ สนบั สนนุ บทบาทของสถาบนั ครอบครัวทีม่ ีสว่ นชว่ ยพฒั นาจิตสาธารณะของเด็กๆ วา่ มงี านวจิ ยั จากต่างประเทศทไี่ ด้ศึกษาเกยี่ วกับ การเลี้ยงดูของพ่อแม่วา่ มีผลตอ่ การสร้างจิตสํานึกตอ่ ลูกหรอื ไม่ ผลการวิจยั พบวา่ 9 ใน 10 ของเด็กที่ เตบิ โตและไดร้ ับการเลยี้ งดจู ากครอบครวั ที่มที ั้งพอ่ แมห่ รอื ญาตพิ ่นี อ้ งทีท่ าํ งานเกย่ี วกับอาสาสมัคร เมอ่ื โตขน้ึ แลว้ เด็กๆ เหลา่ นน้ั จะกลายเป็นผ้ใู หญท่ ี่เป็นจิตสาธาณะไปด้วย และพบว่า 6 ใน 10 ของเด็ก ท่ไี มไ่ ดใ้ กลช้ ดิ หรอื ไดร้ บั การสง่ เสริมจากพอ่ แมห่ รือคนใกลช้ ดิ ในครอบครวั ให้เปน็ ผูม้ จี ติ สาธารณะ เมอ่ื โตขนึ้ เด็กๆ เหลา่ นนั้ กจ็ ะไมม่ จี ิตสาธารณะหรือไม่สนใจในงานหรือกจิ กรรมท่เี ป็นอาสาสมคั รเลย อรพินทร์ ชชู ม (2552, อา้ งถงึ ใน ชยั วฒั น์ สุทธริ นั ต,์ 2552 : 56) หัวหนา้ โครงการวจิ ยั เร่ืองวเิ คราะห์ปจั จัยทางจติ สังคมท่ีสมั พันธก์ บั จติ สาํ นึกทางปัญญาและคณุ ภาพชวี ิตของ เยาวชนไทย (นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1-3) สถาบันวิจัยพฤตกิ รรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนค รินทรวิรฒ ไดผ้ ลการวิจยั ท่นี า่ สนใจว่า อิทธิพลของพ่อแมส่ ่งผลตอ่ จิตสาํ นึกทางปัญญาของกล่มุ วัยรนุ่ มากทีส่ ดุ จงึ สรุปไดว้ า่ พอ่ แม่หรือสมาชิกอืน่ ๆ ในครอบครวั มีอทิ ธิพลอยา่ งมากในการถ่ายทอดทาง สังคมใหเ้ ดก็ และเยาวชน ตง้ั แตแ่ รกเรม่ิ ประสบการณช์ ีวิตและยังมคี วามสาํ คญั ต่อเนื่องแมเ้ ดก็ ๆเหลา่ นนั้ จะเตบิ โตเปน็ วัยรนุ่ บทบาทและอิทธิพลของพ่อแม่ก็ยังไม่ลดลง ยงั คงมีบทบาทในการอบรมส่ังสอน และการเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี นการแสดงออกทุกๆ ดา้ นอีกดว้ ย นอกจากนี้ ผลงานการวจิ ยั อีกหลายๆ เรอื่ งเกยี่ วกับจิตสาธารณะทพี่ บว่า การท่ีเด็กท่ี ไมม่ จี ิตสาธารณะมีสาเหตุมาจากครอบครัวท่ีมีพ่อแม่ไม่มีเวลาให้ลุกๆ ครอบครัวแตกแยก ทาํ ให้

600 ไม่มีปฏิสัมพันธ์กันในครอบครัว เด็กจึงมีขาดแบบอย่างท่ีดีและมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปในทางท่ีไม่ เหมาะสม พอ่ แม่หรือสมาชกิ ในครอบครวั มีส่วนรว่ มในการปลกู ฝังจติ สาธารณะให้กับเด็กไดอ้ ย่างมาก ดงั น้ี 12.1.1 พ่อแม่ ผปู้ กครอง ควรหาเวลาอยกู่ บั ลกู ๆ ให้มากทส่ี ดุ เทา่ ท่ีจะมากได้ เชน่ ดโู ทรทศั น์ อ่านหนงั สือเล่น ทํางานบ้าน รบั ประทานอาหาร ออกไปเทีย่ ว พกั ผอ่ นรว่ มกนั เล่านิทานให้ลูกฟัง เพราะมีผลการศึกษาวิจัยสรุปว่าการท่ีครอบครัวขาดความอบอุ่น มีปัญหา ไม่มีปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งกัน เป็นสาเหตสุ าํ คญั ทท่ี ําให้เด็กมพี ฤติกรรมทีไ่ มพ่ งึ ประสงค์ เช่น ตดิ เกม ติด การพนัน ตยิ าเสพติด มีพฤตกิ รรมเกเรและกา้ วรา้ ว 12.1.2 พ่อแม่ ผปู้ กครอง ต้องฝึกใหเ้ ด็กมสี ว่ นรว่ มในการรบั ผิดชอบหรอื รับรู้ สภาพปัญหาของครอบครัวบ้าง เพราะจะได้ช่วยฝึกให้เด็กมีความรับผิดชอบและทาํ ให้เขาเป็นผู้มี ความรับผิดชอบติดตัวไปในอนาคตจนเกิดเป็นจิตสาธารณะ 12.1.3 พ่อแม่ ผปู้ กครอง ต้องให้ความร่วมมอื กับสถานศกึ ษาในการพัฒนา จติ สาธารณะของเดก็ เพราะว่า คุณลกั ษณะใดๆกต็ ามที่มุ่งหวังจะใหเ้ กิดกับเดก็ จะไม่มที างสําเรจ็ ได้ ถา้ ปล่อยให้เป็นหน้าท่ีของบุคคล หน่วยงาน องค์กรร่วมมือกับสถาบันการศึกษาใดเพียงแห่งเดียว จิตสาธารณะก็เช่นกัน พอ่ แม่ ผปู้ กครองสามารถใหค้ วามร่วมมอื กับสถาบันการศกึ ษาไดง้ า่ ย เชน่ เข้า รว่ มประชมุ กับทางสถาบนั ประจาํ สมา่ํ เสมอ ไปพบปะพูดคยุ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาบา้ ง รบั รขู้ อ้ มูลของเด็ก ถ้าเปน็ ข้อมูลทด่ี อี ยู่แล้วก็จะได้ชว่ ยกันส่งเสรมิ ให้พัฒนายิ่งข้นึ ตอ่ ไป ถา้ เปน็ ข้อมลู ทีเ่ ปน็ ปญั หากจ็ ะได้ ร่วมกนั แก้ไขกอ่ นท่ีจะสายเกินไป 12.1.4 พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ควรสง่ เสรมิ ใหล้ กุ ๆได้ เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน สงั คม บ้างตามโอกาส เช่น เขา้ ร่วมกจิ กรรมทาํ ความสะอาดของหม่บู ้าน ท้ังนเ้ี พอ่ื ฝึกใหเ้ ด็กๆ มีความรบั ผดิ ชอบต่อสว่ นรวม 12.1.5 มคี วามรกั ความเมตตาตอ่ กนั ในครอบครัว เหน็ อกเหน็ ใจกนั เขา้ ใจกนั บางครั้งดูเหมือนเป็นเร่ืองเล็กน้อยทไ่ี มน่ ่าจะมผี ลต่อสภาพจิตใจของเดก็ แตแ่ ท้จรงิ แลว้ มีอทิ ธิพลตอ่ ความรูส้ ึกนึกคดิ ของเดก็ อยา่ งมาก เชน่ คําถามง่ายๆ วันน้เี ปน็ อย่างไรบ้าง เรยี นเหน่ือยไหม มีการบ้าน เยอะไหม กินขา้ วแล้วหรอื ยัง ให้พ่อแมช่ ว่ ยอะไรไหม วนั นเี้ รียนอะไรบ้าง อยา่ ลมื ด่ืมนมกอ่ นนอนนะ 12.2 สถาบนั การศึกษา การศึกษาเป็นรากฐานของการพฒั นา เปน็ ส่ิงที่ปฏิเสธไม่ได้ ว่าเป็นการพัฒนาในรูปแบบใดจะเริ่มด้วยการศึกษา ดังน้ัน การกาํ หนดเป้าหมายของการศึกษาให้ ถกู ต้องโดยธรรมชาตเิ พอ่ื นําไปสกู่ ารพฒั นาทแ่ี ท้จรงิ จงึ เป็นส่ิงท่สี ําคญั ทสี่ ุดทีผ่ มู้ ีอํานาจในการบริหาร การศกึ ษาพึงพิจารณาให้ลึกซงึ้ ถอ่ งแท้ รอบคอบ และถกู ต้องดว้ ยทัศนะทก่ี ว้างไกล โดยมจี ุดหมาย รวบยอดว่า การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนให้มีจิตสํานึกเป็นมนุษย์ท่ีเต็มท่ี การจัดการศึกษาควร มุง่ เนน้ ที่การสร้างจิตสาํ นึกภายใน คือ การพฒั นาจติ สํานกึ ภายใน เป็นการพฒั นาจิตใจทเี่ ปน็ รากฐาน

601 ของความเปน็ มนุษย์ ไมค่ วรเนน้ ทก่ี ารพัฒนาเพ่ือความสําเรจ็ ในวิชาชพี ทป่ี ราศจากพืน้ ฐานทางจริยธรรม เพราะอาจจะเปน็ การส่งเสรมิ ใหบ้ ุคคลออกไปประกอบวชิ าชพี ด้วยจิตสํานึกผดิ พลาดแลว้ ก็ไปสร้าง ระบบการทํางานทผี่ ดิ มกี ารเอารัดเอาเปรียบผูอ้ ่ืน กอบโกยหาผลประโยชนใ์ หต้ นเองและพวกพ้อง ความหลงตวั เอง ความมวั เมาวนเวยี นแตใ่ นวังวนของวตั ถุ ทอี่ าจจะก่อให้เกดิ การประหตั ประหารในทกุ วงการ การใหก้ ารศกึ ษาแกเ่ ด็กและเยาวชนควรหยุดสรา้ งจติ สาํ นึกทน่ี ยิ มในวตั ถุ แตค่ วรเนน้ การสรา้ ง จิตสํานกึ ในทางจริยธรรมใหห้ นักแน่นเขม้ แขง็ ยงิ่ ขึน้ ทกุ ระดับ ที่สําคญั คอื การศึกษาตง้ั แตอ่ นบุ าลถึง อดุ มศกึ ษา เพอื่ ใหเ้ ปน็ จติ ที่สามารถสร้างระบบถูกต้องเพอ่ื การดํารงอยขู่ องสงั คมโดยธรรม โดยเฉพาะ การเนน้ การฝึกอบรมใหร้ ู้จักทําหน้าทอ่ี ย่างดที ่ีสุด ในทกุ หน้าทใ่ี นฐานะทเ่ี กิดมาเปน็ มนุษย์ดว้ ยสํานกึ วา่ ทกุ หนา้ ทีม่ ีคณุ ค่าและความสาํ คญั เท่าเทียมกัน 12.3 สถาบันศาสนา สถาบันศาสนาทม่ี บี ทบาทและอทิ ธิพลอย่างมากตอ่ การปลกู ฝัง และพัฒนาจิตสาธารณะให้กบั ผคู้ นในสงั คม สถาบนั ทางศาสนาต้องเป็นผู้นาํ ในการสรา้ งจิตสาํ นกึ ตอ่ สว่ นรวม ให้เกดิ ขน้ึ ต้องนาํ ประชาชนกลับไปสคู่ าํ สอนของผนู้ าํ ของพระพุทธองค์ที่ทรงเนน้ ให้เห็นแก่ประโยชนส์ ขุ ของสังคมเปน็ ใหญ่ ไม่บรโิ ภคเกนิ ความจําเปน็ หรอื เพราะความอยาก มคี วามสนั โดษ พอใจท่จี ะมกี ินมีอยู่ มีใชเ้ ท่าทีจ่ ําเปน็ รู้จกั เอื้อเฟอ้ื เผอ่ื แผ่เจอื จานแกผ่ ้อู น่ื มีความเมตตาอาทรตอ่ กัน เห็นแก่ผอู้ นื่ เสมอื น เห็นแก่ตนเอง ปฏิบตั หิ น้าทใ่ี ห้ถูกต้อง สถาบันทางศาสนาจึงมีความสาํ คัญอย่างย่งิ เพราะเป็นสถาบนั ที่ ได้รับการเคารพบูชาแต่โบราณกาลจวบจนปจั จบุ นั เปน็ สถาบันทม่ี อี ทิ ธิพลอยา่ งสูงต่อจติ ใจของประชาชน เพราะตา่ งไดย้ ึดถอื สถาบนั นเ้ี ป็นท่พี ึงทางใจมาอย่างเน่นิ นาน ฉะนนั้ สถาบนั ทางศาสนาจึงอยู่ในฐานะท่ี จะช่วยสร้างสรรค์และพฒั นาจติ ใจของคนในสงั คมใหห้ นั เข้ามาอยใู่ นความถูกตอ้ งตามทํานองคลองธรรม และวธิ ีการพฒั นาจติ ใจของคนให้เกิดขึ้นได้อยา่ งดีทีส่ ดุ คอื การสอนด้วยตนเอง หมายถึง การที่ผู้อยูใ่ น สถาบนั องคก์ ารทางศาสนา พงึ ตอ้ งประพฤติปฏิบตั ติ นให้เป็นตวั อยา่ งแกค่ นในสังคมในด้านการช่วยเหลือ ส่วนรวม บา้ น วดั และสถาบนั ทางสังคมเกา่ แกท่ มี่ ีบทบาทในการประสานความร่วมมอื กันในการพฒั นา คณุ ลักษณะความดีงามของจิตใจของเด็กและเยาวชน ต้ังแตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบันและเมืองไทยเปน็ เมือง พุทธมพี ระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาํ ชาติ “วดั ” จึงเป็นสถาบันทม่ี อี ิทธิพลสงู ต่อการอบรมขดั เกลา นิสัยใจคอและเป็นศูนยร์ วมจิตใจของคนในชุมชนอยา่ งทไ่ี มเ่ คยเปลีย่ นแปลง 12.4ส่อื มวลชน สอื่ มวลชนจัดเปน็ สถาบันทม่ี อี ิธพิ ลอยา่ งยิ่งในการกระจายความคดิ ความรู้ หรอื สงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ สกู่ ารรับรู้ของประชาชน ความร่วมมอื จากสอ่ื มวลชนจะช่วยสรา้ งความเข้าใจ ช่วยสรา้ งจิตสาํ นกึ ท่ถี กู ต้องใหแ้ กค่ นในสงั คม เนอื่ งจากสอ่ื มวลชนนนั้ มบี ทบาทและอทิ ธิพลอย่างย่งิ ต่อ การเสรมิ สรา้ งการรับรูท้ ีจ่ ะสงั่ สมกลายเปน็ จิตสํานึกของคนในสังคม การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความเปน็ พลเมอื ง จึงเป็นเงอื่ นไขเบือ้ งตน้ ที่จะช่วยใหค้ นในสงั คมมจี ติ สํานึกตอ่ ส่วนรวม ท่ีจะนาํ ไปสกู่ ารกอ่ ตัว ของประชาสังคม การจัดการศึกษาเพ่ือความเป็นพลเมืองน้ีมิได้หมายถึงกระบวนการจัดการเรียน

602 การสอนในหอ้ งเรยี น สําหรบั ประชากรวยั เรียนหรอื การจดั การศกึ ษาแบบเปน็ ทางการในรปู แบบอ่นื ๆ หมายถึง กระบวนการเสริมสรา้ งการเรยี นรทู้ างตรงอย่างไม่เปน็ ทางการในชีวติ ประจาํ วัน ซึ่งจําเปน็ ตอ้ ง เก่ยี วขอ้ งกับเครือข่ายสถาบนั และกระบวนการทางสังคมทหี่ ลากหลายและตอ่ เน่ือง ทงั้ ในส่วนของ สถาบันการศกึ ษา สถาบนั ครอบครวั องค์กรเอกชน และองคก์ รประชาสังคม เม่ือสถาบันส่อื มวลชนได้ เขา้ มบี ทบาทอย่างมากในการเสรมิ สร้างจิตสาธารณะของเด็กและเยาวชน ส่ือ (กรรยา พรรณนา,2559 : 29) มีความคดิ เห็นวา่ ส่ือมวลชนจึงควรเป็นผมู้ ีจิตสาธารณะดว้ ย หมายถึง สือ่ มวลชนตอ้ งคาํ นึงถงึ ผล ทก่ี ระทบตอ่ ความรสู้ กึ นึกคดิ และการเรียนรขู้ องเด็กๆ ในการนําเสนอเรื่องราวหรอื เหตกุ ารณต์ ่างๆ สอ่ื ควรจะสง่ เสรมิ และเพิม่ การพัฒนาสื่อสร้างสรรค์ สรา้ งส่อื การต์ ูนทีเ่ ป็นแบบอย่างทด่ี ี สง่ เสรมิ รายการ เก่ียวกับเด็กและเยาวชนให้มากข้ึน รายการบันเทิงที่แฝงไปด้วยสาระและความรู้ มีเวทีให้เด็ก แสดงออกซ่งึ ความสามารถอยา่ งสร้างสรรค์ มีเวทีทไ่ี ดใ้ ห้รางวลั หรอื ยกยอ่ งชมเชยแกเ่ ด็กและเยาวชนที่ เปน็ ตวั อย่างในดา้ นตา่ งๆ และสอื่ ควรจะใช้บทบาทของตนเองที่มีในการส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ เป็นคนดี รจู้ ัก สิทธแิ ละหนา้ ท่ี มีความรบั ผดิ ชอบ รจู้ กั ถูกผิด ดว้ ยวิธีการทห่ี ลากหลาย 13. ประโยชนข์ องการมีจิตสาธารณะ การสร้างสรรคส์ ังคมหรือการพฒั นาสงั คมน้ัน ไมไ่ ด้เพยี งแตใ่ หค้ นในสงั คมมีสขุ ภาพ กายและจิตทดี่ ี เป็นผู้ใฝ่รู้ แสวงหาความรแู้ ละพฒั นาตนอยเู่ สมอ มคี วามรับผดิ ชอบและซอ่ื สัตย์ แตย่ งั มุ่งหวังให้คนในสังคมมีจิตสาํ นึกท่ีดี มีจิตสาธารณะ ไม่เห็นแก่ตัว เสียสละ อดทน และมีความเป็น ธรรมาธิปไตยในตนเองอีกด้วย การที่คนในสังคมมีจิตสาํ นึกสาธารณะ จะส่งผลให้สังคมน้ันๆ เจริญกา้ วหน้าและพัฒนาไปในทางท่ีดี การรจู้ กั ให้ดว้ ยความเต็มใจและไม่หวังผลตอบแทนสง่ ผลให้ผใู้ ห้ และผรู้ บั เกดิ ความสุขและสังคมโดยรวมมคี วามสงบสขุ ไปดว้ ย ดงั ที่ ศภุ รตั น์ รตั นมขุ ย์ (2554) ได้ กล่าวถึงประโยชนข์ องการมจี ิตสาํ นกึ สาธารณะ ดงั ต่อไปน้ี (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มิถุนายน 2559) 13.1 ประโยชน์ทางดา้ นจิตใจ การมพี ฤติกรรมจิตสํานกึ สาธาณะส่งผลให้สขุ ภาพจติ ดี มีภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าน้อยลง และมีความพึงพอใจในชีวิตเพ่ิมสูงขึ้น มีการรับรู้ถึง ความสามารถของตนเองและรู้สกึ ว่าตนเองมีคุณคา่ และมคี วามสุขเพมิ่ ขน้ึ ดว้ ย 13.2 ประโยชน์ทางดา้ นรา่ งกาย การมพี ฤติกรรมจิตสํานึกสาธารณะส่งผลใหม้ สี ุขภาพ กายทีแ่ ข็งแรง ลดอตั ราการเสยี ชีวิต จากผลทางบวกของด้านจิตใจ 13.3 ประโยชนท์ างด้านสังคม การมพี ฤตกิ รรมจติ สํานึกสาธารณะสง่ ผลให้เกดิ ทกั ษะ การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในทางบวกและเกิดเครือข่ายทางสังคมเพ่ิมมากขึ้น เช่น เกิดการเรียนรู้

603 ความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น ทัศนคติ และค่านิยม เกดิ การกระตุ้นพฒั นาการด้านการเข้าใจสงั คมและพฤติกรรมทางสงั คม เป็นตน้ 13.4 ประโยชนท์ างด้านกระบวนการคดิ การมีพฤติกรรมจติ สาํ นึกสาธารณะส่งผลให้ เกดิ กระบวการพฒั นาสตปิ ญั ญา วธิ กี ารคดิ และการตดั สินใจ ช่วยให้เกดิ การเรยี นรูโ้ ดยการใชว้ ิธีการ เดิมจากประสบการณใ์ หมๆ่ ใหเ้ กดิ ศักยภาพในการพัฒนาสตปิ ญั ญา วิธีการคิดและการตัดสนิ ใจมาก ยิง่ ข้นึ 13.5 ประโยชน์ทางดา้ นเศรษฐกจิ การมีพฤตกิ รรมจิตสํานึกสาธารณะส่งผลต่อการลด ภาระงบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยในการจ้างงานบางอย่าง เนอ่ื งจากมอี าสาสมัครทีม่ ีจติ สาธารณะเขา้ มาชว่ ยงาน ด้วยความเต็มใจและทุม่ เทท้งั กาํ ลงั กายและกําลงั ใจอย่างเต็มที่ ดงั นนั้ การสง่ เสรมิ ให้บคุ คลในสังคมมีจิตสํานกึ สาธารณะ มคี วามสาํ คญั ต่อตัวบคุ คล องค์กร สงั คม ประเทศชาตแิ ละประชาคมโลกเปน็ อยา่ งมาก การเป็นพลเมอื งท่ดี ีหรอื คนดี มีความสาํ คญั อย่างมากในสงั คมเพราะจะทาํ ให้สังคมมีความเจริญและความสามารถพฒั นาใหก้ า้ วหนา้ ตอ่ ไปได้ ท้ังนี้ คนดี หมายถึง คนทม่ี คี ุณความดี มคี ุณธรรม และมจี ิตสํานกึ สาธารณะต่อสว่ นรวม หากสังคมมสี มาชกิ ท่ีมีคุณงามความดี เคารพกฎกติกา มงุ่ กระทําประโยชนใ์ หแ้ กบ่ ุคคลอน่ื เคารพความแตกตา่ งของบคุ คล เอาใจใส่ มีจิตสาํ นึกส่วนรวมยอ่ มทําใหส้ งั คมน้ันพฒั นาเจริญรุ่งเรอื งและมคี วามสงบสุขในสังคม

604 สรปุ บทที่ 8 จติ สาธารณะ หมายถึง การรู้จกั เอาใจใสใ่ นเรอื่ งของสว่ นรวมทใ่ี ช้ประโยชน์ร่วมกัน การคิดในสงิ่ ทด่ี ปี ระพฤตดิ ยี ึดผลประโยชนส์ ่วนรวมเป็นที่ตัง้ ไม่เห็นแก่ผลประโยชน์ส่วนตน การรู้จัก สิทธิของตนเองและผู้อ่ืน การไม่ทําลายเบียดเบียนบุคคล สังคม วัฒนธรรม ประเทศชาติและ สิ่งแวดลอ้ ม โดยพิจารณาจากความรู้ความเขา้ ใจหรอื พฤติกรรมทแี่ สดงออก แบง่ ออกเป็นด้าน 4 ด้าน ดงั นี้ ดา้ นการใช้ ด้านการถือเป็นหนา้ ที่ ดา้ นการเคารพสิทธิ และด้านการปฏิบตั ิกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม จิตสาธารณะมคี วามสาํ คญั นั่นคอื จติ สาํ นึกทด่ี ีเป็นความรู้สกึ นึกคิดภายใน บคุ คล ประพฤตปิ ฏบิ ัติอย่างเหมาะสม บคุ คลทมี่ จี ติ สํานกึ ดา้ นระเบยี บวินัยจะไม่ขบั รถผดิ กฎจราจร บุคคลท่มี จี ติ สาํ นึกสาธารณะจะไม่ขดี เขยี นในสถานท่สี าธารณะ เป็นต้น การก่อรูปของจติ สาธารณะมี องค์ประกอบสาํ คัญ 3 ส่วน ได้แก่ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และทักษะพิสัย กล่าวถึง องค์ประกอบของจิตสาธารณะ จติ สํานึกวา่ มอี ยู่ 3 ด้านหลกั ๆ คือ จติ สํานกึ เกีย่ วกับตนเอง (Self Consciousness) จติ สํานกึ เกยี่ วกบั ผ้อู ่นื (Others Oriented Consciousness) จติ สาํ นึกเกีย่ วกบั สงั คมหรือจิตสาํ นกึ สาธารณะ (Social or Public Consciousness) บุคคลทมี่ จี ิตสาธารณะ ได้แก่ คิด ในทางบวก, มสี ว่ นร่วม, ทําตัวเปน็ ประโยชน,์ ไม่เห็นแก่ตวั , มีความเขา้ ใจ, มใี จกว้าง, มีความรกั , รัก ผอู้ ืน่ และมีการส่ือสารทดี่ ี เปน็ ตน้ กลยทุ ธใ์ นการปลูกฝังจิตสาธารณะ ไดแ้ ก่ ความรัก ความรู้ และ ความเปน็ ธรรมชาติ แนวคดิ และทฤษฎีทใี่ ชใ้ นการพัฒนาจิตสาธารณะ ไดแ้ ก่ แนวคิดการพัฒนาจิต สาธารณะตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของรชั กาลท่ี 9, แนวคดิ การพฒั นาจิตสาธารณะ ตามหลักคําสอนทางศาสนา, แนวคดิ การพัฒนาจติ สาธารณะตามหลักทฤษฎกี ารเรียนรูก้ ารวางเง่ือนไข แบบกระทาํ และแนวคดิ การพัฒนาจิตสาธารณะตามหลกั ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทางปญั ญาเชิงสังคม กระบวน จดั การเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาจิตสาธารณะ ได้แก่ การรบั ใช้สงั คม, เทคนิคศึกษากรณีตัวอย่างท่ีเน้น การเสนอตัวแบบสัญลักษณ์, แบบอรยิ สจั , แบบบทบาทสมมต,ิ การเผชิญสถานการณ,์ ใชเ้ กม, และ การอภปิ รายกลมุ่ ย่อย เราสามารถใชเ้ คร่ืองมือวัดจิตสาธารณะวัดจิตสาธารณะ ได้แก่ แบบมาตรา ส่วนประมาณค่า, แบบสังเกต, แบบสัมภาษณ์, แบบตรวจสอบตามรายการ, แบบวดั จินตนาการ และ แบบสอบถามสถานการณ์ การสร้างเสรมิ จิตสํานึกสาธารณะตอ่ ส่วนรวมจาํ ต้องอาศยั สถาบันทางสังคมหลายสว่ น เข้ามารว่ มมอื กนั ดังน้ี สถาบนั ครอบครัว จุดเร่ิมตน้ ทชี่ ว่ ยใหเ้ กิดจิตสาํ นกึ เห็นความสาํ คญั ของส่วนรวม สถาบันการศึกษา การศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาจิตสาํ นึกท่ีดีต่อเยาวชน สถาบันศาสนา สถาบันทมี่ บี ทบาทตอ่ การปลกู ฝงั และพัฒนาจิตสาธารณะในการรสร้างจติ สํานึกตอ่ สว่ นรวมใหเ้ กิดข้ึน

605 ลาํ ดบั สุดทา้ ยสือ่ มวลชน สอื่ มวลชนจัดเป็นสถาบนั ท่มี อี ทิ ธิพลอยา่ งยิ่งในการกระจายความคดิ ความรู้ ความร่วมมือจากส่ือมวลชนจะชว่ ยสรา้ งความเข้าใจช่วยสรา้ งจิตสํานกึ ทถ่ี กู ตอ้ งให้แกค่ นในสังคม

606 คําถามทา้ ยบทท่ี 8 1. จงอธบิ ายความหมายของจติ สาธารณะ 2. จิตสาธารณะมคี วามสาํ คญั อย่างไรตอ่ มนุษย์ อธบิ าย 3. องค์ประกอบของจติ สาธารณะเกยี่ วกบั จิตสาํ นึกมกี ีด่ ้าน อะไรบา้ ง 4. ลักษณะของบุคคลท่มี ีจติ สาธารณะมลี กั ษณะอยา่ งไรบ้าง 5. นกั ศกึ ษามีกลยุทธอ์ ยา่ งไรในการปลูกฝงั จติ สาธารณะ 6. นกั ศกึ ษาควรจะจดั กระบวนการเรยี นรู้แบบใด เพราะเหตุใด 7. จงออกแบบเคร่ืองมอื วดั จิตสาธารณะ 1 แบบที่สามารถนาํ ไปใช้ได้

607 เอกสารอา้ งอิงบทท่ี 8 กนิษฐา นิทศั นพ์ ฒั นาและคณะ. จติ สาํ นกึ สาธารณะ. อ้างถงึ http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 กนั ยายน 2559 กรกนก เตชะอมรานันท.์ (2554). ปัจจยั ทเ่ี กีย่ วกบั พฤตกิ รรมเอ้ือสงั คมของนักเรยี นอนุบาลและ นกั เรยี นประถมศกึ ษาตอนตน้ . วารสารวชิ าการมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา. มกราคม – มิถุนายน. กรรยา พรรณนา. (2559). จติ สาธารณะสรา้ งได้งา่ ยนดิ เดยี ว. กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พ์จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . เกรยี งศักด์ิ เจรญิ วงศ์ศกั ด์ิ. (2543). โรงเรยี นสรา้ งคนมจี ติ สาธารณะ การศกึ ษา 2000. จรรยา สุวรรณทัต. ความหมายของจิตสาธารณะ. อา้ งถึง ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog- post_2586.html 16 กนั ยายน 2559 ชัยวัฒน์ ถิระพันธ.์ (2542). จติ สาธารณะ. อา้ งถงึ http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 กนั ยายน 2559 ชยั วฒั น์ สทุ ธรัตน์. (2552). นวตั กรรมการจดั การเรียนรูท้ เี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สําคัญ. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท แดแน็กซ์ อินเตอร์คอรป์ ปอเรชน่ั . ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2524). พฤติกรรมศาสตร์ เลม่ 2 . จิตวทิ ยาจริยธรรมและจติ วิทยาภาษา. กรุงเทพฯ: สาํ นกั พิมพ์ไทยวัฒนาพานชิ . เดือนฉาย แซ่โป้ว. (2551). ความคิดเหน็ ต่อการสอนแบบโครงการของนกั เรียนและผปู้ กครอง โรงเรยี นวฒั นาวิทยาลยั . กรงุ เทพฯ: บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ทิศนา แขมมณ.ี (2546). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม : จากทฤษฎสี ู่การปฏิบัติ. กรงุ เทพฯ: เสริมสิน พรเี พรส ซิสเทม็ . . (2551) ศาสตรก์ ารสอน องค์ความรเู้ พือ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ทมี่ ี ประสทิ ธภิ าพ. พิมพ์ครงั้ ท่ี 7 กรุงเทพฯ: สาํ นักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. บญุ สม หรรษาศิริพจน์. (2542). จิตสํานึก. อ้างถงึ http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog- post_2586.html 16 กนั ยายน 2559 พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2538). จิตสํานึก. พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2541). จติ สาํ นึก. อา้ งถงึ http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog- post_2586.html 16 กันยายน 2559

608 ไพบลู ย์ วัฒนศิริธรรม และสังคม สญั จร. (2543). สํานกึ ไทยทีพ่ งึ ปรารถนา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ เดอื นตุลา. มัลลิกา มัติโก. (2541). จิตสาํ นึกทางสังคม. อ้างถึง http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 กนั ยายน 2559 ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร และคณะ. (2547). รปู แบบการพฒั นานกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษาใหม้ จี ิต สาธารณะการศกึ ษาระยะยาว. เอกสารประกอบการประชมุ สถาบนั วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ วีรวธุ มาฆะศิรานนท์ และเสาวลักษ์ อศั วเทววิช. (2551). จติ 5 ปน้ั ยอดมนษุ ย์. กรงุ เทพฯ : บริษัท เอก็ ซเปอร์เนท็ . ศกั ดชิ์ ยั นริ ญั ทวี. (2541). จติ สํานึกสาธารณะ. อ้างถงึ http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 กันยายน 2559 ศุภรัตน์ รตั นมุขย.์ (2544). การบรหิ ารจดั การงานอาสาสมัคร ศกึ ษษกรณี : มูลนธิ พิ ุทธฉือจ้ือ ไตห้ วนั . วารสารคณะกรรมการแห่งชาตวิ ่าดว้ ยการศกึ ษาสหประชาชาติ http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ นุ ายน 2559 สมพร สุทศั นยี ์. (2539). มนษุ ยสมั พนั ธ.์ กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. สาํ นกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ. (2542). จติ สาธารณะ. อา้ งถึง http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 กนั ยายน 2559 หฤทยั อาจปรุ (2544). ความสมั พันธ์ระหวา่ งปจั จยั ส่วนบคุ คล ภาวะผูน้ าํ รปู แบบการดาํ เนินชวี ติ และความสามารถในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองกบั การมจี ติ สาํ นกึ สาธารณะของนกั ศึกษา พยาบาล เขตกรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาพยาบาลมหาบณั ฑติ (การพยาบาลศกึ ษา) กรุงเทพมหานคร บัณฑิตวทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย อัชรา เอิบสุขสริ .ิ (2557). จิตวทิ ยาสาํ หรบั คร:ู การเรียนรู้ (จติ วทิ ยา). กรงุ เทพฯ: สํานกั พมิ พ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . Bandura. (1977). Congnitive Processes Mediating Behavioral Change. Journal of Personality and Socical Psychology. Eisenberg and Factory. (1984). Reference Kornkanok Techarmomanan. (2011). Hans-Werner. (2002). Psychology: Prosocial Behaviour. New York. English Book. p.385. Kathz and Chard. (1994). The Project Approach as a way of Making Life Meaningful in the classroom. Reference Duenshai Saepo. (2008).

609 Raj. (1996). Reference http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 September 2016 Susan J. Ellis and Katerines H. Noyes. (2003) Reference Supatra Ratnatham. (2001). http://humaneco.stou.ac.th/ 8 June 2016 e-learning.e-tech.ac.th/learninghtml/s1301/unit08.html 18 กนั ยายน 2559 taamkru.com/th 16 กันยายน 2559 https://learningktbwiset.wordpress.com 16 กนั ยายน 2559 http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มิถนุ ายน 2559 https://www.google.co.th/search 14 กนั ยายน 2559 www.oknation.net 16 กนั ยายน 2559

610

611 บรรณานุกรม กนิษฐา นิทศั นพ์ ัฒนาและคณะ. (2541). จิตสํานึกสาธารณะ. อ้างถงึ http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 กนั ยายน 2559 กรกนก เตชะอมรานันท.์ (2554). ปัจจัยทเ่ี ก่ยี วกับพฤตกิ รรมเอือ้ สงั คมของนักเรยี นอนุบาลและ นกั เรียนประถมศึกษาตอนตน้ . วารสารวชิ าการมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย บูรพา. มกราคม – มถิ นุ ายน. กรรยา พรรณนา. (2559). จติ สาธารณะสรา้ งได้งา่ ยนดิ เดยี ว. กรุงเทพฯ : สาํ นักพมิ พ์จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. กลัญญู เพชราภรณ์. การเข้าใจผอู้ ื่น. อา้ งถึง http://www.ge.ssru.ac.th. กลุ ชลี ไชยนันตา. (2539). การตัดสนิ ใจ. อา้ งถึง http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Decision_Making.htm 21 กรกฎาคม 2559 เกรียงศกั ดิ์ เจรญิ วงศศ์ กั ด์ิ. (2543). โรงเรยี นสรา้ งคนมจี ติ สาธารณะ การศกึ ษา 2000. . (2547). การคิดวเิ คราะห์. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ซัสเซค มีเดีย. คณาจารย์สถาบนั พระบรมราชชนก. (2541). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจติ . กรงุ เทพฯ: ยทุ ธรนิ ทร์การพิมพ์. จรรยา สวุ รรณทตั . ความหมายของจิตสาธารณะ. อ้างถึง ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog- post_2586.html 16 กนั ยายน 2559 จนี แบร่.ี (2538). คู่มอื การฝกึ ทกั ษะให้การปรกึ ษา. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ชาย โพธิสติ า. (2540). รายงานการศึกษาวจิ ยั เร่ือง “จิตสาํ นกึ ตอ่ สาธารณสมบตั ิ : ศกึ ษา กรณี กรงุ เทพมหานคร” นครปฐม สถาบันวจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ชยั วัฒน์ ถิระพนั ธ์. (2542). จติ สาธารณะ. อ้างถงึ http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog-post_2586.html 16 กันยายน 2559 ชยั วัฒน์ สุทธรัตน์. (2552). นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาํ คัญ. กรุงเทพฯ: บริษัท แดแน็กซ์ อนิ เตอร์คอร์ปปอเรชน่ั . ดวงเดือน พันธมุ นาวนิ . (2524). จติ วิทยาจรยิ ธรรมและจติ วทิ ยาภาษา. พฤตกิ รรมศาสตร์ เลม่ 2 . กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พมิ พไ์ ทยวฒั นาพานชิ . ดษุ ฎี บรพิ ตั ร ณ อยธุ ยา. (2548). รเู้ รยี นเพอ่ื เรียนร้สู คู่ วามเปน็ เลศิ . กรงุ เทพฯ : รกั ลกู แฟมลิ ี่ กรปุ๊ จํากัด.

612 เดอื นฉาย แซโ่ ปว้ . (2551). ความคิดเหน็ ต่อการสอนแบบโครงการของนกั เรียนและผปู้ กครอง โรงเรยี นวฒั นาวทิ ยาลัย. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. ทิศนา แขมมณี. (2546). การพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: เสริมสนิ พรเี พรส ซสิ เทม็ . . (2545). ศาสตร์การสอน องค์ความรูเ้ พอ่ื การจดั กระบวนการเรียนรทู้ ีม่ ี ประสิทธิภาพ. พมิ พค์ ร้งั ที่ 2 กรงุ เทพฯ: สาํ นักพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . . (2551). ศาสตร์การสอน : องคค์ วามรู้เพอื่ การจัดกระบวนการเรียนรทู้ ีม่ ี ประสิทธภิ าพ. พิมพค์ ร้ังท่ี 7 กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ทัศนยี สรุ ิยะไชย. (2554). ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการตระหนักร้ใู นตนเองกับการร่วมรู้สกึ ในวัยรุ่น. มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. กรงุ เทพฯ ทศั นา บุญทอง. (2544). เครอ่ื งมอื ของพยาบาลจิตเวชในการบาํ บดั ทางจิต. เอกสารการสอนชุด วชิ าการส่งเสริมสขุ ภาพจติ และการพยาบาลจิตเวชหน่วยที่ 1-7.(2544).นนทบรุ ี : สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. ทวศี กั ดิ์ ญาณประทีป. (2534). พจนานุกรมฉบับพระเกยี รติ พ.ศ. 2530. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ไทย วัฒนาพานชิ . เทพ สงวนกติ ติพนั ธ์ุ (2543). การแสดงออกท่ีเหมาะสม (ASSERTION) : ทักษะการสรา้ ง ความสัมพันธท์ ี่ดี ระหวา่ งบคุ คลและสรา้ งความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง. พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธรณนิ ทร์ กองสขุ และคณะ. (2553). ความนา่ เช่อื ถือและความเทย่ี งตรงของแบบประเมนิ อาการ โรคซึมเศร้าดว้ ย 9 คําถามเมอื่ เทยี บกับแบบประเมนิ Hamilton Rating Scale for Depression (HRSD-17). นําเสนอในการประชุมวิชาการสขุ ภาพจิตนานาชาตคิ ร้งั ที่ 9 ประจําปี 2553. บญุ สม หรรษาศริ พิ จน.์ (2542). จิตสํานกึ . อ้างถึง http://ktbwsk.blogspot.com/2013/08/blog- post_2586.html 16 กันยายน 2559 บงั อร ชินกุลกจิ นิวัฒน์. (2547). จติ วทิ ยาทวั่ ไป. กรุงเทพฯ จามจรุ ีโปรดกั ท์. ประสทิ ธิ์ ทองอุ่น และคณะ. (2542). พฤตกิ รรมของมนษุ ย์กบั การพัฒนาตน. กรงุ เทพฯ บรษิ ัท เธิรด์ เวฟ เอด็ ดเู คชน่ั จาํ กัด. ปราณี รามสตู และคณะ.(2545). พฤตกิ รรมมนุษยก์ บั การพฒั นาตน. กรงุ เทพฯ : สถาบนั ราชภฏั ธนบุรี. พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. (2538). จิตสาํ นกึ . พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2543). การรูจ้ ักตนเอง. พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน. (2555). การรคู้ ดิ .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook