Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

413 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 5 เทพ สงวนกิตตพิ ันธ์ุ. (2543). การแสดงออกทีเ่ หมาะสม (ASSERTION) : ทกั ษะการสร้าง ความสมั พันธท์ ดี่ ี ระหวา่ งบคุ คลและสรา้ งความเชือ่ มน่ั ในตนเอง. พมิ พค์ ร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ธรณินทร์ กองสุข และคณะ. ความนา่ เช่ือถอื และความเทย่ี งตรงของแบบประเมนิ อาการโรค ซึมเศรา้ ด้วย 9 คาํ ถามเม่อื เทยี บกบั แบบประเมิน Hamilton Rating Scale for Depression (HRSD-17). นําเสนอในการประชุมวิชาการสุขภาพจติ นานาชาตคิ รง้ั ที่ 9 ประจาํ ปี 2553 พรรณพิมล หล่อตระกลู . (2546). การจัดการอารมณ์. อ้างถึง http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559 พีรพล เทพประสิทธิ์. (2549). จติ วิทยาทั่วไป. กรงุ เทพฯ : ทรปิ เพิล้ กรุป๊ . มาโนช หลอ่ ตระกลู . (2550). เรอ่ื งน่ารู้ เกยี่ วกับโรคซึมเศร้า. กรงุ เทพฯฯ : วสิ ทุ ธิก์ ารพมิ พ์. มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สคุ นชิ ย์. (2548). จิตเวชศาสตร์ รามาธบิ ดี พิมพค์ ร้ังที่ 2 (หนา้ 143-159). กรุงเทพฯฯ : บยี อนด์ เอน็ เทอร์ไพรช์ จํากดั . วารุณี ภวู สรกุล. (2547). จติ วิทยา. กรงุ เทพฯ : บริษทั แอคทฟี พรินท จํากดั . สมภพ เรอื งตระกูล. (2548). ตําราจิตเวชศาสตร์ พมิ พ์ครงั้ ท9ี่ . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เรอื นแก้วการพิมพ์. สินนี าฏ กําเนดิ เพ็ชร์. (2544). การจดั การอารมณ.์ อ้างถงึ http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559 สวุ รรณา อรณุ พงศไ์ พศาล. (2550). สาเหตแุ ละปัจจยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการเกดิ โรคซมึ เศรา้ . (โรคซมึ เศรา้ จากการทบทวนวรรณกรรม). กรงุ เทพฯ : ศิรธิ รรมออฟเซท็ . อารี เพชรพดุ . (2547). จติ วิทยาทว่ั ไป. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ American Psychiatric Association. (2000). Diagnosis and statistical manual of mental disorder. (4thed.). Text revision. Washington, DC: American Psychiatric Association. Bauer M, et al. (2007) World Federation of Societies of Biological Psychiatry (WFSBP) Guidelines for Biological Treatment of Unipolar Depressive Disorders in Primary Care. The World Journal of Biological Psychiatry; 8(2): 67-104

414 Bower. (1981). Functions of emotions: General psychology. Peerapol Thepprasit. (2006). : 187-188. Carlson Neil R. (1993). Reference https://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotion.htm 8 April 2016 Fridja. (1989). Functions of emotions: General psychology. Peerapol Thepprasit. (2006). : 187-188. Lieberman A. (2005). Depression in Parkinson’s disease – a review. Acta Neurologica Scandinavica February. Nelson JC, Davis JM (1997). DST studies in psychotic depression: a meta-analysis. American Journal of Psychiatry, 154: 1497–1503. Shyn S.I& Hamilton S.P. (2010).The genetics of major depression: Moving beyond the monoamine. Psychiatr Clin North Am. 2010 March ; 33(1): 125–140. Richard Lazarus. (1995). Emotional Theory of Mindfulness and Brain Recognition. Sriwan Chansawan. (2005). World Health Organization (1992). International Classification of Diseases. Tenth Revision (ICD-10). Zajonc Robert B. (1984): Emotional Theory of Mindfulness and Brain Recognition. Sriwan Chansawan. (2005). http://haamor.com/th 24 เมษายน 2559 https://sarochafon159.wordpress.com 18 เมษายน 2559 http://www.educ-bkkthon.com/blog/apsornsiri 18 เมษายน 2559 https://www.google.co.th/search 2 พฤษภาคม 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559 www.si.mahidol.ac.th http://www.novabizz.com/NovaAce/Stress 8 เมษายน 2559

415 แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 6 บคุ ลิกภาพและการวางตัวเพื่อความเหมาะสม เวลาเรียน 6 ช่วั โมง จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม หลงั จากได้ศกึ ษาบทเรียนน้แี ลว้ นักศกึ ษาควรมีพฤติกรรม ดงั นี้ 1. อธิบายความหมายของบุคลิกภาพ, ความสําคัญของบุคลิกภาพ, องค์ประกอบของ บคุ ลกิ ภาพ, บุคลกิ ภาพกับความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล, การพัฒนาบุคลกิ ภาพได้ 2. อภปิ รายทฤษฎีบุคลกิ ภาพและการวางตวั เพอ่ื ความเหมาะสมได้ 3. ประเมินวิธีการประเมนิ และการวัดบคุ ลกิ ภาพ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาํ วันได้ เนือ้ หา 1. ความหมายของบุคลิกภาพ 2. ความสาํ คัญของบคุ ลกิ ภาพ 3. องค์ประกอบของบคุ ลิกภาพ 4. บุคลกิ ภาพกบั ความแตกต่างระหว่างบุคคล 5. ทฤษฎีบคุ ลกิ ภาพ 5.1 กล่มุ ทฤษฎกี ารเคลือ่ นไหวทางจติ 5.1.1 ทฤษฎีจติ วิเคราะหข์ องฟรอยด์ 5.1.2 ทฤษฎีจติ วเิ คราะห์ของคาร์ล จงุ 5.1.3 ทฤษฎจี ติ วิทยาของรายบคุ คลของอัลเฟรด แอดเลอร์ 5.2 กลุ่มทฤษฎีบุคลกิ ภาพแบ่งตามประเภท 5.2.1 ทฤษฎีจติ วิทยาของเชลดอน 5.2.2 ทฤษฎีจติ วิทยาของแฮนส์ ไอแซงค์ 5.2.3 ทฤษฎีจติ วิทยาของอลั พอรต์ 5.2.4 ทฤษฎลี กั ษณะเฉพาะของเรมอนด์ บี แคทแทลล์ 5.3 กลุ่มทฤษฎบี ุคลกิ ภาพเชิงมนษุ ยนยิ ม 5.3.1 ทฤษฎีบคุ ลกิ ภาพของคาร์ล โรเจอร์

416 5.4 กลมุ่ ทฤษฎกี ารเรียนรทู้ างสังคม 5.4.1 ทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพของมาสโลว์ 5.5 กลมุ่ ทฤษฎีการวเิ คราะห์การสือ่ สัมพนั ธ์ 5.5.1 ทฤษฎกี ารวเิ คราะหก์ ารสอ่ื สัมพันธข์ องเบริ์น 6. วธิ กี ารประเมินและการวัดบคุ ลกิ ภาพ 6.1 การประเมนิ บคุ ลกิ ภาพ 6.2 การวัดบคุ ลิกภาพ 7. การวางตัวเพ่อื ความเหมาะสม 7.1 การวางตัวที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชายในสงั คมไทย 7.2 วิธกี ารปฏิบตั ติ นของเพศหญงิ ในสังคมไทย 7.3 วธิ กี ารปฏิบตั ติ นของเพศชายในสังคมไทย 7.4 การวางตัวท่เี หมาะสมในสถานที่ตา่ งๆ กิจกรรมการเรยี นการสอน 1. นําเสนอคลปิ วิดโี อ บคุ ลิกภาพดแี ละไม่ดี 2. นกั ศึกษาแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ ภาพบุคลิกภาพดแี ละไม่ดี 3. บรรยาย สรุปเนอ้ื หาสาระสําคัญประกอบการนําเสนอด้วย Microsoft Power Point ในหัวข้อความหมายของบุคลกิ ภาพ, ความสาํ คัญของบคุ ลกิ ภาพ, บุคลกิ ภาพกับ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล, วธิ กี ารประเมินและการวัดบคุ ลกิ ภาพ, การวางตัวเพือ่ ความเหมาะสม 4. นกั ศึกษาแบง่ กล่มุ โดยใชก้ ระบวนการเรียนรโู้ ดยใชเ้ ทคนิค Jigsaw เพอื่ รว่ มกันศึกษา ใน หวั ข้อ ทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพ ตอ่ ไปนี้ กลุ่มทฤษฎีการเคลอ่ื นไหวทางจติ กลมุ่ ทฤษฎีบคุ ลกิ ภาพ แบง่ ตามประเภท กลุ่มทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพเชิงมนุษยนยิ ม กล่มุ ทฤษฎีการเรยี นรทู้ างสังคม กลมุ่ ทฤษฎีการวเิ คราะหก์ ารสอื่ สัมพันธ์ 5. นักศึกษาแตล่ ะกลุ่มนําเสนอหนา้ ช้นั เรยี น สนทนา-ซักถาม การแลกเปลยี่ นความคดิ เห็น ตอบคําถาม 6. ส่งงานท่มี อบหมายและทบทวนโดยคําถามทา้ ยบท

417 ส่ือการเรยี นการสอน 1. เอกสารคําสอน 2. หนงั สอื ตาํ ราที่เก่ยี วข้องจิตวทิ ยา 3. กิจกรรมกลมุ่ 4. Microsoft Power Point ที่จดั ทําในหวั ข้อตา่ งๆ 5. คําถามทา้ ยบท การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์ เครือ่ งมอื /วิธีการ การประเมินผล 1.อธบิ ายความหมายของบคุ ลกิ ภาพ, 1. ซักถาม แลกเปลย่ี น 1. นักศกึ ษาตอบคาํ ถาม ความสาํ คญั ของบคุ ลกิ ภาพ, สนทนาพูดคุย ตอบคาํ ถาม ถูกต้องไดร้ ้อยละ 80 องค์ประกอบของบคุ ลิกภาพ, 2. ปฏิบตั ิงานในการศึกษา 2. ศึกษาคน้ คว้างานอยู่ใน บุคลิกภาพกับความแตกต่างระหว่าง ค้นคว้า ระดบั ดี บคุ คล, การพฒั นาบคุ ลิกภาพได้ 3. การสงั เกตพฤตกิ รรม 3. สังเกตพฤติกรรมใน 2. อภปิ รายทฤษฎบี ุคลกิ ภาพและ การรว่ มกจิ กรรมการอภิปราย การเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ / การวางตัวเพอื่ ความเหมาะสมได้ รายกลมุ่ ความสนใจ/ความร่วมมอื อยู่ 3. ประเมินวธิ ีการประเมินและ 5. สังเกตการณ์นําเสนอหน้า ในระดับดี การวัดบคุ ลิกภาพ ประยุกตใ์ ช้ใน ชน้ั เรยี น 5. การนาํ เสนอหนา้ ช้นั เรยี น ชวี ติ ประจําวนั ได้ 6. การมอบหมายงานคําถาม อยู่ในระดับดี ท้ายบท 6. นกั ศกึ ษาทาํ คําถาม ท้ายบทถกู ตอ้ งร้อยละ 80

418

419 บทท่ี 6 บุคลิกภาพและการวางตวั เพอ่ื ความเหมาะสม ภาพท่ี 120 แสดงภาพบุคลกิ ภาพ (1) (ท่มี า https://www.google.co.th/search 16 เมษายน 2559) บุคลกิ ภาพ บุคลกิ ภาพเป็นลักษณะโดยรวมของบคุ คลท้ังรูปลักษณท์ างกาย อารมณ์ สงั คม สตปิ ญั ญา และพฤติกรรม ซ่งึ ทาํ ให้มลี กั ษณะแตกต่างกนั ในแตล่ ะบุคคล บคุ ลิกภาพบางอยา่ งก็ติดตวั มาแตก่ ําเนิด และบางอย่างกไ็ ด้รับผลจากการติดต่อสมั พันธก์ บั บุคคลอืน่ ในสภาพแวดลอ้ มหรอื ในสังคมท่ีใกล้ชดิ ซึ่ง แต่ละคนมีการพัฒนาและประสบการณ์ท่ีไม่เหมือนกัน บุคลิกภาพจึงมีลักษณะเป็นของเฉพาะตัว บุคลิกภาพของแต่ละบคุ คลอย่างน้อยจะแสดงออกให้ปรากฏ 3 ดา้ น คอื 1) แสดงบุคลกิ ภาพด้าน รูปรา่ งหนา้ ตาสผี มสผี ิว เพศอายแุ ละจากอิทธพิ ลของต่อมในรา่ งกาย 2) แสดงบุคลกิ ภาพในดา้ นจิตใจ สตปิ ญั ญา อารมณ์และความรู้สึก 3) แสดงทางด้านสงั คม อปุ นิสัยใจคอ ความนยิ มชมชอบ ระเบยี บ แบบแผนและประเพณี (http://management.aru.ac.th) ไมม่ บี คุ คลใดทม่ี คี วามเหมอื นกนั กบั อกี บุคคลหน่ึงทกุ ประการแมก้ ระท่งั ฝาแฝด คนทกุ คนมคี วามแตกต่างระหว่างบุคคลทงั้ สิ้น ทง้ั ในด้าน รูปร่างหนา้ ตา กริ ิยาท่าทาง อารมณ์ ความรสู้ ึก รวมถงึ พฤติกรรมการแสดงออก ซงึ่ บุคคลจะมแี บบ แผนของบุคลิกภาพในตนเอง แตอ่ าจมีความคลา้ ยคลงึ กันบา้ งในบางประการ ซงึ่ นั่นกเ็ ปน็ เรื่องทีด่ ีท่ที าํ ให้คนท่วั ไปสามารถแยกแยะความแตกต่างของบคุ คลแต่ละคนได้ บคุ ลกิ ภาพน้นั เป็นการสง่ั สมลักษณะ ตา่ งๆ ตลอดช่วงชวี ิตของมนุษย์ ดงั นนั้ บคุ ลกิ ภาพก็นา่ เกิดพรอ้ มๆ กับพฒั นาการของบุคคล คอื เมอ่ื บคุ คลมปี ฏิสมั พนั ธ์กับส่ิงเรา้ เกดิ ความพรอ้ มและเรยี นรู้ทจี่ ะแสดงพฤตกิ รรมตา่ งๆ ตามขน้ั ของพฒั นาการ

420 ได้ (พีรพล เทพประสทิ ธ์,2549 : 197) ผู้เขยี นขอกลา่ วถงึ เรือ่ งบุคลิกภาพ ได้แก่ ความหมายของ บุคลกิ ภาพ ความสําคัญของบุคลกิ ภาพ องคป์ ระกอบของบุคลิกภาพ บุคลกิ ภาพกับความแตกต่าง ระหว่างบุคคล การพัฒนาบุคลิกภาพ ทฤษฎีบุคลิกภาพ วิธีการประเมินและการวัดบุคลิกภาพและ การวางตัวเพ่ือความเหมาะสม มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้ 1. ความหมายของบุคลิกภาพ ความหมายของบุคลิกภาพ (Personality of meaning) คําว่า บคุ ลิกภาพ (พีรพล เทพประสิทธิ์,2549 : 197) ตรงกับภาษาองั กฤษวา่ Personality มรี ากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า Persona แปลว่า หน้ากาก ซ่ึงใช้ในการแสดงบทละครคลาสสิกของกรีก ใช้ในการแสดงละครเพ่ือ บวงสรวงเทพเจ้า ดังน้ัน หากบุคคลใดสวมหน้ากากเป็นตัวละครตัวใดแล้ว ก็จะแสดงลักษณะกิริยา อาการเป็นตัวละครนั้นๆ หากเปรียบกับวัฒนธรรมไทยแล้ว Persona ก็จะเปรียบได้หัวโขนท่ีใช้ สาํ หรบั ใส่เลน่ ละคร ศรีเรอื น แกว้ กงั วาล (2531 : 5) กลา่ ววา่ บคุ ลกิ ภาพ คอื ลกั ษณะเฉพาะตัวของบุคคล ในดา้ นตา่ งๆทงั้ ส่วนภายนอกและสว่ นภายใน สว่ นภายนอก คือสว่ นทมี่ องเหน็ ชดั เจน เช่น รูปร่าง หน้าตา กริ ยิ ามารยาท การแตง่ ตวั วธิ ีการพูด การนั่ง การยนื ฯลฯ ส่วนภายในคือ สว่ นทีม่ องเหน็ ได้ยาก แตอ่ าจทราบโดยอนุมาน เช่น สติปัญญา ความถนดั ลกั ษณะอารมณ์ประจําตัว ความใฝ่ฝัน ปรัชญา ชีวติ คา่ นยิ ม ความสนใจ ฯลฯ สุรางค์ โค้วตระกูล (2545 : 31) คลักฮอห์น (Kluckhohn) กล่าวว่า บุคลิกภาพของ มนุษย์ทั่วไป จะมีลักษณะร่วมที่เหมือนกันในฐานะเป็นมนุษย์และจะมีลักษณะส่วนหน่ึงคล้ายกับ ทุกคนในสังคมและวฒั นธรรมที่ตนเป็นสมาชิก แตข่ ณะเดียวกนั จะมคี ณุ สมบัตทิ ี่พเิ ศษ เป็นเอกลักษณ์ ไม่เหมือนใคร เช่น คนไทยคนใดคนหนึ่งท่ีเหมือนคนไทยโดยท่ัวไป แต่ทุกคนจะมีเอกลักษณ์ท่ีไม่ เหมอื นใครคอื เปน็ บคุ ลิกภาพพิเศษของตนโดยเฉพาะ ออลพอร์ต (Allport, 1955) บุคลิกภาพ ว่า เป็นการจัดรวบรวมเก่ียวกบั ระบบทางรา่ งกายและจิตใจ (Psychophysical Systems) ภายในตัวของ แตล่ ะบคุ คลจะมีการเปล่ยี นแปลงอยเู่ สมอ ยงั ผลใหแ้ ตล่ ะคนมีการปรบั ตวั ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มทีเ่ ปน็ เอกลักษณ์ ไม่ซํ้าแบบกบั คนอ่ืน ศรเี รือน แก้วกังวาล (2547 : 322) บคุ ลกิ ภาพ กล่าวว่า การผสมผสานระบบตา่ งๆ ภายในตัวบุคคล ทง้ั สว่ นทม่ี องเหน็ ไดช้ ดั เจน เช่น การแต่งกาย รปู ร่างหนา้ ตา ลกั ษณะการพดู ฯลฯ และระบบภายในซ่ึงเหน็ ได้ไมช่ ดั เจน เชน่ ลกั ษณะอารมณ์ จิตใต้สาํ นึก วิธีคิด ความรู้สึกและค่านิยม ฯลฯ ประสบการณ์ พันธุกรรม การเรียนรู้ ประสบการณ์วัยเด็ก ลักษณะสังคมวัฒนธรรม หลอม

421 บุคคลแตล่ ะคนให้มีบุคลกิ ภาพแตกตา่ งกนั ออกไป จนมลี ักษณะเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตน นอกจากนั้น ยังมลี กั ษณะองคร์ วมทเ่ี ปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะกลุ่มคนในสังคมวัฒนธรรมน้นั ๆ บคุ ลกิ ภาพมีสว่ นทีเ่ ป็นโครงสรา้ ง (Construct) ซ่งึ เป็นบคุ ลกิ ภาพของบคุ คลคน ใดคนหนึ่ง ส่วนนี้เปน็ ส่วนที่เราสามารถทาํ การสงั เกตและทําการสังเกตและทําการวัดไดท้ ้งั ทางตรง และทางออ้ ม เช่น ความเฉลยี วฉลาด ความถนดั นิสยั สว่ นลกึ ฯลฯ ส่วนโครงสรา้ งน้มี ีความแตกตา่ งไป ในแต่ละบุคคล บุคคลแต่ละคนมีบุคลิกลักษณะเฉพาะบางประการที่ค่อนข้างคงรูป เขาจะแสดง บุคลิกลักษณะด้านนนั้ ออกมาในสถานการณ์ตา่ งๆ กนั เช่น ความเพอ้ ฝนั ถอื ดี เหน็ แก่ตวั มกั ใหญ่ ใฝส่ ูง เปน็ ตน้ เม่ือเราร้จู ักแบบของบุคลกิ ภาพของบุคคล เราสามารถอธบิ ายเขา้ ใจและทํานาย พฤตกิ รรมของบุคคลในสถานการณ์ต่างๆได้ วธิ กี ารปรบั ตวั และวิถีชวี ิตของบุคคลจะเป็นเชน่ ไรขึน้ อยู่กับลกั ษณะเฉพาะตัวของ บุคลิกภาพของคนคนนั้น ในวงการจิตวิทยา การศึกษาบุคลิกภาพ คือ การศึกษาความคงท่ี (Consistency) ความซบั ซ้อน (Complexity) ความหลากหลายและความเปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของบุคคลและกลุ่มบุคคล การศกึ ษาบุคลกิ ภาพทั้งในศาสตร์จติ วิทยาและศาสตรอ์ ืน่ ๆ มปี ระวตั คิ วาม เป็นมายาวนาน เพราะความรู้เก่ียวกับบุคลิกภาพมีความสําคัญในวิถีชีวิตของบุคคลและสังคมใน มุมมองอนั หลากหลาย สาํ หรบั ในศาสตรจ์ ติ วิทยา การศึกษาบุคลิกภาพไดเ้ รม่ิ จรงิ จงั เม่อื ประมาณรอ้ ย กวา่ ปีมาน้ี เน่อื งเพราะความซบั ซอ้ นและความหลากหลายของบุคลิกภาพ ศรวี รรณ จันทรวงศ์ (2548 :129) บคุ ลกิ ภาพ คือ ลกั ษณะรวมของพฤติกรรมทงั้ ที่ เปิดเผยและซ่อนเร้นอยู่ในตัวบุคคล ซ่ึงจะเป็นเครื่องกําหนดแบบแผนของการมีปฏิสัมพันธ์กับ ส่งิ แวดลอ้ ม ทาํ ให้เกิดบคุ ลกิ ภาพขึ้นในแต่ละบคุ คลทมี่ ลี ักษณะท่ีแตกตา่ งกนั พรี พล เทพประสทิ ธิ์ (2549 : 197) บุคลิกภาพ คอื ลกั ษณะโดยส่วนรวมทงั้ หมดของ บุคคล ซง่ึ ประกอบไปด้วยลกั ษณะภายนอก เชน่ รปู ร่าง หนา้ ตา กริ ิยาทา่ ทาง เป็นต้น ซ่งึ ลักษณะ ทงั้ หลายเหลา่ นีเ้ ปน็ ตัวกาํ หนดรูปแบบของพฤตกิ รรมการแสดงออกจนกระทั่งกลายเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ซึ่งส่งผลให้บคุ คลนน้ั ๆ มคี วามแตกตา่ งจากบคุ คลอืน่ สรุปได้วา่ บคุ ลิกภาพ คือ ลกั ษณะของมนุษยท์ ่ีมกี ารจดั รวบรวมระบบทางรา่ งกายและ จิตใจท้ังส่วนภายนอกและภายใน เป็นของการมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมซึ่งอยู่กับแต่ละบุคคล มคี วามแตกตา่ งกนั

422 ภาพที่ 121 แสดงภาพบคุ ลกิ ภาพ (2) (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 16 เมษายน 2559) 2. ความสาํ คญั ของบุคลกิ ภาพ บคุ ลกิ ภาพมคี วามสําคญั ตอ่ การดาํ รงชีวิตของมนุษยใ์ นสังคม ดังจะพิจารณาไดจ้ าก ประเดน็ ตา่ งๆ ดงั ต่อไปนี้ (พีรพล เทพประสทิ ธ์ิ,2549 : 198-199) 2.1 เกดิ การยอมรับความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล บุคคลมคี วามแตกตา่ งจากบุคคลอ่ืน น้ัน จะตอ้ งอาศยั การสังเกตจากสิง่ ทมี่ องเห็นกอ่ น คอื พฤติกรรม โดยเฉพาะพฤตกิ รรมท่เี ป็นสง่ิ ทเี่ กดิ อยา่ งสม่ําเสมอในแต่ละบคุ คล เช่น ครรชติ ชอบเดินแกวง่ มือ ประภาชอบเดินหลังโกง เป็นต้น บุคลิกภาพช่วยให้คนเราสามารถจดจาํ และเข้าใจบุคคลแต่ละคนได้เป็นอย่างดี ตลอดจนทราบถึง วิธที ีจ่ ะปรับตัวใหเ้ ข้ากบั บคุ คลเหลา่ น้นั ได้ ทาํ ให้เกดิ ความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กนั 2.2 เกดิ ตระหนักในเอกลักษณข์ องบุคคล ความสาํ คญั ของบคุ ลิกภาพทาํ ใหบ้ ุคคลแต่ ละคนมลี ักษณะเฉพาะของตนเอง ซ่ึงบุคลิกภาพบางอย่างอาจเปน็ ต้นแบบให้กบั บุคคลอื่นๆ รอบขา้ ง ได้ เชน่ เด็กชายมักจะเลยี นแบบบุคลกิ ภาพของพ่อ หรือเดก็ หญิงมักจะเลยี นแบบบุคลกิ ภาพของแม่ เพ่ือการพฒั นาการทางเพศที่สมบูรณ์ เปน็ ตน้ 2.3 สามารถพยากรณ์พฤตกิ รรมได้ บคุ ลกิ ภาพของแตล่ ะบคุ คลทําให้บุคคลโดยทวั่ ไป มีความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับคนๆ น้ันได้ และทําใหส้ ามารถพยากรณ์ไดว้ ่าหากมสี ถานการณ์บางอย่างที่ เกดิ ขนึ้ กับเขา ก็น่าทจ่ี ะพบการตอบสนองจากบคุ คลนน้ั ๆ ในลกั ษณะใดมากทส่ี ุด เชน่ บางคนเมอ่ื โกรธ จะแสดงกิริยาก้าวรา้ ว ในขณะทบ่ี างคนเมือ่ โกรธอาจเงยี บขรึม เก็บตัว เปน็ ตน้

423 2.4 เกิดความมน่ั ใจในตัวเอง การท่ีบคุ ลิกภาพทีด่ ีนั้นจะสง่ ผลให้บุคคลเกดิ ความม่ันใจ ในการแสดงออก รวมถึงรแู้ นวทางของการปฏบิ ัติที่เหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ เชน่ บุคคลทม่ี ี บุคลกิ ภาพกายทด่ี ี เช่น เดินตัวตรง แต่งกายดี ก็ยอ่ มท่จี ะไดร้ ับความสนใจและความเชอื่ ม่ันจากบุคคล ท่ีพบเห็น ดังน้นั โอกาสของการท่ีจะประสบความสาํ เร็จก็มีมากขึน้ และผู้เปน็ เจา้ ของบคุ ลิกภาพกจ็ ะ เกิดความมน่ั ใจไดม้ ากขน้ึ ในการแสดงออก 2.5 สามารถปรับตัวให้เข้ากับผู้อ่ืนได้ บุคลิกภาพมีส่วนสาํ คัญในการช่วยให้บุคคล สามารถปรบั ตัวเข้ากับบุคคลและสถานการณ์ไดด้ ขี ึ้น รวดเรว็ ข้นึ เชน่ บุคคลที่มีบคุ ลกิ เออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผ่ก็ ย่อมจะเป็นที่ชื่นชอบต่อบุคคลทั่วไป การที่จะต้องปรับตัวเข้ากับบุคคลอ่ืนๆ ย่อมเกิดข้ึนได้ง่าย เน่ืองจากสถานการณ์เอื้ออาํ นวยต่อการเกิดความสัมพันธ์ที่ดี และอีกประการหน่ึงน้ัน การท่ีเรารู้ บุคลิกภาพของผู้อ่ืน กจ็ ะทาํ ให้เกิดการปรับตัวเขา้ กับบคุ คลนนั้ ๆ ไดง้ า่ ยขน้ึ 2.6 การยอมรับของกลุ่ม บุคคลที่มีบุคลิกภาพดีมักเป็นท่ียอมรับของบุคคลท่ัวไป โอกาสของการติดตอ่ สัมพนั ธ์กับบุคคลอนื่ กย็ อ่ มมีมากขนึ้ ทาํ ใหไ้ ด้รับความสะดวกในการปฏิบัติหน้าท่ี การงาน ตลอดจนทําให้เกดิ ความมน่ั คงทางจติ ใจ 2.7 บุคลิกภาพทําให้เกิดความสาํ เร็จ มีคําพูดท่ีมักจะได้ยินอยู่เสมอว่า บุคคลทีมี บคุ ลิกภาพดีมักจะได้เปรยี บคนอ่นื ๆ เสมอ เพราะการทมี่ บี คุ ลิกภาพดีน้นั จะทําให้ไดร้ ับความเช่ือม่ัน และศรัทธาจากผพู้ บเห็นเปน็ ทุนเดิมแล้ว ยงั จะสง่ ผลใหก้ ารประสานงานใดๆ ย่อมสําเรจ็ ได้ง่ายขึ้น และไดร้ ับความรว่ มมอื จากทกุ คนมากกว่าคนที่มบี ุคลิกภาพท่ไี ม่ดี 3. องค์ประกอบของบคุ ลกิ ภาพ องคป์ ระกอบของบคุ ลิกภาพ มดี งั นี้ (http://management.aru.ac.th/) 3.1 ลักษณะทางกาย ไดแ้ ก่ รูปรา่ ง หน้าตา สดั สว่ น ผวิ พรรณ สผี ม ความสูง นํา้ หนัก เปน็ ลกั ษณะ ประจาํ ตัวของบุคคล 3.2 ลักษณะทางใจ ได้แก่ ความคดิ ความจํา จินตนาการ ความสนใจ ความต้ังใจ การตัดสนิ ใจ สติปญั ญา เป็นเรื่องเก่ียวกับสมอง 3.3 อปุ นิสัย ได้แกค่ วามสุภาพอ่อนโยน ความซอื่ สตั ย์เชอ่ื ถอื ได้ ความเคารพสทิ ธิ สว่ นบคุ คลไม่เหน็ แกต่ ัว มีศลี ธรรมจรรยา ซ่งึ เปน็ กริ ิยาท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพของสังคม 3.4 อารมณ์ ไดแ้ ก่ ความรสู้ กึ แหง่ จติ ทก่ี อ่ ให้เกิดอาการตา่ งๆ เชน่ ต่นื เตน้ ตกใจ โกรธ กลา้ หาญ หวาดกลัว ร่าเรงิ หดหู่ หงดุ หงิด วิตกกังวล ฯลฯ 3.5 การสมาคม คอื กิรยิ าท่าทอี าการท่ีบุคคลแสดงต่อผู้อน่ื เช่น เปน็ คนชอบคบหา สมาคมกับผู้อนื่ หรอื เปน็ คนเกบ็ ตวั เหน็ ใจผู้อนื่ ไม่แยแสผอู้ น่ื ฯลฯ

424 ภาพที่ 122 แสดงภาพบุคลกิ ภาพกบั ความแตกต่างระหว่างบุคคล (ท่มี า https://www.google.co.th/search 16 เมษายน 2559) 4. บคุ ลิกภาพกับความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล หากจะเปรยี บเทยี บคนในแตล่ ะคนแลว้ จะเหน็ ได้วา่ แตล่ ะคนว่าก็มีอวัยวะท่เี หมือนกนั ทุกประการ (พรี พล เทพประสิทธ,์ิ 2549 : 199-200) แต่หากพจิ ารณาใหล้ กึ ซ้ึงแลว้ จะพบวา่ คนเราจะ มีความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล (Individual Difference) อยเู่ ปน็ อนั มาก เชน่ ระดับทางสตปิ ัญญา รูปรา่ งหน้าตา สผี ม สผี ิว เปน็ ตน้ ไม่มมี นษุ ยค์ ใู่ ดๆ เหมือนกันได้หมดทกุ ทาง ลกู ก็ไม่เหมอื นกับพ่อแม่ แม้กระทัง่ ฝาแฝดที่เกิดมาจากไข่ใบเดียวกนั (Identical Twins) กม็ ีความแตกตา่ งกนั จากความหมายของบคุ ลกิ ภาพ จะเห็นได้ว่า บุคลกิ ภาพเป็นลักษณะเฉพาะของแตล่ ะ บุคคลทม่ี ีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ซง่ึ มีความแตกตา่ งกันไป และสาเหตทุ ที่ ําให้บุคลิกภาพของแตล่ ะคน แตกต่างกนั น้ัน เนอ่ื งมาจากปัจจัยสําคัญ 2 ประการ ได้แก่ พันธุกรรม (Heredity) และส่งิ แวดล้อม (Enviroment) 4.1 อทิ ธิพลของพนั ธกุ รรมท่ีมีบุคลกิ ภาพของบคุ คล ส่วนใหญแ่ ลว้ จะพบวา่ บุคลกิ ภาพ ในส่วนของลกั ษณะภายนอกทง้ั หลาย เช่น รูปร่างหนา้ ตา สีผม สผี วิ ลกั ษณะทางเพศ ความสูงตํ่า รวมทง้ั โรคภยั ไข้เจบ็ บางประการก็ไดร้ ับอิทธพิ ลจากพนั ธกุ รรมเช่นกนั เชน่ ตาบอดสี เบาหวาน ฮโี มฟเี ลยี นอกจากนบี้ คุ ลกิ ภาพภายในบางสว่ นนั้นกเ็ ช่อื วา่ ไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจากพันธกุ รรมดว้ ย เชน่ ระดับ สตปิ ัญญา เป็นต้น

425 4.2 อิทธพิ ลของสงิ่ แวดลอ้ มทีม่ ตี ่อบคุ ลกิ ภาพของบคุ คล สาํ หรับสงิ่ แวดล้อมถือว่าเป็น ปจั จยั ทสี่ าํ คญั อีกประการหนึง่ ในการกาํ หนดบคุ ลกิ ภาพมากกวา่ พันธกุ รรม โดยเฉพาะสงิ่ แวดลอ้ มทาง สงั คมซ่ึงประกอบดว้ ย ครอบครวั สถานศึกษา ศาสนา สอื่ มวลชน รวมไปถงึ สังคมทกุ ระดบั ทบี่ คุ คลได้ มีโอกาสปฏสิ ัมพันธ์ (Interaction) หรือเก่ียวข้องดว้ ย โดยสง่ิ แวดล้อมเหล่าน้จี ะใหป้ ระสบการณต์ า่ งๆ แก่บคุ คลสง่ั สมขึ้นเป็นบุคลกิ ภาพเฉพาะบุคคลน้ันซ่งึ ประสบการณ์ดังกลา่ วเปน็ 2 ประเภท คอื 4.2.1 ประสบการณร์ ว่ ม (Experiences Common to Culture) หมายถึง ประสบการณท์ ี่สมาชิกในสังคมเดียวกนั จะไดร้ ับในรปู แบบท่ีคล้ายคลงึ กนั เชน่ วฒั นธรรม ความเช่อื ทัศนคติ วถิ ีชีวติ ขนบธรรมเนียบประเพณี สง่ิ ต่างๆ เหลา่ น้ีจะถกู ถา่ ยทอดในลักษณะของมรดกทาง สงั คมจากรุ่นหนง่ึ ไปสอู่ ีกรนุ่ หน่งึ รียกวา่ อิทธิพลทางวฒั นธรรม การทีบ่ คุ คลในสงั คมมปี ระสบการณ์ร่วมแบบเดยี วกันกไ็ ม่จําเปน็ ว่า บุคลกิ ภาพในรายละเอียดของแตล่ ะคนจะต้องมีความเหมือนกันเสมอไป เชน่ คนท่มี าจากสงั คมไทยไม่ จําเปน็ ต้องมีบุคลกิ ภาพย้ิมง่าย ออ่ นโยน รกั สนกุ และชอบช่วยเหลอื ผู้อนื่ เช่นนี้ทกุ คน ความแตกตา่ งใน รายละเอียดเกิดเนอ่ื งมาจากสาเหตุ 2 ประการ ได้แก่ 4.2.1.1 วัฒนธรรมที่แต่ละบุคคลได้รับการถ่ายทอดนั้น แม้ว่าจะเป็น วัฒนธรรมเดียวกันแต่หากผู้ถ่ายทอดมีลักษณะท่ีแตกต่างกัน ก็จะส่งผลให้เกิดบุคลิกภาพท่ีไม่ เหมือนกันได้ 4.2.1.2 บคุ คลในแตล่ ะคนจะไดร้ บั ประสบการณ์เฉพาะดา้ นบางประการ ซง่ึ มีความแตกตา่ งกนั 4.2.2 ประสบการณเ์ ฉพาะ (Individual Experience) บคุ คลจะมคี วามแตกต่าง กนั ทางพันธกุ รรมแลว้ แต่ละบุคคลยงั ต้องผา่ นกระบวนการอบรมส่งั สอนจากสถานบนั ครอบครัวและ บุคคลอื่นๆ ในสงั คม ซงึ่ บคุ คลเหลา่ นจ้ี ะเป็นผูถ้ ่ายทอดแนวทางในการปฏบิ ตั ติ นให้เปน็ ท่ตี ้องการและ ไดร้ ับการยอมรับจากคนสว่ นใหญใ่ นสงั คม แต่ในความเป็นจรงิ กลบั พบวา่ บคุ คลทางสงั คมท่ที ําหนา้ ท่ี ในการให้ประสบการณเ์ ฉพาะนน้ั ไมส่ ามารถทําหน้าทีข่ องตนใหบ้ รรลุความสําเรจ็ เสมอไป เชน่ พ่อแม่ ของแตล่ ะครอบครวั จะมีวิธกี ารอบรมเล้ียงดูบตุ รหลานของตนไมเ่ หมือนกนั ซ่งึ กจ็ ะสง่ ผลให้บตุ รหลาน ของตนเกิดการสร้างบุคลิกภาพที่แตกต่างกันไปด้วย และในบางครั้งบุคคลที่ทาํ หน้าท่ีถ่ายทอด ประสบการณ์เฉพาะเหล่านี้ อาจมบี ุคลกิ ภาพทข่ี ดั แยง้ กบั สิ่งทตี่ นอบรมสงั่ สอน เชน่ สอนไม่ให้สบู บหุ ร่ี แตผ่ ู้สอนกลับสบู เสยี เอง

426 จะเห็นได้ว่า บุคลิกภาพท่ีแตกต่างของแต่ละคนจะเป็นผลมาจาก การได้รับประสบการณ์เฉพาะจากท่ที ําหน้าทถี่ ่ายทอดประสบการณใ์ นสงั คมท่แี ตกต่างกัน ปัจจยั อื่นๆ ทบ่ี ุคคลแต่ละคนประสบจะยังมสี ว่ นเกย่ี วข้องต่อการกาํ หนดรปู แบบบคุ ลิกภาพของแต่ละบุคคลนัน้ อกี ดว้ ย เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจท่ีแตกต่างกันของแต่ละครอบครัว บรรยากาศและสัมพันธภาพ ภายในครอบครวั รวมถงึ สุขภาพร่างกายของแตล่ ะบคุ คล เปน็ ต้น 5. ทฤษฎีบุคลิกภาพ ผู้เขียนขอกลา่ วถึงเรอื่ งทฤษฎบี ุคลกิ ภาพ (Personality Theory) ไดแ้ ก่ ทฤษฎจี ติ วเิ คราะหข์ องฟรอยด์ (Sigmund Freud) ทฤษฎีบุคลกิ ภาพของคาร์ล จงุ (Carl Jung) ทฤษฎีจติ วทิ ยา รายบุคคลของอลั เฟรด แอดเลอร์ (Alfed Adler) ทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพของวลิ เลยี ม เชลดอน (William H. Sheldon) ทฤษฎีบุคลกิ ภาพของแฮนส์ ไอแซงค์ (Hans Eysenck) ทฤษฎอี ปุ นสิ ยั ของอัลพอร์ต (Allport) ทฤษฎลี ักษณเฉพาะของเรมอนด์ บี แคทเทลส์ (Raymond B. Catteell) ทฤษฎบี ุคลกิ ภาพ ของคารล์ โรเจอร์ (Carl Roger) ทฤษฎบี ุคลกิ ภาพของอบั บาฮมั มาสโลว์ (Abraham Maslow) ทฤษฎีการวิเคราะหก์ ารสื่อสัมพันธ์ของเบร์ิน (Berne) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 5.1 กลมุ่ ทฤษฎกี ารเคลอ่ื นไหวทางจิต (Psychodynamic Theories) 5.1.1 ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ของฟรอยด์ 5.1.1.1 โครงสร้างบุคลิกภาพตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ (Freud) มีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี โครงสรา้ งบุคลกิ ภาพตามทฤษฎจี ิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ (Freud) มี 3 ลักษณะคือ Id Ego Superego ซ่ึงเป็นกระบวนการทางจิตและเป็นพลังผลักดันให้ บุคคลมีพฤตกิ รรมต่างๆ จนหลอมเป็นบคุ ลกิ ลกั ษณะของบุคคล พลงั ทง้ั 3 น้ี ทํางานสัมพนั ธ์กนั ไมแ่ ยก จากกันโดยเด็ดขาดบุคลกิ ภาพของใครจะเปน็ เชน่ ไร เปน็ ผลจากการปะทะสังสรรค์ของพลงั ทัง้ 3 นี้ (ศรีเรือน แก้วกงั วาล,2547 : 323)

427 Id : Seeking Pleasure Ego : Function in the World Superego : Playing by the Rules ภาพท่ี 123 แสดงภาพ Id Ego Superego (ทมี่ า จากภาพ Plotnik 1993, หนา้ 438 อา้ งในศรเี รอื น แกว้ กงั วาล,2547 : 323) ฮอล ไลนเ์ ซ (Hall and Lindzey, 1978) (ศรีเรือน แกว้ กังวาล,2547 : 326-327) กลา่ วว่า ฟรอยด์ (Freud) เปน็ นักทฤษฎบี ุคลิกภาพคนแรกอธบิ ายข้นั ตอนการพฒั นาบุคลิกภาพของ มนษุ ย์ เขายา้ํ ว่า ลกั ษณะพฒั นาการและประสบการณ์ในวัยทารกและวัยเดก็ เปน็ รากฐานบคุ ลิกภาพ ของมนษุ ย์เม่ือเป็นผใู้ หญ่ การพัฒนาการวยั เด็กจากผ้ใู หญท่ ่ปี ระสบปญั หาทางอารมณ์และจิตใจเป็น เวลานาน โดยสบื สาวหาต้นเง่ือนของปัญหาต่างๆท่เี กดิ ขึ้นต้ังแตย่ ังเป็นเดก็ ฟรอยด์ (Freud) เชื่อว่า ความตอ้ งการทางร่างกายเป็นความตอ้ งการตามธรรมชาติของคน ซงึ่ มที ดั เทียมกบั สตั วป์ ระเภทอน่ื ๆ ความต้องการนเ้ี ปน็ พลังชวี ิต ทาํ ใหค้ นแสวงหาความสุขความพอใจจากส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย (zone) ทแ่ี ตกตา่ งไปตามวัย พฒั นาไปเปน็ ขนั้ ตอนตามลาํ ดบั เร่ิมตน้ จากแรกเกดิ จนส้นิ สุดในวยั รนุ่ พัฒนาการ นี้เรียกวา่ “Psychosexual Development stage” บุคคลใดพัฒนาไปตามขั้นตอนดังกล่าวด้วยดี กจ็ ะ ทาํ ใหบ้ คุ คลผนู้ น้ั มพี ฒั นาการทางบุคลกิ ภาพที่สมบรู ณ์ หากไมเ่ ปน็ ไปกจ็ ะเกดิ สภาวะ “ติดขอ้ งอยู”่ (Fixation) อาจเป็นการตดิ ขอ้ งอยใู่ นข้นั ใดขน้ั หนึ่งหรอื หลายข้ันกไ็ ด้ ผใู้ ดตดิ ขอ้ งอยู่ในวยั ใดข้นั ใดกจ็ ะ

428 ยงั คงแสวงหาความพอใจ ในขั้นท่ตี ิดขอ้ งอยตู่ ่อไปแมว้ ่าจะผา่ นวยั นน้ั ๆทเ่ี ปน็ ไปตามข้นั ตอนแล้ว สภาพ “ติดขอ้ งอย”ู่ มีผลตอ่ พฒั นาการด้านบุคลกิ ภาพในแง่ลบ แตบ่ ุคคลสามารถเปล่ียนพลงั น้ีให้เป็นบวกได้ หากเขารู้จักปรับตวั 5.1.1.2 ขน้ั ตอนการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ ข้ันตอนการพฒั นาบุคลกิ ภาพ ฟรอยด์ (Freud) ไดอ้ ธบิ ายถึง ข้ันตอนการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ 5 ข้ันดังตอ่ ไปน้ี (ศรีเรอื น แก้วกังวาล,2547 : 326-327) (1) ขน้ั แสวงหาความสุขจากอวัยวะปาก (Oral stage) ชว่ งน้ี อายุโดยประมาณต้ังแต่คลอดจนถงึ 18 เดอื น ทารกมีความสุขในชวี ิตโดยทาํ กจิ กรรมต่างๆ ด้วยปาก เช่น การดูด เค้ยี ว กัดเลน่ ด้วยเสียง ผู้ทม่ี ีพฒั นาการข้นั นไ้ี ม่สมบรู ณใ์ นชว่ งวยั น้ี เม่ือโตเปน็ ผู้ใหญก่ ็ ยังคงชอบแสวงหาความสขุ ด้วยปาก เชน่ ชอบกินจุบจิบ ชอบพดู คุย ชอบเค้ยี วหมากฝรง่ั ชอบนินทา ชอบสบู บหุ รี่ ฯลฯ (2) ข้ันแสวงหาความสขุ จากอวัยวะทวารหนกั (Anal stage) ช่วงนี้อายุโดยประมาณตั้งแต่ 18 เดือน ถึง 3 ปี เป็นช่วงที่ทารกหาความสุขโดยทํากิจกรรมที่ใช้ ทวารหนัก หากชว่ งเวลานีม้ ีพัฒนาการไม่สมบูรณ์ ทารกนน้ั จะโตเปน็ ผใู้ หญท่ ี่มบี ุคลิกภาพเปน็ คนเจ้า ระเบียบ จจู้ ้พี ถิ พี ิถนั รกั ความสะอาดอยา่ งมาก (3) ข้นั แสวงหาความสขุ จากอวัยวะเพศปฐมภมู ิ (Phallic stage) ช่วงนอี้ ายุโดยประมาณตั้งแต่ 3 ปถี งึ 6 ปี เด็กมคี วามพงึ ใจทาํ กจิ กรรมทเ่ี นื่องดว้ ยอวยั วะเพศ เชน่ เล่น กับอวยั วะเพศของตน กจิ กรรมนอี้ าจทําใหพ้ ่อแม่ตกใจ ควรทําความเขา้ ใจวา่ เปน็ การเลน่ ขน้ั หนงึ่ ใน การพฒั นาการตามธรรมชาติ เม่อื อายุผ่านพน้ ไปแลว้ เดก็ กเ็ ลกิ เลน่ การเลน่ อวยั วะเพศมผี ลตอ่ พฒั นาการ ดา้ นอนื่ ได้แก่ การสาํ นึกรถู้ งึ เพศตนว่าตนเปน็ หญงิ หรือชาย ต่อไปกเ็ ลียนแบบบทบาททางเพศ คอื เด็กเลียนแบบผใู้ หญ่เดียวกบั ตน ซ่งึ ตนรสู้ กึ รัก ใกล้ชิดสนทิ สนม ถ้าพอ่ แม่เป็นตวั แบบของเดก็ จะเป็น ยุคเด็กชาย “ตดิ แม่” และ “เอาอย่างพอ่ ” เปน็ พิเศษ ส่วนเดก็ ผู้หญิง “ติดพอ่ ” และ “เอาอย่างแม”่ เป็นพิเศษเช่นเดียวกัน ช่วงเวลาน้ีฟรอยด์ (Freud) เช่ือว่า เป็นช่วงเวลาวิกฤติ (Critcal period) สําหรับเลยี นบทบาททางเพศให้คล้อยตามเพศของตนเอง เด็กหญงิ เดก็ ชายท่ีละเลยการเลียนแบบให้ ถกู แนวในระยะเวลานี้ จะโตเป็นหญงิ สาวชายหนุม่ ทมี่ บี ทบาททางเพศตรงกนั ข้ามกับเพศทางกายจริง ของตน ฟรอยด์ (Freud) เชื่อว่า การรู้จักผูกรักกับเพศตรงข้ามมีต้นกาํ เนิดในช่วงเวลานี้เช่นกัน พร้อมๆกับการเลียนบทบาททางเพศ เด็กเริ่มพัฒนาความก้าวร้าว อยากเป็นตัวของตัวเองและ เริ่มแสวงหาอัตลักษณ์แหง่ ตน (Self identity)

429 (4) ข้ันแสวงหาความสุขจากส่ิงแวดล้อมรอบตัว (Latency stage) ชว่ งนี้อยรู่ ะหวา่ งอายุประมาณ 6 ถงึ 11 ปี เป็นระยะทพ่ี ัฒนาการส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย เปน็ ไปอยา่ งเชื่องชา้ เมอ่ื เทียบกบั ช่วงเวลาท่ผี า่ นมา เด็กเร่มิ พัฒนาชีวิตสงั คมนอกครอบครัว ดงั น้ัน แสวงหาความพงึ พอใจ จากการติดตอ่ กบั ผู้คนรอบตวั และเพอ่ื รว่ มวยั เพอ่ื นสนทิ มกั เปน็ เพศเดียวกัน มากกว่าตา่ งเพศ ท้ังน้ีเป็นการสืบเนื่องจาการเลียนแบบและเรียนบทบาททางเพศต่อจากข้นั ที่ 3 (5) ขั้นแสวงหาความสุขจากกระตุ้นของทุติยภูมิทางเพศ (Gential stage) เด็กอายปุ ระมาณ 12 ถึง 20 ปีย่างเข้าส่วู ยั รนุ่ และเรมิ่ เปน็ ผ้ใู หญ่ ลกั ษณะทุตยิ ภูมิ ทางเพศบรรลุวฒุ ิภาวะสมบรู ณท์ ํางานได้เต็มท่ี (เชน่ เดก็ หญิงมรี ะดู หนา้ อกขยาย รังไข่ผลติ ไขเ่ พอื่ สบี พนั ธ์ุ เดก็ ชายถงึ ณะเดียวกันก็พยายามประพฤติตนใหส้ มบทบาททางเพศ โดยเลยี นแบบบคุ คลเพศ เดยี วกับท่ตี ัวนิยม ระยะนม้ี กั เหน็ ชัดเจนวา่ เดก็ คนใดแสดงบทบาททางเพศผดิ ปกติ ไดแ้ ก่ ผู้นิยมแสดง บทบาททางเพศตรงข้ามเพศจรงิ ของตน และไมม่ ีเยือ่ ใยตอ้ งใจบคุ คลตา่ งเพศ) 5.1.2 ทฤษฎวี เิ คราะห์ของคาร์ล จุง คารล์ จุง (Carl Jung) เป็นจิตแพทยช์ าวสวิส จงุ (CJung) เชื่อวา่ มนษุ ย์ ไมจ่ าํ เป็นตอ้ งถูกลขิ ิตดว้ ยประสบการณ์ มนษุ ยส์ ามารถกาํ หนดโชคชะตาอนาคตของตนได้ บุคลิกภาพ บางส่วนของมนษุ ย์เป็นผลสบื เน่อื งมาจากวิวัฒนาการของมนุษย์จากช่วั อายุหน่ึงไปยงั อกี ชวั่ อายหุ นง่ึ ภาพที่ 124 แสดงภาพคารล์ จงุ (Carl Jung) (ที่มา https://www.google.co.th/search 16 กนั ยายน 2559)

430 แนวคดิ ท่สี าํ คญั คือ องคป์ ระกอบของจติ (Structural Components of Psyche) มี 3 ระบบ มีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Personality/Theory_Carl_Jung.htm 30 มีนาคม 2555) 5.1.2.1 โครงสร้างทางบุคลกิ ภาพ โครงสร้างทางบุคลิกภาพ (Structure of Personality) ประกอบดว้ ยปัจจยั ต่างๆ สาํ คญั ไดแ้ ก่ ตวั ตน (Ego) ประสบการณไ์ รส้ าํ นึก (Personal Unconscious) จิตไร้สาํ นกึ ทีส่ ะสมมาแตอ่ ดตี กาล (Collective Unconscious) หนา้ กาก (Persona) ลกั ษณะของ หญิงทมี่ ีอยู่ในชาย (Anima) และเงา (Shadow) ภาพท่ี 125 แสดงภาพโครงสร้างทางบุคลกิ ภาพ (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) (1) ตัวตน ตวั ตน (Ego) เป็นการรบั รู้ในตนเองมีการระลึกรู้เป็น จิตสาํ นึก (Conscious Mind) ประกอบด้วยการรู้สาํ นกึ ในการรบั รู้สิง่ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ความเขา้ ใจความจํา และระลึกรใู้ นการแสดงพฤติกรรมตลอดจนความรู้สกึ ทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์ และบทบาทของตนเองซึ่งถอื ว่า Ego เป็นศนู ยก์ ลางของความรสู้ ํานกึ ทาํ ให้เกิดบคุ ลกิ ภาพและปม (Complex) ทีห่ มายถงึ การรวบรวม ความคิดตา่ งๆ เข้ามาเปน็ เอกลกั ษณ์ ซึง่ เกดิ จากความรสู้ กึ ท่วั ๆ ไป Ego ถือวา่ เป็นสว่ นหน่งึ ของจิต (Psyche) ทีท่ าํ ให้บคุ คลรบั รพู้ ฤติกรรมของตน

431 (2) จิตไรส้ ํานึกของบคุ คล จิตไรส้ าํ นึกของบคุ คล (Personal Unconscious) เป็นส่วนที่ติดอยู่กบั Ego ที่ประกอบด้วยประสบการณ์ซึง่ คร้งั หน่ึงยังอยูใ่ นจติ สาํ นกึ (Conscious) แต่ บุคคลพยายามเกบ็ กดไว้ (Represses) การสะกดไว้จนลืม (Forgotten) หรอื การเพกิ เฉยไมร่ บั รู้ (Ignored) จากเหตผุ ลบางประการ เชน่ เปน็ ประสบการณ์บางเรื่องทไี่ ม่เป็นทพี่ งึ พอใจ เมือ่ เวลาผ่าน ไปจะทาํ ให้กําลังอ่อนลง ในระยะแรกจะทําให้เกิดการรับรู้อยู่ในระดับจิตสํานึก ลักษณะของ ประสบการณส์ ามารถจะนาํ ขนึ้ มารบั รไู้ ดอ้ กี เมื่อมสี งิ่ เร้าทเี่ หมาะสมมากระต้นุ และเรื่องปม (Complex) หมายถึง การรวบรวมความคิดให้เป็นเอกลักษณ์หรือเป็นกลุ่มของการจัดระบบทางความคิด การ รับรู้ ความจํา การคิดตา่ งๆ ทม่ี ีอย่ใู นระดบั จิตไรส้ าํ นกึ เป็นศนู ย์กลางซง่ึ มีการกระทําเสมอื นแมเ่ หลก็ ที่ คอยดึงดูดกล่มุ ประสบการณ์ต่างๆ เช่น ปมเกีย่ วกับแม่ (Mother Complex) จะประกอบด้วย ประสบการณ์ในอดีตของเช้ือชาติทต่ี นอยู่และเผ่าพนั ธุ์ที่มกี บั แมก่ บั อกี สว่ นหนึ่งมาจากประสบการณ์ ของเดก็ กับแม่ความรู้สึกต่างๆ ความทรงจาํ ฯลฯท่เี กยี่ วขอ้ งจากความสมั พันธ์กับแม่ ทําให้บุคคลเกิด ความรู้สึกนึกคิดท่ีมีแม่เป็นศูนย์กลาง เป็นปมเก่ียวกับแม่ว่ามีความย่ิงใหญ่และมีความสาํ คญั มี ความเข้มแขง็ และมีความออ่ นโยน ภาพของแมจ่ ะถูกระลกึ ในจติ ใจและมีความหมายอย่างสูงตอ่ บุคคล โดยไมร่ ู้ตวั แต่กส็ ามารถเปลย่ี นเปน็ จิตสาํ นึกได้ในเวลา และสถานการณท์ เี่ หมาะสม (3) จิตไร้สํานกึ ท่สี ะสมมาแต่อดีตกาล จิตไร้สาํ นึกท่ีสะสมมาแต่อดีตกาล (Collective Unconscious) เปน็ เสมือนท่ีรวบรวมและสะสมความทรงจาํ ทซ่ี ่อนอยภู่ ายในและตดิ ตามสบื ตอ่ ตลอด จนตกทอดเป็นมรดกจากบรรพบุรุษในอดีตก่อนกําเนิด เป็นพลังจิตส่วนท่ีเหลือหรือตกค้างมาจาก พฒั นาการ และววิ ัฒนาการของมนุษย์ทเ่ี กดิ จากประสบการณต์ ่างๆ ท่เี กดิ ขึ้นซ้ําๆ กัน จากคนรุ่นหน่งึ ไปสู่คนอีกรนุ่ หน่งึ มนุษยจ์ ะสบื ทอดประสบการณใ์ นอดีตของคนรนุ่ ก่อนๆ มาเปน็ แนวโนม้ ท่ีทําให้เกดิ กาํ หนดพฤติกรรม จงุ (Jung) เชือ่ ว่า Collective Unconscious เป็นรากฐานของโครงสรา้ งทาง บคุ ลกิ ภาพ ทกี่ อ่ รูปร่างให้กับมนุษย์อย่างเรียบร้อยแลว้ ตง้ั แต่กําเนดิ ซึง่ เป็นเสมือนภาพที่ตดิ ตวั โดยมี สง่ิ ที่เรียกว่า รปู หรือ แม่พมิ พ์ หรอื แมแ่ บบ (Archetype) จะเป็นสว่ นประกอบของ Collective Unconscious ซึ่งมีช่ือเรียกต่างๆ กันไป ได้แก่ สิ่งที่จะมีอิทธิพลต่อสิ่งต่างๆ (Dominant) ภาพใน เทพนิยาย (Mythological Images) หรอื รปู แบบในการแสดงพฤตกิ รรม (Behavior Pattern) โดยที่ Archetype จะเปน็ ความคิดทก่ี ว้างขวางของมนุษย์ ซง่ึ ได้กอ่ ตวั ขึ้นเป็นจินตนาการหรือรปู ภาพตา่ งๆ (Image or Visions) โดยรปู ภาพเหลา่ น้จี ะสอดคล้องกับความสาํ นกึ และการรบั ร้ตู ามปกติ ในชีวติ ซึง่ อยู่ในสถานการณ์ทรี่ ู้ตัว เช่น ภาพแม่ (Mother Archetype) ที่บุคคลสร้างขึ้นเป็นภาพ จะเป็น เอกลักษณ์ของแม่ตามความเป็นจริงกับความคิดที่ก่อตัว ซ่ึงเกิดจากการสร้างความสัมพันธ์ และ ประสบการณ์ของทารกกับแม่ ท่ีทําให้เกิดภาพแม่ (Mother Archetype) ท่ีเป็นผลผลิตของ

432 ประสบการณจ์ ากเชอื้ ชาตแิ ละเผ่าพนั ธใ์ุ นอดีตกบั ประสบการณ์โลกปัจจุบัน ซึ่งเปน็ เช่นเดียวกันมาหลาย ชวั่ อายุคนมาอยู่ในความทรงจาํ และการระลกึ ไว้ ด้วยความสวยงาม ด้วยความดี ในภาพรวมของแม่ (Mother Archetype) วา่ แมเ่ ป็นพระพรหมของลกู ภาพที่ 126 แสดงภาพหนา้ กาก (Persona) (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) (4) หน้ากาก หนา้ กาก (Persona) เปน็ สิ่งทตี่ ัวละครใชส้ วมไว้ เพือ่ แสดงบทบาทต่างๆ ในการแสดงหนา้ กากยังแสดงปฏกิ ิรยิ าหรอื ตอบโตก้ บั ขอ้ เรยี กรอ้ งทางสังคมและ ขนบธรรมเนยี มประเพณีเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของ Archetype ภายในตนเอง และเพื่อให้ สอดคล้องกบั ความคาดหวังของสังคมที่ตอ้ งการทาํ ใหบ้ คุ คลแสดงพฤติกรรมตา่ งๆ หนา้ กากจงึ มลี ักษณะ ของการประนปี ระนอมระหวา่ งความตอ้ งการตา่ งๆ ของส่งิ แวดล้อมกับรากฐานความเป็นจรงิ ท่ีอยู่ภายใน แต่ละบุคคลและแสดงบทบาทหลายๆอย่าง ในชีวิตประจําวันที่จะช่วยควบคุมพลังรนุ แรง เปน็ ต้น ส่วนตอนแรกๆของอปุ นิสัยต่างๆ ท่มี อี ยใู่ น Collective Unconscious และมีจดุ มงุ่ หมายเพอื่ ใหเ้ กดิ ความประทับใจกบั คนอ่ืนๆ ซ่งึ เปน็ เสมือนบคุ ลกิ ภาพสาธารณะ (Public Personality) ซง่ึ เปน็ พฤตกิ รรมตา่ งๆ ท่ีบุคคลแสดง โดยใชค้ วามเห็นของสาธารณชน ซึง่ ตรงกันขา้ มกับบคุ ลกิ ภาพสว่ นตัว (Private Personality) แตใ่ นเวลาเดยี วกัน หน้ากากก็มสี ว่ นเสยี เพราะทําให้บุคคลเรยี นรู้ท่จี ะปดิ บงั ตัวตนที่แทจ้ รงิ ไว้ นอกจากน้ี ยงั ทําใหบ้ ุคคลปิดบงั ศกั ยภาพหรอื พลังความสามารถต่างๆ ทอี่ าจทําให้ บคุ คลสญู เสีย ความเปน็ ตัวของตวั เองไป ในประเด็นดงั กล่าว หากเราสงั เกตจากตัวเราเอง จะพบวา่ เมอื่ ไรกต็ ามที่เราสวมหนา้ กาก หรือแสดงพฤติกรรมตามบทบาทของสงั คมที่กําหนดไว้มากๆ เราอาจทํา ให้รสู้ ึกอดึ อดั และขาดความเปน็ ตวั ของตัวเอง ไม่สามารถพดู ทาํ หรือ แสดงออกตามตัวตนทีเ่ ปน็ จรงิ

433 ของเรา ซง่ึ ส่ิงเหล่านี้ จะเปน็ การสกัดก้ันความสามารถต่างๆ ที่มอี ย่ใู นตนเอง และเปน็ ผลเสยี ตอ่ การ พฒั นาบคุ ลกิ ภาพในทสี่ ุด (5) ลกั ษณะของหญงิ ท่ีมอี ยใู่ นชายและลักษณะของชายที่มี อยูใ่ นหญงิ ลกั ษณะของหญิงทม่ี อี ยใู่ นชาย (Anima) และลกั ษณะ ของชายที่มีอยู่ในหญิง (Animus) หรืออาจเรียกว่าลักษณะเพศแฝงเร้น ซ่ึงเป็นการอธิบายถึง ลักษณะความเป็นหญิงในบคุ ลิกภาพของผู้ชาย เชน่ ความออ่ นโยน ความน่ิมนวล เปน็ ต้น ลักษณะความ เป็นหญิงท่ีมกั แฝงไวใ้ นชาย (Anima) และลกั ษณะความเป็นชายในบุคลกิ ภาพของผู้หญิง เชน่ ความ เข้มแขง็ ความเด็ดเดี่ยว ที่มักแฝงไว้ในตัวหญิงเช่นกัน (Animus) หากจะพิจารณาในด้านสรีระจะ พบว่า ในเพศชายจะมีท้ังฮอร์โมนเพศชายและฮอร์โมนเพศหญิง ในขณะที่เพศหญิงก็จะมีฮอร์โมน เพศหญิง และฮอรโ์ มนเพศชายอยเู่ ชน่ กัน ซ่งึ Jung อธิบายว่า ลกั ษณะความเปน็ หญิงในบุคลิกภาพ ของชาย หรือความเปน็ ชายในบคุ ลิกภาพของหญิงเกดิ จาก Archetype คือรูปของผู้หญงิ ในชาย (Feminine Archetype) ทเี่ รยี กว่า Anima หรอื รูปของผชู้ ายในผู้หญิง (masculine Archetype) ที่ เรยี กว่า Animus รูปตา่ งๆ เหลา่ น้ี อาจเกิดจากโครโมโซมเพศ (Sex Chromosomes) และการทาํ งาน ของตอ่ มเพศ (Sex Glands) แต่สาเหตสุ าํ คญั Jung เช่อื ว่าเป็นผลของประสบการณ์ทางเชื้อชาติ และ เผ่าพันธ์ุของมนุษย์ระหว่างชายกับหญิง ซึ่งมีชีวิตและใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันมา โดยหมายความว่า ประสบการณ์ในอดีตท่ีเพศชายมีชีวิตอยู่กับเพศหญิง ทําให้ผู้ชายรับลักษณะความเป็นหญงิ ไวใ้ น ตนเองในขณะท่ปี ระสบการณข์ องการอย่รู ว่ มกัน ทําให้ผหู้ ญงิ รบั ลกั ษณะของความเป็นชายไว้ในตนเอง ทาํ ให้เพศหญิง มีความเข้มแข็งมีความอดทนและกล้าหาญ ในขณะที่เพศชายเองก็มีความอ่อนโยน และนุ่มนวลแฝงอยู่สิ่งเหล่านี้ เป็นสาเหตุให้แต่ละเพศแสดงคุณลกั ษณะของเพศตรงข้ามในตวั ตน (6) เงา เงา (Shadow) เป็นรปู (Archetypes) เปน็ สงิ่ ท่ี เรียกว่า สัญชาตญาณพื้นฐานท่ีมีคล้ายกับสัตว์ เม่ือมีวิวัฒนาการจนกลายเป็นมนุษย์ๆ จึงรับและ สืบทอดมาจากวิวัฒนาการ จากรปู แบบทตี่ ํา่ กว่ามาสูค่ วามเปน็ มนษุ ย์ทาํ ให้มนุษย์มแี นวโนม้ ท่จี ะทําส่งิ เลวร้าย และผดิ ศีลธรรม เปน็ สว่ นของจิตทอี่ ยูล่ กึ ที่สดุ หรอื อาจเรยี กไดว้ ่าเปน็ Shadow จุง (Jung) เชื่อวา่ Shadow เป็นด้านของความเป็น สัตว์ (Animal Side) ท่อี ยใู่ นธรรมชาติของมนุษย์และเป็นจุดเริ่มต้นของความคิดของมนุษย์ใน ส่วนท่ีเป็นความชั่วร้ายซึ่งสะท้อนออกมาให้เห็นในลักษณะภายนอก ทําให้เป็นพฤติกรรมท่ียังไม่ได้ ขัดเกลาหรือพฤติกรรมที่แสดงความรู้สึกก้าวร้าว พฤติกรรมที่เป็นศัตรูกับผู้อ่ืนหรือเป็นพฤติกรรม ที่ไม่น่าช่ืนชมรวมถึงความคิด ความรู้สึกและการกระทาํ ท่ีสังคมไม่ยอมรับเพราะเป็นการแสดงส่ิง

434 ที่ไม่เหมาะสม Shadow เหล่านี้จะถกู ปิดบังโดยใช้หนา้ กาก (Persona) หรอื เก็บลงสจู่ ิตไร้สาํ นกึ ของ บคุ คล (Personal Unconscious) 5.1.2.2 ตน ตน (Self) เป็นจุดศูนย์กลางของบุคลิกภาพ หมายถึง รูป (Archetype) ซ่ึงนาํ บุคคลไปสู่การแสวงหาวิธีการต่างๆ เพ่ือพัฒนาศักยภาพของตนเอง ให้ถึง จุดสูงสุด(Self Realization) และเป็นวิถีทางของบุคคล (Way of Individual) ที่ทําให้ บุคลิกภาพมีความเปน็ เอกภาพและมคี วามสมดุลและมน่ั คง การทาํ งานของ Self จะเป็นเช่นเดยี วกบั Archetype อ่ืนๆ คอื จงู ใจใหเ้ กดิ พฤติกรรม ตน ทําหนา้ ท่ี เป็นเปา้ หมายของชีวติ และเปน็ เป้าหมายสุดท้ายที่ มนุษย์พึงแสวงหา ถือว่าเป็นกระบวนการท่ีบุคคลมุ่งไปสู่ความเข้าใจตนเอง ซ่ึงการท่ีบุคคลจะ เขา้ ใจตนเองน้นั จะเปน็ กระบวนการทีเ่ กดิ ขึน้ คอ่ นขา้ งยาก ทาํ ให้บคุ คลแสวงหาเปา้ หมายนีต้ ลอดเวลา ความเขา้ ใจตนเองจะยงั ไมเ่ กดิ กับบคุ คลทอ่ี ายุน้อยเพราะเปน็ เรอ่ื งทีต่ ้องใชเ้ วลา และบคุ คลจะพยายาม แก้ไขปัญหาตลอดจนความคดิ ขดั แยง้ หลายๆ อยา่ งทเ่ี กิดขน้ึ ในจติ และกม็ คี นเปน็ จํานวนน้อยทจี่ ะบรรลุ ถงึ ความเข้าใจตนเองได้ ทั้งน้ี ตนยงั จะไมแ่ สดงออกอยา่ งชดั เจนจนกวา่ จะถงึ วยั กลางคนซ่ึงเปน็ วัยท่ี บุคคลเรมิ่ ตน้ ทจ่ี ะมีความพยายามอยา่ งจรงิ จงั ทจ่ี ะเปลย่ี นศนู ยก์ ลางของบุคลิกภาพ จากการรับรู้ตนเอง (Ego) มาเปน็ ความเขา้ ใจในตนเอง (Self Realization) 5.1.2.3 ระบบความสัมพันธภ์ ายใน ระบบความสัมพันธ์ภายใน (Interdependent Systems) ระบบความสมั พนั ธภ์ ายในของบคุ คลประกอบดว้ ย รปู แบบทางจิตวทิ ยาของบคุ คลท่ีเปน็ เจตคตพิ ้ืนฐาน (Basic Attitudes) โดยสามารถแบง่ บคุ ลิกภาพของบุคคล ออกเปน็ 2 ประเภท คอื (Two Psychological Type) (พีรพล เทพประสิทธ์ิ,2549 : 203) (1) บุคคลประเภทชอบสังคม (Extravert) บุคคลประเภทชอบสังคม จะมีลักษณะเป็นคนเปิดเผย ร่าเรงิ ชอบออกสงั คม ไมช่ อบเก็บตวั เปน็ บุคคลท่สี รา้ งความเชอื่ ม่นั อยู่บนพนื้ ฐานของความเป็นจรงิ มี อุปนิสยั ทีเ่ ปลยี่ นไดต้ ามความเหมาะสมของสง่ิ แวดลอ้ ม และพรอ้ มทีจ่ ะเปลีย่ นตามสถานการณใ์ หมๆ่ ทเี่ หมาะสม เมอ่ื เกดิ ความคบั ขอ้ งใจ มกั มีพฤติกรรมในรปู ของการตอ่ สู้ (Defense) (2) บุคคลประเภทเก็บตัว (Introvert) บุคคลประเภทเก็บตวั จะมลี กั ษณะเปน็ คนท่าทางลึกลบั ชอบเก็บตัวและผูกพันกับตนเองมากกว่าที่จะผูกพันกับสังคม เป็นบุคคลที่มีกฎเกณฑ์แน่นอนใน การควบคุมอุปนิสัยตนเอง เป็นคนท่ีเช่ือถือตนเอง และมักจะมีการตัดสินใจโดยเน้นความคิดของ

435 ตวั เองเป็นหลัก เมื่อเกิดความคับข้องใจมักมีพฤติกรรมแบบหลบหนี แยกตัวเองออกไปจากสังคม (Isolation) 5.1.3 ทฤษฎจี ติ วทิ ยารายบุคคลของอัลเฟรด แอดเลอร์ ทฤษฎีจิตวิทยารายบุคคล (Individual Psychology) ของอัลเฟรด แอดเลอร์ (Alfed Adler) อดตี แพทยท์ ผ่ี นั ตวั มาเป็นนักจติ วทิ ยา แตเ่ ดิมน้ันแอดเลอร์ (Adler) เคยเป็น ศิษย์ของฟรอยด์ (Freud) มาก่อน แต่เขาเกิดมีความคิดที่แตกต่างและได้ประกาศทฤษฎีใหม่ท่ีมี ความแหวกแนวกว่า แอดเลอร์ (Adler) ไดร้ บั การยกย่องวา่ เปน็ ผบู้ กุ เบกิ แนวทางการศกึ ษาพฤติกรรม และบคุ ลกิ ภาพของมนษุ ย์ท่เี นน้ อิทธพิ ลของสัมพันธภาพระหวา่ งบุคลหรอื พฤตกิ รรมทางสงั คม ภาพที่ 127 แสดงภาพอลั เฟรด แอดเลอร์ (Alfed Adler) (ท่มี า https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) อลั เฟรด แอดเลอร์ (Alfed Adler) กล่าววา่ ปัจจัยที่มีอทิ ธพิ ลต่อบุคลกิ ภาพของ บุคคลน้นั มี 3 ปัจจัยสําคญั ไดแ้ ก่ (พรี พล เทพประสิทธ์,ิ 2549 : 204-206) 5.1.3.1 ลาํ ดับการเกดิ ลําดับการเกิด (Order of Birth) อลั เฟรด แอดเลอร์ (Alfed Adler) ใหค้ วามสาํ คญั กับสังคม ดว้ ยเหตุทีส่ งั คมนัน้ จะเปน็ ส่ิงกาํ หนดบุคลกิ ภาพ แอดเลอร์ (Adler) สังเกตเหน็ ว่า บุคลิกภาพของเดก็ ที่มลี ําดับการเกิดแตกตา่ งกันจะมีบุคลิกภาพทีม่ เี หมอื นกนั อย่างเห็น ได้ชัดเจน ซ่งึ เขาไดอ้ ธิบายความแตกตา่ งเหล่าน้ีว่า เกดิ ข้นึ จากประสบการณข์ องเด็กแตล่ ะคนในฐานะ ท่ีเป็นสมาชิกของกล่มุ สงั คม ซง่ึ เขา้ ได้ใหข้ อ้ สรปุ ดังน้ี (1) ลกู คนโต เนื่องดว้ ยเปน็ ลูกคนแรกของครอบครวั ลกู คนโต จงึ ไดร้ บั ความสนใจอยา่ งมากจนกระทัง่ เมือ่ มีน้องคนลาํ ดับถดั มา เด็กจะมคี วามรู้สกึ วา่ ความรกั ทค่ี นใน

436 ครอบครวั มใี หก้ บั เขานั้นถูกลดความสาํ คญั และถูกแบง่ ปันใหก้ ับน้องใหม่ ซ่งึ ประสบการณ์นี้จะทําใหเ้ ด็ก บุคลิกภาพข้ีอิจฉาและเกลยี ดชังผูอ้ ่นื มคี วามรสู้ ึกไมม่ นั่ คง พยายามปกป้องตนเอง ลูกคนโตจะสนใจท่ี จะจดจาํ อดีตเม่อื สมยั ทีเ่ ขายงั เปน็ ศนู ยก์ ลางแห่งความสนใจ ดังน้นั หากพ่อแมส่ ามารถเตรยี มการใน การจัดการสถานการณน์ ไ้ี ด้ลว่ งหนา้ กจ็ ะทาํ ให้ลกู คนโตมคี วามพรอ้ มกบั การเกดิ ของนอ้ งใหม่และพฒั นา บุคลิกภาพไปในทางท่พี งึ ประสงคไ์ ด้ เช่น มคี วามรับผดิ ชอบสงู เชื่อม่ันในตนเอง ชอบช่วยเหลือ ปกปอ้ งคุม้ ครองผูท้ ีด่ ้อยกวา่ (2) ลกู คนกลาง มกั มีลกั ษณะของความทะเยอทะยาน มมี านะ ทจ่ี ะมคี วามสามารถลาํ้ หนา้ กว่าพี่คนโต ลกู คนกลางจะมแี นวโน้มสงู ทจี่ ะเปน็ คนดอ้ื รน้ั และมคี วามอจิ ฉาพี่ น้องของตน แตส่ ่วนใหญแ่ ลว้ จะปรับตัวไดด้ ีกวา่ บรรดาพ่ีน้องดว้ ยกนั (3) ลูกคนเลก็ เนอ่ื งจากเปน็ ลกู คนสุดทอ้ ง จงึ มกั ได้รบั การตามใจ และความช่วยเหลือจากคนในครอบครัวอยู่เสมอ ทําให้มีลักษณะเอาแต่ใจตัวเอง ชอบขอความ ชว่ ยเหลอื จากผอู้ นื่ ไม่รจู้ ักโต เปน็ ต้น (4) ลูกคนเดยี วหรือลกู โทน เนื่องจากเป็นลกู เพียงคนเดียวจงึ ได้รบั การตามใจจากครอบครวั เชน่ นอ้ งคนเลก็ และได้รับการเอาอกเอาใจโดยเฉพาะจากผเู้ ป็นแม่ เม่ือโตขน้ึ อาจมีปญั หาเรื่องมนษุ ยสมั พนั ธ์ ถา้ เขาไมถ่ กู เอาใจและยกยอเหมือนกับทีเ่ คยได้รบั มาก่อน 5.1.3.2 ประสบการณ์วัยเด็ก ประสบการณ์วยั เดก็ (Childhood Experience) จากวชิ าชีพ แพทย์ท่เี คยทาํ ในอดีต เขามีความเช่อื วา่ ประสบการณใ์ นวัยเดก็ มอี ิทธพิ ลตอ่ ลกั ษณะนิสยั บุคลิกภาพ ปมเดน่ ปมดอ้ ย ความสนใจทางสังคม และวถิ ีชีวติ ของคนทกุ คน แอดเลอร์ (Adler) ใหข้ อ้ คิดเห็นว่เด็ก 3 ประเภทท่ีจะเติบโตขึน้ มาเปน็ บุคคลทม่ี ีปญั หา ไดด้ งั นี้ (1) เด็กที่มีปมดอ้ ย (Children with Inferiorities) จะเตบิ โต เปน็ บคุ คลทมี่ คี วามฝงั ใจวา่ ตนเปน็ ผ้มู เี คราะหก์ รรม ต้องพบกับความลม้ เหลวอยู่ตลอดเวลา แอดเลอร์ (Adler) ได้อธิบายว่า ถ้าผู้ใหญ่ที่เอ็นดูเขา คอยประคับประคองให้กาํ ลังใจก็จะสามารถทําให้เขามี ความคดิ ในแงด่ ขี น้ึ มาได้ (2) เดก็ ทถ่ี ูกตามใจจนเสียเดก็ (Spoiled Children) มกั เตบิ โต เป็นบุคคลทีเ่ อาแตใ่ จตนเอง เปน็ บุคคลทเ่ี ห็นแกต่ วั จดั อยากเป็นนายอยู่เหนือทุกคนและทกุ เวลา เรียกร้องความสนใจจากผู้อื่น คอยเป็นแตผ่ รู้ ับ ไมร่ ู้จกั เปน็ ผู้ให้ (3) เด็กทถี่ ูกทอดทิ้ง มักเตบิ โตเป็นบคุ คลที่มคี วามรูส้ ึกฝงั อยูใ่ น จติ ใจว่าตนเป็นผ้ทู ่คี นอนื่ ๆ รงั เกยี จเหยยี ดหยาม ไมส่ ามารถทาํ ใจใหร้ ักบคุ คลหรอื หลกั การใดๆ อยา่ ง สนิทใจ ไม่วา่ เปน็ ความรกั ในรูปแบบใดๆ มีความรสู้ กึ อยากแกแ้ คน้ สงั คมและผู้อน่ื อยใู่ นส่วนลกึ ของ จติ ใจตลอดเวลา

437 5.1.3.3 ความปรารถนาปมเดน่ และความรสู้ กึ ถึงปมด้อย (Striving for Superiority & Inferiority Feelings) แอดเลอร์ (Adler) นัน้ ลงความเห็นว่า มนษุ ย์ทกุ คนตา่ งก็มี แรงจูงใจสําคญั อยปู่ ระการหนง่ึ ซึ่งครอบงําพฤตกิ รรมโดยส่วนใหญแ่ ละลักษณะบุคลิกภาพของตน แรกเริ่มนั้นเขา เชื่อวา่ แรงจงู ใจน้นั คอื ความก้าวร้าว ต่อมาเปลยี่ นเปน็ ความใฝ่อาํ นาจและในท้ายทสี่ ดุ เขาก็ลงความเหน็ ว่า แรงจูงใจนัน้ คือ ความปรารถนามีปมเดน่ แอกเลอรอ์ ธบิ ายว่าคนทุกคนอยากมี ความเดน่ อยา่ งนอ้ ยประการหนึ่งซง่ึ มีความแตกต่างไปในแตล่ ะบุคคล เช่น เดน่ ทางรูปร่างหน้าตาเดน่ ทางการเรียน เด่นทางกีฬา เป็นต้น มนุษย์ทั้งปกติและไม่ปกติต่างมีความปรารถนาประภทน้ีเป็น แนวทางในชีวติ ความปรารถนาทจี่ ะมปี มเดน่ นั้นมคี วามสัมพันธก์ บั ความร้สู กึ ถงึ ปมด้อย และการแสวงหาสงิ่ ชดเชย เขาสังเกตเห็นวา่ คนส่วนใหญม่ จี ุดออ่ นทางร่างกายไมอ่ ย่างใดอย่างหน่ึงหรือ พัฒนาการที่ไม่สมบรู ณ์ก็ได้ แอดเลอร์ (Adler) กล่าววา่ คนเรามีจุดอ่อนไมเ่ ฉพาะแตท่ างร่างกาย เท่านั้น แตอ่ าจเป็นทางสงั คม อารมณห์ รอื จิตใจก็ได้ ซึง่ จดุ อ่อนเหลา่ นร้ี จู้ กั ในช่ือ ปมดอ้ ย (Inferiority) ปมด้อยและการสรา้ งปมเด่นเพือ่ ชดเชยปมด้อยนัน้ ไมใ่ ช่สงิ่ ทผี่ ิดปกติ มนุษย์ทกุ คนพยายามหาทาง ชดเชยปมดอ้ ยด้วยการสร้างปมเดน่ ขน้ึ มา แอดเลอร์ (Adler) เชือ่ มน่ั วา่ ปมดอ้ ยและความปรารถนาปม เดน่ เปน็ แรงผลกั ดนั ทสี่ าํ คญั ซงึ่ ทําใหค้ นแสดงพฤตกิ รรมต่างๆ หรอื สร้างแบบแผนการดาํ เนินชีวติ ให้ เปน็ ไปอยา่ งมคี วามหมาย 5.2 กลมุ่ ทฤษฎีบุคลกิ ภาพแบง่ ตามประเภท (Type Theory) 5.2.1 ทฤษฎบี คุ ลิกภาพของวิลเลยี ม เชลดอน วิลเลยี ม เชลดอน (William H. Sheldon) เป็นนักจติ วิทยาและแพทย์ ชาวอเมรกิ ันได้ศกึ ษาค้นควา้ เรอื่ ง ลักษณะความสมั พนั ธข์ องโครงร่างของมนษุ ยก์ บั การแสดงออกใน ลกั ษณะตา่ งๆ ของมนษุ ย์ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Personality/Theory15 ตุลาคม 2555)

438 ภาพท่ี 128 แสดงภาพวลิ เลยี ม เชลดอน (William H. Sheldon) (ที่มา https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) ทฤษฎีบุคลิกภาพของเชลดอน (Sheldon) เป็นทฤษฎีที่ได้รับการนิยมลดลง ในลักษณะโครงสรา้ งทางร่างกาย (Constitutional types) ออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ (ศรวี รรณ จันทรวงศ,์ 2548 :152-153) 5.2.1.1 Endomorphy เป็นพวกท่ีมีโครงสร้างทางรา่ งกายอ้วนเต้ีย มี ลักษณะตวั กลมเนื้อมากไขมนั มากรอ้ นงา่ ยเคลื่อนยา้ ยไมค่ ลอ่ งตวั ชอบการรับประทานและรับประทานจุ ชอบสนุกสนาน รกั ความสะดวกสบาย มมี นุษยสัมพันธด์ ี 5.2.1.2 Mesomorphy ลกั ษณะของคนแข็งแรงมกี ล้ามเนือ้ เป็นมดั อยา่ ง เห็นได้ชัดชอบออกกําลังในกิจกรรมต่างๆ ชอบการผจญภัยประเภทใช้กาํ ลัง เป็นคนกระตือรือร้น ตัดสินใจเร็วกลา้ หาญ ใจหนกั แนน่ พดู ตรง ไปตรงมา ค่อนขา้ งกา้ วรา้ ว ไม่ชอบอยู่ในท่แี คบ 5.2.1.3 Ectomorphy เป็นพวกที่มลี ักษณะคนผอมไม่ค่อยมีกลา้ มเนอ้ื ไมช่ อบเขา้ สงั คม มคี วามสขุ ทอ่ี ย่เู ปน็ ท่ที าง มรี ะเบยี บ บางครง้ั หยมุ หยิม ฉลาด มคี วามรับผดิ ชอบสูง

439 5.2.2 ทฤษฎีบคุ ลกิ ภาพของแฮนส์ ไอแซงค์ ภาพที่ 129 แสดงภาพแฮนส์ ไอแซงค์ (Hans Eysenck) (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 16 กนั ยายน 2559) ทฤษฎีบุคลิกภาพของไอแซงค์ (Eysenck’s Theory) แฮนส์ ไอแซงค์ (Hans Eysenck) ได้พัฒนาทฤษฎวี ่าด้วยบุคคลท่ีมีความแตกต่างกันทางบุคลกิ ภาพและพฤติกรรมลักษณะทาง บุคลิกภาพจะประกอบดว้ ย 2 มิติ ได้แก่ (ศรีเรอื น แก้วกงั วาล,2547 หน้า 332) 5.2.2.1 เกบ็ ตัว (Introvert) – แสดงตวั (Extraverted) 5.2.2.2 แนวโนม้ โรคประสาท (Neuroticism) – ความมน่ั ใจ (Stability) แตล่ ะกล่มุ ประกอบด้วยลักษณะนสิ ยั (Trait) อกี หลายลกั ษณะ ดังภาพ

440 ไมม่ ัน่ คง (มอี าการประสาทออ่ น) UNSTABLE ขี้โมโห Moody Touchy ออ่ นไหว กระวนกระวาย Anxious Restless ไมผ่ ่อนคลาย ยึดมน่ั ถอื มน่ั Rigid Aggressive ก้าวรา้ ว เคร่งครดั Sober Excitable ตื่นเต้น มองโลกในแงร่ า้ ย Pessimistic Changeable เปลย่ี นแปลง ไวต้ ัว Reserved Impulsive ยาํ้ คิดยา้ํ ทํา ไมช่ อบสังสรรค์ Unsociable Optimistic เห็นโลกในแง่ดี เงยี บ Quiet Active กระฉบั กระเฉง เกบ็ ตัว INTROVERTED EXTRAVERTED แสดงตวั เงียบเฉย Passive Sociable ชอบสังสรรคก์ ับคน ระมัดระวงั Careful Outgoing ชอบไปโน่นมาน่ี ใชค้ วามคดิ Thoughtful Talkative ชา่ งพูด สงบ Peaceful Responsive ตอบโต้ ควบคมุ ตนเองได้ Controlled Easygoing ง่ายๆ เปน็ กนั เอง เชอื่ ถือได้ Reliable Lively มชี วี ติ ชีวา อารมณ์ไมข่ นึ้ ลง Even-tempered Carefree ไมท่ กุ ข์รอ้ น เยือกเยน็ Calm Leadership เปน็ ผนู้ าํ STABLE ม่ันคง ภาพท่ี 130 แสดงภาพกลุ่มลกั ษณะนสิ ัยตามแนวคดิ ของไอแซ้งค์ (ท่ีมา Goldstein, 1994 หนา้ 608 อ้างในศรเี รือน แกว้ กังวาล,2547 หนา้ 332) บุคคลที่มลี กั ษณะแสดงตัว เป็นคนชอบสังคม ไมไ่ ว้ตวั มเี พื่อนมาก ชอบงานท่ี เสยี่ งและทา้ ทาย ซ่ึงเป็นคุณสมบัติตรงกันข้ามกบั บคุ คลทมี่ ีลกั ษณะเก็บตวั คนพวกนคี้ ่อนข้างเงียบเฉย ไวต้ ัว ไมช่ อบอยู่ในกลมุ่ คนมากๆ สว่ นบุคคลทม่ี คี วามโนม้ เอยี งไปทางเป็นโรคประสาท มักเป็นคนเจ้า อารมณ์และเมอ่ื ระเบิดอารมณ์ออกมาแล้ว ใช้เวลาคอ่ นขา้ งนานกวา่ จะหวนกลับสภู่ าวะอารมณ์ปกติ คนท่มี อี ารมณม์ ่ันคง เป็นคนทีใ่ จสงบ นา่ เชื่อถือ ไวว้ างใจได้ นอกเหนือจากลกั ษณะใหญ่ 2 ลักษณะ ดังกล่าวแล้ว ไอแซงค์ (Eysenck) ยังได้เสนอลักษณะบุคลิกภาพอีกลักษณะหน่ึงซึ่งเรียกว่า

441 “psychoticism” บุคคลทม่ี ีบคุ ลิกลักษณะอยใู่ นกลมุ่ นม้ี แี นวโน้มทจ่ี ะเหน็ แกต่ ัว กา้ วร้าว ชาเยน็ ไม่ค่อยคิดถึงคนอ่ืน ทฤษฎีของไอแซงค์ (Eysenck) คล้ายกับทฤษฎีเทรทตรงที่มีการวิเคราะห์ บุคลกิ ภาพและพฤตกิ รรมโดยกระบวนการทางสถิติ แตม่ คี วามต่างจากทฤษฎอี ื่นในประเดน็ ทีเ่ ขาได้ให้ ความสาํ คญั ตอ่ ปัจจยั ทางชีวภาพวา่ เป็นตวั กาํ หนดลักษณะบุคลิกภาพของบคุ คลมากกวา่ ปจั จัยทาง สิ่งแวดล้อม ซงึ่ เป็นจดุ สําคัญในทฤษฎีเทรทอ่นื ๆ อาทิ เขาอธบิ ายว่า คนที่เกบ็ ตวั และแสดงตวั จะมี ระบบประสาทต่างกันโดยระบบประสาทของคนเก็บตวั จะตนื่ ตัวถูกเรา้ ไดง้ ่ายกวา่ คนแสดงตัว ดงั นนั้ คนเก็บตวั จะชอบทาํ กิจกรรมทีเ่ งยี บๆ ท่ีจะไมท่ าํ ใหเ้ ขาประสาทตื่นมากนกั ในทางตรงกนั ข้ามคนแสดง ตัวนิยมแสวงหากิจกรรมทเ่ี ร้าใจ พ่ือไม่ให้รสู้ ึกเบื่อ แนวคดิ เร่อื งระบบประสาทที่มผี ลตอ่ ลักษณะแสดง ตวั เกบ็ ตัวของบุคคล ได้รบั การสนบั สนุนว่ามีความเปน็ จริงจากงานวิจัยหลายชิน้ (Goldstein, 1994 หน้า 609) (ศรเี รือน แก้วกงั วาล,2547 หน้า 332-333) 5.2.3 ทฤษฎอี ปุ นิสยั ของอัลพอรต์ ทฤษฎีอปุ นสิ ยั ของอลั พอรต์ (Allport’s Trait Theory) เจ้าของทฤษฎี คือ กอร์ดอน อัลพอร์ต (Gordon Allport) นกั จติ วิทยาชาวอเมรกิ ัน ทฤษฎอี ุปนสิ ัยของอัลพอร์ต (Allport) เปน็ ทฤษฎเี ทรท หลกั การเบื้องต้นทฤษฎีท่จี ดั อยู่ในกลมุ่ แนวคดิ รคู้ ดิ บุคลิกภาพทม่ี มี มุ มอง กว้างทาํ ใหม้ องบคุ ลกิ ภาพได้หลากหลายรปู แบบ เขามีความเชือ่ วา่ บคุ ลกิ ภาพ คือ ปริศนาทไ่ี ม่มคี าํ ตอบ เบ็ดเสร็จ ไดแ้ ก่ อาจจาํ แนกบุคคลตามแนวโน้มลักษณะนสิ ยั เชน่ คนขีเ้ หนยี ว จะมคี วามม่งุ ม่ันในการ ใช้จ่ายให้นอ้ ยทสี่ ดุ เขาจะมงุ่ รกั ษาผลประโยชนเ์ รอ่ื งเงนิ ๆ ทองๆ ทกุ วถิ ที าง คนขีบ้ น่ กจ็ ะหาเรืองบ่น ในแทบทกุ สถานการณ์ เป็นต้น อัลพอร์ตได้เสนอทฤษฎเี ทรท ดงั นี้ 5.2.3.1 ลักษณะเด่นของทฤษฎีเทรท คอื (ศรีเรือน แก้วกงั วาล,2547 : 329) (1) ความคงที่ (Consistency) แต่ละบุคคลมีคุณลกั ษณะโดด เด่นหลายๆ อย่างภายในตัวและจะแสดงคณุ ลักษณะน้นั ออกมาในสถานการณ์ต่างๆกัน ดังนั้น เมื่อเรา กล่าววา่ คนนัน้ หรอื คนนเี้ ป็นคนสะอาดเรยี บร้อย ข้อี าย กา้ วรา้ ว ฯลฯ เรากาํ ลงั “ตดิ ตรา” ให้แกเ่ ขา ดว้ ยเทรท ซึง่ อธิบายว่า บุคคลมีพฤติกรรมเชน่ ไรมาแลว้ แตห่ นหลังและในปัจจุบนั นอกจากน้ีเรายงั สามารถเดาได้ ว่าเขาจะประพฤตปิ ฏิบัตอิ ย่างไรในอนาคต (2) มีความแตกต่างระหวา่ งบุคคล (Individual differences) ทฤษฎีเทรทมคี วามคิดว่า แตล่ ะคนประกอบด้วยกลมุ่ ลักษณะหลายอย่างซึง่ เป็นลักษณะเฉพาะตัว โดย ท่ไี มม่ ใี ครเหมอื นใคร ทฤษฎีเทรทมีหลายกล่มุ และทุกๆกลมุ่ มแี นวคิดรว่ มกัน คือ คน้ หาและอธบิ าย ลกั ษณะเทรทพนื้ ฐานของบคุ คลใดบุคคลหนึ่งเพ่อื อธิบายบคุ ลิกภาพของบคุ คลน้นั

442 อลั พอรต์ (Allport) อธิบายว่า อุปนสิ ัย (Traits) ของมนุษยชาตนิ ้ันมี มากกว่า 5,000 ชนิด อัลพอร์ต อัลพอร์ต (Allport) เชื่อว่า ไม่มีอุปนิสัยใดตายตัวในแต่ละบุคคล บุคคลจะแสดงลกั ษณะใดทโ่ี ดดเด่นออกมานั้น ขน้ึ อยกู่ ับสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ (Physical Environment) และพลงั กดดนั ทางสังคม (Social Pressure) ในสถานการณน์ ้ันๆ ภาพท่ี 131 แสดงภาพกอรด์ อน อลั พอรต์ (Gordon Allport) (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) 5.2.3.2 อปุ นสิ ยั ของบคุ คล อัลพอร์ต (Allport) ได้จําแนกอุปนสิ ยั ของบคุ คลออกเป็นส่วนๆ จาํ นวน 2 ประเภท ไดแ้ ก่ อุปนสิ ยั สามัญ (Common Traits) และอปุ นิสัยสว่ นบุคคล (Personal Disposition Traits) (พรี พล เทพประสิทธ,ิ์ 2549 : 207) (1)อุปนิสัยสามัญหรืออุปนิสัยพื้นฐาน (Common Traits) หมายถึง อุปนสิ ยั ของบคุ คลทมี คี วามคลา้ ยคลึงกนั เน่ืองจากเกดิ และเติบโตภายในสงั คมและวัฒนธรรม เดยี วกัน ส่งผลทาํ ให้มลี ักษณะนิสัยส่วนหนึง่ ท่คี ล้ายคลึงกัน เช่น ลักษณะนสิ ยั โดยรวมของคนไทยจะ เป็นคนชอบความสบาย ยมิ้ งา่ ย ชอบพ่ึงพิง ลักษณะนสิ ยั โดยรวมของคนอเมริกันจะรักความอสิ ระ มี ความเป็นตวั ของตวั เอง เป็นต้น แต่ลกั ษณะนิสัยดงั กลา่ วนเี้ ปน็ เพียงลกั ษณะท่ีอธบิ ายบุคลกิ ภาพของ บคุ คลไดอ้ ยา่ งหยาบๆ เท่านนั้

443 (2)อุปนิสัยส่วนบุคคล (Personal Disposition Traits) หมายถึง อุปนิสัยท่ีเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัวของแตล่ ะบุคคลซงึ่ จะมคี วามแตกต่างกนั ออกไป เมือ่ เปน็ เช่นนจี้ ึงไมส่ ามารถนาํ อปุ นิสยั ส่วนนข้ี องแตล่ ะคนมาเปรียบเทียบกนั ได้ ดังนนั้ ในการศกึ ษาบคุ ลกิ ภาพ ของบคุ คลจึงถอื ว่า อุปนิสัยส่วนนีเ้ ปน็ ปัจจยั สําคญั ทจ่ี ะใชศ้ กึ ษารว่ มกับอปุ นิสยั รว่ ม ซึ่งในกรณนี ้อี ัลพอรต์ (Allport) ได้แบ่งอปุ นสิ ัยส่วนบุคคลไว้ 3 ระดับตามอิทธิพลทม่ี ีตอ่ พฤติกรรมของบุคคล ดังนี้ 1) อปุ นสิ ยั หลกั (Cardinal Disposition Traits) เปน็ กลุ่ม อุปนิสัยที่โดดเด่นในตัวของบุคคลแง่ใดแง่หนึ่ง ซึ่งยากที่จะลบล้างหรือปิดบังซ่อนเร้นเอาไว้ จึงมี อิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลน้นั เกอื บทกุ ดา้ น เช่น เม่อื เอ่ยถึงขุนแผนอปุ นสิ ัยหลักคือ เจา้ ชู้ เม่ือเอ่ย ถึงศรีธนชัย อุปนิสยั คอื ความฉลาดเจ้าเล่ห์ เป็นต้น 2) อุปนิสัยร่วม (Central Traits) เป็นกลุ่มอุปนิสัยของ บุคคลใดบคุ คลหน่งึ ซ่งึ มอี ยภู่ ายใต้บุคคลมากบ้างนอ้ ยบ้างในสถานการณห์ นงึ่ ๆ ไม่ได้แสดงออกมาซงึ่ อุปนิสัยทัง้ หมดสามารถอธบิ ายถงึ บุคลกิ ภาพของบุคคลนน้ั ได้ใกลเ้ คยี งมากทีส่ ดุ เชน่ เมอ่ื เอย่ ถึงขนุ แผน จะนึกถงึ ความเจา้ ชู้ กลา้ หาญ รกั แผน่ ดนิ ฉลาด เขม้ แขง็ เปน็ ต้น 3) อุปนิสยั ทตุ ิยภูมิ (Secondary Traits) เป็นอปุ นสิ ยั ที่ไม่ โดดเดน่ มากนักในตวั ของบุคคล เปน็ อุปนสิ ยั แบบกวา้ งๆ โดยท่วั ไปมักเกย่ี วกบั ความคิดเห็น ทศั นคติ รสนิยมในด้านใดด้านหนึ่ง เม่ือบุคคลชอบสิ่งใดสิ่งหน่ึง เขามักจะให้ข้อคิดเห็นที่ดีในขอบข่ายที่ เก่ียวข้องกบั สงิ่ น้ันๆ เชน่ สมใจชอบพรรคการเมอื ง A จงึ แสดงออกด้วยการเชยี ร์และสนบั สนุนพรรค การเมือง A มาตลอดหรือวินัยไม่ชอบสินค้าต่างประเทศ จึงนิยมใช้แต่สินค้าไทยและต่อต้าน ตา่ งประเทศ เปน็ ต้น

444 5.2.4 ทฤษฎลี กั ษณะเฉพาะของเรมอนด์ บี แคทเทลล์ ภาพที่ 132 แสดงภาพเรมอนด์ บี แคทเทลล์ (Raymond B. Catteell) (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) เรมอนด์ บี แคทเทลล์ (Raymond B. Catteell, 1965) ได้พยายามศึกษา คน้ หาวา่ มี Traits ใดบ้างทเี่ ปน็ เทรทกลางๆ (ศรีเรือน แกว้ กังวาล,2547 : 330) ซึง่ เราสามารถนํามา อธบิ ายบุคลิกภาพของบุคคลท่ัวไปได้ เขาได้นาํ ลักษณะ Trait ตา่ งๆ ถึง 1800 ลักษณะเทา่ ท่ีปรากฎใน ภาษาอังกฤษมาแยกแยะโดยกระบวนการทางสถิติท่ีเรียกวา่ Factor analysis จนเหลอื ลกั ษณะ บคุ ลิกภาพพื้นฐาน 16 ลักษณะ ท่เี รยี กว่า Source Trait ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะบุคลิกภาพที่ซมึ ลึกภายในตวั บุคคล เปน็ ตัวเรา้ สาํ คัญท่ที ําให้บุคคลแสดงพฤตกิ รรมหรอื บคุ ลกิ ภาพ (ซงึ่ บางคร้ังเป็นบุคลกิ ภาพสว่ น ผิวพื้น) ลกั ษณะบุคลกิ ภาพท้ัง 16 ลักษณะดงั กลา่ ว แคทเทลล์ได้สร้างแบบทดสอบเพอ่ื วัด เรยี กวา่ 16 PF ทฤษฎีของแคทเทลล์ครอบคลมุ ประเด็นสําคญั ๆ ด้านมิตบิ คุ ลิกภาพแทบทกุ มติ ิ เชน่ พันธกุ รรม ส่ิงแวดล้อม บุคลิกภาพส่วนผิวพื้นและส่วนซึมลึกรวมทั้งการวัดบุคลิกภาพ ฯลฯ แต่แนวคิดของ แคทเทลลค์ อ่ นข้างเข้าใจยาก เพราะมสี ว่ นของกระบวนการทางสถติ ิท่ีซบั ซ้อน ตามแนวคิดเร่อื งการวดั บคุ ลกิ ภาพ 16 ลักษณะ เป็นแนวคดิ ท่ีไดร้ บั ความนยิ มอย่างมากในยคุ ปัจจบุ นั โดยจะเหน็ จากมีผแู้ ปล แบบทดสอบนี้เปน็ ภาษาต่างๆ หลายสบิ ภาษา

445 ไวต้ ัว เป็นกนั เอง, ชอบสังคม ปญั ญาทบึ ฉลาด เฉยี บแหลม อารมณม์ ่นั คง ออ่ นไหวง่าย, เจ้าอารมณ์ ถอ่ มตัว โออ้ วด แสดงตัว เคร่งขรึม สบาย ไม่ทุกขร์ อ้ น เอาเปรยี บ เหน็ แกไ่ ด้ มีมโนธรรม ขอ้ี าย ชอบผจญภัย ใจกล้า ใจแขง็ ใจอ่อน ไว้วางใจ ข้ีสงสยั ปฏิบตั ไิ ด้จริง ดแี ตฝ่ ัน ซือ่ (จนเกือบเซ่อ) มีปฏิญาณไหวพรบิ (ตรงไปตรงมา) มน่ั ใจในตัวเองอย่างมาก ไม่ค่อยมน่ั ใจในตนเอง ยดึ มั่นในประเพณีนยิ ม ชอบทดลอง (ไมช่ อบการเปลีย่ นแปลง) อิงกลมุ่ พึ่งตนเอง ไม่มีวนิ ัยในตนเอง มวี นิ ยั ผ่อนคลาย ตงึ เครยี ด ภาพที่ 133 แสดงภาพเทรท 16 ลกั ษณะของแคทเทลล์ (ทม่ี า Goldstein, 1994 หนา้ 607 อา้ งในศรเี รือน แกว้ กงั วาล,2547 หน้า 330) แบบทดสอบ 16 PF ได้รบั ความนิยมอยา่ งมากในการนาํ ไปใช้เป็นเกณฑใ์ น การคดั เลือกบุคคลเพือ่ ศกึ ษาตอ่ หรือทํางานใหต้ รงกับบุคลกิ ลกั ษณะนิสัย โดยมกี ารศึกษา Trait ท่ี เหมาะกบั นสิ ยั ของคนอาชีพต่างๆหลายอาชีพ ตัวอยา่ งในรปู 9-2 คือ Trait ของกลมุ่ คน 3 อาชพี : นกั บิน ศลิ ปินทมี่ ีหวั สรา้ งสรรค์ และนักเขียน

446446 Airline pilots นักบิน (1) ................. Creative artisis ศิลปินท่ีมหี ัวสรา้ งสรรค์ (2) Writters นกั เขยี น (3) ไวต้ วั Reserved Outing ชอบสงั คม, เป็นกันเอง ปญั ญาทึบ Less intelligent More intelligent ฉลาด อ่อนไหวง่าย Affect by emotion Emotionally stable ม่ันคง ยอมใหผ้ อู้ น่ื Submissive Dominant ควบคุมผอู้ ่ืน จริงจัง Serious Happy go lucky ตามสบาย เห็นแก่ได้ Expedient Conscientious มมี โนธรรม ข้อี าย Timid Venturesome ชอบผจญภัย ใจแข็ง Tough minded Sensitive หวนั่ ไหวงา่ ย ไวใ้ จได้ Trusting Suspicious นา่ ระแวง ปฏบิ ตั ิได้จรงิ Practical Imaginative ดแี ตฝ่ ัน ตรงไปตรงมา Forthright Shrewd ฉลาดเฉยี บคม มั่นใจในตนเอง Self-assured Apprehensive ไมค่ ่อยมั่นใจ ยดึ ม่ันในประเพณนี ยิ ม Conservative Experimenting ชอบทดลอง ตามกลมุ่ Group dependent Self sufficient ชอบทดลอง ไม่มวี นิ ยั ในตนเอง Uncontrolled Controlled มวี ินยั ผอ่ นคลาย Relaxed Tense เครียด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ภาพที่ 134 แสดงภาพการใชแ้ บบทดสอบ 16 PF คดั เลอื กความถนัดในอาชพี ของบคุ คล (Goldstein, 1994 หน้า 624 อ้างในศรเี รือน แก้วกงั วาล,2547 หนา้ 331)

447 5.3 กลุม่ ทฤษฎบี ุคลิกภาพเชิงมนษุ ยนิยม (Humanism Theories) 5.3.1 ทฤษฎีบคุ ลิกภาพของคารล์ โรเจอร์ ภาพท่ี 135 แสดงภาพคาร์ล โรเจอร์ (Carl Rogers) (ท่มี า https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) ทฤษฎีบุคลิกภาพของคาร์ล โรเจอร์ (Carl Roger) ได้รับตาํ แหน่ง เป็นศาสตราจารย์ดา้ นจติ วทิ ยาและสอนหนงั สือทม่ี หาวทิ ยาลยั โอไฮโอ (Ohio State University) มี ความเชยี่ วชาญในทฤษฎีการใหค้ ําปรึกษาเนน้ บคุ คลเปน็ ศนู ยก์ ลาง (Person-Centered Counseling) ในระหว่างปี ค.ศ. 1940 – 1945 ทฤษฎีบุคลิกภาพของโรเจอร์ (Roger) มีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ (ศรีเรอื น แกว้ กังวาล, 2539 : 123-132) 5.3.1.1 ตัวตนของบุคคล ประสบการณเ์ ฉพาะตน (Self) ของบุคคลหนง่ึ บุคคลใดผสมปม กนั เข้าเปน็ “ตัวตน” ของบคุ คลคนนน้ั มนษุ ยท์ ุกคนมีตัวตน 3 แบบ ไดแ้ ก่ (1) ตนทต่ี นมองเห็น ตนทีต่ นมองเหน็ (Self concept) คือ ภาพของตนที่ เหน็ ว่าตนเปน็ คนอยา่ งไร คือใครมีความรูค้ วามสามารถลกั ษณะเฉพาะตนอย่างไร เช่น คนสวย คนเกง่ คนร่ํารวย คนมีชาติตระกูล คนตาํ่ ต้อยวาสนา คนช่างพูด คนข้ีอาย คนเก็บตัว คนเงียบ ฯลฯ โดยทวั่ ไปคนรับรูม้ องเหน็ ตนเองหลายแง่มมุ อาจไม่ตรงกบั ข้อเท็จจรงิ หรือภาพทคี่ นอ่นื เหน็ เช่น คนท่ี ชอบเอารดั เอาเปรียบผูอ้ ืน่ (2) ตนตามท่ีเปน็ จรงิ ตนตามที่เปน็ จรงิ (Real Self) คือ ลักษณะตัวตนที่ เปน็ ไปตามข้อเทจ็ จริง บอ่ ยครัง้ ทต่ี นไมม่ องเห็นข้อเทจ็ จรงิ ของตน เพราะเป็นกรณที ท่ี าํ ให้รสู้ ึกเสียใจ เศร้าใจ ไมเ่ ทียมหนา้ เทียมตากบั บคุ คลอนื่ ๆ รูส้ ึกผดิ เป็นบาป ฯลฯ

448 (3) ตนตามอุดมคติ ตนตามอดุ มคติ (Ideal Self) คอื ตวั ตนท่ีอยากมี อยากเป็น แต่ยังไม่มีไมเ่ ปน็ ในสภาวะปัจจุบัน เช่น นาย ก. เป็นคนขบั รถรบั จา้ ง แตน่ ึกฝันอยากจะเปน็ เศรษฐีมคี นขบั รถให้ข่ี, นาง ข. ถูกสามที อดทงิ้ หวังจะมคี รอบครัวท่ีอบอุน่ พรอ้ มหนา้ สามแี ละลูก ,นางสาว ค.เป็นคนชอบเกบ็ ตัว แต่นึกอยากเปน็ คนเกง่ ในสงั คม เปน็ ตน้ 1) ตนท่ีตนมองเห็นกับตนตามที่เป็นจริง มีความแตกตา่ งกนั บุคคลน้นั มีแนวโนม้ ทจ่ี ะเปน็ บุคคลกอ่ ปัญหาให้แก่ตวั เองและผู้อื่น ในรายทมี่ คี วาม แตกต่างกันรุนแรง เขาอาจเปน็ โรคประสาท โรเจอร์ (Roger) อธิบายว่า ประสบการณ์ทาํ จติ บําบดั ทํา ให้เขาสามารถยนื ยนั ได้ว่า คนท่ีมีปญั หาทางจติ ใจและบุคลิกภาพ คือ คนที่มีขอ้ ขดั แย้งระหว่างตนท่ี เป็นจริงกับตนที่ตนมองเห็นอย่างรุนแรง ความสลับซับซ้อนของความขัดแย้งนี้ทําให้กลไกทางจิตมี ความลลี้ ับซบั ซอ้ น มีปมและเงื่อนแง่ ซ่งึ ทําใหเ้ ขามปี ญั หาทางอารมณ์ จิตใจ และบคุ ลกิ ภาพ ปจั เจกชน ผู้มองตน ตีราคาตนเองสูงกว่าตนตามที่เป็นจริง เขาย่อมไม่เห็นข้อบกพร่องของตน ฉะนั้น ปิดทาง ปรับปรุงตนเองใหด้ ขี ึ้น เมื่อบุคคลอนื่ ๆ ทาํ กิจเก่ียวกบั ปัจเจกชน เขาปฏิบัติตอ่ ปจั เจกชนน้ันในระดับ ดงั ต่อไปนี้ (1) ปจั เจกชนตนตามท่เี ปน็ จริง ตา่ งจากตนท่ี ปจั เจกชนมองเหน็ ตนเอง จงึ เกิดข้อขัดแยง้ ในสมั พนั ธภาพระหวา่ งบคุ คลเป็นการถาวร (2) ปัจเจกชนผูม้ องตนสูงกวา่ ตน ตามทเ่ี ปน็ จริง มีความโน้มท่จี ะมองตนตามอดุ มคติอยา่ งเพ้อฝัน ไมม่ ลี ู่ทางดาํ เนินไปประสบความสําเรจ็ ฉะนั้น มักทาํ อะไรไมส่ มหวังอยู่เสมอ ก็โทษบุคคลหรือสถานการณอ์ น่ื ๆ เปน็ ตน้ เหตคุ วามไมส่ มหวงั (3) ปัจเจกชนผู้มองเห็นตนเองตรง หรือ ใกล้เคยี งกับตนตามที่เปน็ จริง ยอมรบั ความเด่นและความดอ้ ยของตวั เองอยา่ งไม่หลงตน ย่อมเห็นทาง ปรับปรุงตน ย่อมเห็นตนตามอดุ มคติ ในวสิ ยั ท่ีดาํ เนินไปถึงไดโ้ ดยมโี ครงการทีป่ ฏิบตั ิได้จรงิ ฉะนั้น มกั เป็นผู้ได้รับความสําเร็จและสมหวังจากการทํางานดําเนินชีวิตตน ถ้าไม่มีกรณีไม่สมหวัง มองเห็น อุปสรรคและเห็นทางแก้ไขอุปสรรคได้ แมว้ า่ ไมน่ ่าเปน็ ไปได้ แตม่ ปี รากฏการณ์บ่อยๆ วา่ ปจั เจกชน จาํ นวนไมน่ อ้ ย เป็นผมู้ องเหน็ ตนเองตาํ่ ตอ้ ยกว่า ตน ตามทเี่ ปน็ จริง ตน้ เหตทุ ท่ี าํ ใหเ้ กดิ การมองเห็นตน ผดิ ไปดังนี้ น่าจะเปน็ เพราะสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคลเปน็ ไปในทางลบ เช่น ความหวาดกลวั ตาม แนวคิดฟรอยด์ (Freud) ปมดอ้ ย ตามแนวคิดแอดเลอร์ (Adler) และการแสดงอาํ นาจความเปน็ ใหญ่ Authority Power ตามแนวคิดฟรอยด์ (Freud) รวมทั้งระเบยี บแบบแผน (Red tape) ที่ปิดทางรเิ รม่ิ ของผ้นู ้อยซ่งึ อาจมีไดต้ ง้ั แต่สมั พันธภาพในครอบครัวไปจนถึงสงั คม เศรษฐกิจทุกระดบั เหตเุ หลา่ น้ี อาจ ทาํ ให้ปจั เจกชนบางคนคร่ันคราม ยอมแพ้ ถดถอย ไมไ่ ด้ใช้ หรือไม่มีโอกาสใช้สมรรถภาพและ คุณสมบัตทิ ม่ี ใี นตนตามเป็นจรงิ ผยู้ อมถดถอยมักวาดภาพในอดุ มคตทิ างต่ําลง เพราะไม่เชือ่ สมรรถภาพ

449 ของตนเอง หากมหี วังอะไรได้อยา่ งคาด เชน่ ได้จากการพนัน ซึ่ง“สุดแลว้ แตด่ วง” คือ การส้ินหวังใน ชีวิต ลําดับต่อมา โรเจอร์ (Roger) เช่ือว่า เป้าหมายหลักในการทําจิตบาํ บัด คือ การคลคี่ ลาย ความซบั ซอ้ นในกลไกทางจิตให้แกผ่ ปู้ ว่ ยจนทาํ ใหส้ ่วนตนทเ่ี ปน็ ตวั จริงแทแ้ ละส่วนของตนท่ตี นมองเห็น และปรบั ตัวตนท้งั 2 แบบนใี้ หส้ ามารถผสมผสานกลมกลนื ได้ โรเจอร์ (Roger) อธิบายวา่ ผ้ทู มี่ าขอรับ การบาํ บดั ทางจิตของเขา เกอื บร้อยละรอ้ ยเปน็ ผู้ที่มตี วั ตนท้ังสองแบบแตกต่างกัน ผลดขี องการปรับตัวที่ตนมองเห็นใหต้ รงกบั ตนตามเปน็ จริง ท้งั ในการดาํ เนนิ ชีวิตประจําวนั และท้ังในการทาํ จติ บําบดั ไดแ้ ก่ ความม่ันคงของอารมณแ์ ละบุคลกิ ภาพ การมีมนุษยสมั พันธ์ท่ดี ี มสี มรรถภาพสูงในการประกอบกิจหน้าที่ ไมค่ ่อยมคี วามวติ กกังวล ไมค่ ่อยใช้ กลไกปอ้ งกันตนเอง ฯลฯ บคุ คลที่มองเห็นตนเองตรงกบั ตนตามความเปน็ จริง มักมองเหน็ ตนตามอุดม คตทิ ี่คอ่ นขา้ งเปน็ ไปได้ ทําใหก้ ารดําเนนิ ชีวิตของเขาเปน็ ไปอยา่ งมคี วามมงุ่ หวัง กระตอื รือรน้ และสมใจ หวังอยู่เสมอ เขาจึงพอใจในตนเองอยมู่ าก มกั จะนําไปสู่ความพอใจในบคุ คลอน่ื สว่ นบุคคลซง่ึ สรา้ ง ภาพของตนตามอดุ มคติห่างไกลตนตามเป็นจรงิ มักประสบความผดิ หวงั ในตนเองและผอู้ ่ืนอยู่เร่อื ยไป ทําใหม้ องตนเองและผู้อ่ืนในแงล่ บ มเี พื่อนนอ้ ย คบหาสมาคมกบั ใครๆ ยาก บคุ คลประเภทน้ีมขี อ้ สบั สน และขัดแยง้ ในตนเอง 5.3.1.2 จุดรวมของประสบการณ์ จุดรวมของประสบการณ์ (The organism) โรเจอร์ (Roger) อธิบายวา่ บุคลิกภาพของมนุษย์ถกู หล่อหลอมและผลกั ดนั จากประสบการณข์ องบุคคลตง้ั แต่แรกเกิด เป็นต้นมาและตลอดไปจนจบชีวิต กล่าวได้ว่า ประสบการณ์ของบุคคลเป็นแกนนําบุคลิกภาพ ประสบการณเ์ ป็นสิง่ ท่ีบคุ คลสาํ นึกรูเ้ ฉพาะตน (Phenomenal field) ผู้อืน่ สามารถล่วงร้แู ละเรยี นรู้ ถึงประสบการณ์ของคนอื่นได้เฉพาะบางส่วนบางมุม พฤติกรรมใดๆของบุคคลอยู่ใต้อิทธิพลของ ประสบการณ์เฉพาะตัวของเขามากกวา่ ขอ้ เทจ็ จริง เช่น เด็กทีร่ ้องไหก้ ลวั หมาเช่ือง เพราะเขาเคยถกู หมาดกุ ัด หรอื หญงิ หมา้ ยไมก่ ลา้ ทแ่ี ตง่ งานใหม่ทั้งท่ีคนดมี าชอบมากมาย เพราะเคยมปี ระสบการณ์ ชีวิตคู่อนั ขมขื่นประสบการณ์ของบุคคลมที ้งั ส่วนจติ สาํ นกึ และจติ ใต้สาํ นึก คนส่อื สาร ประสบการณ์ท่ี ตนสาํ นกึ รตู้ ่อตัวเองและต่อผู้อ่ืนด้วยระบบสัญลักษณ์ ประสบการณ์ส่วนจิตใต้สํานึกบางอย่าง บุคคลไม่สามารถสอื่ สารด้วยระบบสัญลักษณใ์ ดๆ ไดท้ งั้ ตอ่ ตัวเองและผูอ้ ่ืน คารล์ โรเจอร์ (Carl Roger) ใหค้ วามสาํ คญั ต่อความสามารถใน การสื่อสารประสบการณเ์ ป็นอยา่ งยง่ิ เชอ่ื ว่า บุคคลไม่ว่าเดก็ หรอื ผใู้ หญ่ มคี วามแปรปรวนทางอารมณ์ และบุคลิกภาพเพราะไม่สามารถสื่อสารประสบการณ์เฉพาะตน ดังนั้น จุดมุ่งหมายหนึ่งของการทํา จติ บาํ บัด คอื สร้างสถานการณ์อนั ทาํ ใหผ้ รู้ บั การบาํ บัดพฒั นาความสามารถในการสื่อสารประสบการณ์ เฉพาะตนของเขาต่อตัวเขาเองและผู้อื่นใหส้ ามารถรับรแู้ ละเขา้ ใจได้ อันเป็นแนวทางหนงึ่ ในการนําไปสู่ ความเขา้ ใจตนเอง

450 5.3.1.3 เปา้ หมายในชีวิตของบคุ คล เป้าหมายในชีวิตของบคุ คล ( Person of goal in life ) โรเจอร์ (Roger) เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนต่างมีเป้าหมายของชีวิตร่วมกัน คือ แนวโน้มที่จะตระหนักรู้จักตน โรเจอร์ (Roger) อธิบายว่า ขอ้ พสิ ูจน์ง่ายๆต่อความเช่อื เมอื่ เด็กเกดิ มาแมย้ งั มปี ระสบการณ์จํากัด เด็กทุกคนมคี วามอยากร้อู ยากเหน็ อยากทดลอง อยากช่วยตนเอง อยากโตเปน็ ผ้ใู หญท่ ั้งกายและใจ อยากมอี สิ รเสรี แนวโนม้ ดังกล่าวเหล่าน้มี ิไดส้ ญู หายเมื่อพน้ วยั เด็ก แตก่ ารแสดงออกของความปรารถนา เปลี่ยนเป็นรูปอ่ืนๆ ความปรารถนาจะประจักษ์ รู้จักตนและทําให้ตนให้เป็นคนเต็มสมบูรณ์ จนมี ความพออกพอใจ มักไม่สมใจปรารถนาเสมอไป อุปสรรคขัดข้องนานาประการ บางอย่างเป็นส่งิ ท่ี บุคคลไม่สามารถเลือกหรอื หลีกเลยี่ งได้ เชน่ การปกครองอนั กดขี่ อยุติธรรม บรรยากาศในครอบครวั ทีเ่ ตม็ ไปดว้ ยความเกลยี ดชงั ได้รบั การเลยี้ งดูแบบทิง้ ๆ ขว้าง จากพ่อแม่ หรอื ในทางตรงกนั ข้ามเอาอก เอาใจเกินไปจนเดก็ ขาดโอกาสพสิ จู นต์ นเอง ฯลฯ ความปรารถนาดังกลา่ วจงึ ถกู เก็บกด หรอื ไมไ่ ดร้ บั การตอบสนองทาํ ใหก้ ลายเปน็ คนเกลียดตนเองและผอู้ ื่น ถ้าสภาพการณ์เชน่ นี้เปน็ ไปรนุ แรงจะหลอ่ หลอม บคุ ลิกภาพของเขาใหป้ รารถนาเปน็ คนเลว หรอื อาจทาํ ใหก้ อ่ อาชญากรรม 5.3.1.4 บุคลิกภาพพัฒนา บุคลิกภาพพัฒนา (Development Personality) ความคดิ เหน็ ของโรเจอร์ (Roger) อธบิ ายไวด้ งั ต่อไปน้ี (1) มนุษยม์ ธี รรมชาตใิ ฝ่ดี ดังนั้นมนษุ ย์ทุกคนมีความปรารถนา พฒั นาเพอ่ื เป็นคนเตม็ สมบรู ณต์ ามศักยภาพเฉพาะตน คนใฝ่ตาํ่ ไม่ใชเ่ กิดขน้ึ โดยธรรมชาติ แตเ่ พราะ สงิ่ แวดลอ้ มทางสังคมชกั นําทาํ ให้เปน็ ไป (เชน่ การเลีย้ งดขู องพอ่ แม,่ คบเพื่อนชวั่ ) ดังนั้น ธรรมชาตทิ ี่ แท้ของเขาจงึ ถูกบดิ เบือน (2) เด็กท่ีพ่อแม่ผู้ปกครองเลี้ยงดูด้วยความรักความเอาใจใส่ อยา่ งบริสทุ ธิ์ใจจะทําให้เดก็ พฒั นาตัวตนตามทมี่ องเหน็ ตวั ตนตามทเ่ี ป็นจรงิ และตัวตนตามอดุ มคติ อย่าง กลมกลืนกัน ลักษณะเช่นนี้เปน็ บคุ ลกิ ภาพอันพึงประสงค์ เพราะเป็นพ้นื ฐานเบือ้ งต้นของการพฒั นา บุคลิกภาพ บุคคลนนั้ ปรับตัวรับการเปลีย่ นแปลงต่างๆ ไดด้ ี มีประสทิ ธภิ าพ มสี ขุ ภาพจติ ดี จติ ใจม่นั คง เข้มแข็ง (3) สว่ นพอ่ แมผ่ เู้ ลย้ี งดูลูกแบบไม่คงเส้นคงวา ต้ังความมุ่งหวัง กับลูกมากเกนิ ไป ลูกเป็นสิ่งชดเชยความรักหรอื ความขาดแคลนของพ่อแมแ่ งใ่ ดแงห่ นึ่ง มักทําให้เด็กมี ตัวตนอันสับสน ดังนนั้ ตัวตนจริงจึงแตกตา่ งจากตัวตนท่ีมองเหน็ และตวั ตนตามอุดมคติ บคุ คลเหล่าน้ี มบี ุคลิกภาพด้อยการพฒั นา พฒั นานสิ ัยใจคอในทางลบแบบตา่ งๆ ได้งา่ ย เช่น ชอบหลอกตัวเองและ บุคคลอื่น ชอบกล่าวโทษผู้อ่ืน หนีสังคม มีลับลมคมใน เกลียดชังเพ่ือนมนุษย์ มักมองเห็น สังคมและผู้คนรอบข้าง ไม่น่าไว้วางใจ โรเจอร์ (Roger) เชื่อว่า ลักษณะความสัมพันธ์แบบ

451 Unconditioned positive regards นอกจากจะเกิดจากความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพ่อแม่กับลูก นักทาํ จิต บําบัดแบบผู้ขอรับการบาํ บัดเปน็ ศนู ย์กลางการบําบัด ยังสามารถสรา้ งสถานการณเ์ ชน่ นใ้ี ห้เกิดขน้ึ ได้ ในบรรยากาศเชน่ นี้ ผทู้ าํ บาํ บัดจะยอมรับฟงั เรือ่ งราวความนึกคดิ ความรู้สกึ ตา่ งๆ ของผู้ขอรับการ บําบดั อยา่ งไมต่ าํ หนิติเตียน แต่เต็มไปด้วยการยอมรับ ความเข้าอกเข้าใจ ความรักความเมตตา ความจริงใจ ความต้ังใจรบั รู้ และความเหน็ อกเห็นใจ ฯลฯ โรเจอร์ (Roger) เช่ือว่า วิธีการเช่นนี้จะ ทาํ ใหผ้ ูร้ ับการบําบดั เข้าใจตนเอง เหน็ ตนเองตามความเปน็ จรงิ ท้งั ดา้ นบวกและดา้ นลบ มองเหน็ ปญั หา ตนเองและวธิ แี ก้ไขปญั หาของตนด้วยตนเอง เขาสามารถเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของเขาด้วย ตนเองเพื่อการปรับตน และเขายังสามารถพัฒนาบคุ ลกิ ภาพของตนไปสู่พัฒนาดว้ ยตัวตนเอง (4) บคุ ลกิ ภาพที่มบี ุคลิกภาพพัฒนา คอื บุคคลท่คี อยสาํ รวจ ตนเองและวิพากษ์วิจารณ์ตนเอง โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับค่านิยมที่ตนเองยึดถืออยู่และสามารถ เปล่ียนแปลงปรบั ปรงุ บคุ ลกิ ภาพของตนไปสู่แบบแผนของบุคลิกภาพและคา่ นิยมทดี่ ีกว่าสูงส่งกว่า และม่นั คงกว่า (5) บุคคลที่สขุ สบายทั้งกายและจิตใจ คือ บคุ คลท่ีมสี ติสาํ นกึ รูอ้ ยตู่ ลอดเวลา การมสี ติสํานึกร้ตู นไมไ่ ดเ้ ปน็ สงิ่ ตดิ ตวั มาแต่กําเนดิ แต่เกิดจากการฝึกอบรม ข้อเขยี น ของเขาในบนั้ ปลายชีวิตได้ เนน้ ความสาํ คัญของการฝกึ ฝนและพัฒนาสติ ความสาํ นึกรตู้ น เขาเชอ่ื วา่ ความมสี ตสิ ํานกึ ร้ตู นเปน็ มรรควธิ ที ่จี ะนาํ ไปสคู่ วามม่นั คงทางจิตใจ อารมณ์ และบคุ ลกิ ภาพอย่างแท้จรงิ 5.3.1.5 ชีวติ ที่ดี ชวี ิตท่ีดี (Good of life) ตามแนวคิดของโรเจอร์ (Roger) ดงั น้ี (1) เปดิ ตาเปิดใจรบั รู้ความคดิ ความรสู้ กึ ของตนอยา่ งจรงิ ใจ ด้วย ความมีสติสัมปชัญญะ ไม่ว่าความคิดความรู้สึกน้ันจะเป็นด้านบวกหรือลบ ท้ังยังมีความสามารถ ในการจดั การกบั ความคิดความรสู้ ึกน้นั เชน่ ความโกรธ ความรกั ความอิจฉา ความดีใจ ความต่นื เต้น ความกังวลใจ ได้อยา่ งเหมาะสม (2) มชี ีวติ อยู่กบั ปจั จุบัน ไมผ่ กู มดั ตนเองกับประสบการณอ์ ดตี มากเกนิ ไป หรอื ไมห่ มกม่นุ ตอ่ สิ่งที่จะมจี ะเปน็ ในอนาคต (3) ตัดสินใจเลือกวิถีชีวิตหรือการกระทําใดๆ ด้วยความคิด สตปิ ญั ญาของตน แตเ่ ขาก็มใิ ช่คนดื้อร้นั หรือหลงตนเอง เขารบั ฟงั แนวคิดของผอู้ ื่น รบั กฎเกณฑ์ทาง สังคมและวฒั นธรรมมาเปน็ ขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจและการเลือกของเขา (4) รู้สึกอิสรเสรีท่ีจะทํากิจอะไร ท่ีจะรับบทบาทอะไรๆ แต่ ความเปน็ อิสรเสรนี ้ตี ้องคู่ขนานกบั ความรู้สกึ รบั ผิดชอบตอ่ การกระทําของตนเองเสมอ เชน่ เสรีทจี่ ะ เลอื กคู่ครองตามความพอใจของตน ตอ้ งรับผิดชอบต่อคู่ครองและชวี ิต ครอบครวั ของตน ท้ังนี้ต้องอยู่ ภายใต้กฎเกณฑ์ของศลี ธรรมจรรยา

452 (5) มีความคดิ สร้างสรรค์ ไดก้ ารไม่ทาํ อะไร คิดนกึ อะไรๆ ตาม รูปแบบค่านิยมของประเพณี วฒั นธรรมอยา่ งผกู มดั หรือเป็นทาส 5.4 กลมุ่ ทฤษฎีการเรยี นร้ทู างสังคม (Social Learning Theory) ภาพที่ 136 แสดงภาพอบั บาฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 16 กันยายน 2559) 5.4.1 ทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพของมาสโลว์ อับบาฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) เกิดที่เมอื งบรุกลิน ประเทศ สหรัฐอเมริกา มีแนวคิดจากการศึกษาการเข้าใจมนุษย์อย่างถ่องแท้ ต้องศึกษาจากบุคคลท่ีมี สขุ ภาพจิตดี มีอารมณ์ จิตใจและบุคลิกภาพมั่นคง ประสบความสาํ เร็จและความสุขในชีวิต เพื่อ ค้นหาว่าคณุ ลักษณะของบคุ ลกิ ภาพทด่ี ีนนั้ ต้องมีองคป์ ระกอบอะไรบา้ ง มแี นวทางพัฒนาอย่างไร จึง ขอนําเสนอคาํ อธิบายเกยี่ วกับธรรมชาติมนุษย์ มรี ายละเอยี ดดังต่อไปน้ี (ศรเี รือน แก้วกงั วาล, 2539 : 103 -110) 5.4.1.1 มนุษย์ใฝ่ดีและมีความกระหายใคร่สร้างสรรค์ มาสโลว์เชื่อ ว่า จติ ใจพนื้ ฐานของมนุษย์ตง้ั แต่แรกเกดิ คอื ความใฝด่ ี อยากเป็นคนดี อยากทําความดี มนษุ ย์ไมม่ ี สัญชาตญาณความกา้ วรา้ วและความต้องการทาํ ลายลา้ งผอู้ น่ื นอกจากใฝ่ดแี ลว้ มนษุ ยย์ งั มธี รรมชาติ ความใครท่ าํ กจิ กรรมสร้างสรรค์ มนุษยส์ ูญเสียธรรมชาติใฝ่ดแี ละธรรมชาตสิ รรค์สร้าง เพราะอิทธพิ ล ของสังคมและการศกึ ษาทีม่ รี ูปแบบเบด็ เสร็จ สมรรถภาพในการสรา้ งสรรค์สามารถแสดงออกไดห้ ลาย วิธี ในกิจกรรมทุกประเภท เช่น การเขียน การทําอาหาร การปลูกต้นไม้ ฯลฯ

453 5.4.1.2 มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ประเภทอ่ืนๆ มาสโลว์ (Maslow) เชื่อว่า มนุษย์มีคุณสมบัตินานาประการท่ีไม่เหมือนสัตว์ มนุษย์มีความสามารถในการคิดได้อย่าง ซบั ซอ้ น ความร้จู ักผดิ ชอบช่วั ดี ความละอายบาป ความมีศลิ ปะและร้จู กั ซาบซึง้ ในศลิ ปะ ความจาํ อัน ดีเยี่ยมและความรอบรู้ในศิลปะวิทยาการต่างๆ และสามารถนาํ เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้เกิด ความทันสมัย กา้ วทนั ต่อโลกและเหตกุ ารณ์ 5.4.1.3 มนษุ ยท์ ุกคนฝกั ใฝ่เพื่อสนองความตอ้ งการเป็นมนุษย์โดย สมบูรณ์ เปน็ ความตอ้ งการสงู สดุ ของความเป็นมนษุ ย์เพราะมนุษยใ์ ฝด่ ี มาสโลว์ (Maslow) เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนต้องการพัฒนาไปให้ถึงภาวะน้ี ซ่ึงคนท่ีประจักษ์ในศักยภาพของตน ต้องการพัฒนา ศักยภาพของตนใหเ้ ตม็ ทจี่ นสามารถทําประโยชนใ์ หแ้ กต่ นเองและผอู้ ืน่ แตก่ ารทม่ี นษุ ยท์ กุ คนไมส่ ามารถ บรรลถุ ึงจดุ หมายนไี้ ด้นนั้ เพราะความรสู้ กึ บบี คน้ั อนั เกดิ จากความยุติธรรมของสังคม ธรรมชาติของมนษุ ย์ ท่เี ป็นเน้ือแทค้ อื “ความใฝ่ดี” ของมนุษย์จึงถูกบิดเบือนหรอื ถูกปฏเิ สธ แตก่ ารทม่ี นษุ ย์ประสบสขุ ภาพจิต เส่ือมจนกลายเปน็ โรคเครยี ด โรคจติ โรคประสาท เพราะอทิ ธิพลความชัว่ ของส่ิงแวดล้อมทางสังคม มาสโลว์ (Maslow) ยอมรบั ว่า สงั คมมนุษย์มีความอยตุ ิธรรมทุกท่ี เขาจงึ พยายามเผยแพร่แนวคิด ต่างๆ เพื่อลดความอยุตธิ รรมของสังคม เพื่อให้มนุษยม์ ีความงอกงามทางบุคลิกภาพ 5.4.1.4 ลักษณะบคุ ลกิ ภาพของบุคคลท่ีเปน็ มนุษยโ์ ดยสมบรู ณ์ ภาวะนี้ เปน็ ลักษณะสูงสุด เป็นบุคลิกภาพท่ีเป็นอุดมคติ มาสโลว์ (Maslow) ได้สรุปว่าคุณสมบัติท่ีทํา บุคคลให้เป็น “มนุษย์โดยสมบรู ณ”์ มี 16 ประการ ดังนี้คอื (1) รู้จกั ปรับตวั ใหเ้ ข้ากบั ความเป็นจรงิ (2) ยอมรบั ตนเอง บคุ คลอ่ืนและกฎธรรมชาติตามสภาพทเี่ ป็นจริง (3) มคี วามแนว่ แนม่ ากเมอ่ื จะทําอะไรก็ทาํ ตามความร้สู ึกท่ที าํ (4) แก้ปญั หาใดๆ โดยวางศูนยก์ ลางวิจารญาณท่ตี วั ปญั หา ไมว่ างศูนย์กลางนนั้ ไวท้ ตี่ วั เอง (5) ไมร่ สู้ กึ ตดิ พนั เกนิ ไป ต้องการแตล่ ําพังตนเอง (6) เป็นตัวของตวั เองและรูส้ กึ เปน็ อิสระ (7) ปลูกสร้างความนึกนิยมผู้คนและสรรพสิ่งต่างๆใหม่ๆ ไมย่ ึดส่งิ ซํา้ ซาก จําเจน่าเบื่อ (8) คนเหลา่ นสี้ ว่ นมากมีประสบการณ์ตอ่ ส่ิงลี้ลบั ลกึ ซ้ึงหรอื สภาพ เปน็ เชงิ นามธรรม (9) ทาํ ตัวสนทิ ชดิ เชอ้ื กบั มนุษยชาติ (10) สมั พันธภาพระหวา่ งเขากบั คนทเ่ี ขารกั ใคร่พอใจเป็นพิเศษ (11) คา่ นยิ มและเจตคติของเขาเปน็ ประชาธปิ ไตย

454 (12) ไมเ่ อาวธิ กี ารทํางานกับผลทีจ่ ะได้ในปลายทางของงานน้ัน ไปสับปะปนกนั (13) มีอารมณข์ นั ในเร่อื งทีค่ ดิ แล้วขําขัน (14) มคี วามสขุ มุ ความคดิ สร้างสรรคไ์ มจ่ บสิ้น (15) ต่อตา้ นการยึดรูปแบบพิธที ่ขี ัดต่อความก้าวหนา้ (16) นยิ มทาํ ตนเหนือสง่ิ แวดลอ้ มมากกวา่ การกระทาํ เพียงเข้า ปะทะระรานกบั สิ่งเหลา่ นั้น 5.5 กลุ่มทฤษฎกี ารวิเคราะห์การสื่อสัมพันธ์ 5.5.1 ทฤษฎกี ารวเิ คราะห์การสือ่ สมั พนั ธ์ของเบริน์ ทฤษฎีการวเิ คราะห์การส่ือสัมพนั ธ์ (Transactional Analysis Theory) บุคคลที่เป็นตนเองในแนวความคิดของเบิร์น (Berne) คือ ผทู้ ่ีสามารถแสดงให้เหน็ วา่ สามารถแสดงออก หรอื ค้นพบความสามารถของตนเอง ทฤษฎี T.A. ประกอบด้วยการวเิ คราะห์ 2 ลกั ษณะ คอื (ศรวี รรณ จันทรวงศ์,2548 : 141,145-150) 5.5.1.1 การวิเคราะห์โครงสรา้ งทางบคุ ลกิ ภาพ การวเิ คราะห์โครงสร้างบุคลิกภาพ (Structural Analysis) ซึ่ง เกี่ยวพันธ์กับความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของบุคคล ซ่ึงมีพื้นฐานมาจากสภาวะ Ego (Ego State) เพ่ือช่วยให้คนแต่ละคนเรียนรู้ถึงภาวะอีโก้ของเขาว่ามีรูปแบบอย่างไรและสภาวะอีโก้ นั้น กาํ หนดพฤติกรรมใดของเขา (ศรีวรรณ จันทรวงศ์,2548 :145-150) โครงสร้างบุคลกิ ภาพ เบิร์น (Berne) เช่ือว่า บคุ ลกิ ภาพของคน เกดิ จากการสะสมเหตุการณ์ ความรสู้ กึ พฤตกิ รรม ประสบการณต์ า่ งๆ สง่ิ เหลา่ นี้คอ่ ยๆ รวมตัวเขา้ เป็น รปู แบบ (Pattern) ภายในตวั คนเราจงึ มี 3 รปู แบบใหญๆ่ แต่ละรปู แบบ เรยี กว่า Ego State ซ่งึ มีอยู่ 3 ส่วน คอื (1) สภาวะทีเ่ ปน็ เดก็ สภาวะท่ีเป็นเด็ก (Child ego state) ประกอบด้วย ส่วนย่อย 3 ส่วน คือ 1) สภาวะท่ีเป็นเด็กตามธรรมชาติ (The Natural child) เป็นส่วนท่ยี งั ไม่ไดข้ ัดเกลา จงึ เป็นส่วนทแ่ี สดงอารมณแ์ ละความต้องการของตนออกมาอย่างโจ่งแจ้ง 2) สภาวะทเ่ี ป็นเด็กได้รับการขดั เกลา (The Adapted child) เป็นส่วนทีพ่ ฒั นาขึ้นเพราะเด็กทมี่ สี มั พนั ธภาพกบั พ่อแม่ ไดร้ บั การขัดเกลาควบคุมจากพ่อแม่ 3) สภาวะที่เป็นเด็กมีเหตุผล (The Little professor) เป็นส่วนท่แี สดงออกถงึ ลักษณะความเปน็ ผใู้ หญ่ มีการใช้เหตุผลพิจารณาในการกระทําสิง่ ต่างๆ

455 (2) สภาวะทเ่ี ป็นผใู้ หญ่ สภาวะทเี่ ป็นผใู้ หญ่ (Adult ego state) เป็นสภาวะท่ี บุคคลใช้หลักแห่งเหตุผลในการพิจารณาส่ิงต่างๆ ตามความเป็นจริง ไม่นาํ เอาความรู้สึกเข้ามา เกี่ยวข้อง เมื่อเผชิญกับปัญหาอะไรก็ตาม บุคคลที่ถูกควบคุมด้วยสภาวะที่เป็นผู้ใหญ่ (Adult ego state) จะต้ังคาํ ถามว่า “อะไร” “ทาํ ไม” “อย่างไร” โดยจะไมเ่ อาความรู้สกึ มาคํานงึ (3) สภาวะที่เป็นบดิ ามารดา สภาวะทเ่ี ป็นบิดามารดา (Parent ego state) เป็น สภาวะทป่ี ระกอบด้วยเจตคติและพฤตกิ รรมท่แี สดงออกต่อผอู้ น่ื ในเชงิ ตาํ หนิ บังคบั วิพากษ์วิจารณ์ ชอบสร้างข้อจํากัด และกฎเกณฑ์ สร้างค่านิยม ชอบวิจารณ์ ซ่ึงจะเรียกสภาวะที่เป็นบิดามารด ว่า Critical Parent (CP) หรอื จะแสดงด้วยทา่ ทางเป็นมติ ร มนี ํ้าใจ โอบอ้อมอารี ท่าทางทแี สดงออก จะดูอบอุ่น อ่อนโยน มีเมตตา เป็นลักษณะของ Nuturing Parent (NP) (อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์ อ้างถึงใน www.thaiskiplus.com 21 กมุ ภาพันธ์ 2555) 5.5.1.2 การวิเคราะห์การส่อื สัมพนั ธ์ การวิเคราะห์การส่ือสมั พนั ธ์ (Transactional Analysis) มรี ูปแบบอยู่ 3 แบบ คอื (1)การสื่อสมั พันธ์แบบสอดคลอ้ ง ก า ร สื่ อ สั ม พั น ธ์ แ บ บ ส อ ด ค ล้ อ ง (Complementary Transactional) เป็นการตดิ ตอ่ สื่อสมั พนั ธท์ ่ีคนหน่ึงส่งสภาวะ ego ลักษณะ หนงึ่ ไปยงั อกี คนหน่ึง ขณะทสี่ ง่ เขาก็หวังว่าจะได้รับสภาวะ ego ลกั ษณะอะไร แล้วเขาก็ได้รับสมท่หี วงั การติดต่อสัมพันธก์ จ็ ะดาํ เนนิ ต่อไป (2)การสอ่ื สัมพันธแ์ บบขดั แยง้ กนั การสือ่ สมั พนั ธแ์ บบขัดแยง้ กนั (Crossed Transactional) หมายถงึ การสอ่ื สัมพันธฝ์ า่ ยหนง่ึ สง่ ไปโดยมงุ่ หวงั ที่จะได้รับการตอบสนองในสภาวะท่ตี นต้องการ แต่ ฝา่ ยที่รบั กลับโตต้ อบมากจากอกี สภาวะหนง่ึ สวนทางกนั (3)การสื่อสมั พันธแ์ บบซอ่ นเรน้ หรือแอบแฝง การสือ่ สัมพนั ธ์แบบซ่อนเรน้ หรอื แอบแฝง (Ulterior Transactional) หมายถึง การส่งสภาวะ ego ชนิดหน่ึงไป แต่ว่ามีความหมายไปเป็น อีกอย่างหนึ่ง ความหมายกบั ทีพ่ ูดนน้ั ไม่เหมอื นกัน เรยี กวา่ มคี วามหมายทซี่ ่อนอยู่

456 6. วธิ ีการประเมินและวัดบุคลกิ ภาพ การประเมินและวดั บุคลกิ ภาพนนั้ มีจุดประสงคส์ ําคัญท่ีตอ้ งการใหบ้ ุคคลไดร้ ับรูถ้ งึ ตวั ตนว่าเปน็ อย่างไร (พีรพล เทพประสทิ ธ,์ิ 2549 : 216-219) อกี ท้งั ยังเป็นขอ้ มูลพน้ื ฐานในการพฒั นา และปรบั ปรุงบุคลิกภาพของแตล่ ะบคุ คล เนอื่ งจากบุคลิกภาพของบคุ คลเปน็ ผลจากพฒั นาการและ ความสมั พนั ธก์ ับส่ิงแวดลอ้ มผสมผสานกนั เกดิ เป็นลกั ษณะทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะบุคลิกภาพ ส่วนใหญน่ ัน้ มาจากลักษณะทางภายในจิตใจ ซึ่งมที ง้ั ท่ีเปิดเผยและซ่อนเร้นอยู่ ดงั นน้ั นกั จติ วทิ ยาจงึ พยายามค้นหาวธิ กี ารต่างๆ ทจี่ ะสามารถอธบิ ายบคุ ลกิ ภาพของบคุ คลไดอ้ ย่างชัดเจน 6.1 การประเมนิ บคุ ลกิ ภาพ (Personality Evaluation) สามารถทําไดห้ ลายวิธีท่ี สําคญั ไดแ้ ก่ 6.1.1 การสังเกต (Observation) เปน็ วธิ กี ารประเมนิ บคุ ลกิ ภาพที่กระทําโดยผู้ สังเกตที่ได้รับการฝึกหัดมาโดยตรง ซึ่งจะต้องมีหลักเกณฑ์ รูปแบบและวิธีการแปลความหมายที่ แนน่ อน คอื จะตอ้ งไม่นําความรูส้ ึกส่วนตวั เข้าไปมสี ว่ นเกย่ี วข้องอย่างเด็ดขาด พฤติกรรมท่สี ังเกตอาจ เป็นพฤติกรรมท่ัวไป หรอื อาจสังเกตพฤตกิ รรมเฉพาะอย่างก็ได้ ขอ้ ดขี องการใช้วิธกี ารประเมินโดยการสังเกตนัน้ เพอ่ื จะไดเ้ ห็นถงึ พฤตกิ รรมโดย ธรรมชาติ ทําให้ทราบบุคลกิ ภาพทแ่ี ทจ้ รงิ ของบคุ คลนน้ั ข้อทค่ี วรคํานึงในการใช้วธิ กี ารประเมินวิธนี ี้ คอื จะต้องไมใ่ หผ้ ถู้ ูกสังเกตรตู้ วั ว่าตนเองกาํ ลังถกู สงั เกตอยู่ และควรใช้ระยะเวลาในการสังเกตยาวนาน พอสมควร เพอ่ื ดคู วามถี่จากพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก จนสามารถช้ชี ัดลงไปไดว้ ่าพฤตกิ รรมนน้ั ๆ เปน็ พฤติกรรมท่แี ท้จริง 6.1.2 การสัมภาษณ์ (Interview) วิธีการประเมนิ ประเภทนเ้ี ปน็ การสนทนาซึง่ มีจดุ มงุ่ หมายอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง โดยใชก้ ารพูดโต้ตอบระหว่างผสู้ ัมภาษณก์ ับผ้ถู ูกสมั ภาษณ์เป็นหลกั อาจใชว้ ธิ ีการประเมนิ แบบสังเกตสอดแทรกเข้าไปด้วย การสมั ภาษณ์แบ่งเปน็ 2 วิธี คอื 6.1.2.1 การสมั ภาษณ์แบบเป็นทางการ (Formal Interview) เป็นการสมั ภาษณ์ท่มี กี ารเจาะจงและวางแผนไวแ้ ลว้ ล่วงหน้าตามจดุ มงุ่ หมายทต่ี ั้งหวงั ไว้ ผสู้ ัมภาษณ์ อาจสรา้ งสถานการณ์หรือตงั้ คาํ ถามเอาไว้แลว้ เพอื่ ใหผ้ ถู้ ูกสมั ภาษณไ์ ด้เข้าไปอยูใ่ นสถานการณ์หรือ แสดงทักษะประสบการณ์ ความรู้ ความคดิ เหน็ ตอ่ สถานการณห์ รอื คาํ ถามเหล่านั้น 6.1.2.2 การสมั ภาษณ์แบบไมเ่ ปน็ ทางการ (Informal Interview) เป็นการสัมภาษณท์ ีจ่ ะใช้การต้งั คาํ ถามอยา่ งกวา้ งๆ ซ่ึงเป็นเรอ่ื งท่วั ไปไมม่ ีการเจาะจงเฉพาะ เพอื่ เปดิ โอกาสใหผ้ ้ถู กู สมั ภาษณ์มอี ิสระในการตอบอย่างเต็มที่ วธิ กี ารสัมภาษณน์ ม้ี ขี ้อดตี รงทีเ่ ปดิ โอกาสใหส้ มั ภาษณไ์ ด้สนทนาพูดคุย โตต้ อบซึ่งกนั และกัน ท้งั ยังมโี อกาสสงั เกตกิรยิ าทา่ ทาง นาํ เสียง ความคดิ ความร้สู ึก ความเช่ือ ฯลฯ

457 ทําให้เราสามารถประเมินบคุ ลกิ ภาพของบุคคลน้นั ไดใ้ กลเ้ คียงพอสมควร แต่ขอ้ เสียทผี่ สู้ ัมภาษณม์ ักจะ พยายามตอบคําถามให้ดที ีส่ ดุ ท่คี ดิ ว่าจะทาํ ใหผ้ ้สู มั ภาษณพ์ อใจ ซ่งึ อาจจะไม่ตรงกับความเปน็ จริงได้ การประเมนิ บคุ ลิกภาพอาจเกิดความคลาดเคลอ่ื นได้ ถ้าผถู้ ูกสมั ภาษณเ์ กดิ ความรสู้ ึกไปในทศิ ทางบวก หรอื ลบตอ่ ผู้ถกู สัมภาษณ์ 6.2 การวัดบุคลกิ ภาพ (Personality Measurement) เปน็ วิธีการตรวจสอบบคุ ลกิ ภาพ ของบุคคล โดยใชแ้ บบทดสอบมาตรฐานทนี่ ักจติ วิทยาสร้างขน้ึ เพ่ือตรวจสอบหาบคุ ลกิ ภาพทแ่ี ท้จรงิ โดยเฉพาะส่วนทีเ่ ป็นบุคลิกภาพภายใน แบบทดสอบบคุ ลกิ ภาพเปน็ แบบทดสอบทใ่ี ชว้ ัดคุณลกั ษณะของบคุ คลที่ เกี่ยวข้องกับความคิด อารมณ์ ความรู้สึก แรงจงู ใจ ทศั นคติ คา่ นิยม การปรับตวั และคุณลกั ษณะ เฉพาะอนื่ ๆ เชน่ ความซ่ือสตั ย์ ความออ่ นน้อมถอ่ มตน เป็นต้น แบบทดสอบวัดบคุ ลิกภาพทีน่ ิยม แพร่หลาย ไดแ้ ก่ 6.2.1 แบบทดสอบบุคลิกภาพประเภทแบบสอบถาม (Personality Questionnaires) เนื่องจากมคี วามสะดวก รวดเรว็ และงา่ ยต่อการใช้งาน แบบสอบถามที่นิยมใชก้ ัน ไดแ้ ก่ 6.2.1.1 แบบสาํ รวจบุคลิกภาพรวมมเิ นโซต้า (Minnesota Multiphasic Personality Inventory ; MMPI) เปน็ แบบทดสอบทส่ี รา้ งขึน้ เพอื่ ช่วยวินิจฉัยความแปรปรวนทาง พฤติกรรมของบุคคลทงั้ ท่ปี กติและผิดปกติ ลกั ษณะแบบสอบถามมีข้อคําถาม 550 ขอ้ โดยแต่ละข้อ จะมีคําตอบให้เลอื กวา่ จรงิ ไมจ่ ริง หรือไม่แนใ่ จ ตวั อย่างเช่น A : ฉนั ร้สู กึ อึดอัดเมื่อตอ้ งอยู่ในหอ้ งท่คี ับแคบ B : ฉนั วติ กกงั วลในเร่อื งความสมั พนั ธท์ างเพศ 6.2.1.2 แบบสาํ รวจทางจิตวทิ ยาแคลิฟอร์เนีย (California Psychological Inventory ; CPI) เป็นแบบทดสอบท่มี คี วามคลา้ ยคลึงกบั MMPI แตจ่ ะใชว้ ัดกับบคุ คลทป่ี กติเทา่ นัน้ แบบสาํ รวจน้ปี ระกอบไปดว้ ยคาํ ถาม 450 ขอ้ โดยบางสว่ นเป็นคาํ ถามท่ไี ดม้ าจากแบบทดสอบ MMPI ตัวอย่างเช่น C : ฉันชอบงานสังคมเพ่ือตอ้ งการเพื่อน D : ฉนั มักสงสยั วา่ ฉนั เปน็ ผูน้ ําท่ีดีหรือไม่ 6.2.1.3 แบบทดสอบบคุ ลกิ ภาพของเอ็ดเวร์ิด (Edward Personal Preference Schedule ; EPPS) เปน็ แบบทดสอบท่ีวัดความสนใจหรอื ทศั นคติของบคุ คล แบบทดสอบ จะมี 225 ข้อ แตล่ ะข้อจะมี 2 ขอ้ ความ ซง่ึ ผูต้ อบจะตอ้ งเลือกเพยี งข้อความทมี่ คี วามใกล้เคียงกบั ตัวเองมากทีส่ ุด ตัวอย่าง เช่น

458 E : ฉนั รู้สกึ เศรา้ A : เศร้าโศกเม่อื ผดิ หวัง B : ปูดตอ่ หนา้ ฝูงชน 6.2.1.4 แบบสอบถามองค์ประกอบทางบคุ ลกิ ภาพทง้ั 16 (Sixteen Personality Factor Questionnaires) เปน็ แบบสอบถามทส่ี ร้างโดยแคทเทลล์ (Catteel) ประกอบด้วย คําถามมากกวา่ 100 ขอ้ ผู้รบั การทดสอบจะตอ้ งตอบคําถามว่า ใช่ หรือ ไมใ่ ช่ จากน้นั จงึ นาํ คําตอบมา วิเคราะห์ด้วยวิธกี ารทางสถิตทิ ่ีเรยี กว่า การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) ตวั อยา่ งเชน่ F : ฉันรู้สกึ เศรา้ A : ใช่ B : ไม่แนใ่ จ C : ไม่ใช่ ปัญหาที่พบไดใ้ นแบบทดสอบประเภทนี้ ไดแ้ ก่ 1) ความจริงใจและความซอื่ สตั ยใ์ นการตอบ เชน่ แนวโนม้ ในการตอบ เพ่ือให้สังคมยอมรับ (Social Desirability) 2) ผูต้ อบอาจจะไม่รูค้ วามจริงเกย่ี วกบั ตนเอง เชน่ ผูต้ อบไม่ร้วู ่าตนเอง เป็นคนก้าวรา้ ว จงึ ประเมนิ ตนเองในระดับต่ําหรอื สูงเกนิ ไป เปน็ ต้น 3) ผู้ตอบไมเ่ ขา้ ใจภาษาหรอื แบบทดสอบมีคําพูดยากเกนิ ไป 4) ผ้ตู อบไมอ่ าจจะตอบเองได้ เพราะการตอบมผี ลตอ่ ความมน่ั คง ปลอดภยั ของชีวิตและหนา้ ท่ี จึงทําให้เกิดความระมัดระวังใน การตอบ 6.2.2 แบบทดสอบบคุ ลกิ ภาพประเภทฉายภาพ (Projective Test) แบบทดสอบ ชนิดนี้ นกั จิตวิทยาและจิตแพทย์นยิ มใช้เพอ่ื วัดพลังจิตใต้สํานึกที่ซอ่ นเรน้ ภายในตัวบคุ คล แนวคิดใน การทดสอบนนั้ ต้งั อย่บู นฐานความเชอ่ื ว่า บุคคลจะสะทอ้ นสว่ นของจติ ใต้สํานกึ ในแงม่ มุ ต่างๆ ออกมา จากการมองเห็นสงิ่ เรา้ ทีค่ ลมุ เครือ (Non Structure) และไมช่ ัดเจน (Ambiguous) ลักษณะของ แบบทดสอบจะเปน็ รปู ภาพแบบคลมุ เครือ ไมร่ ู้ว่าภาพสื่อความหมายใดกันแน่ ผู้ถูกทดสอบมีเสรีภาพ ในการตอบและจะตอบอยา่ งไร ทน่ี ยิ มกันมากและแพร่หลาย ได้แก่ 6.2.2.1 แบบทดสอบหยดหมกึ ของรอร์ชาช (Rorschach’s Inkblot Test) เปน็ แบบทดสอบท่มี ชี ่อื เสยี ง สร้างโดยจติ แพทย์ชาวสวิตเซอร์แลนด์ชือ่ เฮอรแ์ มน รอรช์ าช (Hermann Rorschach) แบบทดสอบจะประกอบไปดว้ ยแผ่นภาพหยดหมึกท้งั สิ้น 10 ภาพ ไมซ่ ํา้ กนั โดยแบง่ เปน็ รูปสี 5 ภาพ และรปู ขาวดาํ อีก 5 ภาพ ผู้ตอบจะต้องบรรยายภาพทีเ่ หน็ วา่ คลา้ ยหรือ

459 เหมือนกับอะไรในความคิดของตน การทดสอบจะไม่มีการจาํ กัดเวลาและคาํ ตอบผู้ทดสอบจะต้อง ไดร้ บั การฝกึ ฝน อบรมถงึ ความชํานาญพเิ ศษทงั้ การใชแ้ บบทดสอบเพอ่ื ทดสอบและการแปลผล ภาพที่ 137 แสดงภาพตัวอย่างแบบทดสอบหยดหมกึ ของรอรช์ าช (ท่ีมา พรี พล เทพประสิทธ์ิ,2549 : 219) 6.2.2.2 แบบทดสอบทเี อที (Thematic Apperception Test ; TAT ) เป็นแบบทดสอบทีส่ ร้างโดยเฮนร่ี มอรเ์ รย์ (Henry Murry) และคริสตนิ า มอร์แกน (Christina Morgan) ประกอบด้วยรปู แสดงสถานการณต์ ่างๆ ทพี่ บในชวี ติ ประจาํ วันทว่ั ไปประมาณ 20 รูป โดย จะมีแผน่ การด์ วา่ งๆ 1 แผน่ แตล่ ะรูปภาพนนั้ จะมลี กั ษณะคลุมเครือ ไมช่ ัดเจน แต่ละรูปภาพนนั้ จะถูก ระบวุ ่าควรใช้กับผ้ชู ายหรอื ผู้หญงิ หรือเดก็ โดยผู้ถกู ทดสอบนนั้ จะบรรยายรูปได้อย่างอิสระ ผทู้ ดสอบก็ จะจดคําบรรยาย และกริ ยิ าทา่ ทางระหวา่ งการบรรยายรปู อยา่ งละเอียด เพอื่ นาํ ข้อมูลเหลา่ นั้นมา วเิ คราะหห์ าบุคลกิ ภาพของบุคคลน้นั

460 ภาพท่ี 138 แสดงภาพตวั อย่างแบบทดสอบประเภทฉายภาพแบบ TAT (ทม่ี า พรี พล เทพประสทิ ธ,์ิ 2549 : 219) จากข้อมูลของบคุ ลิกภาพข้างตน้ ทําใหเ้ กดิ การศึกษาบุคลิกภาพของมนุษย์ไดอ้ ยา่ งถ่องแท้ ลําดับต่อไปผู้เขยี นขอนําเสนอ เร่ือง การวางตวั เพ่อื ความเหมาะสม เพอื่ สอดคล้องกับบุคลิกภาพและ การใชช้ ีวิตในประจาํ วนั อย่างเหมาะสม ดังมีรายละเอียดตอ่ ไปนี้

461 7. การวางตวั เพอื่ ความเหมาะสม การวางตัวเพ่ือความเหมาะสม ควรมลี ักษณะบุคลิกภาพทด่ี ี ดงั ตอ่ ไปน้ี 7.1 ลักษณะของผทู้ ม่ี ีบุคลกิ ภาพทด่ี ี ลักษณะของผมู้ ีบคุ ลกิ ภาพดี ผมู้ ีบุคลิกภาพดีเปน็ ผู้ท่ีมีพื้นฐานดา้ นสขุ ภาพดี สามารถปรับตัวไดด้ ีและสง่ ผลทําใหบ้ คุ ลกิ ภาพดีด้วย ผูม้ บี คุ ลกิ ภาพดีจะมีคณุ ลกั ษณะและ ความสามารถทางจติ ใจทสี่ ําคัญ ดังน้ี 7.1.1 ความสามารถในการรบั รแู้ ละเข้าใจสภาพเป็นจรงิ อย่างถกู ต้อง บคุ คลท่มี ี สขุ ภาพจิตสมบูรณจ์ ะมี ความสามารถในการรบั รู้และเขา้ ใจสภาพความจริงทงั้ ความจรงิ ภายนอกและ ความจรงิ ภายใน เช่น สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ทางสงั คม ความรู้สกึ และความตอ้ งการของตัวเรา 7.1.2 การแสดงอารมณ์ในลกั ษณะและขอบเขตทเี่ หมาะสม ผทู้ ม่ี ีสุขภาพจิตดี จะสามารถควบคมุ อารมณ์ ได้อยา่ งเหมาะสม แตก่ ารควบคุมอารมณ์มากเกินกว่าเหตุจะมีผลรา้ ยคอื ทําให้มอี ารมณเ์ ครยี ดผิดปกตซิ ึง่ จะ ทาํ ใหเ้ กิดปญั หาในการดาํ เนนิ ชีวิตและไม่สามารถควบคุมอารมณ์ ของตนเอง และขาดการยบั ย้ังชัง่ ใจ 7.1.3 ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม โดยธรรมชาติของ มนุษยจ์ ะไมช่ อบอยูล่ าํ พัง จะต้องมีความสัมพนั ธ์กับผ้อู ่ืน มีส่วนร่วมในสงั คม ตอ้ งการไดร้ ับการยกยอ่ ง และมีชอ่ื เสยี งเป็นท่ีรักของทุกคน ตลอดจนทาํ ใหเ้ กิดความร้สู กึ ปลอดภยั จากอนั ตรายตา่ งๆ และไดร้ ับ ความไว้วางใจจากผู้อนื่ 7.1.4 ความสามารถในการทํางานท่ีเป็นประโยชน์ต่อสงั คมและสว่ นรวม คนเราจาํ เปน็ ต้องเลือก ประกอบอาชีพทีต่ นถนดั เพือ่ ใหใ้ ชค้ วามร้คู วามสามารถได้อย่างเต็มท่ี ซงึ่ จะ เปน็ ประโยชน์ต่อตนเองในการ ทาํ งาน และเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม 7.1.5 ความรกั และความตอ้ งการทางเพศ มีความสําคญั ตอ่ สขุ ภาพจติ และสง่ ผล ต่อบุคลิกลักษณะของ บคุ คล ความรกั จะสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์ ความรกั ใครผ่ ูกพันจะสรา้ ง ความปรารถนาและอุทศิ ตัวใน การอยรู่ ว่ มกันและผกู พนั กบั ผู้อ่ืน ซ่ึงจะสร้างความสุขความพอใจ และ เกิดความรู้สกึ เป็นตัวของตัวเอง และ สรา้ งสมั พันธภาพทีด่ กี บั ผู้อน่ื ด้วย 7.1.6 ความสามารถในการพัฒนาตน ตนในทนี่ ีห้ มายถงึ ตนที่แทจ้ รงิ และตนที่ แสดงออกตอ่ ผู้อน่ื ดังน้ันผู้ มีสุขภาพจติ สมบรู ณจ์ ะมคี วามรู้สกึ ต่อตนเองในแง่ดแี ละเขา้ ใจตนเอง ใน บางครง้ั คนเรากอ็ าจจะเกิดความรูส้ ึก ขัดขืน ไม่เหน็ ด้วยกบั ส่งิ ทต่ี นตอ้ งกระทํา แต่ต้องปฏบิ ตั ิตนให้ สอดคลอ้ งกับความต้องการของผอู้ ่ืน ซ่งึ อาจจะทาํ ใหก้ ระทบกระเทือนต่อความรู้สึกและความตอ้ งการ ของตนเอง

462 7.2 ลักษณะของบคุ ลิกภาพทางกาย ทางอารมณ์และจิตใจ และทางวาจาทดี่ ี ลักษณะของบคุ ลกิ ภาพทางกาย ทางอารมณ์และจิตใจ และทางวาจาท่ีดี มีดงั น้ี 7.2.1 ลกั ษณะบุคลิกภาพทางกาย เป็นลกั ษณะท่มี องเหน็ ได้โดยง่าย ซึ่งประกอบดว้ ย 7.2.1.1 รูปร่าง หน้าตา เป็นลักษณะภายนอกท่ีก่อให้เกิดความพึง พอใจแก่บคุ คลรอบขา้ ง และผทู้ ม่ี า ติดต่อ บุคคลที่มรี ปู รา่ งหน้าตาดยี ่อมไดเ้ ปรียบบคุ คลอืน่ แตจ่ ะตอ้ ง อาศัยลักษณะอย่างอื่น เช่น กิริยามารยาท ดีมีความเป็นกันเอง มีนา้ํ ใจเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่และมี ความสามารถในการพดู ท่ดี ีเป็นสว่ นประกอบด้วย 7.2.1.2 การแต่งกาย ผทู้ ม่ี บี ุคลกิ ภาพดีจะต้องแตง่ กายใหถ้ ูกกาลเทศะ มรี ปู แบบของเสอื้ ผ้าและสสี ันที่ เหมาะสมตลอดจนมีความสะอาด การแตง่ กายเป็นตัวแทนอยา่ งหน่งึ ของคนซึ่งสามารถปรับปรุงเปล่ียนแปลงได้ ง่ายและรวดเร็ว รวมทั้งเครื่องแต่งกายเป็นตัวกําหนด ระเบยี บของสังคม การแตง่ กายให้เหมาะสมเป็นการให้เกยี รติกันและใหค้ วามเคารพต่อสถานท่ี 7.2.1.3 ความสะอาดและสขุ ภาพอนามยั อวัยวะสว่ นตา่ งๆ ในรา่ งกาย นับตั้งแตศ่ รี ษะ จรดปลายเทา้ จะต้องสะอาดทกุ ๆ ส่วน ซงึ่ จะส่งผลใหส้ ขุ ภาพอนามยั ดมี คี วามสมบูรณ์ 7.2.1.4 กิรยิ าทา่ ทาง กิริยาทา่ ทางเป็นลกั ษณะอยา่ งหนึ่งซึง่ จะสามารถ สร้างความประทบั ใจใหก้ บั ผพู้ บเห็นหรือมาติดต่อได้ ดังน้นั บุคคลจงึ ควรจะมกี ิริยาทา่ ทางทีแ่ สดงออก ถงึ ความรวดเร็ว คล่องแคล่ววอ่ งไว 7.2.2 บคุ ลิกภาพทางอารมณ์และจติ ใจ เป็นสง่ิ ทส่ี ง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลกิ ภาพทางกาย ให้งดงาม น่าศรทั ธา เชอื่ ถอื มากย่งิ ข้ึน จงึ ควรมบี คุ ลิกภาพดงั นี้ 7.2.2.1 ความสามารถในการควบคมุ อารมณ์ คอื ความสามารถใน การควบคมุ อารมณ์ โลภ โกรธ หลง ไมใ่ หเ้ กดิ ขน้ึ เพราะหากไม่สามารถควบคมุ ความโลภของตนเองไว้ ได้ก็จะเกิดการคดโกงหรือหากเกิดอารมณ์ โกรธจะเกิดอาการหงุดหงิดไม่สามารถควบคุมสติขาด การย้งั คิดกอ็ าจจะทําให้การตัดสนิ ใจผิดพลาดหรอื ทํางานบกพร่องและการหลงงมงายในอบายมุข ส่ิงเสพติด จะทําให้ละทิ้งหน้าที่การงานละท้ิงครอบครัว จนอาจทําให้ครอบครัวแตกแยกในที่สุด ดังนัน้ บุคคลทส่ี ามารถควบคมุ อารมณไ์ ด้ จะเปน็ ผ้ทู ี่มอี ารมณ์ดยี ม้ิ แย้มแจม่ ใสและมีมนุษยส์ มั พนั ธ์ดี ตอ่ คนใกลช้ ิดและคนรอบข้าง 7.2.2.2 มีทัศนคติท่ีดตี อ่ การปฏิบัตงิ าน การท่ีบคุ คลมีทัศนคติท่ีดตี อ่ งาน จะทาํ ให้มีจติ มงุ่ ม่ันในการทาํ งานทมุ่ เทในการทาํ งานทงั้ รา่ งกายและจิตใจและพรอ้ มท่จี ะฝา่ ฟนั อปุ สรรคตา่ งๆ ทํางานดว้ ยใจรักและทํางานโดยไมห่ วังสงิ่ ตอบแทนใดๆ กย็ ่อมได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook