Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

13 ภาพท่ี 7 แสดงภาพประสาทสัมผสั ทง้ั หา้ (ทีม่ า https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559) 3.2.1 พฤตกิ รรมท่ีเป็นความร้สู กึ จากการสมั ผสั (Sensation) เชน่ การเห็น การได้ยิน การได้กลนิ่ การรรู้ ส การรูส้ มั ผัส ภาพท่ี 8 แสดงภาพการเขา้ ใจหรือตีความ (ทม่ี า https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559)

14 3.2.2 พฤตกิ รรมทเ่ี ป็นการเขา้ ใจหรือตีความ (Interpreting) เชน่ พอเราได้ยนิ เสยี งเรากท็ ราบความหมาย แตถ่ ้าพดู ภาษาท่ีเราไมร่ ู้เรือ่ งกไ็ ด้ยินเสยี งก็เป็นพฤติกรรมที่รสู้ ึกจาก การสมั ผสั ภาพท่ี 9 แสดงภาพพฤตกิ รรมท่เี ปน็ ความจาํ (ทีม่ า https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559) 3.2.3 พฤตกิ รรมที่เปน็ ความจาํ (Remembering) เชน่ ความจําได้ ระลึกได้ 3.2.3.1 เทคนคิ การจาํ แบบ อลั เบรติ ์ไอนส์ ไตน์ 1) ชัดเจน (Focus) โฟกสั สงิ่ ทตี่ อ้ งการจดจําให้ชดั เจนวา่ คืออะไร 2) บันทกึ (Files) จัดการความทรงจาํ ไวใ้ นตเู้ ก็บไฟลอ์ ย่างมีระบบ 3) ภาษาภาพ (Pictures) จินตนาการ สง่ิ ท่ีตอ้ งการจาํ ให้เป็นภาพ ท่ีค้นุ เคย 4) ติดตรงึ (Glue) สิงทจี่ ะจดจาํ ตอ้ งมีความโดดเดน่ กระทบกบั ความรู้สึกของตัวเองอย่างแรง 5) ทบทวน (Review) การทบทวนส่ิงทบ่ี ันทึกไว้ ในความทรงจาํ จะช่วยใหเ้ ราสามารถจาํ สิ่งต่างๆได้ ในระยะยาว

15 วิธีการงา่ ยๆ ตื่นเช้าขนึ้ มาใหถ้ ามตวั เองวา่ เม่ือวานนี้ เราได้พบ ใครบา้ ง เพ่ือจะทบทวนรายชอ่ื ของคนทเ่ี ราได้พบ แล้วดวู า่ มกี ค่ี นท่ีคุณสามารถจําได้ ตรงนถี้ ือเป็น แบบฝกึ หัดทด่ี ี แถมยงั ชว่ ยเพมิ่ เตมิ ขอ้ มลู ไปในเมโมร่ไี ปพรอ้ มๆ กันด้วย ภาพที่ 10 แสดงภาพการคิดและการตดั สินใจ (ทม่ี า https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559) 3.2.4 พฤตกิ รรมทเี่ ป็นการคดิ (Thinking) และการตัดสินใจ (decision making) เชน่ การจินตนา การคดิ หาเหตุผล ฯลฯ พฤตกิ รรมภายนอกและพฤตกิ รรมภายในมคี วามสัมพนั ธ์กนั โดยพฤตกิ รรมภายในเปน็ ตัวกาํ หนดพฤติกรรมภายนอก เชน่ คนเราย่อมพูดหรือย่อมแสดงกริ ยิ าโดยสอดคลอ้ งกบั ความร้สู กึ นึก คิดภายใน ถ้าตอ้ งการศึกษาให้เข้าใจเก่ยี วกับ “จติ ใจ” หรอื พฤติกรรมภายในของคน ตอ้ งศึกษาส่วนที่ สมั ผสั ไดช้ ัดแจง้ คือ พฤตกิ รรมภายนอก เป็นแนวทางสู่ความเข้าใจพฤติกรรมทเ่ี ปน็ ความในใจและ การจะเข้าใจพฤติกรรมต่างๆท่ีมนุษย์แสดงออก อันเป็นพฤติกรรมภายนอกที่ต้องศึกษาให้เข้าใจ ธรรมชาติของการคิด การตดั สินใจ การรบั รู้ ความรู้สกึ ฯลฯ เมอ่ื ผู้ศกึ ษาไดศ้ ึกษาเก่ยี วกับความหมาย และประเภทของพฤติกรรมมนษุ ย์ ลาํ ดบั ต่อไปผเู้ ขยี นขอเสนอตาํ นานทางจิตวทิ ยา ดงั ต่อไปน้ี

16 4. ความสาํ คัญของการศกึ ษาจติ วิทยา ความสาํ คญั ของการศึกษาจิตวทิ ยา สามารถทําให้เกดิ ประโยชนไ์ ด้ดงั มรี ายละเอียด ต่อไปน้ี (ปราณี รามสูตและคณะ,2545 : 4-5 ) 4.1 ทาํ ให้เกดิ ความรู้เกีย่ วกับพฤติกรรมช่วยใหผ้ ้ศู ึกษาเกดิ ความเข้าใจตนเอง คือ จาก การศกึ ษาธรรมชาติพฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ นแง่มุมตา่ งๆ จะช่วยใหศ้ กึ ษาเกดิ ความเขา้ ใจตนเองไปด้วย จากความเขา้ ใจตนเองก็นาํ ไปสกู่ ารยอมรับตนเอง 4.2 ทาํ ใหเ้ กิดความร้เู กย่ี วกบั พฤตกิ รรมช่วยให้ผู้ศึกษาเกดิ ความเขา้ ใจผอู้ ื่น คือ ความรู้ ด้านพฤตกิ รรมอันเปน็ ข้อสรปุ จากคนส่วนใหญ่ ชว่ ยเปน็ แนวทางเขา้ ใจบคุ คลใกลต้ วั และผแู้ วดลอ้ ม ชว่ ยให้ยอมรับข้อดขี ้อจาํ กัดของกนั และกัน ชว่ ยใหเ้ กดิ ความเข้าใจยอมรบั มีสัมพนั ธภาพทดี่ ี และชว่ ย การจดั วางตัวบุคคลได้เหมาะสมข้ึน 4.3 ทําใหเ้ กิดความรู้เก่ยี วกบั พฤติกรรมช่วยบรรเทาปัญหาสังคม คือ เรอื่ งปัญหาสงั คม อนั มีปัจจัยหลายประการนน้ั ปจั จัยของปัญหาสังคมทสี่ าํ คญั มากส่วนหนึง่ มาจากปัญหาพฤติกรรมของ บุคคลในสงั คม อาจจะเป็นปญั หาสุขภาพจิต ปญั หาเบ่ียงเบนทางเพศ ปญั หาความกา้ วรา้ ว ลกั ขโมย ความเชอ่ื ที่ผดิ การลอกเลยี นแบบทไ่ี ม่เหมาะสม ความรนุ แรงของพฤตกิ รรม การจดั สภาพแวดลอ้ มท่ี ส่งเสริมการปรบั ตัวของบุคคล เปน็ ต้น 4.4 ทําใหเ้ กิดความรู้เก่ยี วกบั พฤติกรรมช่วยเสรมิ สรา้ งพัฒนาคุณภาพชีวติ คือ จาก ความเข้าใจในอิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมต่อพฤติกรรม ช่วยให้ผู้ศึกษารู้จักเลือกรับ ปรับเปล่ียนสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเหมาะสมเพอ่ื พฒั นาทง้ั ทางกาย อารมณ์ สังคม สติปญั ญา 5. ตํานานทางจติ วทิ ยา ตํานานเก่ยี วกับคําว่า Psyche โดยเลา่ ขาน ดงั น้ี (http://writer.dek-d.com/ 27 พฤษภาคม 2559) ตาํ นาน คิวปิด (Cupid) กบั ไซกี (Psyche) ตาํ นานยนื ยันอํานาจมหึมาของศรมาลัย ซงึ่ สอยได้แม้กามเทพผ้ทู รงศกั ดใิ์ หล้ ่วงลงมาคลกุ ฝุน่ เหมือนกับมนษุ ย์ เดมิ ที ควิ ปดิ (Cupid) รบั วาน จากวนี สั (Venus) ผู้เปน็ มารดาแผลงศรลงทนั ฑ์ นางมนษุ ยไ์ ซกี (Psyche) ทหี่ ลงรกั บรุ ษุ อัปลักษณ์ โทษฐานไซกี (Psyche) สวยแข่งกบั เทวี ไซกี (Psyche) เปน็ ธิดาของกษัตรยิ ์องคห์ นงึ่ ท่ีกําลังแรกร่นุ และสวยกวา่ วนี ัส (Venus)มาก แตเ่ ม่ือเห็น ไซกี (Psyche) กามเทพควิ ปดิ (Cupid) กลับมอื ไม้สัน่ จน ลนั่ เข้ากบั ตัวเอง ทาํ ใหน้ างไซกี (Psyche) หลงรกั อย่างถอนตวั ไมข่ ้นึ จากนน้ั คิวปดิ จึงรบั นางไซกี (Psyche) ไปอยทู่ ตี่ าํ หนัก โดยมาหาทกุ คนื ในยามมืดสนิท

17 ภาพท่ี 11 แสดงภาพไซกี (Psyche) (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 27 พฤษภาคม 2559) แตม่ ีข้อแม้ว่าไม่ว่านางอยากจะพิสจู นอ์ ย่างไร วา่ แท้จริงแลว้ ทรงเป็นสัตวป์ ระหลาด เหมอื นที่คนกลา่ วหาหรือไม่ ห้ามนางแอบมองควิ ปดิ เด็ดขาด มิฉะนั้น ควิ ปดิ จะจากไป ดว้ ยวสิ ยั ของ ความรัก ไซกี (Psyche) จึงละเมดิ ขอ้ หา้ มเพ่อื พสิ จู น์ข้อข้องใจ จนถูกควิ ปดิ ทงิ้ รา้ ง และนางต้องเผชิญ กับเคราะหก์ รรมอกี สารพดั ก่อนทม่ี หาเทพซสู สงสารและเหน็ ใจ อภเิ ษกสมรสให้คิวปดิ (Cupid) และ ไซกี (Psyche) อย่รู ่วมกนั ในสวรรคใ์ นทสี่ ดุ (http://writer.dek-d.com/27 พฤษภาคม 2559) จากตํานานทางจิตวิทยา เป็นเร่ืองราวปรัมปรา ลําดับต่อไปควรเรียนรู้ประวัติ ความเป็นมาของจิตวทิ ยา โดยผเู้ ขียนขออธิบายประวตั คิ วามเป็นมาของจิตวิทยา มดี ังต่อไปนี้ 6. ประวตั คิ วามเป็นมาของจติ วทิ ยา ประวตั คิ วามเป็นมาของจิตวิทยา มรี ายละเอียดดังน้ี (วไิ ลวรรณ ศรีสงคราม,2549 : 3-6) วิชาจิตวิทยาจัดได้ว่าเป็นศาสตร์ที่ค่อนข้างใหม่ ซ่ึงในความเป็นจริงการศึกษา ในจติ วิทยาได้มมี าช้านาน แต่แฝงอย่กู บั การสอนหลกั ธรรมทางศาสนา โดยปรากฏให้เหน็ ได้ในโลก ตะวันออก สสว่ นในโลกตะวันตก นักปรัญชากรีกโซเครตสี (470—399 BCE) และผเู้ ข้าร่วมงานของ

18 เขา ซง่ึ ไดแ้ ก่ พลาโต และอรสิ โตเติล ไดใ้ หค้ วามสนใจศึกษาธรรมชาตขิ องมนุษย์ มงี านเขยี นที่เก่ยี วกับ ความสขุ ความเพลดิ เพลิน และความเจ็บปวด ความร้สู กึ สัมผสั ทัง้ หา้ การจินตนาการ ความปรารถนา และลักษณะอ่นื ๆ ของจติ ใจ ในเวลาเดียวกัน ฮปิ โปเครตสี (460-377 BCE) บดิ าทางการแพทย์ สมัยใหม่ ได้ให้ความหมายของสมองมนษุ ย์ว่าเปน็ ดงั “การแปลความหมายของความรตู้ วั ” หลายปี ต่อมานกั สรรี วิทยาชาวโรมัน กาเลน (130-200 CE) ได้เสนอทฤษฎีที่วา่ มนุษยท์ กุ คนเกิดมาพรอ้ มกบั ประเภทของบุคลกิ ภาพอย่างใดอยา่ งหน่ึงในสีอ่ ย่าง สว่ น เรเน่ เดสคาทสี (Rene Descartes 1596-1650) นักคณติ ศาสตร์และนักปรชั ญา ชาวฝรงั่ เศล ไดเ้ สนอทฤษฎีท่ีเชอื่ วา่ จิตใจและรา่ งกายเป็นคนละส่วนและแยกจากกัน ซงึ่ รูจ้ ักกันดีใน ชื่อ Dualism โดยท้ังสองสว่ นจะมปี ฏิสมั พันธ์กันเพียงแต่ผ่านโครงสรา้ งเลก็ ๆ ในสมองในขณะท่ี โทมสั ฮอบบส์ (Thomas Hobbes 1588-1679) ไมเ่ ห็นด้วย เขาและนักปรชั ญาชาวอังกฤษคนอนื่ ๆ ได้มี ความเชื่อว่า กายและจิตใจเปน็ ส่งิ เดียวกัน ทัง้ นี้เพราะประสบการณ์ของมนษุ ยท์ ง้ั หมด ซงึ่ ไดร้ วมไปถึง ความคิดและความรสู้ กึ อยา่ งรู้ตัวจัดได้ว่าเป็นกระบวนการทางกายทถี่ ูกควบคมุ โดยสมอง ตอ่ มาในศตวรรษที่ 19 นักสรีรวทิ ยาไดเ้ รมิ่ ท่ีจะศึกษาสมอง และโครงสร้างทเ่ี ก่ยี วข้อง ทางจิตวิทยาอ่ืนๆ ตวั อยา่ งเช่น เฮอร์มานน์ วอน เฮมโฮลท์ ซ์ (Hermann Von Helmholtz 1821- 1894) ไดศ้ ึกษารเี ซ็ปเตอรข์ องการรบั สมั ผสั ในตาและหู และกสุ ตาฟ เฟรชเนอร์ (Gustav Fechner 1801-1887) ไดพ้ ัฒนาเทคนคิ ที่จะวดั การรับรูโ้ ดยการเปลยี่ นแปลงรับสมั ผสั ทางกาย นอกจากนี้ จติ แพทยช์ าวเยอรมัน อมี ิล เครพีลนิ (Emil Kraepelin 1856-1926) ไดศ้ ึกษาเปรยี บเทียบความ ผิดปกติทางจิตทีม่ ีผลตอ่ ความเจบ็ ป่วยทางกาย และได้ออกแบบระบบเพอ่ื ใชจ้ าํ แนกความผิดปกตทิ าง จติ ขนึ้ ใชเ้ ปน็ ครงั้ แรก ส่วนในปารีสมนี ักประสาทวทิ ยา ชื่อ เจน ชาร์คอท (Jean Charcot 1825- 1893) ได้พบวา่ คนไข้มที นทกุ ข์ทรมานจากความผดิ ปกตทิ างประสาท อาจจะสามารถรกั ษาไดโ้ ดยใช้ วิธกี ารสะกดจิต จะเหน็ ไดว้ า่ ความกา้ วหนา้ ทางจติ วิทยาได้รับรากฐานลกึ ๆ ในอดตี มาจากปรัชญา สรรี วิทยาและการแพทย์ (Hilgard 1987 ; Watson & Evans 1991 อ้างถงึ ใน Kassin 1998: 6) การบุกเบิกในการศึกษาเร่ืองจิต ซึ่งถือว่าทําให้จิตวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ โดยได้มี การใชห้ ้องทดลองขน้ึ เปน็ ครง้ั แรกได้เกดิ ข้นึ ในปี ค.ศ. 1879 ทม่ี หาวิทยาลัยไลปซ์ กิ ประเทศเยอรมัน ซึง่ วิลเฮล์ม วุ้นท์ (Wilhelm Wundt 1832-1920) นกั สรรี วทิ ยาได้จัดต้ังห้องทดลองเป็นคร้งั แรก เพอ่ื การใช้ในการศกึ ษาทางจติ ในลกั ษณะทีเ่ ปน็ วิทยาศาสตร์ ทาํ ใหม้ ีนกั ศึกษาจาํ นวนมากจากยโุ รปและ สหรัฐได้ศกึ ษาที่หอ้ งทดลองของวนุ้ ด์ ซึงในกล่มุ นีจ้ ะมี จี แสตนเลย์ ฮอลล์ (G. Stanley Hall) เปน็ ผทู้ ่ี ในปีค.ศ. 1891 ไดจ้ ดั ต้ังสมาคมนกั จติ วิทยาชาวสหรัฐอเมริกา (APA) เจมส์ แมคคนี แคทเทล (James MeKeen Cattell) เป็นคนแรกที่ศกึ ษาความแตกตา่ งระหว่างบุคคล และมฮี วิ โก้ มันสเตอร์เบริ์ก (Hugo Miinsterberg) เป็นบคุ คลหนึง่ ในจํานวนคนแรกๆ ทปี่ ระยุกตน์ าํ เอาจิตวิทยาไปใชใ้ นโรงงาน

19 อตุ สาหกรรม มนี ักศกึ ษาทั้งหมด 186 คนทไ่ี ด้รบั ปริญญาเอกภายใต้การไดร้ บั คําปรึกษาและการศึกษา จากหอ้ งทดลองของวุน้ ด์ในช่วงเวลานนั้ วุ้นด์ได้จัดพิมพว์ ารสารทางจิตวิทยาจาํ นวน 54,000 หนา้ เป้าหมายของหนังสอื ท่เี ขียนข้นึ เพอ่ื การจดั ทําขอบข่ายวิทยาศาสตรใ์ หม่ สาํ หรบั วุ้นด์ เขาได้ใชว้ ธิ ีการตรวจสอบจิตตนเอง (Introspection) ในการศึกษาเรื่อง ของจิตแทนวธิ กี ารศึกษาในแบบเดมิ ทใ่ี ชก้ ารตรวจสอบโดยการนงั่ คิดเหตุและผลเอาเองที่เรียกวา่ วิธี Armchair ของนักปรัชญาในเวลานน้ั ในสหรฐั อเมริกา ได้เกดิ แนวคิดหมข่ ้ึนมา เรยี กว่า กลุม่ หนา้ ที่ของจติ นาํ โดย วลิ เล่ียม เจมส์ (William James, 1842-1910) ซึ่งต่อมาเขาได้เป็นศาสตราจารย์ท่ีมหาวิทยาลัยฮาร์วาด ใน ปี ค.ศ. 1875 เจมสไ์ ดเ้ สนอหลักสูตรวิชาจติ วทิ ยาขึ้นเปน็ ครั้งแรกในปคี .ศ. 1890 เจมสไ์ ดพ้ ิมพ์หนงั สือ Principles of Psychology และในปีค.ศ. 1892 เจมสไ์ ดท้ ําหนงั สอื ให้มคี วามกระชับข้นึ มีจาํ นวน ท้ังหมด 28 บท ซง่ึ ไดเ้ ขยี นเก่ยี วกับการเปล่ียนแปลงนสิ ยั การเลื่อนไหลของความรตู้ ัว ความเป็น ปัจเจกบุคคล การเชื่องโยงระหว่างกายและจติ อารมณ์ ตัวตน และหวั ขอ้ อ่นื ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ต่อมาไดม้ นี กั จติ วิทยาร่นุ ใหม่ คือ ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud 1856-1939) นักประสาทวทิ ยาชาวเวียนา ภายหลงั จากการจบการศกึ ษาจากโรงเรยี นแพทย์ ฟรอยด์ไดส้ ังเกตเห็น ว่า บุคคลบางคนจะมีความทกุ ขท์ รมานจากความเจบ็ ปว่ ยที่ไม่มพี ื้นฐานทางกาย ซ่งึ คนไข้เหล่านี้มักจะ ไดร้ กั ษาโดยการสะกดจติ ในปคี .ศ. 1990 ฟรอยด์ได้เสนอแนวคิดทฤษฎใี นหนงั สอื The Interpretation of Dream ซง่ึ อธบิ ายว่า บุคคลได้ถูกผลักดนั โดยแรงขับของความไมร่ ตู้ ัว จากแนวคิดนีท้ าํ ให้ฟรอยด์ และเพ่อื นร่วมงานของเขาได้พฒั นาแบบทดสอบบุคลิกภาพและเทคนิคในการบาํ บดั ท่ีคํานงึ ถึงสว่ นท่ี เรียกว่า จติ ไร้สาํ นกึ แต่เปน็ สว่ นทีส่ ําคัญของจิตใจของมนษุ ย์ อาจกล่าวได้วา่ วุน้ ด์ เจมส์ และฟรอยด์ เปน็ ผบู้ กุ เบกิ จติ วิทยาสมยั ใหม่ และยงั มคี น อื่นๆ ทช่ี ว่ ยส่งเสริมความก้าวหนา้ ทางจติ วิทยาสมยั ใหมอ่ ีกดว้ ย เชน่ ในปี ค.ศ.1885 นักปรัชญาชาว เยอรมนั เฮอรแ์ มน เอบบงิ เฮาส์ (Hermann Ebbinghaus) ได้เสนอผลลพั ทข์ องการทดลองท่ีมีต่อ ความจําและการลืม โดยใชต้ วั เขาเองเป็นผู้เขา้ รบั การทดลอง ในปคี .ศ. 1905 อัลเฟรด บิเนท์ (Alfred Binet) นกั จติ วิทยาชาวฝร่ังเศล ได้สรา้ งแบบทดสอบทางสตปิ ญั ญาขึ้นเพ่อื ใช้ประเมนิ ศกั ยภาพในการ เรียนของเดก็ และในปีค.ศ. 1912 แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์ (Max Wertheimer) ได้เสนอแนวคดิ ทฤษฎวี ่า การรบั รู้โดยรวมมคี า่ มากกวา่ สว่ นย่อยๆ มารวมกนั แนวคดิ ดังกล่าวไดเ้ ป็นทมี่ าของกลมุ่ จิตวิทยา เกสตลั ท์ ในปีค.ศ. 1906 นักสรรี วิทยาชาวรสั เซีย พาฟลอฟ (Pavlov) ไดศ้ กึ ษาระบบย่อย อาหารในสนุ ขั ผลจากการศกึ ษาไดท้ ําให้เขาค้นพบการวางเงอื่ นไขแบบคลาสสคิ ซ่ึงเป็นรปู แบบพื้นฐาน มาจากการเรยี นรู้ แนวคิดน้ีได้เปน็ ที่มาของการทดลองในสตั ว์ จอห์น บี วัตสัน (John B. Watson)

20 นกั จติ วทิ ยาชาวอเมรกิ นั ซ่ึงไดท้ ดลองกับสัตว์หลายชนิด และใหค้ ําว่านยิ ามวา่ จิตวิทยาเปน็ การศกึ ษา ถึงพฤติกรรมทส่ี ังเกตเหน็ ได้ จากการศกึ ษาของวัตสันได้ทาํ ให้จิตวทิ ยาไดร้ ับการนยิ ามวา่ เปน็ การศึกษา ทางวทิ ยาศาสตรใ์ นเรื่องพฤติกรรม ซ่งึ รจู้ กั กันดใี นช่ือ พฤตกิ รรมนิยม โดยมีอทิ ธิพลในสหรฐั อเมรกิ า จากช่วงปี ค.ศ. 1920-1960 แนวคิดดังกลา่ วมีอิทธพิ ลลดน้อยลงโดยนกั จิตวิทยากลุม่ การรคู้ ิด ซ่ึงเน้น ว่า บุคคลคิดและเข้าใจเกี่ยวกับโลกได้อย่างไรและกระบวนการน้ีจะมีผลต่อพฤติกรรมของบุคคล อยา่ งไรบ้าง จากประวัตคิ วามเป็นมาโดยสังเขปของจติ วิทยา สามารถสรุปได้วา่ จิตวทิ ยาไดม้ รี ะยะ ของพัฒนาการมาตามลําดับ ซึ่งสามารถสรปุ ให้เหน็ วิวัฒนาการไดเ้ ปน็ 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการศกึ ษาในเรื่องวิญญาณ หรอื อาํ นาจล้ลี บั โดยเช่ือว่าวิญญาณหรือ อํานาจล้ลี ับเปน็ สิง่ ท่ีอยเู่ บอ้ื งหลงั การกระทําพฤติกรรมของบคุ คล ระยะที่ 2 เป็นการศกึ ษาในเรื่องของจติ โดยศกึ ษาเรอื่ งของจิตแทนวญิ ญาณ อย่างไรก็ ตามกม็ ปี ัญหาว่าจติ มรี ูปร่างเปน็ อยา่ งไร และอย่ทู ่ีไหน ระยะที่ 3 เป็นการเริม่ ศึกษาจิตวทิ ยาในรูปแบบวิทยาศาสตร์ แต่ยังไม่เปน็ วิทยาศาสตร์ ทีส่ มบูรณน์ กั ซง่ึ เปน็ ช่วงระยะราวศตวรรษท่ี 19 ทวี่ ิทยาศาสตร์เข้ามามีอทิ ธพิ ลต่อจติ วทิ ยา ระยะท่ี 4 เป็นการศกึ ษาจิตวทิ ยาในรูปแบบของวิทยาศาตร์อย่างแทจ้ รงิ เนน้ ศึกษา พฤติกรรม ซึง่ เปน็ สิง่ ทีส่ งั เกตเห็นได้ สามารถทดลอง พสิ จู นแ์ ละตรวจสอบซํ้าได้ ปี ค.ศ. เหตกุ ารณ์สาํ คญั ทางจติ วิทยา 1859 ดารว์ นิ ได้จดั พิมพ์ Origin of Species 1860 เฟรชเนอรไ์ ดจ้ ัดหนงั สอื Element of Psychophysics 1879 วุ้นดไ์ ดจ้ ดั ต้ังห้องทดลองทางจิตวทิ ยาข้ึน ซ่งึ เปน็ ทีม่ าของกลมุ่ โครงสรา้ ง ของจติ (Structuralism) 1885 เอบบิงเฮาสไ์ ด้จัดพิมพ์ On Memory 1890 เจมสไ์ ดจ้ ัดพิมพห์ นังสอื Principles of Psychology 1896 ดวิ อื้ไดจ้ ดั พิมพ์ขอ้ มลู สังกปั ในเรอื่ งปฏกิ ริ ิยาสะท้อน ซึ่งเป็นทมี่ าของกลมุ่ หน้าท่ีแห่งจติ (Functionalism) 1898 ธอร์นไดค์ไดจ้ ัดพิมพ์ Animal Intelligence 1900 ฟรอยด์ได้จัดพิมพ์ The Interpretation of Dreams ซึ่งเปน็ รากฐานของ กลุ่มจติ วเิ คราะห์ (Psychoanalysis) 1905 บิเนท์ และไซมอน ได้จดั พมิ พแ์ บบทดสอบเชาวนป์ ัญญาข้นึ เป็นครั้งแรก

21 ปี ค.ศ. เหตกุ ารณส์ าํ คญั ทางจิตวิทยา 1912 เวอรไ์ ทเมอรไ์ ด้พิมพแ์ นวคิดของเกสตลั ท์ขน้ึ ซงึ่ เป็นที่มาของกลุ่มจติ วทิ ยา เกสตัลท์ 1913 วตั สันไดพ้ ิมพข์ ้อมูลของกลมุ่ พฤตกิ รรมนยิ มข้ึน (Benaviorism) ตารางท่ี 1 แสดงเหตกุ ารณส์ าํ คัญทางจิตวทิ ยา (ทีม่ า วไิ ลวรรณ ศรีสงคราม,2549 : 5-6) จากการเรียนรู้ความหมายของจิตวิทยา ความหมายของพฤติกรรมมนุษย์ ความสําคัญ ทางจิตวิทยา ตํานานทางจิตวิทยา ประวัติความเป็นมาของจิตวิทยาน้ันมีส่วนที่เกี่ยวข้องทางจิตวิทยา เพื่อให้ผู้อ่านได้เรียนรู้เก่ียวกับจิตวิทยาเพ่ิมมากขึ้น ผู้เขียนขอเสนอกลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยา มี ดังตอ่ ไปน้ี 7. กลมุ่ แนวคิดทางจิตวทิ ยา กลมุ่ แนวคิดทางจิตวทิ ยาท่แี ตกตา่ งกนั หลายกลมุ่ ซ่งึ แตล่ ะกล่มุ จะทาํ การศกึ ษาวิจยั เก่ียวกับเร่ืองทสี่ นใจ เพ่ือใหส้ ะดวกแกก่ ารทาํ ความเข้าใจแนวคดิ หรอื ทฤษฎีท่ีนักจติ วทิ ยากล่าวถึงหรือ นาํ ไปใช้ จึงได้แบ่งกลมุ่ แนวคดิ ทางจิตวทิ ยา มีรายละเอียดต่อไปนี้ (juthateppitschool.blogspot.com/2013/08/structuralism-introspective-psychology.html 2 กุมภาพันธ์ 2559) วิลเฮล์ม วุ้นท์ ภาพท่ี 12 แสดงภาพวิลเฮลม์ วนุ้ ท์ (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 2 มิถุนายน 2559)

22 7.1 กลมุ่ โครงสรา้ งของจิต กลุ่มโครงสรา้ งของจติ ใช้คําในภาษาอังกฤษว่า Introspective Psychology หรือบางทเี รยี กกลุ่มโครงสรา้ งนิยมหรือกลมุ่ แนวความคิดโครงสร้างหรอื แนวทัศนะโครงสร้างแห่งจติ ซึ่งมีช่ือเรียกหลายชื่อแต่ในที่น้ีจะเรียกช่ือว่า กลุ่มโครงสร้างของจิต ซ่ึงเกิดข้ึนในประเทศเยอรมัน 7.1.1 แนวความคิดพื้นฐานเบือ้ งต้น เมอ่ื ค.ศ.1879 มรี ากฐานของแนวความคิดพืน้ ฐานเบ้ืองต้นจากแนวความคดิ ของนกั ปรชั ญาคนสําคัญๆ หลายทา่ น ได้แก่ (juthateppitschool.blogspot.com/2013/08/structuralism-introspective-psychology.html 2 กุมภาพนั ธ์ 2559) เพลโต ภาพที่ 13 แสดงภาพเพลโต (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 2 มถิ ุนายน 2559) 7.1.1.1 แนวความคดิ ของพลาโต (Plato) พลาโต เปน็ นกั ปรัชญาชาว กรีก อธิบายว่า มนุษย์มีการคิดและการใช้เหตุผล ซึ่งมนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์ตรงท่ีมนุษย์ ประกอบด้วยจติ (mind) ทาํ หนา้ ทใ่ี นการสร้างแนวความคดิ (Idea) ท่ที าํ ใหแ้ สดงออกถงึ ความสามารถ ของมนษุ ย์แตล่ ะคนมีความแตกตา่ งกัน โดยมีการทาํ งานเหมาะกบั ความสามารถของตนมากทส่ี ุด

23 อรสิ โตเตลิ ภาพที่ 14 แสดงภาพอรสิ โตเติล (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 2 มถิ ุนายน 2559) 7.1.1.2 แนวความคดิ ของอริสโตเตลิ (Aristotle) ธรรมชาติเก่ยี วกับ วิญญาณของมนุษย์ อริสโตเตลิ ให้ความหมายของคําวา่ “วิญญาณ” (Soul) ไว้ 2 ประการ คอื (1) หมายถงึ สิ่งทข่ี าดไมไ่ ดข้ องสง่ิ มชี ีวิต (2) หมายถึง ภาวะจรงิ ของรา่ งกายหรอื สารตั ถะของบางอยา่ งท่ีมี ภาวะแฝง (being) ทม่ี จี ติ กลา่ วโดยทวั่ ไป “วิญญาณ” ตามนัยของอรสิ โตเตลิ หมายถงึ หลกั การแหง่ ชวี ติ ของสตั วท์ ้ังหลาย (Life Principle or principle of animal life) จดั เป็นแบบของชีวิต เป็น ธรรมชาติทม่ี อี าํ นาจในการควบคมุ บงการร่างกาย วญิ ญาณกบั รา่ งกายเปน็ เอกภาพทไ่ี ม่พรากจากกัน ทงั้ สองอย่างรวมกันเรียกวา่ “ชีวติ ” ซ่งึ หมายถึง ความสามารถในการรับอาหาร เจริญเติบโต และเสอ่ื ม สลายไป (http://tpir53.blogspot.com/2011/05/blog-post.html) 7.1.1.3 แนวความคิดของเดสคาร์ทีส (Descartes) อธิบายเรื่อง ความสมั พนั ธ์ของร่างกาย (Body) กับจิต (Mind) ว่า มนุษยป์ ระกอบขนึ้ ดว้ ยรา่ งกายและจิตท้ังสอง ส่วนนีจ้ ะทาํ งานเกยี่ วข้องกนั โดยจติ ทําหน้าที่สรา้ งภาพพจน์จากการทํางานของร่างกาย การทํางาน ของร่างกายจึงเปน็ การทาํ งานตามแนวความคดิ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในจติ ตอ่ มาได้พัฒนากลายเปน็ กลมุ่ จติ วทิ ยา Structuralism หรอื เรยี กกนั อีกอยา่ งว่า “แนวคิดการตรวจสอบตนเอง” (Introspections) เนือ่ งจาก นกั จิตวทิ ยากลุ่มน้ใี ช้ การตรวจสอบตนเอง (Introspection ) ตําราบางเล่มใช้คําว่า วิธีการพินิจภายใน ให้นกั ศกึ ษาดคู าํ ในภาษาอังกฤษเป็นหลัก การตรวจสอบตนเองเปน็ เครื่องมือในการค้นควา้ เพอื่ เขา้ ใจ พฤตกิ รรมตา่ งๆ ทผี่ ดิ ปกติ และดว้ ยเหตุนีเ้ องกลุม่ โครงสรา้ งของจติ นจี้ งึ ถกู โจมตมี าก และดูไมน่ ่าเชอื่ ถือ เพราะเม่อื บุคคลมปี ญั หา บคุ คลจะมานั่งตรวจสอบตนเองหรือสาํ รวจตนเองว่าตนมีขอ้ บกพรอ่ งอย่างไร

24 อะไรเปน็ สาเหตใุ ห้เกิดพฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงค์คงเป็นไปไดย้ าก มหี ลายคนทใี่ ช้วธิ ีการนี้อาจจะเขา้ ข้าง ตนเองจึงทําให้ไม่เหน็ ปัญหาทแ่ี ทจ้ รงิ 7.1.1.4 วลิ เฮล์ม แมกซ์ วู้นท์ (Wilhelm Max Wundt) ผ้ใู หก้ าํ เนิด ห้องปฏบิ ัตกิ ารหรอื ห้องทดลองทางจิตวิทยา (Psychological Laboratory) เป็นแหง่ แรกและเขาได้ ฉายาว่าเป็น “บิดาแหง่ จติ วทิ ยาการทดลอง” ต่อมามนี กั จติ วิทยาชอ่ื กสั แตฟ เฟชเนอร์ (Gustav Fechner) ได้สนใจวิธกี ารทางจิตวิทยาและได้เป็นผ้กู าํ หนดระเบียบและวธิ ีการทดลองทางจติ วิทยา (Experimental method) มาใชก้ บั งานทางจติ วิทยา เขาไดน้ าํ เอาความรคู้ วามเข้าใจวิชาฟสิ ิกส์มาใช้ ในการทดลองค้นคว้ากบั วิชาจิตวิทยาซงึ่ เรียกว่า ไซโคฟสิ กิ ส์ (Psychophysics) แตอ่ ย่างไรกต็ าม จิตวิทยากลมุ่ นี้ ก็ยงั ไม่ได้เป็นที่ยอมรบั ว่าเปน็ วทิ ยาศาสตร์อยา่ งสมบรู ณ์นัก เพยี งแตย่ อมรับกนั วา่ เป็น กล่มุ แรกท่ีมแี นวคดิ เปน็ วทิ ยาศาสตรแ์ ละยงั ถอื ว่าเปน็ กลุ่มจิตวิทยาท่อี าศัยแนวความคดิ และระเบียบ วธิ กี ารศึกษาตามแบบปรชั ญา (Philosophical-Psychology) อยู่เพราะแนวความคิดส่วนใหญข่ อง กลุ่มโครงสรา้ งทางจติ (Structuralism) ได้อาศยั ระเบยี บวธิ กี ารตรวจสอบตนเองหรือการสํารวจตนเอง หรือ ( Introspection method ) หรอื ระเบียบวธิ ีการแบบอตั นัย ( Subjective method ) การใช้ วธิ ีตรวจสอบตนเองหรอื การสํารวจตนหรอื การพนิ จิ ภายใน เปน็ เครอื่ งมือทศี่ ึกษาคน้ คว้าหาความจรงิ ทางจติ วิทยาไมส่ ้จู ะไดผ้ ลดีนกั เพราะวา่ ผถู้ กู ทดสอบอาจตอบตามส่ิงเร้ามากกว่าตอบตามความรูส้ กึ ที่ ตนได้ สัมผัสจรงิ ๆ ซึ่งเรยี กวธิ นี ้วี ่า Stimulus-Error แตก่ ลุ่ม Gestalt Psychology ไมเ่ ห็นด้วยกับกลุ่ม Structuralism ทวี่ ่าจติ ประกอบดว้ ยสว่ นต่างๆ จึงให้ช่ือกลมุ่ นว้ี า่ กลมุ่ Mortar & Brick Psychologist ซึ่ง Mortar แปลวา่ ซเี มนตท์ ีผ่ สมกบั ทรายได้ส่วนสัดแลว้ Brick หมายถงึ อิฐ พวกเหล่านป้ี ระกอบข้นึ เปน็ ตกึ เหมอื นจิตประกอบขึ้นจากส่วนต่าง ๆ วิลเฮลม์ แมกซ์ วนู้ ท์ (Wilhelm Max Wundt) ผู้นํากลุ่ม Structuralism ไดน้ าํ เอาแบบของวิชาเคมีมาใชใ้ นวิชาจติ วิทยาและพยายามนําแนวคดิ ของนักเคมีซง่ึ เนน้ หนกั ในเร่ือง “องค์ประกอบของจติ ”เทียบกบั องค์ประกอบของธาตุต่างๆ ของเคมี เชน่ ส่วนประกอบท่ีเลก็ ทสี่ ุดของ สาร ซ่งึ ในเมอื่ มวลสารท้ังหลายสามารถนาํ มาวิเคราะหอ์ อกไดเ้ ป็นอนภุ าคท่เี ลก็ มากจนเรามองไมเ่ ห็น ดังนัน้ จิตของคนนนั้ ก็น่าจะแยกให้เห็นจรงิ ๆ และเขามแี นวคิดวา่ จติ (mind) มอี งค์ประกอบอิสระ ตา่ งๆ รวมกนั เป็นโครงสร้างแห่งจิต (Faculty of mind) จิตมีโครงสรา้ งท่มี าจากองคป์ ระกอบทางเคมี โดยมสี ่วนประกอบทเ่ี กยี่ วขอ้ งกนั มารวมกันเป็นจติ เรียกว่า “จติ ธาตุ” ( Mental Elements ) นน่ั คือ นกั จิตวทิ ยาพยายามทจ่ี ะคน้ ใหพ้ บว่า จิต (mind) ประกอบไปด้วย ข้อสําคัญที่จติ วทิ ยากล่มุ น้ี มงุ่ ศกึ ษา อย่างแท้จริง คือ องค์ประกอบท่ีสําคัญของจิตในส่วนท่ีเรียกว่า จิตสาํ นึก (The Contents of Consciousness) โดยเฉพาะเทา่ นนั้ ดังนัน้ กลุ่ม Structuralism จงึ จัดอยใู่ นกลมุ่ จิตวทิ ยา ทเ่ี รียกวา่ กลมุ่ จติ นยิ ม ( Mentalism ) นดี้ ว้ ย

25 ความเช่ือท่ีสาํ คัญเบื้องต้น (Basic assumption) ของกลุ่มโครงสร้าง ทางจิต ความเชื่อท่สี ําคญั เบื้องตน้ ท่เี ปน็ มูลเหตใุ ห้นกั จติ วทิ ยากลมุ่ Structuralism มีความสนใจมงุ่ ศกึ ษาเร่อื งจิตธาตุ คอื เช่อื วา่ มนุษย์ประกอบด้วยสองสว่ นคอื ร่างกาย (body) และจติ ใจ (mind) ซง่ึ ทงั้ ร่างกายและจติ ใจต่างก็เป็นอิสระแกก่ ัน ตา่ งกท็ ํางานสัมพันธก์ นั ดังน้ัน พฤตกิ รรม (Behavior) ของ บคุ คลจึงเกิดจากการกระทําของร่างกาย ซ่งึ การกระทาํ ของร่างกายน้ัน ย่อมเกิดจากการควบคุมและ สง่ั การของจิตใจ แนวความคิดน้เี กดิ จากเร่ืองจติ ธาตุ แตเ่ นือ่ งจากจติ วิทยากลุ่ม Structuralism ได้ พยายามแยกองคป์ ระกอบของจิตหรือจติ ธาตุออกมาพจิ ารณาเปน็ ส่วนยอ่ ยๆ บางครงั้ นักจติ วิทยา ท่วั ๆ ไป จงึ เรยี กกล่มุ นอี้ ีกอย่างวา่ “จิตวทิ ยาทีว่ ่าด้วยองค์ประกอบของจิต” ( Faculty Psychology ) กลุ่มโครงสรา้ งของจติ เช่อื ว่าโครงสรา้ งของจติ ประกอบด้วย จติ ธาตุ (Mental Elements) ซงึ่ จติ ธาตุ ประกอบดว้ ยธาตุ 3 ชนิด คือ 1. การรับสัมผัส (Sensation) 2. ความรสู้ ึก (Feeling) (ภายหลัง นกั จติ วทิ ยาชอ่ื Titchener ไดเ้ พิ่มข้ึนมาอกี อยา่ งคือ จินตนาการ) 3. จนิ ตนาการหรอื มโนภาพ (Image) เมอื่ จติ ธาตทุ ัง้ 3 ชนิดนี้มาสัมพันธ์กันภายใต้สถานการณแ์ วดลอ้ มท่เี หมาะสมก็จะก่อใหเ้ กิดรปู จติ ผสม ขนึ้ และจิตผสมนเี้ องทาํ ใหบ้ ุคคลเกดิ ความคดิ (Thinking) อารมณ์ (Emotion) ความจํา (Memory) และการหาเหตผุ ลหรือสาเหตุ (Reasoning) และอน่ื ๆ เป็นต้น โดยเป็นแบบเดยี วกนั กับทางเคมที ่ี โฮโดรเจนเม่ือรวมตวั กับออกซิเจนภายใตส้ ดั สว่ นที่เหมาะสมและความกดดันที่พอดกี ็จะไดเ้ ปน็ นํ้า แนวคิดจติ วทิ ยากลุ่มโครงสร้างของจิต (Structuralism) มอี ิทธิพลและบทบาทสาํ คญั คอื 1) ความเชือ่ ในเรื่ององคป์ ระกอบของบคุ คลซ่ึงนกั จติ วทิ ยายอมรับ วา่ บคุ คลประกอบ ด้วยรา่ งกายและจิตใจ โดยจติ ใจยงั แบง่ ย่อยๆ ได้ เช่น สว่ นทีเ่ กีย่ วกับการคิดส่วนที่ เกีย่ วกับความจําสว่ นที่เกย่ี วกับความรกั สวยรกั งาม เปน็ ต้น 2) การยอมรบั เอาระเบียบวิธกี ารท่ีวา่ ดว้ ยการแยกจติ ออกฝกึ เป็น ส่วนๆ (Method of Mental of Formal Discipline) สามารถนาํ มาใชใ้ นการจัดการศกึ ษา นกั การศกึ ษาเชื่อวา่ บุคคลมีลักษณะอยา่ งเดยี วกบั วัตถุ (Material) หรอื เคร่อื งจกั รกลหากตอ้ งการฝึก จติ ธาตุส่วนใดใหม้ ีความสามารถต้องฝึกฝนเรื่องนน้ั ๆ โดยเฉพาะเชน่ การฝึกทักษะดา้ นความจําบคุ คล ก็ตอ้ งฝกึ ใหท้ อ่ งจํา ด้านการคดิ ตอ้ งให้เรยี นวชิ าทีส่ ่งเสรมิ การคดิ ต่างๆ ไดแ้ ก่ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เปน็ ต้น ท้งั น้ี เพราะความเชื่อทวี่ า่ จติ ของคนเราแยกออกเป็นส่วนๆ ดังน้ัน ถ้าตอ้ งการให้ส่วนไหนมี ความสามารถมที กั ษะทางใดกต็ ้องมุง่ ฝึกส่วนน้นั มากเป็นพเิ ศษบคุ คลก็จะมีความชาํ นาญดา้ นนั้นๆ ตามทีต่ ้องการ อยา่ งในปจั จบุ นั มกี ารฝึกคณติ คิดเรว็ ใช้ช่ือเรียกตา่ งกนั เชน่ จินตคณติ เปน็ ต้น

26 จอห์น ดิวอี้ วลิ เลย่ี ม เจมส์ ภาพท่ี 15 แสดงภาพจอหน์ ดิวอ้ี และวลิ เล่ียม เจมส์ (ทีม่ า https://www.google.co.th/search 27 พฤษภาคม 2559) 7.2 กลมุ่ หน้าทข่ี องจิต กลมุ่ หน้าที่ของจติ เกดิ ขน้ึ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ าเม่ือ ค.ศ.1900 ผใู้ หก้ าํ เนดิ หรือผู้นํากลมุ่ หนา้ ทขี่ องจติ คือ จอห์น ดิวอ้ี (John Dewey, 1859 – 1952) ซึ่งดาํ รงตําแหนง่ คณบดี คณะวิชาการศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยชิกคาโก วิลเล่ียม เจมส์ (William James, 1842 – 1910) ศาสตราจารย์จิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และได้เขียนตําราจิตวิทยาเล่มแรกของโลกช่ือ Principles of Psychology นอกจากนีย้ ังมีนกั จติ วทิ ยาคนสําคญั อ่นื ๆ อีก เช่น วูดเวอรธ์ (Woodworth) และเจมส์ แองเกลล์ (James Angell) (juthateppitschool.blogspot.com/2013/08/structuralism-introspective- psychology.html2 กุมภาพันธ์ 2559) จติ วทิ ยากลมุ่ หนา้ ท่ขี องจติ น้ี มีแนวความคดิ มาจากลัทธปิ รัชญากลุ่มปฏบิ ัตินยิ ม (Pragmatism) และทฤษฎที สี่ ําคญั ทางชีววทิ ยา อันได้แก่ ทฤษฎที ่วี า่ ด้วยวิวัฒนาการ (Theory of Evolution) ของ Charles Darwin ซง่ึ เขยี นไว้ในหนังสอื Origin of Species เมอ่ื ค.ศ. 1859 ดังน้นั กลมุ่ Functionalism จึงเกิดจากการรวมกันระหวา่ งทฤษฎขี องดารว์ ิน (Darwinian theory) กบั ลัทธิ ปรชั ญาทีเ่ นน้ ความสําคัญของการปฏบิ ตั ิจริง (Pragmatic Philosophy) โดยท่ที ฤษฎีววิ ัฒนาการ อธบิ ายวา่ สตั ว์ท่ีดํารงเผ่าพันธุอ์ ยู่ได้ จะต้องต่อสู้และปรบั ตวั เองใหส้ อดคลอ้ งกบั สง่ิ แวดลอ้ มทม่ี ันอยู่ เพ่ือให้ชีวิตดํารงอยู่ได้ นักจิตวิทยากลุ่มน้ี มีความเห็นว่าในการท่ีจะทําความเข้าใจให้เข้าใจถึง การปรบั ตัวของสิ่งมีชวี ิตน้ันๆได้ ควรต้องศึกษาถึงหนา้ ท่ขี องจิตตอ่ การปรบั ตวั ภายใต้จิตสํานึกมากกวา่

27 และกล่มุ Functionalism สนใจเรอ่ื งพฤติกรรมมาก เร่อื งทเ่ี ขาเนน้ หนกั จริงๆ ได้แก่ กระบวนการ เรยี นรขู้ องมนษุ ย์ นกั จติ วิทยากลมุ่ น้ี มีแนวคดิ มงุ่ หนกั ไปในด้านหน้าทขี่ องจิตทเ่ี รยี กวา่ the functions หนา้ ที่ของจติ จึงสาํ คญั กว่าจะศึกษาองค์ประกอบโครงสรา้ งของจติ แต่สนใจวา่ จิตทาํ หน้าทอี ะไร ทาํ อย่างไร จึงจะศึกษาทง้ั กระบวนการทางจิตและสถานะของจติ พร้อมกับอากปั กริ ิยาทแ่ี สดงออกให้ ปรากฏทางกาย กลา่ วคอื ในการศกึ ษาพฤตกิ รรมนนั้ จะสนใจศกึ ษาทง้ั อากปั กริ ยิ าที่แสดงออกภายนอก และความรสู้ กึ ภายในกระบวนการปรับตวั ของรา่ งกายใหเ้ หมาะกับส่ิงแวดล้อม นอกจากน้ยี งั เชอื่ ว่า สัญชาตญิ าณทาํ ใหจ้ ิตมีหนา้ ทคี่ วบคมุ การกระทาํ กจิ กรรมตา่ งๆ ของร่างกาย คําวา่ “จติ ”ตามความคิด ของกลมุ่ Functionalism นน้ั กค็ ือ กระบวนการกระทาํ กจิ กรรมของร่างกายในอันท่ีจะปรบั ตวั ให้ เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมนั้นเองและวิชาจิตวิทยา น่ันก็คือ วิชาที่ศึกษาถึงสถานะของจิตและใน ขณะเดยี วกนั การทจี่ ะศึกษาแต่จติ และกระบวน การปรับตวั ของจิตแตอ่ ย่างเดียวยังไม่พอเพยี งเรา จะตอ้ งศกึ ษาถงึ ส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย ซ่งึ ประกอบดว้ ยเรอื่ งสญั ชาติญาณ (Instinct) ซึ่งนบั เปน็ หลกั ใหญข่ องพวก Functionalism นด้ี ว้ ย ผูท้ จี่ ะมคี วามสุขในสงั คมได้ก็จะต้องรจู้ กั ปรับตัวใหเ้ ข้ากับสังคม ได้เป็นอย่างดี และบคุ คลจงึ ควรตระหนกั ถึงหลกั สาํ คญั เรื่องการปรับตัวของร่างกายให้เหมาะสมกบั สง่ิ แวดลอ้ ม กลุม่ นมี้ ีความเห็นวา่ การศกึ ษาจติ วิทยาน้นั ควรศกึ ษาจิตสาํ นกึ ในลักษณะของการใช้ ประโยชน์ น่นั คือ ศึกษาจติ ในรปู ของการกระทาํ กจิ กรรมต่างๆ ในอันทจี่ ะทาํ ใหม้ นษุ ยป์ รบั ตวั ให้ เหมาะสมกบั สง่ิ แวดล้อม รวมทัง้ การเรยี นรทู้ ่จี ะช่วยใหค้ นปรบั ตวั ดขี ้ึนจะเห็นว่าลักษณะสําคญั ของ กลุ่ม Functionalism มีสว่ นคล้ายกบั กลุ่ม Structuralism อยู่ 2 ประการคอื ท้ัง 2 กลุ่มต่างก็เปน็ จิตวิทยาในกลมุ่ จิตนิยม (Mentalism) และอาศัยระเบยี บวธิ ีทางปรชั ญา (Philosophical Psychology) เชน่ เดียวกันและตา่ งมงุ่ ศกึ ษาเฉพาะจิตที่รู้สาํ นึก (Consciousness)เช่นกัน สว่ นที่แตกต่างกันคือ กลุม่ Structuralism มคี วามสนใจมงุ่ ศกึ ษาใหเ้ ข้าใจ สว่ นประกอบของจิตหรือจติ ธาตุ สว่ นกลุ่ม Functionalism มงุ่ ศึกษาให้เขา้ ใจหน้าทข่ี องจิตกระบวนการ ทางสมอง เชน่ การนกึ การคิด เป็นหนา้ ทขี่ องจิตท่ีบญั ชาให้บุคคลปรบั ตวั เข้ากับสิง่ แวดลอ้ มเขา้ กับตน เปน็ ตน้ วา่ บุคคลสวมเสื้อผา้ เพราะจติ สัง่ ใหส้ วมเพอื่ ความอบอุ่นและเขา้ กบั สภาพสังคม นน่ั คือ เป็น หน้าที่หรอื Function ของมนษุ ย์ทจ่ี ะตอ้ งทาํ ส่งิ ท่บี ังคับให้ทาํ ก็คอื ความตอ้ งการท่ีจะปรับตวั ให้เข้ากับ สภาพแวดลอ้ มหรือปรับสงิ่ แวดล้อมใหเ้ ข้ากบั ตน สรปุ หน้าท่ขี องจิตได้วา่ “จติ มีหนา้ ที่ในการควบคุม กระบวนการกระทาํ กิจกรรมตา่ งๆ ของรา่ งกายในอันทจี่ ะปรบั ตวั ให้เหมาะสมกบั สง่ิ แวดลอ้ ม จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) เชื่อว่า การคิดของมนุษย์มุ่งเพ่ือการแก้ปัญหา เพื่อลดความเครียดและ ความขดั แย้งท่เี กิดขน้ึ ถงึ แมว้ ่า วิลเลี่ยม เจมส์ (William James)เชอื่ ว่า สัญชาตญาณ (Instinct) เป็น ลกั ษณะหรอื สาเหตุสําคญั ทท่ี ําให้คนเราปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากบั สิ่งแวดลอ้ มได้ อยา่ งไรก็ดีแนวคิดนน้ี ักจิตวิทยา ชือ่ จอหน์ ดิวอี้ (John Dewey) เชื่อว่าประสบการณ์ (Experience) เปน็ สง่ิ สําคัญทที่ ําให้คนปรบั ตวั

28 ต่อส่ิงแวดล้อม ต่อมา วูดเวอร์ธ (Woodworth) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงเร้ากับปฏิกิริยา ตอบสนอง เราอาจสรปุ แนวความคดิ ของกล่มุ หนา้ ทนี่ ยิ มหรือ Functionalism ได้วา่ มี 2 ประการคอื 7.2.1 การกระทาํ ทัง้ หมด (The total activities ) หรอื การแสดงออกของ คนเราเปน็ การแสดงออกเพือ่ ปรบั ตวั ให้เขา้ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ดังนน้ั ในการศกึ ษาจติ ใจคน กต็ ้องศึกษา การแสดงออกของเขาในสถานการณ์นัน้ ๆ 7.2.2 การกระทําหรือการแสดงออกทัง้ หมดขึ้นอยหู่ รอื เกีย่ วขอ้ งกบั ประสบการณ์ของแต่ละคน (The experience individual) เสมอ พฤติกรรมของคนจงึ แตกต่างกนั แนวคดิ ของกลุม่ Functionalism นกั จติ วทิ ยากล่มุ น้ีจงึ มุง่ ศึกษาวธิ กี ารเรียนรู้ การจูงใจ การแก้ปัญหา ตลอดจนความจําของคนเพื่อให้สามารถปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดล้อมได้ มี อิทธพิ ลมากต่อวงการศกึ ษาปัจจุบัน เนือ่ งจากความมุ่งหมายของการศึกษาประการหนึ่งก็คือ เพอ่ื ให้ มนุษย์ดํารงชีวิตอยู่ในสังคมได้ด้วยความผาสุกและสามารถปรับตัวให้เข้ากับส่ิงแวดล้อมได้ ดังนั้น บุคคลตอ้ งศึกษาเร่อื งการปรับตัวให้เข้ากับสงั คม การอบรมเลยี้ งดู (Socialization) และการปรบั ตวั ให้ เข้ากับธรรมชาติ เป็นปรัชญาการศึกษาซ่ึงได้กลายมาเป็นจุดมุ่งหมายของการศึกษาท่ีสาํ คัญว่า “การศึกษาคอื ปรับตวั ใหเ้ ข้ากบั สง่ิ แวดล้อม” วิธีการเรียนการสอนตอ้ งให้ผเู้ รียนไดร้ บั ประสบการณ์ มากทีส่ ดุ จึงจะทาํ ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรยี นรู้และเขา้ ใจ จอห์น วตั สัน ภาพที่ 16 แสดงภาพจอห์น วตั สนั (ทมี่ า http://juthateppitschool.blogspot.com/2013/08/john-b.html 2 กุมภาพันธ์ 2559)

29 7.3 กลุม่ พฤตกิ รรมนยิ ม 7.3.1 จอหน์ บี วตั สนั กลุ่มพฤติกรรมนิยม มีผู้นาํ ของกลุ่ม คือ จอห์น บี วัตสัน (John B. Watson, 1878 – 1958) เปน็ ผ้ทู ่ีมคี วามคดิ คา้ นกบั แนวคดิ กลมุ่ โครงสรา้ งของจิตทศี่ กึ ษาพฤตกิ รรม มนษุ ยด์ ว้ ยวิธีการยอ้ นไปตรวจสอบตนเอง (introspection) เพราะเขาเห็นวา่ วธิ ีการตรวจสอบตนเอง ค่อนข้างเกดิ อคตไิ ด้งา่ ยและยงั ไม่เป็นวธิ ที างวทิ ยาศาสตร์ เพราะผลทเ่ี กิดมักมแี นวโนม้ ทเ่ี กดิ จากเจตคติ ส่วนบุคคลไปในทางใดทางหนึ่งแล้ว แต่ความรู้สึกของผู้ศึกษาเอง จอห์น บี วัตสัน (John B. Watson) เหน็ วา่ ควรใช้วิธีการท่ีศึกษาพฤติกรรมมนษุ ยท์ ่ีเหน็ ได้และเขาเปน็ ผเู้ สนอให้มีการศึกษา พฤติกรรมของมนษุ ย์ในดา้ นท่ีสังเกตและมองเหน็ ได้ การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในแนวใหม่ของวัตสัน จึงได้จัดเป็น วิธีการศึกษาในลกั ษณะทเี่ ปน็ วทิ ยาศาสตรส์ มยั ใหม่ กล่าวโดยสรปุ แนวคดิ ของกลุ่มพฤติกรรมนยิ มเน้น ว่า พฤตกิ รรมทุกอยา่ งตอ้ งมีเหตุและสาเหตนุ ั้น อาจมาจากสิ่งเร้าในรูปใดกไ็ ดท้ ี่มากระทบกบั อินทรยี ์ หรอื ร่างกาย จึงทําใหอ้ นิ ทรยี แ์ สดงพฤติกรรมตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนยิ มจงึ ใชว้ ิธีการศึกษาพฤตกิ รรม ดว้ ยวธิ กี ารทดลองและการสงั เกตอยา่ งมีระบบและสรปุ วา่ การวางเงอ่ื นไข (Conditioning) เปน็ สาเหตุ สําคัญทท่ี าํ ใหเ้ กดิ พฤติกรรมและสามารถเปลย่ี นพฤตกิ รรมได้ พฤติกรรมสว่ นใหญข่ องมนุษย์เกดิ ไดจ้ าก การเรยี นรูม้ ากกว่าเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติและจากศกึ ษาพฤตกิ รรมการเรยี นรขู้ องสตั วท์ ถี่ ูกทดลอง สามารถชว่ ยใหเ้ ราเกิดความเข้าใจและเรยี นรู้เกยี่ วกับพฤตกิ รรมของบุคคลได้ กลุ่มแนวคิดนี้ใชว้ ธิ ีการศึกษา พฤตกิ รรมมนษุ ย์ด้วยวธิ ีการทดลองประกอบกับวธิ กี ารสังเกตอย่างมีระบบแบบแผนนักจิตวทิ ยาใน กลุ่มพฤตกิ รรมนยิ มนี้ ศกึ ษาเฉพาะพฤตกิ รรมท่ีสังเกตเห็นได้ ดังน้นั กลุม่ น้ี จะไมย่ อมรบั วิธีการศึกษา แบบสงั เกตตนเอง โดยกล่าวหาวา่ การสงั เกตตนเองไมเ่ ป็นวทิ ยาศาสตรไ์ มน่ า่ เช่อื ถือ แต่กล่มุ น้ี มุ่งศึกษา เฉพาะพฤติกรรมท่ีสังเกตเหน็ ได้ โดยเชอ่ื วา่ เขาจะทราบถึงเรื่อราวของจติ กโ็ ดยการศึกษาจากพฤติกรรม ที่แสดงออกเท่านั้น นักจิตวิทยาในกลุ่มพฤติกรรมนิยมได้อธิบายแนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยมไว้ 3 ประการ คือ 7.3.1.1 การวางเงื่อนไข (Conditioning) เป็นสาเหตุสําคัญที่ทาํ ให้เกิด และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังการทดลองของ พาฟลอฟ (Pavlov) และ สกินเนอร์ (Skinne) เช่ือวา่ สามารถใชว้ ิธฝี ึกฝนอบรมทีเ่ หมาะเพอ่ื ฝกึ เด็กใหม้ พี ฤตกิ รรมตามท่ีเราปรารถนาได้ โดยใชว้ ิธกี ารวาง เง่ือนไขกบั เดก็ เพื่อใหเ้ กดิ พฤติกรรมอันเปน็ ผลจากการเรียนรู้มากกวา่ สญั ชาติญาณหรือคณุ สมบตั ิ อ่ืนๆทีต่ ิดตวั มาแตก่ าํ เนิด 7.3.1.2 พฤติกรรม พฤติกรรมของคนที่ปรากฏขนึ้ ส่วนมากเกิดจากการเรียนรู้ มากกว่าจะเปน็ ไปเองตามธรรมชาติ (Behaviorism was its emphasis on Iearned rather than unlearned) ดงั การทดลองของ Watson โดยอนิ ทรียถ์ กู วางเงอื่ นไขใหแ้ สดงปฏิกริ ยิ าตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้า

30 ทม่ี ากระตนุ้ การตอบสนองนี้ อาจเกิดจากกลไกของสรีระคือ ต่อมต่างๆประสาทกล้ามเนื้อและ พฤติกรรมอนั สลบั ซบั ซอ้ นของอินทรีย์นนั้ เปน็ ผลรวมของปฏิกิริยาตอบสนองยอ่ ยๆ ทเ่ี ชือ่ มโยงกันใน รูปต่างๆ ด้วยเหตุน้ี จึงมีคนเรียกจิตวิทยาเชิงเร้าและการตอบสนอง (Stimulus Response Psychology) 7.3.1.3 การเรยี นรู้ การเรียนรู้ของคนกบั สัตวไ์ ม่ต่างกันมาก การทดลองกบั สัตว์ เป็นการง่ายกว่าท่จี ะทดลองกับคนสามารถเรยี นรู้เรื่องของคน โดยการศกึ ษาจากสตั วไ์ ดเ้ ป็นอนั มาก เราสามารถเรยี นรู้เกย่ี วกบั พฤติกรรมของคนได้จากการศึกษาพฤตกิ รรมของสัตว์ เอดเวดิ ธอร์นไดด์ ภาพที่ 17 แสดงภาพเอดเวดิ ธอร์นไดด์ (ท่มี า http://juthateppitschool.blogspot.com/2013/08/john-b.html 2 กุมภาพนั ธ์ 2559) 7.3.2 เอดเวดิ ธอรน์ ไดด์ นกั จิตวทิ ยากลมุ่ นีค้ ือ เอดเวดิ ธอร์นไดด์ ( Edward Thorndike ) จึงได้ ต้งั ทฤษฎเี ก่ียวกบั พฤตกิ รรมการเรียนร้ขู องมนุษย์ขึน้ โดยอาศยั จากการทดลองกับสัตวเ์ ปรียบเทยี บกบั กลุ่มStructuralism และ Functionalism เห็นว่า สองกลมุ่ นนั้ ม่งุ ศกึ ษาเฉพาะจิตทร่ี ู้สกึ นึกและเปน็ การศกึ ษาจากภายในของสิง่ ทม่ี ีชวี ิตออกมาขา้ งนอก สว่ นกล่มุ Behaviorism มุง่ ศกึ ษาเฉพาะพฤตกิ รรม ทส่ี งั เกตเหน็ ได้ (Observable Behavior) เปน็ การศึกษาจากภายนอกของส่งิ ท่มี ีชวี ิต เพอื่ จะเข้าใจขา้ ง ในโดยสองกลุ่มแรก ใชร้ ะเบยี บวิธีการสงั เกตตนเอง (Introspection method) ซ่งึ เป็นวิธีการแบบ อตั นยั (Subjective method) ส่วนกลมุ่ Behaviorism ใชร้ ะเบยี บวธิ ีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) หรอื ระเบียบวธิ แี บบอตั นยั (Objective method) มุง่ ปรบั ปรงุ เนื้อหาสาํ คัญของวิชา

31 จิตวิทยาใหไ้ ดม้ าตรฐานเดยี วกนั กบั วทิ ยาศาสตร์แขนงอืน่ ๆ ให้เหน็ วา่ “จติ วทิ ยาคอื หมวดความรูท้ วี่ ่า ด้วยพฤตกิ รรม“(Psychology as a science of behavior) เพือ่ ให้เขา้ ใจงา่ ยและสรปุ แนวทัศนะเป็น ข้อๆ ดงั น้ี (http://juthateppitschool.blogspot.com/2013/08/john-b.html 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2559) 7.3.2.1 กลุม่ Behaviorism ปรบั ปรงุ ใหมท่ ้งั ด้านเนือ้ หา (Content of Subject matter) ระเบยี บวิธี (Method) เป็นวิทยาศาสตรแ์ ละเหมือนวทิ ยาศาสตรแ์ ขนงอ่ืน ๆ 7.3.2.2 มุ่งศึกษาเฉพาะพฤติกรรมที่สังเกตได้หรือสามารถวัดได้ (Observable or Measurable Behavior) ศึกษาเรอ่ื งทเ่ี กย่ี วกบั กลไกทางสรีรวทิ ยา (Physiological mechanisms) เชน่ การทํางานของต่อม ระบบประสาท กล้ามเนือ้ นกั จติ วทิ ยากลุ่มพฤตกิ รรมนิยม แบง่ พฤตกิ รรมเป็น 2 ลักษณะ คือ พฤตกิ รรมทมี่ ีการเคลื่อนไหวภายนอก (Explicit movement) เป็นพฤตกิ รรมทส่ี ามารถสังเกตเหน็ หรอื วัดได้ เช่น การนง่ั นอน กนิ เดนิ เปน็ ตน้ กับ พฤตกิ รรมทีม่ ี การเคลอ่ื นไหวภายใน (Implicit movement) เป็นพฤตกิ รรมท่ีไม่อาจมองเหน็ ไดด้ ้วยตานอกจากวดั ดว้ ยเครื่องมือที่เหมาะสม (Sensitive Instruments) เช่น การคิด การเกรง็ ของกล้ามเนอ้ื การเต้นของ หวั ใจ การต่นื เต้นจนทําใหห้ วั ใจเตน้ แรง เปน็ ตน้ 7.3.2.3 ยอมรบั เฉพาะระเบียบวิธแี บบปรนยั (Objective Method) หรือระเบยี บวิธีทีม่ ีลกั ษณะอย่างเดยี วกนั นกั วิทยาศาสตรแ์ ขนงอน่ื ๆใช้กนั ไมย่ อมรบั วิธีการสังเกต ตนเอง (Introspection Method) หรอื ลกั ษณะวิธีอัตนยั (Subjective Method) ตอ้ งการให้ระเบียบ วิธที างจิตวทิ ยา (Psychology Method) เป็นสากล 7.3.2.4 มุ่งเน้นศึกษาพฤติกรรมโดยเฉพาะ ตอ้ งการให้วชิ าจิตวิทยาเป็น วิทยาศาสตร์เก่ยี วกบั พฤตกิ รรม จึงมกี ารทดลองตา่ งๆเพื่อเทียบเคยี งพฤตกิ รรมของมนุษยว์ า่ ทบี่ คุ คล แสดงพฤติกรรมเชน่ นเ้ี ป็นเพราะเหตผุ ลใด 7.3.2.5 ยอมรบั เฉพาะขอ้ มูล (Data) ทไ่ี ด้จากระเบยี บวิธที างวิทยาศาสตร์ เท่าน้นั นําเอาระเบียบวิธีการสังเกตพฤตกิ รรม (Behavior method) มาใช้เปน็ สําคญั ขอ้ มลู ท่ีได้จาก การสงั เกต ผสู้ ังเกตจะต้องบนั ทึกเฉพาะปรากฏการณ์ที่เกิดขน้ึ จริง พบเห็นจริงๆ เท่านั้น ไม่บันทึก ความรสู้ กึ ลงไปดว้ ย กลมุ่ Behaviorism ประกอบดว้ ยกลุ่มยอ่ ยๆ หลายกลุ่ม เชน่ (1) กลุ่มที่อาศัยความรู้ความเข้าใจเร่ืองสมอง (Cerebrology) กลุ่มนี้ นําเอาความรู้ความเข้าใจในวิชาสรรี วิทยาใช้ในการอธบิ ายเรอื่ ง พฤตกิ รรม เชอื่ ว่าอวัยวะนเ้ี ปน็ องคป์ ระกอบสําคญั และทาํ หนา้ ท่ีในการแสดงพฤตกิ รรมได้แก่ สมองหรอื ระบบประสาทส่วนกลาง

32 (2) กลุ่มท่ีอาศัยความรู้ความเข้าใจในเร่ืองปฏิกิริยาสะท้อน (Reflexology) มุ่งศกึ ษาพฤตกิ รรมงา่ ยๆ และการแสดงปฏิกิรยิ าสะทอ้ น (Reflex) เชน่ การศึกษา เรอื่ งการเกิดปฏกิ ิรยิ าตอบสนองหรอื การเกิดปฏิกิรยิ าสะทอ้ นแบบวางเงอ่ื นไข (Conditioned Response or Reflex) การแสดงปฏกิ ริ ยิ าสะทอ้ น (Reflex) ยอ่ มต้องอาศัยสงิ่ เร้า (Stimulus) ทําหนา้ ท่กี ระต้นุ ให้สิง่ มชี วี ติ แสดงปฏิกิริยาสะทอ้ นออกมาอินทรีย์ (Organism) อนั มปี ระสาทสมั ผัส (Receptor หรอื Sensory neurons) ทาํ หนา้ ทีร่ ับการเรา้ จากส่งิ เรา้ แล้วรายงานไปยังประสาทส่วนกลาง ประสาทที่ เกย่ี วกับการเคลือ่ นไหว (Effectors หรอื Motor neurons) ทาํ หน้าทบี่ งการหรือก่อใหเ้ กดิ การแสดง ปฏิกิรยิ าตอบสนองส่งิ เรา้ ซิกมันด์ ฟรอยด์ ภาพที่ 18 แสดงภาพซกิ มันด์ ฟรอยด์ (1) (ทม่ี า bum-princess.blogspot.com 2 กมุ ภาพันธ์ 2559) 7.4 กลมุ่ จติ วิเคราะห์ แนวคิดทางจิตวิทยากลมุ่ จิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) ก่อตั้งโดย ซกิ มันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) 7.4.1 จติ แนวคิดทางจิตวิทยากลุ่มจิตวิเคราะห์ แบ่งจิตมี 3 ส่วน คือ จิตสาํ นึก (Conscious mind) จติ กึง่ สาํ นกึ (Preconscious mind) และจติ ไร้สาํ นกึ (Unconscious mind) ซง่ึ มลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี (ปราณี รามสตู และคณะ,2545 : 13-14)

33 ภาพท่ี 19 แสดงภาพจติ สาํ นกึ จติ ก่งึ รูส้ ํานกึ และจิตไรส้ าํ นึก (ทม่ี า พรี พล เทพประสทิ ธิ,์ 2549 : 202) 7.4.1.1 จิตสาํ นึก จิตสาํ นึก (Conscious mind) เป็นสภาพที่รู้ตัวว่าคือใคร อยู่ ท่ีไหน ต้องการอะไร หรือกาํ ลงั รู้สึกอย่างไรต่อสงิ่ ใด เมอื่ แสดงพฤติกรรมอะไรออกไปก็แสดงออกตาม หลกั และเหตผุ ล แสดงตามแรงผลกั ดันจากภายนอก สอดคล้องกบั หลกั แห่งความเปน็ จริง (principle of reality) 7.4.1.2 จิตกึ่งสาํ นึก จิตกึ่งสํานึก (Preconscious mind) เป็นจิตท่ีเก็บสะสม ข้อมูลประสบการณ์ไวม้ ากมาย มิได้ร้ตู ัวในขณะนนั้ แตพ่ รอ้ มให้ดงึ ออกมาใช้ พรอ้ มเข้ามาอยู่ในระดบั จิตสาํ นึก เช่น เดินสวนทางกับคนรู้จัก เดนิ ผ่านเลยมาแลว้ นกึ ข้ึนไดร้ ีบกลบั ไปทกั เป็นต้น อาจจะถือว่า เป็นประสบการณ์ตา่ งๆทีเ่ ก็บไวใ้ นรูปของความจาํ เป็นสว่ นจติ ก่งึ สํานึก เชน่ ความขมขนื่ ในอดตี ถา้ ไม่ คิดถงึ ก็ไมร่ ้สู กึ อะไร แต่ถา้ มาทบทวนถงึ เหตกุ ารณ์กจ็ ะทาํ ให้เศร้าไดท้ ันที

34 7.4.1.3 จิตไร้สํานึก จิตไร้สํานึก (Unconscious mind) เป็นส่วนของพฤติกรรม ภายในท่ีเจา้ ตัวไม่รู้สกึ ตวั เลย อาจเนื่องจากมาจากเจ้าตัวพยายามเกบ็ กดไว้ เชน่ อิจฉาน้อง เกลยี ดแม่ อยากทํารา้ ยพอ่ ซ่ึงเปน็ ความตอ้ งการทสี่ ังคมไมย่ อมรบั หากแสดงออกมามักถกู ลงโทษ ดงั นนั้ จงึ เก็บ ไวห้ รอื พยายามทจี่ ะลมื ในทส่ี ุดดูเหมือนลืมได้ แต่จริงแลว้ ไมไ่ ดห้ ายไปไหนยงั มีอยใู่ นสภาพจิตไร้สาํ นึก จติ ไร้สํานึกยังอาจจะเป็นเร่อื งของ Id ซงึ่ อยู่ในตวั คน เป็นพลงั ท่ีผลักดนั ใหเ้ ราแสดงพฤตกิ รรมตามหลกั แหง่ ความพอใจ (principle of pressure) แต่ส่ิงนนั้ ถูกกดหรอื ขม่ ไว้จนถอยรน่ ไปอยู่ในสภาพทเ่ี ราไม่ รู้ตัว สว่ นจิตไรส้ ํานึกจะแสดงออกในรปู ความฝัน การละเมอ การพลัง้ ปากพดู เปน็ ต้น การแสดงออก ทางด้านจนิ ตนาการ วรรณคดี ศิลปะ ผลงานด้านวิทยาศาสตร์ การกระทาํ ทผ่ี ดิ ปกติต่างๆ แม้กระท่ัง การระเบิดอารมณร์ ุนแรงเกินเหตุ บางครง้ั ก็เป็นเพราะจิตไร้สาํ นึกท่ีเก็บกดไว้ ฟรอยด์ เช่ือว่า จิตไร้ สํานึกมอี ิทธพิ ลและมบี ทบาทสาํ คญั ตอ่ บุคลกิ ภาพและการแสดงพฤติกรรมมนษุ ยม์ ากทสี่ ุด ทั้งยังเช่อื ว่า ความกา้ วรา้ วและความต้องการทางเพศเปน็ แรงผลักดนั ที่สาํ คญั ตอ่ พฤตกิ รรม 7.4.2 องค์ประกอบของพลงั จิต องคป์ ระกอบของพลงั จิต (psychic energy) เปน็ 3 สว่ น คือ (พีรพล เทพประสิทธิ์,2549 : 201) 7.4.2.1 อิด อิด (Id) เป็นพลังท่ีติดตัวมาแต่กาํ เนิด มีฐานมาจาก สญั ชาตญาณทส่ี ําคัญในตัวของมนษุ ย์ 2 ประการ คอื ความตอ้ งการทางเพศ (Sex) และความก้าวร้าว (Aggression) โดยมเี ป้าหมายหลัก คอื การแสวงหาและไดร้ ับการตอบสนองความพงึ พอใจทางกาย เทา่ นน้ั จึงกล่าวไดว้ า่ อิดคือหลักแหง่ ความพึงพอใจ (Pleasure Principle) โดยไมค่ าํ นงึ ถึงข้อเทจ็ จริง หรอื ความรับผิดชอบชั่วดใี ดๆ เปรียบไดก้ ับเด็กทารกทม่ี กั ถอื ความพอใจของตนเป็นใหญ่ 7.4.2.2 อีโก้ อีโก้ (Ego) เป็นส่วนของบุคลิกภาพท่ีพัฒนามาจากที่ได้ มีปฏิสมั พันธก์ ับสงั คมภายนอก เปน็ พลงั ที่พัฒนาจากการเรียนรโู้ ลกตามความเป็นจริงเพ่ือตอบสนอง พลังของอิด เปน็ พลังทสี่ ามารถจะปรับตวั ให้เกดิ ความสมดุลระหว่างความตอ้ งการของอดิ และซุปเปอร์ อีโก้ ดังนน้ั พลงั ของอีโก้ คอื หลกั แห่งความเปน็ จริง (Reality Principle) พฤติกรรมใดๆ ท่ีถกู เร้าโดย พลังอโี ก้ จะเปน็ พฤตกิ รรมทม่ี เี หตุผลและสงั คมยอมรับ 7.4.2.3 ซุปเปอร์อีโก้ ซปุ เปอรอ์ ีโก้ (Superego) เป็นสว่ นของบุคลกิ ภาพทีเ่ กดิ ขนึ้ ใน ระยะท่ี 3 ของพัฒนาการท่ีพัฒนามาจากกระบวนการเรียนรู้ของบุคคล ในสังคมวัฒนธรรมน้ันๆ

35 ซุปเปอร์อีโกค้ อื จติ สาํ นกึ แหง่ คณุ ธรรมความดงี าม ความรจู้ ักผิดชอบชว่ั ดี ตามทฤษฎขี องฟรอยด์น้ัน อีโก้จะนาํ พลังนี้ไปเปน็ สว่ นประกอบของพลังอดิ การทําหน้าที่ของอิด อีโก้ และซูเปอร์อีโก้นั้น จะทํางานในระดับท่ี แตกตา่ งกนั ของความร้ตู วั ซึ่งฟรอยด์ได้แทนโครงสร้างทางจติ ท้งั สามดว้ ยภูเขานํา้ แข็ง (Iceberg) โดย สองในสามส่วนของภูเขานา้ํ แข็งน้ันจะจมอยู่ใต้นํา้ ซึ่งส่วนท่ีอยู่ใต้นา้ํ น้ันฟรอยด์ได้ให้เป็นตัวแทน ของจิตไร้สํานึก (Unconscious) ส่วนของภูเขานาํ้ แข็งที่อยู่พ้นนา้ํ นั้นได้กําหนดให้เป็นส่วนของ จิตสาํ นกึ (Conscious) และส่วนทอ่ี ยูร่ ะดับเดียวกับนาํ้ นนั้ คอื ส่วนของจติ ใกลส้ าํ นกึ (Preconscious) เขากล่าวว่า พลงั สว่ นอิดน้นั จะอยูส่ ่วนลา่ งสุดของโครงสร้างของบุคลกิ ภาพ โดยจะอยูใ่ นสว่ นของจติ ไร้ สํานึกซ่ึงส่งผลใหแ้ สดงพฤตกิ รรมเพอ่ื ตอบสนองความพึงพอใจของตนเปน็ สําคญั ส่วนของอีโก้น้ันจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนแรกเป็นส่วนที่ พฒั นาขนึ้ มาจากอดิ เพ่อื ให้ติดต่อได้กบั โลกภายนอก สว่ นน้เี ปน็ จิตสาํ นึกและรับรคู้ วามจริง อโี ก้ในสว่ น ที่สองนั้นจะอยู่ในจิตใกล้สํานึกซ่ึงเป็นส่วนที่ใกล้รู้ตัว และสามารถให้เข้ามาอยู่ในจิตสํานึกได้โดยใช้ ความพยายามหรือการกระตนุ้ เพยี งเล็กน้อย อโี กใ้ นสว่ นที่ 3 จะอยูภ่ ายใต้จิตไร้สํานกึ ซ่ึงมกั จะเปน็ การเกบ็ กด ความรู้สึกนึกคดิ ทไ่ี มเ่ หมาะสมไวใ้ นจิตไรส้ ํานึก ส่วนซูเปอร์อีโก้น้ัน ฟรอยด์ได้กําหนดไว้อยู่ตรงจิตสาํ นึกซึ่งเป็นส่วน เดียวกับอโี ก้ เพอื่ แสดงบทบาทในการกําหนดพฤติกรรมของอโี ก้ แตอ่ กี ส่วนหนง่ึ ก็ยังอยใู่ นจิตไร้สํานกึ เนอ่ื งด้วยถึงแมว้ า่ ซูเปอร์อีโก้จะคอยขัดขวางไม่ให้อีโก้กระทาํ ตามใจชอบ แต่เมื่อบุคคลตกอยู่ใน จิตไร้สํานึก เช่น การนอนหลับหรือในขณะเผลอตวั อดิ กจ็ ะแสดงออกทดแทนในรปู ของพฤติกรรม ต่างๆ เช่น ความฝนั การพูดล้งั ปาก เปน็ ตน้ (พรี พล เทพประสิทธ์,ิ 2549 : 202) 7.5 กลมุ่ จิตวิทยาเกสตอลท์ กลมุ่ จติ วิทยาเกสตอลท์ กลมุ่ นีไ้ ด้ชื่อวา่ “กลุม่ จิตวทิ ยาส่วนร่วม” คาํ ว่า “Gestalt” หมายถึง สว่ นรวมทง้ั หมดหรอื โครงสรา้ งท้งั หมด (totality หรือ configuration) กลมุ่ เกสตลั ท์นยิ ม เกิดสมัยเดยี วกับกลุ่มพฤตกิ รรมนยิ ม กล่มุ เกสตัลทน์ ิยมเกิดในเยอรมนั กลุม่ พฤตกิ รรมนยิ ม เกิดใน อเมริกา กลุม่ นี้ได้ช่ืออกี ชื่อหนึ่งว่า “ปัญญานยิ ม”(cognitivism) ผนู้ าํ กล่มุ ที่สาํ คญั คอื แมกซ์ เวอร์ธไฮเมอร์ (Max Wertheimer, 1880 – 1943) และโคเลอร์ (Wolfgang Kohler, 1886 – 1941) (http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/kohler.html 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2559)

36 แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์ โคเลอร์ ภาพท่ี 20 แสดงภาพแมกซ์ เวอรไ์ ทเมอร์ และโคเลอร์ (ท่มี า mumedu.blogspot.com 2 กุมภาพนั ธ์ 2559) กลุ่มจิตวิทยาเกสตอลท์ เช่ือว่า พฤติกรรมของมนุษย์เป็นพฤติกรรมบูรณาการ (integrated behavior) การศึกษาพฤตกิ รรมต้องศกึ ษาลักษณะของบุคคลเป็นสว่ นรวมจะแยกศึกษา ทลี ะสว่ นไมไ่ ด้ เพราะส่วนรวมก็คอื ส่วนรวม มคี ณุ คา่ หรอื คุณสมบตั ติ ่างไปจากผลบวกของสว่ นย่อยๆ รวมกัน เช่น “บ้าน” ย่อมมคี ณุ ค่ามคี วามหมาย มคี ุณสมบตั ทิ ีม่ ากกว่าการเอาเสา เอากระดานพ้ืน กระดาน ตามประตูหนา้ ต่าง หลงั ค่า ฯลฯ มาต่อรวมเข้าดว้ ยกัน หรือตัวอยา่ งในรปู พฤติกรรม เชน่ การแสดงปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองต่อส่ิงแวดลอ้ ม จะแสดงออกมาในรูปใด มักเนอ่ื งมาจากคณุ สมบัตโิ ดย ส่วนรว่ มของคนๆนน้ั โดยประสมประสานระหว่างความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ ทกั ษะ หรอื ความสามารถ ในการกระทํา ฯลฯ ไมไ่ ด้เกิดเพราะส่งิ ใดสิ่งหน่ึงส่ิงเดียวและถึงแม้ส่ิงเร้าของคนน้นั จะเป็นสิง่ เดยี วกัน แต่พฤตกรรมจะแตกต่างกันไปตามกาลเวลา ทั้งนี้เน่ืองจากประสบการณ์ท่ีเพ่ิมข้ึน ทาํ ให้ความรู้ ความเข้าใจ ความรสู้ ึก ทกั ษะ และความสามารถเปลี่ยนไปจากเดมิ

37 ภาพที่ 21 แสดงภาพลงิ ชิมแปนซี (ท่ีมา http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/kohler.html 2 กมุ ภาพันธ์ 2559) กลมุ่ จิตวิทยาเกสตอลท์ เน้นศึกษาพฤติกรรมการรับรู้ รวมทั้งการเรียนรูจ้ ากปัญญา ความคิด เหน็ ว่าการรับรเู้ ปน็ พืน้ ฐานนําให้เกดิ การเรียนรู้ และคนเรามีความสามารถในการรับรตู้ า่ งกัน ส่งผลให้เรียนรู้และกระทาํ แตกต่างกัน การจะรับรู้ให้เข้าใจได้ดีจะต้องรับรู้โดยส่วนรวมก่อนแล้ว จึงศึกษาส่วนย่อยๆ ของส่ิงนั้นทีละส่วนในภายหลังและการเรียนรู้เป็นการแก้ไขปัญหาอย่างหน่ึง ซึ่งความสามารถในการแกไ้ ขปัญหาข้ึนอย่กู บั ความสามารถในการหยง่ั เหน็ (insight) การหย่ังเห็นเป็น การคดิ ชอ่ งทาง แกป้ ญั หาไดฉ้ บั พลนั จากการพจิ ารณาสภาวะรอบด้าน ถ้าเกิดการหยั่งเห็นเม่ือใดกจ็ ะ แก้ปัญหาได้เมอื่ นั้น เมื่อแกป้ ญั หาไดก้ ็เกิดการเรียนรู้ ซงึ่ จะเปน็ ไปไดด้ ีเพยี งใดขน้ึ กบั การใชค้ วามคิด ความเข้าใจหรอื สตปิ ัญญาของผนู้ น้ั แนวคิดของกลมุ่ นไ้ี ดช้ อ่ื ว่า “ปัญญานยิ ม” เนอื่ งจากเห็นวา่ การศึกษา พฤติกรรมต้องศึกษา จากกระบวนการรับรู้และการคิดในสมอง ซ่ึงเป็นตัวสั่งการให้เกิดพฤติกรรม การพฒั นาปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม ตามแนวคดิ ของจิตวทิ ยาเกสตอลท์นน้ั จะต้องพฒั นาปรับเปลย่ี น ความคดิ กอ่ น รวมไปถงึ การทาํ ความเข้าใจและวนิ ิจฉัยบคุ คลทจี่ ะตอ้ งดผู นู้ ั้นเปน็ ส่วนรวม ตอ้ งศึกษา เขา้ ในสภาพแวดลอ้ มทุกรปู แบบเพือ่ ใหร้ ูจ้ ักผนู้ ั้นได้โดยแทจ้ ริง รวมท้ังได้แนวทางเข้าใจบคุ คลโดยพจิ ารณา ท่โี ลกแห่งการรับรู้ของเขา เนื่องจากจะรับรตู้ ามความคดิ ภายใน มากกวา่ รับร้โู ลกเชงิ ภูมศิ าสตรต์ าม ความเปน็ จริง เม่ือเขา้ ใจการรบั รูข้ องใครกย็ อ่ มเขา้ ใจความคิดของผู้นน้ั ด้วย (http://dit.dru.ac.th/home/023/human/05.htm 2 กุมภาพนั ธ์ 2559) ผ้เู ขียนจึงขอเสนอทฤษฎี การเรียนรูข้ อง Kohler ดงั น้ี

38 7.5.1 ทฤษฎกี ารเรียนร้ขู อง Kohler ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ลมุ่ เกสตัลท์ (Gestalt ‘s Theory) ทฤษฎกี ารเรียนรู้ ของกลุ่มเกสตลั ท์ เกิดจากนกั จิตวทิ ยาชาวเยอรมันตงั้ แต่ปี ค.ศ. 1912 โดยมีผู้นํากล่มุ คอื เวอรไ์ ธเมอร์ (Wertheimer) โคหเ์ ลอร์ (Kohler) คอฟฟ์กา (Koffka) และเลวิน (Lewin) ทั้งกลุ่มมีแนวความคิดว่า การเรยี นรเู้ กิดจากการจดั ประสบการณ์ทง้ั หลายที่อยู่กระจดั กระจายให้มารวมกันเสยี กอ่ น แลว้ จงึ พจิ ารณาส่วนย่อยต่อไป 7.5.1.1 กฎการเรยี นรู้ หลกั การเรียนรูข้ องทฤษฎี กลุ่มเกสตัลท์เนน้ การเรยี นรู้ทีส่ ว่ นรวม มากกว่าส่วนยอ่ ย ซ่งึ จะเกดิ ขึ้นจากประสบการณ์และการเรียนรู้เกิดขนึ้ จาก 2 ลักษณะคอื (1) การรับรู้ (Perception) เปน็ การแปรความหมายจากการสัมผสั ดว้ ยอวัยวะสมั ผัสท้ัง 5 ส่วน คือ หู ตา จมูก ลน้ิ และผิวหนงั การรับรูท้ างสายตาจะประมาณรอ้ ยละ 75 ของการรบั ร้ทู ั้งหมด ดงั น้นั กลุ่มของเกสตลั ทจ์ ึงจัดระเบยี บการรบั รโู้ ดยแบ่งเปน็ กฎ 4 ข้อ เรยี กว่า กฎแห่งการจัดระเบยี บ คอื 1.1) กฎแห่งความชัดเจน (Clearness) การเรียนรู้ทด่ี ตี อ้ ง มีความชัดเจนและแนน่ อน เพราะผู้เรยี นมปี ระสบการณเ์ ดิมแตกต่างกัน 1.2) กฎแห่งความคลา้ ยคลงึ (Law of Similarity) เปน็ การวางหลักการรับร้ใู นสงิ่ ท่คี ลา้ ยคลึงกนั เพื่อจะไดร้ วู้ า่ สามารถจดั เข้ากลุ่มเดยี วกนั 1.3) กฎแห่งความใกล้ชิด (Law of Proximity) เป็นการกล่าวถงึ ว่า ถ้าสงิ่ ใดหรอื สถานการณ์ใดที่มีความใกลช้ ดิ กัน ผ้เู รยี นมแี นวโน้มทจ่ี ะรบั รูส้ ง่ิ นนั้ ไว้ แบบเดยี วกนั 1.4) กฎแห่งความตอ่ เนอ่ื ง (Law of Continuity) สงิ่ เร้าที่ มที ศิ ทางในแนวเดียวกัน ซึง่ ผู้เรียนจะรบั รู้ว่าเป็นพวกเดยี วกัน 1.5) กฎแหง่ ความสมบรู ณ์ (Law of Closer) สิง่ เรา้ ทขี่ าด หายไปผู้เรียนสามารถรบั รู้ใหเ้ ปน็ ภาพสมบูรณ์ไดโ้ ดยอาศัยประสบการณ์เดมิ (2) การหย่ังเห็น (Insight) หมายถึง การเกดิ ความคดิ แวบขนึ้ มา ทันทที นั ใด ในขณะทีป่ ระสบปญั หาโดยมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหา ตั้งแตเ่ ริ่มแรกเปน็ ขนั้ ตอนจน สามารถแกป้ ญั หาได้ เป็นการมองเห็นสถานการณ์ในแนวทางใหม่ๆ ขน้ึ โดยเกดิ จากความเข้าใจและ ความรู้สกึ ท่มี ีตอ่ สถานการณ์วา่ ได้ยนิ ได้ค้นพบแล้ว ผ้เู รยี นจะมองเหน็ ช่องทางการแกป้ ัญหาขน้ึ ได้ใน ทันทีทันใด การทดลองกลุ่มเกสตัลท์ เพอื่ ทจ่ี ะไดเ้ ขา้ ใจวิธีการแนวคิดของนักจิตวิทยากลมุ่ นเ้ี ก่ยี วกบั การเรยี นร้ดู ้วยการหย่ังเหน็

39 2.1) ยกตัวอย่างการทดลองของโคลเ์ ลอร์ ระหว่างปี ค.ศ. 1913-1917 ซงึ่ ทดลองกับลงิ ชิมแปนซี ซ่ึงการทดลองครงั้ แรกเปน็ การทดลองในเยอรมนั แต่ต่อมาเขา้ ไดย้ ้ายมาตง้ั ถิ่นฐานที่อเมรกิ าการทดลอง ส่วนใหญร่ ะยะหลังจึงเกดิ ข้นึ ในห้องปฏบิ ตั ิการในประเทศ อเมริกา ข้ันตอนการทดลอง การทดลองของเขาครั้งแรกมีจุดประสงค์เพราะไม่เห็นด้วยกับทฤษฎี การเรียนรู้ของธอร์นไดคท์ ีก่ ล่าว สตั วโ์ ลกทวั่ ไปทาํ อะไรไม่มีแบบแผนหรอื ระเบยี บวิธใี ดๆ การเรียนรทู้ ี่ เกิดข้ึนเป็นการเดาส่มุ หรอื การลองถูกลองผิด โดยมกี ารเสริมกําลังเปน็ รางวลั เชน่ อาหารเปน็ แรงจงู ใจ ท่ีผลกั ดันใหเ้ กดิ การเรียนรู้ โดยไมม่ กี ระบวนการแก้ปญั หาโดยใช้ปัญญาโคลเลอรไ์ ดส้ ังเกตและศกึ ษา เก่ียวกับปัญหาเหล่านี้เพราะมีความเชื่อว่าในสถานการณ์หน่ึง ถ้ามีเคร่ืองมือเครื่องใช้อุปกรณ์ใน การแกป้ ัญหาและปฏิบัติการพร้อมสตั วแ์ ละคน สามารถแกป้ ญั หาได้โดยการหย่ังเหน็ โดยการมองเห็น ความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่งิ ต่างๆ ทีม่ อี ยู่ เมื่อสตั ว์ไดเ้ รยี นรกู้ ารแกป้ ญั หาโดยการหย่งั เหน็ และเห็นช่องทาง ในสงิ่ นน้ั ไดแ้ ลว้ การกระทาํ คร้งั ตอ่ ไปจะสามารถแกป้ ัญหาพฤติกรรมทยี่ ากข้นึ ไปเรอ่ื ยๆ และสมบูรณ์ มากยิง่ ขึ้น โคลเลอร์ได้ทดลองโดยการขังลงิ ชิมแปนซี ตวั หน่งึ ไวใ้ นกรง ท่ใี หญ่พอทล่ี ิงจะอยู่ไดภ้ ายในกรงมไี ม้หลายทอ่ น มีลกั ษณะส้นั ยาวตา่ งกนั วางอยู่ นอกกรมเขาได้แขวน กล้วยไว้หวีหน่ึงเกินกว่าที่ลิงจะเอ้ือมหยิบได้การใช้ท่อนไม้เหล่าน้ัน บางท่อนก็ส้ันเกินไปสอย กล้วยไม่ถึงเหมอื นกัน มบี างทอ่ นยาวพอท่ีจะสอยได้ ในข้นั แรกลิงขมิ แพนซพี ยายามใช้มือเอ้ือมหยบิ กล้วยแต่ไมส่ าํ เร็จแมว้ า่ จะได้ลองทําหลายครงั้ เป็นเวลานานมนั กห็ ันไปมองรอบรอบกรง เขย่ากรง ส่ง เสียงร้อง ปนี ป่ายและทําทกุ อย่างทจี่ ะชว่ ยให้ได้กินกลว้ ย แต่เมือ่ ไม่ได้ผลไม่สามารถแกป้ ัญหาได้มนั หนั มาลองจบั ไมเ้ ลน่ แบะใช้ไม้นน้ั สอยกลว้ ยแต่เม่ือไมไ่ ด้ผล ไมสามารถจะแกป้ ัญหาได้ มันหันมาลองจับไม้ อันอื่นเลน่ และใช้ไม้นนั้ สอยกลว้ ย การกระทาํ เกิดข้ึนเร็วและสมบูรณ์ ไม่ได้คอ่ ยเป็นคอ่ ยไปอยา่ งช้าๆ ในทีส่ ุดมนั กส็ ามารถใช้ไม้สอยกล้วยมากินได้ วิธีการที่ลิงใช้แก้ปัญหาน้ี โคล์เลอร์เรียกพฤติกรรมนี้ ว่า เปน็ การหยั่งเห็น เป็นการมองเห็นช่องทางในการแกป้ ัญหาโดยลิงชิมแพนซีไดม้ กี ารรับรู้ในความสัมพนั ธ์ ระหว่างไมส้ อยกลว้ ยทแ่ี ขวนอยูข่ ้างนอกกรงและสามารถใช้ไมน้ ้ันสอยกลว้ ยได้ เป็นการนาํ ไปสเู่ ป้าหมาย กระบวนการแก้ปัญหาของลิงชมิ แพนซมี ีดงั นี้ (1) วธิ กี ารแกป้ ญั หาโดยการหล่ังเห็นจะเกดิ ขึ้น ทนั ทีทันใดเหมอื นความกระจา่ งแจง้ ในใจ (2) การเรียนรู้การหย่ังเห็นเป็นการท่ีผู้เรียน มองเห็นรับรู้ความสัมพันธ์ของเหตกุ ารณ์ ไมใ่ ชเ่ ปน็ การตอบสนองของส่ิงเรา้ เพยี งอย่างเดยี ว

40 (3) ความรู้เดมิ ของผเู้ รยี น ประสบการณข์ องผเู้ รยี น มสี ว่ นท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนเกดิ การหยัง่ เหน็ ในเหตุการณท์ ปี่ ระกอบขึ้นเปน็ ปัญหาและช่วยให้ การหยั่ง เหน็ เกดิ ขนึ้ เรว็ 2.2) การนําทฤษฎปี ระยกุ ตใ์ นการเรียนการสอน การนําทฤษฎีประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน นักจิตวิทยากลุ่มน้ีคิดว่า ในการเรียนรู้ของคนเราเป็นการเรียนรู้ด้วยการหยั่งเห็นซึ่งเกิดข้ึนอย่าง รวดเร็วและคิดได้ว่าอะไรเป็นอย่างไร ปัญหาก็แจ่มชัดขึ้นเอง เน่ืองจากการเห็นความสัมพันธ์ของ ส่วนต่างๆ ของปญั หามีหลายอยา่ งท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อการเรียนรูด้ ้วยการหยั่งเห็น ดงั น้ี (1) การหย่ังเห็นจะข้นึ อยู่กับการจัดสภาพทีเ่ ป็นปญั หา ประสบการณเ์ ดมิ แม้จะมีความหมายตอ่ การเรยี นรู้ แตก่ ารหยัง่ เห็นนัน้ ให้เปน็ ระเบียบ และสามารถ จัดสว่ นของสถานการณ์น้นั ใหเ้ ป็นระเบียบ มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ ตา่ งๆ ที่เกดิ ขึน้ (2) เม่อื สามารถแกป้ ัญหาได้ครงึ่ หนง่ึ คราวตอ่ ไป เมอื่ เกิดปญั หาข้ึนอีกผูเ้ รียนกจ็ ะสามารถนาํ วิธีการน้ันมาใชใ้ นทนั ทีโดยไมต่ ้องเสยี เวลาคดิ พิจารณาใหม่ (3) เมอ่ื ค้นพบล่ทู างในการแกป้ ัญหาคร้ังกอ่ นแลว้ ก็ อาจนํามาดัดแปลงใช้กับสถานการณ์ใหม่ และรูจ้ ักการมองปัญหาเป็นส่วนเปน็ ตอนและเรยี นร้คู วามสมั พันธ์ ของสิง่ ต่างๆ ได้ (http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/kohler.html 2 กุมภาพันธ์ 2559) อบั ราฮัม มาสโลว์ คาร์ล โรเจอรส์ ภาพท่ี 22 แสดงภาพอบั ราฮมั มาสโลว์ และ คารล์ โรเจอรส์ (ทมี่ า psychological.exteen.com และ bloggang.com 2 กุมภาพันธ์ 2559)

41 7.6 กลมุ่ มนษุ ยนิยม ผ้นู าํ สําคญั ในกลมุ่ มนุษย์นยิ ม ไดแ้ ก่ คารล์ โรเจอร์ (Calr R. Rogers, 1902- 1987) และอบั ราฮมั มาสโลว์ (Abraham H. Maslow, 1908-1970) คาํ อธบิ ายของกลุ่มนีถ้ อื ว่า สมัยใหม่ สอดคลอ้ งกบั สังคมเปิดและสงั คมประชาธปิ ไตย ได้ชอ่ื ว่า พลงั ที่สาม (the third force) ซึ่งบาง คมเรียกว่า คลน่ื ลกู ที่สาม (the third wave) ความเช่ือเบ้ืองต้นของกลุ่มจติ วทิ ยามนษุ ยน์ ิยม มดี งั นี้ (http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/kohler.html 2 กุมภาพันธ)์ 7.6.1 มนุษย์มีจิตใจ ต้องการความรัก ความอบอุ่น ความเข้าใจ ท้ังยังมีขีด ความสามารถเฉพาะตัวไมใ่ ชจ่ ะกําหนดให้เป็นอะไรก็ไดต้ ามใจชอบของคนอนื่ ซง่ึ ตรงข้ามกบั แนวคิด ของกล่มุ พฤติกรรมท่ีเหน็ วา่ เราสามารถกาํ หนดพฤติกรรมของมนุษย์ด้วยกันได้ 7.6.2 มนษุ ย์แตล่ ะคนเปน็ ผซู้ งึ่ พยายามทจ่ี ะรจู้ ัก เข้าใจตนเอง และตอ้ งการบรรลุ ศักยภาพสงู สุดของตน (self actualization) จึงไม่ยากนกั ทีจ่ ะเสรมิ สรา้ งใหบ้ คุ คลคิดวเิ คราะห์ เข้าใจ ตน และนําจุดดีมาใชป้ ระโยชนเ์ พอ่ื พัฒนาเอง 7.6.3 ขอ้ บงั คับและระเบยี บวนิ ยั ไมส่ ู้จาํ เป็นนกั สาํ หรับผพู้ ฒั นาแลว้ ทุกคนตา่ ง ม่งุ สร้างความเปน็ มนุษย์ทสี่ มบูรณใ์ หแ้ กต่ นถา้ เขาไดร้ บั การยอมรบั ดังนั้น จดุ เร่ิมตน้ ของการพฒั นาตน จึงอย่ทู ่กี ารยอมรบั ตนเองและผอู้ น่ื ให้ได้กอ่ น 7.6.4 บุคคลท่พี รอ้ มต่อการปรับปรุงตนเองควรจะได้มีสิทธิเลอื กการกระทาํ เลือกประสบการณก์ าํ หนดความตอ้ งการและตดั สนิ ใจเรอื่ งราวต่างๆ ดว้ ยตนเอง (self mastery) เป็น การออกแบบชีวติ ท่เี หมาะสมตามทศิ ทางของเขา 7.6.5 วธิ ีการแสวงหาความรหู้ รอื ขอ้ เท็จจริง สาํ คญั กว่าตัวความรหู้ รือตัวขอ้ เท็จจริง เพราะโลกมกี ารเปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ ตวั ของความร้หู รอื ตัวข้อเท็จจรงิ จะไมใ่ ชส่ ่งิ ตายตวั ดังนัน้ สิ่งที่ เป็นประโยชน์ต่ออนาคตของบุคคลมากทส่ี ดุ กค็ ือกรรมวิธีในการเสาะแสวงหาความรู้ ไมใ่ ชเ่ นน้ ทต่ี วั ความร้เู พียงอยา่ งเดยี ว แนวคิดจากกลมุ่ มนษุ ย์นยิ มทอ่ี าจนาํ ไปใชเ้ พอ่ื การพฒั นาพฤตกิ รรม คอื การเน้น ให้บคุ คลได้มเี สรภี าพเลอื กวถิ ีชวี ติ ตามความตอ้ งการและความสนใจ ใหเ้ สรีภาพในการคดิ การทาํ เนน้ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เน้นใหบ้ ุคคลมองบวกในตน ยอมรบั ตนเอง และนําสว่ นดีในตนเองมาใช้ ประโยชน์ให้เต็มที่ รกั ศักดิศ์ รีความเปน็ มนุษย์ของตนเอง สร้างสรรค์สง่ิ ดีให้ตนเอง ซง่ึ เปน็ ฐานทางใจ ใหม้ องบวกในคนอนื่ ยอมรบั คนอื่นและสรา้ งสรรคส์ งิ่ ดีงามให้แกผ่ อู้ นื่ และสงั คม กับท้งั มคี วามรบั ผดิ ชอบ ตอ่ ตนเองและสังคมด้วย

42 หลกั ความเชือ่ และแนวคดิ ของนกั จิตวทิ ยากลมุ่ มนุษยน์ ยิ มดังกลา่ ว เป็นทย่ี อมรบั และความทันสมยั มาก ในปจั จุบนั สําหรับในประเทศไทยของเราได้มกี ารต่ืนตัวกันมากท่จี ะนาํ แนวคิดน้ี มาสู่การพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อแก้ปัญหาสังคมในบ้านเมืองของเราขณะนี้ โดยนักการศึกษา ส่วนหนึ่งมีความเชื่อวา่ หากเรามที รัพยากรบคุ คลทม่ี คี ณุ ภาพสงู แมจ้ ะเผชิญกับความยงุ่ ยากในการนํา ทรพั ยากรธรรมชาติอ่นื ๆ มาใชป้ ระโยชน์แม้มอี ปุ สรรคมากมายตอ่ การพัฒนาประเทศ แต่ประชากรท่ีมี คณุ ภาพน่าจะฟนั ฝ่าอุปสรรคไปได้ด้วยวริ ิยะอุตสาหะดว้ ยความหาญฉลาดแห่งปญั ญา และดว้ ยคณุ ธรรม ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ตอ่ สงั คม ซงึ่ กลมุ่ มนษุ ยน์ ยิ มเชอื่ ว่า ถา้ เดก็ ถกู เลย้ี งในบรรยากาศของความรกั ความอบอุ่น เขาจะมีความรู้สึกมัง่ คงปลอดภยั และจะเจรญิ เตบิ โตเปน็ ผเู้ ป็นผ้ใู หญ่ที่มองโลกในแง่ดี มนี ้ําใจใหค้ นอนื่ ถา้ เดก็ ถูกเล้ียงใหร้ ู้จักช่วยตัวเองตามวยั ตามความถนดั ความสนใจและตามบทบาท หนา้ ทภี่ ายใตก้ ารใหก้ ําลังใจจากผใู้ หญ่ เดก็ น้ันจะเจริญเตบิ โตเป็นผใู้ หญท่ ีร่ ับผดิ ชอบตามบทบาทหน้าที่ ในสงั คมกลุ่มมนุษยน์ ยิ ม มคี วามเช่อื ว่า การเสริมสรา้ งคณุ ภาพชีวิตของคนเรานน้ั จะทาํ ไดโ้ ดยใหค้ น มองเหน็ สว่ นดีในตนเองและเกดิ แรงจงู ใจในการนําสว่ นดีมาใช้ประโยชน์ ใหร้ ู้จักวางแผนชวี ิตและสร้าง พลังใจใหด้ าํ เนินชวี ิตไปตามแผนให้ได้มีโอกาสศกึ ษาตนเองในแง่มมุ ตา่ งๆ และให้ไดแ้ นวทางในเรียนรู้ บุคคลอนื่ ๆ ทแ่ี วดล้อมตนเพื่อปรบั ตนในการอยู่ร่วมกับคนอืน่ อย่างไดป้ ระสิทธภิ าพ เกิดการยอมรับ ตนเองและยอมรับคนอ่ืน เมื่อยอมรับตนเองก็เกิดความเชื่อม่ันปฏิบัติตนเป็นธรรมชาติ ลด ความก้าวรา้ วและความเกบ็ กดลงไปได้ เมื่อยอมรับคนอ่ืนได้ก็จะทําให้มองโลกในแงด่ ีทาํ ให้อยู่รว่ มกนั โดยสนั ติสุข 8. วธิ ีการศึกษาทางจติ วทิ ยา 8.1 วธิ ีการวจิ ัย วธิ ีการวิจยั ทางจติ วิทยา (วิไลวรรณ ศรสี งคราม,2549 : 8-10) มเี ปา้ หมาย พื้นฐาน 3 อย่าง คือ เพอื่ ท่ีจะพรรณนา (Describe) อธบิ าย (Explain) และการทํานาย (predict) พฤตกิ รรม วิธกี ารวิจยั ใช้การเก็บรวบรวมขอ้ มูลไดอ้ ย่างหลาก ซ่ึงมวี ธิ ีการอน่ื ๆ เชน่ การสังเกต โดยเฉพาะการสังเกตตามธรรมชาติไดใ้ หผ้ สู้ งั เกตพรรณนาพฤติกรรมและคําอธิบายทเ่ี ป็นไปได้ แต่ไม่ เหมาะกบั การทดสอบสมมตฐิ านว่าทาํ ไมการตอบสนองทีแ่ น่นอนจงึ เกดิ ข้ึนได้ ส่วนวิธกี ารสํารวจจะมี ข้อจํากัด คือ การสาํ รวจจะจํากัดเพื่อการตัดสินสาเหตุ ในขณะเดียวกันวิธีการทดลองจะเป็น การทดลองในสภาวะการควบคุมอย่างสงู และช่วยชใี้ หเ้ หน็ สาเหตุของปัญหา แต่ไมส่ ามารถเผยให้เหน็ ความซบั ซ้อนของพฤตกิ รรมเมอื่ มันไดป้ รากฎภายนอกห้องทดลองของนักวจิ ัย บี เอฟ สกินเนอร์ (B. F. Skinner 1953 อ้างถึงใน 1987 : 17-18) ได้กลา่ วว่า มีหลักเกณฑ์หรอื ทศั นคติ 6 ประการ ท่นี กั วจิ ยั ควรจะคาํ นงึ ซ่ึงไดแ้ ก่

43 8.1.1 ความถูกต้องแน่นอน (Precision) หมายถึง ความเที่ยงแทใ้ นสิ่งทนี่ กั วิจยั จะต้องใหค้ วามสนใจในหลายๆ ด้าน นกั วจิ ัยจะพยายามทจี่ ะออกแบบงานวจิ ยั ทใี่ หผ้ ลลัพธใ์ นรปู แบบ ของตวั เลขโดยสร้างเครือ่ งมอื ทีว่ ัดลักษณะทว่ี ัดไดย้ าก เช่น ความรัก ความวิตกกังวล ภายหลงั จากท่ี งายวิจัยไดเ้ สร็จสิน้ สมบูรณ์แลว้ นักจิตวทิ ยาจะเขียนรายงานรายละเอยี ดของผู้เขา้ ร่วมการวจิ ัย วธิ กี าร ทใ่ี ชใ้ นการวิจัยตลอดจนถึงส่ิงทเี่ ป็นผลลัพธ์จากการวิจัย ซ่งึ สิง่ เหล่าน้ันจะได้รบั การตรวจสอบซ้ําโดย นกั วจิ ยั คนอื่นๆ ในทีส่ ุดขอ้ คน้ พบทีไ่ ดผ้ ลใกล้เคียงกันสามารถสรปุ และยดึ ถือนําไปใชไ้ ด้โดยทวั่ ไป 8.1.2 ความไมม่ อี คตหิ รอื ความลําเอียง (Objectivity) นักจติ วิทยาทที่ าํ การวิจัย จะดาํ เนนิ การตามข้นั ตอนทจี่ ะไม่ให้มมุ มองส่วนบคุ คลของตวั เขาเองมอี ิทธิพลตอ่ การศกึ ษาวจิ ัย ถงึ แม้ว่าจะมปี ญั หาในเร่ืองอคติ แตอ่ ย่างไรกต็ าม การศกึ ษาเพยี งครงั้ เดียวกนั กไ็ ม่ไดเ้ สร็จสมบูรณ์ แต่ เน่อื งจากมนี กั จติ วิทยาคนอืน่ ๆ ได้ทําการวจิ ัยในปัญหาทม่ี ีความคล้ายคลงึ กนั เมอ่ื ความจรงิ ไดป้ รากฏ และในทสี่ ุดจะไดร้ ับการยึดถือตอ่ ไป 8.1.3 ข้อมูลเชงิ ประจักษท์ ่ีขน้ึ กับประสบการณห์ รือการสงั เกต (Empiricism) นักจติ วทิ ยาเชื่อวา่ การสังเกตโดยตรงเปน็ แหล่งทีม่ าของความร้ทู ดี่ ที ่สี ดุ นกั จิตวิทยาจะต้องกระทาํ การศกึ ษาอยา่ งระมัดระวังและสงั เกตผลลัพธ์ ซง่ึ ผลลัพทธอ์ าจจะไมส่ ามารถเป็นความคิดทเ่ี ปน็ ไปได้ การตรวจสอบของนกั วทิ ยาศาสตรห์ รอื การสาํ รวจความคิดเหน็ ของบคุ คล กลยทุ ธ์เหลา่ นี้ท้งั หมดเป็น การคาดคะเนมากกว่าข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ทีไ่ ด้จากการสงั เกตโดยตรง 8.1.4 การตดั สินใจ (Determinism) หมายถงึ ความเช่ือวา่ เหตุการณ์ท้งั หมด เป็นสาเหตุตามธรรมชาติ ซงึ่ นักจติ วทิ ยาเชือ่ วา่ การกระทําของบุคคลจะไดร้ บั การตัดสินใจโดยตวั เลข ของปัจจยั อยา่ งมาก เชน่ ศักยภาพท่ไี ดม้ าจากพนั ธกุ รรม แรงจูงใจ อารมณ์ และความคดิ นอกจากน้ี ไดม้ าจากส่งิ แวดลอ้ ม เช่น ความกดดันจากคนอน่ื ๆ และเหตกุ ารณ์ในปจั จบุ นั ดังนัน้ นักจติ วทิ ยาจงึ ปฏิเสธทจี่ ะพจิ ารณาอาํ นาจท่ีอยูเ่ หนือธรรชาติ เช่น โชคชะตา ความชวั่ ร้าย และพระเจ้า เป็นตน้ จาก การสงั เกตในการอธบิ ายท่ีเป็นไปได้ แมว้ า่ นักจิตวิทยาจะไม่สามารถอธิบายบางส่งิ บางอยา่ ง พวกเขา อาจสรุปว่าสาเหตทุ างธรรมชาตเิ ปน็ ตัวกอ่ ให้เกดิ พฤตกิ รรม 8.1.5 ความใจแคบ (Parsimony) ในทางวิทยาศาสตร์ได้ใช้คาํ นใ้ี นการอธบิ าย นโยบายมาตรฐานเพ่อื ใชอ้ ธิบายปรากฏการณ์ การมใี จแคบไม่ยอมรับการวจิ ัยอน่ื ๆ จะทาํ ใหม้ ผี ลต่อ การสรุปผลท่ไี ด้จากการวิจัย 8.1.6 ความสงสยั (Skepticism) ปกตแิ ล้ว นักจติ วิทยามกั จะมีการวิพากษง์ าน ของตนเองและของนกั วจิ ัยคนอนื่ ๆ ถา้ มีประจกั ษ์พยานที่คน้ พบใหม่ๆ นกั จติ วิทยาจะมีการประเมิน งานและทบทวนใหม่ขอ้ ในขอ้ สรุปเดมิ อีกครงั้ เพ่อื หาข้อเท็จจริงท่เี ขาลงั เลและไมแ่ น่ใจ ซึง่ เราจะเรยี ก ทศั นคตเิ หลา่ นวี้ า่ ความสงสัย

44 จากข้อ 8.1.1-8.1.6 จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเปน็ องค์ประกอบของความเปน็ วิทยาศาสตร์ของจิตวิทยา ตามคําถามของการวิจยั ในแต่ละครง้ั คอื อะไร บ่อยครัง้ ท่ีนักจิตวทิ ยาเรม่ิ มี คําถามของการวจิ ยั โดยคาํ ถามนไ้ี ดจ้ าการวิจยั ในแตล่ ะคั้งคอื อะไร บ่อยครงั้ ทนี่ กั จติ วิทยาเรม่ิ มคี ําถาม ของการวิจัย โดยคําถามน้ีได้มาจากการสังเกตของบุคคลรอบตัว คาํ ถามอาจจะเป็นสิ่งท่ีพบใน ชวี ิตประจําวนั ทัว่ ไป และเป็นคําถามเชงิ ประจักษ์ (Empirical questions) เชน่ อะไรจะเกดิ ขนึ้ กับ บุคลกิ ภาพของบุคคลที่อยู่ในวยั ชรา ความเครยี ดมผี ลกระทบตอ่ บุคคลได้อย่างไร ซ่ึงบางทีคําถาม โดยทั่วไปก็มักจะมีความคลุมเครือหรือแปลความหมายได้หลายประเด็นด้วยกัน เช่นคําถามท่ีว่า ความเครียดมีผลกระทบตอ่ บคุ คลได้อย่างไร จะเห็นได้วา่ มีคาํ ตอบไดห้ ลายคําตอบมากมาย ซง่ึ แนน่ อน คาํ ตอบจะมผี ลกระทบบุคคลท่ีแตกตา่ งกันในเวลาทต่ี า่ งกัน รวมทง้ั ในทศิ ทางที่ต่างกนั ออกไป จึงเป็น หนา้ ทีข่ องนักจิตวทิ ยาทจ่ี ะดาํ เนินการ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. คําถามโดยท่วั ไปจะประกอบดว้ ยคําถามโดยเฉพาะจาํ นวนมาก ซึง่ นักจติ วทิ ยา จะตอ้ งทาํ ให้คาํ ถามท่ีคลุมเครอื มคี วามชัดเจนมากขน้ึ และทาํ ให้ความกว้างของคาํ ถามมคี วามแคบลง อกี ด้วยท้งั น้เี พื่อให้การตรวจสอบอยา่ งมรี ะบบกระทาํ ได้ 2. เมอ่ื ไดค้ าํ ถามแล้ว นักจิตวทิ ยาจะตอ้ งนิยามตวั แปรจากคาํ ถามของการวิจยั ซึ่งจะเรียกว่า การให้คํานิยามปฏิบัติการ (Operational definitions) นิยามปฏิบัติการได้ใช้ใน การวิจัยอยา่ งกวา้ งขวาง เพอื่ ใหต้ ัวแปรนน้ั มคี วามชดั เจนไมเ่ ปน็ นามธรรม แตต่ อ้ งง่ายท่ีจะใช้วัดได้ เป็นสงั กปั ทเ่ี ป็นไปไมไ่ ด้ มีความแคบและใช้ได้กับสถานการณโ์ ดยเฉพาะ ซงึ่ อาจจะเป็นนยิ ามท่ใี ช้ เฉพาะในงานวิจัยน้นั ๆ ก็ได้ 3. การเลือกประชากรท่ใี ช้ในการวจิ ัย เนอ่ื งจากประชากรทง้ั หมดทเ่ี ราต้องการ ศกึ ษา ซึง่ อาจจะเป็นกล่มุ วยั รนุ่ เดก็ เกิดใหม่ หรือผใู้ หญ่ นักจิตวทิ ยาไม่สามารถใชป้ ระชากรทง้ั หมดใน การวจิ ยั ไดจ้ งึ ต้องมกี ารเลือกกลุ่มตัวอย่างอยา่ งเป็นระบบ เพอื่ ให้ไดส้ ัดส่วนของประชากรที่จะใชใ้ น การวิจัยและเพ่อื ให้การวิจัยสามารถสรุปผลไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง การเลอื กกลุ่มตวั อยา่ งทด่ี จี ะต้องสามารถ เป็นตัวแทนทีส่ ะท้อนให้เห็นถงึ ประชากรท่ีแท้จรงิ ท่ผี ู้วจิ ัยสนใจที่จะศกึ ษา วิธที ี่ใชจ้ ึงมักจะใชว้ ิธกี ารสุ่ม ตวั อยา่ ง (Random sampling) โดยให้บุคคลทกุ ๆ คนในกลุ่มประชากรมโี อกาสที่จะได้รับการเลือก เท่าๆกัน

45 8.2 เป้าหมายของการวิจยั เป้าหมายของการวจิ ัย (Research Goals) ในการวจิ ยั แต่ละครง้ั จะมีเป้าหมาย ทแ่ี ตกต่างกันออกไป แตโ่ ดยทว่ั ไปแลว้ เป้าหมายของการวิจัย มีดงั น้ี (Kidder 1981 อา้ งถงึ ใน Linda 1987 : 21) 8.2.1 เป้าหมายของการวิจยั คือ การสํารวจ (Explore) ในสง่ิ ทน่ี ักจติ วทิ ยา ต้องการจะทราบคาํ ตอบ นักจิตวิทยาจะมีการค้นหาทบทวนวรรณกรรมเพ่ือที่จะดูการค้นพบท่ีมีอยู่ 8.2.2 การพรรณนา (Describe) ซง่ึ อาจจะเป็นบุคคล สถานการณ์ กลุ่มหรือ เงือ่ นไข นักจิตวทิ ยาใช้เทคนคิ การพรรณนา มีการใช้แบบสอบถามหรอื การสมั ภาษณ์ การรวบรวม ข้อมลู ทางประวัตศิ าสตร์ หรือการทดสอบ 8.2.3 การอธบิ าย (Explanation) ในจิตวิทยา การอธิบาย หมายถงึ การใช้ แบบแผน (Figuring out) เหตุการณห์ รือเง่ือนไขหรือการทําหนา้ ทหี่ รือคณุ ภาพทีส่ นับสนนุ ตอ่ บคุ คล การตรวจสอบจะตอ้ งทําโดยมสี มมตฐิ าน (Hypothesis) เกยี่ วกับสาเหตุและผลลัพธ์ ซงึ่ วิธกี ารทดลอง ได้ถูกนํามาใช้เพือ่ วตั ถุประสงค์นี้ รวมทัง้ เทคนิคการหาความสมั พนั ธ์ไดถ้ กู นํามาใช้ 8.3 เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้พรรณนา (Descriptive tool) เมอื่ นกั จติ วิทยาต้องการพรรณนา และเปรียบเทยี บ มวี ธิ กี าร 3 อยา่ ง ท่ีสามารถนาํ มาใช้ได้ ไดแ้ ก่ การสงั เกตโดยตรง (Direct observation) เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นประเมินผล (Assessment devices) และกรณีศกึ ษา (Case studies) 8.3.1 การสังเกต มอี ยู่ดว้ ยกันหลายแบบ คอื 8.3.1.1 การสังเกตโดยตรง (Direct observation) หรอื การสงั เกตตาม ธรรมชาติ (Naturalistic) หมายถึง เทคนิคในการพรรณนาเม่ือตอ้ งการความเทย่ี งตรงและความแนน่ อน ของข้อมูล 8.3.1.2 การสังเกตในห้องทดลอง (Laboratory observation) พฤตกิ รรมบางอย่าง เช่น การพดู ความก้าวร้าว เราสามารถจะสร้างสถานการณ์ในหอ้ งทดลองข้นึ เพ่ือ ดูพฤติกรรมบางอยา่ ง ซึ่งใช้วธิ ีการควบคุมในห้องทดลอง เป็นการง่ายท่ีจะเปรยี บเทยี บการตอบสนอง ของกลมุ่ ที่แตกต่างกนั เชน่ คนตา่ งวยั (เด็กและคนแก)่ และกล่มุ เพศต่างกนั (เดก็ ชายและเดก็ หญงิ ) 8.3.1.3 การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant observation) บางครงั้ จะสามารถใชร้ ว่ มกบั การสงั เกตตามธรรมชาติ ผวู้ จิ ัยจะต้องมีการเขา้ รว่ มในกจิ กรรมทีเ่ ขาได้ สงั เกต ซ่งึ ผู้เขา้ รว่ มจะต้องทํากิจกรรมเช่นเดยี วกบั สมาชิกคนอื่นๆ เชน่ ถา้ จะศกึ ษาความก้าวรา้ วใน เด็กวยั รุน่ กอ็ าจจะมีตวั แทนเข้าร่วมจริงๆ กบั กลุ่มของเด็กวยั รุ่น

46 8.3.2 เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการประเมินผล การหาคาํ ตอบของปัญหาบางอยา่ งกไ็ ม่ สามารถจะใช้วิธีการสังเกตแต่ลาํ พังได้ จึงต้องมีเครื่องมือในการประเมินผลเพื่อช่วยวัดพฤติกรรม บางอย่างท่ีไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง ตัวอย่างเช่น ความอดทนต่อความเครียดหรือลักษณะที่อยู่ ภายในตัวบุคคลต่างๆ รวมทั้งประสบการณ์ของบุคคลท่ีไม่สามารถสังเกตหรือวัดได้โดยตรง ดังนั้น นักจิตวิทยาจึงใช้เครื่องมือในการประเมินผล เช่น แบบสอบถาม การสัมภาษณ์และการทดสอบ เป็นตน้ 8.3.2.1 แบบสอบถาม (Questionnaires) เป็นวิธหี นึ่งทีใ่ ช้เก็บรวบรวม ขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและไม่เสียคา่ ใช้จ่ายแพงนกั ผตู้ อบอาจใช้วิธเี ลือกคําตอบท่ีเหมาะสมตามขอ้ คาํ ถามที่ผ้วู จิ ัยสอบถามออกไป แบบสอบถามท่ีดคี วรจะมีลกั ษณะ ดังนค้ี อื 1) แบบสอบถามจะตอ้ งใช้คาํ ที่งา่ ย และมคี วามหมายท่ชี ัดเจน เม่ือบุคคลทแ่ี ตกต่างกันแต่ละคนอา่ นแลว้ ควรจะมีความเขา้ ใจตรงกนั 2) ตัวเลือกสาํ หรับแตล่ ะคาํ ถาม จะตอ้ งครอบคลุมขอบเขต การตอบสนองทีเ่ ป็นไปไดอ้ ย่างเพยี งพอ 3) คาํ ถามไม่ควรจะให้ความรูส้ กึ อคติแก่ผู้อา่ น 4) คาํ ถามควรจะใชค้ าํ ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กดิ การตอบของผตู้ อบอย่างไม่ ระมัดระวงั 8.3.2.2 การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์จะมีความคล้ายคลึงกับวิธีใช้ แบบสอบถาม แต่การสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์สามารถที่จะทาํ รวบรวมข้อมูลได้โดยตรง เพราะเป็น การเผชิญหนา้ กนั โดยตรง (Face-to-Face) ในระหว่างผู้สมั ภาษณแ์ ละผถู้ ูกสมั ภาษณ์ การสัมภาษณม์ ี อยู่ดว้ ยกนั ใหญๆ่ 2 ชนดิ คือ 1) การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง จะมีการวางรูปแบบของ คาํ ถามไวแ้ ล้ว ซงึ่ เปน็ คาํ ถามทจี่ ะถามอยา่ งแน่นนท่ีผสู้ ัมภาษณ์ไดค้ าดหวังใหผ้ ถู้ ูกสมั ภาษณต์ อบคําถาม ผูถ้ ูกสัมภาษณแ์ ตล่ ะคนจะตอ้ งตอบคาํ ถามทมี่ ีเนื้อหาเหมือนกนั ตามลําดับ และตามรปู แบบท่ีวางไว้ แลว้ แตต่ น้ ผสู้ มั ภาษณ์อาจจะใช้ตวั เลอื กของการตอบอยา่ งแนน่ อนไวด้ ว้ ย 2) การสัมภาษณ์แบบปลายเปดิ ผสู้ มั ภาษณจ์ ะถามคาํ ถามอะไร กต็ ามทต่ี ้องการ และผู้ถกู สมั ภาษณ์ หรอื ผตู้ อบมอี ิสระทีจ่ ะตอบคาํ ถาม อยา่ งไรกไ็ ดต้ ามท่ตี นเองคดิ การสมั ภาษณ์ ขอ้ ควรคํานงึ ถึง คอื ผสู้ มั ภาษณท์ ด่ี จี ะต้องมีทักษะทาง สงั คมโดยเฉพาะ คือ ผสู้ มั ภาษณ์ควรจะสร้างความอบอุ่นและเป็นกนั เองทจี่ ะสร้างความไว้วางใจให้กบั ผู้ถูกสัมภาษณ์ ทําให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ตอบคําถามได้อย่างเปิดเผย ผู้สัมภาษณ์ที่มีทักษะจะสามารถ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความซับซ้อนของลักษณะทางอารมณ์และบุคลิกภาพ รวมท้ังตรวจสอบ

47 ความร้สู ึกของบุคคลภายใต้ความคดิ เหน็ และทัศนคติ ข้อเสียของการสัมภาษณ์ คอื การสัมภาษณ์ใช้ เวลามากทัง้ น้เี น่ืองจากว่า คําถามอาจจะต้องมกี ารปรบั ปรุงเพื่อเขา้ ถงึ บุคคลในหลายประเภทท่ีได้รับ การสัมภาษณ์ ในขณะท่ีการใช้แบบสอบถามจะมีผู้ตอบจํานวนมากปฏิเสธที่จะตอบแบบสอบถาม ใหส้ มบรู ณ์ แตก่ ารสมั ภาษณแ์ มใ้ ช้เวลามากกต็ าม แต่มกั จะไดค้ าํ ตอบจากการสมั ภาษณท์ มี่ ีความสมบรู ณ์ มากกวา่ การใชแ้ บบสอบถาม 8.3.2.2 การทดสอบทางจิตวิทยา (Psychological Tests) ได้ถูก ออกแบบท่ีจะวดั ลกั ษณะท่ีไม่สามารถสังเกตไดโ้ ดยตรงมลี ักษณะหลายอย่างที่เราไมส่ ามารถสังเกตให้ เหน็ ได้โดยตรง เชน่ ความฉลาด (Intelligence) สขุ ภาพจติ (Mental health) ลกั ษณะทาง บคุ ลกิ ภาพ (Personality traits) ความเชอื่ (Beliefs) ความรูส้ ึก (Feeling) ความต้องการ (Need) ความคดิ เห็น (Opinions) ความสามารถ (Abilities) ความรู้ (Knowledge) และความชอบ (The like) ลักษณะเหล่านี้ สามารถวัดได้โดยแบบทดสอบทางจิตวิทยาที่นักจิตวิทยาได้สร้างขึ้น ซ่ึงทาํ ให้ การทดสอบทางจติ วทิ ยาจะชว่ ยใหไ้ ด้ความรู้เกย่ี วกับประชากรจาํ นวนมาก การทดสอบจะให้ความรู้ที่ก้าวหน้าเกี่ยวกับลักษณะไม่สามารถ สังเกตเห็น เช่น ความอดทนต่อความเครียด ถ้าเราวัดลักษณะดังกล่าว เราสามารถค้นพบได้ว่า มันจะ เปลย่ี นแปลงไปตามอายหุ รือไม่ และประสบการณใ์ ดของบคุ คลที่จะอิทธิพลตอ่ ลักษณะของ ความอดทนต่อความเครียด นอกจากน้ี เราสามารถค้นพบด้วยว่า ลักษณะของความอดทนต่อ ความเครียดจะมาพรอ้ มๆ กบั แนวโน้มลกั ษณะอ่นื ๆ ด้วยหรอื ไม่ เช่น ความกา้ วร้าว 8.3.2.3 กรณีศึกษา เป็นการรวบรวมข้อมูลในรายละเอียดของบุคคล หรอื กลุ่มเดียวกันตลอดช่วงระยะเวลานานการรวบรวมขอ้ มูลโดยส่วนใหญ่แลว้ จะมาจากการสมั ภาษณ์ การสังเกตโดยตรงและเคร่ืองมือในการพรรณนาอ่ืนๆ ในการเก็บข้อมูลอาจจะใช้สถานท่ีคือ สถานพยาบาลหรือคลินิก ซ่ึงการศึกษาดังกล่าว เราเรียกว่า การสังเกตทางคลินิก (Clinical observation) กรณศี กึ ษาจะให้ข้อมลู และแนวคิดเก่ยี วกบั การพฒั นาโดยตลอดชว่ งชีวิตของบุคคล ข้อจาํ กัดของกรณีศึกษา คือ เป็นการยากท่ีจะบอกได้ว่า ผู้ที่เราศึกษาจะเป็นตัวแทนของประชากร ทั้งหมดของกล่มุ ที่เราสนใจไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ นอกจากนกี้ เ็ ปน็ การยากทจี่ ะบรรลผุ ลสาํ เรจ็ ในการศกึ ษา โดยใชก้ รณีศึกษา 8.4 เครือ่ งมือในการอธบิ าย (Explanatory tools) สําหรบั เครื่องมือในการอธิบาย 8.4.1 การทดลอง จะเป็นวิธีที่ดีท่ีสุดที่จะใช้อธิบายเพ่ือแสดงถึงสาเหตุ และผลลพั ท์การทดลองจะเรมิ่ ด้วยการต้งั สมมติฐาน (Hypothesis) เกยี่ วกบั เหตุการณ์ สิ่งท่เี ราสนใจ ศึกษาจะเรียกวา่ ตวั แปร (Variable) สมมมติฐานอยา่ งง่ายทีส่ ุดได้ชเ้ี ห็นให้เห็นวา่ เหตกุ ารณ์หนงึ่ (ตัวแปร x) จะเป็นสงิ่ ที่มอี ิทธิพล เปน็ สาเหตหุ รือส่ิงทส่ี นับสนุนตอ่ เหตุการณท์ ่สี อง (ตัวแปร y)

48 จะเห็นไดว้ า่ ตัวแปร x จะอยภู่ ายใต้การควบคมุ ของเรา เราสามารถจัดกระทํา ตัวแปรดังกล่าวไดต้ ามท่ีเราต้องการ ส่วนตวั แปร y จะข้นึ อยูก่ บั ตัวแปร x หรอื กล่าวได้ว่า ตัวแปร y ผันแปรตามตัวแปร x จึงเรยี กตวั แปร y ว่าตัวแปรตาม (Dependent variable) ในขณะทีต่ ัวแปร x จะเรียกว่าตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ (Independent variable) ดังน้ัน ในการทดลองจึงเป็น การจัดกระทํากบั ตัวแปร x และสงั เกตวา่ ตวั แปร y จะได้รับผกระทบได้อยา่ งไร ในการทดลองครง้ั หนึ่งๆ นน้ั สามารถทจ่ี ะมตี วั แปรตามหรือตวั แปร y ไดม้ ากกวา่ 1 ตวั กอ่ นทนี่ ักจิตวทิ ยาตรวจสอบ สมมตฐิ านและจะตอ้ งใหค้ าํ นิยามปฏบิ ัตกิ ารตัวแปรใหช้ ดั เจนเสยี กอ่ นเพ่อื ใหส้ ามารถวดั ได้อย่างแทจ้ รงิ สาํ หรบั การทดสอบสมมตฐิ าน จะต้องมกี ารวางแผนโดยวิธีการออกแบบ การทดลอง (Experimental design) ในการทดลองจะตอ้ งแบ่งกลมุ่ ตวั อย่างออกเปน็ กล่มุ ควบคมุ และกลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม หมายถึง กลุ่มท่ีเราไม่ได้ให้เง่ือนไขหรือจัดกระทําใดๆ ใช้เพื่อ เปรยี บเทยี บผลกับกล่มุ ทดลอง เพือ่ ให้สามารถสรุปผลไดแ้ นน่ อนว่าการเปลยี่ นแปลงนั้นๆ เป็นผลมา จากสิ่งท่ีเราจัดกระทาํ หรอื เงือ่ นไขทเี่ ราให้ สว่ นกลมุ่ ทดลอง จะหมายถงึ กลมุ่ ท่ีเราจัดกระทําบางอยา่ ง โดยใหเ้ งอ่ื นไขที่เปลี่ยนแปลงในตวั แปรอิสระเพือ่ ดูผลจากการเปล่ียนแปลงท่ีมาจากเงือ่ นไขที่เราจดั กระทําให้กบั กลมุ่ วธิ ีการทดลองสามารถเป็นแหล่งกําเนิดของตัวแปรทอี่ ยนู่ อกเหนอื การควบคุม ในการทดลองมีปัญหาท่ีควรคํานงึ ดงั นคี้ ือ คณุ ลักษณะทต่ี อ้ งการ (Demand characteristics) อคติ ของผู้ทดลอง (Experimenter bias) และฮอวธ์ อรน์ เอฟเฟค (Hawthorne effect) 8.4.1.1 คุณลักษณะท่ีต้องการ (Demand characteristics) ใน การทดลองแต่ละครั้ง จะมีข้อมูลท่ีคาดหวังว่าจะเป็นก่อนการทดลองจะเริ่มข้ึน ซ่ึงอาจมาจาก ประสบการณ์ของผู้วิจัยหรือข้อมูลท่ีผู้วิจัยเคยทราบมาก่อน การทดลองในห้องทดลอง นกั จิตวิทยา ทีแ่ สดงงานวจิ ัยในหอ้ งทดลองจะไมส่ ามารถกาํ จัดลกั ษณะตามทีม่ ีอย่ใู หห้ มดไปได้ แตพ่ วกเขาสามารถ จะทาํ ส่ิงเหล่านี้ให้มีมาตรฐานได้ เพราะส่ิงเหล่าน้ีอาจมีผลให้การทดลองได้ผลในเชิงลบและ ความคลาดเคล่ือนจากความเป็นจริงได้ ในการทดลองผู้วิจัยจึงพยายามควบคุมตัวแปรอื่นๆ ท่ีอยู่ นอกเหนือจากการทดลองใหม้ คี วามเทา่ เทยี มกนั เช่น สถานการณ์ สถานที่ เวลา และอน่ื ๆ ทง้ั นี้เพราะ นักจติ วทิ ยาจะไมส่ ามารถทาํ นายรายละเอียดบางอยา่ งทีน่ ับไมไ่ ด้ท่จี ะมีผลกระทบต่อผลลพั ท์ ผูว้ ิจัยใน การทดลองจึงต้องศึกษา โดยออกแบบกลุม่ ตวั อยา่ งให้มีอยา่ งน้อยท่ีสุดสองกล่มุ ซง่ึ เป็นเง่ือนไขที่ผู้วิจัย ไดส้ รา้ งขึน้ คือ กล่มุ ทดลอง (Experimental groups) และกลมุ่ ควบคุม (Control) ดงั น้ัน จึงอาจกลา่ วไดว้ า่ การทดลองเป็นวธิ กี ารวิจัยท่ีออกแบบเพอ่ื ทีจ่ ะตอบคาํ ถาม เกย่ี วกบั สาเหตุและผลกระทบ การทดลองจึงมขี ้อดี คอื ผู้วจิ ัยสามารถสร้างเง่ือนไขในการควบคมุ ปัจจัยตา่ งๆ ไดด้ ้วยตนเอง

49 8.4.1.2 อคตขิ องผทู้ ดลอง (Experimenter bias) เป็นอปุ สรรคอยา่ ง หนึ่งที่ทาํ ให้ผลการทดลองคลาดเคล่ือนไปจากความเป็นจริง อคติของผู้ทดลองจะมีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมในทศิ ทางของความคาดหวงั อย่างไม่ไดต้ ง้ั ใจ วิธที ี่จะชว่ ยลดอคติของผ้ทู กลองใหน้ ้อยทสี่ ุด เท่าท่ีจะเป็นไปได้ก็คือ ผู้ตรวจสอบต้องลดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ทดลองและกลุ่มตัวอย่างลงโดย ใช้วิธีการบางอย่าง เชน่ ผทู้ ดลองสามารถแสกงการสอนโดยใช้การบนั ทึกเทป เป็นตน้ 8.4.1.3 ฮอวธ์ อร์นเอฟเฟค (Hawthorne effect) การจะเขา้ ใจคาํ ว่า “Hawthome effect” จะตอ้ งยอ้ นไปดกู ารทดลองทมี่ ชี ื่อเสยี งมาก ซ่ึงเป็นที่มาของคาํ ว่า ฮอวธ์ อร์น เอฟเฟค เริม่ จากในปี ค.ศ. 1939 F.J. Roethlisberger และ William Dickson (อา้ งถงึ ใน Linda 1987 : 27) ได้คน้ หาวธิ ที จี่ ะเพ่ิมผลผลิตของคนงานใน Hawthorne plant ของบริษทั The Western Electric Company ในชคิ าโก ซ่งึ ในระหว่างการทดลอง ไดใ้ หค้ นงานหญิง 5 คน ถูกแยกจากกลุม่ ใหญใ่ นหอ้ งและให้ความสนใจพฤตกิ รรมเปน็ พเิ ศษ นอกจากนีไ้ ดม้ กี ารเปลยี่ นแปลง เช่น ระยะเวลาใน การพัก ช่ังโมงในการทํางาน และการจา่ ยเงนิ คา่ จ้าง ผลจากการเปล่ยี นแปลง เชน่ ผลผลติ ของคนงาน หญงิ เพม่ิ ขึน้ แม้วา่ เม่อื สภาวะเงอื่ นไขในการทาํ งานจะแย่ลงกว่าเดิม จากการทดลองในครั้งน้ันไดร้ ับ การสรปุ วา่ ความใสใ่ จของผทู้ ดลองเป็นตวั แปรอิสระทีม่ คี วามสําคญั มากท่ีสุดทม่ี ผี ลต่อการปฏบิ ัติงาน ของคนงานหญิงในการทดลองที่ Hawthorne plant ดังนน้ั คําวา่ “ Hawthome effect” จึงไดถ้ ูก นาํ มาใชใ้ นความหมายของอทิ ธพิ ลของความใสใ่ จทม่ี ผี ลตอ่ พฤติกรรมของบุคคลที่เข้ารว่ มการทดลอง จากผลของฮอว์ธอรน์ เอฟเฟค ทาํ ให้นักจิตวิทยาพยายามทจี่ ะ ให้ความสนใจต่อกลุ่มทุกกลมุ่ ในการทดลองอย่างเท่าเทยี มและเหมือนกนั เช่น การให้ยาหลอกที่ไมม่ ี ฤทธ์ิทางยาแก่กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมทดลอง โดยไม่ว่ากลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุม ผู้ทดลองจะ พยายามใหท้ ง้ั สองกลุ่มได้รับขอ้ มูลทางยาในแบบเดยี ว อยา่ งไรก็ตาม ผ้ทู ดลองสามารถสร้างเง่อื นไขได้ 2 อย่างด้วยกันคือ 1) วิธีการปิดเด่ียว (Single blind procedure) หมายถึง วธิ ีการที่ควบคมุ โดยไม่ใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมการทดลองทราบว่า พวกเขาเองกําลังถกู ทดลองหรอื ได้รับ การรกั ษาโดยใชย้ าหลอก 2) วิธีการปิดคู่ (Double – blind procedure) หมายถึง วิธีการที่ไมใ่ หท้ ัง้ ผ้ทู ดลองและผูเ้ ข้ารว่ มการทดลองทราบว่า ใครกําลงั ได้รับการรักษาโดยถกู ทดลอง และใครกาํ ลงั ได้รับการรกั ษาโดยใช้หลอก วิธีนจี้ ึงเปน็ การปดิ บงั ทั้งผู้ทดลองทเ่ี ปน็ ผู้สังเกตพฤตกิ รรม และผูถ้ ูกทดลอง โดยอาจจะไมบ่ อกวา่ บุคคลที่ตนสงั เกตพฤติกรรมคือใคร หรอื กําลงั ทดลองอะไรอยู่ ปญั หาอืน่ ๆ ซง่ึ ได้แก่ ประสบการณ์ในอดีตของผู้เขา้ ร่วม

50 การทดลองและลักษณะที่คงทน ปัญหาในเร่ืองวฒุ ิภาวะ พัฒนาการ หรือการเปลย่ี นแปลงทีอ่ ยูภ่ ายใน ตัวบคุ คลอนื่ ๆ ประสบการณใ์ นอดีตของผู้เข้ารว่ มการทดลองและลักษณะท่ี คงทนโดยเหลา่ น่จี ะมีผลตอ่ การทดลองได้ดัง เชน่ ภมู หิ ลงั อายุ ฐานะทางเศรษฐกจิ เพศ และระดับ การศกึ ษา ผทู้ ดลองได้พยายามทจ่ี ะสรา้ งความเชอื่ มน่ั ว่ากล่มุ ทุกๆ กลุ่มของผ้เู ข้าร่วมการทดลองจะมี ความเท่าเทยี มกนั ในลกั ษณะทั้งหมดต้งั แต่เริม่ แรก เพราะลกั ษณะเหลา่ นี้จะมอี ทิ ธพิ ลต่อตวั แปรตาม ได้ ตวั อย่างวิธีการท่จี ะช่วยให้เกิดความเทา่ เทยี มกันของกลมุ่ ตัวอย่าง คอื การสมุ่ กลมุ่ ตัวอย่างเพอ่ื เข้า การทดลอง การสมุ่ เป็นวธิ ีการท่จี ะยืนยนั วา่ บคุ คลแตล่ ะคนทใ่ี ช้ในการทดลองจะมโี อกาสไดร้ บั การคัดเลอื กในการศึกษา ซึ่งสามารถจะเปน็ ตัวแทนประชากรได้อย่างดี ปญั หาในเรือ่ งวุฒภิ าวะ พฒั นาการ หรือการเปลย่ี นแปลงที่อยู่ ภายในตัวบคุ คลอืน่ ๆสงิ่ เหล่าน้อี าจจะมอี ิทธพิ ลต่อตัวแปรตามไดถ้ ้าผู้ทดลองไม่ได้ให้ความสนใจ ปญั หา ดังกล่าวมักจะเกิดขึน้ เมือ่ ต้องมีการศกึ ษากลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นช่วงระยะเวลายาวนาน ซ่ึงอาจเปน็ ชวั่ โมง เปน็ เดอื นหรอื เป็นปี การทดลองบางอย่าง เช่น กลมุ่ ตวั อย่างต้องอยู่หน้าคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน เชน่ เป็นชั่วโมง อาจทาํ ให้กลุ่มตวั อย่างทีท่ ดลองเกิดความเหนอื่ ยล้า เบื่อหนา่ ย หวิ และส่งิ ท่ีเกิดขึ้น เหล่าน้ีจะมีผลต่อพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างที่ผู้ทดลองต้องการจะวัดได้ นอกจากน้ีในการศึกษา โปรแกรมการฝึกอบรมท่ตี อ้ งใช้ระยะเวลานาน เช่น 1 ปี โดยมีการศึกษามารดาเด็กและเด็กกอ็ าจทาํ ให้ภายในระยะเวลานาน 1 ปี มารดาของเด็กและเดก็ อาจจะมีการปรบั ปรุงตนเองดา้ นความสนใจ ความใส่ใจและทกั ษะข้นึ ซง่ึ จะสง่ ผลต่อการวัดพฤติกรรมของเดก็ ในการที่จะสรปุ ไดอ้ ยา่ งม่นั ใจว่ามี ผลกระทบจากการจดั โปรแกรมการฝึกอบรมทใ่ี ห้กบั มารดาเดก็ ได้ แม้การทดลองในหอ้ งทดลองจะใหข้ อ้ มลู ท่ีมปี ระดยชน์มากมาย แตป่ ัญหาของการท่นี กั จิตวทิ ยาจะประยกุ ต์นาํ ผลการวจิ ัยในหอ้ งทดลองมาใช้กบั ชีวติ จริงกย็ งั มีปญั หา อยู่ ทัง้ นเ้ี พราะอะไรก็ตามทีผ่ ูท้ ดลองสร้างเง่ือนไข หรอื จดั กระทาํ ในห้องทดลองอาจจะไมเ่ กดิ ขึ้นใน ความเป็นจริงกไ็ ด้ 8.4.2 วิธีการสหสัมพนั ธ์ (Correlation method) การศึกษาลกั ษณะบางอย่าง เราไม่สามารถทําการทดลองได้ แต่นักจิตวิทยากม็ ีความสนใจในคําถามท่เี กี่ยวกบั สาเหตุและผลลพั ธ์ การทาํ การทดลองบางอย่างก็เปน็ อันตรายและผดิ ศลี ธรรม เช่น การทดลองแยกเด็กจากแม่ตั้งแต่เกิด จะมีผลเสียต่อพัฒนาการของเด็กในวัยต่อมาและอาจมีผลตลอดทั้งชีวิตของเด็ก จึงไม่มีนักวจิ ัยคน ใดทดลองจัดกระทํากับมนุษย์ รวมทั้งบางครั้งมีความเป็นไปได้ยากที่จะจัดกระทาํ กับตัวแปรอิสระ ในหอ้ งทดลอง เชน่ อากาศ สภาวะเศรษฐกิจ นอกจากนี้ เราอาจจะไม่สามารถกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2 กลุ่มที่ มคี วามเทา่ เทยี มกนั ในลักษณะท่สี ําคญั ท้ังหมด เพ่ือนาํ มาทดสอบไดอ้ นั ไดแ้ ก่ อายุ เพศ หรือเชือ้ ชาติ

51 ตามท่ีการทดลองต้องการได้ เพื่อที่จะศึกษาลักษณะท่ีเป็นปัญหาดังกล่าว จึงอาจจะใช้วิธีการหา ความสัมพันธ์ของตัวแปรแทน ในกรณีที่เราสนใจศึกษาว่า อุณหภูมิมีผลกระทบต่ออัตราการก่อ อาชญากรรมหรือไม่ ซึ่งเราไม่สามารถทดลองได้ เราก็จะใช้วิธีการศึกษาแบบหาความสัมพันธ์ โดยศึกษาว่าอุณหภูมิและอัตราการเกิดอาชญากรรมมีความสัมพันธ์กัน วิธีการศึกษาคือ การหา ความสมั พนั ธข์ องตวั แปรสองตวั คอื อุณหภมู ิและอตั ราการเกดิ อาชญากรรม ซ่งึ จะต้องรวบรวมข้อมูล ในแต่ละวันทง้ั จํานวนอาชญากรรมและอุณหภูมเิ ฉลีย่ การรวบรวมขอ้ มูลจะทาํ ให้ทราบได้ว่า อัตรา อาชญากรรมและอุณหภูมิมีความสัมพันธ์อย่างไร ถ้าจากข้อมูลและการวเิ คราะหท์ างสถิติบอกว่า อตั ราอาชญากรรมจะสูงในวนั ท่อี ากาศรอ้ นและอัตราอาชญากรรมจะต่ําในวันท่มี อี ากาศหนาว ถา้ ตัว แปรสองตวั มีความเก่ียวข้องกัน ตัวแปรหนึ่งอาจจะมีอิทธิพลต่อตวั แปรอีกตวั หน่ึง หรืออาจกลา่ วได้ว่า อุณหภูมิอาจจะมีผลต่ออัตราการเกิดอาชญากรรม ในการทดสอบความสัมพันธ์จะใช้ดัชนีชี้วัดที่ เรยี กว่า ค่าสมั ประสทิ ธิ์สหสมั พันธ์ (Correlation coefficient) หรอื ค่าสหสัมพนั ธ์ (Correlation) คา่ สัมประสทิ ธส์ิ หสมั พันธจ์ ะมคี ่าอยรู่ ะหวา่ ง -1.00 ถงึ +1.00 การพจิ ารณาความหมายของคา่ สัมประสิทธส์ิ หสมั พนั ธ์ จะพจิ ารณาจากเคร่อื งหมาย ซ่ึงเครื่องหมายจะอธิบายถึงทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งสองตัว ค่าสหสัมพันธ์ที่ให้ เครอื่ งหมายบวก จะเรยี กว่า ค่าสหสมั พนั ธ์ทางบวก (Positive correlations) ซงึ่ ชใ้ี ห้เหน็ วา่ ตัวแปร สองตัวแปรของการวัดเปลยี่ นแปลงในทิศทางเดยี วกนั เมื่อคะแนนของตวั แปรหน่ึงสงู อกี ตัวแปรหนึ่งก็ มีแนวโนม้ จะสงู ตามวัย เช่น ปรมิ าณการสบู บหุ รี่มคี วามสมั พันธ์ทางบวกกบั การเป็นโรค ส่วนค่า สหสัมพันธ์ที่ให้เคร่ืองหมาย จะเรียกว่า ค่าสหสัมพันธ์ทางลบ (Negative correlations) ซึ่ง ความหมายของการวดั จะเปล่ียนแปลงในทศิ ทางตรงกันข้าม นนั่ คือเมอ่ื คะแนนในตวั แปรหนงึ่ สงู คะแนนในตัวแปรอ่ืนๆ มีแนวโน้มที่จะตํ่าลง เช่น ปริมาณการสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์ทางลบกับ ความปลอดภัยในการทํางาน ค่าสหสัมพันธ์ที่เท่ากับ +1.00 หรือ -1.00 จะหมายความว่า มี ความสมั พันธ์กนั ของตัวแปรทงั้ สองอย่างสมบรู ณ์ ในขณะที่ค่าสหสมั พนั ธ์เท่ากับ 0.00 หมายความวา่ ไมม่ ีความสมั พนั ธ์กนั เลยของตัวแปรท้ังสอง ในการศกึ ษากบั ตวั แปรสองตวั ถ้าไดค้ า่ สหสมั พนั ธเ์ ข้าใกล้ +1.00 หรือ -1.00 จะถอื ได้ว่าตัวแปรทัง้ สองมคี วามสมั พันธก์ นั คอ่ นข้างสูง สว่ นคา่ สหสัมพนั ธท์ ี่เขา้ ใกล้ 0.00 จะมคี วามสมั พันธก์ นั ค่อนข้างตาํ่ ซ่ึงคา่ ของตัวเลขจะบอกไดว้ ่าการทาํ นายจะมคี วามถูกตอ้ ง แนน่ อนเพยี งใดในความสมั พนั ธ์ของตวั แปรสองตวั ทเี่ ราศกึ ษา ค่าสหสมั พันธม์ กั ใชเ้ ช่อื มโยงกบั แหล่งทม่ี าอ่ืนๆ ไม่ประจกั ษพ์ ยาน ซงึ่ รวมถึงการทดลอง และใช้ในการสนบั สนุนตอ่ การอธบิ ายสาเหตุ การหาคา่ สหสมั พันธ์มปี ระโยชนเ์ บื้องต้นเม่อื การทดลอง ไมส่ ามารถกระทําได้ เพอ่ื ใช้ในการตรวจสอบว่าสิ่งท่คี น้ พบจากการทดลองมีความสอดคล้องตรงกันกับ ส่ิงทเี่ กิดขน้ึ ในโลกของความจรงิ หรอื ไม่ และรวมถึงเพือ่ เปน็ การชว่ ยในการทาํ นายไดด้ ีขึ้น

52 วธิ ีการหาค่า สมมติฐาน ส่ิงทีไ่ ด้รบั การจดั ส่ิงทไี่ ด้รับการ ส่งิ ทถี่ ูกวัด สหสมั พนั ธ์ กระทาํ ควบคมุ ทง้ั X และ Y X มีความ วิธกี ารทดลอง เกย่ี วขอ้ งกบั Y ไมม่ ี ไมม่ โี ดยเฉพาะ และอาจจะมี อทิ ธพิ ลตอ่ Y X ตัวแปรท่ีอยู่ Y เพ่อื ทจ่ี ะคน้ หา X มีอทิ ธพิ ล Y ภายนอกทง้ั หมด วา่ X มีผลกระทบ โดยยกเว้น X ซง่ึ ต่อ Y อย่างไร สามารถที่จะมี อทิ ธพิ ลต่อ Y ตารางท่ี 2 แสดงการเปรียบเทียบวธิ กี ารทดลองและวธิ ีการหาคา่ สหสมั พันธ์ (ทีม่ า Linda, 1987 p.31 อา้ งในวไิ ลวรรณ ศรสี งคราม,2549 : 17) 9. ศลี ธรรมทางจติ วิทยา ในการศึกษาทดลองทางจิตวิทยา มีคาํ ถามอย่างมากมายว่า นักจิตวิทยาละเมิด ศีลธรรมหรือไม่ ทั้งน้ีการทําการทดลองกับคนและสัตว์มักมีการสร้างประสบการณ์ที่ไม่น่าพึงพอใจ และการทดลองนี้ จะมผี ลกระทบต่อพัฒนาการและการดํารงชวี ิตของสิ่งมชี วี ิตเหล่านี้ ในระยะยาว หรือไม่และอย่างไร การหลอกลวงและการตบตาที่ใช้ในการศึกษาวิจัย นักจิตวิทยาได้คาํ นึงถึง ความรู้สึกของผ้ถู กู ทดลองด้วยหรอื ไม่ จากคาํ ถามเหล่านไ้ี ดน้ ําไปสกู่ ารให้ความสนใจต่อมมุ มองในแง่ ของศีลธรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการศึกษาวิจัย (วไิ ลวรรณ ศรีสงคราม,2549 : 17-18) ในการศึกษาทดลองกับมนุษย์ สมาคมนักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้เสนอให้มี ความรบั ผิดชอบในการประเมนิ การยอมรบั ทางศีลธรรมของบคุ คลทใ่ี ช้เปน็ กลุ่มตวั อยา่ ง โดยมขี อ้ ปฏิบัติ ของนักวิจยั ดงั น้ี (American Psychological Association 1981 อา้ งถึงใน Linda 1987 : 35) 9.1 ต้องใหข้ อ้ มลู ผเู้ ข้าร่วมการทดลองลว่ งหนา้ เก่ียวกบั ลกั ษณะของงานวจิ ยั ท่ีอาจจะ มอี ิทธิพลต่อการตัดสินใจที่จะเข้าร่วมและตอบคําถามเกี่ยวกับธรรมชาติของงานวิจัย ซึ่งในบาง กรณีผวู้ จิ ยั จะบอกผู้เขา้ ร่วมว่ามคี วามจําเป็นท่ีจะไมใ่ หข้ อ้ มลู ทแ่ี นน่ อนเก่ียวกบั การศกึ ษาในครั้งนน้ั ซง่ึ จะมีผลทาํ ใหผ้ วู้ ิจัยไดร้ ับการตอบสนองท่มี อี คตินอ้ ยลงจากผเู้ ขา้ รว่ มการทดลอง

53 9.2 ต้องมีการให้ข้อมูลแกผ่ ู้เขา้ รว่ มในเหตุผลความจําเป็นท่ีจะตอ้ งตบตาผู้เข้าร่วม การทดลองภายหลังจากทก่ี ารศึกษาได้สน้ิ สดุ ลง 9.3 เคารพความอิสระของผเู้ ขา้ รว่ มการทดลอง ท่จี ะถอนตวั ได้จากการทดลองใน ขณะท่กี ารทดลองยงั ไม่สิ้นสดุ ลง 9.4 ปกป้องผู้เขา้ ร่วมการทดลองจากความบาดเจ็บ หรืออันตรายท้ังทางด้านร่างกาย และทางด้านจิตใจ วิจัยต้องให้ข้อมูลแก่ผู้เข้าร่วมการทดลองและได้รับการยินยอมจากผู้เข้าร่วม การทดลองก่อนจะดาํ เนนิ การทดลองตอ่ ไป สิง่ ใดๆ ก็ตามท่สี ามารถเปน็ สาเหตุก่อให้เกดิ อันตรายอยา่ ง รุนแรง หรือกอ่ ให้เกดิ อันตรายไดใ้ นทา้ ยท่สี ุดแล้ว จะไมอ่ นญุ าตให้ใชศ้ กึ ษาทดลองกบั มนษุ ย์ 9.5 เมอ่ื ข้อมลู จากการศึกษาไดถ้ กู รวบรวม จะต้องอธบิ ายธรรมชาตขิ องการศึกษาให้ ชัดเจนและแกค้ วามเข้าใจผดิ ของผเู้ ข้ารว่ มการทดลองใหช้ ดั เจน 9.6 ผวู้ ิจยั ต้องเก็บขอ้ มลู กบั ผเู้ ข้าร่วมการทดลองเปน็ ความลับ การศกึ ษาทดลองทาง จติ วทิ ยาจึงมกี รอบของศลี ธรรมกํากบั อยู่ เช่นเดียวกับการทดลองในศาสตรอ์ ่นื ๆ ทางวิทยาสาสตร์ ซ่ึง ถ้าการทดลองน้ันจะมีผลเสย่ี งตอ่ มนษุ ย์ในระยะยาวแล้ว การศกึ ษาทดลองนัน้ ก็จะไมส่ ามารถทํากับ มนษุ ยไ์ ด้ ภาพที่ 23 แสดงภาพสาขาตา่ งๆของจิตวทิ ยา (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2559)

54 10. สาขาจติ วทิ ยา สาขาวิชาจติ วิทยาที่ควรรู้ มีดังนี้ (วไิ ลวรรณ ศรสี งคราม (2549 : 6-8) 10.1 จิตวทิ ยาคลินกิ (Clinical Psychology) จะหน้าทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั พยากรณแ์ ละ การรกั ษาความผิดปกติทางจติ วิทยา นกั จติ วิทยาคลนิ กิ ทํางานในสถาบนั ทดี่ แู ลและบาํ บัดบคุ คล เช่น โรงพยาบาลจิตเวช เรือนจาํ คลินิกสขุ ภาพจิต ศาสลเยาวชน ศนู ย์สขุ ภาพ และคลีนคิ ใหค้ าํ ปรึกษา ฯลฯ นักจติ วทิ ยาคลนิ กิ ได้ใหค้ วามสนใจในสาเหตุของความผิดปกติ ซง่ึ มีทฤษฎแี ละแนวคดิ หลาย ทฤษฎีที่อธิบายเก่ียวกับสาเหตุ บางแนวคิดเช่ือว่า ความผิดปกติทางจิตวิทยาจะเพิ่มมากข้ึนจาก ความขัดแย้งของความไมส่ ามารถแก้ปัญหาไดข้ องบคุ คล และแรงจงู ใจของจติ ไรส้ าํ นกึ ในขณะทบี่ าง แนวคิดไดก้ ล่าวถงึ พื้นฐานทางชีววทิ ยาเป็นปัจจยั สําคญั ของความผิดปกตทิ างจติ 10.2 จติ วิทยาการใหค้ ําปรกึ ษา (Counseling Psychology) เปน็ สาขาซง่ึ นกั จติ วิทยา ชว่ ยใหบ้ ุคคลมกี ารปรบั ตัวตอ่ ปญั หาทางอารมณ์ หรือปญั หาส่วนตวั ทมี่ ีระดับความรนุ แรงของปญั หา นอ้ ยกวา่ บุคคลทตี่ อ้ งการแนะนาํ และบาํ บดั จากจิตวิทยาคลีนคิ นกั จติ วทิ ยาให้คําปรกึ ษา สว่ นมากจะ ทํางานในโรงเรียนหรือมหาวทิ ยาลยั ทาํ หน้าทแี่ นะแนวใหค้ ําปรกึ ษาในโรงเรียนแก่นกั เรยี น นกั ศึกษา ในการเลอื กอาชพี หรอื ปญั หาทเ่ี ก่ยี วกบั ครอบครัวของสามแี ละภรรยา นกั จติ วทิ ยาให้คําปรกึ ษาจะทาํ หนา้ ทค่ี ลา้ ยคลงึ กบั นักจติ วิทยาคลีนิค แตถ่ ้าปญั หามีความรนุ แรงมากขน้ึ กอ็ าจจะส่งตอ่ ใหก้ ับจติ แพทย์ 10.3 จิตวิทยาโรงเรียนและจิตวิทยาการศึกษา (Education and School Psychology) จะมีหน้าท่ีในการวิเคราะห์และปรับปรุงการศึกษาอย่างมีแบบแผน นักจิตวิทยา การศกึ ษาจะคาํ นงึ ถึงลักษณะทงั้ หมดของกระบวนการเรียนรู้ รวมท้งั นกั จติ วทิ ยาการศึกษาจะทาํ งาน ในมหาวิทยาลยั วิทยาลยั และโรงเรยี นแลว้ ยังสามารถทาํ งานในองคก์ ารท่ีมหี น้าทใ่ี นการดแู ลสุขภาพ โดยอาจจะวางแผนและจัดการศึกษาโดยเฉพาะ เชน่ จดั ห้องเรยี นเพ่ือเดก็ ท่ไี ม่สามารถเรียนรไู้ ดแ้ ละมี การพฒั นาแบบทดสอบในการประเมินโปรแกรมการฝึกอบรมด้วย ในขณะทน่ี ักจติ วิทยาโรงเรยี นจะมี หนา้ ท่ใี นการฝกึ อบรมครใู นการชว่ ยเหลอื นักศกึ ษาทม่ี ปี ญั หาโดยการใหค้ าํ แนะนาํ ปรึกษาแกน่ ักเรียน และพ่อแม่ผู้ปกครอง การใช้แบบทดสอบและการแปลความผลการทดสอบ รวมทั้งการประเมิน นกั เรยี นที่มปี ญั หาในการเรยี นรู้ 10.4 จิตวทิ ยาการทดลอง (Experimental Psychology) เปน็ สาขาหน่งึ ของวิชา จติ วทิ ยาทใ่ี ชก้ ารทดลองเปน็ วธิ กี ารรวบรวมขอ้ มูล นกั จติ วทิ ยาการทดลองไดใ้ ชก้ ระบวนการศึกษา ทดลองกับสัตว์ เพือ่ ท่ีจะนําผลมาใชอ้ ธบิ ายลักษณะอื่นๆของพฤตกิ รรมมนุษย์ กระบวนการพนื้ ฐาน เหลา่ นี้ ไดร้ วมถึงการรบั สัมผสั การรบั รู้ การเรียนรู้ การจาํ การแก้ไขปญั หา การตดิ ตอ่ สือ่ สาร อารมณ์ และแรงจงู ใจ นกั จติ วิทยาการทดลองมักจะทาํ งานวิจัยในห้องทดลองและมักจะใช้สตั วอ์ ื่นๆ มากกวา่ ใชม้ นุษยใ์ นการทดลอง

55 10.5 สรีระจิตวิทยา (Physiological Psychology) นักสรีระจิตวิทยาได้ศึกษา กระบวนการพื้นฐานเช่นเดียวกับนักจิตวทิ ยาการทดลอง แตน่ ักสรรี ะจิตวทิ ยาจะศกึ ษากระบวนการ พ้นื ฐานว่า ถกู ควบคุมโดยระบบประสาทไดอ้ ย่างไร และส่วนใหญ่มกั จะใช้สัตว์อื่นๆ เปน็ กลมุ่ ตวั อย่าง ในการทดลอง เช่นเดยี วกบั จิตวทิ ยาการทดลอง ปจั จบุ ันเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั ทําใหส้ ามารทจ่ี ะมองเหน็ การทาํ งานของสมองมนุษย์ได้ เช่น การใชเ้ ครือ่ ง PET Scans เพือ่ จะศึกษากจิ กรรมในสมองของ บุคคลในวัยผู้ใหญ่ที่เป็นไฮเปอรืแอคทีฟ ซ่ึงการใช้เครื่องมือเพ่ือท่ีจะให้ช่วยให้เห็นภายในสมองน้ี อาจจะชว่ ยใหผ้ ู้ศึกษาได้ขอ้ มลู ทมี่ ีความจาํ เปน็ เพ่อื ใชใ้ นการบําบัดรกั ษาอาการดงั กล่าวได้ นักสรีระ จติ วิทยามกั ทาํ งานในมหาวิทยาลัย และวทิ ยาลยั องค์การทางธรุ กิจ หรือองค์การรฐั บาล รวมทงั้ บรษิ ทั ยาเพื่อทาํ หน้าทีป่ ระเมนิ ผลกระทบของยาชนิดใหม่ที่ผลิตขนึ้ 10.6 จติ วทิ ยาบคุ ลกิ ภาพ (Personality Psychology) ไดใ้ ห้ความสนใจกบั การอธิบาย ความแตกต่างระหว่างบคุ คลนพฤติกรรม มปี ัจจยั ทางพนั ธกุ รรมและสง่ิ แวดล้อมใดบา้ งท่มี ีอิทธิพลตอ่ ลักษณะทางบุคลิกภาพของบุคคล บุคลิกภาพสามารถเปลี่ยนแปลงและพัฒนาได้อย่างไรบ้าง ซ่ึง คําถามเหลา่ นี้ เปน็ คําถามทน่ี ักจติ วิทยาบคุ ลิกภาพใหค้ วามสนใจทจี่ ะศกึ ษา 10.7 จติ วิทยาสังคม (Social Psychology) นักจิตวทิ ยาสังคมจะเน้นโดยแสดงให้เหน็ ว่าพฤตกิ รรมของบคุ คลจะไม่เป็นเพยี งผลลพั ทข์ องบคุ ลิกภาพ และความเอนเอยี งของความชอบของ แต่ละบุคคล แตม่ ปี ัจจัยทางสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะบคุ คลอืน่ ๆ ซ่ึงจะมอี ทิ ธพิ ลต่อการคดิ การพูดและ การกระทาํ ของบุคคลด้วย เช่น อิทธพิ ลกลมุ่ พฤตกิ รรมเอือ้ เฟอื้ การคล้อยตาม และพฤตกิ รรมผ้นู ํา เหลา่ น้ีเปน็ หวั ขอ้ ทน่ี กั จติ วทิ ยาสังคมให้ควาใสนใจทีจ่ ะนาํ มาศึกษา นกั จิตวิทยาสังคมสามารถทํางาน ในมหาวทิ ยาลยั หรอื วทิ ยาลยั องคก์ ารธุรกิจ องคก์ ารรฐั บาล รวมทั้งองคก์ ารทีไ่ มแ่ สวงหาผลกําไร 10.8 จติ วทิ ยาพฒั นาการ (Development Psychology) ใหค้ วามสนใจในศกึ ษา และอธิบายการเปล่ียนแปลงอยา่ งเปน็ ระบบทีป่ รากฏในบุคคลโดยตลอดชว่ งชีวิตของบุคคล โดยศกึ ษา การเปลย่ี นแปลงใน 4 ด้าน คอื การเปลีย่ นแปลงทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยมากการศึกษาของนักจิตวิทยาพัฒนาการ จะครอบคลุมถึงการรับสัมผัสและการรับรู้ท่ีนําไปสู่ การเรียนรู้และความจาํ การคิดและการแก้ปัญหา อารมณ์และแรงจูงใจ บุคลิกภาพและการมี ปฏสิ มั พนั ธก์ ับสงั คม เชน่ เด็กเกิดใหม่รับรโู้ ลกแตกต่างจากผูใ้ หญอ่ ย่างไร เป็นตน้ รวมถงึ การทํางานใน องคก์ รที่หลากหลายเช่นเดียวกับนักจติ วทิ ยาสาขาอน่ื ๆ รวมไปถึงการทจ่ี ะทํางานวิจัยทางวิชาการเพ่ือ การประเมินเด็กซึง่ ไม่ไดม้ กี ารพัฒนาอยา่ งปกติ และการให้คําปรึกษาพอ่ แม่ว่าเด็กเหลา่ น้ี ควรไดร้ ับ การชว่ ยเหลอื อย่างไรบ้าง

56 10.9 จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (Industrial and Organizational Psychology) สําหรับจิตวิทยาในสาขานี้จะให้ความสําคัญกับลักษณะต่างๆ ของพฤติกรรมท่ีมี ความเกี่ยวข้องกับการทํางานซ่ึงพยายามท่ีจะหาสาเหตุของปัญหาที่ทําให้ผลลัพธ์ในแรงจูงใจของ คนงานตํ่าลงหรือโปรแกรมที่ออกแบบให้มีการเปล่ียนแปลงงานให้มีความซํ้าซากและน่าเบ่ือลดลง นอกจากสร้างน้ียังโปรแกรมในการฝึกอบรมพนักงาน ให้คําปรึกษาแก่พนักงานที่มีปัญหาและสร้าง ระบบในการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน จะเห็นได้ว่า จิตวิทยาน้ันมีหลายสาขาซึ่งแตกต่างกันไปตามความเช่ียวชาญและ การประยุกต์ใช้กับงานแต่ละประเภท ในอนาคตว่า สาขาจิตวิทยาจะเพิ่มขึ้นตามความจําเป็นและ การเจรญิ ของโลกยคุ ใหมท่ จี่ ะนาํ เอาวิชาจติ วิทยาไปประยกุ ต์เพิม่ มากข้ึน

57 สรปุ บทท่ี 1 จติ วิทยา หมายถึง การศกึ ษาพฤตกิ รรมมนษุ ยท์ ่ีอาศยั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ช่วย ในการรวบรวมข้อมูล จัดให้เป็นระบบระเบียบและสามารถตรวจสอบได้อย่างมีเหตุมีผล โดย พฤตกิ รรมน่นั หมายถึง การกระทาํ อาการทีแ่ สดงออกของมนษุ ย์ ปฏิกิริยาโต้ตอบต่อส่ิงเร้าท่ีอยู่ รอบตัว โดยจากการสังเกตหรือการใช้เคร่ืองมือช่วยวัดพฤติกรรมซ่ึงสง่ ผลต่อกระบวนการทาง ร่างกาย แบ่งประเภทของพฤติกรรมมนษุ ย์ ได้แก่ พฤตกิ รรมภายนอก อันได้แก่ พฤติกรรมโมลาร์ พฤติกรรมโมเลกลุ และพฤตกิ รรมภายใน อนั ได้แก่ ความรู้สึกจากการสัมผัส การเข้าใจหรือตีความ ความจํา การคิดและการตัดสินใจ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้อาจยกตัวอย่างจากตํานานทางจิตวิทยา เรื่อง คิวปดิ และสามารถใหค้ วามสาํ คัญทางจิตวิทยา คอื ชว่ ยให้ผ้ศู ึกษาเกดิ ความเขา้ ใจตนเองและผ้อู ่ืน เกดิ ความรู้เก่ยี วกบั พฤตกิ รรมช่วยบรรเทาปัญหาสังคม และชว่ ยเสริมสรา้ งพฒั นาคุณภาพชีวิต จากประวตั ิความเปน็ มาโดยสงั เขปของจิตวิทยา สามารถสรุปไดว้ า่ จิตวทิ ยาไดม้ ีระยะ ของพฒั นาการมาตามลาํ ดบั ซง่ึ สามารถสรปุ ใหเ้ ห็นววิ ัฒนาการได้เป็น 4 ระยะ คอื ระยะที่ 1 เป็น การศึกษาในเร่ืองวิญญาณหรืออาํ นาจลี้ลับ ระยะที่ 2 เป็นการศึกษาในเรื่องของจิตแทนวิญญาณ ระยะที่ 3 เปน็ การศกึ ษาจติ วิทยาในรปู แบบวทิ ยาศาสตร์ ระยะที่ 4 เป็นการศกึ ษาจติ วิทยาในรูปแบบ ของวิทยาศาตรอ์ ย่างแทจ้ รงิ เนน้ ศึกษาพฤติกรรม ซ่ึงเป็นสง่ิ ทีส่ ังเกตเหน็ ได้ สามารถทดลอง พิสจู น์ และตรวจสอบซาํ้ ได้ แนวคิดของกลมุ่ นกั จิตวทิ ยา มี 6 กลมุ่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ โครงสรา้ งทางจติ กลุ่มหนา้ ทีข่ องจติ กลมุ่ พฤติกรรมนยิ ม กลมุ่ จิตวทิ ยาเกสตอลท์ และกลุ่มมนุษยนยิ ม วิธีการศึกษาทางจิตวิทยา มีเป้าหมายพื้นฐาน 3 อย่าง คือ เพ่ือท่ีจะพรรณนา (Describe) อธิบาย (Explain) และการทาํ นาย (predict) พฤติกรรม บี เอฟ สกนิ เนอร์ (Skinner 1953 อา้ งถงึ ใน 1987 : 17-18) ไดก้ ลา่ วว่า มีหลกั เกณฑ์ 6 ประการ ท่ีนักวจิ ัยควรจะคาํ นึง ได้แก่ ความถกู ต้องแน่นอน (Precision) ความไมม่ อี คติหรือความลาํ เอยี ง (Objectivity) ขอ้ มูลเชงิ ประจักษ์ ท่ขี ้นึ กบั ประสบการณ์หรือการสังเกต (Empiricism) การตัดสินใจ (Determinism) ความใจแคบ (Parsimony) ความสงสยั (Skepticism) เป้าหมายของการวิจัย ได้แก่ การสํารวจ (Explore) การพรรณนา (Describe) และ การอธิบาย (Explanation) เครอ่ื งมอื ที่ใชพ้ รรณนา (Descriptive tool) ได้แก่ การสงั เกตโดยตรง (Direct observation) เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นประเมนิ ผล (Assessment devices) และกรณศี ึกษา (Case studies)

58 เครื่องมือในการอธิบาย (Explanatory tools) ไดแ้ ก่ 1) วิธีการทดลอง เปน็ แหล่งกําเนิดของตัวแปรที่อยู่นอกเหนือการควบคุม ในการทดลองมีปัญหาท่ีควรคาํ นึง ดังน้ีคือ คุณลกั ษณะทตี่ ้องการ (Demand characteristics) อคตขิ องผูท้ ดลอง (Experimenter bias) และฮอวธ์ อร์นเอฟเฟค (Hawthorne effect) 2) วธิ กี ารสหสมั พันธ์ (Co relational method) การศึกษาลักษณะบางอย่างเราไมส่ ามารถทาํ การทดลองได้ ศีลธรรมทางจิตวิทยา ได้แก่ ต้องให้ข้อมูลผู้เข้าร่วมการทดลองล่วงหน้าเก่ียวกับ ลักษณะของงานวิจัย, มีการให้ข้อมูลแก่ผู้เข้าร่วมในเหตุผลความจาํ เป็น, เคารพความอิสระของ ผู้เข้าร่วมการทดลอง, ปกป้องผูเ้ ข้าร่วมการทดลองจากอันตรายทงั้ ทางด้านรา่ งกายและจิตใจ,ข้อมลู จากการศกึ ษาไดถ้ ูกรวบรวม จะตอ้ งอธิบายธรรมชาติของการศกึ ษาใหช้ ัดเจน, เก็บข้อมูลกบั ผูเ้ ขา้ รว่ ม การทดลองเปน็ ความลบั สาขาวิชาจิตวิทยา มีดังนี้ จิตวิทยาคลินิก (Clinical Psychology) หน้าท่ีเก่ียวข้องกับ พยากรณ์และการรักษาความผิดปกติทางจิตวิทยา จิตวิทยาการให้คําปรึกษา (Counseling Psychology) ช่วยให้บุคคลมีการปรับตัวต่อปัญหาทางอารมณ์หรือปัญหาส่วนตัว จิตวิทยาโรงเรียน และจิตวิทยาการศึกษา (Education and School Psychology) หน้าที่ในการวิเคราะห์และ ปรับปรุงการศึกษาอย่างมีแบบแผน จิตวิทยาการทดลอง (Experimental Psychology) เป็นสาขา หน่ึงของวิชาจิตวิทยาที่ใช้การทดลองเป็นวิธีการรวบรวมข้อมูล นักจิตวิทยาการทดลองได้ใช้ กระบวนการศึกษาทดลองกบั สัตว์ จิตวิทยาบุคลิกภาพ (Personality Psychology) ให้ความสนใจกับ การอธิบายความแตกต่างระหว่างบุคคลนพฤติกรรม จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) เน้นโดย พฤติกรรมของบุคคล จิตวิทยาพัฒนาการ (Development Psychology) ความสนใจในการศึกษา และอธิบายการเปลยี่ นแปลงอยา่ งเปน็ ระบบท่ปี รากฏในบคุ คลโดยตลอดช่วงชีวิตของบุคคล โดยศึกษา การเปลี่ยนแปลงใน 4 ด้าน คือ การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (Industrial and Organizational Psychology) ให้ ความสําคญั กับลักษณะต่างๆ ของพฤตกิ รรมทีม่ คี วามเก่ียวขอ้ งกับการทํางาน

59 คําถามท้ายบทท่ี 1 1. จิตวทิ ยาเป็นวิชาท่ศี ึกษาเกีย่ วกบั อะไร 2. พฤตกิ รรมแบง่ ออกเปน็ กป่ี ระเภทพร้อมอธิบาย 3. อธบิ ายความสําคัญของจติ วทิ ยา 4. บรรยายเร่ืองตํานานทางจิตวิทยาพอสงั เขป 5. อธบิ ายแนวคิดจติ วิทยากล่มุ โครงสรา้ งของจิตซ่งึ มใี ครเปน็ ผนู้ าํ และอธิบายสาระสําคญั โดยสงั เขป 6. อธบิ ายแนวคิดจติ วทิ ยากล่มุ หน้าทขี่ องจติ ซ่ึงมีใครเปน็ ผนู้ ํา และอธิบายสาระสาํ คัญโดยสงั เขป 7. อธิบายแนวคิดจติ วิทยากลุม่ พฤติกรรมนิยมซง่ึ มีใครเปน็ ผู้นํา และอธิบายสาระสาํ คัญโดยสงั เขป 8. อธิบายแนวคิดจติ วทิ ยากลุ่มจติ วทิ ยาเกลตัลทซ์ ่ึงมีใครเป็นผนู้ ํา และอธบิ ายสาระสาํ คญั โดยสงั เขป 9. อธบิ ายแนวคิดจติ วทิ ยากลุม่ มนษุ ยนิยมทซ์ ึ่งมีใครเป็นผู้นํา และอธบิ ายสาระสาํ คญั โดยสงั เขป 10. ซิกมันด์ ฟรอยด์ เป็นใคร มิอทิ ธิพลตอ่ จติ วิทยาอย่างไร 11. เป้าหมายพน้ื ฐานของการวิจัยทางจติ วทิ ยามีอะไรบา้ ง อธิบาย 12. หลักเกณฑท์ ่ีนกั วจิ ัยควรจะต้องคาํ นงึ ถึงมอี ะไรบา้ ง 13. เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการพรรณนา มีเครื่องมอื อะไรบ้าง อธิบาย 14. อธบิ ายแบบสอบถามที่ดีมีลกั ษณะอย่างไร 15. ฮอวธ์ อร์นเอฟเฟค หมายถงึ อะไร มีผลอยา่ งไรตอ่ การทดลอง 16. วธิ ีการทดลองและวิธีหาค่าสหสัมพนั ธ์ มคี วามแตกตา่ งกันหรอื ไม่ อยา่ งไร 17. นักจิตวทิ ยาควรคาํ นึงศีลธรรมทางจติ วิทยาท่มี ีความเกยี่ วข้องกบั บคุ คลที่ใชเ้ ป็น กลุ่มตัวอย่าง อย่างไรบา้ ง 18.จงยกตวั อยา่ งของสาขาวิชาจติ วทิ ยา 3 สาขาวชิ า พร้อมทั้งอธบิ ายด้วยวา่ เป็น การศกึ ษาเกย่ี วกับอะไร

60 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 1 ปราณี รามสูตและคณะ.(2545). พฤติกรรมมนษุ ย์กบั การพัฒนาตน.กรงุ เทพฯ : สถาบนั ราชภฏั ธนบุรี วไิ ลวรรณ ศรสี งคราม. (2549). จิตวทิ ยาทว่ั ไป. กรุงเทพฯ : พิมพ์ครง้ั ท่ี 1 ทริปเพิ้ล ศรีวรรณ จนั ทรวงศ์. (2551). จติ วิทยาสาํ หรบั คร.ู มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี ศรีเรือน แก้วกงั วาล.(2547). จติ วทิ ยาทวั่ ไป. กรงุ เทพฯ : พิมพ์ครัง้ ที่ 4 มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ mumedu.blogspot.com 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 psychological.exteen.com and bloggang.com 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 th.wikipedia.org/wiki/ 27 พฤษภาคม 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/ 23 พฤษภาคม 2555 https://www.google.co.th/search 2 กุมภาพันธ์ 2559 https://www.google.co.th/search 16 พฤษภาคม 2559 https://www.google.co.th/search 27 พฤษภาคม 2559 https://www.google.co.th/search 2 มถิ ุนายน 2559 http://writer.dek-d.com/ 27 พฤษภาคม 2559 http://dit.dru.ac.th/home/023/human/05.htm 2 กุมภาพนั ธ์ 2559 http://juthateppitschool.blogspot.com/2013/08/john-b.html 2 กมุ ภาพันธ์ 2559 http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/kohler.html 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 http://tpir53.blogspot.com/2011/05/blog-post.html

61 แผนบริหารการสอนประจาํ บทที่ 2 การตระหนักรใู้ นตนเองและการเขา้ ใจผูอ้ น่ื เวลาเรยี น 6 ชั่วโมง จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม หลังจากได้ศึกษาบทเรียนนแ้ี ล้ว นกั ศกึ ษาควรมพี ฤติกรรม ดังนี้ 1. อธิบายความหมายของตัวตน, ความสาํ คญั ของการรู้จกั ตนเอง, แนวคดิ นักจติ วทิ ยาของ การรู้จกั ตนเอง, ทฤษฎีการรู้จักตนเอง, ปัจจัยส่งเสรมิ การรจู้ กั ตนเอง, มโนมติพ้ืนฐานในการร้จู ักตนเอง, การพัฒนาการรู้จกั ตนเองได้ 2. ตระหนักรใู้ นตนเอง, เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง, พัฒนาตนเองและเข้าใจผู้อนื่ ประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชีวติ ประจาํ วนั ได้ เน้อื หา 1. ความหมายของการรูจ้ ักตนเอง 2. ความสาํ คญั ของการรู้จกั ตนเอง 3. แนวคิดนักจิตวทิ ยาของการร้จู ักตนเอง 3.1 การร้จู ักตนเองตามแนวคดิ ของ คารล์ อาร์ โรเจอร์ 3.2 การรูจ้ กั ตนเองตามแนวคดิ ของโบลส์ และดาเวน พอรท์ 4. ทฤษฎีการรูจ้ กั ตนเอง 4.1 หนา้ ตา่ งของโจ-แฮรี่ 4.2 การวเิ คราะหส์ ือ่ สารสัมพนั ธ์ 4.3 การวเิ คราะห์การเชอ่ื มโยง 5. ปัจจัยสง่ เสริมการร้จู กั ตนเอง 6. มโนมตพิ น้ื ฐานในการรู้จกั ตนเอง 6.1 อตั ตา 6.2 อตั มโนทัศน์ 7. การพฒั นาการรู้จกั ตนเอง 8. การตระหนักร้ใู นตนเอง 8.1 ความหมายของการตระหนกั รูใ้ นตนเอง

62 8.2 ความสาํ คัญของการตระหนักรใู้ นตนเอง 8.3 องค์ประกอบของการตระหนกั รใู้ นตนเอง 8.4 ระดบั วฒุ ิภาวะของบุคคล 8.5 กระบวนการของการตระหนักร้ใู นตนเอง 8.6 หลักสาํ คญั ในการพัฒนาการตระหนกั รูใ้ นตนเอง 9. การเห็นคณุ ค่าในตนเอง 9.1 ความหมายของการเห็นคณุ คา่ ในตนเอง 9.2 ความสาํ คัญของการเหน็ คุณค่าในตนเอง 9.3 ประเภทของการเหน็ คุณค่าในตนเอง 9.4 องค์ประกอบทมี่ อี ิทธิพลตอ่ การเหน็ คุณค่าในตนเอง 9.5 ทฤษฎที ่ีเกยี่ วขอ้ งกับการเหน็ คณุ ค่าในตนเอง 9.6 พัฒนาการการเห็นคุณคา่ ในตนเอง 9.7 ลกั ษณะของบุคคลทก่ี ารเห็นคุณค่าในตนเอง 9.8 ลักษณะของบุคคลทีก่ ารเห็นคณุ คา่ ในตนเองสงู 9.9 การสร้างความเชอื่ มั่นในตนเอง 9.10 การเสริมสรา้ งการเหน็ คณุ ค่าในตนเอง 9.11 ผลลัพธข์ องกระบวนการเรียนรู้จากการเติบโตกับคาํ ต่างๆ 9.12 วถิ ีชวี ติ กับการเปรยี บเทียบการเห็นคณุ ค่าในตนเอง 9.13 การเหน็ คณุ คา่ ในตนเองกับพฤตกิ รรมความสําเร็จ 9.14 การเหน็ คณุ ค่าในตนเองกับผ้อู ื่น 10. การพัฒนาตน 10.1 ความหมายของการพฒั นาตน 10.2 แนวคิดพ้ืนฐานการพัฒนาตน 10.3 ความสําคัญของการพฒั นาตน 10.4 แนวคิดพน้ื ฐานเก่ียวกับการพัฒนาตน 10.5 คุณลักษณะของบุคคลที่มีทนุ จติ วทิ ยาในการพัฒนาตน 10.6 เทคนิคการพัฒนาตน 10.7 แนวทางในการพัฒนาตนในชีวติ ประจาํ วนั 11. การเขา้ ใจผู้อืน่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook