Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

313 4. การปดิ การเปดิ ของการทํางานของสมอง การวิจัยเก่ียวกับสมองโดยใช้อุปกรณ์ตรวจวัดคลื่นสมอง (EEG) และภาพสแกนจะ แสดงใหเ้ ห็นว่า มสี าระและกจิ กรรมบางอยา่ งท่ี “ปดิ สวติ ช์” การทาํ งานของเซลลส์ มองในคอร์เทก็ ซ์หรอื ทาํ ใหส้ ่วนทเี่ ชอ่ื มระหว่างสมองท้ังสองซีกออ่ นแอลง จงึ จาํ เป็นอย่างยง่ิ ท่ีจะตอ้ งหลีกเลยี่ งสารและกจิ กรรม ที่ “ปดิ สวิตช์” การทํางานนหี้ รอื มมี าตรการตอบโต้เพื่อรกั ษาใหส้ มองอยใู่ นสภาพที่ดตี ลอดเวลา ในทาง กลบั กันกิจกรรมที่ “เปดิ สวิตช์” การทํางานของสมองจะเสรมิ สรา้ งความแข็งแกรง่ ให้เซลลส์ มองทาํ งาน เชอ่ื มต่อกนั เป็นเครอื ข่าย เพ่อื ให้เกิดการเรยี นรู้ทส่ี มั ฤทธผิ ล (ดษุ ฎี บรพิ ัตร ณ อยุธยา, 2548: 14-15) ภาพท่ี 90 แสดงภาพการปดิ ของการทาํ งานของสมอง (ทมี่ า ดุษฎี บรพิ ตั ร ณ อยธุ ยา, 2548: 14) 4.1 กิจกรรมการปิดสวติ ชข์ องสมอง ได้แก่ 4.1.1 การขาดออกซิเจน นา้ํ และพลังงาน คอื สาเหตใุ หญข่ องการปดิ สวิตช์ การแกป้ ญั หาขาดออกซเิ จนนนั้ ทาํ ได้ไมย่ ากคอื การนําอากาศเขา้ สรู่ ะบบรา่ งกายด้วยการออกกาํ ลังกาย

314 หรือการหายใจลึกๆ สมองที่ขาดน้ําหลกี เล่ยี งได้ดว้ ยการดื่มน้าํ บอ่ ยๆ การรกั ษาพลังงานสมองสามารถ กระทําไดโ้ ดยการรกั ษาระดับนํ้าตาลในเลือด ควรรับประทานอาหารที่ใหพ้ ลังงานในปรมิ าณนอ้ ยๆ แต่ บอ่ ยครัง้ 4.1.2 ผลกระทบจากความเครียด เปน็ เหตใุ ห้หลง่ั สารเคมีทป่ี ิดกนั้ การคิดทเี่ ปน็ เหตเุ ปน็ ผลและความคดิ สร้างสรรค์ เมือ่ คนเราตกอยู่ในสภาวะถูกกดดันหรือเจบ็ ปวด คลืน่ สมองจะมี ความเร็ว เปน็ ผลใหป้ ระสิทธภิ าพในการเรยี นรู้ การเรียกความจาํ และการตัดสินใจลดลง วธิ ีการแก้คอื ทําให้รา่ งกายเข้าสูส่ ภาวะผ่อนคลาย การฟงั เพลงทีม่ ีจังหวะชา้ การหายใจอย่างถูกต้อง และทํากาย บรหิ าร Brain Gym หากต้องการเรยี นรหู้ รอื เรยี กความทรงจําให้ไดผ้ ลดี จําเป็นต้องขจัดความเครียด กอ่ น นอกจากนผี้ ู้ทม่ี คี วามเครยี ดควรผอ่ นคลายให้ไดก้ อ่ นเข้านอน 4.1.3 เสยี งจากสภาพแวดล้อม เชน่ การจราจร เพลงเรว็ ๆ และโทรทัศน์ ลว้ น ทําให้คลน่ื สมองอยู่ยา่ นท่ีมคี วามถี่สูง ท้ังอาจารย์และศษิ ยจ์ ะตอ้ งลดมลภาวะของเสียงตา่ งๆ เพ่อื ให้ เกดิ สภาพการเรยี นรูท้ ่ีดีท่สี ดุ เพลงบางชนิดหรอื เสียงต่างๆทเี่ กดิ ขน้ึ อย่างตอ่ เนอื่ งมีผลทําให้คล่นื สมอง ช้าลง เปน็ การลดความเครยี ด ซึ่งช่วยให้เกิดผลดีต่อการเรยี นรู้ ไมว่ า่ จะเปน็ กล่มุ หรือแตล่ ะบุคคล 4.1.4 สนามแมเ่ หลก็ สามารถส่งผลกระทบในทางลบตอ่ สมองของเราได้ อปุ กรณ์ เช่น เตาอบไมโครเวฟ สายไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ สามารถรบกวนคล่ืนไฟฟ้าในสมองทีมีผลต่อ กระบวนการคิด ผลกระทบจะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับระยะห่างของตัวเราจากอุปกรณ์ดังกล่าว และความแรงของสนามแม่เหลก็ นนั้ ๆ 4.1.5 การออกกาํ ลังกาย อาจปดิ สวติ ช์ การทาํ งานของเซลลส์ มองได้ เน่อื งจาก รบกวนระบบการตดิ ตอ่ สอื่ สารของสญั ญาณไฟฟ้าในสมอง การกระโดดเปน็ รูปดาว (star jump) เปน็ ตัวอย่างหน่ึงทาํ ให้การเชื่อมต่อระหว่างสมองท้ังสองซีกอ่อนแอลง ผู้ท่ีออกกําลังกายโดยท่ีไม่มี การเคลื่อนไหวขา้ มก่งึ กลางลําตัว เช่น ปน่ั จักรยาน จาํ เปน็ ต้องออกกําลงั กายทีท่ าํ ให้มกี ารเคลื่อนไหวข้าม กึ่งกลางลําตวั เพอื่ ปล่อยใหส้ มองเปดิ สวิตซไ์ ด้อกี คร้ังหน่งึ นกั เลน่ เทนนิสบางคร้ังจะสลบั มือจับไมเ้ ทนนสิ เพอ่ื แก้ไขสภาวะสมองปดิ สวิตซ์จากการใชร้ ่างกายดา้ นเดยี ว การอุ่นเครอื่ งเตรียมรา่ งกายกอ่ นเล่นกฬี า หลายๆ ประเภททม่ี ลี กั ษณะการเคลอื่ นไหวโดยใชร้ า่ งกายทง้ั สองด้าน จะชว่ ยให้เกิดการเตรยี มสภาพ จิตใจที่ดีสําหรบั การออกกําลงั กาย 4.1.6 แสงสวา่ งจากไฟฟา้ สามารถส่งผลในทางลบตอ่ การทาํ งานของสมอง แสง ฟลอู อเรสเซนส์สามารถเพิม่ ความถ่ีให้กับคล่ืนสมอง แสงบางสสี ามารถปิดสวติ ชก์ ารทํางานของสมอง ทุกคนได้ สมองของคนเราต้องการแสงแดดหรือแสงอัลตราไวโอเลตบ่อยๆ เพื่อรักษาสมดุลของ สว่ นผสมสารเคมีในสมอง 4.1.7 สาเหตอุ นื่ ๆ ทป่ี ิดสวิตชก์ ารทํางานของสมอง ไดแ้ ก่ สารเคมี ควันชนดิ ต่างๆ วสั ดสุ งั เคราะห์ท่ใี ชใ้ นผา้ และเคร่ืองเรอื นเคร่อื งใช้ รสและสสี งั เคราะห์ท่ีใสใ่ นอาหาร แอลกอฮอล์และ

315 ยาต่างๆ อาการแพต้ อ่ สารชนิดตา่ งๆ มกั เป็นผลหลังจากสมองปิดสวิตชก์ ารทาํ งาน บางคนแพอ้ าหาร บางอย่าง กลน่ิ สี ควันบหุ รี่ ยาระงับกลนิ่ ตัว แมก้ ระทง่ั ลวดลายทมี่ ลี กั ษณะเปน็ แถบยาวหรือมีเหลย่ี ม มีมุมล้วนสง่ ผลกระทบต่อสารเคมใี นรา่ งกาย นอกเหนอื จากนใี้ นกรณที ่ีทาํ ให้พฤตกิ รรมทําลายสมอง มีดังตอ่ ไปนี้ (www.eduzones.com 29 กันยายน 2559) ภาพท่ี 91 แสดงภาพพฤตกิ รรมทาํ ลายสมอง (ทีม่ า www.eduzones.com 29 กันยายน 2559) 4.1.7.1 ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า สง่ ผลใหน้ ้าํ ตาลในเลอื ดตาํ่ ไมเ่ พียงพอไปหลอ่ เลี้ยงสมอง 4.1.7.2 ตอบสนองแบบโวเวอร์ เสน้ เลือดในสมองเกิดอาการแขง็ 4.1.7.3 ติดหวาน รับประทานนํา้ ตาลเยอะขัดขวางการพัฒนาของสมอง 4.1.7.4 มสี ิง่ ของบงั ใบหน้าขณะนอนควา่ํ กระตุ้นสมองการตายของเซลล์ สมอง 4.1.7.5 นอนนอ้ ย พกั ผ่อนไมเ่ พยี งพอ เรง่ การตายของเซลล์สมอง 4.1.7.6 สบู บหุ รี่ สมองหดตัว เส่ียงอัลไซเมอร์ 4.1.7.7 สดู ดมมลพษิ ออกวิเจนนอ้ นส่งผลต่อการทํางานของสมอง 4.1.7.8 ทํางานหนกั ระหวา่ งปว่ ย เปน็ การทําลายสมอง

316 4.1.7.9 ไมพ่ ดู จา ประสิทธิภาพการทาํ งานของสมองลดลง 4.1.7.10 ไมไ่ ดใ้ ช้ความคดิ นาํ ส่ภู าวะหดตวั ของสมอง ภาพท่ี 92 แสดงภาพการเปดิ ของการทาํ งานของสมอง (ทม่ี า ดษุ ฎี บรพิ ตั ร ณ อยธุ ยา, 2548: 15) 4.2 กจิ กรรมการเปดิ สวิตชข์ องสมอง ได้แก่ เม่ือรู้ตัวว่า เรากําลังอยู่ในสภาวะที่สมองปิดสวิตช์ เราแก้ไขด้วยวิธีการเปิด สวิตซ์การทํางานของสมอง ซ่ึงสามารถรู้ได้ว่า เรากาํ ลังเกิดสภาวะสมองปิดสวิตช์หรือไม่ ด้วย การสงั เกตอาการต่างๆท่ีเกิดขึน้ ท้งั กบั ตัวเราและผอู้ ่ืน ดงั ตอ่ ไปนี้ มอี าการงนุ งง สบั สน ไมร่ ้จู ะทาํ อยา่ งไรกับการงานที่ทาํ อยู่ ไมส่ ามารถตัดสนิ ใจได้ กระวนกระวาย ไมอ่ ยนู่ ่ิง ขาดสมาธิ ขาดแรงจูงใจ ออ่ นเปลี้ยเพลยี แรง ไรพ้ ลัง งัวเงีย เหนื่อยหน่าย เชื่องช้า เลอื่ นลอย ต่นื ตระหนก หวาดกลัว หายใจ หอบถ่ี เปน็ ต้น เมอื่ เราร้ถู ึงสภาวะสมองท่เี ปิดสวติ ชแ์ ล้ว เราจะต้องฝกึ ฝนใหเ้ กิดความชาํ นาญ ในการรับมอื กบั อาการท่สี ง่ ผลลบต่อการทํางาน การเรยี นรู้ และประสิทธิภาพในการทาํ งานของเรา สภาวะของสมองทเ่ี ปิดสวติ ช์ หมายถงึ การอยูใ่ นสภาวะทพี่ ร้อมจะผอ่ นคลาย ซ่งึ เป็นผลต่อการเรยี นรู้ และมีประสทิ ธภิ าพขึน้ โดยไมต่ อ้ งใชค้ วามพยายามเท่าใดนกั อกี ท้ังประสบความสําเรจ็ วธิ กี ารเปิดสวติ ช์ สมองท่งี า่ ยทสี่ ดุ ไดแ้ ก่ 4.2.1 ด่มื น้ํา รบั ประทานอาหารทีบ่ าํ รุงสมอง พกั ผ่อน 4.2.2 หายใจให้อากาศบริสทุ ธ์ิเขา้ เตม็ ปอด แลว้ หายใจออกยาวๆ

317 4.2.3 ฟงั ดนตรบี รรเลงที่มจี งั หวะช้าๆ เนิบนาบ 4.2.4 อยู่ในอิรยิ าบถผอ่ นคลายหรอื น่งั สมาธิ 4.2.5 ออกกําลงั กายแบบแอโรบิก ออกไปสัมผสั กับแสงแดด วธิ กี ารง่ายๆนี้ สามารถสรา้ งพลังกลับคืนสสู่ มองอย่างรวดเรว็ สามารถ รกั ษาความเชอ่ื มโยงระหว่างสมองทั้งซกี ขวากบั ซา้ ยได้ กําจดั สารเคมที ก่ี ่อให้เกิดความเครียดได้ และ ชว่ ยเพมิ่ สารเคมที เี่ ปน็ ประโยชน์ต่อสมอง รวมท้งั เสริมใหส้ มองของเราทํางานไดม้ ปี ระสทิ ธิภาพอีกครงั้ 5. การพฒั นาสมอง Brain Gym ภาพที่ 93 แสดงภาพการพฒั นาสมองด้วย Brain Gym (ทีม่ า http://www.thaihealth.or.th/ 24 พฤศจกิ ายน 2559) ดร.พอล เดนนิสัน ผู้คิดค้นพัฒนาการบริหารสมอง Brain Gym ได้อธิบายว่า การบริหารสมอง Brain Gym เป็นการพัฒนาสมองท้ังสองซีกให้ทาํ งานได้ดีมากข้ึนและช่วยเพิ่ม ประสิทธภิ าพในการจดจาํ ชว่ ยผอ่ นคลายความตงึ เครยี ด และหากได้บริหารสมองเป็นประจําน้นั จะดี ตอ่ ภาวะอารมณ์ของเราไดอ้ ีกด้วย (http://www.thaihealth.or.th/ 24 พฤศจิกายน 2559) โดย Brain Gym จะแบ่งออกเปน็ 4 กลุ่มทา่ ทุกคนสามารถทําตามไดไ้ ม่ยาก คือ

318 ภาพท่ี 94 แสดงภาพการเคลื่อนไหวสลบั ข้าง (Cross Over Movement) (ที่มา http://www.thaihealth.or.th/ 24 พฤศจกิ ายน 2559) 5.1 กลมุ่ ทา่ ที่ 1 การเคลอื่ นไหวสลับข้าง (Cross Over Movement) เป็นการทํางาน ของสมองท้งั สองซีกโดยถ่ายโยงข้อมูลกันได้ มวี ิธดี งั ต่อไปนี้ 5.1.1 ยกขาขวางอให้ต้ังฉากกับพ้ืนพร้อมกับยื่นแขนท้ังสองออกไปด้านหนา้ คว่ํามือลงขนานกับพน้ื แกว่งแขนทง้ั สองไปด้านขา้ งลําตัว ตรงข้ามกบั ขาทยี่ กข้ึน แกวง่ แขนท้ังสอง กลบั มาอยู่ทดี่ า้ นหน้า พรอ้ มกับวางเท้าขวาไวท้ ี่เดิม แลว้ เอามอื ลง เปลี่ยนขา 5.1.2 ก้าวเทา้ ขวาวางหนา้ เท้าซา้ ย พร้อมกบั ยืน่ แขนทงั้ สองขา้ งออกไปด้านหน้า มอื ควา่ํ ลงขนานกบั พ้นื แกวง่ แขนท้ังสองไปด้านขา้ งลําตัว ตรงข้ามกับขาทกี่ า้ วออกไป แกวง่ แขนท้งั สองข้างกลบั มาอยู่ดา้ นหนา้ พร้อมกบั ชกั เท้าขวาวางท่เี ดมิ แลว้ เอามอื ลง สลับเทา้ ทาํ ซาํ้ อกี ครงั้ 5.1.3 ยกขาขวางอไปด้านหลงั พร้อมกับยน่ื แขนทง้ั สองออกไปด้านหน้า มือควํ่า ลง แกวง่ แขนทง้ั สองไปดา้ นขา้ งลาํ ตวั ตรงข้ามกบั ขาทย่ี กขนึ้ ให้มอื ซ้ายแตะสน้ เทา้ ขวา แกวง่ แขนท้ัง สองกลบั มาอยู่ด้านหนา้ พร้อมกบั วางเท้าขวาไวท้ ีเ่ ดมิ แลว้ เอามือลง แล้วเปลี่ยนขาทําซา้ํ อกี ครัง้

319 5.1.4 วิ่งเหยาะๆ อย่กู ับทช่ี ้าๆ 5.1.5 นง่ั ชันเขา่ มือสองขา้ งประสานกนั ท่ีทา้ ยทอย เอียงขอ้ ศอกซ้ายแตะที่หัว เข่าขวา ยกข้อศอกซา้ ยกลบั ไปท่เี ดิม เปล่ยี นเป็นเอยี งขอ้ ศอกขวา 5.1.6 กํามือซ้ายขวาไขว้กนั ระดบั หนา้ อก กางแขนท้ังสองข้างออกหา่ งกันเป็น วงกลมแลว้ เอามอื กลบั มาไขวก้ ันเหมอื นเดมิ 5.1.7 กาํ มือสองข้าง ยนื่ แขนตรงไปขา้ งหน้า ให้แขนคู่กัน เคลอ่ื นแขนท้งั สอง ข้างพรอ้ มๆกัน หมนุ เป็นวงกลมสองวงตอ่ กันคล้ายเลข 8 ในแนวนอน 5.1.8 ยนื่ แขนขวาออกไปข้างหน้า กาํ มอื ชูนิ้วโปง่ ข้ึน ตามองทน่ี ิว้ โป่ง ศีรษะ ตรงและนง่ิ หมนุ แขนเป็นวงกลม 2 วงตอ่ กันคล้ายเลข 8 ในแนวนอน ขณะหมนุ แขนตามองทนี่ วิ้ โป้ง ตลอดเวลา แลว้ เปลยี่ นแขนทาํ ซา้ํ อีกคร้งั ภาพท่ี 95 แสดงภาพการยืดส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย (Lengthening Movement) (ทีม่ า http://www.thaihealth.or.th/ 24 พฤศจกิ ายน 2559)

320 5.2 กลุ่มทา่ ท่ี 2 การยืดสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย (Lengthening Movement) เป็นการชว่ ยผ่อนคลายความตงึ เครียดของสมองสว่ นหน้า และส่วนหลงั ทําใหม้ สี มาธใิ นการเรยี นรู้ และการทาํ งานมากข้ึน 5.2.1 ยืนหันหน้าเข้าผนงั เวน้ ระยะหา่ งเลก็ นอ้ ย ยกมือสองข้างดนั ฝาผนัง งอ ขาขวา ขาซ้ายยดื ตรง ยกสน้ เท้าขนึ้ เอนตวั ไปขา้ งหนา้ เล็กน้อย พรอ้ มกบั หายใจเขา้ ช้าๆ ลกึ ๆ วางสน้ เทา้ ลง ตัวตรงหายใจออกช้าๆ งอขาซา้ ย ทาํ เหมอื นขาขวา 5.2.2 ยืนไขว้ขาทั้งสองขา้ ง ยืนทรงตวั ให้ดี หายใจเขา้ ชา้ ๆ ลึกๆ ก้มตวั ลงไขว้ แขน หายใจออกช้าๆ ยดื ตัวขึ้น แลว้ เปลย่ี นขาทําซ้าํ อกี ครัง้ 5.2.3 นงั่ ไข่วห้าง กระดกปลายเท้าขนึ้ -ลง พรอ้ มกับนวดขาช่วงหวั เขา่ ถึงขอ้ เท้า เปล่ยี นขาทําซาํ้ อกี ครง้ั 5.2.4 มือขวาจับไหล่ซ้าย พรอ้ มกับหายใจเข้าช้าๆ ตามองมอื ขวา ดึงหัวไหลเข้า หาตัว พรอ้ มกบั หนั หนา้ ไปทางขวา ทาํ เสยี ง “อู” ยาวๆ เปลี่ยนมือทาํ ซา้ํ อกี คร้ัง 5.2.5 ใช้มอื ทัง้ สองข้างทําท่ารดู ซิปขึ้น (สดุ แขนด้านล่าง แลว้ ยกขึ้นเหนอื ศรี ษะ) หายใจเขา้ ชา้ ๆ ทาํ ท่ารดู ซปิ ลง หายใจออกข้าๆ ภาพท่ี 96 แสดงภาพการเคล่อื นไหวเพอ่ื กระตุน้ (Energizing Movement) (ที่มา http://www.thaihealth.or.th/ 24 พฤศจิกายน 2559)

321 5.3 กลมุ่ ท่าที่ 3 การเคลื่อนไหวเพ่ือกระตุ้น (Energizing Movement) เป็นการ กระตุ้นการทาํ งานของกระแสประสาท ทําให้เกิดการกระตุ้นความรู้สึกทางอารมณ์และเกิด แรงจงู ใจในการช่วยใหเ้ รียนรไู้ ด้ดขี ึน้ 5.3.1 ใช้นว้ิ ชน้ี วดขมบั เบาๆ ทัง้ สองข้างวนเป็นวงกลม 5.3.2 กดจุดตาํ แหน่งต่างๆ ในรา่ งกายท่จี ะกระตุ้นการทาํ งานของสมอง 5.3.2.1 ใช้น้วิ โปง้ กับนิว้ ชี้วางบริเวณกระดกู คอ ลบู เบาๆ อกี มอื วางที่ ตําแหน่งสะดือ กวาดตามองจากซ้ายไปขวา และจากพน้ื ขน้ึ เพดาน เปล่ยี นมือทาํ เช่นเดียวกนั 5.3.2.2 ใชน้ ้ิวชแี้ ละนิ้วกลางแตะเหนอื รมิ ฝปี าก อกี มือวางทีต่ ําแหน่ง กระดูกก้นกบ กวาดตามองจากพ้ืนขึ้นเพดาน หายใจเขา้ -ออกชา้ ๆ ลึกๆ เปล่ยี นมือทําเช่นเดียวกนั 5.3.2.3 ใชม้ อื นวดกระดูกหลงั ใบหเู บาๆ อีกมือวางทตี่ าํ แหนง่ สะดอื ตา มองตรงไปขา้ งหน้าไกลๆ จนิ ตนาการวาดรูปวงกลมด้วยจมูก เปลยี่ นมือ ทาํ เชน่ เดยี วกัน 5.3.2.4 ใชน้ วิ้ ชแี้ ละน้ิวกลางวางที่ใต้คาง อีกมอื อยูท่ ตี่ าํ แหน่งสะดอื หายใจเข้า-ออก ชา้ ๆ ลกึ ๆ สายตามองจากไกลเขา้ มาใกล้ เปล่ียนมือทําเช่นเดียวกัน 5.3.3 นวดใบหูดา้ นนอกเบาๆ ทง้ั สองข้าง แล้วใช้มือปิดหเู บาๆ ทําช้าๆ หลายๆ ครง้ั 5.3.4 ใช้มือทงั้ สองเคาะที่ตําแหนง่ กระดกู หน้าอก โดยสลบั มือกนั เคาะ แตต่ ้อง เคาะเบาๆ ภาพที่ 97 แสดงภาพท่าบรหิ ารรา่ งกายงา่ ยๆ (Useful) (ท่ีมา http://www.thaihealth.or.th/ 24 พฤศจิกายน 2559)

322 5.4 กลุ่มท่าที่ 4 ทา่ บริหารร่างกายง่ายๆ (Useful) เป็นการช่วยเพมิ่ ประสิทธภิ าพใน ดา้ นตา่ งๆ ของสมอง เชน่ การจดจํา การมองเหน็ การไดย้ นิ และชว่ ยลดความเครียดลงได้ 5.4.1 น่ังบนเก้าอี้ ยกเท้าขวาข้ึนพาดบนขาซ้าย มือกุมฝ่าเท้าขวา หายใจ เขา้ ออกชา้ ๆ ลึกๆ 1 นาที แล้ววางเท้าลงบนพ้ืนเหมอื นเดมิ ให้เทา้ ทงั้ สองข้างแตะพ้ืน กาํ มือเขา้ ด้วยกนั แลว้ ใชป้ ลายลนิ้ กดทีฐ่ านฟันลา่ งประมาณ 1 นาที จะเป็นท่าทมี ีประสิทธิภาพสูงมาก ชว่ ยลด ความเครียด ความอดึ อัด และความคับข้องใจ เปลยี่ นขาทาํ ซาํ้ อีกคร้ัง 5.4.2 กํามือทงั้ สองข้าง ยกขึ้นไขว้กนั ระดบั ตา ตามองมือทีอ่ ยู่ด้านนอก 5.4.3 วางมือซอ้ นกนั ที่ดา้ นหน้า หายใจเข้าช้าๆ ลกึ ๆ ยกแขนข้นึ เหนือศีรษะ คว่ํามอื ลง หายใจออกชา้ ๆ แล้ววาดมอื ออกเป็นวงกลม แลว้ วางมอื ไวท้ ี่เดิม 5.4.4 ใชม้ อื ทงั้ สองปดิ ตาทล่ี มื อยู่เบาๆ ใหส้ นทิ จนมองเหน็ เปน็ สดี าํ มดื สนทิ สกั พกั แลว้ คอ่ ยๆ เอามือออก เร่ิมปดิ ตาใหม่ 5.4.5 ใช้นิว้ มอื ทงั้ สองขา้ งเคาะเบาๆ ท่ัวศีรษะ จากกลางศีรษะออกมา ด้านขวา และซา้ ยพร้อมๆ กนั 6. การบรหิ ารสมอง การบรหิ ารสมอง (brain activation) หมายถงึ การบรหิ ารรา่ งกายในส่วนทีส่ มอง ควบคุมโดยเฉพาะกล้ามเน้ือ corpus callosum ซึ่งเชื่อมสมอง 2 ซีกเข้าด้วยกันให้ประสานกัน แขง็ แรงและทาํ งานคลอ่ งแคล่ว จะทําให้การถา่ ยโยงขอ้ มูลและการเรียนรู้ของสมอง 2 ซกี เป็นไปอย่าง สมดุลเกิดประสิทธิภาพและยังช่วยให้เกิดการผ่อนคลายความตึงเครียด ทําให้สภาพจิตใจเกิด ความพรอ้ มทีจ่ ะเรียนรู้ เกิดความจาํ ท้ังระยะส้นั และระยะยาว มอี ารมณ์ขันเพราะคลื่นสมอง (brain wave) จะลดความเร็วลง คล่นื บีตา (beta) เป็นแอลฟา (alpha) ซึ่งเปน็ สภาวะที่สมองทํางานอย่างมี ประสทิ ธภิ าพสูงสุด (https://www.novabizz.com/NovaAce/Physical/brain-activation.htm 5 ตลุ าคม 2559)

323 ภาพท่ี 98 แสดงภาพการบรหิ ารปุ่มสมอง (ท่ีมา https://www.doctor.or.th/article/detail/10955 5 ตลุ าคม 2559) 6.1 การบริหารปุม่ สมอง ใชม้ ือขวาวางบรเิ วณท่ีใต้กระดกู คอและซ่โี ครงของกระดูกอก หรือที่เรียกวา่ ไหปลารา้ จะมีหลุมตืน้ ๆ บนผวิ หนงั ใช้นิ้วหวั แม่มอื และน้วิ ช้ี คลําหารอ่ งหลุ่มตืน้ ๆ 2 ชอ่ ง น้ซี ึ่งหา่ งกันประมาณ 1 นิว้ หรือมากกว่านข้ี ้ึนอยู่กับขนาดร่างกายของแต่ะละคนท่มี ขี นาดไม่เทา่ กนั ให้ นวดบริเวณนปี้ ระมาณ 30 วินาที และให้เอามอื ซ้ายวางไปทต่ี ําแหน่งสะดอื ในขณะทน่ี วดป่มุ สมองก็ ให้กวาดตามองจากซา้ ยไปขวา ขวาไปซา้ ยและจากพ้นื ขึน้ เพดาน ประโยชนข์ องการบริหารปุ่มสมอง - เพือ่ กระตนุ้ ระบบประสาทและเส้นเลอื ดท่ีไปเลี้ยงสมองใหด้ ี - ชว่ ยสร้างให้ระบบการสือ่ สารระหวา่ งสมอง 2 ซีกทเ่ี กีย่ วกบั การพูด การอ่าน การเขยี นมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้ึน ภาพที่ 99 แสดงภาพการบรหิ ารป่มุ ขมบั (ท่ีมา https://www.doctor.or.th/article/detail/10955 5 ตลุ าคม 2559)

324 6.1.1 ปมุ่ ขมับ 6.1.1.1 ใช้นวิ้ ทั้งสองขา้ งนวดขมับเบาๆวนเป็นวงกลม ประมาณ 30 วนิ าที ถงึ 1 นาที 6.1.1.2 กวาดตามองจากซา้ ยไปขวา และจากพืน้ มองขน้ึ ไปทเ่ี พดาน ประโยชน์ของการนวดป่มุ ขมับ 1) เพือ่ กระตุ้นระบบประสาทและเสน้ เลือดที่ไปเลย้ี งสมอง ส่วนการมองเห็นให้ทํางานดขี ้ึน 2) ทําใหก้ ารทาํ งานของสมองทั้ง 2 ซกี ทาํ งานสมดุลกนั ภาพที่ 100 แสดงภาพการบริหารป่มุ ใบหู (https://www.doctor.or.th/article/detail/10955 5 ตลุ าคม 2559) 6.1.2 ป่มุ ใบหู 6.1.2.1 ใหน้ ว่ิ หวั แมม่ อื กบั นวิ้ ช้ีจบั ที่สว่ นบนสดุ ด้านนอกของใบหูทั้ง 2 ขา้ ง 6.1.2.2 นวดตามริมขอบนอกของใบหูทง้ั 2 ข้างพร้อมๆกนั ให้นวดไล่ลง มาจนถงึ ต่งิ หูเบา ๆ ทําซ้ําหลาย ๆ ครง้ั ควรทาํ ท่าน้ีกอ่ นอา่ น หนงั สือเพือ่ เพิ่มความจําและมีสมาธิมากขน้ึ ประโยชนข์ องการนวดใบหู 1) เพอื่ กระตุน้ เสน้ เลอื ดฝอยทไ่ี ปเล้ียงสมองสว่ นการได้ยนิ และ ความจาํ ระยะสัน้ ใหด้ ขี น้ึ 2) สามารถเพิ่มการรับฟงั ทเ่ี ป็นจงั หวะได้ดีข้นึ

325 6.2 การเคล่อื นไหวสลบั ขา้ ง (Cross Crawl) ภาพท่ี 101 แสดงภาพการเคล่อื นไหวสลบั ขา้ ง (Cross Crawl) ท่าที่ 1 นับ 1-10 (ที่มา https://www.doctor.or.th/article/detail/10955 5 ตุลาคม 2559) 6.2.1 ท่าที่ 1 นบั 1-10 ประโยชน์ของการบรหิ ารท่านับ 1-10 1) เพ่ือกระตนุ้ กลา้ มเน้ือมอื ใหป้ ระสานกัน เพ่อื ไมใ่ ห้เกิดอาการ นิ้วลอ็ ค 2) เพื่อกระตนุ้ สมองท่ีมีการสง่ั การให้เกดิ ความสมดุล ทัง้ ซ้าย-ขวา 3) เพ่อื กระตนุ้ ความจํา ภาพท่ี 102 แสดงภาพการเคลอ่ื นไหวสลบั ขา้ ง (Cross Crawl) ท่าที่ 2 จบี L (ท่ีมา https://www.doctor.or.th/article/detail/10955 5 ตุลาคม 2559)

326 6.2.2 ทา่ ที่ 2 จบี L 6.2.2.1 ยกมอื ทัง้ สองข้างขน้ึ มาใหม้ ือขวาทาํ ทา่ จีบ โดยใชน้ ว้ิ หัวแม่มอื ประกบกบั นิ้วช้ีสว่ นน้ิวอนื่ ๆให้เหยยี ดออกไป 6.2.2.2 มือซ้ายให้ทาํ เปน็ รปู ตัวแอล (L) โดยให้กางน้วิ หัวแม่มือกบั น้วิ ชี้ ออกไป ส่วนน้วิ ท่ีเหลอื ให้กาํ เอาไว้ 6.2.2.3 เปล่ียนเป็นจบี ด้วยมือซ้ายบา้ งทําเช่นเดียวกับข้อท่ี 1 สว่ นมือ ขวาก็ทําเป็นรูปตัวเเอล (L) เช่นเดียวกบั ขอ้ 2 6.2.2.4 ให้ทําสลับกันไปมา 10 ครัง้ ประโยชน์ของการบริหารทา่ จีบซา้ ย-ขวา 1) เพื่อกระตนุ้ กล้ามเน้อื มอื ใหป้ ระสานกนั เพื่อไมใ่ หเ้ กดิ อาการ นวิ้ ล็อค 2) เพือ่ กระตนุ้ สมองเก่ียวกบั การส่ังการให้สมดุลใหม้ กี าร เคลอ่ื นไหวอยา่ งคลอ่ งแคลว่ 3) เพอ่ื กระตุน้ การทํางานความสัมพนั ธร์ ะหว่างมือกบั ตา ภาพท่ี 103 แสดงภาพการเคลอ่ื นไหวสลบั ข้าง (Cross Crawl) ทา่ ท่ี 3 โปง้ -กอ้ ย (ทีม่ า https://www.doctor.or.th/article/detail/10955 5 ตลุ าคม 2559) 6.2.3 ท่าท่ี 3 โปง้ -ก้อย 6.2.3.1 ยกมือท้งั สองขา้ งใหม้ ือขวาทําท่าโป้งโดยกาํ มอื และยกหัวแมม่ ือ ขึ้นมา สว่ นมอื ซ้ายให้ทาํ ท่ากอ้ ย โดยกํามือและเหยียดนวิ้ กอ้ ยชี้ ออกมา

327 6.2.3.2 เปลยี่ นมาเปน็ โปง้ ด้วยมือซา้ ยและก้อยดว้ ยมอื ขวา 6.2.3.3 ใหท้ ําสลบั กนั ไปมา 10 ครั้ง ประโยชน์ของการบรหิ ารทา่ จีบโปง้ -ก้อย 1) เพือ่ กระต้นุ การส่งั การของสมองใหส้ มดลุ ทงั้ ซกี ซา้ ย และซีกขวา 2) เพื่อกระตุ้นสมองสว่ นการคดิ คาํ นวณกะระยะ 3) เพื่อป้องกนั กล้ามเนื้อหัวไหลเ่ กดิ การตดิ ยึด ภาพที่ 104 แสดงภาพการเคลื่อนไหวสลบั ขา้ ง (Cross Crawl) ทา่ ที่ 4 แตะจมกู -แตะหู (ทมี่ า https://www.doctor.or.th/article/detail/10955 5 ตลุ าคม 2559) 6.2.4 ทา่ ที่ 4 แตะจมกู -แตะหู 6.2.4.1 มอื ขวาไปแตะทห่ี ซู า้ ย สว่ นมอื ซ้ายให้ไปแตะทจี่ มูก (ลักษณะมือไขวักัน) 6.2.4.2 เปลีย่ นมาเป็นมอื ซา้ ยแตะที่หขู วา ส่วนมือขวาไปแตะทจ่ี มกู (ลกั ษณะมือไขวักัน) ประโยชนข์ องการบริหารท่า แตะจมกู -แตะหู 1) ชว่ ยใหม้ องเหน็ ภาพด้านซ้ายและขวาดขี ้ึน

328 ภาพที่ 105 แสดงภาพการเคลอ่ื นไหวสลบั ขา้ ง (Cross Crawl) ท่าท่ี 5 แตะหู (ทมี่ า https://www.doctor.or.th/article/detail/10955 5 ตลุ าคม 2559) 6.2.5 ท่าที่ 5 แตะหู 6.2.5.1 มือขวาออ้ มไปท่ีหซู ้าย ส่วนมือซา้ ยออ้ มไปจบั หขู วา 6.2.5.2 เปลย่ี นมาเปน็ มอื ซา้ ยอ้อมไปจับหูขวาส่วนมอื ขวาออ้ มไปจับ หซู ้าย ประโยชนข์ องการบรหิ ารทา่ แตะหู 1) เพื่อกระตนุ้ การสัง่ การของสมองให้สมดุลทง้ั ซกี ซา้ ย และซีกขวา 2) เพ่ือกระตุ้นสมองส่วนการคดิ คํานวณกะระยะ 3) เพื่อปอ้ งกนั กล้ามเนือ้ หวั ไหลเ่ กิดการติดยึด ภาพที่ 106 แสดงภาพการเคลอื่ นไหวสลบั ข้าง (Cross Crawl) ทา่ ที่ 6 การผอ่ นคลาย (ท่ีมา https://www.doctor.or.th/article/detail/10955 5 ตุลาคม 2559)

329 6.3 การผอ่ นคลาย ย่นื ใช้มือ ทง้ั 2 ข้างประกบกันในลักษณะพนมมอื เป็นรปู ดอกบัวตูม โดยใหน้ ิว้ ทุกนวิ้ สมั ผสั กนั เบา ๆ พร้อมกับหายใจเขา้ -ออก ทาํ ทา่ นี้ประมาณ 5-10 นาที ประโยชน์ของการบรหิ ารท่าผ่อนคลาย 1) ทําใหเ้ กดิ สมาธเิ ปน็ การเจรญิ สติ 7. สมองกับความจาํ ในชีวิตประจาํ วนั ของบุคคล มสี ่ิงต่างๆ มากมายทบ่ี คุ คลจะต้องจดจาํ ซึง่ จะตอ้ งใช้ใน การแกป้ ัญหาและการเรียนรู้ ถ้าบคุ คลไม่สามารถจดจําสิง่ ต่างๆ ในชีวิตประจาํ วันได้ ก็จะนําไปสู่ภาวะ ของการลืม ทาํ ให้บุคคลนั้นต้องเสียเวลาในการเรียนรู้ใหม่ ในขณะท่ีบุคคลบางคนอาจจะสามารถ จดจําส่ิงต่างๆ ไดด้ ี สมองมปี จั จัยใดบา้ งทเี่ ขา้ มาเกี่ยวขอ้ งกบั ความจาํ ของบุคคล ผ้เู ขยี นขอนําเสนอ รายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี (โรจน์รวี พจน์พฒั นพล,2549 : 145-147) 7.1 ความหมายของความจํา ความจํา (Memory) หมายถงึ กระบวนการท่ีสมองเกบ็ รักษาขอ้ มลู ไว้ได้ และ เม่ือมีความจําเป็นท่ีจะต้องใช้ข้อมูล ก็สามารถดึงข้อมูลเหล่าน้ีออกมาใช้ได้ รวมท้ังข้อมูลเหล่านี้ก็ สามารถทีจ่ ะถกู เลอื นไปได้ตามระยะเวลาที่ผ่านไป 7.2 รูปแบบของความจาํ รชิ ารด ชิฟฟริน และริชารด แอคคินสนั (Richard Shiffrin and Richard Atkinson, 1969) ไดเ้ สนอรปู แบบของความจาํ ไดแ้ ก่ 7.2.1 ความจําการรับสัมผสั (Sensory memory) เป็นความจําทเี่ กดิ ขึน้ จาก การรบั สมั ผสั ซงึ่ มีชว่ งระยะเวลาเพียงสน้ั ๆ ตัง้ แต่นอ้ ยกวา่ 1 วนิ าที ไปจนกระท่งั เปน็ เวลาหลายวนิ าที 7.2.2 ความจําระยะสัน้ (Short-term memory) จากความจําการรับสัมผัส ถ้า บุคคลใหค้ วามสนใจในขอ้ มลู นัน้ ๆ ความจําจากการรับสมั ผสั ก็จะเปล่ียนไปเปน็ ความจาํ ระยะสนั้ เชน่ สามารถจดจําเบอรโ์ ทรศพั ท์ทจ่ี ะโทรออกได้ 7.2.3 ความจําระยะยาว (Long-term memory) เป็นความจาํ ทีบ่ คุ คลเกบ็ รักษาไว้ได้เป็นระยะเวลายาวนาน อาจตลอดชั่วชีวติ ของบุคคล เช่น การจาํ ชอ่ื ของตนเองได้ 7.3 ช่วงความจําในมนษุ ย์ เมอ่ื เปรยี บเทยี บความจาํ ของมนุษย์ ความจําระยะส้นั จะมีความสามารถเกบ็ รักษาข้อมลู ไดอ้ ย่างจาํ กดั เชน่ ถา้ ใหบ้ คุ คลทดลองอ่านตวั เลขต่อไปนี้ 1 คร้งั คือ 4,6,3,1,7,5,2 จากนนั้ ให้เขียนตวั เลขเหล่านล้ี งบนกระดาษจากความจํา โดยขณะเขียนหา้ มมองดตู ัวเลขเหลา่ นอี้ กี

330 ถัดจากน้ันให้อา่ นตวั เลขตอ่ ไปนี้อกี 1 ครง้ั 5,4,1,6,3,8,2,9,7,3 และการกระทาํ เช่มเดิมคอื เขยี น ตวั เลขบนกระดาษจากความจํา ผลการศกึ ษาได้ว่า บคุ คลจะสามารถระลกึ ตัวเลขในครัง้ แรกท้งั 7 ตัว ได้ แตไ่ มส่ ามารถระลึกตวั เลขในกลมุ่ ท่สี องทม่ี ถี งึ 11 ตัวได้ถูกต้องทงั้ หมด การศึกษานีไ้ ด้บอกวา่ ช่วง ความจําของมนษุ ย์มีอยู่อยา่ งจาํ กัด คือ อยรู่ ะหว่าง 5-9 ตวั อักษร ซงึ่ หน่วยของจาํ นวนความจาํ จะ เรียกว่า Chunk หน่วยของความจํา ช่วงจะเป็นจํานวนของข้อมูลในความจําระยะสั้น แต่ถ้าไม่ได้มี การทบทวนซ้ําอยู่เรือ่ ยๆ บุคคลจะสามารถเก็บรักษาข้อมูลในควาจาํ ระยะสัน้ อย่างไม่จาํ กัด 7.4 กระบวนการของความจํา ในการจดั การกับขอ้ มูล อาจเทียบได้กับการประมวลผลข้อมลู ทางคอมพิวเตอร์ ซงึ่ ประกอบดว้ ยการใส่รหสั ขอ้ มูล (Encoding) การเกบ็ รกั ษาข้อมูล (Storage) และการกู้ขอ้ มูล กลบั คืนมา (Retrieval) ซ่งึ ในการทบ่ี ุคคลไมส่ ามารถกขู้ ้อมูลกลบั คนื ได้ กจ็ ะเกิดการลืม (Forgetting) เกดิ ขึ้น ความจาํ การรบั สมั ผัส ความจาํ ระยะสั้น ความจาํ ระยะยาว การฝึกซ้อม ข้อมลู จากการรับ 455 ความใสใ่ จ 455 การเก็บรักษา 455 สัมผัส ข้อมูล การกขู้ อ้ มูลกลบั คนื มา แผนผงั ท่ี 4 แสดงกระบวนการความจํา (ทมี่ า โรจน์รวี พจน์พฒั นพล,2549 : 145-147 อา้ ง Sdorow and Rickabaugh, 2002, p.243) 7.5 วิธีการวดั ความจํา ในการวดั ความจําของบคุ คล สามารถมวี ิธใี นการวัดได้ 3 วิธี คอื 7.5.1 การระลกึ (Recall) หมายถงึ การทีบ่ คุ คลรื้อฟนื้ ความจําในขณะทไ่ี มม่ ี เหตุการณน์ ้นั ปรากฎอย่ตู รงหนา้ ตวั อยา่ งเช่น การสเก็ตใบหน้าคนร้ายจากคาํ บอกเลา่ การทาํ ขอ้ สอบ แบบอัตนัย เป็นตน้ 7.5.2 การจําได้ (Recognition) หมายถึง การท่บี ุคคลสามารถจดจําสิ่งเรา้ ท่ี เคยประสบมาแล้วได้ เมอื่ สงิ่ เรา้ นัน้ ได้มาปรากฏอยตู่ รงหน้าอกี ครงั้ ตวั อยา่ งเชน่ การช้ตี ัวคนร้าย ข้อสอบปรนยั ทเ่ี ลอื กตอบ (Multiple choice)

331 7.5.3 การเรียนซ้ํา (Relearning) เปน็ วิธกี ารวัดความจําโดยดจู ากความจําทยี่ ัง เหลืออยู่ ดงั นั้น ถา้ บคุ คลเคยเรยี นรู้สิ่งใดแลว้ เมื่อมาเรยี นส่งิ น้นั ซา้ํ ใหมย่ อ่ มใชเ้ วลาในการจดจําลดลง ท้งั น้ีเพราะยงั มคี วามจําหลงเหลืออยู่ การหลงเหลือของความจําจึงเป็นผลมาจากการเรยี นซา้ํ หรอื ทบทวน บอ่ ยครงั้ ซ่ึงทาํ ให้ประหยัดเวลาในการเรียนรู้ไปได้ 7.6 วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพของการจํา การเพมิ่ ประสทิ ธิของการจาํ จะขึ้นอย่กู ับความสามารถของบุคคล บคุ คลสามารถ ใช้เทคนิคเพอื่ เพมิ่ ความสามารถของการจาํ ไดด้ ังนี้ คอื (โรจนร์ วี พจนพ์ ัฒนพล,2549 : 145-149-150) 7.6.1 วธิ ี SQ3R (The SQ3R method) เปน็ เทคนคิ ซงึ่ ใชห้ ลายวธิ ปี ระกอบเขา้ ด้วยกัน ซึง่ ไดแ้ ก่ การสาํ รวจ การตั้งคาํ ถาม การทอ่ งจํา และการทบทวนในรายละเอยี ดของบทเรียน หลักการของวธิ นี ี้ คอื การทบทวนในรายละเอียดเพิม่ เตมิ ซง่ึ จะนําบุคคลไปสู่การประมวลผลข้อมลู ใน ระดับลึกได้ ตัวอยา่ งเช่น ในการอา่ นหนงั สือเพื่อใหจ้ าํ ไดด้ ี นักศึกษาอาจจะใช้วิธที อ่ งจาํ เขียนคํานยิ าม ทไ่ี ม่คนุ้ เคยลงในกระดาษหรือทบทวนรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ต่อมาเม่ือวัดผลจะพบว่า นกั ศกึ ษาทใ่ี ช้ การทบทวนรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ จะจดจําคาํ นยิ ามได้มากกวา่ นกั ศกึ ษาท่ใี ช้วิธกี ารทอ่ งจําเท่านั้น สาํ หรับ SQ3R มขี ้ันตอนตามลําดบั คือ 7.6.1.1 ก่อนจะศึกษาเรอ่ื งใดก็ตามจะตอ้ งทําการสาํ รวจ (Survey) หวั ข้อหลัก และหัวขอ้ รอง เพื่อใหท้ ราบขอบเขตของกรอบงานทบี่ คุ คลตอ้ งการทําการศึกษา 7.6.1.2 ตง้ั คาํ ถาม (Question) ให้พยายามตั้งคําถามถามตนเอง และ พยายามหาคาํ ตอบ เม่อื ไดอ้ ่านผ่านหวั ขอ้ เหล่าน้ัน 7.6.1.3 อา่ นเนอื้ หาอยา่ งต้ังใจ (Read) 7.6.1.4 ภายหลงั จากการอ่านในแตล่ ะสว่ น ใหพ้ ยายามดวู า่ ตนเองเข้าใจ สว่ นไหนและไมไ่ มเ่ ขา้ ใจสว่ นไหนบ้าง (Recite) อยา่ ปลอ่ ยสว่ นน้นั เลยไปจนกว่านกั ศกึ ษาจะเขา้ ใจสว่ น ท่ีกําลงั ศกึ ษานัน้ แลว้ 7.6.1.5 ทบทวนสง่ิ ท่ีเรยี นไปแล้วเป็นระยะๆ (Review) อาจทาํ ได้โดย การทดสอบและอ่านซํา้ ในส่ิงท่ยี ังจําไมไ่ ด้ 7.6.2 การกระจายการฝกึ หดั (Distributed Practice) เป็นวธิ ที ี่เหมาะสมกบั การศึกษาบทเรียนทีเ่ ป็นทางด้านวิชาการ ตวั อย่างเชน่ ถา้ นกั ศึกษามเี วลา 5 ช่ัวโมงทจี่ ะทําการศึกษา บทเรยี นตา่ งๆ จะเปน็ การดกี วา่ วา่ ถา้ นกั ศกึ ษาจะใช้เวลา 1 ชว่ั โมง เพ่ือศกึ ษาบทเรียนที่มคี วามแตกตา่ ง กนั 5 อย่าง แต่ถ้านกั ศึกษาใชเ้ วลา 5 ช่วั โมง ในการศึกษาบทเรียนที่มเี น้ือหาเดียวกันทง้ั หมดจะให้ ผลไดไ้ มด่ ีเท่ากรณแี รก นอกจากนี้ ควรมกี ารหยุดพกั ในระหว่างบทเรียนทฝ่ี กึ หัดดว้ ยเพอ่ื ช่วยในเร่อื ง ความจําของผู้เรียน

332 7.6.3 วธิ ีการของโลซี่ (The method of Loci) คําวา่ Loci ในภษาละตนิ หมายถงึ สถานที่ วธิ ีน้เี หมาะกับกรณที ่ีตอ้ งจดจาํ บญั ชรี ายการของสิ่งต่างๆ โดยอาจจะจําในลักษณะท่ี เปน็ รูปธรรมโดยนําไปเชือ่ มโยงกบั สถานท่ี และทบทวนบญั ชรี ายการของสงิ่ ต่างๆ ในขณะที่เดนิ ผา่ น สถานทีเ่ หลา่ นนั้ เชน่ เมอ่ื เดินผา่ นประตูบา้ น ก็จดจําเป็นคําศัพท์ 1 คาํ เปน็ ตน้ 7.6.4 วิธหี มดุ คํา (The pegword method) วธิ นี จ้ี ะเริ่มจากการจาํ บญั ชรี ายชอื่ ของคํานามทม่ี ลี กั ษณะเปน็ รูปธรรมทม่ี เี สียงคล้องจองกับตวั เลข 1,2,3 และจะใหม้ ีการปฏสิ มั พันธก์ ัน ระหว่างภาพพจน์ของวัตถุท่ีเป็นหมุดคาํ และภาพพจน์ของวัตถุท่ีบุคคลจะระลึกถึง ตัวอย่าง เช่น ตอ้ งการจะจดจําบัญชรี ายการส่งิ ของก็อาจจะใช้จนิ ตนาการ ดงั น้ี นํ้าตาลจะไหลออกจากรองเท้า เพอื่ ท่จี ะจดจาํ ให้ได้ บคุ คลกค็ วรจนิ ตนาการหมุดคําใหจ้ บั คู่กบั ตัวเลขโดยเฉพาะ โดยท่ีตัวเลขเหลา่ นจี้ ะ เปน็ ตวั ช้ี เพ่ือใหส้ ามารถนาํ ความจําในภาพพจนข์ องวัตถทุ มี่ ปี ฏิสัมพนั ธก์ บั หมดุ คํานน้ั คนื มา ดังนนั้ ถา้ บุคคลจนิ ตนาการถงึ รองเทา้ กจ็ ะทาํ ให้บคุ คลสามารถจดจําภาพพจน์ของนา้ํ ตาลทก่ี ําลงั ไหลออกจาก รองเทา้ ไดอ้ ย่างอัตโนมตั ิ 7.6.5 วิธกี ารเชื่อมโยง (The link method) เทคนคิ วิธนี ี้จะเก่ยี วข้องกบั การเช่ือมโยง เพือ่ ให้งา่ ยแก่การจดจํา รปู แบบที่นิยมใชก้ ัน คอื วธิ ีการเล่าเรอื่ งโดยใชร้ ายการคําทีไ่ ม่ เกี่ยวข้องกนั แตไ่ ด้นาํ มาเชื่อมโยงกนั กับอีกสิ่งหน่ึงในเรื่องเลา่ เพ่ือให้จําได้งา่ ยขนึ้ 8. สมองกับความฉลาดและความคดิ สมองสว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือจดุ ใดจดุ หน่งึ มีหน้าทีเ่ ก่ียวกับความฉลาดและความคิด เชอื่ ว่า สมองส่วนใหม่ท่เี รยี กว่า “นโี อคอร์เทก็ ซ”์ มีหน้าท่เี กย่ี วกบั ความฉลาดและความคิด ความฉลาด (Intelligence) เป็นสิง่ ทเ่ี ราใช้ในการตดั สนิ ใจเร่ืองต่างๆ หรือเปน็ สิง่ ท่ีมาจากสมองและความรู้สกึ นึกคิด ถา้ สมองย่งิ สลับซบั ซอ้ นมากและพัฒนาได้สมบูรณ์ สมองจะมีความสามารถท่จี ะเรียนรแู้ ละมี ประสบการณม์ ากขน้ึ ขณะเดียวกันกเ็ กบ็ ข้อมูลใสก่ ลบั เข้าไปในสมอง ทาํ ให้สมองมกี ารเปล่ียนแปลง ตลอดเวลา ประสบการณ์ท่เี ราไดม้ านั้น ทาํ ให้พฤติกรรมการตอบสนองของเราต่อสิง่ แวดล้อมเปลย่ี นแปลง ไปดว้ ย (http://www.novabizz.com/NovaAce/Brain.htm 5 ตลุ าคม 2559) สมองของเราเปน็ สิ่งมหัศจรรย์มาก เซลลป์ ระสาทสามารถท่จี ะเก็บข้อมลู แปลข้อมลู ที่ เขา้ มาเปน็ คลืน่ กระแสไฟฟ้าแล้วเกบ็ ไวเ้ ป็นประสบการณ์อยใู่ นสมอง เปรยี บไดก้ ับคล่นื ไฟฟ้าท่โี ทรทัศน์ รบั เขา้ มาแลว้ แปลออกมาเป็นภาพบนจอใหเ้ ราเห็นคลนื่ สมองหรือคลืน่ ไฟฟ้าในสมองจะเป็นตัวกําหนด ลกั ษณะของสงิ่ ทเ่ี รารบั รู้ ไมว่ ่าจะเป็นลกั ษณะทางกายภาพ สติปัญญา อารมณ์ ความรสู้ กึ นกึ คิด ความรู้สึกตัวและอนื่ ๆ ประสบการณ์ทเ่ี กิดขนึ้ นี้ ยังสร้างสนามกระแสไฟฟา้ ทีเ่ ฉพาะเจาะจง อยา่ งเชน่

333 สนามกระแสไฟฟ้าทเี่ ฉพาะ สาํ หรับคณิตศาสตรห์ รอื เฉพาะสําหรบั ดนตรี ศาสนา หรอื อ่นื ๆ ซงึ่ จะรับ แตก่ ระแสไฟฟา้ ที่เหมือนๆกันเข้ามาอยใู่ นสนามเดียวกนั ทฤษฎีของขน้ั ตอนท่ีทําให้คนเราเกิดความคิด ทีน่ ําไปสคู่ วามสําเร็จอยา่ งละเอียดว่า ขนั้ ตอนแรก เริม่ จากคนเราเกดิ ความคดิ สร้างสรรค์ คิดโครงการ หลังจากนน้ั จะประสบปัญหา ก็พยายามหาทางแกไ้ ขปญั หา บางคร้งั อาจจะเหนอ่ื ยลา้ จนหมดกาํ ลงั ใจ ถึงกับคิดจะยกเลิกโครงการ แต่ในท่ีสุดทางแก้ปัญหาท่ีดีและถูกต้อง ก็ผุดข้ึนมาเองโดยไม่คาดฝัน ขั้นตอนเหล่าน้ีอธิบายได้ว่า ในสมองของเราขณะที่ เราเบ่ือหนา่ ยและอยากจะเลกิ ทาํ สิ่งทคี่ ิดไว้ จติ ใต้ สํานกึ ของเราก็คอ่ ยๆ เอาชน้ิ สว่ นขอ้ มลู แต่ละอยา่ งมาประกอบกันเหมอื นกับภาพตอ่ แลว้ ในทส่ี ุดก็ได้ คาํ ตอบออกมา ความคดิ ริเรม่ิ หรอื ความคิดสรา้ งสรรค์ของนกั วทิ ยาศาสตรห์ รอื ศิลปนิ แบบน้ี เปรียบได้ กับเด็กปัญญาอ่อน แต่มีความสามารถพิเศษ คืออยู่ๆความคิดสร้างสรรค์หรือคําตอบก็ออกมา เอง โดยมีความแตกต่างอยทู่ ว่ี า่ ความคิดสรา้ งสรรคข์ องนักวิทยาศาสตรจ์ ะดําเนินต่อไปได้ ในขณะที่ เดก็ ปัญญาอ่อน แต่มีความสามารถพเิ ศษ เพียงแค่ร้คู ําตอบแตไ่ มส่ ามารถจะทําอะไรไดม้ ากไปกว่าน้ัน ความฉลาดหรอื ความสามารถเฉพาะดา้ นอย่างเช่น ภาษา เกดิ จากวงจรของกระแสไฟฟา้ ของเซลล์ ประสาทในสมองของเรา ซ่งึ มาจากพัฒนาการของสมองทนี่ าํ เอาขอ้ มลู จากสิง่ กระตนุ้ และการตอบสนอง ต่อสิง่ กระตุน้ เกบ็ เขา้ มาเปน็ โครงสรา้ งของความรเู้ หมอื นเรา เกบ็ ข้อมลู (save) ไวใ้ นคอมพิวเตอร์ ซึ่ง เราสามารถจะเรียกข้นึ มาใช้เม่อื ไรกไ็ ด้ ธรรมชาติจะคอ่ ยๆ ทาํ ใหเ้ รามีความสามารถ หรือมีความฉลาด ขึ้นเป็นลําดับตามช่วงเวลาของพัฒนาการหรือระยะเวลาท่ีเหมาะสม ถ้าหากเราดูแลในเร่ืองของ สตปิ ญั ญาหรือความฉลาดของเดก็ ไม่เหมาะสมโดยเร่งมากเกินไปหรือปลอ่ ยปะไม่สนใจให้เด็กไดร้ ับ การกระตุ้นอยา่ งเหมาะสมตามวยั จะทําใหม้ ปี ญั หาทางดา้ นสตปิ ญั ญาหรอื ความฉลาดได้ เปรียบเสมอื น เนื้อสเตก็ ไมเ่ หมาะท่ีจะเป็นอาหารสาํ หรับเดก็ เลก็ ทย่ี งั ไม่มฟี ันหรือนมแมก่ ไ็ มเ่ หมาะสําหรบั เด็กวัยรนุ่ เปน็ ต้น สิง่ ทเี่ ด็กตอ้ งการสาํ หรับการพัฒนาสติปัญญาและความฉลาด คอื สิ่งแวดล้อมหรอื การเล้ยี งดทู ี่ ถูกตอ้ งเหมาะสม ผู้เล้ียงดเู ด็กควรมคี วามรู้ในการเลีย้ งดเู ด็ก ใหโ้ อกาสเดก็ ไดเ้ รียนรสู้ ิ่งตา่ งๆ เพ่อื เก็บ ขอ้ มลู เขา้ ไปสรา้ งเป็นโครงสร้างความรใู้ นสมอง แตส่ ิง่ สาํ คญั ก็คอื จะตอ้ งคํานึงถึงความเหมาะสมกบั วัย ของเดก็ ด้วย ถึงแมเ้ ราไมส่ ามารถบอกได้ว่า ความฉลาดอยทู่ ี่สว่ นใดของสมอง แต่สมองซีกซา้ ยและ สมองซีกขวากจ็ ะมสี ่วนรว่ มในการทํางานทีเ่ กีย่ วกบั ความฉลาดดว้ ย สมองซกี ซ้ายและสมองซีกขวาจะ ควบคมุ การทํางานของกล้ามเนอื้ และรับประสาทสมั ผัส ความรสู้ กึ จากรา่ งกายดา้ นตรงขา้ มแลว้ ยังมี หน้าที่แตกต่างกัน ในเรื่องของการเรยี นรูด้ ้วยสมองซกี ซา้ ย จะมีหนา้ ทีค่ ิดอยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล มี สามญั สํานึก การจัดระบบ การดูแลรายละเอียด และการทํางานทจี่ ะต้องทาํ ทลี ะอย่าง การควบคุม เกย่ี วกับภาษา ตัวเลข สญั ลกั ษณต์ ่างๆ การแสดงออก (expression) การวเิ คราะห์ การพดู การเขยี น ส่วนสมองซีกขวามหี น้าทเ่ี ก่ียวกับความคิดสร้างสรรค์ จนิ ตนาการ สัญชาตญาณ การสังเคราะห์ ศลิ ปะ ดนตรแี ละเรื่องของทศิ ทาง เปน็ ส่วนท่คี ่อนข้างผ่อนคลาย เปน็ สมองทเี่ ปน็ จติ ใตส้ ํานึกมากกว่า

334 ในขณะที่สมองซีกซ้ายเป็นส่วนท่ีอยู่ในจิตสาํ นึก สมองซีกขวาจะทําหน้าท่ีสร้างกระบวนการต่างๆ อยา่ งรวดเร็ว สามารถทาํ อะไรหลายๆ อยา่ งในเวลาเดยี วกนั ซงึ่ ตรงกันขา้ มกับสมองซกี ซา้ ยที่จะทาํ ได้ ทลี ะอยา่ ง สมองซกี ขวาจะมองภาพแบบรวมๆ มากกว่า เจาะรายละเอยี ดเหมือนสมองซีกซ้าย สมอง ซีกขวามีหน้าที่เก่ียวกับการรับรู้ เข้าใจ (reception) มากกว่าสมองซีกซ้ายท่ีทาํ หน้าท่ีเก่ียวกับ การแสดงออก การทําหนา้ ที่แต่ละอยา่ งสมองท้งั สองข้างจะทํางานประสานกัน แต่สมองซีกใดซีกหนง่ึ อาจจะทํางานมากกว่าอกี ซกี หนง่ึ เช่น เมอ่ื ไดย้ นิ เสียงดนตรีและรู้ว่าน่ีคือ เสียงดนตรี จะเปน็ หนา้ ท่ี สมองซกี ขวา แต่ความซาบซง้ึ ในเสียงเพลง สมองทงั้ สองข้างจะทํางานพร้อมกัน การทาํ งานของสมอง สองซีกนี้ ยังแตกต่างกันในเรอื่ งการหาความหมายของคาํ พดู มากกว่า ความหมายของเสยี ง จาก ส่ิงแวดล้อม จากการทดลองที่จะดูวา่ เสยี งทเ่ี ปน็ คาํ พูดและเสียงที่ไม่เปน็ คําพูด เช่น เสยี งทอี่ ยใู่ น ส่งิ แวดลอ้ ม ทาํ ใหเ้ กดิ ความแตกต่างของกระแสไฟฟ้าในสมอง พบว่า เสยี งที่เป็นคําพูดที่มีความหมาย จะทาํ ให้เกดิ ความเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟา้ ในสมองซีกขวามากกวา่ สมองซกี ซา้ ย แตถ่ ้าใช้เสยี ง จากสิ่งแวดลอ้ มท่ีไม่มคี วามหมาย ก็พบว่ากระแสไฟฟ้าจะเกิดข้นึ ในสมองข้างซา้ ยมากกว่าในสมองซกี ขวา ภาพที่ 107 แสดงภาพความมหัศจรรยข์ องนํา้ (ท่มี า ดุษฎี บรพิ ตั ร ณ อยธุ ยา, 2548: 22)

335 9. สมองกับน้ํา สมองกบั นา้ํ มสี าระสําคัญ ดงั นี้ การด่มื น้ํา มีหลักฐานทางการแพทย์ วิทยาศาสตร์การกีฬา และการศึกษา ชใ้ี หเ้ หน็ ว่า การดื่มน้ําเปลา่ ในปรมิ าณมากพอควรและไมแ่ ช่เย็น เปน็ ส่งิ ท่จี าํ เป็นตอ่ สมองใหพ้ รอ้ มใช้งาน สมองนน้ั สญู เสยี นาํ้ ในอตั ราท่ีเร็วและกอ่ นท่เี ราจะร้สู ึกว่ากระหายนํา้ จึงเป็นผลใหข้ าดสมาธิ เบือ่ หนา่ ย และอาการมึนงงสบั สนจะค่อยๆ เขา้ มาแทนที่ (ดุษฎี บรพิ ตั ร ณ อยุธยา, 2548: 23) ผทู้ ี่อยใู่ นวงการ กีฬา บ่อยครง้ั ความลม้ เหลวต่างๆ ท่ีเกิดขึน้ ในสนามแขง่ ขนั มสี าเหตจุ ากการทรี่ า่ งกายและสมองขาดนาํ้ ผฝู้ ึกสอนท่ดี จี ะต้องคอยกาํ กับดแู ลให้นกั กฬี าดมื่ นํ้าอย่างเพียงพอทั้งในระหว่างฝึกและแขง่ ขัน การปฏิบตั ิเช่นน้ีจะชว่ ยใหส้ มองและร่างกายทํางานได้เตม็ ความสามารถจากการทไ่ี ดฝ้ กึ ฝนมา นํ้าเปลา่ เป็นสง่ิ ท่จี ําเปน็ อยา่ งยิ่ง เนอ่ื งจากร่างกายมีปฏิกริ ิยาตอ่ ประเภทของนํา้ ที่มสี ่วนผสมอน่ื ๆ เจือปนอย่ตู ่างกนั ไม่วา่ จะเป็นน้ําในอาหาร เคร่ืองปรุงรส และนํา้ ผลไม้ สารดังเช่น คาเฟอนี แอลกอฮอล์ และนา้ํ ตาล มีผลทําให้เกดิ ภาวะขาดนํา้ นาํ้ อัดลมหลายชนดิ มนี ํา้ ตาลมากและ ผสมคาเฟอีนลงไปดว้ ย ผทู้ ่ดี ม่ื นาํ้ ประเภทนจ้ี ะตอ้ งดืม่ นํา้ เปลา่ ชดเชยด้วย หากในพน้ื ทบ่ี างแหง่ มีปัญหา ในการหานา้ํ ดื่มสะอาดได้ยาก ใหด้ มื่ นา้ํ บรรจขุ วดท่ผี ่านกระบวนการกรองตะกอนและกลิน่ แล้วกไ็ ด้ นา้ํ ทีด่ ีทส่ี ดุ สําหรบั สมองคอื นํา้ ทีไ่ ม่ใส่นํ้าแขง็ การด่มื นาํ้ ทไ่ี มแ่ ช่เย็น บอ่ ยๆเปน็ เร่อื งที่สําคญั ย่ิงในการหา วธิ เี พ่มิ ศกั ยภาพใหส้ มอง ด่มื ง่าย การด่มื นาํ้ จึงเปน็ วธิ ีการท่ีงา่ ยต่อการเพม่ิ การไหลเวยี นของพลงั งานใน รา่ งกายและสมองโดยทนั ที แล้วยังทําใหส้ มองเกดิ ความคดิ โลดแลน่ อีกดว้ ย

336 ภาพท่ี 108 แสดงภาพสมองกบั การหายใจ (ที่มา ดษุ ฎี บรพิ ตั ร ณ อยธุ ยา, 2548: 24) 10. สมองกับการหายใจ สมองกับการหายใจ มสี าระสาํ คญั ดงั น้ี 10.1 สมองของเราต้องการออกซิเจนในปรมิ าณมาก เพ่อื การทาํ งานทม่ี ปี ระสิทธิภาพ ราว 1 ใน 4 ของออกซิเจนท่สี ดู เขา้ ไปจะถูกนาํ ไปหล่อเลย้ี งสมอง อาการงัวเงยี เป็นผลจากร่างกาย ได้รับออกซิเจนน้อยลง ทําให้สมองเร่ิมปิดสวิตช์การทาํ งานการได้รับออกซิเจนเพ่ิมข้ึน จะขจัด ความเฉอ่ื ยชา และเพ่ิมความเฉียบแหลมเหลา เราทํางานซ่งึ หมายถึงเพมิ่ ประสิทธิภาพขนึ้ ด้วย (ดษุ ฎี บรพิ ัตร ณ อยุธยา, 2548: 25) พฤติกรรมทชี่ ว่ ยเพ่ิมปรมิ าณออกซเิ จน มดี งั ต่อไปน้ี 10.1.1 ผทู้ อ่ี อกกําลังกายเป็นประจําทกุ วัน ทําใหส้ มองและรา่ งกายได้รับ การไหลเวียนจากออกซิเจน มกั จะมคี ะแนนเรยี นดกี ว่าผู้ที่ไมอ่ อกกําลังกายเลย 10.1.2 ผทู้ ี่ไดร้ ับออกซเิ จนเข้าสูร่ ่างกายก่อนสอบเช่นเดยี วกบั นกั กฬี าวอร์ม ร่างกายกอ่ นการแขง่ ขนั จะรสู้ ึกผอ่ นคลายขน้ึ แตม่ สี มาธทิ ดี ี 10.1.3 ผู้ท่ีหายใจอย่างถูกวิธีจะเป็นผู้สนใจเรียนรู้ ไม่ต่ืนเต้นง่าย มีความ ม่ันใจ มสี ขุ ภาพจติ และร่างกายทดี่ ีกวา่ ผลจากการสอบและการทาํ งานอนื่ ๆกด็ ขี นึ้ ด้วย

337 10.1.4 ผู้ท่รี ู้จกั ควบคมุ ความกลัวหรอื อาการตื่นตระหนกดว้ ยการฝึกหายใจ โดยเฉพาะการหายใจออกนน้ั จะมขี ้อไดเ้ ปรียบ 10.2 การขาดออกซเิ จนในสมองเปน็ สาเหตุหลกั อยา่ งหนึ่งทที่ ําให้การเรียนไมไ่ ดผ้ ล รวมท้ังการออกกาํ ลงั กายไมเ่ พียงพอ อิรยิ าบถหรือทา่ นง่ั ไมเ่ หมาะสม การหายใจตน้ื ๆ ความวิตกกังวล และการทํางานในหอ้ งที่อากาศไม่ถ่ายเท ล้วนเป็นสาเหตุทาํ ให้ออกซเิ จนไปเล้ียงสมองไมพ่ อเพียง การนงั่ ทถี่ กู ต้องตอ้ งช่วยให้หายใจได้ดี เราไม่สามารถหายใจได้เต็มปอด ถา้ น่งั หลังงอเราควรน่ังยดื หลังใหต้ รง เท้าสองข้างวางราบอยู่บนพ้ืนเพ่ือการหายใจได้สะดวกในขณะเรียนหนังสือ อ่านหนังสือหรือนั่ง ทําข้อสอบ การหายใจและการเรยี นทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพจะเกดิ ขน้ึ เม่อื น่ังหลงั ตรงและผอ่ นคลายบรเิ วณ ไหลแ่ ละคอเพอ่ื ไมใ่ ห้กลา้ มเนอ้ื ตึง 10.3 การหายใจแบบเป่าลูกโป่งเพ่ือให้สมองแข็งแรง คนส่วนใหญ่จะหายใจต้ืน หน้าอกสว่ นบนหรอื ไหลจ่ ะไหวกระเพือ่ มข้นึ และลงในขณะหายใจ การหายใจทด่ี นี ั้น ควรจะเห็นซี่โครง ชว่ งลา่ งขยายออกและขยับขน้ึ ในขณะทหี่ ายใจ ซี่โครงหดเขา้ และขยบั เขยือ้ นลงล่างเมอื่ หายใจออก ไหลท่ ง้ั สองผ่อนคลายเกอื บจะไมข่ ยับเขยอื้ นเลย เวลาหายใจอย่างถูกต้อง ถ้าเอามือวางบนบริเวณ ซโี่ ครงชว่ งลา่ ง เราจะรสู้ ึกวา่ กะบังลมขยายออกเหมือนเปา่ ลกู โปง่ ผลทีไ่ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการฝึก หายใจแบบเป่าลูกโป่งบอ่ ยๆ จะช่วยให้ผ่อนคลายได้ดี เมื่อเราอยใู่ นสภาวะเครียดและเมื่อเรารู้สึกเรมิ่ งัวเงยี บหรือเบ่ือหน่าย 10.4 การหายใจออกยาวๆ เพ่ือใหส้ มองทํางานดขี ึ้น การหายใจสนั้ ๆจะทาํ ให้อากาศ ทไี่ มบ่ รสิ ุทธถิ์ ึง 1 ลติ รสะสมอยู่บริเวณด้านล่างของปอด ดังนั้น เพอ่ื ให้สมองได้รับออกซเิ จนมากขน้ึ เราจงึ จาํ เปน็ ต้องขจัดอากาศไม่ดที ห่ี ลงเหลอื อย่นู อ้ี อกไป ด้วยการเพ่ิมออกซิเจนในการหายใจเข้าครงั้ ต่อๆไป 10.5 การหายใจเข้าลึกๆ และการหายใจออกยาวโดยไม่ถูกวิธี อาจส่งผลให้เกิด อาการหนา้ มดื ได้ เพราะเปน็ การหายใจแบบหอบถี่ การหายใจเข้าพรอ้ มกับนับ 1-4 และหายใจออก พรอ้ มกับนบั 1-6 เปน็ ตัวอยา่ งหนง่ึ ในการแกป้ ัญหา 11. สมองกับดนตรี สมองกบั ดนตรี มีสาระสาํ คญั ดงั นี้ 11.1 ดนตรบี างประเภททําใหเ้ กดิ สภาวะผ่อนคลายทีล่ ึกมาก ซงึ่ ทําใหจ้ ดจําเรื่องราว โบร่าํ โบราณทม่ี ีความยาวได้อยา่ งมหัศจรรย์ คณะนกั รอ้ งหมขู่ องกรกี โบราณขบั ลํานาํ เรือ่ งราวต่างๆ ที่ ยาวมากควบคู่ไปกับจังหวะของการเตน้ ของหัวใจ ทาํ ให้ผฟู้ งั สามารถจาํ คาํ ร้องตามได้ดว้ ยวธิ ีการเรียนรู้ และการนาํ เสนอเรอื่ งราวทย่ี าวๆ ทาํ นองน้ีกม็ ใี นประเพณอี นิ เดีย โดยใชช้ ตี าร์เครื่องดนตรีโบราณ

338 บรรเลงประกอบการเลา่ เรอื่ ง การขับร้องของชาวเผ่าเมารีที่เรยี กว่า “วากาปาปา” ซงึ่ ใชเ้ วลาหลายวัน พวกเขาจดจําไดโ้ ดยอาศัยการขบั ร้องใหเ้ ขา้ กับจงั หวะการเคาะไม้ “ไตอาฮา” ท่ใี ชป้ ระกอบในพิธี (ดษุ ฎี บรพิ ัตร ณ อยธุ ยา, 2548: 27) 11.2 เพลงทมี่ ีจังหวะเข้ากับการเตน้ ของหัวใจ ก่อให้เกดิ การเรยี นรู้ ผลงานวจิ ัยชี้ให้วา่ ดนตรเี พ่ิมความสามารถในการเรยี นรไู้ ด้ เม่ือเราฟงั เพลงบรรเลงทม่ี จี ังหวะ 1 เคาะตอ่ วนิ าที หวั ใจจะ ปรับการเต้นให้เขา้ กับจังหวะนนั้ ทําให้ร่างกายผ่อนคลาย สมองก็จะปล่อยคลนื่ ความถ่อี ลั ฟาและธีตา มากขน้ึ ดเู หมอื นว่าพืชและสัตว์กต็ อบสนองต่อจงั หวะการเต้นทเี่ ปน็ สากลน้ีได้เชน่ เดยี วกนั ซงึ่ ชน้ั บรรยากาศไอโอโนสเฟียรจ์ ะมีคลน่ื ความถท่ี ่ี 7.5 รอบต่อวนิ าที และเป็นคลืน่ ความถี่เดยี วกบั สมอง มนษุ ยเ์ มอ่ื ฟงั ดนตรที ใ่ี ช้จงั หวะเคาะเข้ากับจังหวะการเตน้ ของหัวใจ 11.3 จังหวะท่ปี ระสานสอดคล้องระหวา่ งสมองกับดนตรนี เ้ี ป็นหลักพ้นื ฐานของ วธิ ีการเรียนรู้ท่มี ชี ่ือเสยี ง ค้นพบโดยจอร์จิ โลซานอฟ (Georgi Lozanov) แห่งมหาวทิ ยาลยั โซเฟีย ซงึ่ ปัจจุบันเป็นวธิ ีการเพม่ิ ความสามารถในการจาํ ที่แพรห่ ลายไปทว่ั โลก ผลงานของนกั แตง่ เพลงยุคบาร็อก (ศตวรรษท่ี 17) มีจงั หวะสอดคล้องกับจังวะเตน้ ของหัวใจ เช่น ในมฟู เม้นตา่ งๆ (largo, andante, ada-gio) ซง่ึ จะพบในผลงานการประพันธข์ อง Bach, Handel, Corelli, Vivaldi, Telemann และ Albinoni ซง่ึ สามารถชกั นาํ ร่างกายและสมองเขา้ สู่สภาวะทเี่ กอ้ื กลู ต่อการเรียนรู้ จงั หวะของเบส 1 ครงั้ ตอ่ วินาทที ี่ตอ่ เนอ่ื งกันทําให้ร่างกายผ่อนคลาย ในขณะทีเ่ ครือ่ งดนตรชี นดิ สายและเครือ่ งเปา่ จะ กระตุ้นสมองให้อยู่ในสภาพท่ีพร้อมจะรับรู้ บางคนมีผลการเรียนดีขึ้นชัดเจนเม่ือเลือกฟังเพลงยุค บารอ็ กทีม่ ีจงั หวะชา้ ๆ ขณะท่องหนังสอื 11.4 ดนตรีทเ่ี หมาะตอ่ การทํางาน เพลงท่ีใช้จงั หวะสอดคล้องกบั การเต้นของหัวใจ นัน้ เหมาะอย่างย่ิงสําหรบั การทบทวนหนังสอื แตก่ ย็ ังมีรปู แบบการเรยี นอน่ื ๆ ท่ีต้องใช้การลงมอื ปฏิบตั ิ ไมว่ า่ จะเปน็ การเขียน การวางแผน การออกแบบ การรวบรวมข้อมูล การจัดทําโครงการ การคาํ นวณ และการทาํ แบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ ถา้ ใชเ้ พลงของโมสารจ์ ะได้ผลเลศิ จากผลการวจิ ัยแสดงวา่ ทาํ นอง เพลงที่ซับซ้อนและความหลากหลายในการใช้จังหวะของโมสาร์ ช่วยกระตุ้นสมองส่วนที่ทําหน้าที่ เชอื่ มโยงและเปดิ ชอ่ งทางในการส่งสญั ญาณของสมอง ทาํ ใหส้ มองทํางานอย่างมีระเบียบขนึ้ ผทู้ กี่ าํ ลัง ใชส้ มองแก้ปญั หาจะมีรูปแบบคลน่ื สมองทค่ี ลา้ ยคลงึ กบั รปู แบบของเพลงโมสาร์ต ในทางกลับกนั เพลง ของโมสาร์สามารถจุดประกายการทํางานท่ีดีในการเปิดเส้นทางเดินของสัญญาณในสมอง เพ่ือให้ แก้ปัญหาประสบความสาํ เรจ็ ผูท้ ีไ่ ม่ประสบความสาํ เร็จในการแก้ปญั หาพบว่า มีรูปแบบของคลนื่ สมองไมเ่ ป็นระเบียบ 11.5 ดนตรีท่ีมีวัตถุประสงค์พิเศษ ดนตรีเปลี่ยนแปลงสภาวะต่างๆ ให้แตกต่าง กันได้ ดนตรบี างชนดิ สามารถกระตุ้นสมองและร่างกายใหค้ ิดและปฏบิ ัตงิ านในบางเร่ืองได้ ส่วนดนตรี

339 ท่ีเก่ียวข้องกับการศกึ ษาหรอื การเรียนรู้ เปน็ เพลงบรรเลงทีม่ ีจงั หวะช้าๆ จะเกอ้ื กลู ตอ่ สภาวะรา่ งกาย และสมองได้ดกี วา่ 11.6 การบรรยายคลอเสยี งดนตรี ภาพสแกนสมองชี้ให้เห็นว่า เมื่อเราอ่านหรือพูดให้คล้องจองกับดนตรีท่ีมี จังหวะชา้ ๆ สมองส่วนท่ีเปน็ คอรเ์ ท็กซ์จะได้รับการกระตุ้นมากกวา่ เมื่อฟังเพียงเสียงอ่านหรอื พดู หรอื ดนตรีล้วนๆ เม่ือนําดนตรี คาํ พูด ภาพ และการเคลอื่ นไหวมาผสมผสานกัน สมองของเราจะเกิด การเชอ่ื มโยงทง้ั สองซกี และการทาํ งานไดผ้ ลสงู สุด โปรแกรมการเรียนรเู้ พอ่ื ใหส้ มองทแ่ี หลมคมและฉับไว จึงจะเป็นการผสมผสานเพลงช้าๆกับการบรรยายสรุปและการจดคําบรรยายเข้าด้วยกัน สามารถ บันทกึ ด้วยเสยี งตนเอง โดยอ่านบทสรปุ ต่างๆ เชน่ mindmap คาํ ศัพท์ คาํ นิยาม โดยมดี นตรีทีม่ ีจงั หวะ ชา้ ๆ ประกอบไปดว้ ย ให้เปดิ เทปบันทึกเมอ่ื ต้องการศกึ ษา ทบทวน ขณะเดยี วกนั ใหอ้ า่ นสรุปท่จี ดไว้ ควบคูไ่ ปดว้ ย วิธนี จี้ ะใหผ้ ลสงู สดุ สาํ หรบั ความจาํ ในระยะยาว 11.7 เลือกดนตรีให้เหมาะต่อการทํางานและการเรียนรู้ ดนตรที ําใหส้ ภาวะร่างกายและสมองสรา้ งสรรค์หรือเป็นอปุ สรรคต่อการทาํ งาน และการเรยี นรกู้ ็ได้ ดนตรที ม่ี ีจังหวะช้าและนมุ่ นวลเหมาะท่ีสดุ เพราะสมองจะปลดปล่อยคลื่นอัลฟา ออกมามผี ลตอ่ การเปดิ รบั ขอ้ มลู ดนตรีบางอยา่ งท่ีจะเตรียมความพร้อมสมองสาํ หรบั วธิ คี ดิ และวิธีทํางาน เลอื กดนตรที ่ีเราชอบแตใ่ หม้ นั่ ใจว่าเปน็ ดนตรีทมี่ ีโครงสรา้ งหลากหลายและเหมาะตอ่ การทํางานให้เปน็ ผลสําเรจ็ จังหวะดนตรที าํ ให้รา่ งกายตนื่ ตวั หรอื สงบก็ได้ การเรยี บเรยี งท่วงทาํ นองจะส่งผลกระทบต่อ วธิ กี ารสอ่ื สารของสมอง การเลือกดนตรีเพอื่ การทํางานและเรียนรจู้ ะส่งเสริมให้ร่างกายและสมองทํางาน อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น เราไม่ควรเลือกฟังดนตรีเพื่อความเพลิดเพลินอย่างเดียว ผู้ต้งั ใจเรียน มักสะสมซดี ดี นตรอี ย่างหลากหลาย เพอ่ื เลอื กใชใ้ ห้เหมาะสมตามกจิ กรรม แนวทางในการทํางานและ วถิ ีการเรยี นรทู้ แี่ ตกต่างกันไป มูฟเม้นต์ของเพลง ไม่วา่ จะเปน็ largo, andante และadagio จากเพลงสมยั บาร็อกมีจงั หวะท่ีใกล้เคียงกบั จังหวะเต้นขณะพักผอ่ น คอื 60 เคาะต่อนาที จังหวะท่สี ม่ําเสมอนจี้ ะทาํ ให้ร่างกายสงบ ท่วงทาํ นองจะกระตุน้ สมองและช่วยใหจ้ ดจําไดง้ ่าย ตลอดทั้งเพลงจะมจี ังหวะเปลี่ยนไป อย่างหลากหลาย เพือ่ คงความตนื่ ตวั ในการทํางานให้ตอ่ เนื่อง 11.7.1 ดนตรยี คุ สมัยบาร็อก ได้แก่ 11.7.1.1 เจ เอส บาค (J S Bach) เปน็ จังหวะความคดิ ท่กี ระจ่างชัด และกระตนุ้ ระบบความจํา ทาํ ความเขา้ ใจเรื่องทีซ่ ับซ้อน 11.7.1.2 แฮนเดลิ (Handel) เป็นการทาํ งานเปน็ กลมุ่ คิดในเชงิ บวก การคิดและการทํางานท่มี ีระบบระเบยี บ

340 11.7.1.3 วลิ าลวดี (Vivaldi) เป็นการกระตนุ้ และเพม่ิ พลงั สรา้ งสรรคค์ วามคิดหลากหลาย ชัดเจน ไม่คลมุ เครือ และสมบูรณ์ 11.7.1.4 เพลงที่แต่งในยุคสมัยบาร็อก ความคิดที่กระจ่างชัด และการตั้งเป้าหมาย ความผอ่ นคลาย 11.7.2 ดนตรีคลาสลกิ และโรแมนติก ได้แก่ 11.7.2.1 โมสาร์ต (Mozart) งานวจิ ยั แสดงใหเ้ ห็นว่า ทาํ นองที่ ซบั ซอ้ นของดนตรโี มสาร์ตทาํ ให้เกิดผลตอ่ สภาพรา่ งกายและสมองเป็นพิเศษ (Mozart’s Effect) เพลง ของโมสาร์ตเหมาะสาํ หรับการทํางานจัดเก็บ คัดแยกข้อมูล การคิดหาเหตุผลเชิงตรรกะหรือ เหตุผลทางคณติ ศาสตร์ การเขยี น การคาํ นวณ และการออกแบบ 11.7.2.2 ไฮเดิน้ (Haydn) สรา้ งความสนใจใฝร่ ู้ การสํารวจ มองโลกในแง่ดีและการวางแผนงานท่ีเป็นประโยชน์ 11.7.2.3 บโี ทเฟน (Beethoven) ควบคมุ ตนเองและสร้าง ความเชอื่ มั่น เกดิ พลงั งาน ความกลา้ ความสําเร็จ 11.7.2.4 เมนเดลซนั (Mendelssohn) ปลกุ ใจให้ฮกึ เหมิ และ ก้าวไปข้างหน้า จินตนาการเป็นภาพและความจาํ 11.7.2.5 บราห์ม (Brahms) สรา้ งเสริมความมงุ่ มั่นบากบน่ั ให้ความสนใจในเร่อื งพ้ืนฐาน 11.7.2.6 ไซคอฟสก้ี (Tchailkovsky) สรา้ งสรรค์จินตนาการ ปลูกฝงั ความรกั ในการเรียนรแู้ ละการสือ่ สาร

341 สูดกลน่ิ หอมจากธรรมชาติ ฟงั ดนตรเี บาๆ จังหวะ หายใจชา้ ๆและลกึ ๆ เช่น พชื ไมห้ อม สมนุ ไพร ช้าไปเร่อื ยๆ หรือ หายใจออกใหย้ าวท่สี ดุ เค่อื งเทศตากแห้ง เมลด็ กาแฟ ดนตรไี ร้รูปแบบที่ ย้ิมอยา่ งอ่อนโยนและ ดอกไมห้ อม นาํ้ มันหอม เรยี บเรียง เพ่ือคลาย เปลง่ เสียง (หรอื ระเหย กล่ินหอมจาก เครยี ดหรอื จะเปน็ เสยี ง จินตนาการว่าเปลง่ เสยี ง) ธรรมชาตนิ ี้จะไดผ้ ลดกี ว่า บันทกึ จากธรรมชาติได้ ฮา ฮา ฮา ทําหลายๆครั้ง กล่ินนํ้าหอมสังเคราะห์ทาง เท่าท่จี ะทาํ ได้ขณะผ่าน วทิ ยาศาสตร์ เพอื่ ฟนื้ ฟสู ภาพ ลมหายใจออก รา่ งกายและสมองใหส้ มดุล ใชห้ ลอดคอ่ ยๆดดู (ไม่เป็น) เดินกลางแจ้งท่ามกลางจากอากาศ จินตนการดว้ ยว่าอยู่ใกล้นา้ํ บริสทุ ธแ์ิ ละแสงแดดอนุ่ ๆ ก็เป็น อาจจะเปน็ น้าํ ตก ทะเลสาบ ริม การคลายเครียดท่ีดยี ่ิง ถา้ ไม่สามารถทาํ ทะเลท่เี งยี บสงบ หรอื นอนแช่ ได้ ใหจ้ นิ ตนาการว่ากําลงั เดินอยู่ นํา้ อุ่นๆในอา่ ง ท่ามกลางธรรมชาติท่ีต้องใจใหพ้ ักกาย พักใจ ณ ท่นี น้ั ด่มื ดํา่ กลนิ่ เสยี ง สมั ผสั และสีสันทางธรรมชาติ ภาพที่ 109 แสดงภาพสมองกบั การผอ่ นคลาย (ทีม่ า ดุษฎี บรพิ ัตร ณ อยุธยา, 2548: 41) 12. สมองกบั การผอ่ นคลาย จนิ ตนาการใหเ้ ห็นเปน็ ภาพ เปน็ วิธีการผ่อนคลายสมองวธิ หี นง่ึ โดยมดี ังต่อไปนี้ 12.1 จินตนาการใหเ้ ห็นเปน็ ภาพ จนิ ตนาการใหเ้ หน็ เป็นภาพ เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ที่ทรงประสทิ ธิภาพ ซ่ึงคลา้ ย กับการใช้กลไกฝันกลางวัน การควบคุมมโนภาพต่างๆ จะเกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การ “เหน็ ภาพ” และ “ความร้สู กึ ” ท่เี กิดขน้ึ ในใจ ไม่วา่ จะเปน็ เหตกุ ารณ์หรือความคดิ ตา่ งๆ นนั้ ลว้ นใช้ พนื้ ทใ่ี นสมองเราทาํ งานมาก ดงั นั้น ไมว่ า่ เราจะเผชญิ กบั เหตุการณจ์ รงิ ๆ หรอื จนิ ตนาการใหเ้ ป็นภาพวา่ เรากาํ ลังเผชญิ เหตกุ ารณเ์ หลา่ น้ี จะถูกเกบ็ ไวใ้ นสมองในรูปแบบเดยี วกนั เหตุการณท์ ีเ่ กิดขน้ึ จริงมกั จะถูก

342 เกบ็ ไวโ้ ดยตรงมากกว่า แต่บางครง้ั ภาพท่เี กดิ ขนึ้ ในใจเราอาจมีความนา่ สนใจมากกว่า อาจฝงั ใจ และอยู่ ในความทรงจาํ ได้ดีกวา่ เหตกุ ารณจ์ ริง ความทรงจาํ ทเี่ กิดจากจินตนาการใหเ้ หน็ เปน็ ภาพสามารถแปลง เปน็ ภาษาหรอื สญั ลกั ษณ์ เพอ่ื ใช้ตดิ ตอ่ สอ่ื สารได้ไม่ยาก (ดษุ ฎี บรพิ ตั ร ณ อยธุ ยา, 2548: 41) 12.1.1 พลงั มหาศาลของจนิ ตนาการให้เห็นภาพ 12.1.1.1 บางคนสามารถจําช่ือหลายๆ คนท่ีเพ่ิงรู้จักกันได้ ด้วยการเช่ือมโยงคนนนั้ เข้ากบั ลกั ษณะของใบหนา้ ซง่ึ ต่อมากลายเป็นความทรงจาํ ในลักษณะภาพ 12.1.1.2 คนช่างจําจะสามารถจําชื่อและสูตรต่างๆ ได้เก่ง โดยจนิ ตนาการเป็นภาพให้เปน็ เรือ่ งราวซง่ึ จะเช่อื มโยงขอ้ มลู ตา่ งๆ ในรปู แบบทม่ี ีทง้ั สีสนั ความขบขนั ความน่าตน่ื ตาตืน่ ใจ หรือสร้างความซาบซ้ึง สะเทอื นใจ 12.1.1.3 หลกั สตู รทางธรุ กจิ ทเ่ี กี่ยวกบั การใช้ความคดิ ในเชิงสร้างสรรคจ์ ะ สอนใหจ้ นิ ตนาการเป็นภาพถึงความสําเรจ็ ท่บี รรลุวัตถปุ ระสงค์ ซึง่ เสมอื นการบอกใหร้ ่างกายและสมอง เตรียมการใหไ้ ดม้ าซ่งึ ความสาํ เรจ็ นัน้ 12.1.1.4 นักกฬี าทีป่ ระสบความสําเรจ็ มกั ถูกฝกึ ฝนใหจ้ นิ ตนาการใหเ้ หน็ ภาพความสําเรจ็ ของตน โดยเฉพาะในช่วงเวลากอ่ นการแขง่ ขนั ครง้ั สาํ คญั จะเรม่ิ ขน้ึ พวกเขาจะวาดภาพ ว่าเลน่ กีฬาไดย้ อดเย่ยี ม เพอื่ ปลกุ เร้าตัวเองใหร้ สู้ ึกถงึ การเป็นเจ้าสนาม 12.1.1.5 ความมหศั จรรยท์ างการแพทยท์ เ่ี กิดข้นึ เปน็ เคร่อื งพิสจู น์ อกี ประการหนง่ึ ถึงความวเิ ศษของจนิ ตนาการใหเ้ ปน็ ภาพ ผูป้ ่วยท่ีจนิ ตนาการวา่ ไดร้ ับการรกั ษาในขณะที่ กําลงั อย่ใู นสภาพผ่อนคลายระดบั ลกึ ปรากฏวา่ ความเจบ็ ไข้ไดป้ ่วยหายไป และความสมดุลของรา่ งกาย และสมองกลบั คนื มาอีกครง้ั หน่ึง 12.1.2 เรยี นรจู้ นิ ตนาการเป็นภาพ การเรยี นรสู้ รา้ งภาพขน้ึ ในใจโดยธรรมชาตนิ น่ั เราเรยี กว่า “จนิ ตนาการ ใหเ้ ป็นภาพ” ถ้าจะนําจนิ ตนาการใหเ้ ปน็ ภาพมาใช้ประโยชนใ์ นการเรียนรู้เพ่อื ให้สมองทํางานฉับไวและ เฉียบคม เราจาํ เป็นจะต้องได้รับการอบรมและฝึกฝน บางคนต่อต้านไม่ยอมปฏิบัติตาม เน่ืองจาก ผอ่ นคลายตนเองไมไ่ ด้ถึงระดบั พอทจ่ี ะทําใหเ้ กดิ กระบวนการขน้ึ ได้ บางคนอาจกลัวสญู เสยี การควบคมุ เมอื่ ปลอ่ ยใหใ้ จลอ่ งลอยไปหรอื ไม่กร็ สู้ กึ วา่ เปน็ เร่อื งทไี่ มถ่ ูกตอ้ งตามหลักศาสนาของตน การจินตนาการให้ เปน็ ภาพเป็นกจิ กรรมที่เกดิ ขน้ึ ขณะมสี ตสิ มบรู ณ์ เราสามารถขจดั ความกลวั และอาการต่อต้านไดเ้ มอ่ื ทราบวา่ ตวั เราเป็นผคู้ วบคมุ ใหเ้ กิดการผ่อนคลายรวมทงั้ สรา้ งจินตนาการให้เกิดภาพด้วยตนเอง สามารถ เรียนรวู้ ธิ จี ินตนาการใหเ้ กิดภาพ เพ่ือจะไดน้ าํ ไปสอนหรอื แนะนําผู้อ่นื ในกระบวนการ “ชักนําให้เกิด จนิ ตนาการ” ซง่ึ ทาํ ได้ดงั นี้ 12.1.2.1 ใหเ้ รม่ิ ด้วยท่าทส่ี บายและผอ่ นคลาย 12.1.2.2 หลับตาเพอ่ื ลดการบั รจู้ ากประสาทสมั ผสั

343 12.1.2.3 หายใจเข้าอย่างอ่อนโยนและหายใจออกเตม็ ที่ 12.1.2.4 ใหฟ้ งั คาํ พูดทีจ่ ดุ ประกายให้เกดิ ภาพทีด่ ี 12.1.2.5 ปลอ่ ยให้ภาพตา่ งๆ เปลยี่ นไปเองตามจนิ ตนาการ 12.1.2.6 รับรกู้ ารเคล่อื นไหว เสยี ง และภาพทเ่ี กดิ ขนึ้ ในใจ การจินตนาการให้เกดิ ภาพนี้ไมใ่ ช่การสะกดจิตหรอื ส่ังจติ แตอ่ ย่างใด สามารถควบคมุ ความคิดและภาพต่างๆ ขึ้นในใจเองได้ ภาพทเ่ี กิดข้นึ นนั้ ไมม่ ีอะไรผิดหรอื ถกู แตอ่ ยา่ งใด แมว้ ่าจะปฏบิ ตั ติ ามคําสง่ั เดยี วกนั แตล่ ะคนมสี มองทมี่ ลี ักษณะเฉพาะตัว และภาพที่ปรากฏกจ็ ะแตกตา่ ง กัน ประเดน็ ทส่ี าํ คญั คอื ใหร้ วู้ ่าภาพเหล่านี้ สามารถเกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งงา่ ยดาย และใหร้ ้ถู งึ วิธีการที่จะนํา ทักษะนมี้ าใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ในการเรยี นรู้เพอ่ื ใหส้ มองมคี วามฉบั ไวและเฉยี บคม 12.2 ผลกระทบที่มีตอ่ ความตงึ เครียดของร่างกายและสมอง ผลกระทบที่มีต่อความตึงเครียดของร่างกายและสมอง จะเป็นอุปสรรคต่อ การเรยี นรแู้ ละกระบวนการผอ่ นคลายจะสามารถชว่ ยเหลอื และเอาชนะอปุ สรรคนไี้ ด้ อาจเป็นไปได้วา่ ผลกระทบท่มี มี ากทสี่ ดุ ตอ่ การวิธีการเรียนของบุคคล จากความเช่อื ที่ว่า “ใหพ้ ยายามมากกว่าน”้ี ซึ่งเปน็ วิธเี ดียวท่ที ําใหผ้ ลการเรียนดีขนึ้ ได้ แต่บทเรยี นที่เราได้จากการศกึ ษาเร่ืองราวต่างๆ ของผทู้ ี่ความเปน็ เลิศทางปัญญากลับพบว่า ผลการป้อนเข้าและการนําออก คือ การจําและการใช้ความจําจะมี ประสทิ ธิภาพสงู สดุ เมอ่ื บคุ คลน้ันๆ อยใู่ นสภาพทีผ่ อ่ นคลายความรตู้ า่ งๆ ทเ่ี ราเกีย่ วกบั สมองในตอนนี้ สามารถอธิบายสิง่ ทเี่ ป็นความขดั แยง้ นไ้ี ด้ตอ่ ไปนี้ 12.2.1 “พยายามใหห้ นักข้ึน” เหมอื นวา่ เปน็ การใชส้ มองซีกซา้ ยทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การใช้เหตผุ ล และการมงุ่ ความสนใจในรายละเอยี ด จะปดิ กั้นการทํางานเชือ่ มโยงกบั สมองซกี ขวา จนไม่ สามารถประมวลและเก็บข้อมลู ด้วยการทํางานของสมองท้ังสองซกี 12.2.2 “ขยนั ใหม้ ากขนึ้ ” ทําใหเ้ กดิ อาการตงึ เครยี ดกบั สว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย ซงึ่ ลดปริมาณการไหลเวียนของเลอื ดในบริเวณคอรเ์ ท็กซ์ ผลกค็ อื ทําใหป้ รมิ าณของออกซเิ จนและ พลังงานทส่ี มองควรจะไดร้ บั มนี ้อยและทาํ ใหส้ มองทาํ งานได้ไมเ่ ตม็ ที่ 12.2.3 การบีบคนั้ และความหวาดกลวั ทําใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองโดยอัตโนมัติ ว่า ให้เราหนหี รือสู้ ซึง่ เป็นสงิ่ สาํ คญั สําหรับสญั ชาตญาณการอยูร่ อดในสถานการณค์ กุ คาม แตก่ ลับเป็น การขดั ขวางกระบวนการเกดิ ความคดิ ทใี่ ชส้ ตปิ ญั ญาและเปน็ ขอ้ จาํ กัดต่อความจาํ ในการรบั ข้อมลู และ เรียกกลับมาใชง้ าน 12.1.4 อาการวิตกกงั วลแบบตา่ งๆ เชน่ ตืน่ กลวั เกนิ เหตุ กลัวลนลานจนคมุ ตวั เองไมไ่ ด้และกลัวสุดขดี จนสติแตก ทําใหเ้ กิดภาวะชะงักงนั ในการคิดอย่างสมเหตสุ มผล คือ กลไล การป้องกันตัวซึง่ สงั่ การจากสมองโดยอัตโนมตั ิ เพอื่ รกั ษากลไกต่างๆ ที่ทาํ งานโดยอัตโนมัติของท้งั สมอง และร่างกายใหอ้ ยใู่ นสภาพใชก้ ารได้ แม้กระท่ังในกรณเี กดิ อาการชอ็ กหรอื เกดิ ความผิดปกตอิ ย่างรุนแรง

344 ส่วนท่ที าํ หน้าที่สาํ คญั ๆ ของสมองก็ต้องปดิ สวิตซก์ ารทาํ งานเช่นกนั 13. สมองกบั สารอาหาร สารอาหารทค่ี รบถว้ นทั้งโปรตนี คาร์โบไฮเดรต ไขมนั วิตามนิ และเกลอื แร่ มสี ว่ น บํารงุ สมองท้งั ส้นิ จึงไม่ควรขาดสารอาหารใดเลย โดยเฉพาะชว่ งที่มกี ารสร้างเซลลส์ มองขณะทารกอยู่ ในครรภแ์ ละการสรา้ งเครอื ขา่ ยสายใยสมองเมอ่ื ทารกอยนู่ อกครรภ์ นมแมใ่ หส้ ารอาหารเหลา่ นคี้ รบถว้ น โดยท่แี ม่ต้องกินอาหารครบทกุ หมูเ่ ช่นกัน แต่มสี ารอาหารบางอย่างท่ขี าดไมเ่ พียงพอ เมอ่ื ลกู ตัวโตขึ้น และลกู เรม่ิ กนิ อาหารเสรมิ โดยท่ีนํา้ นมแม่ เร่ิมมีจาํ นวนไม่เพยี งพอตอ่ ความต้องการของลูก ควรไดร้ บั สารอาหาร ดังตอ่ ไปนี้ 13.1 พลงั งานจากอาหารทีเ่ พยี งพอ พลังงานจากอาหารสว่ นใหญจ่ ะได้มาจากอาหาร จําพวกแปง้ และไขมนั เม่อื จาํ นวนพลังงานท่ไี ด้จากอาหารไม่เพยี งพอ การสร้างเซลลแ์ ละเนอื้ เยอื่ ต่างๆ จะเป็นไปไดช้ ้าเซลลส์ มองก็เชน่ กันกจ็ ะถูกกระทบ จะทําใหจ้ าํ นวนเซลลส์ มองน้อยลงและสายใยประสาท มีการสรา้ งทไี่ มต่ ่อเนอื่ ง 13.2 ธาตุเหลก็ ในนาํ้ นมแม่มีจํานวนธาตเุ หล็กพอดี แต่ไม่มากพอจะใหส้ ะสม เมือ่ ลกู โตขึ้นราวอายุ 6-8 เดือน จํานวนธาตุเหลก็ ในนมจะไม่เพยี งพอ อาหารทเี่ ริม่ ใหล้ ูกมาต้ังแต่อายุ 4 เดือน จึงควรเตมิ อาหารทม่ี เี หลก็ มาก เชน่ ตบั หรือไข่ การขาดธาตเุ หลก็ จะพบมากในเดก็ ก่อนวัยเรียน และชว่ ง วยั เรยี นมีการศึกษามากมายพบว่า การขาดเหล็กทําใหค้ วามจาํ และสมาธขิ องเด็กดอ้ ยลง 13.3 DHA จากปลาช่วยบาํ รุงสมอง ความสมั พันธ์ระหว่างปลากับสมองไดถ้ ูกนําไป ศึกษากันมากโดยเฉพาะประเทศญ่ปี ุ่น ในชว่ งปลายปที ่ีผ่านมา ได้มงี านวิจยั ซึ่งแสดงผลอยา่ งชัดเจนว่า สาร DHA หรอื กรด decosapentaenoicacid ในนํา้ มนั ปลามสี ว่ นสําคญั ในการพฒั นาสมอง โดยเฉพาะ ด้านความจาํ และการเรยี นรทู้ ั้งนี้เช่ือว่าสาร DHA ผา่ นเข้าไปในสมองและเสริมสร้างการเจรญิ เติบโต ของปลายประสาทที่เรียกว่า “เดนไดรต”์ ซึ่งจะทาํ หน้าทถี่ ่ายทอดสญั ญาณ และผ่านข้อมลู ระหว่าง เซลล์สมองด้วยกัน ทาํ ให้เกิดความจําและการเรยี นรสู้ าร DHA มมี ากในปลาทะเล เช่น ปลาทูนา่ ปลาทู ปลาโอลาย ฯลฯ การบรโิ ภคปลาทะเลประมาณ 30 กรัม ต่อวนั และ2-3 คร้ังต่อสปั ดาห์ จะสามารถ เพม่ิ กรดไขมันจําเป็นโอเมก้า 3 ในอาหารไดส้ งู ถงึ 0.2-5.0 กรมั ตอ่ วัน ซง่ึ หมายถงึ ไดร้ ับสาร DHA สงู ขึ้นด้วย เนือ่ งจากมมี ากในกรดไขมนั ดงั กล่าวสาํ หรบั ในประเทศไทย ปลาทะเลทพ่ี บว่ามกี รดไขมัน ชนดิ โอเมก้า 3 ปรมิ าณสูงได้แก่ ปลาทู ปลาอีกา ปลากะพง ปลาตาเดยี ว จึงควรเติมเน้ือปลาทะเลใน อาหารเสริมในบางมื้อของลกู เมื่ออายไุ ด้ 6 เดอื น

345 13.4 วิตามนิ เอ วิตามินนี้ชว่ ยสร้างเซลล์เยือ่ บุต่างๆ ทว่ั ทง้ั รา่ งกายรวมท้งั ช่วยทําให้ เซลล์ประสาทตาทํางานได้เต็มท่ี การขาดวิตามนิ นี้จะมผี ล ทาํ ให้ติดเชือ้ โรคทางระบบทางเดนิ หายใจ และระบบทางเดนิ อาหารได้ง่าย ซึ่งจะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลทางตรงหรอื ทางอ้อมตอ่ การพฒั นาของสมองได้ วิตามินน้ี สามารถสร้างจากสารคาร์โรทนี ซง่ึ จะพบมากในผักท่มี สี ีเหลือหรอื สแี ดง เชน่ ฟกั ทอง แครอท เปน็ ตน้ การทานแคโรทนี มากก็ไมม่ ีผลข้างเคยี งเพียงแต่จะทาํ ให้ผวิ หนงั โดยท่วั ไปจะเปน็ สเี หลอื งเมื่อ พบอาการเชน่ นี้ กค็ วรทานใหห้ า่ งข้ึน เนอื่ งจากฟักทองเป็นอาหารไทย ท่ีหางา่ ยราคาถกู และมีรสหวาน ในตวั จงึ นํามาผสมข้าวเป็นสว่ นอาหารเสรมิ ของลกู ได้ดีตงั้ แต่อายุ 4-5 เดอื น 13.5 เกลอื แรแ่ ละวติ ามินอน่ื กลุ่มวติ ามนิ บี ได้แก่ วติ ามนิ บี 1, วิตามินบี 2, ไนอะซนี ไพริดอกซีนและบี 12 มสี ่วนช่วยในการทาํ งานของเซลล์ ในการเปล่ียนนาํ้ ตาลกลโู คสใหเ้ ปน็ พลังงาน การขาดวิตามินกลมุ่ นีจ้ งึ มีผลใหเ้ ซลลท์ ว่ั รา่ งกายและเซลลส์ มองมกี ารทาํ งานลดลง เช่อื งชา้ จะกระทบ ตอ่ การเรียนรู้ แร่ธาตุอ่นื เช่น เหล็ก ทองแดง แมกซีเนยี ม ฟอสฟอรัส ไอโอดนี และอ่ืนๆ มผี ลต่อ การทํางานของเซลลส์ มองเช่นกนั ซง่ึ วิตามินและเกลือแรเ่ หล่าน้ี พบมากในกลมุ่ อาหารเน้อื สตั ว์ จึงควร หมัน่ เตมิ เน้อื สตั ว์ เชน่ ปลา ไก่ หมู หรืออาหารทะเลในอาหารเสรมิ ของลกู เม่ืออายุ 5 เดือน 13.5 โคลนี เปน็ สารทพี่ บมากในนมแม่ ผกั ตระกลู กะหลา่ํ ข้าวสาลี เปน็ สว่ นสาํ คญั ใน การพฒั นาสตปิ ญั ญาของทารก ตัง้ แต่อยใู่ นครรภม์ ารดาจนกระทงั่ ถึง 5 ขวบ ทาํ หนา้ ทคี่ ลา้ ยๆกับ DHA แต่โดยส่วนมากทีส่ ามารถไปยับยัง้ การเกดิ อนุมูลอสิ ระทอี่ าจจะทาํ ลายเซลลส์ มองไดอ้ กี ด้วย ดงั นั้น ทารกควรกนิ นมแม่หรอื ได้รับการเสรมิ โคลนี จากแหล่งอน่ื ๆ เพอ่ื จะได้มสี ตปิ ญั ญาทีด่ ี 14. สมองกับกจิ กรรมในแต่ละช่วงเวลา สมองกับกจิ กรรมในแตล่ ะช่วงเวลา มีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Physical 5 ตลุ าคม 2559) พวกทํางานเช้า 05.30 น. ตนื่ นอน หลังจากนั้นครึง่ ช่ัวโมงแรกคุณจะไมค่ อ่ ยมีสมาธิตอ่ สง่ิ ตา่ งๆ ทจี่ ะต้องทํานัก 6.00 น. หลงั จากต่นื นอนสักหน่งึ ชั่วโมงจะเป็นชว่ งเวลาท่ีดี 8.00 น. สมองตื่นตัวเต็มที่ พร้อมสาํ หรับการทาํ งานได้อย่างเต็ม ประสทิ ธภิ าพถอื เป็นชว่ งที่ตอ้ งใชค้ วามสามารถของสมองในการคดิ วเิ คราะหแ์ ก้ปญั หาต่างๆ อย่างสูงสดุ เร่มิ ตั้งแต่ 8.00 น. ไปจนถึง 12.30 น. เม่อื เลยช่วงนไี้ ป คุณเองคงจะรสู้ กึ อ่อนลา้ เครยี ด และไมม่ ี สมาธิในการทาํ งานหรือในการตัดสินใจทาํ สิง่ ต่างๆ ได้

346 14.30 น. หลังจากผ่านช่วงแย่ๆ ของวันไปได้ คุณก็จะสามารถดึง ความสามารถของสมองของคณุ ในการแก้ปัญหาได้อยา่ งดีอกี คร้งั เชน่ เดยี วกบั ตอน 8.00 น. และหลงั จาก ภาระในการแก้ปญั หาการทาํ งานของคุณผ่านไป 16.30 น. คณุ จะกลบั มาสดชน่ื และแจม่ ใสขนึ้ อีกครัง้ เมอื่ ไดผ้ ่อนคลายจาก ความเครียดและการทาํ งาน เปน็ ช่วงเวลาของการพกั ผอ่ นสมองจะทาํ งานในเชงิ ศลิ ปะ การอ่านได้เป็น อย่างดี และเมื่อถึงชว่ งเวลา 20.00 น. หากคณุ ยังไมเ่ ข้านอนในเวลานจ้ี ะเปน็ อีกช่วงหน่ึงท่ีคุณจะอ่อนลา้ และเหน่ือยอ่อนอีกครง้ั เพราะร่างกายของคุณเรียกร้องการพักผ่อนและคณุ จะเหนือ่ ยออ่ นไปจนกระทงั่ คุณเข้านอนพักผ่อนเพื่อตนื่ ข้ึนมาเริม่ ตน้ กับกจิ วัตรประจาํ วันของคณุ อกี ครง้ั หนงึ่ พวกชอบต่นื สาย คราวน้ลี องมาดูคนท่ีตนื่ สายข้ึนอีกนิดบา้ ง คุณจะมชี ว่ งเวลาแย่ๆ หลังตน่ื นอน หากคณุ ตน่ื นอนประมาณแปดโมงเช้าสมองของคุณทํางานเชน่ น้ี 8.00 น. ตน่ื นอนตอนแปดโมง เพ่ือที่จะพบว่าช่วง 2 ช่ัวโมงแรกของ การต่ืนนอนจะเป็นช่วงท่ีคุณไม่อยากทําอะไร หงุดหงิดและไม่มีสมาธิ จนกว่าจะผ่านช่วงนี้ไป จนกระท่งั สมองของคณุ เริม่ ต้นทาํ งานในช่วงเวลาหลังสบิ โมงเช้า 10.00 น. สมองเรมิ่ จะตนื่ ตวั เร่ิมทาํ งานไดอ้ ยา่ งเต็มที่ และทาํ งานได้ อยา่ งเต็มท่ีไปจนกระทัว่ ถงึ 13.00 น. 13.00 น. ช่วงเวลาแหง่ ความอ่อนลา้ ของทง้ั คณุ และสมองของคณุ จน การแกป้ ญั หาหรือสมาธติ า่ งๆ ลดลง ซ่ึงชว่ งนจ้ี ะอยกู่ บั คุณไปราวๆ 2 ชว่ั โมง 15.00 น. คณุ จะรสู้ กึ ตนื่ ตวั ขน้ึ สมองจะสามารถใชค้ วามสามารถใน ทางด้านศิลปะ การอ่าน ดนตรี ไปจนกระทง่ั ถึงเย็น 18.00 น. หลงั จากชว่ งเวลานไี้ ปแลว้ จะเป็นชว่ งเวลาของสมองซกี ขวา ที่ จะสามารถใชแ้ กป้ ัญหาต่างๆ ได้ และชว่ งเวลาน้ีจะยาวนานไปจนกระทงั่ ดึก 23.00 น. จะเปน็ ช่วงท่รี า่ งกายเรยี กรอ้ งการพักผอ่ นอีกครัง้ เพือ่ ใหส้ มอง ได้พกั ผอ่ นหลงั จากใช้งานอยา่ งหนักมาทงั้ วนั ด้วย สมองของเราจะทํางานได้ดีเปน็ ช่วงๆ เวลา และมีชว่ งเวลาที่แตกต่างกันออกไป สามารถทํางานได้อย่างเตม็ ประสทิ ธิภาพ สมองของเราไดพ้ ฒั นาจากอาหารการกนิ พันธุกรรมหรือ ส่ิงแวดลอ้ มตา่ งๆ แล้วอีกประการหนึง่ ท่ีสําคญั คือ การได้มโี อกาสใช้อยูเ่ สมอ เพราะการใช้สมองใน การคดิ ส่ิงตา่ งๆท่สี ร้างสรรคอ์ ยเู่ สมอ จะสง่ ผลใหส้ มองมีการพัฒนาไดเ้ พิม่ ข้นึ ท้งั น้เี ปน็ เพราะเรามี การฝึกฝนและสมองเกดิ การเรยี นรแู้ ละจดจาํ เกบ็ ไว้เปน็ ประสบการณ์ในการแก้ปญั หาในครัง้ ต่อๆไป

347 สรปุ บทท่ี 4 ระบบประสาทของมนุษยเ์ ปรียบไดก้ บั ระบบชมุ สายโทรศัพท์ เครือข่ายสามารถติดต่อ รบั และส่งขา่ วสาร ส่ังการได้ตลอดเวลา ระบบประสาทประกอบดว้ ยไขสันหลงั ทําหนา้ ท่ีการถ่ายทอด กระแสประสาท ศูนย์กลางของปฏกิ ิรยิ ารเี ฟล็กซ์ และสมอง แบง่ ออกเป็นสามสว่ น ไดแ้ ก่ สว่ นหน้า ส่วนกลาง และสว่ นหลัง การทํางานของสมอง ตั้งแต่ระดับเซลล์ประสาทจนถึงหน้าท่ีต่างๆ ของ สมอง การทาํ งานของเซลลป์ ระสาทซึ่งมอี ยู่ 1 แสนลา้ นเซลล์ ใชร้ ะบบสารเคมีทาํ ใหเ้ กดิ กระแสไฟฟ้า เซลลป์ ระสาทตวั ท่หี นึ่งอาจจะกระตนุ้ การทํางานของเซลล์ประสาทตัวทสี่ องและเซลล์ประสาทตวั ที่ สาม อาจจะยับยงั้ การทํางานของเซลล์ประสาทตวั ที่สอง ผลลพั ทร์ ะหว่างการกระต้นุ และการยบั ย้ังจะ สัง่ ใหเ้ ซลลป์ ระสาททาํ งาน ซง่ึ จะเป็นการกระตุ้นหรือยับยงั้ กไ็ ด้ พฒั นาการสมอง ในครรภม์ ารดาจะมี การเพิ่มขึน้ ของเซลลร์ ะบบประสาทสมองถงึ 200,000-300,000 เซลล์ โดยววิ ฒั นาการของสมอง เริม่ จากสมองส่วนแรก อารเ์ บรน (R-brian) หรือเรปทิเลียนเบรน (Reptilian brain) แปลว่า มาจาก สตั วเ์ ลือ้ ยคลานหรือสมองสัตวช์ น้ั ต่ํา สมองสว่ นทส่ี องเรียกว่า “ลมิ บกิ เบรน” (Limbic brain) หรอื โอลด์แมมมาเลยี นเบรน (Old Mammalian brain) คอื สมองของสัตวเ์ ลีย้ งลูกดว้ ยนม สมองส่วนท่ี สามเรียกว่า “นิวแมมมาเลียนเบรน” (New Mammalian brain) หรือสมองของสัตวเ์ ลย้ี งลูกด้วย นมสมยั ใหม่ เส้นประสาททอ่ี อกมาจากสมองมที ้งั หมด 12 คู่ เส้นประสาทเหล่านี้ จะไปยังอวัยวะรับ ความรู้สึก กล้ามเนื้อและต่อมท่ีอยู่ในบริเวณศีรษะ บรเิ วณอ่นื ๆในสมอง เช่น ตอ่ มใต้สมอง ต่อม ไพเนียล เป็นตน้ ประสาทรับความรู้สกึ ประกอบดว้ ย Prefrontal Cortex และ Brodmann Area นอกจากนี้ยังมีสารส่ือประสาท ได้แก่ อะเซทีลคลอรนี (Acetylcholine) โดปามีน (Dopamine) นอรอ์ ีพเี นฟรีน (Norepinephrine) เซโรโตนิน (Serotonin) กรดอะมโิ นหลายชนิดอย่าง เชน่ ไกลซีน (Glycine) กลตู ามคิ แอซิด (Glutamic acid) แกมมา-อะมโิ นบิวทรี ิค แอซดิ (γ-aminobutyric acid) เปน็ ต้น การสร้างและการทาํ งานของสารส่ือประสาท อนั ได้แก่ การสังเคราะห์และการเก็บสารส่ือ ประสาท กระบวนการหล่งั สารส่ือประสาท และกระบวนการกําจัดสารสอื่ ประสาท การทํางานของสารเคมใี นสมอง ได้แก่ กลมุ่ กระตุน้ สมอง เชน่ โดปามีน (Dopamine) เซโรโตนนิ (Serotonin) อะเซทิลโคลีน (Acetylcholine) และเอนดอร์ฟนิ (Endophin) กลมุ่ กด การทาํ งานของสมอง เช่น คอรตซิ อล (Cortisol) จากการอธบิ าย 1) ระบบประสาทส่วนกลาง อนั ประกอบด้วย ไขสนั หลงั และสมอง พฒั นาการของสมอง สว่ นประกอบของสมอง ประสาทรบั ความรู้สึกและสารส่ือประสาท 2) ระบบประสาทอิสระ ซึ่งประกอบด้วย ระบบซิมพาเตติค (Sympathetic Nervous System) และระบบพาราซิมพาเตติค (Parasympathetic Nervous

348 System) จากการเรยี นรเู้ ร่ืองระบบประสาททาํ ใหเ้ ขา้ ใจรายละเอยี ดมากย่งิ ขนึ้ เพ่อื ความสอดคลอ้ ง ในการที่ใชส้ มองไปในการฝึกสมอง เรมิ่ ต้นจากการยคุ ของความหลากหลายทางสมอง ไดแ้ ก่ ยคุ แหง่ ความลน้ หลามทางวัตถุ ความร่งุ เรืองของเอเชยี และเทคโนโลยี หน้าทขี่ องสมองซกี ซา้ ย อธบิ ายไวว้ ่า การทาํ งานในสายของวชิ าทางวิทยาศาสตร์ เช่น การคิดในทางเดียว การคดิ วิเคราะห์ การใช้ตรรกศาสตร์ และการใช้เหตผุ ลเชงิ คณิตศาสตร์ การใช้ภาษาสมองซกี ขวา เชน่ การคิดสร้างสรรค์ การคดิ แบบ เสน้ ขนาน การคดิ สังเคราะห์ การเหน็ เชิงมิติ การเคลื่อนไหวของรา่ งกาย ความรัก ความเมตตารวมถงึ สัญชาติญาณและลางสังหรณต์ า่ งๆ และแนะนาํ เก่ียวกบั คล่ืนสมอง ไดแ้ ก่ คลนื่ เบตา คลื่นอัลฟา คล่นื ธตี า และคล่ืนเดลตา เปน็ ตน้ กจิ กรรมการปดิ สวิตชข์ องสมอง ไดแ้ ก่ การขาดออกซิเจน นํ้า และพลงั งาน ผลกระทบ จากความเครียด เสียงจากสภาพแวดลอ้ ม สนามแมเ่ หล็ก การออกกาํ ลังกายหนักหน่วง แสงสวา่ งจาก ไฟฟา้ เป็นต้น กจิ กรรมการเปดิ สวิตช์ของสมอง ได้แก่ ด่มื นาํ้ รบั ประทานอาหารทบี่ ํารุงสมอง พกั ผอ่ น หายใจให้อากาศบริสทุ ธ์ิ ฟังดนตรี ผ่อนคลายหรือนัง่ สมาธิ ออกกําลงั กายแบบแอโรบกิ เป็นตน้ การพฒั นาสมอง ดว้ ย Brain Gym ได้แก่ การเคล่อื นไหวสลับขา้ ง การยืดส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย การเคล่อื นไหวเพอ่ื กระตุน้ และท่าบรหิ ารรา่ งกายงา่ ยๆ อกี อยา่ งในการฝกึ สมอง นนั่ คอื การบริหารสมอง (brain activation) ได้แก่ การบริหารปุ่มสมอง การเคล่ือนไหวสลับขา้ ง และการผ่อนคลาย เป็นตน้ การเรยี นรู้สมองกับความจาํ รปู แบบของความจาํ กระบวนการของข้อมูลใน 3 ระยะ ไดแ้ ก่ ความจําการรบั สมั ผสั ความจําระยะส้ัน และความจําระยะยาว สมองกับความฉลาดและ ความคดิ สมองส่วนใดสว่ นหน่ึงหรอื จดุ ใดจดุ หนง่ึ มหี น้าทเี่ กี่ยวกับความฉลาดและความคิด เชือ่ ว่า สมอง สว่ นใหมท่ ่ีเรียกว่า “นโี อคอรเ์ ท็กซ”์ มหี น้าทเ่ี กย่ี วกบั ความฉลาดและความคดิ ความฉลาด (Intelligence) เปน็ สง่ิ ท่ีเราใชใ้ นการตัดสินใจเรื่องตา่ งๆ หรอื เปน็ สิง่ ทมี่ าจากสมองและความรู้สกึ นึกคิด ถ้าสมองย่ิง สลับซับซ้อนมากและพัฒนาได้สมบูรณ์ สมองจะมีความสามารถท่ีจะเรียนรู้และมีประสบการณ์ มากขนึ้ ขณะเดียวกันกเ็ ก็บข้อมูลใสก่ ลบั เข้าไปในสมอง ทาํ ใหส้ มองมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ประสบการณ์ท่เี ราได้มานน้ั ทําใหพ้ ฤตกิ รรมการตอบสนองของเราต่อส่ิงแวดลอ้ มเปลี่ยนแปลงไปดว้ ย สมองกบั น้ํา การดม่ื นํา้ จงึ เป็นวธิ กี ารท่ีรวดเรว็ และง่ายตอ่ การเพิม่ การไหลเวยี นของพลงั งานในร่างกาย และสมองโดยทนั ที แล้วยงั ทาํ ใหส้ มองเกดิ ความคดิ โลดแล่น สมองกบั การหายใจ การหายใจแบบเป่า ลกู โป่งเพื่อให้สมองแข็งแรง การหายใจทีด่ นี นั้ ควรจะเห็นซ่โี ครงชว่ งลา่ งขยายออกและขยับขน้ึ ใน ขณะทีห่ ายใจ ซีโ่ ครงหดเข้าและขยบั เขยอื้ นลงล่างเมอื่ หายใจออก ไหลท่ ้ังสองผ่อนคลายเกือบจะไม่ ขยับเขยอ้ื นเลย การฝึกหายใจแบบเปา่ ลูกโปง่ บอ่ ยๆ จะชว่ ยใหผ้ ่อนคลายได้ดี การหายใจออกยาวๆ เพ่อื ให้สมองทาํ งานดีขนึ้ เพื่อใหส้ มองไดร้ ับออกซเิ จนมากขึ้น สมองกับดนตรี ดนตรบี างประเภททําให้ เกดิ สภาวะผอ่ นคลายท่ีลึกมาก เพลงท่ีมีจังหวะเข้ากบั การเตน้ ของหวั ใจ จังหวะทปี่ ระสานสอดคลอ้ ง

349 ระหวา่ งสมองกบั ดนตรี ดนตรที เี่ หมาะตอ่ การทํางาน ดนตรีท่ีมีวัตถุประสงค์พิเศษ การบรรยายคลอ เสยี งดนตรี และเลอื กดนตรใี หเ้ หมาะตอ่ การทาํ งานและการเรียนรู้ เปน็ ตน้ สมองกบั การผ่อนคลาย ได้แก่ จนิ ตนาการใหเ้ หน็ เป็นภาพ เรียนรูท้ จี่ ะจินตนาการเปน็ ภาพ ผลกระทบทมี่ ีตอ่ ความตึงเครยี ดของ รา่ งกายและสมอง เชน่ พยายามใหห้ นกั ขน้ึ , ขยันใหม้ ากขนึ้ , การบบี ค้นั และความหวาดกลวั ,อาการวติ ก กังวลแบบตา่ งๆ เช่น ตื่นกลวั เกนิ เหตุ กลวั ลนลานจนคมุ ตวั เองไมไ่ ด้ และกลัวสุดขีดจนสติแตก เป็นต้น สิ่งทจี่ ะช่วยใหส้ มองเกดิ การพฒั นา คือ สมองกับสารอาหาร ควรได้รบั สารอาหารดงั ต่อไปนี้ พลังงาน จากอาหารท่เี พยี งพอ ธาตุเหล็ก DHA จากปลาวิตามนิ เอ เกลอื แร่และวติ ามนิ อน่ื ๆ และโคลนี สมอง กับกจิ กรรมในแต่ละช่วงเวลาพบว่า สมองของเราจะทาํ งานไดด้ ีเปน็ ชว่ งเวลาท่ีแตกต่างกันออกไปตาม เวลาและความเคยชินของแต่ละบุคคลซ่ึงสมอง ไม่ว่าจะเป็นซีกซ้ายหรือซีกขวาต่างกม็ ชี ่วงเวลาที่ จะสามารถทํางานได้อย่างเต็มประสิทธภิ าพสูงสดุ ต่างกัน สมองของเราจะมกี ารพฒั นาจากอาหารการกิน พันธกุ รรมหรือส่งิ แวดลอ้ มตา่ งๆ แล้ว อีกประการหนึ่งท่ีสาํ คัญคือ การได้มีโอกาสใช้อยู่เสมอ เพราะการใช้สมองในการคิดส่ิงต่างๆ ที่ สร้างสรรคอ์ ย่เู สมอจะสง่ ผลใหส้ มองมีการพฒั นาไดเ้ พมิ่ ขน้ึ ท้ังนี้เปน็ เพราะเรามีการฝึกฝนและสมอง เกิดการเรียนรแู้ ละจดจําเกบ็ ไวเ้ ปน็ ประสบการณ์ในการแกป้ ัญหาในครง้ั ตอ่ ๆไป

350 คําถามท้ายบทที่ 4 1. จงอธบิ ายส่วนประกอบของเซลลป์ ระสาท 2. ระบบประสาทสว่ นกลาง ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง อธบิ าย 3. จงอธบิ ายปฏิกริ ิยารรเี ฟลก็ ซ์ 3. จงอธบิ ายการทํางานของไซแนปส์ 4. จงอธบิ ายการทํางานของสมองซีกซ้ายและสมองซีกขวา 5. Glial cells หมายถงึ อะไร 6. จงอธบิ ายวิวฒั นาการของสมอง 7. ซรี ีบรมั มีหน้าที่อยา่ งไร 8. เสน้ ประสาทของสมอง มกี ่ีคู่ ทาํ หนา้ ทอี่ ะไรบ้าง 9. สารส่ือประสาทกลุ่มกระตุ้นสมอมีอะไรบ้าง อธิบาย 10. สารสอื่ ประสาทกลุ่มกดการทาํ งานของสมองมีอะไรบ้าง อธบิ าย 11. จงอธบิ ายการสร้างและการทาํ งานของสารสอื่ ประสาท 12. จงยกตวั อย่างการพฒั นาสมอง ดว้ ย Brain Gym 13. จงยกตวั อย่างบริหารสมอง brain activation 14. นักศกึ ษาสาํ รวจอย่างงา่ ยเกีย่ วกบั ความถนัดในการใชป้ ระสาทสมั ผสั เพอื่ การเรยี นรู้ ให้ เลอื กระหวา่ งคําตอบ (V) (A) (K) ทเ่ี หน็ ว่าเหมาะกบั ตวั เองท่ีสดุ (ดษุ ฎี บรพิ ตั ร ณ อยุธยา) 14.1 คุณชอบการพกั ผอ่ นแบบใด (V) อา่ นหนังสอื ดโู ทรทัศน์ หรอื วิดีโอ (A) สนทนากบั ผูอ้ ืน่ หรอื ฟังอะไรสักอยา่ ง (K) ทํากิจกรรมหรือเล่นกฬี า 14.2 เม่อื มใี ครถามเส้นทาง คณุ จะอธบิ ายอยา่ งไร (A) บอกเขาวา่ จะต้องไปทางไหน อยา่ งไร (V) อธบิ ายดว้ ยแผนที่ (K) ใช้มอื ประกอบการอธิบาย

351 14.3 คุณร้สู กึ เสยี สมาธิมากทสี่ ดุ เมอื่ ใด (K) มคี นหรือสงิ่ ของวุ่นวายอยู่รอบตวั (V) เห็นของทไี่ มช่ อบใจ (A) มีเสยี งดงั อึกทึก 14.4 เม่ืออยูค่ นเดยี ว คณุ ชอบทจี่ ะทําอะไร (K) ทาํ กจิ กรรมสกั อย่าง ไมอ่ ยู่น่งิ เฉย (V) พดู โทรศพั ทห์ รอื ฟังวทิ ยุ (A) อ่านหนังสอื ดูโทรทศั น์ หรอื วีดีโอ 14.5 คณุ มกั แกป้ ญั หาดว้ ยวิธงี า่ ยๆ คอื (A) พูดหารือถึงหนทางแกป้ ญั หาท่เี ป็นไปได้ (K) การลงมือแกไ้ ขโดยใชป้ ระสบการณ์ (V) รา่ งภาพเพื่อหาทางออกที่เป็นไปได้ 14.6 ระหวา่ งยืนรอเขา้ ควิ คุณมักจะทําอะไรบา้ ง (A) พดู หารือถงึ หนทางแก้ปญั หาทเ่ี ปน็ ไปได้ (K) ดผู คู้ นหรือชมทวิ ทศั น์ (V) พูดกับตัวเองหรอื กบั ผ้อู ่ืน 14.7 คณุ แสดงความเหน็ ใจหรอื เสยี ใจกบั ผอู้ น่ื อยา่ งไร (V) เลอื กการ์ดเพ่อื สง่ ข้อความไปให้ (A) โทรศัพท์ไปหา (K) ไปพบดว้ ยตนเอง 14.8 คุณพยายามสะกดคาํ ศพั ท์ยากๆ ด้วยวิธีใด (A) อา่ นออกเสียง (K) เขียนแล้วใชค้ วามรสู้ ึกบอกว่าผิดหรอื ถูก (V) เขียนแล้วใช้สายตาดวู ่าผิดหรือถูก 14.9 คณุ อยากใหผ้ ลงานตวั เองเป็นอย่างไร (V) ดูแลว้ เหน็ ว่าถกู ตอ้ ง (A) ฟงั แลว้ ถูกตอ้ ง (K) รู้สึกว่าถกู ตอ้ ง

352 14.10 ในชั้นเรียนคุณชอบทาํ อย่างไร (A) ฟังการบรรยายและแลกเปลีย่ นข้อคิดเหน็ (K) ทําการทดลองและมกี ิจกรรม (V) ดแู ผนภมู ิ ภาพ วิดโี อ 14.11 คําถามทีค่ ณุ มักใช้บ่อยๆ (K) คุณเขา้ ใจความคิดของผมไหม (V) คุณเหน็ แลว้ หรือยังวา่ ผมหมายถงึ อะไร (A) คณุ ไดย้ ินสงิ่ ท่ผี มพดู หรอื ไม่ 14.12 เมือ่ เรยี นรูบ้ ทกวี คุณจะมีวิธีอยา่ งไร (V) อา่ นซํา้ หลายๆครั้ง (K) เคล่อื นไหวไปมาเพอ่ื จบั จังหวะของบทกวี (A) อา่ นออกมาดงั ๆ 14.13 คณุ สังเกตว่าผอู้ ืน่ กําลังอยูใ่ นอารมณต์ า่ งๆ ได้อยา่ งไร (V) ดูสหี นา้ แววตา (A) ฟงั น้าํ เสยี ง (K) สังเกตทาทาง 14.14 คณุ ชอบอารมณ์ขันประเภทใด (A) นกั แสดงตลกท่ีพูดเก่ง (K) การแสดงตลกทอ่ี อกท่าทาง (V) เรอื่ งเบาสมองหรือการ์ตูนท่ีมีสีสัน 14.15 กิจกรรมทคี่ ุณจะให้เวลามากทีส่ ดุ ในงานเลี้ยงสังสรรค์ (K) เดนิ ไปเรอื่ ยๆ รอบงานหรอื เตน้ ราํ (V) เฝา้ สังเกตวา่ มอี ะไรเกิดขึ้นบา้ ง (A) สนทนาหรอื ฟังผอู้ ่นื สนทนา 14.16 คณุ มักอธบิ ายใหผ้ อู้ น่ื ฟังดว้ ยวิธใี ด (V) แผนภมู ิ รปู ภาพ แผนท่ี (A) คําพดู การบรรยาย แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น (K) แสดงตวั อยา่ งให้ดู

353 14.17 คณุ จะเล่าถึงการไปเท่ยี วพักผ่อนใหผ้ อู้ ่นื ทราบดว้ ยวิธีใด (A) โทรศพั ท์ไปพดู คยุ (V) ให้ดภู าพถ่าย (K) ไปพบดว้ ยตนเองเพอ่ื แบ่งปนั ประสบการณ์ 14.18 เมอื่ ซอื้ เส้อื ผ้า คณุ จะ (V) สแี ละแบบเป็นเรอ่ื งสําคญั ท่สี ดุ (K) ความรู้สึกว่าใส่สบายหรอื ไม่เป็นเรอื่ งสําคัญท่สี ดุ (A) คาํ แนะนาํ ทไ่ี ด้รบั จากผอู้ นื่ เปน็ เร่อื งสาํ คัญท่ีสดุ 14.19 คุณจะรบั ฟงั เสยี งได้ดีที่สดุ เมอ่ื (K) สามารถเคลอื่ นไหวไปมา (A) หลับตา (V) เหน็ ผ้พู ดู ได้อย่างชัดเจน 14.20 คุณจําผอู้ น่ื ไดด้ ีทส่ี ดุ ในเรือ่ งใด (A) สง่ิ ที่เขาพูด (K) ส่ิงที่เขาทํา (V) บุคลกิ ลักษณะของเขา จํานวนขอ้ ทีต่ อบ (V) visual.....................................................ข้อ แปลความหมาย ผ้ทู ถ่ี นดั การใชส้ ายตา จํานวนขอ้ ทตี่ อบ (A) auditory................................................ข้อ แปลความหมาย ผทู้ ่ถี นัดการใช้โสตประสาท จาํ นวนข้อท่ีตอบ (K) kinesthetic............................................ข้อ แปลความหมาย ผทู้ ถี่ นดั การใช้ร่างกาย คําอธิบาย ถา้ คําตอบเป็น V หรือ A หรอื K จํานวนใกล้เคยี งกัน (ประมาณ 6-7 ขอ้ ) ใหถ้ อื วา่ ไม่มี ความถนัดในด้านใดท่ีชัดเจน แตถ่ ้า A หรอื V หรือ K 10 ข้อ หรอื มากกว่า ใหถ้ ือวา่ มคี วามถนดั ที่ ชัดเจนในดา้ นน้ันๆ

354 เอกสารอา้ งอิงบทท่ี 4 ดษุ ฎี บรพิ ตั ร ณ อยธุ ยา. (2548). รเู้ รียนเพอ่ื เรยี นรู้สคู่ วามเปน็ เลศิ . กรงุ เทพฯ : รักลกู แฟมลิ ่ี กรุ๊ป จาํ กดั . สุชัญญา รตั นสัญญา. (2549). จติ วิทยาทั่วไป. กรงุ เทพฯ : ทริปเพิล้ กรปุ๊ . สวุ ิทย์ มลู คํา และอรทยั มลู คาํ . (2543). การเรยี นรสู้ ่อู าจารย์มอื อาชพี . กรงุ เทพฯ : ดวงกมลสมยั จาํ กัด. ศนั สนีย์ ตนั ตวิ ทิ . (2547). จิตวิทยาท่วั ไป. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ธรรมศาสตร.์ โรจน์รวี พจน์พัฒนพล. (2549). จติ วิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : ทริปเพ้ลิ กรุ๊ป. Khalsa. (1997). Reference http://www.novabizz.com/NovaAce/Brain. 5 October 2016 Madura and Vera. Reference https://th.wikipedia.org/wiki 24 October 2016 Richard Shiffrin and Richard Atkinson. (1969). Format of memory: General psychology. Rojanarawe Phopatanapol. (2006). : 145-147. http://confessionsofaleedsstudent.blogspot.com/2012/06/brain. 5 ตลุ าคม 2559 http://jakkapantip.blogspot.com. 29 กนั ยายน 2559 http://th.wikipedia.org/wiki 24 ตลุ าคม 2559 http://www.daviddarling.info/encyclopedia/S/spinal_cord 16 ตุลาคม 2559 https://www.google.co.th/search 29 กนั ยายน 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Brain.htm. 5 ตลุ าคม 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_is.htm. 5 ตุลาคม 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Physical 5 ตลุ าคม 2559 http://www.moe.go.th/Tuesday/index.shtml. 5 ตุลาคม 2559 http://www.healthcarethai.com/ 7 ตุลาคม 2559 http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/95/wave1/wave_6.htm. 5 ตลุ าคม 2559 http://www.thaihealth.or.th/ 24 พฤศจิกายน 2559 http://www.unocoe.unomaha.edu/brainbased.htm. 5 ตลุ าคม 2559 www.student.chula.ac.th 5 ตุลาคม 2559

355 แผนบริหารการสอนประจําบทท่ี 5 การจดั การอารมณ์และความเครยี ด เวลาเรียน 6 ช่วั โมง จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม หลังจากได้ศกึ ษาบทเรยี นนแี้ ล้ว นกั ศึกษาควรมีพฤตกิ รรม ดังนี้ 1. อธิบายความหมายของอารมณ์, หนา้ ทขี่ องอารมณ,์ องค์ประกอบของอารมณ์, การจาํ แนก ของอารมณ์, ปจั จยั ทีม่ สี ่วนสัมพนั ธก์ บั อารมณ์, ลกั ษณะของอารมณ,์ ประเภทของอารมณ,์ การเกดิ อารมณ์, การเปลีย่ นแปลงทางรา่ งกายเมอื่ เกิดอารมณ์, พัฒนาการทางอารมณ,์ ทฤษฎขี องอารมณ์, ความฉลาดทางอารมณ์, การวัดอารมณ์, ความเครียด, ภาวะท่ีเกิดจากความเครียด, เทคนิคการ จดั การกับอารมณ,์ วิธคี ดิ เทคนิคการจดั การกบั อารมณไ์ ด้ 2. ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารจัดการกบั อารมณ,์ การควบคุมอารมณ์, และเทคนคิ ในการรจู้ ักและเข้าใจ อารมณ์ของผู้อืน่ ใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วนั ได้ เนอ้ื หา 1. ความหมายของอารมณ์ 2. หนา้ ท่ีของอารมณ์ 3. องคป์ ระกอบของอารมณ์ 4. การจาํ แนกของอารมณ์ 5. ปจั จัยทม่ี ีส่วนสมั พนั ธก์ บั อารมณ์ 6. ลกั ษณะของอารมณ์ 7. ประเภทของอารมณ์ 8. การเกิดอารมณ์ 9. การเปลี่ยนแปลงทางรา่ งกายเม่อื เกดิ อารมณ์ 10. พัฒนาการทางอารมณ์ 11. ทฤษฎขี องอารมณ์ 12. ความฉลาดทางอารมณ์ 13. การวดั อารมณ์ 14. ความเครยี ด

356 15. ภาวะทเี่ กิดจากความเครยี ด 16. การจัดการกับอารมณ์ 17. การควบคุมอารมณ์ 18. เทคนิคในการรูจ้ ักและเขา้ ใจอารมณ์ของผ้อู ่ืน กิจกรรมการเรียนการสอน 1. นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มเล่นบทบาทสมมตใิ นเร่อื งอารมณต์ ่างๆ เช่น อารมณ์โกรธ อารมณก์ ลัว อารมณ์พงึ พอใจ เปน็ ตน้ 2. นกั ศกึ ษาลงคะแนนกลุ่มทีเ่ ลน่ บทบาทสมมตทิ ชี่ ืน่ ชอบ สรุปบทเรียน 3. บรรยาย สรปุ เนือ้ หาสาระสาํ คญั ประกอบการนาํ เสนอด้วย Microsoft Power Point ในหัวข้อ อารมณ์ 3. นักศกึ ษาร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ความเครียด การจัดการกับอารมณ์ และการควบคมุ อารมณ์ 4. นักศกึ ษาสนทนา-ซักถาม การแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ตอบคําถาม 5. มอบหมายงานศึกษาค้นควา้ 6. ทบทวนโดยคําถามทา้ ยบท สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารคาํ สอน 2. หนงั สอื ตาํ ราท่ีเกีย่ วข้องจิตวทิ ยา 3. กิจกรรมกลมุ่ 4. Microsoft Power Point ที่จดั ทาํ ในหัวข้อต่างๆ 5. คําถามท้ายบท

357 การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์ เครื่องมอื /วิธีการ การประเมินผล 1. อธิบายความหมายของอารมณ,์ 1. ซักถาม แลกเปล่ียน 1. นักศึกษาตอบคําถาม หนา้ ทีข่ องอารมณ,์ องค์ประกอบของ สนทนาพูดคยุ ตอบคาํ ถาม ถกู ตอ้ งไดร้ ้อยละ 80 อารมณ,์ การจาํ แนกของอารมณ,์ 2. ปฏบิ ัติงานในการศกึ ษา 2. ศึกษาคน้ ควา้ งานอยใู่ น ปัจจัยทีม่ ีสว่ นสัมพันธ์กบั อารมณ,์ ค้นควา้ ระดับดี ลักษณะของอารมณ,์ ประเภทของ 3. ร่วมกจิ กรรมบทบาทสมมติ 3. รว่ มกจิ กรรมบทบาทสมมติ อารมณ์,การเกิดอารมณ,์ เกย่ี วกับอารมณ์ เกย่ี วกบั อารมณ์อยู่ในระดับดี การเปล่ียนแปลงทางร่างกายเมอ่ื เกดิ 4. การสังเกตพฤตกิ รรม 4. สงั เกตพฤติกรรมใน อารมณ์, พัฒนาการทางอารมณ์, การรว่ มกิจกรรมการอภิปราย การเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ / ทฤษฎขี องอารมณ์, ความฉลาดทาง รายกลุม่ ความสนใจ/ความร่วมมอื อยู่ อารมณ์, การวัดอารมณ,์ 5. สงั เกตการณ์นําเสนอหนา้ ในระดบั ดี ความเครยี ด,ภาวะทเ่ี กดิ จาก ชน้ั เรยี น 5. การนาํ เสนอหน้าชน้ั เรยี น ความเครียด, เทคนคิ การจัดการกับ 6. การมอบหมายงานคําถาม อยู่ในระดับดี อารมณ์, วิธคี ดิ เทคนคิ การจัดการกบั ทา้ ยบท 6. นกั ศึกษาทําคาํ ถาม อารมณไ์ ด้ ทา้ ยบทถกู ต้องรอ้ ยละ 80 2. ฝึกปฏบิ ัติการจัดการกับอารมณ์, การควบคมุ อารมณ,์ และเทคนคิ ใน การรจู้ ักและเขา้ ใจอารมณ์ของผ้อู ่นื ใชใ้ นชวี ิตประจําวันได้

358

359 บทท่ี 5 การจดั การอารมณแ์ ละความเครียด ภาพที่ 110 แสดงภาพอารมณ์ (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 2 พฤษภาคม 2559) อารมณ์ ผู้เขียนขอกล่าวถึงเรื่องอารมณ์ ได้แก่ ความหมายของอารมณ์ หน้าท่ีของอารมณ์ องค์ประกอบของอารมณ์ การจําแนกของอารมณ์ ปัจจัยที่มีส่วนสัมพันธ์กับอารมณ์ ลักษณะของ อารมณ์ ประเภทของอารมณ์ การเกิดอารมณ์ การเปล่ียนแปลงทางร่างกายเม่ือเกิดอารมณ์ พัฒนาการทางอารมณ์ ทฤษฎีของอารมณ์ การวัดอารมณ์ ความเครียด การจัดการกับอารมณ์ การควบคุมอารมณ์ เทคนิคการจัดการกับอารมณ์ วิธีคิดเทคนิคการจัดการกับอารมณ์ และเทคนิคใน การรจู้ กั และเข้าใจอารมณข์ องผอู้ น่ื มีรายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี 1. ความหมายของอารมณ์ ความหมายของอารมณ์ (Emotion of Meaning) อารมณ์ มาจากภาษาอังกฤษ “Emotion” มรี ากศพั ทม์ าจากภาษาลาติน “Emover” แปลว่า ความป่นั ปวน ความวุ่นวาย หรือ ความตน่ื เต้น มีนกั จิตวิทยา และแหล่งเรียนรู้ ใหค้ วามหมาย ดงั ต่อไปนี้ อารี เพชรพุด (2547: 210) อารมณ์ คอื ภาวะทีอ่ นิ ทรยี ์ (Organism) ถกู เร้าทําใหเ้ กิด การตอบสนองทเ่ี รยี กวา่ ผลจากสิ่งเรา้ ไม่ว่าผลกระทบอนั นนั้ จะหนักหรือเบากต็ ามกจ็ ะทาํ ให้เกิดปฏกิ ิริยา ขึน้ ได้ และมีการแสดงออกได้ 3 อย่าง คือ

360 1. แบบท่ีเกิดขึ้นทนั ที (Emotional Experience) เชน่ รสู้ ึกโกรธ กลวั ดีใจ 2. พฤติกรรมทเี่ ป็นผลต่อเนื่อง (Emotional Behavior) เชน่ เมอื่ รสู้ กึ โกรธก็ กล่าวคาํ สบคาํ สาบาน หรอื อาจชกต่อยคนท่ีทําใหโ้ กรธ หรือเวลาดใี จกห็ วั เราะยิม้ แยม้ แจ่มใส 3. เกดิ การเปลย่ี นแปลงทางด้านร่างกาย (Physical changes) เช่น หน้าแดง ปากสน่ั มือสน่ั เปน็ ต้น อารมณก์ ับความรสู้ ึกเป็นสิ่งแยกออกจากกันไม่ได้ และยากแก่การทจ่ี ะแยกแยะ ว่า อนั ไหนเปน็ ความรู้สกึ (feeling) อันไหนเปน็ อารมณ์ (Emotion) เพราะเปน็ ภาวการณท์ ี่ตอ่ เนื่องกัน จากความรูส้ ึกธรรมดา ไปจนถงึ ความรู้สึกรนุ แรงทส่ี ดุ พรี พล เทพประสทิ ธิ์ (2549: 185-186) คาํ ว่า อารมณ์ คอื ความวา้ วุ่นใจ ปนั่ ปว่ น เป็น สภาวะท่ีบุคคลสูญเสียความเปน็ ตวั ของตัวเอง เปน็ ความรูส้ กึ ส่วนตวั ภายในของบุคคลนั้นๆ เพราะ มนษุ ยท์ ุกคนมคี วามชอบธรรมทตี่ ้องไดร้ ับการตอบสนองความต้องการทางอารมณ์ เพราะความต้องการ ทางอารมณ์เปน็ สิง่ ทจ่ี ําเปน็ เชน่ เดียวกบั ความตอ้ งการทางรา่ งกาย อนั เปน็ ส่งิ ที่เกิดจากการมีปฏิสมั พันธ์ (Interaction) ของตนเองกบั บุคคลอื่นกับสงิ่ แวดลอ้ ม ท้ังน้ี มคี ําบางคําทีมีความหมายใกล้เคยี งกบั อารมณแ์ ละมคี วามสมั พนั ธเ์ กย่ี วขอ้ ง อย่างมาก ได้แก่ ความร้สู กึ และจิตใจ โดยอธิบายได้ดังนี้ ความรูส้ ึก (Felling) เปน็ ลักษณะอาการท่แี สดงออกของอารมณ์ เป็นการแปล ความหมายหรอื ตคี วามซง่ึ แสดงออกมาในรูปของความรู้สกึ รัก ชอบ เกลียด พอใจ ไมพ่ อใจ ดใี จ เสียใจ หรือหมายถึงกระบวนการร้สู าํ นึกในเรือ่ งใดกไ็ ด้ จติ ใจ (Mind) หมายถึง ความรู้สึกนึกคดิ ของคนเราทม่ี น่ั คงถาวร มีสาระแท้จริง และยากตอ่ การเปลีย่ นแปลง เพราะเปน็ ลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล ดงั นนั้ กลา่ วได้วา่ อารมณ์เปน็ ส่วนหนงึ่ ของชีวติ และแทรกอยใู่ นทกุ กิรยิ าอาการ ท่ีเราแสดงออกมาในการดําเนินชีวิตประจําวัน อารมณ์น้ันเป็นเครื่องรองรับจิตใจ แต่อารมณ์ไม่ใช่ จิตใจเพราะอารมณ์และจิตใจไม่ใชส่ ิง่ เดยี วกัน และในขณะเดยี วกันอารมณ์กับความรู้สึกกไ็ ม่ใชส่ งิ่ เดียวกนั http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559 อารมณ์เป็นพลังที่ทรงอํานาจอย่างหนึ่งของมนุษย์ อารมณ์อาจเป็นต้นเหตุของสงคราม อาชญากรรม ความขดั แยง้ เรื่องเช้ือชาติละความขัดแยง้ อืน่ ๆ อกี หลายชนดิ ระหว่างมนษุ ย์ด้วยกัน ในทางตรงกนั ขา้ มอารมณเ์ ปน็ น้าํ ทพิ ยข์ องชีวติ ทาํ ให้ทกุ ส่งิ ทกุ อยา่ ง สวยสดงดงามและนา่ อภิรมย์ ความรัก ความสนุกสนาน ความเพลดิ เพลนิ ความพอใจ หรือความตลกขบขนั ล้วนแต่ทาํ ใหช้ ีวติ มี คุณค่าและความหมายท้ังสิน้ อารมณ์ หมายถงึ การแสดงออกของภาวะจติ ใจท่ไี ดร้ บั การกระทบหรือ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ มกี ารแสดงออกตอ่ สิ่งทมี่ ากระตุ้น อารมณ์สามารถจําแนกออกได้ 2 ประเภทใหญ่ อารมณส์ ุข คอื อารมณท์ ีเ่ กดิ ขึน้ จากความสบายใจ หรือ ไดร้ บั ความสมหวัง

361 อารมณ์ทกุ ข์ คอื อารมณท์ เี่ กดิ ข้ึนจากความไมส่ บายใจหรอื ได้รับความไม่สมหวงั อารมณ์พ้นื ฐานของคนเรา ไดแ้ ก่ โกรธ กลวั รงั เกียจ แปลกใจ ดีใจ และเสียใจ ซ่ึงเป็นอารมณพ์ ้นื ฐานท่มี ีในสตั ว์เล้ียงลกู ดว้ ยนมสมั พนั ธ์กบั การทํางานของระบบลมิ บกิ (limbic system) ในสมองสว่ นกลาง ในคนเรานั้นพบวา่ ยังมีการทํางานของสมองส่วนหนา้ บริเวณ prefrontal มา เกี่ยวขอ้ งด้วย โดยมีการเช่อื มโยงกบั ระบบลิมบิกที่ซับซอ้ นจงึ ทาํ ใหค้ นเรามลี ักษณะ อารมณ์ความรูส้ ึก ท่ีหลายหลากมากกว่าในสตั ว์เลี้ยงลูกด้วยนม http://www.educ-bkkthon.com/blog/apsornsiri 18 เมษายน 2559 สภาวะ ทางจิตใจท่ีเกิดความปั่นป่วน ต่ืนเต้น หรือเปล่ียนแปลงเม่ือมีส่ิงเร้ามากระตุ้น ซ่ึงจะเกิดขึ้นอย่าง ฉับพลันทันที โดยเราจะไม่สามารถสังเกตเห็นได้โดยตรง แต่จะสังเกตเห็นได้ทางอ้อม โดยดูจาก การเปลยี่ นแปลงทางด้านพฤตกิ รรมตา่ งๆ ทีม่ ิได้แสดงออกมาเป็นคาํ พดู (Non Verbal Behavior) เชน่ การแสดงออกทางสีหนา้ กิรยิ าท่าทาง เปน็ ต้น นักสรรี จิตวิทยาและนักจิตวิทยาได้พยายามสงั เกต ศกึ ษาลักษณะของอารมณแ์ ลว้ พบว่า อารมณ์เปน็ สภาวะท่ีไม่คงที่ ซึง่ มลี กั ษณะสําคัญ 4 ประการ คอื 1. อารมณไ์ มใ่ ช่พฤติกรรมภายนอกหรอื ความคิดเฉพาะอยา่ ง แตอ่ ารมณเ์ ปน็ ประสบการณ์ความรสู้ ึกส่วนบุคคล โดยแตล่ ะคนจะมปี ระสบการณ์ทางอารมณแ์ ตกต่างกนั ไปตามนิสัย คา่ นยิ ม ความเชื่อหรือสิ่งอ่นื ๆ 2. อารมณ์เป็นความร้สู ึกทร่ี นุ แรงและมกี ารแสดงออกท่ีแตกต่างออกไปจาก การกระทาํ แบบปกติ 3. อารมณ์มีความซับซ้อนกว่าความรู้สกึ อื่นๆโดยบุคคลจะมกี ารประเมนิ หรือ แปลความหมายของสถานการณท์ ่ีเกี่ยวข้องแล้วจงึ จะเกดิ อารมณน์ น้ั ๆ 4. อารมณ์จะเกิดรว่ มกับการเปลยี่ นแปลงทางสรีระของรา่ งกาย จากลักษณะทสี่ าํ คญั 4 ประการนี้ “อารมณ”์ วา่ อารมณ์ใดๆ เป็นประสบการณท์ ่ี บคุ คลรูส้ กึ ได้ทนั ทีทเี่ กิดข้นึ กบั ตน ทําให้เกดิ การประเมนิ สถานการณ์ พรอ้ มกันนน้ั ก็มีการแสดงออก ทางปฏกิ ิรยิ าตอบสนองทางสรรี ะ ปฏกิ ิรยิ าตอบสนองน้ี อาจเป็นปฏิกริ ิยาสะท้อนตามธรรมชาตหิ รือ เปน็ กริ ิยาอาการทเ่ี กิดจากการเรียนรู้กไ็ ด้ ดังนนั้ สรปุ ไดว้ ่า อารมณ์ หมายถึง เป็นความรูส้ กึ ส่วนตวั ภายใน ความรู้สกึ เกิดขนึ้ ได้ ทนั ที ต่อเนอื่ งและเปลี่ยนแปลง เป็นการแสดงออกของภาวะจติ ใจท่ีได้รับการกระทบหรอื กระตนุ้ ให้ เกิดมกี ารแสดงออกตอ่ สิ่งทม่ี ากระตุ้นทาํ ใหเ้ กิดการประเมนิ สถานการณ์ พร้อมทง้ั มกี ารแสดงออกทาง ตอบสนองทางสรรี ะหรอื เป็นกิรยิ าอาการท่ีเกดิ จากการเรยี นรไู้ ด้

362 2. หนา้ ทีข่ องอารมณ์ เหตุใดเราจงึ มีอารมณ์ อารมณจ์ ะกระตนุ้ เราจะช่วยให้เรารวบรวมประสบการณน์ ําไปสู่ การกระทําและการสือ่ สารถึงการกระทาํ (Fridja, 1989) ดังนี้ (พรี พล เทพประสทิ ธิ,์ 2549 : 187-188) 2.1 เปน็ ตัวเรา้ ให้เกดิ พฤตกิ รรม (arousal) เหมอื นเปน็ การใหส้ ญั ญาณวา่ จะมบี างอยา่ ง ท่ีสาํ คญั เกดิ ขน้ึ ตวั อยา่ งเชน่ สัตว์ท่ีตกใจกลวั หรอื ต่นื เต้นทมี่ ีคนเข้ามาใกล้ มนั ก็จะเตรียมตวั โต้ตอบ เพ่ือเป็นการป้องกันตัวมันเอง ทาํ ให้มีชีวิตรอด ส่วนมนุษย์ท่ีมีความรักก็จะผลิตลูกมากกว่าคนที่ไม่มี ความรัก ฉะนั้น อารมณ์จะทาํ ให้มีการกระทําท่ีรุนแรงขึ้น เช่น อารมณ์โกรธจะทาํ ให้ร่างกายมี ความพร้อมทจ่ี ะกระทําทันทที นั ใดได้ 2.2 เป็นตัวรวบรวมอารมณ์ จะทาํ ใหก้ ารรับร้ขู องเรามสี ีสันกับตวั เราเองและคนอ่นื และยังทําให้รวบรวมการคิดเป็นระบบท่ีรู้สึกได้ ตัวอย่างเช่น ถ้าเรากาํ ลังอยู่ในอารมณด์ ีทกุ ส่ิงทกุ อย่างก็จะเป็นไปในด้านบวก แต่ถ้าเราอารมณ์ไม่ดีทุกสิ่งทุกอย่างก็จะเป็นไปในด้านลบ ฉะนั้น ความรู้สึกท่ีเรารสู้ ึกตัวจะเป็นตวั ท่มี ีอิทธพิ ลต่อการรับรู้ (Bower, 1981) 2.3 เปน็ ตัวนาํ และเปน็ ตวั สนบั สนนุ ให้มกี ารกระทาํ ต่อไป เราจะพบวา่ สตั วท์ ่ีโกรธจะ ต่อสู้คนท่กี ลัวจะหนี คนท่ีร่าเรงิ สนุกสนานก็ยนิ ดีและกระตือรอื รน้ ในการทํางาน ฉะนน้ั อารมณจ์ ึงเปน็ ตัวนําใหเ้ กดิ พฤติกรรม ตวั อย่างคนท่ชี อบรับประทานอาหารที่มรี สหวาน จะส่งเสริมในคนนนนั้ คน้ หา และรบั ประทานอาหารหวาน แมว้ า่ จะมอี ันตราย อารมณ์ยังเปน็ ตัวสนบั สนุนและทาํ ใหม้ ีพฤติกรรม ต่อไปอีก ตวั อยา่ งเชน่ ถา้ เรากลวั เราก็จะวิง่ นานข้ึนและเร็วขึน้ มากกว่าตอนทีเ่ ราเบ่อื ฉะนั้นปฏิกิรยิ า นจี้ ะมปี ระโยชนส์ าํ หรบั หลีกเลยี่ งอนั ตรายได้ 2.4 การสอื่ สาร สัตว์ส่วนมากจะเกยี่ วขอ้ งสญั ญาณตางๆ เชน่ กลนิ่ ท่าทาง การแสดงออก ทางหนา้ ตา สิง่ ต่างๆ น้ีจะเป็นการส่ือข้อความหรอื พฤตกิ รรมกับสัตวอ์ นื่ สญั ญาณและทา่ ทางน้จี ะเปน็ สัญญาณสอ่ื สารสงั คมดว้ ย ตวั อย่างเชน่ สุนัขพดู ไม่ได้ว่า “แกไปให้พน้ ” มนั จะทําเสยี งขู่ เรากไ็ ด้ ขอ้ ความท่ีสอ่ื วา่ มันไมช่ อบ สญั ญาณของอารมณ์ก็เหมอื นกบั การแสดงของสหี นา้ เสียงลักษณะของ รูปรา่ งซงึ่ มีความหมายในระดบั หนงึ่ ได้ ตวั อยา่ งเชน่ คนหนึ่งอาจจะพดู ออกมาวา่ เขาสนใจในเรื่องทอี่ ีก คนหนึ่งพดู แตค่ นฟังไมม่ องคนพูด แตห่ าว สือ่ ให้เห็นว่าคนฟงั เบอื่ ท่ีจะฟัง 3. องคป์ ระกอบของอารมณ์ 3.1 องคป์ ระกอบของอารมณ์ ประกอบไปดว้ ย 3 ประการ คือ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Emotional/Emotional.htm 8 เมษายน 2559)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook