Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

163 ความนิยมชมชอบน้ันจะเป็นทั้งคําพูด สายตา ย่อมพออกพอใจเห็นว่าตัวเองมีค่าและอยากเป็นมิตร ตอบสนองเช่นกนั 11.1.3 การซักถามที่กระตือรือร้นอยากรู้อยากเห็น การกระทําเช่นน้ีก็เป็น การกระตุ้นให้ผู้อ่ืนเกิดความพอใจในผลงานหรือพฤติกรรมที่ตนกําลังกระทาํ อยู่ และมีกําลังใจที่จะ พัฒนางานนั้น เพราะการท่ีมีบุคคลอื่นซักถามอยากรู้อยากเห็น แสดงว่า เขามีความสนใจและเห็น ความสําคัญในสงิ่ ทเี่ รากระทาํ อยู่ 11.1.4 การสรา้ งภาวะแหง่ ความไวว้ างใจ เมือ่ เราทาํ อะไรแลว้ มผี อู้ นื่ ให้ ความไวว้ างใจหรือสนบั สนนุ เรากย็ อ่ มที่จะเกิดแรงบันดาลใจทจี่ ะแสดงออกมาข้ึน 11.1.5 การยอมรับด้วยการกระทาํ เชน่ การปรบมอื ให้ โห่รอ้ ง ด้วยความยินดี พอใจพยักหนา้ ทกั ทายปราศรยั และอนื่ ๆ ก็เปน็ พฤติกรรมทสี่ ่อถึงการยอมรับ 11.2 การยอมรบั ทไ่ี มไ่ ดผ้ ล การแสดงออกการยอมรับบางครั้งกไ็ มเ่ กิดผลดีหรือเกดิ ผล น้อยอาจมสี าเหตุมาจาก 11.2.1 แสดงบอ่ ยเกนิ ไป การยอมรบั ทท่ี ําบ่อยเกนิ ไปย่อมทําใหต้ ่นื เต้นและดใี จ ในระยะแรกๆ และหลังๆ จะคอ่ ยๆ ลดลงตามลาํ ดบั จงึ ควรแสดงการยอมรับท่ีไมพ่ รํา่ เพรอ่ื เกินไป 11.2.2 ปราศจากความจริงใจหรือเสแสร้ง การยอมรับชนิดนี้ เป็นอันตราย ต่อสมั พนั ธภาพมาก ถ้าหากปราศจากความจรงิ ใจ ความร้สู ึกทมี่ ีตอ่ กันอาจจะขาดสะบั้นได้ 11.2.3 ความเงยี บหรอื การแสดงออกความนงิ่ เฉย อาจเป็นการแสดงออกได้ทง้ั การยอมรับและการไม่ยอมรบั แตค่ นสว่ นมากมกั สรุปวา่ การเงยี บคอื การแสดงอาการไม่ยอมรบั หรือ หมายถงึ การไมเ่ ขา้ ใจใดๆ ซ่ึงทาํ ให้ผูอ้ ่ืนเกดิ ความสบั สนและขาดกําลังใจ 11.3 ลกั ษณะทม่ี นุษยต์ ้องการยอมรบั สง่ิ ท่ีเราตอ้ งการใหค้ นอ่นื ยอมรบั เกย่ี วกับตนเอง อาจสรปุ ได้ดังนี้ 11.3.1 ความรู้ความสามารถ ตอ้ งการใหผ้ ู้อ่นื ยอมรับว่าอย่างนอ้ ยคณุ ก็ฉลาดเท่ากับ คนอนื่ มีสตปิ ญั ญาดี แกไ้ ขปัญหาได้อย่างฉลาด และไมช่ อบโกรธ หรอื ไม่คบค้าสมาคมกับผทู้ ี่เขารสู้ ึก วา่ ได้รบั การดูถูกเหยยี บหยามจากบคุ คลนน้ั 11.3.2 ชื่อเสียงเกยี รตยิ ศ คนเราต้องการสร้างฐานะและทาํ ความดใี หป้ รากฏต่อ สายตาผู้อืน่ เชน่ เมื่อพบกระเปา๋ ผหู้ ญงิ มเี งนิ อยู่เปน็ ล้านแล้วส่งคืนเจา้ ของ แลว้ ได้ประกาศเกียรติยศให้ รับรู้กันทว่ั ไปยอ่ มมคี วามสขุ 11.3.3 คาํ พูดหรือถอ้ ยคํา ถ้าผอู้ ื่นยอมรับในสิ่งทีเ่ ราพดู ดว้ ยชื่นชมว่า เราพูดถกู ต้อง เหมาะสม กจ็ ะมวี ามรู้สกึ และการแสดงออกทีด่ ตี ่อผ้ทู ีย่ อมรับเรา 11.3.4 ผลงาน เมอื่ บคุ คลมผี ลงานออกมาย่อมอยากใหผ้ อู้ ืน่ หรอื สังคมยอมรบั ใน ผลงานน้ันดีวา่ เหมาะสม และผลงานน้นั มีคา่ ควรไดร้ ับการยกย่องและประกาศเกียรติคุณ

164 11.3.5 บคุ ลกิ ภาพ ต้องการให้ผู้อืน่ ยอมรบั ในบคุ ลิกภาพวา่ ตนเองมบี คุ ลกิ ดี เช่น หนุ่ ดี หน้าตาสวย หรอื หลอ่ มกี ารแต่งกายเหมาะสมทันสมยั พดู จาไพเราะน่าฟัง มีอารมณเ์ ย็น นา่ คบ สะอาด วางตัวไดอ้ ย่างเหมาะสม 11.3.6 ปัญหาอุปสรรคหรือขอ้ ผิดพลาด หมายความว่า เมื่อบุคคลทําอะไรบกพรอ่ ง หรือผิดพลาดกต็ ้องได้รบั ความเหน็ ใจและการให้อภยั จากผูอ้ ่ืน ว่าขอ้ ผดิ พลาดทเี่ กิดขน้ึ นั้นเกิดจากเหตุ สุดวสิ ยั หรอื บังเอิญ ไม่ไดเ้ กิดจากการประมาทเลนิ เล่อ 11.4 ผลของการยอมรบั การยอมรบั ซงึ่ กนั และกนั ก่อใหเ้ กดิ ผลดดี ังตอ่ ไปนี้ 11.4.1 เกิดความไวว้ างใจซึ้งกันและกนั (Actual Trust) 11.4.2 การประสานพลงั ความคิดและการกระทําในกลมุ่ ดขี ึน้ (Positive Interaction) 11.4.3 ระบบการทํางานรว่ มกนั ดีขนึ้ (Process) 11.4.4 การทาํ งานรว่ มกนั ดขี น้ึ (Content) 11.4.5 ผลงานดขี ึ้น (Product) การยอมรับซึ่งกันและกันไม่ว่าจะด้วยคําพูดหรือท่าทางอ่ืนใด ย่อมก่อให้เกิด ความอิม่ เอบิ ปติ ยิ ินดีต่อผู้ทไ่ี ดร้ บั การยอมรับ ดงั น้นั จงึ กล่าวไดว้ ่าการยอมรับซ่งึ กนั และกนั เป็นปัจจัย สาํ คัญอย่างหนึ่งทีจ่ ะช่วยกอ่ ใหเ้ กิดและสรา้ งเสรมิ สมั พนั ธภาพระหวา่ งบุคคลตลอดจนช่วยให้แตล่ ะคน มีความแน่ใจในส่ิงที่ตนคิดและปฏิบัติ และผู้ใดก็ตามท่ีรู้ว่าตนได้รับการยอมรับจากคนอื่น ย่อมมี ความสะดวกใจท่ีตจะแสดงออกด้วยทีท่ า่ ทดี ีไมตรีจิต ไม่ว่าจะเป็นการพูด การเขยี นหรือกิรยิ าทา่ ทาง ดงั นั้น การยอมรับผู้อ่นื จึงเป็นส่ิงสาํ คญั และจําเปน็ อย่างยิ่ง

165 สรปุ บทท่ี 2 การตระหนกั รู้ในตนเองและการเขา้ ใจผู้อ่นื ซ่งึ สามารถทาํ ไดโ้ ดยการสรา้ งความเขา้ ใจ ในตนเอง คาํ ว่า “ตนเอง” น่ันหมายถึง การรู้จักแยกแยะหรือความรู้สึกนึกคิดเก่ียวกับตนเอง ประกอบดว้ ยภาพลกั ษณ์ จินตนาการ คณุ สมบัติ รูปสมบตั ิ ส่ิงแวดล้อมตา่ งๆ ทาํ ให้เกดิ การปรับปรงุ ตนเองใหม้ ีประสิทธภิ าพ การมสี ุขภาพจิตและอารมณด์ ี การรจู้ ักตนเองมคี วามสาํ คัญตอ่ การกระทาํ การประพฤตแิ ละการแสดงออก โดยศึกษาและทาํ ความเข้าใจตนเอง ยอมรบั ตนเอง จงยอมรับและ เข้าใจผอู้ ื่น ใชช้ ีวิตให้มคี วามสขุ โดยใหส้ อดคล้องกบั ธรรมชาติของตนเอง ประกอบการนําแนวคิดมาใช้ ในการรจู้ ักตนเองตามแนวคิดของ คารล์ อาร์ โรเจอร์ มีแนวคิดเกีย่ วกบั ตนเองไว้ ดังนี้ ตนเองตามอดุ ม คติ (Ideal Self), ตนตามทีร่ ับรู้ (Perceived Self), และตนตามความเป็นจริง (Real Self) และ การรู้จกั ตนเองตามแนวคดิ ของโบลสแ์ ละดาเวน พอรท์ ไดแ้ บง่ การรจู้ ักตนเอง 5 แบบ คือ ความคาดหวงั ตนเอง (Self - Expectation), ตวั เองตามท่ีมองเห็นตนเอง (Self - Perception), ตวั ตนตามเปน็ จริง (Real - Self), ตัวตนที่คนอ่ืนคาดหวังต่อเรา (Other's Expectation), และตัวตนตามท่ีคนอ่ืนรู้ (Other's perception) ปัจจัยส่งเสริมการรู้จักตนเอง ได้แก่ อัตมโนทัศน์, ฐานะทางเศรษฐกิจ, ความสามารถแห่งสมองและบุคลิกภาพ, ความรู้, ความสามารถทั่วๆ ไป, ความสามารถพิเศษ, และความสนใจและนิสยั มโนมติพนื้ ฐานในการรู้จกั ตนเอง ประกอบดว้ ย อตั ตาหรือตัวตนของตนเอง อัตมโนทัศน์ และการตระหนักร้ใู นตนเอง โดยนาํ ทฤษฎีการเข้าใจตนเองและผู้อนื่ อันได้แก่ ทฤษฎี หนา้ ต่างของโจ-แฮรี่ ไดแ้ ก่ บรเิ วณเปิดเผย (Open Area), บรเิ วณจดุ บอด (Blind Area), บริเวณ ความลับ (Hidden Area), และบริเวณอวชิ า (Unknown Area) การสือ่ สารเพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจตนเองและ ผู้อื่นมากข้ึน คือ รูปแบบการส่ือสารสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การสื่อสารสัมพันธ์ท่ีไม่ขัดแย้งกัน, การส่ือสารสัมพันธ์ท่ีขัดแย้งกัน, และการสื่อสารสัมพันธ์ท่ีมีนัยเคลือบแฝง ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ ตนเอง โดยเสนอความรลู้ าํ ดบั ต่อไป คือ ตําแหน่งชีวิต (Life Position) เปน็ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ตนเอง การรจู้ กั ตนเอง ความรสู้ ึกท่บี ุคคลมตี ่อตนเองและผ้อู นื่ ดงั นี้ I’m OK – You’re OK ตาํ แหน่งนีเ้ ป็น ตําแหนง่ สงู สุดของการปรับตัวเป็นตาํ แหน่งของผู้มสี ุขภาพจติ ดี I’m OK – You’re not OK ตาํ แหน่ง นเี้ ป็นตําแหนง่ ชวี ิตท่บี ุคคลรูส้ กึ ว่าตนเองดกี ว่าผอู้ ่ืน I’m not OK – You’re OK ตาํ แหน่งชีวิตแบบนี้ เป็นตําแหน่งชีวติ ของบคุ คลทีร่ สู้ กึ วา่ ตนเองด้อยกวา่ ผูอ้ ่นื I’m not OK – You’re not OK ตําแหน่ง ชวี ติ แบบนีเ้ ปน็ ตําแหนง่ ชวี ิตของบคุ คลท่ีรสู้ กึ หมดอาลัยตายอยากในชวี ิต การพัฒนาการรจู้ กั ตนเอง คอื ความพยายามท่บี คุ คลจะทําใหก้ ารรับรู้เกี่ยวกับตนเอง (self perception) สามารถกระทาํ ไดโ้ ดยการพัฒนาความตระหนักรู้ในตนเองหรือความมีสติในตนเอง

166 บุคคลทสี่ ามารถมองเห็นตนเองไดต้ รงกบั ที่ตนเปน็ จริง คอื ผู้ทรี่ จู้ ักตนเองไดอ้ ยา่ งดี หากบุคคลสามารถ รจู้ ักตนเองเป็นอย่างดตี ามความเป็นจรงิ บุคคลนั้นจะสามารถอยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ประการหน่ึง การเหน็ คณุ ค่าในตนเอง เปน็ การทบี่ ุคคลประเมนิ ว่าตัวเองค้นพบและ ภมู ิใจในความสามารถด้านตา่ งๆ ของตน โดยมพี ื้นฐานมาจากปจั จัย 3 ด้าน คือ 1) การไดร้ บั ความรกั การเห็นคุณค่าหรือการสนับสนุนส่งเสริมจากคนอ่ืน 2) การมีคุณลักษณะหรือมีความสามารถ อย่างเฉพาะเจาะจง และ3) การให้ความสําคัญกับความสามารถเฉพาะของตัวเอง โดยได้รับ อทิ ธพิ ลจากการมสี มั พนั ธภาพระหวา่ งตนเองกบั บุคคลอ่ืน

167 คําถามท้ายบทที่ 2 1. จงอธบิ ายการสรา้ งความเข้าใจในตนเอง 2. ทาํ ไมจงึ ตอ้ งเรยี นร้กู ารรู้จกั ตนเอง มีความสาํ คัญอย่างไร อธิบายพอสงั เขป 3. รูปแบบของการรูจ้ กั ตนเองมอี ะไรบ้าง อธิบาย 4. อธิบายการพัฒนาการรจู้ กั ตนเอง พอสงั เขป 5. อธบิ ายความหมายของ คาํ วา่ การตระหนักรู้ในตนเอง 6 การตระหนกั รู้ในตนเอง มีความสาํ คัญอยา่ งไร อธบิ าย 7. ยกตัวอย่าง 2 ตัวอย่างในการตระหนักรู้ในตนเอง 8. จงอธิบายทฤษฎหี นา้ ตา่ งของโจฮารี่ 9. ยกตัวอย่าง การวเิ คราะหก์ ารเช่อื มโยงความคิด 10. อธบิ ายความหมายของคําวา่ การพฒั นาตน 11. อธบิ ายแนวคิดจิตวิทยาของมาส์โลว์ 12. อธิบายคุณลกั ษณะของบคุ คลท่มี ที นุ จติ วทิ ยาในการพัฒนาตน 13. จงยกตวั อย่างเทคนิคการพฒั นาตนทีน่ กั ศึกษาสามารถปฏบิ ัตจิ รงิ 1 ตวั อยา่ ง พร้อมอธิบาย 14. อธิบายแนวทางในการพฒั นาตนเองในชีวิตประจําวัน 15. อธิบายความหมายของคาํ ว่า การเห็นคณุ ค่าในตนเอง 16. จงยกตวั อย่างพรอ้ มอธบิ ายการเห็นคณุ คา่ ในตนเอง 17. ทาํ ไมเราจึงตอ้ งเข้าใจผู้อ่ืน อธบิ าย

168 18. แบบวดั การตระหนกั ร้ใู นตนเอง คําชี้แจง ใหน้ ักศกึ ษาอา่ นขอ้ ความแตล่ ะข้อตอ่ ไปน้แี ล้วพิจารณาว่าขอ้ ความดงั กล่าว เป็นจรงิ กบั นกั ศึกษามากนอ้ ยเพยี งใด และทาํ เคร่ืองหมาย √ ลงในช่องดา้ นขวามอื ช่อง “จริงทส่ี ดุ ” ถงึ “ไม่จริงเลย” เพียงตวั เลือกเดยี วในแตล่ ะข้อท่ตี รงกบั ความคดิ เหน็ ของนกั ศกึ ษา ท้ังนี้แต่ละข้อไมม่ ี คาํ ตอบทถี่ ูกหรือผดิ คําตอบทดี่ ีทสี่ ุด คอื คาํ ตอบที่สอกคลอ้ งกบั ตวั นกั ศึกษา ข้อความ ระดบั ความคดิ เหน็ จริง จรงิ ค่อน ค่อน ไม่ ไม่จรงิ ที่สุด ข้าง ข้างไม่ จรงิ เลย จริง จริง 1. ฉนั สามารถบอกอารมณข์ องตนเองใน สถานการณต์ า่ งๆ ไดอ้ ย่างงา่ ย 2. ฉนั ร้สู กึ ตวั ทนั ทีเมื่อฉันเริม่ อารมณ์เสยี 3. ฉันรสู้ ึกวา่ เวลาทฉ่ี นั มีอารมณด์ ี ฉันจะคิดอะไร ไดด้ ีข้ึน 4. ฉนั สามารถบอกความรู้สกึ ทแ่ี ท้จริงไดว้ า่ ชอบ หรือไมช่ อบอะไร 5. ฉนั บอกสาเหตทุ ีทาํ ให้ตนเองโกรธได้ 6. ฉันหลกี เล่ียงการทํางานในเวลาท่อี ารมณ์ไมด่ ี เพราะไม่อยากให้งานเสยี หาย 7. ฉนั รบั รู้ได้วา่ เวลาท่ฉี ันมอี ารมณ์ที่แตกตา่ งกัน ฉนั จะพดู คุยกับคนอืน่ ดว้ ยทา่ ทีที่ต่างกันดว้ ย 8. ฉนั สามารถบอกสาเหตุที่ฉันรูส้ ึกผดิ หวงั หรือ สียใจได้ 9. ฉนั พยายามท่จี ะไมค่ ยุ เร่อื งสาํ คญั กับใครเวลา ที่กาํ ลงั อารมณเ์ สีย 10. ฉันบอกสาเหตทุ ่ีทําใหฉ้ ันรู้สกึ กลัวได้ 11. ฉนั รู้ดีว่าตวั เองมีนิสยั อยา่ งไร 12. ฉันรดู้ วี า่ ควรปรับปรงุ ตวั เองในเร่อื งใดบ้าง

169 ข้อความ ระดบั ความคดิ เห็น จริง จริง ค่อน ค่อน ไม่ ไม่จริง เลย ที่สุด ข้าง ขา้ งไม่ จริง จรงิ จรงิ 13. ฉันคดิ ว่าตวั เองคงไมส่ ามารถทําอะไรเพือ่ พัฒนาไปในทางท่ดี ีข้ึนได้ 14. ฉนั สอบถามความคดิ เห็นของคนรอบขา้ ง เก่ยี วกับสิ่งที่ควรปรบั ปรงุ ของตัวเอง 15 ฉันทราบวา่ มีเรอื่ งใดบา้ งทีฉ่ นั ควรขอ ความชว่ ยเหลือจากผูอ้ ื่น 16. ฉนั พร้อมทีจ่ ะเปล่ยี นแปลงวิธคี ดิ หรอื พฤติกรรมของตัวเองเพื่อให้เกดิ การพัฒนาตวั เอง 17. ฉันชอบท่ีจะเรียนรูส้ ง่ิ ใหม่ๆ เพื่อให้ตนเอง รอบรู้มากขนึ้ 18. ฉันไม่รูว้ ่าตวั เองเก่งหรอื ไม่เก่งในเรอ่ื งใด 19. ฉนั ยอมรับไดห้ ากมีคนตําหนิส่งิ ท่ีฉนั ทํา 20. ฉนั คิดว่าเปน้ เร่ืองธรรมดาทบี่ างคร้ังฉันจะ ทาํ อะไรซุ่มซา่ น 21. ฉันเชื่อว่าฉันมคี วามสามารถ 22. ฉันกลา้ ยนื ยนั ท่ีจะทําในสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ งเสมอ แมจ้ ะไม่ตรงใจใครหลายคน 23. ฉันไมต่ อ้ งการเปน็ ตัวเองในแบบทเี่ ป็นอยู่ 24. ฉนั รสู้ กึ พอใจในความสามารถของตนเอง 25. ฉันไมก่ ลา้ แสดงความคิดเห็นในกลุ่มเพราะ กลวั วา่ เพ่ือนจะไม่ยอมรับ 26. ฉันไม่กลา้ ตดั สนิ ใจอะไรด้วยตัวเองตามลําพัง 27. แมจ้ ะอยใู่ นสถานการณก์ ดดนั แตฉ่ ันก็เชอื่ วา่ จะสามารถแกป้ ญั หาต่างๆได้ 28. ฉนั เป็นคนที่ชอบคดิ กวนไปมาและเปลีย่ นใจ อะไรไดง้ า่ ยๆ

170 ขอ้ ความ ระดับความคิดเหน็ จรงิ จริง ค่อน ค่อน ไม่ ไมจ่ รงิ เลย ทส่ี ดุ ข้าง ข้างไม่ จรงิ จรงิ จรงิ 29. แนคดิ ว่าตัวเองไม่ใชค่ นทนี่ า่ สนใจพอทีใ่ คร จะอยากพูดคุยดว้ ย 30. ฉันรู้สกึ ไมม่ นั่ ใจเวลาไปไหนมาไหนแลว้ มีคน มองมาทางฉัน (ทัศนยี ์ สุระไชย,2554)

171 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 2 กลญั ญู เพชราภรณ์. การเขา้ ใจผอู้ ืน่ . อ้างถึง http://www.ge.ssru.ac.th. คณาจารย์สถาบนั พระบรมราชชนก. (2541). การพยาบาลจิตเวชและสขุ ภาพจิต. กรุงเทพฯ : ยทุ ธรนิ ทร์การพมิ พ์. ทัศนยี สรุ ิยะไชย. (2554). ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการตระหนักรใู้ นตนเองกบั การรว่ มรสู้ กึ ในวัยรุ่น. มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ ทัศนา บญุ ทอง. (2544). เครอ่ื งมอื ของพยาบาลจติ เวชในการบาํ บัดทางจิต. เอกสารการสอนชุด วิชาการส่งเสริมสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจติ เวชหนว่ ยท่1ี -7.(2544).นนทบรุ ี : สุโขทยั ธรรมาธิราช. ประสทิ ธิ์ ทองอุน่ และคณะ. (2542). พฤติกรรมของมนษุ ยก์ ับการพัฒนาตน. กรงุ เทพฯ. บรษิ ัท เธริ ด์ เวฟ เอด็ ดูเคช่นั จํากัด. พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน. (2543). การรู้จักตนเอง. สรนิ ฎา ปตุ ิ.อรยิ า คูหา. (2552). ผลของกจิ กรรมตามแนวคดิ การปรับพฤติกรรมทางปญั ญาทีม่ ตี อ่ การเหน็ คณุ คา่ ในตนเองและทักษะชีวติ ของผูต้ ดิ ยาเสพติด มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ วิทยาเขตปัตตาน.ี สุธนี ลิกขะไชย. (2555). ผลของการใช้โปรแกรมต่อการเห็นคุณคา่ ในตนเองของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 - 3 โรงเรยี นลอยสายอนุสรณ์. สํานกั งานเขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ สวุ นีย์ เกี่ยวกงิ่ แกว้ . (2544). แนวคิดพน้ื ฐานทางการพยาบาลจติ เวช. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 3 เชียงใหม่ โรงพิมพ์ปอง. เสริมศกั ดิ์ วศิ าลาภรณ์. (2522). พฤตกิ รรมผู้นาํ ทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พไ์ ทยวฒั นาพานิช. วัฒนา พฒั นพงศ.์ (2536). มนุษยสัมพนั ธ.์ กรงุ เทพฯ : พับลบิ สิ เสนพริน้ ส์. อรพรรณ ลือบุญธวชั ชยั . (2545). การพยาบาลสขุ ภาพจติ และจิตเวช. กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพแ์ ห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. อาภา จนั ทรสกลุ . (2530). แผนภมู บิ คุ ลกิ ภาพ. วารสารศกึ ษาศาสตร์ปรทิ ัศน์. ปที ่ี 3 ฉบับท่ี 3. . (2535). ทฤษฎีและวิธีการใหค้ ําปรกึ ษา. พิมพ์คร้ังท่ี 4 กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ Adele B. Lynn. (2005). Inteligencja emocjonalna EQ. Studio Emka. Reference https://books.google.com/.../Inteligencja_emocjonalna_EQ_w_miejscu_p...278

172 Aristotle. (469-399). Routledge Encyclopedia of Philosophy. Oxford Translation, Princeton, NJ: Princeton University Press, 1984, 2 vols. Reference https://www.rep.routledge.com/...469-399-bc/v.../socrates-469-399-bc-b Bablablels. (1984). Reference Sutanee Ligkachai. (2012). Branden. (1985). Enhancing Self-Esteem. New York: Ziff-David Publishing. Carl R. Roger. (1970). A Theory of Personality with Schizophrenics and a Proposal for Its Empirical Investigation. Louisiana State University. Coopersmith. (1981). Self Esteem Inventory Adult Form (CSEI)-Statistics. Educational and Psychological Measurement. Reference https://www.statisticssolutions.com/coopersmith-self-esteem-inventory-ad Davis Hume. (1989). Reference https://sites.google.com/a/srisawat.ac.th/chiwit-dek-m- 6/kar-rucak-taw-xeng Feshbach. (1996). Understanding Early Adolescent Self and Identity. Reference https://books.google.co.th/books?isbn=0791488756 Frank and Marcella. Moder English: a practical Reference Guide. Reference https://www.goodreads.com/book/show/4267782-modern-english Goleman. (1998). Emotional intelligence and organizational. Popular Book. Higgins, Markus & weef. (1987). Self Discrepancy : A Theory Ralating Self and Affect. Reference https://www.researchgate.net/.../19545638_Self Discrepancy_A_Theory_Relating_Sel... Youlng, K. (1940). Personality and Problems of Adjustment. New York: Crofts. p. 868 Klein, Loftus & Button. (1989). Reference https://sites.google.com/a/srisawat.ac.th/chiwit-dek-m-6/kar-rucak-taw-xeng Koffka. (1978). Toward A Psychology of Situations: An Interactional Perspective. Journal of Personality. University of Cambridge. Lindenfield. (1995). The power of personal development : Management Development. Management Development Review. Luthans and Faculty. (2007). Positive Psychological Capital: Measure and Relationship with Performance and Setisfaction. Reference https://www.researchgate.net/.../227636268_Positive_Psychological_Cap.

173 Markus. (1977). Self schemata and Processing information about the self. Journal of Personality and Social Psychology, 35(2), 63-78. Reference http://dx.doi.org/10.1037/0022-3514.35.2.63 Maslow. (1970). Maslow’s Hierarchy of Needs. Reference https://www.simplypsychology.org/maslow.html Maslow. (1987). Motivation and Personality. New York. : Harper & Row Publishers. Montes. (1533-1592). A History of the Behavioral Therapies: Founders’ Personal Histories.Reference https://books.google.co.th/books?isbn=1608825876 Mayer and Salovey. (1997). Emotional Intelligence. American Psychologist. Vol.63, No.6, 503-557. Newman. (2003). Understanding Human Behavior and the Social Environment. Biological Development in Adolescence. Plato. (427-347). Theory of Objective. Reference www.teacher.ssru.ac.th/narong_an/file.php/1/JRI2301/_-1.pptx Roger. (1961). Reference http://humaneco.stou.ac.th/ Rosenberg. (1979). Reference Sutanee Ligkachai. (2012). Sturat and Sundeen. (1983). Reference http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog- post_7022.html Sutanee Ligkachai. (2012). The Effect of Developing Program on Self-Esteem of Matthayomsuksa 1-3 Students of Loysaianusorn School in Lat Phraodistrict., Bangkok. Taf. (1985). Reference Sutanee Ligkachai. (2012). Weiner. (1999). Reference Sarinpa Pithi Ariya Kuha. (2009). http://ge.kbu.ac.th/ 8 มถิ ุนายน 2559 http://sanyod019.blogspot.com/2012/07/blog-post_7866.html 8 มิถนุ ายน 2559 http://sirirut2003.blogspot.com/2010/05/blog-post_7022.html 8 มิถุนายน 2559 http://tongsbac.blogspot.com 8 มถิ นุ ายน 2559 http://wbc.msu.ac.th/ge/0502102/page03_4_1.html 8 มิถนุ ายน 2559 https://www.google.co.th/search 27 พฤษภาคม 2559 https://www.google.co.th/search 8 มิถุนายน 2559 http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Maslow_Theories.htm 8 มถิ นุ ายน 2559

174 http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มิถนุ ายน 2559 http://www.ge.ssru.ac.th 8 มถิ ุนายน 2559

175 แผนบรหิ ารการสอนประจําบทที่ 3 การคิดอย่างมีสติ เวลาเรยี น 6 ชัว่ โมง จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม หลังจากไดศ้ ึกษาบทเรียนนี้แล้ว นกั ศึกษาควรมพี ฤติกรรม ดังน้ี 1. อธิบายความหมายของการคิด, ความสําคัญของการคิด, ปัจจัยพื้นฐานของการคิด, เครื่องมือที่ใช้ในการคิด, กรอบการคิด, ทักษะการคิด, ลักษณะการคิด, กระบวนการของการคิด, ประเภทของการคิด, ลักษณะการคิดแบบต่างๆ, การคิดอย่างมีสติ, อุปสรรคของการคิด, การป้องกัน และแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งในการคิดได้ 2. คดิ อยา่ งมสี ตไิ ปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ได้ เนื้อหา 1. ความหมายของการคดิ 2. ความสาํ คญั ของการคดิ 3. การเกิดของการคดิ 4. กระบวนการของการคดิ 5. กรอบการคิด 6. ทักษะการคิด 7. ลักษณะการคดิ แบบตา่ งๆ 8. ประเภทของการคดิ 9. การคดิ อย่างมสี ติ 9.1 การคดิ แบบอภิปญั ญาหรือการรูค้ ดิ 9.1.1 ความหมายของการคิดแบบอภิปญั ญาหรอื การรคู้ ดิ 9.1.2 กระบวนการรคู้ ดิ 9.1.3 พัฒนาการด้านการรูค้ ดิ 9.1.3.1 ทฤษฎีพัฒนาการสตปิ ญั ญาของเพยี เจท์ 9.1.3.2 ทฤษฎพี ฒั นาการสติปญั ญาของบรูนเนอร์ 9.1.3.3 ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ของเพยี เจท์

176 9.1.3.4 ทฤษฎกี ารสร้างความรูด้ ว้ ยตนเอง วกี ็อสก้ี 9.1.3.5 ทฤษฎีการเรียนรอู้ ยา่ งมีความหมายของออซูเบล 9.2 การคดิ แบบญาณปัญญาหรือแบบหยัง่ เห็น 9.3 การคดิ บวก 9.4 การคดิ แกป้ ญั หาและการตัดสนิ ใจ 9.4.1 การคิดแกป้ ญั หา 9.4.2 การตดั สินใจ 9.4.2.1 ความหมายของการตดั สนิ ใจ 9.4.2.2 ความสาํ คญั ของการตดั สนิ ใจ 9.4.2.3 ลกั ษณะของของการตัดสินใจ 9.4.2.4 ชนดิ ของการตดั สินใจ 9.4.2.5 กระบวนการตดั สนิ ใจ 9.4.2.6 ทฤษฎีการตัดสนิ ใจ 9.6 การคิดอย่างมีวิจารญาณ 9.6.1 ความหมายของการคิดอย่างมีวิจารญาณ 9.6.2 ลําดับขั้นของกระบวนคิดอยา่ งมวี ิจารญาณ 9.6.3 ความสามารถในการคดิ อยา่ งมีวิจารญาณ 9.7 การคดิ สรา้ งสรรค์ 9.7.1 นยิ ามของการคิดสร้างสรรค์ 9.7.2 ความหมายของการคดิ สรา้ งสรรค์ 9.7.3 วธิ กี ารปรบั ปรุงทกั ษะคิดสร้างสรรค์ 9.7.4 ขอบเขตของการคิดสร้างสรรค์ 9.7.5 วิธีการคิดสร้างสรรค์ 9.7.6 องคป์ ระกอบของการคดิ สร้างสรรค์ 9.7.7 กระบวนการสร้างการคดิ สรา้ งสรรค์ 9.7.8 วธิ ีการฝกึ เพ่ือพฒั นาศักยภาพของการคดิ สรา้ งสรรค์ 9.7.9 วธิ พี ฒั นาการคิดสรา้ งสรรค์ 9.7.10 การฝึกในมุมต่างมมุ 9.7.11 การสรา้ งทัศนคติทีเ่ อือ้ ต่อของการคิดสรา้ งสรรค์ 10. อปุ สรรคของการคิด 11. การปอ้ งกนั และแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งในการคดิ

177 กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. จากสปั ดาหท์ แ่ี ล้ว สง่ งานเปน็ รายบุคคล 2. บรรยาย สรุปเน้ือหาสาระสําคญั ประกอบการนําเสนอดว้ ย Microsoft Power Point ในหัวข้อ ความหมายของการคิด, ความสําคญั ของการคดิ , ปัจจยั พืน้ ฐานของการคิด, เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ น การคิด, กรอบการคดิ , ทักษะการคดิ , ลักษณะการคดิ , กระบวนการของการคิด, ประเภทของการคิด, ลกั ษณะการคดิ แบบต่างๆ, การคิดอย่างมีสติ 3. แบง่ กลุม่ นกั ศกึ ษา นกั ศกึ ษารว่ มกนั สรปุ สาระสําคัญโดยใชส้ รปุ เปน็ แผนภูมิความคิด (Mind map) เกย่ี วกับการคิดอยา่ งมสี ติ แตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั อภปิ รายหน้าช้นั เรียน 4. นกั ศึกษาสนทนา-ซักถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 5. มอบหมายงานศกึ ษาค้นควา้ 6. ทบทวนโดยคาํ ถามท้ายบท สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารคําสอน 2. หนังสือ ตาํ ราทเ่ี ก่ยี วขอ้ งจติ วิทยา 3. กิจกรรมกลมุ่ 4. Microsoft Power Point ทีจ่ ดั ทาํ ในหัวข้อต่างๆ 5. คาํ ถามท้ายบท

178 การวัดผลและประเมินผล จดุ ประสงค์ เครื่องมอื /วิธกี าร การประเมินผล 1. อธบิ ายความหมายของการคดิ , 1. ซกั ถาม แลกเปลย่ี น 1. นกั ศกึ ษาตอบคําถาม ความสําคัญของการคิด, ปจั จยั พื้นฐานของการคิด, เครื่องมอื สนทนาพูดคุย ตอบคําถาม ถกู ต้องได้ร้อยละ 80 ทใี่ ชใ้ นการคิด, กรอบการคดิ , ทกั ษะ การคิด, ลักษณะการคิด, 2. ปฏบิ ตั ิงานในการศกึ ษา 2. ศึกษาคน้ ควา้ งานอยู่ใน กระบวนการของการคดิ , ประเภท ของการคดิ , ลกั ษณะการคดิ แบบ คน้ ควา้ ระดบั ดี ตา่ งๆ, การคดิ อยา่ งมสี ต,ิ อปุ สรรค ของการคดิ , การป้องกันและแกไ้ ข 3. รว่ มปฏบิ ัติแผนภมู ิความคิด 3. แผนภูมิความคดิ (Mind ขอ้ บกพรอ่ งในการคดิ ได้ 2. คดิ อย่างมีสตไิ ปใชใ้ น (Mind map) map) อยใู่ นระดบั ดี ชีวิตประจําวันได้ 4. การสงั เกตพฤติกรรม 4. สังเกตพฤติกรรมใน การร่วมกจิ กรรม การเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ / 5. สังเกตการณน์ าํ เสนอหนา้ ความสนใจ/ความร่วมมืออยู่ ชน้ั เรยี น ในระดบั ดี 6. การมอบหมายงานคําถาม 5. การนําเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น ท้ายบท อยู่ในระดับดี 6. นักศึกษาทาํ คาํ ถาม ทา้ ยบทถูกตอ้ งร้อยละ 80

179 บทท่ี 3 การคดิ อยา่ งมีสติ ในเรือ่ งการคิดซ่อนอย่ภู ายในไมส่ ามารถสังเกตเห็นได้ จงึ เป็นการยากท่จี ะศกึ ษาการคิด ขอให้ ลองพจิ ารณากระบวนการคดิ ของตวั เอง เราไม่สามารถรวบรวมความคดิ ของเราทั้งหมดไดใ้ นขณะน้ี เพราะการคิดของตวั เรานน้ั มีมากมายและเปน็ การสือ่ สารภายในตัวท่ีเป็นอิสระ แมก้ ารคดิ ของเราจะ เป็นส่วนตวั และมีลกั ษณะคลา้ ยกับการฝนั กลางวัน แต่การคดิ ของเราสว่ นมากไดม้ าจากสงิ่ แวดล้อม รอบตัวเราและมจี ดุ มงุ่ หมายเฉพาะ อาจเป็นในลักษณะคิดหาเหตผุ ลได้ ภาพที่ 52 แสดงภาพการคดิ (1) (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 24 สงิ หาคม 2559) แม้ว่าการคิดจะไม่ปรากฏให้เห็นได้ชัด นักจิตวิทยายังถือว่า การคิดเป็นรูปแบบหนึ่งของ พฤตกิ รรมการคิดมักเก่ยี วขอ้ งกบั ประสบการณด์ า้ นสัญลกั ษณ์ เปน็ ประสบการณท์ ด่ี าํ เนนิ ไปเรอื่ ยๆ มี จินตนาการและอาจมรี ปู แบบซ้าํ นักจิตวทิ ยาสว่ นใหญ่เชอ่ื ว่าคนเรามีการคิดเกดิ ขึ้นตลอดเวลา แมว้ ่า จะไม่มีสิ่งเรา้ เปน็ พเิ ศษเฉพาะ โดยอาจมกี ารรวบรวมความคดิ เห็น สญั ลักษณแ์ ละเหตกุ ารณต์ ่างๆ ท่ี เกดิ ข้นึ มาคิดและการคดิ เร่อื งหน่ึงอาจเป็นตัวเรา้ ใหเ้ กดิ การคดิ ท่ตี อ่ เน่ืองเรอ่ื ยๆได้ (บงั อร ชินกุลกจิ นวิ ฒั น,์ 2547 : 228)

180 1. ความหมายของการคดิ http://www.baanjomyut.com/library_2/scientific_thinking_skills/01.html 21 กรกฎาคม 2559 ให้ความหมายของการคดิ ดงั นี้ ไบเออร์ (Beyer, 1987) (ดร.สุวิทย์ มลู คาํ , 2549: 13) ไดก้ ล่าววา่ การคิด คอื การค้นหาความหมาย ผทู้ ค่ี ดิ คอื ผู้ทก่ี าํ ลังค้นหาความหมายของอะไรบางอยา่ ง คอื กาํ ลังใช้สติปญั ญา ของตนเอง ทาํ ความเขา้ ใจกบั การนําความรใู้ หมท่ ไี่ ด้รบั รวมเข้ากับความรดู้ ้ังเดิมหรือประสบการณ์ทม่ี ีอยู่ เพอื่ หาคําตอบว่าคอื อะไร หรือการเอาขอ้ มลู ท่ีเพิง่ รบั เขา้ มาใหม่ไปรวมกบั ข้อมูลเก่าทรี่ าํ ลกึ ได้ เพอ่ื สรา้ ง เป็นความคิดอ่านหรือขอ้ ตัดสิน สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (ดร.สวุ ทิ ย์ มูลคาํ , 2549: 13) การคิด เป็น กลไลของสมองท่เี กิดข้ึนตลอดเวลาซ่ึงเปน็ ไปตามธรรมชาติ มนุษย์ใชใ้ นการสร้างแนวความคดิ รวบยอด ด้วยการจาํ แนกความแตกต่างกัน การจัดกลุ่มและการกาํ หนดช่ือเรื่องเก่ียวับข้อเท็จจริงที่ได้รับ กระบวนการที่ใช้ในการแปลความหมายของข้อมลู รวมถงึ การสรุปอา้ งอิงดว้ ยการจาํ แนกรายละเอยี ด การเชือ่ มโยงความสัมพันธข์ องขอ้ มูลทไ่ี ดร้ บั ซึง่ ข้อมลู ทนี่ ํามาใช้อาจจะเปน็ ความจริงทส่ี ัมผสั ไดห้ รือ เปน็ เพยี งจินตนาการทีไ่ มอ่ าจสมั ผสั ได้ ตลอดจนเปน็ กระบวนการทเ่ี กี่ยวกบั การนาํ กฎเกณฑ์ตา่ งๆ ไป ประยุกต์ใช้ได้อย่างมีเหตุผลและเหมาะสม การคิดเป็นผลที่เกิดข้ึนจากการที่สมองถูกรบกวนจาก สิ่งแวดล้อม สงั คมรอบตัวและประสบการณด์ ้งั เดิมของมนุษย์ ดร.สาโรช บัวศรี (ดร.สุวทิ ย์ มูลคาํ , 2549: 13) การคิด เปน็ กจิ กรรมทางจติ อย่างหน่ึง ซงึ่ ประกอบด้วยลักษณะ 3 ประการ ไดแ้ ก่ ความรู้สึก ความจํา และจินตนาการ ศ.ดร.เกรียงศักด์ิ เจรญิ วงศศ์ ักดิ์ (2547) การคิดเป็นผลจากการทํางานของสมองใน การก่อรูป (Formulate) บางส่ิงบางอยา่ งขึน้ ในมโนคติ (mind) ผา่ นการทํางานของระบบการรับรู้ทาง จิต (cognitive system) โดยในบางสว่ นของความคิดจะทําหนา้ ที่แยกแยะการกระทาํ และความรู้สึก ผ่านกระบวนการทางความคดิ อนั นําไปสพู่ ฤตกิ รรมท่ีตอบสนองสถานการณน์ ้นั การคิดเปน็ เร่อื งสาํ คัญ ไมเ่ หมือนกนั เปน็ จนิ ตนาการ หวนรําลกึ ใช้เหตผุ ลและแกไ้ ขปญั หา นอกจากนัน้ แลว้ ยังเสรมิ เกย่ี วกบั สิ่งที่ทาํ ให้คนเราคิด สรปุ ไดด้ งั น้ี 1) การคิดเก่ียวขอ้ งกับความอยู่รอด เพราะความอยรู่ อดจะทําให้เราคดิ และ หากไมม่ กี จ็ ะเปน็ เรื่องยากท่ีจะอยรู่ อด 2) ความตอ้ งการสิ่งแปลกใหม่ กระตนุ้ ให้คดิ เพราะมนุษย์ไม่ได้ยดึ ติดกับสง่ิ เดิม และพยายามหาสง่ิ ใหมอ่ ย่เู สมอ ทง้ั นี้เพอ่ื เปล่ยี นแปลงไปสู่สง่ิ ท่ดี ีกว่า 3) ความสงสยั กระตุ้นใหค้ ิด โดยเกดิ การเรียนรู้ อยากรู้อยากเหน็ เพื่อการคลี่คลายคาํ ถามที่มีอยู่นัน้ ให้หมดสงิ่ ไป

181 4) สภาพปัญหา กระตุ้นให้คิด เพื่อหาทางออกของปัญหาหรือการแก้ไข เปล่ียนแปลงให้ดกี ว่าเดิม จนสามารถนําไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไปได้ http://home.kku.ac.th/thai416102/SubjectWeb/Critical- Reading_Meaning.htm 21 กรกฎาคม 2559 ให้ความหมายของการคิด ดังนี้ นรีรัตน์ สรอ้ ยศรี ความหมายของการคิด ดังนี้ ความหมายที่ 1 การคดิ เปน็ กระบวนการทาํ งานของสมอง โดยใชป้ ระสบการณ์ มาสมั พันธ์กบั สง่ิ เรา้ และขอ้ มูลหรือสิง่ แวดลอ้ ม เพ่ือแก้ปญั หา แสวงหาคาํ ตอบ ตัดสนิ ใจ หรอื สรา้ งสรรค์ สงิ่ ใหม่ ความหมายที่ 2 การคดิ เป็นพฤตกิ รรมทเี่ กดิ ในสมอง เป็นนามธรรม ไมส่ ามารถ มองเห็นไดด้ ว้ ยตาเปล่า การจะรู้ว่ามนุษยค์ ิดอะไร อย่างไร จะต้องสังเกต จากพฤตกิ รรมท่ีแสดงออก หรอื คําพูดออกมา http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_is.htm 21 กรกฎาคม 2559 ให้ความหมายของการคดิ ดังน้ี ฮลิ การด์ (Hilgard) กล่าววา่ การคิดเป็นพฤตกิ รรมท่ีเกิดข้นึ ในสมองอนั เนื่องมาจากการใชส้ ญั ลกั ษณแ์ ทนสิง่ ของ เหตุการณห์ รอื สถานการณ์ ตา่ งๆ บรูโน (Bruno) กล่าวว่า การคิดเป็นกระบวนการทางสมองที่ใช้สัญลักษณ์ จินตภาพ ความคิดเหน็ และความคดิ รวบยอดแทนประสบการณใ์ นอดตี ความเปน็ จริงท่ปี รากฏและ ความเป็นไปได้ในอนาคต การคิดจึงทําให้คนเรามีกระบวนการทางสมองในระดับสูง กระบวนการ เหล่าน้ี ได้แก่ ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา จนิ ตนาการ ความใส่ใจ เชาวนป์ ัญญา ความคดิ สร้างสรรค์และอ่ืนๆ มากาเรต ดับบลวิ แมทลิน (Matlin) กล่าวว่า การคดิ เป็นกิจกรรมทางสมอง เปน็ กระบวนการทางปัญญา ซ่ึงประกอบด้วยการสมั ผัส การรับรู้ การรวบรวม การจํา การรอ้ื ฟ้ืน ข้อมูลเก่าหรือประสบการณ์โดยท่ีบุคคลนาํ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ เก็บไว้เป็นระบบ การคิดเป็น การจดั รูปแบบของขอ้ มูลขา่ วสารใหมก่ ับขอ้ มูลเกา่ ผลจากการจดั สามารถแสดงออกมาภายนอกให้ ผ้อู นื่ รับรู้ได้ สรุปได้ว่า การคิด เป็นกระบวนการทางสมองท่ีใช้สัญลักษณ์หรือภาพแทน ส่ิงของ เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นกระบวนการทางสมองในระดับสูง อันได้แก่ ตรรกศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษา จนิ ตนาการ ความใสใ่ จ เชาวน์ปญั ญา ความคิดสร้างสรรค์ และอน่ื ๆ นําจัดระบบความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร เพือ่ แกป้ ัญหา แสวงหาคําตอบ ตัดสินใจหรอื สรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม่

182 2. ความสาํ คญั ของการคดิ การคิด เปน็ ธรรมชาติของมนุษยท์ ส่ี ําคญั ทส่ี ดุ ท่จี ะมีผลและรากฐานของการเปล่ียนแปลง ในชวี ติ เป็นสง่ิ จาํ เปน็ สําหรับการดาํ รงชีวิตในสงั คมทซ่ี บั ซอ้ น แตล่ ะบุคคลในการดาํ เนนิ งานของสังคม สังคมจะก้าวหน้าต่อไปได้ก็เมื่อบุคคลในสังคมมีความคิด รู้จักคิดป้องกันหรือคิดแก้ปัญหาใน ชีวิตประจําวันและพัฒนาปรับปรุงภาวะต่างๆ ให้ดีขึ้น บุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับเด็ก จึงต้องช่วยพัฒนา ความสามารถในการคิดให้แก่บุคคลอย่างสม่าํ เสมอ เพื่อให้เป็นคนที่มีความคิดกว้างไกล สามารถ ดาํ รงชวี ิตในสงั คมไดอ้ ยา่ งราบร่นื คนตอ้ งคดิ เป็น คนทไ่ี ม่ชอบคิดหรือคิดไม่เปน็ ยอ่ มตกเป็นเหยื่อของ คนช่างคดิ คนต้องอาศยั ความคดิ เป็นสิง่ นําไปสกู่ ารดําเนินชวี ติ การดําเนินงานท่ีมปี ระสิทธิภาพและ สัมฤทธ์ิผล การคิดเปน็ กระบวนการทางจิตใจมีความสาํ คัญตอ่ การเรียนรู้ แมว้ า่ ทุกคนจะมคี วามคิดแต่ กม็ องไมเ่ หน็ ได้โดยตรง ต้องอาศยั การสังเกต พฤติกรรม การแสดงออกและการกระทาํ ถ้าคนแตล่ ะคน คิดดี คดิ ถกู ต้อง คิดเหมาะสม การดาํ เนินชวี ิตของคนและความเปน็ ไปของสงั คม กจ็ ะดาํ เนินไปอยา่ งมี คณุ ค่าสูง การคิดจงึ เปน็ เรือ่ งสําคญั ของมนษุ ย์ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_is.htm 21 กรกฎาคม 2559) (http://www.baanjomyut.com/library_2/scientific_thinking_skills/02.html 21 กรกฎาคม 2559) จอหน์ ดวิ อ้ี (John Dewey) ไดใ้ หแ้ นวคิดเกย่ี วกับความสําคัญของการคิดว่า เปน็ สง่ิ ที่ มีคณุ ค่าเพราะการคิดช่วยให้คนได้มองเห็นภาพปัญหาต่างๆ ในอนาคตซึ่งจะช่วยให้บุคคลได้คิดหา แนวทางในการหลกี เลย่ี งหรอื ป้องกนั ไดแ้ ละการคดิ ชว่ ยขยายความหมายของสงิ่ ต่างๆ ในโลกได้ และ ผลกระทบที่อาจเกิดขนึ้ จากการคิด คอื คนจะมีการปฏิบตั หิ รอื การกระทาํ ตามที่เขาคดิ ถงึ แมว้ า่ มนั จะ ถูกหรือผิดก็ตาม เนื่องจากการคิดมีพลังอาํ นาจ จึงต้องการการควบคุมโดยได้แนะนําวิธีการทาง วิทยาศาสตรใ์ นการชว่ ยรกั ษาความคดิ ใหเ้ ปน็ ไปอย่างถกู ตอ้ ง โดยมีการควบคมุ เง่อื นไขภายใต้การสงั เกต และการสรุปความคดิ ตามสงิ่ ทเี่ กิดขึ้นและไดม้ กี ารทบทวนแนวคดิ โดยกล่าววา่ สงิ่ ทบี่ คุ คลรจู้ ะเป็นสง่ิ ท่ี กระต้นุ ใหเ้ กดิ กระบวนการคดิ ครัง้ แรกแลว้ จึงนาํ ไปสูก่ ารคิดในสงิ่ อน่ื ๆ ซง่ึ ก่อใหเ้ กิดความสมบรู ณข์ อง กระบวนการคดิ น้ัน เนื่องจากการคิดมอี ทิ ธพิ ลอยา่ งมากจากกิเลสท่ีอยูภ่ ายในตวั บุคคลและสังคม การ คิดทผี่ ิดจึงไดก้ าํ หนดเง่อื นไขโดยเปิดใจกว้างในการคิด ซึง่ จะชว่ ยใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ ทีเ่ หมาะสมและเปน็ จริง และจากการควบคุมเง่ือนไขสามารถชว่ ยกาํ หนดกรอบแนวคิดทดี่ ีสําหรบั ความจริง ทาํ ให้การคิดมคี วาม สมบูรณข์ ึน้ โดยจะพยายามใหเ้ กดิ ความชดั เจนในการตรวจสอบโดยปราศจากอคติ

183 ภาพท่ี 53 แสดงภาพการคดิ (2) (ที่มา https://www.google.co.th/search 24 สิงหาคม 2559) นิสัยในการคดิ การคดิ สามารถเกิดขึ้นได้จากส่ิงกระตุ้นหรือการฝกึ นสิ ัยในการคิด ดังน้ี (Bragg, 2001, pp.31 – 44; Dewey, 1933, pp.36 – 48) ความกระตือรือรน้ หรือความอยากรู้ อยากเห็นส่ิงที่มีชีวิตทั้งหลายท่ีอยู่ในโลกนี้ ขณะตื่นจะมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมโดยรอบด้วย ประสาทสัมผสั ทั้งหา้ โดยจะมกี ารกระทาํ กับสิง่ นนั้ และรับผลกระทบทย่ี ้อนกลับมาจากสิ่งนน้ั ด้วย กระบวนการของการปฏิสมั พันธจ์ ะสรา้ งให้เกิดกรอบของประสบการณ์ เมอ่ื เข้าสู่วยั ผ้ใู หญห่ ลายๆ สงิ่ ที่ เข้ามาสมั ผัส มักเป็นสิง่ ทเ่ี คยสมั ผสั มาแล้วซ่งึ อาจทาํ ใหร้ สู้ ึกเบอ่ื แตส่ าํ หรบั เด็กทกุ ส่ิงทุกอยา่ งในโลกนี้ ยังเป็นส่ิงใหม่และทุกสิ่งที่เป็นสิ่งใหม่ จะทําให้เด็กต่ืนเต้นและอยากรู้อยากเห็น น่าค้นหาโดยไม่มี ความอดทนท่ีจะคอย ฉะน้นั จงึ เป็นปจั จัยขน้ั แรกทีเ่ ปน็ บ่อเกิดในการพัฒนาใหม้ กี ารคดิ แบบวิจารณญาณ ระดับความกระตือรอื ร้นมี 3 ระดบั คือ ระดับที่ 1 ปรากฏการณ์คร้งั แรก ความกระตอื รอื ร้นมักจะไมไ่ ดม้ าจากการคิด แตเ่ ป็นสัญชาตญาณของสงิ่ มชี วี ิต เชน่ หนจู ะว่ิง ดม ขุด โดยไม่มีจุดมุ่งหมาย เช่นเดียวกบั เด็กเล็กๆ ที่ จะมกี ิจกรรมตา่ งๆ เพ่ือการตรวจสอบคน้ หาตลอดเวลา โดยไมม่ ีการหยดุ นง่ิ เชน่ การดูดนิว้ มอื การดึง และการผลกั สง่ิ ของการจับและโยนเป็นตน้ ระดบั ท่ี 2 มกี ารพฒั นาขน้ึ จากระดับแรก โดยมีอิทธพิ ลจากสงิ่ เร้าในสงั คมเมื่อ เด็กเกดิ การเรียนรู้ ว่า เขาสามารถเรียกรอ้ งให้บคุ คลอ่ืนได้ชว่ ยเหลอื เขาในการจดั หาสง่ิ ต่างๆ ทจ่ี ะชว่ ย เพ่ิมความสนใจ เมอ่ื มบี างครัง้ ทเี่ ขาได้สัมผสั ส่ิงที่ไมน่ า่ สนใจแล้ว ดงั นนั้ ในช่วงนีเ้ ดก็ จะเร่มิ ต้ังคําถาม

184 วา่ อะไร ทําไม แต่คําถามของเขาสว่ นใหญม่ ักไมม่ ขี อ้ มลู ทเี่ ก่ียวขอ้ งมาสนับสนุน แตจ่ ะเป็นการอยากรู้ ในสง่ิ ท่ีสงสยั เกย่ี วกับสิ่งแวดล้อม ระดับท่ี 3 เป็นระดับท่ีเก่ียวข้องกับการใช้สติปัญญาโดยจะปรับเปลี่ยนเป็น ความสนใจในปญั หาโดยมกี ารสังเกตสงิ่ ต่างๆ และมีการรวบรวมขอ้ มูลทจ่ี ําเปน็ และมคี วามต่ืนตัว ใน การแสวงหาคําตอบด้วยตนเอง ซงึ่ มคี วามแตกตา่ งกบั ระดับท่ี 2 ซึง่ เป็นระดับของสงั คมท่ีเด็กมักจะมี ความสนใจในการถามมากกว่าความสนใจกบั คาํ ตอบ จงึ ใหค้ วามสนใจกบั แต่ละคาํ ถามโดยใชเ้ วลาส้ันๆ จงึ ไมส่ ามารถพฒั นาเขา้ สู่การฝกึ การคิดได้ การถามและการตอบสามารถชว่ ยกระตุน้ การคดิ ได้ โดยการตงั้ ประเดน็ คําถามทีส่ ําคัญ จะช่วยกระตุ้นความกระตือรอื ร้นในการแสวงหาคาํ ตอบ โดยการใช้เทคนิค การสืบสวนและการสังเกต ซึ่งใช้เป็นทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ ซึ่งในระดับนี้กระตุ้นความคิดให้เกิดการคิดโดยใช้ปัญญาได้ ความกระตอื รือรน้ จะเป็นแรงกระตนุ้ ทางบวกท่ีจะทาํ ให้บคุ คลมีจิตใจเปิดกว้างทีจ่ ะเรียนรู้ การลดลง ของความกระตอื รือร้น มักเกดิ ขน้ึ จากความไมส่ นใจ หรอื ไมเ่ อาใจใส่ สนใจแต่งานทที่ าํ ตามกิจวตั ร จึง ไมเ่ ข้าถึงปัญหาและข้อเท็จจริงใหม่ และมคี วามอยากรู้อยากเห็นเฉพาะสิ่งที่เกีย่ วข้องกับผลประโยชน์ ในงาน ความคิดเห็นทเี่ กิดขน้ึ เองโดยบคุ คลนั้น ความคดิ เห็นที่เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาตทิ เ่ี กิดขึน้ ครงั้ แรก และเกดิ ขน้ึ เองโดยบคุ คลนน้ั ๆ ซึ่งเกิดจากประสบการณ์โดยทาํ ใหบ้ ุคคลไดม้ องสิง่ ต่างๆ ไดไ้ มเ่ หมอื นกัน เชน่ เดก็ บางคนมองเห็นนกตามท่ีเป็นอยู่ แต่บางคนมองเหน็ นกแตค่ ดิ ถงึ บางสงิ่ บางอย่างทีเ่ กยี่ วกบั นก ตามประสบการณ์ท่มี ี เช่น การบิน การกินอาหาร การร้องเพลง เปน็ ตน้ ซ่ึงไม่ได้ปรากฏขนึ้ ในขณะน้ัน ดังนั้น ความคดิ เห็นจงึ เกดิ ข้ึนจากมีบางสง่ิ บางอย่างเกดิ ขนึ้ กบั บคุ คลในอดีต และไม่ใชส่ ่ิงทเี่ ปน็ อยูใ่ น ปจั จุบนั ความคิดเห็นมดี ้วยกนั หลายมิติ มคี วามแตกตา่ งกันไปในแต่ละคนประกอบด้วย การคิดคล่อง หรอื คดิ เรว็ กลา้ ท่จี ะคดิ และมีความคิดหลง่ั ไหลออกมาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ จะชว่ ยให้เกดิ ความตื่นตวั ใน การตอบสนองโดยมกี ารตีความและช่วยให้เกดิ ความคดิ เห็นตามมา การคิดหลากหลาย ความคดิ หลายๆ ลกั ษณะหลายประเภทชนดิ หลายรปู แบบ ถา้ มี ความคิดเห็นท่ีน้อยเกินไป ก็เป็นส่ิงบ่งช้วี ่า มขี ้อมูลทไ่ี ม่เพียงพอหรือขาดแคลน ความคิดเหน็ ทม่ี ีจาํ นวน มากท้ังเหน็ ด้วยและขดั แยง้ กัน ทําใหย้ ากต่อการตดั สนิ ใจและความคดิ เหน็ ทีม่ ากเกินไปทําใหเ้ ปน็ อุปสรรค ต่อการเรียบเรียงลําดับความเป็นเหตุ ดงั นั้น การคดิ ที่ดีทีส่ ดุ คือ การมีความสมดุลระหว่างความมาก และนอ้ ยของความคดิ เห็น การคิดลกึ ซึง้ เปน็ การคิดใหเ้ กดิ ความเข้าใจอย่างแทจ้ รงิ ในส่ิงท่คี ิด โดย เขา้ ใจถงึ สาเหตุท่ีมาและความสมั พนั ธต์ ่างๆทซ่ี ับซ้อนของโครงสร้างและรวมท้ังคณุ ค่าหรือความหมาย ท่แี ท้จริงของสงิ่ ท่ีคิด

185 3. การเกิดของการคิด สถานการณ์ การเกิดของการคิด เขยี นเป็นแผนผังไดด้ งั นี้ ขอ้ มูล สิ่งแวดล้อม ส่ิงเรา้ กระบวนการรบั รู้ ประสาทสัมผสั ท้ังห้า : ตา หู จมูก ลิน้ ผวิ กาย สภาวะความไม่สมดุล เกดิ ข้อสงสยั เกิดปัญหา เกดิ ความขดั แยง้ ตอ้ งการปรบั สภาวะให้สมดลุ ตอบขอ้ สงสยั กระบวนการคดิ ขจดั ความขดั แย้ง แก้ปญั หา สภาวะความสมดุล สภาวะไมส่ มดลุ ไดค้ าํ ตอบ/มาสงสัย ไม่ได้คําตอบ/สงสยั /ขัดแยง้ ตอบขอ้ สงสยั ทุกข์/เครียด แผนผงั ที่ 1 การเกดิ ของการคิด (ทม่ี า ดร.สุวิทย์ มลู คาํ , 2549: 4)

186 4. กระบวนการของการคดิ การคิด เป็นกระบวนการของจิตใจหรือกระบวนการทางสมอง ซ่ึงมีความสําคัญต่อ การเรียนรู้ การคดิ ไม่มขี อบเขตจาํ กัด กระบวนการคดิ ของมนุษยเ์ ป็นกระบวนการทม่ี ีขน้ั ตอนท่เี ริม่ จาก สงิ่ เร้ามากระต้นุ ทําใหจ้ ิตใสใ่ จกับส่ิงเร้า และสมองนาํ ขอ้ มลู หรอื ความรู้ทม่ี อี ยูม่ าประมวล เพือ่ ให้ได้ผล ของการคิดออกมาเหตุของการคิด 4.1 ตน้ เหตขุ องการคดิ คอื สงิ่ เรา้ ทเ่ี ป็นปญั หาหรอื สิ่งเรา้ ท่ีเป็นความต้องการหรอื สง่ิ เร้าทชี่ วนสงสยั ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดังนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_is.htm 21 กรกฎาคม 2559) 4.1.1 สิง่ เรา้ ที่เป็นปญั หา เป็นสิ่งเรา้ ประเภทสถานการณ์ เหตุการณ์ หรือสภาวะ ทม่ี ากระทบแลว้ จําเป็นตอ้ งคดิ (Have to think) เพอ่ื กระทําสิง่ หนึ่งสิง่ ใดทจ่ี ะทําใหป้ ญั หาน้นั ลดไป หรือหมดไป 4.1.2 สิง่ เรา้ ที่เปน็ ความตอ้ งการ เป็นความตอ้ งการสงิ่ ที่ดขี ึ้นกว่าเดิมในแงต่ ่างๆ เชน่ ตอ้ งการลดตน้ ทนุ ในการผลติ สนิ ค้า ตอ้ งการทาํ งานโดยใช้เวลาน้อยลง ตอ้ งการความปลอดภยั มากขึน้ จึงต้องการการคดิ (Want to think ) มาเพื่อทําให้ความต้องการหมดไป 4.1.3 สิง่ เรา้ ทชี่ วนสงสยั เป็นสิ่งเรา้ แปลกๆ ใหมๆ่ ทม่ี ากระตุน้ ให้สงสยั อยากรู้ ซ่ึงในสภาพการณ์เดยี วกนั สง่ิ เรา้ เดยี วกนั บางคนอาจไม่อยากรู้กไ็ มเ่ กิดการคดิ แต่บางคนก็อยากร้ซู ง่ึ อาจเกิดจากบุคลกิ ภาพประจําตวั ทีเ่ ป็นคนช่างคดิ ชา่ งสงสยั ทาํ ให้ต้องการคําตอบเพ่อื ตอบขอ้ สงสัย นัน้ ๆ ซ่ึงลักษณะเชน่ น้ีควรไดร้ บั การฝึกฝนและพัฒนาตอ่ ๆ ไป 4.2 ผลของการคิด คือ คาํ ตอบหรอื วิธกี ารทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ เพื่อนาํ ไปแกป้ ญั หาท่ีพบ หรอื เพื่อให้ความตอ้ งการ หรอื ความสงสัยลดลง หรอื หมดไป ผลของการคดิ ได้แก่ 4.2.1คาํ ตอบของปัญหาที่พบ หรือคาํ ตอบที่สนองต่อความตอ้ งการของตน ซ่ึง รวมไปถึงวิธกี ารในการแกป้ ญั หา ขัน้ ตอนในการปฏิบตั งิ าน เพ่ือใหไ้ ดค้ ําตอบนั้น ๆ 4.2.2แนวคดิ ความรู้ ทางเลือก และสง่ิ ประดษิ ฐ์ ซึ่งเป็นสิ่งใหม่ ๆ 4.3 ภาษาและการคดิ ภาษา มบี ทบาทสําคัญในการคดิ และการคดิ ใช้ภาษาถอ้ ยคํามากกว่าสญั ลกั ษณ์ อืน่ ใด แต่กม็ กี ารคดิ บางประเภททไี่ ม่ไดภ้ าษาถอ้ ยคาํ นักวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะนกั คณิตศาสตรม์ กั ไมไ่ ดใ้ ช้ถอ้ ยคาํ ในการคิด แตใ่ ช้สัญลักษณท์ างวทิ ยาศาสตร์แทนบางคนเชื่อว่าการคดิ สรา้ งสรรคไ์ ม่ต้อง ใชถ้ อ้ ยคํา แมแ้ ต่จะอธบิ ายด้วยคําพูดกย็ ังไมส่ ามารถทําได้ คร้งั หนง่ึ ไอสไตน์ (Einstein) เคยกล่าวว่า การคดิ ของเขาเป็นภาพโดยตรงไม่ใชถ้ ้อยคาํ ดงั น้ีทาํ ให้ยอมรับว่าการคิดบางประเภทสมบรู ณไ์ ด้โดยไม่ ตอ้ งอาศัยถอ้ ยคํา การคิดโดยไม่ใชถ้ ้อยคาํ สว่ นใหญ่เป็นการคิดแบบพื้นๆ ธรรมดา เช่น สตั ว์แสดง

187 พฤตกิ รรมทีแ่ สดงว่ามาจากความคดิ หรือกระบวนการบางอยา่ งท่ีคลา้ ยกับความคิดโดยไม่ได้อาศัย ถอ้ ยคําใดเลย (บงั อร ชินกุลกจิ นวิ ฒั น์,2547 : 228-230) (http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_is.htm 21 กรกฎาคม 2559) สําหรับการพัฒนาการด้านการคิด พบวา่ เดก็ ยงั ไมเ่ รียนรู้ท่จี ะจดั รวบรวมความคิด ของพวกเขา กอ่ นอายุ 3 ปีครึง่ และพวกเขายงั ไมส่ ามารถทีจ่ ะพรรณนาด้วยถอ้ ยคาํ จนกระทง่ั อายุ ประมาณ 5 ปี ความคิดของพวกเขาเกือบทงั้ หมดจงึ จะอย่ใู นรปู ของถอ้ ยคํา ในการคิดเราใช้ภาษาโดยไม่ได้ทาํ เสียงแต่อย่างใด ซ่ึงเรียกว่า การคิดเงียบ (Silent thinking) การคดิ เงียบจะประกอบดว้ ย การยอ่ เสยี ง การลาํ ดับเหตุ การทาํ ชวเลข (Shorthand) ภาษาของตัวเราเอง ภาษาชวเลขในการคิดของเราแตกตา่ งจากภาษาที่เราใช้ตดิ ต่อกับผ้อู ื่น บอ่ ยคร้งั ที่ เราพูดกบั คนสนิท หรือคนทีม่ ีประสบการณ์คล้ายกนั เช่น สามี ภรรยา เพ่ือนสนทิ ฯลฯ โดยการเปล่ียน ความคดิ เงียบออกมาในรูปของภาษาถ้อยคําท่สี ้ันๆ ซึ่งเปน็ ทเี่ ขา้ ใจกนั ได้ แตส่ ําหรบั คนแปลกหน้าหรอื คนนอกวงการ การใชภ้ าษาเพอื่ การตดิ ตอ่ สื่อสารมรี ูปแบบและละเอยี ดชดั เจนมากข้ึน ทฤษฎีการเคล่ือนไหวของการคดิ ชี้ใหเ้ ห็นว่า ในขณะคดิ เรามีการพูดคุยกับตวั เรา เอง แมว้ ่าจะไม่มเี สยี งปรากฏออกมา แต่เรากม็ กี ารตอบสนองดว้ ยเสยี งทซ่ี ่อนอยู่ภายใน กล้ามเนื้อทใี่ ช้ ในการพูดมีการเคลอ่ื นไหวเสมอื นพูดคยุ กัน การศกึ ษาซึง่ สนับสนนุ ทฤษฎนี ้ีคือการนาํ เอาอีเลคโทรดวาง ลงบนลิ้น ปรากฏวา่ ลน้ิ ของคนทอี่ ย่นู ิง่ เฉยจะไมม่ ีปฏิกิรยิ าใดๆ ทก่ี ลา้ มเนอื้ ให้อเี ลคโทรดจบั ได้ แต่เมอ่ื ผทู้ ดลองขอใหผ้ เู้ ข้ารบั การทดลอง (ผูท้ มี่ อี ีเลคโทรดวางอยทู่ ่ีลิน้ ) คิดถงึ บทกลอนหรอื บทร้อยแก้วก็ ปรากฏวา่ อเี ลคโทรดสามารถจับปฏกิ ิรยิ าการเคลือ่ นไหวของลิ้นได้ ทั้งๆท่ไี ม่ได้มีเสยี งพูดปรากฏขึน้ ทฤษฎีการเคลอ่ื นไหวนีย้ งั ประยกุ ต์ไปถึงกลา้ มเนอ้ื ส่วนอน่ื ๆ ของร่างกายอกี ดว้ ย ในการทดลองติด อีเลคโทรดทก่ี ลา้ มเน้อื แขนขา้ งหนึง่ แลว้ บอกใหเ้ ขาคิดว่ากาํ ลังยกแขนขา้ งนนั้ ข้นึ ปรากฏวา่ กลา้ มเน้ือ แขนน้ันมกี ารเคลอ่ื นไหว แตถ่ ้าขอให้เขาคิดวา่ ยกแขนอกี ข้างหนง่ึ ขึน้ ปรากฏวา่ กลา้ มเนอ้ื แขนข้างที่ตดิ อเี ลคโทรดไม่มกี ารเคลือ่ นไหว ดงั น้ีย่อมแสดงวา่ ความคิดเก่ียวข้องการทาํ งานของรา่ งกาย ภาพเปน็ สิง่ ทสี่ ําคัญของกระบวนการคิด ผทู้ ่ีมคี วามสามารถในทางจินตนาการ สร้างสรรค์มักได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้มีปัญญา เช่ือว่าเขามีความสามารถในการแก้ปัญหาด้วย จินตภาพของเขา ตามจนิ ตนาการอาจเข้าไปรบกวน หรือขัดขวางการคดิ บางประเภท เชน่ การคดิ นามธรรมได้ ปญั หาท่ีน่าสนใจคือ การคิดเกิดข้นึ โดยไมอ่ าศยั จนิ ตภาพได้หรือไม่ นกั จิตวทิ ยาหลายคน เช่ือว่า การคดิ สามารถเกิดขน้ึ ไดใ้ นระดับใตส้ าํ นกึ และการคดิ บางประเภทเปน็ ไปโดยอตั โนมตั ิตามข้ัน ความพรอ้ มของแต่ละบคุ คล นอกจากนมี้ หี ลายคนยนื ยนั ว่า ในบางครงั้ เขาสามารถคิดได้โดยไม่อาศยั ภาพ อย่างไรก็ตาม ไม่มีหลักฐานแน่นอนที่จะยืนยันว่า การคิดของเราจะอาศัยภาพหรืออาศัย การตอบสนองทางกลไกของรา่ งกายเพยี งอย่างใดอย่างหน่ึงหรือทง้ั สองอย่างรวมกัน

188 5. กรอบการคดิ ทิศนา แขมมณี และคณะ (2545) ได้จัดกลุ่มคําต่างๆ ที่แสดงถึงการคิดและคําที่ เก่ยี วขอ้ งกับการคดิ ไว้เปน็ 3 กลมุ่ ใหญ่ๆ คอื (http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking.htm 21 กรกฎาคม 2559) 5.1 ทกั ษะการคดิ เปน็ คําทแี่ สดงออกถึงการกระทาํ หรอื พฤตกิ รรมทีต่ ้องใชค้ วามคดิ เชน่ การสงั เกต การเปรียบเทียบ การจําแนกแยกแยะ การขยายความ การแปลความ การตคี วาม การจัด กลุม่ การจดั หมวดหมู่ การสรุป เป็นต้น ซง่ึ คําต่างๆ เหลา่ นี้เป็นพฤตกิ รรมที่ ไม่มคี าํ ว่า “คิด” เปน็ ส่วนประกอบ แต่ก็มีความหมายของ “การคดิ ” อยู่ในตวั คาํ ในกลุ่มน้ี มีลกั ษณะของพฤตกิ รรมหรอื การกระทําทีช่ ัดเจน หากบคุ คลสามารถทาํ ไดอ้ ย่างชํานาญ จะเรียกวา่ มี “ทักษะ”ดังนั้น จึงเรียกกล่มุ นี้ ว่า “ทักษะการคิด” 5.2 ลกั ษณะการคดิ เป็นคาํ ท่แี สดงลกั ษณะของการคิด ซงึ่ ใชใ้ นลกั ษณะเปน็ คําวิเศษณ์ เช่น คิดกว้าง คิดถูก คิดคล่อง คิดรอบคอบ เป็นต้น ซึ่งเป็นคําที่ไม่ได้แสดงออกถึงพฤติกรรมหรือ การกระทาํ โดยตรง แตส่ ามารถแปลความไปถึงพฤตกิ รรมหรือการกระทําประการใดประการหนง่ึ หรอื หลายประการ รวมกนั จงึ เรยี กกลมุ่ นวี้ ่า “ลกั ษณะการคดิ ” 5.3 กระบวนการคดิ เปน็ คําทแ่ี สดงลกั ษณะการคดิ แต่เปน็ คําท่คี รอบคลุมพฤติกรรม หรอื การกระทาํ หลายประการสมั พนั ธก์ นั เป็นลาํ ดับขน้ั ตอนมีความหมายถึง กระบวนการในระดับทสี่ ูง หรือมากกว่า ซบั ซอ้ นกว่าลกั ษณะการคิด เชน่ การคิดรอบคอบทห่ี มายถงึ การคิดใหก้ วา้ งรอบด้าน รวมทงั้ การคิดใหล้ กึ ซงึ้ ถงึ แกน่ หรือสาเหตทุ ่มี าของสิ่งท่ีคิดและอาจจะตอ้ งมีการคิดไกล พิจารณาถึงผล ทจ่ี ะตามมาและการคิดท่ีเปน็ กระบวนการ จงึ ต้องอาศัยพฤติกรรมหรอื การกระทาํ ทกั ษะจํานวนมาก ภาพที่ 54 แสดงภาพทักษะการคดิ (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 24 สงิ หาคม 2559)

189 6. ทกั ษะการคดิ ทกั ษะการคดิ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื “ทกั ษะการคดิ ท่ีเป็นแกน” และ “ทกั ษะการคิดขน้ั สงู ” (http://home.kku.ac.th/thai416102/SubjectWeb/Critical-Reading_Meaning.htm 21 กรกฎาคม 2559) 6.1 ทกั ษะการคดิ ท่เี ป็นแกน ทักษะการคดิ ทีเ่ ปน็ แกน (Core /General Thinking Skills) หมายถงึ ทักษะ การคิดท่ีจาํ เปน็ ตอ้ งใช้อยู่เสมอในการดาํ รงชวี ติ ประจําวนั และเป็นพน้ื ฐานของการคิดชั้นสงู ทมี่ ี ความสลับซับซอ้ น ประกอบไปด้วย 6.1.1 การสงั เกต (Observing) 6.1.2 การสาํ รวจ (Exploring) 6.1.3 การตัง้ คาํ ถาม (Questioning) 6.1.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู (Information Gathering) 6.1.5 การระบุ (Identifying) 6.1.6 การจาํ แนกแยกแยะ (Discriminating) 6.1.7 การจดั ลาํ ดับ (Ordering) 6.1.8 การเปรียบเทยี บ (Comparing) 6.1.9 การจดั หมวดหมู่ (Classifying) 6.1.10 การสรปุ อา้ งอิง (Inferring) 6.1.11 การแปล (Translating) 6.1.12 การตีความ (Interpreting) 6.1.13 การเชือ่ มโยง (Connecting) 6.1.14 การขยายความ (Elaborating) 6.1.15 การให้เหตุผล (Reasoning) 6.1.16 การสรุปยอ่ (Summarizing) 6.2 ทักษะการคิดขน้ั สงู หรือทกั ษะการคดิ ท่ีซบั ซอ้ น ทักษะการคิดขนั้ สงู หรือทักษะการคิดท่ซี ับซอ้ น (Higher – ordered / More Completed Thinking Skills) หมายถงึ วา่ เป็นคณุ ลกั ษณะทางความคิดของมนุษยท์ ี่ใชก้ ลยทุ ธท์ าง ความคิดท่ซี ับซอ้ น ลึกซง้ึ สรา้ งสรรคม์ ีหลกั เกณฑ์ที่ตอ้ งอาศัยคุณภาพความคิดขน้ั สูง ในการประมวล องค์ความรู้ประสบการณ์ตา่ งๆ โดยอาจใช้วธิ คี ิดเชิงสรา้ งสรรค์ คดิ แบบมีวิจารณญาณ คดิ แก้ปญั หา

190 คิดแบบอภปิ ญั ญา ฯลฯ เพอ่ื นําไปสคู่ ําตอบเรื่องใดเรอื่ งหนงึ่ โดยอาจใช้ทกั ษะความคิดหลายๆ ด้าน ประกอบกนั หรืออาจเนน้ ทักษะความคิดดา้ นใดด้านหน่ึงมากกว่าทกั ษะทางความคดิ ด้านอื่น ซง่ึ แลว้ แต่ เง่อื นไขหรอื สถานการณท์ ี่จะตอ้ งใช้กลยุทธท์ างความคดิ ด้านใดไปใช้ โดยมใิ ชเ่ ป็นคุณภาพทางความคิด ทีไ่ ดม้ าจากการจาํ เท่านัน้ ความคิดระดับสงู ที่ใช้ในการฝกึ ฝนความคิด ในปัจจบุ นั มกั จะเกยี่ วขอ้ งกับ คุณลักษณะความคดิ ดงั ตอ่ ไปน้ีคือ การคิดอย่างมคี ิดวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) การคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative thinking) การคดิ แบบอภิปญั ญา (Meta cognition) การคดิ แกป้ ญั หา (Problem Solving) การตัดสนิ ใจ (Decision Making) การคดิ แบบญาณปญั ญา (Intuitive Thinking) การคดิ ในดา้ นดี (Positive Thinking) ทักษะการคิดทม่ี ีข้ันตอนหลายขัน้ และต้องอาศยั ทักษะการสอื่ ความหมายและ ทกั ษะการคิดทเี่ ป็นแกนหลายๆ ทักษะในแตล่ ะขน้ั ทกั ษะการคดิ ขั้นสงู จงึ จะพฒั นาได้ เมอ่ื เดก็ ได้พัฒนา ทักษะการคิดพืน้ ฐานจนมีความชํานาญพอสมควรแลว้ ทกั ษะการคิดขน้ั สูงประกอบด้วยทักษะยอ่ ยๆ ทีส่ าํ คญั ดงั นี้ 6.2.1 การสรปุ ความ (Drawing Conclusion) 6.2.2 การใหค้ าํ จาํ กัดความ (Definition) 6.2.3 การวเิ คราะห์ (Analyzing) 6.2.4 การผสมผสานขอ้ มลู (Integrating) 6.2.5 การจัดระบบความคดิ (Organizing) 6.2.6 การสรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่ (Constructing) 6.2.7 การกําหนดโครงสร้าง (Structuring) 6.2.8 การแกไ้ ขปรบั ปรงุ โครงสร้างความร้เู สียใหม่ (Restructuring) 6.2.9 การคน้ หาแบบแผน (Finding Patterns) 6.2.10 การหาความเชอื่ พ้นื ฐาน (Finding Underlying Assumption) 6.2.11 การคาดคะเน / การพยากรณ์ (Predicting) 6.2.12 การตั้งสมมตุ ิฐาน (Formulating Hypothesis) 6.2.13 การทดสอบสมมุติฐาน (Testing Hypothesis) 6.2.14 การตงั้ เกณฑ์ (Establishing Criteria) 6.2.15 การพสิ ูจน์ความจรงิ (Verifying) 6.2.16 การประยุกตใ์ ช้ความรู้ (Applying)

191 ภาพท่ี 55 แสดงภาพลักษณะการคดิ แบบตา่ งๆ (ท่มี า https://www.google.co.th/search 24 สงิ หาคม 2559) 7. ลกั ษณะการคิดแบบตา่ งๆ ลักษณะการคิด หมายถึง แบบแผนในการคิด ลักษณะการคิดแบบใดแบบหนึ่งจะ มีแบบแผนหรือกระบวนการหรือข้ันตอนในการคิดท่ีเป็นเอกลักษณ์ของตน ซ่ึงมุ่งเน้นมาตรฐาน ของการคิด ทศิ นา แขมมณแี ละคณะ (2545) ไดเ้ สนอ 3 ระดับ ได้แก่ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking.htm 21 กรกฎาคม 2559) 7.1 ลักษณะการคดิ ระดบั พน้ื ฐานทีจ่ ําเปน็ สาํ หรับบคุ คลทกุ ระดบั ได้แก่ 7.1.1 คิดคล่อง กล้าท่จี ะคดิ และมีความคิดหลั่งไหล ออกมาได้อยา่ งรวดเรว็ 7.1.1.1 วธิ คี ิด 1) คดิ เกีย่ วกับเร่อื งท่คี ดิ ใหไ้ ดจ้ าํ นวนมากและอย่างรวดเร็ว 2) จัดหมวดหมขู่ องความคิด 7.1.1.2 เกณฑค์ วามสามารถในการคิดคลอ่ ง 1) สามารถบอกความคิดไดจ้ าํ นวนมาก 2) สามารถบอกความคิดได้จาํ นวนมาก 3) สามารถจดั หมวดหม่ขู องความคิดได้

192 7.1.2 คดิ หลากหลาย คิดให้ไดค้ วามคดิ ในหลายลกั ษณะหลายประเภท หลายชนดิ หลายรปู แบบ 7.1.2.1 วิธีคิด 1) คดิ เกีย่ วกบั เรื่องทค่ี ดิ ใหไ้ ด้รปู แบบแตกตา่ งกัน 2) จดั หมวดหมขู่ องความคิด 7.1.2.2 เกณฑค์ วามสามารถในการคดิ หลากหลาย 1) สามารถใหค้ วามคิดทม่ี ีรูปแบบ/ประเภทที่หลากหลาย 2) สามารถจดั หมวดหมูข่ องความคดิ ได้ 7.1.3 คดิ ละเอียด การคิดเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลอนั จะส่งผลให้ ความคิดมีความรอบคอบข้นึ 7.1.3.1 วธิ คี ดิ 1) คิดใหไ้ ดร้ ายละเอยี ดหลักที่เกี่ยวขอ้ งกบั เร่อื งท่คี ดิ 2) คดิ ใหไ้ ดร้ ายละเอียดย่อยทเี่ กยี่ วข้องกบั เร่อื งทคี่ ิด 7.1.3.2 เกณฑค์ วามสามารถในการคิดละเอยี ด 1) สามารถใหร้ ายละเอียดหลกั เกี่ยวกบั เร่อื งท่ีคดิ ได้ 2) สามารถใหร้ ายละเอยี ดย่อยเก่ยี วกบั เร่อื งทค่ี ิดได้ 7.1.4 คิดชดั เจน การคิดให้เกดิ ความเข้าใจสงิ่ ที่คดิ สามารถอธบิ ายขยาย ความไดด้ ว้ ยคําพดู ของตนเอง 7.1.4.1 วธิ คี ิด 1) พิจารณาถงึ ท่คี ดิ แลว้ หาวา่ (1) ตนร้/ู เขา้ ใจอะไร (2) ตนเองไมเ่ ขา้ ใจอะไร 2) ในส่วนทเ่ี ขา้ ใจให้ลองคดิ อธบิ ายขยายความด้วยคําพูด 7.1.4.2 เกณฑ์และความสามารถในการคิดชดั เจน 1) สามารถบอกได้วา่ ในเร่ืองทค่ี ดิ ตนเองรู/้ เข้าใจอะไรบา้ ง 2) สามารถอธิบาย ขยายความหรือยกตวั อย่าง

193 7.2 ลกั ษณะการคิดระดบั กลาง ไดแ้ ก่ 7.2.1 คดิ อยา่ งมีเหตุผล การคดิ โดยใช้หลัก เหตุผลแบบนริ นัย หรอื อุปนยั 7.2.1.1 วธิ คี ิด 1) จําแนกขอ้ มลู ท่ีเป็นขอ้ เทจ็ จรงิ ออกจากกนั 2) พจิ ารณาเรือ่ งทีค่ ดิ บนพนื้ ฐานของขอ้ เทจ็ จรงิ (1) แบบนริ นยั (2) แบบอุปนัย 7.2.1.2 เกณฑ์ความสามารถในการคิดอยา่ งมเี หตุผล 1) สามารถแยกขอ้ เทจ็ จริงและความคิดเห็นออกจากกันได้ 2) สามารถใชเ้ หตุผลแบบนิรนยั หรอื อุปนัยในการพิจารณา ข้อเทจ็ จรงิ 3) สามารถใช้เหตุผลทั้งแบบนิรนยั หรืออุปนยั ใน การพจิ าณาขอ้ เท็จจรงิ 7.2.2 คดิ ถกู ทาง เพือ่ ให้ไดค้ วามคิดทเ่ี ปน็ ประโยชนใ์ นทางทีด่ ีตอ่ สงั คม 7.2.2.1 วธิ ีคดิ 1) ตัง้ เปา้ หมายของการคดิ ไปในทางทจ่ี ะเป็นประโยชนต์ ่อ สว่ นรวมมากวา่ ประโยชน์สว่ นตวั 2) คดิ ถึงประโยชน์ระยะยาวมากกวา่ ประโยชนร์ ะยะส้นั 7.2.2.2 เกณฑค์ วามสามารถในการคิดถกู ทาง 1) เกณฑ์ประโยชน์สว่ นตนส่วนรวม (1) เกดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเอง โดยไม่ก่อความเดอื ดร้อนแก่ ผอู้ ื่น (2) เกดิ ประโยชน์ทง้ั แก่ตนเองและผอู้ น่ื (3) เกดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเองและผอู้ น่ื โดยเน้นส่วนรวมเปน็ สาํ คญั 2) เกณฑป์ ระโยชน์ระยะส้ันระยะยาว (1) เกิดประโยชน์ระยะสั้น (2) เกิดประโยชนร์ ะยะยาว

194 7.2.3 คดิ กว้าง การคดิ ใหไ้ ดห้ ลายด้าน หลายแงม่ มุ 7.2.3.1 วิธคี ดิ 1) คดิ ถงึ องค์ประกอบทเ่ี ก่ียวข้องกบั เรือ่ งท่ีคิดใหค้ รอบคลมุ สิ่งที่ มีความสาํ คญั หรอื มอี ิทธพิ ลตอ่ เร่อื งทีค่ ดิ 2) คิดถึงความสําคญั ขององคป์ ระกอบแตล่ ะองคป์ ระกอบที่มี ต่อเร่อื งที่คิด 3) คดิ ถึงจดุ สาํ คัญท้ังทีเ่ ป็นจดุ เด่น จดุ ดอ้ ย และจดุ ท่นี า่ สนใจ ขององคป์ ระกอบท่ีมีความสาํ คัญต่อเร่อื งท่ีคิด 7.2.3.2 เกณฑค์ วามสามารถในการคดิ กว้าง 1) สามารถระบุองคป์ ระกอบทเี่ ก่ียวข้องกบั เร่ืองที่คิดได้ ครอบคลุมสงิ่ ทมี่ ีความสําคญั หรอื มีอิทธพิ ลต่อเรือ่ งที่คิด 2) สามารถระบุได้วา่ องคป์ ระกอบทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับเร่อื งท่คี ิดมี ความสําคญั มากนอ้ ยเพียงใดต่อเร่อื งท่คี ดิ 3) สามารถวิเคราะหจ์ ุดสําคัญทั้งที่เป็นจุดเดน่ จุดดอ้ ยและจุดที่ น่าสนใจขององคป์ ระกอบสาํ คัญท่เี กยี่ วข้องกบั เรอ่ื งท่คี ิด 7.2.4 คดิ ลึกซง้ึ เพอ่ื ให้เกดิ ความเข้าใจอยา่ งแทจ้ ริงในส่ิงทีค่ ิด โดยเขา้ ใจถงึ ความซับซอ้ นของโครงสรา้ ง และระบบความสมั พันธ์ เชงิ สาเหตุ ในโครงสรา้ งน้ัน รวมทัง้ ความหมาย หรือคุณค่าของส่ิงทค่ี ิด 7.2.4.1 วิธคี ดิ 1) วิเคราะหใ์ หเ้ หน็ องคป์ ระกอบหลักและองคป์ ระกอบย่อยที่ โยงใยและสัมพนั ธก์ นั อย่างซับซ้อน จนประกอบกนั เปน็ โครงสรา้ ง หรือภาพรวมของสิง่ น้ัน 2) วิเคราะหใ์ ห้เข้าใจถงึ ระบบความสัมพันธเ์ ชิงสาเหตุท่อี ยู่ ภายในโครงสร้างนั้น 3) วิเคราะหถ์ ึงสาเหตุของปญั หาหรือความหมายหรือคณุ คา่ ที่ แทจ้ รงิ ของสงิ่ ท่ีคิดได้ 7.2.4.2 เกณฑค์ วามสามารถในการคดิ ลกึ ซง้ึ 1) สามารถอธบิ ายโครงสร้างและความสัมพนั ธ์ของ องค์ประกอบต่างๆในโครงสรา้ งของเร่ืองทีค่ ิดได้ 2) สามารถบอกสาเหตุของปัญหาหรือความหมายหรอื คุณค่าทแี่ ทจ้ รงิ ของสงิ่ ทีค่ ดิ ได้

195 7.2.5 คิดไกล เพอ่ื ใหไ้ ด้ความคดิ ที่เช่อื มโยงไปในอนาคต สามารถนาํ ไปใชใ้ น การวางแผนและเตรียมการเพ่อื อนาคตทด่ี ี 7.2.5.1 วธิ ีคิด 1) นาํ ปจั จัยท่เี ก่ยี วข้องกับเร่ืองทค่ี ิดทง้ั ทางกว้างและทางลกึ มา วเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธเ์ ชงิ สาเหตุ 2) ทํานายความสมั พันธ์เชงิ สาเหตุของปจั จัยต่างๆอย่างต่อเนอ่ื ง เป็นช้นั ๆ ไปโดยอาศยั ข้อมูลและขอ้ เท็จจริงตา่ งๆ เปน็ ฐานในการทาํ นาย 7.2.5.2 เกณฑ์ความสามารถในการคิดไกล 1) สามารถวเิ คราะห์ความสมั พันธเ์ ชิงสาเหตุของปัจจยั ที่ เกีย่ วขอ้ งกับ เรอื่ งทีค่ ดิ ทัง้ ทางกว้างและทางลกึ 2) สามารถใชข้ อ้ มลู และข้อเท็จจริงต่างๆ ทาํ นายความสมั พันธ์ เชงิ สาเหตุของปจั จัยตา่ งๆท่เี กย่ี วข้อง กบั เรือ่ งท่คี ิดทง้ั ทางกว้างและทางลึก 7.3 ลกั ษณะการคิดระดบั สูง ได้แก่ การคดิ ทีต่ ้องมกี ระบวนการมขี นั้ ตอนท่มี ากและ ซับซอ้ นขน้ึ 10.3.1 กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นกระบวนการที่บุคคลใด สามารถคิดได้อย่างมีวิจารณญาณแล้ว ก็จะได้สานความคิดที่ผ่านการกล่ันกรองมาดีแล้ว นําไปใช้ใน สถานการณ์ เช่น การนําไปใช้ในการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การริเริ่ม การสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ หรือ การปฏบิ ัติการสร้างและการผลิตสงิ่ ตา่ งๆ รวมทงั้ การที่จะนาํ ไปศึกษาวิจัยตอ่ ไป 8. ประเภทของการคิด การคิดของคนเราย่อมแตกตา่ งกนั ไปตามวัตถุประสงค์ เหตกุ ารณท์ ่เี กดิ ข้นึ ประจาํ วนั ตลอดจนสภาพแวดลอ้ ม จงึ จัดประเภทของความคดิ ไวอ้ ย่างเป็นหมวดหมู่ ดงั ต่อไปนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_is.htm 21 กรกฎาคม 2559) 8.1 แบง่ ตามขอบเขตความคิด ซงึ่ มี 2 แบบ คอื 8.1.1 การคดิ ในระบบปดิ คอื การคิดทม่ี ีขอบเขตจาํ กัด มีแนวความคิดไม่ เปลี่ยนแปลง 8.1.2 การคดิ ในระบบเปิด เป็นการคดิ ในขอบเขตของความรคู้ วามสามารถของ แตล่ ะบคุ คล ซง่ึ แตกต่างกนั ตามสงิ่ แวดล้อมและประสบการณ์

196 8.2 แบ่งตามความแตกตา่ งของเพศ มี 2 แบบ คือ 8.2.1 การคิดแบบวิเคราะห์ (Analytical Style ) เป็นการคิดโดยอาศัยสิง่ เร้าที่ เปน็ จรงิ เป็นเกณฑ์ การคิดแบบนี้เป็นการคดิ ของผ้มู ีอารมณม์ ัน่ คง มองสงิ่ ตา่ งๆ โดยไม่ถอื เอาความคดิ ของตนเปน็ ใหญ่ เปน็ การคดิ ซึง่ เป็นพืน้ ฐานของการคิดแบบวทิ ยาศาสตร์ เป็นลกั ษณะการคดิ ของผ้ชู าย เป็นสว่ นใหญ่ 8.2.2 การคดิ แบบโยงความสัมพนั ธ์ (Relational Style) เป็นการคิดที่เกิดจาก การมองหาความสมั พันธ์ของสงิ่ เรา้ ตง้ั แต่ 2 ชนิดขนึ้ ไป โดยสัมพนั ธก์ ันทางด้านหนา้ ท่ี สถานทห่ี รอื กาลเวลา เป็นการคิดทส่ี มั พนั ธ์กับอารมณ์ มกั ยึดตนเองเปน็ ใหญ่ เปน็ ความคิดของผูห้ ญงิ 8.3 แบง่ ตามความสนใจของนักจติ วิทยา มี 3 แบบ คือ 8.3.1 ความคิดรวบยอด (Concept ) เปน็ การคิดได้จากการรับรโู้ ดยจดั เอาของ อยา่ งเดยี วกนั ไว้ดว้ ยกัน มกี ารเปรยี บเทียบลักษณะ ที่เหมอื นและแตกต่างกัน 8.3.2 การคิดหาเหตผุ ล (Reasoning) การคดิ หาเหตผุ ลแบบน้เี ป็นการคิดทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละจะตอ้ งมีการทดสอบกอ่ น ดงั นั้น การคดิ หาเหตผุ ล จะตอ้ งเรมิ่ ต้นจากการต้ังสมมตฐิ าน และการทดสอบสมมติฐานเสมอ 8.3.3 ความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) เป็นการคิดเพ่อื สรา้ งสิ่งใหมๆ่ ขึ้นมาโดยอาศยั การหยงั่ เหน็ เป็นสาํ คญั หรือเปน็ การคน้ หา ความสัมพันธใ์ หมๆ่ ระหวา่ งส่ิงต่างๆ ทาํ ให้ สามารถแกป้ ญั หา คดิ ประดษิ ฐเ์ ครอื่ งมือหรอื คิดหาวิธกี ารใหมๆ่ มาแก้ปญั หา 8.4 แบง่ ตามลักษณะทวั่ ๆไป มี 2 แบบ คอื 8.4.1 การคิดประเภทสัมพันธ์ (Associative Thinking) เป็นความคิดที่ไม่มี จุดมุ่งหมาย แต่เกิดจากสงิ่ เรา้ มากระตนุ้ ให้เกดิ สัญลกั ษณใ์ นสมอง แทนเหตกุ ารณห์ รอื วตั ถุต่างๆ มี 5 ลักษณะ คอื 8.4.1.1 การสร้างวมิ านในอากาศ (Day Dreaming) เป็นการคดิ เพอ้ ฝนั ในขณะที่ยงั ต่นื อยู่ ฝนั โดยรตู้ วั เช่น ขณะที่กําลังนง่ั เรยี นอยู่ นกั ศึกษาอาจคิดฝันไปวา่ ตนเองกาํ ลงั เดิน เล่นตามชายหาด 8.4.1.2 การฝนั (Night Dreaming) เป็นการฝนั โดยไมร่ ตู้ วั มักเกิด ในขณะหลับ เชน่ ฝันถึงเร่อื งราวต่าง ๆ ซ่งึ บางเร่อื งเก่ียวข้องกับ เร่ืองทพี่ บในเวลากลางวัน บางเรื่อง เปน็ เร่ืองท่ีติดคา้ งอยใู่ นใจ เมอื่ ตน่ื ข้ึนบางทอี าจจําความฝันไดห้ รอื บางทีก็จาํ ไม่ได้ 8.4.1.3 การคดิ เก่ียวกับเรอ่ื งสว่ นตวั (Autistic Thinking) 8.4.2 การคิดทีเ่ ป็นอสิ ระ (Free Association) เปน็ การคดิ ที่ไมม่ ีจุดม่งุ หมาย เม่ือเกิดข้ึนแล้วจะทาํ ให้คิดถึงเรื่องอ่ืนๆ ท่ีมีความสัมพันธ์ต่อเน่ืองกันไปเรื่อยๆ การคิดประเภทน้ี ซกิ มนั ด์ ฟรอยด์ นาํ มาใช้โดยใหค้ นไข้โรคประสาทไดร้ ะบายความปรารถนาหรือปัญหา ซ่งึ อยู่ในระดบั

197 จิตใต้สาํ นึกเพ่ือจิตแพทย์จะได้ใช้เป็นข้อมูล สาํ หรับวิเคราะห์และหาทางแก้ไขปัญหาให้กับคนไข้ สาํ หรบั วิธกี ารให้คนไข้คิดแบบอสิ ระนี้ จติ แพทยจ์ ะให้คนไข้ไดผ้ อ่ นคลายความตงึ เครียดเสยี ก่อน โดย ให้นอนพักผอ่ นบนเก้าอี้นอนแลว้ จงึ ให้พดู เล่าเรื่องและเหตุการณ์ต่างๆ ตลอดจนความฝันทเี่ กดิ ขน้ึ จติ แพทย์จะพยายามคน้ หาความปรารถนาและปญั หาของคนไขจ้ ากส่งิ ท่เี ขาพูดใหฟ้ ัง 8.5 แบ่งตามความคิดโดยตรงท่ีใช้ในการแกป้ ัญหา (Directive Thinking) มี 2 แบบ คือ 8.5.1 การคดิ เชงิ วิจารณ์ (Critical Thinking) เป็นการคิดพิจารณาขอ้ เทจ็ จรงิ ต่างๆหรือสภาพการณ์ตา่ งๆ วา่ ถกู หรือผดิ ใชเ้ หตผุ ลประกอบ คอื มกี ารพจิ ารณาว่าอะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล ซง่ึ จาํ แนกเปน็ 2 ประเภท คือ 8.5.1.1 Deductive Thinking เปน็ การพจิ ารณาเหตุผลจากเรือ่ งท่วั ไป นาํ ไปสู่เร่อื งเฉพาะและทาํ การสรปุ 8.5.1.2 Inductive Thinking เปน็ การพิจารณาจากเหตุผลย่อยๆนาํ มา สรปุ เปน็ เรอื่ ง 8.5.2 การคิดสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) เปน็ การคิดพจิ ารณาถึงส่ิงใหมๆ่ วา่ มคี วามสมั พนั ธก์ ับการแกป้ ญั หามากนอ้ ยเพียงใด รวมท้ังความสามารถในการคดิ และแสดงออกของ ความคิดทีแ่ ปลกๆใหมๆ่ กไ็ ด้ สรุปประเภทของการคิดมี 2 ประเด็น คือ การคิดท่ีต้องใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ วิจารณ์กบั ความคิดที่สร้างสรรคใ์ นส่ิงใหมๆ่ ขึ้นมา การคดิ เปน็ กระบวนการทางสมองทม่ี ีศักยภาพสงู เป็นความสามารถทมี่ อี ย่ใู นตวั มนษุ ยท์ ีส่ ามารถแสดงออกด้านภาษาพูด ภาษาสัญลักษณ์ และลกั ษณะ ทา่ ทางตา่ งๆ เพ่อื ส่อื สารให้บคุ คลอืน่ ได้รบั รูค้ วามร้สู ึกนึกคดิ ของตน 8.6 แบ่งตามความคดิ และการกระทาํ ในโลกของสังคมมนุษยค์ วามคิดและการกระทําของบคุ คล สามารถแบง่ ออกได้ เปน็ 4 ประเภทดว้ ยกัน คือ 8.6.1 ประเภทที่ 1 คิดและทาํ บคุ คลประเภทนจ้ี ะเปน็ นกั คิด และลงมอื ปฏบิ ตั ิ คือ เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ปัญหาเป็น มีหลักการมีอุดมการณ์ และมีความเป็น นกั วชิ าการอยู่ในตนเอง ผ้ทู เี่ ปน็ นกั ปฏิบัติ คือ ผูท้ ี่มีความพรออ้ มในการทาํ งานหรอื ลงมอื กระทาํ ตาม ความรับผิดชอบอยา่ งเตม็ ท่ี และรบั ผดิ ชอบทุกขนั้ ตอนของการทาํ งาน 8.6.2 ประเภทท่ี 2 คิดแต่ไมท่ ํา บคุ คลประเภทนี้ จะเปน็ นกั คดิ แตไ่ มล่ งมอื ปฏบิ ัติ เหตผุ ลของการไม่ปฏบิ ัติของแต่ละบุคคลแตกตา่ งกนั ออกไป บางคนไมก่ ระทาํ เพราะไมม่ ีบทบาทหน้าที่ บางคนไมก่ ระทําเพราะไมเ่ หน็ ด้วยกับแนวคิด บางคนไมก่ ระทาํ เพราะไมม่ ีกาํ ลังใจ ทอ้ แท้ และไมเ่ ห็น

198 ความสําคัญของงาน บางคนไม่ทําเพราะไม่มโี อกาสท่จี ะกระทาํ และบางคนไมท่ าํ เพราะเปน็ ค่านยิ ม สว่ นบุคคลที่ชอบความสะดวกสบาย 8.6.3 ประเภทที่ 3 ทาํ แต่ไมค่ ดิ บุคคลประเภทนี้ เป็นนกั ปฏบิ ัตทิ ี่กระทาํ แตไ่ ม่ มโี อกาสในการมสี ว่ นรว่ มแสดงความคดิ เหน็ เสนอแนะ กาํ หนดนโยบายและแนวทางการปฏบิ ัติงานหรือ อาจจะเปน็ บคุ คลท่ีชอบทาํ งานตามกฎระเบียบขอ้ บังคบั หรืองานประจาํ จนเกดิ ความเคยชิน และไม่ เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ 8.6.4 ประเภทที่ 4 ไม่คดิ ไมท่ าํ บคุ คลประเภทน้ีจะไม่เปน็ ท้ังนักคิดและนกั ปฏิบัติ สาเหตุอาจเกดิ จากคา่ นยิ มส่วนบุคคล หรืออาจเกดิ จากบุคคลประเภทท่ี 2 คอื คิดแต่ไม่ทาํ มาก่อน เมื่อเวลาผา่ นไปนานๆ เขา้ ความคดิ เริ่มถดถอยหมดกําลังใจทจ่ี ะคดิ ตอ่ ไปจนกลายสภาพมาเปน็ บุคคลที่ ไม่คิด ไมท่ ํา จากคําอธบิ ายขา้ งต้น การคิดมหี ลากหลายประเภทขึน้ อยกู่ บั วตั ถุประสงค์ เหตกุ ารณท์ ่ี เกิดข้นึ ประจําวนั ตลอดจนสภาพแวดล้อม เพอ่ื ให้เกิดความสอดคลอ้ งการคดิ กับมนุษย์ ผเู้ ขยี นขอเสนอ การคิดอย่างมีสติ เพอื่ ร้จู กั ตนเองอยา่ งถ่องแท้ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 9. การคิดอย่างมีสติ ในศตวรรษท่ี 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบ การศกึ ษา ต้องมกี ารพัฒนาเพอ่ื ให้สอดคล้องกับภาวะความเปน็ จรงิ ในทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรอื เรยี กยอ่ ๆว่า เครอื ข่าย P21 เยาวชนจะตอ้ งมีทักษะ สาํ หรบั การออกไปดํารงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษท่ี 21 จึงไดพ้ ฒั นาวิสัยทศั นแ์ ละกรอบความคิดเพือ่ การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 ขนึ้ สามารถสรุปทกั ษะสาํ คัญอยา่ งยอ่ ๆ ท่เี ดก็ และเยาวชนควรมไี ด้วา่ ทกั ษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C ซ่ึงมอี งค์ประกอบ ดังน้ี 3 R ไดแ้ ก่ Reading (การอา่ น), การเขยี น (Writing) และ คณติ ศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C (Critical Thinking - การคดิ วิเคราะห์, Communication- การส่อื สาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity- การคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพและทักษะด้านสารสนเทศส่ือและเทคโนโลยี และการบรหิ ารจดั การดา้ นการศกึ ษาแบบใหม่ (http://www.qlf.or.th/ 21 กรกฎาคม 2559) การคิด คือ การทีเ่ รากา้ วเขา้ ไปในโลกจิตวิญญาณและโลกวัตถุ การคดิ ทําใหเ้ รามีปญั ญา มปี ระสบการณ์ มคี วามเข้มแข็งทางใจ ทําให้เราสามารถเข้าถึงทุกสงิ่ ทกุ อยา่ งท่เี รารูไ้ ด้ การคิดอยา่ งมี สติ คือ การรู้จักตนเองอย่างแท้จริงและการพัฒนาจิตใจอย่างแท้จริง จะนําไปสู่ความเข้าใจตนเอง อย่างแทจ้ ริง

199 (สาระจากการบรรยายของ Dr. Michaela Gloeckler ในการอบรมเชิงปฏิบัติการมนุษยปรัชญา IPMT International Postgraduate Medical Training) ณ Asean House มหาวิทยาลัยมหิดล เมอื่ วันท่ี 1 เมษายน 2556) http://innovation.kpru.ac.th 1 เมษายน 2556 การคิดอย่างมีสติ คือ การมีใจ จดจ่อ มสี ตติ ั้งมน่ั อยู่กับการคิด คดิ อยา่ งมีเหตุผล คิดอยา่ งรอบคอบ และคิดแตเ่ รื่องทสี่ ร้างสรรคเ์ กิด ประโยชน์แกต่ นเองและผอู้ ื่น สรุปได้ว่า การคดิ อยา่ งมีสติ คือ การรู้จกั ตนเองอยา่ งแทจ้ ริงและการพฒั นาจิตใจอยา่ ง แท้จริงโดยมีจิตใจจดจ่อ มีสติต้ังม่ัน คิดอย่างมีเหตุผล คิดอย่างรอบคอบ และคิดเรื่องท่ีสร้างสรรค์ อนั นาํ ไปส่คู วามเขา้ ใจตนเองอยา่ งแทจ้ ริง ฉะนนั้ จากสาระและความหมายข้างต้นเพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามเข้าใจ “การคดิ อยา่ งมีสติ” ได้มากย่งิ ข้ึน ผเู้ ขยี นอธบิ ายการคดิ ทมี่ ีความสอดคลอ้ งกบั การคดิ อย่างมีสติ ดงั นี้ ในทกั ษะการเรียนรใู้ น ศตวรรษท่ี 21 โดยทักษะการเรยี นรแู้ ละนวัตกรรม (https://www.scribd.com) เนน้ การคดิ แบบ อภปิ ญั ญาหรือการรคู้ ิด การคดิ แบบญาณปัญญาหรือการหยง่ั เห็น การคดิ บวก การคิดแก้ปัญหา การตดั สนิ ใจ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคิดสร้างสรรค์ ตามลาํ ดบั โดยมีรายละเอียดดงั นี้ 9.1 การคิดแบบอภิปัญญาหรือการร้คู ิด 9.1.1 ความหมายของการคดิ แบบอภิปญั ญาหรือการร้คู ิด การรู้คดิ มาจากคําในภาษาลาตินวา่ cognosco (con “with”+ gnsc “know”) (มารุต พัฒผล อา้ งถึง http://www.curriculumandlearning.com/) หมายถึง รูปแบบ ของการรู้และตระหนักที่เกิดจากกระบวนการทางสติปัญญาหรือกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง ของบุคคล (mental activities / inner workings in human head) เช่น การรับรู้ ความสนใจ การจาํ การคิด การใช้เหตุผล การตัดสินใจ การวางแผน การแก้ปัญหา การจินตนาการ เป็นต้น โดย ใช้กระบวนการรู้คดิ (cognitive process / cognitive processing) หรือกระบวนการทาํ งานของ สมองเกย่ี วกบั พฤติกรรมดา้ นการรคู้ ดิ ไดแ้ ก่ การลงรหสั (encoding) การจัดเก็บข้อมลู การได้ข้อมูล กลบั คนื มา และการนําขอ้ มลู ไปใชอ้ ย่างสอดคล้องกับแบบการรู้คิด (cognitive style) หรือลกั ษณะ หรือลลี าที่ถนัดของบคุ คลท่ใี ชใ้ นการรับรู้ เรยี นรู้ แกป้ ัญหา และสร้างความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ตามที่ บุคคลมีความตอ้ งการ (ราชบัณฑติ ยสถาน. 2555: 93 – 95, Barsalou. 2008, Kellett. 2008, Oxford Learning Centres. 2013: online, Wikipedia. 2013: online) 9.1.2 กระบวนการรู้คิด (Cognitive processes) ของบุคคล หมายถึง กระบวนการนาํ ขอ้ มูลที่เก็บไว้ในระบบหนง่ึ ไปสู่อีกระบบหน่งึ ประกอบด้วย 5 กระบวนการ คอื (https://sites.google.com 21 กรกฎาคม 2559)

200 9.1.2.1 ความใส่ใจ (Attention) ไดแ้ ก่ การจดจ่ออยู่กับส่งิ เรา้ (ขอ้ มูล) ทม่ี ากระตุ้น เพอื่ รบั ขอ้ มลู เขา้ มาอยู่ในระบบความจําสัมผสั (Sensory memory) 9.1.2.2 การรับรู้ (Perception) หมายถงึ การนําขอ้ มูลจากความจํา สัมผสั ไปแปลความหมายจนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจวา่ ข้อมูล หรอื ส่งิ เร้านั้นคอื อะไร 9.1.2.3 การทวนซาํ้ (Rehearsal) หมายถึง การทวนข้อมูลทร่ี ู้ หรอื เขา้ ใจซาํ้ ๆ โดยไมเ่ ปลีย่ นรูปแบบของข้อมูลเหลา่ น้นั เชน่ คดั “ก”ซ้ําๆ จนเขียน“ก” ไดอ้ ยา่ งสวยงาม เป็นต้น 9.1.2.4 การเขา้ รหัส (Encoding) หมายถึง กระบวนการแสดงข้อมลู (เกบ็ ข้อมูล) ไวอ้ ย่างมคี วามหมายในความจาํ ระยะยาว ทาํ ให้จาํ ได้อย่างแม่นยาํ อาจทาํ ไดด้ งั นี้ 1) การจัดการ (Organization) หมายถึงการจดั ระบบระเบียบ ของข้อมูล เปน็ การนาํ ข้อมลู มาจดั ทําเปน็ แผนภมู กิ ารจดั ลาํ ดับลดหล่นั ลงมาของข้อมูล (เชน่ การทํา แผนยังความคดิ รวบยอด-Concept map เปน็ ตน้ ) การจัดทาํ ตัวแบบ และการจัดทําเคา้ โครง 2) การลงลึกในรายละเอียด (Elaboration) หมายถึง การนาํ ขอ้ มูลใหมท่ ่เี ขา้ มาไปสัมพนั ธ์กับความร้คู วามเขา้ ใจเดิมท่ีมอี ย่กู อ่ น 3) การปฏิบตั ิ (Activity) หมายถึง การกระทํากจิ กรรมอยา่ ง กระตือรือรน้ เพอ่ื จําขอ้ มลู ในความจาํ ระยะยาวให้ได้ เชน่ การถาม-ตอบระหว่างเพอ่ื น การใชย้ ุทธศาสตร์ ในการจาํ เชน่ วิธีโลไซ (Loci) จําตัวย่อหรือจําเป็นคําคลอ้ งจอง เป็นตน้ 9.1.2.5 การคน้ คนื (Retrieval) หมายถงึ การนาํ ขอ้ มลู จากความจํามา ใช้งานหรือใช้ในการแก้ปัญหา นักจิตวิทยากลุ่มปัญญานิยมเชื่อว่า การรู้คิด เป็นหัวใจสาํ คัญของ การเกดิ การเรยี นรู้ จึงต้องสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการรคู้ ิดให้มากท่ีสดุ เทา่ ท่ี จะทําได้ 9.1.3 พฒั นาการดา้ นการรูค้ ดิ (cognitive development) เป็นกระบวนการ เปล่ียนแปลงการเรยี นรู้ มโนทัศน์หรอื ความคดิ รวบยอดต่างๆ ของบคุ คลที่ดีข้ึนอยา่ งเปน็ ลาํ ดบั ขั้น (ราชบัณฑติ ยสถาน. 2555: 93) ซ่ึงมีทฤษฎีทีอ่ ธบิ ายพัฒนาการดา้ นการรคู้ ิดอยู่หลายทฤษฎเี รียกวา่ “ทฤษฎกี ารรคู้ ดิ ” หมายถงึ ทฤษฎกี ารเรยี นรูก้ ลมุ่ พทุ ธนิ ิยม ทฤษฎกี ารเรียนรู้ กลุ่มเนน้ การรคู้ ดิ (cognitive theories) หมายถึง ข้อความรู้เกยี่ วกบั การเรยี นรู้ของมนุษยซ์ ง่ึ เช่ือว่า การเรียนรูม้ ใิ ช่เกดิ จากการมพี ฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเทา่ นัน้ แต่การเรยี นรู้เป็นกระบวนการทางสติปญั ญาใน การทจ่ี ะสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจใหแ้ กต่ นเองโดยมีการรับขอ้ มลู สรา้ งความสัมพนั ธแ์ ละความหมาย ของข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทําและการแก้ปัญหาต่างๆ ทฤษฎีที่อยู่ในกลุ่ม น้ีมีหลายทฤษฎี ได้แก ทฤษฎีพฒั นาการทางความคิด (Theory of Cognition Development) ของ จีน เพยี เจต์ (Jean Piaget) , เจอโรม ซมี วั ร์ บรเู นอร์ (Jerome Seymour Bruner), โรเบรต์ิ เอม็

201 กาเย่ (Robert M. Gagne) ทฤษฎที ฤษฎีการสร้างความร้ดู ว้ ยตนเอง (Constructivism) ของเลฟ สมิออวิส วีก็อสก้ี (Lev Semionovich Vygotsky) และทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของเดวิส ออซูเบล (David Ausubel) (ราชบัณฑิตยสถาน,2555: 95) มรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี Jean Piaget ภาพท่ี 56 แสดงภาพ Jean Piaget (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 24 สงิ หาคม 2559) 9.1.3.1ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด (Theory of Cognition Development) ของจีน เพยี เจต์ (Jean Piaget) เป็นนกั ชีววิทยาชาวสวิสเซอร์แลนด์ มีความสนใจ ศึกษาทางด้านจติ วทิ ยา โดยเฉพาะในด้านกระบวนการพัฒนาทางสตปิ ญั ญาของเดก็ ตง้ั แต่วัยแรกเกิด จนถงึ วัยรนุ่ เปน็ บคุ คลแรกท่ไี ดร้ บั การยอมรับวา่ เปน็ ผศู้ ึกษาพฒั นาการดา้ นความคดิ มนุษย์อย่างเป็น ระบบระเบียบ จนี เพียเจต์ (Jean Piaget) เช่ือว่า โดยธรรมชาตแิ ล้วมนษุ ย์ทกุ คนมคี วามพร้อมทจี่ ะมี ปฏสิ ัมพันธแ์ ละปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แรกเกดิ เพราะมนษุ ยท์ ุกคนหลีกเลยี่ งไมไ่ ดท้ ีจ่ ะตอ้ ง มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมซ่ึงต้องมีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา ผลจากกระบวนการดังกล่าวจะทาํ ให้มนุษยเ์ กดิ พฒั นาการของเชาวน์ปญั ญา จากความเชอื่ ดังกลา่ ว จีน เพียเจต์ (Jean Piaget) จงึ ได้ ศึกษาพัฒนาการด้านสตปิ ัญญาของเดก็ อย่างละเอียดด้วยการสร้างสถานการณ์เพ่อื สังเกตพฤติกรรม ของบุตรสาว 3 คนของเขาเป็นระยะเวลานานและไดท้ ําบนั ทกึ ไวอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง ธรรมชาตขิ องมนุษย์มี พ้นื ฐานตดิ ตวั ตัง้ แตก่ าํ เนิด 2 ชนิด คอื (www.baanjomyut.com21 กรกฎาคม 2559)

202 1) ธรรมชาตขิ องมนุษยม์ พี ืน้ ฐานติดตัวตั้งแต่กําเนิด 2 ชนิด คอื (1) การจัดและรวบรวม (organization) เป็นการจัด และรวบรวมกระบวนการตา่ งๆ ภายในใหเ้ ป็นระบบระเบยี บอย่างต่อเนอื่ ง พรอ้ มกบั มีการปรับปรุง เปล่ยี นแปลงตลอดเวลาเพื่อให้เกิดภาวะสมดุลย์จากการมปี ฏสิ มั พนั ธ์กับส่ิงแวดล้อม (2) การปรบั ตัว (adaptation) เป็นการปรับตัวเพ่ือใหอ้ ยใู่ น ภาวะสมดลุ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ซง่ึ ประกอบดว้ ยกระบวนการ 2 อยา่ งคอื (ก) การซมึ ซาบหรือดูดซมึ ประสบการณ์ (assimilation) หมายถึง การที่มนษุ ยม์ กี ารซึมซาบหรือดูดซมึ ประสบการณ์ใหม่เขา้ ส่โู ครงสร้างของ สตปิ ัญญา (cognitive structure) หลังจากมปี ฏิสัมพันธก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม (ข) การปรับโครงสรา้ งทางเชาวน์ปญั ญา (accommodation) หมายถึง การปรับเปล่ยี นโครงสรา้ งของเชาวน์ปัญญาทม่ี ีอยู่แลว้ ให้เข้ากบั สิง่ แวดลอ้ ม ใหม่ทไ่ี ดเ้ รยี นรเู้ พม่ิ ขนึ้ 2) องคป์ ระกอบสาํ คัญท่ีเสรมิ พฒั นาการทางสติปัญญา จนี เพียเจต์ (Jean Piaget) กลา่ ววา่ การพัฒนาสตปิ ัญญา และความคิดของมนุษย์จะตอ้ งอาศัยทั้งการจดั รวบรวมและการปรับตัว ซึง่ ลกั ษณะพฒั นาการทเี่ กดิ ขนึ้ จะดําเนินอย่างค่อยเป็นค่อยไปซ่ึงจะแตกต่างกันในแต่ละบุคคล โดยมีองค์ประกอบสําคัญที่เสริม พัฒนาการทางสติปัญญา 4 องค์ประกอบคือ (สุรางค์ โคว้ ตระกลู , 2541, น. 50) (1)วุฒิภาวะ (maturation) คือ การเจริญเติบโตทาง ดา้ นสรรี วิทยามีส่วนสําคญั อยา่ งยิง่ ตอ่ การพฒั นาสตปิ ัญญาและความคดิ โดยเฉพาะเสน้ ประสาทและ ตอ่ มไรท้ ่อ (2) ประสบการณ์ (experience) ประสบการณเ์ ป็นปัจจยั ท่ี สาํ คญั ตอ่ การพฒั นาด้านสติปัญญา เพราะเปน็ สง่ิ ที่เกิดข้นึ ทกุ ครั้งทบ่ี คุ คลมปี ฏสิ ัมพนั ธก์ บั ส่ิงแวดลอ้ ม ทัง้ ประสบการณ์ที่เกดิ จากการมปี ฏสิ มั พันธ์กับส่ิงแวดลอ้ มตามธรรมชาติและประสบการณเ์ ก่ียวกับ การคิดหาเหตุผลและทางคณติ ศาสตร์ ซงึ่ สามารถนํามาใชแ้ กป้ ญั หาในชีวติ ประจําวัน (3) การถ่ายทอดความรทู้ างสังคม (social transmission) คือ การท่ีบุคคลได้รับการถ่ายทอดความรู้ด้านต่างๆ จากบุคคลรอบข้าง เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู เป็นต้น (4) กระบวนการพัฒนาสมดุล (equilibration) คือ การควบคุมพฤติกรรมของตนเองซึ่งอยูใ่ นตัวของแต่ละบคุ คลเพื่อปรับสมดุลของพัฒนาการทาง สตปิ ญั ญาและความคิดไปสขู่ นั้ ท่ีสูงกว่า

203 3) ขั้นพัฒนาการเชาวป์ ัญญา เพยี เจทไ์ ด้แบง่ ข้นั พฒั นาการของ เชาวนป์ ัญญาออกเปน็ 4 ขนั้ คอื (1) ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเน้ือ (sensor motor period) อายุ 0- 2 ปี เป็นข้นั พัฒนาการทางความคดิ และสตปิ ัญญากอ่ นระยะเวลาท่ีเดก็ จะพูดเป็น ภาษาได้ การแสดงถึงความคิดและสติปัญญาของเด็กวัยน้ี จะเป็นในลักษณะของการกระทาํ หรือ การแสดงพฤติกรรมตา่ งๆ ซง่ึ ส่วนใหญจ่ ะขนึ้ อยกู่ ับการเคลอ่ื นไหว เปน็ ลกั ษณะของปฏิกิรยิ าสะทอ้ น เชน่ การดดู การมอง การไขวค่ ว้า มพี ฤตกิ รรมนอ้ ยมากท่ีแสดงออกถึงความเขา้ ใจ เพราะเด็กยังไม่ สามารถแยกตนเองออกจากส่ิงแวดล้อมได้ ตัวตนของเด็กยังไม่ได้พัฒนาจนกว่าเด็กจะได้รับ ประสบการณ์ ทาํ ให้ได้พัฒนาตัวตนขึน้ มาแลว้ เด็กจึงสามารถแยกแยะส่ิงตา่ งๆ ไดจ้ นกระทง่ั เด็กอายุ ประมาณ 18 เดอื น จึงจะเรม่ิ แก้ปญั หาด้วยตนเองไดบ้ ้าง และรบั รเู้ ท่าทสี่ ายตามองเห็น (2) ขน้ั เริ่มมีความคิดความเข้าใจ (pre-operational period) อายุ 2-7 ปี เดก็ วัยนเี้ ป็นวัยก่อนเข้าโรงเรียนและวยั อนุบาล ยังไมส่ ามารถใชส้ ติปญั ญากระทาํ สง่ิ ต่าง ๆ ได้อย่างเต็มที่ ความคิดของเดก็ วยั นข้ี ้ึนอย่กู บั การรบั ร้เู ป็นส่วนใหญ่ ไมส่ ามารถใชเ้ หตผุ ล อยา่ งลกึ ซง้ึ ได้ วัยน้เี รม่ิ เรยี นรูก้ ารใชภ้ าษา และสามารถใชส้ ญั ลักษณ์ต่างๆ ได้ พัฒนาการวัยน้ีแบ่งไดเ้ ป็น 2 ข้ันคือ (ก)ข้ันกําหนดความคิดไว้ล่วงหน้า (preconception thought) อายุ 2-4 ปี ระยะนีเ้ ด็กจะมีพฒั นาดา้ นการใชภ้ าษา ร้จู ักใช้คาํ สมั พันธ์ กบั ส่งิ ของ มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับสิ่งต่างๆ ได้แต่ยงั ไมส่ มบรู ณ์ ไมม่ เี หตุผล คดิ เอาแต่ใจตัวเอง อยใู่ น โลกแห่งจินตนาการ ชอบเลน่ บทบาทสมมตติ ามจินตนาการของตนเอง (ข) ขน้ั คดิ เอาเอง (intuitive thought) อายุ 4-7 ปี ระยะนีเ้ ดก็ สามารถคิดอยา่ งมเี หตุผลขน้ึ แต่การคดิ ยังเป็นลักษณะการรับร้มู ากกว่าความเขา้ ใจ จะมี พฒั นาการรบั รูอ้ ยา่ งรวดเร็ว สามารถเข้าใจสง่ิ ตา่ งๆ ได้เปน็ หมวดหมู่ ทัง้ ท่มี ลี ักษณะคล้ายคลึงและ แตกต่างกัน ลกั ษณะพเิ ศษของวยั น้คี อื เชื่อตวั เองโดยไม่ยอมเปลยี่ นความคดิ หรือเชื่อในเรือ่ งการทรง ภาวะเดมิ ของวัตถุ (conservation) ซ่ึงเพียเจท์เรียกวา่ principle of invariance (3) ข้ันใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม ระยะนี้การคิด (concrete operational period ) เด็กอายุ 7-11 ปี เดก็ จะมีพฒั นาการทางความคิดและสติปัญญา อยา่ งรวดเร็ว สามารถคิดอยา่ งมเี หตผุ ล แบ่งแยกส่ิงแวดลอ้ มออกเป็นหมวดหมู่ ลําดบั ข้นั จดั เรียง ขนาดส่ิงของและเร่ิมเข้าใจเร่ืองการคงสภาพเดิม สามารถนาํ ความรู้หรือประสบการณ์ในอดีตมา แก้ปัญหาเหตุการณ์ใหม่ๆ ได้ มีการถ่ายโยงการเรียนรู้ (transfer of learning) แต่ปัญหาหรือ เหตุการณ์นั้นจะต้องเก่ียวข้องกับวัตถุหรือสิ่งท่ีเป็นรูปธรรม ส่วนปัญหาที่เป็นนามธรรมน้ันเด็กยัง ไม่สามารถแกไ้ ด้

204 (4) ข้ันใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม (formal operational period) อายุ 11-15 ปี ข้นั น้เี ปน็ ขัน้ สงู สดุ ของพัฒนาการทางสติปญั ญาและ ความคิด ความคิดแบบเดก็ ๆ จะสน้ิ สุดลง จะเริ่มคดิ แบบผู้ใหญ่ สามารถคิดแกป้ ัญหาท่ีเป็นนามธรรม ด้วยวธิ กี ารหลากหลาย รู้จกั คิดอย่างเปน็ วิทยาศาสตร์ สามารถต้งั สมมตฐิ าน ทดลอง ใชเ้ หตุผล และ ทาํ งานท่ีต้องใช้สติปัญญาอย่างสลับซับซ้อนได้ จนี เพยี เจต์ (Jean Piaget) กล่าวว่า เด็กวัยนี้เป็น วัยที่คิดเหนือไปกว่าสิ่งปัจจบุ ัน สนใจทจ่ี ะสร้างทฤษฎเี ก่ียวกับทุกส่งิ ทกุ อยา่ ง และมคี วามพอใจที่จะ คดิ พจิ ารณาเกยี่ วกับสิ่งที่ไม่มตี ัวตนหรือส่ิงที่เปน็ นามธรรม นกั จติ วทิ ยาเช่ือวา่ การพัฒนาความเข้าใจจะ พฒั นาไปเร่ือยๆ จนกระท่งั เขา้ สวู่ ยั ชรา (www.baanjomyut.com 21 กรกฎาคม 2559) Jerome Seymour Bruner ภาพที่ 57 แสดงภาพ Jerome Seymour Bruner (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 24 สิงหาคม 2559) 9.1.3.2 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเจอโรม ซมี วั ร์ บรูเนอร์ (Jerome Seymour Bruner) เปน็ นักจติ วทิ ยาทส่ี นใจและศึกษาเรอื่ งของพฒั นาการทางสตปิ ญั ญา บรเู นอร์ (Bruner) เชอ่ื วา่ มนุษยเ์ ลือกทจี่ ะรบั รสู้ ่งิ ทต่ี นเองสนใจและการเรียนรเู้ กิดจากกระบวนการ ค้นพบด้วยตวั เอง (discovery learning) แนวคิดทีส่ าํ คญั ๆ ของบรูเนอร์ (Bruner) มดี งั นี้ (Brunner,1963: 1-54) (www.baanjomyut.com 21 กรกฎาคม 2559) 1) การจดั โครงสรา้ งของความรูใ้ ห้มีความสัมพนั ธ์ และ สอดคลอ้ งกับพัฒนาการทางสติปญั ญาของเดก็ มีผลต่อการเรยี นรู้ของเด็ก

205 2) การจัดหลักสูตรและการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกับระดับ ความพรอ้ มของผู้เรยี น และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาของผูเ้ รยี นจะช่วยใหก้ ารเรียนรู้เกิด ประสทิ ธภิ าพ 3) การคิดแบบหยัง่ รู้ (intuition) เปน็ การคิดหาเหตผุ ลอย่าง อสิ ระทส่ี ามารถชว่ ยพัฒนาความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรคไ์ ด้ 4) แรงจูงใจภายในเปน็ ปัจจยั สําคัญที่จะชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นประสบ ผลสาํ เรจ็ ในการเรยี นรู้ 5) ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปญั ญาของมนษุ ยแ์ บ่งไดเ้ ปน็ 3 ข้ัน ใหญ่ ๆ คือ (1) ข้ันการเรียนรู้จากการกระทาํ (Enactive Stage) คือ ขัน้ ของการเรียนรจู้ ากการใช้ประสาทสมั ผสั รับรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ การลงมือกระทําชว่ ยให้เด็กเกิดการเรยี นรู้ดี การเรียนรู้เกิดจากการกระทํา (2) ขน้ั การเรยี นร้จู ากความคิด (Iconic Stage) เปน็ ขน้ั ที่ เดก็ สามารถสรา้ งมโนภาพในใจได้ และสามารถเรยี นรจู้ ากภาพแทนของจริงได้ (3) ขัน้ การเรียนรสู้ ัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เปน็ ขนั้ การเรยี นรู้ส่งิ ที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรมได้ 6) การเรยี นรู้เกิดขึ้นไดจ้ ากการทค่ี นเราสามารถสร้างความคิด รวบยอด หรือสามารถจัดประเภทของส่ิงต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม 7) การเรยี นรทู้ ไี่ ดผ้ ลดีที่สดุ คือ การใหผ้ เู้ รียนคน้ พบการเรียนรู้ ด้วยตนเอง (discovery learning)

206 Robert M. Gagne ภาพท่ี 58 แสดงภาพ Robert M. Gagne (ที่มา http://www.slideshare.net/ 21 กรกฎาคม 2559) 9.1.3.3 ทฤษฎกี ารเรียนรูข้ องโรเบรต์ิ เอม็ กาเย่ (Robert M. Gagne) ทฤษฎพี ัฒนาการทางสตปิ ญั ญาของกาเย่ (Gagne) แม้กาเยจ่ ะ มิใชน่ ักจิตวทิ ยากลมุ่ พทุ ธินยิ มโดยตรง แต่ผลงานของเขาสว่ นใหญ่ได้เนน้ ใหเ้ ห็นถึงความเชอื่ และแนวคดิ ของกลมุ่ พทุ ธินิยม กาเยใ่ ชโ้ มเดลการเรียนรสู้ ะสมเปน็ ตวั อธบิ ายความเจรญิ ทางสตปิ ญั ญาและพฒั นาการ ของความสามารถใหมๆ่ ทม่ี ผี ลมาจากการเรยี นรู้จากทัศนะของกาเย่ เด็กพฒั นาเนื่องจากวา่ เขาได้ เรียนร้กู ฎเกณฑท์ ซี่ บั ซอ้ นขน้ึ เรือ่ ยๆ พฤติกรรมท่อี าศยั กฎท่ีซบั ซ้อนเกิดขนึ้ เพราะเดก็ ได้มีกฎง่ายๆ ที่จาํ เปน็ มากอ่ น ในระยะเร่มิ แรกเดก็ จะได้รบั นสิ ัยงา่ ยๆ ที่ชว่ ยทําหน้าทีเ่ ป็นจดุ เรม่ิ ตน้ เพอ่ื ให้ได้มาซึ่งกลไก พ้ืนฐานและการตอบสนองทางคําพูด ต่อมาก็จะเปน็ การจําแนกความคดิ รวบยอดเป็นกฎง่ายๆ และใน ที่สุดก็จะเป็นกฎท่ีซับซ้อน การพัฒนาทางสติปัญญา จึงได้แก่ การสร้างความสามารถใน การเรยี นรสู้ ิ่งทซ่ี ับซอ้ นเพ่ิมขน้ึ เร่อื ยๆ ระยะหรอื ขัน้ ของการพัฒนาการดูเหมือนว่าจะสัมพนั ธก์ ับอายุ ของเดก็ เนื่องจากการเรยี นรตู้ ้องใชเ้ วลา มขี ้อจํากัดทางสังคมเปน็ ตัวกําหนด หรือกฎเกณฑเ์ กี่ยวกับ อัตราความเร็วในการใหค้ วามรแู้ ละขา่ วสารแกเ่ ดก็ สาํ หรบั กาเย่แล้ว ความสามารถในการเรียนรอู้ าจ ตอ้ งรอการฝึกฝนท่ีเหมาะสม

207 กาเย่ (Gagne) ไดเ้ สนอหลกั ท่สี าํ คัญเกีย่ วกบั การเรียนรู้ว่า ไมม่ ี ทฤษฎีหน่งึ หรือทฤษฎีใดสามารถอธิบายการเรยี นรู้ของบุคคลได้สมบูรณ์ ดงั นัน้ กาเย่ จงึ ได้นาํ ทฤษฎี การเรียนรู้แบบสง่ิ เร้าและการตอบสนอง (S-R Theory) กับทฤษฎคี วามรู้ (Cognitive Field Theory) มาผสมผสานกนั 1) ลักษณะของการจัดลาํ ดับการเรยี นรู้ ดังน้ี (1) การเรยี นรู้แบบสัญญาณ (Signal Learning) เป็นการเรยี นรแู้ บบการวางเงอื่ นไข เกิดจากความใกลช้ ิดของสิง่ เรา้ และการกระทาํ ซํา้ ผเู้ รียนไม่สามารถ ควบคมุ พฤติกรรมของตนเอง (2) การเรยี นรแู้ บบการตอบสนอง (S-R Learning) คือ การเรียนรู้ทผี่ ้เู รียนสามารถควบคมุ พฤตกิ รรมน้นั ไดก้ ารตอบสนองเปน็ ผลจากการเสรมิ แรงกับโอกาส การกระทาํ ซา้ํ หรอื ฝึกฝน (3) การเรยี นรแู้ บบลกู โซ่ (Chaining Learning) คอื การเรยี นรู้อันเนอื่ งมาจากการเชอ่ื มโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนองตดิ ตอ่ กนั เป็นกจิ กรรมตอ่ เน่ืองโดย เปน็ พฤตกิ รรมทเี่ กี่ยวกบั การเคลอื่ นไหว เช่นการขับรถ การใช้เคร่อื งมือ (4) การเรียนรู้แบบภาษาสัมพนั ธ์ (Verbal Association Learning) มลี กั ษณะเชน่ เดียวกับการเรียนรู้แบบลูกโซ่ หากแต่ใชภ้ าษา หรือสัญญลักษณ์แทน (5) การเรยี นรแู้ บบการจาํ แนก (Discrimination Learning) ได้แกก่ ารเรียนรู้ทีผ่ ู้เรยี นสามารถมองเหน็ ความแตกต่าง สามารถเลอื กตอบสนองได้ (6) การเรยี นร้มู โนทศั น์ (Concept Learning) ได้แก่ การเรยี นรอู้ นั เนือ่ งมาจากความสามารถในการตอบสนองสงิ่ ต่างๆ ในลกั ษณะท่เี ปน็ สว่ นรวมของสง่ิ นนั้ เชน่ วงกลมประกอบดว้ ยมโนทัศนย์ ่อยท่ีเกย่ี วกบั สว่ นโคง้ ระยะทาง ศนู ย์กลาง เปน็ ตน้ (7) การเรยี นร้กู ฏ (Principle Learning) เกดิ จากสามารถ เช่ือมโยงมโนทัศน์ เข้าด้วยกนั สามารถนาํ ไปต้งั เปน็ กฎเกณฑ์ได้ (8) การเรยี นรแู้ บบปัญหา (Problem Solving) ไดแ้ ก่ การเรยี นรใู้ นระดบั ท่ี ผ้เู รียนสามารถรวมกฎเกณฑ์ รูจ้ ักการแสวงหาความรู้ รจู้ ักสรา้ งสรรค์ นําความรู้ ไปแก้ปญั หาในสถานการณต์ ่างๆ ไดจ้ ากลําดับการเรียนรูน้ ้ีแสดงให้เหน็ วา่ พฤติกรรมการเรยี นรู้แบบ ต้นๆ จะเปน็ พื้นฐานของการเรยี นรู้ระดับสูง

208 2) การถ่ายทอดในแนวตง้ั และแนวนอน กาเย่ (Gagne) ไดแ้ บง่ วธิ ีการทีป่ ระสบการณ์เดมิ ถา่ ยโอน ผลของมนั ไปสพู่ ฤติกรรมในอนาคตเป็น 2 วิธี ไดแ้ ก่ (1)การถ่ายโอนในแนวนอน ซ่ึงได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ของ เนอ้ื หาท่เี รยี นรูจ้ ากสาขาหนึ่งกบั วิธีการใหม่ๆ ท่ีใชก้ ับสาระในสาขาวชิ าท่สี มั พันธ์กนั ยกตัวอย่างเช่น นักปรชั ญาทคี่ นุ้ เคยกับการนาํ ไปสคู่ วามไม่มีเหตุผล (Reduction to Absurdity) ในลักษณะทเ่ี ป็นส่ือ ในการพิสจู น์ขอ้ ความต่างๆ สามารถทจี่ ะนาํ ความรู้นีไ้ ปใชก้ ับการพสิ ูจน์ทางคณติ ศาสตร์ทเี่ ขาเผชญิ ได้ (2) การถ่ายโอนในแนวตง้ั ไดแ้ ก่ การเรยี นความรู้บางอยา่ ง มาก่อนที่มีความจาํ เป็นต่อการเรียนความรู้อื่นๆ ในสาขาวิชาเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น การจะเรียน การคูณโดยไม่มคี วามรใู้ นเร่อื งการบวกมาก่อนจะยากมาก 3) ความสามารถในการเรยี นรู้ของมนษุ ย์ กาเย่ (Gagne) มคี วามเช่อื ว่า ความสามารถในการเรยี นรู้ ของมนษุ ย์มี 5 ด้าน คอื (1) ลกั ษณะดา้ นสติปัญญา (Intellectual Skills) ประกอบดว้ ยทกั ษะย่อย 4 ประการคือ (ก) การจําแนกแยกแยะ (Discriminations) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะคณุ สมบตั ทิ างกายภาพของวัตถุต่างๆทีร่ บั ร้เู ข้ามาวา่ เหมือน หรือไมเ่ หมือน (ข) การสร้างความคดิ รวบยอด (Concepts) หมายถงึ ความสามารถในการจัดกลมุ่ วตั ถุหรอื สง่ิ ต่างๆ โดยระบคุ ณุ สมบตั ิรว่ มกนั ของวัตถุหรือสงิ่ นน้ั ๆ แบ่งเปน็ 2 ระดบั ยอ่ ย ๆ คือ ความคดิ รวบยอดระดับรูปธรรม (concrete Concepts) ความคดิ รวบยอดระดับ นามธรรมทกี่ ําหนดขนึ้ ในสงั คมหรือวัฒนธรรมตา่ งๆ (Defined Concepts) (ค) การสรา้ งกฎ (Rules) หมายถึง ความสามารถใน การนําความคดิ รวบยอดต่างๆ มารวมเป็นกลมุ่ ตงั้ เป็นกฎเกณฑ์ขนึ้ เพ่ือใหส้ ามารถสรปุ อ้างองิ และ ตอบสนองต่อสิง่ เร้าตา่ งๆ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง (ง) การสร้างกระบวนการหรอื กฎช้ันสูง (Procedures of Higher Order Rules) หมายถึง ความสามารถในการนํากฎหลายๆ ขอ้ ที่สมั พนั ธ์กนั มาประมวล เข้าด้วยกนั ซึง่ นําไปสู่ความเขา้ ใจที่ซับซ้อนยง่ิ ขึ้น

209 (2) กลยทุ ธท์ างความคิด (Cognitive Strategies) หมายถึง กระบวนการที่มนษุ ย์ใชใ้ นการชว่ ยให้ตนได้รับข้อมูลและจดั กระทํากับข้อมลู จนเกดิ การเรยี นรตู้ ามที่ ตนต้องการ ประกอบด้วย (ก) การใสใ่ จ (Attending) (ข) การทาํ ความเขา้ ใจความคดิ รวบยอด (Encoding) (ค) การระลกึ ถงึ ส่ิงทีอ่ ยู่ในความทรงจํา (Retrieval) (ง) การแก้ปัญหา (Problem Solving) (จ) การคิด (Thinking) (3) ขา่ วสารจากคําพูด (Verbal Information) (ก) คาํ พดู ท่เี ป็นชือ่ ของส่งิ ต่างๆ (Names or Labels) (ข) คําพูดที่เปน็ ขอ้ ความ/ขอ้ เท็จจริง (Facts) (4) ทักษะทางกลไก (Motor Skills) (5) เจตคติ (Attitudes) กาเย่ (Gagne) มีความเช่ือ อีกว่า การเรียนรแู้ ละความจําท่ี เกิดขึ้น ในโครงสร้างของสมองมนุษย์เปรียบเทียบได้หรืออธิบายได้โดยทฤษฎีการจัดระบบข้อมูล (Information-Processing Theories) กล่าวคือ เมือ่ เราได้รบั ข้อมลู จากภายนอก สมองของเรากจ็ ะ รับร้แู ละบันทกึ เอาไว้ บางเรื่องก็เก็บเอาไวใ้ นความทรงจาํ ระยะสัน้ ถา้ เร่อื งน้ันๆ มีความสําคญั สมองก็ จะบันทกึ ไว้ในความทรงจาํ ระยะยาว เปรียบเสมือนส่วนที่เก็บบนั ทึกขอ้ มลู ของเครอ่ื งสมองกล เมอื่ ถึง คราวท่ีจะใชข้ ้อมูลท่บี นั ทึกไว้น้ี สมองกจ็ ะสง่ ข้อมูลออกมาในรูปของความจํา หรอื การระลึกได้ แล้วนํา ขอ้ มลู นัน้ ๆ ไปใช้ตามทตี่ ้องการ (http://www.slideshare.net/ 21 กรกฎาคม 2559)

210 Lev Semionovich Vygotsky ภาพที่ 59 แสดงภาพ Lev Semionovich Vygotsky (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 24 สิงหาคม 2559) 9.1.3.4 ทฤษฎีการสร้างความรดู้ ้วยตนเอง (Constructivism) ของเลฟ สมิออวิส วีก็อสก้ี (Lev Semionovich Vygotsky) (ทศิ นา แขมมณี,2545 : 90-94) 1) รากฐานสําคญั ของทฤษฎกี ารสรา้ งความรูด้ ้วยตนเอง วีก็อสกี้ (Vygotsky) เปน็ นกั จติ วทิ ยาชาวรสั เซยี ท่ีได้ศึกษาวิจัย เก่ียวกับพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาในสมัยเดียวกับเพ่ียเจต์ (Piaget) ทฤษฎีพัฒนาการทาง เชาว์ปัญญาของเพียเจต์ (Piaget) และวีก็อสก้ี (Vygotsky) เป็นรากฐานที่สาํ คัญของทฤษฎีสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) เพยี เจตอ์ ธิบายว่า พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของบคุ คลมีการ ปรบั ตัวผา่ นทางกระบวนการซมึ ซาบหรอื ดดู ซมึ (assimilation) และกระบวนการปรับโครงสร้างทาง ปัญญา (accommodation) พฒั นาการเกดิ ขึ้น เมื่อบุคคลรับและซึมซาบขอ้ มูลหรอื ประสบการณใ์ หม่ เข้าไปสมั พันธ์กับความรู้หรือโครงสรา้ งทางปญั ญาทม่ี อี ยเู่ ดิม หากไม่สามารถสัมพันธ์กนั ไดจ้ ะเกิดภาวะ ไม่สมดลุ ขึ้น (disequilibrium) บคุ คลจะพยายามปรับสภาวะให้อย่ใู นภาวะสมดลุ (equilibrium) โดย ใชก้ ระบวนการปรบั โครงสรา้ งทางปญั ญา (accommodation) ทั้งเพียเจต์ (Piaget) และวีกอ็ สกี้ (Vygotsky) นับว่าเป็นนักทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) ซึ่งเป็นกลุ่มที่ให้ ความสนใจศึกษาเก่ียวกับ “cognition” หรอื กระบวนการร้คู ิดหรอื กระบวนการทางปญั ญา นักคดิ คนสาํ คญั ในกลุ่มนี้คือ อลุ รคิ ไนส์เซอร์ (Ulrich Neisser) เพ่ือให้เข้าใจแนวคดิ ของทฤษฎกี ารสรา้ ง ความรไู้ ด้ง่ายข้ึน จงึ ขออธบิ ายเปรยี บเทียบแนวคิดนก้ี บั แนวคิดของทฤษฎีกลุม่ ปรนัยนิยม (Objectivism) ซึ่งมีความเหน็ วา่ โลกน้มี ีความรู้ ความจรงิ ซ่งึ เป็นแกน่ แทแ้ น่นอนไม่เปลยี่ นแปลง การศึกษาคอื การให้

211 ผ้เู รยี นได้เรยี นรคู้ วามรู้ ความจรงิ เหลา่ นี้ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ตามแนว Constructivism จัดเป็นทฤษฎี การเรยี นรูก้ ลุม่ ปัญญานิยม (cognitive psychology) โดยศกึ ษาดงั น้ี (1) ผูเ้ รยี นเป็นผูส้ รา้ ง (Construct) ความรู้จากความสัมพนั ธ์ ระหว่างสิ่งท่ีพบเห็นกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม โดยใช้กระบวนการทางปัญญา (cognitive apparatus) ของตน (2) การเรียนรตู้ ามแนว Constructivism คือ โครงสรา้ ง ทางปัญญา เป็นผลของความพยายามทางความคิด ผู้เรียนสร้างเสริมความรู้ผ่านกระบวนการ ทางจติ วิทยาด้วยตนเอง ผู้สอนไม่สามารถปรับเปล่ียนโครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียนได้ แต่ผสู้ อน สามารถช่วยผเู้ รยี นปรับเปล่ียนโครงสร้างทางปญั ญาไดโ้ ดยจดั สภาพการณท์ ี่ทําให้เกดิ ภาวะไมส่ มดลุ ได้ (http://52e186001ee.blogspot.com/p/constructivism.html 21 กรกฎาคม 2559) โจแนสเซน (Jonassen, 1992 : 138 – 139) กล่าวยาํ้ วา่ ทฤษฎีการสร้างความรู้จะให้ความสาํ คัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคล ในการสร้างความรู้ ความเขา้ ใจจากประสบการณ์ รวมทง้ั โครงสร้างทางปัญญาและความเชือ่ ทใี่ ชใ้ นการแปลความหมาย เหตกุ ารณ์และสง่ิ ต่างๆ สรุปไดว้ ่า การเรียนรูต้ ามทฤษฎีการสรา้ งความรู้เปน็ กระบวนการในการ “acting on” ไม่ใช่ “taking in” กลา่ วคือ เปน็ กระบวนการผู้เรยี นจะต้องจัดกระทาํ กับข้อมลู ไม่ใชเ่ พยี งรบั ข้อมูลเข้ามา (Fosnot, 1992 : 171) 2) การประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีในการเรยี นการสอน (1) เปา้ หมายการเรียนรู้จะตอ้ งมาจากการปฏิบัตงิ านจรงิ (authentic tasks) ครูจะต้องเป็นตัวอยา่ งและฝกึ ฝนกระบวนการเรยี นรูใ้ หผ้ ้เู รยี นเหน็ ผเู้ รียนจะต้อง ฝึกฝนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (2) การเรยี นรู้ทักษะตา่ งๆ จะต้องให้มีประสิทธิภาพถงึ ขั้น ทําได้และแกป้ ญั หาจรงิ ได้ (3) ผู้เรียนจะเป็นผู้มีบทบาทในการเรียนรู้อย่างต่ืนตัว (active) ผเู้ รียนจะต้องเปน็ ผู้จดั กระทาํ กบั ข้อมูลหรอื ประสบการณ์ตา่ งๆ และจะตอ้ งสร้างความหมาย ให้กับสิ่งน้นั ด้วยตนเอง โดยการให้ผเู้ รยี นอยใู่ นบรบิ ทจรงิ (4) ในการจัดการเรียนการสอนครูจะต้องพยายามสร้าง บรรยากาศทางสังคมจริยธรรม (sociomoral) ใหเ้ กดิ ขนึ้ กล่าวคอื ผเู้ รยี นจะตอ้ งมีโอกาสเรยี นรู้ใน บรรยากาศท่ีเอื้อตอ่ การปฏสิ ัมพนั ธ์ทางสงั คม (5) ในการเรยี นการสอน ผเู้ รยี นมบี ทบาทในการเรยี นรอู้ ย่าง เต็มที่ (Devries, 1992 : 1 -2) โดยผู้เรียนจะนําตนเองและควบคมุ ตนเองในการเรียนรู้

212 (6)ในการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ ครูจะมี บทบาทแตกตา่ งไปจากเดมิ (Devries, 1992 : 3 – 6) คอื จากการเปน็ ผ้ถู ่ายทอดความรู้และควบคุม การเรียนรู้เปล่ยี นไปเปน็ การใหค้ วามร่วมมอื อํานวยความสะดวก และชว่ ยเหลอื ผู้เรียนในการเรยี นรู้ คือ การเรยี นการสอนจะตอ้ งเปลย่ี นจาก “instruction” ไปเป็น “construction” คือ เปล่ียนจาก “การใหค้ วามร”ู้ ไปเป็น “การให้ผูเ้ รยี นสรา้ งความรู”้ (7) ในด้านการประเมนิ ผลการเรยี น (Jonassen , 1992 : 137 – 147) จาํ เป็นตอ้ งมีลักษณะเปน็ “goal free evaluation” ซ่ึงก็หมายถงึ การประเมินตาม จุดมงุ่ หมายในลกั ษณะทย่ี ดื หยุ่นกนั ไปในแตล่ ะบุคคล หรืออาจใชว้ ิธีการท่ีเรยี กว่า “socially negotiated goal” และการประเมินควรใช้วิธีการหลากหลาย ซึ่งอาจเป็นการประเมินจากเพ่ือน แฟ้มผลงาน (portfolio) รวมทง้ั การประเมนิ ตนเองด้วย David Ausubel ภาพที่ 60 แสดงภาพ David Ausubel (ทมี่ า https://www.google.co.th/search 24 สงิ หาคม 2559) 9.1.3.5 ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของเดวิส ออซูเบล (David Ausubel) (Ausubel David, 1963) ออซเู บล เปน็ นกั จติ วิทยาแนวปญั ญานิยม ออซเู บล (Ausubel) กล่าวไว้วา่ การเรยี นรทู้ ีผ่ ้เู รยี นได้รบั มาจากการท่ี ผ้สู อนอธิบายสง่ิ ท่จี ะต้องเรียนร้ใู ห้ฟังและผู้เรยี นรับฟังดว้ ยความเขา้ ใจ โดยผู้เรยี นเหน็ ความสัมพันธ์กับ โครงสร้างพุทธิปัญญาท่ีได้เก็บไว้ในความทรงจาํ และจะสามารถนาํ มาใช้ในอนาคต การเรียนรู้จะมี ความหมายแกผ่ ูเ้ รียน หากการเรยี นรู้นนั้ สามารถเชอื่ มโยงกบั สิ่งใดสิ่งหนึง่ ท่ีรมู้ ากอ่ น หลักการจัดการ เรยี นการสอนตามทฤษฏีน้ี คอื มกี ารนาํ เสนอความคิดรวบยอดหรอื กรอบมโนทัศนห์ รอื กรอบแนวคิด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook