Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

113 และ 3) การใหค้ วามสาํ คญั กบั ความสามารถเฉพาะของตวั เองเหล่านนั้ โดยการเปรียบเทยี บกบั บุคคลอน่ื แล้วสง่ ผลต่อความร้สู ึกทมี่ ีตอ่ ตนเองตอ่ ไป สรุปได้ว่า การเหน็ คณุ ค่าในตนเอง หมายถึง การทบ่ี คุ คลประเมนิ วา่ ตวั เองค้นพบ และภูมิใจในความสามารถด้านตา่ งๆ ของตน โดยมีพน้ื ฐานมาจากปัจจยั 3 ดา้ น คือ 1) การไดร้ ับความรัก การเห็นคุณค่าหรือการสนับสนุนส่งเสริมจากคนอื่น 2) การมีคุณลักษณะหรือมีความสามารถอย่าง เฉพาะเจาะจง และ 3) การให้ความสาํ คัญกับความสามารถเฉพาะของตัวเอง โดยได้รับอิทธิพลจาก การมีสัมพันธภาพระหวา่ งตนเองกับบุคคลอื่น ภาพที่ 41 แสดงภาพความสําคัญของการเหน็ คณุ ค่าในตนเอง (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 8 มถิ ุนายน 2559) 9.2 ความสําคัญของการเห็นคณุ ค่าในตนเอง ความสําคญั ของการเห็นคุณคา่ ในตนเอง (สุธนี ลิกขะไชย,2555) มีดังนี้ นวิ แมน (Newman 1986 : 281-286) บคุ คลที่เหน็ คุณคา่ ในตนเอง รู้วา่ ตนเอง มคี ณุ ค่ามักจะมกี ารประเมินตนเองในดา้ นดี แต่ถ้าบุคคลใดทม่ี คี วามรู้สึกว่าไมม่ ีใครสนใจ ไม่ไดร้ บั การ ยอมรับหรือทาํ อะไรแล้วไม่ประสบความสําเร็จ จะทําให้บุคคลน้ันรู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่า เม่ือเกิด ความรู้สึกเช่นนี้ ทําให้บุคคลเกิดความไม่เช่ือมั่นในตนเอง ดังน้ัน ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองที่ แตกต่างกนั จงึ มีผลต่อความรสู้ ึกหรือพฤติกรรมทีแ่ ตกต่างกนั ของแตล่ ะบุคคล ประเทิน มหาขันธ์ (2536: 1-2) การเห็นคุณค่าในตนเองน้ันมีความสาํ คัญต่อ ทุกช่วงชีวติ ของเด็ก เดก็ ทีม่ ีความนบั ถอื ตนเองต่ําหรือมีความรสู้ กึ ท่ีไมด่ ีต่อตนเอง กเ็ ปรยี บเสมอื นกบั เปน็ คนพิการทางบุคลิกภาพ เชน่ เดยี วกับความพิการทางร่างกาย ซ่งึ จะทําใหป้ ระสบความลม้ เหลวใน ชีวิตทุกๆด้านได้ การเห็นคุณค่าในตนเองจึงมีความสาํ คัญต่อคนเราทุกๆช่วงชีวิต มีความสาํ คัญต่อ

114 การอบรมเล้ียงดเู ดก็ ในช่วงวัยเดก็ ทาํ ใหเ้ ด็กเกดิ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง รวู้ ่าตนเอง มีความสําคญั ซึ่งจะมีผลต่อรากฐานทางบุคลกิ ภาพและเพอื่ หลกี เลี่ยงปัญหาทจี่ ะเกดิ ขึน้ กบั เด็กได้ เกยี รติวรรณ อมาตรยกุล (2540 : 4-8) การเหน็ คณุ ค่าในตนเองเป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีให้กับตนเอง ทาํ ให้เป็นคนที่มีความมุ่งม่ัน มีความพยายามในการทํางานให้ประสบ ผลสําเรจ็ ทําให้เปน็ ท่ีมคี วามรูส้ ึกทด่ี ีต่อตนเองและผอู้ นื่ ในดา้ นทดี่ ี ไม่เหยียบยํ่าความรสู้ ึกของผ้อู ่ืนให้ ตกตํา่ ลงเป็นคนทีม่ บี ุคลิกลกั ษณะทีด่ ี สุขภาพจิตท่ดี ี เปน็ คนที่มีเพอื่ นมาก ในทางตรงกนั ข้าม ถ้าบุคคลใด ขาดการเห็นคุณค่าในตนเองกจ็ ะทําใหเ้ ปน็ คนทช่ี อบโยนความผิดของตัวเองไปใหค้ นอื่น เป็นคนไมค่ อ่ ย มีเพ่ือนโดยเฉพาะเพื่อนสนิท เป็นคนที่ชอบเอาชนะ เป็นคนติดสิ่งเสพติด เป็นคนซึมเศร้าส้ินหวังใน ชีวิต เป็นคนเห็นแก่ตัวและมีความต้องการทางวัตถุสูง เป็นคนที่ไม่ชอบตัดสินใจและเป็นคนที่ชอบ ผดั วนั ประกนั พร่งุ เปน็ คนท่ีชอบพ่งึ พิงผอู้ ื่นอย่เู สมอ ชอบคุยโออ้ วดเกินจรงิ ยิ่งรา้ ยไปกวา่ นั้นคนทขี่ าด การเห็นคณุ คา่ ในตนเอง ยังเป็นคนพยายามฆ่าตัวตาย ดังเห็นได้จากหนังสอื พิมพ์หรอื ทางวิทยุ เปน็ ตน้ 9.3 ประเภทของการเห็นคุณค่าในตนเอง ประเภทของการเห็นคณุ ค่าในตนเอง มนี ักปรชั ญากลา่ วไว้ ดงั นี้ (สุธนี ลิกขะไชย,2555) 9.3.1 มาสโลว์ (Maslow) แบ่งความรู้สึกเห็นคณุ คา่ ในตนเองออกเป็น 2 ประเภท คอื 9.3.1.1 ประเภททเ่ี กีย่ วข้องกับความรสู้ กึ เหน็ คุณค่าของตนเอง การยอมรบั นับถือ และการประเมินค่า ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ คือ ความต้องการมีความเข้มแข็ง (Strength) ผลสมั ฤทธิ์ (achievement) ความสามารถเพียงพอสําหรบั การทาํ ส่ิงต่างๆ (adequacy) ความเชยี่ วชาญ และความสามารถ (mastery and competence) ความเชื่อมั่น (confidence) ความมอี ิสรเสรี และ ความเป็นไทแก่ตนเอง (independence and freedom) 9.3.1.2 ประเภทที่เกีย่ วขอ้ งการได้รบั ความเห็นคณุ คา่ จากผอู้ น่ื ตอ้ งการมี ชือ่ เสียงหรอื เกียรตยิ ศ ตําแหน่งความรุง่ เรอื ง มอี ํานาจเหนอื ผู้อืน่ ไดร้ ับการยอมรับและสนใจ มศี ักดิ์ศรี หรอื เป็นที่น่าชมเชยของผูอ้ ่นื (Maslow,1970: 45-46; Coopersmith. 1981: 236) 9.3.2 คูเปอรส์ มิธ (Coopersmith) (วรรณเพญ็ ประสทิ ธิ์. 2550: 14; อา้ งอิง จาก Coopersmith, 1981) กล่าวถงึ สาเหตขุ องการเห็นคณุ คา่ ในตนเองว่า มาจากแหลง่ สาํ คญั ซง่ึ บคุ คลใชเ้ ปน็ สง่ิ ตดั สนิ ความสาํ เร็จของตนเอง 4 แหลง่ คือ (สธุ นี ลกิ ขะไชย,2555) 1) การมอี าํ นาจ (Power) หมายถงึ การทบ่ี ุคคลสามารถมีอิทธพิ ล และควบคุมบคุ คลอ่ืนได้ 2) การมคี วามสําคญั (Significance) หมายถงึ การได้รบั การยอมรับ ไดร้ ับการเอาใจใส่ รวมทงั้ ได้รบั ความรกั ใคร่จากบุคคลอน่ื

115 3) การมีคณุ ความดี (Virtue) หมายถงึ การยึดมั่นตามมาตรฐาน ทางจริยธรรมและศลี ธรรมของสงั คม 4) การมีความสามารถ (Competence) หมายถึง การประสบ ความสาํ เรจ็ ในการกระทาํ สิ่งตา่ งๆ 9.3.3 แฟรงค์ และเมลโรลลา (Taf, 1985: 77-78; Citing Frank and Marcella. Moder English: a practical Reference Guide.) ไดแ้ บ่งการเห็นคุณค่าในตนเอง ออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี้ (สธุ นี ลกิ ขะไชย,2555) 9.3.3.1 การเห็นคุณคา่ ในตนเองภายใน (Inner Self-Esteem) คอื การท่บี คุ คลมคี วามสามารถเหน็ คณุ ค่าในตนเองภายในและการกระทําในสง่ิ ที่ตนตอ้ งการแล้วไดผ้ ลตามท่ี ตนปรารถนากระบวนการประเภทน้ไี ดม้ าจากการรับรูข้ องตนเองจากส่ิงแวดลอ้ ม โดยเกย่ี วข้องการกระทาํ ได้รับผลสําเร็จจากพากเพียรพยายามส่ิงนี้ จะเป็นพ้ืนฐานของคุณสมบัติแห่งตน (Self-Efficacy) ความภาคภูมิใจในตนเอง ขน้ั พ้ืนฐานจะถูกสรา้ งขนึ้ อยา่ งถาวรจากประสบการณต์ ั้งแต่ช่วงวัยแรกของ ชีวติ 9.3.3.2 การเหน็ คุณค่าในตนเองภายนอก (Functional Self-Esteem) คือ การเห็นคุณค่าในตนเองชนิดน้ี สร้างขึ้นโดยผ่านการประเมินปฏิสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆในชีวิตและ เกี่ยวข้องการที่บุคคลเปล่ียนแปลงบทบาทอันเน่ืองจากเหตุการณ์ในชีวิตประจาํ วัน และการได้รับ การยอมรับจากบคุ คลทม่ี คี วามสาํ คญั ในชีวติ การเหน็ คุณค่าในตนเองชนดิ นี้ สามารถเปล่ียนแปลงได้ ข้ึนอยู่กับความคาดหวังต่อบทบาททางสังคมและความสามารถในการเผชิญปัญหา และเป็นส่วนท่ี มีความสาํ คัญมากกว่าท่จี ะเป็นการเหน็ คณุ ค่าในตนเองขน้ั พ้ืนฐาน เพราะถา้ การเห็นคุณคา่ ในตนเอง ประเภทนล้ี ดลง บุคคลจะแสดงออกถงึ ความหมดหวงั หมดแรง มพี ฤตกิ รรมท่ผี ดิ แปลกไปจากเดิม 9.3.4 โรเซนเบร์ิก (กชกร ภทั ทกวงศ.์ 2542: 38; Bablablels. 1984; Rosenberg. 1979: 603-604) การเห็นคณุ คา่ ในตนเอง แยกออกเป็น 2 มติ ิ คอื (สธุ นี ลกิ ขะไชย,2555) 9.3.4.1 การตระหนกั รดู้ ้วยตนเอง (Cognitive self) เปน็ เรือ่ งราวของ ความรู้ความเข้าใจที่บุคคลมีต่อตนเอง จากการท่ีบุคคลเป็นเจ้าของตาํ แหน่งสถานภาพในโครงสร้าง สังคมท่ีบุคคลอาศยั อยหู่ รือเปน็ สมาชกิ อยู่ ทําใหบ้ ุคคลแต่ละคนมีเอกลกั ษณ์เป็นของตนเอง เชน่ เป็น พ่อแม่ เพอื่ น ครู เอกลักษณท์ บ่ี ุคคลไดร้ ับจากสังคมทาํ ใหบ้ ุคคลร้วู ่า เขาเป็นใคร คนอนื่ เปน็ ใคร ซ่งึ ไม่ เก่ยี วกับการประเมินของบุคคล 9.3.4.2 การประเมนิ ตนเอง (Evaluative self) เป็นการอธบิ ายตนเอง ของบุคคลซงึ่ เกดิ จากการทบ่ี คุ คลนําตนเองไปประเมินกับสงิ่ อื่นหรอื คนอืน่ เพ่ือทจ่ี ะใหบ้ คุ คลรวู้ ่าเขามี คุณค่าหรือมีความภาคภูมิใจในตนเองสูงต่ําเพียงไร การประเมินตนเองของบุคลในแนวสังคมวิทยา

116 สว่ นใหญจ่ ะเกย่ี วข้องกับการเห็นคณุ ค่าในตนเอง โดยพบว่า การท่ีบุคคลรู้สกึ ต่อตนเองในเรื่องการเหน็ คณุ คา่ ในตนเองอย่างไร ก็จะนาํ ไปส่พู ฤตกิ รรมเช่นน้นั 9.4 องค์ประกอบท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเห็นคณุ คา่ ในตนเอง องค์ประกอบทม่ี อี ิทธพิ ลต่อการเหน็ คุณคา่ ในตนเอง คูเปอร์สมิธ (อรอมุ า พุมสวัสด.์ิ 2538: 13-15; อ้างอิงจาก Coopersmith, 1981: 118-119) พบวา่ 2 ดา้ น คอื องคป์ ระกอบภายใน และองค์ประกอบภายนอก (สุธนี ลิกขะไชย,2555) 9.4.1 องค์ประกอบภายในตนเอง คอื ลกั ษณะของบุคคลแตล่ ะคนท่มี ีผลทําให้ การเห็นคุณคา่ ในตนเองและบคุ คลแต่ละคนแตกต่างกนั ประกอบด้วย (สุธนี ลิกขะไชย,2555) 9.4.1.1 ลักษณะทางกายภาพ (Physical Attributes) เชน่ ความสวยงาม ของรูปร่างหน้าตา ความคล่องแคล่วว่องไว บุคลิกที่มีลักษณะทางกายภาพดี จะมีการเห็นคุณค่าใน ตนเองมากกว่าบุคคลที่มีลักษณะทางกายภาพที่ด้อย อย่างไรก็ดีลักษณะทางกายภาพใดๆ จะส่งผล ต่อการเพิม่ คณุ คา่ ในตนเองหรือไมเ่ พยี งใด ยังข้นึ อยกู่ ับคา่ นิยมของสงั คม 9.4.1.2 สมรรถภาพ ความสามารถและผลงาน (General Capacity, Ability and Performance) สมรรถภาพ ความสามารถและผลงาน องคป์ ระกอบท้ัง 3 มีความสมั พนั ธ์ ระหว่างกันและมีผลตอ่ การเหน็ คณุ ค่าในตนเอง โดยจะเป็นตวั บง่ ชถ้ี ึงความถี่ของการประสบความสําเร็จ เหนือความล้มเหลวในส่ิงท่ีกระทํา โดยจะมีเรื่องสติปัญญาเข้ามาเกี่ยวกันด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ ท่ีอยู่ในวัยเรียน ซ่ึงจะหมายถึง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สติปัญญาจะส่งผลต่อสมรรถภาพและผล การเรยี นของนกั เรยี นดว้ ยอันจะนาํ ไปสู่การเพมิ่ คุณค่าในตนเอง 9.4.1.3 ภาวะทางอารมณ์ (Affective States) เปน็ ภาพสะทอ้ นใหเ้ ห็น ถึงความรสู้ กึ เหน็ คุณคา่ ความเป็นสุข ความวิตกกังวล หรอื ภาวะอ่ืนท่ีอยู่ในตวั บคุ คล อันเป็นผลสบื เนอื่ งมาจากการประเมนิ ถึงสิง่ ท่ตี นประสบและเปน็ ผลมาจากการมปี ฏิสมั พนั ธก์ ับบุคคลอ่นื แล้วมผี ลต่อ การประเมินตนเองในเวลาต่อมา บุคคลที่ประเมินตนเองในทางที่ดีจะมีความรู้สึกพึงพอใจมีความสุข ในทางตรงกันขา้ มบุคคลที่ประเมนิ ตนเองในทางท่ีไมด่ ี ไมพ่ อใจในชีวิตของตน และหมดหวังในอนาคต 9.4.1.4 คา่ นยิ มส่วนตัว (Self-Values) บคุ คลจะใหค้ วามพอใจในส่ิงต่างๆ แตกต่างกันออกไป บุคคลจะมีแนวโนม้ จะใช้คา่ นิยมของสังคมเป็นตัวตัดสินการเห็นคุณค่าในตนเอง ถ้า ค่านิยมของตนเองสอดคลอ้ งกบั สังคม จะทาํ ให้การเหน็ คณุ คา่ ในตนเองเพมิ่ ข้ึน แต่ถ้าคา่ นยิ มของตนไม่ สอดคลอ้ งกบั สงั คม การเห็นคณุ ค่าในตนเองจะต่ําลง 9.4.1.5 ความปรารถนาของบุคคล (Aspiration) การตัดสินการเห็น คุณค่าในตนเองของบุคคลเกิดจากการเปรียบเทียบผลงาน และความสามารถของตนเองกับเกณฑ์ ความสําเรจ็ ในตนเองต้ังไว้ ถ้าผลงานและความสามารถเปน็ ไปตามเกณฑท์ ตี่ นเองต้งั ไวห้ รอื ดกี ว่า ทาํ ให้

117 บคุ คลมกี ารเหน็ คณุ คา่ ในตนองเพมิ่ ขึ้น ในทางตรงกันข้าม ถา้ ผลงานและความสามารถไมเ่ ปน็ ไปตาม เกณฑห์ รอื ต่ํากวา่ เกณฑ์ บุคคลจะคิดว่าตนเองไรค้ ้า 9.4.1.6 เพศ (Sex) สงั คมและวัฒนธรรมสว่ นใหญจ่ ะให้ความสําคญั กับ เพศชาย การประสบความสาํ เร็จของเพศชายมกั จะถกู มองว่าเกดิ จากความสามารถ แตถ่ า้ เป็นหญงิ กลบั ถกู มองว่าเปน็ เพราะความพยายามหรือความโชคดี ดังนั้น จงึ พบวา่ สว่ นใหญเ่ พศชายมกี ารเหน็ คุณคา่ ในตนเองสูงกวา่ เพศหญิง 9.4.1.7 ปัญหาตา่ งๆและพยาธสิ ภาพ (Problems and Pathology) ได้แก่ ปัญหาสุขภาพสุขภาพจิตทั่วไป อาการทางกายมีสาเหตุมาจากจิตใจ (Psychosomatic Symptoms) กลา่ วคอื ผู้ท่ีมปี ญั หาดังกล่าวสูงจะมีการเห็นคุณค่าในตนเองต่ํา และจะแสดงออกมาใน รปู ความวติ กกงั วล มคี วามทกุ ข์ สว่ นผมู้ ีปัญหาดงั กล่าวน้อยจะมีการเหน็ คณุ คา่ ในตนเองสงู 9.4.2 องค์ประกอบภายนอกตนเอง คือ สภาพแวดล้อมภายนอกที่บุคคลมี ปฏิสมั พนั ธ์ดว้ ย ซึ่งจะส่งผลใหเ้ กิดการเหน็ คุณค่าในตนเองท่ีแตกต่างกัน ประกอบด้วย (สุธนี ลกิ ขะไชย,2555) 9.4.2.1 ความสมั พนั ธก์ บั ครอบครัวและพอ่ แม่ ความสมั พันธ์ระหวา่ งพ่อ แม่และลูก เป็นสิ่งท่ีมีอานุภาพมาก ดังนั้น ประสบการณ์ท่ีบุคคลได้รับจากความสัมพันธ์ภายใน ครอบครัว จงึ เป็นรากฐานทส่ี าํ คญั ในชีวติ เดก็ ได้รบั ความรกั ความอบอุ่น ใหส้ ทิ ธเิ สรภี าพในการกระทํา ของเด็ก ระเบียบกฎเกณฑ์ที่พ่อแม่ใช้ปกครองลูกและการจัดการดูแลให้เด็กมีอิสระในขอบเขตท่ี กําหนดส่งิ ต่างๆ เหล่านี้ จะทาํ ให้เด็กสามารถพัฒนาการเห็นคณุ คา่ ในตนเองได้ 9.4.2.2 โรงเรียนและการศึกษา เป็นสถานที่พัฒนาการเห็นคุณค่าใน ตนเองต่อจากบา้ น คอื โรงเรียนจะมหี น้าทชี่ ว่ ยใหเ้ ดก็ เกดิ ความรสู้ ึกเช่ือมน่ั ในทกั ษะความสามารถ และ การเห็นคุณค่าในตนเอง เช่น ครูเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนทาํ กจิ กรรมตา่ งๆไดอ้ ยา่ งอสิ ระ ซึ่งไมข่ ัดกฎระเบียบ ท่ีโรงเรียนกําหนดไว้ การฝกึ เด็กให้แก้ปญั หาตา่ งๆ เพื่อสง่ เสริมให้เดก็ มคี วามมั่นใจในตนเอง 9.4.2.3 สถานภาพทางสังคมเป็นการเปรียบเทียบตนเองกับผู้อื่น โดย พจิ ารณาจากอาชีพ ตําแหน่งการงาน บทบาททางสังคม สถานะทางเศรษฐกิจ วงศ์ตระกูล เป็นต้น บคุ คลทม่ี าจากสถานภาพทางสงั คมสูง จะไดร้ ับปฏิบัติท่ที ําใหเ้ ขารสู้ กึ มคี ณุ ค่าในตนเองสูงกว่าบคุ คลท่ี มาจากสถานภาพทางสงั คมระดบั ปานกลางและตา่ํ จากการศึกษา พบว่า สถานภาพทางสงั คมใน ระดบั ต่ํามที ง้ั บุคคลที่มกี ารเห็นคุณคา่ ในตนเองสงู และตาํ่ 9.4.2.4 สังคมและกลุ่มเพ่ือน การที่บุคคลมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมและ เพื่อนจะช่วยในการพัฒนาการเหน็ คุณค่าในตนเอง การท่ีบคุ คลไมไ่ ด้การยอมรับ ไม่เปน็ ทปี่ ระทับใจใน กลุ่มเพ่อื น จะทําให้การเห็นคุณคา่ ในตนเองตาํ่ จะกลายเป็นคนทีเ่ งยี บขรมึ ชอบเกบ็ ตัว และไม่เปน็ ที่ ไว้วางใจของเพ่อื น

118 9.5 ทฤษฎที ีเ่ กย่ี วข้องกับการเหน็ คณุ ค่าในตนเอง 9.5.1 ทฤษฎีมนษุ ยนิยม (Humanistic Theory) กลา่ วถงึ การเหน็ คุณคา่ ใน ตนเอง หมายถงึ คา่ ของคน คอื มีคณุ ค่า มีสทิ ธิ มีความรับผิดชอบ และความสมบูรณแ์ บบ นักจิตวทิ ยาท่ี สนใจในเรื่องความสามารถและศักยภาพของมนุษย์ ไดแ้ ก่ (สรนิ ฎา ปตุ .ิ อริยา คหู า,2552) 9.5.1.1 ทฤษฎเี ก่ียวกบั ตนของโรเจอร์ โรเจอร์ (Roger) เชอื่ วา่ ตน (Self) ประกอบดว้ ยความคิด (Ideas) การรบั รู้ (Perceptions) และคณุ ค่า (Values) ทร่ี วมกนั เขา้ ในตัวบคุ คล โดยใหข้ ้อคดิ เห็นว่า มนษุ ยท์ ุกคนมศี ักยภาพตดิ ตัวมาแตก่ าํ เนิด เพ่อื ทาํ หนา้ ทีด่ ํารงชีวิตและยกระดบั จิตใจของตนเองและ ของผอู้ ่นื และยงั ใช้ในการดํารงชีวิตอยู่ในสงั คม ในแนวคดิ ของโรเจอร์ (Roger) มนษุ ยม์ คี ณุ ลักษณะทาง จิตใจท่จี ะช่วยให้เกดิ ความเขา้ ใจตนเองและสิ่งแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ ความต้องการความรกั ความสนใจ และ การยอมรับจากผู้อนื่ ความตอ้ งการทจ่ี ะรักและนับถือตนเอง ความต้องการทจ่ี ะเปน็ ตนเอง ซง่ึ เกดิ จาก ความคดิ รวบยอดเกยี่ วกบั ตนเอง ว่าตนเองคอื ใคร และมีอะไรเป็นส่วนประกอบเก่ียวกับตน ซึ่งจะมี ผลทําให้บุคคลเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับตนได้สอดคลอ้ งกับศักยภาพทแ่ี ท้จรงิ และบุคคลเชน่ น้ี จงึ จะเป็นคนสมบรู ณ์แบบ (สรนิ ฎา ปตุ ิ.อรยิ า คูหา,2552) 1) ลกั ษณะบุคคลที่สมบรู ณแ์ บบ ซึ่งเป็นลกั ษณะของบุคคลที่ เหน็ คุณคา่ ในตนเอง ในความคดิ เหน็ ของโรเจอร์ (Roger) น้นั จะมีลกั ษณะการแสดงออกดังนี้ (1) เปดิ ใจกวา้ งรบั ประสบการณ์ มีอสิ ระและเสรีท่ีจะรบั รู้ การประสบกับความรสู้ กึ อารมณแ์ ละคา่ นยิ มหรือเจตคตๆิ อยา่ งลึกซ้ึง และแสดงออกมาไดโ้ ดยไม่มีเงื่อนไข ใดๆ ทีจ่ ะตอ้ งปกปดิ สามารถรบั รูท้ ้ังอารมณท์ างบวกและทางลบ (2) มชี วี ติ ปจั จุบนั มคี วามยืดหยนุ่ ในชีวติ สามารถรับรอู้ ยา่ ง อิสระในประสบการณต์ า่ งๆ ได้ สามารถปรบั ตวั ไดด้ ้วยความเตม็ ใจ (3) เชือ่ มัน่ ในภาวะอนิ ทรียข์ องตน โรเจอร์ (Roger) เนน้ ว่า การกระทาํ ใดที่ใช้ความรู้สึกเป็นตัวส่ังการ จะเป็นภาวะท่ีกาํ หนดพฤติกรรมท่ีเชื่อถือได้มากกว่า เหตุผลหรือองค์ประกอบทางความคดิ บคุ คลผใู้ ชต้ นเองอยา่ งเต็มทจ่ี ะสามารถแสดงพฤติกรรมโดย การกระตุ้นของรา่ งกายในขณะน้ัน ดงั นัน้ พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกจึงแฝงตวั ด้วยความอสิ ระและความรู้สกึ เสรี แต่มใิ ชเ่ ป็นการแสดงออกโดยปราศจากความย้งั คดิ และการไม่คาํ นึงผลท่จี ะเกดิ ขึ้น (4) ความรสู้ ึกของการมีเสรภี าพ จะรูส้ ึกถงึ ความมีอสิ ระใน การเลอื กและในการกระทําตา่ งๆ มีความเป็นตัวของตัวเองไม่อยู่ภายใตอ้ ทิ ธิพลใดๆ (5) ความคิดรเิ ร่ิม จะมีความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรคส์ งู ผ้ทู เ่ี ปดิ ใจกว้างในการรบั ประสบการณ์ต่างๆ จะเช่ือมนั่ ในตนเองและยืดหย่นุ ในการตัดสนิ ใจ จะสามารถแสดง

119 ตนเองในรูปของงานประเภทริเริ่มต่างๆและมีอิสระที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมของตนให้พัฒนาและ งอกงามมากขึน้ ในการท่จี ะตอบสนองต่อส่งิ เรา้ ซึง่ อยู่รอบตวั 2) สิ่งทีม่ อี ทิ ธิพลตอ่ การรบั รู้ของบุคคล โรเจอร์ (Roger) มเี ช่อื ว่า บุคคลผู้ใช้ตนเองอย่างเต็มที่ เห็นคุณคา่ ในตนเองจะสามารถปรับตนเองให้อยู่ในภาวะแวดล้อมซึ่ง เปลย่ี นแปลงอยา่ งมากและอิสระที่จะเผชิญปญั หาหรอื การเปล่ยี นแปลงตา่ งๆ โรเจอร์ (Roger) จึงได้ พิจารณาวา่ บคุ คลผใู้ ช้ชวี ิตตนเองอยา่ งเต็มท่นี ้นั เป็นบุคคลทมี่ คี ณุ ภาพในการเตบิ โตของมนุษยชาติ มนุษยจ์ ะสามารถพฒั นาเปน็ บุคคลที่สมบูรณ์แบบไดห้ รือไมน่ ้นั ขนึ้ อยู่กบั ว่าบคุ คลน้ันมีความรเู้ กีย่ วกบั ตนเองอย่างไร โรเจอร์ (Roger) เชื่อว่า สิง่ ทม่ี ีอิทธิพลต่อการรับรูข้ องบคุ คลนั้น ประกอบด้วย (สรินฎา ปุต.ิ อริยา คหู า,2552) (1)ความสามารถในการรับรู้ของบุคคลนั้น ข้ึนอยู่กับ การพฒั นาทางสรรี ะ ไดแ้ ก่ ประสาทรับความร้สู กึ ต่างๆ การเห็น การไดย้ นิ การสัมผสั ความสามารถ ทางสมองท่ีจะรวบรวมขอ้ มูลต่างๆ การเลอื กท่ีจะรบั รู้สิ่งเรา้ ภายนอก จะรบั รอู้ ะไร แคไ่ หน อย่างไร ให้ ความสําคัญต่อสิ่งเหล่าน้ันแค่ไหน และคนเราจะรับรู้ส่ิงเร้าภายนอกได้ 3 วิธี คือ รับรู้ตามสภาพ ความเป็นจริง บิดเบือนส่ิงที่รับร้แู ละปฏิเสธการรับรู้ การรับรู้ส่ิงเร้าภายนอกในปัจจุบันเป็นผลจาก ประสบการณ์ในอดีต (2) ประสบการณ์จากส่งิ แวดล้อมของแตล่ ะบุคคล สิ่งแวดล้อมจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอตั้งแต่แรกเกิด เด็กต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมไม่สามารถ ช่วยเหลือตนเองได้ ส่ิงแวดลอ้ มของแต่ละคนยอ่ มไม่เหมอื นกนั ประสบการณ์เหล่านน้ั เองทชี่ ว่ ยพฒั นา โครงสร้างการรับรเู้ กย่ี วกบั ตนเองและส่ิงแวดล้อมท่ีมคี ่านยิ มเจตคตขิ องบุคคลด้วย (3) การปรับตัวของแต่ละบุคคล การปรับตัวของบุคคล ขึน้ อยกู่ บั ประสบการณเ์ กา่ และการเรียนรวู้ า่ ตรงสภาพความเป็นจริงแค่ไหน ถา้ บคุ คลสามารถรบั ร้ตู าม สภาพความเป็นจริง บุคคลน้ันก็จะสามารถปรับตัวได้ดีเพราะเขาสามารถยอมรับตนเองในทุกๆด้าน ถงึ แมว้ า่ มันจะเปน็ สิ่งทีด่ ีหรือไม่ดกี ต็ าม 9.5.1.2 ทฤษฎีความต้องการตามลําดบั ขั้นของมาสโลว์ มาสโลว์ (Maslow) เชื่อว่า พฤติกรรมของมนุษย์เปน็ จํานวนมาก สามารถท่ีจะอธิบายโดยใช้แนวโน้มของบุคคล ในการค้นหาเป้าหมายที่จะทําให้ชีวิตของเขาได้รับ ความต้องการ ความปรารถนาและได้รับส่ิงท่ีมีความหมายต่อตนเอง เป็นความจริงที่จะกล่าวว่า กระบวนการของแรงจูงใจเปน็ หวั ใจของทฤษฎีบุคลิกภาพของมาสโลว์ (Maslow) โดยเชื่อว่ามนษุ ยเ์ ปน็ “สตั วท์ ีม่ คี วามต้องการ” (wanting animal) และเปน็ การยากทม่ี นุษยจ์ ะไปถงึ ข้นั ของความพึงพอใจ อยา่ งสมบูรณ์ ในทฤษฎลี ําดบั ข้ันความตอ้ งการของมาสโลว์ (Maslow) เม่ือบุคคลปรารถนาทจี่ ะไดร้ บั ความพงึ พอใจและเม่อื บุคคลไดร้ ับความพึงพอใจในสงิ่ หนึ่งแลว้ กจ็ ะยงั คงเรยี กร้องความพงึ พอใจสิง่ อ่ืนๆ

120 ต่อไป ซงึ่ ถือเป็นคุณลกั ษณะของมนุษย์ ซง่ึ เป็นผทู้ ีม่ คี วามต้องการจะได้รับส่งิ ตา่ งๆ อยเู่ สมอ มาสโลว์ (Maslow) กล่าววา่ ความปรารถนาของมนุษย์นั้นตดิ ตวั มาแต่กาํ เนิดและความปรารถนาเหล่านี้ จะ เรยี งลําดบั ขนั้ ของความปรารถนา ตง้ั แตข่ นั้ แรกไปสคู่ วามปรารถนาข้ันสูงขนึ้ ไปเป็นลําดับ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Maslow_Theories.htm 8 มิถนุ ายน 2559) ภาพท่ี 42 แสดงภาพทฤษฎีความต้องการตามลาํ ดบั ขน้ั ของ Maslow (ที่มา https://www.google.co.th/search 8 มิถุนายน 2559) ลาํ ดับขนั้ ความตอ้ งการของมนุษย์ (The Need – Hierarchy Conception of Human Motivation ) มาสโลว์ (Maslow) เรียงลาํ ดบั ความต้องการของมนษุ ย์จาก ขนั้ ตน้ ไปส่คู วามตอ้ งการข้ันต่อไปไว้ เป็นลําดับดงั น้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Maslow_Theories.htm 8 มิถนุ ายน 2559) 1) ความตอ้ งการทางร่างกาย (Physiological needs) เปน็ ความต้องการขน้ั พ้นื ฐานทมี่ อี ํานาจมากท่ีสดุ และสังเกตเหน็ ไดช้ ัดที่สดุ จากความตอ้ งการท้ังหมด เปน็ ความต้องการท่ชี ว่ ยการดาํ รงชีวติ ไดแ้ ก่ ความต้องการอาหาร นํา้ ด่ืม ออกซิเจน การพักผอ่ นนอนหลบั ความต้องการทางเพศ ความต้องการความอบอุ่น ตลอดจนความต้องการที่จะถูกกระตุ้น อวัยวะ รับสัมผัส แรงขับของรา่ งกายเหล่านจ้ี ะเกย่ี วขอ้ งโดยตรงกับความอยรู่ อดของร่างกายและของอนิ ทรยี ์

121 ความพึงพอใจทีไ่ ด้รบั ในขน้ั น้ีจะกระตุน้ ให้เกดิ ความต้องการในขน้ั ทส่ี งู กวา่ และถา้ บุคคลใดประสบ ความล้มเหลวที่จะสนองความตอ้ งการพ้นื ฐานน้ี ก็จะไมไ่ ด้รบั การกระตุ้นให้เกดิ ความต้องการในระดับ ท่ีสูงข้ึน ถ้าความต้องการอย่างหนึ่งยังไม่ได้รับความพึงพอใจ บุคคลก็จะอยู่ภายใต้ความตอ้ งการ นั้นตลอดไป ซงึ่ ทาํ ใหค้ วามตอ้ งการอื่นๆ ไม่ปรากฏหรอื กลายเปน็ ความต้องการระดับรองลงไป เช่น คนท่อี ดอยากหิวโหยเป็นเวลานาน จะไม่สามารถสร้างสรรคส์ ิง่ ที่มีประโยชน์ตอ่ โลกได้ บุคคลเชน่ นี้ จะ หมกมุน่ อยกู่ บั การจดั หาบางสงิ่ บางอยา่ ง เพือ่ ใหม้ อี าหารไวร้ ับประทาน มาสโลว์ (Maslow) อธิบาย ต่อไปวา่ บคุ คลเหล่านีจ้ ะมคี วามรสู้ กึ เป็นสุขอย่างเตม็ ท่ี เมอื่ มีอาหารเพียงพอสําหรับเขา และจะไม่ ต้องการส่ิงอ่ืนใดอีก ชีวติ ิของเขากลา่ วไดว้ ่า เป็นเรอ่ื งของการรับประทานสิง่ อ่ืนๆ นอกจากนีจ้ ะไมม่ ี ความสาํ คญั ไมว่ ่าจะเปน็ เสรภี าพ ความรัก ความรู้สกึ ต่อชุมชน การไดร้ ับการยอมรบั และปรชั ญาชวี ติ บคุ คลเชน่ นี้ มชี วี ิตอย่เู พ่ือท่จี ะรับประทานเพยี งอยา่ งเดียวเทา่ น้ัน ตวั อย่าง การขาดแคลนอาหารมผี ล ต่อพฤตกิ รรม ได้มกี ารทดลองและการศึกษาชีวประวัติ เพ่ือแสดงว่า ความตอ้ งการทางด้านรา่ งกาย เป็น เร่อื งสาํ คญั ทจี่ ะเข้าใจพฤตกิ รรมมนุษย์ และไดพ้ บผลว่า เกดิ ความเสยี หายอยา่ งรุนแรงของพฤติกรรม ซึ่ง มสี าเหตจุ ากการขาดอาหารหรอื นํ้า ตดิ ต่อกันเป็นเวลานาน ตัวอยา่ งคอื ตวั อย่าง ในปี ค.ศ. 1970 เครื่องบนิ ของสายการบนิ Peruvian ตกลงที่ฝง่ั อา่ วอเมริกาใต้ผ้ทู ี่รอดตายรวมทั้งพระนกิ าย Catholic อาศยั การมีชวี ิตอย่รู อด โดยการกนิ ซากศพของผู้ทีต่ ายจากเคร่ืองบนิ ตก จากปรากฏการณน์ ี้ชี้ใหเ้ ห็น ว่า เม่ือมนุษย์เกิดความหิวข้นึ จะมีอิทธพิ ลเหนือ ระดบั ศีลธรรมจรรยา จงึ ไมต่ อ้ งสงสยั เลยว่า มนษุ ยม์ ี ความตอ้ งการทางดา้ นร่างกายเหนือความตอ้ งการอื่นๆ และแรงผลกั ดันของความต้องการน้ี ได้เกดิ ขึน้ กบั บคุ คลกอ่ นความต้องการอน่ื ๆ 2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) มาสโลว์ (Maslow) กล่าวว่า ความต้องการความปลอดภัยน้ี จะสงั เกตไดง้ า่ ยในทารกและในเดก็ เลก็ ๆ เนอ่ื งจากทารกและเดก็ เล็กๆ ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื และต้องพ่ึงพาอาศัยผู้อน่ื ตัวอยา่ ง ทารกจะรู้สึก กลัวเมือ่ ถกู ทงิ้ ใหอ้ ยู่ตามลาํ พังหรอื เม่ือเขาไดย้ นิ เสียงดังๆหรอื เห็นแสงสวา่ งมากๆ แตป่ ระสบการณ์และ การเรยี นรจู้ ะทาํ ใหค้ วามรสู้ กึ กลวั หมดไป ดังคาํ พูดทว่ี า่ “ฉันไม่กลัวเสียงฟา้ รอ้ งและฟา้ แลบอกี ต่อไปแล้ว เพราะฉันรู้ธรรมชาติในการเกดิ ของมัน” พลังความต้องการความปลอดภยั จะเห็นได้ชดั เจนเช่นกัน เมอ่ื เด็กเกิดความเจบ็ ปว่ ย ตัวอย่าง เด็กทีป่ ระสบอบุ ัติเหตุขาหัก กจ็ ะร้สู ึกกลัวและอาจแสดงออกด้วยอาการ ฝนั รา้ ยและความต้องการท่จี ะไดร้ บั ความปกป้องค้มุ ครองและการใหก้ ําลงั ใจ มาสโลว์ (Maslow) กลา่ วเพิ่มเตมิ ว่า พอ่ แมท่ ่ีเล้ียงดลู กู อย่างไม่ กวดขนั และตามใจมากจนเกินไป จะไม่ทาํ ใหเ้ ดก็ เกิดความรสู้ กึ ว่า ไดร้ ับความพงึ พอใจจากความต้องการ ความปลอดภัย การใหน้ อนหรอื ให้กนิ ไมเ่ ปน็ เวลาไม่เพียง แต่ทาํ ให้เดก็ สับสนเทา่ นนั้ แตย่ ังทําใหเ้ ด็ก รูส้ ึกไมม่ ั่นคงในสิ่งแวดลอ้ มรอบๆ ตวั เขา สมั พนั ธภาพของพอ่ แม่ท่ไี ม่ดตี อ่ กนั เชน่ ทะเลาะกันทาํ รา้ ย ร่างกายซ่งึ กันและกนั พ่อแมแ่ ยกกันอยู่ หย่า ตายจากไป สภาพการณเ์ หล่าน้ี จะมีอิทธิพลต่อความร้ทู ่ดี ี

122 ของเด็ก ทาํ ให้เด็กรู้ว่า ส่ิงแวดล้อมต่างๆ ไม่มั่นคง ไม่สามารถคาดการณ์ได้และนําไปสู่ความรู้สึกไม่ ปลอดภัยความต้องการความปลอดภัยจะยังมีอิทธิพลต่อบุคคล แม้ว่าจะผ่านพ้นวัยเด็กไปแล้ว แม้ ในบคุ คลทท่ี าํ งานในฐานะเปน็ ผคู้ ุ้มครอง เช่น ผูร้ กั ษาเงนิ นกั บัญชี หรอื ทาํ งานเกยี่ วกบั การประกนั ต่างๆ และผทู้ ที่ ําหน้าที่ใหก้ ารรักษาพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผูอ้ น่ื เชน่ แพทย์ พยาบาล แมก้ ระทง่ั คนชรา บุคคลทั้งหมดท่ีกล่าวมานี้จะใฝ่หาความปลอดภัยด้วยกันท้ังส้ิน ศาสนาและปรัชญาที่มนุษย์ ยดึ ถอื ทําให้เกิดความรูส้ ึกมัน่ คง เพราะทําใหบ้ คุ คลไดจ้ ดั ระบบของตัวเองใหม้ เี หตุผลและวิถีทางท่ที ําให้ บุคคลรูส้ กึ “ปลอดภยั ” ความต้องการความปลอดภยั ในเรอ่ื งอ่ืนๆ จะเกี่ยวข้องกับการเผชญิ กับสิ่งต่างๆ เหลา่ นี้ สงคราม อาชญากรรม น้าํ ทว่ ม แผน่ ดนิ ไหว การจลาจล ความสับสนไม่เป็นระเบียบของสังคม และเหตุการณอ์ ่นื ๆ ทีค่ ลา้ ยคลึงกับสภาพเหล่านี้ มาสโลว์ (Maslow) ได้ให้ความคิดต่อไปว่า อาการ โรคประสาทในผู้ใหญ่โดยเฉพาะโรคประสาทชนิดย้ําคิด-ยาํ้ ทํา (obsessive-compulsive neurotic) เป็นลักษณะเดน่ ชัดของการคน้ หาความรสู้ ึกปลอดภยั ผูป้ ว่ ยโรคประสาทจะแสดงพฤตกิ รรมวา่ เขากาํ ลงั ประสบเหตุการณ์ท่ีร้ายกาจและกาํ ลังมีอันตรายต่างๆ เขาจึงต้องการมีใครสักคนที่ปกป้องคุ้มครอง เขาและเปน็ บุคคลที่มคี วามเขม้ แข็งซึ่งเขาสามารถจะพ่งึ พาอาศัยได้ 3) ความตอ้ งการความรักและความเป็นเจา้ ของ (Belongingness and Love needs) ความต้องการความรกั และความเปน็ เจา้ ของเปน็ ความตอ้ งการข้นั ที่ 3 ความต้องการ นี้จะเกิดขนึ้ เมอ่ื ความตอ้ งการทางด้านรา่ งกายและความต้องการความปลอดภัยได้รับการตอบสนอง แล้ว บุคคลต้องการได้รับความรักและความเป็นเจ้าของโดยการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น ความสมั พนั ธภ์ ายในครอบครัวหรือกบั ผูอ้ ่นื สมาชิกภายในกลุ่มจะเปน็ เป้าหมายสาํ คญั สาํ หรับบุคคล กล่าวคือ บุคคลจะรู้สึกเจ็บปวดมาก เมื่อถูกทอดท้ิงไม่มีใครยอมรับหรือถูกตัดออกจากสังคม ไม่มี เพื่อน โดยเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือจํานวนเพ่ือนๆ ญาติพี่น้อง สามีหรือภรรยาหรือลูกๆ ได้ลดน้อยลงไป นักเรยี นที่เข้าโรงเรียนทีห่ า่ งไกลบ้านจะเกิดความต้องการเป็นเจา้ ของอย่างยงิ่ และจะแสวงหาอยา่ งมาก ทจ่ี ะไดร้ บั การยอมรบั จากกลมุ่ เพ่อื น (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Maslow_Theories.htm 8 มิถนุ ายน 2559) มาสโลว์ (Maslow) คดั คา้ นกล่มุ Freud ท่ีวา่ ความรกั เป็นผลมา จากทดเทิดสญั ชาตญาณทางเพศ (sublimation) ทฤษฎมี าสโลว์ (Maslow) ความรักไมใ่ ชส่ ญั ลกั ษณ์ ของเรอื่ งเพศ (sex) เขาอธิบายว่า ความรกั ทีแ่ ทจ้ รงิ จะเกีย่ วขอ้ งกบั ความร้สู ึกทีด่ ี ความสัมพนั ธข์ อง ความรักระหว่างคน 2 คน จะรวมถึงความรู้สึกนับถือซึ่งกันและกัน การยกย่องและความไว้วางใจ แก่กัน นอกจากน้ี มาสโลว์ (Maslow) ยังยํ้าว่า ความต้องการความรักของคน จะเป็นความรักท่ี เป็นไปในลกั ษณะทง้ั การรูจ้ กั ใหค้ วามรกั ตอ่ ผู้อนื่ และรจู้ ักทจ่ี ะรับความรกั จากผอู้ ื่น การไดร้ บั ความรกั และ ได้รับการยอมรับจากผู้อื่น เป็นสิ่งทที่ าํ ใหบ้ คุ คลเกดิ ความรู้สึกวา่ ตนเองมีคณุ ค่า บคุ คลที่ขาดความรกั ก็จะรู้สึกว่าชีวิตไร้ค่า มีความรู้สึกอ้างว้างและเคียดแค้น กล่าวโดยสรุป มาสโลว์ (Maslow) มี

123 ความเห็นว่า บุคคลต้องการความรักและความรู้สึกเป็นเจ้าของและการขาดส่ิงนี้ มักจะเป็นสาเหตุ ให้เกิดความข้องคับใจและทําให้เกิดปัญหาการปรับตัวไม่ได้ และความยินดีในพฤติกรรมหรือ ความเจ็บปว่ ยทางดา้ นจติ ใจในลักษณะต่างๆ คือ มบี ุคคลจาํ นวนมากท่ีมีความลําบากใจท่ีจะเปิดเผย ตัวเอง เมื่อมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดสนิทสนมกับเพศตรงข้าม เนื่องจากกลัวว่า จะถูกปฏิเสธ ความรู้สึกเช่นน้ี มาสโลว์ (Maslow) กล่าวว่า สืบเน่ืองมาจากประสบการณ์ในวัยเด็ก การไดร้ บั ความรกั หรอื การขาดความรักในวยั เดก็ ยอ่ มมผี ลกบั การเติบโตเปน็ ผใู้ หญ่ทมี่ ีวฒุ ภิ าวะและการมีทัศนคติ ในเรื่องของความรัก มาสโลว์ (Maslow) เปรียบเทยี บว่า ความต้องการความรัก กเ็ ป็นเชน่ เดยี วกับ รถยนตท์ ่ีสร้างขึน้ มาโดยตอ้ งการกา๊ ซ หรือนํ้ามัน (Maslow, 1970 p. 170) 4) ความต้องการไดร้ บั ความนบั ถือยกย่อง (Self-Esteem needs) เมอ่ื ความตอ้ งการได้รบั ความรกั และการให้ความรักแก่ผอู้ ืน่ เป็นไปอย่างมเี หตผุ ล และทําใหบ้ ุคคลเกดิ ความพึงพอใจแล้ว พลังผลักดันในข้ันที่ 3 ก็จะลดลง และมีความต้องการในขั้นต่อไป มาแทนท่ี กล่าวคือ มนุษย์ต้องการท่ีจะได้รับความนับถือยกย่องออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเป็น ความต้องการนบั ถอื ตนเอง (self-respect) ส่วนลักษณะท่ี 2 เป็นความตอ้ งการไดร้ ับการยกยอ่ งนับ ถอื จากผอู้ น่ื (esteem from others) (4.1) ความต้องการนับถือตนเอง (self-respect) คือ ความตอ้ งการมอี าํ นาจ มคี วามเชอ่ื มัน่ ในตนเอง มีความแข็งแรง มีความสามารถในตนเอง มีผลสัมฤทธิ์ ไม่ต้องพึง่ พาอาศัยผอู้ ื่นและมคี วามเปน็ อิสระ ทกุ คนต้องการทีจ่ ะรู้สกึ วา่ เขามคี ุณค่าและมคี วามสามารถที่ จะประสบความสาํ เร็จในงานภาระกิจตา่ งๆ และมีชีวิตท่ีเด่นดัง (4.2) ความต้องการไดร้ ับการยกย่องนับถอื จากผ้อู น่ื (esteem from others) คือ ความต้องการมีเกยี รตยิ ศ การไดร้ บั ยกย่อง ได้รับการยอมรับ ได้รับความสนใจ มี สถานภาพ มชี ื่อเสียงเปน็ ท่กี ลา่ วขานและเป็นที่ชนื่ ชมยนิ ดี มคี วามต้องการที่จะได้รับความยกย่อง ชมเชยในสิง่ ที่เขากระทํา ซ่ึงทาํ ให้รสู้ ึกวา่ ตนเองมีคุณคา่ ว่า ความสามารถของเขาไดร้ ับการยอมรบั จาก ผู้อน่ื จากความต้องการท้ัง 2 ข้อข้างต้น จะเห็นได้ว่าเน้น ถึงความสําคัญของประสบการณ์ส่วนตัวและคุณค่าของมนุษย์ เชื่อว่า มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ ตรงท่ีมีความสามารถในการพฒั นาตนเอง ศักดิศ์ รขี องความเปน็ มนษุ ย์นั้น คือการมอี สิ ระในการเลือก กระทํา มคี วามเช่อื ม่ันในการตัดสินใจ ใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ สามารถพัฒนาตนเองใหไ้ ดต้ ามศักยภาพ ทม่ี ีอยู่ ได้รบั การยกยอ่ งชมเชยจากผอู้ ่ืน สงิ่ เหล่านเี้ ปน็ ผลใหบ้ ุคคลมีความรสู้ ึกมคี ณุ ค่าในตนเอง และ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ ธรรมชาติของลําดับขั้นในเรื่องความต้องการด้านแรงจูงใจตามทัศนะของ มาสโลว์ (Maslow) ในเรอื่ งอน่ื ๆท่ีเกดิ ขนึ้ ภายในจิต นน่ั คอื บคุ คลจะแสวงหาความตอ้ งการไดร้ ับ การยกย่อง กเ็ มือ่ ภายหลงั จากความตอ้ งการความรกั และความเป็นเจ้าของไดร้ บั การตอบสนอง ความพงึ

124 พอใจของเขาแล้ว และมาสโลว์ (Maslow) กล่าวว่า เป็นส่ิงท่ีเป็นไปได้ที่บุคคลจะย้อนกลับจาก ระดับขั้นความต้องการในข้ันท่ี 4 กลับไปสรู่ ะดับข้ันท่ี 3 อกี ถา้ ความตอ้ งการระดบั ขัน้ ที่ 3 ซึง่ บุคคล ได้รับไว้แล้วน้ันถูกกระทบกระเทือนหรือสูญสลายไปทันทีทันใด ดังตัวอย่างท่ี มาสโลว์ (Maslow) นาํ มาอ้างคือ หญิงสาวคนหน่ึงซ่ึงเธอคิดว่า การตอบสนองความต้องการความรักของเธอได้ดําเนิน ไปด้วยดี แล้วเธอจึงทุ่มเทและเอาใจใส่ในธุรกิจของเธอและได้ประสบความสาํ เร็จ เป็นนักธรุ กิจท่ีมี ช่ือเสียงและอยา่ งไมค่ าดฝันสามีได้เลกิ ลาจากเธอไป ในเหตุการณ์เช่นนี้ปรากฏวา่ เธอวางมอื จากธุรกิจ ต่างๆ ในการทีจ่ ะส่งเสรมิ ใหเ้ ธอไดร้ บั ความยกย่องนบั ถือ และหันมาใช้ความพยายามทจี่ ะเรียกรอ้ งสามี ใหก้ ลับคนื มา ซ่ึงการกระทําเช่นน้ีของเธอ เป็นตัวอย่างของความต้องการความรัก ซึ่งครั้งหน่ึงเธอ ไดร้ ับแล้ว และถ้าเธอไดร้ บั ความพึงพอในความรกั โดยสามหี วนกลับคืนมา เธอกจ็ ะกลับไปเกี่ยวข้องใน โลกธุรกิจอีกคร้ังหนึ่ง ความพึงพอใจของความต้องการได้รับการยกย่อง เป็นความรู้สึกและ ทัศนคติของความเช่ือม่ันในตนเอง ความรู้สึกวา่ ตนเองมีคณุ คา่ การมพี ละกําลัง การมีความสามารถ และความรู้สกึ ว่ามชี ีวิตอยู่อย่างมีประโยชน์ และเป็นบคุ คลท่มี ีความจําเป็นตอ่ โลก ในทางตรงกันข้าม การขาดความรู้สึกต่างๆ ดังกล่าวนี้ ย่อมนําไปสู่ความรู้สึกและทัศนคติของปมด้อยและความรู้สึก ไม่พอเพียง เกิดความรสู้ กึ อ่อนแอและชว่ ยเหลอื ตนเองไมไ่ ด้ สงิ่ ตา่ งๆเหล่าน้ี เป็นการรับรตู้ นเองในทาง นิเสธ (negative) ซ่งึ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความรสู้ ึกขลาดกลัวและรู้สกึ วา่ ตนเองไม่มีประโยชนแ์ ละสน้ิ หวงั ใน สิ่งตา่ งๆทม่ี ีเกีย่ วขอ้ งกบั ความตอ้ งการของชีวติ และประเมินตนเองตาํ่ กว่าชวี ติ ความเป็นอยกู่ บั การได้รบั การยกยอ่ งและยอมรับนบั ถอื จากผอู้ ืน่ อย่างจริงใจมากกว่าการมีชื่อเสียง จากสถานภาพหรือการได้รับ การประจบประแจง การได้รับความนับถือยกย่องเป็นผลมาจากความเพียรพยายามของบุคคลและ ความต้องการน้ีอาจเกิดอันตรายขึ้นได้ ถ้าบุคคลน้ันต้องการคาํ ชมเชยจากผู้อ่ืนมากกว่าการยอมรับ ความจรงิ และเป็นท่ียอมรบั กนั วา่ การไดร้ บั ยอมรบั ยกยอ่ งมพี ้ืนฐานจากการกระทาํ ของบคุ คลมากกวา่ การควบคมุ จากภายนอก 5) ความตอ้ งการทจ่ี ะเขา้ ใจตนเองอย่างแท้จริง (Self-Actualization needs) ถึงลําดับขั้นสุดท้าย ถ้าความต้องการลําดับขั้นก่อนๆ ได้ทําให้เกิด ความพึงพอใจอย่างมีประสิทธิภาพ ความต้องการเข้าใจตนเองอย่างแท้จริงก็จะเกิดขึ้น มาสโลว์ (Maslow) อธิบายความต้องการเข้าใจตนองอย่างแท้จริง ว่า เป็นความปรารถนาในทุกส่ิงทุกอย่าง ซง่ึ บุคคลสามารถจะไดร้ บั อยา่ งเหมาะสมบคุ คลท่ปี ระสบผลสําเร็จในขั้นสงู สุดน้ี จะใช้พลงั อยา่ งเต็มที่ ในสง่ิ ที่ท้าทาย ความสามารถและศกั ยภาพของเขาและมีความปรารถนาทจี่ ะปรบั ปรุงตนเอง พลังแรงขบั ของเขาจะกระทาํ พฤติกรรมตรงกับความสามารถของตน กล่าวโดยสรุป การเข้าใจตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ เป็นความต้องการอย่างหนึ่งของบุคคลท่ีจะบรรลุถึงจุดสูงสุดของศักยภาพ เช่น “นักดนตรีก็ต้องใช้ ความสามารถทางดา้ นดนตรี ศลิ ปินกจ็ ะตอ้ งวาดรปู กวีจะตอ้ งเขียนโคลงกลอน ถา้ บคุ คลเหลา่ นี้ได้ บรรลถุ ึงเปา้ หมายทต่ี นตัง้ ไว้กเ็ ช่อื ไดว้ ่าเขาเหลา่ น้นั เป็นคนท่ีรู้จักตนเองอย่างแท้จริง”

125 ความตอ้ งการท่จี ะเขา้ ใจตนเองอยา่ งแท้จริงจะดาํ เนินไปอย่างง่าย หรอื เปน็ ไปโดยอัตโนมัติ โดยความเป็นจรงิ แลว้ มาสโลว์ (Maslow) เชื่อว่า คนเรามกั จะกลวั ตัวเอง ใน สงิ่ เหล่านี้ “ด้านท่ดี ที ่ีสุดของเรา ความสามารถพเิ ศษของเรา สง่ิ ที่ดงี ามทสี่ ดุ ของเรา พลังความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์” ความต้องการเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง มิได้มีแต่เฉพาะในศิลปินเท่าน้ัน คน ท่ัวๆ ไป เชน่ นกั กฬี า นกั เรยี น หรอื แมแ้ ตก่ รรมกร ก็สามารถจะมี ความเขา้ ใจตนเอง อยา่ งแทจ้ ริงได้ ถ้าทกุ คนสามารถทาํ ในสิ่งทตี่ นตอ้ งการให้ดีทส่ี ดุ รูปแบบเฉพาะของการเขา้ ใจตนเองอย่างแท้จริง จะมี ความแตกต่างอย่างกว้างขวางจากคนหน่ึงไปสู่อีกคนหนึ่ง กล่าวได้ว่า คือระดับความต้องการที่ แสดงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลอยา่ งยิ่งใหญท่ ีส่ ุด (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Maslow_Theories.htm 8 มถิ นุ ายน 2559) มาสโลว์ (Maslow) ได้ยกตวั อยา่ งของความต้องการเขา้ ใจตนเอง อย่างแท้จริง ในกรณีของนักศกึ ษาช่ือ มารค์ (Mark) ซึง่ เขาไดศ้ กึ ษาวิชาบคุ ลิกภาพเป็นระยะเวลา ยาวนานเพอื่ เตรยี มตวั เปน็ นักจิตวิทยาคลีนิค นกั ทฤษฎคี นอื่นๆ อาจจะอธบิ ายวา่ ทาํ ไมเขาจึงเลอื ก อาชพี นี้ ตวั อย่าง เช่น ฟรอยด์ (Freud) อาจกล่าววา่ เปน็ ความสัมพนั ธ์อย่างลึกซึ้งกับส่ิงท่ีเขาเก็บกด ความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องเพศไว้ต้ังแต่วัยเด็ก ขณะที่แอดเลอร์ (Adler) ให้ความเห็นว่า เป็น ความพยายามเพ่ือชดเชย ความรสู้ กึ ดอ้ ยบางอยา่ ง ในวยั เด็ก Skinner อาจมองวา่ เป็นผลจากการถกู วางเงอื่ นไขของชวี ิตในอดีต ขณะท่ีแบนดรู า (Bandura) สัมพนั ธ์เร่อื งนีก้ ับตัวแปรตา่ งๆ ทางการเรยี นรู้ ทางสงั คม และเคลลี่ (Kelly) อาจพจิ ารณาวา่ มาร์ค (Mark) กาํ ลงั จะพุ่งตรงไป เพอื่ ที่จะเปน็ บุคคลท่ี เขาต้องการจะเป็นตัวอยา่ งทแี่ สดงถึงการมงุ่ ตรงไปสเู่ ปา้ ประสงค์ในอาชพี โดยความตอ้ งการทจ่ี ะเข้าใจ ตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ และถ้าจะพิจารณากรณีของมารค์ (Mark) ให้ลกึ ซง่ึ ยิ่งข้ึน ถ้ามาร์ค (Mark) ได้ผา่ น การเรียนวิชาจิตวิทยา จนครบหลักสูตรและได้เขียนวิทยานิพนธร์ ะดับปรญิ ญาเอก และในที่สุดก็ได้รบั ปริญญาเอกทางจติ วิทยาคลีนิค สงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งในการวิเคราะห์ มารค์ (Mark) ต่อไปก็คือ เมอ่ื เขาสําเรจ็ การศกึ ษา ดังกล่าวแลว้ ถา้ มีบคุ คลหน่งึ ได้เสนองานให้เขาในตําแหน่งตาํ รวจสืบสวน ซ่ึงงานในหน้าท่ีน้ี จะได้รับค่าตอบแทนอย่างสงู และไดร้ ับผลประโยชน์พเิ ศษหลายๆ อยา่ งตลอดจนรับประกนั การว่าจา้ ง และความม่นั คงสาํ หรบั ชวี ิต เม่ือประสบเหตุการณ์เช่นน้ี มารค์ (Mark) จะทําอย่างไร ถ้าคําตอบของ เขาคอื “ตกลง” เขาก็จะย้อนกลบั มาสคู่ วามต้องการระดับท่ี 2 คอื ความต้องการความปลอดภัย สําหรบั การวเิ คราะหค์ วามเขา้ ใจตนเองอย่างแท้จริง มาสโลว์ (Maslow) กล่าววา่ “อะไรท่ีมนษุ ย์ สามารถจะเปน็ ไดเ้ ขาจะตอ้ งเปน็ ในสิง่ นนั้ ” เร่อื งของมาร์ค (Mark) เป็นตวั อย่างง่ายๆ วา่ ถ้าเขาตกลง เปน็ ตํารวจสบื สวน เขากจ็ ะไมม่ โี อกาสทจี่ ะเข้าใจตนเองอยา่ งแทจ้ ริง ทําไมทุกๆ คน จึงไม่สมั ฤทธผิ ลใน การเข้าใจตนเองอย่างแท้จรงิ (Why Can't All People Achieve Self-Actualization) ตามความคิด ของ มาสโลว์ (Maslow) สว่ นมากมนุษย์แมจ้ ะไมใ่ ชท่ งั้ หมดที่ต้องการแสวงหา เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ ภายในตน จากงานวิจัยของเขาทําให้ มาสโลว์ (Maslow) สรปุ ว่า การรถู้ งึ ศักยภาพของตนนัน้ มาจาก

126 พลงั ตามธรรมชาติและจากความจําเปน็ บังคับ ส่วนบุคคลทีม่ ีพรสวรรคม์ จี ํานวนน้อยมากเพยี ง 1% ของประชากรทม่ี าสโลว์ (Maslow) ประมาณ มาสโลว์ (Maslow) เชือ่ ว่า การนําศักยภาพของตน ออกมาใชเ้ ปน็ ส่งิ ท่ียากมาก บุคคลมกั ไมร่ ู้วา่ ตนเองมคี วามสามารถและไมท่ ราบวา่ ศักยภาพนัน้ จะ ได้รับการส่งเสรมิ ได้อยา่ งไร มนุษย์ส่วนใหญย่ ังคงไม่ม่นั ใจในตวั เองหรอื ไม่มนั่ ใจในความสามารถของตน จึงทาํ ให้หมดโอกาสเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง และยังมีสิ่งแวดล้อมทางสังคมท่ีมาบดบังพัฒนาการ ทางดา้ นความต้องการของบุคคลดงั น้ี อิทธพิ ลของวัฒนธรรม ตวั อยา่ งหนึง่ ท่แี สดงใหเ้ ห็นวา่ อิทธิพลของ สังคมมีต่อการเข้าใจตนเอง คือ แบบพิมพ์ของวัฒนธรรม (cultural stereotype) ซึ่งกําหนดว่า ลกั ษณะเช่นไรทแี่ สดงความเป็นชาย (masculine) และลักษณะใดทีไ่ มใ่ ช่ความเปน็ ชาย เชน่ จดั พฤติกรรม ต่างๆ เหล่าน้ี ความเห็นอกเหน็ ใจผอู้ ่นื ความเมตตากรณุ า ความสุภาพและความอ่อนโยน ส่ิงเหลา่ นี้ วัฒนธรรมมีแนวโน้มท่ีจะพิจารณาว่า “ไม่ใช่ลักษณะของความเป็นชาย” (unmasculine) หรือ ความเช่อื ถือของวัฒนธรรมด้านอนื่ ๆ ซง่ึ เปน็ ความเชื่อทไ่ี มม่ ีคุณคา่ เชน่ ยดึ ถือวา่ บทบาทของผู้หญงิ ขึ้นอยู่กับจิตวิทยาพัฒนาการของผู้หญิง เป็นต้น การพิจารณาจากเกณฑ์ต่างๆ ดังกล่าวน้ี เป็นเพียง การเขา้ ใจ “สภาพการณท์ ด่ี ี”มากกว่าเปน็ เกณฑ์ของการเขา้ ใจตนเองอย่างแทจ้ รงิ ประการสดุ ทา้ ย มาสโลว์ (Maslow) ได้สรุปวา่ การไม่เข้าใจตนเอง อย่างแทจ้ ริงเกิดจากความพยายามท่ีไม่ถูกต้องของการแสวงหาความม่ันคงปลอดภยั เชน่ การทีบ่ คุ คล สร้างความรสู้ ึกใหผ้ ูอ้ ่นื เกิดความพึงพอใจตนโดยพยายามหลีกเลยี่ งหรอื ขจัดข้อผิดพลาดต่างๆของตน บคุ คลเชน่ น้ีจงึ มแี นวโนม้ ที่จะพิทักษ์ ความม่ันคงปลอดภยั ของตน โดยแสดงพฤตกิ รรมในอดีตท่ีเคย ประสบผลสาํ เร็จ แสวงหาความอบอนุ่ และสร้างมนษุ ยสมั พันธก์ บั ผอู้ ื่น ซ่งึ ลกั ษณะเช่นนยี้ ่อมขดั ขวาง วิถีทางที่จะเข้าใจตนเองอยา่ งแท้จรงิ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Maslow_Theories.htm 8 มถิ นุ ายน 2559) 9.6 พัฒนาการการเห็นคุณคา่ ในตนเอง พฒั นาการการเห็นคณุ ค่าในตนเอง ออกเป็น 4 วัย (สุธนี ลกิ ขะไชย,2555) ดังนี้ 9.6.1 วัยทารก ในวยั น้ี การเห็นคณุ ค่าในตนเองเกิดจากความรสู้ กึ ดีๆ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ระหว่างแมก่ ับเดก็ เม่อื แมก่ อดเด็กอยา่ งอบอ่นุ ภาพแห่งตนทีเ่ กดิ ข้ึนก็จะเช่อื มโยงกบั ความรู้สกึ อบอุน่ ปลอดภัย และรู้สึกทะนุถนอม 9.6.2 วัยเด็กเลก็ เดก็ ตอ้ งการใหพ้ ่อย้ิมและโอบกอดเขา ซึง่ เปน็ การกระทําท่ี แสดงว่าเขา มีคณุ คา่ เม่อื เด็กเตบิ โตข้ึนและเรยี นรูม้ ากข้นึ เขากพ็ ยายามทาํ ในส่งิ ทพี่ อ่ แมย่ อมรับ เดก็ จะเรียนรูจ้ ากพ่อแมว่ ่าอะไรดี อะไรเลว อะไรถกู และอะไรผดิ แลว้ นํามาเช่อื มโยงกบั ภาพที่เขามอง ตัวเอง เม่ือผู้ใหญบ่ อกว่าสิ่งท่เี ขาทํานัน้ ดี เดก็ กจ็ ะรู้สกึ ว่าตนเป็นคนดี

127 9.6.3 วัยเรียน เม่ือถึงวัยที่เด็กเข้าโรงเรียน ภาพแห่งตนมักจะเกิดขึ้นชัดเจน เด็กจะมีทัศนคติท่ีชัดเจนเก่ียวกับตนเองและสิ่งรอบตัว เด็กส่วนใหญ่เข้าวัยเรียนด้วยความรู้สึกที่ ดีอย่างไร เด็กจาํ นวนมากสูญเสียความรูส้ กึ ดๆี ทเี่ คยมแี ละใชช้ ีวติ ในวยั เรียนด้วยความยากลาํ บาก ทงั้ นี้ เพราะประสบการณ์จากครูและเพื่อนได้ปรับเปลี่ยนภาพแห่งตนไปเสีย งานที่สาํ คัญในวัยเรียน คือ การสร้างภาพแห่งตนให้มน่ั คง เด็กที่ภาพแห่งตนดีจะเป็นคนท่ีมีชีวิตชีวากระฉับกระเฉง กระตือรือร้น ขยนั อยากเรียนรสู้ ่ิงใหมๆ่ การท่พี ฤติกรรมดังกลา่ วจะทําใหเ้ ขาไดย้ ้อนกลับเชิงบวก ซึ่งจะทาํ ใหภ้ าพ แห่งตนม่ันคงยิ่งข้ึน เนื่องจากเด็กใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในโรงเรียน โรงเรียนจึงเป็นปัจจัยสาํ คัญยิ่งใน การสรา้ งการเห็นคณุ ค่าในตนเองในวัยนี้ 9.6.4 วัยรนุ่ เปน็ วยั ทกี่ าํ ลังสรา้ งเอกลกั ษณ์แห่งตน เด็กกําลังค้นหาวา่ ตัวเองเปน็ ใครและมุ่งไปในทศิ ทางไหน เด็กจะตง้ั คาํ ถามกบั ตนเองวา่ ฉนั ควรจะเปน็ อยา่ งไร และฉนั ควรทาํ อะไร ในเด็กทมี่ กี ารเหน็ คณุ คา่ ในตนเองสูงจะใชค้ าํ ตอบเชิงบวกกบั ตนเอง แต่หากการเห็นคณุ คา่ ในตนเองต่ํา เดก็ จะมีคําตอบในเชิงลบกับตนเอง ความคิดดงั กล่าว ทําใหเ้ ดก็ เกดิ ปัญหาได้ เช่น การเรยี นตก ถูกไล่ ออกจากโรงเรียน มพี ฤติกรรมเกเร ใชย้ าเสพติด ชอบไปเทย่ี ว สถานเริงรมย์ หรือมัว่ สุม เป็นต้น วยั รุน่ ต้องการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยเขาจะเรยี นรเู้ ก่ียวกับตนเองจากสิง่ ทเ่ี พ่ือนๆคิดเกยี่ วกับตัวเขา เดก็ จะ เริ่มพัฒนาทางสติปัญญา ทักษะทางสังคมและความมั่นใจในตนเองให้สูงข้ึน ถ้าส่ิงเหล่าน้ีได้รับ การเสริมแรงจากกลุ่มเพ่ือนท่ีเขารักและนิยมชมชอบ เด็กก็จะมีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงข้ึน อยา่ งไรกต็ าม เดก็ ในกลมุ่ อนั ธพาล อาจพบวา่ ย่งิ ถ้าเขาแสดงพฤตกิ รรมแข็งกรา้ วเพียงใด กลมุ่ ก็จะให้ ความสําคัญกบั เขามากข้ึน ก็แสดงวา่ ภาพเกี่ยวกบั ตนเองของเดก็ จะได้รับการสนบั สนนุ จากกล่มุ เพื่อน ทําใหเ้ ดก็ เกดิ ความรู้สึกเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง ถึงแม้วา่ จะเปน็ พฤติกรรมท่ีไมเ่ หมาะสมก็ตาม เหน็ คณุ ค่า ในตนเองนน้ั พัฒนามาจากการอบรมเลย้ี งดูของบดิ ามารดาและสภาพแวดลอ้ มต่างๆ การได้รับความรัก ความไว้วางใจจากบิดามารดา สมาชกิ ในครอบครวั ต่อมาเปน็ กลุ่มเพ่อื นทั้งทีบ่ า้ น ทโี่ รงเรียนและครู จะชว่ ยสรา้ งเสรมิ ความรสู้ ึกทมี่ ่ันคงตอ่ การรกั ตนเอง มอี ตั โนทศั นท์ ด่ี เี กีย่ วกับตนเองและมคี วามคาดหวัง ให้ผู้อ่ืนรักตน ต่อมาเด็กก็จะมีการขยายความรัก ความเอาใจใส่ที่บิดามารดามีต่อตน ขยายไปสู่ บคุ คลในครอบครัวและขยายกวา้ งออกไปยังกล่มุ เพ่ือนและบคุ คลตา่ งๆในสงั คม สรปุ ไดว้ า่ พฒั นาการของการเหน็ คณุ ค่าในตนเอง คอื พฒั นาการของการเห็น คุณค่าในตนเองเร่ิมตั้งแต่วัยทารกและพัฒนาตามลําดับขึ้นตามวัย จนถึงวัยรุ่นที่มีการเปลี่ยนแปลง และอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อเป็นวัยท่ีได้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงทางสังคม ฉะนั้นวัยรุ่น ต้องการเหน็ คุณคา่ ในตนเองมากจนกระทง่ั วัยกลางคนจึงจะมีความคงที่และเสอ่ื มถอยลง (สุธนี ลิกขะไชย,2555)

128 ภาพที่ 43 แสดงภาพลักษณะของบคุ คลทเ่ี ห็นคณุ คา่ ในตนเอง (ท่มี า https://www.google.co.th/search 8 มิถุนายน 2559) 9.7 ลักษณะของบคุ คลท่เี ห็นคุณคา่ ในตนเอง แบรนเดน (Branden) (วฒั นา มคั คสมนั . 2539: 17;อา้ งอิงจาก Branden, 1985: 8-10) บุคคลทเ่ี หน็ คณุ ค่าในตนเอง (self-esteem) ประกอบด้วย (สธุ นี ลกิ ขะไชย,2555) 9.7.1 เช่ือมั่นในความสามารถของตนเอง 9.7.2 เช่อื วา่ ตนเองฉลาด มีความสามารถ มคี ุณค่าและมปี ระสทิ ธภิ าพ 9.7.3 มพี ลงั ความสามารถทจ่ี ะชว่ ยเหลอื ตนเอง 9.7.4 มีความมานะพยายามท่จี ะชนะอุปสรรคและเผชญิ กบั ปญั หายุ่งยาก ซับซ้อน 9.7.5 กระตือรือรน้ เพือ่ ให้งานไปถงึ จดุ หมายทีต่ อ้ งการ 9.7.6 ยอมรับความเป็นจรงิ สามารถพดู ถึงความสาํ เรจ็ ความล้มเหลว หรือ ขอ้ บกพรอ่ งต่างๆของตนอยา่ งตรงไปตรงมา และซ่ือสตั ย์ 9.7.7 รบั ฟงั คําวพิ ากษ์วิจารณ์เกี่ยวกบั ตนเอง 9.7.8 กลา้ แสดงทศั นคติอย่างเปดิ เผย 9.7.9 อยากรูอ้ ยากเหน็ สง่ิ ใหมๆ่ อยเู่ สมอ 9.8 ลกั ษณะของบคุ คลท่ีเห็นคุณคา่ ในตนเองสูง 9.8.1 ลินเดน็ ฟลิ ด์ (Lindenfield) (ประภากร โกมลมศิ ร.์ 2541 : 32-33; อา้ งอิงจาก Lindenfield, 1995;4-5) ลักษณะของคนท่ีมคี ณุ คา่ ในตนเองสูง ไดก้ ล่าวถึงดงั น้ี (สุธนี ลิกขะไชย,2555)

129 9.8.1.1 สงบและรสู้ กึ ผอ่ นคลาย (Calm and Relaxed) สามารถ ควบคุมตนเองได้ แม้เผชิญอยู่กับความยุ่งยากและความท้าทายท่ีหวาดกลัวอยู่ก็ตาม มักไม่ค่อยมี ความเครียดปรากฏอย่บู นใบหน้า แม้วา่ ผา่ นการไดร้ บั ความกดดันสูงก็ตามจะสามารถคนื สคู่ วามสงบ ได้อยา่ งรวดเร็ว 9.8.1.2 ดูแลตนเองอย่างดี (Well-Nurtured) มีความเป็นอยู่ที่ดีใน เรื่องการดูแลตนเองและการออกกําลังกาย การไม่ทําลายตัวเองด้วยการละเลยสุขนิสัยท่ีดีใน การรบั ประทานอาหาร การนอนหลับ การดม่ื รวมท้งั การแตง่ กายตนเองเป็นพิเศษ เมอื่ เจ็บปว่ ยหรือ ตนอยูภ่ ายใต้ความกดดัน 9.8.1.3 มีพลงั และจุดหมาย (Energetic and Purposeful) มีชวี ติ ชวี า ท้ังร่างกายและจติ ใจในการเปล่ียนแปลง 9.8.1.4 เปิดเผยและแสดงความรู้สึก (Open and Expressive) สามารถส่อื สารกนั ไดอ้ ย่างตรงไปตรงมา ทงั้ ภาษาพูดและภาษาทา่ ทาง ซึง่ บง่ ชดั ถึงความรสู้ ึกทเ่ี กดิ ข้นึ ในขณะนั้นไดก้ นั ทันที และสามารถควบคุมหรอื หยุดความรู้สกึ ทเี่ กิดขึ้นได้เมอ่ื ต้องการ 9.8.1.5 คิดในทางทด่ี ีและมองโลกในทางทดี่ ี (Positive and Optimistic) มกั ไมค่ ่อยมคี วามวิตกกังวลและความหวาดกลวั เมอื่ พบความผดิ พลาด ขณะท่กี าํ ลงั เรยี นรปู้ ระสบการณ์ที่ ไมค่ ่อยคุน้ เคย กส็ ังเกตกระบวนการน้ันอย่างเปิดเผยและรู้สกึ ปลอดภยั เม่ือปลดปลอ่ ยความตงึ เครยี ด แล้วก็จะกลับมาแก้ปญั หาใหม่ และมองเหน็ โอกาสในการแก้ปัญหาและพฒั นาส่งิ ที่เขาสนใจ 9.8.1.6 มีความมั่นคงในตนเอง (Self-Reliant) สามารถท่ีจะกระทํา สิง่ ต่างๆ ได้อย่างอสิ ระและเป็นตวั ของตัวเอง พึ่งพาตนเองโดยไมจ่ ําเปน็ ต้องมีผู้อนื่ คอ่ ยช้ีแนะ 9.8.1.7 มคี วามสามรถในการเข้าสังคมและรวมมือกับผ้อู น่ื ได้ (Sociable and Co-operative) สามารถเปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของกล่มุ และสามารถประนีประนอม เพือ่ ความเข้าใจอันดีและความสัมพนั ธ์ทด่ี ตี ่อกนั บคุ คลเหล่าน้ีสามารถชื่นชมความสําเรจ็ ของผูอ้ น่ื ได้ อีกทั้ง ยงั สนบั สนนุ ให้กาํ ลังใจในการพฒั นาตนเองของบุคคลอน่ื อีกดว้ ย แม้จะก้าวไปสผู่ นู้ ําก็สามารถแบ่งปัน พลงั อาํ นาจได้อย่างเหมาะสม 9.8.1.8 มีพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม (Appropriately Assertive) สามารถยนื กรานความต้องการและสทิ ธขิ องตนได้ 9.8.1.9 มกี ารพัฒนาตนเอง (Self Developing) แมบ้ คุ คลเหลา่ น้ีจะมี การเห็นคณุ ค่าในตนเองสงู แลว้ ก็ยงั ตรวจสอบตนเองอยูเ่ สมอ มคี วามสขุ กับการไดร้ บั รู้ขอ้ บกพรอ่ งและ ความผิดพลาดของตนเอง อนั จะสามารถพฒั นาพฤติกรรมไปในทางทด่ี ี 9.8.2 http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm ไดก้ ล่าวถงึ ลกั ษณะของคนที่มี คณุ คา่ ในตนเองสงู ดงั นี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ นุ ายน 2559)

130 บคุ คลทม่ี ี self-esteem สูง หมายถึง บคุ คลที่มคี วามรับผิดชอบต่อ การกระทําของตัวเอง มคี วามซอ่ื สตั ย์ มคี วามภมู ิใจในผลสําเร็จของงาน บคุ คลซ่ึงมคี วามคดิ รเิ ร่ิม และ มีความมุ่งมั่นทจ่ี ะแกป้ ัญหาและรบั ผดิ ชอบปญั หาทีจ่ ะเกดิ ตามมา เปน็ คนทีค่ นอ่นื รกั และรกั คนอนื่ เปน็ บุคคลทสี่ ามารถควบคมุ ตัวเองเพอ่ื ให้บรรลุเปา้ หมายของงาน โดยสรปุ แลว้ คนทมี่ ี self-esteem สูง จะ หมายถึง คนทมี่ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มคี วามรบั ผิดชอบสูงและซ่อื สตั ย์ คนท่ีมี self-esteem จะตอ้ งมี ความสมดุลของความตอ้ งการผลสาํ เร็จหรืออาํ นาจ และความรจู้ ักคุณค่า ความมีเกยี รติ และความซอื่ สตั ย์ ซง่ึ อาจจะหมายถึง จติ ใต้สํานึกและพฤตกิ รรม จติ ใต้สาํ นกึ ของคนทมี่ ี self-esteem จะต้องรู้จักบาป บญุ คณุ โทษ รสู้ ง่ิ ใดดี ส่ิงใดไม่ดี ความซือ่ สตั ย์ ความมีเกยี รติ สว่ นพฤติกรรมของ self-esteem มี ความสามารถทจี่ ะคิดแกป้ ญั หา เชือ่ มน่ั ในความคดิ และความสามารถของตวั เอง สามารถเลอื กวธิ ีการ ตดั สนิ ใจท่ถี กู ตอ้ ง หากสูญเสยี ความสมดลุ กจ็ ะทําใหเ้ กิดปญั หา เช่น หากจติ ใต้สํานึกไม่แขง็ แรง หรอื สมบรู ณพ์ อก็จะทําใหค้ นเกดิ พฤตกิ รรมเชือ่ มั่นตวั เองมากเกนิ ไป หย่งิ ยโส ดถู ูกคนอน่ื หากแต่มแี ต่จิตใต้ สาํ นึกที่ดี แต่ไมม่ ีความมงุ่ มน่ั ทีจ่ ะประสบผลสาํ เร็จชวี ิต กอ็ าจจะไมถ่ ึงเป้าหมาย ดงั นั้น บคุ คลท่ชี อบพดู ถงึ แต่ตวั เอง อวดดี ดูถกู คนอื่น คนพาล ชอบเอาเปรียบคนอื่น คนทีก่ ลา่ วโทษคนอน่ื ไม่ถือวา่ มี self- esteem ตรงกันข้ามกับคนท่ีมี self-esteem ตํ่าหรือพฤตกิ รรมปอ้ งกัน (defensive) คนกลุ่มนม้ี ักจะ ตอ้ งการพสิ จู น์ตวั เอง หรือวิจารณ์คนอื่น ใชค้ นอ่ืน เพื่อผลประโยชนข์ องตวั เอง บางคนอาจจะหย่งิ หรอื ดถู กู ผูอ้ ่นื มักจะไมม่ ีความมนั่ ใจในตัวเอง ไมม่ นั่ ใจวา่ ตัวเอง จะมคี ุณค่าหรอื ความสามารถหรอื การยอมรบั ทําให้คนกลุ่มนี้ ไม่กล้าที่จะทาํ อะไร เน่ืองจากกลัว ความล้มเหลว คนกลุ่มน้ีมักจะวิจารณ์คนอื่น มากกว่าทีจ่ ะกระทําดว้ ยตัวเอง และยังพบอีกว่า คนกลมุ่ นีม้ กั จะชอบความรุนแรง ตดิ สรุ า ยาเสพตดิ มีเพศสมั พนั ธ์กอ่ นวัย เป็นตน้ Self-esteem ประกอบด้วย ความตระหนักถึงคุณค่าตนเอง (Self-respect) และความเชอ่ื ม่นั ในความสามารถตนเอง (Self-efficacy) จนกลายเป็นภาพแหง่ ตน (Self-image) (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มิถุนายน 2559) ความตระหนกั ถึงคณุ คา่ ตนเอง ความเช่ือม่นั ในความสามารถตนเอง (Self-respect) (Self-efficacy) ความเชือ่ ว่า ตนเองมีคณุ ค่า มีความหมาย ความเชอ่ื วา่ ตนเองสามารถ คดิ เข้าใจ เรียนรู้ มีศกั ดศิ์ รีเท่าเทยี มผอู้ ่ืน มีสทิ ธิ มโี อกาสท่ีจะ ตัดสนิ ใจในการแกป้ ญั หา การเผชญิ หนา้ กบั สําเรจ็ ไดร้ บั สง่ิ ทม่ี ุ่งหวงั มีสุขได้ เชน่ เดยี วกบั ความทา้ ทาย หรืออุปสรรคต่างๆ ในชีวติ ได้ ผอู้ ืน่ ชีวติ มคี า่ สมควรไดร้ ับการดูแลปกป้อง ไว้วางใจตนเอง วา่ มีความสามารถ มพี ลัง ให้ดี การไดร้ ับการยอมรับจากคนอนื่ มีประสิทธิภาพ และพึง่ พาตนเองได้

131 ความตระหนกั ถึงคณุ คา่ ตนเอง ความเชอ่ื ม่ันในความสามารถตนเอง (Self-respect) (Self-efficacy) ภาพแหง่ ตน (Self-image) ภาพท่เี รามองตนเอง (Self-image) ภาพแรก ในอดุ มคติ ท่ีฝนั อยากจะเปน็ ภาพสอง เปน็ ภาพแหง่ ความจรงิ ความแตกต่างระหวา่ งความฝันกับความจรงิ ใกล้เคียง ขา้ เกง่ นับถือตวั เองสูง (Gap) แตกตา่ ง ข้าแย่ ภาคภูมใิ จตา่ํ ไร้ค่า นับถอื ตนเองตํ่า เรามองตนเองเปน็ ใครอย่างไร และคดิ หรือ เช่อื หรอื มที ศั นคติเกี่ยวกับตนเองอยา่ งไร เราก็ ทําเป็นประจําบอ่ ยๆ จนเราเป็นภาพอยา่ งนั้น ภาพของเราเป็นอย่างไร ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ท่แี สดงออกมา จุดแขง็ จดุ อ่อน(S&W) ความเปน็ ไปไดแ้ ละขอ้ จาํ กดั (O&T) ของตนเอง ภาพบวก หรือภาพลบ กับตนเอง การสรา้ งภาพแห่งตน ปฏิกิริยาทีผ่ ู้อื่นมีตอ่ เรา แล้วเรากส็ ร้างภาพ ถูกชมวา่ ดีอยู่เรื่อยๆ --> ภาพแหง่ ตน ดี นา่ รกั ตนเองขึน้ มา ฉลาด ภาพของเราเป็นอย่างไร ถูกด่าบ่อยๆ-->ภาพแหง่ ตน ไมด่ ี ไมน่ ่ารัก โง่ ไม่ หากดี ...ภมู ใิ จ เชอื่ ถอื ตนเอง เข้าท่า หากไมด่ ี ...ดตู นเองไร้ค่า ภาพจะถูกสะสมทุกๆวัน--> สะสมขอ้ มูลตนเอง และโลกรอบตวั ลงในดวงจิตของตนเอง--> กลายเป็นทัศนคตแิ ละความเชอ่ื ตนเอง--> ตารางที่ 5 แสดงความตระหนกั ถงึ คุณค่าตนเองและความเช่ือม่นั ในความสามารถตนเอง (ทมี่ า http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ ุนายน 2559) 9.9 การสร้างความมนั่ ใจในตวั เอง ความเชื่อมั่นตนเองและรูค้ ุณคา่ ตัวเอง เป็นสว่ นสําคญั ในการดําเนินชวี ิต ลาํ พัง ความคิดอยา่ งเดียวไมส่ ามารถสร้างความมัน่ ใจในตัวเองได้ ความมนั่ ใจจะเร่ิมสร้างต้งั แต่เด็กจนกระท่งั

132 เราตาย ความมนั่ ใจจะกระทบตอ่ การตัดสินใจ ดังน้นั ทกุ คนความสร้างความม่นั ใจใหก้ ับตัวเองอยา่ ง สมํา่ เสมอ ตวั อย่างของความม่นั ใจ เช่น หากคนจะเปลีย่ นอาชพี เขาจะตอ้ งมน่ั ใจในตัวเองหรือมคี นอื่น เห็นถึงความสามารถของเขาท่ีจะทาํ ให้ให้สาํ เร็จ เม่ือมีความผิดหวังหรือความเครียดความม่ันใจหรือ เช่ือมั่นในตัวเองจะช่วยให้แก้ไขสถานการณ์ให้ผ่านไปด้วยดี ครอบครัวซึ่งมีความม่ันใจหรือเชื่อม่ันใน ตัวเองสงู ความมนั่ ใจของลกู กจ็ ะสงู การพัฒนาความมนั่ ใจของเดก็ จะเกดิ ขน้ึ ได้เมอ่ื เดก็ ได้เล่นกบั เพ่อื น ผ้ทู ี่มคี วามมั่นใจสูงมกั จะไม่ทาํ ร้ายตัวเอง ไมด่ ืม่ สรุ าหรือตดิ ยาเสพติด เด็กหญิงวัยรุ่นท่ีมคี วามมนั่ ใจสูง มกั จะไม่ประพฤตผิ ิดประเพณี ความมน่ั ใจเปน็ ลักษณะของแต่ละคน ไมส่ ามารถทจี่ ะใหก้ ันได้แต่สามารถ ฝกึ ฝนได้ ในสงั คมปจั จุบนั มกี ารเปลยี่ นแปลงเร็ว ความไม่แนน่ อนทางเศรษฐกิจ คนท่ีมคี วามมนั่ ใจและ มีความสามารถในการตัดสินใจ ความคิดริเริ่มใหม่ๆ การปฏิบัติงานเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการสอ่ื สารกับผู้อ่นื เพอ่ื ให้เขา้ ใจเหมอื นกัน คนเชน่ นีจ้ ึง จะอยรู่ อดในสงั คม (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มิถุนายน 2559) เหตุปจั จยั Self-Esteem สงู Self-Esteem ตํา่ ปจั จัยภายใน หน้าตาดี พ้นื ฐานอารมณ์ พกิ าร เจบ็ ป่วยบ่อย หนักแนน่ ประสบการณ์ล้มเหลวบอ่ ย ปัจจยั ภายนอก ครูชม เพอื่ นเลน่ ด้วย นายชอบ ความสมั พนั ธ์ เป็นส่วนหน่งึ เขา้ รว่ ม กลุ่ม ครูดา่ แมด่ ่า เพื่อนไม่คบ ยอมรบั ครอบครวั กลมเกลยี ว ประสบการณส์ ําเรจ็ เพื่อนไมย่ อมให้เข้ากลมุ่ เข้ากบั ทาํ งานสําเรจ็ >ผ้อู นื่ เหน็ คุณคา่ พน่ี อ้ งไมไ่ ด้ พ่อแมข่ ัดแยง้ >รู้สกึ ตนเองมคี ่า >สร้างคุณค่า แมข่ ีบ้ ่น และความหวัง >พยายามมาก ขึ้น ล้มเหลว >ปฏิกริ ยิ าเชงิ ลบจาก ผู้อื่น >ร้สู กึ ไรค้ ่า >ขาดแรงจงู ใจ และไมอ่ ยากพยายาม ตารางที่ 6 แสดงการสรา้ งความมั่นใจในตวั เอง (ทีม่ า http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มิถนุ ายน 2559)

133 ภาพท่ี 44 แสดงภาพการเสริมสรา้ งการเหน็ คุณค่าในตนเอง (ท่ีมา https://www.google.co.th/search 8 มถิ นุ ายน 2559) 9.10 การเสริมสรา้ งการเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง การเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเอง (self-esteem) เพื่อที่จะเป็นคนท่ีมี ประสิทธภิ าพสูง มดี ังตอ่ ไปนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm8 มถิ นุ ายน 2559) 9.10.1 หาเวลาสักหน่ึงช่ัวโมงในตอนเช้าเพื่อพัฒนาตัวเอง เป็นการนั่งสมาธิ หรือการพจิ ารณาตัวเอง หรืออ่านหนังสอื ท่ีสร้างความเชือ่ มน่ั หรือฟังเทปคาํ สอนต่างๆ การเร่มิ ต้นท่ดี จี ะ ทาํ ใหเ้ กดิ ความมน่ั ในและประสบผลสาํ เร็จ 9.10.2 มองปญั หาและมองโลกในแง่ดี เลกิ บน่ ส่ิงทไี่ มด่ เี กยี่ วกับตัวเอง ลองหา กระดาษสักแผน่ จดความคิดทดี่ ๆี เกยี่ วกบั ตวั เองไว้ดา้ นหน่ึง อีกด้านหนึง่ จดสิง่ ทไี่ มด่ แี ลว้ มาวเิ คราะห์ วา่ มีส่งิ ไมด่ หี รือสิง่ ทีด่ ีมากว่ากนั หานามบตั รจดสง่ิ ที่ดีหรอื คําขวัญทดี่ ีไวก้ ระตุน้ เตอื นตวั เองอย่ตู ลอดเวลา 9.10.3 ทําการบา้ นให้ปราศจากความว่นุ วาย ฟังเพลง อา่ นหนังสอื หรือคยุ กบั เพือ่ นทสี่ นิท 9.10.4 หาวันละ 10 นาทีเพอ่ื พิจารณาจดุ ยืนของตวั เอง สิ่งที่สําคัญของชวี ติ คอื อะไร เราบรรลหุ รือยัง เราเดนิ ผิดแนวทางหรือไม่ 9.10.5 คบกับคนท่ีมองโลกในแง่ดีหรือคนท่ีมี self-esteem เพราะเพ่ือนจะ กระตุ้นให้เรามคี วามม่นั ใจและความมุง่ มัน่ เพม่ิ ขนึ้ ตรงกนั ขา้ มหากคบคนทม่ี องโลกในแงร่ ้ายจะทําให้ เรามองโลกในแงร่ ้าย ความมนั่ ใจกจ็ ะสญู เสยี ไปดว้ ย ดงั น้ันเลกิ คบกับคนที่มองโลกแงร่ า้ ย

134 9.10.5 ให้เลิกเปรียบเทียบตัวเองกับผู้อ่ืน เพราะเราต้องยอมรับว่า คนเรา ไม่สมบูรณ์ 100% ทุกคนหากเราเปรยี บเทียบกบั คนอื่นจะทําใหเ้ กดิ ปญั หาทไ่ี มส่ ามารถแก้ไขได้อย่าง มากมาย 9.10.7 ให้หาคนท่ีจะเปน็ ต้นแบบเพอ่ื เป็นแนวทางการดําเนนิ ชวี ิต 9.10.8 ต้ังเปา้ หมายทเี่ ปน็ ไปได้และมงุ่ สูค่ วามสําเรจ็ นั้น 9.10.9 หาผ้ทู คี่ อยช่วยเหลือดา้ นทกั ษะและทศั นคตใิ นการดํารงชวี ติ หรือการงาน 9.10.10 หากมคี นชมหรอื กล่าวโทษให้กล่าวคาํ ว่าขอบคุณ 9.10.11 อย่าดถู ูกตัวเองหรืออย่ามองวา่ ตวั เองไม่มคี วามสามารถ หากเราคอย ตอกย้ําถึงจุดด้อยของเรา เราจะไม่มีทางประสบผลสําเรจ็ 9.10.12 ให้เพ่มิ ทกั ษะหรือคณุ ภาพชีวิตจากการทาํ งาน การอ่านหนังสอื หรือจากส่อื อ่ืนๆ 9.10.13 ให้จดส่ิงทด่ี เี กย่ี วกบั ตัวคณุ เชน่ ความซอ่ื สัตย์ ความคิดรเิ ร่มิ ความมงุ่ มัน่ ความเอือ้ อาธร เป็นต้น ให้อ่านสง่ิ เหลา่ นบี้ ่อยๆ 9.10.14 จดผลงานท่คี ุณชนื่ ชมหรือประสบผลสาํ เรจ็ สกั 10 อย่าง เชน่ การศกึ ษา ผลการศกึ ษา การได้รบั รางวลั การชว่ ยเหลือผ้อู ่นื 9.10.15 จดคําขวัญไวใ้ นทเี่ ห็นชัดและนํามาท่องเมอ่ื มโี อกาส เช่น ผมยอมรบั ความสามารถตัวเอง ผมเป็นคนลขิ ิตชะตาชีวิตของผมเอง หนภู ูมิใจและเช่ือม่ันในตัวเอง

135 9.11 ผลลัพธข์ องกระบวนการเรยี นรู้จากการเตบิ โตมากับคําตา่ งๆ ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ นุ ายน 2559) กระบวนการเรียนรู้ ผลลพั ธ์นี้ เขาจะเปน็ คนที.่ .. จากการเติบโตมากับ คําตําหนิ สงสัยตนเอง ความเฉยเมย รสู้ ึกไร้ค่า ความอบั อาย รู้สกึ ผิด ความกลัว วิตกกงั วล กาํ ลังใจ มคี วามเชื่อมนั่ คาํ ยกยอ่ งชมเชย เห็นคุณค่าของตนเอง การยอมรับนับถือ ยอมรบั นับถือตนเอง ความรกั รกั ตนเองและผู้อื่น ความม่ันคงปลอดภัย รสู้ ึกว่าโลกนเ้ี ป็นทน่ี ่าอยู่ ความสงบ มีสนั ตสิ ขุ ในจติ ใจ ตารางท่ี 7 แสดงผลลพั ธข์ องกระบวนการเรยี นรู้จากการเตบิ โตมากบั คาํ ต่างๆ (ทมี่ า http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มิถนุ ายน 2559) 9.12 วถิ ีชวี ติ กับการเปรียบเทยี บการเห็นคณุ ค่าในตนเอง ดงั ตารางต่อไปนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ ุนายน 2559) วถิ ีชวี ติ Self-Esteem สงู Self-Esteem ตาํ่ การมองตน น่ารัก ภูมิใจ เปิดเผย กล้าหาญ ไมน่ า่ รัก ไมม่ คี นรักเลย ซอื่ สัตย์ ตนไรค้ ณุ ค่า ไม่ภาคภูมใิ จ อารมณ์ หนักแน่น มัน่ คง อ่อนโยน หงดุ หงิด ขี้โกรธ รุนแรง สงสยั การเคารพสิทธขิ องตนเอง รับฟงั ใจกว้าง คําชม ใหเ้ กียรติ ปกปอ้ งสทิ ธิ ทาํ รา้ ยคนอนื่ ยอมใหค้ นอื่น เอาเปรยี บ ไมก่ ล้าตดั สินใจ

136 วิถีชีวิต Self-Esteem สูง Self-Esteem ตํา่ การปรบั ตวั ปรับตวั เร็ว ไมเ่ ครยี ด กังวล ปรบั ตวั ยาก ความสมั พันธ์กับผู้อ่ืน มองปัญหาเป็นสงิ่ ทา้ ทาย การเรียนรแู้ ย่ ความกลวั ถูกปฏิเสธ ยอมรบั ยุตธิ รรม ใจกว้าง อ้อมค้อม กงั วล ขี้อจิ ฉา ใจแคบ รว่ มมอื จรงิ ใจ ซ่อื สัตย์ บุคคลกิ ภายนอก ไมก่ ลัวถกู ปฏเิ สธ กลัวถูกปฏิเสธ ด้นิ รน อวดร่ํา อวดรวย หาความรกั แบบ วงจรทไี่ มส่ ้ินสดุ สขุ มัน่ คง มีพลัง หน้าผ่อน แปลกๆ คลาย แจม่ ใส มชี วี ิตชวี า เครยี ด กงั วล เศรา้ สรอ้ ย หลัง ปญั หาสุขภาพจิต สง่างาม ไหลต่ ั้ง เสยี งหนกั แนน่ งมุ้ ไหล่หอ่ คอตก เสยี งเบาและ ชดั ถอ้ ยชัดคํา ไมช่ ดั เจน หงุดหงดิ วิตก คิดและทาํ สงิ่ ดีๆ อยา่ งตอ่ เนื่อง วิธคี ิด พฤตกิ รรม ทาํ สง่ิ ไร้คณุ ค่า มคี วามสุข สุขภาพจิตดี ทาํ ตนเองให้ตกต่าํ อยา่ งตอ่ เน่ือง มกี ําลังใจ มน่ั ใจ ภาคภมู ิใจ เช่นการยอมให้เอาเปรยี บ พึงพอใจตนเอง พอใจในงาน เศรา้ ใจ ท้อแท้ ส้นิ หวัง หมดกาํ ลังใจ ป่นั ป่วนทาง อารมณ์ สุขภาพจิตเส่อื ม มองตนเองไร้ความสามารถ ทาํ ร้ายผู้อื่น มกั ฆา่ ตวั ตาย ตารางที่ 8 แสดงวิถีชีวติ กบั การเปรียบเทยี บการเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง (ที่มา http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ ุนายน 2559)

137 9.13 การเห็นคุณคา่ ในตนเองกบั พฤติกรรมความสาํ เร็จ ดังตารางต่อไปนี้ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ ุนายน 2559) พฤตกิ รรมความสาํ เรจ็ Self-Esteem สูง Self-Esteem ตาํ่ แรงจงู ใจและ ความกระตือรอื รน้ กระตือรือรน้ ตอ้ นรับความ หลีกเลีย่ ง ไมม่ น่ั ใจ อยจู่ าํ เจ ความอยากเรียนรู้ ทา้ ทาย แสวงโอกาส ใช้โอกาส ไม่กลา้ เปล่ียนแปลง ไม่กลา้ กา้ ว ความพยายาม ความกล้าหาญ มแี รงจูงใจ มพี ลัง มเี ปา้ หมาย ไปข้างหน้า ไม่รจู้ ะเรียนไปทาํ ไม ความคาดหวงั ในตนเอง ขาดความรับผดิ ชอบ เฉอื่ ยชา ลม้ แลว้ ลกุ ไดเ้ รว็ ขออยูไ่ ปวนั ๆ ความอดทน อยากเรียนรสู้ ิง่ ใหมๆ่ ใจกวา้ ง ไมอ่ ยากเรียนรู้ รบั ฟงั รูส้ กึ ดที ไี่ ดเ้ รยี นรู้ พยายามสูง เช่อื วา่ ตนเองทาํ ได้ แล้วแตเ่ หตุการณจ์ ะพาไป ดถู กู ตนเอง ไมเ่ ชอ่ื ตวั เองว่าจะทําได้ กล้า ไม่กลัวความลม้ เหลว ขีก้ ลัว หลีกเลยี่ งส่งิ แปลกใหม่ ยืนยนั ความคดิ ตนเอง แม้ว่าจะ กลวั ส่ิงที่ไมร่ ู้จกั ไม่กล้าคดิ แตกต่างจากคนอนื่ ใชศ้ ักยภาพ แตกต่างไปจากคนอนื่ ตนเองเต็มท่ี ประสบ ปราศจากความคิดสร้างสรรค์ ความสําเร็จไดง้ ่าย คิดเชงิ บวกคาดวา่ ประสบ ไม่คาดหวงั เฉ่ือยชา ลม้ เหลว ความสาํ เรจ็ สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ บางคนคาดหวังเกินตวั จน มแี รงผลักดัน มคี วามสขุ เป็นไปไม่ได้ บางทกี ต็ ํ่าเกินไป กระตอื รอื รน้ เส่ียงตอ่ ความล้มเหลว ปรบั ตวั ไดเ้ ร็ว มพี ลังท่ีจะชนะ ล้มเหลวนิดเดยี วก็ล้มเหลวไปทัง้ ความยากลาํ บากได้ ลม้ แล้วลกุ ชวี ิต ซึมเศร้า พลาดวชิ าเดียว ก็ ได้เร็ว พงั ไปทกุ วิชา อดทนสูง พยายามทํางานให้ ลม้ เลกิ ง่าย ยอมแพ้งา่ ย โอกาส สําเรจ็ ไมว่ า่ จะยากแคไ่ หน สําเรจ็ น้อย ตารางที่ 9 แสดงการเหน็ คณุ ค่าในตนเองกบั พฤติกรรมความสําเรจ็ (ที่มา http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ ุนายน 2559)

138 9.14 การเห็นคณุ ค่าในตนเองกบั ผ้อู ื่น การเห็นคุณคา่ ในตนเองกับผู้อน่ื มีดงั ต่อไปน้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Self.htm 8 มถิ ุนายน 2559) 9.14.1 แสดงความยอมรบั นับถอื ตอ่ เขา 9.14.2 ปฏบิ ัติตอ่ เขาดว้ ยเหตุผล เสมอตน้ เสมอปลาย ไม่ใชข่ ึน้ ๆลงๆ 9.14.3 สรา้ งกฎระเบียบทีม่ ีเหตผุ ลนา่ นับถอื และชดั เจน 9.14.4 คาดหวังต่อเขาตามทีค่ วามเหมาะสม ไมม่ ากไปหรอื น้อยไป 9.14.5 ไม่ทําใหเ้ ขาได้อบั อาย หรอื ไปดหู มนิ่ ดูแคลนเขา 9.14.6 ไม่ใช้อาํ นาจเข้าควบคุมอย่างไรเ้ หตุผล หรอื มีเหตุผลแบบข้างๆ คๆู 9.14.7 เชือ่ มน่ั ในความดีของเขาในด้านศกั ยภาพและความสามารถที่เขามี 9.14.8 จงใหค้ วามรักเขาอย่างไม่มเี ง่อื นไข วา่ ต้องทําอย่างน้ันจึงจะรัก 9.14.9 เขาตอ้ งไมถ่ กู ลงโทษ ในสิง่ ท่ีเราเคยบอกวา่ เป็นสงิ่ ดี 9.14.10 สอนเขาอย่างไร กจ็ ะทําตามท่เี คยสอน 9.14.11 ให้รางวัลเขาเมอื่ เขาทาํ ความดี 9.14.12 รับฟังเขาด้วยความตง้ั ใจ โดยไม่โตเ้ ถยี ง ไมต่ าํ หนิ และการรบั ฟงั ก็ ไม่ใช่วา่ เป็นการยอมรับทเี่ ขาทาํ 9.14.13 ยอมรบั ความรู้สกึ ของเขา ไม่ว่าจะเป็นอารมณบ์ วกหรอื ลบ 9.14.14 กระตุน้ ใหเ้ ขาคดิ และตัดสนิ ใจเอง ไม่พยายามควบคมุ เขาใหค้ ดิ หรอื รู้สึกตามท่ีเราต้องการ 9.14.15 มองเขาเป็นคน ไม่ใชว่ ัตถุชิน้ หนงึ่ ท่ไี ร้ความหมาย 9.14.16 นับถอื ความเป็นส่วนตัวของเขา 9.14.17 สอนใหเ้ ขามคี วามพงึ พอใจในตนเอง ยอมรบั รูปร่างหนา้ ตาตนเอง 9.14.18 ทําใหเ้ ขารสู้ ึกว่าเราพอใจเขา ไมใ่ ชเ่ สยี ใจทมี่ เี ขา 9.14.19 ฝกึ ใหเ้ ขาคน้ หามองส่งิ ดๆี ของเขา แทนทม่ี วั แตค่ น้ หาจดุ ดอ้ ยของ ตนเอง 9.14.20 บอกให้เขาทราบว่า ชวี ติ ของเขาอยู่เพ่ือตวั เขา ไมใ่ ช่อยเู่ พอื่ ทาํ ตาม ความคาดหวงั ของคนอนื่ 9.14.21 เม่ือเขาทําผิดพลาดบกพรอ่ ง อย่าไปโจมตีเขา หาวิธีการสอนใหเ้ ขา แกป้ ญั หา และเรยี นรู้จากขอ้ ผดิ พลาด 9.14.22 หาจงั หวะให้คําชม แต่ตอ้ งไม่ฟมุ่ เฟอื ย

139 9.14.23 เวลาตาํ หนิ ตอ้ งไม่ตําหนเิ ขา แต่จงตาํ หนิเฉพาะพฤติกรรมหรอื สง่ิ ทท่ี ํา ทไ่ี มด่ ี 9.14.24 ใจกวา้ ง ยอมรับความคิดเห็นของคนอ่ืน 9.14.25 มคี วามยุติธรรม มใี จกรุณา 9.14.26 เคารพตนเอง และรักษาสิทธิของตนเอง 9.14.27 ไม่ใชแ้ ต่อาํ นาจรา่ํ ไป ใชป้ ระชาธปิ ไตยบ้าง 9.14.28 มองคนอ่ืนในแงด่ ี 9.14.29 พยายามทาํ ใหล้ ูกนอ้ งไว้วางใจ 9.14.30 สร้างแรงจงู ใจ มากว่าใช้อํานาจบังคบั 9.14.31 พูดให้กาํ ลงั ใจแทนทจ่ี ะตําหนิ 9.14.32 ใหล้ กู น้องมสี ่วนรว่ มในการออกความคดิ เหน็ และการตดั สนิ ใจ 9.14.33 สร้างทศั นคตวิ ่า เราทําได้ จากการเหน็ คุณค่าในตวั เอง สามารถคน้ พบและประเมนิ ตนเองได้ เมือ่ ประเมนิ ตนเอง ไดส้ ามารถพัฒนาตนเองได้ เพ่ือนําไปใชใ้ นชวี ิตประจําวันและอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมีความสุข มี รายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ การพฒั นาตน เปน็ ศึกษาพฤติกรรมมนษุ ยท์ ่ีอาศัยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรช์ ่วยใน การรวบรวมข้อมูล จัดให้เป็นระบบระเบยี บและสามารถตรวจสอบไดอ้ ยา่ งมเี หตุมผี ล เพ่อื ทีจ่ ะอยใู่ น สงั คมได้อย่างมีความสขุ จงึ ขอกล่าว ความหมายของการพฒั นาตน มีดงั ต่อไปน้ี ภาพที่ 45 แสดงภาพการพฒั นาตน (https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559)

140 10. การพัฒนาตน การท่คี นเราจะมกี ารพัฒนาตน โดยเฉพาะในยคุ ปัจจบุ นั ทค่ี วามกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี ทางอินเทอร์เน็ต ทาํ ให้โลกไร้พรมแดนและสังคมรอบตัวของเรามีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว คนเราจะคงรักษาการพัฒนาตนและรับมือกับการเปล่ียนแปลงต่างๆ ได้มากน้อยต่างกันขึ้นอยู่กับ การรู้จักตนมากน้อยเพียงใด กล่าวคือ คนท่ีรู้จักตนได้ดีจะมีการขัดเกลาตนด้วยประสบการณ์ชีวิต และการพัฒนาตนด้านต่างๆ จนระบุได้ว่า ตนคือใคร และก้าวผ่านไปสู่ตัวตนท่ีเขาต้องการภายใต้ ศกั ยภาพทมี่ อี ยู่ หรอื มีการพฒั นาตนทด่ี ีน่นั เอง ในการพัฒนาตนของบคุ คลจาํ เป็นอย่างยงิ่ ที่จะต้องรจู้ ัก ความหมายของคําวา่ การพัฒนาตน ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ ุนายน 2559) 10.1 ความหมายของการพฒั นาตน การพัฒนาตน (Self development) มีความหมายใกล้เคียงกับคําว่า “การปรับปรุงตน” (Self improvenement) “การบริหารตน” (Self management) หรือ “การปรับตน” (Self modification) หลานคร้ังคําเหล่านั้ได้ใช้ในความหมายเดียวกัน สําหรับ ความหมายของการพฒั นาตน มดี งั น้ี (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ ุนายน 2559) นักจิตวิทยากลุ่มมนุษยนิยม กล่าวถึง การพัฒนาตน ว่า เป็นการพัฒนา ศักยภาพของบุคคลไปสู่ทิศทางที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล ด้วยการตระหนักใน ตนเอง และพัฒนาตนไปสู่การรู้จักตนเอง การตระหนักในคุณค่าและศักยภาพท่ีแท้จริงของตนเอง และการใช้ชีวิตได้อย่างเต็มศักยภาพที่ตนเองมีอยู่ ตัวอย่างเช่น คาร์ล รันซัม โรเจอร์ กล่าวว่า บุคคล แต่ละคนเกิดมาพร้อมกับธรรมชาติด้านบวก คุณความดี การมีความสามารถ และการมีแรงจูงใจ ภายในทจ่ี ะพฒั นาตนเองไปขา้ งหน้า สู่การเปน็ ผูท้ ี่ทําสงิ่ ตา่ งๆ ได้เต็มศกั ยภาพดว้ ยตนเอง คาร์ล จุง (Carl Jung) ได้เสนอแนวทางการพัฒนาตน หรือพัฒนาแก่นแท้ โดย ใช้คําว่า “ความเป็นปัจเจกบุคคล” (Individuation) หมายถึง กระบวนการของการพัฒนาส่วนบุคคล โดยมีการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจของบุคคล ภายในจิตใต้สํานึกส่วนตัวเปลี่ยนให้เป็นความตระหนักรู้ การพัฒนาแก่นแท้น้ีมีผลต่อการรักษาด้านภายในจิตใจและด้านกายภาพของบุคคลแบบองค์รวม นอกจากการสัมฤทธิผลในสว่ นของสุขภาวะทางกายภาพและสุขภาวะทางจิตแล้ว บุคคลท่ีสามารถเข้า สกู่ ารพฒั นาแก่นแท้แห่งตนได้นนั้ คอื ผูท้ มี่ คี วามกลมกลืน มีความรับผิดชอบ รวมไปถึงการมีอิสรภาพ และความยุติธรรม เขา้ ใจในการทาํ งานของมนุษย์ ธรรมชาติ และจักรวาล มาสโลว์ (Maslow, 1987) กล่าวว่า การพัฒนาตน หมายถึง การรู้จักตนเอง อย่างถ่องแท้และการใช้ความสามารถของตนเองอย่างมีประสิทิภาพ มีความสุข คนท่ีมีการพัฒนาตน นั้นจะมีจิตใจที่สมบูรณ์ มีจิตใจที่เปิดกว้างต่อประสบการณ์ใหม่ๆ มีทัศนะที่สร้างสรรค์ มีการรับรู้ท่ี

141 แท้จริงในศักยภาพของตนบางอย่างเต็มที่ มีความใกล้ชิดต่อชีวิตท่ีเป็นจริงตามธรรมชาติ และมี ความเปน็ มนุษย์อย่างสมบรู ณ์ ดังน้ันจึงสรุปได้ว่า การพัฒนาตน หมายถึง การรู้จักและตระหนักรู้ในศักยภาพ ของตนเองอย่างถ่องแท้ การมีแรงจูงใจด้านบวกในการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลและใช้ความสามารถ ของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพพร้อมทั้งมีอิสระในการตัดสินใจเลือก มีการปรับตัวและมี การเปล่ียนแปลงตัวเองให้เหมาะสมตามสถานการณ์เพื่อสนองความต้องการและเป้าหมายของตนเอง เช่น สามารถดาํ เนินกจิ กรรม แสดงพฤติกรรม เพื่อสนองความต้องการ แรงจูงใจ หรือเป้าหมายที่ตั้งไว้ หรือใช้ความสามารถของตนอย่างมีประสิทธิภาพตามศักยภาพของตนเอง และมีการดําเนินชีวิตอย่าง เปน็ สขุ 10.2 แนวคิดพื้นฐานในการพฒั นาตน บคุ คลท่จี ะพฒั นาตนเองได้ จะตอ้ งเป็นผูม้ ุ่งม่ันท่ีจะเปลย่ี นแปลงหรอื ปรับปรงุ ตัวเอง โดยมีความเชื่อหรือแนวคิดพ้ืนฐานในการพัฒนาตนท่ีถูกต้อง ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมให้ การพฒั นาตนเองประสบความสาํ เร็จ แนวคดิ ทส่ี ําคัญมดี งั น้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Self_Development.htm 8 มถิ ุนายน 2559) 10.2.1 มนุษย์ทกุ คนมศี กั ยภาพที่มคี ณุ ค่าอยูใ่ นตวั เอง ทําให้สามารถฝกึ หดั และ พฒั นาตนไดใ้ นเกือบทุกเรื่อง 10.2.2 ไม่มีบคุ คลใดทมี่ ีความสมบรู ณพ์ ร้อมทกุ ดา้ น จนไมจ่ าํ เปน็ ตอ้ งพัฒนาใน เรื่องใดๆ 10.2.3 ถงึ แม้บคุ คลจะเป็นผทู้ ร่ี ู้จกั ตนเองไดด้ ที ส่ี ดุ แต่ก็ไม่สามารถปรับเปล่ียน ตนเองได้ในบางเรือ่ ง ยังต้องอาศัยความชว่ ยเหลอื จากผู้อ่ืนในการพัฒนาตน การควบคมุ ความคิด ความร้สู ึก และการกระทําของตนเอง มคี วามสําคญั เท่ากบั การควบคุมสง่ิ แวดล้อมภายนอก 10.2.4 อุปสรรคสาํ คญั ของการปรบั ปรุงและพฒั นาตนเอง คอื การท่บี ุคคลมี ความคดิ ติดยึด ไมย่ อมปรบั เปลีย่ นวิธคี ดิ และการกระทํา จงึ ไม่ยอมสร้างนสิ ัยใหมห่ รือฝกึ ทักษะใหมๆ่ ท่ี จําเปน็ ต่อตนเอง 10.2.5 การปรบั ปรงุ และพฒั นาตนเองสามารถดําเนินการไดท้ กุ เวลาและอย่าง ตอ่ เนอื่ ง เมือ่ พบปัญหาหรอื ขอ้ บกพรอ่ งเกยี่ วกับตนเอง 10.3 ความสําคญั ของการพฒั นาตน บคุ คลลว้ นตอ้ งการเป็นมนษุ ย์ท่สี มบรู ณ์ หรอื อย่างนอ้ ยก็ต้องการมีชีวติ ที่เป็นสขุ ในสังคม ประสบความสาํ เรจ็ ตามเป้าหมายและความต้องการของตนเอง พฒั นาตนเองได้ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดขนึ้ ในสังคมโลก การพัฒนาตนจงึ มีความสาํ คัญดังนี้

142 (http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Self_Development.htm 8 มถิ ุนายน 2559) 10.3.1 ความสาํ คัญต่อตนเอง จําแนกไดด้ งั น้ี 10.3.1.1 เปน็ การเตรียมตนใหพ้ รอ้ มในดา้ นต่างๆ เพือ่ รบั กบั สถานการณ์ ทง้ั หลายไดด้ ว้ ยความรู้สึกท่ีดตี อ่ ตนเอง 10.3.1.2 เปน็ การปรบั ปรงุ ส่งิ ที่บกพรอ่ ง และพัฒนาพฤติกรรมให้ เหมาะสม ขจัดคุณลักษณะทไ่ี มต่ ้องการออกจากตวั เอง และเสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะทสี่ งั คมต้องการ 10.3.1.3. เปน็ การวางแนวทางให้ตนเองสามารถพัฒนาไปสูเ่ ป้าหมายใน ชีวิตไดอ้ ย่างมั่นใจ 10.3.1.4. สง่ เสริมความร้สู กึ ในคุณคา่ แห่งตนใหส้ ูงข้นึ มีความเขา้ ใจ ตนเอง สามารถทาํ หน้าที่ตามบทบาทของตนได้เตม็ ศกั ยภาพ 10.3.2 ความสําคญั ต่อบคุ คลอืน่ เน่ืองจากบุคคลย่อมตอ้ งเก่ียวข้องสมั พนั ธก์ ัน การพัฒนาในบคุ คลหน่งึ ยอ่ มส่งผลตอ่ บุคคลอื่นด้วย การปรบั ปรุงและพฒั นาตนเองจงึ เป็นการเตรียม ตนใหเ้ ป็นส่ิงแวดล้อมทด่ี ขี องผอู้ นื่ ท้งั บุคคลในครอบครัวและเพอื่ นในทที่ าํ งาน สามารถเปน็ ตัวอย่างหรอื เป็นท่ีอ้างองิ ใหเ้ กดิ การพฒั นาในคนอื่นๆ ต่อไป เป็นประโยชน์รว่ มกนั ทัง้ ชวี ิตสว่ นตัวและการทํางานและ การอยู่รว่ มกนั อย่างเป็นสุขในชมุ ชนทจี่ ะส่งผลใหช้ มุ ชน มคี วามเขม้ แข็งและพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง 10.3.3 ความสําคัญต่อสังคมโดยรวม ภาระกิจที่แต่ละหน่วยงานในสังคม ต้องรับผิดชอบ ล้วนต้องอาศัยทรัพยากรบุคคลเป็นผู้ปฏิบัติงาน การที่ผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนได้ พัฒนาและปรบั ปรุงตนเองใหท้ ันตอ่ พัฒนาการของรปู แบบการทาํ งานหรอื เทคโนโลยี การพัฒนาเทคนคิ วิธีหรือวธิ คี ดิ และทกั ษะใหมๆ่ ท่ีจําเป็นตอ่ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทาํ งานและคณุ ภาพของผลผลิต ทาํ ให้หน่วยงานนั้นสามารถแข่งขันในเชิงคุณภาพและประสิทธิภาพกับสังคมอ่ืนได้สูงขึ้น ส่งผลให้เกิด ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมไดญ้ 10.4 แนวคิดจติ วิทยาเก่ยี วกับการพฒั นาตน 10.4.1 แนวคดิ จติ วิทยาเกยี่ วกบั การพัฒนาตนของมาสโลว์ มาสโลว์ (Maslow) เชื่อว่า ทุกคนล้วนมีความมุ่งหมายในชีวิต เพื่อ ตอบสนองความต้องการระดบั สงู สุด คือ การเป็นผทู้ ม่ี กี ารพัฒนาอย่างเตม็ ศกั ยภาพ มาสโลว์ (Maslow) เรียกว่า การรู้จักตนเองอย่างถ่องแท้ หรือการบรรลุภาวะสัจจการแห่งตน (Self-Actualization) การพัฒนาตนเป็นผู้ท่ีรู้จักตนเองอย่างถ่องแท้ เกิดจากการท่ีคนเรารับรู้ความต้องการของตนเอง รวมท้ังตอบสนองความต้องการต่างๆของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถพัฒนาเอกลักษณ์ ของตนผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมท่ีดีกับบุคคลอ่ืน การเป็นส่วนหน่ึงของสังคมหรือกลุ่มคน การรับรู้ของตนเอง การเข้าใจตนเอง สิ่งเหล่าน้ีล้วนนํามาซึ่งการยอมรับตนเองและบุคคลอ่ืนอยา่ งท่ี

143 คนๆน้นั มีการยอมรบั ท้ังขอ้ ดี ข้อดอ้ ยของตนและบุคคลอน่ื การมีจติ ใจเปิดกว้าง มีความมุง่ มน่ั และ การมีอิสระในการเลือกพร้อมท้ังเกิดความรับผิดชอบในการกระทาํ ของตน ท้ังนี้คนแต่ละคนจะมี ความแตกต่างกนั ของการพัฒนาตนเองจนสามารถบรรลภุ าวะสจั จการแห่งตนซงึ่ ขึน้ อยู่กบั หลายปัจจัย ตัวอย่างเชน่ คนท่เี ปดิ ใจกว้างทจ่ี ะเรยี นรตู้ ลอดเวลาจะมที รัพยากรและสิง่ แวดล้อมท่สี นับสนุนใหเ้ กิด การพฒั นาตนเองก็จะมกี ารพฒั นาตนเองไปสกู่ ารรจู้ กั ตนเองอย่างถอ่ งแทห้ รือบรรลุภาวะสัจจการแหง่ ตน มากกว่าคนที่ไม่เปิดใจเรียนรู้ส่ิงใหม่ๆหรือมีข้อจาํ กัดด้านการสนับสนุนจากส่ิงแวดล้อมในการที่จะ พัฒนาตนเอง เป็นตน้ มาสโลว์ ไดก้ ล่าวถงึ ลกั ษณะของบุคคลท่มี ีการพฒั นาตนจนเตบิ โตไปสูร่ ะดับ สูงสดุ ทตี่ นเองสามารถกระทาํ ได้ และมกี ารรู้จักตนเองอย่างถอ่ งแท้ ท่เี รียกวา่ การบรรลภุ าวะสัจจการ แห่งตน มีรายละเอยี ดดงั นี้ (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ นุ ายน 2559) 10.4.1.1 การรับรสู้ ิ่งตา่ งๆทเ่ี กดิ ขึ้นตามความเปน็ จรงิ โดยบุคคลท่ีพัฒนา ตน รจู้ กั ตนเองอยา่ งถอ่ งแท้จะตอบสนองตอ่ ประสบการณต์ า่ งๆรอบตัวตามความเปน็ จริง โดยเฉพาะใน การตอบสนองตอ่ สิง่ ท่คี นเราไมค่ นุ้ เคยหรอื ไม่ทราบผลลัพทธท์ ่ชี ดั เจน พวกเขาจะเปิดใจกวา้ งที่จะเรยี นรู้ และกล้าท่ีจะเปิดใจต้อนรับประสบการณ์ที่ตนเองไม่คุ้นเคย โดยไม่ใช้กลไกป้องกันตนเอง เพราะ ความวติ กกังวลหรือความกลวั 10.4.1.2 การยอมรับและบุคคลอื่นในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านดีหรือ ด้านทีเ่ ป็นขอ้ บกพร่องได้ มีการยอมรบั ความไม่สมบรู ณแ์ บบของตนเอง บคุ คลที่มีการยอมรับตนเอง และบคุ คลอน่ื ท้งั ด้านดแี ละดา้ นดอ้ ยจะมกี ารยอมรบั และเขา้ ใจในธรรมชาตขิ องความแตกต่างระหว่าง ตนเองและบคุ คลอน่ื 10.4.1.3 การมีความเป็นธรรมชาติ บุคคลท่ีพัฒนาตนเองรู้จักตนเอง อย่างถอ่ งแท้จะเป็นผูต้ อบสนองตอ่ สิง่ ตา่ งๆรอบตัวอยา่ งธรรมชาติ พวกเขาจะไม่ยดึ ตดิ กบั ประเพณีหรือ ระเบียบแบบแผนตา่ งๆ มากเกนิ ไป จนขาดความยืดหยุน่ และขาดความจรงิ แท้ในการเปล่ยี นแปลงของ สงิ่ ต่างๆท่เี กดิ ขนึ้ ทกุ ขณะ 10.4.1.4 การมุง่ ม่นั ในการแก้ปัญหาเปน็ หลกั บคุ คลท่พี ฒั นาตนเองร้จู กั ตนเองอยา่ งถอ่ งแท้ จะมุ่งไปทก่ี ารแกไ้ ขปญั หามากกว่ายดึ ตนเองเป็นศูนย์กลาง หรือมีความสามารถใน การมองทง้ั ภาพรวมและรายละเอียดปลกี ยอ่ ยของวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาเปน็ หลัก ตลอดจนสามารถมอง หาและทาํ ในสง่ิ ทีเ่ ขามีความสุขในสถานการณท์ ย่ี ากลาํ บากได้เสมอ 10.4.1.5 การมีความสันโดษ บุคคลที่มีการพัฒนาในแนวคิดน้ี จะ สามารถอยู่อย่างสันโดษได้โดยไม่รู้สึกอึดอัดใจ สามารถแก้ไขปัญหาและดูแลตนเองได้ บุคคลท่ีมี การรู้จักตนเองอยา่ งถอ่ งแท้ มักชอบความสนั โดษและชอบความเป็นสว่ นตวั มากกว่าบคุ คลทว่ั ไป

144 10.4.1.6 การมอี ิสระและพึ่งตนเองได้ บคุ คลท่มี ีการพฒั นาตนในแนวคิด นจี้ ะเปน็ อิสระจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ไม่ยดึ ตดิ กบั บุคคล ครอบครวั วฒั นธรรม หรือความคาดหวัง จากสงั คมภายนอกและสงั คมโลก 10.4.1.7 การมีความซาบซึ้งใจ กตัญญูรู้คุณ บุคคลที่มีการพัฒนาตน ในแนวคิดนี้ จะเป็นผ้ทู ่ีรสู้ ึกกวา่ ชีวิตของตนเติมเตม็ มีความร้สู ึกพึงพอใจและพอเพยี ง พวกเขาจะเป็น ผูท้ ีช่ ื่นชมยินดใี นการทบี่ คุ คลอน่ื มคี วามสุข เปน็ ผทู้ ชี่ ืน่ ชมกบั ความสุขที่เกดิ ขนึ้ รอบตัวในชีวิตประจาํ วัน แมเ้ ปน็ เพยี งเรื่องเล็กๆ นอ้ ยๆ และเป็นผู้ทแี่ สดงความขอบคุณในสิ่งท่ีบคุ คลอื่นทําให้หรอื ส่ิงท่ีบคุ คลอน่ื เอื้อเฟื้อให้แก่เขาด้วยความรู้สกึ เต็มใจ 10.4.1.8 การมปี ระสบการณป์ ิตสิ ุข บคุ คลที่พัฒนาตนเองจนรจู้ กั ตนเอง อย่างถ่องแท้ จะเปน็ ผรู้ ับรูเ้ กย่ี วกับประสบการณข์ องตนเองว่า เป็นหน่ึงเดยี วกับสรรพสิง่ รอบๆตัว ไม่ ว่าจะเป็นความปิตสิ ขุ ท่เี ป็นความสงบเย็น โลง่ โปรง่ ใจจากการทําสมาธิ หรอื ความรสู้ กึ ปติ ิสขุ ทเี่ กิดจาก การทํากิจกรรมต่างๆ ในชวี ติ เชน่ การเลน่ ดนตรแี ล้วเกิดภาวะทใี่ จสงบ เปน็ สขุ ผ่อนคลายและรับรถู้ ึง พลังชีวิตทเ่ี พม่ิ ขน้ึ 10.4.1.9 การมีความผกู พนั แบบเครอื ญาติ บุคคลท่พี ฒั นาตนเองอย่าง ถ่องแท้ จะมคี วามสัมพนั ธส์ นิทแนบแนน่ กับบคุ คลรอบข้าง มคี วามเห็นอกเหน็ ใจ มีเมตตากบั บุคคลอน่ื ทกุ คน และมีความเชอ่ื มโยงกับบคุ คลอืน่ ๆเสมอื นเปน็ ครอบครัวเดยี วกนั 10.4.1.10 การมีความออ่ นนอ้ มถ่อมตนเคารพตนเองและบคุ คลอืน่ บุคคลทีพ่ ัฒนาตนเองรจู้ ักตนเองอยา่ งถ่องแท้ จะมคี วามออ่ นนอ้ มถอ่ มตน ความเคารพในศกั ดิ์ศรีและ ความเป็นมนุษย์ของบุคคลอ่ืน ตลอดจนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับทุกๆคน ไม่ว่าจะบุคคลน้ันจะมี ความแตกต่างกับตนเอง อย่างไรก็ตาม 10.4.1.11 การมคี วามสมั พันธ์กับบคุ คลอ่นื ทด่ี ี บุคคลทีพ่ ัฒนาตนจนรจู้ ัก ตนเองอยา่ งถ่องแท้ จะมีความสมั พนั ธ์กบั บคุ คลอนื่ แบบผกู พนั ใกลช้ ดิ จนสามารถบอกเลา่ เรื่องราว ประสบการณเ์ กี่ยวกับความทกุ ขแ์ ละความสขุ ต่างๆ แกบ่ ุคคลรอบขา้ งได้ สามารถใหแ้ ละรับความรกั กับบุคคลอ่ืนได้ ตลอดจนมีความไว้ใจและเปน็ ทไี่ วว้ างใจสาํ หรบั บุคคลรอบตัวได้ 10.4.1.12 การมีความรู้สึกรูผ้ ิดชอบชวั่ ดี บคุ คลที่มกี ารพฒั นาตนสามารถ แยกแยะความถูกและความผดิ และเลอื กจะกระทําในสง่ิ ทถี่ ูกได้ ด้วยการพิจารณา ใครค่ รวญ ไตร่ตรอง ดว้ ยตนเองได้ 10.4.1.13 การเห็นความสาํ คัญของวิธีการและเป้าหมายไปพรอ้ มๆ กัน บคุ คลท่มี กี ารพัฒนาตนในแนวคิดนี้ จะเปน็ บคุ คลท่บี อกถงึ วิธกี ารดาํ เนินการและมเี ป้าหมายทชี่ ดั เจน บุคคลจะไม่มองแต่ผลลัพธ์อย่างเดียวโดยไม่ใส่ใจกระบวนการหรือวิธีการ บุคคลจะตระหนักถึง ความสําคัญของส่ิงท่ีตนจะกระทําเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายประสบความสําเร็จและมีความสุขในชีวิต

145 บุคคลที่มีการพัฒนาตนในข้อน้ี จะเห็นความสําคัญกับกิจกรรมประจําวันและเก็บเกี่ยวความสุข จากภายในจากการลงมือกระทําส่ิงต่างๆ ของกิจกรรม นนั่ คือ ทุกการกระทาํ คอื ความสขุ ความลงตวั ที่ รวมกันมุ่งสเู่ ป้าหมายในชวี ติ 10.4.1.14 การมีอารมณ์ขนั บุคคลที่มีการพัฒนาตนในแนวคิดน้ี จะเปน็ ผู้มีอารมณ์ขัน โดยอารมณ์ขันนี้ไม่เป็นการหัวเราะเยาะบุคคลอ่ืนหรือตลกขบขันในความด้อยของ บุคคลอื่น 10.4.1.13 การทค่ี วามคดิ สรา้ งสรรค์ และม่งุ ส่กู ารพัฒนาเองอยา่ งต่อเน่อื ง โดยไมด่ น้ิ รนหรือยดึ ติดกับการตอบสนองความตอ้ งการในดา้ นตา่ งๆ ท่ตี นเองขาด เชน่ ด้านความจาํ เปน็ พนื้ ฐานทางร่างกาย ด้านความรู้สกึ ม่นั คงปลอดภยั ดา้ นความรู้สึกเป็นพวกพ้องและด้านการเห็นคุณคา่ ในตนเอง เปน็ ต้น 10.4.1.14 การมคี วามสามารถในการปรบั ตวั กบั สงั คมวัฒนธรรมท่ี หลากหลายไดบ้ ุคคลทีม่ กี ารพฒั นาตนในแนวคิดนี้จะปรับตวั ใหเ้ ข้ากบั สงั คมวฒั นธรรมทหี่ ลากหลาย โดย การแยกแยะว่าส่งิ ใดดี สิ่งใดไม่ดีได้ และมกี ารตอบสนองทไ่ี ม่ใชก่ ารสมยอมหรือการทาํ ตามโดยไม่สม เหตุผล พวกเขาจะมีการปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดล้อม การตัดสินใจต่างๆ โดยคงความสมดุลระหว่าง ความเปน็ ตนเองและสิง่ แวดลอ้ มรอบตวั ได้ 10.4.1.15 การมีเป้าหมายในชีวิต บุคคลท่ีพัฒนาตนเองจนรู้จักตนเอง อย่างถ่องแท้ จะรับรู้ถึงเป้าหมายท่ีสาํ คัญหรือส่ิงที่สําคัญที่ตนจะกระทําให้แก่โลกใบนี้ เป้าหมายใน ชีวติ น้มี กั จะเป็นส่ิงทบ่ี คุ คลไมไ่ ด้กระทาํ เพอื่ ตนเอง หรือเพอ่ื ความยิง่ ใหญข่ องตนเอง แตเ่ ป็นการกระทาํ ที่เป็นไปเพ่ือประโยชน์สูงสุดตอ่ สงั คม สว่ นรวมและมวลมนุษยชาติ เป็นตน้ ท้งั น้ี มาสโลว์ (Maslow) เนน้ ใหค้ วามสําคญั กับการพฒั นาตนของคนเรา ไปสกู่ ารรูจ้ กั ตนเองอยา่ งถอ่ งแท้ท่เี รยี กวา่ การบรรลภุ าวะสัจจการแห่งตน การพฒั นาตนดังกล่าว ขึ้นกับ ประสบการณ์ที่ผ่านการฝึกฝน พัฒนาอย่างต่อเนื่องและไม่จาํ เป็นท่ีคนเราจะมีการพัฒนาตนตาม คุณลักษณะครบทุกข้อท่กี ลา่ วมา 10.4.2 แนวคดิ จิตวทิ ยาเก่ียวกับการพฒั นาตนของโรเจอรส์ โรเจอรส์ (Roger, 1961) นักจติ วทิ ยากลมุ่ มนุษยนิยม มแี นวคิดสําคัญท่ี เชอ่ื วา่ มนุษยม์ ธี รรมชาติทีด่ มี แี รงจงู ใจในดา้ นบวก เป็นผู้ท่มี เี หตุผล สามารถตดั สินใจเลือกวถิ ชี วี ติ ของ ตนเองได้ หากบคุ คลเหลา่ นน้ั ไดร้ บั การขัดเกลา รบั อสิ ระเพยี งพอและมบี รรยากาศที่เออ้ื อํานวย ซงึ่ จะ นําไปสทู่ ศิ ทางท่เี หมาะสมกับความสามารถของแตล่ ะบุคคลในการพฒั นาตนเองอยา่ งเต็มศักยภาพ และนําไปส่กู ารเปน็ บคุ คลท่ีทาํ หน้าทตี่ า่ งๆ ใชช้ วี ิตอย่างเต็มศกั ยภาพ (Fully functioning person) (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มิถนุ ายน 2559)

146 10.4.2.1 องคป์ ระกอบแนวคดิ การพัฒนาตนเองของโรเจอรส์ ประกอบด้วย 3 องคป์ ระกอบ ดังน้ี 1) สว่ นท่ีเปน็ อินทรีย์ (The organism) หมายถงึ การตอบสนอง ที่ประกอบด้วย ความคิด ความรู้สึก พฤติกรรมท้ังหมดของบุคคลท่ีตอบต่อสิ่งเร้าท้ังภายในและ ภายนอกของบุคคล การตอบสนองสิ่งเรา้ ภายใน เช่น ความตอ้ งการข้ันพ้ืนฐานตา่ งๆ ทางสรีระรา่ งกาย เป็นตน้ และการตอบสนองสง่ิ เร้าภายนอก เช่น สิง่ แวดลอ้ มตา่ งๆ ทีอ่ ยูร่ อบตัว เปน็ ต้น 2) สว่ นท่ีเป็นสนามแหง่ ประสบการณ์ (Experiential field) หรือสนามแหง่ ปรากฏการณ์ เป็นการรับรปู้ ระสบการณท์ ั้งหมดของบคุ คล ผ่านการตีความและเงือ่ นไข ต่างๆหรอื ประสบการณ์ทผี่ า่ นมา ซงึ่ บคุ คลจะให้ความหมายและเลือกรบั รูเ้ ฉพาะประสบการณท์ ีส่ ําคัญ ที่สอดคล้องกับโครงสร้างของตนตามท่ตี นรับรู้ 3) ส่วนที่เป็นตน (The self) คือส่วนที่เป็นการรับรู้ คา่ นยิ ม หรือความนกึ คดิ เกยี่ วกับตนเองของคนเรา ท่เี รยี กว่า อัตมโนทศั น์ (self concept) หรือความคดิ รวบยอดของตน โดยคนเรามีการรับรู้และมองเห็นตนเองในหลายแง่หลายมุม เช่น “ฉันเป็นคนดี” “ฉนั เปน็ คนทํางานละเอียด” “ฉนั เปน็ คนไมข่ ยนั ” เปน็ ต้น ความคดิ รวบยอดเก่ียวกบั ตนเองนี้เปน็ ส่ิงท่ี คนเราเช่อื วา่ ตนเองเปน็ แบบท่ีรบั ร้ซู งึ่ อาจเป็นทงั้ ดา้ นทีด่ ีหรือดา้ นไมด่ ีกไ็ ด้ โรเจอรส์ (Roger) ไดอ้ ธบิ ายว่า บคุ คลท่มี ีการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง นนั้ จะมีตวั ตนทส่ี อดคล้องกลมกลืนระหวา่ ง 1) การรบั รู้ตนเอง (perceived self) คือ การทคี่ นเรา ประเมนิ ตนเอง และคิดวา่ บคุ คลอ่นื มองตนเองว่าเป็นอยา่ งไร 2) ตนตามทเ่ี ป็นจริง (real self) คอื ตน ท่บี คุ คลเป็นอยใุ่ นความจรงิ และ 3) ตนตามอุดมคติ (ideal self) คือ ตนท่ีบคุ คลปรารถนาหรอื คาดหวงั อยากจะเป็นโดยการรับร้ตู นตามทเี่ ป็นจริง หมายถงึ การทีบ่ ุคคลมคี วามนกึ คิดเก่ยี วกับสง่ิ ที่ เกิดขน้ึ ตามความเป็นจริงกับตนท้ังหมด ในแนวคิดน้ีมองว่า การพัฒนาตนของคนเราจะชะงักงัน ไม่มีประสิทธิภาพหรือเป็นปัญหาด้านจิตใจได้ เมื่อคนเรามีความไม่สอดคล้องในการรับรู้ตนเอง คือ การรับรู้ตนที่เป็นตามอุดมคติและการรับรู้ตนเองตามความเป็นจริงขัดแย้งกัน ตัวอย่างเช่น กมล มองเห็นว่า ตนเองเป็นคนทํางานดีกว่าพนักงานคนอื่นๆ ทั้งท่ีในความเป็นจริงแล้ว กมลไม่ได้เป็น เชน่ นัน้ เลย กมลจึงดถู ูกเพ่อื นร่วมงานคนท่ถี กู เจ้านายตาํ หนเิ รื่องการทํางาน และเป็นสาเหตุสําคัญที่ ทําใหก้ มลไม่คอ่ ยมเี พอ่ื นในทท่ี าํ งาน เป็นต้น ความไม่สอดคลอ้ งในการรับรตู้ นเองดงั กลา่ ว ทําให้คนเรา ไมส่ ามารถพัฒนาตนได้อยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ 10.4.2.2 ลกั ษณะของบคุ ลทีม่ ีการพฒั นาตนตามแนวคิดของโรเจอรส์ (Roger) มองวา่ การพัฒนาตนของคนเราจะชะงกั งัน ไม่มีประสิทธิภาพ หรอื เป็นปญั หาด้านจิตใจ เนอื่ งจากเกดิ ความไมส่ อดคลอ้ งกนั ในการรบั รขู้ องตนเอง กลา่ วคือ การรบั รตู้ นเองที่เปน็ ตามอดุ มคติ และการรับรตู้ นเองตามความเปน็ จรงิ ขดั แยง้ กนั ความไมส่ อดคล้องกนั ในการรบั รตู้ นเองดงั กล่าว ทาํ ให้

147 บุคคลนั้น ไม่สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มตามศักยภาพ ดังนั้น การพัฒนาตนในแนวคิดของ โรเจอรส์ (Roger) จึงใหค้ วามสาํ คญั กบั การรจู้ ักตนเองและการพฒั นาตวั ตน ใหม้ ีการรับรตู้ นทส่ี อดคล้อง ระหว่างตนตนามอุดมคติและตนตามทเี่ ปน็ จริง โรเจอรส์ (Roger) เสนอว่า บุคคลท่ีมีการพัฒนาตนให้เป็นผู้ที่มีการรับรู้ ตนท่ีสอดคล้องระหว่างตนตามอุดมคติและตนตามที่เป็นจริง จะเป็นผู้ที่ทําสิ่งต่าง ได้อย่างเต็ม ศักยภาพ และเป็นผ้ทู ่ีมีลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้ 1) การเปน็ ผทู้ ีเปิดรบั ประสบการณ์ตา่ งๆ บุคคลท่มี ีการพฒั นา ตนในแนวคิดน้ี จะมีความพร้อมและความกล้าที่จะเรียนรรู้สิ่งใหม่ๆ โดยไม่กลัวความผิดหวังหรือ ความลม้ เหลว เปน็ ผู้ที่มีการยอมรับประสบการณ์ตา่ งๆ ในชวี ติ ทั้งดีและไมด่ ี โดยไมใ่ ชก้ ลไกป้องกนั ตนเองมากจนเกินไป 2) การเป็นผู้ท่ีใช้ชีวิตในแต่ละขณะได้อย่างเต็มที่ บุคคลที่มี การพฒั นาตนในแนวคดิ นี้ เป็นผูท้ ีม่ คี วามยืดหยนุ่ ในการใช้ชวี ติ ไม่หลกี หนปี ระสบการณ์ตา่ งๆ ด้วย ความกลวั หรอื วติ กกังวล 3) การเป็นผทู้ ีเ่ ชอื่ ถือในการไตร่ตรองสิ่งต่างๆ ดว้ ยปญั ญาของตน บคุ คลทม่ี ีการพัฒนาตนในแนวคิดนี้ จะพจิ ารณาใคร่ครวญ และตดั สนิ ใจเลือกในการกระทาํ สงิ่ ตา่ งๆ บนความรู้ตัว และมกี ารไตรต่ รองจากภายในดว้ ยการพิจารณาจากความถนัด ความสนใจ ความเชือ่ ค่านิยมต่างๆ ท่ีตนเองยึดถือร่วมกับการรักษาความสมดุลกับส่ิงแวดล้อมภายนอก มากกว่าจะเป็น การตัดสนิ ใจเลอื กในการทาํ สง่ิ ต่างๆเพราะอิทธพิ ลจากภายนอกมาบอกว่าสิง่ ใดไมค่ วรทาํ 4) การเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามเป็นอสิ ระและพ่งึ พาตนเองได้ บุคคลทมี่ ี การพฒั นาตนได้อยา่ งเหมาะสมน้ัน จะมคี วามเปน็ อิสระทจี่ ะเลอื กทาํ ส่ิงต่างๆ มีความพรอ้ มทจี่ ะเผชญิ กบั ผลลพั ทธ์ตา่ งๆ และพรอ้ มรับผดิ ชอบต่อการตดั สินใจตอ่ การกระทาํ ของตนเอง 5) การเปน็ ผ้ทู ่ีมกี ารรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ บุคคลท่มี กี ารพฒั นาตนเอง ในแนวคิดนี้จะเปน็ ผ้ทู มี่ ีการริเรม่ิ แนวทางใหมใ่ นการดาํ รงชวี ิตในแต่ละขณะ เป็นผทู้ ไ่ี มท่ าํ สงิ่ ตา่ งๆ ตาม ความเคยชนิ แบบเดิมๆ หรอื ถูกผูกมัดกบั รปู แบบอดตี เดมิ ๆ หรอื กังวลเก่ยี วกบั อนาคตขา้ งหน้าทีย่ งั ไม่ มาถึง จะเห็นได้ว่า การท่ีบุคคลจะมีการพัฒนาตนได้อย่างเหมาะสมน้ัน ส่วนหน่ึงจะขน้ึ อยู่กบั ประสบการณ์ การได้รบั การยอมรบั โดยปราศจากเงอ่ื นไข ส่งผลให้บุคคลเกิด การเรียนรถู้ ึงแม้วา่ พฤติกรรมบางอย่างของเขานนั้ จะไมเ่ ปน็ ท่ยี อมรับกต็ าม แตบ่ คุ คลรอบข้างก็ยังให้ ความรักและยอมรับเขาอยุ่ เขาจะไม่เกิดความรสู้ ึกวา่ ตนเองไร้คณุ ค่าและยงั สามารถยอมรบั ตนเองได้ ถึงแม้ว่าเขาจะมกี ารตัดสินใจทาํ บางอย่างทเี่ สย่ี ง เขากย็ ังกล้าทีจ่ ะรับผิดชอบตอ่ การกระทาํ ของตนเอง สามารถควบคมุ พฤตกิ รรมของตนเองไปสู่การเปลย่ี นแปลงและแก้ไขในสถานการณ์ตา่ งๆ ได้ กล้าที่จะ

148 เผชิญกับประสบการณ์ใหม่ๆ สามารถใช้พลังท่ีมีอยู่ในตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ ในทิศทางท่ี สอดคลอ้ งกัน และสามารถพฒั นาตนเองใหอ้ ย่อู ยา่ งมีประสิทธิภาพเป็นบุคคลทสี่ มบูรณ์ 10.5 คุณลกั ษณะของบุคคลทมี่ ีทนุ ทางจิตวทิ ยาในการพัฒนาตน ลเู ธอร์ และคณะ (Luthans, Avolio, Avey & Norman, 2007) กล่าวถงึ คณุ ลกั ษณะของบุคคลทมี่ ที นุ ทางจิตวิทยาว่า ประกอบดว้ ย 4 ลักษณะ ได้แก่ การมีความเชอ่ื มน่ั ใน ความสามารถของตน การมีความหวัง การมองโลกในแง่ดี และความสามารถในการฟ้ืนหลัง มี รายละเอยี ดดังต่อไปน้ี (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มิถุนายน 2559) 10.5.1 การมีความเชือ่ ม่นั ในความสามารถของตน (self efficacy) หมายถึง การมีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองท่ีจะกระทํา และพยายามกระทําพฤติกรรมให้บรรลุ เป้าหมายท่ีได้ตั้งไว้ ความเชือ่ มน่ั ในความสามารถเป็นการตดั สินใจเกยี่ วกับความสามารถของบคุ คลที่ จะจดั การและดําเนนิ การหรอื กระทาํ พฤติกรรมใหบ้ รรลุเปา้ หมายที่กาํ หนดไว้ ลูเธอรแ์ ละคณะ ไดร้ ะบุ วา่ ผทู้ ี่มคี วามเชือ่ มน่ั ในความสามารถของตนเองจะมลี กั ษณะท่ีสาํ คญั 5 ประการ ดังนี้ 10.5.1.1 การตัง้ เป้าหมายที่สูง ทา้ ทาย และเลือกทจ่ี ะทําสง่ิ ที่ยาก สําหรับตนเอง 10.5.1.2 การมีความรสู้ กึ ยินดี และปรารถนาที่จะทําส่ิงที่ท้าทาย 10.5.1.3 การมีแรงจูงใจในตนเองสูง 10.5.1.4 การใช้ความพยายามในการทจ่ี ะบรรลตุ ามเป้าหมายที่ตงั้ ไวใ้ ห้ สาํ เร็จ 10.5.1.5 การมีความพยายามแก้ไขอปุ สรรคเมือ่ ตอ้ งเผชิญใหผ้ า่ นพน้ ไป ได้ 10.5.2 การมีความหวงั (Hope) หมายถงึ การมแี รงจงู ใจในการปฏิบัตภิ ารกจิ ทีม่ ุ่งไปยังเปา้ หมายทีต่ ง้ั ไว้ อีกท้งั ยังสามารถแสวงหาแนวทางและวธิ กี ารต่างๆ เพอ่ื ใหบ้ รรลุเปา้ หมายท่ี ต้องการ กล่าวอีกนัยหนึ่ง การคาดหมายว่าจะประสบความสาํ เร็จในสิ่งท่ีตนได้ตั้งเป้าหมายไว้ ซ่ึง เป็นได้ทั้งความรสู้ กึ ทส่ี ามารถแสดงออกทัง้ ทางด้านอารมณแ์ ละด้านพฤตกิ รรม นอกจากน้ี ความหวัง ยังรวมถึงความคิดว่า ตนเองสามารถท่ีจะบรรลุเป้าหมายที่ตนเองตั้งไว้และมีแรงจูงใจในการกระทํา ตามแนวทางอีกดว้ ย 10.5.3 การมองโลกในแง่ดี (Optimism) หมายถงึ การมีวธิ ีการอธิบายสาเหตุ และรปู แบบเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ทางบวกทง้ั ในปัจจุบันและอนาคต โดยบุคคลที่มองโลกในแงด่ ี คาดหวัง ว่าจะมเี หตุการณ์กับตนเอง ส่งผลใหเ้ กิดแรงจงู ใจและความพยายามมงุ่ มนั่ ให้ไปถงึ เปา้ หมาย แตบ่ ุคคล ทม่ี องโลกในแงร่ ้ายมกั คดิ อยู่เสมอวา่ จะต้องมเี หตกุ ารณท์ ี่ไมด่ เี กดิ ข้ึนกบั ตนเองอยา่ งแน่นอน ส่งผลให้ เกิดความคดิ ทางลบ และอาจทาํ ให้ไม่บรรลุเปา้ หมายทต่ี ้งั ใจไว้

149 การมองโลกในแงด่ ี หมายถงึ การท่ีคนเรามีรปู แบบในการอธิบายท่ีเกิดขึน้ กบั ตนเอง โดยบุคคลที่มองโลกในแง่ดี จะมีอธิบายสถานการณ์ท่ีไม่ดีว่ามาจากปัจจัยภายนอกเกิดขึ้น ชั่วคราวและเฉพาะเจาะจงตอ่ เหตุการณน์ ั้นๆ สว่ นจะอธิบายสถานการณท์ ด่ี ีวา่ มาจากปจั จัยส่วนบคุ คล เกิดข้ึนถาวรและเหตุการณ์นั้นดขี ้นึ เร่อื ยๆ ในทางกลบั กันบุคคลทมี่ องโลกในแงร่ ้ายจะอธิบายสาเหตเุ มื่อ เจอเหตุการณ์ท่ีดีว่ามาจากปัจจัยภายนอกเกิดขึ้นชั่วคราวและเฉพาะเจาะจงต่อเหตุการณ์น้ันๆสว่ น สถานการณ์ท่ีไมด่ ีจะอธิบายว่า มาจากปจั จยั ส่วนบคุ คลเกดิ ข้นึ ถาวรและเหตกุ ารณ์นั้นจะเลวร้ายลงไป เรื่อยๆ ท้ังนี้การมองโลกในแง่ดี คือ การรับรู้และอธิบายเหตุการณ์เชิงบวก ซึ่งการรับรู้หรืออธิบาย นั้น ต้องไม่หลอกตนเอง เข้าใจและยอมรับว่า มนุษย์ทุกคนไม่สามารถควบคุมเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นได้ ไมว่ ่าจะเป็นเหตุการณท์ ไ่ี มด่ ี หรอื แม้เหตุการณท์ ่ีดีกต็ าม 10.5.4 การมีความสามารถในการฟ้ืนพลัง (Resilience) หมายถึง การมี ความสามารถยนื หยดั อดทนและปรับอารมณม์ าสสู่ ภาวะปกติ เมอื่ ต้องเผชญิ กับปญั หาอุปสรรคและ ความยากลําบากเพ่อื ท่ีจะประสบความสาํ เร็จในส่งิ ที่มุ่งหวังได้ อีกนัยหนึ่ง ความสามารถในการฟืน้ พลัง เปน็ ความสามารถในการอดทนหรอื ปรบั อารมณ์ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว เมอ่ื บคุ คลนัน้ ต้องเผชิญกับความขดั แยง้ อุปสรรค สภาวะที่ไม่แน่นอน เหตุการณ์ที่รุนแรงหรือเกิดความล้มเหลวในชีวิต บุคคลยังสามารถ ปรบั ตัวและกลับส่สู ภาวะปกติไดด้ ี อกี ความหมาย ความสามารถในการฟน้ื พลัง คอื การมีลักษณะ ทางบวกของแตล่ ะบุคคลที่มกี ารตอบสนองต่อปัญหา ความทุกขย์ ากในชวี ติ แตกตา่ งกัน 10.6 เทคนคิ การพัฒนาตน เทคนิคการพัฒนาตน ในการควบคุมตนเองมีเทคนิควิธที่ใช้ได้หลายวิธี เช่น การควบคมุ สิ่งเร้า การเตือนตนเอง การเสรมิ แรงตนเองและการลงโทษตัวเอง การทาํ สัญญากบั ตวั เอง การเปลย่ี นการตอบสนอง มีรายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี (http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Self_Development.htm 8 มถิ นุ ายน 2559)

150 ภาพท่ี 46 แสดงภาพการควบคมุ ตนเอง (https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559) 10.6.1 การควบคุมตนเอง การควบคมุ ตนเอง เปน็ กระบวนการจดั การกบั เงอ่ื นไขสภาพแวดลอ้ มหรือ ส่ิงเร้าท่ีควบคุมพฤตกิ รรมหรอื การเปลย่ี นแปลงสิ่งเรา้ เพ่อื ทําให้พฤตกิ รรมทไี่ มพ่ ึงประสงคไ์ ม่สามารถ เกดิ ขน้ึ ได้หรอื เพื่อให้พฤตกิ รรมท่ีพึงประสงคเ์ กิดข้นึ โดยกาํ จดั ส่ิงเรา้ ทคี่ วบคมุ พฤตกิ รรมท่ไี ม่พึงประสงค์ น้ัน เช่น ถ้าจะประหยัดรายจ่ายฟุ่มเฟือยและเราทราบว่าทุกครั้งท่ีไปเดินในห้างสรรพสินค้าเราจะ เพลิดเพลินกับการซื้อของท่ีไม่จาํ เป็น สามารถควบคุมได้โดยไปให้น้อยลงหรือลดการไปเดินใน ห้างสรรพสนิ ค้าเสยี , กาํ หนดสงิ่ เรา้ ทเี่ ฉพาะเจาะจงเพอื่ ให้เกิดพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค,์ เปลยี่ นแปลงสงิ่ เรา้ ใหม่ทีเ่ หมาะสมกบั พฤตกิ รรม ในกรณีทพี่ ฤตกิ รรมท่เี ปน็ อยถู่ ูกควบคุมดว้ ยสงิ่ เรา้ ท่ไี ม่เป็นท่ยี อมรับ การควบคุมตนเอง (self-control) คือ การที่บุคคลเป็นผู้ดาํ เนินการใน การพฒั นาหรอื ปรับปรงุ พฤตกิ รรมด้วยตนเองทง้ั หมด ไมว่ า่ จะเปน็ การเลือกเปา้ หมายหรอื วิธกี ารดาํ เนินการ ทั้งหมดเพอื่ ท่จี ะให้บรรลุเปา้ หมายนนั้ ถา้ บุคคลใดมที ักษะในการควบคุมตนเองไดด้ ี ส่ิงเร้าภายนอก จะมอี ทิ ธพิ ลตอ่ บุคคลนนั้ นอ้ ยมาก และในทางกลบั กนั คนทีม่ ีทกั ษะในการควบคมุ ตนเองอยูใ่ นระดับตาํ่ สิ่งเร้าภายนอก จะมีอทิ ธพิ ลต่อพฤตกิ รรมของบุคคลน้ันไดม้ าก 10.6.1.1 วธิ กี ารควบคมุ ตนเอง ในชีวติ ประจาํ วันของคนเรา ลว้ นเคย ควบคมุ ตนเองโดยวธิ ใี ดวิธหี น่ึงมาแลว้ ไดแ้ ก่ 1) ใชว้ ิธีการยบั ยัง้ ทางรา่ งกาย เชน่ การกัดรมิ ฝีปากตวั เองเพื่อ ไม่ให้หัวเราะ ปดิ ตาตัวเองเพื่อไมใ่ ห้เหน็ บางสิ่งบางอย่างทีไ่ ม่ชอบ ทําให้หลกี เล่ียงผลกรรมท่ไี มพ่ อใจได้

151 2) เปล่ยี นเงอื่ นไขของสงิ่ เรา้ หรือสญั ญาณที่เกี่ยวกบั พฤตกิ รรม ที่จะหลีกหนี เช่น ไปตากอากาศที่ชายทะเลเพ่ือหลีกหนีสัญญาณต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการทาํ งาน ซ่ึงอาจช่วยให้แสดงพฤตกิ รรมที่ตอ้ งการบางอย่างไดม้ ากขนึ้ ดว้ ย 3) หยุดการกระทําบางอยา่ ง เช่น การงดอาหารกลางวนั เพอ่ื จะ รับประทานมอื้ คา่ํ ทจี่ ดั เปน็ พเิ ศษ 4) เปลี่ยนแปลงการตอบสนองทางอารมณ์ บางครั้งจําเป็นต้อง แสดงพฤติกรรมขดั กับความรูส้ กึ ที่แทจ้ ริง เพ่ือหลกี เลยี่ งผลกรรมที่ไม่พงึ พอใจ เช่น เมอื่ หัวหน้างานทํา เปน่ิ ตอ้ งทําหน้าตาเฉย หัวเราะไม่ไดเ้ ดด็ ขาด 5) ใช้เหตกุ ารณ์บางอย่างเพ่อื ควบคมุ พฤติกรรมตนเอง เชน่ การตง้ั นาฬิกาปลกุ เพ่อื ชว่ ยให้ต่ืนทันเวลา 6) ใชย้ าหรอื ส่ิงกระตุ้นต่างๆ ควบคมุ การกระทาํ ของตนเอง เชน่ การดมื่ สรุ าเพ่อื ลมื เร่อื งความทกุ ข์ ดม่ื กาแฟเพอื่ จะอา่ นหนงั สอื หรือขับรถได้นานขึ้น 7) เสริมแรงหรือลงโทษตัวเอง โดยสญั ญากับตนเองว่าถา้ สอบ ได้ B หรอื A จะซอ้ื ของราคา 500 บาท ให้ตวั เองช้นิ หนงึ่ หรือถา้ สอบไดเ้ กรดไม่ดี จะงดการดูละคร โทรทัศน์ 1 เดือน 8) ทําสิง่ อน่ื แทนสงิ่ ท่กี าํ ลังทําอยู่ เชน่ ออกกําลงั กายแทน การนอนอย่เู ฉย อ่านหนังสือเรียนแทนการดลู ะครนาํ้ เน่า 10.6.1.2 แนวคิดพื้นฐานเทคนคิ การควบคุมตนเอง เทคนิคการควบคุมตนเอง มีแนวคิดพ้ืนฐานจากทฤษฎี การเรียนร้แู บบปฏิบัตกิ าร ซงึ่ มีความเชอ่ื วา่ พฤติกรรมของบคุ คลถกู ควบคมุ โดยเงื่อนไขนาํ และผลกรรม ถ้าเงื่อนไขนาํ เปลี่ยนแปลงหรือผลกรรมเปล่ียนแปลง พฤติกรรมก็จะเปล่ียนแปลงไปด้วย เงื่อนไข สาํ คัญในการควบคมุ ตนเองคือ บคุ คลนัน้ จะเป็นผ้จู ดั การกบั เง่อื นไขนาํ และผลกรรมของพฤตกิ รรมดว้ ย ตนเองแทนการท่บี คุ คลอ่นื จะจดั การให้ในการควบคมุ ตนเอง มกั จะเกี่ยวเนอื่ งกับการเลอื กแสดงพฤตกิ รรม ทม่ี ีเงื่อนไขผลกรรมท่ีขดั แย้งกันอยู่ ซึ่งการขัดแย้งของเงือ่ นไข ผลกรรมมอี ยู่ 4 แบบ ดงั น้ี 1) หลกี เลย่ี งการแสดงพฤติกรรมทจ่ี ะไดร้ ับผลกรรมทางบวก ทนั ที เพ่อื ว่าจะไม่ไดร้ บั ผลกรรมทางลบในอนาคต เชน่ หลกี เลย่ี งการกนิ อาหารทชี่ อบจํานวนมาก เพ่อื ว่า จะไดไ้ ม่อ้วนใน 2-3 ปี ขา้ งหน้า หรือหลีกเลย่ี งการสํ่าสอ่ นทางเพศเพื่อจะได้ไม่ติดเช้ือเอดส์ หรือหยุด การสบู บหุ รี่เพ่ือว่าจะไดไ้ ม่เป็นมะเร็งปอด 2) แสดงพฤติกรรมท่ีจะได้รับผลกรรมทางลบทันที เพ่ือจะ ไดร้ ับผลกรรมทางบวกในอนาคต เช่น การทาํ งานหนกั เพื่อมฐี านะดีข้ึน นักกฬี าฝกึ ซอ้ มอย่างหนกั เพื่อ จะชนะในการแขง่ ขนั

152 3) ไมแ่ สดงพฤตกิ รรมทไี่ ดร้ ับผลกรรมทางบวกเล็กน้อยทันที เพ่ือวา่ จะได้รบั ผลกรรมทางบวกท่มี ากกว่าในอนาคต เช่น การไม่ออกไปเที่ยวสนกุ สนานในคืนวันศุกร์ เพื่อใช้เวลาอา่ นหนงั สอื ท่ีทาํ ใหผ้ ลการเรยี นดีขึน้ หรือมีโอกาสศึกษาตอ่ 4) แสดงพฤติกรรมท่ีได้รับผลกรรมทางลบแต่น้อยทันที เพ่ือหลีกเล่ียงผลกรรมทางลบจํานวนมากในอนาคต เช่น การไปให้หมอฟัน ขูดหินปูน ตรวจฟัน ทาํ ความสะอาดฟัน ซ่ึงมักเป็นส่ิงทไ่ี ม่นา่ พงึ พอใจ แตก่ ารกระทาํ น้นั ทําให้ไม่เกิดการปวดฟนั ท่รี นุ แรง ในอนาคต จากการขัดแย้งกันในเงื่อนไขของผลกรรมท่ีกล่าวมานี้ จะเห็นว่าใน การพัฒนาตนนน้ั บุคคลจะต้องกระทาํ พฤติกรรมบางอย่าง เพ่อื ควบคมุ พฤตกิ รรมอกี อยา่ งหนึง่ ซึง่ เป็น อปุ สรรคต่อการบรรลเุ ป้าหมายทต่ี ั้งไว้ ภาพที่ 47 แสดงภาพการเตอื นตนเอง (ท่มี า https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559) 10.6.2 การเตือนตนเอง การเตือนตนเองประกอบด้วยกิจกรรม 2 สว่ นคอื การสงั เกตตนเอง และ การบันทึกพฤตกิ รรมตนเอง ใชไ้ ดก้ บั ทัง้ พฤตกิ รรมภายนอกและพฤตกิ รรมภายใน การเตือนตนเองจะ ได้ผลเป็นเพราะบุคคลได้บันทึกพฤติกรรมของตนเอง เมื่อเห็นข้อมูลที่ตนเองบันทึกไว้ ก็อาจพูดกับ ตนเองภายในใจวา่ เราเป็นคนดี เปน็ คนเกง่ หรือทาํ ได้ตามเป้าหมายแลว้ นะ ซึ่งการพดู เช่นนี้ทําหน้าท่ี เปน็ การเสริมแรงพฤติกรรมได้ แต่ถ้าหากพบวา่ พฤติกรรมท่ีตนสงั เกตและบันทึกไวน้ ั้นต่ํากว่าเป้าหมาย

153 ท่คี วรเป็นก็อาจเกดิ ความรสู้ กึ ผิด จงึ มีการพูดเตอื นตนเองภายในใจ และกระทาํ พฤตกิ รรมให้ดีข้นึ เพอื่ หลกี หนคี วามรสู้ กึ ผดิ นนั้ การดําเนนิ การเตือนตนเองมขี ้นั ตอนดงั นี้ 10.6.2.1 เลอื กและกําหนดพฤตกิ รรมเปา้ หมายให้ชัดเจน 10.6.2.2 สงั เกตและบนั ทกึ พฤติกรรมของตนเองให้ชัดเจนว่า พฤตกิ รรม เป้าหมายเกิดข้นึ หรือไม่ 10.6.2.3 ประเมนิ ผลและวิเคราะห์ขอ้ มูลจากการสังเกตและบนั ทึก ภาพท่ี 48 แสดงภาพการเสริมแรง (ท่มี า https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559)

154 ภาพที่ 49 แสดงภาพการลงโทษตัวเอง (ท่ีมา https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559) 10.6.3 การเสริมแรงและการลงโทษตัวเอง การเสรมิ แรงและการลงโทษตวั เอง วิธีการน้จี ําเปน็ ต้องอาศัยการสังเกต และการบันทกึ พฤติกรรมในวธิ ีการเตอื นตนด้วย ซ่งึ มี 2 ขน้ั ตอน คือ 10.6.3.1 พิจารณาพฤตกิ รรมทคี่ วรไดร้ บั การเสรมิ แรงหรือรบั การลงโทษ และเกณฑ์ในการเสรมิ แรงหรอื การลงโทษ 10.6.3.2 เสริมแรงเม่อื พฤติกรรมเปน็ ไปตามเกณฑท์ ก่ี าํ หนด และลงโทษ เมื่อไม่เปน็ ไปตามเกณฑท์ ีก่ าํ หนด

155 10.6.4 การทําสญั ญากับตนเอง การทาํ สัญญากบั ตนเอง เป็นวิธีการหนงึ่ ที่ช่วยในการควบคมุ ตนเอง คือ ขอ้ ตกลงกับตนเองทเี่ ขยี นเป็นลายลกั ษณ์ ระบขุ ้ันตอนทีด่ าํ เนินการและเม่อื บรรลเุ ป้าหมายจะใหอ้ ะไร กบั ตนเอง การทําสญั ญากบั ตน ก็เหมอื นกับการทาํ สญั ญาอื่นๆ คือ จะตอ้ งมขี ้อความท่รี ะบุในสญั ญา วา่ จะใหเ้ วลาเทา่ ไร ซึง่ อาจให้เวลา 2-3 นาที เปน็ สปั ดาห์ เปน็ เดอื น เป็นปี การเขียนสญั ญาควรเขยี น เฉพาะสิ่งท่ีรู้ว่า สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อบรรลุตามสัญญา ก็เปลี่ยนไปสู่พฤติกรรมเป้าหมาย ขั้นตอ่ ไป ซึ่งในสญั ญาควรประกอบด้วย 10.6.4.1 กําหนดพฤติกรรมเป้าหมายทช่ี ดั เจน 10.6.4.2 บอกถงึ สิ่งที่บุคคลตอ้ งกระทาํ เพือ่ ท่ีจะบรรลเุ ปา้ หมายน้ัน 10.6.4.3 บอกถงึ การเสรมิ แรงตนเองเมอ่ื บรรลเุ ปา้ หมาย และการลงโทษตนเองเม่ือไมส่ ามารถทําได้ตามสญั ญา 10.6.4.4 กรณที ม่ี ีผอู้ ่นื มาเกี่ยวขอ้ งดว้ ย บุคคลน้ันควรทาํ หนา้ ทใ่ี ห้ผล กรรมบางอย่างตอ่ การกระทําของตน 10.6.4.5 กําหนดวันเวลาทจ่ี ะมกี ารทบทวนสัญญา เพอื่ เปล่ยี นแปลง พฤตกิ รรมเปา้ หมายและผลกรรม 10.6.5 การเปล่ียนการสนองตอบ การเปลี่ยนการสนองตอบ เปน็ วธิ กี ารควบคุมตนเองอกี วิธหี นง่ึ บคุ คลจะ แสดงการสนองตอบอยา่ งอนื่ หรือการกระทําพฤตกิ รรมอ่นื ท่ีสามารถระงบั หรอื แทนทก่ี ารสนองตอบที่ ไม่เหมาะสม เช่น การคดิ ถึงเร่ืองทส่ี นกุ สนานเพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ความวติ กกงั วล การทํารา่ งกายใหผ้ อ่ นคลาย เพื่อควบคมุ ความเครียด เปน็ ตน้ การทาํ สมาธิ อาจจดั อยูใ่ นวิธกี ารน้ไี ด้ เปน็ การทาํ ใหจ้ ติ ใจและร่างกาย ผอ่ นคลาย สามารถระงับพฤตกิ รรมบางอยา่ งได้ หากต้องการใชเ้ ทคนคิ การพัฒนาตนดว้ ยวิธกี ารควบคมุ ตนเอง ควรมีขั้นตอนดงั นี้ 10.6.5.1 กําหนดพฤติกรรมเป้าหมายด้วยตนเองเร่ิมต้นด้วยบุคคล จะต้องกาํ หนดพฤติกรรมเป้าหมาย ท่ีต้องการเปลย่ี นแปลงแก้ไข ด้วยตนเองใหช้ ดั เจน 10.6.5.2 สังเกตและบันทึกพฤติกรรมของตน การสังเกตและบันทึก พฤติกรรม จะต้องกระทําด้วยตนเองและบันทกึ เปน็ ระยะๆ 10.6.5.3 กําหนดเงื่อนไขการเสริมแรงหรือการลงโทษตนเอง เป็น การกําหนดเง่ือนไขในการที่จะได้รับการเสริมแรงหรือการลงโทษ หลังจากท่ีได้ทํา พฤติกรรมเป้าหมาย การกําหนดเง่ือนไขของการเสริมแรง หรือการลงโทษนี้ ควรกระทําด้วยตนเอง เพราะสอดคล้องกับ ความตอ้ งการของตน อนั จะนําไปส่เู ปา้ หมายได้อย่างมปี ระสทิ ธิผล

156 10.6.5.4 เลือกเทคนิคด้วยตนเอง การเลือกเทคนิคด้วยตนเอง จะช่วย ให้สามารถเลือกเทคนคิ เพอื่ ควบคุมพฤติกรรมไดเ้ หมาะสมกบั ตน 10.6.5.5 ใช้เทคนิคการควบคุมตนเอง ตามวิธีการและข้ันตอนของ เทคนคิ ทน่ี ํามาใช้ 10.6.5.6 ประเมนิ ตนเอง เพอื่ ดูการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมเปา้ หมาย ว่าเปล่ยี นแปลงตามเงื่อนไข และขอ้ กําหนดหรือไม่ 10.6.5.7 เสริมแรงหรือการลงโทษตนเอง หลังจากประเมินพฤติกรรม เป้าหมายการจะได้รับการเสริมแรงหรือลงโทษน้ันอยู่กับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป้าหมายว่า เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีต้ังไว้หรือไม่ ถ้าเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ ก็เสริมแรงด้วยการให้รางวัล แต่ถ้าไม่ เป็นไปตามเกณฑ์ควรมีการลงโทษ 10.6.6 วธิ ีการปรับความคดิ และความรู้สึก วิธีการปรับความคิดและความรู้สึก เป็นกระบวนการเปลี่ยนพฤติกรรม ภายนอกโดยการเปลี่ยนความคิด การตคี วาม การตง้ั ขอ้ สนั นิษฐาน หรือการเปล่ียนตัวแปร ทางความรู้ ความเขา้ ใจเสยี ใหม่ เพื่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรม เป็นแนวคดิ ของนกั จติ วทิ ยาปญั ญานิยมทม่ี ี ความเชอ่ื วา่ 10.6.6.1 ความรคู้ วามเขา้ ใจมีผลตอ่ พฤตกิ รรม 10.6.6.2 ความรู้ความเข้าใจสามารถสร้างใหม้ ีหรอื เปลี่ยนแปลงได้ 10.6.6.3 พฤติกรรมที่เปลยี่ นแปลงไป ส่วนหนึ่งเปน็ ผลจาก การเปล่ยี นแปลงในความรคู้ วามเข้าใจ ภาพท่ี 50 แสดงภาพวธิ เี จรญิ สมาธิเบื้องตน้ (ที่มา https://www.google.co.th/search/ 27 พฤษภาคม 2559)

157 10.6.7 วิธีเจรญิ สมาธเิ บือ้ งตน้ 10.6.7.1 การพฒั นาตนเองทางพทุ ธศาสตร์ จะเร่มิ ตน้ ด้วยการเจรญิ สมาธิ คอื การทาํ จติ ใจใหส้ งบ มีคําแนะนาํ สําหรับผ้เู ริ่มตน้ ในการฝึกปฏบิ ัติ ดงั น้ี (ประสิทธิ ทองอุน่ , 2540 :197) 1) การน่ัง ควรนั่งหลับตาตามสบายบนพื้น บนเก้าอ้ี ควร เป็นท่ีสะดวก ไม่กระด้าง ผชู้ ายนง่ั ขัดสมาธิ ผู้หญิงนง่ั พับเพยี บตามถนัด เทา้ ขวาทับเท้าซ้าย มือขวา ทับมอื ซา้ ย วางลงบนหนา้ ตกั นัง่ ตัวตรง เพือ่ ใหล้ มหายใจเดนิ สะดวก อยา่ เกรง็ ตัว นงั่ ตามสบาย คลาย ความเคร่งเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ กําหนดสติไว้ให้ม่ันคง พร้อมกับบริกรรมกํากับเพื่อให้จิตมี เครื่องยึด คือ ภาวนาว่า “พุท” เม่ือหายใจเข้า และ “โธ”เม่ือหายใจออก โดยกําหนดภาวนาในใจ เทา่ นั้น หรอื ภาวนาวา่ \"ยุบหนอ\" เมื่อหายใจเขา้ และ “พองหนอ” เม่ือหายใจออก หรือกาํ หนดเฉพาะ ลมหายใจเข้าออกโดยไม่ตอ้ งมบี ทภาวนา แต่การมีบทภาวนากํากับ ย่อมมผี ลดีกวา่ สาํ หรับผฝู้ กึ ใหมๆ่ การกาํ หนดลมหายใจ ใหท้ าํ ตามลาํ ดับ ดังน้ี (1) ขนั้ วิง่ ตามลม คอื ไม่บังคบั ลมหายใจเข้าออกใหส้ ัน้ หรอื ใหย้ าวปล่อยใหเ้ ป็นไปตามธรรมชาติ โดยสง่ ใจกาํ หนดวิ่งตามลมไป ตามจดุ กาํ หนดทง้ั สาม คือ ปลาย จมูก ท่ามกลางอก และท้อง คอยระวงั ใจ คือ สติใหจ้ ับอยกู่ ับลมหายใจ คอบควบคมุ จติ ไมใ่ ห้ด้ินไปขา้ ง นอก ใหส้ งบนง่ิ อยูท่ ่ีลมหายใจ จิตจะไมฟ่ ุ้งซา่ น (2) ขั้นดกั อยู่ที่จุดใดจดุ หนึง่ คอื เม่ือกาํ หนดลมหายใจเข้า ออกโดยคอยตามลมไปจนจติ ไมฟ่ งุ้ ซา่ นแล้ว ก็ใหเ้ ปลีย่ นมากาํ หนดจิตไว้ ณ จดุ ใดจุดหนง่ึ ในจุดทั้งสาม ตามทีก่ าํ หนดไดถ้ นัด ไม่ต้องวิง่ ตามลมเหมือนคร้ังแรก กาํ หนดจุดท่จี ติ ใจสบาย สว่ นมากนยิ มกําหนด อยเู่ ฉพาะท่ปี ลายจมกู กําหนดไดง้ า่ ยกว่าจดุ อื่นๆ สาํ หรับผู้ทีภ่ าวนาไมไ่ ด้ผลดี อาจกําหนดลมหายใจด้วย การนบั กไ็ ด้ โดยส่งใจไปกับการนบั อย่ปู ลายจมูกแห่งเดียว การนับแบง่ ออกเปน็ 2 ชว่ ง คอื ชว่ งแรกให้นับชา้ ๆ อยา่ นับใหต้ ่ํากว่า 5 แต่อย่าใหเ้ กนิ 10 ใหน้ บั หายใจเขา้ ออกอยา่ งสบายๆ เปน็ คๆู่ คอื หายใจเข้านบั ว่า 1 หายใจออกนับวา่ 1 ตอ่ ไปหายใจเขา้ นับว่า 2 หายใจออกนบั วา่ 2 เรอ่ื ยไปจนถึงค่ทู ี่ 5 แล้วต้งั ต้นใหมค่ ู่ที่ 1 จนถึงคทู่ ่ี 10 เพ่ิมทลี ะคูไ่ ปจน ครบ 10 คู่ แลว้ ย้อนมาทค่ี ู่ท่ี 1 ถึงคทู่ ่ี 5 ไปจนถงึ ค่ทู ี่ 10 อยา่ งนเ้ี รอ่ื ยไป ช่วงหลัง เม่ือสามารถฝึกจิตด้วยการนับอย่างช้าได้คล่อง ดีแล้ว ต่อจากนนั้ เปล่ยี นเปน็ นับเรว็ คราวนไี้ มต่ ้องคาํ นงึ ถึงลมเขา้ ในหรอื ออกนอก แตค่ อยกาํ หนดลม หายใจทมี่ ากระทบจมูกอยา่ งเดยี ว ไม่ต้องนับเปน็ คู่ ใหน้ บั เรยี งลาํ ดับไปเร็วๆ จาก 1 ถงึ 5 แลว้ เร่ิมใหม่ จาก 1 ถงึ 6 เพิม่ ทีละ 1 เรอ่ื ยไปจนถงึ 10 แล้วเรม่ิ จาก 1 ถึง 5 ใหมอ่ ีก กาํ หนดอยา่ งนี้เรือ่ ยไป จนกวา่ แมเ้ มือ่ ใดไมก่ าํ หนดนบั แล้ว สตกิ ย็ งั แน่วแน่อยใู่ นอารมณ์ คือ อยู่ในลมหายใจเขา้ ออกน้ัน

158 10.6.7.2 การฝึกเจริญสมาธิแบบเมตตา เฟรดดิกสัน และคณะ ใช้บท พูดการฝึกเจริญสมาธิแบบเมตตาท่ีเป็นการฝึกกําหนดจิตใจท่ีใขของตนเอง แล้วแผ่ความเมตตา ความสุขและความซาบซึ้งในจิตใจต่อตนเองและบุคคลอ่ืน ทงั้ หมด 6 คร้ัง โดยในการฝึกครัง้ แรก จะมี 4 ข้นั ตอน ดงั รายละเอียดต่อไปนี้ (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ นุ ายน 2559) ครงั้ ที่ ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั ท่ี 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 1. เมตตาต่อ สมั ผสั “ลม นอ้ มใจ นอ้ มใจสู่ “ความรัก เมตตา คณุ ความดี กลบั มา ตวั เอง หายใจเข้า “ความรัก และความสขุ สงบ” ตอ่ ตวั เอง อยู่กบั ลม 2. เมตตาตอ่ ผู้ ออก” และ เมตตา คุณ นอ้ มใจสู่ “ความรกั เมตตา คณุ ความดี หายใจอีก มีพระคุณ ความรสู้ ึก ความดี และ และความสุข สงบ” ต่อ (1) ตัวเอง (2) ครั้ง ผ่อนคลาย ความสขุ ผู้มพี ระคณุ 3. เมตตาตอ่ สงบ” ใน น้อมใจสู่ “ความรัก เมตตา คุณความดี คนรัก เพอ่ื น ปัจจบุ นั ขณะ และความสขุ สงบ” ตอ่ (1) ตวั เอง (2) สนทิ ผ้มู พี ระคณุ (3) คนท่รี กั เพ่ือนสนทิ 4. เมตตาตอ่ น้อมใจสู่ “ความรัก เมตตา คณุ ความดี คนทัว่ ไปท่เี รา และความสุข สงบ” ตอ่ (1) ตวั เอง (2) รูส้ ึกเฉยๆ ผู้มีพระคุณ (3) คนทร่ี ัก เพอื่ นสนิท (4) คนท่วั ไป ทีเ่ รารู้สกึ เฉยๆ 5. เมตตาต่อ นอ้ มใจสู่ “ความรกั เมตตา คุณความดี คนที่มุ่งร้ายต่อ และความสขุ สงบ” ต่อ (1) ตวั เอง (2) เรา ผ้มู ีพระคณุ (3) คนท่ีรกั เพ่อื นสนทิ (4) คนทว่ั ไป ทีเ่ รารูส้ ึกเฉยๆ (5) คนท่มี งุ่ ร้ายต่อเรา 6. เมตตาตอ่ นอ้ มใจสู่ “ความรกั เมตตา คุณความดี สรรพสัตว์ และความสขุ สงบ” ต่อ (1) ตวั เอง (2) ท้งั หลาย ผมู้ พี ระคุณ (3) คนทร่ี ัก เพือ่ นสนิท (4) คนท่ัวไป ทีเ่ ราร้สู กึ เฉยๆ (5) คนทีม่ งุ่ รา้ ยต่อเรา (6) สรรพสตั วท์ งั้ หลาย ตารางท่ี 10 แสดงการฝกึ เจรญิ สมาธแิ บบเมตตา (ทีม่ า http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มิถุนายน 2559)

159 การศกึ ษาวิจัยทางจติ วิทยาด้านบวกของเฟรดดกิ สนั และคณะ ระบุวา่ ผู้เขา้ รบั การฝึกการเจริญสมาธิแบบเมตตาในชีวิตประจําวัน รายงานตนว่า พวกเขามีอารมณ์ทางบวกใน ชีวิตประจําวันเพ่ิมขน้ึ (เช่น เกดิ ความรกั ความเพลิดเพลนิ ใจ ความรสู้ ึกกตัญญรู ้คู ุณ ความพงึ พอใจ และความหวงั เปน็ ต้น) ในชว่ งระยะ 9 สปั ดาห์นับตง้ั แต่เรม่ิ ฝกึ การทนุ ทางจิตวิทยาด้วยการฝกึ เจริญ สมาธิแบบเมตตาเพื่อเสรมิ สรา้ งความสุข ดงั กรณตี ัวอยา่ งต่อไปนี้ 1) ฉันทาํ ส่งิ ต่างๆ ในชีวติ ประจาํ วัน อย่างทุ่มเทและใสใ่ จ 2) ฉันทาํ ส่ิงตา่ งๆ ให้คนรอบข้างมีความสขุ และมีชวี ติ ที่ดี 3) ฉันมองอนาคตในแง่มุมบวก 4) ฉนั มีรอบขา้ งทเี่ กื้อหนุนและมอบส่ิงดๆี ให้แก่ฉนั 5) ฉันเปน็ คนดแี ละใชช้ วี ิตอยา่ งคุณธรรม 6) ฉนั เปน็ คนมคี วามสามารถและทาํ กจิ กรรมหลกั ต่างๆ ใช้ชีวติ ได้เปน็ อยา่ งดี 7) ผคู้ นใหก้ ารยอมรบั นับถอื และยกยอ่ งฉนั ผลจากการฝกึ เมตตาภาวนา อธบิ ายไดว้ ่า อารมณด์ า้ นบวกทเ่ี กิดข้นึ จะเปน็ ตัวนาํ ให้เกิดผลลัพธท์ ่ีสาํ คญั ตอ่ การมชี ีวติ ที่มีความสุข เช่น การพัฒนาความเปน็ มติ ร ความพงึ พอใจในชีวิต ระดับรายได้ท่ีมากกว่าประสบความสําเร็จและการมีสุขภาพร่างกายทแ่ี ขง็ แรง เปน็ ต้น น่ันคือ พวกเขา มีการพัฒนาทุนทางจติ วิทยาเพิ่มข้นึ 10.7 แนวทางการพัฒนาตนในชีวิตประจําวัน แนวทางในการพัฒนาตนให้ความสําคัญต่อการพัฒนาภายในตัวบุคคลให้มี ความพรอ้ มที่จะพฒั นาตนอยเู่ สมอและการรบั รู้ตนเองอยา่ งเป็นจริงดว้ ยการรู้จกั ตนเอง มรี ายละเอยี ดดังต่อไปนี้ (http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มถิ ุนายน 2559) 10.7.1 แนวทางที่ 1 การพฒั นาตนให้มีความพร้อมทจ่ี ะปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลง ตนเองอยเู่ สมอในชวี ติ ประจําวัน บุคคลทีม่ คี วามพรอ้ มในการพัฒนาตนเอง มักจะเปน็ บคุ คลทมี่ ีเจตคติ ความนึกคิด อารมณ์ พฤติกรรม และทักษะท่ีเกี่ยวข้องในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตนเอง คนเรา สามารถเตรยี มความพรอ้ มให้ เปน็ ผูท้ ี่มีการพฒั นาตนอย่เู สมอ ดังแนวทาง 4 ประการ ต่อไปนี้ 10.7.1.1 การเตรียมจิตใจ ผู้ที่มีความพร้อมท่ีจะพัฒนาตนอยู่เสมอสูง จะมีพลงั มีแรงจูงใจ มคี วามกระตอื รอื ร้นและมุ่งม่ันในการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตนเอง มีความเข้าใจ และยอมรับธรรมชาติของตนเอง และมีการรับรู้ความต้องการในการเปล่ียนแปลงตนเองให้เป็นผู้ที่ มวี ฒุ ภิ าวะ ส่วนผทู้ ีม่ คี วามพรอ้ มตอ่ การเปล่ียนแปลงตํ่าจะไมร่ ้คู วามตอ้ งการตนเองว่า อยากเปลยี่ นแปลง อะไร ไม่มีเป้าหมายในชีวิตทชี่ ดั เจน ขาดความกระตือรือร้นและแรงจูงใจท่ีจะทาํ สงิ่ ต่างๆ ทีจ่ ะพัฒนา ตนเอง ไมส่ นใจและไม่จดั การสง่ิ ใดๆ เพอ่ื การเปล่ยี นแปลงและพัฒนาตนเอง

160 10.7.1.2 การคิดหาวิธีหรือแผนการอย่างเป็นธรรม ผู้ที่มีความพร้อมท่ี จะพฒั นาตนอย่เู สมอสงู จะมกี ารคิดหาวิธกี ารแผนการและกลวิธีท่ีจะนํามาใช้ในการวางขัน้ ตอนหรือ กําหนดเป้าหมายในการดําเนินการวางแผนสูก่ ารปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหบ้ ุคคลเกิดการปรับปรุงเปล่ียนแปลงและ พฒั นาตนเอง ผู้ท่มี ีการวางแผนดีจะเปน็ ผทู้ ค่ี ิดหาโอกาสวิธกี ารหรือขนั้ ตอนท่ีเป็นไปได้ เพือ่ สู่เป้าหมาย ส่วนผู้ทม่ี ีการวางแผนทไ่ี ม่ดจี ะเป็นผทู้ ป่ี ลอ่ ยใหท้ กุ อยา่ งเปน็ ไปเองในแต่ละวันอย่างเลอื่ นลอย 10.7.1.3 การมีความสามารถและทักษะในการเข้าถึงแหล่งทรัพยากร ต่างๆ ผู้ที่มีความพร้อมท่ีจะพัฒนาตนอยู่เสมอสูง จะมีความสามาถและทักษะในการเข้าถึงแหล่ง ทรัพยากรต่างๆ แหล่งสนับสนุนข้อมูล แนวทางต่างๆ รวมถึงการรู้จักขอความช่วยเหลือจากบุคคล รอบขา้ งหรอื บุคคลอื่นๆ เพ่ือให้เกดิ การปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตนของบคุ คล ผ้ทู ม่ี กี ารรู้จกั ใช้ แหล่งทรัพยากรสงู จะมลี กั ษณะรูจ้ ักการหาแหลง่ ช่วยเหลือสนบั สนนุ ทั้งจากคนรอบข้างหรือข้อมลู ต่างๆ เพอ่ื เออ้ื ให้เกดิ การปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงตนเองได้ ส่วนผ้ทู ม่ี ีการรจู้ ักใชแ้ หลง่ ทรัพยากรตา่ํ จะมีลักษณะ ของการไม่รู้ว่าจะขอความช่วยเหลือได้จากใครและหาข้อมูลได้จากท่ีใด รวมถึงอาจไม่ต้องการ ความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นดว้ ย 10.7.1.4 การมีความต้ังใจ มุ่งมั่นท่ีจะลงมือปฏิบัติตามแผนการอย่าง จริงจงั ผทู้ มี่ คี วามพร้อมทีจ่ ะพัฒนาตนอยเู่ สมอสูง จะมกี ารมีความตั้งใจ ม่งุ ม่นั ที่จะลงมือปฏบิ ตั จิ ริง ตามข้ันตอนแผนการหรอื เปา้ หมายต่างๆทีว่ างไว้อยา่ งจริงจงั เพอ่ื ให้เกดิ การปรับปรุงเปลยี่ นแปลงและ พฒั นาตนของบคุ คล ผูท้ มี่ พี ฤติกรรมที่แสดงถึงความต้ังใจสงู จะมีลักษณะมุ่งมั่นและลงมือปฏิบตั จิ ริง ตามแผนทวี่ างไว้ มีความกลา้ ในการเริ่มตน้ ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลงตนเอง สว่ นผูท้ มี่ พี ฤติกรรมท่ีแสดงถึง ความต้ังใจตาํ่ จะมีลักษณะลม้ เลกิ ความต้ังใจกลางคัน อาจคิดถงึ ผลท่ีตามมาจนไม่กล้าทาํ อะไร 10.7.2 แนวทางท่ี 2 การพัฒนาตนดว้ ยการรู้จักตนเอง การพฒั นาตนเพอ่ื ให้ เปน็ ผทู้ ีม่ กี ารรจู้ ักและรบั รู้ตนเองให้สอดคลอ้ งกนั ระหว่างตนตามอุดมคติและตนตามทีเ่ ปน็ จริง จะเปน็ ผู้ที่ทําสิ่งต่างๆ ได้อย่างเต็มศักยภาพ กล่าวคือ เป็นผู้ที่ยอมรับตนเองในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านดี ดา้ นที่เป็นข้อบกพรอ่ ง ด้านท่ีเป็นความไม่สมบูรณแ์ บบของตนเองได้ และบุคคลทีม่ กี ารยอมรับตนเอง และบคุ คลอืน่ ทัง้ ดา้ นดีและดา้ นดอ้ ยจะมกี ารยอมรับและเข้าใจในธรรมชาตขิ องความแตกต่างระหว่าง ตนเองและบุคคลอน่ื ด้วย สาํ หรบั แนวทางการพัฒนาตนเพอื่ เปน็ ผูท้ ีม่ ีการรจู้ ักและรบั รู้ตนเองท่ีสอดคล้อง กันระหว่างตนตามอุดมคติและตนตามที่เป็นจริงน้ีสามารถเร่ิมต้นด้วยการรู้จักตนเอง โดยบุคคล สามารถเรยี นรเู้ กย่ี วกับตนเอง เช่น การเขียนอธิบายว่า บุคคลมองตนเองอย่างไร โดยให้เขยี นเกย่ี วกบั ตนเองอย่างไร 2 รายการ คือ 1) สิ่งท่ชี อบในตนเอง และ 2) สิ่งที่ไมช่ อบในตนเอง การรจู้ กั ตนเองผ่าน รายการเหลา่ นี้ จะทาํ ให้บุคคลไดส้ ํารวจตนเองระหวา่ งด้านบวกและด้านลบ ด้านใดบ้างทเี่ ขารู้สกึ ว่า เขียนง่ายกว่ากัน ด้านบวกท่ีเขาเขียนก่อให้เกิดการตระหนักในตนเองอย่างไรบ้าง ด้านลบข้อใดท่ี

161 บุคคลตอ้ งการหรอื ปรารถนาจะเปลีย่ นแปลง คุณภาพที่ไมพ่ งึ ปรารถนามักปรากฏในด้านบวกเช่นเดยี วกับ ในดา้ นลบ และบางคร้งั ด้านลบก็จะให้บางอย่างท่บี คุ คลอาจละเลยหรอื ไมไ่ ดต้ ระหนักมาก่อนเชน่ กัน ตวั อยา่ งเช่น บคุ คลอาจไมช่ อบลักษณะท่ีไวตอ่ การรับรูอ้ ารมณ์และความรสู้ ึกของบุคคลอืน่ จนเกนิ ไป ทาํ ให้เป็นบุคคลที่มีความเปราะบางเกี่ยวกับความรู้สึกต่อผู้อื่น แต่ในขณะเดียวกันบุคคลเองก็อาจ ชืน่ ชอบความเป็นศิลปินของตนเอง เพราะเขาตระหนักว่า การเปน็ ศลิ ปนิ ควรไวต่อการรับรู้อารมณแ์ ละ ความรู้สกึ ของบุคคลอน่ื เปน็ ต้น เชน่ กรณตี วั อย่าง การรู้จักตนเองของแตงไทย ในเรอื่ ง “สงิ่ ทชี่ อบ” และส่งิ ที่ไมช่ อบในตนเอง” ดังนี้ สงิ่ ท่ชี อบในตนเอง สงิ่ ทไ่ี มช่ อบในตนเอง 1. เขา้ กบั คนง่าย จรงิ ใจ 1. เครียดงา่ ย 2. มีความคิดสร้างสรรค์ 2. ขเ้ี หงา 3. มีความรอบคอบ 3. ค่อนขา้ งละเอยี ด ทํางานช้า 4. มคี วามม่งุ มัน่ 4. อารมณร์ อ้ น ตารางที่ 11 แสดงสง่ิ ทชี่ อบในตนเองและสง่ิ ทีไ่ ม่ชอบในตนเอง (ท่ีมา http://humaneco.stou.ac.th/ 8 มิถุนายน 2559) จากกรณีตัวอย่าง การท่แี ตงไทยได้สาํ รวจส่ิงทีต่ นเองชอบและสิง่ ท่ีตนเองไมช่ อบ ทาํ ให้แตงไทยค้นพบว่า ตนมีแนวโนม้ ที่จะรับรตู้ นเองในแงด่ แี ละตัวตนทต่ี ้องการปรบั ปรุงตนเองมาก ท่สี ดุ คอื การเปน็ คนทําอะไรเชือ่ งช้า ทําใหไ้ ม่สามารถจะทาํ งานได้หลายอยา่ งพรอ้ มๆ กนั ซึง่ จะนําไปสู่ การปรบั ปรุงและพัฒนาตนเองต่อไป

162 ภาพที่ 51 แสดงภาพการเขา้ ใจผูอ้ นื่ (ทีม่ า https://www.google.co.th/search 8 มิถนุ ายน 2559) 11. การเข้าใจผู้อ่ืน การเข้าใจผอู้ ่นื จดุ มงุ่ หมายหลัก คือ ทาํ อยา่ งไร เราจะอยู่และทํางานร่วมกบั ผู้อ่ืนอย่าง เป็นสุขและทําอย่างไรผอู้ น่ื จงึ จะอยากเป็นมติ รและให้ความร่วมมอื กับเรา การทเี่ ราร้จู กั และพฒั นาตน แตฝ่ ่ายเดียว โดยไมค่ าํ นงึ ถึงบคุ คลทเ่ี ราจะติดตอ่ รว่ มงานอยกู่ ็จะทาํ ใหก้ ารมีความสัมพนั ธท์ ดี่ ตี อ่ กนั น้ัน มีปญั หาหรอื อปุ สรรคไดใ้ นการเขา้ ใจและยอมรบั ผอู้ นื่ นัน้ ตอ้ งคาํ นงึ ถงึ ส่ิงต่อไปน้ี (อาจารย์กลญั ญู เพชราภรณ์ อา้ งใน http://www.ge.ssru.ac.th 8 มิถนุ ายน 2559) 11.1 การแสดงออก การแสดงออกของคนเราทม่ี ผี ลทําใหเ้ กิดภาวการณ์ยอมรบั ผอู้ ื่น พอสรปุ ได้ 5 ประการ คือ 11.1.1 การฟังด้วยความตง้ั ใจและความพยายามทจ่ี ะเขา้ ใจ การฟังด้วยการตั้งใจ เป็นการแสดงออกถึงความสนใจ ความเข้าใจ เป็นส่ิงสาํ คัญท่ีทําให้ความสามารถตอบสนองในเชิง ยอมรับบคุ คลใดก็ต้องเข้าใจในสงิ่ ท่ีเขา้ พูดเสยี ก่อน ดงั น้ัน การฟงั ดว้ ยความเตม็ ใจยอ่ มแสดงว่า เราสนใจ และไวว้ างใจยอมรับผ้พู ูด จะทาํ ให้รูส้ ึกปลื้มใจและสุขใจทผ่ี ู้อื่นยอมรบั 11.1.2 การแสดงไมตรีจิตและความนิยมชมชอบ กริยาอาการที่ส่อถึงไมตรีจิต เปน็ สงิ่ ทส่ี ง่ เสรมิ ความรสู้ กึ ฉนั ท์มิตรระหวา่ งผู้ท่ีทาํ งานอยู่รว่ มกัน กรยิ าอาการทแี่ สดงออกด้วยไมตรีและ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook